The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ข้อมูลมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม จังหวัดเชียงราย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by , 2022-09-11 22:20:01

หนังสือมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม จังหวัดเชึยงราย

ข้อมูลมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม จังหวัดเชียงราย

คำนำ

วฒั นธรรมเป็นส่งิ สะท้อนให้เห็นถึงคณุ ค่าวิถีชวี ติ ท่ีชุมชนและท้องถน่ิ ต่าง ๆ ได้พฒั นาและสร้างสรรค์ขึ้น
เพ่ือใช้เป็นเครื่องมือในการดาเนินชีวิต โดยแสดงออกในรูปแบบและวิธีการท่ีหลากหลาย ทั้งในรูปแบบของวิถีชวี ิต
ขนบธรรมเนียมประเพณี ภมู ปิ ญั ญา และศิลปะ เป็นต้น เพ่ือเป็นการปลูกจติ สานึกและกระตุน้ ให้คนในชุมชนท้องถ่ิน
เกิดความตระหนัก มคี วามตน่ื ตัว และเขา้ มามีส่วนรว่ มในการฟ้ืนฟูเผยแพร่ และสืบสานภูมปิ ัญญาท้องถ่ินของตน

จังหวัดเชียงราย เป็นจังหวัดท่ีมีความหลากหลายทางชาติพันธุ์ มีวัฒนธรรมและมีองค์ความรู้
ภูมิปัญญาท้องถิ่นท่ีแตกต่าง และความหลากหลายในองค์ความรู้ภูมิปัญญาและศิลปวัฒนธรรมท้องถ่ินที่มี
การสง่ั สมและสืบทอดมาอยา่ งต่อเนื่องและปรากฏให้เหน็ ในปัจจบุ ัน การพฒั นาจงั หวดั เชียงราย เพ่อื สรา้ งความเข้มแข็ง
ใหก้ ับชมุ ชนทอ้ งถน่ิ ท่สี าคญั ประการหนง่ึ คอื การพลกิ ฟ้นื ศลิ ปะ และวฒั นธรรมท้องถ่ินที่มีอยใู่ นท้องถน่ิ นน้ั ๆ
ในด้านตา่ ง ๆ ได้แก่ ภูมิปัญญาในแต่ละสาขา โดยเฉพาะภูมปิ ัญญาในการประกอบอาชีพเปน็ ภูมิปัญญาความรู้
เชิงศิลป์แขนงต่าง ๆ ท่ีมีศิลปินท้องถิ่นและศิลปินแห่งชาติตลอดจนช่างฝีมือ ซึ่งวัฒนธรรมและองค์ความรู้
ภมู ปิ ัญญาดังกล่าวเป็นทรัพยากรทส่ี าคัญสามารถใช้ประโยชนห์ รือเกื้อกูลชุมชนท้องถิน่ ผู้เปน็ เจา้ ของได้

เพ่ือเป็นการส่งเสริม สนับสนุน สืบสาน และอนุรักษ์ฟื้นฟูขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม
และภูมิปัญญาท้องถิ่น รวมทั้งการเสริมสร้างคุณค่าทางสังคมและจิตใจต่อมรดกทางวัฒนธรรมเป็นสิ่งสาคัญ
ในการส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนได้เรียนรู้และเป็นผู้สืบทอดมรดกวัฒนธรรมของชาติ รวมทั้งให้ประชาชน
และเยาวชนในท้องถิ่นได้เรียนรู้ความสาคัญของวิถีชีวิต คุณค่าของประวัติศาสตร์ในท้องถิ่น ความเป็นมาและ
วัฒนธรรมประเพณี อนั จะสร้างความภาคภูมิใจและจิตสานึกในการดูแลรักษาวัฒนธรรมประเพณี ภูมิปญั ญาท้องถิ่น
และเอกลักษณ์ของชาติ เกิดการสืบสานและต่อยอดในการเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมประเพณีของชาติให้สืบต่อไป
กรมส่งเสริมวฒั นธรรม จึงได้สนบั สนุนงบประมาณใหส้ ภาวฒั นธรรมจังหวัดเชียงราย ในการดาเนินงานโครงการ
จัดทาฐานข้อมูลดา้ นมรดกภมู ปิ ัญญาทางวฒั นธรรมท้องถน่ิ จังหวัดเชยี งราย ประจาปี 2565

ท้ังนี้ สภาวัฒนธรรมจังหวัดเชียงราย ร่วมกับ สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดเชียงราย ได้จัดทา
หนังสือฐานข้อมูลด้านมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมท้องถิ่น จังหวัดเชียงราย ประจาปี 2565 และหวังเป็น
อย่างยิ่งว่าหนังสือเล่มนี้จะเป็นส่วนหนึ่งในการส่งเสริม สนับสนุน สืบสาน และอนุรักษ์ฟื้นฟูมรดกภูมิปัญญา
ทางวัฒนธรรมของจังหวัดเชียงราย ให้เป็นท่ีรู้จักและแพร่หลายทั้งในกลุ่มของเด็ก เยาวชน และประชาชนท่ัวไป
สภาวัฒนธรรมจังหวัดเชียงรายขอขอบคุณสภาวัฒนธรรมอาเภอทุกอาเภอ สภาวัฒนธรรมตาบล/เทศบาลทุกแห่ง
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทุกแห่งในพ้ืนท่ีจังหวัดเชียงราย รวมไปถึงปราชญ์ชาวบ้านทุกท่าน ที่ได้ให้ความ
อนเุ คราะห์ขอ้ มูล ภาพถ่าย ในการจดั ทาหนงั สอื องค์ความรู้เล่มน้ีเปน็ อยา่ งยิ่ง

สภาวัฒนธรรมจงั หวดั เชียงราย
สงิ หาคม ๒๕๖๕

สำรบัญ หนา้

วรรณกรรมและภำษำ 1
3
- การใชน้ ามสกุลของคนในพื้นทอ่ี าเภอแมจ่ ัน 5
- ค่าว จ๊อย 6
- ค่าวจอ้ ย คา่ วซอ
- ค่าวธรรมเรื่องนางอุทธรา, สานวนมุขปาฐะ (วรรณกรรมปากเปล่า ) 9
ท่ชี าวบ้านเล่าสอดคล้องกบั เร่อื งนางอทุ ธรา โดยเนื้อเร่ืองโยงเขา้ กบั สถานท่จี ริง 11
- ตานานพระธาตดุ อยตุง 15
- ประวัตคิ นยอง (บ้านแม่คาสบเปนิ ) 17
- ภาษาขมุ 20
- ภาษาบซี ู 21
- วรรณกรรมล้านนา 23
- สรภัญญะ ๒๕
- หนังสอื ตารายาเมืองล้านนา ๓๑
- อกั ษรธัมมล์ ้านนา
- วรรณกรรม “แต่งค่าว” ๓๓
๓๖
ศิลปะกำรแสดง 3๙
๔๑
- โปงลาง ๔๓
- กลองยาวประยุกต์ หมู่ ๑๑ บ้านใหม่รอ่ งหวาย ๔๕
- ข่วงเฮยี นฮเู้ ฮือนป้อครูมานติ ย์ ๔๗
- เต้นรากระทงุ้ ไม้ไผ่ (บอ่ ฉ่อง ตุ)๊ ๕๐
- แคนม้ง ๕๓
- การแสดงฟ้อนเลบ็ กลมุ่ พัฒนาสตรีอาเภอแมส่ าย ๕๕
- การขบั ซอ ๕๗
- การดีดซึง 5๙
- การฟอ้ นเล็บ ๖๐
- การฟ้อนดาบ การฟอ้ นเจิง ๖๒
- การฟอ้ นสาวไหม ๖๔
- ดนตรีพ้ืนเมอื ง ๖๗
- ฟอ้ นเล็บ การแสดงพ้ืนบ้าน 6๙
- ฟ้อนเล็บ ๗๑
- ฟ้อนมงิ่ ขวัญครี ีศรีขนุ ตาล ๗๓
- ฟ้อนล้านนา ๗๕
- ฟอ้ นศิลามณี 7๘
- ฟ้อนสาวไหม ๘๐
- ภูมิปญั ญาด้านนาฎศลิ ป์ การตีระนาด
- ภูมิปญั ญาดา้ นนาฎศิลป์ การฟอ้ นสาวไหม
- รานก ราโต
- ราพดั จนี

สำรบัญ หน้า

ศลิ ปะกำรแสดง (ต่อ) ๘๒
๘๔
- วงป่ีพาทย์ (สบุ รรณศิลป์) ๘๗
- วงสะลอ้ ซึง กลมุ่ ผูส้ ูงอายุหมู่ 11 ๙๐
- ศิลปะการแสดงวงป่ีพาทย์ โรงเรียนผสู้ ูงอายตุ าบลป่าซาง ๙๒
- ศิลปะการแสดง (ช่างปี/่ ฟ้อนเจิง) ๙๔
- ศิลปะการแสดง และนาฏศิลป์พนื้ บ้าน (ขับล้ือ) ๙๗
- กลองหลวง ๑๒ ราศี (กลองหลวงลา้ นนา) ๙๙
- แคนมง้ ๑๐๓
- คา่ ว จ๊อย ซอ ๑๐๕
- การฟอ้ นสาวปอยหลวง ๑๐๗
- ศลิ ปะ “การฟ้อนเล็บ” ๑๐๙
- ดนตรพี ้ืนเมอื งลา้ นนา (ดนตรสี ะล้อ ซอ ซึง) ๑๑๑
- ภูมปิ ัญญาชาวบา้ นดา้ นศลิ ปะการแสดงฟ้อนรา ๑๑๓
- การฟอ้ นเลบ็
- การเลา่ ค่าว จ๊อย ซอ พ้ืนเมืองลา้ นนา ๑๑๕
๑๑๗
แนวปฏบิ ตั ิทำงสงั คม พธิ กี รรม ประเพณี และงำนเทศกำล ๑๑๙
๑๒๑
- พธิ ีกรรมทางศาสนา 1๒๔
- พธิ กี รรมสขู่ วญั ควาย 1๒๗
- พธิ สี ่งเคราะห์บา้ นเคราะหเ์ มอื ง 1๓๑
- พิธบี วงสรวงเจา้ หลวงเทิง 1๓๓
- ประเพณสี รงน้าพระธาตุจอมจอ้ 1๓๕
- ประเพณีบุญผะเหวด 1๓๘
- แพทย์พืน้ บ้านล้านนา พิธีกรรมบาบดั (จิตบาบัด) 1๔๐
- แห่นางแมวขอฝน 1๔๒
- การเล้ียงผีเจ้าท่ี 1๔๕
- การแตง่ กายชาติพนั ธ์ุขมุ 1๔๘
- การทาบายศรี 1๕๑
- ดา้ นประเพณแี ละวัฒนธรรม (บญุ บั้งไฟ) 1๕๒
- ตานก๋วยสลากบ้านห้วยก้างรัฐ 1๕๔
- ตาพยา่ นาเจ่อ นาบทือ ยา่ ง (ความเช่ือในเร่อื งการนบั ถือหอเส้อื บา้ น) 1๕๖
- บายศรสี ขู่ วญั ส่งเคราะห์ 1๕๗
- บายศรสี ขู่ วัญงานแตง่ งาน 1๕๘
- ประเพณีเกีย่ วกบั วงจรชวี ิต การขึน้ ท้าวท้ังสี่ ๑๖๐
- ประเพณีและเทศกาลปีใหม่ลาหู่ (ตรุษจีน) 1๖๔
- ประเพณีโยนลกู ช่วง
- ประเพณีถวายสลากภัต
- ประเพณีทาบุญเมือง สะเดาะเคราะห์และถวายสลาก 25
- ประเพณีทาบุญตานข้าวใหม่

สำรบัญ หนา้

แนวปฏิบตั ทิ ำงสงั คม พิธกี รรม ประเพณี และงำนเทศกำล (ต่อ) 166
1๖๘
- ประเพณีบวงสรวงพระเจา้ พรหมมหาราช 170
- ประเพณีบุญบ้งั ไฟตาบลดงมหาวนั 1๗๒
- ประเพณีปีใหมเ่ ขาะจาเว 1๗๕
- ประเพณสี รงน้าพระธาตดุ อยกู่ 1๗๗
- ประเพณีสืบชะตาแมน่ า้ จนั 1๗๙
- ประเพณสี ขู่ วญั ควาย 1๘๑
- ปอยสา่ งลอง 1๘๒
- พิธกี รรม ประเพณี การฮ้องขวัญ สบื ชะตา 1๘๕
- พิธีกรรมทางศาสนา 1๘๘
- พธิ ีกนิ อ้อผะญ๋าลา้ นนา 1๙๐
- พิธบี ายศรีสขู่ วัญ 1๙๒
- พิธสี ูข่ วัญ/อ่านคา่ ว 1๙๖
- พธิ อี ัญเชิญเครื่องสักการะ บวงสรวงอนุสาวรีย์พระบาทสมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช 1๙๘
- พธิ ีฮอ้ งขวญั (สู่ขวัญ/เรยี กขวัญ) สะเดาะเคราะห์ ๒๐๐
- พธิ ีฮ้องขวญั หรือ หมอขวัญ ๒๐๕
- วถิ ีชวี ติ ชาวไทยวน ๒๐๖
- สง่ เคราะห์สว่ นตวั ๒๐๘
- ส่งเสริมศลิ ปะ วฒั นธรรม ประเพณีท้องถิ่น (ปีใหม่โลช้ งิ ช้าเผ่าอาข่า) ๒๑๐
- สรงนา้ พระธาตุ ๒๑๒
- สรงน้าพระธาตุกู่หนิ ๒๑๔
- สรงนา้ พระธาตจุ อมหมอกแกว้ ๒๑๖
- สรงนา้ พระธาตมุ หามงคล 5 ยอด ๒๑๘
- หอเจ้าทด่ี งชาวบ้าน ๒๒๐
- ฮ้องขวัญ ๒๒๒
- ประเพณีไหลเรอื ไฟ ๑๒ ราศี ๒๒๔
- ประเพณีการล่องสะเปา (ยเ่ี ป็ง) ชุมชนบ้านสบกก 2๒๖
- ประเพณีการเลี้ยงเสอ้ื บ้าน ๒๒๘
- พิธถี วายหนังแดง ๒๓๐
- พธิ กี รรม ผปี ่ยู า่ หม้อน่ึง ๒๓๒
- พธิ สี ืบชะตา ๒๓๔
- การตานก๋วยสลาก ๒๓๗
- พิธสี บื ชะตาขุนนา้ แม่ข้าวต้มท่าสุด และพธิ สี บื ชะตาขนุ นา้ หว้ ยพลู
- ประเพณีไหวส้ าพระธาตุผาตอง

สำรบัญ หน้า

อำหำร/ควำมรแู้ ละกำรปฏิบัตเิ กีย่ วกบั ธรรมชำติและจักรวำล ๒๓๙
241
- การทาทองม้วนกรอบ 242
- การแพทย์แผนไทยสมุนไพรพน้ื บ้าน (หมอพนื้ บา้ นล้านนา) 244
- แกงฮงั เลหมก 246
- ขนมจนี น้าเงย้ี ว 248
- ข้าวแตน๋ นา้ แตงโม 250
- ข้าวแรมฟนื (ป้านวล) 252
- ข้าวแรมฟนื หรอื ขา้ วฟนื 254
- ขา้ วหมาก 256
- เครื่องดมื่ ชา 258
- แคบหมจู ันทร์สวย 260
- ซาลาเปา (ยูนนาน) 262
- ตม้ เต้าหู้ (โจ๊ะตะโปด่ บั๊ ) 265
- นวดจบั เสน้ หมอสมุนไพร 267
- น้าเง้ียว 269
- นา้ พรกิ ซ่ัมจนิ้ 271
- นา้ พริกทราย 273
- น้าพริกน้าผกั 276
- น้าอ้อยคัน้ สด 279
- ปลาสม้ สองพ่นี อ้ งมง่ั มี 281
- แพทย์พนื้ บ้านลา้ นนา พิธีกรรมบาบดั (จิตบาบดั ) 283
- ลานสุขภาพโพธนาราม 286
- ลาบดอย 289
- ลาบปลานา้ โขง 291
- ลาบหมูอาขา่ 293
- ลาพี ซา่ ทอ ลาบพรกิ สมุนไพร 295
- สมุนไพร 297
- สมนุ ไพรรกั ษาริดสีดวง (ยารักษามะโหก) 299
- หนอ่ มนั 301
- หมอชาวบ้าน (หมอเปา่ เพื่อการรักษาโรคงูสวดั และโรคกระดกู ) 303
- หมอดูทานายโชคชะตา ทานายอนาคตของบุคคล 304
- หมอพืน้ เมือง 307
- หมอเมือง ปราชญส์ มนุ ไพร 309
- หมอยาสมุนไพร 311
- หมูตนุ๋ (ยูนนาน) 313
- ห่อนงึ่ ไก่เมืองขา้ วค่วั ๓15
- เหล้าอุ หรือสุราหมัก
- โหราศาสตร์

สำรบัญ หน้า

อำหำร/ควำมรแู้ ละกำรปฏบิ ตั ิเก่ียวกบั ธรรมชำติและจกั รวำล (ต่อ) ๓17
๓23
- อาหารชาตพิ ันธุไ์ ทยอง ๓25
- ปลากระบอก ๓27
- หลามบอน (แกงบอน) ๓29
- จิน้ ส้ม
- ภูมิปญั ญาชาวบา้ นด้านการแพทย์พ้นื บ้าน (หมอเมือง) ๓๓๑
๓๓๓
งำนชำ่ งฝมี ือด้งั เดมิ ๓๓๕
๓๓๗
- กลมุ่ ตัดเยบ็ ชุมชนหว้ ยไคร้พัฒนา ๓๓๙
- การทาบายศรี ๓๔๑
- การปลูกหมอ่ นเลีย้ งไหมและการทอฟา้ ไหม 3๔๓
- การแปรรูปกะลามะพรา้ ว 345
- การสานไมก้ วาดดอกหญา้ (ก๋ง) ๓๔๘
- การสานแห 3๕๐
- แกะสลกั จากเศษไม้ 3๕๒
- ขล่ยุ ไม้ 3๕๔
- ขันบายศรีส่ขู วัญ 3๕๕
- ขา้ วถัก หรือขจาข้าวเปลอื ก 3๕๗
- เครื่องจักสาน 3๖๐
- เครอ่ื งจักสาน งานหัตถกรรม 3๖๒
- เครอ่ื งจักสาน ชุมชนคุณธรรมวดั พนาลัยเกษม 3๖๔
- เครอื่ งปัน้ ดนิ เผา (ปนั้ หม้อ) 3๖๖
- โคมล้านนา 3๖๘
- งานจักสานผสู้ งู อายุ 3๗๑
- จักสาน บ้านไคร้ 3๗๓
- จกั สานจากหวาย 3๗๕
- จกั สานตะกรา้ หวายเทียม 3๗๗
- ศลิ ปหตั ถกรรมพื้นบาน (ช่างตมี ีด) 3๘๒
- ชา่ งตีเหลก็ วัยเกา๋ 3๘๔
- ชา่ งสานงานศิลป์ 3๘๖
- ตะกร้าหวาย 3๘๘
- ตงุ ไชย (ตุงไจย หรือตงุ ชัย) 3๙๐
- ตุงสิบสองราศี (ตงุ ตัวเป้ิง หรือตุงปีใหม่) 3๙๒
- ตมุ้ เหยยี่ น (ทตี่ กั ปลาไหล) , ทีด่ ักปลา 3๙๔
- เตามีดปงหลวง 3๙๗
- ทอผา้ พ้ืนเมือง , ทาตงุ
- บอกไฟดอก / โคมลอย
- ปราสาทศพ
- ปราสาทศพ (บ้านร่องบวั ลอย)

