The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ข้อมูลมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม จังหวัดเชียงราย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by , 2022-09-11 22:20:01

หนังสือมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม จังหวัดเชึยงราย

ข้อมูลมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม จังหวัดเชียงราย

-1๘๓-

แบบสำรวจมรดกภมู ิปญั ญำทำงวฒั นธรรมจงั หวัดเชยี งรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวัฒนธรรมจงั หวัดเชยี งรำย

อำเภอพญำเมง็ รำย จงั หวดั เชียงรำย

๑. ชื่อข้อมูล พธิ สี ่ขู วัญ/อา่ นค่าว

๒. ลักษณะ  วรรณกรรมพ้ืนบ้านและภาษา
 ศิลปะการแสดง
 แนวปฏิบัตทิ างสังคมพิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรแู้ ละการปฏิบตั เิ กย่ี วกับธรรมชาตแิ ละจักรวาล
 งานชา่ งฝีมอื ดัง้ เดิม
 การละเลน่ พน้ื บา้ น กีฬาพ้ืนบ้าน และศลิ ปะการตอ่ สปู่ ้องกันตัว

๓. รำยละเอียดขอ้ มลู

๓.๑) ประวัติความเป็นมาของข้อมลู
พิธีกรรมความเชื่อของคนโบราณพื้นเมืองท่ียึดถือกันมานาน เช่ือว่าเม่ือมีการเจ็บป่วยหรือตกใจเสีย
ขวัญจากเหตุการณ์ต่างๆ ตามท่ีได้ประสบพบมา หลังจากหายป่วยแลว้ มักจะมีการทาพิธสี ู่ขวัญฮ้องขวัญ (เรียก
ขวัญ) โดยผ้ทู ี่มคี วามรคู้ วามสามารถเฉพาะด้านซ่ึงเรยี กวา่ “หมอสู่ขวัญ” ซึง่ หมอสขู่ วัญนี้ต้องผ่านการบวชเรียน
มาแลว้ เพราะถือว่ามวี ชิ าคาถาทน่ี ่าเช่อื ถือและยอมรับจากคนทว่ั ไป โดยเครอื่ งสขู่ วญั นัน้ จะประกอบไปด้วยวัสดุ
ท่ีจาเป็นและมีความสาคัญท่ีสอดคล้องกับความเช่ือของคนท่ีสามารถหาได้ในหมู่บ้าน ประกอบไปด้วย ขันดอก
ซงึ่ ทามาจากใบกล้วย ดอกไมเ้ ก้ายอด ไก่ต้ม 1 คู่ เหลา้ ขาว-เหล้าแดง /บหุ รี่ เครอื่ งประดบั หวี กระจก แป้ง
และเส้ือผา้ ของคนทห่ี ายปว่ ยท่จี ะใหห้ มอเรยี กขวญั ให้ (สขู่ วญั )
การอ่านค่าว เป็นคาประพันธ์ท่ีมีแบบแผนของชาวล้านนามีฉันทลักษณ์ท่ีระบุจานวนคาในวรรค
และสัมผัสระหว่างวรรค สรุปเป็นคากล่าวสั้นๆ “สามตัวเหลียว เจ็ดตัวเตียว บาทหลัง บาทหน้า” การเล่า
ค่าวจ๊อย เป็นวิธีขับลานาโดยใชค้ ่าวเป็นเนอ้ื หาหลัก บางทีเรียกว่า จ๊อยค่าว วิธีขับจ๊อยมักจะดาเนินท่วงทานอง
ไปอย่างช้า ๆ มีการเอ้ือน อาจมีเครื่องดนตรี บรรเลงคลอประกอบหรือไม่ก็ได้ ลีลาและทานองจ๊อยท่ีนิยมใช้
ได้แก่ โก่งเฮียวบ่ง ม้าย่าไฟ และทานองวิงวอน การอ่านค่าว มีมานานต้ังแต่สมัยโบราณ ปัจจุบันไม่ค่อยมีคน
สืบทอด เดก็ ๆ คนรุน่ ใหมไ่ ม่ค่อยรจู้ กั หาฟังได้ยาก จะมีเฉพาะผสู้ งู อายเุ ท่านนั้ ที่อ่านค่าว ควรต้องมกี ารส่งเสริม
สบื สานและต่อยอดมรดกภูมปิ ญั ญาทางวฒั นธรรมในเรอื่ งนเ้ี พ่ือใหค้ นรนุ่ หลงั ได้รจู้ ัก

๓.๒) ขนั้ ตอน/วธิ ีการ/ดาเนินการเกีย่ วกับข้อมูล
การทาพิธีกรรมการสู่ขวัญให้กับผู้ที่หายจากอาการเจ็บป่วยตามความเชื่อของคนโบราณล้านนานั้น
เป็นหน้าที่ของผู้ที่มีความสามารถในการเรียกขวัญ หรือ “หมอสู่ขวัญ” เป็นผู้กาหนดโดยให้ญาติทางผู้ป่วยเปน็
ผ้จู ัดเตรียมวัสดอุ ุปกรณใ์ นการทาพิธแี ละให้จดั เตรยี มเงินค่าทาพธิ ีให้กับ “หมอสู่ขวญั ” หรอื “ค่าหมอครู”
ข้นั ตอนและวธิ ีการเลา่ คา้ ว มีดังน้ี
1. ก่อนที่จะเลา่ ค่าวจอ๊ ย จะต้องมีแต่งค่าวขึ้นมาก่อน โดยผู้แต่งค่าวจะแต่งค่าวออกมาตามงานทจ่ี ะไปเลา่
ใหเ้ หมาะสมกบั โอกาสนั้น ๆ
2. ก่อนท่ีจะร้องค่าวในแต่ละครั้งนั้น จะเร่ิมร้องข้ึนตามเนื้อหาที่ได้จากการแต่งขึ้นมา โดยมีการแบ่ง
วรรคในการรอ้ ง มีการเออื้ นลกู คอ เพื่อใหเ้ นื้อรอ้ งมีความนา่ สนใจ
3. การอ่านค่าวนิยมในงานข้ึนบ้านใหม่ งานแต่งงาน บวชลูกแก้ว (บวชเณร) และงานปอยเข้าสังข์
(งานทาบุญอุทิศส่วนกุศลแก่ผู้ล่วงลับ) ได้แก่ วรรณพราหมณ์ หงส์หิน จาปาสี่ต้น บัวระวงศ์หงส์อามาตย์
เจา้ สวุ ตั รนางบวั คา ก่ากา๋ ดา เป็นต้น

-1๘๔-

๔. ชอ่ื ผทู้ ี่ถอื ปฏิบตั ิและผสู้ บื ทอด

๔.๑ ผู้ทถ่ี อื ปฏบิ ัติ

ชื่อ นายหว่ ง ทิศพรม

วัน เดอื น ปเี กิด 5 กนั ยายน 2489

ที่อยู่ 31 หมู่ 11 ตาบลแมต่ า๋ เภอพญาเมง็ ราย งหวดั เชียงราย

หมายเลขโทรศัพท์ 095 485 7389

๔.๒ ผสู้ บื ทอด

ช่ือ นายชวลติ ย่ังยนื

วนั เดอื น ปเี กดิ 20 สิงหาคม

ทีอ่ ยู่ 5 หมู่ 11 ตาบลแมต่ า๋ เภอพญาเม็งราย งหวัดเชยี งราย

หมายเลขโทรศัพท์ 081 – 2870637

๕. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏบิ ัตอิ ย่างแพร่หลาย  เส่ยี งต่อการสูญหาย  ไมม่ ีปฏิบตั แิ ลว้

๖. รปู ภำพภูมปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม/กิจกรรมทำงภูมิปัญญำทำงวัฒนธรรม

-1๘๕-

แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ัญญำทำงวฒั นธรรมจงั หวดั เชยี งรำย ประจำปี ๒๕๖4
สำนกั งำนวฒั นธรรมจังหวัดเชยี งรำย
อำเภอแมล่ ำว จังหวัดเชยี งรำย

๑. ช่ือข้อมลู พธิ ีอญั เชญิ เคร่ืองสักการะ บวงสรวงอนสุ าวรยี ์พระบาทสมเด็จพระนเรศวรมหาราช

๒. ลักษณะ  วรรณกรรมพ้ืนบา้ นและภาษา
 ศิลปะการแสดง
 แนวปฏิบตั ิทางสังคมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรแู้ ละการปฏบิ ตั ิเกีย่ วกับธรรมชาติและจักรวาล
 งานชา่ งฝมี ือดัง้ เดิม
 การละเลน่ พืน้ บ้าน กีฬาพ้ืนบา้ น และศลิ ปะการต่อสปู่ ้องกันตวั

๓. รำยละเอียดข้อมูล

๓.๑) ประวตั ิความเป็นมาของข้อมูล
ประวัติ และเส้นทางการเดินทพั ของ สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช ข้อมูลอา้ งองิ บางสว่ น คดั ลอกมาจาก
หนังสือพระราชพิธี บวงสรวงดวงพระวิญญาณ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช เม่ือวันท่ี 25 มกราคม พ.ศ. 2512
ณ หน้าท่ีว่าการอาเภอแม่สรวย โดยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุยเดชมหาราชพร้อมด้วยสมเด็จ
พระนางเจ้าสิริกิต์พระบรมราชินีนาถ ได้เสด็จ มาทาพิธีบวงสรวงดวงพระวิญญาณสมเด็จพระนเรศวรมหาราช
โดยพระองคเ์ อง
จากการศึกษาเส้นทางโบราณท่ีใช้สัญจรกันระหว่างเมืองต่อเมืองของคนโบราณในอดีตและได้
ปะติดปะต่อเร่ืองราวต่างๆให้เป็นข้อมูล ดังต่อไปนี้ ตามประวัติศาสตร์ พระราชพงศาวดาร ได้บันทึกไว้ว่า
ปีมะโรง พุทธศักราช 2147 วันพฤหัสบดี เดือนยี่ แรม 6 ค่า สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงเสด็จยกกองทัพหลวง
พร้อมพหลพลพยุหเสนาทับช้าง ทับม้า วัว ควายสาหรับบรรทุกเสบียง และ อุปกรณ์ต่าง ๆ พร้อมคนเดินเท้า
ยกออกจากกรุงศรีอยุธยา จานวน 200,000 คน โดยแยกเป็น 2 ขบวนทัพ โดยสมเด็จพระอนุชาธิราชเอกาทศรถ
คมุ 1 กองทัพ เพอ่ื จะไปตอี งั วะโดยผา่ นเชยี งใหม่
มีพงศาวดาร บางฉบับได้บันทึกไว้ว่า ปี พุทธศักราช 2143 ซึ่งปลายรัชสมัยของพระองค์ท่าน
หัวเมืองทางเหนอื เกิดแตกแยกโดย ไมข่ ้ึนต่อเมอื งเชยี งใหม่ มี เมืองนา่ น เมืองฝาง เมืองชะเลียง และอีก 9 เมือง
โดยมีเมืองศรีสัตนาคนหุตล้านช้าง อยู่เบ้องหลังและตั้งตนเป็นใหญ่ เมื่อกองทัพหลวงยกทัพมา แล้วแยกทัพ
ออกเป็น 2 ขบวนทัพนั้น โดยให้สมเด็จพระเอกาทศรถ มากองหน่ึงโดยผ่านมาทางกาแพงเพชร ตาก ลาปาง
และ เข้าเชียงใหม่ เพื่อมาจัดการบ้านเมืองทางเหนือ และ รวบรวมพลหัวเมืองทางเหนือด้วย ส่วนกองทัพของ
พระองค์ท่าน ซึ่งเป็นทัพหลวง ยกทัพมาทางพิษณุโลก เนื่องจากทุกคร้ังที่พระองค์จะเสด็จ ไปราชการทัพแล้ว
ท่านจะแวะกราบ นมัสการ พระพุทธชินราชทุกคร้ัง ท้ังไปและกลับ และ อาจจะรวบรวมพลท่ีเมืองพิษณุโลก
และ ยกไปตีเมืองศรีสัตนาคนหุตล้านช้าง ตอนนั้น เมืองล้านช้างเกิดการแข็งเมือง ไม่ขึ้นตรงต่อเมืองเชียงใหม่
เพราะเชียงใหม่ ในขณะนั้นเป็นเมืองชายขอบของกรุงศรีอยุธยา โดยผ่านทาง เลย หนองบัวลาภู ตามลาดับ
และเข้าสูเ่ ขตเมืองลา้ นช้างเพราะเส้นทางดังกวา่ นี้ เปน็ เส้นทางโบราณ ที่กรงุ ศรีสตั นาคนหุตล้านช้าง กบั กรุงศรี
อยุธยาใชต้ ิดตอ่ เจริญสัมพนั ธไมตรตี ่อกัน ดงั จะเหน็ ได้จากจารกึ ที่พระธาตุศรสี องรกั จังหวัดเลย เป็นภาษาไทย
ล้านนาหรือ (ตั๋วเมือง) มี ใจความว่า “พระมหาจักรพรรดิแห่งกรุงศรี อยุธยา กับพระเจ้าไชยเชษฐาธิราช แห่ง
กรงุ ลา้ นช้าง ไดก้ ระทาปฏญิ าณต่อกนั วา่ จะเป็นมติ รไมตรีต่อกนั ตลอดไป

-1๘๖-

พระองค์ใช้เส้นทางนี้เพื่อเข้าสู่ กรุงล้านช้าง พอจัดการบ้านเมืองเสร็จพระองค์ได้ยกทัพ กลับโดยใช้
เส้นทางที่พระเจ้าไชยเชษฐา ใช้เป็นเป็นประจา คือ ล้านช้าง – เชียงใหม่ เพราะพระเจ้าไชยเชษฐาเป็นคน
เชียงใหม่ โดยมีพระญาติฝ่ายแม่ และ พระเจ้าโพธิสารซ่ึงครองเมือง ศรีสัตนาคนหุต เป็นเมืองฝ่ายพระบิดา
ท่านจึงเดนิ ทาง ไป – มา ระหว่างสองเมืองนี้เป็นปกตโิ ดยใช้ลาน้าโขง ลาน้ากก และ ลาน้าลาวเป็นหลัก โดยมี
หลักฐาน คือ พระเจ้าทองทิพย์ ท่ีประดิษฐาน ยังวัดพระเจ้าทองทิพย์ บ้านทองทิพย์ ตาบลศรีถ้อยอาเภอ
แม่สรวย จังหวัดเชียงราย ซ่ึงพระพระเจ้าไชยเชษฐาธิราช ได้นามาจากเมืองศรีสัตนาคนหุตล้านช้าง และ ได้
นามาประดษิ ฐานระหว่างเส้นทางเดิน-ระหวา่ งเมืองลา้ นนา และ ล้านช้างจะเห็นไดว้ า่ เสน้ ทางเส้นน้ี เป็นเส้นทาง
โบราณ อีกเส้นทางหนึ่งท่ีคนสมัยก่อน ได้ใช้ติดต่อกันระหว่างเมืองต่อเมืองโดยมีชุมทาง คือ ปากทางแม่สรวย
ใน ปัจจุบัน และ บริเวณโดยรอบ เพราะพอมาถึงท่ีบริเวณน้ีจะแยกเป็น 2 ทาง ทางหนึ่ง เข้าพะเยา ลาปาง
โดยลาดับทางท่ี 2 เข้าเชียงใหม่โดยตรงดังจะเห็นได้ว่า สมัยอยุธยาตอนปลาย เนเมียวสีหบดี แม่ทัพใหญ่พม่า
ได้เข้ามาทางเหนือของประเทศไทย ตีตั้งแต่เชียงแสนเรอื่ ยมา พอมาถึงตรงน้ีแยกเป็น 2 ทัพ ๆใหญ่แยกไปทาง
พะเยา – ลาปาง และ ได้สรา้ งวัดจองคา ไว้ทีอ่ าเภองาว ส่วนทัพรองแยกไปทาง เชียงใหม่ ดังจะเห็นได้ จากการ
พักทัพของพม่า ในเส้นทางน้ีปัจจุบัน คือ บ้านทุ่งม่าน อยู่ในเขตอาเภอเวียงป่าเป้า และอีกข้อสันนิษฐานหน่ึง
คือ คราวท่ีเชียงใหม่ ตกเป็นเมืองข้ึนของพม่า ในสมัยของพระเจ้าบุเรงนอง ท่านได้ส่งราชบุตรองค์เล็ก มังนรธาสอ
มาปกครองเชียงใหม่ ขบวนของท่านก็ได้ใชเ้ ส้นทางนี้ ในการเดินทาง และ ในสมัยพ่อขุนเม็งรายมหาราชก็ไดใ้ ช้
เส้นทางน้ี การเสด็จไปเชียงใหม่ ดังจะเห็นได้จาก ชื่อของประตูด้านทิศตะวันตกชื่อประตูเชียงใหม่ พอจะสรุปได้ว่า
กองทัพของสมเด็จพระนเรศวรมหาราชน่าจะใช้เส้นทางเหล่านี้ในการเคล่ือนทัพ โดยผ่านมาทางกิ่วทัพยั้ง
อาเภอแม่จัน ผ่านเมืองเชียงราย มาทางประตูเชียงใหม่ ผ่านดงมะดะ แม่สรวย เวียงป่าเป้า เข้าเชียงใหม่
ทัพพระองค์ได้เสด็จ ล่วงหน้าไปก่อน ทัพพระอนุชาธิราช เอกาทศรถเสด็จตามหลัง ไปสมทบกองทัพ
พระนเรศวรมหาราชท่ีเมืองงาย แล้วจัดเป็นทัพใหญ่เข้าเวียงแหง เพ่ือจะไปตีอังวะ ดอยเวียง ดงมะดะ ก็เป็น
เส้นทางผ่านอีกที่หนึ่งของการยกทัพผ่านของกองทัพสมเด็จพระนเรศวรมหาราชโดยภูมิทัศน์โดยรอบ แล้วดอยเวียง
น่าจะเป็นที่ต้ังค่ายพักทัพของกองทัพหลวง ในคราวยกทัพผ่านในครั้งนั้น เพราะเป็นเนินไม่สูงนัก มีลาห้วย
ธรรมชาติไหล ผ่านตรงตนี เขา มพี ้นื ทรี่ าบเหมาะ แกก่ ารเพาะปลกู เตรยี มเสบยี งบนเนนิ เขา จะมรี ่องรอยการขุด
เป็นค่าย โดยรอบใน 4 ทิศจะมีการก่อเจดีย์วัดส่ีมุม ซ่ึงยังคงเหลือร่องรอย ให้เห็นอยู่จากการสอบถามคนแก่
ในพ้ืนที่ เคยมีคนได้พระเครื่องเป็นพระอบน้าอ้อยของเจดีย์องค์ด้านทิศตะวนั ตกเฉียงใต้ ซ่ึงมีความนิยมในแถบ
ภาคกลาง และยังมคี นเคยได้ปนื ใหญห่ ลงั ชา้ ง และโซ่ลา่ มช้างในบรเิ วณใกล้เคยี ง

๓.๒) ข้ันตอน/วิธีการ/ดาเนินการเกี่ยวกบั ข้อมูล
ในวันท่ี 25 มกราคมของทุกปี ณ บริเวณป่าชุมชนดอยเวยี ง หมู่ท่ี 15 ตาบลดงมะดะ จะมีพิธีอัญเชิญ
เครื่องสักการะ บวงสรวงอนุสาวรีย์พระบาทสมเด็จพระนเรศวรมหาราช การบวงสรวงดวงพระวิญญาณของ
สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราชนั้น เปน็ การ แสดงถงึ ความกตัญญูกตเวทที ่ีมแี ดผ่ ู้มพี ระคุณต่อบา้ นเมือง
พิธีกรรม
กอ่ นจะเรมิ่ พธิ ี จะต้องมีการเตรยี มการดังนี้
๑. จะต้องทาราชวัตร ฉัตร ๔ ธง ๔ สัปปะทน ๑ โต๊ะวางเคร่ืองสังเวย พระเก้าอี้ในบริเวณมณฑลพิธี
ลว่ งหนา้ ๑ วนั
๒. เครือ่ งสงั เวย อนั ประกอบด้วย อาหารคาว อาหารหวาน ผลไม้ตามฤดูกาล ดอกไม้ ธูปเทียน บายศรีใหญ่
๙ ช้ัน บายศรปี ากชาม
๓. อาหารคาวประกอบดว้ ย หวั หมู ไก่ เปด็ ปลาน่ึง ปู อยา่ งละคู่ ไขต่ ม้ เท่าอายเุ มือง
๔. อาหารหวานประกอบดว้ ย ขนมตม้ ขาว ขนมต้มแดง ถัว่ แดง นม เนย อ้อยคว่ัน ถ่ัวทอง อย่างละ ๒ จาน
๕. ผลไม้ตามฤดกู าล ๙ อย่าง ยกเวน้ เงาะ ละมดุ
๖. ธปู ๙ ดอก เทียนเงิน เทยี นทอง ๙ คู่

