-๙๐-
แบบสำรวจมรดกภมู ิปัญญำทำงวัฒนธรรมจงั หวดั เชียงรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวัฒนธรรมจงั หวัดเชยี งรำย
อำเภอเวยี งแกน่ จงั หวดั เชียงรำย
๑. ช่ือข้อมลู ศลิ ปะการแสดง (ช่างปี/่ ฟอ้ นเจิง)
๒. ลักษณะ วรรณกรรมพนื้ บ้านและภาษา
ศิลปะการแสดง
แนวปฏบิ ัตทิ างสังคมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล
อาหาร/ความรูแ้ ละการปฏิบตั ิเกี่ยวกับธรรมชาติและจักรวาล
งานชา่ งฝมี ือดง้ั เดิม
การละเล่นพ้ืนบ้าน กีฬาพนื้ บา้ น และศิลปะการตอ่ สู่ป้องกันตวั
๓. รำยละเอยี ดข้อมลู
๓.๑) ประวัตคิ วามเปน็ มาของข้อมลู
นายแกว แสงงาม เกิดวันท่ี 5 กุมภาพันธ 2478 มีความรู้ความสามารถดานศิลปะการแสดง และ
นาฏศิลปพื้นบาน (ชางป และฟอนเจิง) โดยไดสืบทอดองคความรูเร่ืองการเปาปจากบรรดาผูเฒาผูแกในหมูบาน
ที่มักจะเปาป ประกอบการขับล้ือในชวงเทศกาลสงกรานต จึงไดพยายามฝกฝนดวยตนเองมาตั้งแตอายุได 12 ป
นอกจากน้ัน พอแกวยังมีความเช่ียวชาญในเร่ืองยาสมุนไพร และการดูดวงชะตาใหกับคนท่ี เจ็บไขไดปวย
โดยไดสืบทอดองคความรูจากพอ คือ นายปน แสงงาม ในดานศิลปะการฟอนเจิง พอแกวไดมีโอกาสฝกฝน
การฟอนเจิงกับชาวไตเหนอื ท่ีเขามาสอน ในหมูบาน ตง้ั แตอายุได 15 ป
ประวัตกิ ำรทำงำน/กำรเผยแพรองคควำมรู้
- เปนวิทยากรครูภูมิปญญาทองถ่ินในการฝกสอนและเผยแพรองคความรูในการเปาปใหกับเด็ก
เยาวชน และนักเรียนในโรงเรยี นบานทาขาม
- เผยแพรศิลปะการเปาปในงานดานวัฒนธรรมของชาวไทลื้อในอาเภอแมสาย อาเภอเชียงของ และ
งานขององคการบรหิ ารสวนตาบลทาขาม
- เผยแพรองคความรูดานภมู ิปญญาใหกบั นักเรียน นักศกึ ษาท่ีสนใจทั่วไปในจังหวัดเชยี งราย
๓.๒) ขน้ั ตอน/วธิ ีการ/ดาเนนิ การเกีย่ วกับขอ้ มลู
- เปนวิทยากรครูภูมิปญญาทองถ่ินในการฝกสอนและเผยแพรองคความรูในการเปาปใหกับเด็ก
เยาวชน และนักเรียนในโรงเรียนบานทาขาม
- เผยแพรศลิ ปะการเปาปในงานดานวัฒนธรรมของชาวไทลื้อในอาเภอแมสาย อาเภอเชยี งของ และงาน
ขององคการบรหิ ารสวนตาบลทาขาม
- เผยแพรองคความรูดานภูมปิ ญญาใหกบั นักเรียน นักศึกษาทส่ี นใจทัว่ ไปในจงั หวดั เชียงราย
-๙๑-
๔. ชอื่ ผู้ที่ถอื ปฏิบตั แิ ละผูส้ บื ทอด
๔.๑ ผู้ทถ่ี อื ปฏบิ ตั ิ
ชือ่ นายแกว้ แสงงาม
วัน เดอื น ปีเกิด -
ท่ีอยู่ ๔๐/๑ หมู่ ๑ ตาบลทา่ ขา้ ม อาเภอเวยี งแก่น จงั หวัด เชียงราย
หมายเลขโทรศัพท์ 080 791 0724
๔.๒ ผสู้ บื ทอด
ชือ่ -
วัน เดือน ปเี กดิ -
ทีอ่ ยู่ -
หมายเลขโทรศัพท์ -
๕. สถำนะ กำรคงอยู่ ปฏิบัติอย่างแพร่หลาย เส่ยี งต่อการสญู หาย ไมม่ ปี ฏบิ ัตแิ ล้ว
๖. รูปภำพภมู ิปัญญำทำงวัฒนธรรม/กิจกรรมทำงภูมิปัญญำทำงวัฒนธรรม
-๙๒-
แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ัญญำทำงวฒั นธรรมจงั หวดั เชยี งรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวัฒนธรรมจงั หวัดเชยี งรำย
อำเภอเวยี งแก่น จังหวดั เชียงรำย
๑. ชื่อข้อมูล ศิลปะการแสดง และนาฏศิลป์พนื้ บ้าน (ขบั ล้ือ)
๒. ลักษณะ วรรณกรรมพ้นื บ้านและภาษา
ศลิ ปะการแสดง
แนวปฏิบตั ิทางสงั คมพิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล
อาหาร/ความร้แู ละการปฏบิ ัตเิ ก่ียวกับธรรมชาตแิ ละจกั รวาล
งานช่างฝมี ือด้งั เดิม
การละเลน่ พื้นบา้ น กีฬาพน้ื บา้ น และศิลปะการตอ่ สู่ป้องกันตัว
๓. รายละเอยี ดข้อมูล
๓.๑) ประวตั ิความเป็นมาของข้อมูล
นางทองพนู ยาวเิ ลงิ เปนชาวไทลื้อบานทาขาม อาเภอเวียงแกน ไดรับการฝกสอนใหขับลื้อตัง้ แตเด็ก
โดยมีแม และผูเฒาผูแกภายในหมูบานเปนคนชวยสอน และถายทอดวิธีการขับล้ือ ซึ่งสวนใหญเน้ือหา การขับ
ล้อื จะเปนเร่ืองเกย่ี วกับวิถีชีวิตของชาวไทลื้อ และบทคาสอนตาง ๆ เชน การสอนคูบาวสาวใน การใชชวี ิตครอง
คู ในพิธีแตงงาน รวมทั้งการขับในวันสาคัญตางๆ เชน งานทาบุญข้ึนบานใหม งานบวช การตอนรับแขกบา
นแขกเมอื ง เปนตน
กำรเผยแพรองคควำมรู
- ถายทอดองคความรูในการขับลื้อใหกับเด็ก เยาวชน นักเรียนในโรงเรียนตาง ๆ เชน โรงเรียนบาน
ทาขาม บานโละ อาเภอเวียงแกน, บานหวยหลวงปาแดง อาเภอขุนตาล
- เผยแพรองคความรูและภูมิปญญาในการขับลื้อในวันสาคัญตาง ๆ ของชาวไทลื้อใหกับ หนวยงาน
ตาง ๆ เชน อบต.ปอ, อบต.ทาขาม, อบต.ศรดี อนชยั อาเภอเชียงของ เปนตน
- ขับลื้อในพิธีปางเจ็ด หรือเขากรรมบาน ในหมูบานทาขาม โดยมีเนื้อหาเก่ียวกับการสรรเสริญ
และยกยองคุณงามความดีของเจาหลวง หรอื เจาบานเจาเมือง เปนประจาทุกปี
๓.๒) ขัน้ ตอน/วธิ กี าร/ดาเนนิ การเก่ียวกบั ข้อมลู
สอบถามและจัดเก็บข้อมลู จากผู้มคี วามรู้ หรือปราชญช์ าวบา้ น
๔. ช่อื ผู้ท่ีถือปฏิบัตแิ ละผสู้ บื ทอด
๔.๑ ผู้ทีถ่ อื ปฏิบัติ
ชอ่ื นางทองพูน ยาวิเลงิ
วนั เดอื น ปีเกิด -
ทีอ่ ยู่ 17 หมู 1 ตาบลทาขาม อาเภอเวียงแกน จงั หวัดเชียงราย
หมายเลขโทรศัพท์ -
๔.๒ ผ้สู บื ทอด
ชื่อ -
วนั เดือน ปเี กดิ -
ที่อยู่ -
หมายเลขโทรศัพท์ -
-๙๓-
๕. สถานะ การคงอยู่ ปฏบิ ัติอย่างแพร่หลาย เสี่ยงตอ่ การสญู หาย ไมม่ ปี ฏิบตั แิ ลว้
๖. รูปภาพภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม/กจิ กรรมทางภูมปิ ัญญาทางวัฒนธรรม
-๙๔-
แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ญั ญำทำงวฒั นธรรมจังหวดั เชยี งรำย ประจำปี 2565
สภำวฒั นธรรมจงั หวัดเชยี งรำย
อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงรำย
1. ช่ือข้อมูล กลองหลวง ๑๒ ราศี (กลองหลวงล้านนา)
๒. ลักษณะ วรรณกรรมพน้ื บา้ นและภาษา
ศิลปะการแสดง
แนวปฏิบตั ทิ างสังคมพิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล
อาหาร/ความรูแ้ ละการปฏบิ ตั เิ กี่ยวกบั ธรรมชาติและจักรวาล
งานช่างฝมี ือดง้ั เดิม
การละเล่นพน้ื บ้าน กีฬาพืน้ บ้าน และศลิ ปะการตอ่ สู่ป้องกันตัว
๓. รายละเอยี ดข้อมลู
๓.๑) ประวัตคิ วามเป็นมาของข้อมลู
การตีกลองหลวง เป็นประเพณีของคนล้านนา ในภาคเหนือตอนบน ๘ จังหวัด คือ จังหวัดเชียงใหม่
จังหวัดลาพูน จังหวัดลาปาง จังหวัดพะเยา จังหวัดแพร่ จังหวัดน่าน จังหวัดเชียงราย และจังหวัดแม่ฮ่องสอน
โดยเฉพาะจังหวัดเชียงรายคงมีอาเภอเชียงแสนพยายามจะรื้อฟ้ืนให้เป็นมรดกภูมิปัญญาท้องถิ่นด้าน
ศิลปะการแสดง ประเพณี พธิ กี รรมและเทศกาลให้คงอยูเ่ ป็นเอกลักษณข์ องอาเภอเชยี งแสน
กลองหลวงล้านนา มีเอกลักษณ์โดดเด่น สร้างโดยภูมิปัญญาท้องถ่ินของคนล้านนา เนื่องจากกลองหลวง
เป็นกลองหน้าเดียวที่มีขนาดใหญ่ ตัวกลองทาด้วยไม้ประดู่ท่อนเดียว ความยาวตั้งแต่ ๑.๓๐ เมตร และ
เส้นผ่าศูนย์กลางตั้งแต่ ๒๐ น้ิว ขึ้นไป ข้ึนอยู่กับขนาดของไม้และความต้องการของช่าง ที่ทากลอง หน้ากลอง
ทาด้วยหนังวัวตัวเมีย เพราะหนังวัวตัวเมียเป็นหนังที่ไม่มีรอยเฆี่ยนตี ไม่เหมือนหนังวัวตัวผู้ที่มีรอยเฆ่ียนตีจาก
การใช้งาน
เดิมการตีกลองหลวงจะเป็นการตีเพ่ือแข่งขัน ต่อมาขาดการสานต่อจึงได้เป็นการตีเฉพาะวันสาคัญ
ทางศาสนา และในประเพณีต่าง ๆ เช่น การตีกลองหลวงในงานสลากภัต งานสงกรานต์ งานสรงน้าพระธาตุ
งานลอยกระทง งานฟอ้ น งานเซ้ิง เพราะเดมิ ไมม่ ีแผ่นเสียง กจ็ ะใช้กลองหลวงตเี ป็นจงั หวะ
การตกี ลองหลวงจะตีไปพร้อมกับกลองตะโล้ดโป๊ดซึง่ เปน็ กลองสองหน้า ทาหนา้ ทต่ี ขี ัดสอดแทรกไปกับ
กลองหลวง ฉลา (ฉาบใหญ่) และฆ้องโหม่งซึ่งมีขนาดเล็กไปจนถึงใหญ่ จานวน ๒ - ๙ ใบ ต่อกลองหลวงแต่ละ
ใบหรือแต่ละคณะศรทั ธาวดั น้ัน ๆ
กลองหลวงมาจากจังหวัดลาพูน โดยวัดปางหมอปวงได้ซ้ือมาจากจังหวัดลาพูน เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๔๗
ในราคา ๘๐,๐๐๐ บาท (แปดหม่ืนบาทถ้วน) เม่ือปี พ.ศ. ๒๕๔๗ แล้ววัดต่าง ๆ ในอาเภอเชียงแสนก็หาซื้อมา
เป็นลาดับ จวบจนตั้งเป็นชมรมกลองหลวงเชยี งแสน ในปัจจุบันหากขาดการสนบั สนุนและอนุรักษ์กลองหลวง
ล้านนาไว้กจ็ ะสญู หายไปเนือ่ งจาก
๑. ไม้ประดู่ตน้ ใหญ่ หน้ากวา้ ง ไมส่ ามารถหาไดแ้ ลว้
๒. ขาดผชู้ านาญการในการทากลอง (การขดุ เจาะ ข้นึ รูป ขนึ้ เสียง)
๓. ขาดผสู้ บื ทอด เพราะผฝู้ ึกสอนมีอายมุ ากแลว้
-๙๕-
3.2 ข้ันตอน วธิ ีการดาเนินการเกีย่ วกับข้อมลู
อาเภอเชียงแสนเป็นอีกแห่งหนึ่งในล้านนา ที่ได้พยายามร้ือฟื้นและอนุรักษ์เพ่ือรักษาประเพณีการ ตีกลอง
หลวง โดย ท่านเจ้าคุณพระพุทธญิ าณมนุ ี เจ้าคณะจังหวัดเชียงราย ได้สนับสนุนให้มกี ารต้ังชมรมกลองหลวงขึน้
ในปี พ.ศ. ๒๕๕๕ เพื่อร่วมฉลอง ๗๕๐ ปีเมืองเชียงราย โดยมีนายวงศ์ ทาลังกา เป็นตัวแทนกลองหลวงวัดผ้า
ขาวป้าน เป็นประธานชมรมกลองหลวงเชียงแสน และได้รวมตัวกันในชุดการแสดง “กลองหลวง ๑๒ ราศี”
นับแต่บัดนัน้ จนกลายเป็นอตั ลกั ษณด์ า้ นศิลปะการแสดงของชาวอาเภอเชียงแสน และได้สบื ทอดมาจนปัจจุบนั
รายช่ือวดั กลองหลวง ๑๒ ราศี แตล่ ะราศี
๑. วัดพระเจ้าล้านทอง หมู่ ๒ ตาบลเวียง อาเภอเชียงแสน ปีชวด
๒. วัดเจดีย์หลวง หมู่ ๓ ตาบลเวียง อาเภอเชียงแสน ปฉี ลู
๓. วดั ผ้าขาวป้าน หมู่ ๒ ตาบลเวียง อาเภอเชียงแสน ปขี าล
๔. วัดปงสนุก หมู่ ๓ ตาบลเวยี ง อาเภอเชยี งแสน ปีเถาะ
๕. วัดพระธาตผุ าเงา หมู่ ๕ ตาบลเวียง อาเภอเชียงแสน ปมี ะโรง
๖. วดั ปา่ สักหางเวียง หมู่ ๙ ตาบลเวียง อาเภอเชยี งแสน ปีมะเส็ง
๗. วดั ปางหมอปวง หมู่ ๖ ตาบลป่าสัก อาเภอเชยี งแสน ปมี ะเมยี
๘. วดั ป่าคา หมู่ ๓ ตาบลแมเ่ งนิ อาเภอเชยี งแสน ปมี ะแม
๙. วดั ดอยจาปี หมู่ ๓ ตาบลป่าสัก อาเภอเชียงแสน ปีวอก
๑๐. วดั บ้านทุ่ง หมู่ ๒ ตาบลบา้ นแซว อาเภอเชียงแสน ปีระกา
๑๑. วดั ดอยจัน หมู่ ๑ ตาบลโยนก อาเภอเชยี งแสน ปีจอ
๑๒. วดั บ้านแซว หมู่ ๑ ตาบลบา้ นแซว อาเภอเชียงแสน ปีกนุ
๔. ช่ือผู้ที่ถอื ปฏิบตั ิและผสู้ ืบทอด
๔.๑ ผทู้ ถี่ ือปฏบิ ัติ
ช่อื นายสเุ ทพ ลอ้ สีทอง
วัน เดอื น ปีเกิด -
ทอ่ี ยู่ ๒๐๔ หมู่ 3 ตาบลเวียง อาเภอเชยี งแสน จงั หวดั เชียงราย
หมายเลขโทรศัพท์ 08๑ ๕๓๑ ๙๘๐๕
๔.๒ ผู้สบื ทอด
ช่ือ สภาวฒั นธรรมอาเภอเชยี งแสน
วัน เดอื น ปเี กิด -
ทีอ่ ยู่ -
หมายเลขโทรศัพท์ -
๕. สถานะ การคงอยู่ ปฏิบัตอิ ยา่ งแพร่หลาย เสีย่ งตอ่ การสญู หาย ไม่มปี ฏบิ ตั แิ ลว้