สำรบัญ หน้า

งำนชำ่ งฝมี ือดัง้ เดมิ (ตอ่ ) ๔๐๙
๔๑๑
- ปั้นพระพุทธรปู หล่อพระพุทธรูป ป้นั รูปเหมือน ๔๑๓
- ผลติ ภณั ฑเ์ ส่อื สานจากต้นกก ๔๑๖
- ผ้าขาวมา้ ทอมือ ๔๑๘
- ผา้ ชดุ ไทใหญ่ ๔๒๐
- ผ้าทอกล่มุ ชาติพนั ธุ์ลุ่มแม่น้าโขง ๔๒๒
- ผา้ ทอไทลื้อ ๔๒๕
- ผา้ ทอมอื บ้านสันหลวงใต้ ๔๒๘
- ผ้าทอหมู่บ้านท่าขันทอง ๔๓๐
- ผา้ ทออสี านล้านนา ๔๓๗
- วิสาหกิจชมุ ชนผลิตภณั ฑท์ ามอื บ้านจงเจริญ “ผา้ ปกั ” ๔๓๙
- ผ้าปักชดุ ชาตพิ นั ธุ์ไตหยา่ 4๔๒
- ผ้าปกั ด้วยมอื : กลมุ่ วิสาหกิจชมุ ชนกลมุ่ งานฝมี อื ปักผ้าด้วยมอื ๔๔๔
- ผา้ ปักมือ ๔๔๖
- ผ้าปักมอื ชาติพันธอุ์ าข่า ๔๔๘
- ผ้าปกั มอื บ้านสันทางหลวง 4๕๐
- ผ้าปกั มอื ลายเชยี งแสนหงส์ดา 4๕๒
- ผ้าพ้นื เมือง บ้านปงน้อยใต้ 4๕๘
- ผ้าไหมทอมือ บ้านหว้ ยเคยี น 4๖๐
- มีด (เผ่าม้ง) 4๖๒
- ไม้กวาดดอกหญ้า บา้ นป่าม่วง 4๖๔
- ไม้กวาดดอกหญ้า ป่ากอ่ ดา 4๖๖
- ไม้กวาดดอกหญา้ เมอื งชุม 4๖๘
- ไม้กวาดดอกหญา้ และไมก้ วาดทางมะพร้าว 4๗๐
- สานส่มุ ไก่ 4๗๒
- เสื่อกก 4๗๔
- เสอื่ กกบ้านป่าลนั 4๗๖
- เย็บหมวกสาน บา้ นศรีชมุ ๔๗๘
- ซ้าหวด ๔๘๐
- ผา้ อว้ิ เมี่ยน ๔๘๓
- ผา้ ไหมทอมือบา้ นวังศลิ า ๔๘๕
- เครอ่ื งป้ันดนิ เผาเวยี งกาหลง – เวยี งป่าเป้า ๔๘๗
- ภมู ิปญั ญาชาวบา้ นดา้ นผลิตภณั ฑ์เคร่ืองจักสาน 489
- สานตะกรา้ ทางมะพรา้ ว 491
- เครอื่ งจกั สาน (ฆอ้ งไม้ไผ)่
- งานแกะสลักไม้ สล่าคาจันทร์ ยาโน

สำรบัญ หนา้

กำรเลน่ พืน้ บำ้ น กฬี ำพ้ืนบำ้ น และศลิ ปะกำรตอ่ สปู้ ้องกันตัว 493
4๙5
- การชนไก่ 4๙8
500
- การเลน่ ลูกช่วง 501
- ของเล่นพื้นบ้านจากใบมะพร้าว 503
- ลูกช่วง (ปใี หม่มา้ )
- เล่นลกู ขา่ ง (หม่ะข่าง)

- โล้ชงิ ชา้



-1-

แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ัญญำทำงวัฒนธรรมจังหวดั เชียงรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวัฒนธรรมเทศบำลตำบลแม่จัน
อำเภอแม่จนั จงั หวดั เชียงรำย

๑. ชื่อข้อมลู การใชน้ ามสกุลของคนในพน้ื ท่อี าเภอแมจ่ นั

๒. ลกั ษณะ  วรรณกรรมพน้ื บา้ นและภาษา
 ศิลปะการแสดง
 แนวปฏิบตั ทิ างสงั คมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรู้และการปฏบิ ัตเิ กยี่ วกบั ธรรมชาติและจกั รวาล
 งานชา่ งฝีมอื ดัง้ เดมิ
 การละเล่นพืน้ บา้ น กีฬาพนื้ บ้าน และศลิ ปะการต่อสปู่ ้องกันตัว

๓. รำยละเอียดข้อมูล

๓.๑) ประวตั คิ วามเปน็ มาของข้อมลู
การบังคับให้ใช้นามสกุล ในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี ๖ จึงโปรดให้มี
การตั้งนามสกุลเหมือนกับประเทศอ่ืน ๆ โดยให้ตราพระราชบัญญัติขนานนามสกุล เมื่อวันที่ 22 มีนาคม
พ.ศ. 2455 มีผลใช้บังคับต้ังแต่วันท่ี 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2456 มีการให้คนไทยทุกคนต้องมีนามสกุล
นามสกุล คือ ชื่อบอกตระกูล (หรือสกุล) เพ่ือแสดงท่ีมาของบุคคลนั้น ๆ ว่ามาจากครอบครัวไหน ตระกูลใด
ธรรมเนียมการใช้นามสกุลปรากฏอยู่ท่ัวไปในหลาย ๆ ประเทศและวัฒนธรรม ซ่ึงในแต่ละท่ีก็อาจจะมี
ลักษณะเฉพาะแตกต่างกนั ไป
ในหลาย ๆ วัฒนธรรม (เช่น ทางตะวันตก ตะวันออกกลาง และในทวีปแอฟริกา) นามสกุลจะอยู่ใน
ลาดับหลังสุดของช่ือบุคคล แต่ในบางวัฒนธรรม โดยเฉพาะในเอเชียตะวันออก (จีน ญ่ีปุ่น เกาหลี เวียดนาม)
นามสกลุ จะอยใู่ นลาดบั แรก ส่วนนามสกลุ ของไทยจะอยู่เป็นลาดับสุดทา้ ยเหมือนทางตะวนั ตก

๓.๒) ข้ันตอน/วิธกี าร/ดาเนนิ การเกย่ี วกับขอ้ มูล
ศึกษาประวัติความเป็นมาและข้อมูลทางประวัติศาสตร์ของการตั้งอาเภอแม่จัน จังหวัดเชียงราย
ตลอดจนการสร้างบ้านแปงเมือง และการสืบเช้ือสายสกุลในหมู่บา้ น ตาบล และอาเภอ แต่เดิมน้ันคนในชมุ ชน
จะมีมนี ามสกุล แตจ่ ะใช้ชื่อบา้ นเป็นสรอ้ ยหรือคล้ายนามสกลุ เช่น ชอื่ “นายดีบา้ นดอย” “นายสีสนั ทราย” เมือ่
มกี ารบังคบั ใช้เป็นกฎหมายให้คนไทยต้องไปขออนญุ าตมนี ามสกุล ในสว่ นของอาเภอแม่จนั นายอาเภอได้มีการ
ประชุมกานันผู้ใหญ่บ้านให้ราษฎรมาแจ้งเพื่อมารับเอานามสกุลตัวเอง ซ่ึงราษฎรสมัยนั้นยังไม่ค่อยมีความรู้
เก่ียวกับคาว่านามสกุล จึงอาศัยนายอาเภอตั้งให้เป็นส่วนใหญ่ ส่วนมากจะเอานามบ้านมาเป็นนามสกุล เช่น
ราษฎรทอี่ พยพมาจากอาเภอแม่ทา จงั หวัดลาพูน มาตัง้ ถิ่นฐานอยู่อาเภอแม่จัน นายอาเภอจะต้ังนามสกุลให้ว่า
“จันทาพูน” ด้วยเหตุน้ีคนท่ีมาจากจังหวัดลาพูนจึงใช้นามสกุล “จันทาพูน” อยู่มากมาย ราษฎรท่ีอยู่แต่ละ
หมู่บ้านจะอาศัยช่ือบ้านมาตั้งนามสกุล เช่น บ้านป่าซาง ให้ใช้นามสกุล “ซางสุภาพ” บ้านร่องก๊อ ให้ใช้
นามสกลุ “ก๊อใจ” บา้ นสันนา ให้ใชน้ ามสกลุ “นาใจ” บา้ นบ่อก้าง ใหใ้ ช้นามสกลุ “ก้างออนตา” บ้านแมค่ า ให้
ใช้นามสกุล ซาวคาเขต บ้านสันทราย ให้ใช้นามสกุล “ทรายหมอ” หรือ “อรินต๊ะทราย” บ้านแม่คี ให้ใช้
นามสกุล “มงคลคี” บ้านป่าเปา ใช้นามสกุล “ปาเปาอ้าย” บ้านแม่คาสบเปิน ให้ใช้นามสกุล “คาเงิน” และ
บา้ นป่าตึง ใชน้ ามสกุล “ตบ๊ิ ปา่ ตงึ ” เป็นต้น

-2-

๔. ชื่อผู้ท่ีถือปฏิบัตแิ ละผสู้ ืบทอด

๔.๑ ผู้ทีถ่ อื ปฏบิ ัติ

ช่ือ นางมาลินี แย้มเมือง

วัน เดือน ปเี กดิ ๑๑ กรกฎาคม ๒๔๘๘

ทอ่ี ยู่ ๗/๑ หมู่ ๓ ตาบลแม่จัน อาเภอแมจ่ นั จงั หวดั เชียงราย

หมายเลขโทรศัพท์ ๐๘๑ ๐๒๒ ๘๓๓๕ หรอื ๐๙๓ ๐๐๕ ๑๕๗๓

๔.๒ ผูส้ บื ทอด

ช่ือ กลุ่มผูส้ งู อาย/ุ กลมุ่ แม่บ้าน/กลุ่มเดก็ นกั เรียนและเยาวชน

ในพื้นทเ่ี ขตเทศบาลตาบลแม่จัน

ทีอ่ ยู่ เขตเทศบาลตาบลแม่จัน อาเภอแม่จัน จังหวดั เชยี งราย

๕. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏิบัตอิ ย่างแพรห่ ลาย  เสีย่ งตอ่ การสญู หาย  ไมม่ ีปฏบิ ัตแิ ลว้

๖. รปู ภำพภมู ิปญั ญำทำงวัฒนธรรม/กจิ กรรมทำงภูมิปัญญำทำงวฒั นธรรม

-3-

แบบสำรวจมรดกภมู ิปัญญำทำงวัฒนธรรมจังหวัดเชียงรำยประจำปี ๒๕๖๕
สภำวฒั นธรรมจังหวัดเชยี งรำย
อำเภอเวียงชัย จงั หวดั เชียงรำย

๑. ช่ือข้อมูล ค่าว จอ๊ ย

๒. ลักษณะ  วรรณกรรมพืน้ บ้านและภาษา
 ศิลปะการแสดง
 แนวปฏิบตั ทิ างสังคมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรแู้ ละการปฏบิ ัติเกยี่ วกบั ธรรมชาติและจักรวาล
 งานช่างฝมี อื ดงั้ เดมิ
 การละเล่นพ้นื บา้ น กีฬาพนื้ บา้ น และศลิ ปะการตอ่ สู่ป้องกนั ตวั

๓. รายละเอยี ดข้อมูล
๓.๑ ประวัตคิ วามเปน็ มาของข้อมลู
ในอดีต ค่าว จ๊อย เผยแพร่ในสังคมเกษตรกรรมโดยอาศัยประเพณีท้องถ่ินเป็นโอกาสและสถานที่

สาหรบั เผยแพร่ ต่อมามรี ะบบส่ือสารมวลชนเปน็ ช่องทางเพ่ิมโอกาสมากขึน้ การบันทกึ แผน่ เสยี ง ให้เผยแพร่ได้
กว้างไกลไปถึงภูมิภาคอื่น ๆ ค่าว จ๊อย จึงมีสถานภาพเพ่ิมข้ึนจากเดิมคือ เป็นทั้งเพลงพื้นบ้าน มหรสพ และ
ผลผลิตจากภูมปิ ัญญาทอ้ งถ่ินที่ทาหน้าที่ขดั เกลาทางสงั คม การถา่ ยทอดแกเ่ ยาวชนท่สี นใจ

ค่าว หรือ ค่าวจ๊อย เป็นวรรณกรรมด้านบทบาทของท้องถ่ินเป็นการแต่งที่เป็นฉันทะลักษณ์สัมผัส
นอก-ใน เป็นร้อยกรองด้านศัพท์ภาษาท่ีสละสลวย ใช้ภาษาคาเขียนที่ดั่งเดิมใช้เขียนบทค่าวน้ีในเร่ืองการบันทึก
ตานาน คาสอน ตารับตารา ตารายาสมุนไพร การเขียนบทค่าวเดิมมักเขียนด้วยอักขระล้านนาหรืออักษรธรรม-หรือ
ตวั เมือง

เพลงร้องพื้นบ้านค่าว จ๊อย มีลักษณะเป็นวรรณกรรมแสดงออกเป็นคาพูดโต้ตอบกัน เช่น การหยอกสาว
หรือเป็นการขับร้อง เช่น จ๊อยและซอ วรรณกรรมเหล่าน้ีมีฉันทลักษณ์หลายรูปแบบ ซ่ึงเรียกรวม ๆ กันว่า คาค่าว
คาเครอื หรือค่าว

ค่าว เป็นคาประพันธ์ท่ีมีแบบแผนของชาวล้านนามีฉันทลักษณ์ท่ีระบุจานวนคาในวรรค และสัมผัส
ระหวา่ งวรรค สรุปเปน็ คากลา่ วสั้น ๆ

จ๊อย เป็นวิธีขับลานาโดยใช้ค่าว เป็นเน้ือหาหลักบางทีเรียกว่า จ๊อยค่าว วิธีขับจ๊อยมักจะดาเนิน
ท่วงทานองไปอย่างช้าๆ มีการเอื้อน อาจมีเครื่องดนตรี บรรเลงคลอประกอบหรือไม่ก็ได้ ลีลาและทานองจ๊อย
ทนี่ ิยมใช้ ได้แก่ โก่งเฮยี วบง่ มา้ ย่าไฟ และทานองวิงวอน

๓.๒ ขัน้ ตอน/วิธกี าร/ดาเนินการเกยี่ วกบั ข้อมูล
ค่าว หรือค่าวจ๊อย ใช้ในการแต่งเล่าเร่ืองราวต่าง ๆ ที่บังเกิดข้ึนในท้องถ่ิน มีประโยชน์ในด้านบันทึก

ความทรงจาใหค้ นรุ่นหลงั ไดร้ เู้ ร่ืองราวในอดีต การเล่าคา่ วมไี ด้หลายลักษณะ จาแนกตามโอกาสดงั นี้
1. การเล่าค่าวภายในครอบครัว ส่วนใหญ่จะเล่าหลังอาหารเย็น เพื่อคลายบรรยากาศท่ีเงียบเหงา

ในตอนกลางคืน เพราะในสมยั ก่อนยงั ไมม่ วี ทิ ยุ โทรทศั น์ และสงิ่ บันเทงิ เหมือนในสมยั นี้
2. การเล่าค่าวในงานมงคลต่าง ๆ เช่น งานปอยบวชลูกแก้ว (งานบวชเณร) งานข้ึนบ้านใหม่ งานแต่งงาน

งานปอยเขา้ สงั ข์ (งานทาบญุ อทุ ศิ สว่ นกศุ ลไปหาคนตาย สมัยก่อนตอ้ งใชเ้ วลาเตรยี มงานหลายวนั )
3. การเล่าค่าวในงานศพ เพื่อให้ผู้ที่มาอยู่เป็นเพื่อนเจ้าของบ้านได้ฟังในขณะท่ีศพยังไม่ได้เผา

เพือ่ ไม่ให้บรรยากาศเศร้าหมองเกนิ ไป

-4-

๔. ชื่อผูท้ ี่ถือปฏิบตั แิ ละผู้สบื ทอด

๔.๑ ผ้ทู ีถ่ ือปฏิบัติ

ชอื่ นางปน๋ั คาตื้อ

วนั เดอื น ปเี กิด 23 มิถนุ ายน 2492

ท่ีอยู่ 18 หมู่ 5 ตาบลผางาม อาเภอเวยี งชัย จงั หวดั เชยี งราย

หมายเลขโทรศัพท์ -

๔.๒ ผู้สืบทอด

ช่ือ นางก๋วน แกว้ นนิ ตา

วัน เดือน ปีเกดิ 20 มถิ นุ ายน 2498

ท่อี ยู่ ๓๕ หมู่ 5 ตาบลผางาม อาเภอเวยี งชัย จังหวัดเชียงราย

หมายเลขโทรศัพท์ -

๕. สถานะการคงอยู่  ปฏิบัตอิ ยา่ งแพรห่ ลาย  เสีย่ งตอ่ การสูญหาย  ไมม่ ปี ฏบิ ตั แิ ลว้

๖. รูปภาพภูมิปญั ญาทางวัฒนธรรม/กิจกรรมทางภูมปิ ัญญาทางวัฒนธรรม

-5-

แบบสำรวจมรดกภมู ิปญั ญำทำงวฒั นธรรมจงั หวัดเชยี งรำยประจำปี ๒๕๖๕
สภำวฒั นธรรมจังหวดั เชยี งรำย
อำเภอขนุ ตำล จงั หวดั เชยี งรำย

๑. ชื่อข้อมูล คา่ วจ้อย ค่าวซอ

๒. ลกั ษณะ  วรรณกรรมพืน้ บา้ นและภาษา
 ศลิ ปะการแสดง
 แนวปฏิบัตทิ างสงั คมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรู้และการปฏบิ ัตเิ กี่ยวกับธรรมชาตแิ ละจักรวาล
 งานช่างฝมี อื ดงั้ เดมิ
 การละเล่นพน้ื บา้ น กีฬาพ้ืนบ้าน และศิลปะการตอ่ สปู่ ้องกนั ตวั

๓. รายละเอียดขอ้ มูล

๓.๑ ประวตั ิความเปน็ มาของข้อมลู

เจา้ ของภมู ปิ ัญญา นายไว ธะนะแก้ว บา้ นเลขที่ 24 หมูท่ ี่ 13 ต.ต้า อ.ขุนตาล จ.เชียงราย

โทร 063-435-8480

ค่าวจ้อย ซอ เป็นวรรณกรรมพ้ืนบ้านคนทางเหนือ นับวันจะสูญหายไป ฉะน้ันวัฒนธรรมล้านนา

ต้องช่วยกันอนุรักษ์ให้ลูกหลานได้ศึกษา สืบทอด ประเพณีวัฒนธรรมล้านนา เช่นกาบ่าเก่า กาอู้ กาจ้อย กาซอ

กาคลอ้ งจองต่างๆ ซง่ึ ผเู้ ฒา่ ผ้แู ก่ควรมีการอนุรักษ์ไวเ้ พ่อื ใหล้ ูกหลานไดส้ บื ทอด เชน่ ค่าวเรื่องความหลง

หลงจิ้ต หลงใจ๋ บ่ดีแต้ๆ บ่เหมือนด่ังอั้นหลงตาง หลงเข้าป่าไม้ ดงดอยหนาหนาม กลับมาหาตาง กาเดียวก้อได้

หลงจ้ิต หลงใจ๋ ไผ๋หั๋นจ้ักได้ บ่มีวันเนอเจ่ือเต๊อะ จ้ักลาบากใจ๋ เมื่อไปเติกเม๊อะ จักสิ่งอ้ันบ่ควร หลงเหยหลง

หลงตางป่าไม้ แหนบหลงได้ซาววัน ยังกลับป้อกป้ิก คืนได้หนหลัง หลงใจ๋หลงกา หลงคืนบ่ได้ เพราะหลงอ้กใจ๋

หลงคอหลงใส้ หลงจก้ั คืนไปยากลา้

๔. ชื่อผทู้ ่ีถือปฏิบัตแิ ละผู้สืบทอด

๔.๑ ผทู้ ีถ่ ือปฏิบตั ิ

ช่อื นายไว ธะนะแกว้

วัน เดือน ปเี กดิ -

ทอ่ี ยู่ 24 หมู่ 13 ตาบลต้า อาเภอขุนตาล จังหวดั เชยี งราย

หมายเลขโทรศัพท์ -

๔.๒ ผู้สบื ทอด

ช่ือ -

วัน เดือน ปีเกิด -

ท่ีอยู่ -

หมายเลขโทรศัพท์ -

๕. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏิบตั ิอยา่ งแพรห่ ลาย  เสี่ยงต่อการสูญหาย  ไม่มีปฏบิ ตั แิ ลว้