-1๘๗-

๗. บายศรีใหญ่ ๙ ชั้น ๑ คู่ บายศรีปากชาม ๑ คู่
๘. เมื่อถึงวันพิธี ประธานในพิธีจุดธูปเทียนบูชาพระรัตนตรัย เสร็จแล้วพราหมณ์ผู้ประกอบพิธีจะกล่าว
โองการ หลังจากน้ันผู้ร่วมพิธีก็จะปักธูปเทียน เครื่องสังเวยถวายดวงพระวิญญาณ เป็นอันเสร็จพิธี อน่ึงเม่ือธูป
หมดดอกแล้วกจ็ ะขอลาเครื่องสังเวยดงั กลา่ ว
ในการทาพิธีบวงสรวงดวงพระวิญญาณสมเด็จพระนเรศวรมหาราชน้ัน เป็นความเช่ือในเร่ืองรูปและ
นาม (กายและวิญญาณ) เม่ือหมดรูปนามก็จะเสวยสุขบนสรวงสวรรค์ทิพยวิมาณ นอกจากเป็นการแสดงความ
กตัญญูกตเวทิตาแลว้ ผู้จดั ทาพธิ ีก็จะไดค้ วามม่นั ใจ กาลังใจในการประกอบกิจการงานเพือ่ บ้านเมืองรวมท้ังเป็น
สริ ิมงคลแกต่ นเองตลอดจนเปน็ การรวมพลังสามัคคีในหมู่คณะด้วย

๔. ช่ือผูท้ ี่ถือปฏิบัตแิ ละผสู้ ืบทอด

4.๑ ผูท้ ่ถี ือปฏบิ ตั ิ

ชื่อ เทศบาลตาบลดงมะดะ

วนั เดือน ปีเกิด -

ทีอ่ ยู่ ๑๑๘ ตาบลดงมะดะ อาเภอแมล่ าว จงั หวัดเชยี งราย

หมายเลขโทรศัพท์ 053 184 084

4.๒ ผู้สืบทอด

ชือ่ ชาวบ้านตาบลดงมะดะ และอาเภอแมล่ าว

วนั เดือน ปีเกิด -

ทอ่ี ยู่ -

หมายเลขโทรศัพท์ -

5. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏิบตั ิอยา่ งแพรห่ ลาย  เสยี่ งตอ่ การสญู หาย  ไม่มปี ฏิบัติแลว้

6. รปู ภำพภูมิปญั ญำทำงวัฒนธรรม/กิจกรรมทำงภูมปิ ัญญำทำงวฒั นธรรม (พร้อมบรรยำยใตภ้ ำพ)

-๑๘๘-

-1๘๙-

แบบสำรวจมรดกภมู ิปัญญำทำงวฒั นธรรมจังหวัดเชยี งรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวฒั นธรรมจงั หวัดเชยี งรำย

อำเภอพญำเม็งรำย จังหวดั เชียงรำย

๑. ชื่อข้อมูล พิธีฮ้องขวัญ (สขู่ วัญ/เรียกขวัญ) สะเดาะเคราะห์

๒. ลกั ษณะ  วรรณกรรมพื้นบ้านและภาษา
 ศิลปะการแสดง
 แนวปฏบิ ตั ิทางสงั คมพิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรู้และการปฏบิ ัติเกย่ี วกับธรรมชาติและจกั รวาล
 งานช่างฝมี ือดง้ั เดิม
 การละเลน่ พืน้ บ้าน กีฬาพ้นื บา้ น และศลิ ปะการต่อสูป่ ้องกนั ตัว

๓. รำยละเอียดข้อมูล

๓.๑) ประวัติความเปน็ มาของข้อมลู
ค ว า ม เ ช่ื อ แ ล ะ พิ ธี ท า ข วั ญ เ ป็ น ก ร ะ บ ว น ก า ร ที่ แ ส ด ง ค ว า ม ผู ก พั น แ ล ะ ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ใ น ร ะ บ บ
เครอื ญาติระหวา่ งบคุ คลกับครอบครวั และบคุ คลกับชุมชน ชาวพนื้ เมืองทางภาคเหนือสืบต่อความเชื่อเรื่องขวัญ
มาช้านาน ท้ังชาวไทยใหญ่ ไทยลื้อ ไทยเขิน และมีความเช่ือว่า “ขวัญ” เป็นส่ิงที่อยู่ในร่างกายทุกคน
“ขวัญ” มีลักษณะเบา เคลื่อนไหวได้ ไม่อาจเห็นเป็นรูปเป็นร่างได้ ขวัญ แฝงอยู่ในคน สัตว์และสิ่งของ เมื่อใด
ท่ีขวัญอ่อนลงหรือหย่อนจะทาให้สภาวะของร่างกายและจิตใจของเจ้าของขวัญจะรู้สึกเสียใจ ตกใจ ท้อใจ
เม่อื เจ้าของขวญั มีขวญั ดจี ะรู้สึกสขุ สบายใจและกล้าหาญ มีพลงั เต็มเป่ยี ม ชาวไทยลา้ นนาเรียก “ขวญั อยู่กับเน้ือ
กับตัว” นอกจากนี้ชาวล้านนามีคาเรียกลักษณะขวัญที่อยู่กับเนื้อกับตัวว่า “รู้คิง” หมายถึงอาการของคน
ท่ีรู้เรื่อง รู้สึกตัว มีความรู้สึกเข้าใจทุกอย่าง ทุกขณะพูดและทาการใดก็รู้สติ ขวัญเป็นพลังแฝงในจิตใจเป็น
นามธรรม ดูแลควบคุมกายจิตใจและวิญญาณให้มีดุลยภาพ ขวัญของชาวล้านนาจัดแบ่งประเภทเหมือนกับ
คนไทยท้องถ่ินอ่ืน คือ มีขวัญคน ขวัญพืช ขวัญสัตว์ และขวัญสิ่งของ (บ้านเรือนและเครื่องใช้ในการเกษตร)
ชาวไทยลา้ นนามีพธิ ีกรรมโบราณ เรยี กวา่ “พิธฮี ้องขวญั ”หมายถึงพธิ ีเรียกขวัญให้กลับคืนสูร่ ่างเดิม พิธีฮ้องขวัญ
เป็นการผสมผสานระหว่างความเช่ือเร่ืองขวัญกับศาสนาพุทธ ศาสนาพราหมณ์ และความเช่ือในอานาจเหนื อ
ธรรมชาติ พิธีฮ้องขวัญจะทาในโอกาสที่ชีวิตมีการเปล่ียนแปลงหรือมีเหตุต้องจากบ้านไปไกล มีความเจ็บป่วย
และเกิดอุบัติเหตุหรือในกรณีที่มีบุคคลสาคัญมาเย่ียมเยือนบ้านเมือง พิธีกรรมฮ้องขวัญของชาวล้านนา
มักปฏบิ ัติรว่ มกับพิธกี รรมสะเดาะเคราะห์ (ส่งเคราะห์) และพิธีสบื ชะตา โดยจะมีปฏบิ ัตติ ่อเนื่องกัน โดยเร่ิมจาก
การสะเดาะเคราะห์ การสบื ชะตาและการเรยี กขวัญ
พธิ ีฮ้องขวัญ ยงั คงปฏิบัตกิ ันอยูใ่ นชมุ ชนลา้ นนา ท้งั ชนเผา่ เพื่อแสดงความสัมพนั ธ์ระหว่างคนในชุมชน
สร้างเสริมกาลังใจและขัดเกลาจริยธรรมและพฤติกรรมคนในชมุ ชน พิธีเรียกขวัญหรือพิธีทาขวัญของชาวเหนอื
มหี ลายลักษณะ ได้แก่ การเรยี กขวญั เด็ก (การทาขวัญ) ขวัญลกู แก้ว (นาค) ขวัญนาค ขวัญสามเณร ขวัญผปู้ ่วย
ขวญั บา่ วสาว ขวัญผู้ทจ่ี ะเดนิ ทางไกล ขวัญผทู้ ่มี าเยือน ขวัญผูใ้ หญ่บ้านและอาจารย์วัด ขวญั ขา้ ว ขวัญชา้ ง ขวัญ
วัวควาย ขวญั เรือน ขวญั เสา ผทู้ ่เี ขา้ ร่วมพิธเี รียกขวัญมี หมอขวัญเจา้ ของขวัญญาติพี่นอ้ งท่ีเข้าร่วมพิธีเรยี กขวัญ
อุปกรณ์ประกอบพิธีกรรมมีเคร่ืองบายศรี (ทาจากใบตองและดอกไม้ท่ีมีกล่ินหอม ประดิษฐ์เป็นชั้นสวยงาม)
ไข่ต้ม ข้าว กล้วย นา้ ใบพลู หมากเมยี่ ง บหุ ร่ี ดา้ ยดิบและดา้ ยผูกขอ้ มือ

-1๙๐-

๓.๒) ขนั้ ตอน/วิธกี าร/ดาเนินการเก่ยี วกับขอ้ มลู
ข้นั ตอนของพิธกี รรมฮอ้ งขวัญ คือ การเตรียมสถานท่ีและอปุ กรณท์ ใี่ ชใ้ นพธิ ีกรรม โดยอปุ กรณป์ ระกอบ
พิธกี รรมมีเคร่ืองบายศรี (ทาจากใบตองและดอกไมท้ ี่มีกลนิ่ หอม ประดิษฐเ์ ปน็ ชั้นสวยงาม) ไข่ตม้ ข้าว กล้วย นา้
ใบพลู หมากเมี่ยง บุหร่ี ด้ายดิบและด้ายผูกข้อมือ พร้อมกับเชิญหมอขวัญมาทาพิธีตามฤกษ์ยามที่กาหนดไว้
ในช่วงพิธี หมอขวัญจะทาพิธีเรียกขวัญ โดยเร่ิมจากกล่าวคาอัญเชิญเทวดา บทเรียกขวัญ (เป็นสานวนเก่าหรือ
สานวนแต่งขึ้นโดยปฏิภาณในช่วงทาพิธีก็ได้) ช่วงเรียกขวัญจะทาพิธีเส่ียงทายว่าขวัญมาแล้วหรือยัง จากนั้น
หมอขวัญจะเอานา้ มนต์มาพรมให้เจา้ ของขวญั พร้อมท้ังอวยพรให้อยู่เย็นเปน็ สุข และใช้ด้ายสายสิญจน์มามัดมือ
ซ้ายของเจ้าของขวัญเพ่ือให้ขวัญมา และมัดมือขวาเพื่อให้ขวัญอยู่กับเน้ือกับตัว จากน้ันผู้ท่ีมาร่วมงานก็จะร่วม
รับประทานอาหารและเจ้าของขวัญร่วมทานอาหารและทานไข่ต้มที่ประกอบพิธี จากน้ันญาติจะนาเคร่ือง
บายศรีไปวางไว้ที่หัวนอนของเจ้าของขวัญโดยคาเรียกขวัญจะมี เนื้อความที่แตกต่างกันไปตามประเภทของ
พิธกี รรม

๔. ชื่อผู้ท่ีถอื ปฏิบตั ิและผสู้ บื ทอด

๔.๑ ผทู้ ่ีถือปฏบิ ตั ิ

ชื่อ นายส่วย มาจักร

วัน เดอื น ปีเกิด 16 พฤษภาคม 2488

ท่อี ยู่ 55 หมู่ 3 ตาบลแม่ตา๋ อาเภอพญาเมง็ ราย จังหวดั เชียงราย

หมายเลขโทรศัพท์ 082 884 5633

4.๒ ผูส้ บื ทอด

ช่อื -

วัน เดือน ปเี กิด -

ที่อยู่ -

หมายเลขโทรศัพท์ -

๕. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏิบัตอิ ยา่ งแพรห่ ลาย  เสี่ยงตอ่ การสญู หาย  ไมม่ ีปฏบิ ตั ิแล้ว

๖. รูปภำพภมู ปิ ญั ญำทำงวัฒนธรรม/กจิ กรรมทำงภูมิปัญญำทำงวฒั นธรรม

-1๙๑-

แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ญั ญำทำงวฒั นธรรมจงั หวดั เชยี งรำยประจำปี ๒๕๖๕
สภำวฒั นธรรมจังหวัดเชยี งรำย
อำเภอเวยี งชัย จังหวดั เชียงรำย

๑. ช่ือข้อมลู พิธฮี ้องขวัญ หรือ หมอขวัญ

๒. ลักษณะ  วรรณกรรมพ้ืนบ้านและภาษา

 ศิลปะการแสดง
 แนวปฏบิ ัติทางสังคมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล

 อาหาร/ความร้แู ละการปฏิบตั ิเกี่ยวกับธรรมชาตแิ ละจกั รวาล

 งานชา่ งฝีมือดงั้ เดิม
 การละเลน่ พน้ื บา้ น กีฬาพ้ืนบ้าน และศลิ ปะการตอ่ สู่ป้องกันตวั

๓. รำยละเอียดข้อมูล

๓.๑) ประวตั คิ วามเปน็ มาของขอ้ มลู
คนไทยในสังคมภาคเหนือสืบต่อความเช่ือเรื่องขวัญมาช้านาน ทั้งชาวไทใหญ่ ไทล้ือ ไทเขิน และชาวไทย
ภาคเหนือตอนล่างมีความเช่ือว่า ขวัญเป็นส่ิงที่อยู่ในร่างกายทุกคน ขวัญมีลักษณะเบา เคลื่อนไหวได้ ไม่อาจ
เห็นเป็นรูปเป็นร่างได้ ขวัญแฝงอยู่ในคน สัตว์และส่ิงของ เม่ือใดท่ีขวัญอ่อนลงหรือหย่อนจะทาให้สภาวะของ
ร่างกายและจิตใจของเจ้าของขวัญ จะรู้สึกเสียใจ ตกใจ ท้อใจ เม่ือเจ้าของขวัญมีขวัญดีจะรู้สึกสุขสบายใจและ
กล้าหาญ มีพลังเต็มเปี่ยม ชาวล้านนาเรียก “ขวัญอยู่กับเนื้อกับตัว” นอกจากนี้ชาวล้านนามีคาเรียกลักษณะ
ขวัญที่อยู่กับเน้ือกับตัวว่า “รู้คิง” หมายถึง อาการของคนที่รู้เรื่อง รู้สึกตัว มีความรู้สึกเข้าใจทุกอย่าง ทุกขณะ
พูดและทาการใดก็รู้สติ ขวัญเป็นพลังแฝงในจิตใจเป็นนามธรรม ดูแลควบคุมกายจิตใจและวิญญาณให้มีดุลยภาพ
ขวัญของชาวล้านนาจัดแบ่งประเภทเหมือนกับคนไทยท้องถ่ินอื่น คือ มีขวัญคน ขวัญพืช ขวัญสัตว์ และขวัญ
ส่ิงของ (บ้านเรือนและเครื่องใช้ในการเกษตร) ชาวล้านนามีพิธีกรรมโบราณ เรียกว่า “พิธีฮ้องขวัญ” หมายถึง
พิธีเรียกขวัญให้กลับคืนสู่ร่างเดิม พิธีฮ้องขวัญเป็นการผสมผสานระหว่างความเชื่อเรื่องขวัญกับศาสนาพุทธ
ศาสนาพราหมณ์ และความเชื่อในอานาจเหนือธรรมชาติ พิธีฮ้องขวัญจะทาในโอกาสที่ชีวิตมีการเปลี่ยนแปลง
หรือมีเหตุต้องจากบ้านไปไกล มีความเจ็บป่วยและเกิดอุบัติเหตุหรือในกรณีที่มีบุคคลสาคัญมาเย่ียมเยือนบ้านเมือง
พิธีกรรมฮ้องขวัญของชาวล้านนามักปฏิบัติร่วมกับพิธีกรรมสะเดาะเคราะห์ (ส่งเคราะห์) และพิธีสืบชะตา
โดยจะมีปฏบิ ัติตอ่ เนอ่ื งกนั โดยเร่มิ จากการสะเดาะเคราะห์ การสืบชะตาและการเรยี กขวัญ

๓.๒) ขั้นตอน/วธิ ีการ/ดาเนนิ การเกีย่ วกบั ขอ้ มูล
ขั้นตอนของพิธีกรรมฮ้องขวัญ คือ การเตรียมสถานที่และอุปกรณ์ท่ีใช้ในพิธีกรรม พร้อมกับเชิญ
หมอขวัญมาทาพิธีตามฤกษ์ยามที่กาหนดไว้ในช่วงพิธี หมอขวัญจะทาพิธีเรียกขวัญ โดยเริ่มจากกล่าว
คาอัญเชิญเทวดา บทเรียกขวัญ (เป็นสานวนเก่าหรือสานวนแต่งข้ึนโดยปฏิภาณในช่วงทาพิธีก็ได้) ช่วงเรียกขวัญ
จะทาพธิ เี สี่ยงทายว่าขวัญมาแลว้ หรือยัง จากนน้ั หมอขวัญจะเอาน้ามนตม์ าพรมใหเ้ จ้าของขวัญพร้อมทงั้ อวยพร
ให้อยู่เย็นเป็นสุข และใช้ด้ายสายสิญจน์มามัดมือซ้ายของเจ้าของขวัญเพ่ือให้ขวัญมา และมัดมือขวาเพ่ือให้
ขวัญอยู่กับเนื้อกับตัว จากนั้นผู้ที่มาร่วมงานก็จะร่วมรับประทานอาหารและเจ้าของขวัญร่วมทานอาหารและ
ทานไข่ต้มท่ีประกอบพิธี จากน้ันญาติจะนาเครื่องบายศรีไปวางไว้ท่ีหัวนอนของเจ้าของขวัญโดยคาเรียกขวัญ
จะมเี นอื้ ความที่แตกต่างกนั ไปตามประเภทของพธิ กี รรม

-1๙๒-

การเตรียมสถานที่และอุปกรณ์ท่ีใช้ในพิธีกรรม พร้อมกับเชิญหมอขวญั มาทาพิธีตามฤกษ์ยามท่ีกาหนด
ไว้ในช่วงพิธี หมอขวัญจะทาพิธีเรียกขวัญ โดยเริ่มจากกล่าวคาอัญเชิญเทวดา บทเรียกขวัญ (เป็นสานวนเก่า
หรือสานวนแต่งขึ้นโดยปฏิภาณในช่วงทาพิธีก็ได้) ช่วงเรียกขวัญจะทาพิธีเส่ียงทายว่าขวัญมาแล้วหรือยัง
จากน้ันหมอขวัญจะเอาน้ามนต์มาพรมให้เจ้าของขวัญพร้อมท้ังอวยพรให้อยู่เย็นเป็นสุข และใช้ด้ายสายสิญจน์
มามัดมือซ้ายของเจ้าของขวัญเพ่ือให้ขวัญมา และมัดมือขวาเพื่อให้ขวัญอยู่กับเน้อื กับตัว จากน้ันผู้ที่มาร่วมงาน
ก็จะร่วมรับประทานอาหารและเจ้าของขวัญร่วมทานอาหารและทานไข่ต้มท่ีประกอบพิธี จากน้ันญาติจะนา
เครื่องบายศรีไปวางไว้ท่ีหัวนอนของเจ้าของขวัญโดยคาเรียกขวัญจะมี เน้ือความที่แตกต่างกันไปตามประเภท
ของพธิ กี รรม

๔. ช่อื ผูท้ ี่ถอื ปฏิบัตแิ ละผู้สบื ทอด

๔.๑ ผทู้ ถ่ี อื ปฏบิ ัติ

ช่อื นายคาปนั ขนั จันทร์แสง

วนั เดือน ปีเกิด 15 มนี าคม 2488

ทอี่ ยู่ 19 หมู่ 9 ตาบลผางาม อาเภอเวียงชัย จังหวดั เชยี งราย

หมายเลขโทรศัพท์ -

๔.๒ ผู้สืบทอด

ช่อื นายทิศ ทิศคา

วัน เดอื น ปีเกิด 3 มนี าคม 2493

ที่อยู่ 11 หมู่ 9 ตาบลผางาม อาเภอเวยี งชัย จงั หวดั เชยี งราย

หมายเลขโทรศัพท์ 063 378 0292

๕. สถำนะกำรคงอยู่  ปฏิบัตอิ ยา่ งแพร่หลาย  เสยี่ งต่อการสูญหาย  ไมม่ ีปฏิบตั แิ ล้ว

๖. รูปภำพภูมิปญั ญำทำงวัฒนธรรม/กจิ กรรมทำงภูมิปัญญำทำงวฒั นธรรม

-1๙๓-

แบบสำรวจมรดกภมู ิปญั ญำทำงวัฒนธรรมจังหวัดเชียงรำย ประจำปี 2565
สภำวัฒนธรรมจงั หวดั เชยี งรำย
อำเภอเชยี งแสน จงั หวัดเชียงรำย

1. ชื่อข้อมูล วถิ ีชีวิตชาวไทยวน

2. ลักษณะ  วรรณกรรมพน้ื บา้ นและภาษา
 ศิลปะการแสดง
 แนวปฏบิ ตั ทิ างสงั คมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล

 อาหาร/ความรแู้ ละการปฏบิ ัติเกย่ี วกับธรรมชาตแิ ละจักรวาล

 งานช่างฝีมือด้งั เดมิ

 การละเลน่ พ้นื บา้ น กีฬาพน้ื บ้าน และศิลปะการต่อส่ปู ้องกนั ตัว

3. รำยละเอยี ดข้อมูล

3.1 ประวัตคิ วามเปน็ มาของข้อมูล
ชาวไทยวนเชียงแสน ซ่ึงเป็นลูกหลานท่ีมีบรรพบุรุษเป็นชาวไทยวนเชียงแสน ในอดีตมีความรุ่งเรือง
ในด้านการปกครอง สถาปัตยกรรม ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา และหัตถกรรม ฯลฯ มีประวัติในด้านการ
ปกครองมาย่างยาวนาน มีเมืองหลวงปกครองตนเองที่สืบต่อกันมาต้ังแต่อาณาจักโยนกเชียงแสน ในตานานระบุว่า
พระเจา้ สิงหนวัติ ปฐมกษัตริยท์ รงสร้งเมืองหลวงขนานนามว่า “เมือนาคพันธุส์ ิงหนวัตินคร” หรอื “โยนกนคร”
มีกษัตริย์ปกครองสืบต่อกันมาจนถึงรัชกาลพระมหาไชยชนะ กษัตริย์องค์ที่ 46 เมืองโยนกนาคนครก็ล่มจม
เป็นหนองน้า เหตุเพราะชาวบ้านได้จับปลาไหลเผือก แล้วนาไปแจกจ่ายกินกันท่ัวเมือง จึงเกิดอาเพศวิบัติ
เมืองโยนกจึงเปน็ อนั ส้ินสุดลง และไดแ้ ต่งตั้งขุนคลังเป็นผใู้ หญ่บ้านปกครองแทนราชวงศ์ และสร้างเมืองใหม่ข้ึน
ชื่อ “เวียงปรึกษา” ที่ติดริมฝั่งแม่น้าโขง (บ้านเชียงแสนน้อย) มีผู้ปกครองสืบต่อกันมาได้ 15 คน จึงได้ส้ินสุด
แหง่ การปกครองเวยี งปรกึ ษาลง
ต่อมาถึงสมัยราชวงศ์หิรัญเงินยาง มีลาวจักรราชเป็นปฐมกษัตริย์ ปกครองสืบต่อกันมาอีกถึง
24 พระองค์ องค์สุดท้ายคือราชวงศ์หิรัญเงินยาง ชื่อลาวเป็ง พระองค์มีโอรสทรงพลานุภาพ ทรงพระนามว่า
พญามังราย ประสูติเม่ือปีพุทธศักราช 1839 ทรงสร้างเมืองเชียงใหม่ นามว่า นพบุรีศรีนครพิงค์เชียงใหม่
ส่วนเมืองเชยี งราย ให้ขุนครามโอรสปกครอง นับเป็นจดุ เร่ิมตน้ ของเมืองเชยี งราย ดงั นนั้ เชยี งแสนจึงลดบทบาทลง
ในปีพ.ศ. 1871 พญาแสนภู ซ่ึงเป็นโอรสของขุนคราม ซึ่งเป็นหลานของพญามังราย ได้มาสร้าง
เมืองใหม่ท่ีบริเวณเมืองเก่าริมฝั่งแม่น้าโขง ซึ่งเคยเป็นเมืองโยนกมาก่อน ได้ทาพิธีฝังหลักเมือง เม่ือวันศุกร์ เดือน 5
(เดือน 7 เหนือ) ข้ึน 2 ค่า ปีมะโรง มีกษัตริย์ปกครองท่ีเป็นลูกหลานปกครองมาจนถึง พ.ศ. 2102
พระเจ้า หงสาวดี บุเรงนอง ยกทัพมาตีเมืองในล้านนา เมืองเชียงแสนได้ตกเป็นของพม่าตั้งแต่นั้นมา พม่ากับ
กรุงศรีอยุธยาเกิดสู้รบกัน เชียงใหม่ก็รบกับพม่าบ้าง ไทยบ้าง เชียงแสนก็ตกเป็นของพม่าบ้าง อยุธยาบ้าง
ล้านช้างบ้าง เชียงใหม่บ้าง ในที่สุดก็โดนปกครองโดยพม่า เชียงแสนกลายเป็นสมรภูมิท่ีพม่ายึดเป็นเมือง
ประเทศรบกับไทยเร่ือยมาเป็นระยะเวลา 200 ปี
ในปี พ.ศ. 2347 พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ให้กรมหลวงเทพบริรักษ์กับพญายมราช
ยกกองทัพร่วมกับเมืองหลวงพระบาง พร้อมด้วยกองทัพจากหัวเมือง ได้แก่ น่าน ลาปาง เชียงใหม่ แพร่ ข้ึนมา
ขับไล่พม่าออกจากเมืองเชียงแสน และเผาเมืองทิ้งเสีย กวาดต้อนผู้คนประมาณ 22,000 ครอบครัว จัดแบ่ง
เป็น 5 ส่วน ให้ไปต้ังถิ่นฐานในเมืองนั้น ๆ ไทยวนเชยงแสนจึงได้เดินทางออกจากเมืองเชียงแสน ดังนั้น เชียง
แสนจึงกลายเป็นเมืองร้าง

-1๙๔-

ครอบครัวท่ีมากับกองทัพหลวงลงมาจากกรุงเทพฯ ผ่านเมืองสระบุรี ส่วนหน่ึงขอต้ังถ่ินฐานที่ลุ่ม
แม่น้าป่าสัก ปัจจุบันคือ อาเภอเสาไห้ ส่วนท่ีเหลือมาพักท่ีกรุงเทพฯ และได้โปรดเกล้าฯ ให้ไปต้ังถ่ินฐาน
ท่ีเมืองราชบุรี ริมฝั่งแม่น้าแม่กลอง ปัจจุบันเรียกว่า บ้านไร่นที ตามกองทัพไปเมืองเชียงใหม่บ้าง ที่แพร่ น่าน
อตุ รดิตถ์ พิษณโุ ลก สคี วิ้ ตลอดจนถึงหลวงพระบาง

ต่อมาในสมัยรัชกาลท่ี 5 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมืองเชียงแสน ทัพพม่า ล้ือ เขิน
ท่ีมาจากเชียงตุง ชาวป่า ชาวดอย เข้ามาต้ังรกรากในเมืองเชียงแสนอย่างเป็นอิสระ ไม่ข้ึนกับอานาจการ
ปกครองของไทย พระองค์ได้โปรดเกล้าฯ ให้เจ้าอินทรไชยานน เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่นากาลังมาขับไล่
(กาลังคน 4,500) เพ่อื ผลกั ดนั ใหค้ นเหลา่ นัน้ ออกไปจากเมอื งเชียงแสน เมอ่ื พ.ศ. 2417

ต่อมาได้โปรดเกล้าฯ ให้เจ้าอินต๊ะ บุตรเจ้าบุญมาผู้เป็นหลายของเจ้าอินทรไชยานน ซ่ึงครองเมือง
ลาพูนอยู่ และให้เจ้ากาวะละผู้ครองเชียงใหม่ นาราษฎรท่ีถูกกวาดต้อนไปเม่ือครั้งรัชกาลที่ 1 ขึ้นไปตั้งถ่ินฐาน
ประมาณ 1,500 ครอบครัว ในเมืองเชียงแสน และพระราชทานบรรดาศักดิ์เจ้าอินต๊ะ เป็นพระยาเดชดารง
ตาแหน่งเจา้ เมอื งเชยี งแสน

เม่ือ พ.ศ. 2442 ย้ายศนู ยก์ ลางการปกครองไปที่ตาบลกาสา (อาเภอแม่จนั ในปัจจบุ ัน) เมอื งเชียงแสน
ยบุ เปน็ ก่งิ อาเภอเชยี งแสนหลวง

เมื่อวันท่ี 9 เมษายน พ.ศ. 2500 เมืองเชียงแสนได้ถูกตั้งให้เป็นอาเภออีกคร้ัง จึงเรียกได้ว่า อาเภอ
เชยี งแสน จงั หวัดเชียงราย นับแตน่ นั้ มา

ต่อมา กลุ่มคนไทยยวนที่อพยพไปในสมัยสงคราม กับอีกกลุ่มท่ีอพยพไปก่อนเม่ือเกิดโรคระบาด
เช่น ที่สบแล จ.อุตรดิตถ์ ได้รวมตัวกันราลึกถึงบ้านเกิดเมืองนอนของบรรพบุรุษ เขาเหล่าน้ันยังคงรักษาความ
เป็นเชียงแสน เช่น ไทยวน ราชบุรี ท่ียังมีวัฒนธรรม ภาษา การกิน ขนบธรรมเนียมต่า งๆ การทอผ้าลาย
เชยี งแสน กลุ่มสระบุรี ยงั คงรักษาวัฒนธรรมประเพณที ต่ี ิดตัวไปจากเชียงแสน

สรุปได้ว่า คนไทยยวน มีภาษาพูด ภาษาเขียน การแต่งกาย ขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปวัฒนธรรม
เปน็ อัตลกั ษณ์ของตนเองและแสดงถึงเผา่ พันธข์ุ องตัวตนไดอ้ ย่างชัดเจน

๓.๒) ข้นั ตอน/วิธกี าร/ดาเนนิ การเก่ยี วกบั ขอ้ มลู
ในปี พ.ศ. 2558 ไดม้ กี ารรวมตวั ของกลมุ่ ชาตพิ ันธไุ์ ทยวนทว่ั ประเทศเกิดขน้ึ โดยการนาของ ดร.อดุ ม สมพร
ประธานสมาพันธ์สมาคมไทยวนแห่งประเทศไทย ได้มาเยือนเชียงแสน และชาวไทยวนท่ีแยกย้ายกันไปอยู่ที่ต่าง ๆ
ไดม้ ารวมตวั กนั จดั กิจกรรมรว่ มกันและชว่ ยกันอนรุ กั ษ์วัฒนธรรมประเพณีของไทยวนไว้ให้ลกู หลานสืบทอดต่อกนั ไป
สาหรับชมรมไทยวนเชียงแสนไดก้ ่อต้ังข้นึ เมื่อ พ.ศ. 2558 โดยมี นายบุญสง่ เช้อื เจด็ ตน เป็นประธาน
พระพทุ ธญิ าณมุนี เจา้ อาวาสวดั พระธาตุผาเงา (เจา้ คณะจังหวัดเชยี งราย) เปน็ ที่ปรึกษา
การจัดกิจกรรมของไทยวน มีดังน้ี
1. ผ้าจก ผ้าลายสายใจยวนเชียงแสน (เร่ิมทอ พ.ศ. 2555) โดยมีการจัดมอบผ้าทอที่ทาทอร่วมกัน
โดยมีจงั หวดั ราชบุรี ทอจกลายดอกแกว้ แลว้ สง่ ต่อไปยงั ไทยวนสระบุรี อาเภอเสาไห้ จังหวัดเชียงใหม่ที่อาเภอ
แม่แจ่ม จังหวัดอุตรดิตถ์ท่ีอาเภอตรอน จังหวัดน่านท่ีอาเภอท่าวังผา บ้านดอนแก้ว จังหวัดแพร่ท่ีอาเภอลอง
และจังหวัดเชียงราย อาเภอเชียงแสนบ้านสบคา ได้รวบรวมผ้าจกมอบไว้ให้พิพิธภัณฑ์ผ้าโบราณ อยู่ท่ี
วัดพระธาตุผาเงา เม่ือวันที่ 16-17 มีนาคม พ.ศ.2558 เพ่ือเป็นสัญลักษณ์ของเผ่าพันธ์ุไทยวน ที่ไม่เคยขาด
จากกัน และอนรุ กั ษ์ไวส้ ืบทอดต่อไป
2. การจัดงานยวนคืนเมอื ง
มีการจัดช้างสาหรับข่ีเข้าเมืองเชียงแสน และมีการฟ้อนต้อนรับไทยวนทั่วประเทศท่ีเข้ามาร่วมงาน
และมพี ีน่ ้องไทยวนจากบา้ นปากแวกจากหลวงพระบาง สปป.ลาว เข้าร่วมดว้ ย

-1๙๕-

3. การปลดปลอ่ ยวิญญาณ
มีทา่ นผรู้ คู้ ือ อาจารยพ์ ษิ ณุ ทรัพย์สุวรรณ ผู้เช่ียวชาญในการทาสมาธจิ ิต สือ่ สารกับจติ วญิ ญาณของเด็ก
ในหนองน้า หรือชาวเชียงแสนเรียกว่า หนองกลางเกียง (หนองกลางเวียง) อยู่ห่างจากแม่น้าโขงประมาณ
800 เมตร ไดก้ ลา่ ววา่ มีดวงวญิ ญาณเด็กขอใหช้ ว่ ยปลดปล่อยดวงวญิ ญาณออกจากหนองนา้ แหง่ น้ี เพราะทุกข์
ทรมานมานานกว่า 213 ปีแล้ว สืบเน่ืองมาจากตอนเชียงแสนแตก พวกที่ติดตามกองทัพไปมีแต่ผู้ใหญ่
ท่ีแข็งแรง ต้องเร่งรีบหนี เพราะเกรงว่าพม่าจะกลับมาถ้านาเด็กไปด้วยจะทาให้เสียเวลาและไม่มีใครดูแล
บางคนพอ่ แม่ บางคนพอ่ แมก่ ต็ ายในสงคราม จาเปน็ ตอ้ งเอาเดก็ ลงเรอื ปล่อยลงนา้ ท่หี นองกลางเวียงระหว่างนั้น
เรือเกิดล่ม เด็กเหล่าน้ันจึงจมน้าตายหมด เม่ือเวลาผ่านไป 200 กว่าปี วิญญาณเด็กเหล่าน้ันจึงมาส่ือสาร
เพ่อื ขอความช่วยเหลอื (อาจเป็นเพราะพวกทีก่ ลบั มาเชียงแสนอาจเป็นญาตพิ ่นี ้องของเขาเหลา่ นนั้ )
ดังน้ัน นายบุญส่ง เชื้อเจ็ดตน ประธานไทยวนเชียบแสน ร่วมกับ ดร.อุดม สมพร นายกสมาพันธ์
สมาคมไทยวนแหง่ ประเทศไทย และสมาชกิ ไทยวนแตล่ ะจังหวัด ไดจ้ ดั ทาพิธขี น้ึ เมอ่ื วันท่ี 29 ธนั วาคม 2559
4. จัดประชุมไทยวน ที่วัดไชยมงคล ตาบลน้าอ่าง อาเภอตรอน จังหวัดอุตรดิตถ์ เพ่ือพบปะประจาปี
ของพ่ีน้องไทยวนทั่วประเทศ เม่อื วนั ที่ 18-19 พฤศจิกายน 2560
5. การจัดงานต้อนรับพ่ีน้องไทยวนทั่วประเทศ (ประชุมประจาปี) ท่ีวัดพระธาตุผาเงา เมื่อวันที่ 16-
17 มถิ ุนายน พ.ศ. 2561
6. จัดงาน ยวน เยือน ยวน ประจาปี พบปะพ่ีน้องไทยวน ท่ัวประเทศทีอาเภอเสาไห้ จังหวัดราชบุรี
เมอ่ื วันที่ 9-10 ธันวาคม 2561
7. จดั งาน ยวน แยง ยวน ครงั้ น้ีทเ่ี ชยี งแสนเปน็ เจา้ ภาพ จัดงานที่บริเวณวดั เจดียห์ ลวง และพพิ ิธภัณฑ์
เมอื งเชียงแสน เพอ่ื พนี่ อ้ งไทยวนได้พบปะแลกเปล่ียนเรียนรู้กนั เมือ่ วันที่ 6-8 ธนั วาคม 2562
ตอ่ มาปี พ.ศ. 2563-2564 ได้งดจัดกจิ กรรม เน่อื งจากสถานการณโ์ ควิต-19
ดงั น้นั ประโยชน์ของการจดั ตั้งชมรม ไทยวน ในเชียงแสนข้ึนมามดี งั น้ี
1. เพ่ือสืบสายสัมพนั ธ์กับพ่ีน้องไทยวนทัว่ ประเทศ
2. จัดกิจกรรมพบปะและประชุมประจาปขี องไทยวนเชยี งแสน
3. ใหค้ วามรคู้ วามเขา้ ใจกับผูม้ าเยือนเมอื งเชยี งแสนเชงิ ประวตั ิศาสตร์และชาติพันธุ์ไทยวน
4. เผยแพร่การแต่งกายของชาวไทยวนในวาระและเทศกาลต่าง ๆ
5. เผยแพรท่ ีม่ าของชาติกาเนิดของไทยวนท่มี ที ี่มาที่ไปอยา่ งไร
6. มีพิพิธิภัณฑ์ผ้าทอไทยวน อยู่ท่ีวัดพระธาตุผาเงา เป็นศูนย์การเรียนรู้ผ้าจก และเป็นท่ีจัดการแสดง
ผา้ จก รวมลายสายใจยวนเชียงแสน ทอเปน็ ผนื เดยี วกนั แตม่ ลี ายของแตล่ ะจงั หวดั อยคู่ รบทกุ ลายในผืนเดียวกัน

๔. ช่อื ผทู้ ี่ถือปฏิบตั ิและผสู้ ืบทอด

๔.๑ ผ้ทู ่ีถือปฏบิ ตั ิ

ชอ่ื นายบุญส่ง เชือ้ เจด็ ตน

วนั เดอื น ปเี กดิ 12 มถิ นุ ายน 2492

ทอ่ี ยู่ 119/1 ตาบลเวยี ง อาเภอเชียงแสน จงั หวดั เชียงราย

หมายเลขโทรศัพท์ 082 758 0882

๔.๒ ผู้สบื ทอด

ชื่อ สภาวฒั นธรรมเทศบาลเวียงเชียงแสน และ สภาวฒั นธรรมอาเภอเชยี งแสน

วัน เดือน ปีเกดิ -

ที่อยู่ -

หมายเลขโทรศัพท์ -

-1๙๖-  ไมม่ ีปฏิบตั แิ ล้ว
๕. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏบิ ัติอยา่ งแพร่หลาย  เส่ียงตอ่ การสญู หาย
๖. รปู ภำพภมู ปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม/กจิ กรรมทำงภูมปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม

พธิ ีกรรมปลดปล่อยดวงวิญญาณเด็ก (ทีห่ นองกลางเวียง)
กจิ กรรมงาน ยวน แยง ยวน อาเภอเชยี งแสน เป็นเจ้าภาพ
กจิ กรรมงาน ไท ยวน ทห่ี อวัฒนธรรมพื้นบ้านจงั หวัดสระบุรี

-๑๙๗-

กจิ กรรมงาน ยวน เยือน ยวน ท่แี ม่นา้ ป่าสกั อ.เสาไห้ จ.สระบุรี
กจิ กรรมงาน ไท ยวน ท่านา้ อ่าง ที่วดั ไชยมงคล อาเภอตรอน จงั หวัดอุตรดิตถ์

ลายผ้าจกเชียงแสน
เชยี งแสนเป็นเจ้าภาพต้อนรบั คณะ ไท ยวน ท่วั ประเทศ ประชุมประจาปี ทว่ี ดั พระธาตผุ าเงา

-1๙๘-

แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ัญญำทำงวฒั นธรรมจังหวดั เชียงรำย ประจำปี 2565
สภำวัฒนธรรมจังหวดั เชยี งรำย
อำเภอขุนตำล จงั หวัดเชยี งรำย

1. ช่ือข้อมูล ส่งเคราะห์ส่วนตัว

2. ลกั ษณะ  วรรณกรรมพน้ื บา้ นและภาษา

 ศลิ ปะการแสดง
 แนวปฏบิ ตั ิทางสงั คมพิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล

 อาหาร/ความร้แู ละการปฏิบตั เิ กยี่ วกับธรรมชาตแิ ละจักรวาล
 งานชา่ งฝีมือดัง้ เดิม

 การละเล่นพ้นื บา้ น กีฬาพน้ื บา้ น และศิลปะการตอ่ สู่ป้องกันตวั

3. รำยละเอียดข้อมูล

3.1 ประวัติความเปน็ มาของข้อมลู
การส่งเคราะห์เปน็ การสบื ทอดปฏิบัตกิ นั มาต้ังแต่สมัยโบราณ และนายดวงคา เป็นหมอเมืองลา้ นนา
เป็นมคั นายกประจาวัด และมีการสบื ทอดมาจากบรรพบุรุษอกี ทั้งศึกษา ค้นควา้ มาอย่างต่อเนื่องจนกระทง่ั ถงึ
ปัจจุบัน

๓.๒) ขั้นตอน/วธิ กี าร/ดาเนินการเกี่ยวกบั ข้อมลู
การสะเดาะเคราะห์ มีสิ่งท่ีต้องเตรียมดังน้ี สะตวงคือ เอากาบกล้วยมาทาเป็นส่ีเหลี่ยมให้เหมือนถาด
ส่ีเหลี่ยม ขนาดกว้าง 1 คืบกว่า ๆ ช่อสีแดง 4 อัน ของใส่ในสะตวงมี หมาก พลู กล้วย อ้อย มะพร้าว ลูกส้ม
ของหวาน อย่างละ 4 ช้ิน พริก เกลือ ปลาแห้ง อย่างละ 4 ช้ิน ข้าวสีแดง 4 ก้อน ข้าวสีดา 2 ก้อน ดอกไม้
เทียน เส้ือผ้าของผู้ป่วย ขันตั้งพ่ออาจารย์ มี หมากหัวพลูมัดเทียนเล่มละ 1 บาท 1 คู่ เทียมเล่มเฟ้ือง 1 คู่
เทยี นเล็ก 8 คู่ ผา้ สีขาว ผา้ สีแดง เงนิ 32 บาท 25 สตางค์ เพือ่ ตอบแทนพ่ออาจารยห์ รือแล้วแต่เจตนารมณ์
ของเจ้าภาพ

