The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ข้อมูลมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม จังหวัดเชียงราย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by , 2022-09-11 22:20:01

หนังสือมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม จังหวัดเชึยงราย

ข้อมูลมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม จังหวัดเชียงราย

-๔๐-

๔. ชื่อผู้ท่ีถอื ปฏิบตั แิ ละผ้สู บื ทอด

๔.๑ ผทู้ ่ีถือปฏบิ ัติ

ชอ่ื นายมานิตย์ เจรญิ เกษมทรัพย์

วนั เดือน ปีเกดิ ๖ สงิ หาคม ๒๕๐๐

ทอ่ี ยู่ ๑๗๓ หมู่ ๑๓ ตาบลเวียงชยั อาเภอเวียงชัย จังหวัดเชยี งราย ๕๗๒๑๐

หมายเลขโทรศัพท์ ๐๘๑ ๕๓๐ ๕๗๐๔

๔.๒ ผู้สืบทอด

ช่อื นายธีรวฒั น์ พิมมสาร

วัน เดอื น ปีเกิด ๗ พฤษภาคม ๒๕๔๓

ที่อยู่ ๑๖๒ หมู่ ๓ ตาบลทา่ สาย อาเภอเมอื งเชยี งราย จงั หวัดเชยี งราย ๕๗๐๐๐

หมายเลขโทรศัพท์ ๐๙๕ ๔๔๖ ๘๙๗๙

ชอ่ื นางสาวชน่ื ฤทัย พิมมสาร

วนั เดอื น ปีเกดิ ๒๐ พฤษภาคม ๒๕๔๘

ท่อี ยู่ ๑๖๒ หมู่ ๓ ตาบลท่าสาย อาเภอเมอื งเชยี งราย จงั หวัดเชยี งราย ๕๗๐๐๐

หมายเลขโทรศัพท์ ๐๙๐ ๓๑๘ ๙๖๒๘

๕. สถานะ การคงอยู่  ปฏบิ ตั อิ ยา่ งแพรห่ ลาย  เสยี่ งตอ่ การสญู หาย  ไม่มปี ฏบิ ัตแิ ล้ว

๖. รปู ภาพภูมิปญั ญาทางวัฒนธรรม/กิจกรรมทางภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม

-๔๑-

แบบสำรวจมรดกภมู ิปัญญำทำงวฒั นธรรมจงั หวดั เชยี งรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวัฒนธรรมจังหวดั เชยี งรำย

อำเภอแม่ฟ้ำหลวง จงั หวดั เชียงรำย

๑. ชื่อข้อมูล เต้นรากระทุ้งไม้ไผ่ (บ่อ ฉ่อง ตุ)๊

๒. ลกั ษณะ  วรรณกรรมพน้ื บ้านและภาษา
 ศิลปะการแสดง
 แนวปฏิบตั ิทางสงั คมพิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรแู้ ละการปฏิบัติเกี่ยวกับธรรมชาติและจกั รวาล
 งานช่างฝีมอื ด้งั เดมิ
 การละเลน่ พน้ื บ้าน กีฬาพ้นื บา้ น และศลิ ปะการตอ่ สปู่ ้องกนั ตัว

๓. รำยละเอยี ดข้อมลู

๓.๑) ประวตั คิ วามเปน็ มาของข้อมูล
ชนเผ่าอาขา่ เปน็ ชนกลุ่มหนึ่ง ซึง่ มีบรรพบรุ ุษพืน้ เพเดิม อาศัยอยู่ทางตอนใต้ของประเทศจีน ในประเทศ
จีนเรียกว่า “ฮานี หรือ โวน” โดยมีเส้นทาง 2 เส้นทาง คือ เส้นทางแรก อพยพจากประเทศพม่าแคว้นเชยี งตงุ
เข้าสู่ประเทศไทยเน่ืองจากเกิดปัญหาทางการเมือง ด้านฝัง่ เขตอาเภอแม่จัน ทางหมู่บ้านพญาไพร (ปัจจุบนั เป็น
อาเภอแม่ฟ้าหลวง) และเส้นทางที่สอง อพยพโดยตรงจากประเทศจีนโดยเดินทางผ่านบริเวณตะเข็บชายแดน
พม่า และแมน่ ้าโขงประเทศลาว และเขา้ สูป่ ระเทศไทยโดยตรงทอ่ี าเภอแม่สาย
ปัจจุบันชนเผ่าอาข่าได้กระจ่ายอยู่ในเขตจังหวัดภาคเหนือ 5 จังหวัด คือ จังหวัดเชียงราย เชียงใหม่
ลาปาง ตาก แพร่ และคาดได้มีอาข่าบางส่วนได้อพยพไปอยู่จังหวัดน่าน พิษณุโลก และหลายจังหวัดของ
ประเทศไทย เพราะไปใช้แรงงานในจังหวัดดังกลา่ ว ในประเทศไทยสามารถแบ่งชนเผ่าอาขา่ ได้เปน็ 8 กลุ่ม ดังน้ี
กลุ่มอู่โล้อำข่ำ กลุ่มลอมี้อำข่ำ กลุ่มลอม้ีอำข่ำ กลุ่มหน่ำค๊ำอำข่ำ กลุ่มเป๊ียะอำข่ำ กลุ่มอ้ำเค้ออำข่ำกลุ่มอ้ำ
จ้ออำขำ่ กลุ่มอำ้ จ้ออำขำ่

๓.๒) ขัน้ ตอน/วิธกี าร/ดาเนินการเกย่ี วกับข้อมลู
วิถีชีวิตด้านครอบครัว อาข่าเป็นชาวเขาท่ีมีการใช้ชีวิตแบบเรียบง่าย หาเช้ากินค่า เวลาไปทาไร่
หลังจากทพ่ี ้นจากประตูหม่บู า้ น ก็จะมีการรอ้ งเพลงไปด้วยผชู้ ายจะร้องว่า โอเ้ รา เวลาไปไร่ หรอื ไปทาอะไร ก็
รู้สึกเหงาเหลือเกิน เราอยากได้คนๆหน่ึง มาอยู่กับเรา จะได้หายเหงา และเม่ือไปถึงไร่ของตนเองก็จะร้องเพลง
โต้ตอบกับฝ่ายผู้หญิง โดยฝ่ายหญิงอาจทาไร่อยู่คนละฝั่งกับฝ่ายชาย เวลาจะกลับก็ล่าลากันด้วยเสียงเพลง
แล้วจะนัดกันตอนกลางคืน ท่ีลานวัฒนธรรม ซึ่งเป็นชีวิตที่มีสีสันมากแต่สมัยน้ีการใช้ชีวิตแบบน้เี ริ่มหาดูได้ยาก
เนื่องจากการพัฒนาในด้านต่าง ๆ ที่ส่งผลต่อชีวิตความเป็นอยู่ของชาวเขา ส่ิงเหล่าน้ีก็เลยถูกกลืนไป
เหลอื เพียงแตค่ าบอกเลา่ ของคนเฒา่ คนแกใ่ นชมุ ชน การละเลน่ ของเผ่าอาขา่ แบ่งได้เปน็ 2 ประเภทใหญ่ ๆ

๔. ชือ่ ผู้ท่ีถือปฏิบตั แิ ละผสู้ ืบทอด - ไม่มี -

๕. สถำนะ กำรคงอยู่ ปฏบิ ตั ิอยา่ งแพรห่ ลาย  เส่ยี งต่อการสญู หาย  ไมม่ ปี ฏบิ ัติแลว้

-๔๒-
๖. รปู ภำพภมู ิปญั ญำทำงวัฒนธรรม/กจิ กรรมทำงภูมปิ ัญญำทำงวฒั นธรรม

-๔๓-

แบบสำรวจมรดกภมู ิปญั ญำทำงวฒั นธรรมจงั หวดั เชียงรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวัฒนธรรมจงั หวดั เชยี งรำย
อำเภอเวยี งแกน่ จงั หวดั เชยี งรำย

๑. ชื่อข้อมูล แคนม้ง

๒. ลักษณะ  วรรณกรรมพื้นบ้านและภาษา
 ศิลปะการแสดง

 แนวปฏิบัตทิ างสงั คมพิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล

 อาหาร/ความรูแ้ ละการปฏบิ ตั เิ ก่ียวกบั ธรรมชาติและจักรวาล

 งานช่างฝีมือดง้ั เดมิ
 การละเล่นพ้นื บ้าน กีฬาพ้ืนบา้ น และศลิ ปะการต่อสูป่ ้องกันตัว

๓. รำยละเอียดขอ้ มูล

๓.๑) ประวัติความเป็นมาของขอ้ มลู
ผอู้ าวุโสทเ่ี ล่าวา่ มีบ้านหนึง่ ท่มี ีพนี่ ้อง 7 คน พอ่ แมเ่ สยี ชวี ติ ตั้งแต่ลูกๆยังเด็ก บา้ นก็ไมม่ ีอยู่ คนท่ีเป็นพ่ี
จึงคิดว่าต้องร่วมกันสร้างบ้านหลังหนึ่งเพ่ืออยู่ร่วมกัน ต่อจากนั้นก็คิดค้นผลิตเคร่ืองดนตรีที่ประกอบจากปล้อง
ไม้ไผ่ 6 ปล้องท่ีเรียกว่าไม้ซางเพื่อทาเป็นลูกแคน โดยปล้องที่ใหญ่และส้ันที่สุดหมายถึงพี่คนโตและน้องคน
สุดท้อง ส่วนปล้องไผ่อ่ืน ๆ หมายถึงพ่ีน้องอีก5คนในครอบครัว การประกอบลูกแคนเข้าด้วยกันเป็นการส่ือ
ความหมายว่าพ่ีน้องทุกคนได้ร่วมแรงร่วมใจกันสร้างสรรค์ครอบครัวและหากมีคนเสียชีวิตไปก็เอาแคนมาเป่า
เพือ่ เปน็ การอาลา”
เรื่องราวเก่ียวกับพ่ีน้องชาวม้ง 7 คนได้ส่ือถึงส่วนประกอบของแคนและปล้องไผ่ที่ส้ันท่ีสุดทาหน้าท่ี
ควบคุมจังหวะและโทนเสียง ชาวม้งเป็นคนที่รักดนตรีดังนั้นแคนคือเครื่องดนตรีที่มักจะใช้ในงานชุมชนต่าง ๆ
แต่อันทีจ่ ริงแลว้ ในตอนแรกเเคนถกู ใชใ้ นงานศพเทา่ นัน้ เพื่อเป็นการบอกความอาลัยอาวอนของคนที่ยังมีชีวิตอยู่
ตอ่ ผตู้ าย นอกจากนเี้ สียงแคนยังเปน็ เสียงนาทางส่งดวงวิญญาณผตู้ ายไปสู่สรวงสวรรค์
ปัจจบุ นั นกี้ ารแสดงแคนไดป้ รากฏในงานเทศกาลร่ืนเรงิ ต่าง ๆ และประกอบกบั ท่าราทมี่ ีความอ่อนช้อย
สวยงามโดยเรียกว่า ราแคน ซ่ึงการราแคนน้ันก็มีหลายท่าและแต่ละท่าจะส่ือความหมายที่แตกต่างกัน
เสียงแคนสามารถสะท้อนอารมณ์ความรู้สึกต่าง ๆ ท้ังความรักระหว่างมนุษย์ ความรักธรรมชาติ ความรักของ
คนในครอบครัว สะทอ้ นคาอวยพรปีใหมห่ รือคาเชือ้ เชญิ เพ่อื นฝงู ไปเทีย่ วงานเทศกาลวสนั ต์ฤดู

๓.๒) ขน้ั ตอน/วิธกี าร/ดาเนินการเก่ียวกับข้อมลู
สอบถาม จัดเก็บข้อมลู จากปราชญข์ าวบ้าน

๔. ช่ือผู้ที่ถอื ปฏิบัติและผ้สู ืบทอด

๔.๑ ผทู้ ถ่ี ือปฏบิ ัติ

ชื่อ นายสุพจน์ เล่าพงศ์สวสั ดิ์

วัน เดือน ปีเกดิ -

ทอ่ี ยู่ หมู่ 16 ตาบลปอ อาเภอเวียงแก่น จงั หวดั เชียงราย

หมายเลขโทรศัพท์ 086 189 6033

-๔๔-

๔.๒ ผู้สบื ทอด -
ชอ่ื -
วัน เดือน ปีเกดิ -
ที่อยู่ -
หมายเลขโทรศัพท์

๕. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏบิ ัติอย่างแพร่หลาย  เสย่ี งตอ่ การสญู หาย  ไมม่ ีปฏิบตั แิ ลว้

๖. รปู ภำพภมู ิปญั ญำทำงวัฒนธรรม/กจิ กรรมทำงภูมปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม

แคนมง้

-๔๕-

แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ญั ญำทำงวัฒนธรรมจงั หวัดเชยี งรำย
สำนกั งำนวัฒนธรรมจังหวัดเชียงรำย
อำเภอแม่สำย จังหวัดเชยี งรำย

๑. ช่ือข้อมูล การแสดงฟอ้ นเล็บกลุม่ พฒั นาสตรีอาเภอแม่สาย

๒. ลกั ษณะ  วรรณกรรมพน้ื บ้านและภาษา
 ศลิ ปะการแสดง
 แนวปฏิบัตทิ างสังคมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรู้และการปฏบิ ัตเิ กยี่ วกับธรรมชาติและจกั รวาล
 งานช่างฝมี อื ดงั้ เดิม
 การละเลน่ พ้ืนบา้ น กีฬาพืน้ บ้าน และศิลปะการตอ่ สู่ป้องกนั ตวั

๓. รำยละเอยี ดขอ้ มูล

๓.๑) ประวตั คิ วามเปน็ มาของขอ้ มูล
ฟ้อนเล็บ เป็นการฟ้อนชนิดหน่ึงของชาวไทยในภาคเหนือ ผู้ฟ้อนจะสวมเล็บยาว ลีลาท่าราของฟ้อน
เล็บคล้ายกับฟ้อนเทียน ต่างกันที่ฟ้อนเทียนมือท้ังสองถือเทียน ตามแบบฉบับของการฟ้อน ได้นาลีลาท่าฟ้อน
อันเป็นแบบแผนมาจากคุ้มเจ้าหลวงมาฝึกสอน จัดเป็นชุดการแสดงท่ีน่าชมอีกชุดหน่ึง แต่เดิมเรียก "ฟ้อนเล็บ"
ด้วยเห็นว่าเป็นการฟ้อนที่เป็นเอกลักษณ์ของ "คนเมือง" ซึ่งหมายถึงคนในถิ่นล้านนาที่มีเช้ือสายไทยวน และ
เนื่องจากการเป็นการแสดงท่ีมักปรากฏ ในขบวนแห่ครัวทานของวัดจึงมีชื่อเรียกอีกชื่อหน่ึงว่า "ฟ้อนแห่ครัว
ทาน" ตอ่ มามกี ารสวมเลบ็ ทีท่ าด้วยทองเหลอื งทง้ั 8 น้ิว (ยกเวน้ นิ้วหัวแม่มือ) จงึ ได้ชื่อว่า "ฟอ้ นเล็บ"
ฟ้อนเล็บเป็นการฟ้อนของชาวไทยภาคเหนือการแสดงจะมีดนตรีบรรเลงประกอบ โอกาสที่แสดง ใน
งานเทศกาลหรืองานนักขัตฤกษ์ต่าง ๆ ฟ้อนเล็บเป็นศิลปะการแสดงท่ีเป็นเอกลักษณ์ทางภาคเหนือโดยเฉพาะ
รูปแบบการฟ้อนมีอยู่ ๒ แบบ คือแบบพื้นเมืองหรือฟ้อนเมือง และแบบคุ้มเจ้าหลวง นิยมฟ้อนในเวลากลางวัน
สาหรับช่ือชุดการแสดงจะมีความหมายตามลักษณะของผู้แสดงท่ีจะสวมเล็บยาวสีทองทุกน้ิว ยกเว้น
น้วิ หัวแม่มือ

๓.2) ข้ันตอน/วิธีการ/ดาเนินการเก่ยี วกับขอ้ มลู
เคร่ืองแต่งกำย การแต่งกายแต่เดิมจะนุ่งผ้าซ่ิน สวมเส้ือแขนยาวทรงกระบอกคอกลม หรือคอจีน
ผ่าอก เกล้าผมมวยโดยขมวดมวยดา้ นทา้ ยทอย ทัดดอกไมป้ ระเภทดอกเอื้อง จาปา กระดังงา หางหงส์ หรอื ลีลา
วดี สวมเลบ็ ทั้งแปดนว้ิ ตอ่ มามกี าร ดดั แปลงให้สวยงามโดยประดับลูกไม้ หรอื ระบายทีค่ อเส้ือ ห่มสไบเฉยี งจาก
บ่าซ้ายไปเอวขวาทับด้วยสังวาล ติดเข็มกลัด สวมกาไลข้อมือ กาไลเท้า เกล้าผมแบบญ่ีปุ่น ทัดดอกไม้หรืออาจ
เพม่ิ อบุ ะหอ้ ยเพือ่ ความสวยงาม
ทา่ รา มกี ารแบง่ ทา่ ราออกเปน็ ๔ ชดุ คอื
ชุดท่ี ๑ ประกอบด้วยทา่ จีบหลัง (ยูงฟ้อนหาง) บังพระสุรยิ า วันทา บัวบาน กงั หนั ร่อน

ชดุ ที่ ๒ ประกอบด้วยท่า จบี หลัง ตระเวนเวหา รากระบสี่ ี่ทา่ พระรถโยนสาร ผาลาเพียงไหล่ บัวชูฝกั

กังหันร่อน

ชดุ ท่ี ๓ ประกอบดว้ ยท่า จีบหลงั พรหมสห่ี น้า พสิ มัยเรียงหมอน กงั หันร่อน

ชดุ ท่ี ๔ ประกอบด้วยท่า จีบหลงั พรหมส่หี นา้ พสิ มยั เรยี งหมอนแปลง ตากปีก

-๔๖-

เคร่ืองดนตรี ที่ใช้ในการฟ้อนเป็นขบวนกลองยาว ซ่ึงเป็นดนตรีของชาวภาคเหนือ ได้แก่ กลองแอร์
กลองตะโลด้ โป๊ด ฉาบ ฆ้องโหมง่ ใหญ่ ฆ้องโหม่งเล็ก ฉงิ่ ปี่ เวลาดนตรบี รรเลง 1.เสียงปีด่ งั ไพเราะเยือกเย็นมาก
ท่วงทานองเช่ืองช้า เสยี งกลองจะตีดงั ตะ ตง่ึ นง ตึ่ง ตก๊ ถ่ง อย่างน้ีเร่ือยไป สว่ นช่างฟ้อนก็จะฟ้อนชา้ ๆ ไปตาม
ลีลาของเพลง

เพลงที่ใช้บรรเลง สาหรับเพลงที่ใช้บรรเลง ก็แล้วแต่ผู้เป่าแนจะกาหนดอาจใช้เพลงแหย่ง เพลงเชียงแสน
เพลงหริภุญชยั หรอื ลาวเส่ยี งเทยี น แตส่ ว่ นใหญจ่ ะใชเ้ พลงแหยง่ เพราะช่างฟ้อนคุน้ กบั เพลงนี้มากกว่าเพลงอนื่

โอกำสทใ่ี ช้ ใช้แสดงในวันสาคญั เช่น ตอ้ นรบั แขกเมืองต่างชาติ หรือในงานประเพณี

4. ชอื่ ผทู้ ่ีถอื ปฏิบัตแิ ละผูส้ ืบทอด

4.๑ ผทู้ ่ถี อื ปฏิบตั ิ

ชอ่ื กลุ่มพัฒนาสตรีอาเภอแม่สาย

วนั เดือน ปเี กิด -

ท่อี ยู่ ตาบลเวยี งพางคา อาเภอแม่สาย จังหวัดเชยี งราย

หมายเลขโทรศัพท์ -

4.๒ ผ้สู บื ทอด

ช่ือ กลุม่ พัฒนาสตรีอาเภอแมส่ าย

วนั เดือน ปเี กดิ -

ทอ่ี ยู่ ตาบลเวียงพางคา อาเภอแมส่ าย จงั หวัดเชยี งราย

หมายเลขโทรศัพท์ -

5. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏบิ ัตอิ ย่างแพร่หลาย  เส่ียงตอ่ การสญู หาย  ไมม่ ปี ฏิบัตแิ ลว้
6. รปู ภำพภูมิปัญญำทำงวัฒนธรรม/กิจกรรมทำงภูมปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม

ตวั อยา่ งการแตง่ กายฟ้อนเล็บ

-๔๗-

แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ัญญำทำงวฒั นธรรมจังหวัดเชียงรำย ประจำปี ๒๕๖5
สำนักงำนวัฒนธรรมจังหวดั เชยี งรำย
อำเภอแม่ลำว จังหวดั เชยี งรำย

