The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ข้อมูลมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม จังหวัดเชียงราย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by , 2022-09-11 22:20:01

หนังสือมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม จังหวัดเชึยงราย

ข้อมูลมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม จังหวัดเชียงราย

-1๓๓-

แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ญั ญำทำงวัฒนธรรมจงั หวดั เชยี งรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวฒั นธรรมจงั หวดั เชยี งรำย
อำเภอเวียงชัย จังหวัดเชียงรำย

๑. ช่ือข้อมูล การทาบายศรี

๒. ลกั ษณะ  วรรณกรรมพื้นบ้านและภาษา
 ศลิ ปะการแสดง
 แนวปฏบิ ตั ทิ างสังคมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความร้แู ละการปฏิบตั เิ ก่ียวกับธรรมชาตแิ ละจกั รวาล
 งานชา่ งฝมี ือดัง้ เดมิ
 การละเล่นพน้ื บา้ น กีฬาพ้นื บ้าน และศลิ ปะการต่อสปู่ ้องกันตวั

๓. รำยละเอยี ดขอ้ มูล

๓.๑) ประวัตคิ วามเป็นมาของข้อมูล
บายศรีภาคเหนือเปน็ ภูมิปัญญาท้องถ่ินทส่ี ืบทอดกันมาแต่โบราณนิยมใช้ในพิธีสู่ข้าวเอาขวญั ฮอ้ งขวัญ
หรือสู่ขวัญ ใช้กับบุคคลธรรมดาท่ัวไป เรียกว่า การฮ้องขวัญ หรือ สู่ขวัญ ประเพณีบายศรีสู่ข้าวเอาขวัญ หรือ
การฮ้องขวัญของภาคเหนือเป็นประเพณีมงคลที่ต้องการให้ผู้ได้รับการทาบายศรีมีความสุขสวัสดี เพราะขวัญ
ได้รับการผูกไว้ไม่ให้หนีไปไหน คนที่มีขวัญอยู่กับตัวย่อมเป็นคนมีกาลังใจดี มีสภาพจิตใจมั่นคงเข้มแข็ง ในสมัย
โบราณ จึงให้ทาการสู่ข้าวเอาขวัญหรือฮ้องขวัญ พิธีกรรมในการสู่ข้าวเอาขวัญหรือฮ้องขวัญนั้น ปู่อาจารย์จะ
เป็นเจ้าพิธีหรือผู้ทาพิธี โดยนาบายศรีมาวางตรงหน้าผู้รับการเรียกขวัญ เพื่อปัดเคราะห์ไล่เสนียดจัญไร แล้ว

กล่าวประวัตผิ ู้ได้รับการทาบายศรีเรียกขวัญ ๓๒ ขวัญ มัดมือให้โอวาทแก่ผูร้ ับบายศรี แล้วอวยพร จากน้ันผู้รับ
บายศรีมอบของแกป่ ่อู าจารย์

นางละเอียด ปันแปง เป็นผู้มีความชื่นชอบในศิลปะพ้ืนบ้านหลายแขนงมาตั้งแต่เด็ก ฝักไฝ่ในการ
สืบสานศิลปะพื้นบ้านล้านนาหลายสาขา ช่วยเหลืองานกิจกรรมในชุมชน มาโดยตลอด มีความเช่ียวชาญด้าน
การประดษิ ฐ์บายศรที ุกชนิด โดยได้ศึกษาเรียนรสู้ บื ทอดมาต้ังแต่เป็นเด็กและ ปฏิบัตสิ ืบตอ่ เรือ่ ยมาจนถึงปัจจุบัน

๓.๒) ขน้ั ตอน/วธิ ีการ/ดาเนินการเกีย่ วกับขอ้ มูล

ข้ันตอน/วิธที ำ
1. เอาใบตองท่ีมีลกั ษณะแก่หรืออ่อนทส่ี ดุ เพราะจะทาใหเ้ วลาขดั น้ามันมะกอกมีสที เี่ งางาม
2. นาใบตองแลว้ ไปเช็ดทาความสะอาด แล้วนาตองไปแชใ่ นน้า
3. เอาใบตองมาฉีกใหเ้ ท่า ๆ กัน เพ่ือจะทาเปน็ รูปร่างตา่ ง ๆ ของบายศรี
4. หมนุ นิ้วแล้วใชท้ ่เี ยบ็ ลวดกระดาษเยบ็ และหมนุ น้วิ ตามขนาดทต่ี อ้ งการ
5. ใชล้ วดแนบกับใบตอง พับตามขนาดทต่ี อ้ งการ แลว้ นาไปแช่น้า โดยใช้ยาทันใจผสมกับนา้ มนั
มะกอก ยาทันใจ 1 - 2 ซอง นา้ มนั 1 ขวดเลก็ เทใส่รวมกนั
6. ตัดโฟมตามขนาดของพานแล้วก็เอาใบตองทที่ ามาประกอบเข้าด้วยกนั
7. เริ่มประกอบจากกลางขึน้ บน แลว้ นาพานอีกอันมาวางขา้ งบนนาโฟมทีต่ ดั มาใสพ่ าน จากนน้ั เอา
ใบตองมาประกอบเขา้ ดว้ ยกัน
8. พับใบตองไปในตัวเฉพาะ ไมต่ อ้ งแยกทา

9. พับใบตองในรูปลกั ษณะตา่ ง ๆ กอ่ นแล้วค่อยมาประกอบเข้าด้วยกนั ลักษณะของบายศรีแต่ละงาน

งานบวช จะเป็นดอกไม้สีขาว ดอกพุด งานแต่ง ดอกรักเปน็ หลัก และดอกดาวเรอื ง งานบวงสรวง ดอกไมส้ ีขาว

และดอกดาวเรอื ง ใช้เวลาการทา 2 วัน

-1๓๔-

วัสด/ุ อปุ กรณ์
- พานบายศรี
- โฟม
- ลวดเย็บกระดาษ
- ใบตอง
- ดอกไม้ตา่ ง ๆ

๔. ชื่อผทู้ ่ีถือปฏิบตั แิ ละผสู้ บื ทอด
๔.๑ ผู้ท่ีถอื ปฏบิ ัติ
ชอ่ื นางละเอยี ด ปันแปง
วัน เดือน ปีเกดิ 1 เมษายน 2478
ท่ีอยู่ 65 หมู่ 6 ตาบลเวยี งเหนือ อาเภอเวยี งชยั จังหวัดเชยี งราย
๔.๒ ผู้สบื ทอด
ชอื่ นางวันเพญ็ อุดมยศ
วนั เดือน ปีเกิด 3 มนี าคม 2496
ที่อยู่ 67 หมู่ 6 ตาบลเวียงเหนือ อาเภอเวยี งชยั จงั หวดั เชยี งราย
หมายเลขโทรศัพท์ 081 884 5509

๕. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏิบตั อิ ย่างแพรห่ ลาย  เสย่ี งต่อการสญู หาย  ไม่มปี ฏิบตั แิ ลว้

๖. รปู ภำพภมู ปิ ญั ญำทำงวัฒนธรรม/กิจกรรมทำงภูมิปัญญำทำงวฒั นธรรม

-1๓๕-

แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ญั ญำทำงวฒั นธรรมจงั หวัดเชยี งรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวัฒนธรรมจงั หวดั เชยี งรำย
อำเภอเวยี งชัย จังหวัดเชยี งรำย

๑. ชื่อข้อมลู ด้านประเพณีและวฒั นธรรม (บุญบง้ั ไฟ)

๒. ลกั ษณะ  วรรณกรรมพนื้ บ้านและภาษา

 ศิลปะการแสดง
 แนวปฏบิ ตั ิทางสังคมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล

 อาหาร/ความรู้และการปฏิบัตเิ ก่ยี วกับธรรมชาติและจักรวาล

 งานชา่ งฝมี ือดง้ั เดิม
 การละเลน่ พืน้ บา้ น กีฬาพน้ื บ้าน และศิลปะการต่อส่ปู ้องกนั ตวั

๓. รำยละเอียดข้อมลู
๓.๑) ประวัตคิ วามเปน็ มาของข้อมูล
นายทองใบ ตรธี วัช เกดิ เมื่อวันท่ี 22 ตลุ าคม 2505 ปจั จุบนั อายุ 59 ปี เปน็ บุตรนายบุญเรยี น -

นางไว ตรธี วชั อาศัยอยบู่ า้ นเลขท่ี 23 หมทู่ ่ี 1 บา้ นสมานมิตร ตาบลดอนศลิ า อาเภอเวียงชยั จงั หวัดเชียงราย
ประกอบอาชีพเกษตรกรรม เปน็ คนเชอ้ื สายอีสาน

นายทองใบ ตรีธวัช เกิดในชุมชนคนฮักอีสานท่ีมีวัฒนธรรมท่ีเป็นเอกลักษณ์ ไม่ว่าจะเป็นโปงลาง หรือ
จุดบั้งไฟ จึงได้เรียนรู้วิธีการทาบั้งไฟจากผู้ใหญ่บ้าน และได้หัดทาบั้งไฟมาเร่ือย ๆ ได้นามาจุดในงานบุญบ้ังไฟ
ของหมู่บ้านเป็นประจาทุกปี และยังมีการสืบทอดภูมิปัญญาท่ีตนได้เรียนรู้จากผู้มีประสบการณ์รุ่นก่อนให้แก่
เด็กในชุมชน นายทองใบซ่ึงได้รับการยอมรับจากคนในชุมชนว่าเป็นผู้มีภูมิปัญญาด้านการทาบั้งไฟ ถึงแม้จะมี
อายุไม่มากนัก แต่มีความต้องการท่ีจะอนุรักษ์ภูมิปัญญาท่ีเป็นของชาวอีสานเอาไว้ คิดว่าบ้ังไฟเป็นสิ่งท่ีใช้
สักการะเทวดาในการขอพรให้ฝนฟ้าตกต้องตามฤดูกาล สร้างความอุดมสมบูรณ์ให้แก่พืชพันธ์ุธญั ญาหารใหแ้ ก่
คนในพืน้ ที่ ซึง่ การจุดบ้งั ไฟเป็นประเพณีทีป่ ฏิบตั ติ ่อกนั มาหลายช่ัวอายุคนจงึ ควรสืบทอดไว้

๓.๒) ขัน้ ตอน/วธิ ีการ/ดาเนินการเกี่ยวกบั ข้อมลู
กำรทำบัง้ ไฟ วิธกี ำรถ่ำยทอดโดยสงั เขป
1. ประวตั บิ ั้งไฟ
บุญบัง้ ไฟ หรอื บญุ เดือนหก ทาเพ่ือเป็นการบูชาเทพยดาอารักษ์หลักบ้าน หลกั เมอื ง เพอ่ื ให้ทาไร่ทานา
ได้อุดมสมบูรณ์ และบูชาพญาแถนผู้ให้ฝนด้วยบั้งไฟ ความหมายบั้งหรือกระบอกที่ตอกด้วย หม่ือ หมายถึง
เอากามะถันประกอบดว้ ยดนิ ประสิวควั่ ผสมกับถ่านตาให้ละเอยี ดก่อนนาไปอดั แนน่
สาเหตุที่ทา เพื่อเป็นการสักการะบูชาพญาแถนซ่ึงคนลาวหรือคนไทยอีสานเชื่อว่าเป็นเทพเจ้าแห่งฝน
จุดบงั้ ไฟขน้ึ ไปบูชาเทพเจา้ องคน์ ี้แลว้ จะบันดาลใหฝ้ นตกลงมาตามฤดูและมปี ริมาณเพียงพอแก่การปลูกพืชพันธ์ุ
ธัญญาหารมีเรื่องเล่าว่าและบนสวรรค์ชนั้ ฟ้ามีเทพบุตรนามว่า วัสสกาลเทพบุตร เทพเจ้าองค์นี้เป็นผู้ดูแลน้าฟา้
น้าฝนจะตกหรือไม่ก็อยทู่ ี่เทพเจ้าองค์น้ี ใครทาถูกทาชอบท่านก็จะประทานน้าฝนให้ ถูกไม่ชอบ ท่านก็ไม่ให้ ส่ิง
ทท่ี ่านเทพเจา้ องค์นช้ี อบคือการบูชาไฟ ใครบูชาไฟถือวา่ บชู าทา่ นจะทาให้ฟา้ ฝนตกลงมาตามฤดูกาลอาศยั เหตุนี้
จึงพากนั ทาการบชู าไฟด้วยการทาบง้ั ไฟคือเปน็ ประเพณีทาบุญบ้ังไฟมาจนทุกวันน้ี