๔. ช่อื ผู้ท่ีถอื ปฏิบตั แิ ละผู้สบื ทอด

๔.๑ ผูท้ ถ่ี ือปฏิบัติ

ชอื่ นายดวงคา รุจิธรรมรตั น์

วัน เดือน ปีเกดิ -

ท่ีอยู่ หมู่ 16 ตาบลตา้ อาเภอขนุ ตาล จังหวัดเชียงราย

หมายเลขโทรศัพท์ -

๔.๒ ผ้สู ืบทอด

ชอ่ื -

วนั เดอื น ปเี กดิ -

ท่ีอยู่ -

หมายเลขโทรศัพท์ -

๕. สถานะการคงอยู่  ปฏบิ ัติอยา่ งแพร่หลาย  เสี่ยงตอ่ การสญู หาย  ไม่มีปฏบิ ตั ิแล้ว

๖. รูปภาพภูมิปัญญาทางวฒั นธรรม/กิจกรรมทางภูมปิ ัญญาทางวัฒนธรรม

- ไมม่ ี -

-1๙๙-

แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ัญญำทำงวัฒนธรรมจังหวัดเชยี งรำย ประจำปี 2565
สภำวัฒนธรรมจงั หวดั เชยี งรำย

อำเภอเมอื งเชยี งรำย จังหวัดเชยี งรำย

1.ชื่อขอ้ มูล สง่ เสริมศลิ ปะ วฒั นธรรม ประเพณีท้องถิน่ (ปีใหมโ่ ลช้ งิ ชา้ เผ่าอาข่า)

2. ลกั ษณะ  วรรณกรรมพ้ืนบ้านและภาษา
 ศิลปะการแสดง
 แนวปฏบิ ัติทางสงั คมพิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล

 อาหาร/ความรูแ้ ละการปฏิบัตเิ กยี่ วกับธรรมชาติและจักรวาล

 งานชา่ งฝมี ือด้งั เดมิ

 การละเลน่ พื้นบ้าน กีฬาพนื้ บา้ น และศิลปะการตอ่ สู่ป้องกันตวั

3. รำยละเอียดขอ้ มูล

3.1 ประวัติความเป็นมาของขอ้ มูล
ด้วยหมูบ่ ้านรม่ เยน็ ตาบลหว้ ยชมภู ประชากรสว่ นใหญ่เป็นชาวเขา เผ่าอาขา่ มีประเพณีทส่ี ืบทอดกันมา
ช้านานโดยชนเผ่าอาข่ามีศิลปวัฒนธรรม และประเพณีที่เป็นจุดเด่นคือประเพณีโล้ชิงช้า จะจัดขึ้นทุกปีในช่วง
เดือนสิงหาคม – กันยายนของทุกปี เพื่อสืบสานประเพณีดังกล่าวให้แก่คนรุ่นหลงั ได้ทราบถึงความเปน็ มาและ
เพอื่ สืบทอดประเพณีที่มีมาช้านานไม่ให้สูญหายและสบื ทอดให้กบั ลูกหลานตอ่ ไป

3.2) ขั้นตอน/วธิ ีการ/ดาเนินการเกี่ยวกบั ข้อมลู
งานปีใหม่โล้ชิงช้า มีการจัดงานท้ังหมด จานวน 4 วัน โดยจัดช่วงปลายเดือนสิงหาคม-กันยายนของทุกปี
โดยมีรายละเอียดการจัดกิจกรรมในแตล่ ะวัน ดงั นี้
วันที่ 1 ผู้หญิงทุกคนแต่งกายชุดชนเผ่าอาข่าเต็มยศ แล้วไปตักน้าจากแหล่งน้าศักดิ์สิทธิ์ในหมู่บ้าน
เพอ่ื นามาแช่ข้าวเหนยี วที่จะนามาทาขนม (ข้าวปุ๊ก) สาหรับการเซน่ ไหวบ้ รรพบรุ ษุ
วันที่ 2 ผู้ชายทุกคนจะช่วยกันไปตัดไม้แต่เช้า เพื่อนามาทาเสาชิงช้าและเม่ือทาเสร็จเรียบร้อยแล้ว
ในตอนคา่ ก็จะมกี ารฉลองดด้วยการเต้นกระทุง้ ไม้ไผ่อย่างสนกุ สนามจนถึงตอนเช้า
วันท่ี 3 จะเป็นวันของการโล้ชิงช้า ทุกคนทั้งชายและหญิงจะแต่งตัวสวยงามมาพบปะพูดคุยกันและ
ผลัดพันดึงชิงช้าร้องเพลงไปด้วย ส่วนเด็ก ๆ ก็จะมีชิงช้าเด็กสาหรับเล่นอยู่ท่ีบ้าน ในเวลากลางคืนก็จะเต้นกัน
อยา่ งสนกุ สนาน
วันท่ี 4 ทุกคนจะออกมาโล้ชิงช้า เพ่ือเป็นสิริมงคลให้กับตัวเองและครอบครัวท้ังมีการผูกสายชิงช้า
ก่อนตะวนั ตกดินก็เป็นอนั จบเทศกาลอย่างสมบูรณ์

4. ช่ือผูท้ ีถ่ ือปฏบิ ตั ิและผสู้ บื ทอด
4.1 ผู้ทีถ่ ือปฏบิ ตั ิ
ชื่อ นายอาส่อ แปแจกู่
วันเดือน ปี เกิด 1 มกราคม 2500
ที่อยู่ 85 หมู่ 11 ตาบลห้วยชมภู อาเภอเมืองเชยี งราย จงั หวัดเชยี งราย
หมายเลขโทรศัพท์ 089 700 6972

4.2 ผู้สบื ทอด -๒๐๐-
ช่อื
วนั เดอื น ปี เกิด นายอาสอ่ แปแจกู่
ทีอ่ ยู่ 1 มกราคม 2500
หมายเลขโทรศพั ท์ 85 หมู่ 11 ตาบลห้วยชมภู อาเภอเมืองเชยี งราย จังหวดั เชียงราย
089 700 6972

๕. สถานะการคงอยู่  ปฏบิ ตั อิ ย่างแพรห่ ลาย  เส่ียงต่อการสญู หาย  ไมม่ ีปฏิบตั แิ ลว้

๖. รปู ภาพภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม/กจิ กรรมทางภูมิปญั ญาทางวัฒนธรรม

-๒๐๑-

แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ัญญำทำงวัฒนธรรมจังหวัดเชยี งรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวัฒนธรรมจังหวดั เชยี งรำย

อำเภอพญำเมง็ รำย จงั หวัดเชียงรำย

๑. ช่ือข้อมลู สรงน้าพระธาตุ

๒. ลกั ษณะ  วรรณกรรมพื้นบ้านและภาษา
 ศิลปะการแสดง
 แนวปฏบิ ัตทิ างสังคมพิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความร้แู ละการปฏบิ ัตเิ กย่ี วกับธรรมชาติและจักรวาล
 งานช่างฝมี อื ดง้ั เดิม
 การละเลน่ พ้ืนบา้ น กีฬาพืน้ บ้าน และศลิ ปะการต่อสูป่ ้องกันตวั

๓. รำยละเอียดขอ้ มูล

๓.๑) ประวตั คิ วามเปน็ มาของขอ้ มลู
ทางวัดบ้านร่องกอก และศรัทธาของวัดร่องกอก ได้ร่วมกันทาการก่อสร้างพระธาตุ เม่ือปี พ.ศ.2563
แล้วเสร็จในปี พ.ศ.2564 และได้ทาการถวายให้เป็นปูชนยี วตั ถุในบวรพุทธศาสนาสืบต่อไป ตามประเพณีของ
คนภาคเหนือ ถ้าวัดใดมีพระธาตุประดิษฐานอยู่ ทางวัดและชาวบ้านจะต้องทาพิธีสรงน้าพระธาตุประจาปี
ซึ่งการทาพิธีสรงน้าพระธาตุนั้นจัดขึ้นเพื่อเป็นพุทธบูชา ธรรมบูชา สังฆบูชา และเป็นการทาบุญของ
พุทธศาสนิกชนทั้งหลายเป็นประจาทุกปี ดังนั้นต้ังแต่ปี พ.ศ.2565 เป็นต้นมาทางวัดร่องกอกจึงกาหนดเอา
เดอื นเปง็ 15 คา่ หรือ เดอื น 4 เปง็ 15 คา่ ของทกุ ปี เป็นงานประเพณสี รงน้าพระธาตทุ ถี่ อื ปฏิบตั มิ า

๓.๒) ข้นั ตอน/วิธกี าร/ดาเนินการเกยี่ วกบั ขอ้ มลู
เดอื นเป็ง 15 คา่ คณะศรัทธาวดั ร่องกอก เร่มิ ช่วยกันตกแต่งสถานทแี่ ละตกแตง่ ไทยธรรม
เดอื น 4 เป็ง 15 ค่า เร่ิมทาพธิ ี ดังนี้
เวลา 07.00 น. พิธที าบญุ ตักบาตร
เวลา 08.30 น. หัววัดตา่ ง ๆ นาเคร่ืองไทยธรรมเขา้ มาถวายพระสงฆ์
เวลา 10.00 น. พระสงฆเ์ จริญพระพทุ ธมนต์ และสรงน้าพระธาตุ
เวลา 1100 น. ถวายภตั ตาหารเพลแด่พระสงฆ์
เวลา 12.00 น. คณะศรทั ธาทมี่ าร่วมงานรบั ประทานอาหารร่วมกัน
เวลา 13.00 น. คณะศรัทธาวดั รอ่ งกอก นาเครื่องไทยธรรมถวายพระสงฆ์
เวลา 19.00 น. พธิ ีเวียนเทยี นรอบองค์พระธาตุ 3 รอบ
เวลา 20.00 น. จุดดอกไม้ไฟ และพลุ รอบองคพ์ ระธาตเุ พ่ือบูชาองค์พระธาตุ

๔. ชอ่ื ผทู้ ่ีถือปฏิบตั ิและผสู้ บื ทอด

๔.๑ ผูท้ ถี่ ือปฏิบัติ

ชอ่ื นายสวย คิดมาช่วย

วนั เดือน ปเี กดิ 5 ธันวาคม 2495

ท่ีอยู่ 31 หมู่ 3 ตาบลไมย้ า อาเภอพญาเม็งราย จังหวัดเชียงราย

หมายเลขโทรศัพท์ -

-๒๐๒-

๔.๒ ผูส้ ืบทอด นายพร ปนคาปิน
ช่ือ 19 มถิ ุนายน 2499
วัน เดือน ปเี กดิ 144 หมู่ 3 ตาบลไมย้ า อาเภอพญาเม็งราย จงั หวัดเชียงราย
ท่ีอยู่
หมายเลขโทรศัพท์ -

๕. สถำนะ กำรคงอยู่ ปฏบิ ตั ิอย่างแพรห่ ลาย  เสีย่ งต่อการสญู หาย  ไม่มปี ฏิบัตแิ ลว้

๖. รปู ภำพภมู ิปัญญำทำงวัฒนธรรม/กจิ กรรมทำงภูมิปัญญำทำงวฒั นธรรม

-๒๐๓-

แบบสำรวจมรดกภมู ิปัญญำทำงวัฒนธรรมจงั หวัดเชียงรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวฒั นธรรมจังหวัดเชยี งรำย

อำเภอพญำเม็งรำย จังหวดั เชยี งรำย

๑. ชื่อข้อมลู สรงนา้ พระธาตุก่หู ิน

๒. ลักษณะ  วรรณกรรมพ้นื บ้านและภาษา
 ศลิ ปะการแสดง
 แนวปฏิบัตทิ างสังคมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรู้และการปฏิบตั เิ กี่ยวกับธรรมชาติและจกั รวาล
 งานช่างฝมี อื ดั้งเดิม
 การละเล่นพน้ื บ้าน กีฬาพ้ืนบ้าน และศลิ ปะการต่อส่ปู ้องกันตัว

๓. รำยละเอยี ดข้อมูล

๓.๑) ประวตั คิ วามเป็นมาของข้อมูล
วัดพระธาตุกหู่ ิน ต้ังอยู่ ณ หมู่ 8 บ้านสนั ตน้ ดู่ ตาบลไมย้ า อาเภอพญาเม็งราย จงั หวัดเชยี งราย บริเวณ
วัดตั้งอยู่บนเนินเขาในเขตป่า ทางทิศเหนือของหมู่บ้าน เดิมเป็นโบราณสถานอยู่ในสภาพปรักหักพัง สร้างในปี
พ.ศ.ใดไมป่ รากฏหลักฐาน มเี จดยี ์รปู ทรงโบราณ 2 องค์อยูห่ า่ งกันประมาณ 50 เมตร โดยเจดยี อ์ งค์แรกต้ังอยู่
ทางทิศใต้ สว่ นอีกองคต์ ้ังอย่ถู ดั ไปทางทิศเหนอื
แต่เดิมวัดแห่งนี้เป็นป่าละเมาะสาหรับเลี้ยงสัตว์คือ วัว ควาย และเป็นแหล่งหาของป่าของชาวบ้าน
ต่อมาในปี พ.ศ.2535 ได้มีพระธุดงค์องค์หน่ึงนามว่า “พระอานวย” ไม่ทราบฉายา เดินทางจาริกแสวงบุญมา
เร่ือย ๆ และเข้ามาปักกรดในบริเวณป่าดังกล่าว ท่านได้น่ังวิปัสสนากรรมฐาน คงจะสัมผัสได้ถึง
ส่ิงศักดิ์สทิ ธิ์บางอย่างท่ีสืบเน่อื งในอดตี จงึ ดารทิ ี่จะทาการบรู ณะสถานทีด่ งั กลา่ วให้เป็นปูชณยี สถาน จงึ ได้เข้ามา
หารือกับคณะกรรมการหมู่บ้าน ซึ่งผู้ใหญ่บ้านในขณะน้ันคือ นายสี อิ่นคา ซ่ึงก็เห็นชอบด้วยเพราะก่อนน้ันก็
เคยมีคนพบเห็นลูกไฟจากโบราณสถานแห่งน้ีลอยไปหาวัดพระธาตุปูล้าน โดยลูกไฟจะลอยไปหากันในช่วง
เข้าพรรษาเท่าน้นั ชาวบา้ นสันโคง้ หมู่ 8 และชาวบา้ นหมบู่ ้านใกล้เคียงจงึ ไดพ้ ร้อมในกนั ขุดดิน ปรับสภาพพน้ื ท่ี
บริเวณนั้นเพ่ือเตรียมก่อสร้างเจดีย์องค์ใหม่ ครอบเจดีย์องค์เดิม และสร้างอารามช่ัวคราวขึ้นมา ในการ
ขุดปรับสภาพพ้ืนที่ในคร้ังน้ันได้ขุดพบโบราณวัตถุหลายชิ้น อาทิเช่น พระพุทธรูปแกะสลักด้วยหินโบราณ
ในสภาพที่ค่อนข้างสมบูรณ์ (ปัจจุบันยังคงเก็บรักษาไว้ ณ วัดพระธาตุกู่หินและบางส่วนได้นาเข้าบรรจุไว้
ในพระธาตุองค์ใหม่) นอกจากน้ียังพบกระดูกลิงฝังไว้พร้อมไหโบราณ มีเครื่องป้ันดินเผา ซึ่งเป็นภาชนะที่ใช้
ในชวี ติ ประจาวนั ของคนยคุ นั้นอยู่หลายชิน้
ต่อมาเมื่อรวบรวมปัจจัยได้จานวนหน่ึง ซ่ึงได้รับการสนับสนุนจาก พ่อกานัน ป๋ัน ไกลถิ่น
อดีตกานันตาบลไม้ยาในสมัยน้ัน เป็นประธานในการจัดหาทุนทรัพย์ และได้รับบริจาคส่ิงของเงินทองจาก
ผู้มีจิตศรัทธาในตาบลและสาธุชนทั่วไป จึงลงมือสร้างอารามชั่วคราวมุงด้วยหลังคาข้ึนเพ่ือใช้เป็นที่ประกอบ
พิธีกรรมทางศาสนาข้ึนและวางศิลาฤกษ์สรา้ งองค์พระธาตุกู่หิน พร้อมกับต้ังช่ือให้ใหม่ว่า “วัดพระธาตุจอมเจ้า
จฬุ ามณ”ี แต่ยังไม่ได้รบั อนญุ าตยกฐานะใหเ้ ป็นวัดโดยสมบรู ณ์อย่างถูกต้องตามเงื่อนไขของกรมการศาสนา
ต่อมา พระอานวย ได้ลาจากอารามนี้ไปเดินธุดงค์ต่อไป ชาวบ้านบ้านสันโค้ง หมู่ 8 จึงได้อาราธนา
พระสงฆ์จากวัดอื่นๆ มาจาพรรษา ต่อจากพระอานวย ซ่ึงได้แก่ หลวงพ่อปลั่ง และได้ยื่นขออนุญาตยกฐานะให้
เป็นวัดมาโดยลาดับ
กระท่ังในปี พ.ศ. 2538 เจ้าคณะอาเภอพญาเม็งราย เห็นว่าชื่อ “พระธาตุเจ้าจอมจุฬามณี” เป็นช่ือ
ท่ีไม่เหมาะสมกับองค์พระเจดีย์ซ่ึงต้ังอยู่ในป่า จึงได้ขอเปล่ียนช่ือเป็น “วัดพระธาตุกู่หิน” และยังคงใช้ชื่อนี้
จนถงึ ปจั จบุ ัน

-๒๐๔-

วดั พระธาตุกูห่ ิน เป็นวัดราษฎร์ สงั กัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตง้ั อยู่บา้ นสน้ โค้ง หมู่ 8 ตาบลไม้ยา อาเภอ
พญาเม็งราย จังหวัดเชียงราย ก่อตั้งวัดขึ้นเมื่อวันที่ 22 ตุลาคม 2556 ประเพณีสรงน้าพระธาตุกาหนดจัดข้ึน
เป็นประจาทุกปี ในวนั เพญ็ ขึน้ 15 คา่ เดือน 4 หรอื เดือน 6 เหนอื เพอ่ื เปน็ การอนุรกั ษส์ ง่ เสริม สบื สาน รกั ษา
ตอ่ ยอดภมู ปิ ัญญาทางวัฒนธรรมด้านประเพณีไม่ให้สูญหาย มคี วามมน่ั คงและยัง่ ยืนสบื ไป

รายนามเจา้ อาวาสวดั พระธาตกุ หู่ นิ ตัง้ แตอ่ ดีตจนถึงปจั จุบนั ดงั น้ี
1. พระอานวย
2. พระทองหลอ่
3. พระสมบรู ณ์
4. พระยนต์ อตโิ ก

๓.๒) ขัน้ ตอน/วธิ ีการ/ดาเนินการเกี่ยวกบั ขอ้ มลู
1. ศึกษาข้อมลู
2. สารวจพื้นที่
3. ลงพนื้ ท่ี สงั เกตการณแ์ ละสัมภาษณ์
4. บันทกึ ขอ้ มลู และจดั ทารายงาน

๔. ชื่อผทู้ ี่ถือปฏิบัติและผูส้ ืบทอด

๔.๑ ผูท้ ี่ถอื ปฏบิ ัติ

ช่ือ นายฑรู ย์ เป็กธนู

วัน เดอื น ปีเกิด 21 มีนาคม 2511

ท่ีอยู่ หมู่ 8 ตาบลไมย้ า อาเภอพญาเม็งราย จงั หวดั เชียงราย

หมายเลขโทรศัพท์ 061 796 6768

๔.๒ ผู้สืบทอด

ชือ่ นางบุญหลา้ ธรรมสาร

วัน เดอื น ปเี กิด 16 มิถนุ ายน 2521

ทอี่ ยู่ 136 หมู่ 2 ตาบลไมย้ า อาเภอพญาเมง็ ราย จังหวัดเชียงราย

หมายเลขโทรศัพท์ 061 796 6768

๕. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏิบตั ิอย่างแพรห่ ลาย  เสี่ยงต่อการสูญหาย  ไม่มปี ฏิบตั แิ ลว้

๖. รปู ภำพภมู ิปญั ญำทำงวัฒนธรรม/กิจกรรมทำงภูมปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม

-๒๐๕-

แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ญั ญำทำงวฒั นธรรมจังหวัดเชยี งรำย ประจำปี ๒๕๖4
สำนกั งำนวฒั นธรรมจงั หวัดเชียงรำย
อำเภอแมล่ ำว จังหวดั เชยี งรำย

๑. ชื่อข้อมูล สรงน้าพระธาตจุ อมหมอกแก้ว

๒. ลกั ษณะ  วรรณกรรมพนื้ บ้านและภาษา
 ศลิ ปะการแสดง
 แนวปฏบิ ตั ทิ างสังคมพิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรแู้ ละการปฏบิ ัตเิ กี่ยวกับธรรมชาติและจกั รวาล
 งานชา่ งฝมี ือด้ังเดมิ
 การละเล่นพื้นบา้ น กีฬาพน้ื บ้าน และศลิ ปะการตอ่ สปู่ ้องกนั ตัว