๑. ช่ือข้อมูล การขับซอ

๒. ลกั ษณะ  วรรณกรรมพนื้ บา้ นและภาษา
 ศิลปะการแสดง
 แนวปฏบิ ตั ทิ างสังคมพิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรู้และการปฏิบัตเิ กยี่ วกับธรรมชาติและจกั รวาล
 งานชา่ งฝีมือดั้งเดิม
 การละเลน่ พ้ืนบา้ น กีฬาพ้นื บา้ น และศิลปะการต่อส่ปู ้องกันตัว

๓. รำยละเอยี ดข้อมลู
๓.๑) ประวตั ิความเป็นมาของขอ้ มูล
ซอ เป็นการขับขานหรือการร้องร้อยกรองที่เป็นภาษาคาเมืองหรือภาษาถ่ินเหนือมีเอกลักษณ์เฉพาะ

จัดเป็นศิลปะการแสดงพ้ืนบ้านของล้านนาที่เป็นภูมิปัญญาทางภาษา ที่ได้สร้างสรรค์ไว้อย่างงดงามและ
ทรงคณุ ค่า แฝงดว้ ยคตธิ รรมคาสอน แสดงให้เหน็ ถงึ ความสัมพันธ์ของมนุษย์กบั มนษุ ย์ มนุษย์กับธรรมชาติ และ
มนุษย์กับสิ่งที่อยู่เหนือธรรมชาติ สะท้อนให้เห็นเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมท่ีสาคัญ มีความสัมพันธ์กับวิถี
ความเป็นอยู่ของชาวล้านนาในด้านต่าง ๆ เช่น ความเช่ือ ค่านิยม ขนบธรรมเนียมประเพณี สถาบันศาสนา
สถาบันครอบครวั การประกอบอาชีพ อาหารและโภชนาการ การแตง่ กาย การสาธารณะสขุ มูลฐาน

การซอของแต่ละท้องถ่ินมีเครื่องดนตรีประกอบและท่วงทานองที่แตกต่างกันไป เคร่ืองดนตรีท่ีใช้
ประกอบการซอของจังหวัดเชียงใหม่ใช้ป่ีจุม ส่วนการซอของจังหวัดน่านใช้ซึงและสะล้อ มีทั้งซอเดี่ยว และซอ
โต้ตอบระหวา่ งชา่ งซอชายและช่างซอหญงิ ภาษาถนิ่ เรยี กวา่ “คถู่ อ้ ง” มที ั้งการซอตามบทและปฏภิ าณไหวพริบ
ของช่างซอ โดยนาเอาข้อมูล เหตุการณ์ต่าง ๆ มาพรรณนาโวหารซึ่งแฝงด้วยคติธรรมและคติโลก ตามลักษณะ
ของฉันทะลักษณ์ของแต่ละทานองซอซึ่งมีประมาณ ๑๐ ทานอง ช่างซอท่ีมีความสามารถและประสบการณ์สูง
จะสามารถร้อยเรียงคาร้อง (คาซอ) ได้อย่างสละสลวย มีความไพเราะด้วยปฏิภาณไหวพริบของตนเอง โดยไม่
ต้องแตง่ เนือ้ รอ้ งมากอ่ นแตข่ อใหท้ ราบเนอ้ื หาในเร่ืองน้นั ชา่ งซอก็สามารถนามาร้องบทซอในแต่ละทานองได้

ซอจึงเป็นเพลงพ้ืนบ้านท่ีเป็นภูมิปัญญาสืบทอดมาจากบรรพบุรุษถึงชั่วลูกช่ัวหลานจนถึงทุกวันน้ี เป็น
ศิลปะท่ีให้ความบันเทิง เพ่ิมความมีชีวิตชีวาให้กับงานกุศลหรืองานรื่นเรงิ ท่ัวไป ถ้างานใดมีการซอนับได้ว่างาน
น้ันครึกครื้นมีรสชาติ มีความหมายมาก แต่ถ้าหากงานใดไม่มีการซอแล้วงานน้ันจะดูเงียบเหงา ไม่มีกิจกรรมที่
สนุกสนานและสร้างความประทับใจ ซอจึงเป็นศิลปะพ้ืนบ้านคู่กับลา้ นนา เช่นเดียวกับหมอลาท่ีเป็นศิลปะคู่กับ
ภาคอสี าน หรอื เพลงฉ่อย เพลงอแี ซวของภาคกลาง และเพลงบอกของภาคใต้ ไมว่ ่าจะเป็นหมอลา ลาตัด เพลง
อีแซว เพลงฉ่อย เพลงบอก หรือซอ ต่างก็เป็นการขับร้องที่ใชภ้ าษาถ่ินท่ีสะท้อนถึงศิลปะการแสดงพื้นบา้ นของ
แต่ละภาคท่ีมีความโดดเด่นในการร้องดน้ กลอนสด โดยไม่มีการเตรยี มหรือแต่งเนื้อรอ้ งไว้ล่วงหนา้ ศิลปินต้องมี
ความชานาญ ความเชย่ี วชาญจึงสามารถด้นกลอนสดๆ ได้และตอ้ งมีการฝกึ ฝนด้วยความวิรยิ ะอุตสาหะ

-4๘-

๓.๒) ข้นั ตอน/วธิ กี าร/ดาเนนิ การเก่ยี วกบั ขอ้ มูล
คาว่า “ ซอ ” ในท่ีนี้เป็นภาษาคาเมือง ภาษาถิ่นเหนือ มีความหมายว่าขับ ขับร้อง ร้องเพลง หรือ
เพลงพื้นบ้านล้านนาชนิดหนึง่ มีผู้ให้ความหมายไว้หลายท่านด้วยกัน ( ทรงศักด์ิ ปรางวัฒนากุล ๒๕๒๓, สิงฆะ
วรรณลัย ๒๕๒๔, มณี พนมยงค์ ๒๕๒๙ เรืองเดช ปันเข่ือนขัติย์ ๒๕๒๙, ยงยุทธ ธีรศิลป์และทวีศักด์ิ ปิ่นทอง
๒๕๓๕ ) สรุปได้ว่า ซอ หมายถึง การร้องเพลงพื้นบ้านของล้านนาหรือเมืองเหนือ ซ่ึงเรียกอีกอย่างหน่ึงว่า ซอ
พื้นเมือง เป็นการละเล่นพื้นเมืองล้านนาอย่างหนึ่งของชาวล้านนามีทั้งการซอโต้ตอบกันในลักษณะเพลง
ปฏิพากย์ระหว่าง หญิง หรือซอเด่ียว เพื่อเล่าเรื่องพรรณนาเหตุการณ์ต่างๆ โดยมีเครื่องดนตรีพื้นเมือง เช่น
ป่ีจุม ซึง สะล้อ ขลุ่ย บรรเลงประกอบ ได้รับความนิยมในเขต ๘ จังหวัด ภาคเหนือ และบางส่วนของจังหวัด
สโุ ขทัย อตุ รดิตถ์และตาก
๑. ชา่ ง หมายถงึ ทาได้ ทาเปน็
๒. ช่างซอ หมายถึง ผู้ขับร้องเพลงซอได้ ซอเป็น หรือพ่อเพลง แม่เพลงซอ ช่างซอมีท้ังช่างซอชาย
และชา่ งซอหญิง ขบั ซอโต้ตอบหรือร้องเสรมิ ความกนั แกค้ วามกัน บางครั้งซอเดย่ี วในเรอ่ื งใดเรอื่ งหนงึ่
๓.ช่างซึง เป็นคาท่ีใชเ้ รยี กนกั ดนตรีที่ทาหนา้ ท่ที าทีด่ ดี ซงึ บรรเลงประกอบการซอเป็น
๔. ช่างปี่ เป็นคาที่ใช้เรียกนักดนตรีที่ทาหน้าท่ีเป่าปี่จุม บรรเลงเพลงประกอบการซอ เท่าที่พบเห็น
เปน็ ผู้ชายลว้ น มีจานวนเท่าปจี่ ุมทนี่ ามาเป่า
๕. เซ้ย เป็นคาอุทานท่ีผู้ฟังเปล่งออกมารับการขับบทซอท่ีตนพึงพอใจ ประทับใจแล้วอุทานคาว่า
“เซ้ย” พร้อมลากเสียงยาว ๆ เป็นขานรับบทซอนั้น ๆ ไปในตัวด้วย การอุทานเปล่งเสียงลักษณะน้ีช่วยสร้าง
บรรยากาศในการขับซอได้อย่างครื้นเครง มีผู้กล่าวว่าถ้ามีการเซ้ยแสดงว่า ผู้ฟัง ผู้ชม เกิดอารมณ์ร่วม หรือ
อารมณส์ ะเทือนใจเปน็ อย่างมากถึงข้ันให้เงิน เป็นรางวลั แกช่ ่างซออกี ด้วย
๖. ผาม เป็นสถานท่ีสร้างขึ้นชั่วคราว เพื่อใช้เป็นสถานท่ีให้ช่างซอได้ตั้งวงซอ โดยยกพื้นขึ้นสูง
ประมาณ ๑-๒ เมตร มุงหลังคาแบบง่าย ๆ ด้วยคาหรือตองตึง ถ้าอาศัยร่มเงาจากต้นไม้ หรืออื่น ๆ ก็ไม่ต้องมี
หลังคา ผามมีความแข็งแรงพอที่จะรับน้าหนักของผู้คนได้ประมาณ ๑๐ คน บนผามปูดว้ ยเส่ือ มีเครื่องอานวย
ความสะดวก เช่น คนโทน้า หมาก จานใส่ของว่าง เช่น เมี่ยง เป็นต้น แต่ถ้าสถานที่มีพอท่ีจะจัดเป็นสัดส่วน
ใหช้ ่างซอได้แสดงแล้วไมต่ อ้ งสร้างผามก็ได้

๔. ชอื่ ผูท้ ี่ถือปฏิบตั แิ ละผสู้ ืบทอด

4.๑ ผทู้ ีถ่ ือปฏบิ ัติ

ชือ่ นางสรอ้ ยสดุ า ภริ าษร

วัน เดือน ปเี กิด 8 ตุลาคม 2508

ท่อี ยู่ ๑๑ หมู่ ๑๖ ตาบลดงมะดะ อาเภอแม่ลาว จงั หวดั เชยี งราย

หมายเลขโทรศัพท์ ๐๖๑ ๓๕๙ ๙๔๙๔

4.๒ ผสู้ บื ทอด

ชื่อ นายสมปราชญ์ ภิราษร

วัน เดือน ปเี กดิ -

ที่อยู่ ๑๑ หมู่ ๑๖ ตาบลดงมะดะ อาเภอแมล่ าว จงั หวดั เชียงราย

หมายเลขโทรศัพท์ ๐๙๓ ๑๙๗ ๘๒๕๖

5. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏบิ ัตอิ ยา่ งแพร่หลาย  เสยี่ งตอ่ การสูญหาย  ไม่มีปฏิบัติแล้ว

-4๙-
6. รปู ภำพภมู ิปญั ญำทำงวัฒนธรรม/กจิ กรรมทำงภูมปิ ัญญำทำงวฒั นธรรม

-๕๐-

แบบสำรวจมรดกภมู ิปญั ญำทำงวัฒนธรรมจังหวัดเชยี งรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวฒั นธรรมจงั หวัดเชยี งรำย

อำเภอพญำเมง็ รำย จังหวัดเชียงรำย

๑. ชื่อข้อมลู การดดี ซงึ

๒. ลักษณะ  วรรณกรรมพ้นื บา้ นและภาษา
 ศิลปะการแสดง
 แนวปฏบิ ตั ทิ างสงั คมพิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรู้และการปฏิบตั เิ ก่ียวกบั ธรรมชาติและจักรวาล
 งานช่างฝีมอื ดัง้ เดมิ
 การละเลน่ พ้นื บ้าน กีฬาพ้นื บ้าน และศิลปะการต่อส่ปู ้องกันตวั

๓. รำยละเอียดข้อมลู

๓.๑) ประวัตคิ วามเป็นมาของข้อมูล
เครื่องดนตรีพ้ืนเมือง แต่เดิมชาวบ้านหมู่บ้านไม้ยาคูเวียง จะมีวงดนตรีพ้ืนเมือง อันประกอบไปด้วย
เครื่องดนตรีหลายชนิด เช่น พาด (ระนาด) ฆ้องเล็กเด่ียว ฆ้องกลางเดียว ฆ้องวง ปี่ แน ขลุ่ย กลองใหญ่
กลองป่งป้ง กลองหลดปด ฉว่า (ฉาบ) ปัจจุบันวงดนตรีพ้ืนเมืองไม่มีคนสืบทอดต่อ มรดกภูมิปัญญา
ศิลปะการแสดงจึงสูญหายไปอย่างน่าเสียดาย จนกระทั่งปี พ.ศ.2554 ทางโรงเรียนมัธยมไม้ยาวิทยาคม
ได้ส่งเสริมและพยายามจะร้ือฟื้นตั้งวงดนตรีพื้นเมืองข้ึนมาอีกคร้ัง แต่ก็ไม่สามารถรับสถานภาพของวงได้
วงดนตรีพน้ื เมืองจงึ ถูกปล่อยปะละเลยไปจนถงึ ทุกวันนี้ ถงึ แม้ว่าปจั จบุ นั จะยงั คงมีคนรัก และสนใจจะเลน่ ดนตรี
พื้นเมืองอยู่ แต่ก็ไม่ครบวง จะมีเล่นเฉพาะแต่บางรายการเท่านั้น ทาให้ผู้ท่ีชานาญการเล่นดนตรีพ้ืนเมืองหลง
เหลืออยู่ไม่มากนัก หากไม่มีการถ่ายทอดและสืบทอด ส่งเสริมสนับสนุนศิลปะการแสดงซ่ึงเป็นมรดกภมู ิปัญญา
ทางวัฒนธรรมของคนรุ่นก่อน เกรงว่ารุ่นลูกรุ่นหลาน อาจจะไม่รู้จักเครื่องดนตรีไทย และไม่มีการแสดงดนตรี
ไทยซง่ึ เป็นเอกลักษณ์ของชาตไิ ทยที่ควรสืบสาน รักษา ตอ่ ยอด มใิ หส้ ญู หายไป
ซึง เป็นเคร่ืองดนตรีประเภทเครื่องดีดอีกชนิดหนึ่งที่มี 4 สาย นิยมนามาร่วมบรรเลงเล่น
ในวงกันอย่างแพร่หลายในภาคเหนือล้านนา ซึ่งเดิมใช้เป็นเคร่ืองดนตรีประจาตัวของผู้ชาย สาหรับไปแอ่วสาว
(ไปเท่ียวหาสาว) เช่นเดียวกับพิณเพี๊ยะ ต่อมาได้นาเคร่ืองดนตรีซึ่งมาผสมวงบรรเลงร่วมกันกับสะล้อ ซอ และ
ปี่จุม เรียกวงน้ีว่า “ดนตรีพ้ืนเมืองเหนือ หรือวงล้านนา” สามารถบรรเลงเพลงของชาวล้านนาได้อย่างไพเราะ
ซึง มีรปู รา่ งบางอย่างคลา้ ยคลงึ กับ กระจับปี่ แต่มขี นาดเลก็ กวา่
นายเทพ สารศรี เป็นอีกท่านหน่ึงท่ีมีใจรักในการดีดซึงและสนใจท่ีจะเรียนรู้ก ารดีดซึง
โดยได้ไปเรียนและได้รับการฝึกสอนดีดซึงจาก นายสวน เลื่อมใส ครูผู้สอนในขณะนั้น ซ่ึงท่านมีความสามารถ
และเก่งในการดีดซึง เคยได้แสดงดีดซึงบนเวทีในงานอนุรักษ์มรดกไทยประจาปี พ.ศ.2544 เล่นได้ไพเราะ
จับใจ นายเทพ สารศรี มีความสนใจท่ีจะดีดซึง จึงได้หาความรู้เพ่ิมเติมด้วยการเข้าอบรมโครงการรื้อฟื้น
อนุรักษ์วงดนตรีพื้นเมืองจนได้เป็นสมาชิกของวงดนตรีพื้นเมืองของบ้านไม้ยาคูเวียง ตั้งแต่ พ.ศ.2544 –
2559 ปัจจุบันวงดนตรีพ้ืนเมืองดังกล่าวไม่มีผู้สืบทอดจึงถูกปล่อยท้ิงไปอย่างน่าเสียดาย จะมีเฉพาะแต่
นายเทพ สารศรี ทยี่ งั คงดดี ซงึ ใหล้ ูกหลานฟังในเวลาว่าง เพ่อื เป็นการผ่อนคลายและสรา้ งความสุขในครอบครวั

-๕๑-

๓.๒) ข้นั ตอน/วิธกี าร/ดาเนินการเกยี่ วกบั ข้อมูล
หลักกำรดดี ซงึ

ผู้ดีดนั่งท่าขัดสมาธิ ให้กะโหลกต้ังอยู่บนหน้าขาขวาและให้ปลายคันทวนชี้ไปทางซ้ายของ
ผดู้ ีด ใช้มอื ขวาจับไม้ดีดซึ่งทาดว้ ยเขาควายเหลาใหบ้ างเรยี วแหลม โดยผาดตามแนวของนวิ้ ชีโ้ ผล่ปลายเล็กน้อย

มีน้ิวหัวแม่มือคีบประกบกับน้ิวช้ีดีดบริเวณใกล้กับนมตัวสุดท้าย เสียงจะทุ้มไพเราะดี แต่ถ้าดีดใกล้รูระบาย
เสียงจะแหลม ขณะเดียวกันใช้นิ้ว ชี้ นาง กลาง ก้อย ของมือซ้าย กดสายลงตามช่องของนม เพ่ือให้เกิดเสียงสูง-ต่า

ตามทต่ี อ้ งการ
กำรดีดซงึ

ขั้นที่ 1 ให้น่ังพับเพียบหรือน่ังขัดสมาธิตามความถนัดเพ่ือความสบาย ถือซึงแนบอกโดยให้ปลายคัน

ทวนอยู่ทางซ้ายมือรางของซึง (ภาคเหนือ เรียกว่า “กะโหล้ง หรือ โก้ง”) แนบติดลาตัวและอยู่ในตาแหนง่ ที่จะ
ใช้มอื ขวาดีดได้ถนดั มอื ซา้ ยประคองคนั ทวนของซึงทจ่ี ะบรรเลงไปตามเสยี งเพลง

ขั้นที่ 2 เม่ือฝึกขั้นที่ 1 เสร็จ ก็มารู้จักการฝึกดีดไปตามตัวโน๊ตของเสียงซึง โดยใช้นิ้วมือซ้ายกดลงบน
นมซึง เพื่อเปลี่ยนเสียงซึงเป็นเสียงสูง – ต่า ตามทานองเพลง การฝึกดีดซึงมีการเทียบตัวโน๊ตเป็น 2 ชนิด คือ

1. ซึงลูกสาม 2. ซงึ ลูกส่ี จะแตกต่างกันทีเ่ สยี งลกู สาม เสียงซอจะอยู่ด้านลา่ ง ส่วนซงึ ลูกส่ี เสียงซอจะอย่ดู ้านบน
คาว่า “ลูก” หมายถึง คู่เสียงระหว่างสายเอกกับสายทุ้ม คาว่า “ลูกสาม” หมายถึง มีสายทุ้มกับ

สายเอกท่ีต่างกัน 3 สาย คาว่าลูก 4 สายทุ้ม กับ สายเอกต่างกัน 4 สาย สายเอก คือ สายที่มีเสียงแหลมคม
สายทุ้มคอื สายท่ีมเี สียงทุม้ นุ่ม (สายคู่บน) สายท้มุ คือ เสยี งซอล (สายค่ลู า่ ง)

วธิ กี ำรดดี ซึง
วิธกี ารดีดซึง มี 2 วิธี ได้แก่

1. การดีดท่ใี ชไ้ ม้ดีดปดั ลงขา้ งลา่ งอย่างเดียว ซึง่ เป็นการดีดแบบด้ังเดิม
2. การดดี ท่ีใช้ไม้ตีดีดปัดขนึ้ ลงสลบั กัน ซึง่ จะไดท้ ่วงทานองท่ไี พเราะไปอีกแบบหนึง่

๔. ชอ่ื ผทู้ ี่ถือปฏิบัติและผูส้ บื ทอด

๔.๑ ผ้ทู ถ่ี ือปฏบิ ัติ

ช่ือ นายเทพ สารศรี

วนั เดอื น ปเี กิด 29 พฤศจิกายน 2501

ที่อยู่ 30 หมู่ 9 ตาบลไมย้ า อาเภอพญาเม็งราย จงั หวัดเชยี งราย

หมายเลขโทรศัพท์ 094 971 8597

4.๒ ผู้สืบทอด

ชื่อ นายสมปราชญ์ ภิราษร

วนั เดอื น ปเี กิด -

ที่อยู่ ๑๑ หมู่ ๑๖ ตาบลดงมะดะ อาเภอแม่ลาว จังหวดั เชียงราย

หมายเลขโทรศัพท์ ๐๙๓ ๑๙๗ ๘๒๕๖

๕. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏิบตั ิอยา่ งแพร่หลาย  เสย่ี งตอ่ การสญู หาย  ไม่มีปฏิบตั ิแล้ว

