The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ข้อมูลมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม จังหวัดเชียงราย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by , 2022-09-11 22:20:01

หนังสือมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม จังหวัดเชึยงราย

ข้อมูลมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม จังหวัดเชียงราย

-๓45-

แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ัญญำทำงวัฒนธรรมจงั หวัดเชยี งรำย ประจำปี ๒๕๖4
สำนักงำนวัฒนธรรมจังหวดั เชียงรำย
อำเภอแม่ลำว จงั หวัดเชยี งรำย

๑. ช่ือข้อมูล ขลุ่ยไม้

๒. ลกั ษณะ  วรรณกรรมพน้ื บา้ นและภาษา
 ศลิ ปะการแสดง
 แนวปฏิบัตทิ างสงั คมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรูแ้ ละการปฏบิ ัติเกยี่ วกบั ธรรมชาติและจกั รวาล
 งานช่างฝมี อื ดงั้ เดิม
 การละเลน่ พื้นบา้ น กีฬาพืน้ บ้าน และศลิ ปะการตอ่ สู่ป้องกันตวั

๓. รำยละเอียดข้อมลู
๓.๑) ประวัตคิ วามเป็นมาของขอ้ มูล
ขลยุ่ เปน็ เครอ่ื งดนตรโี บราณของไทยชนิดหนง่ึ คนไทยเปน็ คนทีม่ ีพรสวรรค์ทางศิลปะ จะเหน็ ได้ว่างาน

หัตถกรรมของไทยมีความงดงาม ประกอบกับความคิดสร้างสรรค์ จึงท้าให้มีมรดกทางด้านศิลปวัฒนธรรมอยู่
เป็นจ้านวนมาก ขลุ่ยก็เช่นเดียวกัน นอกจากขลุ่ยเพียงออ ซ่ึงสืบทอดคุณลักษณะและรูปร่างมาแต่โบราณแล้ว
ต่อมาบรรพบุรุษของเรายังได้คิดค้น "ขลุ่ยหลีบ" ไว้ส้าหรับเล่นคู่กับขลุ่ยเพียงออ "ขลุ่ยอู้" ซึ่งคิดค้นขึ้นในสมัย
สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เพื่อใช้ประกอบการละเล่นละครดึกด้าบรรพ์ นอกจากน้ัน ก็ยังมีขลุ่ย
ท่ีเรียกช่ืออย่างอ่ืนอีก เช่น ขลุ่ยกรวด ขลุ่ยเคียงออ ขลุ่ยรองออ ขลุ่ยออร์แกน เพ่ือให้เหมาะกับการที่จะไปเล่น
ผสมกับวงดนตรปี ระเภทตา่ ง ๆ

๓.๒) ข้นั ตอน/วิธกี าร/ดา้ เนนิ การเกย่ี วกับข้อมูล
วัตถดุ ิบหลัก ไม้เนอ้ื แข็ง ใช้ไม้เน้อื แขง็ เชน่ ไม้สกั ไมช้ งิ ชนั ไม้มะคา่ ฯลฯ ในชุมชน และเครื่องกลึงแกะไม้
สว่ นประกอบ
1. ไม้เนอ้ื แข็ง ใช้ส้าหรับทา้ เลาขล่ยุ หรือตัวขล่ยุ
2. เครือ่ งกลึงไม้ ใช้ในการลบเหลย่ี มไม้เนอื้ แข็ง
3. เครอื่ งเจาะรูขล่ยุ ใช้เจาะตรงไสก้ ลาง(ไมท้ ีผ่ า่ นการกลงึ แล้ว) และดอกสวา่ น
4. ไมส้ ่วน ใชใ้ นการวัดระยะก่อนเจาะรบู นขลุย่ และบล็อกเจาะรู ใช้สวมตอนเจาะรบู นขลุย่
เครอื่ งเจาะรูขลุ่ย ใช้ในการเจาะรูบนขลยุ่ อาจใช้สวา่ นมือ หรือเหลก็ เผาไฟก็ได้
5. มดี ควา้ น ใช้ในการควา้ นเพอื่ เกบ็ รายละเอียดรูขลุ่ยและท่ีแต่งรูใชใ้ นการตกแตง่ รูขลยุ่
6. มดี แกะ ใช้ในการแกะปากนกแกว้
7. ไม้ดากซึง่ ส่วนใหญน่ ยิ มใช้ไมส้ ักทอง และมดี ตอก ใช้ในการเหลาไมด้ าก
8. เหล็กกระทุ้ง ซึ่งจะใช้เม่ือช่างต้องการที่จะแต่งหรือแก้ไขดากขลุ่ย เลื่อยใช้ส้าหรับตัดดากขลุ่ย
และเคร่ืองเจียรใช้ในการเจยี รสว่ นของดากทเี่ ลอื่ ยเสร็จแล้วเพือ่ ใหเ้ รียบเนียน
9. เทียนไขทตี่ ัดเปน็ ช้ินเล็ก ๆ ใช้ในการอดุ ชอ่ งวา่ งระหว่างรขู ลุ่ย กับไมด้ าก
ขัน้ ตอนการผลติ
1. คัดเลือกหาไม้ชนิดที่ต้องการ เช่น ไม้ชิงชัน ไม้มะริด ไม้สัก ไม้มะค่า ฯลฯ ตัดเป็นสีเหลี่ยมผืนผ้า
กว้างขนาด 1.5 นิ้ว x 1.5 นิ้ว ยาว 20 นิ้ว เพ่ือน้าไปเข้าเครื่องเจาะรู ควรใช้ไม้ส่วนที่เป็นแก่น ไม่ใช่กระพี้
และตอ้ งทิง้ ไว้ให้แห้งสนิทก่อนเพือ่ ป้องกันการหดตวั และการแตก

-๓46-

2. นา้ ท่อนไมม้ าเขา้ เคร่อื งกลึงเพอื่ ลบเหลยี่ มภายนอก เมื่อไมก้ ลมได้ขนาดแลว้ จึงน้ามาเจาะไส้กลาง
3. ใชไ้ ม้ส่วนทาบแลว้ ท้าเคร่อื งหมายจุดไว้ แล้วเจาะรขู ลยุ่ ตามส่วนท่ีจดุ ไว้

4. ใชม้ ีดคอ่ ยๆแกะปากนกแก้ว
5. ใสด่ ากขลยุ่

ประโยชน์ใช้สอย หลายคนเลือกสะสมขลุ่ยเป็นงานอดิเรก เพราะ เป็นเครื่องดนตรีท่ีเล่นง่ายหรือ
ฝึกเป่าได้ง่าย หยิบพกพาสะดวก ดูแลรักษาง่าย ทนทาน ได้สัมผัสความสวยงามตามธรรมชาติของเนื้อไม้

และความไพเราะของเสยี งขลุ่ย

๔. ชอ่ื ผทู้ ่ีถอื ปฏิบตั ิและผสู้ ืบทอด

4.๑ ผทู้ ถ่ี อื ปฏบิ ัติ

ชอื่ นายรงุ่ โรจน์ ขลุย่ ทอง

วนั เดอื น ปีเกิด -

ที่อยู่ หมู่ ๑๔ ตา้ บลดงมะดะ อ้าเภอแม่ลาว จังหวดั เชยี งราย

หมายเลขโทรศัพท์ 098 764 4399

4.๒ ผู้สืบทอด

ชือ่ นางสาวเกวรนิ ทร์ สแุ ก้ว

วัน เดอื น ปเี กดิ -

ทอ่ี ยู่ 10๐ หมู่ ๑๔ ตา้ บลดงมะดะ อ้าเภอแมล่ าว จังหวดั เชยี งราย

หมายเลขโทรศัพท์ 087 805 7427

5. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏบิ ตั อิ ย่างแพรห่ ลาย  เสีย่ งตอ่ การสูญหาย  ไม่มีปฏบิ ตั แิ ล้ว

6. รปู ภำพภูมิปญั ญำทำงวัฒนธรรม/กจิ กรรมทำงภูมิปัญญำทำงวัฒนธรรม

คัดเลือกหาไม้ชนดิ ท่ตี ้องการ เชน่ ไมช้ ิงชัน ไม้มะริด ไมส้ ัก ไมม้ ะค่า ฯลฯ ตัดเป็นสเี หล่ียมผนื ผา้ กวา้ ง
ขนาด 1.5 นวิ้ x 1.5 นิ้ว ยาว 20 นิ้ว

นา้ ท่อนไมม้ าเขา้ เครอ่ื งกลึงเพ่ือลบเหล่ียมภายนอก

-347-

เมื่อไม้กลมได้ขนาดแล้วจึงน้ามาเจาะไส้กลาง ใช้ไม้ส่วนทาบแล้วท้าเครื่องหมาย
จุดไว้ แล้วเจาะรขู ลุ่ยตามส่วนทจ่ี ดุ ไว้ ใช้มีดคอ่ ยๆแกะปากนกแกว้ และใสด่ ากขลุ่ย

-348-

แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ญั ญำทำงวฒั นธรรมจงั หวดั เชยี งรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวฒั นธรรมจงั หวัดเชยี งรำย

อำเภอพญำเม็งรำย จงั หวดั เชียงรำย

๑. ช่ือข้อมูล ขันบายศรีสูข่ วญั

๒. ลักษณะ  วรรณกรรมพนื้ บ้านและภาษา
 ศิลปะการแสดง
 แนวปฏบิ ตั ทิ างสงั คมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรแู้ ละการปฏบิ ตั เิ ก่ียวกับธรรมชาติและจกั รวาล
 งานช่างฝีมอื ด้งั เดิม
 การละเลน่ พ้ืนบ้าน กีฬาพ้นื บา้ น และศิลปะการต่อสู่ป้องกนั ตัว

๓. รำยละเอยี ดขอ้ มลู

๓.๑) ประวัตคิ วามเปน็ มาของข้อมูล
“ขันบายศรี” เปน็ การท้าที่ใช้ภมู ปิ ัญญาของคนไทยทส่ี บื ทอดกนั มาแต่โบราณ เปน็ ความเช่อื ในเร่อื ง
การสร้างขวัญก้าลังใจให้แก่ผูไ้ ด้รบั การทา้ พธิ ีบายศรีจึงเปน็ ของสูง สิง่ มีค่าของไทยมาแตโ่ บราณ ในงานมงคล
ทุกงานจะมีพธิ ที ีม่ บี ายศรเี ปน็ ส่วนสา้ คญั เป็นศาสนพธิ ขี องศาสนาพราหมณ์ ค้าว่า “บาย”เปน็ ภาษาเขมร
หมายถงึ ข้าวสกุ “ศร”ี เปน็ ภาษาสันสกฤต หมายถึง มงิ่ ขวญั “บายศรี” จึงหมายถึง ขวัญข้าว
บายศรี นั้นมีข้อสันนิษฐานว่าได้ประดิษฐ์ขึ้นมาจากคติความเช่ือของพราหมณ์ พิจารณาจากการน้า
ใบตองมาประดิษฐ์บายศรี เนื่องด้วยใบตองนั้นเป็นของสะอาดบริสุทธิ์ไม่มีมลทินของอาหารเก่าให้แปดเปื้อน
และอีกประการหน่ึงก็คือ รูปร่างลักษณะของบายศรีท่ีได้จ้าลองเขาพระสุเมรุซึ่งเป็นท่ีสถิตของพระอิศวร
ตลอดจนเคร่ืองสังเวยก็มีความเชื่อมาจากคติพราหมณ์เช่น ไข่ แตงกวา มะพร้าว รวมถึงพิธีการ เช่น การเวียนเทียน
การเจมิ และพธิ ีการต่าง ๆ เหล่าน้ีพราหมณเ์ ป็นผ้ปู ระกอบพิธีท้งั สิ้น
ทางภาคเหนือจะเรียก บายศรีว่า ใบสี, ใบสรี หรือ ใบสีนมแมว และจะเรียกพานบายศรีว่า ขันใบสี
เพราะชาวล้านนาจะเรียกพานวา่ ขนั แลว้ เรียกขันวา่ สลงุ บายศรแี ยกเปน็ 4 ประเภท คอื
1. บายศรหี ลวง
2. บายศรนี มแมว
3. บายศรีปากชาม
4. บายศรกี ลว้ ย
"พิธีบำยศรี" หรือ "บำยศรีสู่ขวัญ" เป็นประเพณีส้าคัญอย่างหนึ่ง ประเพณีสู่ขวัญท้ากันแทบทุกโอกาส
ทั้งในมูลเหตุแห่งความดีและไม่ดี เป็นประเพณีเรียกขวัญให้มาอยู่กับตัว พิธีสู่ขวัญน้ีเป็นได้ท้ังการแสดงความ
ชื่นชมยินดี ช่วยให้เกิดสิริมงคลต่อผู้ที่เข้าร่วมพิธี และเชื่อกันว่า พิธีน้ีเป็นการต่อชีวิตคนให้มีอายุยืนยาว เป็น
การเสริมบารมี สะเดาะเคราะห์ ให้พ้นจากโชคร้าย โรคาพยาธิ เพื่อรับโชคลาภ ร่้ารวย และจะมีความสุข
ความเจริญ และเปน็ การปลอบใจให้เจา้ ของขวญั จากคณะ ญาติมติ รและบุคคลทวั่ ไป

๓.๒) ขัน้ ตอน/วิธีการ/ดา้ เนินการเกย่ี วกับข้อมลู
ก่อนท้าพธิ ีสูข่ วญั ตอ้ งมีการจัดท้าพาขวัญหรือขันบายศรี หมายถงึ ภาชนะใส่เคร่ืองสังเวยบชู าก่อนการ
เรยี กขวญั ตกแตง่ อยา่ งสวยงามด้วยใบไม้ เช่น ใบตองกลว้ ย นา้ มาพับ เปน็ มุมแหลมและเย็บซ้อนอย่างสวยงาม
อาจท้าเปน็ 3 ชนั้ 5 ช้ัน หรอื 7 ช้ัน แลว้ แตค่ วามเหมาะสมของผู้จัดพธิ ี บายศรีจงึ เป็นความเช่ือของคนทุกภาค
ในประเทศไทย การท้าพิธีโดยใช้บายศรี ก่อให้เกิดขวัญก้าลังใจ ช่วยให้มีจิตใจที่เข้มแข็ง สามารถเผชิญ
ภยนั ตรายไดอ้ ย่างดี ท้าให้เกิดโชคลาภและสิริมงคลแกผ่ ู้กระท้า การใช้บายศรี มีท้งั เหตกุ ารณ์ดีและเหตุการณ์ไม่ดี

-๓49-

การสู่ขวัญโดยใช้บายศรีในเหตุการณ์ดี เช่น การเกิด บวช แต่งงาน ขึ้นบ้านใหม่ ฉลองต้าแหน่ง ผูกเส่ียว
การกลับมาบ้าน เพื่อให้เกดิ สริ ิมงคลย่ิง ๆ ขน้ึ ไป

การสู่ขวัญโดยใช้บายศรีในเหตุการณ์ท่ีไม่ดี เช่น การเจ็บป่วย การเกิดอุบัติเหตุ หรือเหตุการณ์ร้ายต่าง ๆ
ทท่ี ้าใหเ้ สียขวัญ เพ่ือสะเดาะเคราะห์ ให้หายจากเหตุการณร์ า้ ย หมอขวญั จะเป็นผปู้ ระกอบพธิ ี โดยเชญิ เทวดา
อารักษม์ าเป็นสักขีพยาน และบันดาลให้

๔. ชื่อผูท้ ี่ถือปฏิบตั แิ ละผสู้ บื ทอด

๔.๑ ผทู้ ถ่ี อื ปฏบิ ัติ

ชื่อ นางนิตย์ สมแก้ว

วัน เดือน ปีเกิด 5 พฤษภาคม 2507

ทีอ่ ยู่ 131 หมู่ 6 ตา้ บลแมต่ า้ อ้าเภอพญาเมง็ ราย จงั หวัดเชยี งราย

หมายเลขโทรศัพท์ 082 650 6686

๔.๒ ผสู้ ืบทอด

ชื่อ นางสาวชนติ า มณวี รรณ

วัน เดอื น ปีเกิด 5 มีนาคม 2524

ทอ่ี ยู่ 170 หมู่ 6 ตา้ บลแมต่ ้า อ้าเภอพญาเมง็ ราย จงั หวัดเชยี งราย

หมายเลขโทรศัพท์ 093 187 9372

๕. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏบิ ตั ิอย่างแพร่หลาย  เส่ียงต่อการสูญหาย  ไม่มีปฏบิ ตั แิ ลว้

๖. รปู ภำพภมู ปิ ญั ญำทำงวัฒนธรรม/กจิ กรรมทำงภูมิปัญญำทำงวฒั นธรรม

-350-

แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ัญญำทำงวัฒนธรรมจงั หวดั เชยี งรำย ประจำปี 2565
สภำวัฒนธรรมจงั หวัดเชยี งรำย
อำเภอเวียงชัย จังหวัดเชยี งรำย

1. ช่ือข้อมูล ข้าวถัก หรือขจาข้าวเปลือก

2. ลกั ษณะ วรรณกรรมพ้นื บ้านและภาษา

ศิลปะการแสดง

แนวปฏบิ ัตทิ างสังคมพธิ ีกรรม ประเพณแี ละเทศกาล

อาหาร/ความรูแ้ ละการปฏิบัติเกี่ยวกับธรรมชาตแิ ละจักรวาล

 งานช่างฝีมอื ดั้งเดิม

การละเลน่ พื้นบา้ น กีฬาพนื้ บา้ น และศลิ ปะการต่อสปู้ ้องกนั ตวั

3. รำยละเอียดข้อมูล

3.1) ประวัตคิ วามเปน็ มาของขอ้ มูล

นางพลอย ค้าต้ือ เกิดเมื่อวันท่ี 12 มีนาคม พ.ศ. 2475 ที่จังหวัดเชียงราย อยู่บ้านเลขที่ 218 หมู่
12 บา้ นป่าบงใต้ ต้าบลผางาม อา้ เภอเวียงชัย จังหวดั เชียงราย เป็นผทู้ มี่ คี วามสนใจด้านการถักขจาขา้ วเปลือก
ต้ังแต่เป็นเด็ก เน่ืองจากเห็นมารดาถักขจาข้าวเปลือกเพื่อน้าไปถวายวัดเพ่ือเป็นพุทธบูชาในโอกาสท่ีมีงาน
ประเพณีเกิดข้ึนในล้านนา จึงให้มารดาสอนวิธีการท้าและลองฝึกท้าดู รวมทั้งคิดว่าควรจะอนุรักษ์เพราะเป็น
ความเชือ่ ของชาวลา้ นนา

