.
-296-
๔. ชอ่ื ผู้ที่ถอื ปฏิบัตแิ ละผสู้ บื ทอด
๔.๑ ผทู้ ่ถี ือปฏบิ ัติ
ช่ือ นายพฒุ ใจประสทิ ธิชยั
วัน เดือน ปีเกิด ๒๔๙๒
ที่อยู่ 101 หมู่ 1 บา้ นปา่ ตาลดอย ตาบลป่าตาล อาเภอขนุ ตาล จังหวัดเชียงราย
หมายเลขโทรศัพท์ 081 759 9549
๔.๒ ผสู้ บื ทอด
ชือ่ -
วัน เดือน ปีเกดิ -
ที่อยู่ -
หมายเลขโทรศัพท์ -
๕. สถานะ การคงอยู่ ปฏบิ ตั ิอย่างแพร่หลาย เสีย่ งตอ่ การสูญหาย ไมม่ ปี ฏบิ ตั ิแลว้
๖. รปู ภาพภูมปิ ัญญาทางวัฒนธรรม/กจิ กรรมทางภูมปิ ัญญาทางวัฒนธรรม
- ไมม่ -ี
.
-297-
แบบสำรวจมรดกภมู ิปญั ญำทำงวัฒนธรรมจังหวดั เชียงรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวัฒนธรรมจงั หวดั เชยี งรำย
อำเภอแมล่ ำว จงั หวัดเชยี งรำย
๑. ช่ือข้อมูล หน่อมนั
๒. ลักษณะ วรรณกรรมพื้นบ้านและภาษา
ศลิ ปะการแสดง
แนวปฏบิ ตั ิทางสงั คมพิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล
อาหาร/ความรูแ้ ละการปฏิบัติเกีย่ วกับธรรมชาตแิ ละจกั รวาล
งานชา่ งฝีมือดง้ั เดมิ
การละเลน่ พื้นบา้ น กีฬาพน้ื บ้าน และศิลปะการตอ่ สปู่ ้องกันตัว
๓. รำยละเอียดข้อมูล
๓.๑) ประวัติความเปน็ มาของขอ้ มูล
หน่อไม้ คือต้นอ่อนของไผ่ แตกจากเหง้าใต้ดินมีสีเหลืองอ่อน หน่อไม้เป็นพื้นที่หาได้ง่ายในประเทศไทย
ทั้งในป่าและปลูกตามบ้าน เป็นพืชท่ีสามารถนามาประกอบอาหารได้อย่างหลากหลาย ทั้ง แกง ผัด ต้ม หรือกินสด
เป็นเคร่ืองเคียงกับเมนูอ่ืน ๆ การทาหน่อมัน คือภูมิปัญญาการถนอมอาหารประเภทหน่ึง เพราะหน่อไม้หลายชนิด
พบมากทางภาคเหนือและข้ึนในฤดูฝน การหมักหน่อไม้ไว้ทาให้ในฤดูอื่น ๆ สามารถมีเมนูหน่อไม้ไว้รับประทานได้
หน่อมันเป็นเมนูทั่วไป เพราะหน่อไม้เป็นพืชท่ีหาได้ทั่วไป ไม่ว่าจะปลูกตาบ้าน หรือตามป่า ชาวบ้านนิยมทาไว้
รับประทานกันเกือบทุกหลังคาเรือน มีวิธีการทาไม่ยุ่งยาก นางวรรณา สลีสองสม เป็นชาวบ้านบ้านสันปูเลย ตาบล
บวั สลี อาเภอแม่ลาว จงั หวดั เชยี งราย ไดร้ บั ประทานเมนูหน่อมันมาตงั้ แต่เด็ก วิธีการทาหน่อมันได้เรียนรูส้ ืบทอดมา
จากพอ่ แมต่ ั้งแต่อดีต
๓.๒) ขน้ั ตอน/วธิ กี าร/ดาเนินการเกย่ี วกับขอ้ มูล
สว่ นประกอบ
1. หน่อไมซ้ าง ประมาณ 3 – 4 หัว หรอื ตามต้องการ
2. น้าเปลา่ พอประมาณ 3. เกลอื 1 หยิบมอื
อปุ กรณ์
1. ถังน้า 2. มีด
3. ถงุ พลาสตกิ 4. ตอกไม้ไผ่ 5. หมอ้
ข้ันตอนการทา
๑. นาหน่อไม้ซางทข่ี ุดมาได้ ปอกเปลือกแข็งด้านนอกออก
๒. นาหนอ่ ไม้ทปี่ อกเปลือกมาลา้ งน้าใหส้ ะอาด
๓. นามีดจมิ้ หน่อไมเ้ ปน็ แนวตามความยาวปล้อง เวลาจมิ้ หา้ มให้หน่อไมข้ าดออกจากกัน ใหค้ งรูป
เปน็ ลาหน่อไม้ไว้
๔. ใช้ตอกไม้ไผ่ มัดตรงสว่ นปลาย เพื่อกนั ไม่ให้หนอ่ ไวแ้ ตกออกจากกัน
๕. นาหน่อไมท้ ่ีมัดแล้วใสล่ งในถงุ พลาสติก แล้ววางลงในถงั น้า
๖. ใส่นาสะอาดพอทว่ มหน่อไม้ แลว้ มดั ปากถุง ห้ามให้หน่อไมล้ อยขึ้นมา
๗. ทิง้ ไวป้ ระมาณ 2 คนื
8. นาออกมาตม้ ใสเ่ กลือเล็กน้อยตอนต้ม เม่ือสุกนามารับประทานได้ มรี สชาตมิ ัน ๆ อร่อย
เคล็ดลบั
- การหมักหนอ่ ไม้ 2 คืน หน่อมนั จะมคี วามมันอยู่ หากตอ้ งการทิง้ หน่อไมไ้ วน้ านกวา่ น้ี ให้ใส่เกลอื
ลงไปหมกั ต่อได้ แตร่ สชาติหน่อไม้จะเปลีย่ นเป็นความเปรี้ยวแทน
- หนอ่ มันเปน็ อาหารหลัก สามารถรบั ประทานคู่กบั พริกป่น น้าปู นา้ พริกน้าปูได้
.
-298-
๔. ชื่อผู้ที่ถอื ปฏิบัตแิ ละผสู้ ืบทอด
4.๑ ผูท้ ถ่ี ือปฏบิ ัติ
ชือ่ นางวรรณา สลีสองสม
วนั เดือน ปีเกิด -
ท่อี ยู่ ๙๙ หมู่ ๔ ตาบลบัวสลี อาเภอแมล่ าว จังหวดั เชยี งราย
หมายเลขโทรศัพท์ ๐๘๗ ๓๐๔ ๕๐๘๘
4.๒ ผสู้ ืบทอด
ช่ือ นายบญุ ผาย สลสี องสม
วัน เดอื น ปเี กิด -
ท่อี ยู่ ๙๙ หมู่ ๔ ตาบลบัวสลี อาเภอแมล่ าว จงั หวัดเชยี งราย
หมายเลขโทรศัพท์ 081 9525032
5. สถำนะ กำรคงอยู่ ปฏบิ ัติอยา่ งแพรห่ ลาย เสี่ยงตอ่ การสญู หาย ไมม่ ปี ฏบิ ัติแลว้
6. รูปภำพภมู ปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม/กจิ กรรมทำงภูมิปัญญำทำงวฒั นธรรม
“ลา้ งหน่อไม้ใหส้ ะอาด” “ใช้มดี จมิ้ หน่อไม้”
“ใช้ตอกไม้ไผ่มัดสว่ นปลาย ไม่ใหป้ ลายหน่อแตกออก”
“หน่อไมท้ เี่ ตรียมหมกั ”
.
-299-
แบบสำรวจมรดกภมู ิปัญญำทำงวัฒนธรรมจังหวัดเชียงรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวฒั นธรรมจงั หวัดเชยี งรำย
อำเภอเวยี งชัย จงั หวดั เชียงรำย
๑. ชื่อข้อมูล หมอชาวบา้ น (หมอเปา่ เพือ่ การรกั ษาโรคงสู วดั และโรคกระดูก)
๒. ลักษณะ วรรณกรรมพ้ืนบา้ นและภาษา
ศิลปะการแสดง
แนวปฏบิ ตั ทิ างสงั คมพิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล
อาหาร/ความร้แู ละการปฏบิ ัติเกย่ี วกับธรรมชาติและจักรวาล
งานช่างฝีมือด้ังเดิม
การละเล่นพื้นบา้ น กีฬาพ้นื บา้ น และศิลปะการตอ่ ส่ปู ้องกนั ตัว
๓. รำยละเอียดขอ้ มลู
๓.๑) ประวตั ิความเป็นมาของขอ้ มลู
“หมอเป่า” เปน็ มรดกภมู ิปัญญาการแพทย์พน้ื บ้านไทยที่รกั ษาโรคด้วยการเป่าคาถา ซง่ึ สบื ทอดความรู้
มาจากบรรพบุรุษ และโรคที่เชื่อว่าสามารถรักษาได้ด้วยการเป่าคาถานั้น ส่วนใหญ่เป็นโรคผิวหนัง อาทิ แผลท่ี
เกิดจากสัตว์กัด แผลท่ีเกิดจากไฟไหม้หรือน้าร้อนลวก แผลเริม แผลงูสวัด หรืออาจส ามารถรักษา
แผลเร้ือรัง มะเร็งที่ผิวหนัง รวมไปถงึ การเป่ากระดูกที่หกั ให้เชื่อมต่อติดกันได้
มรดกภูมิปัญญาการแพทย์พ้ืนบ้านไทยด้วยการรกั ษาโดยวธิ กี ารเป่าน้ัน ถือได้ว่าเป็นการรักษาทางกาย
การพ่นไม่ว่าจะเป็นน้ามนต์ ข้าวสาร น้า หรือเหล้าขาวไปตรงตาแหน่งท่ีมีอาการเจ็บปวด เปรียบเสมือนกับยา
ท่ีหมอตามโรงพยาบาลจ่ายให้กับคนไข้ให้กลับไปทานที่บ้าน ส่วนการรักษาทางจิตใจ คือ การอาศัยความเช่ือ
ของผู้ป่วยและญาตทิ ่มี ตี ่อสิง่ ศกั ดิ์สิทธ์ิท่จี ะแสดงออกมาโดยการเป่าคาถาในการรักษาผูป้ ว่ ย
พ่ออุ้ยข่ายแก้ว อุ่นนันกาศ ได้สืบทอดวิชาความรู้การแพทย์พ้ืนบ้านไทย “หมอเป่า” วิธีการรักษา
โรคงูสวัด (มะเฮ็งไข่ปลา) และการเป่าโรคกระดูก มาจากญาติที่จังหวัดลาพูน และนาองค์ความรู้ดังกล่าว
มาใช้รักษาชาวบ้านในพ้ืนที่จนหายจากโรคดังกล่าว และได้รับความเคารพนับถือจากชาวบ้านท้ังในพ้ืนท่ีและ
นอกพ้นื ท่ที ี่ได้รับการรักษาจากโรคท่เี ป็นอยู่
๓.๒) ขัน้ ตอน/วิธีการ/ดาเนินการเกย่ี วกับขอ้ มูล
ผู้ป่วยจะเดินทางมารักษาโรคงูสวัด (มะเฮ็งไข่ปลา) หรือโรคกระดูกท่ีบ้านพ่ออุ้ยข่ายแก้ว อุ่นนันกาศ
พร้อมนาดอกไม้ ธูปเทียนมาบูชาเพ่ือเป็นการขอให้พ่อหมอช่วยทาการรักษาให้ หลังจากท่ีพ่อหมอรับดอกไ ม้
ธูปเทียนแล้ว จะเร่ิมทาการรักษาด้วยการเป่าไปยังตาแหน่งท่ีมีอาการเจ็บปวดพร้อมกากับคาถา โดยจะทา
การเปา่ รักษาในช่วงเวลาตอนเช้าหรือตอนเยน็
หลังจากที่ผู้ป่วยรักษาหายแล้วจะมาทาพิธีสรงเกล้าดาหัวกับพ่อหมอ เพ่ือเป็นการแสดงออกถึง
ความเคาระและขอบคุณทท่ี ่านาให้การช่วยเหลือรักษาจนบรรเทาอาการเจ็บปว่ ยจนหายดี
๔. ชอื่ ผู้ที่ถือปฏิบตั ิและผสู้ ืบทอด
๔.๑ ผู้ทถี่ อื ปฏิบัติ
ชอื่ นายข่ายแกว้ อนุ่ นันกาศ
วัน เดือน ปเี กดิ ๒๗ กันยายน ๒๔๘๒
ทีอ่ ยู่ ๗๑ หมู่ ๑๐ ตาบลเวยี งชัย อาเภอเวยี งชยั จงั หวัดเชยี งราย
หมายเลขโทรศัพท์ ๐๘๔ ๖๑๒ ๐๐๑๓
.
-300-
๔.๒ ผูส้ บื ทอด -
ชื่อ -
วัน เดอื น ปีเกดิ -
ที่อยู่ -
หมายเลขโทรศัพท์
๕. สถำนะ กำรคงอยู่ ปฏบิ ตั อิ ย่างแพร่หลาย เสีย่ งตอ่ การสญู หาย ไมม่ ปี ฏบิ ตั ิแล้ว
๖. รปู ภำพภูมิปญั ญำทำงวัฒนธรรม/กจิ กรรมทำงภูมปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม
.
-301-
แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ญั ญำทำงวัฒนธรรมจงั หวัดเชียงรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวัฒนธรรมจงั หวดั เชยี งรำย
อำเภอพญำเมง็ รำย จงั หวดั เชยี งรำย
๑. ช่ือข้อมลู หมอดูทานายโชคชะตา ทานายอนาคตของบคุ คล
๒. ลกั ษณะ วรรณกรรมพ้ืนบา้ นและภาษา
ศิลปะการแสดง
แนวปฏิบัตทิ างสงั คมพิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล
อาหาร/ความรู้และการปฏบิ ัตเิ ก่ยี วกบั ธรรมชาติและจกั รวาล
งานชา่ งฝมี ือดั้งเดมิ
การละเล่นพ้ืนบา้ น กีฬาพื้นบา้ น และศิลปะการตอ่ ส่ปู ้องกนั ตวั
๓. รำยละเอียดข้อมลู
๓.๑) ประวตั ิความเปน็ มาของข้อมลู
สืบเน่ืองจากท่ีแม่ผล วงศ์ศรีดา ป่วยเป็นโรคไต และได้ทานยาสมุนไพรที่ทางคุณพ่อซ่ึงมีตาราสมุนไพร
พน้ื บ้านและควบคู่กับการรักษาทางการแพทย์น้ัน หลังจากทีไ่ ดท้ าผลิตภณั ฑ์สมนุ ไพรข้นึ มาท้ังจาหน่ายและแจก
แลว้ น้ัน ในระยะเวลาไม่นานแม่ผล ไดฝ้ ันว่ามีคนคนหนึ่งมาเข้าฝันแล้วบอกแม่ผลว่าจะเป็นคนชว่ ยแม่ผลในการ
รักษาคนให้หายจากโรคต่าง ๆ เอง จากนั้นอีกไม่นานแม่ผลก็สามารถทานายโชคชะตาของบุคคลได้ด้วยการ
ผ่านการรักษาหรือการทานายทายทักผ่านการรักษาของทั้งตัวบุคคลเองหรือคนรอบข้างหรือคนในครอบครัว
ของคนนั้นได้ และช่วยแก้ไขความติดขัดของการดาเนินชีวิตในทุกด้านไม่ว่าจะเป็นเร่ืองของการงาน การเงิน
ความรัก และอ่ืน ๆ ตามท่ีบุคคลคนนั้นจะประสบอยู่ แม่ผลก็ดาเนินการช่วยเหลือบุคคลมาตั้งแต่บัดนั้นจนถึง
ปัจจบุ นั นี้
๓.๒) ขัน้ ตอน/วิธกี าร/ดาเนินการเกีย่ วกับขอ้ มลู
-
๔. ชอื่ ผทู้ ่ีถือปฏิบตั ิและผู้สืบทอด
๔.๑ ผูท้ ่ีถือปฏิบตั ิ
ช่ือ นางผล วงศศ์ รีดา
วนั เดือน ปเี กิด 28 กมุ ภาพันธ์ 2497
ทอ่ี ยู่ 113 หมู่ 4 บ้านสันสะอาด ตาบลไมย้ า อาเภอพญาเม็งราย
จงั หวดั เชยี งราย
หมายเลขโทรศัพท์ 087 173 5245
๔.๒ ผูส้ ืบทอด
ชอื่ -
วนั เดือน ปีเกิด -
ท่อี ยู่ -
หมายเลขโทรศัพท์ -
๕. สถานะ การคงอยู่ ปฏิบัติอยา่ งแพรห่ ลาย เสยี่ งต่อการสญู หาย ไมม่ ีปฏบิ ัติแล้ว
.