-๕๒-
๖. รปู ภำพภมู ิปญั ญำทำงวัฒนธรรม/กจิ กรรมทำงภูมปิ ัญญำทำงวฒั นธรรม

-๕๓-

แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ัญญำทำงวฒั นธรรมจังหวดั เชียงรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวฒั นธรรมจงั หวดั เชยี งรำย

อำเภอพญำเม็งรำย จงั หวดั เชียงรำย

๑. ช่ือข้อมูล การฟ้อนเลบ็

๒. ลกั ษณะ  วรรณกรรมพื้นบา้ นและภาษา
 ศลิ ปะการแสดง
 แนวปฏบิ ัตทิ างสังคมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรแู้ ละการปฏบิ ตั ิเกยี่ วกับธรรมชาตแิ ละจกั รวาล
 งานช่างฝมี อื ดัง้ เดิม
 การละเล่นพ้ืนบา้ น กีฬาพนื้ บา้ น และศิลปะการตอ่ สูป่ ้องกันตัว

๓. รำยละเอียดข้อมูล

๓.๑) ประวตั คิ วามเปน็ มาของข้อมูล
หม่บู ้านแม่ตากลาง แตเ่ ดิมมีศิลปะการแสดงอยหู่ ลายอยา่ ง เช่น วงป่ีพาทย์พนื้ เมอื ง การฟ้อนสาวไหม
การฟ้อนเล็บ ตอ่ มาศลิ ปะการแสดงดังกลา่ วไมไ่ ด้มกี ารถา่ ยทอดและสบื ทอดรนุ่ ตอ่ รุน่ และเป็นไปค่อนขา้ งน้อย
ประกอบกบั เครื่องดนตรีบางอย่างมจี านวนลดลง มีโอกาสเส่ียงต่อการสูญหายไป หากไม่มีการส่งเสรมิ สืบสาน
และต่อยอดมรดกภมู ิปญั ญา ศลิ ปะการแสดงฟ้อนเลบ็ ท่ีมมี าด้ังเดิมโดยกลุ่มผสู้ ูงอายใุ นหมบู่ ้าน

๓.๒) ขนั้ ตอน/วธิ ีการ/ดาเนินการเกี่ยวกบั ข้อมลู
ขนั้ ตอนการจัดเตรียม
1. ประชาสมั พนั ธ์เชิญชวนผูท้ ่ีสนใจเข้ารว่ มฝึกซ้อมการฟ้อนเล็บของหมบู่ ้าน
2. คดั คนเพอื่ ทาการฝึกสอนท่าราใหม้ ีความสวยงาม และพร้อมเพรยี งกนั
3. ฝึกสอนท่าราสม่าเสมอใหก้ บั คณะช่างฟ้อนทุกวนั
4. หากมีการติดตอ่ ว่าจ้างให้ไปฟ้อนออกงานตา่ ง ๆ ก็ไปฟ้อนให้กบั ทางเจ้าภาพท่ีติดต่อมา
5. เป็นการสร้างรายได้ สรา้ งความสามคั คีในหมคู่ ณะ เกดิ ประโยชนแ์ ละภาพลกั ษณท์ ดี่ ีต่อหมู่บา้ น

๔. ช่ือผูท้ ่ีถือปฏิบัติและผู้สืบทอด

๔.๑ ผทู้ ี่ถือปฏบิ ัติ

ชื่อ นางชลิดา ก๋าสมุทร์

วนั เดือน ปเี กิด 10 กนั ยายน 2505

ทอี่ ยู่ 12 หมู่ 5 ตาบลแมต่ า อาเภอพญาเมง็ ราย จงั หวดั เชยี งราย

หมายเลขโทรศัพท์ 085 719 5416

๔.๒ ผู้สืบทอด

ชื่อ นางนงคราญ ทิศพรม, นางมัญชรี สุทา, นางดารนุ แก้วภริ มย์ ,

นางอาไพ ทิศพรม, นางเบญจมาส คุณบุราน, นางอรัญญา จนั ทร์แก้ว,

นางสาวหนง่ึ ฤทัย กา๋ แปง

วนั เดอื น ปีเกดิ -

ที่อยู่ หมู่ 5 ตาบลแมต่ า อาเภอพญาเมง็ ราย จงั หวัดเชยี งราย

หมายเลขโทรศัพท์ -

-๕๔-

๕. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏบิ ัติอย่างแพร่หลาย  เสี่ยงตอ่ การสญู หาย  ไมม่ ปี ฏิบตั แิ ลว้
๖. รูปภำพภูมิปัญญำทำงวัฒนธรรม/กจิ กรรมทำงภูมปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม

-๕๕-

แบบสำรวจมรดกภมู ิปัญญำทำงวฒั นธรรมจังหวดั เชียงรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สำนักงำนวฒั นธรรมจงั หวัดเชยี งรำย
อำเภอแมจ่ นั จงั หวัดเชยี งรำย

๑. ช่ือข้อมลู การฟ้อนดาบ การฟ้อนเจิง

๒. ลักษณะ  วรรณกรรมพ้ืนบา้ นและภาษา
 ศิลปะการแสดง

 แนวปฏิบัตทิ างสังคมพิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล

 อาหาร/ความรู้และการปฏบิ ตั เิ ก่ยี วกบั ธรรมชาติและจกั รวาล
 งานช่างฝีมือด้ังเดิม

 การละเล่นพน้ื บา้ น กีฬาพนื้ บ้าน และศิลปะการตอ่ ส่ปู ้องกนั ตวั

๓. รำยละเอียดขอ้ มูล

๓.๑) ประวัติความเปน็ มาของข้อมูล
การฟ้อนดาบ ฟ้อนเจิง นับเป็นการราอาวุธชนิดหน่ึง คือการร่ายราด้วยเชิงดาบและมือเปล่าในท่าทาง
ต่าง ๆ ซ่ึงมักจะแสดงออกในลีลาของนักรบ ซ่ึงท่าในการฟ้อนดาบ ฟ้อนเจิงน้ีมีหลายสิบท่า รวมท้ังใช้ดาบและ
มอื เปล่า สาหรับการใชด้ าบน้ันกใ็ ช้ตงั้ แต่ดาบเด่ียว ดาบคู่ และใช้ดาบ ๔ เล่ม ๘ เล่ม ๑๒ เลม่ ซงึ่ ผฟู้ ้อนจะต้องมี
ความสามารถเป็นพิเศษ และก่อนที่จะมีการฟ้อนดาบ ฟ้อนเจิง ก็ต้องมีการฟ้อนตบมะผาบเสียก่อน การฟ้อน
ตบมะผาบ เป็นการฟ้อนด้วยมือเปล่าท่ีใช้ลีลาท่าทางย่ัวเย้าให้คู่ปรปักษ์บันดาลโทสะ ในสมัยก่อนการรบกันใช้
อาวุธสั้น เช่น ดาบ หอก แหลน เข้าโหมรันกัน โดยเหล่าทหารหาญจะราดาบเข้าประชันกันเป็นคู่ ๆ หรือเป็น
พวกๆ ใครมชี ้นั เชิงดีกช็ นะ ด้วยการราตบมะผาบในท่าทางต่าง ๆ โดยถอื หลกั ว่าคนท่มี โี ทสะจะขาดความยั้งคิด
และเมื่อน้ันย่อมจะเสียเปรียบคนที่ใจเย็นว่า เมื่อมีการราตบมะผาบแล้ว ก็จะมีการฟ้อนดาบ ฟ้อนเจิงประกอบ
อกี ด้วย เม่ือเห็นวา่ มีความกล้าหาญพอแล้วก็เข้าปะทะกันได้ และการฟ้อนดาบฟอ้ นเจงิ นน้ั อาจจะใชม้ อื เปล่าได้
ในท่าทางต่าง ๆ ท่ตี อ้ งใชค้ วามรวดเร็วว่องไว การเกร็งกล้ามเน้ือทกุ ส่วนเป็นการปลุกตัวเองไปกอ่ นท่ีจะเรมิ่ ต่อสจู้ รงิ ๆ
ฟอ้ นดาบ ฟ้อนเจงิ เป็นนาฏกรรมทสี่ ะท้อนรูปแบบศลิ ปวัฒนธรรมอย่างหน่ึงของคนไทยทางภาคเหนือ
ทน่ี าเอาเรื่องราวของศิลปะป้องกนั ตวั ซงึ่ เมอ่ื ครั้งอดีตผ้ชู ายชาวล้านนามักจะมีการแสวงหาเรยี นรู้ “เจิง” เพอื่ ใช้
เป็นเครื่องมือในการป้องกันภัยให้กับตัวเอง ด้วยรูปแบบและลีลาท่าทางในการแสดงออกท่ีมีทั้งความเข้มแข็ง
สง่างาม ที่ซ่อนเร้นชั้นเชงิ อันเป็นแม่ไม้เฉพาะตน ซ่ึงสลับท่าทาง ไปมา ยากในการที่จะทาความเข้าใจ การฟ้อน
ดาบฟอ้ นเจงิ เป็นศิลปะการฟ้อนที่แสดงให้เห็นถึงชั้นเชงิ ลีลาการต่อสู้ อันเปน็ ภูมปิ ญั ญาของบรรพชนไทย มกี าร
ต่อสู้ทงั้ รุกและรับ หลอกลอ้ กนั อย่างสนุกสนาน ประลองไหวพริบปฏภิ าณกัน เอาชนะกนั อย่างมชี ้ันเชิงให้เกียรติ
ซ่งึ กนั และกัน ไม่ข่มเหงเอาเปรยี บกนั
สาหรบั การเรียนฟอ้ นดาบ ฟอ้ นเจิงนั้น ผูเ้ รียนตอ้ งหามื้อจนั วนั ดี เป็นวนั อดุ มฤกษ์ ไปขอเรียนกับครูที่มี
ความสามารถ โดยต้องมีการข้ึนขันหรือ การจัดเครื่องคารวะ คือกรวยดอกไม้ธูปเทียน พลู หมาก ข้าวเปลือก
ข้าวสาร สุรา ผ้าขาว ผ้าแดง กล้วย อ้อย มะพร้าว และค่าครูตามกาหนด ครูบางท่านอาจเสี่ยงทายโดยให้ผู้จะ
สมัครเป็นศิษย์นาไก่ไปคนละตัว ครูเจิงคือผู้สอนฟ้อนเจิงจะขีดวงกลมท่ีลานบ้านแล้วเชอื ดคอไก่ และโยนลงใน
วงน้ัน หากไกข่ องผ้ใู ดดิ้นออกไปตายนอกเขตวงกลม กค็ อื ว่าผีครูไมอ่ นุญาตให้เรียน และหากเรียนจนสาเรจ็ แล้ว
ครูเจิง อนุญาตให้นาวิชาไปใช้ได้เรียกว่าปลดขันตั้ง โดยทาพิธียกขันตั้งคือพานเคร่ืองสักการะจากห้ิงผีครู แจก
ธูปเทยี นดอกไม้จากในพานให้แก่ศษิ ย์ เปน็ เสร็จพธิ ี

-๕๖-

กล่าวโดยสรุปวัฒนธรรมการฟ้อนดาบ ฟ้อนเจิง คือ ท่าทางที่ใช้ในการแสดงอย่างมีช้ันเชิง มีทั้งท่าทาง
ทเี่ ป็น การรา่ ยราตามกระบวนท่าต่าง ๆ ตามแบบแผนที่แสดงออกถึงศิลปะในการต่อสู้ หรือเพ่ือใช้ในการแสดง
โดยท่ารามีท้ังท่ีเป็นหลักสากล หรือท่าราของแต่ละคนใช้ความสามารถในการแสดงเฉพาะตัว พลิกแพลง
ดัดแปลง ประยุกต์ให้ดูสวยงาม ทั้งน้ีสามารถฟ้อนโดยปราศจากอาวุธ หรือประกอบอาวุธ เช่น หอก ดาบ และ
ไม้ค้อน เป็นต้น ท้ังหมดล้วนเป็นศิลปะของชาวล้านนาไม่ว่าจะใช้แสดงในงานบวช หรือประเพณีสาคัญต่าง ๆ
จงึ ควรค่แู ก่การอนุรักษไ์ ว้ใหก้ บั ลกู หลานไดเ้ รียนรูแ้ ละสบื ทอดต่อไปอยา่ งยง่ั ยืน

๓.๒) ข้นั ตอน/วิธกี าร/ดาเนินการเก่ยี วกับขอ้ มูล
สอบถามผู้มีความรู้ ปราชญ์ชาวบ้าน และการแสดงทางศิลปวัฒนธรรม เป็นการนาเอาเร่ืองราวของ
ศิลปะปอ้ งกันตัว ซ่ึงเม่ือครงั้ อดีตผู้ชายชาวล้านนามักจะมีการแสวงหาเรียนรู้ “เจงิ ” เพอื่ ใชเ้ ป็นเคร่ืองมือในการ
ป้องกันภัยให้กับตัวเอง ด้วยรูปแบบและลีลาท่าทางในการแสดงออกท่ีมีท้ังความเข้มแข็ง ผสมผสานกับศิลปะ
การฟ้อนราอย่างลงตัว และการจัดการเรียนการสอนทางด้านนาฏศิลป์ให้กับเด็กและเยาวชน การแสดง
ศลิ ปวฒั นธรรมตลอดจนการบนั ทกึ วดี ิทัศนเ์ ผยแพรก่ ารฟ้อนดาบ ฟ้อนเจงิ

๔. ช่อื ผทู้ ่ีถือปฏิบัตแิ ละผสู้ บื ทอด

๔.๑ ผูท้ ่ถี อื ปฏบิ ัติ

ชอ่ื นายนครินทร์ ใจธรรม

วัน เดอื น ปเี กิด -

ทอ่ี ยู่ 11 หมทู่ ี่ 6 ตาบลศรีคา้ อาเภอแมจ่ นั จงั หวัดเชยี งราย

หมายเลขโทรศัพท์ 087 193 4357

๔.๒ ผู้สบื ทอด

ชือ่ นางสาวอ่อนศรี ใจธรรม

วนั เดือน ปเี กิด -

ท่ีอยู่ 151 หม่ทู ี่ 6 ตาบลศรคี า้ อาเภอแมจ่ นั จงั หวัดเชียงราย

หมายเลขโทรศัพท์ 086 915 3753

๕. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏิบตั อิ ย่างแพร่หลาย  เส่ยี งต่อการสญู หาย  ไมม่ ีปฏบิ ัตแิ ล้ว

๖. รูปภำพภมู ปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม/กิจกรรมทำงภูมิปัญญำทำงวฒั นธรรม

-๕๗-

แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ญั ญำทำงวฒั นธรรมจงั หวัดเชยี งรำยประจำปี ๒๕๖๕
สภำวฒั นธรรมจังหวดั เชยี งรำย
อำเภอเวียงชัย จังหวัดเชยี งรำย

๑. ชอื่ ข้อมูล การฟ้อนสาวไหม

๒. ลกั ษณะ  วรรณกรรมพื้นบ้านและภาษา
 ศลิ ปะการแสดง

 แนวปฏิบตั ทิ างสังคมพิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล

 อาหาร/ความรู้และการปฏิบตั เิ กี่ยวกับธรรมชาตแิ ละจักรวาล

 งานช่างฝีมอื ดงั้ เดมิ
 การละเล่นพ้ืนบา้ น กีฬาพืน้ บ้าน และศลิ ปะการตอ่ สปู่ ้องกันตัว

๓. รายละเอยี ดขอ้ มลู

๓.๑ ประวตั ิความเปน็ มาของขอ้ มลู
ฟ้อนสาวไหมเป็นการแสดงพื้นเมืองเหนือท่ีมีความสวยงาม มีลักษณะพิเศษที่แตกต่างไปจากการฟ้อน

แบบอนื่ ๆ คือฟ้อนสาวไหมเปน็ แบบการฟ้อนที่เลียนมาจากการทางานในชวี ิตประจาวันของคนพ้ืนเมือง ในการ
ปลูกฝ้าย ทอผ้า ตัดเย็บเป็นเส้ือผ้าเคร่ืองนุ่งห่ม ซ่ึงเป็นงานหัตถกรรม ท่ีในท้องถิ่นที่ทากันโดยทั่วไป ด้วยเหตุ

ทกี่ ารทางานในการปลูกฝา้ ย ปน่ั ฝ้าย ทอผ้า ฯลฯ เปน็ ลกั ษณะการทางานท่ีมีขน้ั ตอน และมีกระบวนการทางาน
ท่ีต่อเนื่องกัน ท้ังการทางานน้ันก็มีลีลาท่าทางอันอ่อนช้อยละเอียดอ่อนละมุนละไม ดูแล้วเกิดความสวยงาม

ดังน้ัน จึงน่าจะมีผู้ท่ีมองเห็นกระบวนการทางานท่ีมีข้ันตอนต่อเนื่องและลีลาอันสวยงามของการปั่นฝ้าย
การทอผ้า ฯลฯ นามาประสมประสานความคิดในการทางานกับท่าฟ้อนราเข้าด้วยกัน เป็นการฟ้อนสาวไหม

ที่น่าชมได้ การฟ้อนสาวไหมเป็นการฟ้อนที่มีมานาน และเป็นลักษณะของการฟ้อนของพื้นเมืองเหนืออย่างแท้จริง
แต่เดิมการฟ้อนสาวไหมเป็นท่าการฟ้อนที่รวมอยู่กับการฟ้อนเจิง ต่อมาภายหลังจึงได้แยกการฟ้อนสาวไหม

ออกมาเป็นท่าการฟ้อนเฉพาะเรียกว่า ฟ้อนสาวไหม แต่เดิมน้ันใช้ผู้ชายเป็นผู้ฟ้อนและใช้ฟ้อนในงานปอย
แห่ครัวทาน ฯลฯ ต่อมาภายหลังจึงมีผู้หญิงเป็นผู้ฟ้อน ลักษณะท่าการฟ้อนใช้ท่าเดียวกับที่ผู้ชายใช้ฟ้อน

เป็นลักษณะการฟ้อนเดี่ยว จากการศึกษาพบว่าการฟ้อนสาวไหม ปรากฏอยู่สองแบบ คือ ฟ้อนสาวไหมในการ
ฟ้อนเชิงหรือร่ายราท่าต่อสู่ด้วยมือเปล่า ซึ่งมีลีลากระบวนท่าท่ีแน่นอน และการฟ้อนสาวไหม ท่ีเป็นการฟ้อน

ของหญิงที่แสดงความเคลื่อนไหวในลีลาร่ายราที่นุ่มนวล มิได้ร้อนแรงเหมือนอย่างที่ปรากฏในเชิงต่อสู้
ฟ้อนสาวไหมเป็นการฟ้อนที่ประดิษฐ์ขึ้น โดยนายกุย สุภาวสิทธ์ิ ชาวอาเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่

ซ่ึงเรียนเชิงมาจากพ่อครูปวน ซึ่ง นายกุย สุภาวสิทธิ์ ได้เป็นครูเชิง หรือผู้สอนฟ้อนเชิง คือการฟ้อนด้วยมือ

เปล่าของผู้ชายในลีลาร่ายลาในเชิงต่อสู้ ต่อมาประมาณ พ.ศ. ๒๔๙๕ “พ่อครูกุย” ได้ย้ายไปตั้งถ่านฐานท่ีอยู่
ละแวกวัดศรีทรายมูล ตาบลเวียง อาเภอเมือง จังหวัดเชียงราย และนายกุย สุภาวสิทธ์ิ หรือ “พ่อครูกุย”

ได้ถา่ ยทอดการฟอ้ นให้แก่ธดิ า คอื แมค่ รูบวั เรยี ว (สุภาวสทิ ธ์)ิ รัตนมณีภรณ์
ท้ังนี้ นางเรืองมูล จันทร์คา ได้เรียนรู้การฟ้อนสาวไหมจากแม่ครูบัวเรียว รัตนมณีภรณ์ ศิลปินแห่งชาติ

สาขาศิลปะการแสดง (การแสดงพนื้ บา้ น – ชา่ งฟอ้ น) พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๙

-5๘-

๓.๒ ขัน้ ตอน/วธิ ีการ/ดาเนนิ การเกี่ยวกับข้อมูล

การแสดงการฟ้อนสาวไหมสืบต่อมา จึงยังคงใช้ผู้ชายออกมาแสดงร่วมกันกับฝ่ายหญิงอยู่ บางโอกาสก็ใช้
แสดงเปน็ หญงิ เพียง ๑ คน และชายอีก ๑ คน บางคร้งั กใ็ ช้ผชู้ าย ๒ คน หญิง ๒ คน แลว้ แต่โอกาสความเหมาะสมกัน

กับการใชผ้ ู้แสดงเป็นหญงิ แค่เพียงคนเดยี วเหมือนของเก่าท่มี ีมา แตใ่ นระยะหลงั เม่ือการฟ้อนสาวไหมแพร่หลาย
มีผู้รู้จักมากข้ึน การแสดงทุกครั้งจะนิยมใช้ผู้แสดงเดี่ยวเป็นหญิงตลอดมา เนื่องด้วยสตรีมีความสวยงามและ