การถักข้าวเปลือก เป็นเคร่ืองสักการะพระพุทธเจ้า เชื่อว่าจะได้รับอานิสงค์ผลบุญแห่งการให้ทาน
ในโลกนแ้ี ละโลกหน้า ทรพั ย์สมบตั ิจ้านวนมหาศาลจะหลงั่ ไหลเขา้ มาสู่ตนเองอย่างมากมาย รวมทงั้ จะทา้ ให้ชีวิต
มีความเจริญรุ่งเรืองก้าวหน้า เปรียบประดุจดั่งเมล็ดข้าวเปลือกท่ีตกลงบนพ้ืนดินแห่งใดก็ตาม มักจะเจริญ
งอกงามขนึ้ มาสร้างความสมบรู ณ์พูนสุขให้กบั ผืนแผ่นดนิ อยา่ งทัว่ ถึง อีกนยั หนึง่ เชอ่ื ว่าข้าวถักใชด้ ้ายถักหมายถึง
จะได้ส่ิงต่าง ๆ เข้ามาในชีวิต ซึ่งมักจะเป็นสิ่งท่ีดี และสามารถน้าไปเป็นของที่ระลึก น้าไปแขวนหน้ารถยนต์
โดยมคี วามเช่อื ว่าเปน็ เครื่องหมายแห่งความเจรญิ งอกงาม รุง่ โรจน์

ต่อมานางพลอย ค้าตื้อ ได้เป็นวิทยากรเพ่ือเผยแพร่การถักขจาข้าวเปลือกให้แก่เด็กและเยาวชน
ในพ้ืนท่ีต้าบลผางาม ตามโครงการสืบสานภูมิปัญญาท้องถ่ินสู่เด็กและเยาวชนต้าบลผางาม และเป็นวิทยากร
สอนนักเรียนโรงเรียนชราบาลต้าบลผางาม และไดร้ ับเกยี รตบิ ตั รเชดิ ชเู กียรตดิ า้ นปราชญท์ ้องถ่นิ ตา้ บลผางาม

3.2) ข้ันตอน/วิธีการ/ดา้ เนนิ การเกี่ยวกบั ขอ้ มูล
1. ใช้ไม้หน้าสามเป็นหลัก มีตะปูตัวโต ๒ ตัวยึดคล้องด้ายเป็นคู่ ๆ สามารถเลือกด้ายตามขนาด

และสตี ามตอ้ งการ
2. เลือกข้าวเปลือกเมล็ดยาวที่มีขนาดเท่ากันเรียงเมล็ดข้าวในทางเดียวกันเป็นคู่เริ่มถักและ

ใส่เมล็ดขา้ วไปจนกว่าจะได้ระยะท่ตี ้องการกับขนาดของเหรียญแลว้
3. น้ามาล้อมรอบเหรียญผูกให้แนน่ ตัดแต่งหางดา้ ยให้เท่ากันการใชป้ ระโยชน์ ใชบ้ ูชา (ถักข้าวเปลือก

ล้อมเหรยี ญพระ)
วัสดุ/อุปกรณ์
๑. ข้าวเปลือก
๒. ไม้หน้าสาม
๓. ตะปตู วั โต
๔. ดา้ ยสีต่าง ๆ
๕. เหรยี ญตา่ ง ๆ

-351-

4. ชอ่ื ผู้ถอื ปฏิบัตแิ ละสืบทอด นางพลอย ค้าตอ้ื
4.1 ผู้ถือปฏิบัติ 12 มีนาคม 2475
ชื่อ 218 หมู่ 12 ต้าบลผางาม อา้ เภอเวียงชยั จงั หวดั เชยี งราย
วนั เดอื น ปี เกดิ 064 530 3950
ทอ่ี ยู่
หมายเลขโทรศพั ท์ นางนาง อุดออน
4.2 ผู้สืบทอด 25 พฤษภาคม 2499
ช่ือ 230 หมู่ 9 ต้าบลผางาม อา้ เภอเวยี งชัย จงั หวัดเชยี งราย
วนั เดอื น ปี เกิด 080 530 3950
ท่ีอยู่
หมายเลขโทรศพั ท์

5. สถำนะ กำรคงอยู่ ปฏบิ ัตอิ ย่างแพรห่ ลาย  เสีย่ งตอ่ การสญู หาย ไมม่ ปี ฏบิ ตั ิแลว้

6. รูปภำพภูมิปญั ญำทำงวัฒนธรรม/กิจกรรมทำงภูมิปัญญำทำงวัฒนธรรม

-352-

แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ัญญำทำงวัฒนธรรมจังหวัดเชยี งรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวฒั นธรรมจงั หวดั เชยี งรำย
อำเภอแม่จนั จงั หวดั เชียงรำย

๑. ชื่อข้อมูล เครอ่ื งจักสาน

๒. ลักษณะ
 วรรณกรรมพื้นบ้านและภาษา
 ศิลปะการแสดง
 แนวปฏบิ ัตทิ างสังคมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรู้และการปฏิบตั เิ กีย่ วกับธรรมชาตแิ ละจกั รวาล
 งานช่างฝีมอื ดัง้ เดมิ
 การละเลน่ พ้ืนบา้ น กีฬาพ้ืนบา้ น และศลิ ปะการตอ่ ส่ปู ้องกนั ตัว

๓. รำยละเอยี ดขอ้ มูล

๓.๑) ประวตั คิ วามเปน็ มาของขอ้ มลู

การจักสานเป็นอาชีพท่ีชาวบ้านหารายได้ช่วยจุนเจือครอบครัวในยามที่เสร็จส้ินจากการท้านา
คนในชุมชนรู้จักและมีภูมิปัญญาด้านการจักสานเป็นพ้ืนฐานอยู่แล้ว ซึ่งสืบทอดมาจากบรรพบุรุษ รู้จักการน้า
ก้านมะพร้าวมาท้าไม้กวาด น้าไม้ไผ่มาท้ากระบุง ชะลอม ผลิตใช้สอยในครัวเรือน สมัยก่อนชาวบ้านจะท้าไว้ใช้เอง
การจกั สานสบื ทอดมาจากบรรพบุรษุ ในถ่ินฐานเดิม มีผู้ทรงภูมิปญั ญาถ่ายทอดองคค์ วามรแู้ บบด้ังเดมิ

๓.๒) ข้ันตอน/วิธีการ/ดา้ เนนิ การเกยี่ วกับขอ้ มูล
- ติดตอ่ ประสานงานกับสภาวฒั นธรรมต้าบลป่าซาง เพ่ือรวบรวมขอ้ มลู เบ้ืองตน้
- ลงพน้ื ที่จดั เกบ็ ขอ้ มูล ประวัตคิ วามเปน็ มาของข้อมูล ช่อื ผู้ทถี่ ือปฏิบัติและผู้สืบทอด

สถานการณ์คงอยู่ และรูปภาพตา่ ง ๆ

๔. ชื่อผู้ท่ีถอื ปฏิบัตแิ ละผสู้ ืบทอด

๔.๑ ผทู้ ถ่ี ือปฏิบัติ

ชอื่ นางเป็ง สมพมิตร

วนั เดือน ปีเกดิ -

ทอี่ ยู่ -

หมายเลขโทรศัพท์ -

๔.๒ ผู้สบื ทอด

ช่ือ นายทองดี สมพมติ ร

วนั เดือน ปีเกดิ 16 มิถนุ ายน 2483

ท่ีอยู่ 197 หมู่ 11 ตา้ บลป่าซาง อา้ เภอแม่จนั จังหวดั เชยี งราย

หมายเลขโทรศัพท์ 082 389 3255

๕. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏิบัติอย่างแพร่หลาย  เสี่ยงตอ่ การสูญหาย  ไมม่ ปี ฏบิ ัติแล้ว

-353-
๖. รูปภำพภูมปิ ญั ญำทำงวัฒนธรรม/กจิ กรรมทำงภูมปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม

-354-

แบบสำรวจมรดกภมู ิปญั ญำทำงวฒั นธรรมจังหวดั เชยี งรำย ประจำปี ๒๕65
สภำวฒั นธรรมจังหวัดเชยี งรำย
อำเภอเวียงชัย จังหวัดเชยี งรำย

๑. ช่ือข้อมูล เครื่องจักสาน งานหัตถกรรม

๒. ลกั ษณะ

 วรรณกรรมพน้ื บ้านและภาษา
 ศิลปะการแสดง
 แนวปฏิบัตทิ างสงั คมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรแู้ ละการปฏิบตั ิเก่ียวกับธรรมชาติและจกั รวาล
 งานช่างฝมี อื ด้งั เดมิ
 การละเลน่ พนื้ บา้ น กีฬาพ้ืนบา้ น และศิลปะการตอ่ สูป่ ้องกนั ตวั

๓. รำยละเอยี ดข้อมลู
๓.๑) ประวัตคิ วามเปน็ มาของข้อมูล
เคร่ืองจักสำน เป็นงานศิลปหัตถกรรมอย่างหน่ึง คิดค้นข้ึนโดยมนุษย์เพ่ือใช้สร้างเครื่องมือเครื่องใช้

ในชีวิตประจ้าวัน ผลิตขึ้นโดยการสอด ขัด และสานของวัสดุท่ีมีลักษณะเป็นเส้น เป็นร้ิว เพ่ือให้ได้ลวดลาย
ทส่ี วยงาม และเพือ่ ใหเ้ กิดความคงทนของเครื่องจักสาน

๓.๒) ข้นั ตอนวธิ กี าร/ดา้ เนินการเก่ยี วกับข้อมูล
๑. เตรยี มไมไ้ ผ่และเหลาใหม้ เี สน้ อ่อนทางภาคเหนือเรยี กวา่ การ “จักตอก”
๒. ใชไ้ มไ้ ผ่ท่ที ้าการเหลาให้อ่อนแล้วประสานกนั ข้ึนรูปตามตอ้ งการ

๔. ชื่อผู้ทถ่ี ือปฏบิ ัติและผสู้ ืบทอด
๔.๑ ผทู้ ีถ่ ือปฏิบัติ
ช่ือ นายต๊บิ ขนั จันทรแ์ สง
วนั เดือน ปีเกดิ -
ท่อี ยู่ ต้าบลเมืองชมุ อา้ เภอเวยี งชยั จังหวัดเชียงราย
หมายเลขโทรศัพท์
๔.๒ ผูส้ ืบทอด
ช่ือ -
วนั เดอื น ปีเกิด -
ท่อี ยู่ -
หมายเลขโทรศัพท์ -

๕. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏิบตั อิ ยา่ งแพรห่ ลาย  เสย่ี งตอ่ การสูญหาย  ไม่มปี ฏิบตั แิ ล้ว

๖. รปู ภำพภมู ปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม/กิจกรรมทำงภูมปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม

-3๔๒-

-๓55-

แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ญั ญำทำงวฒั นธรรมจงั หวัดเชียงรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวฒั นธรรมจังหวดั เชยี งรำย
อำเภอเวียงชยั จงั หวัดเชยี งรำย

๑. ช่ือข้อมลู เครอ่ื งจักสาน ชุมชนคณุ ธรรมวัดพนาลัยเกษม

๒. ลักษณะ  วรรณกรรมพื้นบ้านและภาษา
 ศิลปะการแสดง
 แนวปฏบิ ัติทางสังคมพิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรูแ้ ละการปฏบิ ัติเกีย่ วกบั ธรรมชาตแิ ละจกั รวาล
 งานชา่ งฝมี อื ด้ังเดิม
 การละเล่นพืน้ บา้ น กีฬาพ้ืนบา้ น และศิลปะการต่อสู่ป้องกันตวั

๓. รำยละเอียดข้อมูล
๓.๑) ประวตั ิความเปน็ มาของข้อมูล
วัดพนาลัยเกษม เดิมชื่อว่า วัดป่าบงขวาง ต้ังอยู่เลขที่ ๑๒๘ หมู่ ๑๑ บ้านพนาลัย ต้าบลเวียงเหนือ

อ้าเภอเวียงชัย จังหวัดเชียงราย วัดน้ีแต่เดิมเป็นวัดร้าง ไม่ปรากฏหลักฐานว่าสร้างเมื่อใด พบแต่เพียงกองอิฐและ
ซากเจดีย์ซ่ึงอยู่ตรงที่สร้างอุโบสถหลังใหม่ ต่อมาประมาณปี พ.ศ. ๒๔๗๐ มีชาวบ้านอพยพมาจากบ้านปล้อง
อา้ เภอเทิง จงั หวดั เชียงราย มาต้ังรกรากแผ้วถางเป็นทีอ่ ย่อู าศยั ทา้ มาหากนิ ณ บริเวณนี้

เน่ืองจากพ้ืนท่ีเป็นป่าไผ่ (ไผ่บง) เป็นจ้านวนมาก ท้าให้ชาวบ้านในชุมชนน้าวัตถุดิบดังกล่าวมาใช้ใน
ชีวิตประจ้าวัน วัดพนาลัยเกษม ซ่ึงเป็นสถานท่ีศูนย์รวมจิตใจของชาวบ้านในชุมชนจึงเป็นจุดเริ่มต้นที่ท้าให้
ชาวบ้านในชุมชน หมู่ ๑๑ มาร่วมตัวกันท้าผลิตภัณฑ์จักสานพานพุ่ม และน้ามาดัดแปลงไปใช้กับงานตกแต่งบ้าน
หรือส้านักงาน โดยมีการคิดค้นลายแบบที่เหมาะสมแล้วท้าข้ึน ในรูปแบบต่าง ๆ เป็นการใช้เวลาว่างของคนใน
ชุมชนท่ีว่างเว้นจากการท้านา ประกอบกับตอ้ งการนา้ วัตถดุ ิบ (ไมไ้ ผ)่ ในชุมชนทมี่ ีอยู่ท่ัวไปน้ามาใชใ้ หเ้ กิดประโยชน์
เพิม่ มลู คา่ ใหก้ ับสงิ่ ที่มอี ยูใ่ นท้องถิน่ และเป็นการอนุรักษภ์ มู ปิ ญั ญาท้องถนิ่ ด้านงานหัตถกรรมให้คงอยู่สบื ไป

เครื่องจักสานชุมชนคุณธรรมวัดพนาลัยเกษม เป็นผลิตภัณฑ์ท่ีใช้วัสดุจากธรรมชาติ โดยใช้มรดกภู
มิปัญญาในด้านการจักสานมาออกแบบผลิตภัณฑ์ให้มีความสวยงาม ทันสมัย สามารถใช้งานได้จริง เป็นผลิตภัณฑ์
ที่น้าเอาทักษะความช้านาญที่เป็นภูมิปัญญาแบบด้ังเดิมมาปรับเปล่ียนและพัฒนารูปแบบให้เป็นผลิตภัณฑ์จักสาน
แบบใหม่ให้ตอบสนองกับความต้องการของผู้บริโภคสมัยใหม่ แต่ยังคงคุณค่าทางด้านงานหัตถกรรม สะท้อนให้เห็น
ถึงการน้าทุนทางวัฒนธรรม วิถีชีวิต ขนบธรรมเนียมประเพณีของคนในชุมชนมาใช้ในการผลิต โดยมีอัตลักษณ์
ท่ีโดดเด่นคือลวดลายในการจักสาน และมรี ูปแบบผลติ ภัณฑ์ทหี่ ลากหลาย

๓.๒) ขน้ั ตอน/วิธกี าร/ด้าเนินการเก่ยี วกับขอ้ มูล
วัสดุอุปกรณ์ ไมไ้ ผ่ มีด เครอื่ งจักตอก ค้อน ตะปู ลวด แปรง แลคเกอร์
ข้นั ตอนกำรทำ
๑. หาไม้ไผ่ขนาดที่ตอ้ งการ
๒. ตดั ไม้เป็นท่อนตามขนาด
๓. จกั ตอก
๔. รูดเส้ยี นออก
๕. ขน้ึ รูปตามโครงสรา้ งของช้ินงาน
๖. จักสานตามลวดลายท่ีออกแบบ
๗. ตากแดดใหแ้ ห้ง
๘. สา้ รวจรายละเอยี ดของชน้ิ งาน
๙. ลงแลค็ เกอร์ แล้วน้าไปตากแดดให้แห้ง
๑๐. บรรจหุ บี หอ่ จากนั้นสง่ ไปยังลูกค้าตามออเดอร์

-356-

๔. ชอื่ ผู้ที่ถือปฏิบตั แิ ละผ้สู ืบทอด

๔.๑ ผู้ท่ถี อื ปฏิบัติ
ชอื่ พระครวู มิ ลศิลปกจิ /กลุ่มผ้สู ูงอายุตา้ บลเวียงเหนือ
วนั เดอื น ปเี กิด -

ท่ีอยู่ ๑๒๘ หมู่ ๑๑ ตา้ บลเวียงเหนอื อ้าเภอเวยี งชัย จังหวดั เชยี งราย
หมายเลขโทรศัพท์ ๐๘๔ ๖๓๘ ๔๖๗๑ / ๐๘๑ ๙๖๑ ๓๓๔๕
๔.๒ ผู้สืบทอด
ชอื่ -

วัน เดือน ปีเกดิ -
ทอี่ ยู่ -
หมายเลขโทรศัพท์ -

๕. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏิบัตอิ ย่างแพรห่ ลาย  เส่ยี งตอ่ การสญู หาย  ไมม่ ปี ฏิบตั ิแลว้

๖. รูปภำพภูมปิ ญั ญำทำงวัฒนธรรม/กิจกรรมทำงภูมปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม

-357-

แบบสำรวจมรดกภมู ิปญั ญำทำงวฒั นธรรมจงั หวดั เชยี งรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวฒั นธรรมจงั หวดั เชยี งรำย
อำเภอแมล่ ำว จงั หวัดเชยี งรำย

๑. ช่ือข้อมูล เคร่ืองปน้ั ดินเผา (ป้นั หม้อ)

๒. ลักษณะ  วรรณกรรมพื้นบา้ นและภาษา
 ศลิ ปะการแสดง
 แนวปฏิบตั ทิ างสังคมพิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรูแ้ ละการปฏิบัติเกีย่ วกับธรรมชาติและจักรวาล
 งานช่างฝมี อื ดง้ั เดิม
 การละเลน่ พนื้ บา้ น กีฬาพืน้ บา้ น และศิลปะการต่อส่ปู ้องกนั ตวั