-302
๖. รปู ภาพภูมิปญั ญาทางวัฒนธรรม/กจิ กรรมทางภูมิปัญญาทางวฒั นธรรม
.
-303-
แบบสำรวจมรดกภมู ิปญั ญำทำงวัฒนธรรมจังหวดั เชียงรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวฒั นธรรมจงั หวดั เชยี งรำย
อำเภอเวยี งชยั จังหวดั เชียงรำย
๑. ช่ือข้อมูล หมอพนื้ เมอื ง
๒. ลกั ษณะ วรรณกรรมพนื้ บ้านและภาษา
ศลิ ปะการแสดง
แนวปฏบิ ตั ิทางสงั คมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล
อาหาร/ความรแู้ ละการปฏิบัติเกี่ยวกบั ธรรมชาติและจักรวาล
งานช่างฝีมือดัง้ เดมิ
การละเล่นพ้นื บา้ น กีฬาพ้นื บ้าน และศลิ ปะการต่อสปู่ ้องกันตวั
๓. รำยละเอยี ดข้อมูล
๓.๑) ประวตั คิ วามเป็นมาของข้อมูล
นายนวล สายเขียว เกิดเม่ือวันที่ 5 มกราคม 2485 ปัจจุบัน อายุ 79 ปี อาศัยอยู่บ้านเลขท่ี 187
หมทู่ ่ี 4 บา้ นจอเจรญิ ตาบลดอนศลิ า อาเภอเวียงชยั จงั หวัดเชียงราย
จากการสะสมประสบการณ์ด้านสมุนไพรมาเป็นเวลานาน นายนวล สายเขียวเป็นอีกผู้หนึ่งที่เป็น
ทย่ี อมรับดา้ นการรกั ษาสุขภาพดว้ ยสมนุ ไพร โดยมตี ารบั ยาท่นี ายนวล สายเขยี ว ปรุงเอง เพอื่ ใช้ในการรักษาโรคตา่ ง ๆ
โดยส่วนประกอบทางยานั้นส่วนใหญ่จะเป็นสมุนไพรพ้ืนบ้านท่ีหาได้ทั่วไป แต่บางชนิดก็เป็นของท่ีหายาก
หรืออาจจะต้องระบุคุณสมบัตเิ ป็นพิเศษ ความสามารถด้านการรักษาสุขภาพด้วยยาสมุนไพร ท่ีปรุงด้วยตนเอง
ถอื เปน็ สง่ิ ทนี่ ายนวลภาคภมู ิใจ และตอ้ งการทอดความรทู้ ีเ่ รยี กได้ว่าเป็นภูมิปัญญาท้องถนิ่ น้ีให้แก่คนรนุ่ ต่อไป
๓.๒) ขัน้ ตอน/วธิ กี าร/ดาเนินการเกยี่ วกบั ข้อมูล
วธิ กี ำรถ่ำยทอดโดยสงั เขป
1. กำรปรงุ ยำสมนุ ไพร
สมุนไพร 7 อยำ่ ง
1. ฮ่อสะพำยควำย ต้นฮ่อสะพายควายเป็นไม้เถาเล้ือยขนาดใหญ่ เกี่ยวพันตามต้นไม้ใหญ่ในป่า
สรรพคุณทางยา เมื่อนามาต้มและดื่มน้าจะทาให้ร่างกายแข็งแรง แต่ต้องดื่มให้ได้ปริมาณเพียงพอ น้าต้ม
มีรสจดื สีใส ผคู้ นจึงนยิ มนาเอาใบเตยใส่ลงไปตม้ กบั ใบฮ่อสะพายควายเพ่มิ รสหอมลงไป
2. มะเขือแจ้เครือ ลักษณะไม้เลื้อยมีเน้ือไม้ กิ่งอ่อน เกลี้ยง ใบเด่ียว ขอบใบเรียบ ปลายใบมีต่ิงแหลม
เล็กน้อย ดอกสีชมพูหรือสีม่วงเป็นช่อมีขนปกคลุม ผลมีสีเขียวหรือบางผลสีแดงอ่อน สรรพคุณทางยา
เถาตม้ ดืม่ มสี รรพคณุ เป็นยาชกู าลงั ลาตน้ ตม้ กับมงุ้ หยวดโดไ่ ม่ร้ลู ้ม ฮอ่ สะพายควาย เขา้ ยาบารุงกาลงั
3. ไม้แก่นฝำง สรรพคุณทางยา รสข่ืนขาหวาน ฝาด รับประทานเป็นยาบารุงโลหิตสตรีขับประจาเดือน
แก้ปอดพิการ ขับหนอง ทาโลหิตให้เย็น รับประทานแก้ท้องร่วง แก้ธาตุพิการ แก้ร้อน แก้โลหิตออกทางทวาร
หนักและเบา รักษาน้ากัดเท้า แก้คุดทะราด แก้เสมหะ แก้โลหิต แก้เลือดกาเดา น้ามันระเหย เป็นยาสมาน
อยา่ งออ่ น แกท้ ้องเดิน
4. เครือเขำแกลบขำวและแดง เป็นไม้พุ่มรอ ก่ิงอ่อนมีขนสีน้าตาล ยิ่งแก่เกล้ียง สีดา ผลย้อยคล้าย
สร้อยลูกปัด คอดเป็นข้อๆ มีได้ถึง 7 ข้อ เม่ือสุกสีดาเป็นมัน ห้อยลง สรรพคุณ ดอกสด มีน้ามันหอมระเหย
ไมม่ ีกลน่ิ หอมเฉพาะตัว เข้ายาหอมบารุงหัวใจ ตน้ และราก ใช้เขา้ ยาอบ รกั ษาอาการติดยาเสพติด
.
-304-
5. ฝกั ข้ีเหลก็ สรรพคณุ ฝัก แก้พิษไขเ้ พ่ือน้าดี พิษไข้เพ่ือเสมหะ ลมข้ึนเบือ้ งสูง เบื้องบน ทาใหก้ ระส่า
กระสายในทอ้ ง เปลอื กฝัก แกเ้ ส้นเอน็ พิการ
6. หัวข้ำวเย็นเหนือ ข้าวเย็นเหนืออยู่คู่กับข้าวเย็นใต้ เป็นไม้เลื้อยลงหัว ไม้เถาขนาดเล็ก ลาต้นมี
หนาม ใบคล้ายใบกลอย รูปไข่ยาวหนา หัว สนี ้าตาลอ่อน เปลือกและเน้อื ในหวั สีแดง รสมนั อรอ่ ยหวานเล็กน้อย
สรรพคุณ
ใชห้ ัว แก้เสน้ พิการ น้าเหลืองเสีย กามโรค เปอ่ื ยพพุ อง
ต้น แก้อัมพาตแกป้ ระดง คุดทะราด น้าเหลืองเสีย แกเ้ สน้ เอ็นพิการ แก้กามโรค
ออกดอก เขา้ ข้อฝีแผลเน่าเปื่อย พุพอง เมด็ ผืน่ คนั ดับพิษในกระดูก แกป้ ัสสาวะ
7. ข้ำวจ้ำว มีรสมันเย็น สรรพคุณ แก้พิษร้อนในกระหายน้า ทาให้ชุ่มชื่นใจ และใช้ตาผสมกับสุรา
ทาแกล้ มพิษ ผ่ืนคนั ไดด้ ี
๔. ชือ่ ผู้ท่ีถอื ปฏิบตั แิ ละผู้สืบทอด
๔.๑ ผ้ทู ีถ่ อื ปฏิบตั ิ
ชือ่ นายนวล สายเขยี ว
วัน เดอื น ปีเกิด 5 มกราคม 2485
ท่อี ยู่ 187 หมู่ 4 บา้ นจอเจริญ ตาบลดอนศิลา อาเภอเวียงชยั จังหวดั เชยี งราย
หมายเลขโทรศัพท์ -
๔.๒ ผู้สืบทอด
ชื่อ -
วัน เดือน ปเี กดิ -
ทอ่ี ยู่ -
หมายเลขโทรศัพท์ -
๕. สถานะ การคงอยู่ ปฏิบัตอิ ย่างแพรห่ ลาย เสี่ยงตอ่ การสญู หาย ไม่มีปฏบิ ัตแิ ล้ว
๖. รปู ภำพภูมปิ ญั ญำทำงวัฒนธรรม/กิจกรรมทำงภูมปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม
.
-305-
แบบสำรวจมรดกภมู ิปัญญำทำงวัฒนธรรมจงั หวดั เชียงรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวัฒนธรรมจังหวดั เชยี งรำย
อำเภอพญำเมง็ รำย จังหวดั เชยี งรำย
๑. ชื่อข้อมูล หมอเมือง ปราชญ์สมนุ ไพร
๒. ลกั ษณะ วรรณกรรมพ้นื บา้ นและภาษา
ศลิ ปะการแสดง
แนวปฏิบตั ทิ างสงั คมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล
อาหาร/ความรู้และการปฏิบัติเกย่ี วกบั ธรรมชาติและจักรวาล
งานชา่ งฝมี ือดั้งเดิม
การละเล่นพ้ืนบา้ น กีฬาพน้ื บ้าน และศิลปะการต่อสู่ป้องกันตวั
๓. รำยละเอยี ดขอ้ มูล
๓.๑) ประวตั ิความเป็นมาของข้อมูล
เม่ือปี พ.ศ.๒๕๓๕ แม่ผล วงศ์ศรีดา ได้ป่วยเป็นโรคไตซ่ึงเป็นโรคท่ีต้องใช้เงินเป็นจานวนมากในการ
รกั ษาซง่ึ เปน็ ไตแบบภูมิแพ้ตัวเองประกอบกับทางบ้านมฐี านะท่ยี ากจน ทางครอบครัวของแม่ผลซ่งึ มีคุณพ่อเป็น
หมอเกี่ยวกับสมุนไพรอยู่แล้วจึงหาทางเลอื กในการรักษาใหแ้ ม่ผล โดยการทดลองใช้สมุนไพรพื้นบ้านมาเป็นตัว
ช่วยในการรักษา หลังจากรักษามาได้ระยะหน่ึงมีอาการดีข้ึนมากตามลาดับ ทาให้แม่ผลมีแนวคิดท่ีจะนา
สมุนไพรมาเปน็ ตวั ชว่ ยในการรักษาโรคไตให้กับคนอน่ื ๆ เพ่ือทีจ่ ะช่วยลดค่าใชจ้ ่ายอีกดว้ ย ในระยะเวลาหลายปี
ท่ีสะสมเร่ืองความรู้สมุนไพรและประกอบกับที่คุณพ่อได้ถ่ายทอดความรู้ด้านสมุนไพร สูตรยาสมุนไพรต่าง ๆ
ให้แม่ผลจึงลงมือปลูกสมุนไพรต่าง ๆ มากมายบริเวณบ้านตัวเองเพ่ือนามาปรุงยาและแปรรูปสมุนไพรต่าง ๆ
เป็นผลิตภัณฑ์เพื่อบรรเทาอาการของโรตไต เบาหวาน ริดสีดวง ปวดประจาเดือน เพิ่มน้านม บารุงกาลัง
ล้างสารพิษ และอื่น ๆ อีกมากมาย จนกระท่งั ปี พ.ศ.๒๕๕๔ แมผ่ ลกม็ อี าการดีข้นึ ทางโรงพยาบาลจึงใหแ้ ค่ตรวจ
สขุ ภาพปลี ะ ๑ คร้งั เทา่ น้นั นบั จากวันนน้ั จนถึงปจั จบุ ันแมผ่ ลก็ยังคงดาเนินการแปรรูปผลติ ภัณฑ์สมนุ ไพรตา่ ง ๆ
เพื่อช่วยเหลือชาวบ้านและคนท่ีต้องการสมุนไพรเป็นทางเลือกในการช่วยบรรเทาอาการป่วย และสมุนไพรทุก
ชนิดเป็นสมุนไพร ออแกนิค 100% จึงม่ันใจได้ว่าจะไม่มีผลเสียต่อร่างกาย และสิ่งที่สาคัญท่ีสุดคือ
ได้อนุรักษ์และสืบสานตารายาสมุนไพรพ้ืนบา้ นไวใ้ หป้ ระชาชนท่ัวไปและลูกหลานได้รู้จกั และนาไปใช้ประโยชน์
รักษาโรคต่าง ๆ สืบไป และแม่ผลได้รับรางวัลคนดีศรีเชียงราย ประจาปี ๒๕๖๑ ในสาขา ความรู้และแนว
ปฏิบัตเิ กย่ี วกับธรรมชาติและจกั รวาล
๓.๒) ขั้นตอน/วิธกี าร/ดาเนินการเก่ียวกับขอ้ มูล
-
๔. ช่ือผูท้ ่ีถือปฏิบัตแิ ละผ้สู บื ทอด
๔.๑ ผูท้ ่ีถือปฏิบัติ
ชือ่ นางผล วงศ์ศรีดา
วัน เดอื น ปีเกดิ 28 กมุ ภาพนั ธ์ 2497
ทอ่ี ยู่ 113 หมู่ 4 บ้านสันสะอาด ตาบลไมย้ า อาเภอพญาเม็งราย
จงั หวดั เชียงราย
หมายเลขโทรศัพท์ 087 173 5245
.
๔.๒ ผ้สู ืบทอด -306-
ช่อื
วนั เดอื น ปเี กดิ นางสาว สุภาภรณ์ วงคศ์ รีดา
ท่อี ยู่ 13 มิถุนายน 2528
113 หมู่ 4 บ้านสนั สะอาด ตาบลไมย้ า อาเภอพญาเม็งราย
หมายเลขโทรศัพท์ จังหวดั เชยี งราย
095 695 6496
๕. สถำนะ กำรคงอยู่ ปฏบิ ัตอิ ย่างแพรห่ ลาย เสย่ี งตอ่ การสูญหาย ไม่มปี ฏิบตั แิ ลว้
๖. รูปภำพภูมปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม/กิจกรรมทำงภูมปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม
.
-307-
แบบสำรวจมรดกภมู ิปัญญำทำงวัฒนธรรมจังหวัดเชยี งรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวฒั นธรรมจังหวัดเชยี งรำย
อำเภอเวียงชยั จงั หวดั เชียงรำย
๑. ช่ือข้อมูล หมอยาสมุนไพร
๒. ลกั ษณะ
วรรณกรรมพนื้ บา้ นและภาษา
ศิลปะการแสดง
แนวปฏบิ ัติทางสงั คมพิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล
อาหาร/ความรแู้ ละการปฏบิ ัติเกย่ี วกับธรรมชาติและจักรวาล
งานชา่ งฝีมอื ดงั้ เดิม
การละเล่นพืน้ บา้ น กีฬาพืน้ บ้าน และศิลปะการตอ่ สู่ป้องกนั ตวั
๓. รำยละเอียดขอ้ มูล
๓.๑) ประวตั คิ วามเปน็ มาของขอ้ มลู
นายฮ่วน หน่อสุวรรณ์ เกิดเม่ือวันที่ 1 เมษายน 2477 ปัจจุบัน อายุ 87 ปี เป็นบุตรของนายส่างคา
นางดว้ ง หน่อสวุ รรณ์ อาศัยอย่บู ้านเลขท่ี 96 หมทู่ ี่ 15 บ้านสันเจรญิ ตาบลดอนศลิ า อาเภอเวียงชยั จงั หวัดเชยี งราย
นายฮ่วน หน่อสุวรรณ์ เป็นผู้มีความรู้ด้านการใช้สมุนไพรหลากหลายชนดิ นามาปรุงเป็น ยาสมุนไพร
ท่ีช่วยในการบาบัดรักษาโรคต่าง ๆ การใช้พืชสมุนไพรท่ีมีอยู่ในท้องถิ่นมาใช้ประโยชน์ เพ่ือรักษาสุขภาพ ถือ
เป็นภูมิปัญญาเฉพาะตน นายฮ่วน หน่อสุวรรณ์ เรียนรู้สรรพคุณทางยาของสมุนไพรต่าง ๆ ด้วยตัวเอง และ
นามาปรุงเป็นยาสมุนไพรจนเป็นที่ยอมรับของคนในชุมชน นอกจากนี้ นายฮ่วน หน่อสุวรรณ์ยังได้มีการจด
บนั ทึกสตู รยาสมนุ ไพรต่าง ๆ ไว้เพอื่ ใหล้ ูกหลานไดเ้ รยี นรูอ้ ีกดว้ ยตอ่ ไป
๓.๒) ขั้นตอน/วิธกี าร/ดาเนินการเก่ียวกบั ขอ้ มลู
หมอยำสมนุ ไพร
วิธีกำรถำ่ ยทอดโดยสงั เขป
สมนุ ไพรบำบดั และรกั ษำโรคเบำหวำน
1. เตยหอม (ใบและรำก) กับใบตน้ สักทอง
วิธีทำ น้าต้นเตยหอมเอาทั้งใบและราก ล้างให้สะอาด ตัดส่วนของใบสักทองและใบเตย หอมอย่างละ
เท่า ๆ กัน เอามาคั่วไปให้เหลืองส่วนรากเตยหอมไม่ต้องคั่ว แต่เอามาทุบให้แตกแล้วใส่ท้ัง 3 อย่างลงไปใน
หม้อต้ม นานา้ ยาท่ีไดม้ าด่มื แทนน้าทุกวนั ประมาณ 1 เดอื น
2. มะระขน้ี ก
วิธีทำ ให้ห่นั มะระขน้ี ก ตากแดดให้แห้ง นามาชงกบั น้าร้อนด่มื หรอื ถ้าตอ้ งการกลบรสขม ให้เติมใบชา
ชนดิ ใดกไ็ ด้ลงไปในขณะทช่ี ง และสงิ่ ท่ตี ้องระมัดระวังเป็นพิเศษ คอื การรบั ประทานเมล็ดของมะระข้ีนก อาจจะ
ทาใหเ้ กดิ อาการปวดศีรษะ เป็นไข้ ปวดท้อง ดังน้ันหากจะนามะระข้ีนกมาทายารับประทาน ต้องแกะเมล็ดเสมอ
สมุนไพรแก้โรคปวอหลังปวดเอว
1. เพชรสังฆำต
วิธที ำ ใช้ส่วนที่เปน็ เถาซ่ึงมรี สร้อนหรือขมคัน ใหน้ าเถาเพชรสงั ฆาตสดยาวประมาณ 1 – 2 น้ิว สอดเข้า
ไปในกล้วยสุกแล้วกินติดต่อกันประมาณ 10 – 15 วัน จะทาให้อาการริดสีดวงทวารดีข้ึน คาเตือนคืออย่ากิน
เถาเพชรสังฆาตสดโดยตรง เพราะจะเกิด อาการคันปากและลาคอได้อีกวิธีหนึ่งคือการทาเป็นแคปซูลขนาด
250 มิลลิกรัม โดยการนาเถาเพชรสังฆาตไปตากแดดให้แห้งแล้วบดละเอียด บรรจุใส่แคปซูล ขนาด250
มิลลกิ รัม เกบ็ ไวก้ ินโดยกินครงั้ ละ 2 แคปซูล วนั ละ 4 ครงั้ (ก่อนอาหารเชา้ กลางวนั เย็น และก่อนนอน) โดยกิน
จนอาการรดิ สีดวงหายเปน็ ปกติ
.