๖. รูปภำพภูมิปญั ญำทำงวัฒนธรรม/กจิ กรรมทำงภูมิปัญญำทำงวัฒนธรรม

-ไมม่ ี-

-6-

แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ญั ญำทำงวัฒนธรรมจังหวัดเชยี งรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวฒั นธรรมจงั หวดั เชยี งรำย

สภำวัฒนธรรมอำเภอเทิง จังหวดั เชียงรำย

๑. ชื่อข้อมลู ค่าวธรรมเรื่องนางอุทธรา, สานวนมขุ ปาฐะ (วรรณกรรมปากเปล่า )
ทช่ี าวบ้านเล่าสอดคลอ้ งกบั เร่ืองนางอทุ ธรา โดยเนือ้ เรื่องโยงเขา้ กบั สถานทจี่ ริง

๒. ลกั ษณะ  วรรณกรรมพืน้ บ้านและภาษา
 ศลิ ปะการแสดง
 แนวปฏิบตั ิทางสงั คมพิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรู้และการปฏิบัติเกยี่ วกบั ธรรมชาติและจกั รวาล
 งานช่างฝีมือด้ังเดมิ
 การละเลน่ พ้นื บ้าน กีฬาพน้ื บ้าน และศิลปะการต่อสูป่ ้องกนั ตัว

๓. รำยละเอยี ดข้อมูล

๓.๑) ประวัตคิ วามเป็นมาของข้อมลู
ค่าวธรรมเป็นงานประพันธ์ท่ีมีรูปแบบเป็นชาดก มีจุดประสงค์เพ่ือใช้เทศน์ส่ังสอนประชาชนในวัน
สาคัญทาพุทธศาสนา ค่าวธรรมเร่ืองนางอุทธรา เป็นที่นิยมกันในอาเภอเทิงมากกว่าเร่ืองอื่น ๆ เนื่องจาก
เร่ืองเล่าจะเก่ียวโยงเข้ากับสภาพภูมิประเทศในอาเภอเทิงหลาย ๆ แห่ง เช่น ดอยทา บ้านทุ่งตะไห และ
หนองสามขา เปน็ ต้น
นางอุทธราเป็นลกู เศรษฐี บ้านทุ่งตะไห (ปจั จบุ นั คือบา้ นทุ่งขนั ไชย อาเภอเทงิ จังหวดั เชียงราย) เศรษฐี
มเี มยี สองคน ได้ฆา่ เมียหลวงตายแช่นา้ อย่ทู ่ีฮ่องแช่ (ปัจจุบนั เรียกร่องแช่อยทู่ า้ ยหมูบ่ ้าน) ต่อมาเมยี หลวงเกิด
เป็นเตา่ มีกระดองเป็นทองอยใู่ นหนองน้ี เมียน้อยให้เศรษฐีไปจบั เต่ามาต้ม ขณะตม้ เต่าร้องไหจ้ งึ เรียกว่าบ้านเต่าไห้
ต่อมาเพี้ยนเปน็ บา้ นตะไห
ดอยทาทเ่ี มืองเทิง เปน็ ดอยนางอุทธรา บางทีเรยี ก ดอยอุททา ซง่ึ ชาวบ้านสร้างกู่ หรือเจดยี บ์ รรจธุ าตุ
ของนางอทุ ธราไว้ข้างใน ปัจจบุ นั ชารดุ เหลือแตก่ องอิฐ มีคอกวัวและท่ีมัดวัวซง่ึ นางอทุ ธราเคยนาไปเล้ยี ง

๓.๒) ขั้นตอน/วิธีการ/ดาเนินการเกยี่ วกบั ข้อมูล
เรื่องย่อ กลา่ วถงึ พระพุทธเจ้าประทับอยู่ ณ.เชตะวันฯ วนั หน่ึงสาวกปรารภกันถงึ เร่ืองการไดร้ บั ผลบญุ
และบาป พระพุทธองคจ์ ึงแสดงพระธรรมเทศนาเร่ืองนีใ้ ห้ฟัง
นานมาแลว้ มพี ระยาตนหนงึ่ ช่ือพรหมทตั ครองเมืองพาราณาสี ในเมอื งนั้น มเี ศรษฐชี ่อื กุบปติ ตา
มภี รรยาสองคน ชือ่ นางอชุ ุจิตตา มีลูกสาวช่อื นางอทุ ธรา ภรรยานอ้ ยเป็นผีกระสือชือ่ มิจฉารี มีลูกสาวช่อื สามา
เดิมที เศรษฐรี ักภรรยาทง้ั สองเท่าเทยี มกัน
วนั หน่งึ เศรษฐีพาเมยี ทั้งสองไปทอดแหหาปลา และแบง่ ปลาท้ังสองข้องให้เท่าเทยี มกนั แตน่ างมิจฉารี
แอบกนิ ปลาในข้องตนจนหมดแลว้ ออกอุบายขอเปล่ียนที่น่ังกับนางอุชุจิตตา กอ่ นจะกลับบา้ นเศรษฐีไปดูไม่เห็น
มีปลาในข้องเมียหลวง จึงโกรธใช้ไม้พายตีหัวนางอุชุจิตตาตกน้าตายกลายเป็นเต่าทองอยู่ในหนองน้าแห่งน้ัน
(บ้ำนร่องแช่) เม่ือกลับถึงบ้านนางอุทธราไม่เห็นแม่ จึงนั่งร้องให้รอแม่อยู่หน้าบ้าน เทวดาบันดาลให้สุนัขพูดได้
มาเล่าเหตุการณ์ให้นางอุทธราฟัง และบอกให้ไปพบแม่ท่ีเกิดเป็นเต่าทองที่หนองน้า วันรุ่งขึ้นเมื่อถูกใช้ให้ไป
เล้ียงวัว นางอุทธราจึงไปหาแม่ ต่อมานางมิจฉารีสังเกตเห็นจึงออกอุบายแสร้งว่าป่วย ให้เศรษฐีไปหาเนื้ อ
เต่าทองมาให้กินจึงจะหาย เศรษฐีจึงไปจับเต่ามาให้นางอุทธราต้ม (บ้ำนเต่ำไห้ บ้ำนตะไห เพ้ียนกลำยเป็น
บำ้ นทงุ่ ขันไชย) กอ่ นตายแม่สั่งใหเ้ อากระดกู ไปฝังไวท้ ีท่ างส่ีแยก จากนนั้ ก็กลายเป็นต้นโพธ์ทิ องงอกมา 1 ต้น

-7-

ที่สีเหลืองอร่าม เวลาลมพัดใบจะมีเสียงไพเราะเหมือนดนตรีป่ีพาทย์ ผู้คนเล่าลือถึงหูพระยาพรหมทัต ทรงยก
ไพร่พลมาดูและพยายามขุดไปไว้ในวัง แต่ทาไม่ได้มีแต่นางอุทธราผู้เดียวท่ีอธิษฐานแล้วขอถอนต้นโพธ์ิได้
พระยาพรหมทัตจึงนาต้นโพธ์ิไปปลูกในวังและแต่งต้ังนางอุทธราเป็นอัครมเหสีอยู่ได้ 2 ปี มีลูก 2 คน
นางมิจฉารีผู้เป็นแม่เลี้ยงคิดจะฆ่านางอุทธรา จึงออกอุบายว่าเศรษฐีป่วยให้ไปเยี่ยมแล้วฆ่าเสีย จากน้ันส่ง
ลูกสาวตนเองปลอมตวั ไปแทน พระยาพรหมทตั จบั ได้ ใหฆ้ า่ แลว้ เอาไปทาเป็นเนื้อส้มส่งให้เศรษฐีและนางมิจฉารีกิน
ส่วนนางอุทธราได้ไปเกิดในลูกมะตูมที่สวนนายประตูด้านเหนือเมืองพาราณสี ได้ออกมาช่วยทาความสะอาด
บ้านให้นายประตู จับตัวไว้เป็นลูก จึงได้ไปช่วยนายประตูร้อยดอกไม้ขายทุกวัน มีคนซ้ือไปถวายพระยาพรหมทัต
ทรงจาฝีมือนางได้ จงึ มารบั ตัวกลบั ไปเป็นอคั รมเหสีตามเดมิ สว่ นเศรษฐีและนางมิจฉารีก็ถูกธรณีสูบตาย

๔. ชอ่ื ผ้ทู ี่ถอื ปฏิบตั ิและผู้สืบทอด

๔.๑ ผ้ทู ีถ่ ือปฏบิ ัติ พระครสู ิริคันธวงศ์รองเจา้ คณะอาเภอเทิง รปู ที่ ๑

ชาวบ้านทงุ่ ขนั ไชย

วัน เดือน ปีเกิด -

ทอ่ี ยู่ -

หมายเลขโทรศัพท์ -

๔.๒ ผู้สืบทอด

ช่ือ -

วนั เดือน ปเี กดิ -

ที่อยู่ -

หมายเลขโทรศัพท์ -

๕. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏิบัตอิ ย่างแพร่หลาย  เสีย่ งตอ่ การสญู หาย  ไม่มีปฏิบตั แิ ลว้

๖. รปู ภำพภมู ปิ ญั ญำทำงวัฒนธรรม/กจิ กรรมทำงภูมิปัญญำทำงวัฒนธรรม

ศาลเจา้ แมน่ างอุทธรา ท่ีวดั อทุ ธรา
สถานทีจ่ รงิ ท่มี ีช่ือสอดคล้องกับเรอ่ื งเลา่

-8-
สถานทจ่ี รงิ ท่มี ชี ื่อสอดคลอ้ งกับเรื่องเลา่

ภาพเร่ืองราวเกยี่ วกับ เร่อื งเตา่ น้อยอองคา บนผนงั วัดช้างคา้ ในอาเภอเทิง
หลวงพอ่ พระครสู ิริคันธวงศ์ รองเจา้ คณะอาเภอเทิง รูปท่ี๑ ได้ใชค้ รา่ วธรรมเร่อื งนางอุทธรา (เตา่ นอ้ ยอองคา)

เทศนาส่งั สอน ชาวบ้าน มาโดยตลอด และยังเขียนภาพเร่ืองราว บนผนงั อุโบสถ ของวดั งิ้วใหม่ โดยรอบ

-9-

แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ญั ญำทำงวัฒนธรรมจังหวัดเชยี งรำย
สำนักงำนวัฒนธรรมจงั หวัดเชยี งรำย
อำเภอแมส่ ำย จงั หวดั เชยี งรำย

๑. ช่ือข้อมูล ตานานพระธาตุดอยตุง

๒. ลกั ษณะ  วรรณกรรมพ้ืนบ้านและภาษา
 ศลิ ปะการแสดง
 แนวปฏิบตั ิทางสงั คมพิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรูแ้ ละการปฏิบัติเกีย่ วกบั ธรรมชาติและจกั รวาล
 งานชา่ งฝมี ือดั้งเดิม
 การละเล่นพ้นื บ้าน กีฬาพ้นื บ้าน และศลิ ปะการตอ่ สปู่ ้องกนั ตัว

๓. รำยละเอยี ดขอ้ มูล

๓.๑) ประวัตคิ วามเปน็ มาของข้อมลู
ตานานที่เล่าสืบต่อกันมาของพระธาตุดอยตุงมีอยู่ว่า ที่บริเวณพระธาตุดอยตุง ประกอบด้วยยอดเขา
หลายลูกสลับซับซ้อนกันอยู่ บริเวณนี้เป็นท่ีอยู่ของอารยชนกลุ่มหน่ึงที่เรียกว่า วิรังคะ บ้าง ลัวะ บ้าง พวกนี้มี
หัวหน้าชื่อปู่เจ้าลาวจก มีเมียช่ือ ผ่าเจ้าลาวจก สมัยพุทธกาล พระพุทธเจ้าเคยเสด็จมาประทับอยู่ท่ียอดเขาลูก
หน่ึงทรงมะนาวตัดและทานายว่าในอนาคตจะมีพระอรหันต์นาพระธาตุของพระองค์มาประดิษฐาน ณ ท่ีนี้ ซ่ึง
ตอ่ ไปภายหนา้ จะเปน็ บ้านเปน็ เมอื ง มีกษัตรยิ ค์ ้าชพู ุทธศาสนาตราบช่ัว 5,000 พระวสั สา
ทิวเขาท่ีทอดยาวทางด้านทิศตะวันตกของอาเภอแม่สาย จังหวัดเชียงรายเป็นพรมแดนธรรมชาติที่ก้ัน
ระหว่างประเทศไทยกับพม่า มีชื่อเรียกว่าทิวเขาแดนลาว หรือเทือกเขาดอยตุง บริเวณพ้ืนท่ีน้ีมีกลุ่มดอย
สลบั ซับซอ้ น เปน็ แหล่งชุมชนโบราณทปี่ รากฏเร่ืองราวในตานานเลา่ ขานสบื ตอ่ กันมาหลายยคุ หลายสมยั
ทิวเขากลุ่มหน่ึงที่ทอดตัวเรียงเป็นรูปสามเส้า ดอยทางทิศใต้เป็นที่ประดิษฐานพระธาตุซึ่งเป็นท่ีเคารพ
นับถือและเช่ือกันอย่างกว้างขวางว่าเป็นปฐมธาตุเจดีย์แห่งล้านนาท่ีสร้างขึ้นเม่ือปี พ.ศ.1454 โดยพระเจ้าอุชุ
ตราชแห่งนครโยนกนาคพันธ์ุ นั่นคือ พระมหาชินธาตุเจ้าบนดอยตุง ด้วยความเชื่อที่ว่าภายใต้พระมหาสถูปท้ัง
สององค์ของพระมหาชินธาตุเจ้าดอยตุงเป็นที่ประดิษฐานพระรากขวัญเบ้ืองซ้ายและพระบรมสารีริกธาตุส่วน
อนื่ ๆ ปรากฏเป็นความเชอ่ื สบื ทอดบันทึกไวใ้ นเอกสารตานานที่กล่าวอา้ งถึงการนาพระบรมสารรี ิกธาตุมาสู่ดอย
ตุงและการสถาปนาพระมหาสถูประบุศักราชในตานานไกลโพ้นถึงยุคพุทธกาล เน้นย้าความศักด์ิสิทธิ์สูงสุด
ผูกพนั ตานานกบั ความเชือ่ เลอ่ื มใสที่ยาวนานมา
ตานานเก่ียวกับพระธาตุดอยตุงปรากฏอยู่ในตานานพ้ืนเมืองของล้านนาเป็นความเช่ือปรัมปราของ
จารีตการสืบทอดประวัติความเป็นมาแห่งดินแดนท่ีแสดงให้เห็นถึงการเสื่อมสลายและความรุ่งโรจน์ของ
อาณาจักรชุมชนในบริเวณอันกว้างใหญ่ของลุ่มแม่น้าโขง แม่น้ากกและแม่น้าสายที่เกี่ยวเน่ืองกับอิทธิพลของ
พุทธศาสนาที่แพร่ขยายเขา้ สู่ดินแดนบรเิ วณน้ี
ตานานท่ีเล่าสืบต่อกันมาของพระธาตุดอยตุงมีอยู่ว่า ท่ีบริเวณพระธาตุดอยตุง ประกอบด้วยยอดเขา
หลายลูกสลับซับซ้อนกันอยู่ บริเวณน้ีเป็นท่ีอยู่ของอารยชนกลุ่มหน่ึงท่ีเรียกว่า วิรังคะ บ้าง ลัวะ บ้าง พวกนี้มี
หัวหน้าช่ือปู่เจ้าลาวจก มีเมียช่ือ ผ่าเจ้าลาวจก สมัยพุทธกาล พระพุทธเจ้าเคยเสด็จมาประทับอยู่ท่ียอดเขาลูก
หนึ่งทรงมะนาวตัดและทานายว่าในอนาคตจะมีพระอรหันต์นาพระธาตุของพระองค์มาประดิษฐาน ณ ท่ีน้ี
ซ่ึงตอ่ ไปภายหนา้ จะเป็นบ้านเป็นเมอื ง มกี ษัตริย์ค้าชูพุทธศาสนาตราบช่ัว 5,000 พระวัสสา

-10-

ต่อมาในปี พ.ศ. 2470 องคพ์ ระธาตทุ รดุ โทรมมาก ครูบาเจา้ ศรวี ิชัย กบั ประชาชนเมืองเชียงราย
จึงได้บูรณะข้ึนใหม่ โดยสร้างเป็นเจดีย์องค์ระฆังขนาดเล็ก 2 องค์ บนฐาน 8 เหลี่ยม ตามศิลปะแบบล้านนา
การบูรณะคร้ังหลังสุดมีข้ึนเม่ือปี พ.ศ.2516 โดยกระทรวงมหาดไทยได้สร้างพระธาตุองค์ใหม่ข้ึนครอบ
พระเจดียเ์ ดมิ ไว้

พระธาตุดอยตุง เป็นโบราณสถานท่ีสาคัญทางพระพุทธศาสนา สร้างมาแต่โบราณกาล หลักฐาน
แรกที่พระพุทธศาสนา เข้ามาประดิษฐานในล้านนา ตามประวัติได้กล่าวไว้พระมหากัสสะปะเถระได้อัญเชิญ
พระบรมสารีริกธาตุ ส่วนพระธาตุรากขวัญเบื้องซ้าย หรือกระดูกไหปลาร้าข้างซ้ายขององค์สมเด็จพระสัมมา
สัมพุทธเจ้า มามอบถวายแด่พระเจ้าอุชุตราช เจ้าผู้ครองนครนาคพันธ์โยนกชัยบุรี รัชกาลท่ี ๓ แห่งราชวงศ์
สิงหนวัติ เป็นประธานบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ณ ดอยดินแดง หรือดอยตุงในปัจจุบัน เมื่อแรกก่อสร้าง
พระสถูปเจดีย์บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ได้ทาธงตะขาบ หรือภาษาพื้นเมืองเรียกว่า “ตุง” ใหญ่ยาวหลายพันวา
ปักไว้บนยอดดอยดินแดงคู่กับพระธาตุ ตุงขนาดมหึมานี้ ได้ทอดร่มเงาปกคลุมบ้านเมือง ที่ต้ังอยู่บนท่ีราบเบื้องล่าง
ใหม้ ีความร่มเยน็ ยอดเขาอนั เป็นทต่ี ้ังองค์พระธาตุ จึงได้รบั การเรยี กสบื ตอ่ กนั มาว่า “ดอยตุง”

๓.2) ขน้ั ตอน/วธิ ีการ/ดาเนินการเก่ยี วกบั ข้อมูล

-

4. ชอ่ื ผทู้ ี่ถอื ปฏิบตั แิ ละผ้สู ืบทอด

4.๑ ผทู้ ถ่ี อื ปฏิบตั ิ

ช่อื พระพุทธิวงศว์ วิ ัฒน์

วัน เดอื น ปีเกดิ -

ทอี่ ยู่ หมู่ ๒ ตาบลหว้ ยไคร้ อาเภอแม่สาย จงั หวัดเชียงราย

หมายเลขโทรศัพท์ -

๔.๒ ผู้สบื ทอด

ช่ือ -

วนั เดอื น ปเี กดิ -

ทีอ่ ยู่ -

หมายเลขโทรศัพท์ -

5. สถำนะกำรคงอยู่  ปฏิบัตอิ ยา่ งแพรห่ ลาย  เส่ียงตอ่ การสูญหาย  ไมม่ ปี ฏบิ ตั แิ ลว้

6. รปู ภำพภมู ปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม/กจิ กรรมทำงภูมิปัญญำทำงวฒั นธรรม

พระธาตุดอยตงุ พระวิหาร

-11-

แบบสำรวจมรดกภมู ิปญั ญำทำงวัฒนธรรมจังหวดั เชยี งรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สำนักงำนวัฒนธรรมจังหวัดเชียงรำย
อำเภอแม่จนั จังหวัดเชยี งรำย

๑. ชื่อข้อมลู ประวตั ิคนยอง (บา้ นแมค่ าสบเปิน)

๒. ลกั ษณะ  วรรณกรรมพ้นื บา้ นและภาษา
 ศิลปะการแสดง
 แนวปฏบิ ัติทางสังคมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรู้และการปฏบิ ตั เิ กีย่ วกบั ธรรมชาติและจักรวาล
 งานชา่ งฝมี อื ดั้งเดมิ
 การละเลน่ พื้นบ้าน กีฬาพ้ืนบ้าน และศลิ ปะการตอ่ ส่ปู ้องกันตัว