-1๓๖-

บั้ง แปลว่า ไมก้ ระบอก บัง้ ไฟเปน็ ดอกไม้เพลิงทาจากกระบอกไม้ไผ่ท่ีอัดดนิ ปืนเพื่อการจดุ ระเบดิ ให้พุ่ง
ข้นึ ไปในอากาศเปน็ การบวงสรวงพระยาแถนโดยมีขนาดท่นี ยิ มอยู่ 3 ขนาดคอื

1 บั้งไฟธรรมดา บรรจุดนิ ปนื ไมเ่ กิน 12 กโิ ลกรมั
2 บั้งไฟหมน่ื บรรจุดินปนื เกิน 12 กิโลกรมั
3 บงั้ ไฟแสนบรรจุดนิ ปนื ถงึ ขนาด 120 กโิ ลกรัม

2. สตู รกำรทำบง้ั ไฟ
2.1 บ้งั ไฟหำง เป็นบ้งั ไฟธรรมดาท่ีมเี ห็นกันอยู่ทัว่ ไป
วสั ดุ-อุปกรณ์
1. ดินประสวิ
2. ถ่าน
3. ท่อ PVC
4. ไม้ไผ่
5. ลวด
6. กาว
7. เชอื กฟาง
8. เครอ่ื งบด
วิธีทำ
1. จดั เตรยี มทอ่ PVC ตามขนาดท่ีเราต้องการ (2 นวิ้ ) ยาว 90 ซม.
2. ตัดไม้ไผ่นามาทาเป็นหางขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 3.5 cm ยาว 280 cm นามาใส่รางต้มจนสุก

เพ่อื ใหค้ วามเหนยี วและทนหลังจากน้ันกน็ าไปตากแดดใหแ้ หง้ ๆ
3. จัดเตรียมถ่านและดินประสิวในอัตราสว่ น ก็คือดินประสิว 4 กิโลกรัม ถ่าน 0.9 กิโลกรัม นามา

ผสมใหเ้ ข้ากันโดยถ่านต้องบดใหล้ ะเอยี ด ดนิ ประสิวเราจะใช้สวิงกรอง แล้วนาส่วนผสมท่ไี ดม้ าผสมให้เข้ากัน
4.นาสว่ นผสมทีไ่ ดไ้ ปอดั เขา้ ในท่อ PVC ทเี่ ตรยี มไว้
5. นาบัง้ ไฟที่อดั เสร็จแล้วมาเจาะรู
6. นาลวดมาติดหางทเี่ ตรยี มไวก้ บั บ้งั ไฟเป็นอนั เสร็จพรอ้ มจดุ
2.2 บั้งไฟปอกเปลือก เป็นบ้ังไฟท่ีไม่มีบั้ง มีแต่ส่วนผสมที่อัดเรียบร้อยแล้วผูกติดกับหางเม่ือจุด

ขึ้นไปแลว้ จะเหลือเพยี งหางทจี่ ะหลน่ ลงมาสู่พ้นื
วัสดุ-อุปกรณ์
1. ดนิ ประสิว
2. ถา่ น
3. ทอ่ PVC ขนาด 3 นวิ้
4. ลวด
5. กาว
6. เชือก
7. ตดั ไมไ้ ผ่นามาทาเป็นหาง ขนาดเสน้ ผ่าศนู ยก์ ลาง 4 ซ.ม. ยาว 350 ซ.ม.
8. กระทะ
9. เคร่อื งบด

-1๓๗-

วิธที ำ
1. จดั เตรยี มทอ่ PVC ตามขนาดที่เราตอ้ งการ (3 น้วิ ) ยาว 100 ซม.
2. ตัดไม้ไผ่นามาทาเป็นหางขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 4 cm ยาว 350 cm นามาใส่ รางต้มจนสุก
เพอ่ื ใหค้ วามเหนยี วและทนหลงั จากน้ันก็นาไปตากแดดใหแ้ ห้งๆ
3. ตวงสว่ นผสมของดนิ ประสวิ และถา่ น คือ 1 ต่อ 3 ตามลาดบั แต่อย่าผงึ่ นามาผสมกัน จดั เตรยี ม
ถา่ นและดนิ ประสวิ ในอตั ราส่วน กค็ อื ดินประสิว 4 กิโลกรัมถ่าน 0.9 กิโลกรมั นามา ผสมใหเ้ ขา้ กันโดยถ่านตอ้ ง
บดให้ละเอยี ด ดนิ ประสวิ เราจะใชส้ วิงกรอง แลว้ นาสว่ นผสมที่ ได้มาผสมใหเ้ ข้ากนั
4. นากระทะมาใสน่ า้ มาตง้ั ไฟจนเดอื ดแล้วนาดนิ ประสิวลงไป
5. เมื่อดินประสิวละลายหมดแล้ว เรากน็ าถ่านที่เตรยี มไวล้ งไปพร้อมลดไฟลง
6. ทาให้สว่ นผสมนน้ั เข้ากันจนนา้ เกือบแห้งแล้วปิดไฟ นาสว่ นผสมนั้นไปตากใหแ้ ห้ง
7. นาส่วนผสมนนั้ มาบดให้ละเอียด ภาคอีสานเรียกว่า “ขี้เกยี สุก”
8. นาส่วนผสมน้นั มาอัดเข้าในท่อ PVC ท่เี ตรียมเอาไว้
9. นาบ้งั ไฟมาเจาะรู หลังจากนัน้ กใ็ ช้มีดผ่าท่อ PVC ออก
10. นามาตดิ หางเปน็ อันเสรจ็ พรอ้ มจุด

๔. ชอ่ื ผทู้ ่ีถอื ปฏิบตั ิและผูส้ บื ทอด

๔.๑ ผูท้ ถ่ี ือปฏิบตั ิ

ชอ่ื นายทองใบ ตรีธวัช

วัน เดอื น ปีเกดิ 22 ตลุ าคม 2505

ท่อี ยู่ 23 หมูท่ ี่ 1 บ้านสมานมิตร ตาบลดอนศลิ า อาเภอเวยี งชยั จงั หวดั เชียงราย

๕. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏิบัติอยา่ งแพร่หลาย  เสย่ี งต่อการสญู หาย  ไมม่ ีปฏบิ ตั ิแลว้

๖. รปู ภำพภมู ิปัญญำทำงวัฒนธรรม/กจิ กรรมทำงภูมปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม

-1๓๘-

แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ญั ญำทำงวฒั นธรรมจังหวดั เชยี งรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวัฒนธรรมจงั หวดั เชยี งรำย

อำเภอพญำเมง็ รำย จังหวดั เชยี งรำย

๑. ชื่อข้อมลู ตานกว๋ ยสลากบ้านหว้ ยกา้ งรัฐ

๒. ลกั ษณะ  วรรณกรรมพนื้ บ้านและภาษา
 ศลิ ปะการแสดง
 แนวปฏบิ ตั ิทางสังคมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรู้และการปฏบิ ัตเิ กีย่ วกับธรรมชาตแิ ละจักรวาล
 งานช่างฝมี ือด้งั เดมิ
 การละเล่นพน้ื บา้ น กีฬาพืน้ บ้าน และศิลปะการต่อสู่ป้องกันตวั

๓. รำยละเอยี ดขอ้ มลู

๓.๑) ประวัติความเป็นมาของข้อมูล
ประเพณีตานก๋วยสลาก เป็นประเพณีท่ีมีมาต้ังแต่ครั้งพุทธกาลได้มีการปฏิบัติสืบต่อกันมายาวนาน
เร่ืองเล่ามีอยู่ว่า มนี างยักษิณีตนหนึ่งมกั จะเบยี นเบียนผ้คู นอยเู่ สมอ ครน้ั ไดฟ้ ังพระธรรมคาสอนของพระพุทธเจ้า
แล้วนางก็บังเกิดความเล่ือมใสศรัทธา นิสัยใจคอท่ีโหดร้ายก็กลับเป็นผู้เอื้อารีแก่คนทั่วไปจนผู้คนต่างพากัน
ซาบซง้ึ ในไมตรขี องนางยกั ษิณตี นน้ัน ถึงกับนาสงิ่ ของมาแบ่งปันให้ แต่เนื่องจากสง่ิ ของที่ไดร้ บั มจี านวนมาก นาง
ยักษิณีจึงนาสิ่งของเหล่านั้นมาทาเป็นสลากภัต แล้วให้พระสงฆ์/สามเณร จับสลากด้วยหลักอุปโลกนกรรม คือ
ส่งิ ของทถี่ วายมีทั้งของมีราคามากและมรี าคาน้อยแตกต่างกนั ไปตามแตโ่ ชคของผู้ได้รบั การถวายแบบจบั สลาก
ของนางยกั ษิณี จึงนับเปน็ ครั้งแรกของประเพณที าบญุ สลากภตั ในพระพุทธศาสนา
ประเพณีตานก๋วยสลาก เป็นการถวายทานโดยไม่เจาะจงผู้รับ จะทากันต้ังแต่วันเพ็ญเดือน 12 เหนือ
(ขนึ้ 15 คา่ เดือน 10 ใต้) จนถึงเดือนเกี๋ยงดบั (แรม 15 คา่ เดือน 11 ใต้)
ประเพณีตานก๋วยสลากภัต เป็นประเพณีในพระพุทธศาสนาท่ีสาคัญอย่างหนึ่งในล้านนาไทย
ซง่ึ สบื เน่อื งมาจากค่านยิ มท่ีสืบทอดมาชา้ นาน คือ
1. ประชาชนวา่ งจากภารกจิ การทานา
2. ประชาชนหยดุ พักไมเ่ ดนิ ทางไกลเพราะเป็นฤดุฝน
3. พระสงฆ์จาพรรษาอยูอ่ ย่างพรกั พรอ้ ม
4. ผลไม้มากและกาลังสุก เช่น สม้ โอ ส้มเกลีย้ ง กล้วย ออ้ น ฯลฯ
5. ไดโ้ อกาสสงเคราะหค์ นยากจน เป็นสังฆทาน
6. ถือวา่ มอี านิสงส์แรง คนทาบุญจะมโี ชคลาภ
7. มีโอกาสหาเงินและวัสดบุ ารุงวดั ก๋วยสลาก แบง่ เป็น 2 ประเภท คือ