-308-
2. หญำ้ ใต้ใบ
วิธีทำ ใหเ้ อาตน้ หญ้าลกู ใบ (ถอนเอาต้นตลอดถงึ ราก) จานวนมากน้อยตามต้องการนามาลา้ งให้สะอาด
สับเป็นชิ้นเล็ก ๆ ตากแดดให้แห้ง ใส่หม้อดินต้มกับน้าพอสมควร ใช้น้ารับประทานต่างน้าชามีสรรพคุณ
แก้โรคปวดหลงั ปวดเอวโรคไตไดผ้ ลดีอย่างชะงัด
๔. ช่อื ผู้ท่ีถอื ปฏิบัตแิ ละผูส้ ืบทอด
๔.๑ ผ้ทู ่ีถอื ปฏบิ ตั ิ
ชอื่ นายฮ่วน หนอ่ สวุ รรณ์
วนั เดอื น ปีเกดิ 1 เมษายน 2477
ทอี่ ยู่ 96 หมทู่ ี่ 15 บ้านสันเจริญ ตาบลดอนศิลา อาเภอเวียงชยั จงั หวดั เชียงราย
หมายเลขโทรศัพท์ -
๔.๒ ผู้สืบทอด
ชอื่ -
วนั เดอื น ปีเกดิ -
ทีอ่ ยู่ -
หมายเลขโทรศัพท์ -
๕. สถำนะ กำรคงอยู่ ปฏิบัติอยา่ งแพรห่ ลาย เสี่ยงต่อการสญู หาย ไมม่ ีปฏิบตั แิ ล้ว
๖. รูปภำพภูมปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม/กจิ กรรมทำงภูมิปัญญำทำงวฒั นธรรม
.
-309-
แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ญั ญำทำงวฒั นธรรมจงั หวัดเชียงรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวัฒนธรรมจงั หวัดเชยี งรำย
อำเภอแมฟ่ ำ้ หลวง จงั หวดั เชยี งรำย
๑. ชื่อข้อมูล หมตู ๋นุ (ยนู นาน)
๒. ลักษณะ วรรณกรรมพน้ื บ้านและภาษา
ศิลปะการแสดง
แนวปฏิบตั ทิ างสังคมพิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล
อาหาร/ความรแู้ ละการปฏบิ ัตเิ กย่ี วกับธรรมชาตแิ ละจักรวาล
งานช่างฝีมอื ดัง้ เดิม
การละเลน่ พื้นบ้าน กีฬาพน้ื บ้าน และศิลปะการต่อส่ปู ้องกันตัว
๓. รำยละเอยี ดข้อมูล
๓.๑) ประวัตคิ วามเปน็ มาของข้อมูล
โดยทั่วไป เมื่อคนจีนกล่าวถึงอาหารมักจะมีองค์ประกอบสองส่วนอันได้แก่ ข้าว และกับข้าว ข้าว คือ
อาหารจาพวกธัญพืชและแป้ง เป็นหลักที่ขาดไม่ได้ในทุกม้ือ ส่วนกับข้าว คือ เน้ือสัตว์ ผัก เป็นอาหารรอง
หากไม่มีก็เพียงทาให้มื้อนั้นขาดรสชาด ท้ังน้ี ข้าวและกับข้าวต้องมีความสมดลุ อาหารจีนบางชนิดดูผิวเผินเปน็
อาหารเด่ยี ว เช่น เกยี๊ ว ซาลาเปา แต่มสี ่วนผสมครบถว้ นท้งั แป้ง เนือ้ สัตว์ และผกั
กรรมวิธีการปรุง เริ่มจากการคัดสรรวัตถุดิบโดยส่วนใหญ่ใช้วัตถุดิบจากท้องถ่ินเป็นหลัก สังคมเกษตร
ท่ีอยู่ในภูมิภาคแตกต่างกันทาให้มีความหลากหลายในการปรุงอาหาร เม่ือจีนมีการติดต่อกับต่างประเทศก็มี
การนาเข้าวัตถุดิบ เชน่ ข้าวสาลี แพะ แกะ ผักผลไม้ จากแถบเอเชียตะวนั ตกและเอเชียกลาง วิธกี ารปรงุ อาหาร
จนี ทสี่ าคญั มี ต้ม น่ึง ยา่ ง ดอง และตากแห้ง ส่วนการผดั เปน็ วธิ ีทมี่ าทีหลงั
๓.๒) ขนั้ ตอน/วิธกี าร/ดาเนินการเก่ยี วกบั ข้อมูล
นาเน้อื หมแู ละเครื่องเทศมาใสใ่ นหม้อเขา้ ดว้ ยกัน ใสน่ า้ พอท่วม ตนุ๋ ไปในหม้อต๋นุ ประมาณ 6 ชว่ั โมง
หรอื จนเปื่อย ถ้าหากไม่มหี ม้อตนุ๋ ใหใ้ ชห้ ม้อธรรมดา ต้มครัง้ แรกพอเดือด แลว้ ชอ้ นฟองท้ิง เบาไฟต้มรุม ๆ ไป
1 ช่วั โมง ปดิ เตา พอเย็นตม้ ไฟรุม ๆ ใหม่ ไปซกั 3-4 ครง้ั
ระหว่างตุ๋น ไดป้ ระมาณ ครึ่งช่วั โมง ใสเ่ หด็ หอม จะไดเ้ ป่อื ยพรอ้ มกัน
ระหวา่ งตม้ ให้คอยดมกล่ินเครื่องเทศ ถา้ กลนิ่ แรงเกนิ ไป ให้ช้อนเคร่อื งเทศออกบ้างถา้ หอมหัวใหญ่ทง้ั หวั ท่ีต้มไป
ด้วยมนั ฉา่ นา้ ท่ตี ้มแล้ว กช็ อ้ นท้งิ (ท้งั หวั ) เอาหมูตุ๋น ทไ่ี ด้ท่แี ล้ว ทง้ั หมอ้ ใส่ตู้เยน็ สัก 3 ชม. ชอ้ นไขมันท่ลี อยออก
ทิง้ ไปเอาหมู หน่ั ชน้ิ หนาๆ หั่นตามขวางเส้นเนื้อสตั วน์ า้ ซปุ ให้นามากรอง หรือชอ้ นเครือ่ งเทศออกใหห้ มด นาไป
ตั้งไฟใหเ้ ดอื ดอีก
๔. ชอ่ื ผู้ท่ีถือปฏิบตั ิและผ้สู ืบทอด
๔.๑ ผู้ทถ่ี ือปฏิบตั ิ
ชอ่ื นางวรี ยา แซต่ ง
วัน เดอื น ปีเกิด -
ที่อยู่ 267/1 บา้ นห้วยผงึ้ หมู่ 2 ตาบลแมส่ ลองใน อาเภอแม่สลองใน
อาเภอแมฟ่ ้าหลวง จังหวดั เชยี งราย
หมายเลขโทรศัพท์ 087 172 2648
.
๔.๒ ผ้สู ืบทอด -310-
ช่อื
วัน เดอื น ปเี กดิ -
ทีอ่ ยู่ -
-
หมายเลขโทรศัพท์ -
๕. สถำนะ กำรคงอยู่ ปฏิบัตอิ ย่างแพร่หลาย เส่ยี งตอ่ การสูญหาย ไมม่ ปี ฏิบตั แิ ล้ว
๖. รูปภำพภูมิปัญญำทำงวัฒนธรรม/กจิ กรรมทำงภูมปิ ัญญำทำงวฒั นธรรม
.
-311-
แบบสำรวจมรดกภมู ิปัญญำทำงวฒั นธรรมจงั หวดั เชียงรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวัฒนธรรมจังหวดั เชยี งรำย
อำเภอแมจ่ ัน จงั หวัดเชียงรำย
๑. ช่ือข้อมูล หอ่ น่งึ ไกเ่ มืองข้าวควั่
๒. ลกั ษณะ วรรณกรรมพื้นบา้ นและภาษา
ศิลปะการแสดง
แนวปฏบิ ตั ทิ างสงั คมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล
อาหาร/ความรแู้ ละการปฏบิ ตั เิ กีย่ วกับธรรมชาติและจักรวาล
งานช่างฝีมอื ดงั้ เดิม
การละเลน่ พน้ื บา้ น กีฬาพ้ืนบ้าน และศลิ ปะการตอ่ สปู่ ้องกนั ตัว
๓. รำยละเอียดข้อมลู
๓.๑) ประวตั คิ วามเป็นมาของขอ้ มูล
ห่อน่ึงไก่เมืองข้าวค่ัว เป็นอาหารของทางภาคเหนือ โดยการนาเน้ือไก่พันธ์พุ ื้นเมืองมาผดั กับเครื่องแกง
ใส่ผัก ใส่ขา้ วค่วั ผสมเพ่ือเพิ่มความข้นของอาหาร จากนนั้ นาไปห่อใบตองแล้วไปนง่ึ ให้สุก ชาวบ้านปา่ ตึง อาเภอ
แม่จัน จังหวัดเชียงรายนิยมรับประทานวันสาคัญตามเทศกาลต่างๆ และนิยมนาห่อนึ่งไก่ไปทาบุญที่วัด คุณค่า
ทางโภชนาการ เน้อื ไกส่ ามารถหาทานได้ท่ัวไป มโี ปรตีนทีม่ ีประโยชน์ชว่ ยในการเจริญเติบโตของร่างกาย อกี ท้ัง
ส่วนผสมเคร่ืองแกงยังมีคุณค่าทางโภชนาการ เช่น ตะไคร้แก้และบรรเทาอาการหวัด อาการไอ ข่า ช่วยบารุง
ร่างกาย กระเทยี มช่วยเสริมสรา้ งการเจริญเติบโตของเน้ือเยื่อในร่างกายชว่ ยป้องกันการเกิดโรคมะเร็ง และช่วย
เสรมิ สรา้ งภูมิต้านทานให้กบั รา่ งกาย มะแขวน่ ช่วยย่อยอาหาร และรกั ษาโรคทางระบบทางเดินอาหาร
๓.๒) ข้ันตอน/วิธีการ/ดาเนินการเกีย่ วกับขอ้ มูล
สว่ นประกอบ
1. เคร่ืองแกง
พริกแห้งเม็ดเล็ก กระเทียม หอมแดง กะปิ เกลือ ถ่ัวเน่า ข่า ตะไคร้ มะแขว่น เคร่ืองเทศ
รากผักชี และขา้ วค่วั
2. สว่ นประกอบหลัก
เนื้อไก่พันธ์ุพื้นเมือง ใบตาลึง ดอกแค ถั่วฝักยาว หรือถั่วพู มะเขือพวง สะค้าน (จักคาด)
พริกข้หี นูสวน
ขน้ั ตอนกำรทำ
1. โขลกเคร่ืองแกงท้งั หมดเข้าดว้ ยกัน
2. หนั เนอื้ ไก่ และผักแยกพักไว้
3. ผัดเครือ่ งแกงกับนา้ มนั พชื ใหห้ อม ใส่ไก่ห่นั เป็นช้นิ พอไก่สุกเตมิ น้าคัวจนแตกมนั ประมาณ 2
ชั่วโมง จนเครือ่ งแกงเข้ากับเน้ือไก่
4. แยกเนอื้ ไกแ่ ละน้าเครื่องแกงออกจากกนั
5. นาน้าเคร่อื งแกงและผักทั้งหมดผัดด้วยไฟอ่อนๆ ผกั ใกลส้ กุ ใสข่ ้าวคว่ั คลกุ เคล้าใหเ้ ข้ากัน
6. เตรียมใบตองกว้างประมาณ 8 นว้ิ ตัดหัวตดั ท้าย นามาซ้อนกันสองชั้น ตักผกั ท่ีผัด
และเนอ้ื ไก่ ไวใ้ สบ่ นใบตอง
7. ฉีกใบตองกว้างประมาณ 3 นว้ิ หอ่ ด้านนอกอีก 1 ช้ัน ใช้ไม้กลดั กลดั ใบตอง
8. ใชก้ รรไกรตัดแตง่ ห่อใบตองให้สวยงาม
9. นาลงนึง่ ในลังถึง ประมาณ 40 นาที
.
-312-
๔. ชื่อผทู้ ี่ถือปฏิบตั แิ ละผสู้ บื ทอด
๔.๑ ผูท้ ีถ่ อื ปฏิบัติ
ช่อื นางจนั ทร์สวย อมุ า
วัน เดือน ปเี กิด -
ท่อี ยู่ 166 หมู่ 8 ตาบลปา่ ตงึ อาเภอแมจ่ นั จงั หวดั เชยี งราย
หมายเลขโทรศัพท์ 081 603 5061
๔.๒ ผสู้ บื ทอด
ชอ่ื นายกิตตชิ ยั อมุ า
วัน เดอื น ปีเกิด -
ที่อยู่ 166 หมู่ 8 ตาบลปา่ ตงึ อาเภอแมจ่ นั จงั หวัดเชียงราย
หมายเลขโทรศัพท์ 081 603 5061
๕. สถำนะ กำรคงอยู่ ปฏิบตั ิอย่างแพร่หลาย เสย่ี งต่อการสูญหาย ไมม่ ีปฏบิ ัติแลว้
๖. รูปภำพภมู ิปัญญำทำงวัฒนธรรม/กิจกรรมทำงภูมปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม
การตาเคร่ืองแกงห่อน่ึงไก่เมืองขา้ วคว่ั
นานา้ เครื่องแกงและผกั ทัง้ หมดผัดดว้ ยไฟอ่อน ๆ นาเน้ือไกเ่ มืองและผกั ห่อดว้ ยใบตอง
นาห่อน่ึงไก่เมืองข้าวค่ัวลงน่ึงในลงั ถึง ประมาณ 40 นาที ห่อนงึ่ ไกเ่ มืองขา้ วคัว่ เมอื่ สุกแลว้
.