นมุ่ นวลกวา่ บุรุษ ส่วนชื่อนน้ั ใชช้ อื่ การฟอ้ นสาวไหมสืบตอ่ มา

๔. ชอ่ื ผ้ทู ่ีถอื ปฏิบัตแิ ละผสู้ ืบทอด

๔.๑ ผทู้ ่ีถอื ปฏบิ ตั ิ

ช่ือ นางเรอื งมลู จันทร์คา

วัน เดือน ปเี กดิ ๙ กนั ยายน ๒๔๙๒

ที่อยู่ ๘๔ หมู่ ๑๐ ตาบลผางาม อาเภอเวยี งชัย จังหวัดเชยี งราย

หมายเลขโทรศัพท์ -

๔.๒ ผู้สืบทอด

ช่ือ -

วัน เดือน ปีเกิด -

ทอ่ี ยู่ -

หมายเลขโทรศัพท์ -

๕. สถานะการคงอยู่  ปฏบิ ัตอิ ยา่ งแพรห่ ลาย  เส่ยี งต่อการสูญหาย  ไมม่ ีปฏบิ ตั แิ ลว้

๖. รูปภาพภูมปิ ัญญาทางวัฒนธรรม/กจิ กรรมทางภูมปิ ัญญาทางวฒั นธรรม

-5๙-

แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ญั ญำทำงวฒั นธรรมจังหวัดเชยี งรำยประจำปี ๒๕๖๕
สภำวฒั นธรรมจังหวดั เชยี งรำย
อำเภอเวียงชัย จังหวัดเชียงรำย

๑. ช่ือข้อมลู ดนตรพี ้นื เมือง

๒. ลกั ษณะ  วรรณกรรมพืน้ บา้ นและภาษา
 ศลิ ปะการแสดง

 แนวปฏิบตั ทิ างสงั คมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรู้และการปฏบิ ตั ิเก่ยี วกบั ธรรมชาติและจกั รวาล

 งานชา่ งฝมี อื ดงั้ เดิม

 การละเลน่ พ้ืนบ้าน กีฬาพนื้ บา้ น และศิลปะการตอ่ สูป่ ้องกันตัว

๓. รายละเอยี ดข้อมูล

๓.๑) ประวตั ิความเปน็ มาของขอ้ มูล
วงดนตรีพื้นเมืองภาคเหนือ คือวงดนตรีที่คนในท้องถ่ินภาคเหนือได้คิดค้นจัดวงข้ึน ซ่ึงประกอบด้วย
เคร่ืองดนตรีในท้องถิ่นภาคเหนือเอง ได้แก่ กลองขนาดใหญ่ (กลองแอว) ฉาบ ฆ้องหุ่ย ป่ีจุม เป็นต้น นามาผสมวง
เพอ่ื ใช้บรรเลงประกอบการขับรอ้ งและประกอบการแสดงการฟ้อนตา่ ง ๆ ของภาคเหนอื เชน่ วงสะลอ้ ซอซงึ เป็นต้น

๓.๒) ขน้ั ตอน/วธิ ีการ/ดาเนินการเกี่ยวกบั ข้อมูล
ลักษณะเด่นของดนตรีพื้นบ้านภาคเหนือคือมีการนาเคร่ืองดนตรีประเภทดีด สี ตี และเป่า มาผสม
วงกัน สาเนียงและทานองเพลงมีความพลิ้วไหว อ่อนหวาน นุ่มนวลผสมผสานวัฒนธรรม จนกลายเป็นดนตรี
พื้นบ้านที่มีเอกลักษณ์เฉพาะถ่ิน เช่น วงสะลือ ซอซ้ึง วงสะลือ ซึงขลุ่ย วงกลองสะบัดชัย เป็นต้น เคร่ืองดนตรี
มีอยูห่ ลายชนดิ เชน่ พิณ สะลอื ซึง กลองปเู จก่ ลองสะบดั ชัย ตะโล้ดโปด๊ เปน็ ตน้

๔. ชื่อผ้ทู ี่ถอื ปฏิบัตแิ ละผสู้ บื ทอด
๔.๑ ผ้ทู ถ่ี ือปฏิบตั ิ
ชื่อ นายขอ้ น ต่อมใจ
วัน เดือน ปเี กิด 8 ตลุ าคม 2493
ทอี่ ยู่ 107 หมู่ 8 ตาบลผางาม อาเภอเวียงชยั จังหวดั เชยี งราย
หมายเลขโทรศัพท์ 096 482 4906
๔.๒ ผู้สบื ทอด
ชอ่ื นายคาปัน พทุ ธจันทร์
วัน เดือน ปีเกิด 15 เมษายน 2495
ทอี่ ยู่ 107 หมู่ 8 ตาบลผางาม อาเภอเวยี งชัย จังหวดั เชยี งราย
หมายเลขโทรศัพท์ -

๕. สถานะการคงอยู่  ปฏิบัตอิ ยา่ งแพร่หลาย  เสี่ยงต่อการสูญหาย  ไมม่ ีปฏบิ ตั ิแลว้

๖. รปู ภาพภูมปิ ัญญาทางวัฒนธรรม/กิจกรรมทางภูมปิ ัญญาทางวัฒนธรรม

-๖๐-

แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ญั ญำทำงวัฒนธรรมจงั หวัดเชยี งรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวัฒนธรรมจังหวดั เชยี งรำย
อำเภอเวยี งชัย จงั หวดั เชียงรำย

๑. ชื่อข้อมลู ฟอ้ นเล็บ การแสดงพน้ื บา้ น

๒. ลกั ษณะ  วรรณกรรมพ้นื บ้านและภาษา
 ศิลปะการแสดง
 แนวปฏิบตั ิทางสงั คมพิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความร้แู ละการปฏิบัตเิ ก่ียวกบั ธรรมชาตแิ ละจกั รวาล
 งานชา่ งฝมี อื ด้งั เดมิ
 การละเลน่ พื้นบ้าน กีฬาพน้ื บ้าน และศิลปะการต่อส่ปู ้องกนั ตวั

๓. รำยละเอียดข้อมูล

๓.๑) ประวตั ิความเป็นมาของขอ้ มลู
ฟอ้ นเล็บเป็นศลิ ปะการแสดงทเี่ ปน็ เอกลักษณ์ทางภาคเหนือโดยเฉพาะ กระบวนทา่ ราเป็นลีลาท่าฟ้อน
ที่มีความงดงามเช่นเดียวกับฟ้อนเทียน แต่ไม่ถือเทียน นิยมฟ้อนในเวลากลางวัน สาหรับชื่อชุดการแสดงจะมี
ความหมายตามลกั ษณะของผู้แสดงทีจ่ ะสวมเล็บยาวสีทองทุกนิว้ ยกเว้นน้ิวหวั แม่มือ
นางศรีปว้ น วงค์จกั ร เป็นอกี ผหู้ นงึ่ ท่ีมคี วามรู้และสืบสานการแสดงฟ้อนเล็บ ซึ่งได้เรียนรู้มาจากพ่อครู
แมค่ รตู ั้งแต่สมยั วยั เยาว์ และไดส้ ืบสานเรอื่ ยมาจนถึงปัจจุบัน การฟอ้ นชนดิ นมี้ ีมาแต่ดั้งเดิม ซึ่งนิยมแสดงในงาน
มงคล เช่นงานวดั การฟอ้ นนาขบวนแหข่ องชาวบ้านท่จี ดั ขนึ้ เรียกว่า ครัวทาน” ซ่ึงประกอบด้วยเครอ่ื งอัฐบริขาร
(ต้ังแต่ไม้กวาด หม้อน้ายา และเงินทอง) เพราะประเพณีทางเหนือนั้นเม่ือพ้นการทานาแล้วชาว บ้านก็จะมุ่ง
ทาบญุ มีการบูรณะวดั เปน็ ต้น

๓.๒) ขั้นตอน/วิธีการ/ดาเนนิ การเกี่ยวกบั ข้อมูล
กำรแต่งกำย จะแตง่ กายแบบไทยชาวภาค เหนอื สมัยโบราณ นุ่งผา้ ซิ่นมีเชิงลายขวาง เส้ือคอกลมแขน

ยาว และห่มผ้าสไบเฉียงทับ เกล้าผมมวยสูงทัดดอกไม้และห้อยอุบะ และสวมเล็บยาวทั้ง 8 นิ้ว เว้นแต่
น้วิ หวั แม่มอื การแตง่ กายสมยั ก่อน ถา้ เป็นฟอ้ นธรรมดาของแต่ละหมู่บา้ น การแตง่ กายจะเป็น 2 ลักษณะคอื

1. ใส่เสื้อคอกลมแขนกระบอก เอวรูด ไม่ห่มผ้า ผ้าซิ่นจะเป็นแบบลายขวาง ต่อเอวดาตีนดา (ตีน คือ
เชงิ ผ้าของผา้ ซนิ่ )

2. ใส่เส้ือคอกลมแขนกระบอก เอวปล่อย ห่มผ้า ใส่สร้อย ผ้าซ่ินให้ใช้ผ้าตีนจกหรือผ้าทอ(การแต่งกาย
ในข้อนี้จะใช้แต่งในงานใหญ่และในคุ้มเจ้านาย)การแต่งกายจะเหมือนกันท้ังหมดหรือเหมือนกันเฉพาะคู่ก็ได้

ฟ้อนเล็บ แต่เดิมเรียก “ฟ้อนเล็บ” ด้วยเห็นว่าเปน็ การฟ้อนท่ีเป็นเอกลักษณ์ของ “คนเมือง” ซ่ึงหมายถึงคนใน
ถิ่นล้านนาท่ีมีเชื้อสายไทยวน และเน่ืองจากการเป็นการแสดงที่มักปรากฏ ในขบวนแห่ครัวทานของวัดจึงมีชื่อ

เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า “ฟ้อนแห่ครัวทาน” ต่อมามีการสวมเล็บที่ทาด้วยทองเหลอื งทั้ง 8 นิ้ว (ยกเว้นนิ้วหัวแม่มือ)
จงึ ไดช้ ่อื ว่า “ฟอ้ นเลบ็ ”

ท่ำฟอ้ น การฟ้อนชนิดน้มี ีมาแตด่ ั้งเดมิ คณะศรทั ธาของแต่ละวัดมกั มีครฝู กึ สบื ทอดต่อกันมา เมือ่ ถงึ
ฤดูกาลทจ่ี ะมีงานปอยหลวง ซึ่งเปน็ งานฉลองศาสนสถาน มักมกี ารฝึกซ้อม เด็กสาวในหมู่บา้ นเพ่อื แสดงในงาน

ดังกลา่ วเสมอ โดยทีร่ ูปแบบกระบวนและลลี าทา่ ฟ้อนไม่ได้กาหนดตายตวั แต่ละครูหรอื แต่ละวัดอาจแตกตา่ ง

กนั ไป ในสมยั พระราชชายาเจา้ ดารารศั มี ได้มกี ารปรับปรุงและประดิษฐ์ทา่ ฟ้อนให้ดูอ่อนชอ้ ยงดงามยิ่งขนึ้ และ
บุคคล ผู้หนงึ่ ซึ่งเคยได้รบั การถา่ ยทอดจากคุม้ เจา้ หลวงได้แก่ ครสู มั พนั ธ์ โชตนา ในโอกาสทค่ี รูสมั พนั ธ์ไดเ้ ข้าไป

ถ่ายทอดศลิ ปะการฟอ้ นชนิดน้ีแก่วทิ ยาลยั นาฏศิลป์เชียงใหม่ ท่านได้กาหนดท่าฟ้อนไว้ 17 ท่าดงั น้ี

-๖๑-

1. จีบส่งหลงั 7. กราย 13. กระต่ายตอ้ งแรว้

2. กลางอัมพร 8. ผาลาเพยี งไหล่ 14. หยอ่ นมือ

3. บดิ บัวบาน 9. สอดสรอ้ ย 15. จีบค่งู อแขน

4. จบี สูงส่งหลงั 10. ยอดตอง 16. ตากปีก

5. บัวชฝู กั 11. กินนรรา 17. วนั ทาบัวบาน

6. สะบัดจีบ 12. พรหมสี่หนา้

ทา่ ราต่าง ๆ ดังกลา่ ว อาจมีการเพ่ิมท่า ตดั ตอน หรือลาดบั ท่าก่อนหลังตามท่ีครจู ะกาหนด

เครื่องแต่งกำย การแต่งกายแต่เดิมจะนุ่งผ้าซ่ิน สวมเส้ือแขนยาวทรงกระบอกคอกลม หรือคอจีนผ่า

อก เกล้าผมมวยโดยขมวดมวยด้านท้ายทอย ทัดดอกไม้ประเภทดอกเอื้อง จาปา กระดังงา หางหงส์ หรือลีลา

วดี สวมเลบ็ ทง้ั แปดน้ิว ตอ่ มามกี าร ดัดแปลงให้สวยงามโดยประดับลูกไม้ หรอื ระบายที่คอเสื้อ ห่มสไบเฉียงจาก

บ่าซ้ายไปเอวขวาทับด้วยสังวาล ติดเข็มกลัด สวมกาไลข้อมือ กาไลเท้า เกล้าผมแบบญ่ีปุ่น ทัดดอกไม้หรืออาจ

เพ่มิ อบุ ะหอ้ ยเพ่ือความสวยงาม

๔. ช่ือผทู้ ่ีถือปฏิบัตแิ ละผ้สู ืบทอด

๔.๑ ผู้ท่ถี ือปฏิบัติ

ชอ่ื นางศรปี ้วน วงคจ์ กั ร

วนั เดือน ปีเกดิ 17 กรกฎาคม 2497

ที่อยู่ 48 หม่ทู ี่ 7 ตาบลเวียงเหนอื อาเภอเวยี งชยั จงั หวดั เชยี งราย

หมายเลขโทรศัพท์ 090 750 8763

๔.๒ ผู้สืบทอด

ชื่อ -

วัน เดือน ปีเกิด -

ท่ีอยู่ -

หมายเลขโทรศัพท์ -

๕. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏบิ ัตอิ ย่างแพร่หลาย  เสี่ยงต่อการสูญหาย  ไม่มปี ฏบิ ตั แิ ล้ว

๖. รปู ภำพภูมปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม/กิจกรรมทำงภูมิปัญญำทำงวัฒนธรรม

-๖๒-

แบบสำรวจมรดกภมู ิปญั ญำทำงวัฒนธรรมจังหวัดเชยี งรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวัฒนธรรมจงั หวัดเชยี งรำย
อำเภอแม่ลำว จังหวัดเชยี งรำย

๑. ช่ือข้อมูล ฟ้อนเลบ็

๒. ลักษณะ  วรรณกรรมพน้ื บ้านและภาษา
 ศลิ ปะการแสดง
 แนวปฏิบตั ิทางสังคมพิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรู้และการปฏบิ ตั ิเก่ยี วกบั ธรรมชาติและจกั รวาล
 งานช่างฝมี อื ดัง้ เดิม
 การละเล่นพน้ื บา้ น กีฬาพ้นื บา้ น และศิลปะการต่อสปู่ ้องกันตัว

๓. รำยละเอียดข้อมลู

๓.๑) ประวตั ิความเป็นมาของข้อมลู
ฟ้อนเล็บ เป็นศิลปะการแสดงท่ีเป็นเอกลักษณ์ทางภาคเหนือโดยเฉพาะ รูปแบบการฟ้อนมีอยู่ ๒ แบบ
คือแบบพื้นเมืองหรือฟ้อนเมือง และแบบคุ้มเจ้าหลวง กระบวนท่าราเป็นลีลาท่าฟ้อนท่ีมีความงดงา ม
เช่นเดียวกับฟ้อนเทียน เพลงแต่ไม่ถือเทียน นิยมฟ้อนในเวลากลางวัน สาหรับช่ือชุดการแสดงจะมีความหมาย
ตามลกั ษณะของผ้แู สดงที่จะสวมเล็บยาวสีทองทุกนว้ิ ยกเวน้ น้ิวหวั แม่มือ

๓.๒) ขน้ั ตอน/วิธีการ/ดาเนินการเกี่ยวกบั ขอ้ มลู
กำรแสดงฟ้อนเล็บ
ผแู้ สดงจะร่ายราตามทานองเพลงที่เช่ืองช้า ส่วนการใช้ทา่ ฟ้อนเล็บนนั้ ช่างฟอ้ นมักจะจาต่อ ๆ กนั มา เป็น
ท่าฟ้อนดั้งเดิมของชาวเหนือ คอื ท่าพายเรอื ท่าบัวบานบดิ และทา่ หย่อน ตอ่ มาเม่ือนาฏศลิ ป์ทางภาคกลางแพร่มาสู่
ภาคเหนอื การฟอ้ นเลบ็ กม็ ีการปรบั วธิ กี ารฟอ้ นให้เข้ากับทา่ ราแม่บท เพ่มิ ท่าราให้มากขนึ้ และแตกตา่ งกนั ไป
ดนตรฟี อ้ นเล็บ
เคร่ืองดนตรีที่ใช้ในการฟ้อนเป็นวงกลองต่ึงนง วงต๊กเส้ง หรือวงป่ีพาทย์ล้านนา (นิยิมใช้กับฟ้อนเล็บ
แมค่ รบู วั เรยี ว) ซง่ึ เปน็ ดนตรีของชาวภาคเหนือ ไดแ้ ก่ กลองแอว กลองตะโล้ดโป๊ด ฉาบ ฆอ้ งโหมง่ ใหญ่ ฆ้องโหม่งเล็ก
ฉิ่ง ป่ีแนหน้อย ป่ีแนหลวง แต่ถ้าเป็นวงต๊กเส้ง จะเพิ่ม ส้ิง มาด้วย เวลาดนตรีบรรเลงเสยี งปด่ี ังไพเราะเยือกเย็น
มาก ท่วงทานองเชอ่ื งชา้ เสียงกลองจะตีดัง ตก๊ สว่า ต่งึ นง อย่างนเ้ี รือ่ ยไป ส่วนชา่ งฟอ้ นก็จะฟอ้ นช้า ๆ ไปตาม
ลีลาของเพลง เพลงท่ใี ช้บรรเลงฟอ้ นเล็บจะแบง่ ตามท้องถ่นิ หลกั ของแต่ละทจ่ี ะใชเ้ พลงฟอ้ นเล็บตา่ งกัน ดังน้ี
๑. เพลงมอญเชียงแสน(เชียงแสนหลวง) เป็นเพลงทานองฟ้อนเลบ็ ของท้องถ่ินจังหวัดเชียงรายและพะเยา
๒. เพลงแม่ดาโปน เปน็ เพลงทานองฟอ้ นเล็บของท้องถิ่นจงั หวัดลาปาง
๓.เพลงแหยง่ เปน็ เพลงทานองฟอ้ นเลบ็ ของท้องถิ่นจงั หวดั เชยี งใหมแ่ ละลาพนู
ผแู้ สดง
ฟอ้ นแตล่ ะชดุ จะใช้จานวนคนแตกต่างกันไป นิยมกันมี ๔ คู่ ๖ คู่ ๘ คู่ หรอื ๑๐ คู่
กำรแตง่ กำย
แต่งกายแบบไทยชาวภาคเหนือสมัยโบราณ คือ เกล้าผมทัดดอกไม้และอุบะ นุ่งผ้าตามแบบชาวเหนือ
สวมเสื้อทรงกระบอกแขนยาว คอกลมห่มสไบเฉียง นุ่งผ้าซ่ินลายขวาง และ สวมเล็บมือยาว ๘ น้ิว เว้นแต่
นวิ้ หัวแม่มือ

-๖๓-

๔. ชอ่ื ผทู้ ่ีถอื ปฏิบตั แิ ละผ้สู บื ทอด

๔.๑ ผทู้ ่ถี ือปฏบิ ัติ

ช่ือ นางมาลัย ทะรยิ ะ

วนั เดอื น ปีเกดิ -

ทีอ่ ยู่ ๒๑๘ หมู่ ๑๐ ซอย ๖ ตาบลป่าก่อดา อาเภอแม่ลาว จังหวัดเชยี งราย

หมายเลขโทรศัพท์ ๐๘๖ ๐๔๕ ๕๑๕๗

๔.๒ ผู้สืบทอด

ชอื่ ชมรมอนุรักษ์และสืบสานการแสดงนาฏศลิ ป์ อาเภอแมล่ าว

วัน เดอื น ปเี กิด -

ที่อยู่ ๒๑๘ หมู่ ๑๐ ซอย ๖ ตาบลป่าก่อดา อาเภอแมล่ าว จังหวดั เชยี งราย

หมายเลขโทรศัพท์ ๐๘๖ ๐๔๕ ๕๑๕๗

๕. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏบิ ัติอยา่ งแพรห่ ลาย  เสี่ยงต่อการสญู หาย  ไมม่ ีปฏบิ ตั ิแล้ว

๖. รปู ภำพภมู ปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม/กจิ กรรมทำงภูมปิ ัญญำทำงวฒั นธรรม

การแสดงฟอ้ นเล็บ ในงานมรดกภูมิปญั ญาทางวฒั นธรรม

การแสดงฟ้อนเล็บในงานทอดผา้ ปา่ ชมรมอนรุ กั ษ์และสบื สานการแสดงนาฏศิลป์ อาเภอแม่ลาว