๖. รูปภาพภมู ิปัญญาทางวัฒนธรรม/กิจกรรมทางภูมปิ ัญญาทางวัฒนธรรม
-๙๖-
-๙๗-
แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ัญญำทำงวัฒนธรรมจังหวัดเชียงรำย ประจำปี 2565
สภำวฒั นธรรมจงั หวัดเชยี งรำย
อำเภอเชยี งแสน จังหวดั เชียงรำย
1. ชื่อข้อมูล แคนม้ง
๒. ลักษณะ วรรณกรรมพน้ื บา้ นและภาษา
ศิลปะการแสดง
แนวปฏิบัติทางสงั คมพิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล
อาหาร/ความร้แู ละการปฏิบตั ิเกย่ี วกบั ธรรมชาตแิ ละจกั รวาล
งานช่างฝีมือด้ังเดิม
การละเล่นพนื้ บ้าน กีฬาพน้ื บา้ น และศิลปะการต่อส่ปู ้องกนั ตวั
๓. รายละเอยี ดข้อมูล
๓.๑) ประวัตคิ วามเปน็ มาของข้อมลู
แคนม้ง เป็นเคร่ืองดนตรีชนเผ่าม้งท่ีมีความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว ไม่ว่าจะพบเห็นท่ีไหนก็สามารถ
บ่งบอกได้ว่าเป็นสัญลักษณ์ของม้ง แคนประดิษฐ์จากไม้ไผ่ที่ผ่านการคัดเลือกอย่างพิเศษแตกต่างจากไม้ไผ่
โดยทั่วไป ผู้ท่ีมีความสามารถในการเป่าแคนต้องมีใจรัก เสียงเพลงจากแคนม้งและเคร่ืองดนตรีประกอบเสียง
ไดแ้ ก่ ขลยุ่ ป่ี ซอ เขา้ ไปอยูใ่ นทุกพิธีกรรม ทุกเทศกาล ทีส่ าคัญเสยี งเพลงจากแคนม้งสามารถบอกกล่าวเรื่องราว
วิถีชีวิตความเป็นอยู่ของชนเผ่าทุกเรื่องราว ไม่ว่าจะเป็นเร่ืองราวความสุข ความทุกข์ของครอบครัว ชุมชน
แต่ปัจจุบันคนรุ่นหลังในชุมชนบ้านธารทองขาดผสู้ บื ทอดความสามารถในการเป่าแคน เหลือเพียงผเู้ ฒ่าในชมุ ชน ๖ คน
และเยาวชน ๑ คน ทเ่ี ป็นผสู้ บื ทอดและยงั มคี วามสามารถในการถา่ ยทอดศลิ ปะเสียงเพลงจากแคนได้
3.2 ข้ันตอน วิธีการดาเนินการเกี่ยวกับข้อมูล
ดนตรีชาวเขาเผ่าม้ง ไพเราะแว่วมาอย่างโหยหวน แสดงความสูญเสีย ท่ีสลับซับซ้อน ชาวม้ง
เรียกดนตรีชิ้นน้ีว่า เก้ง คนพื้นราบเรียกกันว่า แคน แต่เดิมดนตรีที่เรียกว่าเก้งใช้ในการเป่าเพื่อส่งวิญญาณ
ของผู้ตาย เมื่อได้ยินเพลงจากแคน แสดงถึงมีการตาย มีการล่ันกลองประกอบ เมื่อมีการตายชาวม้งต้องนา
ศพไปฝังบนเขาผู้นาขบวนจะเดินเป่าแคนเพื่อส่งวิญญาณไปสวรรค์ ดนตรีประจาชาวเขาเผ่าม้งท่ีสาคัญ คือ
แคนหรอื เกง้ ใชเ้ ปา่ เพอื่ ส่งวิญญาณผู้ตายไปสูส่ วรรค์
ปัจจุบัน วัฒนธรรมการเป่าแคนเปลี่ยนแปลงไป ใช้เป่าในหลายงาน แม้งานรื่นเริงก็ใช้เป่าอาจเป็น
เพราะมีการปรับสภาพตามความเป็นจริง ในปัจจุบัน เสียงแคนไพเราะมาก น้าเสียง ลีลาทานอง ให้อารมณ์
ความรู้สึกท่ีบอก ถึงความรักอาลัย และความสูญเสีย การเป่าแคนหรือเก้ง ของชาวม้งน้ี มีท่าเต้นประกอบการ
เปา่ แคนด้วย มีลลี าและอารมณ์ท่ีน่าสนใจ น่าเรยี นรแู้ ละน่าสืบทอด การบันทกึ เร่ืองราวของการทาแคน การเป่าแคน
การเต้นตามทานองแคน สู่รายการโทรทัศน์วัฒนธรรม จึงการบันทึกวัฒนธรรม โดยใช้เทคโนโลยีเข้ามารับใช้
วัฒนธรรมอาจทาให้วัฒนธรรม การเป่าแคน การทาแคน และการเต้นตามทานองของแคนอยู่คู่วัฒนธรรม
ชาวม้งตอ่ ไป
-9๘-
๔. ช่ือผทู้ ี่ถือปฏิบตั แิ ละผู้สบื ทอด
๔.๑ ผู้ทีถ่ อื ปฏิบัติ
(๑) ชอื่ ผู้เฒา่ เลาก้า แซ่ยา่ ง
วัน เดือน ปเี กดิ -
ทอี่ ยู่ 317 หมู่ 11 ตาบลแมเ่ งิน อาเภอเชยี งแสน จงั หวัดเชยี งราย
หมายเลขโทรศัพท์ -
(2) ชือ่ ผู้เฒ่าชาลี มุกดาสวรรค์
วนั เดือน ปีเกิด -
ทีอ่ ยู่ 32 หมู่ 11 ตาบลแมเ่ งิน อาเภอเชยี งแสน จงั หวัดเชียงราย
หมายเลขโทรศัพท์ -
๔.๒ ผสู้ ืบทอด
ชื่อ นายจนั ทร์ แซเ่ ล่า
วนั เดอื น ปเี กดิ -
ท่ีอยู่ 17 หมู่ 11 ตาบลแมเ่ งิน อาเภอเชยี งแสน จังหวัดเชยี งราย
หมายเลขโทรศัพท์ -
๕. สถานะ การคงอยู่ ปฏิบตั ิอยา่ งแพร่หลาย เส่ียงตอ่ การสูญหาย ไมม่ ปี ฏิบตั แิ ล้ว
๖. รปู ภาพภมู ิปญั ญาทางวัฒนธรรม/กจิ กรรมทางภูมปิ ัญญาทางวัฒนธรรม
-๙๙-
แบบสำรวจมรดกภมู ิปัญญำทำงวัฒนธรรมจงั หวดั เชียงรำยประจำปี ๒๕๖๕
สภำวฒั นธรรมจังหวดั เชยี งรำย
อำเภอแมส่ รวย จังหวดั เชยี งรำย
๑. ช่ือข้อมูล คา่ ว จอ๊ ย ซอ
๒. ลกั ษณะ วรรณกรรมพน้ื บ้านและภาษา
ศลิ ปะการแสดง
แนวปฏบิ ตั ิทางสงั คมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล
อาหาร/ความรูแ้ ละการปฏบิ ตั เิ กี่ยวกับธรรมชาติและจักรวาล
งานช่างฝมี ือดั้งเดิม
การละเล่นพืน้ บา้ น กีฬาพ้ืนบา้ น และศิลปะการต่อสู่ป้องกนั ตัว
๓. รำยละเอยี ดข้อมูล
๓.๑) ประวตั คิ วามเป็นมาของข้อมลู
ค่าว” หมายถึง คาประพันธ์ที่มีลักษณะร้อยสัมผัสสอดเก่ียวกันไป(แบบร่าย) และจบลงด้วย
โคลงสองหรือโคลงสามสุภาพ มีหลายชนิด คือเร่ืองท่ีปรากฏในเทศนาธรรมเรียกว่า “ค่าวธรรม” ถ้าแต่งเป็น
จดหมายรักเรียกว่า”ค่าวใช้” ถ้านาไปอ่านเป็นทานองเสนาะเรียกว่า “ค่าวซอ” หรือ “เล่าค่าว” และหากเป็น
การขบั ลานาตอนไปแอ่วสาว เรยี กวา่ “จอ๊ ย” ศริ พิ งศ์ วงศ์ไชย ไดก้ ลา่ วถึง คา่ ว หรอื ค่าวฮา่ ไว้วา่ คา่ วเป็นร้อย
กรองชนิดหน่ึงของล้านนาไทย ถือเป็นวรรณกรรมของชาวล้านนาในสมัยโบราณ ชาวล้านาสมัยโบราณ
โดยเฉพาะหนุ่ม สาว นยิ มพดู จาหยอกลอ้ กระเซา้ เย้าแหย่กนั พดู จาโตต้ อบหรอื จบี กัน ด้วย ค่าวฮ่า หรือกาค่าว
กาเครือ ถ้าเป็นหนุ่มก็จะเป็นท่ีช่ืนชอบของสาว ๆ เพราะถือว่าเก่ง มีความรู้ ความสามารถเชิงกวี ผู้ที่มีชื่อเสียง
ในการแต่งค่าวในสมัยน้ันได้แก่ พระยาพรหมโวหาร ซ่ึงมีผลงานเป็นท่ีรู้จัก คือ ค่าวพระยาพรหม
ไพฑูรย์ พรหมวิจิตร ได้อธิบายถึง “ค่าว” ในหนังสือกวีเอกล้านนา : พระยาพรหมโวหาร (๒๕..,หน้า
๖-๗) ไว้ดังนี้คือ “ค่าว” มีความหมายเป็นสองนัย นัยแรกได้แก่ “หลักเป็นที่อาศัยเกาะของถ้อยคา” ค่าว คาน้ี
คือ “คร่าว” น้ันเอง เพราะเสียงพูดของคนล้านนามักจะทาให้ตัว ร หดหายไป จึงนิยามได้ว่า คร่าวรั้วเป็นที่
อาศัยของซร่ี ัว้ ให้เปน็ ระเบยี บฉันใด หลักเกณฑอ์ นั เป็นทอี่ าศัยเกาะของถอ้ ยคา ทาใหถ้ ้อยคาเปน็ ระเบียบนัน้ เรา
เรยี กหลักเกณฑ์นั้นวา่ ค่าว หรอื คร่าว นยั ทส่ี อง คอื ใจความอันยดื ยาวต่อเน่ืองกนั เป็นเร่ืองราว เรียกใจความน้ัน
ว่า ค่าว เช่นกัน อาจารย์ไพรถ เลิศนพิริยกมล อ้างใน มณี พยอมยงค์ (๒๕..,หน้า ๒) ได้กล่าวถึง คร่าว ไว้ใน
หนังสือ “คติชาวบ้านล้านนาไทย” ว่า คร่าว เป็นร้อยกรองที่กวีทางภาคเหนือนิยมแต่งกัน ลักษณะของคา
ประพนั ธ์เป็นเภท คร่าวจะคลา้ ยกับกลอนแปด มลี กั ษณะสัมผัส และมกี ฎการแตง่ คร่าวของกวสี มัยก่อนมีไว้ว่า
“ สามตัวเหลียว เจ็ดตัวเทียว บาทหลังบาทหน้า” คือ กลอนตัวต้นมี ๓ ตัว วรรคถัดไปมี ๔ ตัว รวม
เป็น ๗ ตัวและเหลียวมาสัมผัสตัวหน้าในวรรคต่อไปอาจารย์สิงฆะวรรณสัย อ้างใน มณี พะยอมยงค์ (๒๕..,หน้า ๑)
กล่าวไว้ในหนังสือปริทัศน์วรรณคดีล้านนาว่า คร่าว(ค่าว) คือเร่ืองราวที่แต่งข้ึนเพ่ือพรรณนาเรื่องราวต่าง ๆ
ให้ผู้อ่าน ผู้ฟังได้รับความเพลิดเพลินใจ แบ่งออกเป็น ๔ ประเภทคือ คร่าวธรรม หรือธรรมค่าว ได้แก่ คัมภีร์
ชาดก เช่น ปัญญาชาดก ซึ่งพระสงฆน์ ยิ มใช้เทศนาให้อบุ าสกอุบาสิกาฟงั ในเทศกาลเขา้ พรรษา เพราะประชาชน
นิยมเข้าวัดฟังธรรมในวันธรรมสวนะตลอดพรรษา คร่าวซอ เกิดจากการนาเอาคร่าวธรรมหรือชาดมาแต่งเป็น
กลอนครา่ วเพิ่มเตมิ เนื้อหาเกีย่ วกบั เรื่องของชาวบ้านเขา้ ไปเพื่อให้คนหนุม่ สาวในล้านนาได้อา่ น ฟังกัน ทาใหเ้ กิด
วรรณกรรมสาคัญหลายเร่ืองเชน่ ครา่ วหงสห์ ิน คร่าวสวุ ัตร เป็นตน้ คร่าวใช้ หมายถงึ จดหมายรกั หรือเพลงยาว
ที่แต่งเป็นฉันทลักษณ์คร่าว ซ่ึงชายหนุ่มส่งให้หญิงสาว แล้วหญิงสาวตอบจดหมายเรียกว่า คร่าวใช้ คือชดใช้
ท่ีหนุม่ เขียนจดหมายถึงตน โดยมากจะไปขอให้พวกกวีเขียนให้ จึงมสี านวนไพเราะและกินใจ คร่าวร่า หรือ คร่าวฮ่า
ได้แก่ วรรณกรรมที่แต่งด้วยฉันทลักษณ์คร่าวพรรณนาเหตุการณ์ท้ังหลายที่กวีได้พบเห็น แล้วนามาแต่งเป็น
การราพนั หรอื รา่ พรรณนา จงึ เรียกวา่ คร่าวร่า
-๑๐๐-
“จ๊อย” เป็นการขับลานาอย่างหน่ึงของภาคเหนือ เป็นถ้อยคาท่ีกล่าวออกมาโดยมีสัมผัสคล้องจองกัน
เป็นภาษาพ้ืนเมือง ออกเสียงสูง ๆ ต่า ๆ เป็นทานองเสนาะ ฟังแล้วจะเกิดความไพเราะ สนุกสนานไปตาม
ท่วงทานองจอ๊ ย จดั อยู่ในวรรณกรรมประเภท “คา่ ว” และ ”ซอ” โดยทว่ั ไป “จ๊อย” จะเป็นการขับลานาที่หนุ่ม
ชาวเหนอื ขับรอ้ งเพอ่ื จะไดม้ เี สยี งร้อง เป็นเพอ่ื นขณะเดินทางไปแอ่วสาวในเวลากลางคนื การจอ๊ ยไมจ่ าเป็นต้อง
มีเครื่องดนตรีประกอบเหมือนอย่างซอ แต่บางครั้งบ่าวอาจจะดีดซึง ดีดเป๊ียะหรือสีสะล้อคลอไปด้วยก็ได้
ในอดีตการท่ีหนุ่มสาวจะตกลงปลงใจยินยอมมาใช้ชีวิตร่วมกันฉันท์สามีภรรยานั้น จะต้องเริ่มต้นมาจากการได้
พบปะพูดจา ดูอุปนิสัยซ่ึงกันและกันนานพอสมควร เมื่อเห็นว่ามีอุปนิสัยท่ีคล้ายคลึงกันหรอื มีความพอใจซึ่งกนั
และกนั กจ็ ะมกี ารหม้ันหมายแตง่ งานกัน
ยกตวั อย่ำงเช่น
สามสิบหา้ ปต๋ี ผ่ี า่ นฮ้อนหนาวผา่ นหวานผ่านคาว ตงึ เศร้าและหมอง
อาลยั เพื่อนรักนา้ ตา๋ ปอนอง เมือ่ ฮขู้ า่ วก้องเพอ่ื นต้องจากไป
สู่สขุ คติเบ้ืองบนแท้ไท้ สูส่ วรรค์คาลยั แสนไกลนิรนั ดรก์ าล.............
จ๊อย..แด่ดอยสุเทพตี้ฮัก (กรณีปำ่ แหวง่ ).
กด๊ั อกหมองใจ๋ แหวง่ ไปเหียแล้ว
เจยี งใหม่เมืองแกว้ บ่แคลว้ โสกา๋
ดงป่าไม้ เก๊าใหญ่ใบหนา
เขาจวนกันมา ตัดปา่ ไปเส้ยี ง
เผ่อื มาฮูห้ นั มนั ก่อหมดเกลย้ี ง
เหลอื แต่เพยี ง เศษไม้
ซา้ มาแปง๋ แต่งเฮือนเอาไว้
หลายหลงั ว่าได้ แลนา
บ่เต้าแต่นั้น มนั มีปัญหา
ถมสายธารา น้าปา่ ลาห้วยไจ๊ภาษีแป๋ง ของแปงเสยี ดว้ ย
ไผบห่ นั ตวย สกั น้อย
งืดใจ๋แต๊หนา สงั มาต่าก๊อย
บฟ่ ังเสยี งถ้อย คนใด
บ่ยอมหยดุ ย้ัง บ่ฟังกาไผ
ตดั สินใจ๋ไป ไจ๊กฎหมายอ้าง
ไผมีปญั หา ก่อฮาจะสรา้ ง
ขุดดอยแป๋งตาง เปง่ ลง้ึ
จาวประจา ปากันมาบ๊ึง
ตึงยอมบ่ได้ แลนา
บเ่ ตือนบ่ต๊ัก เขาจกั ลาสา
ไผใหญ่ไหนมา ฮาตึงจะสู้
ปากนั มาจ๋า เปิกษานั่งอู้
หาตางออกดู แตต๊ ๊กั
ดอยม่อนนหี้ นา หมฮู่ าขางฮกั
ก่อจักบ่หอ้ื ไผควี
ดอยสุเทพไธ้ วา่ ไดเ้ ปน๋ ศรี
ไผเยียะบด่ ี จักมีโต้ษได้ จักมีโต้ษได้
สายนา้ ปิง เวียงพิงค์ฮ่าไห้
ลกู หลานบ่ได้ลมื ลา
เตเต๊อะนาอยา่ เสยี ดายเจา้
-๑๐๑-
เต้านีส้ กู่ ันฟังกอ่ นแลนายเฮย..