-313-
แบบสำรวจมรดกภมู ิปัญญำทำงวฒั นธรรมจงั หวดั เชียงรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวัฒนธรรมจังหวัดเชยี งรำย
อำเภอเวยี งแกน่ จงั หวดั เชียงรำย
๑. ช่อื ข้อมูล เหล้าอุ หรอื สุราหมัก
๒. ลกั ษณะ วรรณกรรมพื้นบา้ นและภาษา
ศลิ ปะการแสดง
แนวปฏบิ ัติทางสังคมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล
อาหาร/ความรแู้ ละการปฏบิ ตั ิเกี่ยวกับธรรมชาติและจกั รวาล
งานช่างฝมี อื ดงั้ เดมิ
การละเลน่ พนื้ บา้ น กีฬาพน้ื บ้าน และศลิ ปะการตอ่ สูป่ ้องกนั ตวั
๓. รำยละเอยี ดขอ้ มลู
๓.๑) ประวัตคิ วามเป็นมาของข้อมลู
เหล้าไห (เหล้าอุ) เป็นสุราหมักอินทรีย์ ในภูมิปัญญาของชนเผ่า ขมุ ในพ้ืนที่อาเภอเวียงแก่น ท่ีใช้เป็น
เครือ่ งดม่ื ท่ีมีแอลกอฮอลไ์ มเ่ กนิ 20 % เหลา้ อขุ องชนเผ่าขมุ ทามาจากขา้ วเหนียวที่สเี ป็นขา้ วสารแล้วนามาล้าง
ทาความสะอาดพร้อมกับแกลบหยาบ ผ่ึงให้แห้งนาท้ัง 2 อย่างมาบรรจุในไหดินในปริมาณท่ีเหมาะสม
เติมน้าเปล่าให้ท่วมพอดี ปิดฝาไหให้สนิท ทิ้งไว้ 2 - 3 วัน หรือหลายวัน ก็สามารถนามาดื่มได้ มีกลิ่นหอมชวนดื่ม
และเป็นเคร่ืองด่ืมที่ชนเผ่า ขมุ ในหมู่บ้านปกติจะเป็นเครื่องด่ืมที่ใช้ในงานประเพณีของชนเผ่าขมุ เช่นเทศกาล
ปีใหม่ ขึน้ บ้านใหม่ แต่งงาน หรือกิจกรรมงานพธิ ีทางความเชอื่ ของชมุ ชน และใชต้ ้อนรบั แขกผมู้ าเยอื น
เหล้าไห(เหล้าอุ) เป็นเครื่องด่ืมพ้ืนบ้านที่ผลิตขึ้นจากข้าวเหนียวผสมแกลบแล้วหมักในไห จากนั้นปิด
ด้วยข้ีเถ้าจนสนิท เวลาดื่มต่างจากสุราพื้นบ้านทั่วไปตรงที่ต้องเติมน้า แล้วใช้หลอดที่ผลิตจาก “ไม้ซาง” ไม้ไผ่
ชนิดหนึ่งท่ีมีขนาดลาเล็ก เจาะลงไปแล้วด่ืม ซึ่งมักใช้ด่ืมนงานประเพณีต้อนรับแขก โดยล้อมวงดื่มแล้วเวียนไห
ไปรอบวงเป็นเคร่อื งดื่มเชิงวฒั นธรรม
๓.2) ขน้ั ตอน/วิธกี าร/ดาเนินการเกยี่ วกบั ขอ้ มูล
เหล้า ๑ ไห จะใช้วสั ดุ ดังน้ี
๑. ขา้ วกลอ้ ง ๑ กิโลกรัม
๒. แกลบ ๓ ขีด
๓. หัวเชือ้ ๑.๕ ขดี
การทาข้ึนอยู่กับอุปกรณ์ สว่ นมากแลว้ จะทาครั้งหนงึ่ ประมาณ ๒๐ ไห โดยการนาข้าวกล้องไปแช่น้าไว้
๑ คนื จากน้นั นาแกลบมาคลุกเคล้าให้เข้ากัน เสรจ็ แลว้ นาไปนึ่งใหส้ ุก นาออกมาผึง่ ลมให้ขา้ วเยน็ จากนน้ั นาหัว
เชือ้ มาคลุกเคล้าให้เข้ากันแล้วนาไปหมกั ไวท้ ไี่ หมังกรขนาดใหญ่ จานวน ๓ คนื แลว้ นาออกมาบรรจุใส่ไห แลว้ ใช้
ใบตองปดิ ปากไหก่อน แลว้ เอาขเ้ี ถ้าผสมน้าพอเป็นก้อนปิดทับอีกครง้ั หนึ่ง จากนั้นหมักไว้อีก ๑๕ วนั ก็สามารถ
นามาดม่ื ได้แลว้
๔. ชอ่ื ผทู้ ่ีถอื ปฏิบตั แิ ละผสู้ บื ทอด
4.๑ ผทู้ ี่ถือปฏบิ ตั ิ
ชื่อ นางสาวนภาพร สมศรี
วนั เดอื น ปเี กิด -
ท่ีอยู่ 96 หมู่ 6 ตาบลหล่ายงาว อาเภอเวียงแกน่ จงั หวัดเชียงราย
หมายเลขโทรศพั ท์ 086 183 5193
.
-๓14-
4.๒ ผู้สืบทอด นางโลม เช้ือน้อย
ช่อื -
วนั เดอื น ปเี กิด
ที่อยู่ บ้านห้วยเอยี น ตาบลหลา่ ยงาว อาเภอเวียงแก่น จังหวดั เชยี งราย
หมายเลขโทรศัพท์ -
๖. สถำนะ กำรคงอยู่ ปฏิบัตอิ ยา่ งแพรห่ ลาย เสยี่ งตอ่ การสูญหาย ไม่มีปฏิบตั แิ ลว้
๗. รปู ภำพภูมิปัญญำทำงวัฒนธรรม/กิจกรรมทำงภูมปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม
.
-๓15-
แบบสำรวจมรดกภมู ิปัญญำทำงวัฒนธรรมจงั หวดั เชยี งรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวฒั นธรรมจงั หวัดเชยี งรำย
อำเภอแมส่ ำย จังหวดั เชยี งรำย
๑. ช่ือข้อมูล โหราศาสตร์
๒. ลักษณะ วรรณกรรมพืน้ บา้ นและภาษา
ศิลปะการแสดง
แนวปฏบิ ัตทิ างสงั คมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล
อาหาร/ความรูแ้ ละการปฏบิ ตั ิเกีย่ วกับธรรมชาติและจกั รวาล
งานช่างฝมี อื ด้งั เดมิ
การละเลน่ พื้นบ้าน กีฬาพ้ืนบ้าน และศิลปะการตอ่ ส่ปู ้องกันตัว
๓. รำยละเอียดข้อมูล
๓.๑) ประวัติความเปน็ มาของขอ้ มูล
โหรำศำสตร์ (อังกฤษ: astrology) เป็นศาสตร์หนึ่งที่ไม่ได้รับการยอมรับทางวิทยาศาสตร์ มีความ
เก่ยี วข้องกบั การทานายอนาคต หรือ โชคชะตาของมนุษย์, ปรากฏการณต์ ่าง ๆ ของบา้ นเมอื งและของโลก โดย
อาศัย เวลา และ ตาแหน่งของดวงดาวต่าง ๆ บนท้องฟ้า เป็นสาคัญ แล้วบันทึกไว้เป็นสถิติ โหราศาสตร์ เป็น
วิชาที่ต่างกับวิทยาศาสตร์ ด้วยแม้จะสามารถพิสูจน์ทราบได้โดยใช้กฎเกณฑ์ และเหตุผลในทางโหราศาสตร์
นามาทดลอง พิสูจน์ให้เห็นประจักษ์ สามารถสรุปออกมาเป็นทฤษฎีได้ ไม่ว่าจะทดลองกี่คร้ัง ที่ใด ๆ ในโลก
เช่นเดียวกับวิทยาศาสตร์ โหราศาสตร์ก็ยังคงเป็นวิชาที่ค่อนข้างลึกลับ ด้วยเหตุนี้นักวิทยาศาสตร์จึงไม่รับรอง
โหราศาสตร์ว่าเป็นศาสตร์อย่างหน่งึ อย่างไรกต็ ามทางรัฐบาลอนิ เดียได้มีการประกาศเม่ือวนั ท่ี 11 พค. 2544
ให้มีการสอนวชิ าโหราศาสตรใ์ นมหาวิทยาลัยได้
วิชาโหราศาสตร์มีหลายระบบและมีความแตกต่างกัน แบ่งออกเป็น โหราศาสตร์ไทย โหราศาสตร์
สากล โหราศาสตรจ์ ีน โหราศาสตรย์ เู รเนียน การพยากรณ์ในโหราศาสตร์ต้องอาศัยโหรผมู้ ีความรู้ความชานาญ
ในการผกู ดวงและเปน็ ผู้พยากรณ์เพ่ือตีความหมายเป็นโอกาสของการเกิดเหตุการณต์ ่าง ๆ ในอนาคต
โหราศาสตร์ เป็นสาขาหนึ่งของการพยากรณ์และเน่ืองจากการใช้ตาแหน่งของดวงดาวจึงมีความ
เก่ยี วข้องกบั วชิ าดาราศาสตร์
ทฤษฎีหรอื หลกั วชิ าท่ีใช้ในการ "อ่าน" หรือ "แปล" การโคจรของดวงดาว เพ่อื เปน็ การทานายเหตุการณ์
นน้ั ก็มีหลากหลายและแตกต่างกัน สาหรับในประเทศไทย หลักวชิ าที่ใช้ถา่ ยทอดกันกม็ ี โหราศาสตร์ไทย
โหราศาสตร์ภารตะ โหราศาสตรพ์ มา่ โหราศาสตร์สากลยูเรเนยี น โหราศาสตร์พาราณสี
ทั้งนี้ โหราศาสตร์ไทยกย็ งั แบง่ แยกออกเป็นอีกหลายสานักและหลายสายวิชา เชน่ โหราศาสตร์ไทยสาย
วชิ า อ.อรุณ ลาเพญ็ โหราศาตร์ไทยสายสบิ ลคั นา โหราศาสตรไ์ ทยระบบลัคนาจร โหราศาสตร์ไทยสายวิชา อ.
ประทปี อัครา โหราศาสตรไ์ ทยสายวชิ า อ.ส.แสงตะวัน โหราศาสตร์ไทยหลักสตู รอินทภาส-บาทจันทร์
และปจั จุบนั สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจา้ คณุ ทหารลาดกระบัง ได้มีการเปิดการสอนวชิ าเลือกท่ี
ชื่อว่า “โหราศาสตร์” ใหแ้ กน่ ักศกึ ษาคณะวศิ วกรรมศาสตร์
.
-๓16-
๓.๒) ข้ันตอน/วิธีการ/ดาเนินการเกย่ี วกบั ข้อมูล
๔. ชือ่ ผทู้ ่ีถือปฏิบัติและผสู้ บื ทอด
๔.๑ ผทู้ ีถ่ ือปฏบิ ัติ
ช่อื ว่าที่ พ.ต สรุ ิยะ กูลพิมาย
วนั เดือน ปเี กดิ -
ทอ่ี ยู่ 77 หมู่ 1 ตาบลแม่สาย อาเภอแมส่ าย จังหวัดเชียงราย
หมายเลขโทรศัพท์ 081 531 9093
๔.๒ ผสู้ บื ทอด
ชื่อ -
วนั เดอื น ปเี กดิ -
ทีอ่ ยู่ -
หมายเลขโทรศัพท์ -
๕. สถำนะ กำรคงอยู่ ปฏิบตั ิอย่างแพรห่ ลาย เสยี่ งตอ่ การสญู หาย ไมม่ ีปฏบิ ตั แิ ลว้
๖. รูปภำพภมู ปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม/กจิ กรรมทำงภูมปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม
.
-๓17-
แบบสำรวจมรดกภมู ิปัญญำทำงวฒั นธรรมจงั หวดั เชียงรำย ประจำปี ๒๕๖4
สำนกั งำนวฒั นธรรมจงั หวัดเชยี งรำย
อำเภอแม่จัน จังหวดั เชียงรำย
๑. ช่ือข้อมลู อาหารชาติพนั ธุไ์ ทยอง
๒. ลกั ษณะ วรรณกรรมพ้ืนบา้ นและภาษา
ศิลปะการแสดง
แนวปฏบิ ตั ิทางสังคมพิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล
อาหาร/ความรู้และการปฏิบตั เิ กีย่ วกบั ธรรมชาตแิ ละจกั รวาล
งานช่างฝีมือด้ังเดิม
การละเล่นพืน้ บา้ น กีฬาพ้ืนบา้ น และศิลปะการตอ่ ส่ปู ้องกนั ตวั
๓. รำยละเอยี ดข้อมลู
๓.๑) ประวัติความเป็นมาของข้อมลู
ชาวไทยองนยิ มอาหารประเภทน้าพรกิ แกง ตม้ นง่ึ ป้งิ หมก ยา่ ง ทท่ี าจากพืชผัก เนื้อสตั ว์เชน่ เดียวกับ
กลมุ่ ชาตพิ ันธไ์ุ ทยวน เชน่ แกงแคไก่ แกงหยวกกลว้ ย น้าพริกผักนงึ่ จอผักกาด เปน็ ตน้ ซงึ่ เปน็ อาหารท่ีกลา่ วได้
ว่าเป็นเอกลักษณ์ของอาหารล้านนา รับประทานกับข้าวเหนียว ส่วนอาหารเดิมของชาวเมืองยองประเทศพม่า
ทสี่ ืบทอดต่อมาถงึ ปจั จบุ ันเป็นอาหารประเภทผักท่หี าได้ตามฤดูกาลในท้องถ่นิ เช่น ผักกดู เตา ใช้ยาหรอื แกง เป็นต้น
๓.๒) ขั้นตอน/วธิ ีการ/ดาเนนิ การเกี่ยวกับขอ้ มลู
นำ้ พรกิ นำ้ ผัก
น้าพรกิ นา้ ผัก เป็นนา้ พริกที่มีลักษณะขน้ ถึงขลุกขลกิ เป็นอาหารท่ีทามาจากผกั กาดเขยี วแก่
ทง้ั ต้น นามาดองสกั 2 วัน ให้มรี สเปรยี้ ว นิยมรับประทานกับแคบหมูและผักข้ีหูด
สว่ นประกอบ
1. ผกั กาดเขียว จานวน 3 ขดี
2. เกลอื เม็ดตาละเอยี ด (ไม่ใช้เกลอื ไอโอดีน) จานวน 1 ช้อนโต๊ะ
3. ขา้ วเหนียวนึง่ จานวน 1 ช้อนโตะ๊
4. น้าซาวขา้ ว จานวน 1 ถ้วย
5. พรกิ แหง้ จานวน 5 เม็ด
6. กระเทยี ม จานวน 3-5 กลีบ
7. เกลือป่น จานวน 1 ช้อนชา
8. มะแขวน่ จานวน 1 ช้อนชา
9. ต้นหอมผักชซี อย จานวน 1 ชอ้ นโต๊ะ
วิธกี ารทา
1. หันผกั กาดเขียวใหล้ ะเอียด
2. นาผักกาดเขยี วไปตากแดดประมาณ 10 นาที เพื่อใหน้ ุ่มกอ่ นนามาขยา
3. ขยาผักกาดเขยี วกับเกลอื เมด็ จนน่ิม
4. ใส่ข้าวเหนียวนง่ึ ลงไป ขยาใหเ้ ข้ากนั
5. ใส่นา้ ซาวข้าว ปดิ ฝา หมักไวป้ ระมาณ 2 วนั
6. หมักผกั กาดเขียวได้ที่แลว้ นาผกั กาดมาตม้ ใหน้ า้ งวดเล็กน้อย ปิดไฟพกั ไวใ้ ห้เย็น
.