๓. รำยละเอยี ดข้อมูล

๓.๑) ประวตั คิ วามเปน็ มาของขอ้ มูล
ภาชนะชุดแรก ๆ ของมนุษย์น้ันคือการน้าดินมาข้ึนรูปเป็นภาชนะต่าง ๆ แล้วน้าไปเผา คุณสมบัติของดิน
โดยเฉพาะดินเหนียวสามารถอุ้มน้าได้ดี และเมื่อผสมเข้ากับน้าแล้วจะท้าให้ดินมีความเหนียวและสามารถที่จะ
ปั้นหรือขึ้นรูปสามมิติ โดยไม่ต้องเพ่ิมเติมวัสดุอื่นอีก ค้าว่า"เครื่องปั้นดินเผา"เป็นค้านามท่ีมีความหมายท่ีส่ือให้
เข้าใจได้ในตัวของมันเอง (เอาดินมาป้ันแล้วก็เผา) เม่ือน้าดินที่ข้ึนรูปแล้วมาให้ความร้อน ดินซึ่งประกอบด้วย
ผลึกในตระกูลของ "alumino silicate" จะมีการเปล่ียนแปลงสัณฐานทางเคมี สารประกอบ อัลคาไลน์
(alkaline) เปน็ สารชนิดหนง่ึ ท่ีสามารถท้าปฏิกิริยาเคมีกับผลึกดนิ ท่ีอุณหภูมิสูง พลงั งานความร้อนนี้สามารถขับ
ให้เกิดการเปลยี่ นแปลงของผลกึ ดนิ โดยจะทา้ ให้เกิดสารประกอบลักษณะเปน็ "แก้ว" สารประกอบนีจ้ ะท้าหน้าท่ี
เปน็ ตวั ประสานอนุภาคดินที่เหลือ ซ่ึงท้าหน้าที่เป็นโครงสรา้ ง เข้าด้วยกัน ทา้ ใหเ้ น้ือวัสดุหลงั การเผา (อย่างน้อย
ประมาณ 800 องศาเซลเซียส แล้วแต่คุณสมบัติทางเคมี) มีความคงทนแข็งแรงข้ึน สามารถคงรูปไว้ใช้เป็น
ภาชนะสังเคราะห์ชนดิ แรกของมนุษย์การปั้นส่วนใหญ่เปน็ การปั้นแบบโบราณ ซึ่งหาได้ยากมาก วิธีการป้ันของ
ทีน่ เ่ี ปน็ ภมู ปิ ัญญาทไ่ี ดร้ ับการถา่ ยทอดมาจากรนุ่ สรู่ ุ่นนานหลายร้อยปี และยงั คงมีผู้สืบทอดมาจนถึงปจั จบุ ัน

๓.๒) ข้ันตอน/วธิ ีการ/ดา้ เนินการเก่ียวกบั ข้อมลู
วสั ดสุ ้าหรับปนั้
- ดนิ เหนยี ว
- ทรายละเอียด
- น้า
- แกลบดา้ (ข้ีเถา้ เพาะกล้าไม้) ส้าหรับผสมดินปั้นเตาเผา
- ดินแดง (ผสมน้าสา้ หรบั แตง่ สขี อบภาชนะ)
- ฟางขา้ ว รา้ ข้าว ฟืน (สา้ หรับการเผา)
เครอื่ งมือท่ีใช้ในการผลติ
- แป้นรองป้ัน
- แปน้ คลึงดิน
- เครอื่ งโมด่ นิ
- หม้อใส่น้า
- ไม้ดา้ ม กอ้ นหิน ไมพ้ ิมพล์ าย

-358-

วธิ ีทา้
๑. เตรียมดินเหนียว (ดินด้า) แยกก้อนหินดินทรายใบไมออก แล้วหมักไว้ในหลุม ๓-๔ วัน เพื่อให้เกิด
ความช่มุ ชนื้ และเหนยี วตัว ง่ายต่อการน้าไปบด
๒. นวดดินผสมดนิ กับทรายละเอียดอัตราส่วน ๒:๑ โมดนิ จ้านวน ๒ ครงั้ โดยใช้เครอื่ งเก็บ โดยการคลุม
โม่ดว้ ยพลาสติกไว้
๓. ทา้ การขน้ึ รูป หลายวิธีเช่น วธิ ีขด แป้นหมนุ ใช้ใบมีด พมิ พ์ลาย และวธิ อี สิ ระ
๔. การตากแหง ใช้ผ่ึงในทรี่ ม่ ประมาณ ๒ วนั กอ่ นนา้ ไปตากแดดจัด ๆ ๑ วนั
๕. การเผา น้าภาชนะที่จะเผาเรียงให้ติดๆกัน เผาด้วยฟางข้าว แกลบหยาบ และฟืนผสมกัน โดยใช้
เวลาประมาณ ๒๔ ช่ัวโมง จนถึงจุดสุกตัวจึงเกลี่ยแกลบและฟางออก แล้วปล่อยให้ภาชนะเย็นตัวอย่างช้า ๆ
กอ่ นนา้ ออกจากเตาเพือ่ ตรวจสอบคณุ ภาพ เพ่อื จะใช้งานหรือน้าไปจา้ หนา่ ยต่อไป

๔. ชื่อผทู้ ่ีถอื ปฏิบตั ิและผู้สบื ทอด

4.๑ ผูท้ ีถ่ ือปฏบิ ัติ

ชอื่ นางบญุ โยน สภุ าชนะ

วัน เดอื น ปเี กิด ๓ สิงหาคม ๒๔๘๒

ทอ่ี ยู่ ๒๖ หมู่ ๑๑ ตา้ บลบัวสลี อา้ เภอแม่ลาว จงั หวดั เชยี งราย

หมายเลขโทรศัพท์ ๐๕๓ ๖๗๓ ๙๐๔

4.๒ ผูส้ ืบทอด

ชอื่ นางกาบจันทร์ พจิ อมบุตร

วัน เดือน ปเี กิด -

ท่ีอยู่ ๑๖๑ หมู่ ๑๑ ต้าบลบัวสลี อ้าเภอแม่ลาว จงั หวดั เชยี งราย

หมายเลขโทรศัพท์ 084 170 7019

5. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏิบตั ิอย่างแพร่หลาย  เสี่ยงตอ่ การสูญหาย  ไมม่ ีปฏิบัติแลว้

6. รูปภำพภมู ิปญั ญำทำงวัฒนธรรม/กจิ กรรมทำงภูมิปัญญำทำงวฒั นธรรม

วธิ กี ารปั้นหม้อดินเผา

-359-

-360-

แบบสำรวจมรดกภมู ิปญั ญำทำงวัฒนธรรมจงั หวดั เชียงรำย ประจำปี ๒๕๖4
สำนกั งำนวฒั นธรรมจงั หวัดเชยี งรำย
อำเภอแม่ลำว จังหวดั เชยี งรำย

๑. ชื่อข้อมูล โคมลา้ นนา

๒. ลกั ษณะ  วรรณกรรมพนื้ บ้านและภาษา
 ศลิ ปะการแสดง
 แนวปฏิบตั ทิ างสงั คมพิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรู้และการปฏิบตั ิเกีย่ วกบั ธรรมชาติและจักรวาล
 งานชา่ งฝมี ือดั้งเดิม
 การละเล่นพน้ื บา้ น กีฬาพ้ืนบ้าน และศลิ ปะการต่อสูป่ ้องกนั ตัว

๓. รำยละเอียดขอ้ มูล

๓.๑) ประวตั คิ วามเป็นมาของขอ้ มูล
โคมไฟแขวน หรือโคมล้านนา ของทางภาคเหนือมีมาต้ังแต่สมัยโบราณ เป็นงานศิลปะหัตกรรมท่ีมี
ความสวยงาม ประดับด้วยลวดลายของทางล้านนาอย่างประณีตบรรจง เม่ือถึงเทศกาลย่ีเป็ง หรือขึ้น 15 ค่้า
เดือน 12 ชาวล้านนาจะเตรยี มเครอื่ งไทยทาน แลว้ พากันไปท้าบญุ ท่ีวดั ผูเ้ ฒ่าผแู้ กจ่ ะถือโอกาสไปฟังธรรมท่ีวัด
พร้อมนอนค้างคืนที่วัด โคมล้านนาจึงเป็นของคู่กันมาช้านาน โคมล้านนาเป็นของจ้าเป็น จุดประสงค์คือ
ต้องการท้าข้ึนเพ่ือใช้เป็นตะเกียงจุดไฟให้แสงสว่างยามค่้าคืน แต่ในอดีตน้ามันตะเกียงมีราคาแพง มักใช้
ในราชส้านัก หรือในบ้านเจ้านายช้ันผู้ใหญ่ ชาวล้านนาจึงคิดรึเริ่มท้าโคมไว้ใช้ภายในครอบครัว หรือส้าหรับ
พิธีกรรมเท่านั้น ปัจจุบัน โคมล้านนาถูกน้าไปใช้อย่างแพร่หลาย เช่น เพื่อการตกแต่งตามโรงแรม สถานที่
ทอ่ งเที่ยวตา่ ง ๆ เพอื่ ความความสวยงาม อีกท้ังยงั มีรปู แบบท่ีหลากหลายอกี ด้วย
โคมล้านนาได้กลายเป็นผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น ที่สามารถท้ารายได้ให้กับชุมชน ท้าให้ชาวบ้านมีรายได้
อีกทั้งยังสามารถสอนให้ลูกหลาน หรือผู้ที่สนใจ ท้าสืบสานต่อไปได้อีกด้วย ทางกลุ่มผู้สูงอายุ จักสาน โคม ตุง
บ้านห้วยส้านดอนจั่น ในต้าบลจอมหมอกแก้ว ยังคงร่วมสืบสานการท้าโคมล้านนา โดยจะมีผู้เฒ่าผู้แก่รวมตัวกัน
ตง้ั กลมุ่ เผยแพรค่ วามรู้ พรอ้ มท้ังเข้ารว่ มโครงการสรา้ งอาชีพ เปน็ วิทยากรให้แก่ผู้ท่สี นใจ

๓.๒) ขนั้ ตอน/วิธีการ/ดา้ เนนิ การเกย่ี วกบั ขอ้ มลู
๑. โคมรังมดส้ม บ้างเรยี กว่า โคมเสมาธรรมจกั ร มีรปู ทรงทีเ่ หมอื นรังมดส้ม (มดแดง) และรูปทรงเป็นแปด
เหล่ียม จึงเรียกว่า ธรรมจักร โคมรังมดส้มน้ี ใช้ไม้ไผ่เฮียะ เหลาให้เป็นเส้น กว้างประมาณ ๑ เซนติเมตร หนา
ประมาณ ๒ - ๓ มิลลิเมตร น้ามาหักเป็น ๑๖, ๒๔ เหล่ียมหรือตามต้องการ น้ามาผูกด้วยด้ายให้แน่น เมื่อมัด
โครงเสร็จแล้ว น้าไม้เฮียะที่เตรียมไว้มาหักมุม เพ่ือท้าหูโคมเป็นรูปสามเหล่ียม เม่ือท้าเป็นโครงส้าเร็จแล้ว ติด
กระดาษรอบโครง ปล่อยส่วนบนไว้ เพื่อเป็นช่องใส่ผางประทีส และให้อากาศเข้ามาในโคมได้ ตัดลวดลาย
อาจจะเป็นลายดอกกา๋ กอก (ลายประจ้ายาม) ลายตะวนั ส้าหรบั ประดบั ตกแตง่ หลังจากนั้นตดิ หางโคม ส้าหรับ
กระดาษท่ีใช้ท้าโคม อาจใช้กระดาษแก้วหลากสีเป็นอุปกรณ์ท้าโคม ถ้าใช้กระดาษสี ไม่นิยมประดับด้วย
ลวดลาย โคมรงั มดส้มใช้จุดเป็นพุทธบูชา
๒. โคมไห ตัวโคมมีลักษณะเป็นคล้ายไห เน่ืองจากด้านบนหรือปากโคมกว้างกว่าส่วนล่างหรือก้นโคม
ด้านบนหักเป็นมุมหกเหล่ียม ด้านล่างหรือส่วนก้นหักเป็นมุมสี่เหล่ียม ด้านบนสุดท้าเป็นรูปสามเหล่ียม 4 อัน
เป็นหูโคม ตัวโครงโคมท้าจากไม้ไผ่ทรงเรียวยาวพองาม ประดับตกแต่งด้วยกระดาษสา และลวดลายพื้นเมือง
แต่งหางโคมให้งดงามด้วยการตัดกระดาษเป็นลวดลาย ท้าป่องหรือปากไว้จุดผางประทีบ โคมชนิดนี้ใช้จุดบูชา
ได้ท่ัวไป บ้างเรียกว่า โคมเพชร หมายถึง ความสวยงามอร่ามตา บ้างนิยมให้เป็นของขวัญในโอกาสขึ้นบ้านใหม่
หมายถึงหม้อเงิน หม้อทอง ไหเงิน ไหทอง ถ้าให้เป็นของขวัญในงานแต่งงาน เป็นนิมิตรหมายให้โชคลาภ
ปจั จุบันมกี ารน้ารูปแบบของโคมไหมาทา้ เปน็ โคมไฟประดับบา้ น โดยใช้วัสดผุ ้าหมุ้ ตัวโครง

-361-

๔. ชอื่ ผทู้ ่ีถือปฏิบตั ิและผู้สืบทอด

4.๑ ผทู้ ่ีถอื ปฏบิ ตั ิ

ชอ่ื นางบวั จันทร์ วรรณสม

วัน เดือน ปีเกิด -

ท่ีอยู่ 338 หมู่ 3 ตา้ บลจอมหมอกแกว้ อ้าเภอแมล่ าว จงั หวัดเชยี งราย

หมายเลขโทรศัพท์ 095 128 9480

๕.๒ ผู้สบื ทอด

ชอื่ กล่มุ ผสู้ ูงอายุ จกั สาน โคม ตุง หมู่ท่ี 3

วัน เดอื น ปเี กิด -

ทอี่ ยู่ หมู่ 3 ต้าบลจอมหมอกแก้ว อา้ เภอแมล่ าว จงั หวัดเชยี งราย

หมายเลขโทรศัพท์ 086 920 3165

5. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏิบตั อิ ย่างแพร่หลาย  เสย่ี งต่อการสูญหาย  ไมม่ ปี ฏิบตั ิแลว้

6. รูปภำพภมู ปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม/กจิ กรรมทำงภูมิปัญญำทำงวฒั นธรรม

-362-

แบบสำรวจมรดกภมู ิปญั ญำทำงวัฒนธรรมจังหวัดเชียงรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวฒั นธรรมจงั หวัดเชยี งรำย

อำเภอพญำเมง็ รำย จงั หวัดเชียงรำย

๑. ช่ือข้อมลู งานจกั สานผสู้ งู อายุ

๒. ลกั ษณะ  วรรณกรรมพ้ืนบา้ นและภาษา
 ศิลปะการแสดง
 แนวปฏบิ ัติทางสังคมพิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรู้และการปฏิบตั เิ กย่ี วกับธรรมชาติและจกั รวาล
 งานช่างฝมี อื ด้งั เดมิ
 การละเล่นพนื้ บา้ น กีฬาพ้นื บา้ น และศิลปะการต่อสปู่ ้องกันตวั