-๖๔-

แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ญั ญำทำงวฒั นธรรมจังหวดั เชียงรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวัฒนธรรมจงั หวัดเชยี งรำย
อำเภอขนุ ตำล จงั หวัดเชียงรำย

๑. ช่ือข้อมูล ฟ้อนม่ิงขวัญครี ีศรีขนุ ตาล

๒. ลักษณะ  วรรณกรรมพื้นบ้านและภาษา
 ศิลปะการแสดง
 แนวปฏบิ ัติทางสังคมพิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรแู้ ละการปฏิบัติเกย่ี วกบั ธรรมชาตแิ ละจักรวาล
 งานชา่ งฝมี อื ดงั้ เดมิ
 การละเล่นพน้ื บา้ น กีฬาพื้นบา้ น และศิลปะการตอ่ สู่ป้องกนั ตวั

3. รำยละเอยี ดข้อมูล

๓.๑) ประวตั ิความเป็นมาของขอ้ มลู
เม่ือปี พ.ศ. 2561 ทางองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงราย จะจัดงานมหกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต
ผู้สูงอายุ คร้ังที่ 1 ขึ้น ณ สวนริมน้ากก อาเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย และมีการประกวดฟ้อนพื้นถิ่น
ทางโฮงเฮียนผู้สูงอายุเทศบาลตาบลป่าตาล และทีมงานจึงได้คิดว่า อาเภอขุนตาล ควรจะมีการฟ้อนพ้ืนถิ่น
ที่เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง จึงได้ปรึกษาอาจารย์รัชนีกรณ์ เหล่าภักดี อาจารย์ประจาวิชานาฏศิลป์ โรงเรียน
ขุนตาลวิทยาคม มาฝึกสอนให้แก่คณะช่างฟ้อนนักเรียนโฮงเฮียนสูงวัยเทศบาลตาบลป่าตาล และนาส่งเข้า
ประกวดในงานดังกล่าว สามารถชนะใจคณะกรรมการและได้รับรางวัลชนะเลิศประเภทฟ้อนพ้ืนถิ่น ตั้งแต่
บัดน้ันเป็นต้นมา การฟ้อนมิ่งขวัญคีรีศรีขุนตาล จึงเป็นลิขสิทธิ์ของคณะช่างฟ้อนโฮงเฮียนสูงวัยเทศบาลตาบล
ป่าตาลและเปน็ การฟ้อนทถี่ ือว่าเปน็ เอกลกั ษณป์ ระจาอาเภอขนุ ตาล ตงั้ แตบ่ ัดน้ันเปน็ ต้นมา
การฟอ้ นมิ่งขวัญคีรีศรขี นุ ตาลเป็นการฟ้อนท่ีเปน็ เอกลักษณข์ องอาเภอขุนตาล ซึ่งเป็นการเลา่ ถงึ ประวัติ
อาเภอขุนตาลตามคาขวัญคือ “พระแสนแซ่คู่บ้าน พระธาตุขุนตาลคู่เมือง รอยพระบาทลือเล่ือง ขุนตาลเมือง
คนด”ี ในรปู แบบคา่ วและลีลาฟ้อนแบบทางเหนือประกอบเพลงซ่ึงเปน็ ลลี าการฟ้อนท่สี วยงามแบบลา้ นนาและ
การอนุรักษ์วัฒนธรรมการแต่งกายตามวัฒนธรรมพ้ืนบ้านของอาเภอขุนตาล และข้าพเจ้าเป็นครูจิตอาสาของ
โรงเรียนผู้สูงวัยเทศบาลตาบลป่าตาลจึงใช้เป็นเอกลักษณ์ของโรงเรียนผู้สูงวัยเทศบาลตาบลป่าตาลและอาเภอ
ขุนตาล และเป็นตน้ แบบ สืบสาน สบื ทอด แกอ่ นุชนรนุ่ ตอ่ รนุ่ คือ เดก็ นักเรียน กลุ่มพัฒนาสตรแี ม่บา้ น
๓.๒) ขน้ั ตอน/วิธีการ/ดาเนินการเกีย่ วกับข้อมูล
เทคนิคและวธิ กี ำรท่ใี ช้ในกำรสรำ้ งสรรคผ์ ลงำน
การสรา้ งจติ สานึกให้กลุ่มต่าง ๆ ให้มีตอ่ วฒั นธรรมทอ้ งถ่ิน โดยสอดแทรกการแสดงแบบลา้ นนาท้องถ่ิน
ในงานต่าง ๆ ของชุมชนที่มี เช่น งานทาบุญตามวัดต่าง ๆ งานประเพณีงานเทศกาลต่าง ๆ และให้กลุ่มพลังต่าง ๆ
มีโอกาสสมั ผัส ฝกึ ซอ้ ม ลอง อีกทง้ั จดั เวทใี หท้ ุกกลุ่มมีโอกาสแสดงออกระดบั อาเภอถึงวัฒนธรรมท้องถน่ิ ที่มีอยู่
เช่น การจัดมหกรรมรวมพลคนรกั สุขภาพ การออกกาลังกายด้วยการฟ้อนเล็บ ราวงมาตรฐาน และจัดให้มีการ
ฟ้อนท้องถ่ินประจาตาบล การจัดงานสมโภชเฉลิมฉลองการข้ึนครองราชย์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
รัชกาลที่ 10 และประสานเทศบาลตาบลป่าตาล ส่งเสริมเป็นนวัตกรรมการออกกาลังกายเพ่ือสุขภาพประจา
ตาบลโดยมีการประชาสัมพันธ์ผ่านส่ือทางวิทยุกระจายเสียงท่ีข้าพเจ้าทาหน้าท่ีนักจัดการายวิทยุชุมชนเพื่อคน
ท้องถิ่นตาบลป่าตาล ผ่านส่ือ Application Line ผ่านกลุ่ม ต่าง ๆ เพื่อให้เกิดการซมึ ซับอยา่ งต่อเนือ่ งและสบื
ทอดต่อไป

-๖๕-

ข้ันตอนและกำรผลิตงำน
การฝึกซ้อมเป็นประจานามาเป็นนวัตกรรมในการออกกาลังกายเพ่ือสุขภาพ สมาชิกกลุ่มทุกคน
เพ่ือการผลิตผลงานทางวฒั นธรรมท้องถิ่นใหเ้ ป็นเอกลักษณ์ เป็นท่ีรู้จักและสืบสานตลอดไป และจากนั้นมีการ
ประสานกลุม่ สมาชกิ ปรึกษาหารือเทศบาลตาบลปา่ ตาลและหน่วยงานทเ่ี ก่ยี วข้องในการสร้างเครอื ข่ายเพ่ือให้มี
เวทีในการแสดงออกถึงวัฒนธรรมท้องถ่ิน เช่น การจัดงานต่าง ๆ ในชุมชน หน่วยงานต่าง ๆจัดข้ึนเพื่อเป็น
ช่องทางในการสรา้ งผลงาน เชน่ การจดั งาน OTOP นวตั วถิ ี การจัดงานมหกรรมของดีเมืองขนุ ตาล การจดั เวที
ถนนคนเดินเพลิดเพลินวัฒนธรรม การจัดงานประกาศพระพุทธศาสนาเปน็ ศาสนาหลักประจาจังหวัดเชยี งราย
คณุ คำ่ ประโยชน์และควำมสำคัญของงำน
คุณค่าของผลงานฟ้อนม่ิงขวัญคีรีศรีขุนตาล สามารถเชิดหน้าชูตาด้านวัฒนธรรมท้องถิ่นและเป็นท่ี
ยอมรับของทุกองค์กร จนเป็นเอกลักษณ์ประจาอาเภอขุนตาลและโรงเรียนผู้สูงวัยเทศบาลตาบลป่าตาล
ซ่ึงสามารถสร้างคุณค่าทางวัฒนธรรมเป็นอย่างมากและสรา้ งคุณค่าทางด้านจิตใจท่ีทาให้ประชาชนชาวขุนตาล
ต้องจารึก และเป็นการกระตุ้นจิตสานึกในการหวงแหนคุณค่าวฒั นธรรมท่ีมีอยู่ กลุ่มสมาชิกทุกคนต้องอนุรักษ์
สานตอ่ สบื ทอด แกอ่ นชุ นรนุ่ ต่อไป

๔. ช่ือผู้ที่ถอื ปฏิบตั ิและผู้สืบทอด

๔.๑ ผ้ทู ี่ถือปฏบิ ตั ิ

ชอ่ื โรงเรยี นผู้สูงอายุเทศบาลตาบลปา่ ตาล

วนั เดือน ปเี กิด -

ทอ่ี ยู่ โรงเรียนผสู้ งู อายุเทศบาลตาบลป่าตาล อาเภอขนุ ตาล จงั หวัดเชียงราย

หมายเลขโทรศัพท์ -

๔.๒ ผูส้ ืบทอด

ช่อื โรงเรยี นผูส้ งู อายเุ ทศบาลตาบลปา่ ตาล

วนั เดือน ปเี กิด -

ทีอ่ ยู่ โรงเรยี นผสู้ งู อายเุ ทศบาลตาบลป่าตาล อาเภอขนุ ตาล จังหวัดเชยี งราย

หมายเลขโทรศัพท์ -

๕. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏิบัติอย่างแพร่หลาย  เส่ยี งตอ่ การสูญหาย  ไม่มีปฏบิ ตั แิ ล้ว

๖. รูปภำพภูมิปัญญำทำงวัฒนธรรม/กจิ กรรมทำงภูมปิ ัญญำทำงวฒั นธรรม

-๖๖-

-๖๗-

แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ญั ญำทำงวฒั นธรรมจังหวดั เชียงรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวฒั นธรรมจังหวดั เชยี งรำย
อำเภอแม่สำย จงั หวัดเชยี งรำย

๑. ชื่อข้อมูล ฟ้อนลา้ นนา

๒. ลักษณะ  วรรณกรรมพนื้ บ้านและภาษา
 ศิลปะการแสดง
 แนวปฏิบัติทางสงั คมพิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรูแ้ ละการปฏิบัติเกย่ี วกบั ธรรมชาตแิ ละจกั รวาล
 งานชา่ งฝมี อื ดั้งเดิม
 การละเลน่ พนื้ บา้ น กีฬาพืน้ บ้าน และศลิ ปะการตอ่ ส่ปู ้องกนั ตัว

3. รำยละเอียดข้อมลู

๓.๑) ประวตั ิความเป็นมาของขอ้ มลู
การฟ้อนและงานบุญของคนเมืองถือเป็นของคู่กัน ทุกคร้ังท่ีมีงานบุญหรืองานปอยก็มักจะต้องมี
การฟ้อน การฟ้อนเล็บถือกันว่าเป็นการฟ้อนเพ่ือทาบุญอย่างหนึ่ง ช่างฟ้อนส่วนใหญ่จะเป็นชาวบ้านในหมู่บ้านน้ัน
หรอื เปน็ ศรัทธาของวัด เวลามีงานปอยทวี่ ัดก็จะมีการฟ้อนเล็บต้อนรับหัววัดต่าง ๆ ที่มาเข้ารว่ มขบวนแห่ครัวทาน
การฟ้อนราของคนในอดีตถือเป็นแม่แบบของการฟ้อนในปัจจุบัน ไม่ว่าเราจะเยื้องกายไปทางไหนที่มี
งานบุญก็มักจะพบเห็นว่ามีการฟ้อนราอยู่เสมอ จนเดียวน้ีไม่ว่าจะเป็นโรงแรมต่าง ๆ หรือแม้แต่ตามศูนย์
วัฒนธรรมก็มักจะมีการฟ้อนราให้นักท่องเท่ียวได้ชมพร้อม ๆ กับการรับประทานอาหารแบบพื้นเมือง จนเรียก
ได้วา่ การฟ้อนราพนื้ เมอื งถอื เปน็ หนา้ เปน็ ตาของบ้านเมืองไปแลว้
การรฟ้อนตามแบบฉบับของชาวล้านนามีเอกลกั ษณ์ อัตลักษณ์ ประจาถ่ิน กลา่ วคือ ถึงแม้การแสดงจะ
มีช่ือเดียว แต่ ลีลา ท่ารา การย่างก้าว ก็ไม่เหมือนกัน แม้แต่ดนตรี บรรเลง จังหวะ ท่างท่าการร่ายราก็ไม่
เหมอื นกนั เชน่ การฟ้อนเลบ็ ฟ้อนเทยี น ฟ้อนขันดอก แตล่ ะทีก็จะไมเ่ หมอื นกัน แตจ่ ะมีต้นแบบท่ไี ปในทศิ ทางเดยี วกนั
การแสดงล้านนามีมากมายหลายแบบท้ังแบบประยุกต์และแบบดั้งเดิม เช่น การฟ้อนเล็บ ฟ้อนเทียน
ฟอ้ นผางประทปี ฟอ้ นแปน(ขนนกยงู ) เป็นต้น

๓.๒) ขนั้ ตอน/วิธกี ำร/ดำเนินกำรเก่ยี วกับข้อมูล
สอบถามจากปฏิบัตแิ ละผู้สืบทอด และค้นคว้าจากแหล่งข้อมลู อ่นื ๆ

๔. ชือ่ ผู้ที่ถอื ปฏิบัตแิ ละผ้สู บื ทอด

๔.๑ ผูท้ ่ีถอื ปฏิบตั ิ

ชอื่ นายณฐั พงศ์ คาบุญชู

วนั เดอื น ปเี กิด 23 ม.ิ ย. 2537

ทอี่ ยู่ 74 หมู่ 9 ตาบลแมส่ าย อาเภอแมส่ าย จงั หวดั เชยี งราย

หมายเลขโทรศัพท์

๔.๒ ผ้สู ืบทอด

ช่อื -

วนั เดอื น ปเี กิด -

ทอ่ี ยู่ -

หมายเลขโทรศัพท์ -

-6๘-
๕. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏิบัตอิ ยา่ งแพร่หลาย  เส่ยี งตอ่ การสญู หาย  ไม่มปี ฏิบตั แิ ลว้
๖. รูปภำพภมู ปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม/กจิ กรรมทำงภูมปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม

-6๙-

แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ญั ญำทำงวัฒนธรรมจงั หวัดเชยี งรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวัฒนธรรมจงั หวัดเชยี งรำย

อำเภอพญำเม็งรำย จงั หวัดเชยี งรำย

๑. ช่ือข้อมลู ฟ้อนศลิ ามณี

๒. ลกั ษณะ  วรรณกรรมพื้นบ้านและภาษา

 ศลิ ปะการแสดง
 แนวปฏบิ ตั ิทางสงั คมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรแู้ ละการปฏิบัตเิ กีย่ วกับธรรมชาตแิ ละจักรวาล
 งานช่างฝีมือดง้ั เดิม
 การละเล่นพืน้ บ้าน กีฬาพน้ื บา้ น และศลิ ปะการต่อส่ปู ้องกันตวั

๓. รำยละเอียดขอ้ มลู

๓.๑) ประวัตคิ วามเป็นมาของขอ้ มูล

“กำรฟ้อนศิลำมณี” เป็นศิลปะการฟ้อนแบบประยุกต์ (ฟ้อนที่ประดิษฐ์ขึ้นในระยะหลัง)
เม่ือศิลปะวัฒนธรรมท้องถิ่นเร่ิมเป็นท่ีสนใจของคนทั่วไปแล้ว ก็ได้มีผู้ประดิษฐ์ท่าฟ้อนราข้ึนมาอีกหลายท่า

หลายแบบ โดยมักนาเอาการฟ้อนประยุกต์น้ีมาฟ้อนในงานมงคล เช่น แห่ครัวตานเข้าวัด คาดว่าอาจจะรับ
อิทธิพลมาจากภาคอีสาน ภาคกลางบ้าง หรือภาคใต้ก็ดี บ้างก็คิดเอง ขอเพียงดนตรีท่ีมีจังหวะ ก็สามารถได้ท่า

ฟ้อนในขบวนแห่ครัวตาน เช่น การฟ้อนภูไท ฟ้อนชาวเขา เซ้ิง ฟ้อนประยุกต์ เป็นต้น การฟ้อนประยุกต์ได้รับ
ความนิยมเป็นอย่างมากในปัจจุบัน และพบว่ามีหลายกระบวนท่าฟ้อนมาก เช่น ฟ้อนหริภุญชัย ฟ้อนร่ม ฟ้อน

เก็บใบชาสูบ ฟ้อนยอง ฟ้อนศิลามณี ฟ้อนผางประทีป ฟ้อนล่องแม่ปิง ฟ้อนเชียงแสน ฟ้อนล่องน่าน ฟ้อนน่าน

นันทบุรี ฟ้อนวี (ฟ้อนพัด) ฟ้อนขันดอก ฟ้อนร่มฟ้าไทย-ยวน (ฟ้อนร่มฟ้าล้านนา หรือฟ้อนยวนสาวไหม) ฟ้อน
ขันส้มป่อย เป็นตน้

“กำรฟ้อนศิลำมณี” เป็นศิลปะที่งดงามอันบ่งบอกถึงเอกลักษณ์ของ “คนเมือง” อันหมายถึง ผู้คน
ในถ่นิ ล้านนาและการแสดงนัน้ มกั จะปรากฏในขวบนแห่ครวั ตานเขา้ วัด จึงมีชือ่ เรียกอีกชอ่ื หนึ่งวา่ “ฟ้อนแหค่ รัว

ตาน” ต่อมามีการสวมเล็บท่ีทาด้วยทองเหลืองทั้ง 8 น้ิว (ยกเว้นน้ิวหัวแม่มือ 2 ข้าง) จึงได้ชื่อว่า “ฟ้อนเล็บ”
ท่าฟ้อนการฟ้อนชนิดน้ีมีมาต้ังแต่เดิม คณะศรัทธาของแต่ละวัดมักมีครูฝึกสอนสืบทอดต่อกันมา เมื่อถึงฤดูกาล

ที่จะมีงานปอยหลวง (งานทาบุญใหญ่) ซึ่งเป็นงานเฉลิมฉลองศาสนสถาน มักจะมีการฝึกซ้อมท่าฟ้อน เด็กและ
เยาวชนในหมู่บ้าน เพ่ือจะฟ้อนแสดงในงานปอยหลวงประจาปี โดยรูปแบบกระบวนและลีลาท่าฟ้อนไม่ได้

กาหนดตายตวั ไดม้ กี ารปรบั ปรุงและประดษิ ฐท์ ่าฟ้อนใหด้ ูอ่อนชอ้ ย งดงามยงิ่ ขึ้น
การแต่งกายในการฟ้อนแต่เดิมจะนุ่งผ้าซ่ิน สวมเสื้อแขนยาวทรงกระบอก คอกลม หรือคอจีนผ่าอก

เกล้าผมมวย โดยขมวดมวยด้านท้ายทอย ทัดดอกไม้ประเภทดอกเอ้ือง จาปา กระดังงา หางหงส์ หรือลีลาวดี
สวมเล็บทั้ง 8 น้ิว ต่อมามีการดัดแปลงให้สวยงามโดยประดับลูกไม้ หรือระบายที่คอเส้ือ ห่มสไบเฉียงจากบ่า

ซา้ ยไปเอวขวาทบั ดว้ ยสายสร้อยสังวาล ติดเขม็ กลดั สวมกาไลขอ้ มือ กาไลเท้า เกลา้ ผมแบบญปี่ ุน่ ทดั ดอกไม้
เอกลักษณ์และจุดเด่นของการฟ้อนศิลามณี คือ ท่าฟ้อนและการแต่งกาย เครื่องดนตรีและเพลง

ประกอบการฟ้อน ที่มีความไพเราะ อ่อนหวาน โอกาสท่ีจะแสดงในงานเทศกาลหรืองานประเพณี ซึ่งเป็นการ
แสดงท่ีอ่อนช้อยงดงามตามแบบฉบับของคนไทยภาคเหนือโดยแท้ ควรที่จะต้องอนุรักษ์ ส่งเสริม รักษาและ

ต่อยอดใหม้ กี ารถา่ ยทอดศลิ ปะการแสดงที่มาจากภูมิปญั ญาทางวัฒนธรรมของคนไทยมใิ หเ้ สอ่ื มหายไป
กลุ่มแม่บ้านพัฒนาสตรีบ้านไม้ยา หมู่ 2 ได้เริ่มฝึกการสอนท่าฟ้อนศิลามณีให้กับผู้ท่ีสนใจ ในปี

พ.ศ.2540 เป็นต้นมา จนถงึ ปจั จบุ นั

-๗๐-

๓.๒) ข้ันตอน/วิธกี าร/ดาเนินการเกี่ยวกับข้อมลู
- ศกึ ษาข้อมลู
- สารวจข้อมูล
- ลงพนื้ ที่ สัมภาษณ์
- บนั ทึกข้อมูล จดั ทารายงานสรุป