-๓18-
7. โขลกพลิก เกลือ กระเทียม และมะแขวน่ รวมกันให้ละเอยี ด
8. ใสเ่ ครื่องปรุงท่ีโขลกแล้วลงในน้าผัก คนใหเ้ ข้ากนั โรยด้วยตน้ หอมผกั ชซี อย
ยำผักกำดใส่ผักปู่ย่ำ
ส่วนประกอบ
1. ผักกาด จานวน 3 ขดี
2. ผกั ปยู่ า่ จานวน 1 กามือ
3. มะกอก หรือมะนาว จานวน 1 ลกู
4. ปลานิล จานวน 1 ตวั
5. ตะไคร้ จานวน 5 หวั
6. รากผักชี จานวน 5 ราก
7. เกลอื จานวน 1 ชอ้ นโต๊ะ
8. กะปิ จานวน 1 ชอ้ นโต๊ะ
9. กระเทียม จานวน 5 กลีบ
10. พริกหนมุ่ ยา่ งไฟ จานวน 3-5 เม็ด
11. ตน้ หอมผกั ชีซอย จานวน 1 ช้อนโตะ๊
วิธีการทา
1. เดด็ ผกั ป่ยู ่าซอยรวมกนั กับผักกาด
2. ตง้ั น้าเดอื ด นาเน้ือปลานลิ ตะไคร้ รากผกั ชี และกะปิ ลงไปตม้ พรอ้ มกนั
3. แกะเนือ้ ปลาที่ต้มสกุ แลว้ (เอากางปลาออกให้หมด)
4. โคลกพรกิ หน่มุ ย่างไฟ เกลือ กระเทียมเขา้ ด้วยกัน
5. นาเนอ้ื ปลาทแ่ี กะแลว้ โคลกกบั นา้ พริก ตาจนเนื้อเขา้ กันละเอียดพอควร
6. นาน้าพริกทตี่ าพร้อมกับเนื้อปลามาคลุกเคลา้ กบั ผกั ป่ยู า่ และผักกาดท่ีซอยไว้ใหเ้ ข้ากนั
7. ปรงุ รสด้วยมะกอก หรอื มะนาว พร้อมด้วยเกลือเลก็ น้อย โรยด้วยต้นหอมผกั ชซี อย
ผกั กำดจอ
ผักกาดจอ จอผักกาด เป็นตารับอาหารท่ีใช้ผักกาดกวางตุ้งที่กาลังออกดอก หรือเรียกว่า
ผักกาดจ้อน หรือผักกาดดอก ซ่ึงปรุงด้วย เกลือ กะปิ ปรุงรสด้วยน้ามะขามเปียกหรือมะขามสด ใส่กระดูกหมู
ซึ่งบางแห่งนยิ มใสน่ า้ ออ้ ย ลงไปด้วย บางสตู รใสถ่ ั่วเนา่ แข็บ หรือถ่ัวเน่าแผน่ ยา่ งไฟ นยิ มรับประทานกบั พริกแห้ง
ทอด ตัดเปน็ ทอ่ น โรยหน้าแกง หรอื รับประทานตา่ งหากแลว้ แต่ชอบ
ส่วนประกอบ
1. ผักกาดกวางตุ้ง จานวน 1 กิโลกรัม
2. ซ่โี ครงหมู จานวน 400 กรัม
3. หอมแดง จานวน 5 หวั
4. กระเทียม จานวน 10 กลบี
5. ถ่วั เน่า จานวน 2 แผน่
6. กะปิ จานวน 2 ชอ้ นโตะ๊
7. นา้ มะขามเปียก จานวน 3 ชอ้ นโตะ๊
8. เกลอื ปน่ จานวน 1 ชอ้ นชา
.
-๓19-
วธิ ีการทา
1. ต้มนา้ จนเดอื ด ใสซ่ ี่โคลงหมูลงไป ต้มจนหมสู ุก
2. โขลกกระเทยี ม หอมแดง กะปิ เกลือ ถวั่ เน่า รวมกนั ให้ละเอยี ด ใสล่ งในหม้อ
3. เดด็ ผักกาด ใส่ผกั กาดลงไปในหมอ้
4. ใส่น้ามะขามเปียก คนให้ท่ัว ปิดไฟ
5. โรยด้วยตน้ หอมผกั ซี พรกิ ทอด
ค่วั ถั่วเน่ำ
ค่ัวถั่วเน่า เปน็ อาหารที่ทามากจากถั่วเหลอื งต้มเป่ือยหมัก และนามาโขลกให้ละเอยี ด
ห่อใบตอง และย่างไฟ
สว่ นประกอบ
1. ถว่ั เนา่ จานวน 1 ถว้ ย
2. ไขไ่ ก่ จานวน 3 ฟอง
3. หอมแดง จานวน 5 หัว
4. ข่าหน่ั จานวน 10 แว่น
5. ตระไครห้ ัน จานวน 2 ช้อนโตะ๊
6. ใบมะกรูดซอย จานวน 2 ช้อนโตะ๊
7. พรกิ ปน่ จานวน 2 ช้อนโต๊ะ
8. เกลือ จานวน 1 ชอ้ นชา
9. กระเทยี มสบั จานวน 1 ชอ้ นโต๊ะ
10. น้ามันพืช จานวน 3 ช้อนโตะ๊
วธิ กี ารทา
1. โขลกเกลอื ขา่ ตระไคร้ รวมกันให้ละเอียด
2. ใสห่ อมแดง พริกป่น โขลกรวมกันใหล้ ะเอียด
3. ใส่ใบมะกรูด โขลกจนใบมะกรูดละเอียด
4. ใส่ถวั่ เนา โขลกจนส่วนผสมเขา้ กนั
5. เจียวกระเทยี มกนั นา้ มัน ใสส่ ่วนผสมทโี่ ขลกลงผัดใหห้ อม
6. ใสไ่ ข่ไก่ ผดั ใหเ้ ข้ากนั
7. ผัดตอ่ จนไข่ไก่สกุ ปิดไฟ
๔. ช่อื ผ้ทู ี่ถือปฏิบตั แิ ละผสู้ บื ทอด
๔.๑ ผู้ทถ่ี อื ปฏิบัติ
ชอ่ื นางสงั เวียน ปรารมภ์
วนั เดือน ปเี กดิ -
ทอี่ ยู่ ๑๑๓ หมู่ ๑๒ ตาบลจันจว้าใต้ อาเภอแมจ่ นั จงั หวดั เชียงราย
หมายเลขโทรศัพท์ 086 922 5679
๔.๒ ผู้สบื ทอด
ช่ือ นายอานนท์ ใจลังกา
วนั เดอื น ปีเกดิ 26 มีนาคม 2533
ท่อี ยู่ 53 หมู่ 12 ตาบลจนั จวา้ ใต้ อาเภอแม่จนั จงั หวัดเชียงราย
หมายเลขโทรศัพท์ 064 879 9443
.
-๓20-
๕. สถำนะ กำรคงอยู่ ปฏิบตั ิอย่างแพร่หลาย เสี่ยงตอ่ การสูญหาย ไมม่ ีปฏบิ ตั แิ ลว้
๖. รปู ภำพภูมปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม/กจิ กรรมทำงภูมปิ ัญญำทำงวฒั นธรรม
การทาน้าพริกนา้ ผัก
ยาผกั กาดใสผ่ กั ป่ยู ่า
.
-๓21-
การทาคั่วถั่วเน่า
การทาจอผกั กาด
.
-๓22-
อาหารขันโตกชาติพันธ์ไุ ทยอง
.
-๓23-
แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ญั ญำทำงวัฒนธรรมจังหวดั เชยี งรำย ประจำปี 2565
สภำวัฒนธรรมจังหวัดเชยี งรำย
อำเภอเชยี งแสน จงั หวัดเชยี งรำย
1. ชื่อข้อมูล ปลากระบอก
2. ลักษณะ วรรณกรรมพื้นบา้ นและภาษา
ศลิ ปะการแสดง
แนวปฏบิ ัติทางสงั คมพิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล
อาหาร/ความรูแ้ ละการปฏิบตั เิ กีย่ วกับธรรมชาติและจักรวาล
งานช่างฝีมือดั้งเดิม
การละเล่นพนื้ บา้ น กีฬาพ้นื บา้ น และศลิ ปะการตอ่ สปู่ ้องกนั ตัว
3. รำยละเอยี ดขอ้ มลู
3.1 ประวัตคิ วามเปน็ มาของขอ้ มลู
ในอดีตคนเหนือสมัยโบราณไม่มีตู้เย็น และอุปกรณ์อย่างเช่น ป่ินโตหรือภาชนะใส่อาหาร ห่อข้าวปลา
อาหารไปทาไร่ทานา ทาสวน ปลาเมื่อสมัยก่อน 50 ปีให้หลังแต่ละแม่น้าจะมีปลามากมาย โดยเฉพาะ
“ปลาช่อน” ซ่ึงเม่ืออยู่บนดอยไปทาไร่ก็มักจะนาไม้ไผ่มาตัดเป็นปล้อง แล้วจึงนาปลาช่อนใส่เข้าไปในกระบอก
ไมไ่ ผ่ สามารถพกพาหรอื เกบ็ ไวก้ นิ มอื้ อื่น ๆ ได้อีก โดยชาวบ้านกจ็ ะพกแต่พรกิ เกลือ หอม ตะไคร้ เพอ่ื ไว้ปรุงรส
ปลากระบอก ถงึ ปัจจบุ นั น้ีได้นา เมนนู ้ีออกมาจาหนา่ ยแถวรมิ แม่น้าโขง และปรุงรส เพอื่ เสรมิ รสชาติใหอ้ ร่อยมากย่งิ ขึ้น
วสั ด/ุ อปุ กรณ์
- ไมไ้ ผบ่ ง (ซาง)
- ไม้ไผซ่ าง
- ไม้ข้าวหลาม
เน่ืองจากการใช้อุปกรณ์วัสดุท่ีแตกต่างกัน ทาให้รสชาติไม่เหมือนกัน รสแกงพริกป่าจะนิยมใช้ไม้ไผ่บง
(ซาง) รสพริกแกงส้ม เฉพาะไม้บง แกงเผ็ดจะมีกะทิ นิยมใช้ไม้ข้าวหลาม แต่ละชนิดของไม้ไผ่ รสชาติจะต่าง ๆ
กนั ไป จะทากินกนั แทบจะทุกบ้าน ทุกครวั เรือนในเมอื งเชยี งแสน
เมนูสุดเด็ด ของเมืองเชียงแสนแห่งนี้ พลาดไม่ได้เลยคือ ปลาช่อนกระบอกไม้ไผ่ เผาร้อน ๆ มีความ
แปลกและรสชาติท่ีเด่น จนเป็นท่ีรู้จักอย่างแพร่หลาย โดยการนาอาหารคือปลา มาบรรจุไว้ในกระบอกไม้ไผ่
แลว้ นามาเผาใหส้ กุ ทาใหม้ ีกล่นิ ท่ีหอม
3.2 ขน้ั ตอน วธิ ีการดาเนนิ การเก่ยี วกบั ขอ้ มูล
เครื่องแกง ประกอบด้วย พริกแห้ง กระเทียม หอมแดง ตะไคร้ ข่า ขมิ้น รากผักซี กะปิ เกลือ
วัตถุดบิ ไดแ้ ก่ ปลาชอ่ น
วิธีทาปลากระบอก
1. ขอดเกล็ดปลาชอ่ นและควักไส้พงุ
2. จากนั้นนาเกลือตามด้วยพริกแห้ง กะปิ ขมิ้น หอมแดงหั่น ตะไคร้หั่น กระเทียม คนอร์ก้อน
ใสล่ งไปในครกแลว้ ตา
3. จากนน้ั นาปลาท่ีเราเอาเกล็ดออกมาปาดตามขวาง ตามลาตัวของปลาชอ่ น
4. จากนัน้ นาพริกแกงท่ีเราตาในครกมาคลกุ เคลา้ กับปลาชอ่ นท่ีเตรียมไว้
5. ผสมผสานใบหย่ลี า่ ลงไป
6. นากระบอกไมไ้ ผ่ซางมาแลว้ ใส่ปลาชอ่ นที่ได้ผสมผสานเครอื่ งแกงลงไปในกระบอกไม้ไผ่ซาง
7. จากนน้ั นาใบเตยมาปดิ ปากกระบอกไม้ไผ่ซางไว้
8. จากนน้ั ปิดด้วยในตองอีกหนึง่ ช้ัน
9. แลว้ นาไปองั ไฟให้สุก (เผาไฟเหมอื นข้าวหลาม)อมกาลังดี แล้วนามาปรุงเปน็ กบั ขา้ วตอ่ ไป
.
-๓24-
๔. ชอ่ื ผ้ทู ี่ถือปฏิบตั แิ ละผู้สบื ทอด
๔.๑ ผ้ทู ่ถี ือปฏิบตั ิ
ช่อื นายรัตเขต ฐานะมูล
วนั เดือน ปเี กดิ -
ที่อยู่ 273 หมู่ 7 ตาบลป่าสัก อาเภอเชียงแสน จังหวดั เชยี งราย
หมายเลขโทรศัพท์ -
๔.๒ ผสู้ บื ทอด
ชอ่ื สภาวฒั นธรรมตาบลปา่ สกั และสภาวัฒนธรรมอาเภอเชยี งแสน
วนั เดอื น ปเี กดิ -
ทอ่ี ยู่ -
หมายเลขโทรศัพท์ -
5. สถำนกำรณค์ งอยู่ ปฏิบัติอยา่ งแพรห่ ลาย เสี่ยงตอ่ การสญู หาย ไม่มปี ฏิบตั แิ ลว้
6. รปู ภำพปัญญำทำงวัฒนธรรม/กจิ กรรมทำงภูมปิ ญั ญำทำงวัฒนธรรม
.
-๓25-
แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ัญญำทำงวัฒนธรรมจังหวดั เชียงรำยประจำปี ๒๕๖๕
สภำวัฒนธรรมจังหวดั เชยี งรำย
อำเภอแม่สรวย จังหวัดเชยี งรำย
๑. ชื่อข้อมูล หลามบอน (แกงบอน)
๒. ลักษณะ วรรณกรรมพืน้ บ้านและภาษา
ศิลปะการแสดง
แนวปฏบิ ัตทิ างสังคมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล
อาหาร/ความรู้และการปฏบิ ัติเกย่ี วกับธรรมชาตแิ ละจกั รวาล
งานช่างฝีมอื ดงั้ เดิม
การละเล่นพ้นื บ้าน กีฬาพ้ืนบา้ น และศลิ ปะการต่อสูป่ ้องกันตวั
๓. รำยละเอยี ดข้อมูล
๓.๑) ประวัติความเปน็ มาของข้อมลู
หลามบอน ภาษากลางเรยี กว่า แกงบอล เป็นอาหารพน้ื บ้านอกี ชนิดหนึง่ ของภาคเหนือที่คนเหนอื ต่าง
รูจ้ กั กันดี เป็นอาหารทม่ี รี าคาถกู แตร่ สชาติอร่อย
บอน พืชชนิดหนึ่งท่ีข้ึนตามลาห้วยริมหนองน้าเป็นพืชล้มลุกอวบน้ามีหัวใต้ดินใบรูปไข่แกมรูปหัวใจ
ปลายใบแหลมหรือมน คนภาคเหนือนยิ มใชท้ าอาหารเขาเรยี กว่าบอนเขยี วเปน็ ยาเย็นเสน้ ใยของบอนเขยี วช่วย
ในกำรดูดซับกำรกลำยพันธุ์และฤทธิ์กำรยับยั้งกำรเจริญเติบโตของเนื้องอก ในแกงบอนยังมีสมุนไพรหลาย
ชนิดเช่นใบมะกรูดอุดมสมบูรณ์ไปด้วยเบต้าแคโรทีนป้องกันการเกิดมะเร็งแก้ไข้แก้ช้าใน หอมแดงบรรเทา
อาการหวัดแก้หอบหืดรักษาแผลในกระเพาะ ยอดส้มป่อยลดเสมหะลดความอ้วนแก้ไอ ข่าแก้ลมพิษช่วยย่อยอาหาร
ฯลฯ และสมุนไพรอ่ืนๆอีกมากมาย อาหารเหนือมักจะอุดมสมบูรณ์ไปด้วยสมุนไพรหลากหลายชนิดทุกอย่าง
ลว้ นมีประโยชน์ต่อร่างกายทั้งนนั้
๓.1) ขน้ั ตอน/วธิ กี าร/ดาเนินการเก่ียวกบั ขอ้ มูล
ส่วนประกอบ
1. บอนตน้ อ่อน 2. หหู มู 3. ข่า 4. กระเทยี ม
5. พริกแห้งผิงไฟ 6. หอมแดง 7. กะปิ 8. ใบมะกรูด
9. ยอดส้มป่อยหรือมะขามเปียก 10. เกลอื 11. น้ามันพชื
วิธที ำ
1. นาเย่อื สเี ขยี วทห่ี ุ้มตน้ ของบอนออก หักเป็นท่อนลา้ งให้สะอาด
2. นาบอน ขา่ หั่น หหู มซู อย ยอดสม้ ป่อยไปนง่ึ ให้สกุ ประมาณ 30 นาทีจนเละพักทง้ิ ไว้
3. โขลกหรือตาเครื่องแกงให้ละเอยี ด (พริกแหง้ ท่ีผิงไฟ กระเทยี ม หอมแดง กะปิ)
4. ตง้ั กระทะเจยี วกระเทยี มให้เหลอื งหอม ตักกระเทยี มเจียวออกพกั ทิง้ ไว้
5. ผัดเคร่อื งแกงท่โี ขลกไว้ท้งั หมดใหห้ อม นาส่วนประกอบท่นี ่งึ ทัง้ หมดมาผัดรวมกนั
6. ใส่ใบมะกรูดฉีกละเอียดผดั รวมกนั
7. ปรุงรสตามชอบ (เกลือ)
8. ตกั ใสถ่ ว้ ยนากระเทยี มเจียววางไวด้ า้ นบน
.