๓. รำยละเอยี ดข้อมูล

๓.๑) ประวตั คิ วามเปน็ มาของขอ้ มลู
งานจักสาน เปน็ งานฝมี ือซ่ึงเกดิ จากภมู ปิ ญั ญาชาวบา้ นที่มคี วามประณตี สวยงาม มีลวดลายแตกต่างกัน
ออกไป เช่น ลายสอง ลายสาม ลายไฟก้าว ลายตาน เป็นต้น แต่ละบ้านจะฝึกงานจักสานเคร่ืองมือเครื่องใช้ต่าง ๆ
ด้วยไม้ไผ่ หรอื หวาย ซ่ึงในสมัยก่อนถอื วา่ เครื่องมือเครื่องใชเ้ หล่านั้นมีความจ้าเป็นในชวี ติ ประจ้าวนั ต้องสืบทอด
ฝีมอื ภมู ิปัญญาเอาไว้ โดยถา่ ยทอดจากรุ่นพ่อถึงรุ่นลูกหลาน แมก้ ระทงั่ ในปจั จุบันก็ยังนิยมใช้เคร่ืองจักร มาชว่ ย
ในกระบวนการจักสานอยู่ ตัวอย่างของเครื่องจักสาน ได้แก่ ก๋วย กระบุง กระด้ง เหิง ซ้าหวด สุ่มไก่ หับไก่
ตาดไหนึ่งข้าว อู่นอน ไซ ซ้องใส่ปลา เป็นต้น ซึ่งคนโบราณรู้จักคิดค้นประดิษฐ์ประดอยเครื่องใช้ด้วยการน้าไม้
ไผ่มาจักสานให้เป็นรูปร่าง ดัดแปลงน้ามาใช้ประโยชน์ในชีวิตประจ้าวันเพ่ือยังชีพสืบทอดกันมาจนถึงปัจจุบั น
นับเป็นภูมิปัญญางานฝีมือของชาวบ้านที่มีความผูกพันกับวิถีชีวิตของคนล้านนามาช้านาน วัสดุท่ีใช้ในการ
จักสาน ได้แก่ ไม้ไผ่ ไม้บงกาย ไม้บงเกลี้ยง ไม้เต้ีย และหวาย น้ามาจักเป็นตอกหรือเป็นเส้นขนาดต่างกัน
ชนิดของไม้ไผ่ข้ึนอยู่กับประเภทของงานสาน เครื่องมือท่ีใช้ในการจักสาน ได้แก่ มีดใหญ่ (อีโต้) มีดเหลา เหล็ก
เครือ่ งจกั สานท่ีนยิ มใช้พอจา้ แนกได้ ดงั น้ี
ก๋วย คือ เคร่ืองจักสานชนิดหนึ่งรูปทรงคลา้ ยตะกร้าของภาคกลาง มีหลายขนาดแตกต่างกัน และวิธี
สานกท็ า้ ได้หลายอย่าง เชน่ กว๋ ยตาห่าง จะสานเป็นตาหา่ ง ๆ ใชห้ าบหญา้ หรอื พืชไร่ ก๋วยหาบขา้ วโพด สานดว้ ย
ผวิ ไมไ้ ผ่ เปน็ ลายทึบ มีความแข็งแรงทนทานกว่า เวลาใชห้ าบจะมคี ู่หาบ 2 ใบ ปจั จบุ ันนยิ มใชก้ ันอยู่ทัว่ ไป
กระบุง หรือ เบียด มีลักษณะคล้าย “ก๋วย” แต่สานด้วยลายทึบ มีรูปทรงสวยงามประณีตกว่าก๋วย
ใชห้ าบขา้ วสารหรือขา้ วเปลือก ปัจจบุ ันมีเหลือใช้น้อยลง บางหมบู่ า้ นเลิกใช้ไปแลว้
ด้ง หรือ กระด้ง เป็นเครื่องสานที่มีลักษณะรูปทรงกลมแบนคล้ายถาด ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง
ประมาณ 1 ศอก มขี อบสงู ประมาณ 9 น้ิวฟตุ แต่เดมิ ใชส้ ้าหรบั ฝดั ข้าว เพือ่ คัดแยกข้าวเปลือกออกจากข้าวสาร
ปัจจบุ นั นยิ มนา้ มาใชส้ า้ หรบั ตากของแห้ง เพราะสะดวกคล่องตัวและงา่ ยต่อการใช้งาน
ฃ้อง คืองานสานด้วยลายขัดแตะรูปทรงสวยงามคล้ายแจกันแต่อ้วนกลมใหญ่กว่าแจกันหลายเท่า
สานดว้ ยตอกไมไ้ ผเ่ ล็ก ๆ เรียงกนั เปน็ ระเบียบ ใชส้ า้ หรับใส่ปลาทจี่ ับได้
เพอ่ื เป็นการอนรุ ักษ์ สืบสานและตอ่ ยอดภูมปิ ญั ญาของชาวบ้านท่ีมมี าต้งั แต่โบราณเพ่ือหวงั ใหล้ ูกหลาน
ได้เรียนรู้และสืบต่อไปให้เป็นมรดกภูมิปัญญามิให้สูญหาย ทางหมู่บ้านจึงได้ร่วมกันจัดต้ังกลุ่มผู้สูงอายุ
เพ่ือถ่ายทอดองค์ความรู้ท่ีมีให้แก่ลูกหลานได้ใช้สืบทอดต่อไป โดยใช้ชื่อกลุ่มว่า “กลุ่มจักสานผู้สูงอายุ หมู่ 13
บ้านห้วยก้างใหม่” ข้ึน เป็นการสร้างอาชีพ สร้างรายได้ และส่งเสริมให้มีผลิตภัณฑ์ประจ้าหมู่บ้านที่สามารถ
ออกจ้าหน่ายให้กับคนทั่วไป ที่ส้าคัญเพื่อให้ผู้สูงอายุเกิดการรวมกลุ่ม มีเวทีให้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกัน
เป็นการพบปะ พูดคุย และได้ท้ากิจกรรมร่วมกัน สร้างความสามัคคีเป็นอันหน่ึงอันเดียวกันในหมู่บ้าน
เป็นการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ส้าหรับผู้สูงอายุ และเกิดรายได้หมุนเวียนจากการจ้าหน่ายผลิตภัณฑ์
จกั สานด้วยมอื ของตนเองอย่างภาคภูมใิ จ

-363-

๓.๒) ขั้นตอน/วิธีการ/ดา้ เนินการเก่ียวกับข้อมูล
1. กา้ หนดผลติ ภณั ฑท์ จี่ ะจักสาน
2. จดั เตรียมวสั ดุอปุ กรณ์ท่ีใชใ้ นการจักสาน
3. รวมกลุ่มชว่ ยกันจกั สานคนละไม้คนละมือ ตามแตฝ่ ีมือที่ตนเองถนัด
4. เกบ็ รักษาผลติ ภัณฑ์ท่ีไดจ้ ากการจักสาน เพื่อตรวจสอบความมน่ั คงแข็งแรง ทนทาน สวยงาม และ
สภาพดีใชก้ ารได้ กอ่ นออกวางจา้ หนา่ ย
5. ลงบันทึกบญั ชีรายได้จากการจ้าหนา่ ยเพื่อแจ้งสมาชกิ กลุ่มให้ทราบโดยทว่ั กนั

๔. ชื่อผู้ท่ีถือปฏิบตั ิและผสู้ บื ทอด

๔.๑ ผู้ท่ีถอื ปฏบิ ตั ิ

ชื่อ นายสวาท เชยี งรนิ ทร์

วนั เดอื น ปเี กดิ 29 พฤษภาคม 2515

ทอี่ ยู่ 15 หมู่ 13 ต้าบลไมย้ า อ้าเภอพญาเมง็ ราย จังหวดั เชียงราย

หมายเลขโทรศัพท์ 087 175 9249

๔.๒ ผสู้ ืบทอด

ชอ่ื กลุ่มจกั สานผู้สงู อายุ หมู่ที่ 13 บ้านห้วยกา้ งใหม่

วัน เดอื น ปีเกิด -

ทีอ่ ยู่ หมู่ 13 ตา้ บลไมย้ า อ้าเภอพญาเม็งราย จงั หวัดเชยี งราย

หมายเลขโทรศัพท์ 087 175 9249

๕. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏบิ ตั ิอย่างแพรห่ ลาย  เส่ยี งต่อการสูญหาย  ไมม่ ีปฏิบตั ิแลว้

๖. รูปภำพภูมิปญั ญำทำงวัฒนธรรม/กจิ กรรมทำงภูมปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม

-364-

แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ัญญำทำงวฒั นธรรมจังหวดั เชยี งรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวฒั นธรรมจังหวดั เชยี งรำย
อำเภอเทิง จังหวัดเชยี งรำย

๑. ช่ือข้อมูล จกั สาน บา้ นไคร้

๒. ลกั ษณะ  วรรณกรรมพน้ื บา้ นและภาษา
 ศลิ ปะการแสดง
 แนวปฏิบัตทิ างสังคมพิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรู้และการปฏิบตั เิ กยี่ วกับธรรมชาตแิ ละจกั รวาล
 งานชา่ งฝมี อื ดง้ั เดมิ
 การละเลน่ พน้ื บา้ น กีฬาพ้ืนบา้ น และศิลปะการต่อสู่ป้องกันตวั

๓. รำยละเอยี ดขอ้ มูล

๓.๑) ประวัตคิ วามเป็นมาของข้อมูล
บ้านไคร้หมู่ 22 เป็นหมู่บ้าน หน่ึงของต้าบลตับเต่า ซึ่งเป็นหมู่บ้านท่ีแยกมาจากหมู่ที่ 3 ต้าบลตับเต่า
ซึ่งมีประประชาชน ได้อพยพมาจากจังหวัดน่านบางส่วน ได้มาต้ังถ่ินฐาน ณ หมู่บ้านไคร้ หมู่ 3 และในเวลา
ตอ่ มามปี ระชากร มากขน้ึ จงึ ไดแ้ ยกหมู่บ้านเป็นหมู่ 22 เพอ่ื ประโยชนด์ า้ นงบประมาณ และแบง่ เขตรบั ผิดชอบ
ในการจัดการทรัพย์ยากรทางด้านทิศตะวันออกของหมู่บ้าน มีธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ ดังน้ันจึงเป็นวิถีชีวิต
ที่ชาวบ้านได้ใช้ประโยชน์จากไม้ไผ่ ท้าเป็นเคร่ืองจักสาน สามารถน้าใช้ในชีวิตประจ้าวัน และท้าเป็นอาชีพ
เสริมได้อีก นายปุ๋ย เครือเถาว์ มีความเชี่ยวชาญโดยการใช้ไม้ไผ่ น้ามาสร้างอุปกรณ์ ด้ารงชีพต่าง ๆ เช่น
ตะกร้า สุ่ม อุปกรณ์ดักปลา ข้องใส่ปลา และอ่ืน ๆ ที่เป็นงานช่างผีมือ ซ่ึงในช่วงหลังได้ประยุกต์อุปกรณ์
สังเคราะห์ มาช่วยในการสานท้าให้ลดการตัดไม้ไผ่ ซ่ึงเป็นภูมิปัญญาท่ีควรจะรักษาเพ่ือสืบทอดภูมิปัญญาไว้ให้
ลูกหลานได้สืบทอดต่อไป

๓.๒) ขัน้ ตอน/วิธกี าร/ด้าเนินการเกี่ยวกบั ขอ้ มูล
ท้าการศึกษาจัดเก็บข้อมูลศึกษา และท้าข้อมูลให้เป็นสารสนเทศเพ่ือ การสืบทอดภูมิปัญญาสู่เยาวชน
รนุ่ หลงั และคงสภาพภมู ปิ ัญญา

๔. ชอื่ ผู้ที่ถอื ปฏิบัตแิ ละผ้สู บื ทอด
๔.๑ ผทู้ ี่ถือปฏิบตั ิ
(๑) ชื่อ นายปยุ๋ เครอื เถาว์
วนั เดอื น ปเี กิด 17 มิถนุ ายน 2490
ทอ่ี ยู่ 45 หมู่ 22 ตา้ บลตับเต่า อ้าเภอเทิง จงั หวดั เชยี งราย
หมายเลขโทรศัพท์ 088 575 8744
(๒) ชื่อ นายธนติ โมงยาม
วัน เดอื น ปเี กดิ 8 มิถนุ ายน 2503
ท่อี ยู่ 138 หมู่ 3 ต้าบลตบั เตา่ อ้าเภอเทิง จงั หวัดเชียงราย
หมายเลขโทรศัพท์ 088 575 8744
(๓) ชื่อ นายคดิ ขิใสยา
วัน เดือน ปเี กิด 30 มกราคม 2499
ท่ีอยู่ 38 หมู่ 22 ตา้ บลตับเตา่ อ้าเภอเทงิ จังหวัดเชยี งราย
หมายเลขโทรศัพท์ 089 933 5975

-365-

๔.๒ ผู้สืบทอด -
ชื่อ -
วนั เดือน ปีเกิด -
ท่ีอยู่ -
หมายเลขโทรศัพท์

5. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏบิ ตั อิ ย่างแพรห่ ลาย  เสย่ี งต่อการสญู หาย  ไม่มปี ฏิบตั แิ ลว้

6. รปู ภำพภูมปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม/กิจกรรมทำงภูมปิ ัญญำทำงวฒั นธรรม

-366-

แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ัญญำทำงวฒั นธรรมจังหวัดเชียงรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวัฒนธรรมจงั หวัดเชยี งรำย
อำเภอเวยี งแกน่ จังหวดั เชยี งรำย

๑. ชื่อข้อมูล จกั สานจากหวาย

๒. ลักษณะ  วรรณกรรมพ้ืนบา้ นและภาษา

 ศิลปะการแสดง

 แนวปฏิบัตทิ างสังคมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรแู้ ละการปฏบิ ัตเิ กี่ยวกบั ธรรมชาตแิ ละจักรวาล
 งานชา่ งฝีมอื ดง้ั เดมิ

 การละเลน่ พ้ืนบ้าน กีฬาพื้นบ้าน และศิลปะการตอ่ สู่ป้องกนั ตวั

๓. รำยละเอยี ดข้อมลู

๓.๑) ประวัติความเป็นมาของขอ้ มูล
หวายเป็นพันธุ์ไม้ที่ขึ้นอยู่เป็นกอ มีใบเรียวยาวผิวเกลี้ยง เนื้อเหนียว และยืดหยุ่นได้ดีกว่าวัสดุอื่น ๆ
ท้าให้สามารถจักหรือตอกเป็นเส้นหรือแผ่นบาง ๆ ได้ง่าย การน้าหวายไปท้าเครื่องใช้ จะมีตั้งแต่ตะกร้าหรือ
กระบุงที่จะใช้หวายเพียงอย่างเดียว ไปจนถึงเฟอร์นิเจอร์ชิ้นใหญ่อย่างโต๊ะหรือเก้าอี้ ที่จะมีการใช้หวาย
ร่วมกับวัสดุอ่ืน ๆ อย่างไม้ไผ่หรือใบตาล
ในอดีตเครื่องจักสานมักใช้วัตถุดิบท่ีท้าด้วยหวายเป็น ส่วนใหญ่ เพราะเป็นวัสดุที่หาง่ายและมีอยู่ตาม
ท้องถน่ิ ทั่วไป หวายจึงนับ เป็นไม้ทีม่ คี วามสา้ คัญในงานหัตถกรรมต่าง ๆ เนอ่ื งจากหวาย เปน็ พืชทม่ี ีลกั ษณะเด่น
เฉพาะตัว คือมีความสวยงาม ตามธรรมชาติ มีเนื้ออ่อนกว่าเนื้อไม้แต่มีความเหนียว แข็งแรง และยืดหยุ่นได้
ดีกว่าไม้ไผ่หรือไม้ท่ีใช้ในการจักสานชนิดอ่ืน ๆ สามารถจักเป็นเส้นหรือแผ่นบางได้ง่าย โค้งงอได้ดี คงรูปอยู่ได้
ตลอดไปตามความต้องการ หวายจึงถูกน้ามาใช้ประโยชน์ในชีวิต ประจ้าวันตั้งแต่สมัยโบราณ และมีความ
ต้องการใชห้ วายมากยิ่งข้นึ ผลติ ภัณฑ์จากหวายไดแ้ ก่ เก้าอนี้ ง่ั โต๊ะรับแขก ตะกรา้ ชนดิ ต่างๆ เป็นต้น

๓.๒) ขั้นตอน/วธิ กี าร/ด้าเนนิ การเกย่ี วกับข้อมลู
1) เหลาหวายให้มีขนาดพอเหมาะ หรอื ขนาดต่าง ๆ ตามความตอ้ งการ
2) นา้ หวายเส้นหลกั มาดดั และสาน ให้เปน็ โครง ของผลิตภัณฑ์ ตามขนาดและรปู แบบทตี่ อ้ งการ
3) ไม้ไผ่เป็นซี่ ๆ ย้อมสตี ามความต้องการ เพื่อใช้เปน็ เส้นยืน เพือ่ ยดึ รูปทรงตะกร้า หรือรูปทรงผลติ ภณั ฑ์
4) นา้ เส้นหวายเทียม มาจกั สาน หรอื ออกแบบลวดลาย ตามท่ีต้องการ
5) นา้ เส้นหวาย มาประกบเปน็ ขอบตะกรา้ หรอื ขอบผลติ ภัณฑ์ และสานลวดลายตามความตอ้ งการ
6) เกบ็ รายละเอยี ดช้ินงาน เก็บปลายหวาย ให้เรียบร้อย
7) ทาน้ามันเคลอื บ เพื่อให้อยูท่ รง และสวยงาม ทนทานใช้งานไดน้ าน

๔. ชือ่ ผู้ท่ีถือปฏิบตั แิ ละผู้สบื ทอด

๔.๑ ผูท้ ถี่ ือปฏิบตั ิ

ชอ่ื กลมุ่ จักสานจากหวาย บ้านปอกลาง

วัน เดอื น ปเี กดิ -

ทีอ่ ยู่ วดั ปอกลาง ตา้ บลปอ อา้ เภอเวยี งแก่น จงั หวดั เชียงราย

หมายเลขโทรศัพท์ -

๔.๒ ผ้สู ืบทอด -367-
ชอื่
วัน เดอื น ปเี กดิ กลมุ่ จักสานจากหวาย บ้านปอกลาง
ท่อี ยู่ -
หมายเลขโทรศัพท์
วัดปอกลาง ต้าบลปอ อา้ เภอเวียงแกน่ จังหวดั เชยี งราย
-

๕. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏบิ ตั ิอยา่ งแพรห่ ลาย  เสยี่ งตอ่ การสูญหาย  ไมม่ ปี ฏิบตั ิแล้ว

๖. รูปภำพภมู ปิ ญั ญำทำงวัฒนธรรม/กิจกรรมทำงภูมปิ ัญญำทำงวฒั นธรรม

-368-

แบบสำรวจมรดกภมู ิปัญญำทำงวัฒนธรรมจงั หวดั เชียงรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวฒั นธรรมจงั หวัดเชยี งรำย

อำเภอพญำเมง็ รำย จังหวดั เชียงรำย

๑. ชื่อข้อมูล จักสานตะกร้าหวายเทยี ม

๒. ลกั ษณะ  วรรณกรรมพน้ื บ้านและภาษา
 ศลิ ปะการแสดง
 แนวปฏบิ ตั ิทางสงั คมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรู้และการปฏิบัติเกี่ยวกับธรรมชาติและจักรวาล
 งานชา่ งฝีมอื ดงั้ เดมิ
 การละเล่นพน้ื บา้ น กีฬาพนื้ บ้าน และศิลปะการต่อสู่ป้องกันตวั