๓. รำยละเอยี ดข้อมลู

๓.๑) ประวัติความเป็นมาของขอ้ มลู
พระธาตุจอมหมอกแก้ว ตั้งอยู่ท่ี บ้านดงมะเฟือง ตาบลจอมหมอกแก้ว อาเภอแม่ลาว ตามตานาน
กล่าวไว้ว่า เม่ือ ๑๐๐ ปีท่ีแล้ว ชาวบ้าน ได้เข้าไปหาของป่า ได้พบจอมปลวกมีลกั ษณะคล้าย พระธาตุตั้งอยู่บน
เนนิ เขาเตี้ย ๆ จึงได้พากันกราบไหว้และเชอ่ื วา่ จอมปลวกนนั้ เปน็ ทบี่ รรจอุ ัฐิ ของเชอ้ื พระวงศใ์ นสมัยโบราณ และ
ได้มีการสรา้ งเจดียข์ นึ้ มาครอบจอมปลวกภายหลงั ในวนั ขึ้น ๑๕ ค่าเดอื น ๖ หรือเดือน ๘ จะมีการสกั การะบูชา
สรงน้าพระธาตุ จอมหมอกแกว้ ทุกปี
ประวัติพระธาตุ พระธาตุจอมหมอกแก้ว ถูกสร้างขึ้นมาในสมัยใดยังไม่มีปรากฏหลักฐาน แต่มีเรื่องเลา่
ว่า เม่ือ ๑๐๐ กว่าปีท่ีแล้ว ชาวบ้าท่ีตั้งถิ่นฐานอยู่แถบน้ันได้เข้าไปหาของป่า และได้พบจอมปลวกมีลักษณะ
คล้ายพระธาตุ ต้ังอยู่บนเนินเต้ียๆลูกหน่ึง และในบริเวณนั้นมีต้นไม้ท่ี ชาวเหนือเรียกว่าต้นส้มป่อยอยู่มากมาย
มีลักษณะโน้มเอียงเหมือนพญานาค และได้พบเคร่ืองป้ันดินเผาที่แตกกระจัดกระจายอยู่ทั่วบริเวณ ชาวบ้าน
จึงได้พากันกราบไหว้จอมปลวกนั้น ใครจะเข้าไปทาอะไรในป่าบริเวณนี้ต้องมาต้องมากราบไหวบ้ ูชาขออนุญาต
เสียก่อน ไม่เช่นน้ันก็จะมีอันเป็นไปต่าง ๆ นานา ชาวบ้านแถบนั้นเชื่อว่าจอมปลวกนั้นเป็นที่บรรจุอัฐิของ
เช้อื พระวงศ์ในสมัยโบราณ สนั นิษฐานวา่ เจดียถ์ กู สรา้ งขึน้ มาครอบจอมปลวกภายหลัง
คาบชู าพระธาตุจอมหมอกแกว้
“อะหงั วันทามิ อธิ ะ ปตฏิ ฐติ า อะระหัตตะ ธาตุโย ตสั สะ นุภาชนะ สะทา โสตถี ภะวนั ตเุ ม”

๓.๒) ขน้ั ตอน/วิธีการ/ดาเนนิ การเก่ยี วกบั ข้อมลู
ประเพณีสรงน้าพระธาตุจอมหมอกแก้ว หมู่ท่ี ๙ บ้านดงมะเฟือง ตาบลจอมหมอกแก้ว อาเภอแม่ลาว
จังหวัดเชียงราย จะจัดขึ้นในช่วงเดือน ๘ เหนือ (ตรงกับเดือนพฤษภาคม) ข้ึน ๑๕ ค่า ของทุกปี โดยมีเจ้าภาพ
ในการจดั งานคือ องคก์ ารบริหารส่วนตาบลจอมหมอกแกว้ การสรงน้ามดี ว้ ยกนั ๒ ลักษณะ คือ
๑. สรงน้าองค์พระบรมสารรี กิ ธาตหุ รือพระธาตุโดยตรง
๒. สรงนา้ ภาชนะหรือสถานที่บรรจุองค์พระบรมสารรี ิกธาตุ
สว่ นนา้ ท่ีใช้ในการสรงพระนน้ั มี ๒ อยา่ ง คือ
๑.น้าสะอาดบรสิ ทุ ธิ์ มีผอู้ ธบิ ายวา่ สาเหตทุ ่ตี อ้ งใชน้ า้ บริสุทธ์ใิ นการสรงนา้ องคพ์ ระธาตุน้ัน เนอ่ื งจากว่า
องค์พระธาตนุ ั้น เกิดมาแต่ผู้บรสิ ทุ ธ์ิ ธาตุเหลา่ นัน้ จงึ เป็นของบริสุทธ์ิ ไมส่ มควรจะเอาส่งิ ใดๆ กต็ าม เจือปนลงไป
แปดเปอื้ นองค์พระธาตุ แต่อกี เหตุผลกลา่ วว่า ในนา้ หอมหรอื ดอกไม้ อาจมสี ารใด ๆ ก็ตามเจอื ปน จนอาจทาให้
องคพ์ ระธาตุหมองลงได้

-๒๐๖-
๒. น้าสะอาดเจือด้วยสิ่งบูชา น้าลักษณะนี้นิยมใช้สรงน้าพระธาตุโดยท่ัวไป นัยว่าได้ถวายเป็น
อามิสบูชาต่อองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า หรือ พระอรหันตสาวกทั้งปวง ซึ่งส่ิงบูชาท่ีเจือลงในน้าก็แล้วแต่
ความชอบ และความเชื่อในแตล่ ะท้องถ่ิน ยกตัวอย่างเช่น น้าหอม น้าอบ ดอกไม้ กลีบดอกไม้ ฝักส้มป่อย หรือ
แก่นไม้จันทน์ฝน เปน็ ตน้
ความเชื่อ ในการไหว้พระธาตุดอยจอมหมอกแก้ว เชื่อกันว่าอุปสรรคที่เปรียบเหมือนหมอกควัน
สีดาถ้ากราบไหว้และตง้ั จติ อธิฐาน อุปสรรคทง้ั หลายกจ็ ะจางใสเหมอื นหมอกแกว้ และประสบความสาเร็จ

๔. ชื่อผทู้ ีถ่ ือปฏิบัติและผสู้ บื ทอด

4.๑ ผู้ทถี่ อื ปฏบิ ตั ิ

ชื่อ กองการศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม องค์การบริหารสว่ นตาบลจอมหมอกแกว้

วนั เดอื น ปีเกิด -

ทอี่ ยู่ องคก์ ารบริหารสว่ นตาบลจอมแกว้ อาเภอแมล่ าว จงั หวดั เชยี งราย

หมายเลขโทรศัพท์ 053 184 101-3

4.๒ ผูส้ ืบทอด

ช่อื ชาวบา้ นตาบลจอมหมอกแก้ว และหมบู่ า้ นใกลเ้ คยี ง

วัน เดือน ปเี กิด -

ทอ่ี ยู่ ตาบลจอมแก้ว อาเภอแมล่ าว จงั หวัดเชียงราย

หมายเลขโทรศัพท์ -

5. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏิบตั ิอย่างแพร่หลาย  เสี่ยงตอ่ การสูญหาย  ไมม่ ปี ฏบิ ตั ิแล้ว

6. รปู ภำพภูมปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม/กิจกรรมทำงภูมปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม (พร้อมบรรยำยใต้ภำพ)

แหผ่ า้ ผ้าหม่ พระธาตุ ชาวบา้ นรว่ มถวายปัจจัยตน้ สลาก แหผ่ า้ ผ้าหม่ พระธาตุ

พธิ ีกรรมทางศาสนา การฟอ้ นถวายพระธาตุ

-๒๐๗-

แบบสำรวจมรดกภมู ิปัญญำทำงวัฒนธรรมจงั หวัดเชียงรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวฒั นธรรมจังหวัดเชยี งรำย

อำเภอพญำเมง็ รำย จังหวัดเชียงรำย

๑. ช่ือข้อมลู สรงน้าพระธาตุมหามงคล 5 ยอด

๒. ลักษณะ  วรรณกรรมพื้นบ้านและภาษา
 ศิลปะการแสดง
 แนวปฏิบตั ิทางสงั คมพิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรแู้ ละการปฏิบัติเก่ียวกบั ธรรมชาตแิ ละจกั รวาล
 งานชา่ งฝมี ือดั้งเดมิ
 การละเลน่ พน้ื บ้าน กีฬาพ้ืนบ้าน และศลิ ปะการต่อสู่ป้องกันตวั

๓. รำยละเอยี ดข้อมลู

๓.๑) ประวัตคิ วามเป็นมาของขอ้ มูล
ทางวัดสันสะอาด และศรัทธาของวัดสันสะอาด ได้ร่วมกันทาการก่อสร้างพระธาตุมหามงคล 5 ยอด
แล้วเสร็จในปี พ.ศ.2557 และได้ทาการถวายให้เป็นปูชนยี วตั ถุในบวรพุทธศาสนาสบื ต่อไป ตามประเพณีของ
คนภาคเหนือ ถ้าวัดใดมีพระธาตุประดิษฐานอยู่ ทางวัดและชาวบ้านจะต้องทาพิธีสรงน้าพระธาตุประจาปี
ซ่ึงการทาพิธีสรงน้าพระธาตุน้ันจัดข้ึนเพ่ือเปน็ พุทธบูชา ธรรมบูชา สังฆบูชา เป็นการทาบุญของพุทธศาสนกิ ชน
ทั้งหลายเป็นประจาทุกปี ดังนั้นต้ังแต่ปี พ.ศ.2558 เป็นต้นมาทางวัดสันสะอาด จึงกาหนดเอา
วนั ขนึ้ 8 ค่า หรอื เดือน 6 เหนือ เปน็ งานประเพณีสรงนา้ พระธาตุมหามงคล 5 ยอด ท่ถี ือปฏบิ ัติกนั มาทุกปี

๓.๒) ข้ันตอน/วธิ ีการ/ดาเนนิ การเก่ียวกบั ขอ้ มูล
วนั ขนึ้ 7 คา่ เดือน 6 เหนอื คณะศรทั ธาวัดสนั สะอาด เริ่มช่วยกนั ตกแตง่ สถานทีแ่ ละตกแตง่
ไทยธรรม
วันขึน้ 7 คา่ เดือน 6 เหนือ เรมิ่ ทาพิธี ดงั น้ี
เวลา 07.00 น. พิธที าบุญตกั บาตร
เวลา 08.30 น. หวั วัดตา่ งๆ นาเครอ่ื งไทยธรรมเข้ามาถวายพระสงฆ์
เวลา 10.00 น. พระสงฆเ์ จรญิ พระพทุ ธมนต์ และสรงน้าพระธาตมุ หามงคล 5 ยอด
เวลา 1100 น. ถวายภตั ตาหารเพลแด่พระสงฆ์
เวลา 12.00 น. คณะศรัทธาทม่ี าร่วมงานรับประทานอาหารรว่ มกัน
เวลา 13.00 น. คณะศรัทธาวัดสนั สะอาด นาเครือ่ งไทยธรรมถวายพระสงฆ์
เวลา 19.00 น. พธิ เี วยี นเทียนรอบองค์พระธาตุ 3 รอบ
เวลา 20.00 น. จดุ ดอกไม้ไฟ และพลุ รอบองค์พระธาตุเพื่อบูชาองค์พระธาตุ

๔. ชอื่ ผู้ที่ถือปฏิบัติและผู้สบื ทอด

๔.๑ ผทู้ ี่ถือปฏิบัติ

ช่ือ นายคามูล ผาลม

วนั เดือน ปีเกิด 29 สงิ หาคม 2500

ทอ่ี ยู่ 132 หมู่ 4 ตาบลไม้ยาอาเภอพญาเม็งราย จังหวดั เชียงราย

หมายเลขโทรศัพท์ -

-๒๐๘-

๔.๒ ผูส้ บื ทอด นายเดช ผาลม
ชอ่ื 4เมษายน 2501
วัน เดอื น ปีเกิด 71 หมู่ 4 ตาบลไม้ยา อาเภอพญาเม็งราย จงั หวดั เชยี งราย
ทอี่ ยู่
หมายเลขโทรศัพท์ -

๕. สถำนะ กำรคงอยู่ ปฏิบัตอิ ยา่ งแพร่หลาย  เสย่ี งตอ่ การสูญหาย  ไมม่ ปี ฏิบตั แิ ลว้

๖. รปู ภำพภูมปิ ญั ญำทำงวัฒนธรรม/กิจกรรมทำงภูมิปัญญำทำงวฒั นธรรม

-๒๐๙-

แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ัญญำทำงวฒั นธรรมจงั หวัดเชยี งรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวฒั นธรรมจงั หวัดเชยี งรำย

อำเภอพญำเมง็ รำย จงั หวดั เชียงรำย

๑. ช่ือข้อมลู หอเจา้ ที่ดงชาวบ้าน

๒. ลกั ษณะ  วรรณกรรมพื้นบ้านและภาษา
 ศลิ ปะการแสดง
 แนวปฏิบตั ิทางสงั คมพิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรู้และการปฏิบตั เิ กย่ี วกับธรรมชาตแิ ละจักรวาล
 งานช่างฝมี อื ดง้ั เดิม
 การละเล่นพน้ื บ้าน กีฬาพนื้ บ้าน และศลิ ปะการตอ่ สปู่ ้องกันตัว

๓. รำยละเอียดข้อมลู

๓.๑) ประวตั คิ วามเปน็ มาของข้อมลู
หอเจ้าที่ดงชาวบ้าน เริ่มมีตั้งแต่เมื่อต้ังหมู่บ้านในปี พ.ศ.2486 กล่าวไว้ว่า มีผู้เฒ่าผู้แก่ได้หารือเพื่อ
สร้างท่ียึดเหน่ียวจิตใจให้กับชาวบ้านในหมู่บ้าน จึงร่วมมือกันลงมือสร้างหอเจ้าที่ดงชาวบ้านขึ้นด้านทาง
ทิศตะวนั ออกเฉียงเหนอื เดมิ ทีน้ันเปน็ วัดเก่าท่ีร้างและได้ต้งั ระเบียบประเพณีหรือเรยี กวา่ “ป๋าง” เปน็ การเลี้ยง
ปีละสองคร้ัง คือ เดือนเก้าเหนือขึ้น 9 ค่า เพื่อทาพิธีขอฟ้าขอฝนให้ตกตามฤดูกาล ป๋างท่ีสอง เลี้ยงเดือนสาม
เหนือ ขึ้น 3 ค่า เพื่อขอให้ข้าวเต็มเม็ดเต็มหน่วยและให้ปกปักรักษาไม่ให้คนในหมู่บ้านเจ็บป่วยเป็นไข้และภัย
พิบัติต่าง ๆ ข้ึนในหมู่บ้านและถือปฏิบัติกันมาทุก ๆ ปี และการใช้ภาษาสื่อสารการเล้ียงป๋าง คือการพูดภาษา
ท้องถนิ่ หรือพูดคาเมือง ส่วนคนท่ีอพยพมาอยทู่ ีหลังให้ถือปฏิบตั ติ ามกันมาจนถึงปัจจบุ ัน

๓.๒) ขัน้ ตอน/วธิ ีการ/ดาเนนิ การเกยี่ วกบั ขอ้ มลู
พิธีกรรมได้จัดขึ้นครั้งที่ 1 คือเดือน 9 เหนือ ขึ้น 9 ค่า คร้ังที่ 2 คือ เดือน 3 เหนือ ข้ึน 3 ค่า
เครอ่ื งทาการเซ่นไหว้ประจาปี ไดแ้ ก่ ไก่หลงั คาละ 1 ตวั ดอกไม้ ธปู เทยี น การเลี้ยงปลี ะ 2 ครั้ง มขี ้าวจ้าเปน็ คน
ทาพิธีการท้ังหมด ส่วนชาวบ้านท่ีมาบนบาลศาลกล่าวก็จะมีข้าวจ้า (คือคนทาพิธีประจาศาลเจ้าปู่เจ้าย่า)
มาทาพิธีบนศาล กล่าวให้เม่ือสมหวังแล้วก็นาเคร่ืองเซ่นไหว้มาแก้บนตามที่ตนเองได้บนบาลศาลกล่าวไว้ เช่น
ไก่ หมู่ ดอกไม้ ธูปเทยี น เปน็ ตน้

๔. ช่ือผู้ที่ถือปฏิบตั ิและผูส้ บื ทอด

๔.๑ ผ้ทู ถี่ อื ปฏิบตั ิ

ชือ่ นายเซน็ แสนคา (ข้าวจ้า)

วัน เดอื น ปีเกดิ 10 เมษายน 2497

ท่อี ยู่ 148 หมู่ 4 ตาบลไม้ยา อาเภอพญาเมง็ ราย จงั หวัดเชยี งราย

หมายเลขโทรศัพท์ -

๔.๒ ผู้สบื ทอด

ช่อื -

วนั เดอื น ปีเกิด -

ทอี่ ยู่ -

หมายเลขโทรศัพท์ -

-๒๑๐-
๕. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏิบัตอิ ย่างแพร่หลาย  เสย่ี งต่อการสญู หาย  ไม่มีปฏบิ ตั ิแลว้
๖. รูปภำพภูมิปญั ญำทำงวัฒนธรรม/กิจกรรมทำงภูมปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม

-๒๑๑-

แบบสำรวจมรดกภมู ิปญั ญำทำงวฒั นธรรมจังหวัดเชยี งรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวัฒนธรรมจงั หวดั เชยี งรำย
อำเภอเวยี งชยั จงั หวัดเชียงรำย

๑. ช่ือข้อมูล ฮ้องขวัญ

๒. ลักษณะ  วรรณกรรมพน้ื บา้ นและภาษา
 ศลิ ปะการแสดง
 แนวปฏบิ ตั ิทางสังคมพิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรแู้ ละการปฏิบตั เิ ก่ียวกับธรรมชาตแิ ละจกั รวาล
 งานชา่ งฝมี อื ด้งั เดิม
 การละเล่นพนื้ บ้าน กีฬาพน้ื บา้ น และศลิ ปะการตอ่ สปู่ ้องกันตวั

๓. รำยละเอยี ดขอ้ มูล
๓.๑) ประวัตคิ วามเป็นมาของข้อมูล
คนไทยในสังคมภาคเหนือสืบต่อความเช่ือเรื่องขวัญมาช้านาน ทั้งชาวไทยใหญ่ ไทลื้อ ไทเขิน มีความ

เชื่อว่า ขวัญเป็นสิ่งท่ีอยู่ในร่างกายทุกคนขวัญมีลักษณะเบา เคลื่อนไหวได้ ไม่อาจเห็นเป็นรูปเป็นร่างได้
ขวัญแฝงอยู่ในคน สัตว์ และสิ่งของ เมื่อใดท่ีขวัญอ่อนลงจะทาให้สภาวะของร่างกายและจิตใจของเจ้าของขวญั
จะรู้สึกเสียใจ ตกใจ ท้อใจ เม่ือเจ้าของขวัญมีขวัญดีจะรู้สึกสุขสบายใจและกล้าหาญ มีพลังเต็มเป่ียม
ชาวลา้ นนาเรยี ก “ขวัญอยูก่ บั เนือ้ กบั ตวั ”

ชาวล้านนามีพิธีกรรมโบราณ เรียกว่า “พิธีฮ้องขวัญ” หมายถึง พิธีเรียกขวัญให้กลับคืนสู่ร่างเดิม
พิธีฮ้องขวัญเป็นการผสมผสานระหว่างความเชื่อเรื่องขวัญกับศาสนาพุทธ ศาสนาพราหมณ์ และความเชื่อ
ในอานาจเหนือธรรมชาติ พิธีฮ้องขวัญจะทาในโอกาสที่ชีวิตมีการเปล่ียนแปลงหรือมีเหตุต้องจากบ้านไปไกล
มีความเจบ็ ป่วยและเกิดอุบัตเิ หตุหรือในกรณีท่ีมีบคุ คลสาคัญมาเย่ียมเยือนบ้านเมือง พธิ ีกรรมฮ้องขวัญของชาว
ล้านนามักปฏิบัติร่วมกับพิธีกรรมสะเดาะเคราะห์ (ส่งเคราะห์) และพิธีสืบชะตา โดยจะมีปฏิบัติต่อเน่ืองกัน
โดยเรมิ่ จากการสะเดาะเคราะห์ การสืบชะตาและการเรียกขวญั

พ่อก๋องใจ วงค์น้อย เริ่มต้นจากการเป็นมัคนายกของศาสนสถานในหมู่บ้าน หลังจากนั้นท่านได้เร่ิม
แสวงหาความร้ดู า้ นการเรยี กขวญั (ฮอ้ งขวัญ) ด้วยตนเองผา่ นหนังสอื และเรียนรู้จากผ้เู ช่ยี วชาญแขนงน้ัน ๆ จน
เกดิ ความชานาญ และถือปฏบิ ตั ิมาจนถึงปจั จบุ ัน