๔. ชอ่ื ผทู้ ่ีถอื ปฏิบัติและผู้สืบทอด
๔.๑ ผทู้ ถ่ี อื ปฏิบัติ
ชื่อ นางลาพงึ มณีสวุ รรณ
วัน เดือน ปเี กิด 5 เมษายน 2520
ทอ่ี ยู่ 24 หมู่ 2 ตาบลไม้ยา อาเภอพญาเม็งราย จงั หวดั เชียงราย
หมายเลขโทรศัพท์ 082 181 0967
๔.๒ ผู้สืบทอด
(๑) ชอ่ื นางนงลกั ษณ์ ลักคณะ
วัน เดือน ปีเกิด 7 สิงหาคม 2513
ท่ีอยู่ 246 หมู่ 2 ตาบลไม้ยา อาเภอพญาเมง็ ราย จงั หวัดเชยี งราย
หมายเลขโทรศัพท์ 082 257 1815
(๒) ชอ่ื นางเรณุกา กองเงิน
วัน เดือน ปีเกดิ 29 พฤศจิกายน 2510
ทอ่ี ยู่ 132 หมู่ 2 ตาบลไม้ยา อาเภอพญาเมง็ ราย จงั หวัดเชียงราย
หมายเลขโทรศัพท์ 086 911 6142
(๓) ช่ือ กลุม่ พฒั นาสตรีบ้านไม้ยา หมู่ 2
วัน เดือน ปีเกิด -
ที่อยู่ หมู่ 2 ตาบลไมย้ า อาเภอพญาเมง็ ราย จงั หวัดเชียงราย
หมายเลขโทรศัพท์ -

๕. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏิบตั ิอยา่ งแพรห่ ลาย  เสยี่ งตอ่ การสูญหาย  ไม่มปี ฏบิ ตั ิแลว้

๖. รปู ภำพภมู ิปัญญำทำงวัฒนธรรม/กิจกรรม

-๗๑-

แบบสำรวจมรดกภมู ิปัญญำทำงวฒั นธรรมจังหวัดเชยี งรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวัฒนธรรมจังหวัดเชยี งรำย

อำเภอพญำเม็งรำย จงั หวดั เชียงรำย

๑. ชื่อข้อมูล ฟ้อนสาวไหม

๒. ลกั ษณะ  วรรณกรรมพ้ืนบ้านและภาษา
 ศลิ ปะการแสดง
 แนวปฏบิ ตั ทิ างสงั คมพิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรู้และการปฏบิ ตั ิเก่ียวกบั ธรรมชาตแิ ละจกั รวาล
 งานชา่ งฝมี อื ด้ังเดมิ
 การละเล่นพน้ื บ้าน กีฬาพ้ืนบา้ น และศลิ ปะการต่อสูป่ ้องกนั ตวั

๓. รำยละเอียดข้อมลู

๓.๑) ประวตั ิความเปน็ มาของขอ้ มลู
ศิลปะการแสดงพื้นเมืองของภาคเหนือ เป็นศิลปะการรา และการละเล่น หรือที่นิยมเรียกกันท่ัวไปว่า
“ฟ้อน” การฟ้อนจัดเป็นวัฒนธรรมที่บง่ บอกถงึ พฤติกรรม การกระทาทเี่ กิดจากความคิด ความเชอื่ ซง่ึ การฟ้อน
ราจะเป็นการแสดงออกดว้ ยทา่ ทางต่าง ๆ ทเี่ กิดขน้ึ โดยธรรมชาติ หรอื ไดร้ ับการปรงุ แตง่ สาหรบั ศลิ ปะการฟ้อน
ราของล้านนาเป็นวัฒนธรรมพื้นบ้านที่มีมาแต่ในอดีต โดยสืบทอดมาจากบรรพบุรุษในยุคต้นๆ และลักษณะ
ทา่ ทางทฟ่ี อ้ นออกมาจะแตกต่างกนั ออกไปตามเผา่ พนั ธุแ์ ละความเช่ือในกลุ่มชนต่าง ๆ
“ฟ้อนสาวไหม” เป็นศิลปะการฟ้อนราประเภทหนึ่งของชาวล้านนา จัดเป็นหน่ึงในห้าภูมิปัญญา
ที่สาคัญในด้านศิลปะการแสดงของจังหวัดเชียงราย เป็นการแสดงพื้นเมืองที่มีความงดงาม อ่อนช้อย โดยมี
ลักษณะที่แตกต่างจากการฟ้อนประเภทอ่ืน ๆ และมพี ฒั นาการทาง รูปแบบมาจากการมาจากฟ้อนเจิง โดยพ่อ
ครูกุย สุภาวสิทธิ์ และแม่ครูบัวเรียว ได้ฝึกและพัฒนาการฟ้อนมาอย่างต่อเนื่อง ซึ่งลักษณะเด่นที่แตกต่างจาก
การฟ้อนรูปแบบอ่ืน ๆ คือ เป็นการฟ้อนที่เลียนแบบจากการทางานในชีวิตประจาวันของคนพื้นเมืองในการ
ปลูกฝ้าย ทอผ้า ท่าฟ้อนสาวไหม แสดงถึงความอ่อนช้อย สวยงาม ละเมียดละไม จนสามารถจิตนาการเห็น
เคร่อื งปนั่ ฝ้าย การดึงฝ้ายแตล่ ะเส้นๆ เหน็ เปน็ ข้ันตอนต้งั แตก่ ารเกบ็ ฝ้าย ปน่ั ฝา้ ย จนกระทัง่ ถกั ทอฝา้ ยเป็นผนื
การฟ้อนสาวไหม เป็นการฟ้อนท่ีมีมานาน และเป็นลักษณะของการฟ้อนของพื้นเมืองเหนืออย่าง
แท้จริง แต่เดิมการฟ้อนสาวไหมเป็นท่าการฟ้อนที่รวมอยู่กับการฟ้อนเจิง ซึ่งอยู่ในชุดเดียวกับการฟ้อนดาบ
ต่อมาจึงได้แยกการฟ้อนสาวไหมออกมาเป็นท่าการฟ้อนเฉพาะเรียกว่า ฟ้อนสาวไหม และแต่เดิมนั้นใช้ผู้ชาย
เป็นผู้ฟ้อน ภายหลังจึงมีผู้หญิงเป็นผู้ฟ้อน โดยลักษณะการฟ้อนสาวไหม ปรากฏอยู่สองแบบ คือ
ฟ้อนสาวไหมในการฟ้อนเชิงหรือร่ายรา ท่าต่อสู้ด้วยมือเปล่า ซึ่งมีลีลากระบวนท่าที่แน่นอนและการฟ้อนสาว
ไหม ท่ีเป็นการฟ้อนของหญิงที่แสดงความเคล่ือนไหวในลีลาร่ายราท่ีนุ่มนวล และการฟ้อนสาวไหมท่ีนิยมกัน
ทุกวันนี้ ได้ต้นแบบมาจากนางบัวเรียว รัตนมณีกรณ์ (สุภาวสิทธิ์) ท่ีได้รับการถ่ายทอดการฟ้อนสาวไหมมาจาก
นายกยุ สุภาวสิทธิ์ ผเู้ ปน็ บดิ า ทเ่ี รียกฟ้อนเชงิ ว่า ฟ้อนสาวไหม ประกอบดว้ ยเหตผุ ล 3 ประการ ดังนี้
ประการที่ 1 คนเมือง หรือคนภาคเหนอื เรียกด้ายเย็บผา้ ว่า “ไหมเย็บผ้า”
ประการที่ 2 คาว่า “สาวไหม” เปน็ กระบวนทา่ หนง่ึ ในการฟ้อนเชงิ ของชาวลา้ นนา
ประการที่ 3 เพอ่ื ความสวยงามตามรปู ภาษา โดยคาว่าฟ้อนสาวไหม มคี วามสวยงามมากกวา่ คาว่า

ฟอ้ นสาวฝ้าย หรือฟอ้ นปน่ั ฝ้าย

-๗๒-

ปัจจุบันการฟ้อนสาวไหมเป็นศิลปะการแสดงท่ีมีลีลางดงาม จึงมีผู้ที่เริ่มให้ความสนใจมากขึ้น แม่เกียง
สาริวงค์ เป็นบคุ คลที่ถอื ได้วา่ เป็นแบบอยา่ งท่ีนาการฟ้อนสาวไหมมาจากตน้ แบบของแม่ครบู วั เรียว มาเผยแพร่
และถ่ายทอดให้กับบุคคลที่สนใจจะฝึกสอน โดยแม่เกียง สาริวงค์ เป็นคนท่ีย้ายมาจากบ้านป่าบง ตาบลยางฮอม
อาเภอขุนตาล จังหวัดเชียงราย ปัจจุบันย้ายมาอยู่ท่ีบ้านห้วยก้าง เม่ือปีพ.ศ. 2514 ในขณะนั้นแม่เกียง สาริวงค์
มีพ่อครูที่คอยฝึกสอนท่าฟ้อน ชื่อ พ่อหน้อยยืน (ไม่ทราบนามสกุล) โดยแม่เกียงได้ต้ังใจฝึกซ้อมท่าฟ้อนราจาก
พอ่ ครูมาตั้งแต่อายุ 15 ปี จนถึงปจั จุบัน เพื่อตอ้ งการถ่ายทอดมรดกภูมิปัญญาศลิ ปะการแสดงให้กับคนรุ่นใหม่
ไดเ้ รียนรู้ สืบทอดและต่อยอดให้คงอยเู่ ปน็ วฒั นธรรมประจาชาติตลอดไป ไมใ่ หส้ ูญหาย

๓.๒) ขัน้ ตอน/วธิ ีการ/ดาเนนิ การเก่ยี วกบั ข้อมูล
1. ศึกษาข้อมลู
2. สารวจพ้นื ท่ี
3. ลงพนื้ ท่ี สงั เกตการณแ์ ละสมั ภาษณ์
4. บนั ทกึ ขอ้ มลู และจัดทารายงาน

๔. ช่อื ผู้ที่ถือปฏิบัตแิ ละผู้สบื ทอด

๔.๑ ผ้ทู ่ีถือปฏิบัติ

ช่อื นางเกยี งคา สาริวงค์

วนั เดือน ปีเกดิ 24 สงิ หาคม 2510

ทีอ่ ยู่ 59 หมู่ 5 ตาบลไม้ยา อาเภอพญาเมง็ ราย จังหวดั เชยี งราย

หมายเลขโทรศัพท์ 087 749 1619

๔.๒ ผสู้ บื ทอด

ช่ือ นางสาวณัฐชา สาริวงค์

วนั เดือน ปีเกดิ 25 มนี าคม 2547

ที่อยู่ 24 หมู่ 17 ตาบลไมย้ า อาเภอพญาเม็งราย จงั หวัดเชยี งราย

หมายเลขโทรศัพท์ 081 638 5721

๕. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏบิ ัตอิ ยา่ งแพรห่ ลาย  เสย่ี งต่อการสูญหาย  ไม่มีปฏิบัตแิ ลว้

๖. รปู ภำพภูมปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม/กิจกรรมทำงภูมปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม

-๗๓-

แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ัญญำทำงวฒั นธรรมจงั หวดั เชยี งรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวฒั นธรรมจังหวดั เชยี งรำย
อำเภอเวยี งชัย จังหวดั เชยี งรำย

๑. ช่ือข้อมูล ภูมปิ ัญญาด้านนาฎศลิ ป์ การตรี ะนาด

๒. ลักษณะ  วรรณกรรมพ้ืนบา้ นและภาษา
 ศิลปะการแสดง

 แนวปฏบิ ตั ิทางสงั คมพิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรู้และการปฏิบตั ิเกี่ยวกับธรรมชาติและจกั รวาล

 งานช่างฝมี อื ดงั้ เดมิ
 การละเล่นพน้ื บา้ น กีฬาพ้นื บา้ น และศลิ ปะการต่อสู่ป้องกนั ตวั

๓. รำยละเอียดข้อมลู
๓.๑) ประวัติความเป็นมาของข้อมลู
นายอ้าย ธรรมใจ เกิดเมื่อวันท่ี 30 พฤศจิกายน 2486 ปัจจุบัน อายุ 78 ปี เป็นบุตร นายเงิน –

นางนา ธรรมใจ อาศัยอยู่บ้านเลขที่ 67 หมู่ท่ี 7 บา้ นสันมว่ งคา ตาบลดอนศิลา อาเภอเวยี งชัย จงั หวดั เชียงราย
ประกอบอาชีพเกษตรกรรม เป็นผูม้ คี วามรู้ความสามารถในการเลน่ ดนตรไี ทย โดยเฉพาะการตีระนาดเอก

นายอ้าย ธรรมใจ เป็นผู้สูงอายุท่ีมีความสามารถในการเล่นเคร่ืองดนตรีไทยและดนตรีพื้นเมืองหลาย
ประเภท และยังมีความสามารถในการประดิษฐ์เครื่องดนตรีต่าง ๆ แต่ท่ีมีความชานาญเป็นพิเศษคือ การตี
ระนาดเอก และระนาดที่ใช้อยใู่ นปจั จุบนั นายอา้ ย ธรรมใจ ก็เปน็ ผูป้ ระดษิ ฐ์เอง อกี ท้งั ยังเปน็ ผู้ริเร่ิมในการต้ังวง
ดนตรีในหมู่บ้าน มีการซ้อมอย่างต่อเน่ืองจนสามารถไปแสดงในงานต่าง ๆ ทั้งในตาบลและ นอกสถานท่ี การ
ถ่ายทอดภูมิปัญญาด้านการตีระนาดของ นายอ้าย ธรรมใจ ให้แก่เด็กในพ้ืนที่ เป็นการถ่ายทอดด้วยจิตของครู
ระนาดทไี่ ม่หวงวิชา เพราะต้องการใหเ้ ด็กรนุ่ หลงั สามารถตีระนาด และเลน่ เครอ่ื งดนตรชี นิดตา่ งๆ ได้

๓.๒) ขน้ั ตอน/วธิ ีการ/ดาเนินการเกย่ี วกบั ขอ้ มูล
กำรตรี ะนำด วธิ ีกำรถำ่ ยทอดโดยสังเขป
1. ทำควำมรูจ้ ักระนำด
ระนาด เป็นเคร่ืองดนตรีไทยชนิดหนึ่ง จัดเป็นเคร่ืองดนตรีชนิดเครื่องตี ประกอบด้วยลูกระนาด
ร้อยด้วยเชือก เรียกว่า “ผืน” แขวนไว้กับ ราง ซึ่งทาหน้าที่รองรับลูกระนาด (แขวนลอยไม่ได้วางรายกับราง)
และทาหน้าท่เี ป็นกล่องเสยี งดว้ ย ผเู้ ลน่ จะใชไ้ มต้ รจี านวน 2 อัน สาหรับตลี ูกระนาดใหเ้ กิดเปน็ ทว่ งทานอง
ลูกระนาด ทาด้วยไม้ไผ่บงหรือไหมแก่น ไม้ชิงชัน ไม้มะหาด ไม้พยุงก็ได้ โดยนามาเหลาให้ได้
ตามขนาดที่ต้องการ แล้วทารางเพื่ออุ้มเสียงเป็นรูปคล้ายนาเรือ ให้หัวและท้ายโค้งข้ึนเรียกว่า รางระนาด
แผ่นไม้ทปี่ ดิ หวั ท้ายรางระนาด เราเรยี กว่า “โขน”
ระนาดเอกในปัจจุบันมีจานวน 21 ลูก ลูกต้นมีขนาด 39 เซนติเมตร กว้างราว 5 เซนติเมตร
และหนา 1.5 เซนตเิ มตร มขี นาดลดหลัน่ ลงไปจนถงึ ลูกที่ 21 หรอื ลูกยอดทม่ี ขี นาด 29 เซนตเิ มตร เมอ่ื นา ผนื
ระนาดมาแขวนบนรางแลว้ หากวัดจากโขนหัวรางข้างหน่ึงไปยงั โขนหวั รางอีกข้างหนึ่ง จะมีความยาวประมาณ
120 เซนตเิ มตร มีเทา้ รอง รางเปน็ เทา้ เด่ยี ว รปู คลา้ ยกบั พานแว่นฟา้

-๗๔-

2. สว่ นประกอบของระนำด สงู
2.1. รางระนาด
2.2. ผืนระนาด
2.3. ไม้ตีระนาด

3. ระดับเสยี งระนำด

ตา่

4. วธิ กี ำรตีระนำด
4.1 ตสี องมอื พร้อมกันเป็นคู่ต่าง ๆ
4.2 ตีฉาก คือ วิธกี ารตีให้มือทัง้ สองข้างพร้อมกนั และได้น้าหนกั ประมาณกนั
4.3 ตเี กบ็ คู่แปด คือ การตี 2 มือ พร้อมกนั เปน็ คู่ 8 อาจเปน็ หรือไม่เป็นทานองก็ได้
4.4 ตีกรอ คือ การตคี ู่ตา่ ง ๆ สองมอื สลับกัน ดว้ ยนา้ หนักสองมือประมาณกนั
4.5 ตสี ะเดาะ คือ การตีคู่ 8 สามครง้ั หา่ งกันโดยเร็ว ไหเ้ สยี งเคล่อื นท่ีเปน็ ค่เู สยี งตา่ ง ๆ
4.6 ตีสะบดั คอื การตีคู่ 8 สามครั้ง ห่างกนั โดยเร็ว ใหเ้ สยี งเคล่อื นท่ีเปน็ ค่เู สยี งตา่ ง ๆ
4.7 ตีขยี้ คือ การตีเสียงให้ถี่กว่าตเี ก็บเป็นสองเทา่

๔. ชือ่ ผ้ทู ี่ถือปฏิบัตแิ ละผู้สืบทอด

๔.๑ ผทู้ ีถ่ ือปฏบิ ตั ิ

ช่อื นายอ้าย ธรรมใจ

วนั เดอื น ปเี กดิ 30 พฤศจิกายน 2486

ทอ่ี ยู่ 67 หมทู่ ี่ 7 บา้ นสันม่วงคา ตาบลดอนศิลา อาเภอเวยี งชยั จงั หวัดเชียงราย

๕. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏบิ ัติอย่างแพร่หลาย  เส่ียงตอ่ การสญู หาย  ไม่มปี ฏบิ ัตแิ ลว้
๖. รูปภำพภมู ปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม/กิจกรรมทำงภูมปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม

-๗๕-

แบบสำรวจมรดกภมู ิปัญญำทำงวัฒนธรรมจงั หวัดเชยี งรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวฒั นธรรมจงั หวดั เชยี งรำย
อำเภอเวียงชยั จังหวัดเชียงรำย

๑. ช่ือข้อมลู ภมู ิปญั ญาด้านนาฎศิลป์ การฟ้อนสาวไหม

๒. ลักษณะ  วรรณกรรมพ้ืนบ้านและภาษา
 ศลิ ปะการแสดง

 แนวปฏิบตั ทิ างสังคมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรูแ้ ละการปฏบิ ัติเกยี่ วกบั ธรรมชาติและจกั รวาล

 งานช่างฝีมือด้ังเดมิ
 การละเล่นพ้ืนบ้าน กีฬาพ้นื บา้ น และศิลปะการต่อสปู่ ้องกันตวั

๓. รำยละเอียดข้อมูล

๓.๑) ประวตั ิความเปน็ มาของข้อมลู
นายเล็ก แสงคา เกิดเม่ือวันที่ 17 กันยายน 2498 ปัจจุบัน อายุ 66 ปี เป็นบุตรขแงนายตุ่น - นางเป็ง
แสงคา อาศัยอย่บู ้านเลขท่ี 59 หมทู่ ี่ 6 บา้ นดอยงาม ตาบลดอนศลิ า อาเภอเวยี งชัย จังหวัดเชยี งราย
นายเล็ก แสงคา เป็นผู้มีความรู้ความสามารถด้านศิลปะการฟ้อนสาวไหม ซึ่งจะพบเห็นได้น้อยท่ีผู้ชาย
จะสามารถฟ้อนสาวไหม ซึ่งเป็นศิลปะการแสดงของทางภาคเหนือ ท่วงท่าแต่ละท่าเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตน
การสืบทอดศิลปะการฟ้อนสาวไหมนี้ นายเล็ก แสงคาได้เรียนรู้มาจากผู้เฒ่าผู้แก่ท่ีตนรู้จัก และได้นาไปแสดง
ในหลายๆ งาน โดยผู้ท่ีพบเห็นจะรู้สึกประทับใจในการแสดงทุกครั้ง ด้วยท่วงท่า ท่าทางที่อ่อนช้อยและมีความ
แขง็ แรงอยใู่ นตัว ผชู้ ายสว่ นน้อยจะมีพรสวรรคเ์ ช่นนี้ การถ่ายทอดภูมปิ ัญญาดา้ นการฟ้อนสาวไหมสู่เด็กรุ่นหลัง
จึงถือเป็นส่ิงสาคัญสาหรับนายเล็ก แสงคา เพราะศิลปะด้านน้ีนับวันจะเลือนราง และจางหายไปทีละน้อย
เน่ืองจากวัฒนธรรมตะวันตกได้เข้ามามีบทบาทในการดาเนินชีวิตของเด็กในปัจจุบัน ดังนั้นเป็นโอกาสดีที่ได้มี
โอกาสถ่ายทอดภูมิปัญญาของตนให้แกเ่ ด็กท่ีสนใจ