๓. รำยละเอยี ดข้อมูล

๓.๑) ประวัติความเปน็ มาของข้อมูล
เคร่ืองจักสาน เป็นงานศิลปหัตถกรรมพ้ืนบ้านของไทยท่ีมีมาช้านานและผลิตกันทุกภาคของประเทศไทย
โดยส่วนใหญ่จะใช้วัสดุที่หาได้ในท้องถิ่นเป็นวัตถุดิบในการผลิต เช่น หวาย ไม้ไผ่ ย่านลิเพา กระจูดกก ฯลฯ
เม่ือน้ามาผลิตเป็นเคร่ืองมือใช้ในชีวิตประจ้าวัน โดยสนองความต้องการประโยชน์ใช้สอยพื้นฐานเป็นส้าคัญ
เคร่ืองจักสานจึงเป็นสิง่ ท่ีมีความจ้าเป็นและมีความสมั พันธ์อย่างใกล้ชิดกับวิถีของคนไทยจนกลายเป็นสว่ นหนึง่
ของศิลปวัฒนธรรมพ้ืนบ้านที่มีการสร้างสรรค์ และสืบทอดต่อเนื่องกันมาแต่อดีต นับต้ังแต่ออกแบบลวดลาย
รูปทรง โครงสร้าง ตลอดจนการเลือกใช้วัสดุพื้นบ้านได้อย่างเหมาะสม ตามคตินิยมท้องถิ่นน้ัน ๆ ท้าให้
เคร่ืองจกั สานพ้นื บ้านของไทยมเี อกลักษณ์ เฉพาะงานแตกตา่ งกันไป
เคร่ืองจักสาน พ้ืนฐานของไทยส่วนใหญ่ใช้ไม้ไผ่เป็นวัตถุดิบในการจักสาน นอกน้ันยังมีวัสดุอื่น ๆ
ตามท้องถิ่นแต่ละภาคของไทย เช่น กก หวาย ใบลาน คล้า คลุ้ม กระจูด แหย่ง เตย ล้าเจียก ย่านล้าเพา
ใบมะพร้าว เป็นต้น วัสดุต่าง ๆ เหล่านี้ก่อให้เกิดลวดลายและรูปทรงเคร่ืองจักสานมีลักษณะเฉพาะตาม
เอกลักษณ์ของท้องถิ่นน้ัน ๆ ด้วย การผลิตแต่ละช้ินมีความละเอียดอ่อน ต้องใช้ความช้านาญ ความอดทน
ใช้เวลาในการผลิตนาน เนื่องจากเป็นงานที่ละเอียด ประณีต สวยงาม มีคุณภาพ มีรูปแบบที่ทันสมัย จึงท้าให้
ผลิตภัณฑข์ องกลุ่มเปน็ ที่สนใจของกลมุ่ เป้าหมายทั่วไป
ผลิตภัณฑ์ของกลุ่มตะกร้าหวายเทียมของบ้านไม้ยา หมู่ 2 เร่ิมจากการได้รับการอบรมจากเทศบาล
ต้าบลไมย้ า เมอื่ ปี 2561 ตอ่ มาไดร้ บั การอบรมเพม่ิ ทกั ษะความรู้การสานลวดลายต่าง ๆ จากศนู ยฝ์ ึกอาชพี จาก
กรมแรงงานจังหวัดเชียงราย และต่อยอดจาก กศน.อ้าเภอพญาเม็งราย จึงมีทักษะการสานต ะกร้า
หวายเทียมดียิ่งขึ้น และเป็นกลุ่มจักสานท่ีมีการท้างานเข้มแข็ง มีผลิตภัณฑ์ที่ผลิตจากงานฝีมือจักสานที่ใช้
กรรมวิธีในการผลิตแบบโบราณ โดยใช้ช่างฝีมือพ้ืนบ้านอย่างแท้จริง ต้องใช้เวลาและความช้านาญในการผลิต
จึงท้าให้ผลิตภณั ฑ์แต่ละช้นิ มีความสวยงาม ละเอียดอ่อน ประณีต มีรูปแบบท่ีทันสมัยและมีคุณภาพ ท้าให้เป็น
ท่ีตอ้ งการของตลาดอยา่ งแพร่หลาย

๓.๒) ขน้ั ตอน/วธิ ีการ/ดา้ เนนิ การเกี่ยวกบั ขอ้ มลู
วัสดอุ ุปกรณท์ ่ีใช้
1. หวายเทยี ม
2. เหล็กหมาด
3. กรรไกรตดั เล็บ

-369-

4. มีดจักตอก
5. ดินสอ
6. คมี
7. เรียด
8. รอง หรือแบบข้นึ รูปตะกร้า
9. ตะปูทองเหลือง
10. ค้อน
11. มดี เลก็
12. น้า
13. ผ้าไหม
ขัน้ ตอนกำรเตรียมกำร
1. เตรยี มตน้ หวาย แล้วน้ามาจักหรือผ่าตามขนาดที่ตอ้ งการ แลว้ นา้ หวายไปซดั เรยี ดให้ไดข้ นาดของ
เส้นหวาย ขนาดใหญ/่ แบน/กลม/แบนเล็ก/แบนใหญ่
2. เตรยี มอุปกรณ์เคร่อื งใช้ ได้แก่ เหล็กหมาด กรรไกรตัดเล็บ มีด คมี ตะปู น้า เปน็ ตน้
ขนั้ ตอนกำรผลติ
1. ตดั ก้น คือ การนา้ หวายท้ังตน้ มาโคง้ มาโคง้ ตามแบบทีต่ ้องการจะทา้
2. ข้นึ ตะกร้า (จะใชล้ ายขดั ) คอื การนา้ หวายที่เตรียมไว้มาสานเปน็ ลายขัดกับหวาย ทีต่ ัดก้นไว้และจะ
มหี วายที่เป็นเสน้ ยีนหรือเสน้ ตั้งหรอื ดว้ิ
3. การเขา้ แบบหรอื เขา้ รอง คือ การนา้ แบบหรือรองท่ีเตรียมไวม้ าใส่ก้นตะกร้าท่ีเตรียมไว้ แล้วสาน
ตามแบบและจะมีเสน้ หลกั เรียกว่า ดวิ้ เพ่อื จะใช้หวายท่เี ตรยี มไวส้ านเปน็ ลาย
4. การสาน คือ ขั้นตอนท่ตี ้องใชค้ วามละเอยี ดมากทส่ี ุด สานตามลายทต่ี ้องการ โดยจะมีเสน้ ดอกสอง
ชนิด คอื ตอกยืน (ตอกต้งั หรือดิว้ ) และตอกนอน (ตอกสาน)
5. การสาน หรือเมน้ ปาก คือ ขน้ั ตอนท่สี านเปน็ ลายจนได้ตะกรา้ ตามต้องการ แล้วพับด้ิวทีเ่ หลือลงมา
และถักปากเพื่อเก็บความเรียบรอ้ ย
6. ใสข่ อบ คือ ข้ันตอนที่ถักปากเสร็จเรียบรอ้ ยแลว้ น้าหวายเปน็ ต้นขนาดเดียวกันกับทด่ี ัดก้น มาดดั โค้ง
ท้าเป็นของปากกระเป๋าแลว้ ถักเปน็ ลายปลาช่อน
7. เตรยี มหู ใส่หู คือ การนา้ หวายเปน็ ต้นมาดดั แล้วโค้งเพือ่ จะทา้ เป็นหู และใช้หวายที่เปน็ ผวิ ของหวาย
ขนาดตามท่เี ตรียมไวม้ าถกั รอบหู เปน็ ลายปลาช่อนใหส้ วยงาม
8. ทาน้ามันชักเงา คือ การน้าน้ามันมาทาตะกร้าที่สานเสร็จแล้ว เพื่อให้ตะกร้ามีความแข็งแรง
ไมข่ น้ึ รา มีความสวยงาม

๔. ชอื่ ผู้ท่ีถอื ปฏิบตั แิ ละผสู้ ืบทอด
๔.๑ ผทู้ ่ถี ือปฏิบตั ิ
ช่ือ นายสุข อนิ ตา
วนั เดอื น ปีเกดิ 20 มกราคม 2471
ทอ่ี ยู่ 182 หมู่ 2 ตา้ บลไม้ยา อ้าเภอพญาเม็งราย จงั หวัดเชยี งราย
หมายเลขโทรศัพท์ -
๔.๒ ผ้สู ืบทอด
(1) ช่ือ นางอ้าภา เกง่ กล้า
วัน เดอื น ปีเกดิ 27 มกราคม 2507
ท่อี ยู่ 18 หมู่ 2 ตา้ บลไม้ยา อา้ เภอพญาเม็งราย จังหวัดเชยี งราย
หมายเลขโทรศพั ท์ 082 672 5897

-370-

(2) ชือ่ นางล้าพึง มณีสุวรรณ
วัน เดอื น ปเี กดิ 5 เมษายน 2520
ทอี่ ยู่ 24 หมู่ 2 ต้าบลไมย้ า อา้ เภอพญาเม็งราย จงั หวัดเชียงราย
หมายเลขโทรศัพท์ 082 181 0967
นางนงลกั ษณณ์ ลกั คณะ
(3) ช่อื 7 สิงหาคม 2513
วนั เดอื น ปเี กดิ 246 หมู่ 2 ตา้ บลไม้ยา อา้ เภอพญาเมง็ ราย จังหวดั เชยี งราย
ทอ่ี ยู่ 082 257 1815
หมายเลขโทรศพั ท์

๕. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏิบตั อิ ย่างแพร่หลาย  เสีย่ งต่อการสูญหาย  ไม่มปี ฏบิ ัตแิ ล้ว

๖. รูปภำพภูมปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม/กิจกรรมทำงภูมิปัญญำทำงวฒั นธรรม

-371-

แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ัญญำทำงวัฒนธรรมจังหวดั เชียงรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวฒั นธรรมจงั หวดั เชยี งรำย
อำเภอเวียงแกน่ จังหวดั เชยี งรำย

๑. ช่ือข้อมลู ศลิ ปหตั ถกรรมพน้ื บาน (ช่างตีมีด)

๒. ลกั ษณะ  วรรณกรรมพ้ืนบา้ นและภาษา

 ศิลปะการแสดง

 แนวปฏิบตั ทิ างสังคมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรู้และการปฏิบตั เิ กีย่ วกับธรรมชาติและจักรวาล
 งานช่างฝมี ือด้ังเดมิ

 การละเลน่ พ้ืนบา้ น กีฬาพ้นื บ้าน และศิลปะการตอ่ สู่ป้องกนั ตวั

๓. รำยละเอียดข้อมลู

๓.๑) ประวัตคิ วามเปน็ มาของข้อมูล
นายแกว ทองค้า เกิดวันที่ มีความรู้ความสามารถเป็นช่างตีมีด เดิมเปนชาวบานปาสัก อ้าเภอพาน
จงั หวัดเชียงราย ซ่ึงเปนหมูบานที่มีอาชีพ ตมี ดี กนั ทัง้ หมูบาน พอแกวเหน็ ผูใหญในหมูบานตีมดี จงึ มีความสนใจ
และเร่ิมตีมีด ต้ังแตอายุ 26 ป ตอมาไดยายไปอยูบานสักลอ และในป พ.ศ. 2531 ไดยายมาต้ังถิ่นฐาน
บานเรือนพรอมครอบครัวที่ หมูบานยายใต โดยยึดอาชีพการตีมีดเปนอาชีพเสริมจนถึงปจจุบัน ในเรื่องของ
การทา้ เทยี น พอแกวไดศึกษาและสืบทอดองคความรูจากพออาจารยหลายแหง โดยเฉพาะเอกสารโบราณท่ีสืบ
ทอดมาจากกลุมชาตพิ นั ธุลวั ะ บานปุยค้า อ้าเภอพาน

๓.๒) ขั้นตอน/วธิ ีการ/ดา้ เนินการเกย่ี วกบั ขอ้ มลู
1. ปจจุบันไดตีมีด ตีดาบ ท้าเทียนประเภทตาง ๆ ใหกับชาวบานและผูคนที่สนใจท่ัวไปในอ้าเภอ

เวยี งแกน่ เชน บานทุงง้วิ บานสถาน บานทาขาม บานหลูบานหลายงาว บานทงุ ทราย ฯลฯ
2. เผยแพรองคความรูในการตมี ีดแบบพื้นบานใหกบั เด็ก เยาวชน นักเรียนในอ้าเภอเวียงแกน
3. เปนแหลงศึกษาขอมูลทางศิลปหัตถกรรมพ้ืนบานใหกับนักเรียน นักศึกษา และหนวยงานตาง ๆ

ในพน้ื ทจี่ งั หวัดเชียงราย

๔. ชื่อผ้ทู ถี่ ือปฏิบัติและผ้สู ืบทอด

๔.๑ ผทู้ ถี่ อื ปฏิบตั ิ

ชอื่ นายแกว ทองค้า

วัน เดือน ปเี กดิ -

ทีอ่ ยู่ 43 หมู 5 ตา้ บลมวงยาย อา้ เภอเวยี งแกน จังหวดั เชียงราย

หมายเลขโทรศัพท์ 087 201 7323

๔.๒ ผสู้ บื ทอด

ช่อื -

วนั เดอื น ปเี กิด -

ท่ีอยู่ -

หมายเลขโทรศัพท์ -

-372-
๕. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏิบตั ิอย่างแพรห่ ลาย  เสีย่ งต่อการสญู หาย  ไม่มปี ฏบิ ตั ิแลว้
๖. รูปภำพภมู ปิ ญั ญำทำงวัฒนธรรม/กิจกรรมทำงภูมปิ ัญญำทำงวฒั นธรรม

-373-

แบบสำรวจมรดกภมู ิปัญญำทำงวัฒนธรรมจงั หวัดเชยี งรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวัฒนธรรมจงั หวดั เชยี งรำย

อำเภอพญำเมง็ รำย จงั หวดั เชียงรำย

๑. ช่ือข้อมูล ช่างตีเหลก็ วัยเกา๋

๒. ลักษณะ  วรรณกรรมพนื้ บา้ นและภาษา
 ศิลปะการแสดง
 แนวปฏบิ ัตทิ างสังคมพิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรู้และการปฏิบัติเกีย่ วกบั ธรรมชาติและจกั รวาล
 งานชา่ งฝีมือดง้ั เดมิ
 การละเลน่ พน้ื บา้ น กีฬาพ้ืนบ้าน และศิลปะการต่อสู่ป้องกนั ตวั

๓. รำยละเอยี ดขอ้ มูล

๓.๑) ประวตั คิ วามเป็นมาของขอ้ มูล
จากการทนี่ ายบญุ สุรยิ ะ ได้ไปช่วยพี่ชาย ซ่ึงเป็นช่างตเี หลก็ จึงจดจ้าเทคนิควธิ กี ารตเี หลก็ แบบครพู กั ลักจ้า
เช่น เหลก็ และมาทดลองทา้ เองจนเกิดความช้านาญ และได้ยดึ เปน็ อาชีพมามากกวา่ 55 ปี จากประสบการณ์ท่ี
ผ่านมา จงึ ได้มฝี ีมือในการท้าโต๊ะ มา้ นัง่ เตยี ง แหย่ง และมีฝีมอื ในการกลงึ ไม้ โดยมีผลพวงมาจากการตีเหล็กขูด
ไม้ และไปช่วยช่างกลึงไม้ จากภูมิปัญญาฝีมือชาวบ้านด้านหัตถกรรมท่ีมีอยู่ เราควรอนุรักษ์และส่งเสริมให้
ถ่ายทอดให้คนรนุ่ หลงั ไดเ้ รยี นรู้ เพราะหากไมม่ ีการสืบทอดและต่อยอด อาจเสีย่ งตอ่ การสูญหายได้

๓.๒) ขัน้ ตอน/วธิ ีการ/ดา้ เนินการเก่ยี วกบั ข้อมูล
1. การเข่น คือ การท้าของที่หมดความคมแล้วให้กลับมาคมใหม่อีกครั้ง เช่น มีด พล้า จอบ เสียม
ขวาน ที่ช้ารุดหมดความคมแล้ว จะน้ามาเผาให้เหล็กมีความแดงในเตาถ่าน น้าไปตีให้แบนได้รูป หรือปล่อยให้
เย็นลงแล้วน้าไปเจียรด้วยหินเจียร หรือขูดด้วยตะไบ จนเร่ิมมีความคม จากน้ันน้าเข้าเตาถ่านจนแดงทั่วถึงกัน
แล้วน้าไปชุบแข็งด้วยน้า จากน้ันน้าไปขัดด้วยกระดาษทรายหรือตะไบที่มีความหยาบ หากด้ามมีดช้ารุดก็ซ่อม
หรอื เปล่ยี นใหม่ ใหส้ ามารถน้ากลบั มาใช้ไดเ้ ชน่ เดมิ
2. การตีมีด พร้า ขวาน คือ การน้าเหล็กแบนจากแหนบรถยนต์ ตะไบ บาร์เล่ือนโซ่ยนต์ หรือตลับลูกปืน
รถใหญ่มาเผาไฟ ตีให้แบน ท้าเป็นรูปมีด พร้า ตามรูปทรงท่ีต้องการ แล้วน้าไปเจียรให้คม หรือใช้ตะไบขูด
เมื่อได้รูปตามที่ต้องการแล้ว น้าไปเผาให้เหล็กแดง ชุบด้วยน้า ทดสอบความแข็งด้วยการใช้ตะไบขูดบริเวณคม
เทยี บกบั บรเิ วณสนั จะมคี วามแข็งตา่ งกนั

๔. ชอื่ ผูท้ ่ีถอื ปฏิบตั แิ ละผสู้ ืบทอด
๔.๑ ผูท้ ่ถี อื ปฏิบตั ิ

ชือ่ นายบญุ สรุ ยิ ะ
วนั เดือน ปีเกดิ 15 มิถุนายน 2495
ท่อี ยู่ 62 หมู่ 2 ต้าบลไม้ยา อ้าเภอพญาเมง็ ราย จังหวดั เชยี งราย
หมายเลขโทรศัพท์ 062 475 1319

๔.๒ ผสู้ ืบทอด
ชือ่ สมาชกิ กลุ่มตีเหล็กไมย้ า อาคารศูนยถ์ ่ายทอดภูมปิ ญั ญาชาวบ้าน
วนั เดือน ปีเกดิ -

ที่อยู่ 18 หมู่ 2 ตา้ บลไม้ยา อ้าเภอพญาเม็งราย จงั หวดั เชียงราย
หมายเลขโทรศัพท์ -

-374-
๕. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏิบตั ิอย่างแพร่หลาย  เสยี่ งตอ่ การสญู หาย  ไม่มปี ฏิบตั แิ ลว้
๖. รูปภำพภมู ปิ ญั ญำทำงวัฒนธรรม/กิจกรรมทำงภูมปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม

-375-

แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ญั ญำทำงวัฒนธรรมจงั หวดั เชียงรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวัฒนธรรมจังหวัดเชยี งรำย

อำเภอพญำเมง็ รำย จงั หวัดเชยี งรำย

๑. ช่ือข้อมลู ชา่ งสานงานศลิ ป์

๒. ลกั ษณะ  วรรณกรรมพื้นบ้านและภาษา
 ศลิ ปะการแสดง
 แนวปฏิบตั ิทางสังคมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรู้และการปฏบิ ตั ิเกย่ี วกับธรรมชาติและจกั รวาล
 งานชา่ งฝีมือดงั้ เดิม
 การละเล่นพื้นบา้ น กีฬาพน้ื บ้าน และศิลปะการตอ่ ส่ปู ้องกนั ตัว

๓. รำยละเอยี ดข้อมูล
๓.๑) ประวัติความเปน็ มาของขอ้ มูล
จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัส โควิด 19 ส่งผลให้ร้านอาหารต่าง ๆ ปดิ ตัวเองลง