พระจนั เงาใส ใยบเ่ ห็นขา้ เมฆบดบังมา หยงั มางอ๊ มใบ้
หรอื จนั ดวงน้ี มีคนจองไว้ บไ่ ด้คิดฮอด คาจาย
หยังมาง๊อมแต้ บ่แป้ใจห๋ าย ละอยเู่ ดยี วดาย ผ่อฟ้า
แหงนผอ่ ตางบน ต้องทนอ่อนล้า ง๊อมใจ๋แต้นา หยังมาหมน่ เศรา้ .......่
สำนวนคำ่ ว มี ๓ ส่วน คือ
บทขนึ้ ต้น บทดาเนนิ เร่อื งและบทสุดท้ายฉันทลักษณข์ องค่าว มีดงั น้ี
1. คา่ ว ๑ บท ม๓ี บาท (๓ บรรทดั ) บาทละ ๔ วรรค
2. สามวรรคแรกมี๔ คา สว่ นวรรคท่สี ่ี มี ๒ – ๔ คา
3. บงั คับเสยี งวรรณยกุ ตส์ ามัญ , โท , ตรีและจตั วา
4. การสง่ สัมผัสประกอบด้วย สมั ผัสระหวา่ งวรรคและสัมผสั ระหว่างบาท สัมผัสระหว่างวรรคส่งจาก
วรรคทา้ ยวรรคที่สอง ไปยงั คาทา้ ยวรรคที่สามของทุกบาท
5. บงั คบั เสียงวรรณยุกต์สามญั , โท , ตรีและจัตวา ตามตาแหนง่ ทกี่ าหนด
เครอื่ งดนตรีประกอบกำรจ๊อยการจ๊อยไม่จาเป็นตอ้ งมีเครื่องดนตรปี ระกอบเหมือนอยา่ งซอแต่บางครั้ง
อาจจะดีดซงึ ดดี เปี๊ยะหรอื สีสะลอ้ คลอตามไปดว้ ยก็ได้
รูปแบบการซอรูปแบบการซอในปัจจุบันทั้งแบบเชียงใหม่และแบบน่าน สามารถแบ่งรูปแบบที่ใช้ใน
การแสดงได้ ๓ รูปแบบ คอื
๑. การซอคู่ คือการซอขับร้องระหว่างช่างซอชาย ๑ คน กับช่างซอหญิง ๑ คน ในลักษณะการโต้ตอบ
ซักถามกัน ส่วนใหญ่ผู้ซอจะคิดคาร้องข้ึนสดๆในขณะแสดงซอคู่เป็นรูปแบบการซอด้ังเดิมที่ใชแ้ พร่หลายในงาน
บญุ ประเพณตี า่ ง ๆ
๒. ละครซอเป็นรูปแบบของการซอที่มีการดัดแปลงจากการซอคู่มาเป็นการซอละคร โดยนารูปแบบ
การแสดงของลเิ กและละครคาเมืองมาใช้เปน็ ตน้ ในการดัดแปลง
๓. ซอสตริง เป็นการซอคู่ที่มีการพัฒนานาเอาเคร่ืองดนตรีสมัยใหม่ เช่น อิเล็คโทน กลองชุด เข้ามา
บรรเลงประกอบการซอแทนเคร่ืองดนตรีพ้ืนเมืองเดิม คือ ป่ีจุมและซึงในซอแบบเชียงใหม่และพิณกับสะล้อใน
ซอแบบเมืองนา่ น
เคร่ืองดนตรีประกอบกำรซอเคร่ืองดนตรีประกอบการซอแบ่งตามความนิยมในท้องถิ่นแบ่งเป็น
๒ แบบคือเคร่ืองดนตรีประกอบการซอแบบเชยี งใหม่และเคร่ืองดนตรีประกอบการซอแบบเมืองน่าน
๑. เคร่อื งดนตรปี ระกอบการซอแบบเชยี งใหม่ประกอบด้วยปจี่ ุ่ม และซงึ ป่จี ุมเป็นเครอื่ งดนตรปี ระเภท
เป่าทีท่ ามาจากไม้ไผป่ ระเภทไม้รวก โดยตดั เปน็ ท่อนๆ ขนาดต่างกันจานวน ๓ เลา หรอื ๓ เลม่ ป่อี ยคู่ ่กู ับการซอ
มาตลอดจงึ มคี วามสาคญั
๒. เคร่ืองดนตรีประกอบการซอแบบเมืองน่านประกอบด้วยพิณและสะล้อ(ข้อล้อ) พิณเป็นเครื่องสาย
แบบดีด ขุดจากไม้ท่อนทานองซอซอเป็นการขับขานด้วยทานองท่ีมีคาร้องสัมผัสคล้องจองกันตามฉันทลักษณ์
ของแต่ละทานองนั้นโดยเฉพาะ ซ่ึงในแต่ละทานองซอจะมีฉันทลักษณ์ท่ีแตกต่างกัน คาว่า ทานองซอ เป็นคา
ทใี่ ช้เรียกในเขตจงั หวดั เชยี งใหม่ เชียงราย ลาพนู ส่วนในจังหวดั แพรแ่ ละนา่ นเรยี กวา่ ระบาซอ
๓.๒) ขั้นตอน/วิธกี าร/ดาเนนิ การเกยี่ วกบั ข้อมลู
1. มใี จรักในการแตง่ คา่ วและเปน็ คนละเอียดอ่อน
2. ถา้ แตง่ กลอนเปน็ จะแต่งคา่ วได้งา่ ยขน้ึ
3. รูฉ้ นั ทลกั ษณ์สัมผัส และเสียงวรรณยกุ ต์ของค่าว
4. แยกเสียงโทและเสียงตรอี อกจะทาให้แตง่ คา่ วไดไ้ พเราะยง่ิ ขนึ้
-๑๐๒-
๔. ชอ่ื ผูท้ ่ีถอื ปฏิบัตแิ ละผูส้ ืบทอด
๔.๑ ผทู้ ถ่ี อื ปฏิบตั ิ
ช่อื นายคา กนั ทะปัน
วัน เดือน ปีเกดิ ๒ มถิ นุ ายน ๒๕๙๔
ท่อี ยู่ 318 หมู่ 4 ตาบลเจดียห์ ลวง อาเภอแมส่ รวย จังหวัดเชียงราย
หมายเลขโทรศัพท์ -
*ไดร้ ับข้อมูลภมู ิปญั ญาความรู้ จาก หม่บู า้ นหนองแรด อาเภอเทิง จังหวดั เชียงราย โดยได้นามาฝกึ ฝน
ดว้ ยตนเองเป็นเวลา 6 เดือน และยังได้รับการตดิ ต่อให้ไปเลา่ ค่าวทว่ี ิทยุชมุ ชน
๔.๒ ผู้สืบทอด
ช่ือ -
วนั เดอื น ปีเกดิ -
ทอ่ี ยู่ -
หมายเลขโทรศัพท์ -
๕. สถานะการคงอยู่ ปฏบิ ตั ิอย่างแพร่หลาย เส่ียงตอ่ การสญู หาย ไมม่ ปี ฏิบตั แิ ลว้
๖. รปู ภำพภูมปิ ญั ญำทำงวัฒนธรรม/กจิ กรรมทำงภูมิปัญญำทำงวฒั นธรรม
-๑๐๓-
แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ัญญำทำงวัฒนธรรมจงั หวดั เชียงรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวัฒนธรรมจังหวัดเชยี งรำย
อำเภอป่ำแดด เชยี งรำย
๑. ชอื่ ข้อมลู การฟ้อนสาวปอยหลวง
๒. ลกั ษณะ วรรณกรรมพืน้ บ้านและภาษา
ศิลปะการแสดง
แนวปฏิบตั ิทางสังคมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล
อาหาร/ความรู้และการปฏบิ ตั เิ กี่ยวกบั ธรรมชาตแิ ละจักรวาล
งานช่างฝีมือดั้งเดมิ
การละเล่นพืน้ บ้าน กีฬาพ้ืนบ้าน และศิลปะการตอ่ สู่ป้องกนั ตวั
๓. รำยละเอียดขอ้ มูล
๓.๑) ประวตั ิความเปน็ มาของขอ้ มูล
การฟ้อนสามปอยหลวง ถือกาเนิดมาจากงานประเพณีพิธีปอยหลวงในภาคเหนือ เป็นงานทาบุญ
เพือ่ เฉลิมฉลองศาสนสมบัตติ ่าง ๆ เพ่อื ให้เกิดอานสุ งส์แกต่ นและครอบครวั ถือวา่ ได้บญุ กุศลแรงมาก นอกจากนี้
ยังเป็นเคร่ืองแสดงถึงความสามัคคีกลมเกลียวของคณะสงฆ์และชาวบ้านด้วยเพราะเป็นงานใหญ่ การทาบุญ
ปอยหลวงทน่ี ิยมทากันคือทาบุญเพ่ืออุทิศสว่ นกุศลให้พ่อ แม่ ปู่ ยา่ ตา ยาย หรือญาตพิ นี่ ้องทล่ี ว่ งลับไปแล้วก็ได้
ส่ิงสาคัญที่ได้จากการทาบุญงานปอยหลวงอีกอย่างหน่ึงก็คือ การแสดงความช่ืนชมยินดีร่วมกัน เพ่ือความ
สนุกสนานเพลิดเพลินให้แก่คนในท้องถ่ินโดยการจัดมหรสพสมโภชเพราะหน่ึงปีถึงจะได้มีโอกาสได้เฉลิมฉลอง
ถาวรวัตถุต่าง ๆ ได้ หรือบางแห่งอาจใช้เวลาหลายปีเพราะสิ่งปลูกสร้างบางอย่างใช้เวลาสร้างนานมาก
สิ้นเปลอื งเงินทองมหาศาล จะตอ้ งรอให้สรา้ งเสรจ็ และมเี งนิ จึงจะจัดงานเฉลิมฉลองเปน็ งานปอยหลวงขึ้นมาได้
การฟ้อนเอ้ืองสามปอยหลวงมีความเชื่อว่า หากใครได้ฟ้อนนาครัวทานเข้าวัดในงานปอยหลวงแล้วจะ
ไดอ้ านสิ งส์มาก เกดิ ไปในภายหนา้ จะมรี ูปร่างหน้าตางดงามย่งิ ขนึ้
คาว่า “สามปอยหลวง” มีที่มาจากดอกไม้ชนิดหน่ึงชื่อว่า “ดอกเอ้ืองสามปอยหลวง” เป็นกล้วยไม้
แวนด้าใบแบน มีถิ่นกาเนิดทางภาคเหนือและภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ดอกมีสีเหลืองอมสีน้าตาล มีกล่ินหอม
เย็นชวนดมมากและเป็นพันธุ์ที่หายาก ในการฟ้อนสามปอยหลวงจะนิยมทัดดอกเอื้องสามปอยหลวงเพ่ือ
ประดับไว้บนหวั อกี ด้วย
สาหรับท่ีมาของชื่อเอ้ืองสามปอยหลวงน้ัน กล่าวกันว่าเนื่องจากภาคเหนือเป็นดินแดนเกษตรกรรม
ที่สมบูรณ์มาแต่อดีต นอกจากนั้นยังมีกล้วยไม้ป่าอยู่ตามธรรมชาติอย่างหลากหลายด้วย หลังเสร็จฤดูเก็บเกี่ยว
พืชผลแล้ว เกษตรกรนิยมพักผ่อน โดยจัดกิจกรรมทาบุญเข้าวัด งานวัด ภาษาชาวเหนือเรียกกันว่า งานปอย
คาว่าหลวงหมายถึงใหญ่ ดังน้ัน เอื้องสามปอยหลวงจึงหมายความว่า ให้ดอกบานทนได้นานถึงช่วงสามงานวัด
ติดต่อกัน อน่ึง มีการกล่าวขานกันในระหว่างชาวบ้านว่าเอ้ืองสามปอยหลวงส่งกล่ินหอมต้ังแต่ช่วงเวลาบ่ายไป
จนถงึ เยน็ และค่า นอกจากนน้ั กลน่ิ ของเออื้ งสามปอยหลวงยังกระจายไปไกลอกี ด้วย
๓.๒) ข้นั ตอน/วธิ กี าร/ดาเนนิ การเกย่ี วกับขอ้ มูล
เพลงประกอบที่มักจะใช้ในการแสดง น้นั คือเพลง "สามปอยหลวง" ของสุนทรี เวชานนท์ ซง่ึ เป็นเพลง
ท่ไี พเราะที่มเี นื้อหา ชื่นชม และเชิดชูความรกั ของสาวเหนือว่า ส่วนมากแลว้ จะเปน็ ความรักท่ีมจี ิตใจมัน่ คง และ
บรสิ ทุ ธิ์ รกั ใครรักจริง ดจุ ดัง่ ดอกเออื้ งสามปอยหลวง
-๑๐๔-
เนอ้ื เพลง "สามปอยหลวง"
“ สวยงามหาใดปานเปรยี บ......เทยี บเออื้ งน้อยสามปอยหลวง
ดอกลดหล่นั เป็นชนั้ เป็นพวง..........เออ้ื งหลวงเจา้ งามตาแต๊
เหลืองดังสีทองทาบทา..............เอ้ืองเมืองฟา้ ชวนใฝ่ตาแล
ฮกั หลงกลิ่นและสีเจ้าแต้เจ้าเออ้ื งน้อยสามปอยหลวง
*เปน็ ศรเี ออ้ื งไพรชาวเจยี งใหม่
ซาบซง้ึ ซา่ นทรวง................................เอ้อื งสามปอยหลวง
เปน็ ขวญั คู่ งามเหลือ............................ชดิ ชมไมม่ ีวนั หนา่ ย
เฮื้องสดใส เหมือนใจสาวเหนอื .............บริสุทธ์ิไมป่ นไม่เจือ
เมือ่ ฮกั ไผหวั ใจมนั่ เอย (ซ้า *) “
๔. ช่อื ผู้ท่ีถือปฏิบตั ิและผู้สบื ทอด
๔.๑ ผูท้ ี่ถือปฏิบัติ
ชอ่ื นางกัลยา อารหี นู
วนั เดือน ปเี กิด -
ทอี่ ยู่ ตาบลปา่ แงะ อาเภอป่าแดด จังหวดั เชยี งราย
หมายเลขโทรศัพท์ 093 283 6953
๔.๒ ผู้สบื ทอด
ช่อื สภาวฒั นธรรมตาบลป่าแงะ / สภาวฒั นธรรมอาเภอปา่ แดด
วนั เดอื น ปเี กดิ -
ทอ่ี ยู่ ตาบลป่าแงะ อาเภอป่าแดด จังหวัดเชียงราย
หมายเลขโทรศัพท์ -
๕. สถำนะ กำรคงอยู่ ปฏบิ ตั ิอย่างแพรห่ ลาย เส่ียงตอ่ การสูญหาย ไมม่ ปี ฏิบัติแลว้
๖. รปู ภำพภมู ิปญั ญำทำงวัฒนธรรม/กิจกรรมทำงภูมิปัญญำทำงวฒั นธรรม
-๑๐๕-
แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ญั ญำทำงวฒั นธรรมจงั หวัดเชยี งรำย ประจำปี 2565
สภำวัฒนธรรมจังหวดั เชยี งรำย
อำเภอเวยี งป่ำเป้ำ จงั หวดั เชยี งรำย
๑. ช่ือข้อมูล ศิลปะ “การฟ้อนเล็บ”
๒. ลกั ษณะ วรรณกรรมพ้ืนบา้ นและภาษา
ศิลปะการแสดง
แนวปฏิบัตทิ างสงั คมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล
อาหาร/ความร้แู ละการปฏบิ ตั ิเกีย่ วกบั ธรรมชาติและจักรวาล
งานชา่ งฝมี ือด้งั เดิม
การละเล่นพื้นบ้าน กีฬาพ้ืนบา้ น และศลิ ปะการต่อสปู่ ้องกันตวั
๓. รำยละเอยี ดขอ้ มลู
๓.๑) ประวตั ิความเป็นมาของขอ้ มลู
“ศิลปะกำรฟ้อนเล็บ” เป็นศิลปะการฟ้อนที่เป็นเอกลักษณ์ของชาวล้านนามีมาแต่โบราณ ปรากฏใน
คุ้มน้อย - คุ้มหลวงของเจ้านายฝ่ายเหนือ พระราชชายาเจ้าดารารัศมี ได้ดาริว่า ฟ้อนเล็บได้กระจายอยู่ในคุ้มต่าง ๆ
ท้วงท่าลีลาก็แตกต่างกันไป เห็นสมควรรวบรวมไว้ให้เป็นแบบเดยี วกัน และเพื่อการอนุรักษ์ไม่ให้สูญหาย จึงได้
รวบรวมแม่ทา่ สบื สานไว้เปน็ ตน้ ฉบบั ในคุ้มเจ้าดาราจนเปน็ แมท่ ่าฟ้อนเลบ็ ในปรากฏสืบทอดมาจนถงึ ปัจจุบัน
“เพลงฟ้อนเล็บ” ใช้กลองหลวงเป็นเคร่ืองดนตรีสด มีเครื่องดนตรี ดังนี้ กลองหลวง, ฉาบใหญ่, ฆ้อง
และมีจังหวะช้าและเร็ว ซง่ึ ปรากฏเพลงฟ้อนเลบ็ เจยี งฮาย และเพลงฟ้อนเล็บเจียงใหม่
“กำรแตง่ กำย” เปน็ ชุดแตง่ กายของชาวลา้ นนาประกอบด้วย นุ่งผา้ ถงุ , เสื้อแขนยาวทับด้วยสไบ, เกลา้
ผมทดั ดอกเออ้ื ง, และสวมเล็บอันเปน็ ทีม่ าของฟ้อนเลบ็
“กำรฟ้อน” เดิมใช้ฟ้อนถวายเป็นพุทธบูชาในงานบุญปอยหลวงต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับงานบุญ รวมถึงการต้อนรับ
เจา้ นาย – เจ้าฟ้ามหากษัตริย์ เปน็ ต้น ในปัจจบุ ันเป็นศิลปะเพือ่ ความบันเทิง
3.2) ขัน้ ตอน/วธิ ีการ/ดาเนินการเกี่ยวกบั ขอ้ มูล
- เตรียมหาอาสาสมัคร เชน่ หนุม่ สาว/แมบ่ ้าน/ผสู้ ูงวยั /เด็กเยาวชน
- เตรยี มชุดชา่ งฟอ้ นให้เพียงพอและพอดีกบั ผทู้ จี่ ะฟ้อน
- การฝึกซอ้ มฟ้อนโดยมแี ม่ครูฟ้อนเลบ็ เปน็ ผู้ฝึกสอนตามแม่ท่าทไี ด้สบื ทอดมา เชน่ บิดบวั บาน, ม้วน
วนั ทา, ไหว้, บังสรุ ยิ า, มว้ นวันทา เป็นตน้ ต้ังวง ฯลฯ ซ้อมกับดนตรกี ลองหลวง
๔. ช่อื ผ้ทู ถี่ ือปฏบิ ตั ิตำมและสืบทอด
4.1 ผ้ทู ่ีถือปฏบิ ัติ
ชื่อ นางทองใบ สนั อดุ ร
วัน เดือน ปีเกดิ 3 สิงหาคม 2506
ทอ่ี ยู่ 99 หมู่ 12 ตาบลสนั สลี อาเภอเวียงปา่ เปา้ จังหวดั เชยี งราย
หมายเลขโทรศัพท์ 081 993 6976
4.2 ผสู้ ืบทอด
ชือ่ ประชาชนในบา้ นทุ่งห้า
วัน เดอื น ปีเกิด -
ที่อยู่ หมู่ 12 ตาบลสนั สลี อาเภอเวียงปา่ เปา้ จังหวดั เชยี งราย
หมายเลขโทรศัพท์ -
-๑๐๖-
๕. สถานะ การคงอยู่ ปฏบิ ตั อิ ย่างแพร่หลาย เสยี่ งต่อการสูญหาย ไม่มีปฏบิ ตั ิแลว้
๖. รูปภาพภมู ปิ ญั ญาทางวัฒนธรรม/กิจกรรมทางภูมปิ ัญญาทางวัฒนธรรม
-๑๐๗-
แบบสำรวจมรดกภมู ิปญั ญำทำงวัฒนธรรมจังหวัดเชียงรำย ประจำปี 2565
สภำวัฒนธรรมจงั หวัดเชยี งรำย
อำเภอเวยี งปำ่ เปำ้ จงั หวดั เชียงรำย
๑. ชื่อข้อมลู ดนตรีพนื้ เมืองล้านนา (ดนตรีสะล้อ ซอ ซึง)