๓.๒) ขั้นตอน/วิธกี าร/ดาเนินการเกย่ี วกบั ข้อมูล
อปุ กรณ์ประกอบพิธี
เตรยี มสวยขนั ต้ัง ประกอบด้วย สวยดอก ๔ สวย, สวยพลู ๔ สวย, ทาขันบายศรี ๑ อัน
ในสว่ นของขันบายศรี ด้านในขันบายศรี มีควั่ก (กระทง) ข้าวปนั้ กลว้ ยหน่วย (มีกระทงขา้ วเหนยี ว ๑ ปั้น
และกลว้ ย ๑ ลกู ) , หมากกาพลใู บ ๑ ชดุ , บุหร่ี ๑ มวน , เมย่ี ง ๑ อม
ด้านนอกขันบายศรี มีไก่ ๑ ตัว เหล้า ๑ ขวด คา่ ขันตง้ั ๑๐๘ บาท (คา่ ขนั ต้ังแตล่ ะท่ไี มเ่ ท่ากนั ) และ
ด้ายสายสิญจนผ์ ูกข้อมอื
เตรียมขันต้ัง ประกอบด้วย หมากขด ๔ ขด, หมากปอ้ ม ๔ ขด, คว่กั (กระทง) ขา้ วเปลือก ๑ กระทง
ควก่ั (กระทง) ข้าวสาร ๑ กระทง, หมากหัวพลูมดั ท้งั หมด ๓๒ ใบ
เร่ิมพิธีฮ้องขวญั โดยการขึน้ สคั เค และกลา่ วนะโม ๓ จบ หลังจากนน้ั จะสวดสรรพคณุ ท่องนะโม ๓ จบ
และทาพธิ ฮี ้องขวัญ ผูกดา้ ยข้อมือ ปัดเคราะห์ เป็นอันเสรจ็ พิธี

-๒๑๒-

๔. ชอื่ ผทู้ ่ีถือปฏิบัติและผสู้ ืบทอด

๔.๑ ผทู้ ถ่ี ือปฏิบตั ิ

ชอ่ื นายกอ๋ งใจ วงค์น้อย

วัน เดอื น ปีเกดิ ๑๑ กุมภาพนั ธ์ ๒๔๙๘

ที่อยู่ ๑๓๑ หมู่ ๙ ตาบลเวียงชัย อาเภอเวียงชยั จังหวดั เชยี งราย ๕๗๒๑๐

หมายเลขโทรศัพท์ ๐๘๙ ๖๓๔ ๗๙๑๒

๔.๒ ผู้สบื ทอด

ชือ่ -

วัน เดอื น ปเี กิด -

ทีอ่ ยู่ -

หมายเลขโทรศัพท์ -

๕. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏิบตั อิ ยา่ งแพรห่ ลาย  เส่ียงต่อการสูญหาย  ไมม่ ปี ฏิบตั ิแล้ว

๖. รูปภำพภูมปิ ญั ญำทำงวัฒนธรรม/กิจกรรมทำงภูมิปัญญำทำงวัฒนธรรม

-๒๑๓-

แบบสำรวจมรดกภมู ิปญั ญำทำงวัฒนธรรมจงั หวัดเชียงรำย ประจำปี 2565
สภำวัฒนธรรมจงั หวัดเชยี งรำย
อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงรำย

1. ชื่อข้อมูล ประเพณไี หลเรือไฟ ๑๒ ราศี

๒. ลกั ษณะ  วรรณกรรมพ้ืนบ้านและภาษา
 ศิลปะการแสดง
 แนวปฏบิ ตั ทิ างสงั คมพธิ กี รรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรแู้ ละการปฏบิ ตั เิ กีย่ วกับธรรมชาติและจักรวาล
 งานชา่ งฝมี ือดง้ั เดมิ
 การละเลน่ พน้ื บ้าน กีฬาพื้นบา้ น และศิลปะการต่อสปู่ ้องกันตวั

๓. รำยละเอียดขอ้ มูล
๓.๑) ประวัติความเป็นมาของข้อมูล
ประเพณีไหลเรือไฟเป็นประเพณีของชาวอีสาน ภาษาท้องถิ่นเรียกว่า “เฮือไฟ” จัดข้ึนในช่วงเทศกาล

ออกพรรษา โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อบูชารอยพระพุทธบาทของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ณ ริมฝั่งแม่น้านัมทามหา
นที โดยมีประวัติความเป็นมาดังน้ี กล่าวคือพระพุทธเจ้าเสด็จไปฝ่ังแม่น้านัมทามหานที ซ่ึงเป็นท่ีอยู่อาศัยของ
พญานาค พระพุทธองค์ได้แสดงธรรมเทศนาโปรดพญานาคท่ีเมืองบาดาล และพญานาคได้ทูลขอพระพุทธองค์
ประทับรอบพระบาทไว้ ณ ริมฝ่ังแม่น้านัมทามหานที ต่อมาบรรดาเทวดา มนุษย์ ตลอดจนสัตว์ท้ังหลายได้มา
สักการะบูชา รอยพระพุทธบาท นอกจากนี้ประเพณีไหลเรือไฟยังจัดข้ึนเพ่ือขอขมาลาโทษแม่น้าท่ีได้ทิ้ง
สง่ิ ปฏิกลู และเปน็ การเอาไฟเผาความทกุ ข์ให้ลอยไปกบั สายน้า

เรือไฟ หรือ เฮือไฟหมายถึง เรือท่ีทาด้วยท่อนกล้วย ไม้ไผ่ หรือ วัสดุ ท่ีลอยน้า มีโครงสร้างเป็นรูปต่าง ๆ
ตามต้องการ เมื่อจุดไฟใส่โครงสร้าง เปลวไฟจะลุกเป็นรูปร่างตามโครงสร้างน้ัน “ไหลเรือไฟ” เป็นพิธีกรรม
อย่างหน่ึง ท่ีพุทธศาสนิกชนอีสาน ยึดถือปฏิบัติ สืบทอด กันมาแต่ครั้งโบราณ ประเพณีการไหลเรือไฟ บางที
เรียกวา่ "ลอ่ งเรอื ไฟ" "ลอยเรอื ไฟ" หรือ "ปลอ่ ยเรอื ไฟ" ซง่ึ เป็นลกั ษณะทเ่ี รือไฟเคล่อื นที่ไปเรอื่ ย ๆ

งานประเพณไี หลเรอื ไฟนิยมปฏบิ ตั ิกนั ในเทศกาลออกพรรษา ในวนั ขึน้ ๑๕ ค่า เดือน ๑๑ หรอื วนั แรม
๑ ค่า เดือน ๑๑ ประเพณีไหลเรือไฟ มีความเช่ือเกี่ยวโยง สัมพันธ์กับข้อมูลความเป็นมาหลายประการ เช่น
เน่ืองจากการบูชารอยพระพุทธบาท การสักการะพกาพรหม การบวงสรวงพระธาตุจุฬามณี การระลึกถึงพระคุณ
ของพระแม่คงคา เปน็ ต้น

3.2 ขัน้ ตอน วิธีการดาเนนิ การเก่ียวกับข้อมลู
ชุมชนบ้านสบคาเป็นชุมชนที่อยู่ติดกับแม่น้าโขง และเป็นชุมชนทมีวัฒนธรรมประเพณีที่ได้รับอิทธิพล
จาก สปป.ลาว จึงมีการสืบสานประเพณีไหลเรือไฟ ๑๒ ราศี มาช้านานสามสิบกว่าปี เริ่มขึ้นคร้ังแรกเม่ือปี
พ.ศ.๒๕๓๐ ประเพณีการไหลเรือไฟของชาวบ้านสบคา จะจัดขึ้นบริเวณลานชมวิวแม่นาโขงของชุมชน พอถึง
วันงาน ชาวบ้าน พระภิกษุสงฆ์และสามเณร จะช่วยกันทาเรือไฟ เพื่อไปลอยที่แม่น้าโขง โดยส่วนมากชาวบา้ น
สบคาจะทาเปน็ เรอื ไฟ ๑๒ ราศี และมขี บวนแห่อย่างสวยงามไปยังบริเวณลานชมวิวแม่น้าโขงของหมบู่ ้าน
ในช่วงเช้าจะมีการประกอบการกุศล โดยการไปทาบุญตักบาตร มีการถวายภัตตาหารเพลแล้ว
เล้ียงญาติโยมท่ีมาในช่วงบ่าย มีการละเล่นต่าง ๆ เพ่ือความสนุกสนาน รวมท้ังมีการราวงเป็นการฉลองเรือไฟ
พอประมาณ ๕ - ๖ โมง เยน็ หรือตอนพลบค่า มกี ารสวดมนตร์ บั ศีลและฟงั เทศน์ ถึงเวลาประมาณ ๑๙.๐๐ - ๒๐.๐๐ น.
ชาวบ้าน จะนาของกิน ผ้า เครื่องใช้ ขนม ข้าวต้มมัด กล้วย อ้อย หมากพลู บุหรี่ ฯลฯ ใส่ลงในกระจาดบรรจุ
ไวใ้ นเรอื ไฟ ครงั้ ถึงเวลา จะจดุ ไฟใหเ้ รอื สว่าง แล้วปล่อยเรอื ใหล้ อยไปตามแมน่ า้
ประเพณีไหลเรือไฟ ของชาวบ้านสบคาที่มีการสืบสานกันมาอย่างช้านานทาให้ได้รับความสนใจและ
ยกระดับเป็นประเพณขี องระดับตาบลและอาเภอเชยี งแสน

-๒๑๔-

๔. ชอ่ื ผทู้ ี่ถือปฏิบตั แิ ละผู้สืบทอด

๔.๑ ผู้ท่ีถือปฏบิ ัติ

ช่อื ชาวบ้านในชมุ ชนบ้านสบคา

วัน เดือน ปีเกิด -

ทอี่ ยู่ หมู่ 5 ตาบลเวยี ง อาเภอเชยี งแสน จงั หวดั เชียงราย

หมายเลขโทรศัพท์ 08๑ ๕๓๑ ๙๘๐๕

๔.๒ ผู้สืบทอด

ชือ่ ชาวบา้ นในชุมชนบ้านสบคา

วัน เดอื น ปเี กิด -

ทอี่ ยู่ หมู่ 5 ตาบลเวยี ง อาเภอเชียงแสน จังหวดั เชยี งราย

หมายเลขโทรศัพท์ 08๑ ๕๓๑ ๙๘๐๕

๕. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏบิ ัตอิ ย่างแพรห่ ลาย  เสยี่ งต่อการสูญหาย  ไม่มปี ฏบิ ตั แิ ลว้

๖. รูปภำพภูมปิ ญั ญำทำงวัฒนธรรม/กจิ กรรมทำงภูมปิ ัญญำทำงวฒั นธรรม

-๒๑๕-

แบบสำรวจมรดกภมู ิปญั ญำทำงวัฒนธรรมจงั หวดั เชยี งรำย ประจำปี 2565
สภำวฒั นธรรมจังหวัดเชยี งรำย
อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงรำย

1. ชื่อข้อมูล ประเพณกี ารล่องสะเปา (ย่เี ป็ง) ชุมชนบ้านสบกก

2. ลักษณะ  วรรณกรรมพื้นบา้ นและภาษา
 ศิลปะการแสดง
 แนวปฏิบัติทางสังคมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรแู้ ละการปฏิบัติเก่ียวกบั ธรรมชาติและจักรวาล
 งานช่างฝมี อื ดง้ั เดมิ
 การละเล่นพน้ื บ้าน กีฬาพื้นบ้าน และศลิ ปะการต่อส่ปู ้องกนั ตัว

3. รำยละเอียดข้อมลู
3.1 ประวตั คิ วามเปน็ มาของข้อมลู
การลอยสะเปาของบ้านสบกกไม่ปรากฏหลักฐานเด่นชัดนักว่ามีมาตั้งแต่สมัยใดเพราะบ้านสบกกเร่ิม

ก่อตั้งเม่ือราว พ.ศ.2480 หรือก่อนหน้าน้ันไม่นาน และหมู่บ้านสบกกเองนั้นเป็นหมู่บ้านท่ีชาวบ้านส่วนมาก
อพยพมาจากหลายๆแห่ง จึงนาประเพณีเดิมของตนเองมาสืบสานที่น่ีจนกลายเป็นวัฒนธรรมประเพณีสืบทอด
กันมาจนถึงทุกวนั น้ี

ความเชอ่ื ประเพณีล่องสะเปา
ประเพณีล่องสะเปาของคู่บา้ นสบกกกระทากนั ในวันเพ็ญเดือนย่ีเป็ง (ตรงกบั เดือน ๑๒ ของภาคกลาง)
หรือวนั ลอยกระทง กระทาเพอ่ื
๑. ขอขมาต่อแม่นา้ คงคา บชู าพระนารายณ์ทรี่ ักษาแมน่ า้ คงคาตามความเชื่อของศาสนาพราหมณ์
๒. บูชารอยพระพุทธบาทท่ีประดิษฐ์ ณ หาดทรายแม่น้านัมมทา อันเป็นการเจริญพุทธานุสติราลึกตอ่
องค์พระสัมมาสมั พทุ ธเจา้
๓. เพ่อื เป็นการสะเดาะเคราะห์ และไดบ้ ริจาคทาน ในวนั นัน้ ดว้ ย

3.2 ขน้ั ตอน วธิ ีการดาเนนิ การเกยี่ วกับข้อมลู
นิยมทาสะเปากันที่วัด โดยชาวบ้านช่วยกันทาสะเปาเป็นรูปเรือลาใหญ่ วางบนแพไม้ไผ่ และนาสะตวง พร้อม
ด้วยข้าวของตา่ ง ๆ ทัง้ หม้อ ไห เส้อื ผา้ เครือ่ งนงุ่ ห่ม เครือ่ งอปุ โภค บรโิ ภคต่าง ๆ ใส่ลงไปในสะเปา ในช่วงหวั ค่า
ของวันย่ีเป็ง จึงพากันหามสะเปา พร้อมแห่ด้วยฆ้องกลองจากวัดไปลอยที่แม่น้าโขงและทาพิธีเวนทานท่ีท่าน้า
ก่อนปลอ่ ยสะเปาลอยลงไป

การทาสะเปารูปเรือลาใหญ่ นาไปลอยในคืนย่ีเป็งที่แม่น้าโขงในคืนยี่เป็นน้ัน ท่ีหมู่บ้านสบกกจะใส่
สิ่งของจาพวก เส้ือผ้า ข้าวของเคร่ืองใชต้ ่าง ๆ ลงไปด้วย เพื่อเป็นการสะเดาะเคราะห์ และเป็นการบรจิ าคทาน
หากมีผู้ทามีความลาบากได้เกบ็ นาไปใช้

๔. ชอ่ื ผู้ที่ถอื ปฏิบตั ิและผสู้ บื ทอด

๔.๑ ผู้ทถี่ อื ปฏบิ ตั ิ

ช่ือ พระอธิการอภชิ าติ รตโิ ก เจา้ อาวาสวดั สบกก

วนั เดอื น ปีเกิด -

ทอี่ ยู่ วดั สบกก หมู่ 7 ตาบลบา้ นแซว อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชยี งราย

หมายเลขโทรศัพท์ -

๔.๒ ผูส้ ืบทอด -๒๑๖-
ช่ือ
วนั เดอื น ปีเกิด ชาวบา้ นในชมุ ชนบา้ นสบกก
ที่อยู่ -
หมายเลขโทรศพั ท์
หมู่ 7 ตาบลบา้ นแซว อาเภอเชียงแสน จงั หวัดเชยี งราย
-

5. สถำนกำรณค์ งอยู่  ปฏิบตั ิอยา่ งแพรห่ ลาย  เสี่ยงต่อการสญู หาย  ไม่มปี ฏิบตั ิแล้ว

6. รูปภำพปัญญำทำงวัฒนธรรม/กิจกรรมทำงภมู ปิ ญั ญำทำงวัฒนธรรม

-๒๑๗-

แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ญั ญำทำงวัฒนธรรมจงั หวัดเชียงรำย ประจำปี 2565
สภำวัฒนธรรมจงั หวัดเชยี งรำย
อำเภอเชียงแสน จงั หวัดเชียงรำย

1. ชื่อข้อมูล ประเพณกี ารเลย้ี งเสื้อบา้ น

2. ลักษณะ  วรรณกรรมพ้นื บ้านและภาษา
 ศลิ ปะการแสดง
 แนวปฏบิ ัติทางสังคมพิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรู้และการปฏิบตั เิ กย่ี วกบั ธรรมชาติและจักรวาล
 งานช่างฝมี ือดงั้ เดิม
 การละเลน่ พน้ื บา้ น กีฬาพนื้ บ้าน และศลิ ปะการต่อสปู่ ้องกนั ตวั

3. รำยละเอียดข้อมูล
3.1 ประวัติความเปน็ มาของขอ้ มูล
เส้อื บา้ น หรือหอเส้อื บ้าน เปน็ สว่ นหน่ึงของชุมชนและหมู่บ้าน ซ่งึ ทางภาคเหนือเราน้ันมีกนั ทุกหมู่บ้าน

เป็นความเช่ือมาต้ังแต่อดีต ลักษณะความเช่ือ เส้ือบ้าน เป็นดวงวิญญาณที่ทาหน้าท่ีปกปักรักษาสมาชิกในหมู่บ้าน
สถิตอยู่ในเรือนล้านนาขนาดเล็กกลางหมู่บ้าน เรียกว่า หอเสื้อบ้าน คาว่า เสื้อบ้าน ผู้เฒ่าผู้แก่ว่าไว้ว่า เส้ือ
มาจากคาว่า เซื้อ แปลว่าบรรพบุรุษ หมายถึงดวงวิญญาณของบรรพบุรุษที่มีความดีหรือมีบุญคุณกับชาวบ้าน
อาจจะเป็นผู้นาในการต้ังหมู่บ้าน หรือคนที่มีความดีเป็นท่ีเคารพนับถือของหมู่บ้าน หรือดวงวิญญาณดวงใด
ดวงหน่ึงท่ีสถิตอยู่บริเวณน้ันก่อนสร้างหมู่บ้าน ฯลฯ ความสาคัญ เสื้อบ้าน มีหน้าที่และบทบาทสาคัญคือ
เป็นผ้ปู กปักรักษา คุ้มครองสมาชิกในหม่บู ้าน แตล่ ะหมบู่ า้ นจะมีหอเส้ือบ้าน ชาวลา้ นนาเชอ่ื วา่ มเี ทวดาอารักษ์
รักษาชาวบ้านในหมู่บ้านให้อยู่เย็นเป็นสุข เป็นการยอมรับ การเป็นกลุ่มเป็นพวกเดียวกัน สมาชิกในหมู่บ้าน
มีความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน หรือเก้ือกูลซึ่งกันและกัน ถือเป็นหน้าที่ท่ีต้องดูแลช่วยเหลือกันต้ังแต่เกิด
จนถงึ ตายมคี วามผกู พันกนั

3.2 ขน้ั ตอน วิธกี ารดาเนินการเกย่ี วกับข้อมูล
พธิ ีกรรม เม่ือจะทาพิธีบวงสรวงเส้ือบ้าน ชาวบ้านในหมู่บา้ นกจ็ ะร่วมกันนาเอาสงิ่ ของตา่ ง ๆ ท้ังอาหาร
คาว - หวาน ดอกไม้ ธูปเทียน มารวมกันจัดทาเปน็ เครือ่ งสักการะบูชา เจ้าพิธีประจาหมู่บ้านก็จะกล่าวโองการ
เพื่อขอให้ผีเส้ือบ้านช่วยปกปักรักษาให้สมาชิกในหมู่บ้านให้มีความร่มเย็นเป็นสุข ปราศจากภยันตรายและ
โรคาพยาธิท้ังปวง ซ่ึงบ้านสบกกจะทาพิธีไหว้เส้ือบ้าน หรือเลี้ยงเสื้อบ้านทุกปีในวันแรม 9 ค่า หรือ ข้ึน 9 ค่า
เดือน 9 เหนือ หรอื เดือน 7 ใต้ ในการไหว้บชู าเส้อื บ้านน้ัน ชาวบ้านจะรวมใจกนั ออกคา่ ใชจ้ ่ายทุกหลงั คาเรือน

๔. ช่ือผทู้ ี่ถือปฏิบตั ิและผสู้ ืบทอด

๔.๑ ผทู้ ่ีถอื ปฏบิ ัติ

ชื่อ ชาวบา้ นสบกก

วนั เดอื น ปีเกดิ -

ท่อี ยู่ หมู่ 7 ตาบลบ้านแซว อาเภอเชยี งแสน จงั หวดั เชยี งราย

หมายเลขโทรศัพท์ -

๔.๒ ผู้สืบทอด -2๑๘-
ช่อื
วนั เดอื น ปีเกิด ชาวบ้านสบกก
ทอ่ี ยู่ -
หมายเลขโทรศัพท์
หมู่ 7 ตาบลบา้ นแซว อาเภอเชยี งแสน จงั หวัดเชยี งราย
-

5. สถำนกำรณ์คงอยู่  ปฏบิ ตั อิ ย่างแพรห่ ลาย  เสย่ี งต่อการสญู หาย  ไมม่ ปี ฏบิ ตั ิแล้ว

6. รปู ภำพปัญญำทำงวฒั นธรรม/กจิ กรรมทำงภมู ปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม

-2๑๙-

แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ัญญำทำงวัฒนธรรมจังหวัดเชียงรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวฒั นธรรมจงั หวัดเชยี งรำย
อำเภอเวียงแก่น จงั หวดั เชยี งรำย