-๓26-
๔. ชื่อผ้ทู ี่ถือปฏิบัติและผ้สู ืบทอด
๔.๑ ผู้ทีถ่ ือปฏบิ ัติ
ชอ่ื -
วัน เดือน ปีเกิด -
ท่อี ยู่ หมู่ 3 ตาบลเจดยี ์หลวง อาเภอแมส่ รวย จังหวัดเชียงราย
หมายเลขโทรศัพท์ -
๔.๒ ผู้สบื ทอด
ชื่อ -
วนั เดือน ปีเกิด -
ท่อี ยู่ -
หมายเลขโทรศัพท์ -
๕. สถานะการคงอยู่ ปฏิบัติอยา่ งแพร่หลาย เสีย่ งตอ่ การสูญหาย ไมม่ ปี ฏบิ ตั ิแลว้
๖. รูปภำพภมู ิปัญญำทำงวัฒนธรรม/กจิ กรรมทำงภูมิปัญญำทำงวฒั นธรรม
.
-๓27-
แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ญั ญำทำงวัฒนธรรมจังหวัดเชยี งรำย ประจำปี 2565
สภำวฒั นธรรมจังหวัดเชยี งรำย
อำเภอเวียงปำ่ เป้ำ จงั หวดั เชยี งรำย
๑. ช่ือข้อมลู จิ้นส้ม
๒. ลักษณะ วรรณกรรมพน้ื บา้ นและภาษา
ศิลปะการแสดง
แนวปฏบิ ตั ทิ างสงั คมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล
อาหาร/ความรแู้ ละการปฏิบตั เิ กย่ี วกบั ธรรมชาติและจักรวาล
งานชา่ งฝมี อื ด้ังเดมิ
การละเลน่ พ้ืนบา้ น กีฬาพืน้ บ้าน และศลิ ปะการตอ่ สูป่ ้องกันตัว
๓. รำยละเอียดขอ้ มลู
๓.๑) ประวตั คิ วามเป็นมาของขอ้ มูล
“จิ้นส้ม” เป็นการถนอมอาหารอย่างหนึ่ง เป็นองค์ความรู้ทางการปฏิบัติในวิถีชีวิตของคนล้านนา
เกี่ยวกับการถนอมอาหารให้อยู่ได้หลายวันด้วยการหมัก เป็นช่ือเรียกเฉพาะ เป็นอาหารประจาเอกลักษณ์
ของคนล้านนา ทั้งเป็นอาหาร อาหารว่าง ของฝาก และสามารถแปรรูปได้หลายๆ วิธี ทั้งนาไปประกอบ
อาหารในสตู รตา่ ง ๆ ได้หลายสตู รเป็นทน่ี ยิ ม
“จ้ินส้ม” สามารถหมักด้วยเนื้อหมู, ควาย, และอ่ืน ๆ เช่น จ้ินส้มหมู จิ้นส้มควาย จ้ินส้มเห็ด ฯลฯ
“จิ้นส้ม” บรรจุหีบห่อด้วยใบตองสด มัดให้แน่นด้วยตอก จัดเก็บเป็นระเบียบด้วยการมัดรวมกลุ่มเป็นพุ่ม
ทีละหลาย ๆ หอ่
“จิ้นส้มแม่ขะจำน” มีชื่อเสียงที่ได้รับความนิยม โดยผู้ประกอบการเจ้าของผลิตภัณฑ์จานวนมากได้
นาไปจดทะเบียนต้ังเป็นกลุ่มวิสาหกิจ เป็นเครือข่ายทางวัฒนธรรม และมีการวางจาหน่ายจนเป็นของฝาก
ทข่ี ึน้ ช่ือของอาเภอและจังหวัด
3.2) ข้ันตอน/วธิ ีการ/ดาเนินการเก่ยี วกับขอ้ มลู
นาเน้ือหมูมาสับให้ละเอียดแล้วคลุกเคล้าด้วยข้าวเหนียว กระเทียม เกลือ ดินปะสิว พริกสด และ
แต่งดว้ ยหนังหมูสดทซี่ อย-หัน่ เปน็ ชิน้ ยาว ๆ บาง ๆ และพริกข้หี นสู ด
เม่ือคลุกเคล้าพร้อมเข้ากันดีแล้ว นามาห่อด้วยใบตองสด ด้วยหน้าตาที่สวยงามมัดให้แน่นด้วยตอก
ทิง้ ไว้ 2-3 วัน จะมีรสเปร้ียวนิด ๆ นามาประกอบอาหารไดห้ ลายอย่าง
๔. ช่ือผทู้ ถ่ี ือปฏบิ ัติตำมและสืบทอด
4.1 ผ้ทู ่ถี ือปฏบิ ตั ิ
ชอ่ื แม่อยุ้ ตาล ใจดี
วัน เดือน ปี เกดิ -
ท่ีอยู่ 296 หมู่ 1 ตาบลแม่เจดีย์ อาเภอเวียงปา่ เป้า จงั หวดั เชยี งราย
หมายเลขโทรศัพท์ -
4.2 ผ้สู บื ทอด
ชอื่ นางอาไพรัตน์ พรหมเทศ
วัน เดือน ปีเกิด 5 กรกฎาคม 2496
ทอ่ี ยู่ 505 หมู่ 1 ตาบลแม่เจดยี ์ อาเภอเวียงปา่ เปา้ จังหวัดเชยี งราย
หมายเลขโทรศัพท์ 085 718 9615
. ไมป่ ฏบิ ตั แิ ลว้
-๓28-
๕. สถำนะ กำรคงอยู่ ปฏิบตั ิอยา่ งแพร่หลาย เส่ียงตอ่ การสูญหาย
๖. รูปถำ่ ยภูมิปัญญำทำงวฒั นธรรม/กจิ กรรมทำงภมู ปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม
.
-๓29-
แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ัญญำทำงวฒั นธรรมจังหวัดเชยี งรำย ประจำปี 2565
สภำวัฒนธรรมจงั หวดั เชยี งรำย
อำเภอพำน จงั หวัดเชยี งรำย
๑. ชื่อข้อมลู ภูมปิ ัญญาชาวบา้ นดา้ นการแพทย์พนื้ บ้าน (หมอเมือง)
๒. ลกั ษณะ วรรณกรรมพ้นื บ้านและภาษา
ศิลปะการแสดง
แนวปฏิบตั ทิ างสงั คมพิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล
ความรู้และการปฏิบตั เิ กี่ยวกับธรรมชาติและจักรวาล
งานช่างฝีมือด้ังเดมิ
การละเล่นพื้นบ้าน กีฬาพืน้ บ้าน และศลิ ปะการตอ่ ส่ปู ้องกนั ตัว
๓. รำยละเอียดข้อมูล
๓.๑) ประวตั ิความเปน็ มาของขอ้ มลู
นายบุญทา อปุ ระเสน ได้มีความสนใจเรียนร้เู ก่ียวกับการรักษาอาการด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พ้ืนบ้าน
ตัง้ แตอ่ ายุ 10 ขวบ เนื่องจากได้รับการรักษาอาการเจ็บปว่ ยจนหายดี จึงได้เกิดศรัทธาอยากเรียนรู้ จนเกดิ ความ
เช่ียวชาญมรดกภูมิปัญญาประเภทการแพทย์พื้นบ้านและดนตรีพ้ืนบ้าน ด้านพืชสมุนไพรพ้ืนบ้าน การปรุงยา
สมุนไพรรักษาโรค การเป่าคาถา รักษาอาการเจ็บป่วย การตอกเส้น การย่าขาง การอบสมุนไพร การบรรจุ
สมุนไพรแบบสมัยปัจจุบัน ด้านดนตรี การเล่นเคร่ืองดนตรี สะล้อ ซอ ซึง ระนาด ฆ้องวง กลองตะโพนมอญ
การเป่าแน การเปา่ ขลุ่ย การเปา่ ป่ี การเปา่ ทรัมเป็ท
3.2) ข้ันตอน/วธิ ีการ/ดาเนนิ การเก่ียวกบั ข้อมลู
นายบุญทา อุปเสน ได้เปิดบ้านเป็นศูนย์การเรียนรู้ตาบลป่าหุ่ง เพื่อให้ผู้สนใจได้เข้าไปเรียนรู้ ศึกษา
ณ บ้านเลขท่ี 119 หมู่ 1 ตาบลปา่ ห่งุ อาเภอพาน จังหวดั เชยี งราย
๔. ช่อื ผูท้ ี่ถือปฏบิ ตั ติ ำมและสืบทอด
4.1 ผทู้ ี่ถอื ปฏิบตั ิ
ช่ือ นายบญุ ทา อุปเสน
วัน เดอื น ปี เกิด ๘ เมษายน ๒๔๘๑
ท่อี ยู่ 119 หมู่ 1 ตาบลป่าหงุ่ อาเภอพาน จังหวัดเชยี งราย
หมายเลขโทรศัพท์ 081 025 6743
4.2 ผู้สืบทอด
ชอ่ื นายธวัชชัย ยอดแก้ว (หมอเมือง สาขาสมุนไพร)
วัน เดอื น ปี เกิด ๒๔๙๐
ทอี่ ยู่ 119 หมู่ 1 ตาบลปา่ หงุ่ อาเภอพาน จงั หวัดเชยี งราย
หมายเลขโทรศัพท์ 063 841 8935
๕. สถำนะ กำรคงอยู่ ปฏิบัติอย่างแพรห่ ลาย เส่ยี งตอ่ การสูญหาย ไมป่ ฏิบัตแิ ล้ว
.
-๓30-
๖. รปู ถำ่ ยภูมปิ ญั ญำทำงวฒั นธรรม/กจิ กรรมทำงภูมปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม
-๓๓๑-
แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ญั ญำทำงวัฒนธรรมจงั หวดั เชยี งรำย
สำนักงำนวัฒนธรรมจังหวดั เชียงรำย
อำเภอแม่สำย จังหวัดเชยี งรำย
๑. ช่ือข้อมลู กลมุ่ ตดั เย็บชมุ ชนห้วยไคร้พฒั นา
๒. ลักษณะ วรรณกรรมพ้ืนบ้านและภาษา
ศิลปะการแสดง
แนวปฏิบัตทิ างสังคมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล
อาหาร/ความรแู้ ละการปฏบิ ตั เิ กย่ี วกับธรรมชาติและจกั รวาล
งานช่างฝมี อื ดั้งเดมิ
การละเล่นพนื้ บา้ น กีฬาพืน้ บ้าน และศิลปะการตอ่ สปู่ ้องกันตวั
๓. รำยละเอยี ดข้อมลู
๓.๑) ประวตั คิ วามเป็นมาของข้อมูล
ผ้ากลุ่มตัดเยบ็ ชุมชนห้วยไคร้พัฒนา เกิดจากวิสัยทศั น์และพลังความสามัคคีของกลุ่มแม่บ้านของชุมชน
บ้านหัวยไคร้พัฒนา ผ้าแต่ละช้ินถูกสร้างสรรค์แตกต่างกัน เป็นลวดลายที่ไม่ค่อยซ้ากัน ซึ่งผู้ปักสามารถ
ออกแบบและปักลวดลายตามความชอบหรือความถนัด ผ้าส่วนใหญ่เป็นผ้าฝ้าย ผ้าพ้ืนเมือง และผ้าจาก
สีเปลือกไม้ ท้าให้สวมใส่สบายไม่ระคายเคืองผิวของผู้สวมใส่ ผลิตภัณฑ์จากผ้าต่าง ๆ มีความสวยงาม แข็งแรง
คงทน และสะดวกต่อการใช้งาน รวมทั้งการออกแบบเส้ือผ้าหรือผลิตภัณฑ์จากผ้าที่ทันสมัย ไม่ซ้าใคร และ
สามารถออกแบบได้ตามความตอ้ งการของลูกค้าอกี ดว้ ย
กลุ่มตัดเย็บชุมชนห้วยไคร้พัฒนา เป็นการรวมตัวของผู้น้าชุมชนและกลุ่มแม่บ้านของบ้านหัวยไคร้พัฒนา
โดยได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนเงินล้านในการจัดซ้ือจักรเย็บผ้า และปี พ.ศ.25๖๓ ได้รับการ
สนับสนุนจากส้านักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.) อ้าเภอแม่ สาย
จัดฝึกอบรมตัดเย็บผ้าเพื่อเรียนรู้และพัฒนาทักษะด้านการตัดเย็บรูปแบบต่าง ๆ ให้แก่สมาชิกลุ่มตัดเย็บชุมชน
ห้วยไคร้พัฒนา แต่หลังจากนั้นสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid–19)
ได้ปรากฏการแพร่ระบาดขึ้นในพ้ืนท่ีอ้าเภอแม่สาย จึงท้าให้การด้าเนินการลักษณะกลุ่มหยุดช่ัวคราว โดยให้
สมาชิกกลุ่มตัดเย็บอยู่ที่บ้านและหากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อฯ ดีขึ้นจะกลับมาด้าเนิน
กลมุ่ ตัดเย็บชมุ ชนหว้ ยไคร้พัฒนาต่อไป
ผ้ากลุ่มตัดเย็บชุมชนห้วยไคร้พัฒนา เกิดการรวมตัวของผู้น้าชุมชนและกลุ่มแม่บ้านของบ้านหัวยไคร้
พฒั นาทีไ่ ด้เลง็ เหน็ ความส้าคัญในการสง่ เสริมอาชีพและเป็นการเพ่ิมรายได้แก่ตนเองและครอบครวั ประกอบกับ
ในชุมชนมีผู้ที่มีความรู้ด้านการตัดเย็บอยู่แลว้ จึงได้กันจัดตั้งกลุ่มตัดเย็บชุมชนห้วยไคร้พัฒนาขึ้น โดยได้รับการ
สนับสนุนงบประมาณจากกองทุนเงินล้านในการจัดซ้ือจักรเย็บผ้า และต่อมาได้รับการสนับสนุนจากส้านักงาน
ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.) อ้าเภอแม่สาย ในการจัดฝึกอบรมตัดเย็บผ้า
เพอื่ เรียนรู้และพัฒนาทกั ษะดา้ นการตดั เย็บให้แก่สมาชกิ กลมุ่
เอกลักษณ์และอัตลักษณ์ที่โดดเด่นของผ้ากลุ่มตัดเย็บชุมชนห้วยไคร้พัฒนา คือลายปักที่ไม่เหมือนกัน
เป็นเฉพาะตัวจึงท้าให้มีความสวยงามท่ีหลากหลาย รวมท้ังการออกแบบเสื้อผ้าหรือผลิตภัณฑ์จากผา้ ที่ทันสมัย
ไมซ่ ้าใคร และสามารถออกแบบไดต้ ามความต้องการของลูกคา้ ไดด้ ว้ ย
๓.2) ขน้ั ตอน/วิธกี าร/ดา้ เนนิ การเกย่ี วกับข้อมูล
วสั ดอุ ุปกรณ์และอุปกรณ์
1) จักรเยบ็ ผา้ /จกั รโพ้ง 2) สายวดั 3) กรรไกร 4) กระดาษ
5) สร้างแบบ/กระดาษกดลาย 6) ลูกกล้ิงผ้า 7) ดินสอ 8) ดา้ ยเย็บ
9) เข็ม ๑๐) ผา้ ปักส้าหรบั ตดั เย็บ
-๓๓๒-
ขัน้ ตอนกำรผลติ ผำ้ และผลติ ภัณฑ์จำกผ้ำ
1) สมาชกิ กลุม่ ตดั เยบ็ ชมุ ชนหว้ ยไคร้พฒั นาปักผ้าลวดลายตามท่ีแต่ละคนชอบหรือต้องการ
2) นา้ ผา้ แตล่ ะผนื ท่ีสมาชกิ กลุ่มปักเสร็จแล้วเข้าสกู่ ระบวนการตัดเย็บ
3) ออกแบบตดั เยบ็ ตามความตอ้ งการของลูกค้าหรือออกแบบตามความเหมาะของผลิตภัณฑ์ผ้าและลวดลาย
๔) ตดั ตามแบบ
๕) ไดผ้ ลผลิตภัณฑจ์ ากผ้าพร้อมจา้ หนา่ ยต่อไป
4. ชื่อผู้ที่ถอื ปฏิบตั ิและผสู้ ืบทอด
4.๑ ผทู้ ีถ่ ือปฏิบัติ
ชอื่ นางประภากร พลสทิ ธิ์
วัน เดอื น ปีเกดิ -
ทอ่ี ยู่ ๒๑/๑ หมู่ 1๐ ตา้ บลหว้ ยไคร้ อ้าเภอแม่สาย จงั หวดั เชียงราย
หมายเลขโทรศัพท์ 085 722 1383