๒. ลักษณะ วรรณกรรมพนื้ บา้ นและภาษา
ศิลปะการแสดง
แนวปฏิบัติทางสงั คมพิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล
อาหาร/ความรูแ้ ละการปฏิบัตเิ ก่ยี วกบั ธรรมชาติและจกั รวาล
งานช่างฝีมือดง้ั เดิม
การละเลน่ พนื้ บ้าน กีฬาพ้นื บา้ น และศิลปะการต่อสปู่ ้องกนั ตัว
๓. รำยละเอยี ดขอ้ มูล
๓.๑) ประวตั ิความเป็นมาของขอ้ มูล
“ดนตรีสะล้อ ซอ ซึง” เป็นดนตรีการละเล่นพื้นบ้านล้านนาท่ีทรงคุณค่า เป็นเครื่องดนตรีที่เป็น
เอกลักษณเ์ ฉพาะของลา้ นนา สามารถเลน่ เดี่ยว หรอื เปน็ วงได้ ใช้เล่นควบคู่บทรอ้ ง เช่น ช่างซอ นักคา่ ว และ
รอ้ งแบบลกู ทงุ่ ภาคกลางได้
“อุปกรณ์” ประกอบด้วยเครื่องดนตรีประจาวงดังน้ี ซึง(เล็ก-ใหญ่) (ลูก 3 ลูก 4) กลอง( 2 หน้า),
สะล้อ, ขลุ่ย, ฉาบเล็ก, ฉ่ิง ซ่ึงเล่นคู่กับเพลงแห่ล้านาซ่ึงมีเพลงแห่บังคับไว้เช่น เพลงสาวไหว, เพลงปราสาทไหว,
เพลงพม่า, เพลงอ่ือ, เพลงซอ(ล่องน่าน) เป็นต้น หากเป็นการละเล่นในงานปอยหลวง-นอ้ ย สาคัญ ๆ เก่ียวกับ
พระพทุ ธศาสนากจ็ ะเน้นเพลงแหแ่ ละหากเปน็ งานอนื่ กส็ ามารถเลน่ เพลงลกู ทุง่ ภาคกลางไดเ้ พ่ือความบันเทงิ
“กำรเล่น” ใช้เล่นหรือแห่งานวัด งานศพ งานบุญทั่วไป และใช้แห่ในพิธีสาคัญ ๆ เช่น พิธีบวงสรวง
และแห่ต้อนรับเจ้าฟ้า-เจ้านายได้ ปัจจุบันสามารถเล่นประยุกต์เข้ากับเครื่องดนตรีสมัยใหม่อีกหลายชิ้น
เช่น อีเลคโทน กีต้า กลองชุด ซึ่งเป็นการประยุกต์ไปในพื้นที่อาเภอเวียงป่าเป้ายังพอมีอยู่หลายวง และอีกหลายวง
กป็ ดิ ตวั ลงเพราะนักดนตรีเสียชีวติ ขาดการสืบทอด
3.2) ขั้นตอน/วิธกี าร/ดาเนินการเก่ยี วกบั ข้อมูล
- เตรียมอปุ กรณ์ คือ เครอื่ งดนตรใี หค้ รบสาหรับผูเ้ ล่น
- ต้องนัดซ้อมกบั พ่อครู-แม่ครู
- การเลน่ สามารถเล่นได้งานท่วั ไป 1 วง ประกอบด้วยนักดนตรี 8 – 12 คน
๔. ชอ่ื ผทู้ ถ่ี ือปฏิบัติตำมและสืบทอด
4.1 ผู้ท่ีถือปฏิบตั ิ
ชื่อ นายวัง อายยุ นื
วนั เดือน ปีเกดิ -
ที่อยู่ บ้านรอ้ ง ตาบลแม่เจดียใ์ หม่ อาเภอเวียงปา่ เป้า จังหวัดเชียงราย
หมายเลขโทรศัพท์ 087 302 3420
4.2 ผสู้ บื ทอด
ชอ่ื -
วนั เดอื น ปเี กิด -
ทีอ่ ยู่ -
หมายเลขโทรศัพท์ -
-๑๐๘-
๕. สถำนะ กำรคงอยู่ ปฏิบตั อิ ย่างแพรห่ ลาย เสีย่ งต่อการสูญหาย ไมป่ ฏบิ ตั แิ ลว้
๖. รูปถ่ำยภมู ิปัญญำทำงวัฒนธรรม/กจิ กรรมทำงภมู ปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม
-๑๐๙-
แบบสำรวจมรดกภมู ิปัญญำทำงวฒั นธรรมจังหวดั เชียงรำย ประจำปี 2565
สภำวัฒนธรรมจังหวัดเชยี งรำย
อำเภอพำน จงั หวดั เชยี งรำย
๑. ชื่อข้อมูล ภูมปิ ญั ญาชาวบ้านดา้ นศิลปะการแสดงฟ้อนรา
๒. ลักษณะ วรรณกรรมพนื้ บา้ นและภาษา
ศลิ ปะการแสดง
แนวปฏิบตั ิทางสงั คมพิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล
ความรแู้ ละการปฏบิ ัตเิ ก่ียวกบั ธรรมชาตแิ ละจกั รวาล
งานช่างฝมี อื ด้ังเดิม
การละเล่นพืน้ บา้ น กีฬาพื้นบา้ น และศลิ ปะการตอ่ สูป่ ้องกันตัว
๓. รำยละเอยี ดขอ้ มลู
๓.๑) ประวตั คิ วามเปน็ มาของขอ้ มูล
โดยท่ัวไปจะทราบว่ามีภูมิปัญญาสาขาฟ้อนรานี้อยู่แลว้ ด้วยผลงานเชงิ ประจักษ์ตลอดระยะเลา 35 ปี
พ่อแม่ผู้ปกครองก็ได้นาเอาบุตรหลานมาเรียน โดยจะคัดแยกจากอายุ ความสามารถของเด็กออกเป็นกลุ่ม
และสอนเด็กแต่ละกลุ่มจากกิจกรรมงา่ ย ๆ เช่น การดัดมือ แขน ขา เอว และเร่มิ เรียนเพลงง่าย ๆ กอ่ น ราเพลง
เชิญพระขวัญ ฟ้อนสาวไหม เพื่อให้เด็กเริ่มมีทักษะและเสริม พัฒนาการต่อยอดไปเร่ือย ๆ ระยะเวลาท่ีเด็ก
เรียนประมาณ 1 ปีขึ้นไป เด็กสามารถเรียนได้ตั้งแต่อายุ 3 ปีครึ่งข้ึนไป ในด้านวิทยากรทางกลุ่มหรือสังกัด
จะแจ้งว่าจะให้นาเสนอในกิจกรรมอะไร เช่น กลุ่มเด็กอนุบาลศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มเยาวชน
กลมุ่ แม่บา้ น นักเรยี น นักศึกษา ฯลฯ ซงึ่ ไดป้ ฏบิ ัตมิ าโดยตลอด
3.2) ข้ันตอน/วิธกี าร/ดาเนินการเก่ยี วกับขอ้ มลู
-
๔. ชอื่ ผูท้ ีถ่ ือปฏบิ ัติและผ้สู บื ทอด
๔.๑ ผ้ทู ่ีถือปฏบิ ัติ
ชือ่ นางสุวลกั ษณ์ ชมุ มธั ยา
วนั เดือน ปเี กดิ 17 พฤศจกิ ายน 2501
ทีอ่ ยู่ 166 หมู่ 6 ตาบลหวั งม้ อาเภอพาน จงั หวดั เชียงราย
หมายเลขโทรศัพท์ 084 707 1366
๔.๒ ผู้สืบทอด
ชอื่ นางสุจิตรา รตั นพิทกั ษ์
วนั เดอื น ปีเกิด 2510
ทีอ่ ยู่ 166 หมู่ 6 ตาบลหัวง้ม อาเภอพาน จังหวัดเชียงราย
หมายเลขโทรศัพท์ 093 309 4397
๕. สถำนะ กำรคงอยู่ ปฏบิ ัตอิ ยา่ งแพร่หลาย เส่ยี งต่อการสญู หาย ไมม่ ีปฏบิ ัตแิ ลว้
-๑๑๐-
๖. รูปภำพภูมปิ ญั ญำทำงวัฒนธรรม/กจิ กรรมทำงภูมปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม
-๑๑๑-
แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ัญญำทำงวัฒนธรรมจงั หวัดเชยี งรำย ประจำปี 2565
สภำวฒั นธรรมจังหวัดเชยี งรำย
อำเภอเมืองเชยี งรำย จังหวดั เชยี งรำย
๑. ช่ือข้อมูล การฟ้อนเล็บ
๒. ลักษณะ วรรณกรรมพ้ืนบา้ นและภาษา
ศิลปะการแสดง
แนวปฏิบตั ิทางสังคมพิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล
ความรแู้ ละการปฏิบัตเิ ก่ียวกับธรรมชาติและจกั รวาล
งานช่างฝีมือดั้งเดมิ
การละเล่นพืน้ บ้าน กีฬาพืน้ บ้าน และศลิ ปะการต่อสปู่ ้องกันตวั
๓. รำยละเอยี ดขอ้ มูล
๓.๑) ประวตั คิ วามเป็นมาของขอ้ มลู
การฟ้อนเล็บท่ีสืบทอดจากคุ้มเจ้าหลวงในสมัยพระราชชายาเจ้าดารารัศมี ซ่ึงได้นาการฟ้อนเล็บมา
เผยแพร่กันอย่างกว้างขวาง สาหรับในบ้านป่ายางมน ตาบลรอบเวียง อาเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย มี
ครชู ่ือว่าครโู มเป็นผ้นู ามาเผยแพรแ่ ละสอนการฟ้อนเล็บ จนได้สบื ทอดมาจนถงึ ปัจจุบนั
3.2) ข้นั ตอน/วธิ ีการ/ดาเนินการเก่ยี วกับขอ้ มูล
ไดร้ ับข้อมูลจากการสมั ภาษณพ์ ่อครมู านิตย์ เจรญิ ทรพั ยเ์ กษมศรี
๔. ช่อื ผทู้ ี่ถือปฏบิ ัติและผู้สบื ทอด
๔.๑ ผทู้ ถ่ี ือปฏิบตั ิ
๑) ช่อื นางอนสุ รา วงค์แกว้
วัน เดอื น ปเี กดิ 1๔ ธันวาคม ๒๕๑๑
ที่อยู่ ๓๔ หมู่ ๕ ตาบลรอบเวียง อาเภอเมืองเชยี งราย จังหวดั เชยี งราย
หมายเลขโทรศัพท์ ๐๘๙ ๒๖๕ ๓๕๘๖
๒) ชื่อ นางสาวเยาวภา แสงสวา่ ง
วัน เดอื น ปีเกิด ๓๐ ตลุ าคม ๒๕๑๔
ท่อี ยู่ ๑๕ หมู่ ๕ ตาบลรอบเวยี ง อาเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชยี งราย
หมายเลขโทรศัพท์ ๐๘๕ ๘๖๕ ๑๖๑๑
๔.๒ ผู้สบื ทอด
ชื่อ พอ่ ครูมานติ ย์ เจริญทรัพยเ์ กษมศรี
วัน เดือน ปีเกิด -
ทอ่ี ยู่ -
หมายเลขโทรศัพท์ -
๕. สถำนะ กำรคงอยู่ ปฏบิ ัติอยา่ งแพรห่ ลาย เสยี่ งต่อการสูญหาย ไมม่ ปี ฏิบัติแลว้
-๑๑๒-
๖. รูปภำพภูมปิ ญั ญำทำงวัฒนธรรม/กจิ กรรมทำงภูมปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม
-๑๑๓-
แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ญั ญำทำงวฒั นธรรมจงั หวดั เชียงรำย ประจำปี 2565
สภำวฒั นธรรมจังหวัดเชยี งรำย
อำเภอเมอื งเชียงรำย จังหวดั เชยี งรำย
1. ชอื่ ข้อมูล การเลา่ คา่ ว จ๊อย ซอ พื้นเมืองล้านนา
๒. ลักษณะ วรรณกรรมพนื้ บ้านและภาษา
ศลิ ปะการแสดง
แนวปฏิบตั ทิ างสงั คมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล
อาหาร/ความรแู้ ละการปฏิบัตเิ กย่ี วกบั ธรรมชาตแิ ละจักรวาล
งานช่างฝีมอื ดัง้ เดิม
การละเลน่ พน้ื บา้ น กีฬาพนื้ บ้าน และศลิ ปะการต่อสู่ป้องกันตวั
๓. รำยละเอยี ดขอ้ มูล
๓.๑) ประวัติความเป็นมาของข้อมลู
ซอพ้นื เมอื งลา้ นนาหรือทีช่ าวพ้ืนเมืองล้านนาเรียกว่า ซอ (มักเรียกประกอบกันเปน็ สะล้อ ซอ ซงึ ) เปน็
รปู แบบการรอ้ งเพลงทช่ี าวพนื้ เมืองลา้ นนาใชข้ บั กล่อมใหค้ ลายทุกข์ โดยจะมีคาเรียกผู้รอ้ งเพลงซอว่า “ชา่ งซอ”
การขับซอในปัจจุบันจะมีลีลาและรูปแบบท่ีเปลยี่ นแปลงไปตามยุคสมัย การซอมีทั้งขับร้องเด่ียวและคู่
ซึ่งเรียกว่า “คู่ถ้อง” สลับด้วยดนตรี คือ ปี่ชุม ๓ ปี่ชุม ๔ หรือปี่ชุม ๕ (ภาษาพื้นเมืองจะออกเสียงว่า “ปี่จุม”)
ทน่ี ิยมกนั มาแต่โบราณ
นายดี วงค์เข่ือน เป็นบุคลากรท่ีมีความรู้ความสามารถด้านการขับซอพ้ืนบ้านท่ีมีความสามารถในการ
ขับซอท่มี ีปฏิภาณไหวพริบที่ยอดเยยี่ มผหู้ นึ่ง เป็นที่ยอมรับของชาวบา้ นในตาบลทา่ สดุ อีกทา่ นหนง่ึ
3.2) ขนั้ ตอน/วิธีกำร/ดำเนนิ กำรเกยี่ วกบั ข้อมูล
สอบถามข้อมูลจากประชาชนในพ้นื ท่ี
๔. ช่ือผูท้ ่ถี ือปฏิบตั ิตำมและสบื ทอด
4.1 ผู้ทถี่ อื ปฏิบัติ
ช่ือ นายดี วงค์เขือ่ น
วัน เดอื น ปีเกิด -
ท่อี ยู่ หมู่ ๒ ตาบลทา่ สุด อาเภอเมืองเชียงราย จังหวดั เชียงราย
หมายเลขโทรศัพท์ -
4.2 ผสู้ ืบทอด
ชอ่ื -
วัน เดือน ปเี กิด -
ทอี่ ยู่ -
หมายเลขโทรศัพท์ -
-๑๑๔- ไมป่ ฏิบตั แิ ลว้
๕. สถำนะ กำรคงอยู่ ปฏิบัติอย่างแพรห่ ลาย เสยี่ งต่อการสญู หาย
๖. รปู ถำ่ ยภูมิปัญญำทำงวัฒนธรรม/กิจกรรมทำงภูมปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม
-๑๐9-
แบบสำรวจมรดกภมู ิปญั ญำทำงวัฒนธรรมจงั หวัดเชียงรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวฒั นธรรมจงั หวดั เชยี งรำย
อำเภอเทิง จงั หวัดเชยี งรำย
๑. ชื่อข้อมูล พิธกี รรมทางศาสนา
๒. ลกั ษณะ วรรณกรรมพ้ืนบ้านและภาษา
ศิลปะการแสดง
แนวปฏิบตั ิทางสังคมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล
อาหาร/ความรแู้ ละการปฏิบัติเก่ยี วกบั ธรรมชาตแิ ละจักรวาล
งานชา่ งฝมี อื ดงั้ เดิม
การละเล่นพื้นบ้าน กีฬาพ้นื บ้าน และศิลปะการต่อสู่ป้องกนั ตัว
๓. รำยละเอียดข้อมูล
๓.๑) ประวัตคิ วามเป็นมาของขอ้ มลู
บ้านไคร้หมู่ 22 เป็นหมู่บ้าน หน่ึงของตาบลตับเต่า ซึ่งเป็นหมู่บ้านที่แยกมาจากหมู่ที่ 3 ตาบลตับเต่า
ซ่ึง มีประประชาชน ได้อพยพมาจากจังหวัดน่านบางส่วน ได้มาตั้งถิ่นฐาน ณ หมู่บ้านไคร้ หมู่ 3 และในเวลา
ต่อมามีประชากร มากขึ้น จึงได้แยกหมู่บ้านเพ่ือประโยชน์ด้านงบประมาณ และแบ่งเขตรับผิดชอบ ในการ
จัดการทรัพย์ยากรทางด้านทิศตะวันออกของหมู่บ้าน มีธรรมชาติท่ีอุดมสมบูรณ์ และสามารถนาไม้มาทา
อุปกรณ์ต่างในการดารงชีวิตได้ ตลอดถึง พิธีกรรมต่าง ๆ ท่ีเป็นความเช่ือและถือปฏิบัติมาแต่โบราณ ในเรื่อง
ของศาสนา ในเรื่องของพิธีปฏิบัติ เช่น การสู่ขวัญ เรียกขวัญ ขึ้นบ้านใหม่ ส่งเคราะห์ ฯลฯ ซึ่งนายคิด ขิใสยา
มีความชานาญ เชี่ยวชาญ ด้านพิธีกรรม ทางด้านนี้ จึงถูกคัดเลือกให้เป็นมัคทายกของหมู่บ้านไคร้ หมู่22
และนอกจากน้ี นายคิด ขิใสยา ยังมีงานฝีมือด้าน การทาไม้กวาดทางมะพร้าว ซึ่งเป็นเศษวัสดุในหมู่บ้าน
ซงึ่ ไดท้ าเปน็ อาชีพเสรมิ อีกดว้ ย
๓.๒) ข้นั ตอน/วธิ กี าร/ดาเนนิ การเก่ยี วกับขอ้ มลู
ทาการศึกษาจัดเก็บข้อมูลศึกษา และทาข้อมูลให้เป็นสารสนเทศเพ่ือ การสืบทอดภูมิปัญญาสู่เยาวชน
รุ่นหลงั และคงสภาพภมู ปิ ญั ญา
๔. ชื่อผู้ที่ถือปฏิบตั ิและผ้สู บื ทอด
๔.๑ ผ้ทู ี่ถอื ปฏิบัติ
ชอ่ื นายคดิ ขิใสยา
วนั เดอื น ปีเกิด 30 มกราคม 2499
ทอี่ ยู่ 38 หมู่ 22 ตาบลตบั เต่า อาเภอเทงิ จังหวัดเชยี งราย
หมายเลขโทรศัพท์ 089 933 5975
๔.๒ ผ้สู ืบทอด
ชอ่ื -
วัน เดอื น ปเี กิด -
ทอี่ ยู่ -
หมายเลขโทรศัพท์ -
5. สถำนะ กำรคงอยู่ ปฏิบตั ิอยา่ งแพรห่ ลาย เส่ยี งตอ่ การสญู หาย ไม่มปี ฏบิ ัตแิ ลว้
-๑๑๐-
6. รูปภำพภูมปิ ญั ญำทำงวัฒนธรรม/กจิ กรรมทำงภูมปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม
-๑๑๑-
แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ญั ญำทำงวฒั นธรรมจงั หวัดเชียงรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวัฒนธรรมจงั หวดั เชยี งรำย
อำเภอเวยี งเชยี งรงุ้ จงั หวดั เชยี งรำย