พ่อครัวมือหน่ึงของร้านอาหารตะวันแดง สาขาเชียงใหม่ ช่ือ นายราชัน ปันทะอินทร์ ต้องออกจากงานกลับบ้าน
ทเ่ี ชียงรายทนั ที นอกจากไปรบั จ้างเป็นคนงานรับเหมารายวันแล้ว วันทีไ่ มม่ คี นจ้างก็ไม่มรี ายได้ ตอ้ งหาชอ่ งทาง
ท้ามาหากินเพ่ิมเนื่องจากเป็นลูกของช่างไม้ท้าโต๊ะ ท้าตู้ ต่ัง เตียง จึงพอจะมีฝีมืออยู่บ้าง และเริ่มมองเห็น
ช่องทางท้ามาหากินใหม่ในช่วงโควิดระบาด ผู้คนต่างตกงานกลับบ้านกันเป็นส่วนใหญ่ มีโอกาสได้อยู่บ้าน
อย่างเต็มตัว จึงได้มีความคิดจะตกแต่งสวนหย่อมหน้าบ้าน หาของมาประดับบ้าน จึงมีความคิดที่จะลองสาน
ตัวสัตว์ชนิดต่าง ๆ โดยใช้วัสดุจากไม้ไผ่ ด้วยมือของตัวเอง เช่น วัว ควาย ฯลฯ จึงลองไปหาซื้อไม้ไผ่มาผ่าเป็นเส้น
และลองสานเป็นรูปควาย และถ่ายรูปลงส่ือออนไลน์ คิดว่าอาจจะเป็นจุดขายเผื่อมีคนสนใจ และแล้วความฝัน
กเ็ ป็นจรงิ มคี นสนใจส่งั ซ้อื ไปประดับสวนหยอ่ มบรเิ วณบ้าน ประดบั หนา้ ร้านขายของ หรือตามสถานที่ทอ่ งเทยี่ วต่าง ๆ
โดยมกี ารพัฒนาปรับปรงุ ฝีมือการสานให้ดขี ึ้น บางคนกม็ รี ูปมาให้ดูเป็นตัวอยา่ งและส่ังให้สานตามรูป ซง่ึ ก็ท้าได้
ผลงานสานไม้ไผ่รูปสัตว์ขายเร่ิมเป็นท่ีรู้จักของผู้ท่ีพบเห็นและสนใจส่ังให้ท้าเพิ่มมากข้ึน ท้าให้มีรายได้เพิ่มจาก
อาชีพเป็นช่างสานงานไม้ดัดเป็นรูปต่าง ๆ นอกจากจะสานไม้ไผ่แล้ว ยังสามารถดัดเหล็กเสริมท้าเป็นรูปทรงต่าง ๆ
ตามทล่ี กู ค้าต้องการอีกด้วย เป็นหน่งึ ในงานฝีมือภูมปิ ัญญาท่ีควรต้องอนุรักษ์ สง่ เสริม รกั ษาและต่อยอดผลงาน
ผลิตภัณฑ์ท่ีท้าให้เกิดรายได้ต่อครอบครัวท่ีส้าคัญควรต้องมีการถ่ายทอดให้กับ คนรุ่นใหม่ได้ศึกษาเรี ยนรู้
เพอื่ พัฒนาผลติ ภัณฑ์ให้มีความทันสมัยเป็นทีต่ ้องการของตลาดต่อไป

๓.๒) ขัน้ ตอน/วิธกี าร/ด้าเนินการเก่ียวกบั ขอ้ มูล
ข้ันตอนกำรสำนไมไ้ ผ่
1. ไปหาไมไ้ ผม่ าผ่าและเหลาเป็นเส้นขนาดนว้ิ มือ ความยาวตามท่ตี ้องการ
2. จากนั้นนา้ มาผูกมัดด้วยลวดเชือกใหเ้ ป็นรูปร่างสัตว์ ให้คล้ายกับของจริงทั้งสว่ นหัว ล้าตัว เขา และหาง
3. พน่ สี หรอื ลงแลคเกอร์ขัดเงา หรือจะมีการตกแต่งเพ่มิ เติมตามใจชอบหรือตามทลี่ กู ค้าสั่ง
4. ตรวจสอบผลติ ภัณฑ์สนิ คา้ ใหม้ ีความม่ันคงแขง็ แรง ทนทาน ให้อยูใ่ นสภาพทใ่ี ช้การได้
5. เมอ่ื ตรวจสอบผลติ ภณั ฑส์ นิ คา้ เสรจ็ เรยี บรอ้ ยแลว้ สง่ มอบใหก้ ับลูกคา้
6. ลงบันทกึ บญั ชรี ับ-จ่ายเงินควบคุมไว้เพื่อตรวจสอบฐานะทางการเงนิ (ก้าไร/ขาดทนุ )
หมำยเหตุ : หากลูกค้ามีตัวอย่างรูปสัตว์ รูปการ์ตูน ส่ิงประดับท่ีน้ามาเป็นตัวอย่าง ก็สามารถสาน
ประดษิ ฐ์ให้เป็นรปู ท่ีตอ้ งการได้ แตต่ อ้ งแจง้ ล่วงหนา้ ทกุ ครงั้

-376-

๔. ช่อื ผู้ที่ถือปฏิบตั แิ ละผูส้ บื ทอด

๔.๑ ผทู้ ถ่ี อื ปฏิบตั ิ

ชอื่ นายราชัน ปนั ทะอินทร์

วัน เดอื น ปีเกิด 3 พฤศจิกายน 2517

ทอ่ี ยู่ 80 หมู่ 14 ตา้ บลไม้ยา อ้าเภอพญาเมง็ ราย จงั หวัดเชียงราย

หมายเลขโทรศัพท์ 087 881 4093

๔.๒ ผู้สบื ทอด

ชื่อ นางสภุ าพร ปันทะอินทร์

วัน เดอื น ปีเกิด 17 กุมภาพันธ์ 2515

ทอ่ี ยู่ 80 หมู่ 14 ต้าบลไม้ยา อา้ เภอพญาเมง็ ราย จงั หวดั เชียงราย

หมายเลขโทรศัพท์ 087 245 2674

๕. สถำนะ กำรคงอยู่ ปฏิบัติอยา่ งแพรห่ ลาย  เส่ยี งตอ่ การสญู หาย  ไม่มีปฏิบัตแิ ล้ว

๖. รูปภำพภมู ปิ ญั ญำทำงวัฒนธรรม/กจิ กรรมทำงภูมปิ ัญญำทำงวฒั นธรรม

-377-

แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ัญญำทำงวฒั นธรรมจงั หวดั เชยี งรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวฒั นธรรมจงั หวัดเชยี งรำย

อำเภอเวยี งเชียงรุ้ง จังหวดั เชียงรำย

๑. ชือ่ ข้อมลู ตะกรา้ หวาย

๒. ลักษณะ  วรรณกรรมพ้ืนบ้านและภาษา
 ศลิ ปะการแสดง
 แนวปฏิบัตทิ างสงั คมพิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรแู้ ละการปฏบิ ตั เิ กยี่ วกับธรรมชาตแิ ละจกั รวาล
 งานช่างฝมี อื ดงั้ เดมิ
 การละเล่นพน้ื บ้าน กีฬาพื้นบ้าน และศิลปะการต่อสูป่ ้องกนั ตัว

๓. รายละเอียดขอ้ มลู

๓.๑ ประวตั คิ วามเปน็ มาของข้อมูล
กลุ่มแปรรูปหงาย ม.14 บ้านเด่นสันทราย ต้าบลทุ่งก่อ อ้าเภอเวียงเชยี งรุ้ง จังหวัดเชียงราย เร่ิมก่อตั้ง
กลุ่มเม่ือ พ.ศ.2559 โดยการน้าของนางพรทิพย์ สิทธิขันแก้ว (แม่น้อง) เป็นผู้ก่อตั้งกลุ่ม และเป็นประธาน
กลุ่ม โดยมีสมาชกิ ครง้ั แรกจ้านวน 25 คน ซง่ึ ประธานกลุ่มเห็นว่าเพ่ือใช้เวลาวา่ งให้เป็นประโยชน์ และเปน็ การ
หารายได้เสริม จึงเร่ิมจากการให้คนมาสอน (อุ้ยถ้า บ้านแม่ข้าวต้ม อ้าเภอเมืองเชียงราย) โดยสอนให้สมาชิก
กลุ่มสานขันโตกหวาย ต่อมาคิดว่าน่าจะมีผลิตภัณฑ์หลาย ๆ อย่าง จึงเรียนรู้การสานตะกร้าด้วยหวาย และ
สานผลิตภัณฑ์อื่น ๆ ท้าให้สมาชิกกลุ่มมีรายได้เพิ่ม และเกิดความคิดสร้างสรรค์ในการออกแบบ รูปทรง และ
ลวดลายบนผลิตภัณฑ์ จนเป็นสินค้าผลิตภัณฑ์ชุมชนตามความนิยมของตลาด และเป็นสินค้าที่เกิดจาก
ภูมปิ ัญญาของชุมชน
ผลติ ภัณฑข์ องใชแ้ ปรรูปจากหวาย เปน็ ผลิตภัณฑ์ทีม่ ีลวดลายสวยงาม น้าไปใชป้ ระโยชน์ในชวี ิตประจา้ วันได้
เช่น ตะกร้าหวาย สามารน้าไปใส่ของไปวัด น้าไปจัดตกแต่งเป็นตะกร้าของขวัญ ของที่ระลึก หรือของฝาก
ส่วนขนั โตกหวาย สามารถนา้ ไปใชเ้ ป็นขันโตกในการใส่ส้ารับอาหารเพื่อรับประทานในครัวเรือน และของใช้อื่น
ๆ อีกมากมายตามความคิดสร้างสรรค์ จากการออกแบบ รูปทรง และลวดลาย สีสัน สวยงาม มีความทนทาน
ซ่งึ เปน็ งานฝีมอื เฉพาะของภมู ปิ ญั ญาท้องถ่นิ สามารถจ้าหนา่ ยไดต้ ลอดปี

3.2 ข้ันตอน/วิธีการ/ดา้ เนินการเกย่ี วกับข้อมูล
วสั ด/ุ ประกอบ/สว่ นประกอบ/กระบวนในกำรผลติ
วสั ดุ 1) หวาย : ใช้สา้ หรบั ท้าโครงสรา้ ง และรูปทรง รวมทัง้ ตัวผลติ ภณั ฑ์

-378-
2) หวายเทยี ม : ใช้ส้าหรับสานตัวผลิตภณั ฑ์ และสร้างลวดลายตามตอ้ งการ

3) แทง่ ไม้ : เป็นซ่ี ๆ ใช้ส้าหรบั ท้าสว่ นประกอบของโครงสรา้ งผลติ ภัณฑ์

4) สียอ้ มผ้า : ใช้สา้ หรับย้อมแท่งไมส้ ว่ นประกอบของโครงสรา้ ง เพือ่ ให้ได้สตี ามแบบท่ีตอ้ งการ

5) นา้ มนั วานิชเงา : ใช้สา้ หรบั ทาผลติ ภณั ฑ์ท่ที ้าสา้ เร็จแลว้
เพื่อเคลือบเงา ให้ทนทาน สวยงาม และกันน้า กันแดดท้าให้ผลิตภัณฑ์
มคี วามคงทน ใช้ได้นาน

อุปกรณ์
1) มีด : มีลกั ษณะปลายบางคม ใช้สา้ หรบั จักหวาย จกั ตอก
ใช้เหลาวสั ดุหวาย หรือไม้ ใหไ้ ดร้ ปู ทรง

2) เทปวดั ระยะ : ใชส้ า้ หรบั วดั ระยะ ในการจักสานตา่ ง ๆ

3) เหลก็ ปลำยแหลมแบน : ใช้สา้ หรับแทงเส้นหวายใหเ้ ปน็ รู
ชว่ งรอยตอ่ ของการสานลวดลาย
หรือการต่อเสน้ หวาย

-379-
4) คมี : ใชเ้ ป็นเครอ่ื งมอื ในการ คีบดงึ

5) ไม้บรรทัด, ปำกกำ, ดนิ สอ : ใชส้ า้ หรับวัดระยะ
และหมายระยะ

6) ฆ้อน : ใชส้ า้ หรับตอกตะปู หรือ ตอกไม้

7) กาว : ใช้สา้ หรบั ทาเพ่ือให้ บางส่วนที่ต้องการให้ยดึ ติด

8) ตะปู และไสแ้ ม็กยงิ :
ใชส้ ้าหรับ ตอกหรือยงิ
เพือ่ ยึดหวายให้แนน่ คงทน

9) เครอื่ งยิงตะปู /เคร่อื งยงิ แม็ก : ใชส้ า้ หรบั ยิงตะปู
ยิงไส้แม็ก ในการยดึ เพ่ือข้ึนโครงผลติ ภัณฑ์
หรือรปู รา่ งตา่ ง ๆ ของ

10) โครงดดั หวาย : ใชส้ ้าหรบั ดัดหวายใหโ้ ค้ง หรอื เป็นรูป
ตามตอ้ งการ

-380-

กระบวนการผลิต
1) เหลาหวายให้มีขนาดพอเหมาะ หรือขนาดตา่ ง ๆ ตามความตอ้ งการ
2) นา้ หวายเส้นหลกั มาดดั และสาน ใหเ้ ป็นโครง ของผลิตภัณฑ์ ตามขนาดและรปู แบบทตี่ ้องการ
3) ไมไ้ ผเ่ ปน็ ซ่ี ๆ ยอ้ มสีตามความต้องการ เพื่อใชเ้ ปน็ เสน้ ยืน เพอ่ื ยึดรปู ทรงตะกร้า หรือรูปทรงผลติ ภัณฑ์
4) น้าเส้นหวายเทยี ม มาจักสาน หรือออกแบบลวดลาย ตามที่ตอ้ งการ
5) น้าเส้นหวาย มาประกบเป็นขอบตะกร้า หรือขอบผลติ ภณั ฑ์ และสานลวดลายตามความต้องการ
6) เก็บรายละเอยี ดชน้ิ งาน เก็บปลายหวาย ใหเ้ รยี บรอ้ ย
7) ทานา้ มนั เคลือบ เพือ่ ให้อย่ทู รง และสวยงาม ทนทานใชง้ านได้นาน

๔. ชอ่ื ผทู้ ี่ถือปฏิบัตแิ ละผู้สืบทอด
๔.๑ ผูท้ ีถ่ ือปฏิบตั ิ
ชื่อ นางพรทิพย์ สิทธขิ นั แก้ว
วัน เดอื น ปีเกดิ -
ทอี่ ยู่ 137 หมู่ 14 ต้าบลทงุ่ กอ่ อ้าเภอเวยี งเชียงรุง้ จงั หวดั เชียงราย
หมายเลขโทรศัพท์ 094 1866341
๔.๒ ผูส้ บื ทอด
ชือ่ กล่มุ แปรรปู หวายบ้านเดน่ สันทราย
วัน เดอื น ปีเกิด -
ทีอ่ ยู่ 137 หมู่ 14 ตา้ บลทุ่งก่อ อ้าเภอเวยี งเชียงรุ้ง จังหวดั เชียงราย

หมายเลขโทรศัพท์ -

๖. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏบิ ัติอย่างแพรห่ ลาย  เสยี่ งต่อการสญู หาย  ไม่มีปฏิบัตแิ ลว้

๗. รูปภำพภูมิปญั ญำทำงวัฒนธรรม/กิจกรรมทำงภูมิปัญญำทำงวฒั นธรรม

ทีต่ ัง้ กล่มุ แปรรูปหวาย ม.14 บ้านเด่นสนั ทราย ต.ทุ่งก่อ อ.เวยี งเชียงรุ้ง จ.เชียงราย
และกระบวนการจักสาน ผลติ ภณั ฑ์ (137 ม.14 ต.ทุง่ ก่อ อ.เวยี งเชยี งรุ้ง จ.เชียงราย)

-381-

ขนั โตกหวาย ขนาดต่าง ๆ ตะกร้าหวายหลากหลายรปู ทรง/ลวดลาย การจา้ หนา่ ยผลติ ภณั ฑ์ในงานตา่ ง ๆ

-382-

แบบสำรวจมรดกภมู ิปัญญำทำงวฒั นธรรมจงั หวัดเชียงรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวัฒนธรรมจังหวัดเชยี งรำย
อำเภอแม่จัน จังหวัดเชียงรำย

๑. ช่ือข้อมลู ตงุ ไชย (ตงุ ไจย หรอื ตุงชัย)

๒. ลักษณะ  วรรณกรรมพนื้ บา้ นและภาษา
 ศิลปะการแสดง
 แนวปฏบิ ตั ิทางสังคมพิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรู้และการปฏิบัติเกีย่ วกับธรรมชาติและจกั รวาล
 งานชา่ งฝมี ือดง้ั เดิม
 การละเล่นพ้นื บา้ น กีฬาพื้นบ้าน และศิลปะการตอ่ สู่ป้องกันตัว

๓. รำยละเอยี ดข้อมูล

๓.๑) ประวัติความเป็นมาของข้อมูล
“ตงุ ” เป็นภาษาถ่ินลา้ นนา ซง่ึ หมายถึง “ธง” ในภาษาไทยภาคกลาง และค้าว่า “ธง” ตามความหมาย
ในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน หมายถึงผืนผ้าโดยมากเป็นสีและบางอย่างมีลวดลายเป็นรูปต่าง ๆ
จุดประสงค์ของการท้าตุงในล้านนา คือการท้าเพื่อถวายเป็นบูชาของชาวพุทธ ท้ังชาวไทยวน ไทใหญ่ และ
ชาวไทลือ้ ถอื วา่ เปน็ การทา้ บญุ อุทิศส่วนบุญส่วนกุศลให้แก่ผู้ล่วงลบั ไปแลว้ หรือการถวายเพ่ือเป็นปจั จยั ส่งกุศล
ให้แก่ตนไปในชาติหน้า ด้วยความเช่ือที่ว่าเม่ือตายไปแล้วจะได้เกาะยึดหางตุงข้ึนสวรรค์ พ้นจากขุมนรก ดังน้ัน
ชาวล้านนาจึงท้าตุงข้ึนเพ่ือใช้ในพิธีการต่าง ๆ ทางพระพุทธศาสนา ท้ังในงานมงคล งานอวมงคลต่าง ๆ
แตกตา่ งไปตามความเชอ่ื และพิธกี รรม ตลอดจนความนยิ มในแตล่ ะทอ้ งถนิ่