๓. รำยละเอียดข้อมลู
๓.๑) ประวัตคิ วามเป็นมาของขอ้ มลู
ชาวยอง หรือชาวเมืองยองคือชาวล้ือที่ตั้งบ้านเรือนอยู่บริเวณเมืองยอง และกระจายอยู่ในด้าน

ตะวันออกของรัฐฉาน ประเทศพม่า เขตสิบสองปันนา ในมณฑลยูนนานของจีน ถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จ
พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช จึงถูกพระเจ้ากาวิละแห่งนครเชียงใหม่กวาดต้อนเข้ามาตั้งบ้านเรือนใน
จังหวัดลาพูน เชียงใหม่ เชียงราย และน่าน ตามนโยบาย "เก็บผักใส่ซ้า เก็บข้าใส่เมือง" เพ่ือฟ้ืนฟูบ้านเมือง
หลังการปกครองของพม่าในลา้ นนาสิ้นสดุ ลง

จากตานาน ชาวเมืองยองซ่ึงเป็นชาวลื้อได้อพยพมาจากเมืองเชียงรุ่งและเมืองอ่ืน ๆ ในสิบสองปันนา
และได้อพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานครั้งใหญ่ในเมืองลาพูนและเชียงใหม่ ในปี พ.ศ. 2348 ด้วยสาเหตุของสงคราม
เจ้าเมืองยองพร้อมด้วยบุตรภรรยา น้องทั้ง 4 ญาติพี่น้อง ขุนนาง พระสงฆ์และไพร่พลจากเมืองยอง จานวน
20,000 คนเขา้ มาแผ้วถางเมืองลาพนู ทร่ี า้ งอยู่ ตั้งบา้ นเรือนตามลุ่มนา้ แมท่ า นา้ แม่ปงิ ผคู้ นทวั่ ไปในแถบนั้นจึง
เรยี กคนที่มาจากเมอื งยองวา่ ชาวไทยอง

ในสมัยน้นั ผคู้ นต่างเมืองทม่ี าอย่รู ่วมกัน จะเรยี กขานคนที่มาจากอีกเมืองหน่ึงตามนามของคนเมืองเดิม
เช่น คนเมอื งเชยี งใหม่ คนเมอื งลาปาง คนเมอื งแพร่ คนเมอื งนา่ น คนเมืองเชียงตุง เป็นต้น แต่ของคนเมืองยอง
นั้น ต่อมาคาว่าเมืองได้หายไป คงเหลืออยู่คาว่า คนยอง ดังน้ัน ยอง จึงมิใช่เป็นเผ่าพันธ์ุ และเมื่อวิเคราะห์
จากพฒั นาการประวตั ศิ าสตร์ของเมอื งยองแลว้ ชาวไทยอง ก็คือ ชาวไทลอื้ นั่นเอง

ประวัติบ้านแม่คาสบเปิน หมู่ ๑ และบ้านแม่เปิน หมู่ ๑๔ ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า
เจา้ อย่หู วั รัชกาลที่ ๕ ช่วงเวลาน้ันเมืองเชยี งแสนยังไม่ไดร้ ับการฟ้ืนฟูให้เป็นบ้านเมืองข้ึนมา จึงทาให้มกี ลุ่มชาวเงี้ยว
(ไทใหญ่) ชาวไทเขิน และชาวไทลือ้ อพยพเข้ามาอาศัยอยใู่ นท่รี าบเชียงแสน ดังนั้น เจ้าเมอื งเชยี งใหม่ไดท้ ราบถึง
เร่ืองน้ีจึงให้เจ้าราชวงศ์เมืองเชียงใหม่แจ้งแก่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเพ่ือให้ทรงทราบถึง
การเข้ามาบุกรุกของชาวเชียงตุง พระองค์จึงแจ้งให้เจ้าหลวงเมืองเชียงใหม่ในขณะน้ันคือพระเจ้าอินทวิชยานนท์
เกณฑก์ าลงั พลจากเมืองเชียงใหม่ ลาปาง และลาพนู ขนึ้ มาขับไลช่ าวเชยี งตุงออกจากพ้ืนที่เมืองเชียงแสน ตอ่ มา
เมื่อไดข้ ับไล่ชาวเชียงตุงออกไปแลว้ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจา้ อยหู่ วั จงึ โปรดเกล้าให้ทาการฟื้นฟูเมือง
เชียงแสนขึ้นมาใหม่โดยโปรดเกล้าฯ ให้เจ้าอินต๊ะซ่ึงเป็นบุตรของเจ้าบุตรเจ้าบุญมาเจ้าผู้ครองนครลาพูนเป็น
ผู้เกณฑ์ราษฎรชาวเชียงใหม่ ลาพูนและชาวลาปางขึ้นมาฟ้ืนฟูเมืองเชียงแสน เม่ือปี ๒๔๒๓ จากบันทึกของ
ชาวต่างชาติทเ่ี ขา้ มาเมืองเชียงใหม่และเมืองเชยี งแสนในยุคนน้ั ได้กล่าวถึงการฟื้นฟูเมืองเชยี งแสนเอาไวด้ ังนี้

-12-

“เจ้าพญาเชียงแสนน้ันเดิมเป็นคนเมืองลาพูน ต่อมาขึ้นมารับตาแหน่งครองเมืองเชียงแสน เมื่อฟ้ืน
เมืองใน พ.ศ. ๒๔๒๗ เจ้าพญามีชาวเมืองอยู่ในความดูแล ๓๐,๐๐๐ คน และในจานวนน้ันเป็นชายฉกรรจ์
๒,๕๐๐ คน ชายฉกรรจ์หมายถึงไพร่ชายที่มิใชท่ าส มีอายุตั้งแต่ ๑๘ ปี ถึง ๗๐ ปี และเป็นนักรบ เทียบสัดส่วน
ว่ามีผู้ใหญ่ ๑ คนต่อประชากรทาส ๕ คน ดังเจ้าพญาจึงมีผู้ใหญ่ ๖,๐๐๐ คน และมีจานวนประชากรทาส
๑๗,๕๐๐ คน

ชาวฉานเมืองพิงค์จัดเชลยหรือผู้อพยพชาวพม่า-เชียงเเสน ให้เป็นทาสเชลย และมีชนช้ันปกครอง
จานวนนอ้ ย เจา้ พญาใช้เกลือ ๑ เมด็ ตอ่ จานวนชาวเมอื ง ๑ คน

เมืองเชียงแสนน้ันรกร้างมา ๗๗ ปีแล้ว พระเจ้ากรุงสยามทรงมีพระราชโองการให้นาเชลยชาวเชียงแสน
กลับคนื เพอ่ื ฟนื้ เมืองขึน้ มาใหม่ ในพระราชโองการกาหนดว่าใหน้ าเชลยชาวเชียงแสนท่เี ป็นผใู้ หญแ่ ล้ว จากเมือง
ลาพูน ๕๐๐ คน จากเมืองละคอร ๑,๐๐๐ คน จากเมืองเชียงใหม่ ๓๗๐ คนและจากเมืองน่าน ๑,๐๐๐ คน
แต่เมืองน่านอ้างว่าเพิ่งฟื้นเมืองท่ีอยู่เหนือแม่ของ ประชากรขาดแคลน จึงส่งเชลยร่วมกับเมืองละคอร ลาพูน
และเชียงใหม่ในครั้งน้ีไม่ได้ หากว่ายังสร้างเมืองเชียงแสนไม่ได้ เมืองน่านจะร่วมมือภายหลังดูเหมือนว่าเจ้า
หลวงเมืองละคอรก็ไม่ให้ความร่วมมือ พร้อมให้เหตุผลว่าเพ่ิงฟื้นเมืองละคอร เมืองพะเยา และเมืองงาวไป
ดังนัน้ ขอให้เมืองอืน่ รับหน้าที่อันทรงเกียรติฟื้นเมืองเชียงแสนแทน พระเจา้ กรุงสยามทรงรบั ฟังเหตุผลของเมือง
น่าน แตม่ ีพระราชโองการย้าให้เมอื งละคอรสง่ เชลย ๑,๐๐๐ คนเมอื งเชียงใหม่ ๑,๐๐๐ คน เมอื งแพร่ ๓๐๐ คน
และไพร่ไททง้ั หมดในสงั กัดของเจา้ นายเมืองลาพูนทไี่ ด้รับตาแหนง่ ไปครองเมืองเชยี งแสน

อย่างไรก็ตามเมอื งละคอรก็ไม่ส่งคนไปตามพระราชโองการจนเกือบต้องข้อหาขบถ ในท่สี ดุ กย็ อมส่งคน
ไปประมาณ ๕๐๐ ถึง ๖๐๐ คนพร้อมด้วยครอบครัวไปยงั เมืองเชียงแสน เม่ือไปเมืองเชียงแสนนั้นประชากรยัง
มีอยู่อย่างเบาบาง ทั่วท้ังเมืองมีประชากรประมาณ ๖๐๗ หลังคาเรือน และในตัวเมืองน้ันมีเพียง ๑๓๙ หลังคา
เรือน เจ้าพญาเมืองเชียงแสนบอกว่า มีเชลยชาวเชียงแสนจากเมืองละคอร เมืองเชียงใหม่ และเมืองลาพูน
เดินทางมายังเชียงแสนจานวนมาก ตามพระราชโองการ และขากลับเมืองเชียงรายก็ได้พบกับผู้อพยพเหล่านี้
ด้วย มชี าวเชยี งแสนอพยพล้ภี ัยไปอาศยั อย่ทู ีเ่ มอื งนายประมาณ ๖๔๑ หลงั คาเรอื น

เจ้าพญาเมืองเชียงแสนยังโกรธเคืองเจ้าหลวงเมืองลาพูนอดีตเจ้าชีวิตของตนยังไม่หาย เพราะได้กักไพร่พล
ท่ตี อ้ งตามเจา้ พญามายังเมืองเชียงแสนไป ๒,๕๐๐ คน เปน็ ธรรมเนยี มของชาวฉานเมืองพงิ ค์ว่าไพรเ่ ปล่ียนสังกัด
มูลนายได้ตามใจปรารถนา หากเจ้านายน้ันโหดร้ายไม่เป็นธรรม แต่แรกเม่ือ เจ้าพญาได้รับตาแหนง่ เจ้าเมือง
เชียงแสนนั้นได้มีการโอนไพร่มาสังกัด ๒,๕๐๐ คนซ่ึงท้ังหมดต้องย้ายครัวพร้อมข้าทาสไปเมืองเชียงแสนตาม
เจ้าพญา เมอื งลาพนู นัน้ นา้ ท่าไม่อุดมสมบูรณ์เท่าเมืองเชียงแสน ชาวเมืองกส็ มคั รใจจะย้ายขึน้ ไป เมอื งเชยี งแสน
เป็นเมืองอิสระไม่ขึ้นกับลาพูน ดังนั้นเจ้าหลวงเมืองลาพูนจึงเกรงว่าจะสูญเสียประชากรไปซึ่งหมายถึงสูญเสีย
อานาจการปกครองไปด้วย “ตอนบ่ายเราเดินสวนกับผู้อพยพนับร้อยคนจากเมืองลาพูนที่นั่งพักผ่อนกันอยู่
ข้างตวั มีกองสมั ภาระสว่ นตัวและววั กย็ ืนอยูข่ า้ งๆ สมั ภาระส่วนใหญ่น้ันพวกผ้ชู ายเปน็ คนหามมา”

จากข้อความดังกล่าวทาให้ทราบถึงกลุ่มคนที่เข้ามาฟื้นฟูเมืองเชียงแสน (ที่ราบเชียงแสน) ชาวไทยวน
(คนเมือง) จะเป็นกลุ่มลูกหลานเชลยเมืองเชียงแสนดั่งเดิมที่ถูกกวาดต้อนไป และกลุ่มชาวไทลื้อเมืองยอง (ไทยอง)
ซึ่งเป็นลูกหลานเชลยชาวเมืองยองที่ถูกกวาดต้อนจากเมืองยองในสมั ยพระเจ้ากาวิละแห่งเมืองเชียงใหม่ที่นา
ชาวยองไว้ยังเมืองลาพูน ชาวลาพูนที่มาฟ้ืนฟูเมืองเชียงแสนในยุคน้ันก็คือบรรพบุรุษของชาวแม่คาสบเปิน
และชาวแม่เปนิ ในปจั จุบัน

บา้ นแม่คาสบเปินและบ้านแม่เปินก่อต้ังข้ึนเม่ือปี พ.ศ.๒๔๒๓ ในยคุ ฟ้ืนฟูเมืองเชียงแสน บา้ นแม่คาสบเปิน
ต้งั ช่อื หมู่บ้านตามชื่อแม่นา้ คาที่ไหลผา่ นหมู่บ้านทางทิศใต้และทิศตะวันตกของหมู่บา้ น สว่ นคาวา่ สบเปินมาจาก
ท่ีตั้งของหมู่บ้านจะอยู่บริเวณที่แม่น้าเปินมาบรรจบกับแม่น้าคา จึงได้เรียกช่ือหมู่บ้านว่า แม่คาสบเปิน คาว่า
สบนั้นแปลว่า ปาก หรือปากแม่น้า เหมือนชาวลาวเรียกปากแม่น้าว่า ปาก เช่น ปากแบง (บริเวณท่ีแม่น้าแบง
มาบรรจบกบั แมน่ ้าโขง) เป็นตน้

-13-

บา้ นแม่คาสบเปินและบ้านแม่เปินต้ังอยู่ในตาบลแม่คา หรอื แขว่นแม่คาในแขวงเชียงแสนหลวง ในขณะน้ัน
แขวงเชียงแสนหลวง(เมอื งเชียงแสน) มีทง้ั หมด ๗ ตาบล เม่ือปี พ.ศ.๒๔๔๐ ตอ่ มาเม่อื ปี ๒๔๕๒ แขวงเชยี งแสน
หลวงได้เปลี่ยนช่ือมาเป็นอาเภอแม่จัน ส่วนก่ิงอาเภอเชียงแสนได้เปลี่ยนเป็นช่ืออาเภอเชียงแสน ในอดีตพื้นท่ี
ของตาบลแม่คามีอาณาเขตที่กว้างขวางมากโดยพื้นที่อาเภอแม่ฟ้าหลวงในปัจจุบันก็เป็นอาณาเขตของตาบล
แม่คา ตาบลแม่ไร่ และตาบลห้วยไคร้บางส่วนก็เคยเป็นพื้นท่ีของตาบลแม่คา ในอดีตบ้านแม่คาสบเปินได้ทา
การแยกหมู่บ้านออกเป็นสองหมู่บ้านเพ่ือสะดวกในการปกครองและการของบประมาณเม่ือปี พ.ศ.๒๕๔๘
โดยแบ่งหมู่บ้านคือ บ้านแม่คาสบเปิน หมู่ท่ี ๑ และบ้านแม่เปินหมู่ท่ี ๑๔ บ้านแม่คาสบเปินและบ้านแม่เปินมี
วัดอยู่ ๑ แห่ง โรงเรยี น ๑ แหง่ ฌาปนสถาน ๑ แห่ง โรงสขี า้ วชมุ ชน ๒ แหง่ ศนู ย์พัฒนาเด็กเลก็ ๑ แห่ง ประปา
หม่บู ้าน ๒ แห่ง หมวดการปกครอง ๕ หวั หมวด หอผีเสื้อบา้ น ๓ แห่ง

โดยหมู่บ้านแม่คาสบเปินและบ้านแม่เปินเป็นหมู่บ้านชาวไทยอง (ไทลื้อเมืองยอง) ที่เข้มแข็งในการ
ดารงอัตลักษณ์ทางภาษาพูด วิถีชีวิตชาวไทยอง ศิลปะหัตถศิลป์ และเป็นหมู่บ้านท่ีมีช่างศิลป์ในหลากหลาย
สาขา เปน็ ชุมชนท่ที าการเกษตรกรรมไดเ้ ปน็ อันดบั ต้น ๆ ของจงั หวดั เชียงราย

ทาเนยี บผูป้ กครองหมบู่ า้ น(ผใู้ หญ่บ้าน)
หมู่ที่ ๑
1. พ่อกานันสม คาเงิน ดารงตาแหน่งตง้ั แตป่ ี พ.ศ. ๒๔๔๐ – ๒๔๔๒
2. พอ่ หลวงสขุ คาเงิน ดารงตาแหน่งตั้งแตป่ ี พ.ศ. ๒๔๔๒ – ๒๔๗๐
3. พ่อหลวงขัน คาเงิน ดารงตาแหน่งตงั้ แตป่ ี พ.ศ. ๒๔๗๐ – ๒๔๙๐
4. พ่อหลวงตุ้ย คาเงนิ ดารงตาแหน่งตง้ั แต่ปี พ.ศ. ๒๔๙๐ – ๒๕๐๘
5. พอ่ หลวงปวง จินดาหลวง ดารงตาแหนง่ ตง้ั แต่ปี พ.ศ. ๒๕๗๘ – ๒๕๐๘
6. พอ่ หลวงอิ่นคา คาเงิน ดารงตาแหน่งตัง้ แต่ปี พ.ศ. ๒๕๐๘ – ๒๕๑๓
7. พอ่ หลวงปน๋ั คาเงนิ ดารงตาแหนง่ ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๒๑ – ๒๕๒๕
8. พอ่ หลวงพรหมมินทร์ วงค์กา ดารงตาแหน่งต้งั แต่ปี พ.ศ. ๒๕๒๕ – ๒๕๒๘
9. พ่อหลวงชัยพร รตั นคณุ กรณ์ ดารงตาแหนง่ ต้ังแตป่ ี พ.ศ. ๒๕๒๘ – ๒๕๓๑
๑๐.พอ่ หลวงพรหมมินทร์ วงค์กา ดารงตาแหน่งตง้ั แต่ปี พ.ศ. ๒๕๓๑ – ๒๕๔๕
๑๑.พอ่ หลวงชัยวนั คาเงนิ ดารงตาแหนง่ ต้ังแตป่ ี พ.ศ. ๒๕๔๗ – ๒๕๕๒
๑๒.พ่อหลวงไพศาล เข่ือนแก้ว ดารงตาแหนง่ ต้ังแตป่ ี พ.ศ. ๒๕๕๒ – ปัจจบุ ัน
หมทู่ ่ี ๑๔
พ่อหลวงถนอมศักด์ิ นาใจ ดารงตาแหนง่ ต้งั แต่ปี พ.ศ. ๒๕๔๘ – ปัจจุบัน

๓.๒) ข้ันตอน/วธิ ีการ/ดาเนินการเก่ียวกับขอ้ มลู
ลงพนื้ ที่สอบถามผู้มีความรู้ ปราชญ์ชาวบ้าน การศึกษาข้อมลู ประวัตหิ มู่บ้าน ปัจจบุ ันชาวแม่คาสบเปิน

ยังคงสืบทอดวิถีวัฒนธรรมของคนยองมาจนถึงปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็นภาษาพูด เมื่อเราไปถึงบ้านแม่คาสบเปิน

ผู้คนยงั พูดคยุ เป็นภาษายอง อาหารการกนิ การแตง่ กาย ประเพณแี ละพธิ กี รรม

-14-

๔. ช่อื ผู้ที่ถือปฏิบตั แิ ละผ้สู บื ทอด

๔.๑ ผู้ที่ถือปฏิบัติ

ชื่อ นายปรีชา รอดสวุ รรณ์ (ประธานสภาวัฒนธรรมตาบลแมค่ า)

วนั เดอื น ปีเกิด -

ที่อยู่ 317 หมู่ 1 ตาบลแมค่ า อาเภอแมจ่ ัน จงั หวดั เชียงราย

หมายเลขโทรศัพท์ 062 263 0183

๔.๒ ผู้สืบทอด

ชอื่ นายกฤตดนยั สมบัติใหม่

วัน เดอื น ปีเกิด 7 เมษายน 2527

ทีอ่ ยู่ 385 หมู่ 14 ตาบลแม่คา อาเภอแมจ่ นั จังหวดั เชียงราย

หมายเลขโทรศัพท์ 089 192 1072

๕. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏบิ ตั อิ ยา่ งแพรห่ ลาย  เสี่ยงตอ่ การสญู หาย  ไม่มีปฏิบัติแลว้
๖. รูปภำพภูมปิ ญั ญำทำงวัฒนธรรม/กจิ กรรมทำงภูมิปัญญำทำงวฒั นธรรม