๑. ชื่อข้อมลู พิธีกรรมสขู่ วญั ควาย
๒. ลักษณะ วรรณกรรมพน้ื บา้ นและภาษา
ศลิ ปะการแสดง
แนวปฏิบัตทิ างสงั คมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล
อาหาร/ความรแู้ ละการปฏบิ ตั ิเก่ียวกบั ธรรมชาติและจักรวาล
งานชา่ งฝีมอื ดง้ั เดมิ
การละเล่นพน้ื บา้ น กีฬาพนื้ บ้าน และศิลปะการต่อสปู่ ้องกนั ตวั
๓. รำยละเอียดขอ้ มลู
๓.๑) ประวตั ิความเป็นมาของข้อมูล
พิธีกรรมล้านนา “สู่ขวัญควาย” พิธีกรรมที่สืบทอดใกล้เลือนหาย เป็นภูมิปัญญาจากเครือข่าย
สภาวัฒนธรรมตาบลทุ่งก่อ อาเภอเวียงเชียงรุ้ง จังหวัดเชียงราย โดยภูมิปัญญาท้องถิ่นพิธีกรรมสู่ขวัญควาย
โดยนายอัคคพล วันดี หรือพ่อถา ผู้ทรงภูมิปัญญาด้านพิธีกรรมสู่ขวญั ควาย โดยมีความรู้ภูมิปัญญาท่ีเกี่ยวข้อง
กับการฝึกสอนควาย และสาธิตพิธีกรรมสู่ขวัญควาย ตลอดจนการให้ความรู้ต่าง ๆ เกี่ยวกับการใช้ชีวิตหรือ
ประโยชน์จากควาย ซึ่งมีคุณค่าและมีประโยชนต์ ่อมวลมนุษย์มาช้านาน
พิธีกรรมสู่ขวัญควาย ซึ่งกาลังจะสูญหาย คนกับควายวิถีชีวิตชาวชนบท ผูกพันลึกซึ้ง มีความรักและ
เอ้ืออาทรต่อกัน ไม่ว่าคนหรือสัตว์ มิตรภาพท่ีจะดารงอยู่ได้เน่ินนาน สายใยผูกรัดไม่ให้ขาด คือ น้าใจควาย
เป็นสัตว์เล้ียงท่ีอยู่คู่ชาวไร่ชาวนามาช้านานตั้งแตอ่ ดีตกาล เป็นสัตว์ให้คุณเป็นกาลังหลักของชาวนาในการปลูก
ข้าวเลี้ยงผู้คนมาโดยตลอด ปัจจุบันควายถูกใช้งานน้อยลงเพราะวิถีชีวิตเกษตรกร เปลี่ยนไปจากใช้แรงงาน
ควายหันไปใช้แรงงานจากเครื่องจักรแทน การสู่ขวัญควาย เป็นการเตือนสติ เตือนจิต เตือนใจ ให้คนมีความ
กตัญญูกตเวที ราลึกถึงบุญคุณของผู้ที่ได้ช่วยเหลือเก้ือกูลแก่ตนว่าได้รับผลประโยชน์ หรือแสดงการตอบแทน
บุญคุณ และเพ่อื เป็นการอนุรักษ์ สืบสานประเพณีการสู่ขวญั ควายใหค้ งอยูส่ บื ต่อไปมใิ ห้สูญหาย
๓.2) ข้นั ตอน/วธิ กี าร/ดาเนินการเกย่ี วกับขอ้ มูล
พธิ ีกรรม เคร่ืองทาพธิ สี ่ขู วัญควาย
1. ทาบายศรีนมแมว หรือบายศรีปากขาม อย่างใดอย่างหนง่ึ
2. ทากรวยดอกไม้และด้ายสาหรับผูกเขาควายเวลาสูข่ วัญ
3. หญา้ ออ่ น 1 หาบ สาหรบั เป็นรางวลั แก่ควาย
4. ข้าวเหนียวสกุ 1 กล่อง
5. ไก่ต้มหน่งึ คู่
6. เหล้าไหหนง่ึ
7. ขนมบางอย่าง เชน่ ขนมต้มขาว ขนมต้มแดง หรือข้าวต้มมัด
8. นา้ ขม้นิ สม้ ป่อยใสข่ ันเงิน สาหรบั ประพรมควาย
-๑๑๒-
วธิ ีทาขวญั ควาย
นาเอาเคร่ืองพิธีมาวางบนเส่ือท่ีปูไว้ในแหล่งหรือคอกควาย เจ้าของนาควายไปอาบน้า ขัดสีฉวีวรรณ
จนหมดจดสะอาด แล้วจูงควายมาผูกไว้กับเสาหรือหลักในคอก จากน้ันก็ไปเชิญพิธีกร หรือ ปู่อาจารย์มาทา
พิธปี ัดเคราะห์ เรียกขวญั จนเสรจ็ แลว้ เอาด้ายผูกกรวยดอกไม้ติดกับเขาควาย บางรายเอาด้ายสายสิญจน์ผูกคน
ไว้ด้วย แล้วเอาน้าขมิ้นส้มป่อยประพรมเพ่ือให้ควายอยู่สุขสบาย พอทาพิธีเสร็จ เจ้าของยกเครื่องข้าวขวัญ
ออกไป และนาเอาหญ้าอ่อนมาให้ควายกินเป็นเสรจ็ พิธีทาขวัญควาย สาหรับเจ้าของยังไม่เสร็จเพราะยังจะชวน
พิธีกรมากินไก่และด่ืมเหล้าจากไหน้ัน สนุกสนานตลอดวัน ถือว่างานปักดาได้ผ่านพ้นไปแล้ว เป็นการฉลอง
ความเหนอื่ ยยากจากการไถนาและดานาอีกสว่ นหนึง่ ด้วย
๔. ชือ่ ผู้ท่ีถือปฏิบตั ิและผู้สบื ทอด
4.๑ ผ้ทู ถ่ี ือปฏิบตั ิ
ชื่อ นายอคั คพล วนั ดี
วัน เดอื น ปีเกดิ -
ทอ่ี ยู่ หมู่ ๔ ตาบลทุ่งก่อ อาเภอเวยี งเชยี งรุง้ จังหวดั เชยี งราย
หมายเลขโทรศัพท์ 093 2630641
4.2 ผู้สบื ทอด
ช่ือ -
วนั เดือน ปีเกิด -
ท่ีอยู่ -
หมายเลขโทรศพั ท์ -
5. สถำนะ กำรคงอยู่ ปฏิบตั อิ ยา่ งแพร่หลาย เสี่ยงต่อการสูญหาย ไมม่ ีปฏิบัตแิ ล้ว
6. รปู ภำพภมู ปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม/กจิ กรรมทำงภูมิปัญญำทำงวฒั นธรรม
การสาธิตพธิ กี รรมส่ขู วัญควาย
-๑๑๓-
แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ญั ญำทำงวัฒนธรรมจังหวดั เชยี งรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวัฒนธรรมจงั หวดั เชยี งรำย
อำเภอเทิง จงั หวดั เชียงรำย
๑. ช่ือข้อมูล พธิ ีสง่ เคราะห์บ้านเคราะห์เมือง
๒. ลกั ษณะ วรรณกรรมพ้ืนบา้ นและภาษา
ศิลปะการแสดง
แนวปฏบิ ัติทางสังคมพิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล
อาหาร/ความรู้และการปฏิบตั เิ กีย่ วกับธรรมชาตแิ ละจกั รวาล
งานชา่ งฝีมือดั้งเดิม
การละเลน่ พน้ื บา้ น กีฬาพืน้ บา้ น และศิลปะการตอ่ สปู่ ้องกนั ตวั
๓. รำยละเอียดข้อมลู
๓.๑) ประวตั คิ วามเปน็ มาของข้อมูล
ส่งเคราะห์บ้านเคราะหเ์ มอื ง มีจุดมงุ่ หมายเพ่ือให้จะขบั ไลส่ ิ่งทเ่ี ป็นเสนียดจัญไรในหมบู่ า้ น และเพ่ือให้
เกิดมงคลแกห่ ม่บู า้ นนนั้ ๆ ตามความเช่ือของคนส่วนมากคิดวา่ บ้านที่ตั้งมาตามฤกษย์ ามวนั ดวี นั เสยี น้ัน มีเวลาท่ี
ราหูมฤตยูเข้ามาทับเบียดเบียนทาให้ชะตาบา้ นขาดลง เป็นเหตุให้ประชาชนที่อยู่อาศัยในบ้านนั้นประสบความ
เดือดร้อนเจ็บป่วยกันไป ท่ัวบ้าน ในกรณีที่มีคนตายติด ๆ กันในบ้านเกิน 3 คน ขึ้นไปในเวลาไล่เล่ียกันน้ัน
ชาวบ้านถือว่าอุบาทว์ตกลงมาสู่บ้าน หรือชาวบ้านถือเป็นเรือ่ ง “ขึดบ้ำน ขึดเรือน” จะทาพิธีขจัดปัดเปา่ จะทา
กันที่ “หอเจ้าหลวงเทิง” ในปีละหน่ึงครั้ง เม่ือปีใหม่สงกรานต์ล่วงไประยะวันปากปี ปากเดือน ปากวัน ได้แก่
วันที่ 16, 17, 18 เมษายน ชาวบ้านจะกาหนดเอาวันใดวันหนึ่งสืบชะตาบ้าน เพ่ือให้เกิดความสวัสดีแก่
ประชาชนภายในบา้ นของตน
๓.๒) ข้ันตอน/วิธกี าร/ดาเนินการเกี่ยวกับข้อมูล
ก่อนกำรทำพิธี ชาวบ้านจะนาส่ิงของ และเงินไปรวมกันเพื่อทาบุญ ใส่ขันตั้ง และที่เหลือก็เก็บไว้เป็น
กองทุนในการทาพิธี และบูรณะหอเจ้าหลวงต่อไป ส่ิงของที่ชาวบ้านนาไปรวมกัน ก็จะมีเครื่องแกงส้ม แกง
หวาน หมาก กล้วย อ้อย บุหร่ี มะพร้าว จ้ินดิบ ปลาดิบ และช่วยกันนาดินน้ามันมาป้ันเป็น เป็ด ไก่ หมู หมา
ช้าง ม้า วัว ควาย ข้าทาสหญิง ชาย อย่างละ 100 ตัว ทาตุง (ช่อ) อย่างละ 100 สี เหลือง ขาว ดา แดง
อย่างละ 100 ช่วยกันทาสะตวงขันตั้ง
สะตวง ประกอบด้วย ใบค้า ใบหนุน ใบมะขาม ใบฟักทอง ขา้ วตม้ ขนม เทยี น ดอกไม้ บุหรี่ หมาก
มะพรา้ ว กลว้ ย ออ้ ย จิน้ ดบิ ปลาดบิ พร้อมด้วยเหลา้ ขาว จน้ิ ลาบ แกงอ่อม
ขนั ตัง้ ประกอบดว้ ย เทยี นเล่ม บาท เล่มเฟื้อง อยา่ งละ 1 คู่ เทียนเลก็ 8 คู่ หมากหัว พลูมดั (1มดั
มี 13 แหลบ) เบยี้ เงนิ 108 บาท และดอกไม้
ผู้มาร่วม ตอ้ งเตรยี ม เส้ือผา้ คนในบ้าน น้าขมิน้ สม้ ป่อย ดอกไม้ ธปู เทียน ดายสายสญิ จน์
ขณะทำพิธี เมื่อเตรียมของพร้อมหมด เอาด้ายสายสิญจน์มาเวียนรอบคนที่มาร่วมโยงมาจากสะตวง
น้าขม้ินส้มป่อย พ่ออาจารย์ (หนานนอง) เป็นคนเริ่มทาพิธีข้ึนครูด้วยกรอ่านคาส่งเคราะห์ท่ีสืบมาจากพ่อครู
คนก่อน ๆ เสร็จพิธีคนท่ีมาร่วมก็จะแบ่งน้ามนต์เพื่อไปประพรมบริเวณบ้าน และด้ายสายสิญจน์ท่ีใช้ทาพิธี
กน็ าไปเวียนรอบบา้ นของตน
-๑๑๔-
๔. ช่อื ผู้ท่ีถอื ปฏบิ ัตแิ ละผู้สืบทอด
๔.๑ ผ้ทู ีถ่ ือปฏบิ ัติ
ชอื่ นายโสภณ กนั ทะศรี ( หนานนอง )
วนั เดอื น ปเี กดิ 9 กนั ยายน 2514
ทอ่ี ยู่ 45/4 หม1ู่ 4 ตาบลเวียง อาเภอเทงิ จังหวดั เชียงราย
หมายเลขโทรศัพท์ 082 894 7637
4.2 ผู้สบื ทอด
ช่ือ -
วนั เดือน ปเี กดิ -
ทอ่ี ยู่ -
หมายเลขโทรศัพท์ -
5. สถำนะ กำรคงอยู่ ปฏบิ ตั อิ ยา่ งแพรห่ ลาย เส่ียงตอ่ การสญู หาย ไม่มีปฏบิ ัตแิ ล้ว
6. รูปภำพภูมิปัญญำทำงวัฒนธรรม/กิจกรรมทำงภูมปิ ัญญำทำงวฒั นธรรม
สะตวง ท่ชี าวบ้านนาของมารวมกนั ขันตัง้
ปั้นชา้ ง มา้ ววั ควาย หมู เป็ด ไก่ อย่าง 100 ชอ่ ตงุ สเี หลอื ง ดา ขาว แดง อยา่ งละ 100
ถังน้าขมิน้ สม้ ปอ่ ยทีช่ าวบา้ น เตรียมลอ้ มด้ายสายสิญจนผ์ ู้เข้าร่วมพิธี ขณะทาพิธี
นามารวมกัน
-๑๑๕-
แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ญั ญำทำงวฒั นธรรมจงั หวดั เชยี งรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวัฒนธรรมจังหวัดเชยี งรำย
อำเภอเทิง จงั หวดั เชียงรำย
๑. ชื่อข้อมลู พธิ ีบวงสรวงเจ้าหลวงเทงิ
๒. ลักษณะ วรรณกรรมพ้นื บ้านและภาษา
ศิลปะการแสดง
แนวปฏบิ ัตทิ างสังคมพิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล
อาหาร/ความรแู้ ละการปฏิบัติเก่ียวกบั ธรรมชาติและจกั รวาล
งานช่างฝีมือดั้งเดมิ
การละเล่นพื้นบ้าน กีฬาพืน้ บา้ น และศิลปะการต่อส่ปู ้องกนั ตวั
๓. รำยละเอยี ดขอ้ มลู
๓.๑) ประวัติความเป็นมาของข้อมูล
ในพื้นที่หมู่ ๒๐ ตาบลเวียง อาเภอเทิง จังหวัดเชียงราย มีสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ประจาอาเภอเทิง คือ
หอเทพยดาเจ้าหลวง ซ่ึงถึอว่าเป็นเสื้อบ้านเส้ือเมืองของเมืองเทิง เทพยดาเจ้าหลวง หมายถึง ผู้ปกครอง
เมืองเทิงทุองค์จากอดีตกาลนับต้ังแต่การตั้งเมืองเทิง ซ่ึงเป็นชุมชนเมืองเก่าแก่ อย่างน้อยก่อนปี พ.ศ ๑๖๓๙
หรือราวกลางพุทธศตวรรษที่๑๗ ตามบันทึกพงศาวดารโยนก ในทุกปีชาวเมืองเทิงจะทาพิธีบวงสรวงเข้าทรง
เทพยาดาเจ้าหลวง ในวันขึ้น ๑๓ ค่า เดือน ๖ (เดือนพฤษภาคม) ก่อนวันวิสาขบูชา จุดมุ่งหมายเพ่ือสอบถาม
ภาวะบ้านเมืองว่า จะอยู่ร่มเย็นเป็นสุขหรือไม่ จะได้รับเคราะห์เกิดความทุกข์ยากหรือไม่ และขอเทพยดาเจ้า
หลวงคมุ้ ครองปกปกั ษ์รกั ษาเมอื งเทิงให้อยู่รว่ มเย็นเปน็ สขุ
พิธนี ้ที ากนั มานานแล้วมกี ารสบื ทอดต่อกนั มาเกือบรอ้ ยปี เดมิ เรียกว่า งานเทปดาหลวง (เทพ -ปะ-ดา-หลวง)
หรือเทพยดาหลวง จะเริ่มก่อนถึงวันวิสาขบูชา ๑ วัน จะมีการเตรียมล่วงหน้า แต่ก่อนมีผู้เข้าทรงเป็นผู้หญิง
อยู่บ้านสัก บ้านสว่าน เป็นท่ีนั่งของเจ้าหลวง (ร่างทรง) บางแห่งเรียก ข้าวจ้าจะว่ิงมาจากบ้านของตนมายัง
สถานท่ีทาพิธีคือหอเทพยาดาเจ้าหลวง สมัยก่อนเคร่ืองบวงสรวงจะใช้กระบือดา กระบือเผือก ๑ คู่ ทาพิธีฟ้อนดาบ
และมีเพชฌฆาต ฆ่ากระบือท้ังคู่ ท่ีหลักหน้าศาล และปรุงอาหารเล้ียง เครื่องสังเวยบูชาด้วยดอกไม้ ธูปเทียน
น้ามะพร้าวอ่อน ต้ังแต่ปี พ.ศ. ๒๕๐๐ เป็นต้นมา ได้เปลี่ยนเครื่องสังเวยเป็นไก่ และต่อมาประมาณ ปี พ.ศ. ๒๕๒๐
ได้เปล่ียนมาเป็นขนมหวาน (ชาวบ้านเลือก กวนข้าวเหนียวแดงเพราะเปน็ สิง่ ทถี่ นดั ) และ ผลไม้ต่าง ๆ แทน
๓.๒) ขน้ั ตอน/วิธีการ/ดาเนนิ การเก่ียวกับข้อมูล
กอ่ นกำรทำพิธี เทพยดาหลวงจะเข้าร่างทรงก่อนหนา้ พธิ ี ๑ อาทิตย์ ร่างทรงจะไปซ่อนตัว นอนหอ้ ง
ตวั เอง ปูผ้าขาว ถือศีล ไม่กนิ เน้อื สัตว์ จะกินน้าตาล ของหวานเทา่ น้ัน ไม่ยงุ่ เก่ียวกบั ใครเหมอื นถูกเข้าสิงรา่ ง
รตู้ วั บ้างไม่รู้บา้ ง
ถึงวันพิธี ร่างทรงเทพยดาเจ้าหลวงเทิงจะอาบน้าทาความสะอาดร่างกายและวงิ่ (เวลาว่ิง จะมีคนถือ
ธงสีแดงนาหน้า ท่านจะวิ่งตามธงมา) มายังสถานที่ทาพิธีท่ีหอเจ้าหลวงเทิง พอมาถึงจะมีชาวบ้านทาขันศลี รบั
เชญิ กินหมาก กินพลู เครอ่ื งถวาย จะเปน็ ของหวาน (ขา้ วเหนยี วแดง ชาวบ้านกวนเอง ณ สถานทีท่ าพธิ ี ) และ
ผลไม้ต่าง ๆ รวมถึงน้าที่ชาวบ้านนามาเข้าพิธี เพ่ือให้ร่างทรงของเทพยดาปลุกเสก ร่างทรงจะไหว้ครู ทาพิธี
แล้วพูดคุยกับชาวบ้านที่มาเฝ้าอยู่ในหอเทพยดา ว่ามีอะไรจะถาม ชาวบ้านจะถามเรื่องสภาพดินฟ้าอากาศ
พืชพรรณธัญหาร ตลอดไปถึงโรคภัยไข้เจ็บ เช่น ปีน้ี ข้าว ๙๙ เปอร์เซ็นต์ดี จะเสียเปอร์เซ็นต์เดียว ให้ระวัง
ลูกเห็บตกหนัก แต่จะช่วยขจัดปัดเป่า แต่คงไม่ได้ทั้งหมดเพราะเป็นธรรมชาติ หลังจากน้ันชาวบ้านจะขอพร
ส่วนโรคโควิดก็จะเร่ิมเจือจาง และจะหายไป ถามเสร็จร่างทรงก็จะขอกลับ ชาวบ้านจะสู่ขวัญให้และร่างทรง
จะปลกุ เสกนา้ มนต์ให้ใส่ถังไว้ เสรจ็ แลว้ กว็ ิ่งกลับบ้านท่รี า่ งทรงพักอาศยั เปน็ อนั เสร็จพธิ ี ชาวบา้ นจะมาเอาน้ามนต์