๑. ช่ือข้อมูล พิธีถวายหนังแดง

๒. ลักษณะ  วรรณกรรมพ้นื บ้านและภาษา

 ศิลปะการแสดง
 แนวปฏิบัติทางสงั คมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล

 อาหาร/ความรูแ้ ละการปฏิบตั ิเกี่ยวกับธรรมชาตแิ ละจกั รวาล

 งานช่างฝีมือดั้งเดิม
 การละเลน่ พ้นื บา้ น กีฬาพน้ื บ้าน และศิลปะการต่อสู่ป้องกันตัว

๓. รายละเอียดข้อมลู

๓.๑) ประวัตคิ วามเปน็ มาของข้อมูล
“ถวายหนังแดง” เป็นพิธีกรรมการเล้ียงผีป่าของกลุ่มชาติพันธ์ุไทลื้อในอาเภอเวียงแก่น ถือเป็น
ประเพณีพิธีกรรมดั้งเดิมที่ได้ปฏิบัติสืบทอดกันมาตั้งแต่ครั้งบรรพกาล ผู้เฒ่าผู้แก่ได้เล่าสืบต่อกันมาว่า ในอดีต
หลายหมู่บ้านได้เกิดโรคห่าระบาดข้ึน ทาให้ผู้คนและสัตว์เล้ียงเจ็บป่วยและล้มตายเป็นจานวนมาก และในช่วง
บางปีฝนก็ไม่ตกต้องตามฤดูกาล จึงเชื่อกันว่าเป็นเพราะถูกผีป่า ผีฟ้า หรือผีร้าย (ผีฮ้าย) มารังควานก่อกวนคน
ในหมู่บ้านให้อยู่ไม่สงบสุข จึงได้บนบานศาลกล่าวกับผีป่า เพ่ือขอให้ช่วยคุ้มครองคนภายในหมู่บ้านให้คลาด
แคล้วจากภัยอันตรายต่าง ๆ และช่วยเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรของชาวบ้านให้อุดมสมบูรณ์ โดยจะขอเซ่นสรวง
ดว้ ยวัวตัวผูเ้ ปน็ ประจาทุกปี
การประกอบพิธีเร่ิมขึ้นอย่างเรียบง่ายในป่าท่ีกาหนดเป็นพื้นท่ีประกอบพิธีกรรม ซึ่งตั้งอยู่ไม่ห่างจาก
หมู่บ้านมากนัก บรรดาผู้เฒ่าผู้แก่จะช่วยกันทาห้ิงสาหรับเล้ียงผี กว้างประมาณ 2 เมตร เป็นหิ้งไม้ไผ่ยกพื้นสูง
ปูพ้ืนหิง้ ดว้ ยใบตอง สูงจากพืน้ ประมาณสองเมตร จากนั้นจะนาวัวไปผูกตดิ ไวก้ ับตน้ ไม้ ผ้อู าวโุ สในหมู่บา้ นจะ จุด
เทียนแล้วบอกกล่าวต่อส่ิงศักด์ิสิทธ์ิ ก่อนจะให้คนนาวัวไปฆ่า เพื่อทาอาหารมาเซ่นไหว้ในพิธีกรรม เครื่องเซ่น
ไหว้ในพิธีถวายหนงั แดง ประกอบไปดว้ ย ลาบเน้อื สด แกงออ่ ม เน้อื ย่าง ข้าวเหนียว เหลา้ หนงั ววั หางวัว หัววัว
พร้อมด้วยขาท้ัง 4 ขา พร้อมกับทา “จิ๊นหาบ จิ๊นหาม” คือ เอาเนื้อวัวมาหอ้ ยไว้กับไม้ไผ่ ทาให้มีลักษณะคล้าย
กับการหาบและการหาม เชื่อกันว่าเมื่อผีป่ามารับเอาไปแล้วจะหาบหามสิ่งท่ีไม่ดี ออกจากหมู่บ้านไปด้วย เม่ือ
จัดเตรียมเสร็จแล้ว ผู้เฒ่าผู้แก่จะจุดเทียนบอกกล่าวสิ่งศักดิ์สิทธิ์ให้มารับเคร่ืองเซ่นไหว้ จากนั้นประมาณ 20
นาที ผเู้ ฒา่ ผู้แกจ่ ะขอเอาอาหารที่เหลือมารับประทานร่วมกัน ส่วนชาวบ้านท่เี ขา้ ร่วมพิธีกรรมจะแบ่งเอาเนื้อวัว
ไปทาอาหารเล้ียงกันภายในสถานที่ประกอบพิธีกรรม เมื่อเสร็จพิธี ผู้เฒ่าผู้แก่จะ นาหนังวัวท่ีใช้ในการเซ่นไหว้
ไปเก็บไว้ท่ีวดั เพือ่ ทาเป็นหนังหน้ากลองของหม่บู า้ นต่อไป

๓.๒) ขน้ั ตอน/วธิ กี าร/ดาเนนิ การเก่ียวกับขอ้ มลู
ลงพื้นทีจ่ ัดเกบ็ ข้อมลู โดยการสอบถามผูม้ ีความรู้

-22๐-

๔. ช่ือผทู้ ี่ถือปฏิบตั ิและผสู้ บื ทอด

๔.๑ ผูท้ ีถ่ ือปฏิบตั ิ

ชื่อ นายสวาท รวมจติ ร

วนั เดอื น ปเี กิด -

ทอ่ี ยู่ ๒๖ หมู่ ๕ ตาบลม่วงยาย อาเภอเวียงแก่น จังหวัดเชยี งราย

หมายเลขโทรศัพท์ ๐๙๐ ๓๑๙ ๒๙๒๗

๔.๒ ผสู้ ืบทอด

ช่ือ -

วัน เดอื น ปีเกิด -

ท่ีอยู่ -

หมายเลขโทรศพั ท์ -

5. สถำนกำรณค์ งอยู่  ปฏิบตั อิ ย่างแพรห่ ลาย  เส่ยี งตอ่ การสูญหาย  ไมม่ ปี ฏบิ ัตแิ ล้ว

๖. รปู ภาพภมู ปิ ัญญาทางวัฒนธรรม/กจิ กรรมทางภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม

การทาพธิ ี “ทา้ วทงั้ สี่” เพื่อเปน็ การขอให้เทพารักษ์ การจัดเตรยี มเครื่องประกอบพิธกี รรม
ท่ีดแู ล ณ สถานท่ีจดั พิธไี ด้รบั รู้ และปกปักรักษาให้พน้ ภยั “พธิ ีถวายหนังแดง”

การประกอบพธิ ีกรรม “พธิ ีถวายหนังแดง” การรับประทานสิง่ ของท่ีถวายฯ หลังจากประกอบ
พิธเี สร็จ โดยมีความเชอ่ื ว่าเป็นของศักดิส์ ทิ ธ์ิ

-๒๒๑-

แบบสำรวจมรดกภมู ิปญั ญำทำงวฒั นธรรมจังหวัดเชียงรำยประจำปี ๒๕๖๕
สภำวัฒนธรรมจังหวดั เชยี งรำย
อำเภอแมส่ รวย จังหวดั เชียงรำย

๑. ชื่อข้อมูล พธิ ีกรรม ผีปยู่ า่ หม้อน่งึ

๒. ลักษณะ  วรรณกรรมพนื้ บา้ นและภาษา
 ศิลปะการแสดง
 แนวปฏิบตั ิทางสงั คมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรู้และการปฏิบัตเิ ก่ียวกบั ธรรมชาติและจักรวาล
 งานช่างฝีมือดงั้ เดิม
 การละเลน่ พ้ืนบ้าน กีฬาพนื้ บา้ น และศลิ ปะการตอ่ สูป่ ้องกนั ตวั

๓. รำยละเอียดขอ้ มลู

๓.๑) ประวตั ิความเป็นมาของข้อมลู
พิธีกรรม ผีหม้อนึ่ง เป็นรูปแบบของการสื่อสารชุมชนลักษณะหน่ึงในการประกอบพิธีกรรมแต่ละ
รูปแบบจะมีมิติของการส่ือสารประกอบอยู่ด้วยเสมอท้ังผู้ประกอบพิธีกรรมซึ่งเป็นผู้ส่งสารผู้เข้าร่วมพิธีกรรม
และเทพยาดาทั้งหลายเป็นผู้รับสาร ส่วนส่ือและช่องทางการสื่อสารเช่น เวลาการประกอบพิธีกรรม สถานท่ี
ประกอบพิธีกรรมเคร่ืองสังเวย ฉากประกอบพิธีและเน้ือหาสารจะเป็นบทสวด การสนทนาที่เกิดข้ึน ท้ังนี้การ
เห็นคุณค่าของความเจ็บป่วยข้ึนอยู่กับระบบความเชื่อที่สามารถกระตุ้นความกังวลเก่ียวกับการสูญเสียและ
ความตาย ทั้งนี้ความเช่ือเหล่าน้ีอาจนาไปสู่ความไม่เข้าใจในกระบวนการรักษาความเจ็บป่วยในเชิงการแพทย์
แผนปัจจุบนั
ผีหม้อนึ่ง (ปู่ย่าหม้อนึ่ง) เป็นรูปแบบการพิธีกรรม ท่ีมีการตั้ง หม้อที่ใช้น่ึงข้าวเหนียวเป็นอุปกรณ์
ในการประกอบพิธีกรรม ยายสม มั่งมี เป็นผู้สืบทอดการประกอบพิธีกรรมนี้ โดยสืบทอดพิธีกรรมผีหม้อน่ึง
มาจากบรรพบรุ ษุ รนุ่ ปยู่ ่า มาถงึ รุ่นพ่อแมจ่ นกระท่งั มาถงึ ตน โดยจะทาการเส่ยี งทาย รกั ษาโรคตามแบบพธิ ีกรรม
แบบโบราณล้านนา มีการสืบต่อกันมารุ่นต่อรุ่น เชื่อกันว่าจะมีเทพยาดาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ จะลงมาควบคุมการตอบ
คาถาม จากผู้ที่มาสอบถาม มีปัญหาแก้ไขชีวิตแก้ไขไม่ได้ ต้องการรักษาโรคและทานายดวงชะตา
ในปัจจุบันนับได้ว่ากาลังจะสูญหายไป หรือพบเห็นได้น้อยมากเนื่องจากความเจริญก้าวหน้าของเทคโนโลยี
ท่ีล้าหน้า ผู้คนมีความเช่ือในด้านวิทยาศาสตร์ เช่ือในสิ่งท่ีตามองเห็น หยิบจับได้ จงเป็นสาเหตุให้พิธีกรรม
เหลา่ นี้คอ่ ย ๆเลือนหายไป
ท้ังน้ี “ผีหม้อน่ึง” นับได้ว่าเป็นพิธีกรรมโบราณของคนล้านนาท่ีสืบทอดต่อกันมานับร้อยปี สิ่งสะท้อน
ที่ได้รับจากพิธีกรรมนี้ก็คือ ยาใจท่ีผู้ป่วยต้องการเป็นท่ีพึ่งพิงสุดท้าย เพราะพวกเขามีความเชื่อและเคารพในสง่ิ
ศักดิ์สิทธ์ิเหมือนกัน เช่นเดียวกับยายสม ขัดดีที่ยังคงรักษาพิธีกรรมผีหม้อนึ่งไว้อย่างเหนียวแน่นจนถึงทุกวันนี้
เรื่องราวของ “ผีหม้อนึ่ง” ของคนล้านนายังคงมีให้เห็นอยู่เสมอ แม้ว่าบางครั้งความเชื่อดังกล่าว อาจสูญหาย
หรือถูกหลงลืมไปบ้างตามเวลา แต่ภายในจิตสานึก และความรู้สึกของชาวบ้านทุกคนจะเปี่ยมล้นด้วยความสุข
ความอบอุ่นใจที่พวกเขาไดแ้ สดงออกต่อส่งิ ศกั ด์ิสทิ ธิ์ท่นี บั ถือยงั คงถูกรกั ษาสืบไป

๓.๒) ข้ันตอน/วธิ ีการ/ดาเนินการเก่ยี วกับขอ้ มลู
อปุ กรณว์ ัสดทุ ี่ตอ้ งใชใ้ นการประกอบพธิ ีกรรม
1. ธปู จานวน 12 ดอก
2. เทยี น จานวน 12 ก้าน
3. ดอกไม้ จานวน 12 ดอก
4. ข้าวสาร จานวน 2 ถ้วย
5. ขา้ วเหนยี ว จานวน ครึ่ง จาน
6. หมากพลู และเส้อื หรือของใช้ของคนทีจ่ ะมาถามหรอื ให้ช่วยเหลือ

-2๒๒-

จากน้ันจะมีการจุดธูปและสวดคาถา หรือ สวดมนต์ ต่อหน้าหม้อนึ่ง เสมือนเป็นการเชิญให้เทพยดา
สิ่งศักดิ์สิทธิ์มาลง หรือมาสิงในหม้อนึ่ง จากนั้นชาวบ้านท่ีมาก็จะถามไถ่ถึงข้อสงสัยของตน เป็นต้นว่า สาเหตุ
ท่ีตนเองมีอาการเจ็บไข้ได้ป่วยเน่ืองจากอะไร หรือการทานายทายทักสิ่งของท่ีหายไป เพื่อให้ปู่ย่าหม้อน่ึงก็จะ
ตอบโดยการใช้แขนหม้อน่ึงขีดเขียนลงไปในกระด้ง ซ่ึงมีข้าวสารเป็นรูปต่าง ๆ เม่ือชาวบ้านที่เดินทางมาขอให้
ผหี ม้อนึ่งชว่ ยไดค้ าตอบแลว้ กจ็ ะกลบั ไปแก้ไขตามที่ผหี ม้อน่ึงบอกไว้

๔. ชือ่ ผู้ท่ีถอื ปฏิบตั ิและผูส้ ืบทอด

๔.๑ ผทู้ ่ีถอื ปฏบิ ัติ

ชอ่ื ยายสม มั่งมี

วัน เดอื น ปเี กดิ -

ทีอ่ ยู่ หมู่ 3 ตาบลเจดยี ์หลวง อาเภอแม่สรวย จงั หวดั เชยี งราย

หมายเลขโทรศัพท์ -

๔.๒ ผู้สบื ทอด

ชื่อ -

วนั เดือน ปีเกิด -

ทอี่ ยู่ -

หมายเลขโทรศัพท์ -

๕. สถานะการคงอยู่  ปฏบิ ตั ิอย่างแพร่หลาย  เสี่ยงตอ่ การสูญหาย  ไมม่ ีปฏบิ ัติแล้ว

๖. รปู ภาพภมู ปิ ญั ญาทางวัฒนธรรม/กิจกรรมทางภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม

-๒๒๓-

แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ัญญำทำงวัฒนธรรมจงั หวัดเชยี งรำย ประจำปี 2565
สภำวฒั นธรรมจงั หวัดเชยี งรำย
อำเภอเวยี งปำ่ เปำ้ จงั หวดั เชียง

๑. ชื่อข้อมลู พธิ สี ืบชะตา

๒. ลักษณะ  วรรณกรรมพ้ืนบา้ นและภาษา

 ศลิ ปะการแสดง
 แนวปฏิบตั ทิ างสังคมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรแู้ ละการปฏบิ ัตเิ กย่ี วกับธรรมชาติและจักรวาล

 งานชา่ งฝมี ือดง้ั เดิม

 การละเล่นพ้นื บ้าน กีฬาพ้ืนบ้าน และศลิ ปะการตอ่ สู่ป้องกนั ตัว

๓. รำยละเอียดข้อมลู

๓.๑) ประวัติความเป็นมาของข้อมูล
“พิธสี ืบชะตำ หรือ ชำตำ” เป็นพธิ ีกรรมทางความเช่ือของชาวล้านนาท่ีมีมาแตโ่ บราณควบคู่กับวถิ ชี วี ิต
สงั คม และมิติทางวัฒนธรรม คนล้านนาใช้พธิ สี บื ชะตากบั คน สืบชะตาสตั ว์เลี้ยง สืบชะตาบา้ นเมือง และ
ประยุกตใ์ ช้กับการอนุรกั ษ์ เช่น สืบชะตาปา่ แม่นา้ -ตน้ นา้ เป็นตน้
การสืบชะตา จดั ทาข้นึ เพ่ือให้บุคคลหายจากโรคภยั หรอื ภยันอันตรายตา่ ง ๆ หรือในกรณีท่ีไดโ้ ชค
วาสนาเล่ือนข้ันเลื่อนยศตาแหนง่ หน้าที่ หรือในงานมงคลสาคญั ๆ อาทิเช่น การทาบญุ วันเกดิ การทาบญุ
ขน้ึ บ้านใหม่ รวมไปถงึ พธิ ตี อ้ นรับกน็ ยิ มนามาประกอบใชเ้ พ่อื ความเป็นสริ ิมงคลแก่บุคคลหรอื คณะบคุ คลน้นั ๆ
“พิธี” ต้องสาเร็จได้ด้วยเครื่องพลีกรรม หรือเคร่ืองสืบชะตา โดยสืบทอดมาแต่โบราณ เช่น ไม้ค้าใหญ่
3 เล่ม ไม้ค้าเล็ก 108, บันไดเงิน-ทอง, กระบอกน้า-ทราย ลวดเงิน-ทอง แพรหมาก-พลู-บุหร่ี-เทียน, จ่อตุงจัย,
เส้ือใหม่-หมอนใหม่, หน่อกล้วย-อ้อย, ข้าวเปลือก-ข้าวสาร, เคร่ืองครัวครบ, เทียนค่าคิง เป็นต้น โดยทุกอย่าง
จัดแต่งด้วยความปราณีตบรรจงตามแบบโบราณท่ที รงไว้ซึ่งความศักดิ์สทิ ธ์ิ
“ผู้ประกอบพิธี” คือ พระสงฆ์เป็นผู้ประกอบพิธีพระธรรมเทศนาเฉพาะพิธีสืบชะตาคือ “ธรรมศำลำ
กำริวิชัยสูตร” พระสงฆ์มีบทสวดเฉพาะคือ “บทอุณหัสวิจัย” เป็นต้น ในพ้ืนท่ีน้ัน ๆ จะมีผู้เฒ่าผู้สูงอายุ
ที่สามารถจดั แตง่ ดาเครอ่ื งสบื ชะตาไดอ้ ยา่ งครบและถกู ต้องถูกแบบแผนโบราณ

3.2) ข้นั ตอน/วิธกี าร/ดาเนินการเกยี่ วกบั ขอ้ มลู
- จดั แตง่ ดา จดั เตรียมเคร่ืองสืบชะตาตามแบบโบราณ และตอ้ งประกอบด้วยศลิ ปะการแตง่ การจัดวาง
ที่สวยงามมีความศรทั ธา
- ตอ้ งนมิ นต์พระสงฆผ์ ู้ประกอบพิธีตามวธิ ปี ฏิบตั ิ และมีมัคนายกชว่ ยดาเนินกิจกรรม
- ขัน้ ตอนอาจปรับใช้ตามเหตุ เชน่ สบื ชะตาคน สบื ชะตาบ้านเมือง สบื ชะตาปา่ ไม้-ต้นน้า เปน็ ต้น ทง้ั น้ี
ต้องปรึกษาผูร้ ูท้ างพิธี คอื มัคนายก

๔. ช่ือผู้ทถี่ ือปฏิบตั ติ ำมและสืบทอด

4.1 ผู้ท่ีถือปฏิบัติ

ชอ่ื นายบญุ ธรรม สุวนั ดี

วัน เดือน ปเี กดิ -

ทอ่ี ยู่ หมู่ 7 ตาบลเวยี ง อาเภอเวียงปา่ เปา้ จังหวดั เชยี งราย

หมายเลขโทรศัพท์ 089 261 5573

-๒๒๔-

4.2 ผู้สืบทอด

ช่อื เครือข่ายผสู้ ูงอาย,ุ เครือข่ายวฒั นธรรม, เครือข่ายชมรมน้อย-หนานอาจารยว์ ัด,

เครอื ข่ายพระสงฆ์

วัน เดือน ปีเกิด -

ทอ่ี ยู่ ครอบคลุมทงั้ อาเภอ 7 ตาบล อาเภอเวียงปา่ เปา้ จงั หวัดเชียงราย

หมายเลขโทรศัพท์ 097 968 9109 (สภาวฒั นธรรมอาเภอเวยี งปา่ เป้า)

๕. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏิบตั อิ ยา่ งแพรห่ ลาย เสยี่ งตอ่ การสญู หาย ไมป่ ฏบิ ตั ิแลว้

๖. รูปถำ่ ยภูมปิ ญั ญำทำงวัฒนธรรม/กิจกรรมทำงภูมิปัญญำทำงวัฒนธรรม

.

-๑๘๗-

.