ลกั ษณะบา้ นเรือนของคนยอง

ลกั ษณะการแตง่ กายของคนยอง และการแสดงดนตรพี น้ื เมืองวงแม่คา

-15-

แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ัญญำทำงวัฒนธรรมจงั หวัดเชยี งรำย ประจำปี ๒๕๖5
สำนักงำนวฒั นธรรมจังหวดั เชียงรำย
อำเภอเวียงแกน่ จงั หวดั เชยี งรำย

๑. ชื่อข้อมูล ภาษาขมุ

๒. ลกั ษณะ  วรรณกรรมพ้ืนบา้ นและภาษา
 ศิลปะการแสดง
 แนวปฏิบตั ิทางสงั คมพิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรแู้ ละการปฏบิ ัติเก่ียวกบั ธรรมชาติและจักรวาล
 งานช่างฝมี อื ดงั้ เดมิ
 การละเล่นพนื้ บ้าน กีฬาพ้ืนบา้ น และศลิ ปะการต่อสู่ป้องกันตัว

๓. รำยละเอยี ดขอ้ มูล
๓.๑) ประวตั คิ วามเปน็ มาของขอ้ มูล
ขมุ เป็นกลุ่มชาติพันธ์ุท่ีมีถิ่นฐานบริเวณตอนเหนือของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มายาวนาน ได้แก่

บรเิ วณทางใต้ของประเทศจีน ทางภาคเหนอื ของประเทศไทย ประเทศเวียดนาม และสาธารณรฐั ประชาธิปไตย
ประชาชนลาว ที่มีชาวขมุอยู่เป็นจานวนมากที่สุด จากหลักฐานเอกสารเก่าแก่ทาให้เช่ือกันว่า ชาวขมุ เป็นกลุ่มชน
ดงั้ เดมิ ท่ีสาคัญกล่มุ หนึง่ ของดนิ แดนสุวรรณภูมิ มชี ื่อขมุปรากฏอยู่

คาว่า ขมุ แปลว่า คน เป็นคาท่ีชาวขมุใช้เรียกตนเอง จึงเป็นท้ังช่ือเผ่าและช่ือภาษา คาเรียกชาวขมุ
ในลาว มี 2 คา คือคาวา่ “ขา่ ” และ “ลาวเทงิ ” หรอื “ลาวบนทสี่ ูง” เพอ่ื ให้แตกต่างจากกล่มุ คนที่พูดภาษาลาว
และตระกูลไทยอื่น ๆ สาหรับชาวขมุในประเทศไทย เป็นท่ีรู้จักท้ังช่ือ “ข่า” และ “ขมุ” มาเป็นเวลานาน
ชาวขมุชอบสร้างบ้านเรือนอยู่บริเวณชายเขาหรือบนเขาสูง จึงมักถูกมองว่าเป็นชาวเขากลุ่มเล็กในภาคเหนือ
จังหวัดเชียงรายและจังหวัดน่านบริเวณรอยต่อกับประเทศลาว นอกจากนั้นยังพบกระจัดกระจายอยู่ในจังหวัด
สุพรรณบรุ ี กาญจนบรุ ี และอทุ ัยธานี

ชาวขมุแต่ละกลุ่มมีวัฒนธรรมและภาษาท่ีต่างกันไปเล็กน้อย และมีคาว่า ตม้อย ที่ใช้เรียก
ชาวขมุด้วยกันเองแตต่ ่างกลุ่มกัน ตอ่ ท้ายดว้ ยลักษณะเฉพาะหรือถิน่ ท่ีอยู่ของแตล่ ะกลุม่ เช่น ตมอ้ ยปหู ลวง (ชื่อ
หมู่บ้านเดิม) ตม้อยเพอะ (ลักษณะเฉพาะของภาษา คาว่า “กิน”) ตม้อยอัล (คาว่า “ไม่” ลักษณะเฉพาะของ
ภาษา) ตม้อยลื้อ (อยู่ในกลุ่มพวกลื้อ) เป็นต้น คาว่า “คมุ้” หมายถึงกลุ่มของตน ใช้ในการแยกชาวขมุออกจาก
เชื้อชาติอ่ืน ๆ และคาว่า “แจะ” หมายถึงกลุ่มคนเชื้อสายไทย ทั้งไทยกลาง ไทยภาคเหนือ ลาว ล้ือ และไทดา
และใช้คาว่า “แมว” เรยี กกลมุ่ แม้ว เปน็ ต้น

ภาษาขมุ อยู่ในสาขาย่อยของขมุอิค (Khmuic) สาขามอญ-เขมร (Mon-Khmer) ในตระกูลภาษา
ออสโตรเอเชียติค (Austroasiatic Language Family) ซึ่งมีภาษามัล-ปรัย และมลาบรี เป็นภาษาร่วมสาขา
ย่อยเดียวกัน ภาษาขมุแตล่ ะถิ่นแตล่ ะพืน้ ที่มีความแตกต่างเล็กน้อยด้านระบบเสยี ง ระดับคา และระดบั ประโยค
ขึ้นอยู่กับอิทธิพลภาษาอ่ืน ๆ ในสังคมที่มีการติดต่อส่ือสารกันดว้ ย ลักษณะภาษาขมุน้ี เป็นของสาเนียงหมู่บ้าน
หว้ ยเอียน อาเภอเวียงแก่น จังหวัดเชยี งราย ท่ไี ดม้ ีการศกึ ษาและฟนื้ ฟูภาษาด้วยอักษรไทยแลว้

-16-

พยัญชนะของภาษาขมุมีท้ังหมด 22 เสียง ได้แก่ ก, ค, ง, จ, ช, ซ, ญ, ด, ต, ท, น, บ, ป, พ, ฟ, ม, ย,
ร, ล, ว, อ, และ ฮ. ซงึ่ เป็นพยัญชนะต้นไดท้ งั้ หมด (เสยี ง ฟ อาจพบไดใ้ นประเภทคายืมเทา่ น้ัน)

พยัญชนะควบกลา้ 7 เสียง ไดแ้ ก่ ปล-, ปร-, พร-, กล-, กร-, กว- และ คร-
พยญั ชนะสะกด 15 เสียง ได้แก่ -ก, -ง, -จ, -ยฮ, -ญ, -ด, -น, -บ, -ม, -ย, -ร, -ล, -ว, และ -ฮ.
มีเสียงสระท้ังส้ิน 20 เสียง แบ่งเป็นสระเสียงสั้น -ะ, -า, - ิ, - ี, - ึ, - ื, -ุ , - ู , เ-ะ, เ-, แ-ะ, แ-, โ-ะ, โ-,
เ-าะ, -อ, เ-อะ, เ-อ, แ- ิ, และ เ-า.
มีสระประสม เ- ยี ะ, เ- ยี , เ- ือะ, เ- อื , -ัวะ และ ั-ว.
มีเสียงวรรณยุกต์ 1 เสยี ง ไดแ้ ก่ -้ ระดบั เสียงสูง-ตก

๓.2) ขัน้ ตอน/วิธีการ/ดาเนินการเกี่ยวกับข้อมลู

ลงพื้นทีส่ อบถามผมู้ ีความรู้ ปราชญ์ชาวบ้าน

4. ช่อื ผูท้ ี่ถือปฏิบัตแิ ละผ้สู บื ทอด

4.๑ ผู้ท่ีถอื ปฏบิ ตั ิ

ช่ือ นายบณั ฑิต บุญเสริม

วนั เดือน ปีเกิด -

ที่อยู่ บา้ นหว้ ยเอยี น ตาบลหล่ายงาว อาเภอเวยี งแก่น จังหวัดเชียงราย

หมายเลขโทรศัพท์ -

4.๒ ผู้สืบทอด

ชอ่ื นายคตนานต์ เรอื นเทอม

วัน เดือน ปีเกิด -

ทีอ่ ยู่ บา้ นห้วยเอียน ตาบลหลา่ ยงาว อาเภอเวยี งแก่น จังหวัดเชยี งราย

หมายเลขโทรศัพท์ -

5. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏบิ ตั ิอย่างแพร่หลาย  เสยี่ งต่อการสญู หาย  ไมม่ ีปฏิบตั แิ ล้ว

6. รปู ภำพภูมปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม/กิจกรรมทำงภูมิปัญญำทำงวฒั นธรรม (พร้อมบรรยำยใตภ้ ำพ)

-17-

แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ญั ญำทำงวฒั นธรรมจังหวัดเชียงรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวฒั นธรรมจงั หวัดเชยี งรำย
อำเภอแมล่ ำว จงั หวัดเชยี งรำย

๑. ชื่อข้อมลู ภาษาบซี ู

๒. ลักษณะ  วรรณกรรมพ้ืนบา้ นและภาษา
 ศลิ ปะการแสดง
 แนวปฏิบัติทางสังคมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรแู้ ละการปฏิบัติเก่ียวกบั ธรรมชาติและจักรวาล
 งานชา่ งฝมี อื ดงั้ เดมิ
 การละเลน่ พ้ืนบา้ น กีฬาพ้ืนบา้ น และศลิ ปะการต่อส่ปู ้องกนั ตวั

๓. รำยละเอียดขอ้ มลู

๓.๑) ประวตั ิความเป็นมาของขอ้ มูล
ชนเผ่าพื้นเมืองบีซู เป็นกลุ่มชาติพันธ์ุดั้งเดิมท่ีอยู่ในพ้ืนท่ีจังหวัดเชียงราย โดยมีการเปิดเผยตัวตนให้
เป็นที่รู้จักของคนท่ัวไปเม่ือปี พ.ศ.๒๕๔๘ ที่ชนพื้นเมืองบีซูได้เข้าร่วมกับเครือข่ายชนพ้ืนเมืองแห่งประเทศไทย
ท่ีจัดงานเดินรณรงค์ในจังหวดั เชียงใหม่ เพื่อให้สังคมรับรู้วา่ มีกลุม่ ชาติพันธ์บุ ีซู เป็นชนเผ่าพื้นเมืองอยใู่ นจังหวัด
เชยี งรายของประเทศไทย
ชนเผ่าพ้ืนเมืองบีซู คาดว่าเป็นกลุ่มชนดั้งเดิมในพ้ืนท่ีจังหวัดเชียงราย การเข้ามาตั้งถิ่นฐานอยู่ต้ังแต่
สมัยใดไม่สามารถระบุได้แต่เดิมนั้นมักถูกเรียกรวมกับกลุ่มชาติพันธุ์ลัวะหรือละว้า จากการศึกษาของ
นกั วชิ าการในอดีตพบวา่ ชาชาติพันธ์บุ ีซู มกี ารตง้ั ถิ่นฐานอยู่ในจงั หวัดเชยี งรายเกือบทงั้ หมด และมกี ารอา้ งอิงถึง
การตง้ั ถน่ิ ฐานไดช้ ดั เจนนัก โดยในจังหวัดเชยี งรายนนั้ มกี ลุม่ ชาติพนั ธุ์ที่พูดภาษาบีซูตงั้ ถ่นิ ฐานอยู่ ๕ หม่บู ้า
ลักษณะเด่นท่ีเป็นอัตลักษณ์ของข้อมูล บีซูเป็นกลุ่มชาติพันธ์ุที่มีวัฒนธรรมด้านภาษาพูดที่
นักภาษาศาสตร์จัดอยู่ในกลุ่มภาษาโลโลใต้ สาขาย่อยของตระกูลภาษาทิเบโต-เบอร์มัน (Tibeto – Burman)
ซง่ึ ไดค้ น้ พบกลมุ่ ชนบีซูพดู ภาษาของตนเองในพน้ื ท่ีจังหวัดเชียงรายมาตงั้ แตป่ ี พ.ศ.๒๕๐๙ ชนเผา่ พนื้ เมืองบีซูจัง
เป็นท่ีรู้จักในกลุ่มนักวชิ าการดา้ นภาษา มายาวนาน ซ่ึงต่อมากระทรวงวัฒนธรรมได้ประกาศข้ึนทะเบียนภาษา
บีซเู ป็นมรดกภูมปิ ญั ญาทางวฒั นธรรมของชาติ ประจาปพี .ศ. ๒๕๕๗

๓.๒) ข้นั ตอน/วิธกี าร/ดาเนินการเก่ยี วกบั ข้อมูล
ภาษาบีซูบ้านดอยชมภูตาบลโป่งแพร่อาเภอแม่ลาวจังหวัดเชียงรายมีพยัญชนะต้น ๒๙ หน่วย

เสียงมี ๔ หน่วยเสียงที่คนรุ่นใหม่ไม่ออกเสียง ได้แก่ ฮน ฮม ฮุย และฮล สระมี ๑๐ หน่วยเสียง ความสั้นยาว
ของเสยี งสระไม่มนี ัยสาคัญทางความหมาย ซึ่งเปน็ เอกลกั ษณ์ของภาษาตระกูลทิเบต-พม่า กลา่ วคือจะออกเสียง
สระเสียงสน้ั หรือยาวก็ได้ ไม่ได้ทาให้ความหมายเปล่ียนไป เชน่ ยะ - ยา “ไร่” ซึ่งตา่ งจากภาษาไทยท่ีการออกเสียง
สระสั้นหรือยาวทาให้ความหมายเปล่ียนแปลงวรรณยุกต์มี ๓ หน่วยเสียง ได้แก่ เสียงระดับกลาง ระดับต่าตก
และระดับสูงข้ึน การเรียงคาในประโยคมีลักษณะแบบ ประธาน – กรรม - กริยา (SOV) เช่น กงาฮ่างจ่า ฉัน-
ข้าว-กิน = ฉันกินขา้ ว เป็นตน้

-18-

- หน่วยเสยี งท่ีเปน็ ไดท้ ้งั พยัญชนะตน้ และพยญั ชนะทา้ ยมี 8 หนว่ ยเสยี ง
ได้แก่ /m/, /n/, /ŋ/, /p/, /t/, /k/, /w/ และ /j/

- หน่วยเสียงพยัญชนะควบมี 12 หนว่ ยเสียง
ได้แก่ /ml/, /mj/, /bl/, /bj/, /kl/, /kw/, /kj/, /kʰl/, /kʰj/, /pl/, /pʰl/ และ /pʰj/ เกดิ ใน
ตาแหนง่ ตน้ พยางค์เท่าน้ัน

- พยญั ชนะ /m̥/, /n̥/, /ŋ̥ /, /l̥/, /j/̥ ออกเสยี งคล้ายมลี มนาหนา้ แต่ปัจจบุ ันเสียงลมนาหนา้ ลดลง
หรือไม่มีแลว้

- หน่วยเสียง /f/ พบเฉพาะในคายมื
- ระบบเสยี งภาษาบีซูถ่นิ ดอยชมภมู ีเฉพาะสระเดี่ยว โดยสระประสม /ia/ ปรากฏเฉพาะในคายมื เชน่

/ʔetɕ͡ ʰia/ 'เอเชีย'
- ความสัน้ ยาวของเสยี งสระไม่ทาใหค้ วามหมายของคาเปลี่ยนแปลง แต่สระท่ีมพี ยัญชนะทา้ ยเปน็ /m/,

/n/, /ŋ/, /w/, /j/ มักมีเสียงยาวกวา่ สระท่ีมีพยญั ชนะท้ายเปน็ /p/, /t/, /k/ อยา่ งไรก็ตาม ระบบ
เขียนอักษรไทยใช้รปู สระเสยี งยาวในทุกบริบท
- สระในพยางค์เปิดจะเป็นเสยี งยาวตามดว้ ยเสยี งกกั ทเี่ สน้ เสียง เช่น /jḁ / [jḁ ːʔ] 'ไก'่ ;
วรรณยุกต์
ภาษาบีซถู ิน่ ดอยชมภมู ีหนว่ ยเสยี งวรรณยกุ ต์ 3 หน่วยเสยี ง[7] ได้แก่
หนว่ ยเสียงวรรณยกุ ตก์ ลาง (mid tone) เชน่ /jḁ / 'ไก'่
หน่วยเสียงวรรณยกุ ต์ต่า (low tone) เชน่ /jḁ̀ / 'คนั '
หน่วยเสียงวรรณยุกต์สงู (high tone) เช่น /jḁ́ / 'ไร่'
การสบื สาน สร้างสรรค์ และพัฒนาต่อยอดข้อมลู เนอ่ื งจากภาษาพดู ที่เป็นเอกลักษณ์ของบีซู พดู กันได้
น้อยลง เด็กส่วนมากเรียนหนังสือในระบบโรงเรียนอยา่ งน้อย ๖ ปี และได้รับอิทธิพลจากวทิ ยแุ ละโทรทัศน์ บีซู
รุ่นนี้จะม่ันใจในการใช้ภาษาไทยมาตรฐานมากขึ้นและกลมกลืนกับคนพ้ืนเมือง รวมทั้งอายไม่กล้าใช้หรือพูดภาษา
บซี กู บั คนภายนอกมากนัก แต่บีซรู ่นุ ปจั จบุ ัน ใหค้ วามสาคญั กับการสอนใหล้ ูกหลานพูดภาษาบีซู ในหมู่บา้ นดอย
ชมพูได้ใช้ตัวอักษรไทยในการใช้ภาษาเขียน โดยได้รับการสนับสนุนการฟื้นฟูภาษาบีชูจากหน่วยงานหลายแหง่
เชน่ ศนู ย์ศึกษาและฟนื้ ฟูภาษาและวฒั นธรรมในภาวะวิกฤตสถาบันวิจยั ภาษาและวฒั นธรรมเอเชีย มหาวทิ ยาลัยมหิดล
และสานักงานกองทุนสนับสนุน การวิจัย (สกว.) ได้เข้ามาช่วยให้ทุนสนับสนุนผู้นาชุมชนบีซู ในการฟื้นฟูภาษาบีซู
ในช่วงปี พ.ศ. ๒๕๕๓ ได้เปิดศูนย์บ่มเพาะภาษาบีซูหรือศูนย์เด็กเล็กท่ีครูผู้สอนและพี่เลี้ยงต่างก็ใช้ภาษาในการ
เรียนการสอน โดยไม่มีภาษาคาเมืองหรือภาษาไทยกลางเข้ามาปน นอกจากนั้นยังมีกลุ่มเยาวชนกลุ่มเล็ก ๆ
ท่ีคอยเผยแพรแ่ ละสอนภาษาบีซูใหก้ ับเด็กบีซู ซง่ึ กไ็ ด้รับการสนับสนนุ จากผ้ใู หญ่ในชุมชนเป็นอยา่ งดี
ภาษาบีซูนั้นเป็นเอกลักษณ์ของชาวบีซู เพราะว่าภาษาบีซูเป็นปัจจัยสาคัญท่ีจะทาให้คนภายนอกว่า
พวกเขาคือชนเผ่าพื้นเมืองบีซู นอกจากนั้นชาวบีซูยังมองว่าภาษาบีซูเป็นภาษาท่ีปู่ย่าตายายพ่อแม่เคยพูดกันมา
และสั่งสอนให้พูดกันถือเป็นมรดกทางวัฒนธรรมท่ีควรจะอนุรักษ์ไว้เป็นอย่างย่ิง ซ่ึงต่อมากระทรวงวัฒนธรรม
ไดป้ ระกาศขึน้ ทะเบียนภาษาบซี เู ปน็ มรดกภมู ปิ ัญญาทางวฒั นธรรมของชาติประจาปพี .ศ. ๒๕๕๗
ภาษาบซี เู ป็นภาษาพูด ไมม่ รี ะบบการเขียนและตัวอักษร เมือ่ สภาพสังคมเปลย่ี นและคนบซี เู ร่ิมแต่งงาน
กับคนภายนอกกลุ่มมากขึ้น ทาให้คนรุ่นใหม่ในหมู่บ้านพูดภาษาบีซูได้น้อยลง นิยมพูดภาษาไทยภาคเหนือ
(คาเมือง) และภาษาไทยภาคกลางมากขึ้น จนคนบีซูรุ่นผู้ใหญ่เริ่มกังวล และต้องการให้ภาครัฐและนักวิชาการ
ช่วยเหลือในการอนุรักษ์ภาษาบีซู สถาบันภาษาศาสตร์ SIL จึงได้ทาโครงการวิจัย “การฟื้นฟูภาษาและภูมิปัญญา
เพ่ือพัฒนาการศึกษาและกลุ่มชาติพันธุ์” และได้พัฒนาระบบการเขียนภาษาบีซูโดยใช้อักษรไทยขึ้นในปี
พ.ศ.๒๕๓๙ เพอื่ ใชบ้ ันทึกนิทาน ทาพจนานุกรมภาพภาษาบีซู-ไทย-อังกฤษ เพอื่ เป็นแบบเรียนใช้สอนในศูนย์เด็กเล็ก
ของชุมชน