-๑๑๖-
ไปพรมบา้ นเรอื น เพอื่ ให้อยู่เยน็ เปน็ สขุ เชื่อว่ามีเทพยดา (เจา้ หลวง) คมุ้ ครอง ตลอดจนอาหารที่เขา้ พธิ ี ชาวบา้ น
จะแบ่งกนั ไปรบั ประทานเพอ่ื เปน็ สิรมิ งคล และยังเอาด้ายสายสญิ จนท์ ่เี อามาเขา้ พิธี ไปลอ้ มบา้ นเรือนตนเองเพ่ือ
ปอ้ งกนั ภยั อันตรายท่มี องไม่เหน็
๔. ชอ่ื ผู้ที่ถอื ปฏิบตั ิและผู้สบื ทอด
๔.๑ ผ้ทู ่ีถือปฏบิ ตั ิ
ช่ือ นายพยอม โนราช (ร่างทรงคนปจั จุบนั ) ชาวบ้านเรียกวา่ เปน็ ทน่ี ัง่
วนั เดอื น ปีเกิด 2492
ทีอ่ ยู่ -
หมายเลขโทรศัพท์ -
4.2 ผู้สืบทอด
ชื่อ -
วนั เดอื น ปเี กดิ -
ท่ีอยู่ -
หมายเลขโทรศพั ท์ -
5. สถำนะ กำรคงอยู่ ปฏิบตั อิ ยา่ งแพร่หลาย เสี่ยงตอ่ การสญู หาย ไม่มีปฏบิ ตั แิ ล้ว
6. รูปภำพภูมิปญั ญำทำงวัฒนธรรม/กิจกรรมทำงภูมิปัญญำทำงวฒั นธรรม
หอเจา้ หลวงเทิงสถานท่ีทาพิธี
ขณะร่างทรงเทพยดา พดู คุยกับชาวบ้าน ถามเร่ืองดินฟ้าอากาศ พชื พรรณธญั ญาหาร และให้ศีลให้พร
-๑๑๗-
ของหวาน ผลไม้ท่ีชาวบ้านนามาถวาย ชาวบ้านช่วยกนั กวนข้าวเหนยี วแดง ถวาย
ปัจจยั ที่ชาวบ้านทาเป็นผ้าปา่ ถวายเพ่ือนาไป ชาวบา้ นทาพิธีสู่ขวัญใหร้ า่ งทรง ก่อนกลบั
ดแู ลหอเจ้า หลวง
เวลากลบั ก็จะมธี งแดงนาทาง
-1๑๘-
แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ัญญำทำงวัฒนธรรมจงั หวดั เชียงรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวฒั นธรรมจงั หวัดเชยี งรำย
อำเภอเทงิ จงั หวดั เชยี งรำย
๑. ช่ือข้อมลู ประเพณีสรงนา้ พระธาตุจอมจอ้
๒. ลักษณะ วรรณกรรมพนื้ บ้านและภาษา
ศลิ ปะการแสดง
แนวปฏิบัติทางสงั คมพิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล
อาหาร/ความรแู้ ละการปฏบิ ัตเิ ก่ียวกบั ธรรมชาติและจกั รวาล
งานชา่ งฝมี ือดง้ั เดิม
การละเล่นพื้นบา้ น กีฬาพ้นื บ้าน และศิลปะการตอ่ สปู่ ้องกันตัว
๓. รำยละเอียดข้อมูล
๓.๑) ประวตั ิความเปน็ มาของขอ้ มูล
วัดพระธาตุจอมจ้อ ต้ังอยู่ที่หมู่ ๒๐ ตาบลเวียง อาเภอเทิง จังหวัดเชียงราย สันนิษฐานว่าน่าจะสร้าง
ในช่วงทเี่ มอื งเทิงอย่ใู นความปกครองของราชวงค์มงั ราย พิจารณาจากแผนทแี่ หล่งโบราณคดีเวียงเทิง แสดงเขต
ท่ีดินกาแพงเมือง และคูเมืองเทิงโบราณของกรมธนารักษ์ จังหวัดเชียงราย ซ่ึงปรากฏหลักฐานภาพคูเมืองโอบล้อม
ดอยท่ีต้ังวัดพระธาตุจอมจ้อ และมีแนวคูเมืองเช่ือมต่อไปโอบวัดพระธาตุศรีมหาโพธ์ิ และยังพบพระพิมพ์ปรกโพธิ์
เชียงแสน ปางมารวิชัย บริเวณทางทิศตะวันตกของพระธาตุจอมจ้อ ซ่ึงเป็นพระพิมพ์เดียวกับพระกรุวัดประตูโขง
จังหวัดพะเยา สันนิษฐานได้ว่า พระธาตุจอมจ้อคงจะเป็นโบราณสถานเก่าแก่ และมีหลักฐานเอกสารการสร้าง
พระเจดีย์ไว้เมื่อปีพุทธศักราช ๒๔๐๐ ดังปรากฏใน “ประชุมพงศาวดาร ภาค ๑๐” จึงนับได้ว่าเป็นพระธาตุ
คู่บ้านคู่เมืองเทิง มาตั้งแต่อดีต ด้วยประชาชนชาวอาเภอเทิงและอาเภอใกล้เคียงตลอดจนส่วนราชการต่าง ๆ
และคณะสงฆใ์ นอาเภอเทิง มคี วามเหน็ โดยพรอ้ มเพรียงกนั วา่ วัดพระธาตจุ อมจ้อ เปน็ โบราณสถานทส่ี าคัญที่สุด
ของอาเภอเทิง ทางอาเภอเทิงจึงได้จัดงานประจาปี ได้แก่งานสรงน้าพระธาตุจอมจ้อ ในวันวิสาขบูชา และ
ประเพณีข้ึนธาตุ เพื่อเป็นการราลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ในวันเพ็ญเดือน ๖
วนั วสิ าขบูชา เป็นประจาทุกปี
๓.๒) ขั้นตอน/วธิ กี าร/ดาเนินการเก่ยี วกับขอ้ มลู
ก่อนถึงวันงาน ๒ วันจะมีพิธีบวงสรวงเจ้าหลวงเทิง ในวันขึ้น ๑๓ ค่าของทุกปี และวันถัดมาก็เป็น
วันข้ึน ๑๔ ค่า ประชาชน พุทธศาสนิกชนก็จะจัดเตรียมสถานที่ และอาหาร เพ่ือจะนาข้ึนไปถวายพระสงฆ์
ช่วงกลางคืนก็จะมีการสวดมนต์ทาวัตรเย็น สวดมนต์เต็มพระสูตร จนใกล้สว่าง สวดเบิกแล้วทาพิธีเบิกเนตร
พระพุทธรูป จากนั้นก็กระทาการประทักษิณเวียนเทียน ๓ รอบ แล้วก็เข้าถือศีลในวิหาร เช้าวันข้ึน ๑๕ ค่า
วันวิสาขบูชา ประชาชนก็จะแห่เคร่ืองสักการะ ซ่ึงประกอบด้วย พุ่มดอกไม้ พุ่มหมาก พุ่มเทียน น้าขมิ้น
ส้มป่อยและผ้าห่มพระธาตุขึ้นมาบนพระธาตุจอมจ้อ โดยพร้อมเพรียงกัน ส่วนมากจะแต่งกายด้วยชุดขาว
หรือชุดพนื้ เมอื ง
เร่มิ พธิ ที างศาสนา
- หนว่ ยงานราชการ ประชาชน ตวั แทนแตล่ ะตาบลนาเคร่อื งสักการะถวายองค์พระธาตจุ อมจอ้
- ประกอบพธิ ที างศาสนา/พิธีสบื ชะตา /ถวายจตปุ ัจจยั ไทยทาน
- ประกอบพธิ สี รงน้าพระธาตุจอมจ้อ และแหผ่ า้ คลมุ พระธาตโุ ดยเวยี นรอบพระธาตสุ ามรอบ แลว้ จึงนา
ข้ึนหม่ พระธาตุ
-1๑๙-
- ถวายภตั ตาหารเพลแด่พระสงฆ์
- ผู้ร่วมงานรับประทานอาหาร จะมีโรงทานจากผู้ใจบุญ มาตั้งหลายแห่ง ชมนิทรรศการ ประวัติ
ความสาคัญของพุทธศาสนา และพิธสี รงนา้ ศกั ดสิ์ ิทธ์ิ ฯลฯ
ช่วงบ่าย จะเป็นกิจกรรมจิตอาสาพัฒนาวัด และบาเพ็ญสาธารณะประโยชน์ (ในอดีตจะมีการแข่งขัน
จดุ บั้งไฟ)
ช่วงเย็น กจิ กรรมปฏิบตั ธิ รรมพุทธศาสนกิ ชน รว่ มกันสวดมนต์เจรญิ สมาธภิ าวนาในวหิ าร
-พิธเี วยี นเทียน
๔. ชอ่ื ผู้ท่ีถอื ปฏิบตั ิและผู้สืบทอด
๔.๑ ผูท้ ี่ถอื ปฏิบัติ
ชอ่ื ประชาชนชาวอาเภอเทิง
วัน เดือน ปเี กดิ -
ท่ีอยู่ -
หมายเลขโทรศัพท์ -
4.2 ผู้สบื ทอด
ชื่อ ประชาชนชาวอาเภอเทิง
วัน เดอื น ปเี กิด -
ท่อี ยู่ -
หมายเลขโทรศัพท์ -
5. สถำนะ กำรคงอยู่ ปฏบิ ตั ิอยา่ งแพรห่ ลาย เสีย่ งตอ่ การสญู หาย ไม่มีปฏบิ ตั ิแล้ว
๖. รูปภำพภูมปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม/กจิ กรรมทำงภูมปิ ัญญำทำงวฒั นธรรม
ทำพธิ สี ืบชะตำหลวง
-12๐-
ประธานถวายพุ่มดอกไม้ พ่มุ เทียน พ่มุ หมากพลู
-1๒๑-
แบบสำรวจมรดกภมู ิปัญญำทำงวัฒนธรรมจงั หวดั เชยี งรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวฒั นธรรมจังหวดั เชยี งรำย
อำเภอเทิง จงั หวดั เชยี งรำย
๑. ช่ือข้อมลู ประเพณบี ญุ ผะเหวด
๒. ลักษณะ วรรณกรรมพ้ืนบ้านและภาษา
ศิลปะการแสดง
แนวปฏบิ ตั ทิ างสงั คมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล
อาหาร/ความรแู้ ละการปฏิบตั เิ กีย่ วกบั ธรรมชาติและจักรวาล
งานช่างฝีมือด้ังเดมิ
การละเลน่ พน้ื บา้ น กีฬาพนื้ บ้าน และศิลปะการตอ่ สูป่ ้องกนั ตัว
๓. รำยละเอียดข้อมลู
๓.๑) ประวัตคิ วามเปน็ มาของขอ้ มลู
“บญุ เดือน ๔ ประเพณีบญุ ผะเหวด” เปน็ ๑ ในฮตี ๑๒ ตามวถิ ีชวี ติ วฒั นธรรมของชาวอสิ าน “บญุ ผะเหวด”
ถือเป็น ฮีตที่ ๔ หรือเพ็ญเดือน ๔ คาว่าผะเหวด เป็นภาษาอิสานที่มาจากงานประเพณีพระเวสสันดรชาดกของ
ภาคกลาง หรืองานบุญมหาชาติ ที่จัดขึ้นเพื่อเป็นการแสดงออกในการระลึกถึงพระเวสสันดร อันเป็นพระนาม
ขององค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าในชาติสุดท้าย ก่อนท่ีพระองค์จะประสูติเป็นเจ้าชายสิทธัตถะ และตรัสรู้ด้วย
พระองค์เองเป็นศาสดาของศาสนาพุทธ พระเวสสันดรถือเป็นชาติที่สาคัญยิ่ง เน่ืองจากเป็นชาติที่พระองค์
บาเพ็ญทานบารมีอย่างใหญ่หลวง บุญผะเหวดเริ่มมาจากในวัง หลังจากน้ันเผยความเชื่อท่ีว่าใครได้ฟังเทศน์
ครบ ๑๓ กณั ท์ จะไดไ้ ปเกิดในยคุ ของพระศรีอารยิ เมตไตรย เปน็ ความเชอื่ ของคนโบราณ
เนื่องด้วยประชาชนบ้านร่องริว ส่วนใหญ่เป็นพวกที่ย้ายถ่ินฐานมาจากภาคอิสาน มาอยู่อาเภอเทิง
เป็นเวลานานพอสมควร ได้ตระหนักถึงความสาคัญในการทานุบารุงพุทธศาสนา และรักษาประเพณีวัฒนธรรม
ของท้องถ่ิน จึงได้จัดงานบุญเดือน ๔ ประเพณีบุญผะเหวด ข้ึนทุกปี ซ่ึงได้ทากันมาตั้งแต่มาตั้งถ่ินฐานอยู่ใน
อาเภอเทิง แรก ๆ ก็เป็นชาวบ้านอิสานจัดกันเอง ต่อมาก็มาการขยายงานให้มีส่วนร่วมกันมากข้ึน จนกระทั่ง
องค์การปกครองส่วนท้องถิ่นในอาเภอเทิง ไดจ้ ดั สรรงบประมาณในการจัดงานตัง้ แตป่ ีพ.ศ ๒๕๕๓
๓.๒) ขน้ั ตอน/วิธีการ/ดาเนนิ การเก่ยี วกบั ขอ้ มูล
ชาวอีสาน จะจัดทาพิธีบุญผะเหวด ปีละ ๑ ครั้ง ระหว่างเดือน ๓ เดือน ๔ ไปจนถึงกลางเดือน ๕
(เดอื น มีนาคม ตอ่ เมษายน)ชาวบา้ นจะประชุมปรกึ ษาหารอื กัน ในวนั ที่พรอ้ ม
การเตรียม ชาวบ้านจะเตรียมกันเป็นเดือนๆ สิ่งแรกคือ มาดูสถานที่ เริ่มพัฒนาตกแต่ง ทาเครื่องจักสาน
เอาไม้ไผ่มาสาน เป็นท่ีใส่ดอกไม้ ใส่ข้าวพันก้อน ทาตุงอิสานยาวทอด้วยผ้ายาวๆทอเป็นรูปช้าง ม้า พญานาค
เป็นรูปสัตว์มงคลต่าง ๆ สองสามวันก่อนวันงาน จะมีจัดสถานที่ ปักตุง จัดหาเครื่องคุรุภัณฑ์ เป็นพวก
ดอกไม้ ประเพณีอิสานดอกไม้จะบานช่วงเดือน มีนา เช่นดอกจิก ดอกรัง ดอกมันปลา(ต้นกันเกลา) ไม้มงคล
ดอกผักตบ ให้ได้สักพันดอก พัน ชนิด ชาวบ้านจะเอาดอกไม้ มาตากให้แห้งใส่ในเครื่องครุภัณฑ์ เอาไว้เป็น
เคร่ืองบูชากัณฑ์เทศน์ วันงานจะมีอยู่ ๒ วัน คือ วันรวม ชาวบ้านจะมาดูสถานท่ีให้เรียบร้อย สมัยก่อนจะ
นมิ นตพ์ ระต่างบ้าน มาเทศนเ์ พราะพระจะแบง่ กันเทศนเ์ ปน็ กัณฑ์ ๆ ไปรบั มานอนค้างคนื รอไว้เลย วันแรกเรยี ก
วันรวม ก็จะเป็นการแห่ดอกไม้ แห่มาจากทางป่า ทางทุ่ง เหมือนเป็นการเชิญพระเวสสันดรมาจากป่า เหตุที่
ตอ้ งไปเชญิ ในป่าจะได้เก็บดอกไม้ มาด้วย มกี ารละเล่นมาด้วย เช่นเลน่ หวั ลา้ นชนกนั จะเอาพ่อบ้านพ่อเมืองมา
แต่งเป็นพระเวสสันดร มีขบวนต่าง ๆ มาที่วัด เปิดงาน เสร็จ ช่วงบ่ายก็จะมีการเทศน์ ถ้านิมนต์พระมาเทศน์
เป็นกัณฑ์ จะเทศน์มาลัยหม่ืน มาลัยแสน สวดพระพุทธมนต์ แต่ถ้ามีการเทศน์สามธรรมมาศ จะต้องเทศน์
คาถาพัน บทน้ีต้องเทศน์ตอนเช้าก่อนไปแห่ขบวน เพราะจะไม่มีใครอยู่ไปเตรียมแห่ขบวน เม่ือแห่เข้ามาแล้ว
เปดิ งานเสร็จ มีพระเจริญพระพุทธมนต์ เทศน์มาลยั หมื่น มาลัยแสน ต่อ
-1๒๒-
วันท่ีสองจะเร่ิม เทศน์ตลอดท้ังวัน เร่ิมจากตีสามจะมีการตีฆ้องร้องป่าว แห่ข้าวพันก้อนป้ันใส่ในขัน
มาถึงกล่าวคาถวายบูชาใส่บาตรพระพุทธเจ้า เอามาใส่เครื่องจักรสานท่ีทาไว้รอรับ สานเป็นลาไม้ไผ่สานเป็นกรวย
มาถึงวัดก็ประมาณตี ๕ เร่ิมแสดงพระธรรมเทศนา ต้องเทศน์ครบท้ัง ๑๓ กัณฑ์ ชาวบ้านจะต้องอยู่ฟังจนจบ
สมัยน้ีจะนิยมใช้เทศน์สามธรรมมาศ เหมือนการแสดงเทศน์โต้ตอบกัน เทศน์แหล่อิสาน ทานองสรภัญญะ
จะใช้เวลาไม่นานเริ่มเทศน์หลังเท่ียง ประมาณส่ีห้าโมงก็จบ หลังจากเทศน์เสร็จจะมีการแห่กัณฑ์หลอน เข้ามา
เป็นต้นเงิน เพื่อจะมาถวายพระท่ีแสดงธรรมอยู่โดยเฉพาะองค์ที่เทศน์ได้ไพเราะถูกใจชาวบ้าน เป็นการหลอนถวาย
พระจะไม่รู้ตวั จะได้กันทกุ รูป สมยั ก่อนกจ็ ะมีการจับฉลากให้นิมนต์พระวัดไหนมาเทศน์ ดูแลท่านต้งั แตว่ ันแรก
จนจบ ถวายกัณฑ์หลอนถ้าจับฉลากไม่ได้ท่ีเทศน์พึงพอใจก็จะเอากัณฑ์หลอนมาถวายอีก สมัยน้ีพระจะไม่รอ
กัณฑ์หลอน เทศนเ์ สรจ็ รบั ปจั จัยกก็ ลับ กัณฑ์หลอนกจ็ ะเอามาบูรณะวัด
มหำเวสสนั ดรชำดก มีทง้ั หมด ๑๓ กณั ฑ์ ประกอบด้วย ๑๐๐๐ พระคำถำ โดยสรปุ ย่อ ไวด้ งั น้ี
๑. กัณฑ์ทศพร พระนางผุสดีซ่ึงจะทรงเป็นพระมารดาของพระเวสสันดร ทรงอธิษฐานขอเป็นมารดา
ของผู้มีใจบุญ จบลงตอนพระนางได้รับพร ๑๐ ประการ จากพระอินทร์ อานิสงส์ของผู้บูชากัณฑ์น้ีคือ ผู้น้ันจะ
ได้รับทรัพย์สมบัติดังปรารถนา ถ้าเป็นสตรีจะได้สามีท่ีเป็นท่ีชอบเนื้อเจริญใจ บุรุษจะได้ภรรยาเป็นท่ีต้อง
ประสงค์อกี เชน่ เดยี วกนั จะได้บตุ รหญงิ ชายเป็นคนว่านอนสอนงา่ ย มีรปู รา่ งทีง่ ดงาม มีความประพฤตเิ รยี บร้อย
๒. กัณฑ์หิมพำนต์ พระเวสสันดรทรงเป็นพระราชโอรสของพระเจ้าสัญชัย กับนางผสดี แห่งแคว้น
สีวิราษฏร์ เม่ือพระเวสสันดรได้รับเวนราชสมบัติจากพระบิดา ได้พระราชทานช้างปัจจัยนาเคนทร์แก่กษัตริย์
แควน้ กลิงคราช ประชาชนไมพ่ อใจ พระเวสสนั ดรจงึ ถกู เนรเทศไปอยปู่ ่าหมิ พานต์ อานสิ งส์ของผูบ้ ชู ากัณฑ์นี้คือ
ย่อมได้ส่ิงท่ีปรารถนาทุกประการ คร้ันตายแล้วได้บังเกิดในสุคติโลกสวรรค์เสวยสมบัติอันมโหฬาร มีบริวาร