๓.๒) ขัน้ ตอน/วธิ ีการ/ดา้ เนนิ การเกี่ยวกับขอ้ มูล
ตงุ ไชย (ตุงไจย หรือตุงชัย) หมายถงึ ตงุ มงคล เป็นเครือ่ งหมายบอกถึงชัยชนะ ความสา้ เร็จ ความปติ ิ
ยนิ ดีช่ืนชม เป็นเกยี รติและความเปน็ สริ ิมงคล ตงุ มงคลมีอยู่หลายชนดิ
รปู แบบและลกั ษณะ เป็นตุงท่ที อจากเสน้ ดา้ ยหรอื เส้นไหม มักจะท้าเปน็ ๕,๗,๙ และ ๑๑ ทอ่ น และละ
ท่อนยาวประมาณ ๑๒ นิ้ว ตัวตุงกว้างประมาณ ๘ – ๑๒ น้ิว มักประดับตกแต่งด้วยกระดาษเงิน กระดาษทอง
ตัดเป็นลวดลาย ในแต่ละท่อนจะมีลายเหมือนกัน บางผืนไม่มีไม้ค่ันมักจะทอเป็นลวดลายต่าง ๆ เช่น ปราสาท
พานดอกไม้ พระธาตุ ดอกไม้ คน สัตว์ เช่น ช้าง ม้า นาค ด้านข้างของแต่ละช่องจะตกแต่งด้วยพวงมาลัย
สร้อยดอก ดอกจ้าปีกระดาษ แต่หากทอเป็นลายเจดีย์สูงๆ ก็จะมีเพียง ๑ ถึง ๒ ลาย เท่าน้ัน ส่วนหัวและ
ท้ายจะทอลวดลายอย่างอื่นประกอบ ส่วนหางตุงจะปล่อยด้ายให้ยาวลงมาเสมอกันให้มีลักษณะเป็นฝอย ๆ
หรือฝนั่ เกลยี ว หรอื ตกแต่งด้วยอุบะดอกไม้แห้ง
วัสดทุ ีใ่ ช้ทา้ ตงุ ไชย
๑. เส้นด้าย
๒. เส้นไหม (ส้าหรับตงุ ทอ)
๓. ผา้ เปน็ ผนื
๔. ไม้ไผเ่ หลาบาง ๆ
๕. กระดาษเงนิ
๖. กระดาษทอง
๗. กาว
๘. กระดาษส้าหรบั ประดษิ ฐ์ดอกไมแ้ หง้
การน้าไปใชง้ าน

-383-

โดยทวั่ ไปมักจะเห็นการปักตุงไชยเม่อื มีเทศกาลต่าง ๆ เชน่ งานปอยหลวง งานปีใหม่สงกรานต์ เพ่อื ให้
เกิดความสวยงาม และใช้ปกั ตามเส้นทางเพื่อเป็นเครื่องหมายน้าทางไปสู่บรเิ วณท่จี ดั งาน ใช้ในขบวนแห่ และอื่น ๆ
เป็นบางโอกาส

๔. ช่อื ผทู้ ี่ถือปฏิบตั ิและผสู้ ืบทอด

๔.๑ ผ้ทู ี่ถอื ปฏิบัติ

ชือ่ นางมาลินี แยม้ เมือง

วนั เดือน ปเี กิด ๑๑ กรกฎาคม ๒๔๘๘

ที่อยู่ ๗/๑ หมู่ ๓ ต้าบลแม่จัน อา้ เภอแมจ่ นั จงั หวัดเชยี งราย

หมายเลขโทรศัพท์ ๐๘๑ ๐๒๒๘๓๓๕ หรอื ๐๙๓ ๐๐๕๑๕๗๓

๔.๒ ผู้สืบทอด

ช่ือ กลมุ่ ผสู้ งู อาย/ุ กล่มุ แมบ่ ้าน/กลุม่ เด็กนักเรยี นและเยาวชนในพื้นท่ี

เขตเทศบาลตา้ บลแมจ่ นั

วนั เดือน ปเี กิด -

ทอ่ี ยู่ เขตเทศบาลตา้ บลแมจ่ นั อา้ เภอแม่จนั จงั หวัดเชียงราย

หมายเลขโทรศัพท์ -

๕. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏิบตั อิ ย่างแพรห่ ลาย  เสยี่ งต่อการสูญหาย  ไม่มีปฏบิ ัตแิ ล้ว

๖. รปู ภำพภูมปิ ญั ญำทำงวัฒนธรรม/กจิ กรรมทำงภูมิปัญญำทำงวฒั นธรรม

-384-

แบบสำรวจมรดกภมู ิปัญญำทำงวัฒนธรรมจังหวดั เชียงรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวัฒนธรรมจงั หวดั เชยี งรำย
อำเภอแม่จัน จงั หวดั เชยี งรำย

๑. ชื่อข้อมูล ตุงสบิ สองราศี (ตงุ ตวั เปิ้ง หรือตุงปีใหม)่

๒. ลักษณะ  วรรณกรรมพ้ืนบ้านและภาษา
 ศิลปะการแสดง
 แนวปฏิบัติทางสังคมพิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรแู้ ละการปฏิบตั ิเกีย่ วกับธรรมชาตแิ ละจกั รวาล
 งานช่างฝมี อื ดั้งเดิม
 การละเลน่ พืน้ บ้าน กีฬาพื้นบา้ น และศลิ ปะการตอ่ ส่ปู ้องกันตวั

๓. รำยละเอียดข้อมลู

๓.๑) ประวตั ิความเป็นมาของข้อมูล
ตงุ ตัวเปิ้ง หรือตุงปีใหม่ สตั ว์ ๑๒ ราศี อยู่ในผืนเดียวกนั โดยเรยี งล้าดบั รปู สตั ว์ตา่ ง ๆ ในผนื ตุง ดงั น้ี
๑. ไจ้ ชวด หนู
๒. เป้า ฉลู ววั
๓. ยีขาล เสอื
๔. เหมา้ เถาะ กระตา่ ย
๕. สี มะโรง งใู หญ่
๖. ไส้ มะเสง็ งเู ลก็
๗. สะงา้ มะเมยี ม้า
๘. เมด็ มะแม แพะ
๙. สนั วอก ลิง
๑๐. เล้า ระกา ไก่
๑๑. เสด จอ สนุ ัข
๑๒. ไก๊ กนุ หมู (ตา้ นานลา้ นนาเป็นชา้ ง)

๓.๒) ขนั้ ตอน/วิธีการ/ดา้ เนนิ การเกีย่ วกบั ขอ้ มูล
ตงุ สบิ สองราศีมกั ท้าด้วยผา้ ขาว หรอื กระดาษสา แต่คนท่ัวไปมกั นิยมท้าด้วยกระดาษสา หรือกระดาษ
ชนิดอ่ืนก็ไดเ้ พ่ือความสวยงาม มีความกว้างประมาณ ๔ - ๗ น้ิว ยาวประมาณ ๑ เมตร ตรงกลางจะมีรูปนักษัตร
วัสดทุ ใ่ี ชท้ ้าตงุ สิบสองราศี
๑. ผ้าขาว
๒. กระดาษสา
๓. กระดาษสตี ่าง ๆ
๔. ตรายางรูปสตั ว์ ๑๒ ราศี (สา้ หรบั ปัม้ รูปลงบนกระดาษด้วยสยี อ้ มผ้า)
การน้าไปใช้งาน
นิยมปักถวายทานบนเจดีย์ทรายในวัดร่วมกับตุงชนิดอื่น ๆ ในประเพณีสงกรานต์ (ปีใหม่เมืองเหนือ)
และใช้ได้หลายงาน เช่น พิธีสืบชะตา สะเดาะเคราะห์ พิธีทานใจบ้านหรือสร้างบ้าน โดยมีคติความเชื่อว่า
หากได้บูชาตุงตัวเป้ิงแล้วจะท้าให้ชะตาชีวิตของเรารุ่งเรือง อยู่เย็นเป็นสุข ท้ามาค้าขึ้น พ้นเคราะห์ พ้นโศก
พน้ โรคภยั ในปนี ั้น ๆ

-385-

๔. ชอ่ื ผ้ทู ี่ถอื ปฏิบตั ิและผสู้ บื ทอด
๔.๑ ผทู้ ถี่ ือปฏบิ ตั ิ
ชอ่ื จ.ส.ต.อทุ ยั สยุ ะศักด์ิ
วนั เดือน ปเี กดิ -
ทีอ่ ยู่ ตา้ บลแม่คา้ อ้าเภอแมจ่ ัน จังหวดั เชยี งราย
หมายเลขโทรศัพท์ ๐๘๐ ๕๐๓ ๗๔๗๙
๔.๒ ผู้สบื ทอด
ชือ่ ส้านักงานเทศบาลต้าบลสายน้าคา้
วนั เดือน ปเี กิด -
ทีอ่ ยู่ ตา้ บลแม่คา้ อ้าเภอแมจ่ นั จังหวัดเชียงราย
หมายเลขโทรศัพท์ ๐๕๓ ๗๗๙ ๓๘๘

๕. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏิบัตอิ ย่างแพร่หลาย  เสีย่ งต่อการสญู หาย  ไมม่ ีปฏบิ ตั ิแลว้

๖. รูปภำพภูมิปัญญำทำงวัฒนธรรม/กิจกรรมทำงภูมิปัญญำทำงวัฒนธรรม

-386-

แบบสำรวจมรดกภมู ิปญั ญำทำงวฒั นธรรมจงั หวัดเชยี งรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวัฒนธรรมจังหวัดเชยี งรำย
อำเภอเวยี งชยั จังหวัดเชียงรำย

๑. ช่ือข้อมลู ตมุ้ เหยีย่ น (ทตี่ ักปลาไหล) , ท่ีดกั ปลา

๒. ลกั ษณะ  วรรณกรรมพ้ืนบ้านและภาษา
 ศลิ ปะการแสดง
 แนวปฏบิ ัติทางสงั คมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรแู้ ละการปฏิบัติเกีย่ วกบั ธรรมชาตแิ ละจกั รวาล
 งานชา่ งฝมี อื ด้ังเดิม
 การละเลน่ พืน้ บา้ น กีฬาพ้ืนบ้าน และศลิ ปะการต่อสู่ป้องกันตวั

๓. รำยละเอียดข้อมูล
๓.๑) ประวตั ิความเป็นมาของข้อมูล
วิถชี ีวิตของคนไทยมักจะหาวัตถุดบิ จากธรรมชาติมาเป็นวัตถดุ ิบในการประกอบอาหาร โดยเฉพาะการ

จับสัตวน้าไม่ว่าจะเป็นกุ้ง หอย ปู ปลา ตามแมน้า ล้าเหมือง รองเหมือง ทองนา หนอง คลอง บึง ฯลฯ ซ่ึงมี
กระจายทั่วไปในแต่ละพื้นท่ี ซึ่งบรรพบุรุษได้คิดค้นอุปกรณ์ต่าง ๆ มาใช้เป็นเคร่ืองมือในการจับสัตว์น้า และ
ถา่ ยทอดองคค์ วามรูใ้ นการประดิษฐ์เครื่องมือให้แก่ลูกหลานสบื ทอดกนั มาจนถึงปจั จุบัน

“ตุ้มเหย่ียน” เป็นเคร่ืองมือส้าหรับดักปลา โดยเฉพาะปลาไหล มีรูปทรงคลายลูกน้าเตา ติดงาแซง
บริเวณตีนตุม สวนปากจะสานกรวยใสเหย่ือลอปลาไหล และใชเปนฝาปดตุมภายในตัว ใชดักปลาไหลตามทองนา
สระน้า หรือแองน้า

การดักปลาไหลมักจะวางตุมในบริเวณท่ีมีน้าน่ิงใกลขอบบอ ขอบสระ หรือคันนาไมลึกนัก พอใหปากตุม
โผลพนํน้า ขุดหลุมตื้น ๆ พอวางตุมไดเหมาะ แลวกดดินรอบ ๆ กนตุม ผูกคอตุมโยงกับไมหลักที่ปกไวกันตุม
ไมใหลอยหรือลม แลวใสเหยื่อลงในกรวย เพ่ือลอปลาไหลใหเขาไปกินเหย่ือ ซ่ึงสวนใหญจะเปนของคาว เชน ปูฉีก
หอยทุบ เศษหัวปลา เปนตน เมื่อปลา ไหลเลื้อยเขาไปในตุมแลวหาทางออกตามอุปนิสัย ก็จะติดกรวยท่ีใส
เหยอ่ื ลอปดปา

นายอ้าย ราชคม ได้เรียนรู้วิธีการสานตุ้มเหยี่ยน ตุ้มปลา จากการสังเกตและได้ลองท้าเรียนรู้ด้วย
ตนเอง โดยตุ้มเหยี่ยนของนายอ้าย ราชคม จะท้ามาจากเหล็กเส้นซึ่งแตกต่างจากตุ้มเหยี่ยนทั่วไปท่ีมักจะสาน
ด้วยไม้ไผ่ จึงท้าให้ตุ้มเหย่ยี นมีความคงทน แขง็ แรง ทนทาน สามารถใชเ้ ป็นเครื่องมือหาปลาได้ยาวนานมากกว่า
ตมุ้ เหย่ียนทีท่ ้าจากไมไ้ ผ่

๓.๒) ขัน้ ตอน/วธิ ีการ/ดา้ เนนิ การเก่ียวกับข้อมลู
วิธีการท้าตุ้มเหย่ียน (ที่ดักปลาไหล) มีขั้นตอนดังน้ี น้าเหล็กเส้นมาขดเป็นวงกลมเพ่ือท้าเป็นฐาน
ของตุ้มเหย่ียน และส่วนประกอบของตุ้มเหยี่ยน จ้านวน ๓ วง จากนั้นเอาตาข่ายมาวัดขนาดความกว้าง

และความสูงในระดับท่ีต้องการ และท้างาไซ (ช่องทางเข้าของตุ้มเหยี่ยน) แยกไว้สองอันเพ่ือเอามาประกอบ

ด้านล่างของตุ้มเหย่ียน เพ่ือให้เป็นช่องให้ปลาเข้าไปด้านใน หลังจากน้ันน้าส่วนประกอบต่าง ๆ มาประกอบ
เขา้ ดว้ ยกนั เป็นต้มุ เหยีย่ น ตมุ้ ปลา

-387-

๔. ชื่อผ้ทู ี่ถือปฏิบตั แิ ละผู้สบื ทอด

๔.๑ ผู้ที่ถือปฏบิ ัติ

ชื่อ นายอ้าย ราชคม

วนั เดอื น ปเี กิด ๑ มกราคม ๒๔๙๒

ทอ่ี ยู่ ๒๐๘ หมู่ ๑ ตา้ บลเวียงชัย อ้าเภอเวยี งชยั จงั หวดั เชยี งราย

หมายเลขโทรศัพท์ ๐๘๖ ๑๘๕ ๙๕๙๘

๔.๒ ผูส้ บื ทอด -
ชื่อ -
วัน เดือน ปีเกิด -
ท่อี ยู่ -
หมายเลขโทรศัพท์

๕. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏบิ ัติอยา่ งแพรห่ ลาย  เสี่ยงตอ่ การสญู หาย  ไมม่ ีปฏิบัตแิ ลว้
๖. รูปภำพภมู ปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม/กจิ กรรมทำงภูมิปัญญำทำงวัฒนธรรม

-388-

แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ญั ญำทำงวฒั นธรรมจงั หวัดเชียงรำย ประจำปี ๒๕๖5
สภำวัฒนธรรมจงั หวัดเชยี งรำย
อำเภอเวยี งชยั จงั หวัดเชยี งรำย

๑. ช่ือข้อมูล เตามดี ปงหลวง

๒. ลกั ษณะ  วรรณกรรมพื้นบา้ นและภาษา
 ศลิ ปะการแสดง
 แนวปฏบิ ตั ิทางสงั คมพิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรู้และการปฏบิ ตั เิ กี่ยวกบั ธรรมชาตแิ ละจกั รวาล
 งานชา่ งฝมี ือดัง้ เดมิ
 การละเลน่ พ้นื บ้าน กีฬาพ้นื บา้ น และศิลปะการตอ่ สู้ป้องกนั ตวั

๓. รำยละเอยี ดขอ้ มลู
๓.๑) ประวัตคิ วามเปน็ มาของข้อมลู

เดิมต้นตระกูล สร้อยแก้ว เป็นชาวจังหวัดล้าปาง ได้ท้าการค้าขาย และรับจ้างท้าเกวียนต้ังแต่
จังหวัดล้าปาง ขึ้นมาทางเหนือ เข้าจังหวัดเชียงราย ได้ตั้งถิ่นฐานอาศัยอยู่ท่ีอ้าเภอเวียงชัย รับจ้างท้าเกวียน
ต่อมาวันเวลาเปลี่ยนไป ความนิยมของการใช้เกวียนเร่ิมน้อยลง เน่ืองจากมีรถเข้ามาแทน ทางทวดต้นตระกูล
สรอ้ ยแก้ว จึงไดเ้ ปลี่ยนอาชีพมาตีมดี ขายแทนการท้าเกวยี น จนสืบทอดงานฝีมอื ตีมีดมาจนถึงปจั จุบัน

๓.๒) ขน้ั ตอน/วธิ กี าร/ด้าเนินการเก่ยี วกับขอ้ มูล
1. ตัดเหล็กให้ไดข้ นาดตามความตอ้ งการ
2. เผาไฟใหแ้ ดงแล้วน้าออกมาจากเตา เพอ่ื ข้นึ รูปมีด เม่อื ได้รูปมดี ตามตอ้ งการแล้ว น้าเอาเขา้

เตาเผาไฟอีกคร้งั หนงึ่ แล้วใช้คนตดี ว้ ยค้อนใหไ้ ด้ตามความตอ้ งการ
3. เม่อื ซ้าได้รปู มีดแล้ว ทง้ิ ไว้ให้เยน็ แล้วใช้คอ้ นตีจนเน้ือเหล็กเรียบเป็นมัน เพื่อให้เนอ้ื เหลก็

เหนียวแน่น คมบาง ตวั มีดตรง
4. น้ามดี ทีไ่ ด้มาแตง่ ด้วยตะไบ เพ่ือใหไ้ ดร้ ปู เล่มสวยงามข้ึน
5. เม่ือแต่งดว้ ยตะไบได้รปู แลว้ น้ามาขดู คมให้บางโดยใช้เหล็กขูด เพื่อทา้ ใหต้ วั มีดขาวและบาง
6. เม่อื ขดู ได้คมบางพอสมควรแล้ว ใช้ตะไบหยาบและตะไบละเอียดโสกตามตวั มดี เพ่อื ใหต้ วั มีด