- สลากน้อย หรือ กว๋ ยเลก็ ใช้อุทิศแด่ผตู้ าย หรือเปน็ กุศลมากข้ึน
- สลากก๋วยใหญ่ หรือ สลากโชค หรือเป็นสลากท่ีบรรจุในก๋วยใหญ่ใช้เป็นมหากุศลสาหรับบุคคล
ทมี่ ีกาลงั ศรทั ธา และมเี งนิ ทองมาก ทาถวายเพื่อเป็นปัจจยั ภายหนา้ ให้มีบุญกศุ ลมากข้ึน

-1๓๙-

๓.๒) ขั้นตอน/วธิ ีการ/ดาเนินการเกย่ี วกับขอ้ มลู
พธิ ีกรรมทีจ่ ดั ทาในประเพณีตานก๋วยสลาก มี 2 วัน คือ
1. วันก่อนทาพิธตี านกว๋ ยสลาก 1 วนั เรียกวา่ วันดา เป็นทช่ี าวบ้านตา่ งก็จัดเตรยี มสงิ่ ของเพ่ือนามาใส่
ในก๋วยสลาก (ชะลอม) โดยผู้ชายจะตัดไม้มาจักตอกเพ่ือสานก๋วยสลาก (ชะลอม) ไว้หลายๆ ใบตามศรทั ธากาลังทรพั ย์
ส่วนผู้หญิงจะจัดเตรียมสิ่งของที่จะนามาใส่ในก๋วยสลาก เช่น ข้าวสาร พริกแห้ง หอม กระเทียม เกลือ กะปิ
น้าปลา ขนม เมี้ยงบุหร่ี ไม้ขีดไฟ เทียนไข สีย้อมผ้า ผลไม้ รวมท้ังเครื่องใช้ต่างๆ แล้วบรรจุใส่ลงในก๋วยสลาก
ท่ีกรุด้วยใบตอง ใบหมากผู้ หมากเมีย ใส่ยอดเงิน คือ ธนบัตรผู้ติดไม้เสยี บไว้ในก๋วยให้ส่วนยอดหรือธนบตั รโผล่
ออกมาพ้นก๋วย แล้วรวบปากก๋วยสลาก ตกแต่งด้วยดอกไม้ “ยอด” หมายถึงธนบัตรท่ีใส่น้ันไม่จากัดว่าจะเป็น
จานวนเท่าใด ส่วนสลากโชคหรือสลากก๋วยใหญ่ ส่ิงของท่ีจะนาบรรจุใส่ในก๋วยเช่นเดียวกับสลากน้อย
แต่ปริมาณมากกว่าหรือพิเศษกว่า สมัยก่อนจะทาเป็นรูปเรือหลังเล็กมีข้าวของเครื่องใช้ต่าง ๆ เช่น หม้อข้าว
หม้อแกง ถ้วยแกง ถ้วยชาม เคร่ืองนอน เครื่องนุ่งห่ม อาหารสาเร็จรูป มีต้นกล้วย ต้นอ้อย ผูกติดไว้ “ยอด”
หรือธนบัตรจะใส่มากกว่า สลากน้อย กว๋ ยสลากทุกอนั ต้องมี “เส้นสลาก” ซงึ่ ทาจากใบลาน ปัจจุบันใชก้ ระดาษ
มาตดั เป็นแผ่นยาวๆ เขยี นชอ่ื เจ้าของกว๋ ยไว้ และยงั บอกอกี ว่าจะอุทิศไปให้ใคร เช่น สลากข้างซองน้ี หมายถึงผู้
ข้า นาย/นาง...ขอตานไปถึงกับตนภายหน้า (ถวายส่ิงของเพื่อเป็นกุศลแก่ตนเองเม่ือล่วงลับไปแล้ว ” และอีก
แบบหน่ึง คือ สลากข้างซองนี้ หมายถึง ผู้ข้า นาย/นาง...ขอตานไปถึงนาย/นาง...(ช่ือผู้ตาย) ผู้เป็น...(ความ
เกี่ยวข้องกับผู้ให้ตาน) ที่ล่วงลับไปแล้ว ในวันตานสลาก จะมีญาติพ่ีน้องเพ่ือนฝูงจากต่างหมู่บ้านท่ีรู้จักกัน
มารว่ มทาบญุ ด้วย โดยนาเงินหรือผลไม้ มาร่วมทาบญุ กบั เจ้าของบา้ นทตี่ านก๋วยสลากด้วย
2. วันตานสลาก ชาวบ้านนาก๋วยสลากท่ีจัดทาแล้วไปวัด และเอา “เส้นสลาก” ท้ังหมดไปรวมกัน
ที่หน้าพระประธานในวิหาร จะมีการฟังเทศน์อย่างน้อย 1 กันณฑ์ โดยมีผู้รวบรวมสลากมักจะเป็นมัคทายก
(แก่วัด) นาเส้นสลากทั้งหมดมารวมกันแล้วแบ่งเส้นสลากท้ังหมด เป็น 3 ส่วน (กอง) ส่วนหนึ่งเป็นของพระเจ้า
(ของวดั ) อกี 2 สว่ น เฉลยี่ ไปตามจานวนพระภิกษสุ ามเณรทน่ี ิมนต์มารว่ มในงานทาบุญ หากมีเศษเหลือมักเป็น
ของพระเจ้า (วัด) ทั้งหมด พระภิกษุสามเณรเมื่อได้ส่วนแบ่งแล้ว จะยึดเอาชัยภูมิแห่งหนึ่งในวัดและออกสลาก
คือ อ่านชื่อเส้นสลากดังๆ หรือให้ลูกศิษย์ (ขะโยม) ที่ได้ตะโกนตามข้อความท่ีเขียนไว้ในเส้นสลากหรือ
เปลี่ยนเป็นคาสั้นๆ เช่น ศรัทธา นายแก้ว นามวงศ์ มีน่ีเน้อ บางรายจะหิ้ว “ก๋วย” ไปตามหาเส้นสลากของตน
ตามลานวัด เมื่อพบสลากของตนแล้วก็จะนาไปถวายพระสงฆ์ พระสงฆ์จะอ่านข้อความในเส้นสลากและ
อนุโมทนาให้พรแล้วคืนเส้นสลากนั้นให้เจ้าของสลากไป เจ้าของสลากจะนาไปรวมกันในวิหาร เมื่อเสร็จแล้ว
มัคทายกวัด (แกว่ ัด) จะนาเอาเสน้ สลากน้ันไปเผาทงิ้ เสีย ถือเป็นอนั เสร็จพิธกี รรม ตานกว๋ ยสลาก ประจาปี

๔. ชือ่ ผู้ที่ถือปฏิบตั ิและผ้สู บื ทอด

๔.๑ ผทู้ ถ่ี อื ปฏบิ ัติ

ช่อื คนในชุมชนบา้ นหว้ ยกา้ งรฐั หมู่ 6

วัน เดือน ปีเกิด -

ท่ีอยู่ หมู่ 6 ตาบลไม้ยา อาเภอพญาเมง็ ราย จังหวัดเชยี งราย

หมายเลขโทรศัพท์ -

๔.๒ ผู้สืบทอด

ชือ่ คนในชุมชนบ้านหว้ ยกา้ งรฐั หมู่ 6

วัน เดอื น ปเี กดิ -

ท่ีอยู่ หมู่ 6 ตาบลไม้ยา อาเภอพญาเม็งราย จังหวัดเชยี งราย

หมายเลขโทรศัพท์ -

๕. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏบิ ัติอยา่ งแพรห่ ลาย  เสีย่ งตอ่ การสูญหาย  ไม่มีปฏิบตั ิแล้ว

-1๔๐-
๖. รูปภำพภูมปิ ญั ญำทำงวัฒนธรรม/กจิ กรรมทำงภูมปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม

-1๔๑-

แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ัญญำทำงวัฒนธรรมจังหวดั เชยี งรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวฒั นธรรมจงั หวัดเชยี งรำย
อำเภอแม่ลำว จงั หวดั เชยี งรำย

๑. ช่ือข้อมูล ตาพย่านาเจ่อ นาบทือ ยา่ ง (ความเชอ่ื ในเรื่องการนับถือหอเสื้อบา้ น)

๒. ลกั ษณะ  วรรณกรรมพ้นื บา้ นและภาษา
 ศลิ ปะการแสดง
 แนวปฏิบตั ิทางสังคมพิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรู้และการปฏบิ ตั เิ กยี่ วกบั ธรรมชาติและจักรวาล
 งานช่างฝมี อื ดั้งเดิม
 การละเล่นพ้นื บา้ น กีฬาพื้นบา้ น และศลิ ปะการตอ่ สปู่ ้องกนั ตัว

๓. รำยละเอียดขอ้ มลู

๓.๑) ประวัติความเป็นมาของขอ้ มลู
ชนเผ่าพื้นเมืองบีซูในอดีตนั้น เป็นชนเผ่าท่ีนับถือผีบรรพบุรุษ โดยมีความเชื่อเก่ียวกับพิธีไหว้ผีบรรพบุรุษ
สืบทอดมา แม้ปัจจุบันเป็นกลุ่มชาติพันธุ์หน่ึงท่ีนับถือพุทธศาสนาอย่างเคร่งครัดแต่ก็ยังมีพิธีกรรมเก่ียวกับการไหว้
ผีบรรพบุรุษอยูเ่ ชน่ เดิม
ความเชื่อในเรื่องการนับถือหอเสื้อบ้าน ชาวบีซูมีการนับถือหอเส้ือบ้านโดยมีความเช่ือว่ามีความศักดิ์สิทธิ์
สามารถช่วยดูแลรักษาให้คนเราอยู่รอดปลอดภัย เช่น บ่าวสาวท่ีแต่งงานได้ลูกคนแรกก่อน ต้องถวายหมู ๑ ตัว
ท่ีหอเส้ือบ้านเพ่ือขอพรให้ลูกท่ีเกิดออกมาให้มีร่างกายสมบูรณ์ แข็งแรง มีสติปัญญาที่ดีและมีร่างกายครบท้ัง
๓๒ ประการ ให้ดูแลเล้ียงดูง่ายหรือเวลาทีลูกหลานไปเรียนหนังสือต่างจังหวัดต้องไปไหว้หอเส้ือบ้านท่ีบ้านปู่ต้ัง ซึ่ง
เปน็ ผูด้ แู ลหอเสื้อบ้าน เพ่อื ใหเ้ ดินทางมีความปลอดภัย และโชคดีเวลาออกไปทางานต่างจังหวัดต้องขอพรเหมือนกัน
เพ่ือให้เดินทางโดยมีความปลอดภัยไปทางานให้ประสบความสาเร็จมีความเจริญรุ่งเรืองนอกจากน้ันในปีหน่ึง
ชาวบ้านก็ต้องมีการถวาย ๓ คร้ัง คือ เดือน ๔ หน่ึงคร้ัง เดือน ๘ หนึ่งคร้ัง เดือน ๑๒ หนึ่งครั้งโดยจะมีการถวายไก่
สรุ าขาว ขา้ วต้มมดั ผลไม้ และของหวาน