-๒๓๙-

แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ัญญำทำงวฒั นธรรมจงั หวดั เชียงรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สำนักงำนวัฒนธรรมจังหวัดเชยี งรำย
อำเภอแมจ่ ัน จงั หวดั เชียงรำย

๑. ช่ือข้อมลู การทาทองมว้ นกรอบ

๒. ลกั ษณะ  วรรณกรรมพน้ื บา้ นและภาษา
 ศิลปะการแสดง
 แนวปฏบิ ตั ทิ างสังคมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรแู้ ละการปฏิบัติเกีย่ วกับธรรมชาติและจกั รวาล
 งานชา่ งฝมี อื ดง้ั เดิม
 การละเลน่ พืน้ บา้ น กีฬาพื้นบ้าน และศลิ ปะการต่อสูป่ ้องกนั ตวั

๓. รำยละเอยี ดขอ้ มลู
๓.๑) ประวัตคิ วามเปน็ มาของข้อมูล
ชาวบ้านกล้วยเดมิ มีอาชพี เกษตรกรรม ทาไร่ ทานา หลังจากฤดูกาลทานาชาวบา้ นต้องหาอาชีพรับจ้าง

ทา ทางกลมุ่ แม่บ้านหมู่บ้านบา้ นกลว้ ย หมทู่ ่ี ๕ ตาบลศรีค้า อาเภอแมจ่ ัน จงั หวดั เชียงราย จงึ ได้รว่ มกล่มุ คิดกัน
หาอาชีพเสริมโดยการทาขนมทองม้วนกรอบ โดยได้รับสูตรการทาขนมจากบรรพบุรุษสืบทอดกันมา
และนามาปรบั เปลยี่ นสูตร และอปุ กรณก์ ารทาใหท้ นั สมยั เหมาะเปน็ อุตสาหกรรมในครัวเรอื นมากข้ึน

๓.๒) ขั้นตอน/วิธีการ/ดาเนนิ การเกี่ยวกับข้อมลู

สว่ นผสม ประกอบด้วย

๑. แปง้ เอนกประสงค์ ๖. ไขไ่ ก่

๒. แป้งมนั ๗. กะทิ

๓. นา้ ตาลปี๊บ ๘. น้าใบเตยตม้ สกุ

๔. นา้ ตาลทราย ๙. เกลือ

๕. เนย ๑๐. งาดาค่วั สุก

ขั้นตอนกำรทำทองมว้ นกรอบ

๑. ผสมแป้งเอนกประสงค์และแปง้ มันใหเ้ ข้ากนั

๒. ต้มเนยใหล้ ะลายพกั รอให้เย็น

๓. ต้มน้าใบเตยใหไ้ ด้สแี ละกลิ่นตามทีต่ ้องการ

๔. นาสว่ นผสม ข้อ ๑ – ๓ มาผสมให้เขา้ กัน

๕. ใส่ไขไ่ ก่ นา้ ตาลทราย นา้ ตาลป๊ิบ และใสเ่ กลอื เล็กนอ้ ยคนให้เข้ากันจนน้าตาลทรายละลาย

๖. ใส่งาดาควั่ สุกแล้วเข้าไปคนใหเ้ ข้ากันพักไว้ รอประมาณ ๒ ชั่วโมง

๗. อ่นุ แผน่ พิมพข์ นมทองม้วนรอใหเ้ ครอ่ื งร้อน

๘. ใส่ส่วนผสมประมาณ ๑ ชอ้ นโตะ๊ ลงในแผ่นพิมพข์ นมทองม้วน

๙. รอสกุ สกั พักใช้ไม้แกะออกกลบั ดา้ น

๑๐. เมอ่ื ขนมทองม้วนสุกท้งั สองด้านพบั เก็บขอบและวางม้วนไปกับไม้ไผ่ให้ไดข้ นาด

๑๑. พกั รอให้เย็นแพ็คใสถ่ ุงรอการจาหนา่ ย

.

-๒๔๐-

๔. ชื่อผูท้ ี่ถอื ปฏิบตั ิและผู้สืบทอด
๔.๑ ผทู้ ีถ่ อื ปฏิบตั ิ
ชือ่ นางคาผ่อง ฟ้าคาตนั
วัน เดอื น ปเี กดิ -
ท่อี ยู่ ๖๘ หมู่ ๕ ตาบลศรคี ้า อาเภอแม่จนั จังหวัดเชยี งราย
หมายเลขโทรศัพท์ ๐๘๗ ๓๐๕ ๙๔๘๓
๔.๒ ผู้สบื ทอด
ช่อื นางสาวสุพรรษา ยานะโรจน์
วนั เดือน ปีเกิด -
ท่ีอยู่ ๖๗ หมู่ ๕ ตาบลศรีคา้ อาเภอแมจ่ นั จังหวดั เชียงราย
หมายเลขโทรศัพท์ ๐๘๗ ๓๐๕ ๙๔๘๓

๕. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏิบตั ิอยา่ งแพร่หลาย  เส่ยี งต่อการสญู หาย  ไมม่ ปี ฏิบตั แิ ลว้

๖. รูปภำพภมู ปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม/กิจกรรมทำงภูมปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม

.

-2๔๑-

แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ัญญำทำงวัฒนธรรมจงั หวัดเชยี งรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวัฒนธรรมจังหวัดเชยี งรำย
อำเภอขุนตำล จังหวัดเชยี งรำย

๑. ชอื่ ข้อมูล การแพทย์แผนไทยสมุนไพรพ้ืนบ้าน (หมอพื้นบ้านลา้ นนา)

๒. ลกั ษณะ  วรรณกรรมพื้นบา้ นและภาษา
 ศิลปะการแสดง
 แนวปฏิบัตทิ างสังคมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรแู้ ละการปฏบิ ตั ิเกย่ี วกบั ธรรมชาตแิ ละจักรวาล
 งานชา่ งฝมี อื ดั้งเดิม
 การละเล่นพืน้ บ้าน กีฬาพืน้ บ้าน และศิลปะการตอ่ สปู่ ้องกนั ตัว

๓. รายละเอียดข้อมลู

๓.๑) ประวตั ิความเปน็ มาของขอ้ มูล
เจ้าของภูมิปัญญา นายสนน่ั กติ ติศักด์ิเจริญ มีภมู ลิ าเนาอยู่บ้านเลขที่ 236 หมู่ 9 ตาบลยางฮอม
อาเภอขุนตาล จังหวดั เชียงราย
ความรู้เรื่องสมุนไพรเป็นภูมิปัญญาท่ีได้สืบทอด โดยมีการศึกษาหาความรู้จากบรรพบุรุษและการ
สืบคน้ การศกึ ษาหาความรู้จากส่ือต่าง ๆ การอบรมเชิงปฏิบตั ิการ การทดลอง ค้นคว้า จนสามารถนามาปฏิบัติและ
ถ่ายทอดแก่อนุชนรุ่นต่อไปได้ จนสามารถเป็นแหล่งศึกษาดูงานได้ ด้วยการเปิดเป็นโรงเรียนสมุนไพรพ้ืนบ้าน
บา้ นหว้ ยสัก

๓.๒) ขัน้ ตอน/วธิ กี าร/ดาเนินการเกีย่ วกบั ขอ้ มูล
สมุนไพรท่ีจัดทามี สมุนไพรนพคุณ รักษาโรคริดสีดวงทวาร สมุนไพรลูกประคบ รักษาอาการเกี่ยวกับ
กล้ามเน้ือตึง กินอ้อพญ๋า เพ่ือให้มีความจาที่ดี ผลิตสมุนไพรยาหม่อง ยาหอม ยาดม ปัจจุบันเปิดเป็นโรงเรียน
สมุนไพรบ้านหว้ ยสกั สามารถเปน็ แหลง่ ศึกษาดงู านเกีย่ วกบั ดา้ นสมนุ ไพร

๔. ช่ือผ้ทู ่ีถือปฏิบัติและผ้สู ืบทอด

๔.๑ ผทู้ ถี่ ือปฏิบตั ิ

ชอ่ื นายพุฒ ใจประสทิ ธชิ ยั

วัน เดอื น ปเี กดิ ๒๔๙๒

ทอี่ ยู่ 236 หมู่ 9 ตาบลยางฮอม อาเภอขุนตาล จงั หวดั เชยี งราย

หมายเลขโทรศัพท์ 089-516-5417

๔.๒ ผูส้ บื ทอด
ช่ือ -
วัน เดอื น ปเี กดิ -
ท่อี ยู่ -

หมายเลขโทรศัพท์ -

๕. สถานะ การคงอยู่  ปฏิบัตอิ ยา่ งแพรห่ ลาย  เส่ยี งตอ่ การสญู หาย  ไมม่ ีปฏบิ ัติแล้ว

๖. รูปภาพภูมิปญั ญาทางวัฒนธรรม/กิจกรรมทางภูมิปัญญาทางวฒั นธรรม

- ไม่มี -

.

-2๔๒-

แบบสำรวจมรดกภมู ิปญั ญำทำงวฒั นธรรมจังหวดั เชียงรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวัฒนธรรมจังหวัดเชยี งรำย

สภำวฒั นธรรมอำเภอเทงิ จงั หวดั เชยี งรำย

๑. ชื่อข้อมลู แกงฮงั เลหมก

๒. ลักษณะ  วรรณกรรมพ้นื บ้านและภาษา
 ศลิ ปะการแสดง
 แนวปฏบิ ตั ทิ างสังคมพิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรู้และการปฏิบัตเิ กีย่ วกบั ธรรมชาตแิ ละจกั รวาล
 งานช่างฝมี ือดั้งเดิม
 การละเล่นพน้ื บา้ น กีฬาพ้ืนบา้ น และศิลปะการตอ่ สู่ป้องกนั ตวั

๓. รำยละเอียดข้อมลู

๓.๑) ประวตั คิ วามเปน็ มาของขอ้ มูล
เดิมทีมชี าวเงีย้ วเข้ามาอยู่ในหมูบ่ ้านช่อื อ้ยุ จนั ทร์ (เสยี ชวี ติ แลว้ ) เวลาในหมบู่ ้านมีงานเล้ยี งคนเยอะ ๆ
เช่น งานขึน้ บ้านใหม่ งานศพ งานข้นึ พระธาตุ ก็ไดช้ ว่ ยกนั ทาแกงฮงั เลหมกเล้ยี งผูค้ น

๓.๒) ข้นั ตอน/วธิ ีการ/ดาเนนิ การเก่ียวกับข้อมลู
วธิ ีทา
เอาเนื้อหมูสันคอหรือสามชั้นผสมกับน้าพริกแกงฮังเลคลุกเคล้าให้เข้ากัน ใส่กระท้อน (บะต้อง)
สบั ปะรด (บะขนดั ) หรือกระเทยี มดอง เพือ่ ใหเ้ นื้อเปอ่ื ย นุม่ เอาท้งั หมดใส่ใบตองจากนั้นทาการห่อ
เอาน้าใส่กระทะใบใหญ่ แล้วทาตะแกรง วางให้พ้นน้า นาห่อฮังเลวางเรียงจากนั้นเอาใบตองคลุมไว้
ปล่อยให้น้าเดอื ดจนหมสู กุ จะมนี า้ เคร่ืองแกงออกมาจะหอม เวลารบั ประทานหมจู ะนุม่ หอม รสชาติอรอ่ ย
สว่ นผสมของน้าพริกเครื่องแกง
พริกแห้ง กระเทยี ม หอมแดง ข่า ตะไคร้ กะปิ เกลือ

๔. ช่ือผทู้ ี่ถือปฏิบัติและผ้สู ืบทอด

๔.๑ ผ้ทู ี่ถอื ปฏิบตั ิ

ชื่อ พ่ออ้ยุ คามา จนั ทรถ์ า

วัน เดอื น ปีเกิด 1 กันยายน 2474

ทอ่ี ยู่ 2 หมู่ 2 ตาบลเวยี ง อาเภอเทิง จงั หวดั เชยี งราย

หมายเลขโทรศัพท์ -

๔.๒ ผสู้ บื ทอด

ชือ่ -

วนั เดอื น ปเี กดิ -

ท่ีอยู่ -

หมายเลขโทรศัพท์ -

๕. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏิบตั อิ ยา่ งแพรห่ ลาย  เสี่ยงตอ่ การสญู หาย  ไมม่ ปี ฏบิ ตั ิแลว้

.

-2๔๓-
๖. รปู ภำพภูมิปัญญำทำงวัฒนธรรม/กจิ กรรมทำงภูมปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม

.

-2๔๔-

แบบสำรวจมรดกภมู ิปัญญำทำงวฒั นธรรมจังหวดั เชยี งรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวฒั นธรรมจงั หวดั เชยี งรำย

อำเภอพญำเมง็ รำย จงั หวัดเชยี งรำย

๑. ช่ือข้อมูล ขนมจีนน้าเงีย้ ว

๒. ลกั ษณะ  วรรณกรรมพนื้ บ้านและภาษา
 ศิลปะการแสดง
 แนวปฏบิ ัตทิ างสังคมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรแู้ ละการปฏบิ ตั ิเก่ยี วกบั ธรรมชาติและจกั รวาล
 งานชา่ งฝีมือดง้ั เดมิ
 การละเล่นพ้ืนบ้าน กีฬาพ้นื บ้าน และศิลปะการต่อสปู่ ้องกันตัว

๓. รำยละเอียดขอ้ มลู

๓.๑) ประวตั คิ วามเปน็ มาของข้อมลู
“ขนมจีนน้ำเงี้ยว” เป็นอาหารยอดนิยมของคนล้านนา มีลักษณะเป็นเส้นเหมือนก๋วยเต๋ียว
รับประทานงา่ ยไม่ต้องปรุงรสมาก สว่ นประกอบเคร่อื งปรงุ ประกอบไปดว้ ย เส้นขนมจีน เลอื ดหมสู ด เนือ้ หมูบด
กระดูกหมู มะเขือเทศ เลือดไก่ก้อน ดอกงิ้ว ถ่ัวเน่า เดิมทีขนมจีนไม่ได้ทานพร้อมกับน้าเงี้ยว แต่เพิ่งนามา
ประยุกต์มาทานพร้อมกันเม่ือไม่นานมานี้ น้าเงี้ยว เป็นอาหารของชาวเง้ียว ซึ่งเป็นกลุ่มไทยใหญ่ที่อาศัยอยู่ใน
รัฐฉาน ประเทศพม่า ต่อมาคนพม่าได้หนีการต่อสู้รบกับรัฐบาลพม่า จึงอพยพเข้ามาอาศัยกระจายอยู่
ทั่วพื้นที่ของทางภาคเหนือ ส่วนใหญ่หนีไปหลบซ่อนทางจังหวัดแพร่ เน่ืองจากในยุคนั้นมีการสัมปทานพื้นที่
การทาป่าไม้ให้กับบริษัทจากอังกฤษ มีความต้องการแรงงานมาก ชาวเง้ียวจึงพากันหนีไปปักหลักอาศัยเป็น
ชมุ ชนใหญ่ท่นี ้นั ปัจจุบนั ขนมจีนนา้ เง้ียวนยิ มทานควบคูก่ ับ ผกั นานาชนิด แคบหมู ส้มตา ไกย่ า่ ง และเนือ้ ทอด
ขนมจีนน้ำเง้ียว คืออาหารของทางภาคเหนือ มีส่วนประกอบคือดอกงิ้ว ดัดแปลงมาจากน้าพริกอ่อง
น้าพริกแกงจะมีความเข้มข้นคล้ายน้าพริกแกงส้มของทางภาคกลาง คือ ใช้พริกแห้ง แต่ไม่ใส่กระชาย และใส่
ถ่ัวเน่าแผ่นหรือเต้าเจ้ียวหรือทั้งสองอย่าง น้ำแกงน้ำเง้ียว จะมีรสชาติเค็มเผ็ด มีรสเปร้ียวจากมะเขือเทศ
สาหรับใส่ขนมจีนหรือเส้นก๋วยเตี๋ยว เช่นเดียวกับน้าก๋วยเตี๋ยว หรือขนมจีนน้ายา ซ่ึงชาวไทใหญ่มักจะเรียก
น้าเงี้ยวว่า น้าหมากเขือส้ม ซึ่งถ้าใส่ขนมจีนก็เรียกว่า เข้าเส้นน้าหมากเขือส้ม ซึ่งในการทาน้าเง้ียวน้ันเราจะใช้
เกสรดอกง้ิวป่ำ ซึ่งเป็นงิ้วชนิดดอกแดงตากแห้ง (ในภาษาเหนือ งิ้ว จะหมายถึง ต้นนุ่น ได้ด้วย มักจะเรียกว่า
งิว้ ดอกขาว ใสล่ งไป ซึง่ ดอกงว้ิ เป็นส่วนประกอบสาคญั ในการทาน้าเง้ียว
น้ำเงี้ยว เป็นอาหารท่ีได้รับความนิยมในหมู่ชาวล้านนามาแต่อดีตจวบจนถึงปัจจบุ ัน ชาวบ้านมกั จะทา
น้าเงี้ยวสาหรับจัดเลี้ยงในงานต่าง ๆ ถือว่าเป็นอาหารมงคลอย่างหน่ึงของชาวล้านนา โดยท่ัวไปมักจะทาน
น้าเง้ียวกับขนมจีน (ขนมเส้น) หรือเส้นก๋วยเต๋ียว (เรียกก๋วยเต๋ียวน้าเง้ียว) น้าเงี้ยวเป็นอาหารขึ้นช่ือของจังหวัด
เชียงราย ซ่ึงรสชาติน้าเง้ียวจะมีความเข้มข้นและจัดจ้านมาก ๆ (แต่กินง่าย) ขนมจีนน้าเงี้ยวจะอร่อยหรือ
ไมอ่ รอ่ ยมันอยู่ท่ี การทาพรกิ แกงนำ้ เงยี้ ว และวิธที านา้ พรกิ น้าเง้ยี วภาคเหนือแบบดั้งเดิมจริง ๆ จะต้องมีการใช้
ถั่วเนา่ แผน่ ด้วย (ถวั่ เนา่ แขบ็ ) แต่หากหาไม่ไดจ้ รงิ ก็สามารถใชเ้ ตา้ เจี้ยวทดแทนได้บา้ ง
ดังน้ัน จึงควรต้องมีการสืบทอดการจัดทาขนมจีนน้าเงี้ยวไปยังรุ่นลูกรุ่นหลานให้ได้เรียนรแู้ ละนามาใช้
ในชีวิตประจาวัน เพื่อสร้างรายได้ สร้างอาชีพให้กับครอบครัวด้วยการทาขาย และควรมีการถ่ายทอดสูตร
ดั้งเดมิ ให้คงไวเ้ พ่ือเปน็ การอนรุ ักษ์มรดกภมู ิปัญญาท้องถน่ิ ของคนรนุ่ ก่อนมิใหส้ ูญหายไป

.

-2๔๕-

๓.๒) ข้ันตอน/วิธีการ/ดาเนินการเกีย่ วกับขอ้ มลู
วธิ กี ำรทำขนมนจนี นำ้ เงีย้ ว
1. ต้ังกระทะหรอื หม้อใสน่ า้ มัน ลงไปผดั กบั พริกแกงให้หอม ใส่หมูสับลงไปผดั ให้เข้ากนั
2. เตมิ นา้ ซปุ ปลอ่ ยให้เดือด แลว้ ใสม่ ะเขือเทศ ต้มให้มะเขือเทศนม่ิ ใส่กระดูกหมู ปลอ่ ยใหเ้ ดือด ใส่
ดอกเงีย้ วที่แชน่ า้ ไว้บีบนา้ ออกใหห้ มด
3. ใสใ่ นหมอ้ แกงต้องคอยตักฟองออก ปรงุ รสด้วยเกลือ นา้ ปลา ถั่วเนา่
4. เมื่อได้รสชาตทิ ่ตี ้องการใหเ้ ตมิ เลอื ดไก่ แล้วเค่ียวต่อไปจนซโี่ ครงหมูเนื้อนิ่ม
5. ต้ังไฟตอ่ ประมาณ 5 นาที เสร็จแล้วยกลง นาขนมจีนใส่จาน ราดด้วยแกง (น้าเง้ียว)
6. รับประทานคกู่ ับเครื่องเคยี งได้เลย เสริ ์ฟกับเส้นขนมจีนและผักต่าง ๆ ทงั้ ผักกาดดอง ถ่ัวงอก
กระเทยี มเจยี ว ผักชี ตน้ หอม เตมิ มะนาวเพม่ิ ความเปรย้ี ว โรยหนา้ ดว้ ยแคบหมู

๔. ชื่อผูท้ ี่ถอื ปฏิบัติและผ้สู ืบทอด

๔.๑ ผู้ทถ่ี อื ปฏิบัติ

ช่ือ นางกุลวดี วิชา

วนั เดือน ปเี กดิ 24 สงิ หาคม 2510

ทอี่ ยู่ 145 หมู่ 11 ตาบลไม้ยา อาเภอพญาเม็งราย จังหวัดเชยี งราย

หมายเลขโทรศัพท์ 085 652 7068

๔.๒ ผ้สู ืบทอด

ชื่อ นางสาวปางเงนิ แสงคา

วนั เดอื น ปเี กดิ 19 กรกฎาคม 2528

ท่อี ยู่ 180 หมู่ 11 ตาบลไมย้ า อาเภอพญาเมง็ ราย จงั หวดั เชียงราย

หมายเลขโทรศัพท์ 061 276 4259

๕. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏิบัติอยา่ งแพรห่ ลาย  เสย่ี งต่อการสญู หาย  ไม่มีปฏบิ ัตแิ ล้ว

๖. รปู ภำพภูมปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม/กจิ กรรมทำงภูมิปัญญำทำงวัฒนธรรม


Click to View FlipBook Version