แวดล้อมบารงุ จะลงมาเกดิ ในตระกลู ขตั ิยะมหาศาล อันบริบูรรด์ ว้ ยทรัพย์ศฤงคารบรวิ ารมากมายนานัปการ
๓. กัณฑ์ทำนกัณฑ์ ก่อนจะเสด็จไปอยู่ป่า พระเวสสันดรได้พระราชทานสัตดกมหาทาน คือ ช้าง ม้า
รถ ทาสชาย ทาสหญิง โคนม และนางสนมอย่างละ ๗๐๐ อานิสงส์ของผู้บูชากัณฑ์น้ีคือ จะบริบูรณ์ด้วยแก้วแหวน
เงินทอง ทาว ทาสี และสตั ว์ ๔ เท้า ๒ เท้า ครนั้ ตายแลว้ จะได้ไปเกิดในสวรรค์ชั้นฉกามาพจร มีนางเทพอัปสร
แวดลอ้ มมากมายเสวยสขุ ในปราสาทแก้ว
๔. กัณฑ์วนปเวสน์ พระเวสสันดรทรงพาพระนางมัทรีและ พระชาลี(โอรส) พระกัณหา(ธิดา) เสด็จ
จากเมืองผ่านแคว้นเจตราษฎร์ จนถงึ เขาวงกตในป่าหิมพานต์ อานิสงส์ของผู้บูชากัณฑ์นี้คือ จะไดร้ บั ความสุข
ทัง้ ในโลกนี้ และโลกหนา้ จะไดเ้ ป็นกษัตรยิ ์ในชมพูทวีป เป็นผู้ทรงปรีชาเฉล่ียวฉลาด สามารถปราบอริราช ศตั รู ใหย้ ่อยยบั
๕. กณั ฑ์ชูชก ชูชกพราหมณ์ ขอทานได้นางอมิตตาบุตรสาวของเพ่ือนเป็นภรรยา นางได้ขอให้ชูชกไป
ขอสองกุมาร ชูชกเดินทางไปสืบข่าวในแคว้นสีวีราษฎร์ สามารถหลบหลีกการทาร้ายของชาวเมือง พบพราน
บุตรบอกทางไปเขาวงกต อานิสงส์ของผู้บูชากัณฑ์นี้คือ จะได้บังเกิดในตระกูลกษัตริย์ ประกอบด้วยสมบัติ
งดงามกว่าคนทั้งหลาย จะเจรจาปราศรัยไพเราะเสนาะโสต แม้จะได้สามี ภรรยา และบุตรธิดาก็ล้วนแต่มีรูป
งดงาม สอนง่าย
๖. กัณฑ์จุลพน ชูชกเดินทางไปจนถึงที่อยู่ของอัจจุตฤาษี อานิสงส์ของผู้บูชากัณฑ์นี้คือ แม้จะเกิด
ในปรภพใด ๆ จะเป็นผู้สมบูรณ์ด้วยสมบัติบริวาร จะมีอุทธยานอันดารดาษด้วยไม้หอม แล้วจะมีสระโบกขรณี
อันเต็มไปดว้ ยประทุมชาติ คร้นั ตายไปแล้วกไ็ ดเ้ สวยทิพยส์ มบัติในโลกหน้าสืบไป
๗. กัณฑ์มหำพน ชูชกลวงอัจจุตฤาษี ให้บอกทางไปยังท่ีประทับของพระเวสสันดร อานิสงส์ของ
ผู้บูชากัณฑ์น้ีคือ จะเสวยสมบัติในดาวดึงส์ เทวโลก แล้วจะได้ลงมาเกิดเป็นกษัตริย์มหาศาล มีทรัพย์ศฤงคาร
บริวารมากมี อุทยานและสระโบกขรณีเป็นท่ีประพาส เป็นผู้บริบูรณ์ด้วยศักดานุภาพ เฟื่องฟุ้งไปท่ัวชมพูทวีป
อีกจักไดเ้ สวยอาหารทพิ ย์เปน็ นิตย์นริ ันดร
-1๒๓-
๘. กัณฑ์กุมำร ชูชกทูลขอสองกุมาร ทุบตสี องกมุ าร เฉพาะพระพักตรข์ องพระเวสสนั ดร แลว้ พาออก
เดินทาง อานิสงสข์ องผู้บูชากัณฑ์น้คี ือ ยอ่ มประสบผลสาเร็จในสง่ิ ท่ปี รารถนา ครัน้ ตายไปจะได้ไปเกิดในสวรรค์
ชนั้ ฉกามาพจรในสมยั ท่ีพระศรีอารยเมตไตรมาอบุ ตั ิกจ็ ะได้พบศาสนาของพระองค์ ตลอดจนไดส้ ดับตรับฟัง
พระธรรมเทศนาแล้วบรรลพุ ระอรหนั ตผลพร้อมด้วยปฏสิ มั ภิทาทั้ง๔ ดว้ ยบญุ ราศีที่ได้อบรมไว้
๙. กัณฑ์มัทรี พระนางมัทรีเสด็จกลับจากหาผลไม้ในป่า ออกติดตามสองกุมารตลอดคืน จนถึงทรง
วิสัญญี (สลบ) เฉพาะพระพัตรของพระเวสสันดร เมื่อฟ้ืนแล้วพระเวสสันดรตรัสเล่าความจริงเกี่ยวกับสอง
พระกุมาร พระนางทรงอนุโมทนาด้วย อานิสงส์ของผู้บูชากัณฑ์น้ีคือ เกิดโลกหน้าจะเป็นผู้มีความม่ังคั่ง
สมบูรณ์ด้วยทรัพยส์ มบตั ิเปน็ ผู้มอี ายุยนื ยาว ประกอบดว้ ยรปู โฉมงดงามกว่าคนทง้ั หลาย จะไปในทใ่ี ดกจ็ ะมีแต่ความสุข
๑๐. กัณฑ์สักกบรรพ พระอินทร์เกรงว่าจะมีผู้มาขอนางมัทรี จึงแปลงเป็นพราหณ์ชรามาทูลขอ
นางมทั รแี ลว้ ฝากไว้กบั พระเวสสันดร อานิสงส์ของผบู้ ูชากัณฑ์นี้คือ จะเปน็ ผู้เจริญดว้ ยลาภยศตลอดจนจตุรพิธพร
ท้งั ๔ คอื อายุ วรรณะ สขุ ะ พละ
๑๑. กัณฑ์มหำรำช ชูชกเดินทางไปถึงแคว้นสีวีราษฏร์ พระเจ้ากรุงสญชัย ทรงไถ่สองกุมาร ชูชก
ได้รับพระราชทานเลี้ยง กินจนท้องแตกตาย อานิสงส์ของผู้บูชากัณฑ์น้ีคือ จะได้มนุษย์สมบัติ สวรรค์สมบัติ
และนิพพานสมบัติ เม่ือเกิดเป็นมนุษย์จได้เป็นพระราช เม่ือจากโลกน้ีไปก็จะไปเสวยทิพยสมบัติ คร้ันบารมีแก่กล้า
ก็จะไดน้ ิพพานสมบตั อิ นั ตดั เสียซ่ึงชาติ ชรา พยาธิ มรณะ
๑๒. กัณฑ์ฉกษัตริย์ กษัตริย์แคว้นกลิงคราช คืนช้างปัจจัยนาเคนทร์ พระเจ้ากรุงสญชัย พระนางผุสดีร
พระชาลี พระกัณหา เสด็จทูลเชิญพระเวสสันดร พระนางมัทรี กลับคืนพระนคร เม่ือกษัตริย์ท้ังหกพระ องค์
พบกันทรงวิสัญญี (สลบ) ต่อมาฝนโบกขรพรรษตก จึงทรงฟื้นขึ้น อานิสงส์ของผู้บูชากัณฑ์นี้คือ จะได้เป็น
ผ้ทู เ่ี จรญิ ด้วยพร ๔ ประการคือ อายุ วรรณะ สุขะ พละ ทุกๆชาติ
๑๓. นครกัณฑ์ กษัตริย์ทั้งหกพระองค์เสด็จกลับพระนคร พระเวสสันดรได้ครองราชย์ดั่งเดิม
บ้านเมืองสมบูรณ์พูนสุข จนพระชนมายุได้ ๑๒๐ พรรษา จึงเสด็จสวรรคาลัย อานิสงส์ของผู้บูชากัณฑ์น้ีคือ
จะเป็นผู้บริบูรร์ด้วยวงศาคณาญาติ ข้าทาสชาย-หญิง ธิดา สามีหรือบิดา มากดา อยู่พร้อมหน้ากันด้วยความผาสุก
ปราศจากโรคาพยาธิ ทั้งปวง จะทาการใดกพ็ รอ้ มเพรยี งกันยงั การงานนั้น ๆ ใหส้ าเรจ็ ลลุ ่วงไปด้วยดี
๔. ชอื่ ผทู้ ่ีถือปฏิบตั แิ ละผ้สู ืบทอด
๔.๑ ผู้ทถ่ี ือปฏิบัติ
ช่อื ประชาชนชาวบา้ นรอ่ งรวิ
วัน เดอื น ปเี กดิ -
ทีอ่ ยู่ -
หมายเลขโทรศัพท์ -
๔.๒ ผู้สืบทอด
ช่อื พระครูปัญญากิตติโชติ เจ้าอาวาสวัดร่องรวิ รองเจา้ คณะตาบลเวียง เขต 2
วนั เดือนปเี กิด 2520 (22 พรรษา)
ทอี่ ยู่ วดั ร่องรวิ ตาบลเวยี ง อาเภอเทิง จังหวัดเชียงราย
หมายเลขโทรศัพท์ -
5. สถำนะ กำรคงอยู่ ปฏิบัติอยา่ งแพร่หลาย เส่ียงต่อการสญู หาย ไมม่ ีปฏบิ ัตแิ ล้ว
-1๒๔-
๖. รูปภำพภูมปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม/กจิ กรรมทำงภูมิปัญญำทำงวัฒนธรรม
บรรยายกาศการเตรยี มงาน
วนั งาน ขบวนแห่ พระเวสสสันดร
-1๒๕-
แบบสำรวจมรดกภมู ิปัญญำทำงวัฒนธรรมจงั หวัดเชยี งรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวัฒนธรรมจังหวัดเชยี งรำย
อำเภอแม่จนั จงั หวัดเชียงรำย
๑. ชื่อข้อมลู แพทย์พ้นื บ้านลา้ นนา พิธีกรรมบาบัด (จติ บาบัด)
๒. ลักษณะ วรรณกรรมพน้ื บ้านและภาษา
ศิลปะการแสดง
แนวปฏิบตั ทิ างสังคมพิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล
อาหาร/ความรูแ้ ละการปฏบิ ตั เิ กย่ี วกับธรรมชาติและจกั รวาล
งานช่างฝีมือดัง้ เดิม
การละเลน่ พน้ื บ้าน กีฬาพนื้ บ้าน และศิลปะการตอ่ สู่ป้องกนั ตวั
๓. รำยละเอยี ดข้อมูล
๓.๑) ประวัตคิ วามเป็นมาของข้อมูล
เร่ิมเรียนรู้จากตารา จากพระธุดงค์ และจากชมรมหมอเมืองโดยการถ่ายทอดและศึกษาด้วยตนเอง
ซึ่งเป็นการประกอบพิธีตามวิถชี วี ติ ที่สืบทอดกันมาแต่บรรพชน โดยมีทง้ั สว่ นทกี่ ระทาเพื่อตรวจสอบ เหตุปจั จัย
แห่งปัจจัยแห่งความไม่สบายและทาการบาบัดบรรเทา กระทาเพื่อการขจัดปัดเป่าและบาบัดรกั ษา กระทาเพ่ือ
สร้างขวัญและกาลังใจกระทาเพ่ือการเจรญิ สตแิ ละทาใจใหพ้ ร้อมรับสภาพความจริง และส่วนท่ีกระทาเพื่อเป็น
สริ ิมงคลและบนั ดาลให้เกดิ ความสงบรม่ เยน็ ซง่ึ จะแยกกลา่ วทล่ี ะกลุม่ ดงั น้ี
กำรดเู มอื่ และกำรทำนำยฤกษย์ ำม
การรักษาโรคด้วยพิธีกรรมบาบัดด้านการทานาย–ฤกษ์ยาม เป็นพิธีกรรมสืบทอดมาเป็นเวลาช้านาน
เพื่อดูแลสุขภาพของคนล้านนา เป็นการค้นหาหรือทานายทายทักหาปัญหาของคนที่เจ็บป่วยและเพ่ือหาฤกษ์
ยามในการทาพิธีกรรมต่าง ๆ ให้เป็นแนวทางในการปฏิบัติในวิถีชีวิตหรือประกอบพิธีกรรมอ่ืน ๆ ให้อยู่เย็น
เป็นสุข พ้นจากภยันตรายจากโรคภัยไข้เจ็บอันตรายต่าง ๆ พิธีกรรมทานาย-ฤกษ์ยามนี้เป็นการรวมองค์ความรู้
จากหมดพนื้ บา้ นลา้ นนา ซ่ึงสามารถใชเ้ ป็นแนวทางในการศึกษาเรยี นรแู้ ละนาไปใช้ประโยชน์ได้
กลุ่มขจัดปัดเปำ่
การแก้ไขปัญหาสุขภาพด้วยพิธีกรรมบาบัดในด้านการขจัดปัดเป่า ซ่ึงมักจะทาหลังจากการดูหมอ ดู
เมื่อ ทานายทายทัก และตรวจวินิจฉัยจนรู้เหตุแห่งโรคแล้ว หากมีเหตุและอาการตรงตามตาราก็จะต้อง
ประกอบพิธีกรรมเพอ่ื บาบัดบรรเทา
๓.๒) ขั้นตอน/วิธกี าร/ดาเนนิ การเกย่ี วกับขอ้ มูล
- ตดิ ตอ่ ประสานงานกับสภาวฒั นธรรมตาบลป่าซาง เพ่ือรวบรวมข้อมลู เบ้ืองต้น
- ลงพื้นท่จี ดั เก็บขอ้ มลู ประวัติความเป็นมาของข้อมลู ช่ือผู้ทีถ่ ือปฏิบตั ิและผูส้ ืบทอด สถานการณค์ งอยู่
และรปู ภาพต่าง ๆ
-1๒๖-
๔. ช่ือผ้ทู ่ีถอื ปฏิบัติและผสู้ บื ทอด
4.๑ ผทู้ ่ีถือปฏิบตั ิ
ช่ือ นายสงิ หค์ า ยอดมูลดี
วนั เดอื น ปเี กิด 15 กรกฎาคม 2490
ทอ่ี ยู่ 167 หม่ทู ี่ 11 ตาบลปา่ ซาง อาเภอแมจ่ ัน จังหวัดเชยี งราย
หมายเลขโทรศพั ท์ 081 366 5577
4.2 ผู้สืบทอด
ช่ือ -
วนั เดือน ปเี กดิ -
ทอี่ ยู่ -
หมายเลขโทรศัพท์ -
๕. สถำนะ กำรคงอยู่ ปฏบิ ัติอยา่ งแพร่หลาย เสยี่ งต่อการสูญหาย ไมม่ ปี ฏิบัตแิ ล้ว
๖. รูปภำพภมู ิปัญญำทำงวัฒนธรรม/กจิ กรรมทำงภูมปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม
-1๒๗-
แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ญั ญำทำงวัฒนธรรมจังหวดั เชยี งรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวัฒนธรรมจังหวัดเชยี งรำย
อำเภอพญำเม็งรำย จงั หวัดเชียงรำย
๑. ชื่อข้อมูล แห่นางแมวขอฝน
๒. ลักษณะ วรรณกรรมพืน้ บา้ นและภาษา
ศิลปะการแสดง
แนวปฏบิ ตั ิทางสังคมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล
อาหาร/ความรแู้ ละการปฏบิ ัตเิ กีย่ วกับธรรมชาตแิ ละจักรวาล
งานชา่ งฝีมอื ดั้งเดิม
การละเล่นพนื้ บา้ น กีฬาพื้นบ้าน และศลิ ปะการตอ่ ส่ปู ้องกันตวั
๓. รำยละเอยี ดข้อมูล
๓.๑) ประวตั คิ วามเปน็ มาของขอ้ มูล
การประกอบอาชีพทางเกษตรกรรมในสมัยก่อน ต้องพ่ึงพาสภาพดิน ฟ้า อากาศ ซึ่งเป็นไปตาม
ธรรมชาติ ถ้าปีไหนฝนดีข้าวกล้าในนาก็เจริญงอกงาม หากปีใดฝนแล้ง หรือฝนไม่ตกต้องตามฤดูกาล
ข้าวกล้าในนาก็จะเสียหาย ไม่มีน้าจะทานา ชาวบ้านไม่มีวิธีอ่ืนใดที่จะช่วยได้ จึงพึ่งพาสิ่งเหนือธรรมชาติต่าง ๆ
เป็นตน้ ว่าทาพิธขี อฝนโดยการแหน่ างแมว เปน็ กุศโลบายเชอื่ วา่ หากกระทาเชน่ นัน้ แล้วจะช่วยใหฝ้ นตกมาได้
๓.๒) ขน้ั ตอน/วิธกี าร/ดาเนนิ การเกย่ี วกบั ข้อมูล
การแห่นางแมวขอฝนของชาวบ้านห้วยก้างนาล้อม จะทาในปีทม่ี ฝี นตกล่าช้า พิธีเรม่ิ ตง้ั แตเ่ วลาบ่ายโมง
จนมืดค่า ชาวบ้านจะนาชะลอมเข่ง หรือตะกร้ามาตกแต่งให้สวยงาม แล้วจับแมวตัวเมีย ใส่ไว้ในชะลอมเข่ง
หรือตะกร้า เอาฝาปิดให้แน่น เอาไม้คานสอดเข้าสองข้างแล้วหาบไป มีคนแห่แวดล้อม มีนางแมวคนหนึ่งถือ
พานนาหน้าร้องราเชิญให้ทุกคนมาร่วมพิธีขอฝน นอกนั้นก็มีเคร่ืองดนตรีประกอบเพลงไปด้วยเป็นคณะ
เชน่ กลอง กรบั ฉ่ิง เม่อื เคล่อื นขบวนออกเดินตา่ งกร็ ้องบทแห่นางแมว ซง่ึ มีข้อความคล้ายกนั หรอื เพย้ี นแตกต่าง
กันบ้าง แห่ไปตามละแวกบ้านจนท่ัวแล้วก็กลับ หากขบวนแห่เคลื่อนผ่านหน้าบ้านใคร เจ้าของบ้าน
ก็จะเอาภาชนะตักน้ามาสาดรดแมวในชะลอมเข่งหรือตะกร้าที่ใส่แมวขังไว้ และชาวบ้านก็จะให้สิ่งของเล็ก ๆ
น้อย ๆ เป็นรางวัลแก่คณะแห่ เช่น ข้าวปลาอาหาร ไข่ ขนมคบเค้ียว น้าด่ืมต่าง ๆ หรืออาจเป็นเงินสดใส่พาน
ใหก้ ับคณะแห่ จากนน้ั กเ็ คลอื่ นขบวนแห่ไปเรื่อย ๆ บางคนนึกสนุกกม็ าร่วมร้องราตามขบวนไปจนกวา่ จะเย็นค่า
และเลกิ ขบวนไปในท่ีสดุ เน่ืองจากทาพิธีช่วงอากาศร้อนสุด ฝนจึงตกลงมาในวันน้ัน ทาใหพ้ ิธดี ขู ลังมากข้ึน
เพลงแหน่ างแมว มีเนือ้ รอ้ ง ดงั นี้
“นางแมวเอย๋ ขอฟ้าขอฝน ขอน้ามันต์รดแมวข้าบา้ ง
ค่าเบีย้ คา่ จา้ ง ค่าหาแมวมา ถ้าไม่ให้กนิ ปลา ขอใหป้ ูกัดขา้ ว
ถา้ ไมใ่ ห้กนิ ข้าว ขอให้ข้าวตาฝอย ถา้ ไม่ใหก้ ินอ้อย ขอให้อ้อยเปน็ แมง
ถา้ ไมใ่ ห้กินแตง ขอให้แตงคอขอด ถา้ ไม่ใหน้ อนกอด ขอให้มอดเจาะเรอื น
ถา้ ไม่ให้นอนเพอื่ น ขอให้เรือนทลาย แมย่ ายหอยเอย กะพ่ึงไข่ลกู
ลูกไม้จะถกู ลูกไมจ้ ะแพง ฝนตกพราๆ มาลากระแชง
ฝนตกเข้านอ้ ย มายอ้ ยชายคา ฝนตกเขาหลวง เปน็ พวงระย้า
ไอเ้ ล่ เหล เล่ ฝนกเ็ ทลงมา เอา้ ฝนก็เทลงมา เอา้ ฝนก็เทลงมาๆๆๆๆๆ”