๓.2) ข้นั ตอน/วิธีการ/ดาเนินการเก่ียวกับขอ้ มูล

กำรจดั ต้ังหอเส้ือบ้ำน
๑) การเสย่ี งทายเพอื่ เลือกสถานทส่ี รา้ งหอ
- การเสีย่ งทายเพ่อื คัดเลอื กสถานทีจ่ ัดตงั้ หอเส้ือบ้านนั้น ผทู้ ีจ่ ะเสยี่ งทายต้องเป็นผู้เฒา่ ผ้แู ก่ในหมู่บา้ น
- กอ่ นทจ่ี ะทาการเส่ียงทายตอ้ งจดั เตรียมข้าวเปลอื กเมลด็ ท่ีสมบรู ณใ์ ส่ภาชนะ
- จากน้นั ยกขึ้นเหนือหัวเพ่ือตัง้ สจั จะอธษิ ฐานถามปพู่ ญาแต่ละทศิ วา่ ปู่พญาชอบอยูท่ ิศไหน
- เอาขนั ที่ใส่เมล็ดพนั ธุข์ า้ วยกขึ้นเหนือหัว ถ้าชอบทิศใดใหเ้ ก็บเมลด็ พันธ์ุข้าวได้เป็นคู่ เก็บได้ ๔ คู่
ก็ถือวา่ ตามน้ัน
๒) ลกั ษณะของหอเสือ้ บ้าน

๒.๑ หอเสื้อบา้ นหอใหญ่
- การสร้างหอเสื้อบา้ นหอใหญ่ ในสมยั ก่อนทาด้วยเสาไม้เนือ้ แข็ง นอกนัน้ ก็เป็นไม้ไผ่ เสาทใ่ี ชใ้ น

การสร้าวหอเสอ้ื บ้านหอใหญจ่ ะใช้เสา ๖ ต้น หลงั คามงุ ด้วยหญ้าคา แตใ่ นสมยั ปจั จบุ ันเปลย่ี นเป็นเสาปูน ๘ ต้น
หลังคามุงด้วยกระเบ้อื ง ส่วนพนื้ เทปนู ทงั้ หมด

- ห้งิ คอื ทว่ี างของใชส้ อยของปูพ่ ญาโดยยกพ้ืนขึน้ สูง ถัดต่าลงมาคือทนี่ ัง่ ของปู่ต้ัง และถัดลงมา
อีกชนั้ เปน็ พื้นทนี่ ่ังของชาวบา้ น

-1๔๒-

- ของใช้ทว่ี างบนหงิ้ ของปู่พญา มีหมอน เสื่อ ขนั ใสห่ มากพลู แจกันดอกไม้ และนา้ ต้น (ภาชนะ
ใสน่ ้าคลา้ ยคนโท)

- ของกนิ ทถ่ี วายหอเสื้อบ้านมี หมาก เมย่ี ง บุหร่ี น้า ข้าว อาหาร ผลไม้ ขา้ วตม้ และขนม
๒.๒ หอเสือ้ บ้านหอเลก็

- การสร้างหอเส้ือบ้านหอเล็กสมัยก่อน ทาด้วยเสาไม้เนื้อแข็ง นอกน้ันจะเป็นไม้ไผ่ เสาท่ีใช้ใน
การสร้างหอเสื้อบ้านหอเล็กจะใช้เสา ๔ ต้น ยกพ้ืน หลังคามุงด้วยหญ้าคา แต่ปัจจุบันเปลี่ยนเป็นเสาปูน ๔ ต้น
หลงั คามุงดว้ ยกระเบ้ือง

- ของทเี่ ป็นบรวิ ารอยใู่ นหอเส้ือหอเลก็ มี รปู ปั้น ตา ยาย นางรา และมา้ สีขาว ๒ ตวั
- ของกินทีถ่ วายหอเสือ้ บ้านหอเล็กมี ข้าว ไกต่ ม้ ๑ ตวั ขนม ของหวาน และผลไม้
เทพทสี่ ถิตในหอเสื้อบ้ำน
1. อางจาว คอื ปู่พญา ทาหนา้ ทป่ี กปอ้ งรักษาดแู ลชาวบา้ นไมใ่ ห้มอี นั ตรายเกิดข้นึ กบั ชาวบา้ น
2. ปู่ล่าม คือ เสนาขาวของหอเสื้อบ้าน ทาหน้าที่เป็นคนเลี้ยงม้าของปู่พญาของหอเสื้อบ้านใหญ่ (หอเล็ก)
3. อู่ม คือ เสนาซ้ายของปพู่ ญา ทาหนา้ ทีด่ ูแลรักษาเขอ่ื นบา้ นทางทศิ ตะวันตกเฉยี งใต้
4. แดนแก้ว คือ เขื่อนบ้านอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ทาหน้าที่ปกป้องดูแลรักษาไม่ให้สิ่งช่ัวร้ายเข้า
มาในหมบู่ า้ น
ปูต่ ้ัง (ผ้ปู ระกอบพิธกี รรม)
- ปู่ตัง้ คือ ผูน้ าการทาพิธไี หวเ้ จา้
- ลักษณะของปู่ตัง้ จะต้องเป็นคนท่ีนา่ เช่อื ถอื และเป็นคนชนเผ่าบซี ูเท่านัน้
- วิธีการจัดหาเสีย่ งทาย คอื ให้ชาวบ้านเสนอช่อื คนในหมบู่ ้านบีซมู าประมาณ ๓ – ๔ คน โดยการ
เสย่ี งทายเก็บเมล็ดขา้ ว ให้ปตู่ ้ังเปน็ คนเสี่ยงทาง ถามอังจาวว่า ชอบอยู่กับคนไหน ถ้าชอบ ต้องเกบ็ เมล็ดข้าวให้
ได้ ๔ คเู่ ทา่ นั้น ถา้ ไดช้ ่อื ใคร คนนน้ั จะต้องยอมรบั เป็นป่ตู ั้งคนใหม่
- หน้าทีข่ องปตู่ ัง้ ปพู่ ญา คอื เป็นผ้ดู ูแลสถานทหี่ อเสื้อบ้าน เปลย่ี นน้าทกุ วันพระ เปลย่ี นแจกันดอกไม้
และถวายผลไมท้ ุกวันพระ
- ช่วงเขา้ พรรษาทุก ๆ วนั พระ จะต้องอันเชิญอังจาวไปวัด โดยในตอนเชา้ ชาวบา้ นจะเอาขา้ ว อาหาร
ขนม ผลไม้ และกรวยดอกไม้ เอาไปใสใ่ นตะกรา้ ของปู่พญา และปูต่ ั้งจะเอาของทีช่ าวบ้านใส่ในตะกรา้ ไว้เอาไป
ถวายให้ปพู่ ญา ตลอดระยะเวลา ๓ เดอื นช่วงเข้าพรรษา
ปู่ตั้ง เป็นบุคคลสาคัญในการประกอบพิธีไหว้อังจาวไว หรืออางจาวไว และเป็นผู้นาทางจิตวิญญาณที่สืบ
ทอดทางสายตระกูล ปัจจุบันชาวบีซูมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับคนภายนอก และยอมรับวัฒนธรรมภายนอก จึง
เกิดการเปลี่ยนแปลงและผสมกลมกลืนทางวัฒนธรรม การปฏิบัติตามพิธีกรรมด้ังเดิมเริ่มเลือนหาย ระบบ
ความสัมพันธ์ทางเครือญาติ-สายตระกูลเร่ิมเลือนราง การผสมกลมกลืนทางวัฒนธรรมที่เกิดข้ึน จึงไม่ใช่เรื่อง
การสูญเสียความเป็นตัวตนและอัตลักษณ์ทางชาติพันธข์ุ องบีซู แต่การยอมรับตัวตนวา่ เราคือบีซู ของคนรุ่นใหม่
จะเปน็ สง่ิ บ่งชคี้ วามเปราะบางวา่ ความเป็นบซี ูจะยังคงอยู่หรอื ไม่อยา่ งไร
ชาวบีซูจะมีการประกอบพิธีปีละ ๓ คร้ัง คือ เดือน ๔ (กุมภาพันธ์) เดือน ๘ (มิถุนายน) และเดือน ๑๒
(ตุลาคม) นอกจากการไหว้อังจาวปีละ ๓ ครั้งแล้ว เมื่อผู้หญิงบีซูตั้งท้องลูกคนแรก จะต้องถวายหอเส้ือบ้าน
ก่อนวันถวายหอเสื้อบ้าน ๑ วัน คนในบ้านต้องไปตัดไม้อ้อ นามาตัดเป็นท่อนๆ ตามปล้อง ตามจานวนครัวเรือน
ท่ีมีอยู่ในหมู่บ้าน จานวนครัวเรือนละ ๒ ปล้อง ปล้องแรกบรรจุทรายจนเต็ม และปล้องท่ี ๒ ใส่น้าให้เต็ม พอถึง
ตอนกลางคืนเวลาประมาณ ๒๐.๐๐ – ๒๑.๐๐ น. ก็จะนาปล้องท่ีใส่ทรายออกมาโปรยลงที่หน้าบ้านและนา
ปล้องที่ใส่น้าไปเทที่หน้าบ้านทุกครัวเรือน เม่ือโปรยทรายและเทน้าเสร็จก็จะบีบปล้องไม้อ้อจนแตกแล้วทิ้งไว้
หน้าบ้านของทุกครัวเรือน วันรุ่งขึ้นที่ถวายหอเสื้อบ้าน เตรียมหมู ๑ ตัว พร้อมเคร่ืองปรุงและผลไม้ ขนม ของหวาน
ข้าวต้มมัดนาไปท่ีหอเส้ือบ้านใหญ่ ปู่ต้ังก็จะบอกกล่าวกับอังจาวว่า วันน้ีเป็นวันดีมีหมูมาถวายให้คนที่ต้ังท้อง
มีความสุข มีลูกก็ขอให้ลูกคลอดออกมาครบ ๓๒ ประการ ขอให้ได้เลี้ยงเด็กง่ายๆ มีสุขภาพร่างกายแข็งแรง
ตอนคลอดก็ขอให้คลอดลูกออกมาปลอดภัย จากนั้นก็ฆ่าหมู ช่วยกันชาแหละ แล้วนาเน้ือหมูไปลาบและแกง
ก่อนที่จะถวายแกงหมูและลาบหมูจะต้องนาผลไม้ ข้าวต้มมัด ของหวานถวายก่อน แกงหมูสุกและลาบหมูเสรจ็
แล้วจงึ นาไปถวาย และยกผลไม้ ข้าวตม้ มดั และของหวานออกนามาให้ชาวบา้ นรบั ประทาน

-1๔๓-

๔. ชื่อผทู้ ่ีถือปฏิบัตแิ ละผู้สบื ทอด

๔.๑ ผู้ท่ีถอื ปฏิบัติ นายคามา วงค์ลวั ะ
ช่อื -
วนั เดือน ปีเกิด
ทอ่ี ยู่ หมู่ ๗ ตาบลโปง่ แพร่ อาเภอแมล่ าว จงั หวดั เชียงราย
หมายเลขโทรศัพท์ ๐๖๕ ๖๔๗ ๑๐๘๔

๔.๒ ผสู้ ืบทอด คนในชนเผ่าบซี ู สว่ นปู่ตง้ั หรอื ผปู้ ระกอบพธิ กี รรมตอ้ งสืบทอดทางสายตระกูล
ชื่อ -
วัน เดือน ปเี กิด
ทีอ่ ยู่ หมู่ ๗ ตาบลโป่งแพร่ อาเภอแมล่ าว จังหวดั เชียงราย
หมายเลขโทรศัพท์ -

5. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏิบัตอิ ย่างแพรห่ ลาย  เส่ยี งต่อการสูญหาย  ไมม่ ปี ฏิบตั แิ ลว้

6. รปู ภำพภมู ิปัญญำทำงวัฒนธรรม/กิจกรรมทำงภูมปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม

พิธไี หว้อังจาวไว หรืออางจาวไว (การนบั ถือหอเสื้อบ้าน)
การจัดเตรยี มของไหว้

ชาวบา้ นจัดเตรียมไกเ่ พ่ือนามาถวาย ลักษณะของหอเสอื้ บา้ นเล็ก

-1๔๔-

แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ญั ญำทำงวฒั นธรรมจงั หวดั เชียงรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวัฒนธรรมจงั หวดั เชยี งรำย
อำเภอขนุ ตำล จังหวัดเชยี งรำย

๑. ชื่อข้อมูล บายศรสี ู่ขวัญ สง่ เคราะห์

๒. ลกั ษณะ  วรรณกรรมพื้นบ้านและภาษา
 ศิลปะการแสดง
 แนวปฏิบัตทิ างสังคมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล

 อาหาร/ความรู้และการปฏบิ ตั ิเกีย่ วกบั ธรรมชาติและจกั รวาล

 งานช่างฝีมอื ดั้งเดมิ

 การละเลน่ พ้ืนบ้าน กีฬาพน้ื บา้ น และศลิ ปะการต่อสปู่ ้องกันตัว

๓. รำยละเอียดขอ้ มูล
๓.๑) ประวัตคิ วามเปน็ มาของขอ้ มลู
พิธีกรรม คือวัฒนธรรม ประเพณีคนเมืองเหนือที่ปฏิบัติสืบต่อกันมาต้ังแต่บรรพบุรุษ เป็นความเชื่อ

ความศรัทธา ในพิธีกรรมนั้น ๆ อันจะทาให้เกิดขวัญ กาลังใจ ที่ดีกับตนเองและครอบครัว ชุมชน เช่น การสืบชะะตา

การบายศรีสูข่ วัญ การสะเดาะเคราะห์ การบชู าเทยี น การหาฤกษ์หายามดีขน้ึ บา้ นใหม่ งานแต่งงาน เป็นต้น

๓.2) ข้ันตอน/วธิ ีการ/ดาเนินการเกี่ยวกบั ข้อมลู

๔. ชอ่ื ผทู้ ่ีถอื ปฏิบตั แิ ละผสู้ บื ทอด -
๔.๑ ผ้ทู ีถ่ อื ปฏิบัติ -
ชอ่ื -
วัน เดอื น ปเี กิด -
ท่ีอยู่
หมายเลขโทรศัพท์ -
๔.๒ ผสู้ ืบทอด -
ชือ่ -
วนั เดือน ปเี กดิ -
ท่ีอยู่
หมายเลขโทรศัพท์

๕. สถานะการคงอยู่  ปฏบิ ตั อิ ยา่ งแพรห่ ลาย  เสี่ยงตอ่ การสญู หาย  ไมม่ ีปฏิบัตแิ ลว้

๖. รปู ภาพภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม/กจิ กรรมทางภูมปิ ัญญาทางวฒั นธรรม

- ไม่มี -

-1๔๕-

แบบสำรวจมรดกภมู ิปญั ญำทำงวัฒนธรรมจังหวดั เชยี งรำย ประจำปี ๒๕๖5
สภำวัฒนธรรมจงั หวดั เชยี งรำย

อำเภอเวยี งเชียงร้งุ จังหวดั เชียงรำย

๑. ชื่อข้อมูล บายศรีสู่ขวญั งานแต่งงาน

๒. ลักษณะ  วรรณกรรมพ้นื บา้ นและภาษา
 ศลิ ปะการแสดง
 แนวปฏิบตั ทิ างสงั คมพิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรแู้ ละการปฏบิ ตั เิ กีย่ วกบั ธรรมชาตแิ ละจักรวาล
 งานชา่ งฝมี อื ด้ังเดมิ
 การละเล่นพ้นื บ้าน กีฬาพ้ืนบ้าน และศลิ ปะการตอ่ ส่ปู ้องกนั ตัว

๓. รำยละเอียดขอ้ มูล
๓.๑) ประวตั คิ วามเปน็ มาของขอ้ มูล
พิธีบายศรีสู่ขวัญงานแต่งงาน ของชาวอีสาน เป็นพิธีปฏิบัตทิ างสังคม พิธีกรรม ของชาวอีสาน โดยการ

สูข่ วญั เมื่อจบพธิ ีญาติๆ จะโยนข้าวสารโรยดอกดาวเรืองใสบ่ ่าวสาวท่ีนง่ั คกุ เข่าจับพาขวญั (พานบายศรี) ไขว้กัน
อยู่เพื่อความเป็นสิริมงคลและเจริญงอกงาม สุดท้ายหมอสูตรจะปอกเปลือกไข่ต้มในพานขวัญแล้วผ่ากลางเพื่อ
ทานายคู่บ่าวสาว เช่น อยู่ร่มเย็นเป็นสุข ร่ารวย มีลูกชายหรือลูกสาว ฯลฯ แล้วจึงให้บ่าวสาวกินไข่คนละคร่ึง
ลาดับต่อมา พ่อแม่และญาติผู้ใหญ่จะนาฝ้ายจากพาขวัญมาผูกเงินแล้วไปผูกข้อมือบ่าวสาวอีกทีพร้อมกับอวย
พรเพ่ือรับขวัญ ส่วนทางบ่าวสาวก็ต้องเตรียมของมอบกลับให้ด้วย ซ่ึงนิยมมอบเสื่อผูกติดกับหมอน หากญาติ
เยอะก็เตรียมไว้ให้เฉพาะญาติอาวุโส ส่วนญาติท่ีเหลือก็ไหว้ขอบคุณตามปกติ เม่ือเสร็จส้ินแล้วจึงเป็นพิธีส่งตัว
เข้าหอ และเล้ยี งอาหารรบั รอง

พธิ ีส่ขู วัญนั้นเปน็ พธิ ีท่จี ะต้องกระทาโดยหมอสูตรหรือหมอพราหมณ์ ซงึ่ จะทาการสวดอวยพรให้แก่บ่าว
สาว บ่าวสาวจะต้องนงั่ เคยี งค่กู ัน โดยเจ้าสาวจะนง่ั ทางฝ่ังซา้ ยของเจ้าบา่ ว เมื่อสวดเรยี บร้อยหมอสูตรหรือหมอ
พราหมณ์จะนาไข่ต้มบนยอดพาขวัญ (บายศรี) มาแบ่งคร่ึงเพื่อให้บ่าวสาวกินกันคนละคร่ึงฟอง เรียกว่า ‘ไข่
ทา้ ว’ กับ ‘ไขน่ าง’ จากนัน้ กผ็ ูกขอ้ ไมข้ ้อมือกนั ซึ่งผูใ้ หญ่ที่มารว่ มงานทกุ คนจะตอ้ งผูกข้อมือให้บา่ วสาวพร้อมกับ
กลา่ วคาอวยพรไปด้วยจงึ จะถือว่าเสร็จสิน้

๓.2) ขัน้ ตอน/วิธกี าร/ดาเนนิ การเกยี่ วกบั ข้อมลู
ประเพณีการแต่งงานของชาวไทยในภาคตะวันออกเฉียงเหนือหรือภาคอีสาน ซ่ึงชาวอีสานเรียกขาน
ประเพณีแต่งงานนี้ว่า ‘ประเพณีกินดอง’ แต่ไม่ใช่การกินของหมักของดองหรืออะไรนะคะ เพราะคาว่ากินดองนั้น
หมายถงึ การนับเปน็ ญาตเิ ป็นครอบครวั เดยี วกันดว้ ยพธิ ีมงคลสมรส มขี ้ันตอน 7 ข้นั ตอน
1) การโอม หรอื การสู่ขอ
2) ตกลงเรื่อง ค่าดอง หรอื ค่าสินสอด
3) วนั มอ้ื เต้า วันม้ือโฮม เป็นการจดั งานเลี้ยงให้แกญ่ าตพิ ่นี อ้ ง ที่มารว่ มเตรยี มงาน
4) การแห่ขนั หมาก
5) พธิ ีสขู่ วญั
6) การสมา หรอื ขอขมาญาตผิ ู้ใหญ่
7) พิธีสง่ ตัวเข้าหอ

-1๔๖-

4. ช่ือผู้ที่ถือปฏิบตั ิและผสู้ บื ทอด

4.๑ ผทู้ ถ่ี อื ปฏิบตั ิ

ชอ่ื นายสมัคร ไชยปัญหา

วัน เดอื น ปีเกดิ 12 กนั ยายน 2494

ท่ีอยู่ 70 หมู่ 10 ตาบลดงมหาวนั อาเภอเวยี งเชยี งรุ้ง จังหวดั เชียงราย

หมายเลขโทรศัพท์ 089 503 4161

๔.๒ ผู้สืบทอด

ชื่อ -

วัน เดือน ปเี กดิ -

ทีอ่ ยู่ -

หมายเลขโทรศัพท์ -

5. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏิบัตอิ ยา่ งแพร่หลาย  เสยี่ งตอ่ การสูญหาย  ไมม่ ีปฏิบัตแิ ลว้

6. รปู ภำพภมู ปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม/กจิ กรรมทำงภูมิปัญญำทำงวัฒนธรรม (พรอ้ มบรรยำยใตภ้ ำพ)

นายสมคั ร ไชยปัญหา สาธิตการแหข่ ันหมาก
ภูมปิ ญั ญาพธิ ีกรรมบายศรีสู่ขวญั แตง่ งาน

ตามประเพณีของชาวอีสาน

นายสมคั ร ไชยปัญหา และคณะสาธิตการกลา่ วคาและการทาพธิ ีบายศรีสขู่ วญั
งานแตง่ งานตามประเพณอี สี าน

-1๔๗-

แบบสำรวจมรดกภมู ิปญั ญำทำงวัฒนธรรมจงั หวดั เชียงรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวัฒนธรรมจงั หวดั เชยี งรำย
อำเภอแม่จนั จงั หวัดเชียงรำย

๑. ชื่อข้อมูล ประเพณเี ก่ยี วกับวงจรชวี ติ การขึ้นท้าวท้ังส่ี

๒. ลกั ษณะ  วรรณกรรมพนื้ บา้ นและภาษา

 ศิลปะการแสดง
 แนวปฏบิ ตั ิทางสงั คมพิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล

 อาหาร/ความรแู้ ละการปฏบิ ัตเิ กย่ี วกบั ธรรมชาตแิ ละจักรวาล
 งานช่างฝีมอื ด้งั เดมิ