4.๒ ผู้สืบทอด
ช่อื -
วัน เดือน ปีเกิด -
ทอ่ี ยู่ -
หมายเลขโทรศัพท์ -
5. สถำนะ กำรคงอยู่ ปฏิบัติอย่างแพรห่ ลาย เส่ียงตอ่ การสญู หาย ไม่มปี ฏิบตั แิ ลว้
6. รปู ภำพภมู ปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม/กจิ กรรมทำงภูมปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม
ถุงยา่ มปักผ้าด้วยลวดลาย กระเปา๋ ผา้
ตวั อย่างเสื้อผ้าท่ีตัดเยบ็ จากกลุ่ม
-๓๓๓-
แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ัญญำทำงวฒั นธรรมจงั หวดั เชียงรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวฒั นธรรมจงั หวัดเชยี งรำย
อำเภอแมจ่ ัน จังหวดั เชยี งรำย
๑. ชอ่ื ข้อมูล การทาบายศรี
๒. ลกั ษณะ วรรณกรรมพื้นบา้ นและภาษา
ศิลปะการแสดง
แนวปฏิบัติทางสังคมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล
อาหาร/ความรูแ้ ละการปฏบิ ตั เิ กยี่ วกับธรรมชาติและจักรวาล
งานช่างฝีมือดงั้ เดมิ
การละเลน่ พ้นื บ้าน กีฬาพนื้ บ้าน และศิลปะการต่อสูป่ ้องกนั ตัว
๓. รายละเอียดข้อมูล
๓.๑) ประวัตคิ วามเปน็ มาของข้อมลู
เม่ือมีงานมงคล พิธีการทางศาสนาชาวบ้านก็จะร่วมมือกันท้าบายศรี เพ่ือประกอบพิธีต่าง ๆ งานสืบชะตา
งานบวงสรวง งานบายศรีสู่ขวัญนาค(งานบวช) และงานบายศรีสู่ขวัญวันแต่งงาน จึงมีการถ่ายทอดวิธีการท้า
จากรุน่ สู่รุ่น เพื่อรักษาวัฒนธรรมและประเพณีของหมู่บ้านไวส้ ืบต่อไป
๓.๒) ขัน้ ตอน/วธิ ีการ/ดาเนนิ การเก่ียวกบั ขอ้ มูล
ศกึ ษาขน้ั ตอนการทาบายศรแี ต่ละประเภทและการทาบายศรีเพ่ือประกอบพิธีตา่ ง ๆ และการทากรวย
ดอกไม้ จดั ทารายละเอียดข้ันตอน วัสดอุ ุปกรณ์ และบนั ทึกภาพการทาบายศรี
1. ก้าหนดขนาดของบายศรี ช่วงหา่ งของแตล่ ะชน้ั หา่ งประมาณ 8 น้ิว
2. ท้าตัวบายศรีเสรจ็ แล้วแชน่ า้ แลว้ น้าข้ึนสลัดน้า ใส่ไว้ในกะละมงั คลุมด้วยผ้าขาวบาง
3. การท้าตวั รอง จีบใบตองด้านแขง็ อยทู่ างขวามอื ด้านอ่อนอยู่ทางซ้ายมือ พบั มาทางขวามือ 3 ทบ
ให้เกินครงึ่ ไปทางขวามือทางด้านขวามอื ใช้ใบตองพบั 3 ทบซ้อนใบตองท่ีพับจากทางด้านซา้ ยมือใหอ้ ยตู่ รงกลาง
เมือ่ พับไดเ้ ช่นนี้แล้ว 3 อัน ให้หอ่ 3 ชิน้ รวมกนั วิธหี อ่ ห่อแบบห่อบายศรีจนครบ
4. วธิ ีเข้าตัวบายศรี ให้เริ่มตั้งแต่ช้ันลา่ งกอ่ น และนา้ ไปติดกับแป้นโฟมที่ให้ตัดไวแ้ ลว้ น้าบายศรโี ดยใช้
ลวดตวั ยูเสยี บยดึ ให้แนน่ จนครบรอบชั้นบนช้ันล่าง แลว้ จึงติดตวั รองระหวา่ งช่องของบายศรจี นครบ
5. คาดเอว ระหว่างช้ันบนและชั้นล่างของตัวบายศรีจะใช้กาบกล้วยจะต้องสลักลวดลาย และอาจ
ตกแต่งดว้ ยบานไม่รโู้ รยหรือดอกไมอ้ ่นื
6. เมื่อทา้ ครบ 3 ชนั้ แลว้ ชนั้ บนสดุ ใหใ้ ส่บายศรปี ากชาม ใช้เวลาการท้า 2 สปั ดาห์
วสั ดุ/อปุ กรณ์
- ใบตอง
- พาน
- เข็มหมุด
- ตะปูเขม็
- น้ามันมะกอก
- ดอกไม้สด
- โฟม
- กรรไกร
- เม็กกบั ลกู เมก็
- ไม้ลกู ช้ิน
-๓34-
๔. ช่อื ผู้ที่ถอื ปฏิบัติและผ้สู ืบทอด
๔.๑ ผ้ทู ีถ่ อื ปฏบิ ตั ิ
ชือ่ นางมาลินี แย้มเมือง
วนั เดือน ปีเกดิ ๑๑ กรกฎาคม ๒๔๘๘
ที่อยู่ ๗/๑ หมู่ ๓ ตาบลแมจ่ นั อาเภอแม่จนั จงั หวดั เชียงราย
หมายเลขโทรศัพท์ ๐๘๑ ๐๒๒๘๓๓๕ หรือ ๐๙๓ ๐๐๕๑๕๗๓
๔.๒ ผู้สืบทอด
ชอ่ื กลมุ่ ผู้สงู อาย/ุ กลุ่มแม่บ้าน/กลุ่มเด็กนกั เรียนและเยาวชนในพ้นื ท่ี
เขตเทศบาลตาบลแม่จนั
วัน เดือน ปเี กดิ -
ทีอ่ ยู่ เขตเทศบาลตาบลแมจ่ ัน อาเภอแม่จนั จงั หวัดเชียงราย
หมายเลขโทรศัพท์ -
๕. สถานะ การคงอยู่ ปฏิบตั อิ ยา่ งแพร่หลาย เส่ยี งต่อการสญู หาย ไม่มปี ฏิบตั แิ ล้ว
๖. รูปภาพภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม/กิจกรรมทางภูมิปัญญาทางวฒั นธรรม
-๓35-
แบบสำรวจมรดกภมู ิปัญญำทำงวฒั นธรรมจงั หวดั เชียงรำย ประจำปี ๒๕65
สภำวฒั นธรรมจังหวดั เชยี งรำย
อำเภอเวยี งชัย จงั หวัดเชียงรำย
๑. ช่ือข้อมูล การปลูกหม่อนเลย้ี งไหมและการทอผา้ ไหม
๒. ลกั ษณะ
วรรณกรรมพืน้ บา้ นและภาษา
ศลิ ปะการแสดง
แนวปฏบิ ตั ิทางสังคมพิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล
อาหาร/ความรแู้ ละการปฏบิ ตั ิเกยี่ วกบั ธรรมชาติและจักรวาล
งานช่างฝมี อื ดั้งเดิม
การละเลน่ พืน้ บา้ น กีฬาพน้ื บ้าน และศลิ ปะการตอ่ ส่ปู ้องกันตวั
๓. รำยละเอียดข้อมลู
๓.๑) ประวตั ิความเปน็ มาของข้อมลู
ผ้าทอและเคร่ืองถักทอถือเป็นของใช้ท่ีแสดงถึงการริเริ่มความคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์ เนื่องจาก
กรรมวิธีการทอผ้าแต่ละพื้นเมืองน้ันมีลักษณะแตกต่างกันทั้งรูปแบบของสีสันและลวดลาย แม้ว่าจะใช้วัตถุดิบ
จากไหมหรือฝ้ายก็ตาม ด้วยสาเหตุเหล่าน้ีจึงทาให้การทอผ้านับเป็นงานหัตถศิลป์ และการทอผ้ายังสะท้อน
ให้เหน็ ถึงความสัมพนั ธข์ องสังคมและวฒั นธรรมของกลุ่มพ้นื ทีน่ ้นั ได้อกี ด้วย
๓.๒) ขั้นตอนวิธกี าร/ด้าเนนิ การเก่ียวกบั ข้อมูล
๑. การเตรยี มเสน้ ไหม และย้อมสีตามต้องการ
๒. ต่อเสน้ ไหม
๓. การเตรยี มฟมื ทอผา้
๔. การทอผ้ากับฟมื ตามลวดลายทต่ี ้องการ
๔. ชอ่ื ผูท้ ีถ่ ือปฏบิ ัติและผ้สู บื ทอด
๔.๑ ผทู้ ถี่ อื ปฏิบตั ิ
ชือ่ นางพนั สีเชยี งสา (ยายพนั ธ์)
วนั เดือน ปเี กิด -
ท่อี ยู่ 135 หมู่ที่ 3 ตา้ บลเมืองชุม อา้ เภอเวยี งชยั จังหวดั เชียงราย
หมายเลขโทรศัพท์ -
๔.๒ ผ้สู ืบทอด
ชื่อ -
วนั เดอื น ปีเกดิ -
ท่ีอยู่ -
หมายเลขโทรศัพท์ -
๕. สถำนะ กำรคงอยู่ ปฏบิ ัติอย่างแพรห่ ลาย เสย่ี งตอ่ การสญู หาย ไม่มปี ฏบิ ตั แิ ลว้
-๓36-
๖. รูปภำพภูมปิ ญั ญำทำงวัฒนธรรม/กจิ กรรมทำงภูมปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม
-๓37-
แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ญั ญำทำงวัฒนธรรมจังหวดั เชียงรำย ประจำปี 2565
สภำวัฒนธรรมจงั หวัดเชยี งรำย
อำเภอเวยี งชัย จงั หวัดเชยี งรำย
๑. ช่ือข้อมลู การแปรรูปกะลามะพร้าว
๒. ลกั ษณะ วรรณกรรมพืน้ บ้านและภาษา
ศิลปะการแสดง
แนวปฏบิ ัตทิ างสังคมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล
อาหาร/ความรู้และการปฏบิ ัติเกยี่ วกับธรรมชาติและจักรวาล
งานช่างฝมี อื ดงั้ เดิม
การละเล่นพืน้ บา้ น กีฬาพ้นื บ้าน และศลิ ปะการต่อสปู่ ้องกันตัว
๓. รำยละเอยี ดข้อมลู
3.1 ประวัติความเป็นมาของข้อมูล
นายเล็ก ลักษ์วิลัย เกิดเม่ือวันที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2495 เป็นบุตรนายเป็ง นางบัวค้า ลักษ์วิลัย
ปจั จบุ นั อาศัยอย่บู า้ นเลขที่ 2 หมูท่ ่ี 17 บ้านใหม่ศรีวไิ ลย์ ต้าบลดอนศิลา อ้าเภอเวียงชยั จงั หวดั เชยี งราย
จากความคิดท่ีว่า มะพร้าว 1 ลูก สามารถน้ามาใช้ประโยชน์ได้หลากหลายประการจากน้ามะพร้าว
ดา้ นในน้ามารบั ประทานได้ เน้ือมะพร้าวมาค้นั เปน็ กะทิ ทา้ ทัง้ อาหารหวาน อาหารคาว เปลือกมะพร้าวสามารถ
น้ามาเป็นเชอื้ เพลิง และนา้ มาเป็นกระถางปลูกดอกกลว้ ยไม้ และกะลามะพร้าวนา้ มาแปรรปู ทา้ ส่งิ ของเคร่ืองใช้
ต่าง ๆ ซึ่งนายป๋ัน วงค์ศรี เป็นผู้ริเริ่มน้ากะลามะพร้าวที่สามารถหาได้ท่ัวไป มาแปรรูปเป็นส่ิงของต่าง ๆ
เช่น ชอ้ น กระบวยตักนา้ กระปกุ ออมสิน โคมไฟ ฯลฯ เพื่อจ้าหน่าย สรา้ งรายได้ใหแ้ กต่ นเอง
ต่อมานายเล็ก ลักษ์วิลัย ได้ริเริ่มน้ากะลาทะพร้าวมาแปรรปู ในลักณะส่ิงของเคร่อื งใช้ต่าง ๆ ท่ีสามารถ
นา้ มาใชป้ ระโยชนไ์ ด้อย่างหลากหลาย
3.2 ข้นั ตอน/วิธีการ/ด้าเนินการเกย่ี วกบั ข้อมูล
วธิ กี ำรทำผลติ ภัณฑจ์ ำกกะลำมะพร้ำว
๑. น้ากะลามะพร้าวแก่จัดท่ีแห้งแล้วมาขูดเอาเน้ือด้านในออกให้หมด แล้วขัดผิวภายนอกกะลา
ใหเ้ กล้ียง ส่วนดา้ นในขัดดว้ ยกระดาษทราย
๒. ร่างแบบ หรอื ลวดลายที่ตอ้ งการดว้ ยดินสอลงบนกะลา กะลาท่ใี ชจ้ ะเปน็ ทงั้ ลูก เปน็ ซีก หรือเป็นเศษ
ขึ้นอยูก่ ับรูปแบบของผลติ ภณั ฑ์
๓. ใช้สว่านเจาะรูตามแบบลวดลาย โดยใช้ดอกสว่านขนาด 2 มิลลิเมตร เจาะให้รอบแบบลาย
เพ่อื เปน็ รูหรับสอดใบเล่อื ย
๔. ใช้เล่ือยฉลุตามแบบลาย โดยเริ่มจากด้านในก่อน แล้วฉลุขอบด้านนอกเพื่อความสะดวกในการจับ
ชนิ้ งาน (ใชเ้ ทยี นไขลบู ใบเล้ือยฉลเุ พอ่ื ให้ล่นื สะดวกในการฉล)ุ
๕. ตกแต่งผิวและขอบนอกของกะลาด้วยตะไบละเอียด จากน้ันขัดด้วยกระดาษทรายเบอร์ 4
และเบอร์ 0 จนผวิ กะลาเรียบทีส่ ุด
๖. กรณีท่ีต้องมีการประกอบชิ้นส่วนต่าง ๆ เข้าหากัน หรือติดผลิตภัณฑ์บนแท่นไม้ให้ใช้กาวตราช้าง
หรือกาวลาเทก็ ซต์ ดิ หากต้องการเพ่ิมความแขง็ แรงย่งิ ขึน้ ใช้ตะปูหรือหมดุ ตอกเปน็ สลกั ยึด
๗. หากต้องการเคลือบเงาให้ใช้พู่กันทาแลคเกอร์จนทั่วผลิตภัณฑ์ แล้วทิ้งไว้ให้แห้ง ทาซ้าใหม่
ท้าเช่นน้ี 2 - 3 ครง้ั จะไดผ้ ลิตภัณฑ์ท่ีเงางาม
-๓38-
๔. ช่อื ผู้ถือปฏบิ ตั ิและผู้สืบทอด
4.1 ผู้ทถ่ี อื ปฏิบัติ
ช่ือ นายเล็ก ลกั ษว์ ิลัย
วนั เดือน ปเี กิด 4 สงิ หาคม 2495
ทอ่ี ยู่ 2 หมู่ 17 บ้านใหม่ศรวี ไิ ลย์ ต้าบลดอนศลิ า อ้าเภอเวยี งชัย
จงั หวัดเชยี งราย
หมายเลขโทรศัพท์ ๐๘๗ ๑๘๙ ๗๙๐๕
๔.๒ ผสู้ ืบทอด
ช่อื -
วนั เดอื น ปเี กิด -
ท่อี ยู่ -
หมายเลขโทรศัพท์ -
๕. สถำนะ กำรคงอยู่ ปฏบิ ัตอิ ย่างแพร่หลาย เสี่ยงตอ่ การสูญหาย ไม่ปฏบิ ัติแลว้
๖. รปู ภำพภมู ปิ ญั ญำทำงวัฒนธรรม/กิจกรรมทำงภมู ปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม
-๓39-
แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ัญญำทำงวัฒนธรรมจังหวัดเชียงรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวัฒนธรรมจงั หวดั เชยี งรำย
อำเภอพญำเม็งรำย จังหวัดเชยี งรำย
๑. ชื่อข้อมูล การสานไม้กวาดดอกหญา้ (ก๋ง)
๒. ลักษณะ วรรณกรรมพ้นื บ้านและภาษา
ศิลปะการแสดง
แนวปฏบิ ตั ทิ างสงั คมพิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล
อาหาร/ความรูแ้ ละการปฏิบัตเิ กีย่ วกับธรรมชาติและจกั รวาล