ขาวเรียบรอ้ ย และคมจะบางยิง่ ข้ึน
7. เมือ่ โสกเรียบร้อยแลว้ น้ามาพานคม โดยใชต้ ะไบละเอียดพานขวางของคมมดี เพื่อให้คมมีด

บางเฉียบ
8. เมือ่ พานคมแล้วก็น้ามาชบุ “การชบุ ” เปน็ เร่ืองส้าคญั มาก ช่างตอ้ งมีความช้านาญเปน็ พิเศษ

โดยนา้ มดี เข้าเผาไฟในเตาจนรอ้ นแดงตามความต้องการ แลว้ ชบุ กบั น้าคมของมดี จะกล้าแข็งไม่อ่อนและไมบ่ ิ่น
9. เม่ือชุบแลว้ นา้ มาฝนหรือลับ โดยใช้หินหยาบและหินละเอียดให้คมได้ท่ี สมัยน้ีใช้หินกากเพชร
10. เมอ่ื ฝนหรือลบั คมไดท้ ีแ่ ล้วจึงน้ามาเข้าด้ามมดี แล้วใชน้ ้ามันทาตวั มีดเพื่อกันสนิม เปน็ เสร็จ

สน้ิ ข้ันตอนการทา้ มีด

-389-

๔. ชอ่ื ผทู้ ถ่ี ือปฏิบตั ิและผู้สบื ทอด

4.๑ ผู้ท่ีถือปฏิบตั ิ

ชอ่ื นายสรุ ัตน์ สรอ้ งแกว้

วัน เดอื น ปีเกิด 13 ตุลาคม 2505

ท่ีอยู่ 125 หมู่ ๖ ต้าบลเวยี งชัย อา้ เภอเวยี งชยั จังหวัดเชยี งราย

หมายเลขโทรศัพท์ 089 265 6850

4.๒ ผู้สบื ทอด

ชอ่ื นายชิงชัย สร้อยแก้ว

วนั เดอื น ปีเกดิ 16 เมษายน 2523

ทีอ่ ยู่ 125 หมู่ ๖ ต้าบลเวียงชยั อ้าเภอเวียงชยั จงั หวัดเชยี งราย

หมายเลขโทรศัพท์ 080 792 8715

5. สถำนะกำรคงอยู่  ปฏิบตั ิอยา่ งแพร่หลาย  เสีย่ งตอ่ การสูญหาย  ไมม่ ปี ฏบิ ตั แิ ลว้
6. รูปภำพภูมปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม/กจิ กรรมทำงภูมิปัญญำทำงวัฒนธรรม

-390-

แบบสำรวจมรดกภมู ิปัญญำทำงวฒั นธรรมจงั หวดั เชยี งรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวัฒนธรรมจังหวดั เชยี งรำย
อำเภอเวยี งชยั จังหวดั เชียงรำย

๑. ชือ่ ข้อมลู ทอผา้ พ้ืนเมือง , ทาตุง

๒. ลกั ษณะ  วรรณกรรมพน้ื บ้านและภาษา
 ศลิ ปะการแสดง
 แนวปฏบิ ัตทิ างสงั คมพิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรู้และการปฏิบัตเิ กย่ี วกับธรรมชาตแิ ละจกั รวาล
 งานชา่ งฝมี ือดง้ั เดิม
 การละเลน่ พนื้ บ้าน กีฬาพืน้ บา้ น และศลิ ปะการตอ่ สปู่ ้องกันตวั

๓. รายละเอยี ดขอ้ มูล
๓.๑) ประวัติความเปน็ มาของขอ้ มลู
ผ้าท่ีทอในบริเวณภาคเหนือหรือล้านนา ปัจจุบันคือบริเวณภาคเหนือ ได้แก่ จังหวัดเชียงราย พะเยา

ล้าพูน ล้าปาง แพร่ น่าน เชียงใหม่ และแม่ฮ่องสอน จนถึงดินแดนบางส่วนของประเทศพม่า ประเทศจีน และ
ประเทศลาว ผ้าที่ทอในบริเวณภาคเหนือหรือล้านนา ปัจจุบันคือบริเวณภาคเหนือ ได้แก่ จังหวัดเชียงราย
พะเยา ล้าพูน ล้าปาง แพร่ น่าน เชียงใหม่ และแม่ฮ่องสอน จนถึงดินแดนบางส่วนของประเทศพม่า ประเทศ
จีน และประเทศลาว ผ้าพื้นบ้านภาคเหนืออีกประเภทหน่ึงเป็นผ้าท่ีเกี่ยวเน่ืองกับความเช่ือ ขนบประเพณี
ของกลุ่มชน เช่น ผ้าส้าหรับนุ่งห่มหรือใช้ในงานท้าบุญงานนักขัตฤกษ์ ได้แก่ ตุง หรือธงท่ีใช้ในประเพณีต่าง ๆ
เชน่ ตุงไจ ตงุ สามหาง

นางบัวตอง ปัญญาผาบ ได้ศึกษาเรียนรู้วิธีการทอผ้ามาจากบรรพบุรุษ เรียนรู้จากการสังเกต
ฝึกทดลองท้า จนกระท่ังปัจจุบันสามารถออกแบบลวดลาย ดัดแปลงลวดลายใหม่ ๆ ได้ด้วยตนเอง ซึ่งศึกษา
เรียนรู้สังเกตุจากธรรมชาติสิ่งรอบตัวแล้วน้ามาประดิษฐ์เป็นลวดลาย ปัจจุบันนางบัวตอง ปัญญาผาบ ยังได้มี
การน้าผา้ ท่ีทอได้ไปประดิษฐ์ ดดั แปลง และออกแบบ เปน็ ผลติ ภณั ฑ์อยา่ งอ่ืนด้วย เช่น ตงุ ชนิดต่าง ๆ เพือ่ ใช้ใน
งานบุญ หรอื งานประเพณีตา่ งของชุมชน

๓.๒) ขั้นตอน/วธิ ีการ/ดา้ เนนิ การเกี่ยวกบั ข้อมูล
1. นา้ เสน้ ด้ายทยี่ ้อมแล้วมากรอใส่หลอด
2. นา้ ไปโว้นกบั หลักเพ่ือให้ได้จา้ นวนเส้นดา้ ยและความยาวตามทีต่ ้องการ
3. เสน้ ดา้ ยทโี่ วน้ แลว้ น้าไปมว้ นเข้าลูม
4. นา้ เสน้ ดา้ ยมาร้อยตะกอ (เขา) และฟันหวี (ฟืม) จนครบตามจา้ นวนเสน้ ดา้ ยที่กา้ หนดไว้
5. จากนัน้ น้าด้ายพงุ่ ท่ีเตรียมไว้ไปกรอใส่หลอดเล็กสา้ หรับใสก่ ระสวยเพ่ือใช้ทอ
6. เรม่ิ ทอผา้ ไดต้ ามลายที่กา้ หนดไว้

๔. ชื่อผู้ท่ีถือปฏิบัตแิ ละผู้สบื ทอด

๔.๑ ผ้ทู ถ่ี ือปฏบิ ัติ

ชอื่ นางบัวตอง ปญั ญาผาบ

วัน เดือน ปีเกดิ 1 มกราคม 2482

ทีอ่ ยู่ 5 หมู่ 11 ต้าบลเวียงเหนอื อา้ เภอเวยี งชยั จงั หวดั เชียงราย

หมายเลขโทรศัพท์ 083 481 7430

๔.๒ ผู้สบื ทอด -391-
ช่ือ
วัน เดือน ปเี กิด นางสภุ า ปญั ญาผาบ (ลูกสะใภ้)
ทีอ่ ยู่ -
หมายเลขโทรศัพท์ -
-

๕. สถานะ การคงอยู่  ปฏิบัติอยา่ งแพร่หลาย  เสยี่ งตอ่ การสญู หาย  ไมม่ ีปฏบิ ัติแลว้

๖. รูปภาพภูมปิ ัญญาทางวัฒนธรรม/กจิ กรรมทางภูมิปัญญาทางวฒั นธรรม

-392-

แบบสำรวจมรดกภมู ิปญั ญำทำงวฒั นธรรมจังหวัดเชยี งรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวัฒนธรรมจังหวดั เชยี งรำย
อำเภอแมส่ ำย จงั หวัดเชยี งรำย

๑. ช่ือข้อมูล บอกไฟดอก / โคมลอย

๒. ลักษณะ  วรรณกรรมพ้ืนบา้ นและภาษา

 ศลิ ปะการแสดง
 แนวปฏิบัตทิ างสงั คมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล

 อาหาร/ความรู้และการปฏิบตั เิ กี่ยวกับธรรมชาตแิ ละจักรวาล
 งานชา่ งฝีมอื ดงั้ เดิม

 การละเล่นพ้นื บา้ น กีฬาพ้ืนบ้าน และศิลปะการตอ่ สปู่ ้องกนั ตวั

๓. รำยละเอียดขอ้ มลู

๓.๑) ประวัตคิ วามเป็นมาของขอ้ มลู

เมื่อถึงวันเพ็ญข้ึน 15 ค่้าเดือน 12 หรือท่ีคนเมืองเหนือเรียกว่า “เดือนยี่เป็ง” เป็นช่วงเวลาของ
งานเทศกาลลอยกระทง ซ่ึงจังหวัดต่าง ๆ ในภาคเหนือได้จัดให้มีงานประเพณีย่ีเป็งขึ้นอย่างย่ิงใหญ่งดงาม
นอกจากน้ันแล้วในงานดังกลา่ วยังมีการเฉลิมฉลองจุดพลุ ปล่อยโคมไฟ เล่นบอกไฟกันอยา่ งครึกคร้นื สนุกสนาน
ท้งั นี้เป็นเพราะงานประเพณยี ี่เป็งมีความผูกพันกับวถิ ีชีวิตของคนลา้ นนามาตัง้ แต่อดตี กาล เอกลกั ษณ์อยา่ งหน่ึง
ของงานประเพณีย่ีเป็งล้านนา นอกเหนือจากโคมลอยแล้ว บอกไฟดอก หรือบอกไฟน้อต้น ก็ถือเป็นสีสันของ
งานยีเ่ ปง็ ล้านนา เพราะคนล้านนาในอดีตจะนิยมจุดบอกไฟ หรือท่ีภาษาค้าเมืองเรียก “จิบอกไฟดอก” อันเป็น
การเฉลิมฉลองงานย่ีเปง็ กันแทบทกุ บา้ น

โคมลอยชาวล้านนาทางภาคเหนือของประเทศไทยใช้โคมลอยตลอดปี เพื่อการเฉลิมฉลองและโอกาส
พิเศษอ่ืน เทศกาลส้าคัญมากหน่ึงซ่ึงใช้โคมลอย คือ เทศกาลยี่เป็ง ซึ่งจัดในวันเพ็ญ เดือน 2 ของปฏิทินล้านนา
(ตรงกับลอยกระทง ในวันเพญ็ เดอื น 12 ของปฏทิ นิ จันทรคติไทย) การเฉลมิ ฉลองย่ีเปง็ ท่ซี บั ซอ้ นที่สดุ เห็นได้ใน
จังหวัดเชียงใหม่ เมืองหลวงโบราณของอดีตราชอาณาจักรล้านนา เทศกาลนี้มุ่งหมายให้เป็นเวลาท้าบุญ
ในสมัยปจั จบุ ัน ชาวไทยทกุ ภาคนยิ มลอยโคมเมื่อโคมลอยถูกรวมอยูใ่ นเทศกาลในสว่ นทเ่ี หลือของประเทศ

นอกเหนือจากน้ี คนยังประดับบ้าน สวนและวัดด้วยโคมกระดาษรูปทรงประณีต (เรียก โคมไฟ)
หลายแบบ มองว่าการปล่อยโคมลอยท้าให้โชคดี และชาวไทยจ้านวนมากเช่ือว่าเป็นสัญลักษณ์ของปัญหาและ
ความกังวลลอยไป

๓.๒) ขั้นตอน/วธิ กี าร/ด้าเนินการเกยี่ วกบั ข้อมลู
กรรมวิธีการผลิต เร่ิมจากการน้าเฝ่า มาผสมกับดินไฟ ขี้เหล็ก มาด ในอัตราส่วน 2 : 1 : 1 แล้วน้าไป
ใส่ลงในหม้อตอกอัดด้วยดินแล้วปิดหน้าด้วยกระดาษแก้ว เพียงเท่านี้ก็เป็นอันเสร็จส้ินกระบวนการท้าบอกไฟ
หม้อ จากนั้นจึงน้าบอกไฟท่ีท้าแล้วบรรจุใส่กล่องเพื่อส่งไป จ้าหน่ายยังที่ต่าง ๆ ท่ัวภาคเหนือบอกไฟบอกของ
ชาวล้านนา จะนิยมเล่นในช่วงระหว่างก่อนถึงวันงานย่ีเป็ง 2- 3 วัน ขณะที่บอกไฟดอกนั้นยังมีความปลอดภัย
ไม่เปน็ อันตรายต่อคนเล่นอย่างแนน่ อน เมือ่ งานประเพณยี ่ีเป็งมาถึงเม่ือคร้ัง เราจงึ เห็นบา้ นแทบทุกบา้ นน้าบอก
ไฟดอกมาจุด เพ่ือสร้างสีสันของงานย่ีเป็งล้านนาให้มีความสนุกสนานคร้ืนเครงมากข้ึน ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่า
“บอกไฟดอก” จงึ เปน็ ส่วนหนงึ่ ของงานย่ีเป็งมาตัง้ แต่อดีตจนถึงปัจจุบันกค็ งไมผ่ ิดนัก

-393-

๔. ช่ือผ้ถู ือปฏิบัติและผู้สบื ทอด

4.1 ผู้ทถ่ี ือปฏบิ ตั ิ

ช่ือ นายประพจน์ ค้าใจ

วนั เดอื น ปเี กดิ -

ทีอ่ ยู่ 1 หมู่ 1 ตา้ บลแม่สาย อา้ เภอแม่สาย จังหวัดเชยี งราย

หมายเลขโทรศัพท์ 089 637 7102

๔.๒ ผู้สบื ทอด

ช่อื -

วัน เดอื น ปเี กดิ -

ท่ีอยู่ -

หมายเลขโทรศัพท์ -

๕. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏบิ ัตอิ ยา่ งแพร่หลาย  เสยี่ งต่อการสญู หาย  ไมป่ ฏิบัติแลว้

๖. รปู ภำพภมู ิปญั ญำทำงวัฒนธรรม/กจิ กรรมทำงภูมปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม

-394-

แบบสำรวจมรดกภมู ิปัญญำทำงวัฒนธรรมจังหวดั เชียงรำย ประจำปี ๒๕65
สภำวฒั นธรรมจังหวัดเชยี งรำย
อำเภอเวียงชัย จังหวดั เชียงรำย

๑. ช่ือข้อมลู ปราสาทศพ

๒. ลกั ษณะ

 วรรณกรรมพน้ื บา้ นและภาษา
 ศลิ ปะการแสดง
 แนวปฏบิ ตั ทิ างสงั คมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรแู้ ละการปฏิบัติเกีย่ วกับธรรมชาตแิ ละจักรวาล
 งานช่างฝีมอื ดง้ั เดิม
 การละเล่นพืน้ บ้าน กีฬาพืน้ บา้ น และศิลปะการตอ่ สปู่ ้องกนั ตวั

๓. รำยละเอียดข้อมูล
๓.๑) ประวัตคิ วามเปน็ มาของขอ้ มลู
หลักฐานกล่าวถึงการใช้ปราสาทในชนชั้นสูงว่าเป็นของที่นิยมท้ามาเป็นเวลานานแต่โบราณแล้ว

ดังที่ปรากฏในสาส์นสมเด็จตอนหน่ึงว่า ลุจุลศักราช 940 ปีขาลสัมฤทธิศกเดือนอ้ายข้ึน12ค่้านางพระยา
วิสุทธิเทวีผู้ครองนครพิงค์เชียงใหม่ถึงแก่พิราลัยพระยาแสนหลวงแต่งการศพท้าเป็นพิมานบุษบกต้ังบนหลัง
นกหัสดินทร์ขนาดใหญ่เคลื่อนด้วยเล่ือนแม่สะดึงเชิญหีบพระศพข้ึนไว้ในบษุ บกก้ันแล้วฉุดชักไปด้วยแรงคชสาร
เจาะกา้ แพงเมืองออกไปทุ่งวัดโลกแล้วก็ท้าฌาปนกจิ ถวายเพลิง ณ ทน่ี ้นั เผาทั้งรูปสตั ว์และวิมานทตี่ ั้งศพนั้นด้วย
จึงเป็นธรรมเนียมในการปลงศพ

๓.๒) ข้นั ตอนวธิ กี าร/ด้าเนนิ การเกยี่ วกบั ข้อมูล
วัสดุที่ใช้ในกำรจัดทำปรำสำทศพ ประกอบด้วย

๑. กระดาษเงิน กระดาษทอง
๒. กระดาษมันขาว มันแดง สีขาว สีเทา สีเหลอื ง หลากสี
๓. กาว หรือ แป้งเปยี ก ส้าหรบั ใชท้ ากระดาษตดิ กบั ตวั ปราสาท โดยการนา้ แปง้ มันสา้ ปะหลัง
ตม้ น้าใหเ้ ดือดคนจนได้ทเ่ี หนยี วพอดี จงึ เรยี กวา่ แป้งเปยี ก
๔. ไม้งวิ้ แดง ไมน้ นุ่
เครอ่ื งมอื ท่ีใชใ้ นกำรจดั ทำปรำสำทศพ ประกอบดว้ ย
๑. เล่อื ยมอื
๒. เล่ือยวงเดอื น
๓. สวิ่ ขนาดต่าง ๆ
๔. ค้อน มุย
๕. กรรไกร
๖. ตะปู
๗. มดี ขนาดต่าง ๆ ใชส้ ้าหรบั ตัดไม้ ฟันไม้ ผ่าไม้
๘. แทน่ รอง ใช้ส้าหรบั รองกระดาษเพอื่ ต้องดอก ต้องลาย แกะลาย
๙. ไม้ฉาก ตลบั เมตร
๑๐. ดินสอเขียนไม้
๑๑. แมก็ ยงิ ปัม้ ลม ส้าหรบั ใช้ยิงไมต้ ามจดุ ตา่ ง ๆ ท่ีคอ้ นตอกเขา้ ไปไม่ถึง
๑๒. บลอ็ กสกรนี ลาย
๑๓. สี - แปรงทาสี


Click to View FlipBook Version