 การละเล่นพนื้ บา้ น กีฬาพืน้ บา้ น และศิลปะการตอ่ ส่ปู ้องกนั ตัว

๓. รำยละเอียดขอ้ มูล

๓.๑) ประวตั ิความเป็นมาของขอ้ มูล
การขึ้นท้าวทั้งส่ีได้รับการสืบทอดจากบรรพบุรุษ ซ่ึงเป็นพิธีท่ีทาสืบทอดต่อกันมาจนถึงปัจจุบัน
ตามความเช่ือของคนล้านนา แตล่ ะพืน้ ทจี่ ะมีเทพ 4 องคค์ อยดูแลรักษาพ้ืนทนี่ ้ันไว้ กอ่ นทีจ่ ะลงมือทาอะไรจะมี
การบูชาด้วยเคร่ืองสักการะ เพื่อให้เทพารักษ์ช่วยปกปักรักษาให้รอดปลอดภัยจากเภทภัยอันตรายท้ั งปวง
การบูชาเทพท้ัง 4 คนล้านนาเรียกกว่า การขึ้นต๊าวตังส่ี ดังนั้น เมื่อจะทาการบูชา จึงต้องทาเครื่องสักการะ
เปน็ 6 ส่วน โดย 4 สว่ นใชบ้ ูชาทศิ ทั้ง 4 อกี 2 สว่ นใช้บูชาพระอนิ ทรแ์ ละพระแมธ่ รณี การบูชาท้าวทัง้ สี่จะต้อง
มีการจดั เตรยี มสิง่ ของตา่ ง ๆ ประกอบดว้ ย
1. เสาไม้ท่ีตไี ม้ไขว้เป็นกากบาทหนั ไปยงั 4 ทศิ มีความสงู ประมาณ 2 ฟตุ ดา้ นบนและปลายไมต้ ดิ ด้วย
แผ่นไม้ขนาดเท่าหรอื ใหญ่กว่าสะตวง หรือเรยี กอีกอยา่ งว่า หอประสาทเสาเดยี ว
2. สะตวงทาด้วยกาบกล้วย นามาหักพับเสียบด้วยไม้ไผ่ ให้เป็นรูปสี่เหล่ียม รองด้วยกระดาษ เพื่อใช้
สาหรับบรรจุเครอ่ื งสักการะ
3. เครื่องสักการะในสะตวง มี หมาก เมี่ยง บุหรี่ ของกินอย่างละ 4 พร้อมด้วยกรวยดอกไม้ ที่สาคัญมี
ตุงจ้อ (ตุงช่อ) ท่ีใช้เป็นสัญลักษณ์ในการบูชา ทาด้วยกระดาษตัดเป็นรูปคล้ายธงปักไว้ท่ีสะตวงทั้งส่ีแจ่ง โดยตุง
จ้อสีเขียวจะปักไว้ที่สะตวงเพ่ือบูชาพระอินทร์ นาไปวางไว้บนสุดของเสาไม้ ตุงจ้อสีแดงจะปักไว้ที่สะตวงเพ่ือ
บูชาท้าววิรุฬหก นาไปวางทางทิศใต้ ตุงจ้อสีฟ้าจะปักไว้ที่สะตวงเพ่ือบูชาท้าวธตรฐ นาไปวางทางทิศ
ตะวันออก ตุงจ้อสีดาจะปักไว้ที่สะตวงเพื่อบูชาท้าววิรูปักษ์ นาไปวางทางทิศตะวันตก ตุงจ้อสีหม่นหรือเทาจะ
ปกั ไวท้ ส่ี ะตวงเพอื่ บูชาทา้ วกุเวร นาไปวางทางทิศเหนอื และตงุ จ้อสีขาวจะปักไว้ท่สี ะตวงบชู าพระแม่ธรณี นาไป
วางด้านล่างสุดบนพ้ืนดินชิดโคนเสา หรืออาจใช้ตุงกระดาษสีขาวล้วนก็ได้ จากนั้น ปู่จ๋านหรือผู้ประกอบพิธีจะ
เรม่ิ ทาพธิ ี โดยนาสะตวงทเ่ี ตรยี มไว้ไปวางตามทิศตา่ ง ๆ ปูจ่ ๋านจะทาพธิ ี กลา่ วคาตา่ ง ๆ เปน็ อนั เสร็จพธิ ี

๓.๒) ข้ันตอน/วธิ ีการ/ดาเนนิ การเกยี่ วกบั ข้อมูล
- ตดิ ตอ่ ประสานงานกบั สภาวฒั นธรรมตาบลป่าซาง เพื่อรวบรวมข้อมลู เบื้องต้น
- ลงพนื้ ที่จดั เก็บขอ้ มูล ประวตั คิ วามเปน็ มาของข้อมูล ช่อื ผู้ท่ถี อื ปฏบิ ัติและผสู้ บื ทอด สถานการณ์คงอยู่
และรูปภาพตา่ ง ๆ

-1๔๘-

๔. ชื่อผ้ทู ี่ถอื ปฏิบตั แิ ละผ้สู บื ทอด

๔.๑ ผ้ทู ถ่ี ือปฏิบตั ิ

ชือ่ นายแสวง ซางสุภาพ

วัน เดือน ปีเกิด 1 สงิ หาคม 2488

ท่อี ยู่ 82 หมู่ท่ี 2 ตาบลป่าซาง อาเภอแม่จนั จังหวัดเชียงราย

หมายเลขโทรศัพท์ 088 432 4497

๔.๒ ผสู้ ืบทอด

ชื่อ -

วนั เดือน ปเี กดิ -

ที่อยู่ -

หมายเลขโทรศัพท์ -

๕. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏบิ ัติอยา่ งแพร่หลาย  เส่ยี งต่อการสญู หาย  ไม่มปี ฏิบัตแิ ลว้

๖. รูปภำพภูมิปญั ญำทำงวัฒนธรรม/กจิ กรรมทำงภูมิปัญญำทำงวฒั นธรรม

-1๔๙-

แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ัญญำทำงวัฒนธรรมจงั หวัดเชียงรำย ประจำปี 2565
สภำวฒั นธรรมจงั หวดั เชยี งรำย
อำเภอเชียงของ จังเหวดั เชยี งรำย

1. ช่ือข้อมูล ประเพณีและเทศกาลปีใหมล่ าหู่ (ตรุษจนี )

2. ลักษณะ  วรรณกรรมพื้นบา้ นและภาษา
 ศลิ ปะการแสดง
 แนวปฏบิ ัติทางสงั คมพิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล

 อาหาร/ความรู้และการปฏิบตั ิเก่ียวกับธรรมชาติและจกั รวาล

 งานช่างฝมี ือดง้ั เดิม

 การละเล่นพ้นื บา้ น กีฬาพ้นื บา้ น และศลิ ปะการต่อสปู่ ้องกนั ตัว

๓. รำยละเอยี ดข้อมลู

๓.๑) ประวัติความเป็นมาของข้อมูล
ประเพณีตรุษจีนปีใหม่ จะมีการเต้นและตีกลอง เป่าขลุ่ย ร้องเพลง เป็นภาษาลาหู่ (ในเน้ือเพลงบุคคล
ท่ีจะร้องได้ต้องเป็นผู้ใหญ่) งานตรุษจีนจะมีงานทั้งหมด 7 วัน 7 คืน งานเต้นจะมีการทดลองตั้งงานช่วง
6 โมงเย็น ทาร่วมมือ โดยจะมีผู้ใหญ่บ้านจะประกาศให้หนุ่มสาว ผู้ใหญ่ มาเต้นใต้ต้นปีใหม่ โดนจะเต้นถึงเช้า
โดยเวลาประมาณ 06.00 น. การแต่งกายจะแตง่ เป็นชุดลาหู่เต็มทั้งชายและหญงิ

๓.๒) ข้นั ตอน/วธิ กี าร/ดาเนินการเกย่ี วกับข้อมูล
ชาวบ้านจัดกลุ่มกันไปตั้งแต่ปีใหม่จานวน 40 คน เพื่อหาต้นปีใหม่ตามประเพณีปีใหม่ลาหู่ (ตรุษจีน)
ตน้ ปใี หมม่ าทาไหวบ้ รรพบุรษุ และเต้นจะมรการสร้างความสนุกสนานใหห้ มู่บ้าน

4. ชอื่ ผู้ถือปฏบิ ตั ิ ชาวบ้านทุกคนถือปฏิบัติเป็นประเพณปี ระจาปี (มารว่ มงาน)
4.1 ผทู้ ีถ่ อื ปฏบิ ตั ิ -
ชอ่ื -
วัน เดือน ปเี กิด -
ทีอ่ ยู่
หมายเลขโทรศัพท์ ชาวบ้านทกุ คนถือปฏิบัติเป็นประเพณีประจาปี (มารว่ มงาน)
4.2 ผสู้ บื ทอด -
ช่ือ -
วัน เดอื น ปเี กิด -
ท่อี ยู่
หมายเลขโทรศัพท์

5. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏบิ ตั อิ ย่างแพร่หลาย  เสยี่ งตอ่ การสูญหาย  ไม่มปี ฏบิ ตั แิ ล้ว

๖. รปู ภาพภมู ิปัญญาทางวัฒนธรรม/กจิ กรรมทางภูมิปัญญาทางวฒั นธรรม

- ไม่มี -

-1๕๐-

แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ญั ญำทำงวัฒนธรรมจังหวัดเชียงรำย ประจำปี 2565
สภำวฒั นธรรมจังหวัดเชยี งรำย
อำเภอเชยี งของ จงั เหวดั เชียงรำย

1. ชื่อข้อมลู ประเพณโี ยนลูกช่วง

2. ลักษณะ  วรรณกรรมพนื้ บา้ นและภาษา

 ศิลปะการแสดง
 แนวปฏบิ ัตทิ างสังคมพิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล

 อาหาร/ความรูแ้ ละการปฏิบัตเิ กยี่ วกับธรรมชาตแิ ละจักรวาล

 งานชา่ งฝมี อื ดั้งเดมิ
 การละเลน่ พ้นื บ้าน กีฬาพน้ื บา้ น และศิลปะการต่อสปู่ ้องกนั ตัว

๓ รำยละเอียดข้อมลู

๓.๑) ประวตั คิ วามเปน็ มาข้อมูล
ปใี หม่จะมีประเพณีโยนกลูกชว่ ง ซึง่ มลี กั ษณะกลมเหมือนลกู บอลทท่ี าด้วยเศษผ้า มีขนาดเลก็ เหมาะมือ
ที่จะถือข้างเดียวได้ การเล่นลูกช่วงละแปงกลุ่มผู้เล่นเป็น 2 ฝ่าย คือ ฝ่ายหญิงและฝ่ายชาย โดยก่อนที่จะมี
การละเล่น ฝ่ายหญิงหรือญาติของฝ่ายหญิงจะนาลูกช่วงไปให้ฝ่ายชายและเริ่มโยนลูกช่วงให้ฝ่ายหญิง ท้ังน้ีทั้ง
สองฝ่ายจะยืนเป็นเเถวหน้ากระดานเรียงหนึ่งหันหน้าเข้าหากันมีระยะห่างกันพอสมควร แล้วโยนลูกช่วงให้กนั
ไปมาและสามารถทาการสนทนากับค่ทู ่ีโยนได้
๓.๒) ข้นั ตอน/วิธกี าร/ดาเนินการเกีย่ วกบั ข้อมูล
ในสมัยก่อนเปน็ การหาคใู่ ห้กับหนุ่มสาว และเพ่ือมติ รภาพทดี่ ีต่อกัน

4. ชอื่ ผูถ้ ือปฏบิ ัติ ประชาชนทกุ คนในหมบู่ า้ น
4.1 ผู้ท่ถี ือปฏิบตั ิ -
ชอื่ -
วนั เดอื น ปีเกิด -
ท่อี ยู่
หมายเลขโทรศัพท์ ประชาชนทุกคนในหมู่บ้าน
4.2 ผู้สบื ทอด -
ชอื่ -
วัน เดือน ปเี กิด -
ทีอ่ ยู่
หมายเลขโทรศัพท์

5. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏบิ ตั ิอยา่ งแพร่หลาย  เสยี่ งตอ่ การสญู หาย  ไม่มีปฏิบตั แิ ล้ว

๖. รปู ภาพภมู ปิ ัญญาทางวัฒนธรรม/กจิ กรรมทางภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม

- ไม่มี -

-1๕๑-

แบบสำรวจมรดกภมู ิปัญญำทำงวฒั นธรรมจังหวัดเชยี งรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวัฒนธรรมตำบลทำ่ ข้ำวเปลือก
อำเภอแมจ่ นั จงั หวดั เชยี งรำย

๑. ชือ่ ข้อมลู ประเพณถี วายสลากภัต

๒. ลกั ษณะ  วรรณกรรมพื้นบา้ นและภาษา
 ศิลปะการแสดง
 แนวปฏบิ ตั ิทางสงั คมพิธกี รรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรูแ้ ละการปฏบิ ัตเิ กย่ี วกับธรรมชาติและจกั รวาล
 งานชา่ งฝมี ือด้งั เดิม
 การละเล่นพ้นื บา้ น กฬี าพื้นบา้ น และศิลปะการต่อสู่ป้องกนั ตวั

๓. รำยละเอยี ดขอ้ มลู

๓.๑) ประวตั คิ วามเปน็ มาของขอ้ มลู
ประเพณี“สลำกภัต” เป็นการถวายทานโดยไม่เจาะจงผู้รับ เช่ือว่ามีมาต้ังแต่สมัยพุทธกาลและ
ยังปฏิบัติสืบทอดกันมาจนถึงปัจจุบันน้ี กาเนิดของประเพณีสลากภัตมีตานานเล่าขานว่า ในสมัยพุทธกาล
มีนางยักษิณีตนหน่ึง มีนิสัยชอบเบียดเบียนผู้คนอยู่เสมอ แต่ครั้นหลังจากได้ฟังธรรมคาสอนของพระพุทธเจ้า
แล้ว ยักษ์ตนน้ีบังเกิดความเลื่อมใสศรัทธา จึงเปลี่ยนนิสัยมาเป็นยักษ์ผู้โอบอ้อมอารีคอยช่วยเอื้อเฟื้อแบ่งปัน
ผู้อ่ืน เป็นท่ีซาบซ้ึงใจแก่ผู้คนท่ัวไป พวกเขาจึงนาส่ิงของมาแบ่งปันให้กับนางยักษ์ตนนี้อย่างมากมาย
จนนางยักษ์ต้องนาส่ิงของเหล่านั้นมาถวายให้แก่พระภิกษุ-สามเณรอีกทีหน่ึง ด้วยการทาเป็นสลากให้จับ ท้ังนี้
เพื่อให้เกิดความยุติธรรม เน่ืองจากข้าวของที่นางยักษ์ได้มาท่ีมูลค่าสูง-ต่า แตกต่างหลากหลายกันออกไปจน
กลายเปน็ ความเชื่อที่ทาเกดิ ประเพณีสลากภัตในกาลต่อมา
ประเพณสี ลากภตั หรอื ที่ชาวล้านนาเรยี กว่า “ตำนกว๋ ยสลำก” หรือมชี อื่ เรยี กในภาษาท้องถนิ่ แตกต่าง
กันไป อาทิ ก๋ินก๋วยสลาก ก๋ินสลาก ตานสลาก ตานข้าวสลาก ประเพณีนี้นิยมปฏิบัติกันในชว่ งเดือน 12 เหนือ
ถงึ เดอื นยี่เหนือ หรอื ในช่วงเดือนกันยายนถึงเดอื นตุลาคมตามเดือนสากลของทกุ ปี
โดย 1 วนั ก่อนงานพิธีสลากภัตจะเป็น“วนั ดา” หรอื “วนั สุกดิบ” ชาวบ้านจะจัดเตรยี มข้าวของตา่ ง ๆ
ท้ังของกินของใช้มาสาหรับจัดใส่ในก๋วยสลากส่วนมากถวายทานในระหว่างพรรษาภายในเดือนกันยายน– ตุลาคม
ในสมัยโบราณกลางพรรษาพระสงฆส์ ามเณรจะไม่เดินทางไปไหนเป็นเวลาสามเดือน เมอื่ ออกพรรษาแลว้ จะเดิน
ออกไปธุระ ไปเดินธุดงค์ คณะศรัทธาและประชาชนจึงอยากถวายปัจจัยให้พระสงฆ์ เพื่อเอาไปเป็นค่ายา หรือ
ค่าพาหนะ เดินทางไปที่ต่าง ๆ อีกอย่างศรัทธาของชาวพุทธเมืองเหนือถือว่ากลางภาษา เป็นเวลาท่ีข้าวไม่ค่อย
เหลอื เงนิ ทองไม่คอ่ ยจะมี ถ้าถวายทานตอนนีถ้ ือวา่ มบี ุญกศุ ลมากมายมหาศาล ตามความเชือ่ ถือของบรรพชนมาช้านาน

๓.๒) ข้นั ตอน/วิธกี าร/ดาเนนิ การเกยี่ วกบั ขอ้ มูล

สาหรับพิธีทานสลากภัต จะรวมเอาสลาก (พนวน) ท่ีสังฆทานท้ังหมดที่นามาถวายพระสงฆ์ มีจานวนเท่าไร
พระสงฆ์เท่าไร ส่วนท่ีเหลือถวายวัด เพ่ือสร้างศาสนสถานต่อไป ข้ันตอนเร่ิมจากคาถวายทานสาหรับอุทิศไปให้
ใคร เรียกว่า ๑ สารับ หรือฝ่ายสงฆ์เท่ากับ ๑ เส้น มารวมกันแล้วนิมนต์พระสงฆ์สามเณรจับสลาก ได้สารับ
ไทยทานของใครก็ไปรับสังฆทานจากคนนั้นเป็นอันเสร็จพิธี อีกประเพณีหน่ึงยึดถือกันแต่โบราณ ที่สาคัญมาก
คือ ประเพณีการเข้าพรรษาและออกพรรษา โดยเตรียมหอ่ ข้าวต้ม ขนม หอ่ นึ่ง เตรยี มไว้วนั รงุ่ ขึ้นกจ็ ะนาดอกไม้
ธูปเทียน ข้าวตอก ดอกไม้ อาหารคาวหวานใส่ในสารับไทยทานถวายพระ เพ่ืออุทิศ ส่วนบุญส่วนกุศลให้แก่ผู้
วายชนม์ เรยี กวา่ ตานก๊วั ะขา้ ว พระสงฆ์ ใหพ้ รเสร็จแลว้ ไปร่วมพธิ ที าบญุ ตกั บาตรในวิหาร พรอ้ มกับศรทั ธา

-1๕๒-

ชาวบา้ นและทกุ วนั พระ ในระหว่างพรรษาจะมีการทาบญุ ตักบาตรตอนเข้าพรรษา ซง่ึ ส่วนมากจะเปน็ คนหนุ่ม
สาว ตอนบ่ายจะเป็นเร่ืองของผู้สูงอายุ หรือไม่ก็คนที่ชอบฟังธรรม มีการสวดมนต์กรรมฐานและเจริญภาวนา
พระสงฆ์ให้พรเสร็จแล้วกลับบ้าน ส่วนผู้สูงอายุบางคนไปนอนวัดในวันพระระหว่างจาพรรษา โดยถือศีล ๘
(อุโบสถศีล) เริ่มนอนก่อนวันพระ ๑ วัน เม่ือรับศีลแล้วก็จะสวดมนต์ภาวนาใช้เวลานอนแต่ละวันพระ ๒ คืน
ประเพณีน้ยี ังยึดถือตัง้ แต่อดีตจนถงึ ปัจจบุ นั

๔. ชื่อผทู้ ่ีถอื ปฏิบตั แิ ละผสู้ บื ทอด

๔.๑ ผู้ทถี่ ือปฏบิ ตั ิ

ช่ือ พระครูอุปถัมภว์ รการ เจา้ คณะอาเภอแม่จนั

วนั เดือน ปเี กิด -

ท่อี ยู่ วดั ป่าซาง ตาบลป่าซาง อาเภอแม่จัน จังหวัดเชียงราย

หมายเลขโทรศัพท์ ๐๘๙ ๘๓๘ ๗๘๓๖

๔.๒ ผสู้ ืบทอด

ชอื่ พระครูอภวิ ัฒนว์ าที เลขาเจา้ คณะอาเภอแม่จนั

วัน เดือน ปีเกิด -

ที่อยู่ วัดปา่ ซาง ตาบลป่าซาง อาเภอแม่จัน จังหวดั เชยี งราย

หมายเลขโทรศัพท์ ๐๙๓ ๓๐๘ ๑๕๑๕

๕. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏบิ ตั อิ ยา่ งแพร่หลาย  เสยี่ งตอ่ การสูญหาย  ไม่มปี ฏิบัติแล้ว

๖. รูปภำพภมู ปิ ญั ญำทำงวัฒนธรรม/กจิ กรรมทำงภูมปิ ัญญำทำงวฒั นธรรม

-1๕๓-

แบบสำรวจมรดกภมู ิปญั ญำทำงวฒั นธรรมจงั หวัดเชยี งรำย ประจำปี 2565
สภำวัฒนธรรมจงั หวัดเชยี งรำย
อำเภอเชียงแสน จงั หวัดเชยี งรำย

1. ชื่อข้อมูล ประเพณีทาบุญเมอื ง สะเดาะเคราะห์และถวายทานสลาก 25

2. ลกั ษณะ  วรรณกรรมพื้นบา้ นและภาษา

 ศิลปะการแสดง
 แนวปฏิบัตทิ างสงั คมพิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรแู้ ละการปฏบิ ัตเิ กย่ี วกับธรรมชาติและจกั รวาล

 งานช่างฝมี อื ด้ังเดมิ

 การละเล่นพ้ืนบา้ น กีฬาพน้ื บ้าน และศิลปะการต่อสู่ป้องกนั ตวั

3. รำยละเอียดขอ้ มลู

3.1 ประวตั ิความเป็นมาของข้อมลู

เมืองเชียงแสนเป็นเมืองประวัติศาสตร์มีอายุเก่าแก่ร่วม 2,000 ปี มีมหากษัตริย์ปกครองรวม 150 พระองค์
แต่เดิมไม่มีผุ้ใดคิดจะทาบุญอุทิศส่วนกุศลให้แก่พระมหากษัตริย์แม้แต่ครั้งเดียว ในปี พ.ศ. 2550 ประชาชน
ในเขตเทศบาลตาบลเวียงเชียงแสนจังได้ปรึกษาหารือกันโดยมี สภาวัฒนธรรมอาเภอเชียงแสนเป็นแกนนา
ประกอบกับเหตุการณ์บ้านเมืองไม่สงบ ประชาชนได้รับความเดือดร้อนทุกหนทุกแห่ง และภูมิอากาศแห้งแล้ง
ในที่ประชุมมีความเป็นว่าควรจะมีการทาบุญเมือง สะเดาะเคราะห์เมืองและประชาชน รวมถึงทาบุญอุทิศส่วน
กุศลไปให้แก่บูรพมหากษัตริย์ท่ีปกครองเมืองเชียงแสนทุกพระองค์ตลอดอริราชศัตรูและพญานาคทั้งหลาย
ดังนั้น ร.ต.ต.สุดใจ เช้ือเจ็ดตน จึงได้เสนอให้นาประเพณีถวายทานสลาก 25 ซ่ึงเป็นฮีตฮอยของชาวไต ท้ังไตใหญ่
และไตลื้อ มาทาพิธีทาบุญให้บูรพมหากษัตริย์ โดยกาหนดและทามาแล้วเป็นเวลา 3 ปี ติดต่อกัน แต่เม่ือครบ
3 ปีแล้ว ชาวบ้านเห็นว่าประเพณนี เ้ี ป็นสง่ิ ทีด่ จี ึงขอใหท้ าตลอดไป