งานชา่ งฝมี อื ด้งั เดิม
การละเลน่ พืน้ บ้าน กีฬาพ้นื บา้ น และศลิ ปะการตอ่ ส่ปู ้องกนั ตวั
๓. รำยละเอียดขอ้ มลู
๓.๑) ประวตั ิความเป็นมาของขอ้ มูล
ในปี พ.ศ. 2544 นางบัวค้า อานุ เป็นหัวหน้าเร่ิมต้นในการสานไม้กวาดดอกหญ้า (ก๋ง) ด้วยการรับ
เป็นผู้ฝึกสอนให้กับกลุ่มแม่บ้านท่ีสนใจซึ่งมีผู้สนใจเป็นจ้านวนมาก และในปี พ.ศ.2548 ทางกลุ่มจึงได้จด
ทะเบียนเป็นวิสาหกิจชุมชน กลุ่มหัตถกรรมไม้กวาด รหัสทะเบียน 6-57-12-02/1-0001 ออกให้ ณ วันท่ี
17 ตุลาคม 2548 และต่อมาทางกลุ่มก็ได้รับการส่งเสริมให้มีผลิตภัณฑ์เพ่ือเสริมรายได้ให้กับกลุ่มและชุมชน
โดยสนับสนุนงบประมาณเป็นเงิน 50,000 บาท จากหน่วยงานราชการเพื่อจัดซ้ือวสั ดอุ ุปกรณ์ที่จ้าเป็นในการ
ท้างาน ไดผ้ ลผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ทางวัฒนธรรม คือ ไม้กวาดดอกหญา้ ท่ีท้ากับมือ เป็นการสร้างงาน สรา้ งอาชีพ
สร้างรายได้ ให้กับกลุ่มและชุมชนได้เป็นอย่างมาก ที่ส้าคัญ คือสร้างขวัญและก้าลังใจให้กับทางกลุ่มให้มี
แรงผลักดันในการผลิตไม้กวาดด้วยความตั้งใจเพื่อให้ได้ผลผลิตท่ีมีคุณภาพสามารถสง่ ออกไปจ้าหน่ายยังตลาด
ภายนอกที่มีความต้องการ เป็นมรดกภูมิปัญญางานฝีมือที่ควรอนุรักษ์ไว้และเส่ียงต่อการสูญหาย เพราะไม่มี
เยาวชนท่สี นใจจะสืบทอดต่อ
๓.๒) ขัน้ ตอน/วิธีการ/ดา้ เนนิ การเก่ียวกับขอ้ มูล
1. ด้าเนินการจดั หาตน้ ดอกหญ้า (กง๋ ) ทีข่ ้นึ ตามข้างทางและในป่า
2. นา้ กง๋ ที่ไดม้ าคดั แยกและวางเรียงใหเ้ ป็นระเบยี บเพ่ือง่ายต่อการน้าไปสาน
3. จกั สานดอกหญ้าที่ไดด้ ว้ ยมือ (ไม่ใชเ้ คร่ืองจักร) ดว้ ยความละเอยี ด
4. น้าไม้กวาดท่ีได้ไปวางจ้าหน่าย ราคาขนึ้ อยกู่ ับขนาด
5. สรุปเงนิ ทขี่ ายไดเ้ ข้าบญั ชีกล่มุ แมบ่ า้ นเพอ่ื เปน็ ทุนตอ่ ยอดต่อไป
๔. ช่ือผู้ท่ีถือปฏิบัติและผู้สืบทอด
๔.๑ ผู้ที่ถอื ปฏิบัติ
ช่ือ นางบวั ค้า อานุ
วัน เดือน ปเี กดิ 28 มถิ ุนายน 2497
ที่อยู่ 48 หมู่ 9 ต้าบลแม่ต้า อา้ เภอพญาเมง็ ราย จังหวัดเชยี งราย
หมายเลขโทรศัพท์ 086 184 3281
๔.๒ ผู้สบื ทอด
ชื่อ นางกนั ยา สขุ เกษม
วัน เดือน ปเี กดิ 1 มกราคม 2511
ทอี่ ยู่ 154 หมู่ 9 ตา้ บลแม่ตา้ อ้าเภอพญาเมง็ ราย จงั หวดั เชยี งราย
หมายเลขโทรศัพท์ 092 970 7135
-๓40-
๕. สถำนะ กำรคงอยู่ ปฏิบัตอิ ย่างแพร่หลาย เสย่ี งต่อการสญู หาย ไม่มีปฏบิ ตั ิแลว้
๖. รูปภำพภูมิปญั ญำทำงวัฒนธรรม/กิจกรรมทำงภูมปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม
-๓41-
แบบสำรวจมรดกภมู ิปัญญำทำงวฒั นธรรมจังหวัดเชยี งรำย ประจำปี 2565
สภำวฒั นธรรมจังหวดั เชยี งรำย
อำเภอขุนตำล จังหวดั เชียงรำย
๑. ช่ือข้อมลู การสานแห
๒. ลักษณะ วรรณกรรมพ้ืนบา้ นและภาษา
ศลิ ปะการแสดง
แนวปฏบิ ัติทางสังคมพิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล
อาหาร/ความรู้และการปฏบิ ัติเกย่ี วกับธรรมชาติและจกั รวาล
งานชา่ งฝมี อื ดงั้ เดิม
การละเลน่ พ้นื บา้ น กีฬาพน้ื บ้าน และศิลปะการต่อสูป่ ้องกนั ตวั
๓. รำยละเอยี ดขอ้ มูล
3.1 ประวัติความเป็นมาของขอ้ มูล
การสานแห จับปลา เป็นภมู ปิ ัญญาของนายประโยชน์ สงิ ห์แกว้ เกิดวนั ท่ี 23 สงิ หาคม 2494 อายุ 71 ปี
มีภูมิล้าเนาอยู่บ้านเลขท่ี 66 หมู่ท่ี 1 บ้านป่าตาลเหนือ ต้าบลป่าตาล อ้าเภอขุนตาล จังหวัดเชียงราย อาชีพ
เดิม คือ ท้านา ท้าสวนเม้ียง จากเดิมเม่ือว่างเว้นจากการท้านา มีการท้ามาหากินตามธรรมชาติ จับปลาตาม
ล้าห้วย ล้าคลอง โดยใช้เบ็ด ยกยอ แห เพ่ือหาปลาน้ามาเล้ียงครอบครัว ซ่ึงนายประโยชน์ สิงห์แก้ว สืบทอด
การสานแหมาจากบิดา เริ่มซมึ ซับและเหน็ บิดาสานแหมาต้ังแต่เด็ก ด้วยใจที่ชอบ จงึ ขอลองถกู ลองผิด รวมท้ังมี
ความคิดริเร่ิมทางด้านการสานต่าง ๆด้วย จึงได้ศึกษาหาความรู้เพ่ิมเติมจากผู้รู้ในชุมชน ส่ือต่าง ๆ เทคนิคใหม่ ๆ
เพอ่ื ให้แหทสี่ านแหออกมามีคุณภาพ มคี วามแข็งแรง ทนทาน
มรดกภูมิปัญญาการสานแหนี้ สามารถสาร้างรายได้แก่ครอบครัว ราคา ดางละ 800 - 1,200 บาท
แล้วแต่ขนาดความกว้างและสร้อยแหท่ีใส่ และคลายความเครียดได้ เพราะนายประโยชน์ สิงห์แก้ว มีโรค
ประจ้าตัวคือ กระดูกทับเส้น ไม่สามารถไปท้างานหนักได้ จึงใช้ภูมิปัญญาท่ีมีอยู่ ท้ารายได้เสริมแก่ครอบครัว
และท่ีส้าคัญ ผ่อนคลาย พักผ่อน เวลาสานแหจะเปิดเพลงลูกทุ่ง ฟังข่าวสารสาระไปด้วย ทั้งนี้ นายประโยชน์
สิงห์แก้ว แจ้งว่าพร้อมจะสอน หรือถ่ายทอดภูมปัญญานี้ไห้แก่ อนุชน และผู้สนใจทั่วไปได้ โดยไม่คิดค่าใช้จ่าย
แต่ขอใหม้ คี วามตั้งใจจริงท่จี ะเรียนรู้
3.2 ขนั้ ตอน/วิธกี าร/ดา้ เนนิ การเก่ยี วกบั ข้อมูล
อปุ กรณท์ เ่ี กยี่ วข้องในกำรสำนแห
1. ด้ายไนลอนสขี าวส้าหรบั สานแห
2. ไมป้ า (ท้าการไม้ไผข่ นาดยาว 1 คืบมือ
3. ธูป
4. โซ่ (สร้อยแห)
ข้ันตอนกำรสำน
1. ขึน้ จอมแห โดยใช้เชอื กดา้ ยเบอร์ 4 เบอร์ หรอื เบอร์ 9 ก็ได้
2. ถักแห ขนาด 16 เสา หรือเรียกว่า 16 ขา) โดยถักไปเร่ือย ๆ เวียนให้ครบ 2 รอบ แล้วจึงขยาย
เพิ่มเสาละ 1 ชอ่ ง หรือเรยี กวา่ 1 ตา ท้าไปเรื่อย ๆ จนครบ 16 ขา
การถักแหน้ีมีหลายขนาดที่ท่ีต้องการ ถ้าต้องการแหขนาดศอก ต้องหยุดขยายตาเมื่อถักไปจนถึง
8 ศอก ถ้าต้องการแห ขนาด 9 ศอก จะต้องขยายตาเม่ือถักไปจนถงึ 7 ศอก
-342-
3. เทคนคิ การสานจะขึน้ อย่กู ับการดงึ และการพันดา้ ย เม่ือจะจบการสานดา้ ย จะใช้ธูปจดุ ไฟเผาท่ดี ้าย
เพื่อป้องกันการหลุดหรือเรียกว่า ด้ายลุ่ย
4. เม่ือได้แหตามขนาดทต่ี ้องการแล้ว จะใสโ่ ซ่ (สรอ้ ยแห)ตามขนาดทตี่ อ้ งการ ต้องการให้หนกั กใ็ ส่โซ่
ท่ีหนัก ถา้ ใส่หนักจะสามารถทอดลงน้าอย่างรวดเร็ว ทา้ ให้ไดป้ ลามาก
๔. ชือ่ ผู้ถือปฏิบัติและผู้สบื ทอด
4.1 ผู้ทถี่ อื ปฏิบัติ
ชอื่ นายประโยชน์ สงิ ห์แก้ว
วนั เดอื น ปเี กดิ 23 สิงหาคม 2494
ทอ่ี ยู่ 66 หมู่ 1 ตา้ บลป่าตาล อา้ เภอขุนตาล จังหวัดเชียงราย
หมายเลขโทรศพั ท์ ๐๘๗ ๑๘๙ ๗๙๐๕
๔.๒ ผสู้ บื ทอด
ช่ือ -
วัน เดอื น ปีเกิด -
ทอี่ ยู่ -
หมายเลขโทรศพั ท์ -
๕. สถำนะ กำรคงอยู่ ปฏิบตั อิ ย่างแพรห่ ลาย เส่ยี งต่อการสูญหาย ไมป่ ฏบิ ัติแลว้
๖. รูปภำพภูมิปัญญำทำงวัฒนธรรม/กิจกรรมทำงภมู ิปัญญำทำงวัฒนธรรม
-ไม่ม-ี
-343-
แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ญั ญำทำงวัฒนธรรมจงั หวัดเชียงรำย ประจำปี 2565
สภำวัฒนธรรมจังหวัดเชยี งรำย
อำเภอเวยี งชัย จังหวัดเชยี งรำย
1. ช่ือข้อมลู แกะสลกั จากเศษไม้
2. ลักษณะ วรรณกรรมพื้นบ้านและภาษา
ศิลปะการแสดง
แนวปฏบิ ตั ิทางสงั คมพธิ ีกรรม ประเพณแี ละเทศกาล
อาหาร/ความรูแ้ ละการปฏบิ ัติเก่ียวกบั ธรรมชาตแิ ละจักรวาล
งานช่างฝีมอื ดง้ั เดิม
การละเล่นพนื้ บา้ น กีฬาพน้ื บ้าน และศิลปะการติอสปู้ ้องกนั ตัว
3. รำยละเอียดข้อมูล
3.1) ประวัตคิ วามเปน็ มาของขอ้ มลู
นายชยั ยศ สมสวสั ดิ์ เกดิ เมอื่ วนั ที่ 30 มนี าคม พ.ศ. 2507 ทจ่ี ังหวดั เชียงราย ภายหลงั ได้ย้ายมาอยู่
ที่หมู่บ้านดงมะตืน หมู่ที่ 7 ต้าบลผางาม อ้าเภอเวียงชัย จังหวัดเชียงราย เป็นผู้ท่ีมีความสนใจด้านการวาดรูป
ต้ังแต่เด็ก ชอบใช้เวลาว่างในการวาดรูป เนื่องจากบิดาเป็นช่างไม้รับสร้างบ้าน จึงได้น้าเศษไม้มาแกะสลักเป็น
รูปสัตว์ต่าง ๆ ตามจินตนาการตอนสมัยเรียนอยู่ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 จนสามารถประดิษฐ์รูปหัวใจมีนกแก้ว
คปู่ ระดบั จ้าหนา่ ยให้วัยรนุ่ หนมุ่ สาวในวันวาเลนไทน์
หลังจากจบช้ันประถมศึกษาปีที่ 4 ท่ีโรงเรียนดงมะตืน ก็ไม่ได้ศึกษาต่อ เน่ืองจากมีใจรักงานแกะสลัก
ไม้ จงึ หมน่ั ฝึกฝนฝีมอื อยา่ งสม่า้ เสมอ จนกระทัง่ ปี พ.ศ. 2531 ได้เขา้ รับการอบรมแกะสลักไม้ทีศ่ ูนย์การศึกษา
นอกโรงเรียนอ้าเภอเวียงชัย และได้น้าความรู้มาแกะสลักเป็นรูปสัตว์ต่าง ๆ แต่ยังไม่สามารถต่อยอดให้เป็น
สินค้าท่ีเป็นท่ีนิยมในตลาดได้ เนื่องจากไม่มีความรู้ด้านการตลาด ต่อมามีเจ้าของร้านจ้าหน่ายของที่ระลึกมา
ติดต่อสั่งซื้อผลิตภัณฑ์แกะสลักไม้และรูปสัตว์ต่าง ๆ และน้าออกจ้าหน่ายอย่างกว้างขวาง ต่อมาในปี 2543
ได้จัดต้ังกลุ่มจากผู้สนใจ โดยมีช่ือกลุ่มว่า “กลุ่มแกะสลักจากเศษไม้ บ้านดงมะตืน” โดยท้าหน้าที่เป็นประธาน
กลุ่ม ซึ่งเป็นการยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในชุมชนให้มีรายได้นอกเหนือจากอาชีพเกษตรกรรมและสามรถ
ขยายเครือข่ายไปยังหมู่บ้านอื่น ๆ ในพื้นที่ต้าบลผางาม และได้จ้าหน่ายสินค้าไดท้ ันต่อความตอ้ งการของตลาด
มากย่งิ ข้นึ จนถงึ สามารถจ้าหน่ายไปยังต่างประเทศ
3.2) ขั้นตอน/วธิ ีการ/ด้าเนินการเกยี่ วกบั ข้อมลู
1. แนะนา้ อปุ กรณก์ ารท้าโมบายชนิดต่าง ๆ
2. แนะน้าวธิ ใี ช้อปุ กรณ์ เช่นการเลือ่ ย การตัด การเหลา การเจาะ การประกอบ ฯลฯ
3. วิธกี ารเขา้ รูปเปน็ โมบายชนดิ ต่าง ๆ
4. การนา้ เชือกปอมาถักหรอื ขวั้ เชอื กเป็นแขนขาตุ๊กตาหรือสตั ว์ตา่ ง ๆ
5. การเคลือบเงาเพื่อใหเ้ กดิ ความสวยงาม
6. การติดเข็มกลดั สา้ หรบั เปน็ เคร่อื งประดับ
7. การเกบ็ งานหรือตกแต่ง
4. ชือ่ ผถู้ อื ปฏบิ ตั แิ ละสืบทอด -๓44-
4.1 ผถู้ อื ปฏิบัติ
ชอ่ื นายชัยยศ สมสวสั ด์ิ
วนั เดอื น ปี เกดิ 30 มนี าคม 2507
ทอ่ี ยู่ 63 หมู่ 7 ตา้ บลผางาม อ้าเภอเวยี งชัย จงั หวัดเชียงราย
หมายเลขโทรศัพท์ 086 191 1329
4.2 ผู้สืบทอด
ช่อื นางบุหงา มะโนจิตร
วนั เดือน ปี เกดิ 12 มกราคม 2519
ท่อี ยู่ บ้านเลขท่ี 134 หมู่ 7 ตา้ บลผางาม อา้ เภอเวยี งชยั จังหวัดเชยี งราย
หมายเลขโทรศัพท์ 065 680 5159
5. สถำนะ กำรคงอยู่ ปฏบิ ตั ิอย่างแพร่หลาย เสย่ี งตอ่ การสูญหาย ไมม่ ปี ฏิบตั แิ ลว้
6. รปู ภำพภมู ิปัญญำทำงวัฒนธรรม/กิจกรรมทำงภมู ิปัญญำทำงวัฒนธรรม