การทาพิธีกรรมแหน่ างแมว เพราะมีความเชอื่ ว่าแมวเป็นสตั ว์ที่กลัวน้า จึงเป็นตัวที่ทาใหเ้ กิดความแหง้
แล้ง ฝนไม่ตก จึงต้องจบั แมวมาตระเวนแห่และใหผ้ ู้คนตักน้ารด สาดราดแมวจนแมวเปียกหนาวส่ัน เพื่อทาลาย
ความเปน็ ตวั แล้งให้หมดไป
-1๒๘-
๔. ชอ่ื ผู้ท่ีถอื ปฏิบตั ิและผู้สบื ทอด
๔.๑ ผู้ทีถ่ อื ปฏิบตั ิ
ชอ่ื นายสงค์ อ่ินคา
วัน เดือน ปเี กดิ 5 กมุ ภาพนั ธ์ 2489
ที่อยู่ 50 หมู่ 5 ตาบลไมย้ า อาเภอพญาเม็งราย จังหวดั เชียงราย
๔.๒ ผู้สืบทอด
ชื่อ นายประเสรฐิ มะโนตบิ๊
วัน เดือน ปเี กิด 16 เมษายน 2497
ทอี่ ยู่ 44 หมู่ 5 ตาบลไมย้ า อาเภอพญาเม็งราย จงั หวัดเชียงราย
หมายเลขโทรศัพท์ 096 - 8940385
๕. สถำนะกำรคงอยู่ ปฏิบัตอิ ยา่ งแพร่หลาย เส่ยี งต่อการสญู หาย ไมม่ ีปฏบิ ตั ิแลว้
๖. รปู ภำพภูมิปัญญำทำงวัฒนธรรม/กจิ กรรมทำงภูมิปัญญำทำงวัฒนธรรม
-1๒๙-
แบบสำรวจมรดกภมู ิปัญญำทำงวฒั นธรรมจังหวดั เชยี งรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวัฒนธรรมจงั หวดั เชยี งรำย
อำเภอพญำเมง็ รำย จงั หวดั เชียงรำย
๑. ชื่อข้อมูล การเลีย้ งผเี จ้าท่ี
๒. ลักษณะ วรรณกรรมพน้ื บ้านและภาษา
ศิลปะการแสดง
แนวปฏิบัติทางสงั คมพิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล
อาหาร/ความรแู้ ละการปฏบิ ัติเกยี่ วกบั ธรรมชาติและจักรวาล
งานชา่ งฝมี อื ด้งั เดิม
การละเล่นพ้นื บา้ น กีฬาพน้ื บ้าน และศลิ ปะการตอ่ สูป่ ้องกนั ตัว
๓. รำยละเอียดข้อมลู
๓.๑) ประวัติความเป็นมาของข้อมลู
ในอดีต มนษุ ยม์ คี วามเชอ่ื วา่ ความสุขหรอื ความทกุ ขท์ ่ีได้รับเกดิ จาก การกระทาของวญิ ญาณ วญิ ญาณ
หรือผีที่นบั ถือของคนในแต่ละทอ้ งที่นนั้ อาจแตกตา่ งกนั ออกไปตามชาตพิ ันธแ์ุ ละความเชื่อ เชน่ การนบั ถอื ผเี จา้
ท่ี ผีเจ้านาย ผีป่า ผีบ้าน หรือผีบรรพบุรุษ ซึ่งผู้ที่นับถือผีเชื่อว่า ดวงวิญญาณบรรพบุรุษสามารถให้ คุณหรือให้
โทษแก่ลูกหลานได้ จึงก่อให้เกิดพิธีกรรมหรือธรรมเนียมในการแสดงออกต่อผีหรือ วิธีการบวงสรวงเซ่นไหว้
เพือ่ ให้ผพี อใจและช่วยปกปักรักษาลูกหลานให้มีความสขุ
หลายคนอาจเคยเข้าใจผิดว่า ศาลเจ้าท่ีและศาลพระภูมิเป็นศาลเดียวกันมาตลอด แต่จริง ๆ แล้วศาล
ทั้ง 2 ประเภทมคี วามแตกตา่ งกนั ดังนี้
1. ศำลเจ้ำท่ี คือ การสร้างสถานที่และอัญเชิญวิญญาณเจ้าที่เจ้าทาง ซ่ึงเคยเป็นเจ้าของท่ีดั้งเดิมที่มี
ความผูกพนั กบั พ้นื ทน่ี น้ั ใหม้ าช่วยดแู ลและปกปักรกั ษาบ้านเรือน เจา้ ทแ่ี บง่ ออกเป็น 2 ประเภท ไดแ้ ก่
- เจา้ ทแี่ ท้ : เจ้าของที่เดิมทไ่ี มย่ อมไปเกดิ ใหม่ ซง่ึ จะคอยปกปกั รักษาทข่ี องตนเองอยู่อย่างนน้ั
- เจ้าท่ีจร : คือวิญญาณเร่ร่อนท่ีอยู่โดยรอบบริเวณพ้ืนที่นั้น ๆ ดังนั้นก่อนการตั้งศาลเจ้าที่จึง
จาเป็นต้องมีอาจารย์ตั้งศาลมาตรวจดูว่า มีวิญญาณเจ้าท่ีอยู่ในบริเวณน้ันหรือไม่ มิเช่นนั้นศาลเจ้าท่ีต้ังไว้จะ
กลายเปน็ ศาลว่างเปลา่ ไม่มีวญิ ญาณคอยดแู ล
ลักษณะของศาลเจ้าท่ีมักจะเป็นเรือนท่ีมีฐานใหญ่กว่าศาลพระภูมิ อยู่ในระดับความสูงเพียง
ครง่ึ หน่ึงของศาลพระภูมิ ภายในจะมีรปู ปน้ั ตา-ยาย หรือที่คนท่วั ไปเรยี กกนั วา่ ศาลตา-ยาย นั่นเอง
2. ศำลพระภูมิ คอื สถานทีส่ าหรับพระชัยมงคลหรือเทพที่คอยปกปกั รักษาบ้านเรือน ซึ่งเชอ่ื กันวา่ การ
กราบไหว้บูชาพระชยั มงคลจะทาใหบ้ า้ นหลงั นนั้ อยู่เยน็ เป็นสุข คลาดแคล้วจากอันตราย มีความเปน็ สิริมงคล
และสามารถขอพรใหเ้ รื่องต่าง ๆ ดาเนินไปได้ด้วยดี
ศำลเจ้ำท่ี ต้องต้งั ใหถ้ ูกตาแหนง่ มิเชน่ นั้นอาจจะเกดิ ผลไม่ดตี ามมา หรอื หากไมม่ ีพื้นที่ทเี่ หมาะใน
การตง้ั ศาลกไ็ มค่ วรต้ังก็ได้ ให้แกด้ ว้ ยการไหวเ้ จ้าทีก่ ลางแจง้ สว่ นหลกั การตัง้ ศาลเจา้ ที่มีข้อกาหนดดังต่อไปน้ี
- พืน้ ท่นี ัน้ จะต้องสะอาด ไม่มีสิง่ กีดขวางด้านหนา้ ศาล
- ไม่ตง้ั หลบมุมจนมองไม่เหน็
- ตง้ั ให้ตรงกับประตทู างเขา้ บ้าน
- ห้ามหนั หนา้ หรอื ตงั้ ใกล้บริเวณห้องน้า
- ห้ามต้งั ไวใ้ ต้บันได เพราะเป็นพน้ื ที่สัญจรทาใหไ้ มส่ งบ
- ต้องไม่ตง้ั ให้อยูใ่ ตค้ านบ้าน มิเชน่ นน้ั ความศักด์ขิ องเจ้าทจ่ี ะลดลง
-1๓๐-
พิธีกรรมการเลี้ยงผีเจ้าที่ เป็นพิธีกรรมท่ียึดถือปฏิบัติกันมาของคนภาคเหนือ แม้ว่าการดาเนนิ ชวี ติ ของ
คนในหม่บู ้านจะราบร่ืนไมป่ ระสบปัญหาใด ๆ แตก่ ย็ ังไม่ลมื บรรพบรุ ุษที่เคยช่วยเหลือใหม้ ชี ีวติ ท่ปี กติสุขมาตั้งแต่
รุ่นปู่ย่าตายาย ยังคงพบเรือนเล็ก ๆ หลังเก่าต้ังอยู่กลางหมู่บ้านเสมอ เรียกว่า “หอเจ้าที่ประจาหมู่บ้าน” หรือ
“ศาลเจ้าท่ี” เมื่อเวลาเดินทางไปยังหมู่บ้านต่าง ๆ ในชนบท ความเช่ือดังกล่าวส่งผลให้ขนบธรรมเนียม
ประเพณี และพิธีกรรมต่าง ๆ เช่น พ่ออุ๊ย-แม่อุ๊ย เม่ือไปวัดฟังธรรมก็จะประกอบพิธีเล้ียงผี คือ จัดหาอาหาร
คาว-หวาน เซ่นไหว้ สังเวยผีปู่ย่าด้วย แม้ปัจจุบันการนับถือผีที่อาจเปลี่ยนแปลงและเหลือน้อยลง แต่อย่างไร
ก็ตามชาวบา้ นในชุมชนยังคงมกี ารปฏิบัติพธิ ีกรรมการเลย้ี งผกี ันอยู่
ชาวบ้านไม้ยาสันโค้ง หมู่ 7 มีความคิดและเชื่อว่าการต้ังศาลเจ้าท่ีประจาหมู่บ้าน เกิดจากที่ชาวบ้าน
มคี วามคดิ เหน็ ไมต่ รงกนั มกั มีความขัดแย้งกนั อยเู่ สมอ ผ้นู าชุมชนในตอนน้นั คอื ผ้ใู หญจ่ รัล อารนิ ทร์เป็ง ร่วมกนั
ปรึกษาหารือกับชาวบ้าน ให้มีการจัดตั้งศาลเจ้าท่ีประจาหมู่บ้านขึ้น เพื่อเป็นสิ่งยึดเหน่ียวจิตใจของชาวบ้านใน
ชมุ ชนและหมูบ่ า้ นใกลเ้ คียง เปน็ ตน้ มา
๓.๒) ขนั้ ตอน/วธิ ีการ/ดาเนนิ การเกย่ี วกบั ข้อมูล
วิธกี ำรไหวเ้ จำ้ ที่
การไหว้ศาลเจ้าท่ีจะต้องทาความสะอาดสถานที่บริเวณในทุก ๆ เช้า ส่วนของไหว้เจ้าที่ ได้แก่
พวงมาลัยดอกไม้สด น้าเปล่า ผลไม้ และอาหารคาว-หวาน และจุดธูปไหว้เจ้าที่ 5 ดอก พร้อมกับกล่าวคาไหว้
เจ้าที่หรือคาถาไหว้เจ้าที่ ถ้าจะให้ดีควรเปล่ียนของไหว้เจ้าท่ีทุกวันด้วย และอย่าลืมทาความบริเวณศาลเจ้าที่
ด้วยถึงจะได้ผลดี โดยปกติแล้วการไหว้เจ้าท่ีทั้งศาลพระภูมิและศาลเจ้าที่จะไหว้พร้อม ๆ กัน การสักการะ
กราบไหว้ศาลพระภูมินั้นจะต้องทาทุกเช้าก่อนออกจากท่ีพักอาศัย ให้เตรียมจุดธูปบูชา 5 ดอก เทียน ดอกไม้สด
พวงมาลัยสด ถวายน้าเปล่า และอาหารคาว-หวาน ซึ่งอาหารคาว-หวานและผลไม้น้ันจะต้องผลัดเปล่ียน
หมนุ เวียนภายในอาทิตย์ละ 1 ครั้ง หรือไม่เดือนละ 2 คร้ัง มาสวดมนต์และขอพรเพื่อความเปน็ มงคล หลังจาก
ไหวเ้ สร็จกส็ มควรทาความสะอาดบรเิ วณศาลดว้ ยกจ็ ะย่ิงดี
สาหรับบ้านท่ีไม่มีศาลเจ้าท่ี แต่เจ้าของบ้านต้องการไหว้เจ้าท่ี เพ่ือให้เกิดความสบายใจก็สามารถทาได้
ด้วยการนาโต๊ะขนาดพอดีมาตั้งไว้หน้าบา้ น โดยหันหน้าเข้าหาบ้าน หรือบางคนอาจจะวางไว้กลางบ้านเลยกไ็ ด้
จากน้ันนากระถางธูปพร้อมของไหว้เจ้าท่ีมาวางไว้ เพือ่ สักการะกราบไหว้ให้ท่านดแู ลรักษาพ้ืนทแ่ี ห่งน้ี
๔. ช่ือผูท้ ่ีถอื ปฏิบตั ิและผู้สืบทอด
๔.๑ ผ้ทู ่ถี อื ปฏบิ ัติ
ช่ือ ชาวบ้านไมย้ าสันโคง้ หมู่ 7 ตาบลไม้ยา อาเภอพญาเม็งราย จังหวดั เชียงราย
วนั เดือน ปีเกดิ -
ท่อี ยู่ หมู่ 7 ตาบลไม้ยา อาเภอพญาเม็งราย จังหวดั เชียงราย
หมายเลขโทรศัพท์ -
๔.๒ ผูส้ ืบทอด
ชอื่ ชาวบ้านไม้ยาสันโคง้ หมู่ 7 ตาบลไม้ยา อาเภอพญาเม็งราย จังหวดั เชียงราย
วัน เดือน ปีเกดิ -
ที่อยู่ หมู่ 7 ตาบลไมย้ า อาเภอพญาเมง็ ราย จงั หวดั เชยี งราย
หมายเลขโทรศัพท์ -
๕. สถำนะ กำรคงอยู่ ปฏบิ ตั อิ ย่างแพรห่ ลาย เส่ียงต่อการสญู หาย ไมม่ ีปฏบิ ัตแิ ล้ว
๖. รูปภำพภูมปิ ญั ญำทำงวัฒนธรรม/กจิ กรรมทำงภูมิปัญญำทำงวัฒนธรรม
-13๑-
แบบสำรวจมรดกภมู ิปัญญำทำงวัฒนธรรมจังหวัดเชียงรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวฒั นธรรมจงั หวดั เชยี งรำย
อำเภอเวยี งแก่น จังหวัดเชยี งรำย
๑. ชื่อข้อมลู การแตง่ กายชาตพิ นั ธ์ุขมุ
๒. ลักษณะ วรรณกรรมพืน้ บา้ นและภาษา
ศลิ ปะการแสดง
แนวปฏบิ ัติทางสงั คมพิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล
อาหาร/ความรูแ้ ละการปฏบิ ัติเก่ียวกับธรรมชาตแิ ละจกั รวาล
งานชา่ งฝมี ือดัง้ เดมิ
การละเลน่ พืน้ บ้าน กีฬาพ้ืนบา้ น และศลิ ปะการต่อสปู่ ้องกนั ตัว
๓. รำยละเอยี ดขอ้ มูล
๓.๑) ประวัติความเป็นมาของขอ้ มูล
เคร่ืองแต่งกายของชาวขมนุ ้ันสว่ นใหญ่แล้วยงั คงมีความเช่ือท่ีเช่ือมโยงกับถน่ิ ฐานบา้ นเกิดเดิมอยู่นั่นคือ
สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ชาวขมุไม่มีวัฒนธรรมในการทอผ้าเอง ผ้าของเครื่องแต่งกายไม่ว่าจะ
เป็นชายหรือหญิง ผู้ใหญ่หรือเด็ก จะเป็นพื้นสีดา นิยมเส้ือผ้าสีดาหรือสีกลมเข้ม ผู้หญิงมักจะใช้ซ่ินลายขวาง
แบบไทลื้อ สวมเส้ือผ้าหนา สีน้าเงินเข้มตัวสั้นสาบเสื้อมักนิยมใช้ผ้าแถบสีแดงประดับโดยเหรียญเงิน
โดยเหรียญเงนิ เป็นเหรยี ญทตี่ ขี ึ้นเองหรือเหรียญทมี่ ีตราของฝรั่งเศสโดยนามาจากสปป.ลาวซงึ่ เปน็ ถิ่นฐานดั้งเดิม
กอ่ นอพยพมายังบ้านห้วยเอียน สว่ นเคร่ืองประดับอืน่ ๆ กจ็ ะเปน็ ใส่กาไลเงินท่ีคอ และกาไลข้อมอื โพกผา้ สขี าว
หรือสีแดง
ชาวขมผุ ู้ชายปัจจบุ ันมีการแตง่ กายทไี่ มต่ า่ งจากคนพ้นื เมือง มกั ใส่ชุดเครอื่ งแตง่ กายเฉพาะงานประเพณี
ที่สาคัญเท่านั้น เป็นสัญลักษณ์ของชาวขมุที่มาจากแถบห้วยทราย หลวงพระบาง ในแง่ความหมายของ
สญั ลกั ษณ์สแี ดงนนั้ หมายถงึ การรวมเลอื ดเนอื้ หรอื ความสามัคคีกนั น่ันเอง
แม้ว่าปัจจุบันการแต่งกายท้ังชายและหญิงของชาวขมุจะเปลี่ยนแปลงไป โดยหญิงชาวขมุร้อยละ 95
มีการแต่งกายตามแบบสมัยนิยม ส่วนชายชาวขมุมีการเปลี่ยนแปลงไปแต่งกายตามสมัยนิยมแบบชาวพ้ืนเมือง
ภาคเหนือแบบสมบูรณ์หรือร้อยละ 100 เพราะชาวขมุในประเทศไทยถือว่าเป็นคนไทยสัญชาติไทยแต่มี
เชือ้ สายขมุ การไปติดตอ่ สัมพนั ธก์ ับชนพื้นราบหรือทางการมักดาเนนิ ไปบนฐานของการเป็นชนชาตเิ ดยี วกัน แต่
“อัตลักษณ์” ของชาวขมุจะแสดงออกผ่านเครื่องแต่งกายที่ยังปรากฏใหเ้ ห็นกันอยู่ โดยเฉพาะในช่วงเทศกาลปี
ใหม่ ที่จัดขึ้นในช่วงปลายเดือนธันวาคมของทุกปีพื้นที่การแสดงออกอย่างเด่นชัดในช่วงเทศกาลน้ัน กลายเป็น
พ้ืนท่ีทางสังคมของชาวขมุท่ีสามารถขนเอาวัฒนธรรมดั้งเดิมที่เป็นอยู่และเลือกท่ีจะแสดงออกมาบาง
สถานการณ์ เพอ่ื เป็นการสง่ เสริมให้เกิดความสามคั คีและการไมล่ ืมรากเหง้าตัวตนของตวั เอง
๓.๒) ข้นั ตอน/วิธีการ/ดาเนินการเก่ยี วกับขอ้ มลู
การสอบถามจากผู้มคี วามรแู้ ละประสบการณ์
-1๓๒-
๔. ชอ่ื ผทู้ ี่ถอื ปฏิบัตแิ ละผ้สู ืบทอด
๔.๑ ผูท้ ่ีถอื ปฏิบัติ
ช่ือ นายนพพล เชือ้ น้อย
วนั เดอื น ปีเกิด -
ท่ีอยู่ หมู่ ๖ ตาบลหล่ายงาว อาเภอเวียงแกน่ จังหวดั
หมายเลขโทรศัพท์ ๐๖๒ ๒๔๘ ๖๘๕๙
๔.๒ ผู้สบื ทอด
ช่อื -
วนั เดือน ปีเกดิ -
ท่อี ยู่ -
หมายเลขโทรศัพท์ -
๕. สถำนะ กำรคงอยู่ ปฏบิ ตั ิอยา่ งแพรห่ ลาย เส่ยี งตอ่ การสูญหาย ไม่มีปฏิบัติแลว้
๖. รูปภำพภูมปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม/กจิ กรรมทำงภูมปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม
ชดุ แตง่ กายชาติพนั ธุ์ขมุ จะเปน็ พื้นสดี าหรือสกี ลม
เขม้ ผู้หญิงมักจะใช้ซ่ินลายขวางแบบไทลือ้ สวมเส้อื ผา้
หนา สีนา้ เงินเข้มตัวสนั้ สาบเสื้อมกั นิยมใช้ผ้าแถบสีแดง
โพกผ้าสีขาว หรือสีแดง
ชาวขมผุ ูช้ ายปจั จบุ นั มกี ารแต่งกายทไี่ ม่ต่างจากคน
พื้นเมือง มกั ใส่ชดุ เครอ่ื งแตง่ กายเฉพาะงานประเพณีท่ี
สาคญั เทา่ นน้ั
ลกั ษณะเสอื้ พืน้ สีดา แทบสแี ดง ลักษณะผา้ ถงุ ของชาติพนั ธุข์ มุ ลักษณะการโพกหัวด้วยผ้าสแี ดง