-19-

๔. ชือ่ ผ้ทู ถ่ี ือปฏบิ ตั ิและผ้สู บื ทอด

๔.๑ ผูท้ ถ่ี อื ปฏิบัติ

ชอ่ื นายอนุ่ เรือน วงค์ภักดี

วนั เดอื น ปเี กิด -

ทอี่ ยู่ หมู่ ๗ ตาบลโปง่ แพร่ อาเภอแม่ลาว จังหวดั เชยี งราย

หมายเลขโทรศัพท์ ๐๙๓ ๒๖๒ ๑๕๙๑

๔.๒ ผู้สบื ทอด

ช่ือ นางสาวยพุ ารตั น์ ตคิ า

วนั เดอื น ปเี กดิ 2513

ทอี่ ยู่ ๑ หมู่ ๗ ตาบลโปง่ แพร่ อาเภอแมล่ าว จงั หวัดเชียงราย

หมายเลขโทรศัพท์ 086 086 7382

5. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏบิ ตั อิ ยา่ งแพร่หลาย  เสีย่ งต่อการสูญหาย  ไม่มปี ฏบิ ัตแิ ล้ว

6. รปู ภำพภูมปิ ญั ญำทำงวัฒนธรรม/กจิ กรรมทำงภูมิปัญญำทำงวัฒนธรรม

หนงั สือค่มู ือระบบเขียน ภาษาบซี ู การสอนภาษาบีซู

ศูนย์ถา่ ยทอดวัฒนธรรมชนเผา่ บีซู
บา้ นดอยชมภู ตาบลโป่งแพร่ อาเภอแมล่ าว จังหวดั เชียงราย

-20-

แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ัญญำทำงวัฒนธรรมจงั หวดั เชียงรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวฒั นธรรมจังหวัดเชยี งรำย

สภำวัฒนธรรมอำเภอเทงิ จังหวดั เชยี งรำย

๑. ชื่อข้อมูล วรรณกรรมล้านนา

๒. ลักษณะ  วรรณกรรมพ้นื บ้านและภาษา
 ศลิ ปะการแสดง
 แนวปฏบิ ัติทางสังคมพิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรู้และการปฏิบตั เิ กย่ี วกบั ธรรมชาตแิ ละจกั รวาล
 งานช่างฝีมอื ด้งั เดมิ
 การละเลน่ พ้นื บ้าน กีฬาพ้ืนบ้าน และศลิ ปะการตอ่ ส่ปู ้องกนั ตัว

๓. รำยละเอยี ดขอ้ มลู

๓.๑) ประวตั ิความเปน็ มาของขอ้ มลู
บ้านไคร้หมู่ 22 เป็นหมู่บ้าน หนึ่งของตาบลตับเต่า ซึ่งเป็นหมู่บ้านที่แยกมาจากหมู่ท่ี 3 ตาบลตับเต่า
ซ่ึงมีประประชาชน ได้อพยพมาจากจังหวัดน่านบางส่วน ได้มาตั้งถิ่นฐาน ณ หมู่บ้านไคร้ หมู่ 3 และในเวลา
ต่อมามีประชากร มากข้ึน จึงได้แยกหมู่บ้านเพ่ือประโยชน์ด้านงบประมาณ และแบ่งเขตรับผิดชอบ ในการ
จดั การทรพั ย์ยากรทางดา้ นทิศตะวันออกของหม่บู า้ น มธี รรมชาตทิ ี่อุดมสมบูรณ์ มีผูส้ ืบทอด วรรณกรรม ภาษา
ซึ่ง นางศรีเลย สิทธิเขียว เป็นผู้ท่ีเขียนโคลง กลอน แบบล้านนาได้ ซึ่งทางภาคเหนือเรียกว่า ค่าว ซอ เป็นโครง
กลอน ท่ีสามารถเขียนสะท้อนวิถีชีวิต และเร่ืองราว ของหมู่บ้าน เร่ืองของศีลธรรม ศาสนา รวมถึงวรรณกรรม
นทิ านพ้นื บ้านต่าง ๆ ซึง่ เป็นภมู ิปัญญาทีค่ วรจะสืบทอด และให้เยาชนเดก็ รนุ่ ใหมไ่ ด้เรยี นรู้

๓.๒) ข้นั ตอน/วิธกี าร/ดาเนินการเกี่ยวกับข้อมูล
ทาการศึกษาจัดเก็บข้อมูลศึกษา และทาข้อมูลให้เป็นสารสนเทศเพื่อ การสืบทอดภูมิปัญญาสู่เยาวชน
รนุ่ หลังและคงสภาพภมู ิปญั ญา

๔. ชอ่ื ผู้ที่ถอื ปฏิบัติและผู้สืบทอด
๔.๑ ผทู้ ถี่ อื ปฏบิ ตั ิ
ชอื่ นางศรีเลย สิทธเิ ขียว
วนั เดือน ปเี กิด 3 มนี าคม 2482
ทอ่ี ยู่ 150 หมู่ 22 ตาบลตบั เต่า อาเภอเทงิ จังหวดั เชียงราย
หมายเลขโทรศัพท์ 080 672 7034
4.๒ ผู้สบื ทอด
ชอ่ื -
วนั เดือน ปีเกดิ -
ทีอ่ ยู่ -
หมายเลขโทรศัพท์ -

5. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏบิ ัติอย่างแพรห่ ลาย  เสย่ี งตอ่ การสญู หาย  ไม่มปี ฏิบตั แิ ล้ว

๖. รปู ภำพภมู ิปัญญำทำงวัฒนธรรม/กิจกรรมทำงภูมิปัญญำทำงวฒั นธรรม

-21-

แบบสำรวจมรดกภมู ิปัญญำทำงวฒั นธรรมจังหวัดเชยี งรำยประจำปี ๒๕๖๕
สภำวฒั นธรรมจังหวดั เชยี งรำย
อำเภอเวยี งชยั จงั หวดั เชียงรำย

๑. ชอ่ื ข้อมลู สรภญั ญะ

๒. ลกั ษณะ  วรรณกรรมพนื้ บา้ นและภาษา
 ศลิ ปะการแสดง
 แนวปฏิบตั ทิ างสงั คมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรู้และการปฏิบตั เิ ก่ยี วกับธรรมชาติและจกั รวาล
 งานช่างฝมี อื ดงั้ เดิม
 การละเล่นพ้นื บา้ น กีฬาพ้ืนบา้ น และศิลปะการตอ่ สู่ป้องกันตัว

๓. รายละเอยี ดข้อมูล
๓.๑ ประวตั คิ วามเป็นมาของข้อมลู
สรภัญญะ คือ การสวดและร้องเพลงพื้นบ้านประเภทหน่ึงท่ีผสมผสานกันมีการร้องและราประกอบ

บทสวดจะมีลักษณะเป็นฉันท์หรือกาพย์ เป็นการสวดในทานองสังโยค คือ การสวด เป็นจังหวะหยุดตาม
รูปประโยคฉันทลักษณ์ บทสวดจะมีลักษณะเป็นฉันท์หรือกาพย์ก็ได้ แต่ทีนิยมกันมากคือ กาพย์ยานี สาหรับ
เนื้อหาจะเก่ียวข้องกับศาสนา บาปบุญคุณโทษ นิทานชาดก นอกจากน้ัน ก็ยังมีการแต่งกลอนเน้นไปทาง
ศิลปวัฒนธรรม เช่น กลอนถามข่าว โอภาปราศรัย ชักชวนให้ไปเยี่ยม การลา หรือเป็นวรรณกรรมท้องถ่ินของ
อีสาน เช่น เรืองกล่องข้าวน้อยฆ่าแม่ เป็นต้น บทสวดสรภัญญะมักไม่เน้นในเรื่องความรัก เพราะการสวด
สรภัญญะเก่ยี วขอ้ งกับศาสนา และผ้ฝู กึ สอนเป็นพระภิกษุ จึงไมใ่ หม้ ีเน้ือหาเกีย่ วกับความรัก เพราะไม่เหมาะกับ
พระสงฆ์

บทร้องสรภัญญะเนื้อหาของเพลงสรภัญญะจะกล่าวถึงเรื่องราวของพุทธศาสนา ยกย่องสรรเสริญ
บุคคลผู้มีพระคุณ ให้ความรู้เก่ียวกับนิทาน ตานานพื้นบ้านและเหตุการณ์ปัจจุบัน มุ่งอบรมสั่งสอนให้คนทา
ความดีมีจริยธรรม พรรณนาธรรมชาติ นิทานพื้นบ้าน ช่วยให้เกิดอารมณ์ผ่อนคลาย มีเร่ืองราวสนุกสนาน
ก่อให้เกิดความสามัคคี บทเพลงสรภัญญะ จึงเป็นเพลงขับจริยธรรมอย่างแท้จริงการเลือกใช้คาในเพลง
สรภัญญะที่ทาให้เกิดความงามและความไพเราะ จะใช้คาให้สัมผัสท้ังในวรรคและระหว่างวรรค นอกจากน้ี
ทโี่ ดดเดน่ ทีสุดก็คือมีการเลอื กใชค้ าภาษาถ่ินของตนมาประยุกต์กบั ภาษาไทย

ประเภทของสรภัญญะได้จาแนกไว้ 10 ประเภท คือ บทบูชาพระรัตนตรัย บทนมัสการไหว้ครูและ
เคารพบิดามารดา บทคาสอนทางพุทธศาสนาสรรเสริญพระศาสนาและวันสาคัญต่าง ๆ ทางพุทธศาสนา บทท่ี
เป็นคาสอนทางโลก บทสุภาษิตคาพังเพยอุปมาอุปไมย บทท่ีอยู่ในความสนใจของชาวบ้าน บทที่เป็นเหตุการณ์
ปจั จุบัน บทพรรณนาธรรมชาติ บทวรรณกรรมพ้ืนบ้าน และบททีม่ เี นอื้ หาเบด็ เตลด็

ในอดีตการขับร้องสรภัญญะมีบทบาทสาคัญต่อชุมชนชาวอีสานเป็นอย่างมากจึงมีการส่งเสริมและ
สนับสนุนการขับร้องและสวดสรภัญญะด้วยการจัดประกวดการขับร้อง เป็นกิจกรรมแทรกในงานต่าง ๆ
อันส่งผลให้มีผู้คิดและแต่งบทสรภัญญะกันมากขึ้น ซ่ึงผู้ที่แต่งส่วนใหญ่ ได้แก่ พระสงฆ์ หรือฆราวาสท่ีเคยบวช
เรยี น หรือมปี ระสบการณใ์ นการขบั สรภัญญะและรักในศลิ ปะการประพนั ธ์

-22-

๓.๒ ขน้ั ตอน/วิธกี าร/ดาเนนิ การเก่ียวกบั ข้อมลู
ปัจจุบันการสวดสรภัญญะน้ัน นิยมสวดกันในงานศพ งานทอดผา้ ป่า งานกฐิน งานทอดเทยี น งานกวน
ข้าวทิพย์ และในกิจกรรมวันธรรมสวนะ (วันพระ) และชาวบ้านได้ร่วมใจกันสืบสานการสวดสรภัญญะให้คงอยู่
ดว้ ยการสวดสรภัญญะในวันธรรมสวนะและงานบุญต่าง ๆ

๔. ช่ือผูท้ ถี่ อื ปฏิบัตแิ ละผู้สบื ทอด

๔.๑ ผทู้ ีถ่ อื ปฏิบตั ิ

ชอ่ื นางบัวลา ขนั ธวิชัย

วนั เดอื น ปเี กิด ๗ มีนาคม ๒๔๙๓

ทอ่ี ยู่ ๑๐๔ หมู่ ๑๐ ตาบลผางาม อาเภอเวียงชยั จังหวดั เชยี งราย

หมายเลขโทรศัพท์ ๐๙๒ ๔๓๑ ๘๖๓๓

๔.๒ ผู้สืบทอด

ชื่อ นางผ่องศรี มาแสน

วนั เดอื น ปีเกิด ๒๕ มีนาคม ๒๔๙๗

ทอ่ี ยู่ ๖๑ หมู่ ๑๐ ตาบลผางาม อาเภอเวียงชยั จังหวดั เชยี งราย

หมายเลขโทรศัพท์ ๐๘๘ ๔๐๒ ๕๕๒๐

๕. สถานการณ์คงอยู่  ปฏบิ ตั อิ ย่างแพร่หลาย  เสยี่ งต่อการสญู หาย  ไมม่ ปี ฏบิ ตั แิ ลว้

๖. รูปภาพภมู ิปญั ญาทางวัฒนธรรม/กจิ กรรมทางภูมปิ ัญญาทางวฒั นธรรม

-23-

แบบสำรวจมรดกภมู ิปัญญำทำงวฒั นธรรมจงั หวัดเชยี งรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวัฒนธรรมจงั หวดั เชยี งรำย
อำเภอเวียงชัย จังหวัดเชียงรำย

๑. ช่ือข้อมลู หนังสือตารายาเมืองล้านนา

๒. ลกั ษณะ  วรรณกรรมพ้นื บ้านและภาษา
 ศลิ ปะการแสดง
 แนวปฏบิ ัติทางสงั คมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรู้และการปฏิบตั ิเกยี่ วกับธรรมชาตแิ ละจกั รวาล
 งานชา่ งฝีมือด้ังเดมิ
 การละเลน่ พ้นื บา้ น กีฬาพืน้ บ้าน และศิลปะการตอ่ สปู่ ้องกันตัว

๓. รำยละเอียดข้อมูล
๓.๑) ประวตั ิความเปน็ มาของขอ้ มลู
ชาวเหนือมีการถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับวิธีการดูแลสุขภาพ การรักษาโรคภัยไข้เจ็บต่าง ๆ จากบรรพบุรุษ

และปฏิบัติสืบทอดกันมาได้อย่างสอดคล้องกับวิถีชีวิตของตนเอง แม้ว่าการแพทย์แผนปัจจุบันจะมีความ
เจรญิ กา้ วหน้าและมสี ถานพยาบาลมากแล้วก็ตาม บางครัง้ มีการดูแลปฏิบัติตนตามความเช่ือถือดั้งเดิมควบคู่ไป
กับการรักษาด้วยแผนปัจจุบัน สาหรับการแพทย์แผนโบราณในภาคเหนือนับว่ามีส่วนผสมผสานอยู่ใน
ชีวิตประจาวันมาแต่เดมิ เพราะถือวา่ การรู้จกั ดูแลสุขภาพ รจู้ ักใช้ยาสมนุ ไพรทีอ่ ยรู่ อบตวั มาใช้ในการรกั ษาโรค

หมอเมืองซึ่งเป็นหมอพื้นบ้านภาคเหนือ เป็นตาแหน่งทางสังคมของบุคคลท่ีมีความรู้ในการปัดเป่า
เยียวยาปญั หาโรคภัยไข้เจ็บทุกข์ร้อนตา่ ง ๆ ของชุมชน ด้วยพืชสมนุ ไพรหรือวธิ ีการ อนื่ ๆ หมอเมืองจึงมิได้เป็น
เพยี งตาแหนง่ ทางวิชาชพี และมิใช่พ่อค้าขายยาหรือคนสมุนไพร แตห่ มอเมืองและตาราหมอเมืองเปรยี บเสมือน
องค์ความร้แู ละภูมิปัญญาทอ้ งถิน่ ทม่ี ีการสืบทอดกนั มาหลายช่ัวอายุ

นายสุทัศน์ ก๋าแก้ว ได้ศึกษาเรียนรู้ภาษาล้านนา(ตั๋วเมือง) ตั้งแต่อายุ 11 ปี (บวชเรียนเป็นสามเณร)
และไดเ้ ริ่มศึกษาตารายา(ปับ๊ สา) ตั้งแต่ พ.ศ. 2514 เป็นต้นมา โดยไดอ้ ่านปับ๊ สาของนายคาอา้ ย กา๋ แก้ว (ปู)่

๓.๒) ขน้ั ตอน/วิธีการ/ดาเนนิ การเก่ียวกบั ข้อมูล
หนังสือตารายาเมืองล้านนา เป็นหนังสือท่ีแปลจากป๊ับสาภาษาล้านนาเป็นภาษาไทย มีตารายา
มากกว่าหน่ึงพันชนิดในหน่ึงเล่ม โดยนายสุทัศน์ ก๋าแก้ว ได้ดาเนินการศึกษาค้นคว้าป๊ับสาท่ีเป็นตารายาของ
นายคาอ้าย ก๋าแก้ว (ปู่) ซึ่งนายคาอ้าย ก๋าแก้ว (ปู่) เป็นหมอเมืองในยุคน้ัน นายสุทัศน์ ก๋าแก้ว ได้ศึกษาแปล
ตารายาจากตั๋วเมือง (อักษรลา้ นนา) มาเปน็ ภาษาไทยเรือ่ ยมาจนถงึ ปจั จบุ ัน

๔. ช่ือผทู้ ่ีถอื ปฏิบัติและผสู้ ืบทอด

๔.๑ ผู้ทีถ่ อื ปฏบิ ัติ

ชื่อ นายสทุ ศั น์ กา๋ แกว้

วัน เดอื น ปีเกิด ๔ ตุลาคม ๒๕๐๒

ท่ีอยู่ 9 หมูท่ ี่ 4 ตาบลเวยี งเหนือ อาเภอเวยี งชยั จังหวดั เชยี งราย

หมายเลขโทรศัพท์ ๐๘๓ ๔๘๑ ๗๑๓๗

-24-

๕. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏบิ ตั อิ ยา่ งแพรห่ ลาย  เสย่ี งต่อการสญู หาย  ไมม่ ปี ฏิบตั แิ ลว้
๖. รูปภำพภมู ปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม/กจิ กรรมทำงภูมิปัญญำทำงวัฒนธรรม

-๒๕-

แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ัญญำทำงวฒั นธรรมจังหวัดเชยี งรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวฒั นธรรมจังหวดั เชยี งรำย
อำเภอปำ่ แดด เชียงรำย

๑. ชอื่ ข้อมูล อกั ษรธมั ม์ลา้ นนา

๒. ลักษณะ  วรรณกรรมพื้นบา้ นและภาษา
 ศลิ ปะการแสดง
 แนวปฏิบัตทิ างสังคมพิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรูแ้ ละการปฏิบัติเกยี่ วกบั ธรรมชาตแิ ละจกั รวาล
 งานช่างฝมี อื ดงั้ เดิม
 การละเลน่ พ้ืนบา้ น กีฬาพืน้ บ้าน และศิลปะการต่อส่ปู ้องกนั ตัว

๓. รำยละเอยี ดข้อมลู
๓.๑) ประวตั คิ วามเป็นมาของข้อมูล
อักษรธัมมล์ ้านนา หรือ ตัวเมือง หรือ อักษรยวน ในอดตี เรียกว่า ไทยเฉียงลาวเฉียงตามช่ือมณฑลลาวเฉียง

เป็นอักษรท่ีใช้ในสามภาษา ได้แก่ ภาษาไทยถิ่นเหนือ, ภาษาไทลื้อ ในประเทศจีน และภาษาไทเขิน ในประเทศพม่า
นอกเหนือจากนี้ อักษรล้านนายังใช้กับลาวธรรม (หรือลาวเก่า) และภาษาถิ่นอื่น ในคัมภีร์ใบลานพุทธและ
สมดุ บันทกึ อักษรนยี้ ังเรยี ก อักษรธรรมหรืออกั ษรยวน

ภาษาไทยถ่ินเหนือเป็นภาษาใกล้ชิดกับภาษาไทยและเป็นสมาชิกของตระกูลภาษาเชียงแสน มีผู้พูด
เกือบ 6,000,000 คนในภาคเหนือของประเทศไทย และหลายพันคนในประเทศลาว ซ่ึงมีจานวนน้อยท่ีรู้
อักษรล้านนา อักษรน้ียังใช้อยู่ในพระสงฆ์อายุมาก ภาษาไทยถ่ินเหนือมีหกวรรณยุกต์ ขณะท่ีภาษาไทยมี ๕วรรณยุกต์
ทาใหก้ ารถอดเสียงเป็นอักษรไทยมีปัญหา มคี วามสนใจในอักษรล้านนาขึน้ มาอกี บ้างในหมู่คนหน่มุ สาว แตค่ วามยุ่งยาก
เพมิ่ ข้นึ คอื แบบภาษาพดู สมัยใหม่ ทเ่ี รยี ก คาเมือง ออกเสียงต่างจากแบบเก่า