๓.๒) ขน้ั ตอน/วิธกี าร/ดาเนนิ การเก่ยี วกบั ข้อมูล
ฟ้อนสาวไหม เป็นการแสดงพ้ืนเมืองท่ีมีความสวยงาม มีลักษณะพิเศษท่ีแตกต่างไปจากการฟ้อน
แบบอื่น ๆ คือ ฟ้อนสาวไหมเป็นแบบการฟ้อนที่เลียนแบบมาจากการทางานในชีวิตประจาวันของคนพื้นเมือง
ในการปลกู ฝ้าย ทอผ้า ตดั เยบ็ เป็นเสอื้ ผ้า เครือ่ งน่งุ หม่ ซึง่ เป็นงานหัตถกรรมที่ในท้องถิ่นทที่ ากันโดยทัว่ ไป
ดว้ ยเหตทุ กี่ ารทางานในการปลูกฝ้าย ปัน่ ฝ้าย ทอผา้ ฯลฯ เป็นเอกลกั ษณะการทางานท่ีมีขั้นตอน และ
มีกระบวนการทางานท่ีต่อเน่ืองกัน ท้ังการทางานน้ัน ก็มีลีลาท่าทางอันอ่อนช้อย ละเอียดอ่อนละมุนละไม
ดูแล้วเกิดความสวยงาม ดังน้ัน จึงน่าจะมีผู้ที่มองเห็นกระบวนการทางานท่ีมีขั้นตอนต่อเน่ือง และลีลาอันสวยงาม
ของการปน่ั ฝ้าย การทอผา้ ฯลฯ นามาประสม ประสานความคดิ ในการทางานกบั ท่าฟ้อนสาวไหมทน่ี ่าชมได้
การฟอ้ นสาวไหมเป็นการฟ้อนทมี่ ีมานาน และเปน็ ลักษณะของการฟอ้ นของพื้นเมืองเหนืออยา่ งแท้จริง
แต่เดิมการฟ้อนสาวไหมเป็นท่าการฟ้อนที่รวมอยู่กับการฟ้อนจริง ต่อมาภายหลังจึงได้แยกการฟ้อนสาวไหม
ออกมาเป็นท่าการฟ้อนเฉพาะ เรียกว่า ฟ้อนสาวไหม แต่เดิมนั้นใช้ผู้ชายเป็นผู้ฟ้อน และใช้ฟ้อนในงานปอย
แห่ครัวตาน ฯลฯ ต่อมาภายหลังจึงมีผู้หญิงเป็นผู้ฟ้อน ลักษระท่าการฟ้อนก็ใช้ท่าเดียวกับท่ีผู้ชายใช้ฟ้อน
เป็นลกั ษณะการฟ้อนเด่ียว

-๗๖-

รูปแบบ และลักษณะกำรแสดง
ฟ้อนสาวไหม เป็นการฟ้อนด้วยท่าราตามทานองเพลงในจังหวะช้า ความงดงามของการราฟ้อนสาวไหม
จะอยู่ท่ีกระบวนท่าราในลักษณะต่าง ๆ ท่ีมีความหมายถึงกรรมวิธีการทอผ้าไหม รวมท้ังความสวยงามของ
การใช้อวยั วะทกุ ส่วนของร่างกายใหม้ คี วามกลมกลนื กบั ท่ารา อาทิ การตีไหล่ การโย้ตวั
ทำ่ ฟ้อนสำวไหมต้นแบบมีลำดบั ทำ่ ตำ่ ง ๆ ดังต่อไปน้ี
เรมิ่ จากน่ังคุกเข่า
1. ทา่ ไหว้ เป็นทา่ ท่ีใหค้ วามหมายถงึ การไหว้บูชาครู - อาจารย์ รวมถึงเปน็ การขอขมาทง้ั ครู-อาจารย์
แขกผมู้ เี กียรตทิ ี่กาลงั ชมการสดงอยู่ เพื่อที่จะได้แสดงอิรยิ าบถตา่ ง ๆ ตามทา่ ฟ้อน
2. ท่าบิดบวั บาน เป็นท่าเสรมิ ตอ่ จากการไหว้ ก่อนท่จี ะฟ้อนสาวไหมต่อไป
3. ทา่ พญาครุฑบิน เปน็ ท่าท่ีตัง้ วงกอ่ นที่จะฟอ้ นสาวไหม ท่าสาวไหม ช่วงยาว
4. ทา่ สาวไหมชว่ งยาว เปน็ ท่าฟ้อนท่ีให้ความหมายวา่ กาลังเกบ็ ดอกฝ้ายท่ีบานแล้วจากตน้ ฝ้าย เพอ่ื
เอามาแกะเมล็ดออกแล้วนาไปตาก ซ่งึ ทา่ นี้เปน็ ทา่ หลกั ในการฟ้อนสาวไหม
5. ทา่ มว้ นไหมซา้ ย-ขวา และทา่ ตากฝา้ ย เปน็ ท่าท่ีให้ความหมายวา่ กาลงั เกบ็ ดอกฝา้ ยไว้ในกระด้ง
6. ท่าตากฝ้าย
7. ท่าม้วนไหมใตเ้ ข่า เป็นทา่ ท่ใี ห้ความหมายวา่ กาลงั ก้มเก็บดอกฝา้ ยที่ตากแห้งแล้วใส่ภาชนะเพื่อ
เอาไปตใี ห้แตกฟู หรือพองตวั แล้วนามาพนั เปน็ แท่งเพื่อเอาไปใสใ่ นกวง แล้วป่นั เป็นเสน้ ฝ้าย
ตอ่ จากน้ันลุกขน้ึ เดนิ ตามจังหวะเพลงประกอบด้วย
8. ถา้ ม้วนไหมใตศ้ อก เปน็ ทา่ ท่ใี ห้ความหมายว่า เม่ือปน่ั ฝา้ ยเปน็ เสน้ แล้ว ดึงฝ้ายเปน็ เสน้ น้นั มาพนั ท่ี
ศอกให้เปน็ ระเบยี บ กันเสน้ ใต้พนั กนั ยุ่งเหยิง กอ่ นทจี่ ะเอาไปใส่บนกท่ี อผา้ เพ่ือทอเป็นผืนผา้ ตอ่ ไป
9. ทา่ พ่งุ หลอดไหม เป็นท่าท่ใี หค้ วามหมายถึง กาลงั ทอผ้าเป็นผนื
10. ทา่ สาวไหมรอบตวั เป็นทา่ ทใี่ ห้ความหมายว่า กาลังสาละวนอยูก่ บั การเอาเสน้ ฝา้ ยใสบ่ นกี่ หรือ
จัดเส้นฝา้ ยใหเ้ ขา้ ในฟมื ขณะที่มีการทอเป็นผนื ผ้า
11. ท่าคล่ีปมไหม เป็นท่าท่ใี ห้ความหมายวา่ เมื่อทอเปน็ ผนื ผ้าแล้ว กน็ ามาคลเี่ พื่อเกบ็ ปม หรือเศษ
ฝ้ายทต่ี ิดมากับผืนผ้า สะบัดส่วนเกนิ ออกใหห้ มด
12. ทา่ ปูเปน็ ผนื ผ้า เป็นท่าทีใ่ ห้ความหมายวา่ กาลงั ช่ืนชมผ้า เมอื่ ทอเปน็ ผา้ เสรจ็ แลว้ และนามาปู
กบั พน้ื สารวจดูวา่ เรยี บร้อยดีหรือไม่
13. ทา่ พับผ้า เป็นทา่ ทีใ่ ห้ความหมายวา่ เม่อื ตรวจดคู วามเรยี บร้อยเสร็จแลว้ กพ็ ับเกบ็ ไว้
* ดนตรี และเพลงทใี่ ชป้ ระกอบกำรแสดง
ใชว้ งดนตรพี ้ืนเมืองภาคเหนือ วงชะล้อ ซอ ซงึ
เพลงทใี่ ช้ประกอบการแสดง ได้แก่ เพลงสาวไหม เพลงล่องแมป่ ิง

๔. ช่อื ผู้ท่ีถือปฏิบัตแิ ละผ้สู บื ทอด
๔.๑ ผทู้ ี่ถือปฏบิ ัติ
ชอ่ื นายเลก็ แสงคา
วัน เดือน ปีเกิด 17 กนั ยายน 2498
ทอ่ี ยู่ 59 หมทู่ ี่ 6 บ้านดอยงาม ตาบลดอนศิลา อาเภอเวยี งชยั จังหวดั เชยี งราย
หมายเลขโทรศัพท์ -
๔.๒ ผ้สู ืบทอด
ช่อื -
วัน เดือน ปเี กดิ -
ทอี่ ยู่ -
หมายเลขโทรศัพท์ -

-๗๗-
๕. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏบิ ัติอย่างแพร่หลาย  เสี่ยงตอ่ การสญู หาย  ไมม่ ปี ฏิบตั แิ ลว้
๖. รูปภำพภูมิปัญญำทำงวัฒนธรรม/กจิ กรรมทำงภูมปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม

-7๘-

แบบสำรวจมรดกภมู ิปญั ญำทำงวฒั นธรรมจังหวดั เชยี งรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวฒั นธรรมจงั หวดั เชยี งรำย

อำเภอแมฟ่ ำ้ หลวง จังหวดั เชยี งรำย

๑. ชื่อข้อมลู รานก ราโต

๒. ลักษณะ  วรรณกรรมพื้นบ้านและภาษา
ศลิ ปะการแสดง
แนวปฏบิ ตั ทิ างสงั คมพธิ กี รรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรู้และการปฏิบตั ิเกีย่ วกับธรรมชาติและจักรวาล
 งานช่างฝีมอื ดง้ั เดิม
 การละเล่นพื้นบา้ น กีฬาพนื้ บา้ น และศลิ ปะการต่อส่ปู ้องกนั ตัว

๓. รำยละเอยี ดข้อมูล

๓.๑) ประวตั คิ วามเปน็ มาของขอ้ มูล
รานกราโต เป็นศิลปะการแสดงฟ้อนราของชนเผ่าไทยใหญ่ท่ีมีตานานเล่าขานสืบต่อกันมานานว่า
รานก ราโต เกิดขึ้นคร้ังแรกเม่ือสมัยพุทธกาล ในวันที่พระพุทธเจ้าได้เสด็จลงมาจากสวรรค์หลังจากเสด็จไป
โปรดพระพทุ ธมารดา ณ สวรรคช์ ้ันดาวดึงส์ ในวันน้นั สัตวท์ ง้ั สามโลกจะสามารถมองเห็นกันได้ท้ังหมด มีเทวดา
มนุษย์ และสัตว์ในป่าหิมพานต์ พากันมาเฝ้ารับเสด็จ เพ่ือทาบุญใส่บาตร พระพุทธเจ้า เป็นจานวนมาก
ในกาลคร้ังนั้นมีนกกินรี (นางนก) หรือก่ิงกะหร่า เป็นสัตว์ที่อาศัยอยู่ในป่าหิมพานต์จาพวกหน่ึง ท่ีมีรูปร่าง
ลักษณะแปลกคือ ลักษณะคร่ึงมนุษย์ ครึ่งสัตว์ปีก ได้ออกมาราแพนหรือฟ้อนรา เพื่อถวายพระพุทธเจ้าโต
เป็นสตั ว์อกี ชนดิ ท่ีอยใู่ นป่าหิมพานต์ โตมีรูปรา่ งลักษณะแปลกคือ มลี ักษณะสัตวห์ ลายๆชนิดรว่ มอยู่ในร่างเดียว
มีตัวเหมือนสิงโต มีหัวเหมือนกวาง มีหางเหมือนเยือง (เลียงผา) ได้ออกมาฟ้อน (ก้าโต) รับเสด็จเพื่อถวาย
พระพทุ ธเจ้าเชน่ กัน

๓.๒) ขนั้ ตอน/วิธีการ/ดาเนนิ การเก่ียวกับข้อมลู
-

๔. ชอื่ ผทู้ ่ีถือปฏบิ ตั ิและผ้สู บื ทอด -
๔.๑ ผทู้ ีถ่ ือปฏบิ ัติ -
ชอ่ื -
วัน เดอื น ปีเกดิ -
ท่อี ยู่ -
หมายเลขโทรศพั ท์ -
๔.๒ ผสู้ ืบทอด -
ช่ือ -
วัน เดือน ปีเกดิ
ทีอ่ ยู่
หมายเลขโทรศัพท์

๕. สถำนะ กำรคงอยู่ ปฏิบัตอิ ย่างแพร่หลาย  เสี่ยงตอ่ การสญู หาย  ไมม่ ปี ฏิบัตแิ ลว้

-7๙-
๖. รปู ภำพภมู ิปญั ญำทำงวัฒนธรรม/กจิ กรรมทำงภูมปิ ัญญำทำงวฒั นธรรม

-๘๐-

แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ญั ญำทำงวฒั นธรรมจังหวัดเชียงรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวฒั นธรรมจงั หวัดเชยี งรำย

อำเภอแม่ฟำ้ หลวง จงั หวดั เชียงรำย

๑. ช่ือข้อมลู ราพดั จีน

๒. ลักษณะ  วรรณกรรมพ้ืนบา้ นและภาษา
 ศลิ ปะการแสดง
 แนวปฏิบตั ิทางสงั คมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรู้และการปฏิบตั เิ กยี่ วกบั ธรรมชาติและจักรวาล
 งานชา่ งฝมี อื ดง้ั เดิม
 การละเล่นพ้นื บ้าน กีฬาพ้นื บ้าน และศิลปะการต่อสปู่ ้องกันตัว

๓. รำยละเอยี ดขอ้ มูล
๓.๑) ประวัติความเป็นมาของข้อมูล
บ้านห้วยผ้ึง ต้ังขึ้นประมาณ ปี พ.ศ.2506 โดยมีนายยางพงษ์ แซ่ย่าง เป็นผู้ใหญ่บ้านคนแรก

ชาวบ้านส่วนใหญ่มีเชื้อสายจีน ย้ายมาจากบ้านหัวแม่คา ต.แม่สลองใน และบ้านปางหนุน ต.เทอดไทย มาตั้ง
เปน็ หมู่บา้ นหว้ ยผ้งึ เหตุทต่ี ัง้ ชื่อบ้านหว้ ยผ้ึง เนอ่ื งจากแตก่ อ่ นมีต้นไม้ใหญ่ในหมบู่ ้านและมผี ้ึงมาทารังนับร้อยรัง
จึงนามาตง้ั ช่อื เปน็ ชอื่ หมบู่ ้านห้วยผึง้ มปี ระเพณที ่ีสาคญั เชน่

ประเพณวี นั ตรษุ จีน วนั ท่ี 1 เดือน 1 ของปฏิทินจนี
ประเพณีไหว้ศาลเจ้า วนที่ 8 เดือน 2 ของปฏิทินจีน
ประเพณีไหวผ้ บี รรพบรุ ุษ (เชงเม้ง) เดือน 3 ของปฏิทนิ จีน
ประเพณสี ารทจีน เดือน 7 ของปฏทิ ินจนี
ประเพณีไหวพ้ ระจันทร์ วนั ท่ี 15 เดอื น 8 ของปฏิทินจีน
๓.๒) ขน้ั ตอน/วธิ ีการ/ดาเนินการเกยี่ วกับขอ้ มูล
จากการท่ีประชากรส่วนใหญ่มีเช้ือสายจีน ศิลปะการแสดงต่าง ๆจึงเป็นการถอดแบบมาจาก
เช้ือสายด่ังเดิมหรือบรรพบุรุษ และมีการปรับเปล่ียน ประยุกต์ให้เข้ากับยุคสมัยและการแสดงที่เป็นเอกลักษณ์
ของชมุ ชนเชื้อสายจีนหมูบ่ ้านห้วยผง้ึ คือ ราพดั จีน มนี ักแสดงจานวน ๑๐ คน เสอ้ื ผ้าเคร่ืองแตง่ กายตดั เย็บเป็นแบบจีน

๔. ชื่อผทู้ ี่ถือปฏิบัตแิ ละผ้สู บื ทอด -
๔.๑ ผทู้ ีถ่ ือปฏิบตั ิ -
ช่ือ -
วัน เดือน ปีเกิด -
ท่ีอยู่ -
หมายเลขโทรศพั ท์ -
๔.๒ ผูส้ ืบทอด -
ช่ือ -
วนั เดอื น ปเี กดิ
ทอ่ี ยู่
หมายเลขโทรศัพท์

๕. สถำนะ กำรคงอยู่ ปฏบิ ัติอยา่ งแพร่หลาย  เส่ยี งต่อการสญู หาย  ไมม่ ปี ฏิบัตแิ ล้ว

-๘๑-
๖. รปู ภำพภมู ิปญั ญำทำงวัฒนธรรม/กจิ กรรมทำงภูมปิ ัญญำทำงวฒั นธรรม

-๘๒-

แบบสำรวจมรดกภมู ิปญั ญำทำงวัฒนธรรมจงั หวัดเชยี งรำย ประจำปี ๒๕65
สภำวฒั นธรรมจังหวดั เชยี งรำย
อำเภอเวียงชยั จังหวัดเชียงรำย

๑. ช่ือข้อมูล วงป่ีพาทย์ (สุบรรณศิลป์)

๒. ลกั ษณะ  วรรณกรรมพืน้ บ้านและภาษา
 ศิลปะการแสดง
 แนวปฏบิ ตั ิทางสังคมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรู้และการปฏิบตั เิ ก่ียวกับธรรมชาตแิ ละจักรวาล
 งานช่างฝีมอื ดงั้ เดิม
 การละเล่นพืน้ บา้ น กีฬาพืน้ บา้ น และศลิ ปะการต่อสูป่ ้องกนั ตวั

๓. รำยละเอียดข้อมูล
๓.๑) ประวตั ิความเป็นมาของข้อมูล
วงป่พี าทย์ (สุบรรณศิลป์) เป็นวงดนตรีพืน้ เมืองท่รี บั งานแสดงท่ัวไปทง้ั ในพน้ื ทอี่ าเภอเวยี งชยั และพื้นท่ี

ใกลเ้ คียง โดยมีสมาชิก จานวน ๙ คน ซง่ึ มักจะหาเวลาวา่ งมารวมตัวกันเพ่ือฝึกซ้อมอยู่เสมอ
๓.๒) ข้ันตอน/วธิ กี าร/ดาเนินการเก่ียวกบั ข้อมูล
วงป่ีพำทย์ เปน็ วงทีป่ ระกอบไปด้วยเครื่องดนตรปี ระเภทตี เปา่ และเคร่ืองประกอบจังหวะ ใช้บรรเลง

ในงานพระราชพิธแี ละพิธตี า่ ง ๆ แบง่ ได้ 3 ขนาด คือ
๑. วงปพ่ี าทย์เคร่ืองหา้ แบง่ ออกเปน็ 2 ชนิดไดแ้ ก่
(๑) ปพี่ าทย์เครื่องห้าอย่างหนกั จะใช้สาหรับการบรรเลงในการแสดงมหรสพหรอื งานในพิธีตา่ ง ๆ

ซึง่ จะประกอบไปดว้ ยเครอื่ งดนตรตี ่าง ๆ ดงั น้คี ือ ฆ้องวงใหญ่ ปีใ่ น กลองทดั ตะโพน และฉิ่ง
(๒) ปีพาทย์เครื่องห้าอย่างเบา ประกอบไปด้วยเคร่ืองดนตรีต่าง ๆ ดังนี้ คือ กลองชาตรี ฆ้อง

คู่ ฉิง่ ปี่ และทบั หรอื โทน
๒. วงปี่พาทย์เครื่องคู่ เหมือนวงปีพ่ าทยเ์ คร่ืองห้า เพียงแตเ่ พ่ิมระนาดท้มุ และฆ้องวงเล็กเข้าไป
๓. วงปี่พาทย์เคร่ืองใหญ่ เหมือนวงปี่พาทย์เคร่ืองคู่ เพียงแต่เพิ่มระนาดเอกเหล็กและระนาดทุ้มเหล็ก

เขา้ ไป
นอกจากนว้ี งป่ีพาทยย์ ังมีอกี 3 ประเภทใหญ่ ๆ คือ
๑. วงปพ่ี าทยน์ างหงส์
๒. วงปีพ่ าทย์มอญ
๓. วงปี่พาทยด์ กึ ดาบรรพ์

๔. ชอ่ื ผู้ท่ถี ือปฏิบตั ิและผู้สบื ทอด

๔.๑ ผทู้ ่ถี อื ปฏิบัติ

ช่อื นายสบุ รรณ ปงชุ่มใจ

วนั เดือน ปเี กดิ -

ทอี่ ยู่ 65 หมู่ 11 ตาบลเมอื งชุม อาเภอเวียงชัย จังหวัดเชียงราย

หมายเลขโทรศัพท์ 086 117 1055

๔.๒ ผู้สบื ทอด -๘๓-
ช่ือ
วนั เดือน ปีเกิด นายณรงค์ ปงชมุ่ ใจ
ทีอ่ ยู่ -

หมายเลขโทรศัพท์ 65 หมู่ 11 ตาบลเมอื งชุม อาเภอเวียงชัย จงั หวดั เชยี งราย
-

๕. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏิบัติอยา่ งแพร่หลาย  เส่ียงต่อการสญู หาย  ไมม่ ีปฏิบตั แิ ลว้
๖. รูปภำพภูมิปัญญำทำงวัฒนธรรม/กจิ กรรมทำงภูมปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม

-๘๔-

แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ัญญำทำงวัฒนธรรมจังหวดั เชยี งรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวฒั นธรรมจังหวัดเชยี งรำย

อำเภอเวียงเชยี งรุ้ง จงั หวดั เชียงรำย

๑. ชื่อข้อมลู วงสะลอ้ ซงึ กลมุ่ ผ้สู ูงอายุ หมู่ 11

๒. ลกั ษณะ  วรรณกรรมพืน้ บ้านและภาษา

 ศิลปะการแสดง
 แนวปฏบิ ตั ทิ างสังคมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล

 อาหาร/ความรูแ้ ละการปฏบิ ัตเิ ก่ียวกบั ธรรมชาติและจกั รวาล

 งานชา่ งฝมี อื ด้ังเดมิ
 การละเลน่ พ้นื บา้ น กีฬาพ้ืนบ้าน และศลิ ปะการตอ่ สู่ป้องกันตวั

๓. รำยละเอยี ดข้อมูล

๓.๑) ประวัตคิ วามเป็นมาของข้อมลู
วงสะล้อ ซอ ซึง หมายถึง วงดนตรี ท่ีนาเอาเครื่องดนตรี ประเภทเคร่ืองสายของภาคเหนือ คือ ซึง สะล้อ

และเครื่องประกอบจังหวะมาบรรเลงรวมกันเป็นวง ซ่ึงเป็นท่ีนิยมกันมากในภาคเหนือ มาตั้งแต่อดีตจนถึง
ปจั จุบัน และมีอยเู่ ฉพาะในภาคเหนือตอนบนเทา่ นนั้ ถอื ว่าเปน็ วงดนตรีพนื้ บา้ นของท้องถ่นิ ล้านนา

สะลอ้ เป็นเคร่ืองดนตรี ประเภทเครือ่ งสาย ที่ใช้วธิ กี ารเล่นโดยการสี
ซอ เปน็ ภาษาพื้นบ้านลา้ นนา หมายถงึ การขับรอ้ งเพลง

ซึง เปน็ เครือ่ งดนตรี ประเภทเครอื่ งสาย ทใ่ี ช้วิธีการเลน่ โดยการดีด
สะล้อ เป็นเครื่องดนตรีพื้นเมืองล้านนาชนิดหนึ่ง เป็นประเภทเครื่องสีซ่ึงมีท้ัง ๒ สาย และ ๓ สาย

คันชักสาหรับสีจะอยู่ข้างนอกเหมือนคันชักซอสามสาย สะล้อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ทร้อ หรือ ซะล้อ มีรูปร่าง
คล้ายซออู้ของภาคกลาง ใช้ไม้แผ่นบาง ๆ ปิดปากกะลาทาหลักท่ีหัวสาหรับพาดทองเหลือง ด้านหลังกะโหลก

เจาะเป็นรูปลวดลายต่าง ๆ เช่น รูปหนุมาน รูปหัวใจ ส่วนด้านล่างของกะโหลก เจาะทะลุลง ข้างล่าง เพ่ือสอด
คันทวนท่ีทาด้วยไม้ชิงชัน ยาวประมาณ ๖๔ ซม. ตรงกลางคันทวนมีรัดอกทาด้วยหวาย ปลายคันทวนด้านบน

เจาะรูสาหรับสอดลกู บิด ซึ่งมี ๒ หรือ ๓ อัน สาหรับขึงสายซอ จากปลายลูกบิดลงมาถึงด้านกลางของกะโหลก
มีหย่องสาหรับ หนุนสายสะล้อเพ่ือให้เกิดเสียงเวลาสี คันชักสะล้อทาด้วยไม้ดัดเป็นรูปโค้ง ขึงด้วยหางม้า

หรอื พลาสติก เวลาสีใช้ยางสนถูทาใหเ้ กิดเสยี งได้ สะล้อใช้บรรเลงประกอบการแสดงหรือบรรเลงรว่ มกับบทร้อง
และทานองเพลงไดท้ ุกชนิดเชน่ เข้ากบั ป่ีในวงชา่ งซอ เข้ากบั ซงึ ในวงพืน้ เมืองกไ็ ด้

ซอ เป็นการขับร้องทานองของคาซอ โดยท่ัวไปมักเข้าใจว่าซอเป็นเครื่องดนตรีแต่ไม่ใช่ซอเป็น

องคป์ ระกอบส่วนหนึ่งวงสะล้อ ซอ ซึง การขับซอ เปน็ รปู แบบการรอ้ งเพลงที่ชาวพน้ื เมืองล้านนาใช้ขับกล่อมให้
คลายทุกข์ โดยจะมีคาเรียกผู้รอ้ งเพลงซอว่า ชา่ งซอ

ซงึ เป็นประเภท ดดี มี ๔ สาย แตแ่ บง่ ออกเปน็ ๒ เส้น เสน้ ละ ๒ สาย มลี กั ษณะคล้าย กระจับป่ี แต่มี
ขนาดเล็กกว่า ความยาวท้ังคันทวนและกะโหลกรวมกันประมาณ ๘๑ ซม. กะโหลกมีรูปร่างกลม

วัดเส้นผ่าศูนย์กลางได้ประมาณ ๒๑ ซม. ทั้งกะโหลกและคันทวน ใช้ไม้เน้ือแข็งชิ้นเดียวคว้านตอนท่ีเป็น
กะโหลกให้เป็นโพรง ตัดแผ่นไม้ให้กลม แล้วเจาะรูตรงกลางทาเป็นฝาปิดด้านหน้า เพื่ออุ้มเสียงให้กังวาน

คันทวนเป็นเหลยี่ มแบนตอนหน้า เพ่ือติดตะพานหรือนมรับน้ิว จานวน ๙ อัน ตอนปลายคันทวนทาเปน็ รปู โคง้
และขุดให้เป็นร่อง เจาะรูสอดลูกบิดข้างละ ๒ อัน รวมเป็น ๔ อันสอดเข้าไปในร่อง สาหรับขึ้นสาย ๔ สาย

สายของซึงใช้สายลวดขนาดเล็ก ๒ สาย และ สายใหญ่ ๒ สาย ซึงเป็นเครื่องดีดท่ีชาวไทยทางภาคเหนือนิยม
นามาเล่นร่วมกบั ปี่ซอ หรอื ปีจ่ ุม่ และ สะลอ้

-๘๕-

๓.๒) ขนั้ ตอน/วิธกี าร/ดาเนนิ การเก่ียวกับข้อมูล
กลุ่มสะล้อ ซึง หมู่ ๑๑ ตาบลทุ่งก่อ นาโดยนายแดง มั่นกุง เป็นหัวหน้ากลุ่ม และเป็นภูมิปัญญา

ด้านศิลปะการแสดงดนตรีพ้ืนเมือง ซึ่งได้รวมกลุ่มกันในการเล่นสะล้อ ซึง สาหรับ ประกอบพิธีกรรมและ

ความเช่อื และความรื่นเรงิ คอื บรรเลงประกอบประเพณี หรอื กิจกรรมอ่ืน ๆ ในงานร่นื เริง วงสะลอ้ ซงึ สามารถ
แสดงในงานมงคล และงานอวมงคลก็ได้ ดังนนั้ กลุม่ สะล้อ ซอ ซงึ จึงเปน็ วงดนตรีท่ีมีคุณค่าโดยตรง ตอ่ ชาวล้านนา

ซึ่งมีความโดดเด่นเฉพาะตัวที่ควรแก่ความ ภาคภูมิใจ เพราะบรรพบุรุษ ได้สร้างสรรค์ ปรุงแต่ง พัฒนา และสืบทอด
ติดต่อกันมา ซึ่งเป็นการนาเอาดนตรีล้านนามาสอดแทรกในประเพณีหลายอย่าง จนเป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรม

ประเพณีท่ีได้รับการยอมรับ และถือปฏิบัติต่อเนื่องกันมาจนปัจจุบัน มีการสืบสาน บ่มเพาะ ถ่ายทอดศิลปะการแสดง
จากร่นุ สูร่ ุ่นจนถงึ ปัจจุบนั

ชาวบ้านล้านนาในอดีต มักนิยมใช้เวลาว่างในตอนกลางคืนให้เป็นประโยชน์ โดยเฉพาะผู้หญิงสาว
ภารกิจท่ีเป็นประโยชน์มักจะได้แก่ การคัดเลือกเมล็ดพันธ์ุพืชเพ่ือเตรียมไปเพาะปลูกในวันรุ่งขึ้น บางทีก็ “ ไซ้

(เลือก)” พืชผลทางการเกษตรท่ีผลิตออกมาเพื่อจาหน่าย จึงกลายเป็นจุดศูนย์กลางและการดึงดูดความสนใจ
ของหนมุ่ และกลายเปน็ ศูนยร์ วม “นกั แอ่วสาว” ทัง้ หลายและดนตรีคู่กายชายหนุ่มย่อมนามาใช้ตามความถนัด

สันนิษฐานว่าคงมีการนัดหมายเพ่ือให้มาบรรเลง แนวเดียวกัน จึงเป็นการพัฒนาการข้ันแรกของการผสมวง
ดนตรี กลุ่มนักแอ่วสาวตามลานบ้านประกอบด้วยเครื่องดนตรี เปี๊ยะ สะล้อ ซึง ขลุ่ย ปี่ กลองพื้นเมือง (กลอง

โป่งป้ง) จงึ กลายเป็นดนตรีพน้ื บ้านภาคเหนือโดยปรยิ าย นิยมเรยี กตามชนิดของเครื่องดนตรที ี่นามาผสมเป็นวง
วา่ “วงสะล้อซอซึง”

รูปแบบ วิธีการแสดงเป็นการนาเอาเคร่ืองดนตรี ประเภทเคร่ืองสายของภาคเหนือ คือ ซึง สะล้อ และ
เครื่องประกอบจังหวะมาบรรเลงรวมกันเป็นวง โดยการบรรเลงเป็นทานองไม่มีคาร้อง ปัจจุบัน การบรรเลงวง

สะล้อ ซอ ซึง มักจะใช้บรรเลงในงานประเพณีและวัฒนธรรม เช่น ประเพณีสงกรานต์รดน้าดาหัว(ปีใหม่เมือง)
เป็นตน้ ตลอดจนใช้บรรเลงในงานมงคลและงานอวมงคลทางภาคเหนือ เช่นงานบุญทีว่ ัด งานข้นึ บา้ นใหม่ และ

งานบวช เปน็ ตน้

เครื่องดนตรี มี ๖ ชน้ิ ประกอบด้วย สะล้อ ซงึ ขลุย่ ฉง่ิ ฉาบ และกลองสองหนา้

๔. ชื่อผทู้ ี่ถอื ปฏิบตั แิ ละผสู้ ืบทอด

๔.๑ ผทู้ ่ถี ือปฏบิ ตั ิ

ชื่อ นายแดง มั่นกงุ

วัน เดือน ปีเกดิ -

ที่อยู่ ๒๘๒ หมู่ ๑๑ ตาบลทงุ่ ก่อ อาเภอเวียงเชียงรงุ้ จงั หวัดเชียงราย

โทรศัพท์ ๐๘๑ ๓๖๑ ๖๕๙๐

๔.๒ ผสู้ บื ทอด

ช่ือ กลุม่ ผสู้ ูงอายุ / เยาวชนในพ้นื ที่

วนั เดอื น ปเี กิด -

ท่ีอยู่ หมู่ ๑๑ ตาบลท่งุ กอ่ อาเภอเวียงเชยี งรงุ้ จังหวดั เชียงราย

โทรศัพท์ -

๕. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏิบัติอยา่ งแพร่หลาย  เสีย่ งตอ่ การสูญหาย  ไม่มีปฏบิ ัติแล้ว

-๘๖-
๖. รูปภำพภมู ปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม/กจิ กรรมทำงภูมิปัญญำทำงวฒั นธรรม

วงสะลอ้ ซงึ กลมุ่ ผุส้ ูงอายุ หมู่ 11 ตาบลท่งุ กอ่

อุปกรณ์ประกอบการแสดง สะลอ้ ซงึ ขลุ่ย

กลอง ฉาบ ฉ่งิ
การแสดงสะล้อ ซึง ในงานต่าง ๆ

-๘๗-

แบบสำรวจมรดกภมู ิปัญญำทำงวฒั นธรรมจังหวดั เชยี งรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวัฒนธรรมจังหวดั เชยี งรำย

อำเภอเวียงเชียงร้งุ จังหวดั เชยี งรำย

๑. ชื่อข้อมลู ศลิ ปะการแสดงวงปี่พาทย์ โรงเรียนผูส้ งู อายตุ าบลปา่ ซาง

๒. ลักษณะ  วรรณกรรมพน้ื บ้านและภาษา
 ศลิ ปะการแสดง
 แนวปฏิบตั ทิ างสังคมพิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรแู้ ละการปฏบิ ตั ิเก่ียวกับธรรมชาตแิ ละจักรวาล
 งานช่างฝีมอื ดงั้ เดมิ
 การละเลน่ พนื้ บ้าน กีฬาพน้ื บา้ น และศิลปะการตอ่ สู่ป้องกันตวั

๓. รายละเอยี ดขอ้ มลู
๓.๑) ประวัติความเปน็ มาของขอ้ มูล
ในอดีตผู้เฒ่าผู้แก่ในหมู่บ้าน ได้ไปร่วมงานบุญต่าง ๆ กับหมู่บ้านอ่ืน ได้เห็นการเล่นดนตรีพื้นเมือง

ปี่พาทย์ จึงมีความสนใจท่ีจะนาศิลปะพ้ืนบ้าน วงปี่พาทย์มาจัดตั้งเป็นคณะของตนเองใช้ในหมู่บ้าน หลังจากท่ี

ได้มแี นวคิดแลว้ จงึ สรรหาผู้ท่ีมีความสนใจอยากจะเรยี นรูก้ ารเล่นเครื่องดนตรีแตล่ ะชนิด จึงได้มีกาปรึกษาหารือ

กัน หาชอ่ งทางท่ีจะจัดต้ังวงดนตรี โดยเริ่มตน้ จากการทาเคร่ืองดนตรีบางชนิดข้ึนเองเชน่ ระนาดเอก ระนาดทุ้ม

ตะโพน และเครือ่ งดนตรที ่ีตอ้ งจดั หาโดยการซอื้ เชน่ ฆ้องวงใหญ่ ระนาดเหล็ก ปใี่ น ฉาบและฉงิ่

หลังจากที่มีเคร่ืองดนตรีครบแล้วจึงนามารวบรวมไว้ที่วัดในหมู่บ้าน แต่ยังขาดนักดนตรี ผู้ใหญ่บ้าน

และคณะกรรมการหมู่บ้านจึงได้มีการประชาสัมพันธ์ ให้ประชากรในหมู่บ้านท่ีสนใจอยากจะเล่นหรือเรียนรู้

ดนตรีปี่พาทย์ท่ียังว่างอยู่ สวนใหญ่ผู้ท่ีให้ความสนใจมาฝึกเลน่ จะเป็นผู้ท่ีผา่ นการบวชพระหรือบวชเณรมากอ่ น

หรือที่เรียกกันเป็นภาษาพ้ืนเมืองว่า “น้อยหรือหนาน” การฝึกน้ันเป็นการฝึกเล่นด้วยตนเอง โดยการจดจา

เสียงดนตรีจากประสบการณ์ที่ได้ยินมาจากท่ีอ่ืน หรือจดจาจากการได้ฟังจากสื่อวิทยุ เรียนโดยการไม่มีโน้ต

หลังจากทีไ่ ด้ฝึกฝนการเลน่ ดนตรีแต่ละชนิดจนชานาญ จงึ มแี นวคดิ ท่ีจะใหม้ ชี ่างฟ้อนมาประกอบการเล่นเคร่ือง

ดนตรี เพ่ือจะได้ใช้แสดงในงานบุญต่าง ๆ ในหมู่บ้านและหมู่บ้านใกล้เคียง เช่น งานบุญทอดผ้าป่า งานบุญ

สลากภัตต์ งานปอยหลวงงานบุญกฐิน งานศพและงานอืน่ ๆ ท่ีมีความตอ้ งการให้วงปี่พาทย์ไปแสดง

วงปี่พาทย์ เป็นมรดกทางวัฒนธรรมที่งดงามท่ีได้รับการสืบทอดจากบรรพบุรุษ จนถึงรุ่นลูกรุ่นหลาน
การแสดงดนตรีปี่พาทย์ประกอบการฟ้อนราที่มีท่วงท่าอ่อนช้อยสวยงามตามแบบทางภาคเหนือ เช่น การฟ้อนเล็บ
การฟ้อนสาวไหม การราอวยพร เป็นการแสดงที่สร้างความประทับใจ แก่ผู้ที่ได้มาพบเห็น เป็นมนต์เสน่ห์ของ
วัฒนธรรมภาคเหนือ และเป็นสิ่งที่สามารถใช้เป็นส่ือจุดรวมใจของคนในหมู่บ้านและชุมชน ในอดีตนักดนตรี
และช่างฟ้อนจะเป็นผู้ใหญ่ เวลาฝึกซ้อมหรือไปแสดงในงานต่าง ๆ จะมีบุตรหลานติดสอยห้อยตาม ไปในงาน
ดังกล่าว จึงทาให้เด็กเกิดการซึมซับ เอาสิ่งที่ดีงามของวัฒนธรรมแล้วจึงมีการถ่ายทอดการแสดงดนตรีป่ีพาทย์
และการฟอ้ นราใหแ้ กเ่ ด็กและเยาวชนมาจวบจนทุกวันนี้

-8๘-

๓.๒) ขัน้ ตอน/วิธีการ/ดาเนินการของข้อมูล
๑) เครื่องดนตรี ๘ ชนิ้ ประกอบด้วย
ระนาดเอก ระนาดทมุ้ ระนาดเหล็ก ฆอ้ งวงเล็ก ตะโพน ปี่ใน ฉ่งิ ฉาบ
๒) รปู แบบวิธีกำรแสดง
ร่วมกิจกรรมงานบุญต่าง ๆ ท่ีจัดข้ึนในหมู่บ้าน และหมู่บ้านใกล้เคียง เช่น งานบุญทอดผ้าป่า

งานบุญสลากภัตต์ งานปอยหลวง งานบุญกฐิน โดยการแสดงพร้อมกับการฟ้อนรา เช่น การฟ้อนเล็บ
ฟ้อนสาวไหม นอกจากน้ันได้ร่วมในงานศพและงานอื่น เช่นงานถ่ายทอดวัฒนธรรมโดยองค์กรในท้องถิ่น
ในอดีตวงปี่พาทย์จะบรรเลงเพลงไทยเดิม เช่น เพลงปราสาทไหว เพลงค้างคาวกินกล้วย เพลงพม่าราขวาน
เพลงลอยกระทง ฯลฯ แต่ปัจจุบันได้มีการประยุกต์เอาเพลงลูกทุ่งเข้าผสมโรงด้วย ผู้คนให้ความสนใจ
กับการบรรเลงเพลงประยกุ ต์ เป็นจงั หวะบีกนิ และจงั หวะสามช่า

๔. ชอ่ื ผูท้ ี่ถือปฏิบัตแิ ละผสู้ บื ทอด
๔.๑ ผู้ท่ถี อื ปฏิบตั ิ
ชื่อ นายน้อม แกว้ นลิ ตา
วนั เดอื น ปีเกดิ -
ที่อยู่ ๑๑๔ หมู่ ๑๒ ตาบลปา่ ซาง อาเภอเวยี งเชยี งร้งุ จังหวดั เชียงราย หรือ
โรงเรยี นผูส้ ูงอายตุ าบลปา่ ซาง หมู่ท่ี ๒ ตาบลป่าซาง
อาเภอเวยี งเชยี งรุ้ง จงั หวัดเชียงราย
หมายเลขโทรศัพท์ -
๔.๒ ผู้สืบทอด
ช่อื โรงเรียนผู้สูงอายตุ าบลปา่ ซาง
วัน เดอื น ปเี กดิ -
ท่ีอยู่ โรงเรียนผ้สู งู อายุตาบลป่าซาง หมู่ท่ี ๒ ตาบลป่าซาง
อาเภอเวยี งเชยี งรุง้ จังหวดั เชียงราย
หมายเลขโทรศัพท์ -

๕. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏิบตั อิ ย่างแพร่หลาย  เสยี่ งตอ่ การสูญหาย  ไม่มปี ฏิบัติแล้ว

๖. รูปภำพภูมิปญั ญำทำงวัฒนธรรม/กิจกรรมทำงภูมปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม

ระนาดทมุ้ ปไ่ี น

ฉงิ่ ฉาบ ตะโพน

-8๙-
ระนาดเอก , ฆ้องวง

การแสดงวงปี่พาทย์ ในงานต่าง ๆ


Click to View FlipBook Version