๓.๒) ขัน้ ตอน/วิธกี าร/ดาเนนิ การเก่ียวกับข้อมูล
อักษรธรรมล้านนา หรือ ตัวเมือง พัฒนามาจากอักษรมอญโบราณ เช่นเดียวกับอักษรพม่า อักษรชนิดนี้
ใช้ในอาณาจักรล้านนาเม่ือราว พ.ศ. 1802 จนกระท่ังถูกพม่ายึดครองใน พ.ศ. 2101 ปัจจุบัน ใช้ในงานทาง
ศาสนา พบได้ทั่วไปในวัดทางภาคเหนือของประเทศไทย (ส่วนที่เป็นเขตอาณาจักรล้านนาเดิม และเขตที่ได้รับ
อิทธิพลวัฒนธรรมล้านนาบางแห่ง) นอกจากนี้ยังแพร่หลายถึงไปถึงเขตรัฐไทยใหญ่แถบเมืองเชียงตุง ซึ่งอักษร
ทใ่ี ชใ้ นแถบน้นั จะเรียกช่อื ว่า "อักษรไตเขิน" มลี ักษณะท่ีเรยี บง่ายกวา่ ตวั เมอื งทีใ่ ช้ในแถบลา้ นนา
อนึ่ง อักษรธรรมล้านนายังได้แพร่หลายเข้าไปยังอาณาจักรล้านช้างเดิมผ่านความสัมพันธ์ทางการทูต
และทางศาสนาระหวา่ งล้านนากบั ลา้ นชา้ งในช่วงปลายพุทธศตวรรษที่ 21 รว่ มสมัยกับพระเจ้าโพธิสารราชและ
พระเจ้าไชยเชษฐาธิราชแห่งล้านช้าง เป็นต้นเค้าของการวิวัฒนาการของแบบอักษรที่เรียกว่าอักษรธรรมลาว
(หรือท่ีเรียกในภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือของไทยว่า "อักษรธรรมอีสาน") ในเวลาตอ่ มา
อักษรธรรมล้านนาจดั ตามกลุ่มพยัญชนะวรรคตามพยัญชนะภาษาบาลี แบง่ ออกเป็น 5 วรรค วรรคละ
5 ตัว เรียกว่า พยัญชนะวรรค หรือ พยัญชนะในวรรค อีก 8 ตัวไม่จัดอยู่ในวรรคเรียกว่า พยัญชนะ อวรรค
หรือ พยัญชนะนอกวรรค หรือ พยัญชนะเศษวรรค สว่ นการอา่ นออกเสียงเรียกพยัญชนะท้ังหมดน้ัน จะเรียกว่า
“ตว๋ั ”เชน่ ต๋ัว กะ/ก/ ตัว๋ ขะ/ข/ ตวั๋ จะ/จ/ เปน็ ตน้
พยัญชนะปกติ
อักษรไทยท่ีปรากฏเป็นการถ่ายอักษรเท่าน้ัน เสียงจริงของอักษรแสดงไว้ในสัทอักษรสากล ซ่ึงอาจจะ
ออกเสียงต่างไปจากอกั ษรไทย

-๒๖-

ตวั เมือง อักษรไทย เสยี ง สทั อกั ษร อักษร

ก กะ /kǎ/ สูง

ข ข๋ะ /kʰǎ/ สูง

ฃ ฃ๋ะ /xǎ/ สูง

ค ก๊ะ /ká/ ตา่
ฅ คะ /xá/ ตา่

ฆ ฆะ /kʰá/ ตา่
ง งะ /ŋá/ ตา่
จ จ๋ะ /tɕǎ/ สูง
ฉ ส๋ะ /sǎ/ สงู
ช จะ๊ /tɕá/ ตา่
ซ สะ /sá/ ตา่

ฌ ซะ /sá/ ตา่
ตา่
ญ ญะ /ɲá/ สงู
สงู
ฏ ระ่ ตะ๋ /tǎ/
กลาง
ฐ ระ่ ถ๋ะ /tʰǎ/ ตา่

ฑ, ด ดะ๋ /da/

ฒ ระ่ ทะ /tʰá/

ต /tǎ/ สูง

ถ /tʰǎ/ สงู

ท /tá/ ตา่

ธ /tʰá/ ตา่

น /ná/ ตา่

บ /bǎ/ กลาง

ป /pǎ/ สูง

ผ /pʰǎ/ สูง

ฝ /fǎ/ สูง

พ /pá/ ตา่

ฟ /fá/ ตา่

ภ /pʰá/ ตา่

ม /má/ ตา่

ย ต่า /ɲá/ ตา่

ย กลาง /jǎ/ กลาง

ร /há/ ตา่

ฤ /lɯ/

ล /lá/ ตา่

-๒๗-

ตวั เมือง อกั ษรไทย เสียง สัทอกั ษร อักษร

ฦ /lɯ/

ว /wá/ ตา่
ศ /sǎ/ สูง
ษ /sǎ/ สงู
ส /sǎ/ สงู
ห /hǎ/ สูง
ฬ /lá/ ตา่

อ /ʔǎ/ กลาง
ฮ /há/ ตา่

ฦ /lɯ/

พยัญชนะซอ้ น (ตวั ซอ้ น) เป็นพยญั ชนะท่ีใส่ไว้ใต้พยญั ชนะตัวอนื่ เพือ่ ทาหน้าท่ีอย่างใดอย่างหน่ึงดังนี้
1. เพอื่ หา้ มไม่ใหพ้ ยัญชนะทไี่ ปซอ้ น (ตวั ขม่ ) ออกเสยี งสระอะ หรือ
2. เพอื่ ทาหน้าทเ่ี ปน็ ตวั สะกด ซึ่งพยญั ชนะท่ลี า้ นนารบั มาจากภาษาอื่นต้ังแต่แรกจะมีรปู พยัญชนะซ้อน
ทกุ ตวั ยกเว้น กับ เท่าน้ันที่ไมม่ ี พยญั ชนะทีม่ ีรปู พยญั ชนะซอ้ นมดี งั ต่อไปนี้

พยัญชนะนอกเหนือจากน้ี ซ่ึงได้แก่ เป็นพยัญชนะท่ีล้านนา

ประดิษฐ์ข้ึนมาเอง ดังนั้นจึงไม่มีรูปพยัญชนะซ้อน แต่อย่างไรก็ตามเพ่ือให้สามารถเขียนคาที่มาจาก

ภาษาต่างประเทศได้ใกล้เคียงกับภาษาเดิมมากที่สุด จึงสมควรมีการประดิษฐ์รูปพยัญชนะซ้อน

ของ และ ข้นึ มาเพ่ิมเตมิ

รูป พยัญชนะพเิ ศษ -๒๘- เอ แบบบาลี ลึ ลือ
เอ ฤ,ฤๅ (ฤๅ) ฦ
ชอื่ อ๋ิ แบบบาลี อี แบบบาลี อุ๋ แบบบาลี อู แบบบาลี lɯ᷇ ʔ /lɯ̄ ː/
ถอดอกั ษร อิ อี อุ อู /ēː/
สทั อักษร /íʔ/ /īː/
/úʔ/ /ūː/

รูป

ชอ่ื แล แล แบบไทล้ือ นา ญะญะ ส สองห้อง ระโฮง

ถอดอกั ษร แล/และ นา ญญฺ สฺส ร (ควบกลา้ )

สทั อักษร /lɛ̄ ː/ /nāː/ /n.ɲ/ /t.s/, /s.s/, /sː/ /r/, /l/, /ʰ/

สระ

สระจม เปน็ สระท่ีไม่สามารถออกเสียงไดด้ ว้ ยตัวเอง ต้องนาไปผสมกับพยญั ชนะกอ่ นจึงจะสามารถออก

เสยี งได้

-๒๙-

สระลอย

เป็นสระท่ีมาจากภาษาบาลี สามารถออกเสียงได้ด้วยตัวเองไม่จาเป็นต้องนาไปผสมกับพยัญชนะก่อน
แต่บางครั้งก็มีการนาไปผสมกับพยัญชนะหรือสระแท้ เช่น คาว่า "เอา" สามารถเขียนได้ โดยเขียนสระจาก
ภาษาบาลี 'อ'ู ตามด้วย สระแท้ 'า' คือ

วรรณยกุ ต์
เน่ืองจากล้านนาได้นาเอาระบบอักขรวิธีของมอญมาใช้โดยแทบจะไม่มีการปรับเปล่ียนเลย และภาษา
มอญเองก็เป็นภาษาที่ไม่มีวรรณยุกต์ ดังน้ันในอดีตจึงไม่ปรากฏว่ามีการใช้เคร่ืองหมายวรรณยุกต์ ในการเขียน
อักษรธรรมล้านนาเลย (เคยมีการถกเถียงกันเร่ืองชื่อของล้านนาว่าจริง ๆ แล้วช่ือ "ล้านนา" หรือ "ลานนา" กันแน่
แต่ในที่สุดก็ได้ข้อสรุปว่า "ล้านนา") จนกระทั่งในระยะหลังเมื่ออิทธิพลของสยามแผ่เข้าไปในล้านนาจึงปรากฏ
การใช้รูปวรรณยุกต์ในการเขียนอักษรธรรมล้านนา ภาษาล้านนาสามารถผันได้ 6 เสียง (จริง ๆ แล้วมีท้ังหมด 7
หรอื 8 เสียง แตใ่ นแตล่ ะท้องถ่ินจะใช้เพียง 6 เสยี งเท่านน้ั ) การผนั จะใชก้ ารจับคู่กนั ระหวา่ งอักษรสูงกับอักษร
ต่าจึงทาให้ต้องใชว้ รรณยุกต์เพียง 2 รูปเท่านน้ั คือ เอก กับ โท (เทียบภาษาไทยกลาง) เชน่

การที่มีรูปวรรณยุกต์เพียง 2 รูปนี้ทาให้เกิดปัญหากับอักษรกลาง คือ ไม่สามารถแทนเสียงได้ครบท้ัง
6 เสียง ดังน้ันจึงอาจอนุโลมให้แต่ละรูปศัพท์แทนการออกเสียงได้ 2 เสียง เสียงวรรณยุกต์สาเนียงเชียงใหม่มี
6 เสียง คือ เสยี งจตั วา, เสียงเอก, เสยี งโทพิเศษ, เสยี งสามัญ, เสยี งโท, และเสยี งตรี

เสียงวรรณยกุ ต์ ตัวอยำ่ ง กำรถอดรหัสเสียง กำรออกเสียง ควำมหมำยในภำษำไทย

เสยี งจตั วำ ขา /xǎː/ [xaː˩˦] ขา

เสียงเอก ขา่ /xàː/ [xaː˨˨] ขา่

เสยี งโทพิเศษ ฃา้ /xa̋ː/ [xaː˥˧] ฆา่

เสยี งสำมัญ ฅา /xaː/ [xaː˦˦] หญ้าคา

เสยี งโท ไฮ่ /hâjː/ [hajː˦˩] ไร่

เสยี งตรี ฟา้ /fáː/ [faː˦˥˦] ฟ้า

-๓๐-

กำรแสดงเสยี งวรรณยุกต์

เสยี ง คาเปน็ สระ คาเปน็ สระยาว คาเปน็ สระยาว คาตาย สระ คาตาย สระ

วรรณยกุ ต์ ยาว ไม้เอก ไม้โท สน้ั ยาว

อกั ษรสูง เสยี งจตั วา เสียงเอก เสยี งโทพเิ ศษ เสียงจัตวา เสียงเอก

อักษรกลาง เสียงสามญั เสียงเอก เสียงโทพิเศษ เสยี งจัตวา เสียงเอก

อกั ษรตา่ เสยี งสามัญ เสยี งโท เสียงตรี เสียงตรี เสยี งโท

๔. ชอ่ื ผ้ทู ่ีถอื ปฏิบัตแิ ละผู้สบื ทอด

๔.๑ ผทู้ ีถ่ ือปฏบิ ตั ิ

ช่อื นายมนสั กณั ทะวชั

วนั เดือน ปเี กดิ -

ทอ่ี ยู่ หมู่ ๘ ตาบลปา่ แดด อาเภอป่าแดด จงั หวดั เชยี งราย

หมายเลขโทรศัพท์ ๐๘๙ ๙๕๒ ๖๑๙๕

๔.๒ ผสู้ ืบทอด

ชื่อ สภาวัฒนธรรมอาเภอปา่ แดด

วนั เดือน ปีเกิด -

ทอี่ ยู่ หมู่ ๘ ตาบลป่าแดด อาเภอป่าแดด จงั หวัดเชียงราย

หมายเลขโทรศัพท์ -

๕. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏบิ ตั ิอยา่ งแพร่หลาย  เสี่ยงตอ่ การสญู หาย  ไมม่ ปี ฏิบัตแิ ล้ว

๖. รูปภำพภูมปิ ญั ญำทำงวัฒนธรรม/กิจกรรมทำงภูมปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม

หนงั สอื ออนไลน์ ผ่านเวบ็ ไซต์

-๓๑-

แบบสำรวจมรดกภมู ิปัญญำทำงวฒั นธรรมจงั หวดั เชยี งรำย ประจำปี 2565
สภำวัฒนธรรมจังหวัดเชยี งรำย

อำเภอเวียงปำ่ เป้ำ จงั หวดั เชียงรำย

1. ชื่อข้อมูล วรรณกรรม “แตง่ ค่าว”

๒. ลกั ษณะ  วรรณกรรมพ้ืนบา้ นและภาษา
 ศิลปะการแสดง
 แนวปฏบิ ัติทางสงั คมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรู้และการปฏิบัตเิ ก่ยี วกบั ธรรมชาตแิ ละจักรวาล
 งานชา่ งฝีมือดง้ั เดิม
 การละเลน่ พน้ื บ้าน กีฬาพ้ืนบา้ น และศิลปะการต่อสปู่ ้องกันตวั

๓. รำยละเอียดขอ้ มลู

๓.๑) ประวัติความเป็นมาของข้อมลู
“ค่ำว” การแต่งค่าว บทค่าว หรือ “ค่ำวฮ่ำ” รวมเรียกว่า “ค่ำว” เป็นเอกลักษณ์เป็นวรรณกรรม
ด้านภาษาของล้านนา ทั้งภาษาพูด ภาษาเขียน เป็นทั้งมรดกทางวรรณกรรมท่ีทรงคุณค่าทางกวีท่ีร้อยกรอง
เปน็ อรรถรสทางภาษาทส่ี ระสวยงดงาม
“ค่ำว” หรือนักค่าวมักจะแต่งเรื่องธรรม-คาสอน, ประวัติศาสตร์, ยาสมุนไพร, คาถาอาคม, บทร้อง
เก้ียวพาราศีสาวๆ , บทซอ บทค่าวที่ข้ึนช่ือในล้านนา เช่น ค่าวดาววีไก่น้อย, ค่าวซอเจ้าสุวัตร์-นางบัวคา, ค่าว
หงส์หิน ฯลฯ และค่าวพญาพรม รจนาหรือแต่งค่าวด้วยสานวนโวหาร และภาษาท้องถิ่นนอกจากจะให้ความ
บันเทิงแล้วยังแสดงออกเชิงความสามารถของกวีท่ีรู้จักไขว่คว้าสรรณหาถ้อยคาที่ไพรเราะกินใจมาเรียงร้อย
จนได้ท้ังอรรถทางภาษาและเพลิดเพลินไปด้วยกับจินตนาการอันทรงพลังภายใต้คาสัมผัสคล้องจองซ่ึงถือเป็น
แบบฉบับฉนั ทลักษณข์ องชาวลา้ นนา
“พระยาพรหมโวหาร คือ นักกวีล้านนาเป็นบรมครูการแต่งค่าวของชาวล้านนาเป็นที่รู้จักของนักค่าว
ทั่วไปและถือเอาคา่ วพระยาพรหมโวหารเปน็ ตน้ แบบ

3.2) ขั้นตอน/วิธีกำร/ดำเนินกำรเกยี่ วกบั ข้อมูล
- ศกึ ษาการแต่งจากพ่อครู แมค่ รู ครบู า หลวงพอ่ หลวงลุง ผ้เู ปน็ นักคา่ ว
“ค่ำว” มกั แต่งเขยี นดว้ ยภาษาลา้ นนาเป็นหลัก มายคุ หลังสามารถแต่งด้วยภาษาไทย
“บทคำ่ ว” ใช้คู่กบั บทอ่านเป็นค่าวจ๊อย คือ คา่ วจ๊อยที่มลี ลี าการอา่ นด้วยท้วงทานอง

๔. ชือ่ ผู้ท่ีถือปฏิบตั ิตำมและสบื ทอด
4.1 ผู้ทถ่ี อื ปฏิบัติ

ชอ่ื นายณฐั ชวนิ พรมกร (รุ่งราษฎรส์ มั พันธ์)
วนั เดือน ปเี กดิ 20 พฤศจกิ ายน 2498
ทอ่ี ยู่ 136 หมู่ 9 ตาบลเวียงกาหลง อาเภอเวียงป่าเป้า จังหวดั เชียงราย

หมายเลขโทรศัพท์ 081 885 0742
4.2 ผู้สืบทอด
ชอ่ื นายภรู ณิ ฐั ปนั แก้ว (ร.สลีโหง้ )
วนั เดือน ปเี กดิ 3 สิงหาคม 2506

ทอี่ ยู่ หมู่ 3 ตาบลเวยี งกาหลง อาเภอเวยี งปา่ เป้า จงั หวดั เชียงราย

หมายเลขโทรศัพท์ 088 431 6150

-๓๒-

๕. สถำนะ กำรคงอยู่ ปฏบิ ัติอย่างแพร่หลาย  เสี่ยงต่อการสญู หาย ไม่ปฏบิ ัตแิ ล้ว

๖. รูปถ่ำยภูมิปญั ญำทำงวฒั นธรรม/กจิ กรรมทำงภมู ปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม

แบบสำรวจมรดกภมู ิปัญญำทำงวัฒนธรรม



-๓๓-

แบบสำรวจมรดกภมู ิปญั ญำทำงวัฒนธรรมจงั หวัดเชียงรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวฒั นธรรมจังหวัดเชยี งรำย

อำเภอเวียงเชียงรงุ้ จงั หวดั เชียงรำย

๑. ช่ือข้อมลู โปงลาง

๒. ลักษณะ  วรรณกรรมพน้ื บ้านและภาษา
 ศิลปะการแสดง
 แนวปฏิบตั ิทางสงั คมพิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล

 อาหาร/ความรแู้ ละการปฏิบตั ิเกย่ี วกับธรรมชาติและจักรวาล

 งานช่างฝมี อื ดั้งเดมิ

 การละเล่นพื้นบ้าน กีฬาพน้ื บา้ น และศิลปะการตอ่ ส่ปู ้องกนั ตวั

๓. รำยละเอยี ดขอ้ มูล

๓.๑) ประวัตคิ วามเปน็ มาของข้อมูล
กลุ่มการแสดงดนตรีโปงลางโรงเรียนเวียงเชียงรุ้งวิทยาคม เริ่มมาจากแต่เดิมคนภาคอีสานได้ย้ายถิ่น
ฐานมาอยู่ในอาเภอเวยี งเชยี งรุ้งเป็นจานวนมาก และไดน้ าเอาเคร่ืองดนตรโี ปงลางมาเล่น เพอ่ื ความสนุกสนาน
นายจรัญ ไชยวงค์ษา ครูโรงเรียนเวียงเชียงรุ้งวิทยาคม เห็นความสาคัญของเครื่องดนตรีโปงลางประกอบกับ
เห็นว่า นักเรียนส่วนมากเป็นคนอีสาน มีพื้นฐานการเล่นโปงลางจากบรรพบุรุษอยู่บ้าง จึงได้ทาการสอนวิชา
ดนตรี โดยเน้นเครื่องดนตรีโปงลางขึ้น ต่อมาเมื่อนักเรียนเล่นได้คล่องแคล่ว จึงเริ่มจัดตั้งเป็น
วงดนตรีโปงลางโรงเรียนเวียงเชียงรุ้งวิทยาคม เพ่ือสืบสานดนตรีโปงลางให้คงอยู่ และได้นาการแสดง
ศิลปวัฒนธรรมไปแสดง และเผยแพร่ในงานวัฒนธรรม ประเพณี ระดับชุมชน ตาบล อาเภอและระดับจังหวัด
ซงึ่ เปน็ การส่งเสริม เผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมของทอ้ งถ่นิ ให้ไดร้ ับการสืบทอดตอ่ ไป
โปงลาง คือ ระนาดพ้ืนเมอื งอีสาน เปน็ เคร่อื งดนตรีประเภทเครื่องเคาะทาทานองและจังหวะไปพร้อม
กัน ลูกระนาดทาจากไม้ท่อนขนาดลาแขน เป็นตัด กลึง และถากตกแต่งเทียบเสียงดนตรี โด , เร , มี , โซ, ลา
เรียงเสียงลาดับจากต่าไปสูงได้ ๑๒ ลูก ๑๓ ลูก หรือ ๑๔ลูก แล้วนามาร้อยผืนระนาดด้วยเชือกเส้นโตขนาด
เท่ากบั เชอื กผูกวัว เวลาเล่นใช้แขวนเป็นแนวเฉียงลงมาทามุมประมาณ ๖๐ องศากบั พนื้ ให้ด้านลกู ใหญ่เสยี งทุ้ม
อยู่ตอนบนและด้านลูกเลก็ สั้นและเสยี งแหลมอยู่ตอนล่าง การเคาะโปงลางมักใช้ผู้เล่น ๒ คน คนเล่นทานอง
เพลงจะเข้าเคาะทางด้านหน้าของผืนโปงลาง เรียกว่าเป็น “หมอเคาะ” อีกคนหนึ่งเข้าเคาะข้างขวามือของ
หมอเคาะ มีหน้าท่ีเคาะเสียงประสานและทาจังหวะเรียกเป็น “หมอเสิร์ฟ”ไม้ท่ีนามาทาลูกโปงลางนั้นนิยมใช้
ไม้มะหาด(ไม้หมากหาด) ซึ่งมีข้ึนอยู่ตามป่าเบญจพรรณท่ัวไปไม้ชนิดน้ีมีเปลือกเหนยี วแข็งไม่บิดแตกเป็นเสยี้ น
เวลาแห้งแล้วเคาะมีเสียงดงั ดีมาก ย่ิงเป็นไม้มะหาดจากต้นท่ียนื ตายย่ิงเสียงดีเป็นพิเศษ ช่างทาโปงลางบางคน
จึงตดั เซาะเผารากตน้ มะหาด แล้วปล่อยใหย้ นื ตน้ ตายก่อนโคน่ มาทาลูกโปงลาง
ความหมายของโปงลาง มี ๒ ลักษณะ คาว่า “โปง” และ “ลาง” โปง เป็นสิ่งที่ใช้ตีบอกเหตุ เช่น ตีใน
ยามวิกาลแสดงวา่ มีเหตุรา้ ย ตีตอนเช้าก่อนพระบิณฑบาตให้ญาติโยมเตรียมตวั ทาบุญตักบาตร และ ตีเวลาเย็น
เพ่ือประโยชน์ให้คนหลงป่ากลับมาถูก เพราะเสียงโปงลางจะดังกังวานไปไกล (สมัยก่อนใช้ตีในวัด) ส่วนคาว่า
ลาง น้ัน หมายถึง ลางดี ลางร้าย การแสดงโปงลางโรงเรียนเวียงเชียงรุง้ วิทยาคมโรงเรียนเวยี งเชียงรุ้งวิทยาคม
เป็นโรงเรียนท่ีเปิดสอนระดับมัธยมศึกษา การแสดงโปงลางเป็นการแสดงที่บ่งบอกถึงประเพณีการละเล่นของ
ชุมชนท่ีมาจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นการแสดงท่ีใช้สาหรับแสดงในงานมงคลต่าง ๆ ของท้องถ่ิน
ที่มาของการตีโปงลางตีเพื่อให้เกิดเสียงดัง โปง หมายถึง เสียงของโปง ลาง หมายถึง สัญญาณบอกลางดีหรือ
ลางแห่งความรื่นเริง โปงลางจึงหมายถึง เคร่ืองดนตรีที่มีเสียงแห่งลางดี ทาด้วยไม้เนื้อแข็ง เรียงร้อยกัน๑๒
ท่อน ใชแ้ ขวนเวลาตี การบรรเลงตเี ข้าจงั หวะเร็ว ด้วยความสนุกสนาน มคี ุณค่าในศิลปะการแสดงของท้องถ่นิ

-๓๔-

๓.2) ขัน้ ตอน/วิธกี าร/ดาเนนิ การเกีย่ วกับขอ้ มูล
การแสดงโปงลางเป็นการแสดงบรรเลงในงานมงคล และงานร่ืนเริงต่าง ๆ และงานกิจกรรมประเพณี
ของชุมชน หรือแม้กระท่ังในงานโชว์ต่าง ๆ หรือพิธีเปิดงานต่าง ๆ ก็จะมีการนาการแสดงโปงลางมาบรรเลง
โอกาส/เวลาท่ีละเลน่ การแสดงโปงลางนั้นนิยมแสดงในงานบญุ ตา่ ง ๆ เช่นงานบวช งานบุญกฐิน งานประเพณีตา่ ง ๆ
ในท้องถิ่น รวมทั้งงานร่ืนเริงต่าง ๆ และแสดงในงานมหกรรม หรือกิจกรรมท่ีจัดตามสถานท่ีต่าง ๆ เช่น วัด
โรงเรยี น ข่วงวัฒนธรรม รวมทั้งงานกจิ กรรมในสถานที่อ่นื ๆ
องค์ประกอบที่บ่งบอกให้เห็นคุณลักษณะของศิลปะการแสดง เครื่องดนตรี 9 ชนิ้ ประกอบด้วย
(๑) โปงลาง (๒) แคน (๓) พณิ โปร่ง (๔) โหวด
(๕) หมากกับ๊ แก้บ (๖) กลอง (7) ไหซอง (8) ฉาบ
(9) ฉง่ิ
การแสดงโปงลาง มีการถ่ายทอดและบ่มเพาะ ภายใต้การสอนของนายจรัญ ไชยวงค์ษา ครูชานาญ
การพิเศษ โรงเรียนเวียงเชียงรุ้งวิทยาคม ผ่านการเรียนการสอนวิชาดนตรี และการฝึกประสบการณ์ให้แก่
นักเรยี นผา่ นการรบั งานแสดงในชื่อของ “วงโปงลางโรงเรียนเวยี งเชยี งรุง้ วทิ ยาคม” ออกแสดงตามงานประเพณี
และเทศกาลต่าง ๆ

4. ชอ่ื ผทู้ ี่ถอื ปฏิบัตแิ ละผสู้ ืบทอด
4.๑ ผู้ท่ีถือปฏบิ ัติ
ชื่อ นายจรัญ ไชยวงษา ครูโรงเรียนเวียงเชยี งรงุ้ วิทยาคม
วัน เดือน ปเี กิด -
ทอ่ี ยู่ 41 หมู่ 12 ตาบลทุง่ กอ่ อาเภอเวียงเชียงรงุ้ จังหวัดเชียงราย
หมายเลขโทรศพั ท์ -

4.๒ ผูส้ บื ทอด นกั เรียนโรงเรียนเวียงเชยี งรงุ้ วทิ ยาคม
ช่อื -
วนั เดือน ปีเกดิ
ที่อยู่ 41 หมู่ 12 ตาบลทงุ่ ก่อ อาเภอเวียงเชียงร้งุ จังหวัดเชยี งราย
หมายเลขโทรศัพท์ 053 953 275-6

5. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏบิ ตั อิ ยา่ งแพรห่ ลาย  เสย่ี งต่อการสูญหาย  ไมม่ ีปฏบิ ตั แิ ล้ว

6. รูปภำพภูมิปัญญำทำงวัฒนธรรม/กจิ กรรมทำงภูมิปัญญำทำงวัฒนธรรม

-๓๕-

อุปกรณ์กำรแสดงโปงลำง

โปงลาง กลอง

พณิ โปรง่ โหวด
ไหซอง แคน

-๓๖-

แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ญั ญำทำงวัฒนธรรมจังหวดั เชยี งรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวฒั นธรรมจังหวดั เชยี งรำย

อำเภอเวยี งเชยี งรุง้ จังหวดั เชียงรำย

๑. ช่ือข้อมูล กลองยาวประยุกต์ หมู่ ๑๑ บ้านใหมร่ ่องหวาย

๒. ลักษณะ  วรรณกรรมพนื้ บ้านและภาษา
 ศิลปะการแสดง
 แนวปฏิบัติทางสังคมพิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรู้และการปฏิบตั ิเกยี่ วกับธรรมชาตแิ ละจักรวาล
 งานชา่ งฝมี ือด้ังเดิม
 การละเล่นพ้นื บา้ น กีฬาพื้นบา้ น และศิลปะการต่อสู่ป้องกนั ตัว

๓. รำยละเอียดขอ้ มลู
๓.๑) ประวัตคิ วามเป็นมาของขอ้ มลู
กลองยาว เป็นเครื่องดนตรีชนิดหนึ่ง ประเภทตี ที่ชนชาวอีสานนามาใช้ในการประกอบดนตรีพื้นบ้าน

อีสาน ที่ประกอบเข้ากับดนตรีพ้ืนบ้านอีสานประเภทอ่ืน ๆ โดยทาข้ึนเองทีสืบทอมาจากบรรพบุรุษที่สืบทอด
ตอ่ กนั มา เพือ่ ใชป้ ระกอบการละเล่นงานร่ืนเริงต่าง เชน่ นาขบวนผ้าป่า กฐิน ตอ้ นรับแขกมาเป็นคณะ งานบวชนาค
แสดงกลองรา กลองยาว หรอื กลองยาวประยุกต์

บ้านใหม่ร่องหวาย หมู่ ๑๑ ตาบลดงมหาวัน เป็นหมู่บ้านท่ีแยกมาจากบ้านร่องหวาย หมู่ ๒ เมื่อปี ๒๕๒๑
โดยในปี พ.ศ.๒๕๐๗ มีประชาชนอพยพมาจากภาคอีสาน เช่นจังหวัดอุบลราชธานี ขอนแก่น อุดรธานี และ
จังหวัดทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือเป็นส่วนใหญ่ เร่ิมแรกคณะกลองยาว เริ่มต้นจากนายอานวย นามแสงกลาง
ขณะน้ันดารงตาแหน่ง ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านร่องหวาย หมู่ ๒ เข้าร่วมคณะกลองยาวบ้านร่องหวาย โดยมีนายเสาร์
สาระพันธ์ เป็นผู้กอ่ ต้ัง และหัวหนา้ คณะกลองยาวรวมกลุ่มเปน็ คณะ โดยจัดแสดงตามงานประเพณตี ่าง ๆ ของ
ชุมชน ในระดับตาบล จนเป็นท่ีรู้จัก และออกแสดงในระดับอาเภอ จังหวัด จากน้ันมาบ้านร่องหวายมีจานวน
ประชากรเพิ่มมากขึ้นจึงทาการแยกหมู่บ้านใหม่เป็นหมู่บ้านใหม่ร่องหวาย หมู่ ๑๑ และนายอานวย นามแสงกลาง
จึงได้ก่อตั้งคณะกลองยาวข้ึนใหม่ โดยเริ่มต้นมีแต่กลองยาวท่ีทากันเอง และนาดนตรีประเภทอ่ืน มาประยุกต์
เขา้ กบั คณะกลองยาว และมจี านวนผู้เลน่ เพมิ่ มากข้นึ และนาการราเซ้ิงมาประกอบในขบวนและไดจ้ ัดแสดงตาม
งานตา่ ง ๆ ในระดบั หมู่บา้ น ตาบล อาเภอ จงั หวัดต้งั แต่นั้นเปน็ ต้นมา

ศิลปะการแสดงกลองยาวเป็นมรดกทางวัฒนธรรมทางอีสานที่งดงามท่ีได้รับการสืบทอดจากบรรพบุรุษ
จนถึงรุ่นลูกรุ่นหลาน เป็นส่ิงท่ีสามารถใช้เป็นสื่อจุดรวมใจของคนในหมู่บ้านและชุมชน ในเวลาฝึกซ้อมหรือไป
แสดงในงานต่าง ๆ จะมีเด็ก เยาวชนของหมู่บ้านเข้าร่วม ไปในงานดังกล่าว จึงทาให้เด็ก เยาวชน เกิดการซึมซับ
เอาส่ิงที่ดีงามของวัฒนธรรมแลว้ จึงมีการถ่ายทอดให้แก่เด็กและเยาวชน สามารถสร้างรายได้ ให้กับครอบครวั
และชมุ ชน พรอ้ มทัง้ เปน็ การอนุรักษ์ วัฒนธรรมอีสาน มาจวบจนทุกวนั นี้

-๓๗-

๓.2) ขน้ั ตอน/วธิ ีการ/ดาเนนิ การเกี่ยวกบั ข้อมลู
องค์ประกอบ ของศิลปะการแสดงกลองยาวประยุกต์
๑) เครือ่ งดนตรี ๖ ชนิ้ ประกอบด้วย กลองยาว พิณ แคน กลองชุด ฉาบใหญ่ โปงลาง

๒) ผู้แสดง ประมาณ ๒๕ คน

รปู แบบวธิ กี ารแสดง
การแสดงกลองยาวเป็นการร่วมกิจกรรมงานบุญประเพณีต่าง ๆ ท่ีจัดข้ึนในหมู่บ้าน และหมู่บ้านใกล้เคียง
เช่น งานบุญทอดผ้าป่า งานบุญสลากภัตร งานปอยหลวง งานบุญกฐิน โดยการแสดงพร้อมกับการราเซิ้ง
ทางอีสาน และงานอ่ืน เช่น งานถ่ายทอดวัฒนธรรมโดยองค์กรในท้องถ่ิน ระดับอาเภอ จังหวัด หรือเข้าร่วม
การแข่งขันกลองยาวแต่ละโอกาส แต่ปัจจุบันได้มีการประยุกต์เอาราเซิ้งประกอบในคณะ ทาให้ผู้คนมีความ
ความสนใจกบั คณะกลองยาวประยุกต์ ในงานตา่ ง ๆ

๔. ชือ่ ผทู้ ี่ถอื ปฏิบตั ิและผู้สืบทอด

๔.๑ ผู้ท่ถี อื ปฏิบัติ

ชื่อ นายอานวย นามแสงกลาง

วนั เดือน ปเี กดิ -

ทอี่ ยู่ ๔๙ หมู่ ๑๑ ตาบลดงมหาวัน อาเภอเวยี งเชียงรุ้ง จังหวดั เชียงราย

หมายเลขโทรศัพท์ ๐๘๗ ๑๘๕ ๕๔๐๐

๔.๒ ผู้สบื ทอด

ช่ือ กลุ่มผู้สูงอายุตาบลดงมหาวัน

วนั เดอื น ปีเกิด -

ทอ่ี ยู่ หมู่ ๑๑ ตาบลดงมหาวัน อาเภอเวยี งเชียงรุ้ง จงั หวดั เชยี งราย

หมายเลขโทรศัพท์ -

๕. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏิบัตอิ ย่างแพร่หลาย  เสี่ยงตอ่ การสูญหาย  ไมม่ ีปฏิบัตแิ ล้ว

๖. รปู ภำพภมู ิปญั ญำทำงวัฒนธรรม/กจิ กรรมทำงภูมปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม

-3๘-
การแสดงกลองยาวประยุกต์ ในงานวัฒนธรรม ประเพณีต่าง ๆ
การแสดงกลองยาวประยุกต์ ในงานวฒั นธรรม ประเพณตี ่าง ๆ

-3๙-

แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ัญญำทำงวัฒนธรรมจงั หวัดเชียงรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวฒั นธรรมจงั หวดั เชยี งรำย
อำเภอเวยี งชัย จังหวัดเชยี งรำย

๑. ชอ่ื ข้อมูล ข่วงเฮยี นฮู้เฮือนป้อครูมานิตย์

๒. ลกั ษณะ  วรรณกรรมพน้ื บ้านและภาษา
 ศิลปะการแสดง
 แนวปฏบิ ตั ทิ างสงั คมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความร้แู ละการปฏิบัตเิ ก่ียวกบั ธรรมชาตแิ ละจกั รวาล
 งานชา่ งฝีมือดง้ั เดิม
 การละเลน่ พน้ื บ้าน กีฬาพ้ืนบา้ น และศลิ ปะการต่อสปู่ ้องกันตัว

๓. รายละเอยี ดข้อมลู
๓.๑) ประวัติความเปน็ มาของข้อมูล
แรกเร่ิมเดิมทีพ่อครูมานิตย์ เจริญเกษมทรัพย์ ได้รับการถ่ายทอดวิชาฟ้อนดาบจากพ่อหลวงธา ธรรมกาศ

ซ่ึงเป็นคุณทวดของพ่อครูมานิตย์ เริ่มฟ้อนดาบจากจานวนเร่ิมต้น ๒ เล่ม จนปัจจุบันนี้สามารถฟ้อนดาบโดยใช้
ดาบจานวนทั้งส้นิ ๑๔ เล่ม ซ่ึงนับว่าเป็นจานวนดาบท่ีสูงที่สุด นับได้ว่าเป็นการฟ้อนดาบระดับชั้นครูเลยก็วา่ ได้
ชีวิตในวัยเด็กของพ่อครูมานิตย์ มักติดตามพ่อหลวงธาไปท่ีศาสนสถาน จึงได้ซึมซับและเรียนรู้ศิลปวัฒนธรรม
ล้านนาหลากหลายแขนงจากพ่อหลวงธา ต้ังแต่ตอนอายุ ๖ ขวบ ไม่ว่าจะเป็น การตีกลองสะบัดชัย การฟ้อนดาบ
ฟ้อนเจงิ การตดั ตุงลา้ นนา การทาบายศรสี ู่ขวญั ดนตรีพน้ื เมือง ฯลฯ

ต่อมาในปี พ.ศ.๒๕๔๗ ได้สร้างข่วงเฮียนฮู้เฮือนป้อครูมานิตย์เพ่ือเป็นสถานที่ในการถ่ายทอดความรู้
ด้านศิลปวัฒนธรรมล้านนา เช่น ศิลปะการแสดงทางลา้ นนา การทาตุงล้านนา (ตุงใย ตุงเข็ม ) ให้กับประชาชน
ที่มีความสนใจได้เข้ามาเรียนรู้กันจนถึงปัจจุบัน นอกจากนี้พ่อครูมานิตย์ยังทาหน้าที่เป็นปราชญ์ชาวบ้าน
ถ่ายทอดความรู้ ทักษะ ด้านศิลปวัฒนธรรมล้านนาให้กับสถานศึกษาในเขตพ้ืนที่จังหวัดเชียงรายและ
จังหวัดอ่ืน ๆ รวมถึงบุคคลทัว่ ไปทวั่ ราชอาณาจักร

๓.๒) ขัน้ ตอน/วธิ กี าร/ดาเนนิ การเกีย่ วกับข้อมลู
ผู้ปกครองพาบุตรหลานเข้ามา ศึกษาเรียนรู้ศิลปวัฒนธรรมล้านนาที่ข่วงเฮียนฮู้เฮือนป้อครูมานิต ย์

พ่อครูมานิตย์จะเร่ิมถ่ายทอดความรู้ด้านการตีกลองสะบัดชัย ดนตรีพื้นเมือง และสอนท่าฟ้อนต่าง ๆ ให้กับ
ลูกศิษย์ เช่น ฟ้อนดาบ ฟ้อนสาวไหม เร่ิมเรียนรู้ท่าฟ้อนโดยไม่ใช้เสียงเพลงหรือเสียงดนตรี หรือท่ีเรียกกันว่า

ฟ้อนดิบ หลังจากลูกศิษย์ได้เรียนรู้และจดจาท่าฟ้อนได้ จะเรม่ิ เข้าฟ้อนกับเสยี งเพลงหรือเสียงดนตรี และเข้าวง
เป็นชุดการแสดง


Click to View FlipBook Version