สืบเนื่องมาจากเม่ือปี พ.ศ. 2550 ชาวบ้านได้จัดงานประเพณีเล้ียงเจ้าพ่อประตูป่าสักและเจ้าแม่นาง
เซ้งิ ขนึ้ ในเดอื น 9 ขึ้น 9 ค่า ซง่ึ ขณะกาลังทาพิธีอยู่ไดเ้ กิดเหตุการณ์ข้ึนกับผู้หญิงท่านหน่ึงที่เข้าร่วมพธิ ีในคร้ังน้ี
ได้มีร่างทรงประทับร่างผู้หญิงดังกล่าวที่หน้าศาลเจ้าแม่นางเซิ้ง แล้วขอน้ากินและนามารดตัวเองจนเปียก
ชาวบ้านที่มาร่วมพิธีได้ถามว่า เป็นใคร ร่างทรงได้บอกว่าเขาคือ พญานาค และยังกล่าวว่า เจ้าบ้าน เจ้าเมือง
และบรรพบุรุษทีไ่ ดล้ ม้ ตายจากไปหลายชวั่ อายุคน ไมม่ ีใครคดิ จะทาบญุ ทาทาน อทุ ิศส่วนบุญสว่ นกุศลไปให้

หลังจากเกิดเหตุการณ์ดังกล่าว ได้มีนายวีระพล กัลป์ที (กานันตาบลเวียงในขณะน้ัน) อาจารย์บุญส่ง
เชื้อเจ็ดตน ลุงหนานสุดใจ เชื้อเจ็ดตน และคณะกรรมการวัด ทั้ง 4 วัด ประมาณ 20 คน มาร่วมประชุมกันท่ี
วัดผา้ ขาวป้าน ในที่ประชมุ มีมติลงความเห็นว่า ควรทาสลากซาวหา้ เพอ่ื ทาบุญให้แก่บรรพบุรษุ ทีล่ ่วงลบั ไปแล้ว
สลากซาวห้า ก๋วยนั้นต้องเขียนชื่อของกษัตริย์หรือบรรพบุรุษที่สร้างบ้าน สร้างเมือง ทาคุณประโยชน์ให้แก่
บา้ นเมืองเชียงแสน จานวน 25 ท่าน ดงั น้ี

กว๋ ยที่ 1 ตานหา เจ้าสุวรรณโคมคา กษัตริย์แห่งแคว้นสุวรรณโคมคา พญาสัตนาคผู้ดูแลแม่น้าโขง
ตลอดจนข้าทาสบรพิ าร แหง่ แคว้นสวุ รรณโคมคา

ก๋วยท่ี 2 ตานหา พระเจ้าสิงหนวัติ ปฐมกษัตริย์แห่งอาณาจักรโยนกนาคนคร พญานพันธุนาค
ผู้กาหนดเขตแคว้นโยนกนาคนคร ตลอดจนขา้ ทาสบรพิ าร

ก๋วยท่ี 3 ตานหา พระเจ้าอชตุ ราชราชโอรสของพระเจ้าสิงหนวัติ ผู้สรา้ งพระธาตดุ อยตงุ
ก๋วยที่ 4 ตานหา พระยามังรายนรราช พระองค์พิง พระองค์พัง เรื่อยมาจนถึงพระองค์เพียงตลอดจน
ข้าทาสบริพาร

-1๕๔-

ก๋วยที่ 5 ตานหา พระเจ้าพังคราช ผู้สร้างพระธาตุจอมกิตติ ร่วมกับพระเจ้าพรหมมหาราช ราชโอรส
ตลอดจนพระองคท์ ุกขิตกุมาร พระองค์ไชยศริ ิ พระองคม์ หาวันตน๋ ลกู ของพระองคท์ ุกขติ กุมารตลอดจนข้าทาส
บริพาร

ก๋วยท่ี 6 ตานหา พระเจ้าพรหมมหาราช ราชโอรสพระเจ้าพังคราช ผู้ร่วมกันสร้างพระธาตุจอมกิตติ
และผ้ทู รงขบั ไลข่ อมดาออกจากโยนกนาคนครตลอดจนข้าทาสบริพาร

ก๋วยที่ 7 ตานหา พระเจ้ามหาไชยชนะ ขุนนาง เสนาอามาตย์ ตลอดจนอาณาประชาราษฎร์และ
ข้าราชบรพิ ารทีส่ ูญหายไปพรอ้ มกับเมืองนครโยนกนาคนครท่ลี ่มสลายกลายเปน็ เวยี งหนองหลม่

กว๋ ยท่ี 8 ตานหา ขนุ ลัง ตลอดจนขนุ ทั้งหลายทีป่ กครองเวยี งปรกึ ษาพร้อมข้าทาสบรพิ าร
ก๋วยที่ 9 ตานหา พญาวะจักราช ปฐมกษัตริย์แห่งอาณาจักรหิรัญนครเงินยาง พร้อมด้วยพญาลาวเก้ือ
ลาวก่อต๋นลูกท้งั สองตลอดจนขา้ ทาสบริพาร
ก๋วยที่ 10 ตานหา พญาลาวเก้าแก้วมาเมือง ราชโอรสของพญาลวะจักราช ผู้สร้างพระธาตุปูเข้า และ
วดั ผา้ ขาวป้านตลอดจนข้าทาสบรพิ าร
ก๋วยที่ 11 ตานหา พญาลาวเส้า ลาวซิน เร่ือยมาจนถึงลาวจอมธรรม แห่งอาณาจักรหิรัญนครเงินยาง
ตลอดจนข้าทาสบรพิ าร
ก๋วยที่ 12 ตานหา พญาลาวเจ้ืองหรือขุนเจืองธรรมิกราช ผู้ที่สามารถป้องกันเมืองเงินยางจากการ
รกุ รานของบา้ นเมอื งแมนต๋าออก ขอบฟ้าต๋ายืนได้ ตลอดจนขา้ ทาสบริพาร
ก๋วยท่ี 13 ตานหา พญาลาวเงินเรือง ลาวเชียง ลาวเม็ง ผู้เป็นพระราชบิหาของพญามังราย ตลอดจน
ข้าทาสบริพาร
ก๋วยท่ี 14 ตานหา พญามังรายมหาราช ผู้รวบรวมหัวเมืองน้อยใหญ่ท้ังหลายทั่วสารทิศเป็นอาณาจกั ร
อันย่ิงใหญค่ ือ อาณาจกั รล้านนา ตลอดจนขา้ ทาสบริพาร
ก๋วยท่ี 15 ตานหา พญามังเครื่อง พญามังคม และพญามังเครือ ราชโอรสของพญามังรายมหาราช
ตลอดจนข้าทาสบริพาร
ก๋วยที่ 16 ตานหา พญาแสนพู ราชโอรสของพระยามังคาม ซ่ึงเป็นกษัตริย์ปกครองเมืองเงินยางท่ีทา
ให้อาณาประชาราษฎร์อยู่เย็นเป็นสุข บ้านเมืองอุดมสมบูรณ์ท่ีสุดและเป็นผู้สร้างวัดป่าสัก วัดเจดีย์หลวง และ
กาแพงเมืองเชียงแสน ตลอดจนข้าทาสบริพาร
ก๋วยท่ี 17 ตานหา พญาแสนคาฟู ราชโอรสองค์สุดท้ายของพญาแสนพู ผู้สร้างวัดแสนคาฟูเร่ือยมา
จนถึงหมื่นเชยี งสง ผู้สรา้ งวัดหมน่ื เชียง ตลอดจนข้าทาสบริพาร
ก๋วยที่ 18 ตานหา หม่ืนงั้วหรือพญาตรีรัชฎเงินกอง ผู้สร้างวัดล้านทอง เรื่อยมาจนถึงพญารัตนกาพล
กษัตริย์องค์สุดท้ายของเมืองเงินยาง ก่อนที่เมืองเงินยางหรือเมืองเชียงแสนจะตกอยู่ใต้อานาจการปกครองของ
พม่าในปี พ.ศ. 2101 ตลอดจนข้าทาสบรพิ าร
ก๋วยที่ 19 ตานหา พระเจ้ากาวิละ เจ้าครองนครเชียงใหม่ท่ียกกองทัพมาขับไล่พม่าในปี พ.ศ. 2120
พร้อมด้วยเหลา่ ทหารกลา้ ที่ตายในสนามรบ ตลอดจนชาวเมืองเชยี งแสนทถี่ ูกพม่าเข่นฆา่
ก๋วยที่ 20 ตานหา อุราชธรรมลังกา แม่ทัพแห่งกองทัพล้านนา อันประกอบด้วยกองทัพจากเชียงใหม่
ลาพูน ลาปาง แพร่ น่าน หลวงพระบาง เมืองเทิงและเมืองเชียงของ ยกทัพสมทบกับกองทัพแห่งกรุงสยาม ซึ่ง
นาโดยกรมหลวงเทพหริรกั ษ์ และพญายมราช เพอื่ ขับไล่พม่าออกจากเมืองเชยี งแสนใน พ.ศ. 2347 พรอ้ มดว้ ย
แม่ทพั นายทองและอาณาประชาราษฎรทลี่ ้มตายในสงครามครั้งนนั้
ก๋วยที่ 21 ตานหา ผู้เฒ่า ผู้แก่ คนป่วย คนพิการท่ีถูกบังคับให้ลงเรือ แล้วปล่อยให้เรืองไหลไปตามนา้
ของ และลูกเล็กเด็กแดงท่ีถูกนาไปปล่อยท้ิงไว้หนองกลางเวียงแล้วถูกน้าท่วมตายในคราวที่ขับไล่พม่าออกจาก
เมอื ง แลว้ เผาเมอื ง แล้วนาคนออจากเมอื งให้หมดในปี พ.ศ. 2347

-1๕๕-

ก๋วยที่ 22 ตานหา เจ้าหนานอินต๊ะ หรือพระยาราชเดชดารง ผู้กลับมาสร้างบ้านแปงเมืองใน
พ.ศ. 2421 สมัยราชกาลที่ 5 ตลอดจนข้าทาสบรพิ าร

ก๋วยที่ 23 ตานหา นายอาเภอเชียงแสนทกุ ทา่ นทีเ่ สียชีวิตไปแล้ว
ก๋วยที่ 24 ตานหา ขอมดาและชาวขอมดาทย่ี ดึ เมอื งโยนกนาคนครจากพระเจ้าพังคราชแลว้ ถกู พระเจ้า
พรหมมหาราชขับไล่และเข่นฆ่า ตลอดจนแม่ทับนายกองของพม่าทุกคนท่ีเข่นฆ่าในคราวขับไล่พม่าออกจาก
เมืองเชยี งแสน ในปี พ.ศ.2374
กว๋ ยท่ี 25 ตานหาพญานาคน้าทกุ ตน๋ ทุกตวั ตลอดจนเจา้ กรรมนายเวรและสรรพสัตวท์ ัง้ หลาย
ครั้งแรกไดท้ าพิธีที่ลานหอพระหน้าอาเภอเชยี งแสน ปที ่ีสอง ทาพธิ ที วี่ ดั กาเผอื ก ในปีท่ี 3 – 7 ทาพธิ ีท่ี
วัดเจดีย์หลวง ต่อมาเกิดปัญหาข้ึนในหลายๆ ด้าน คณะกรรมการได้ประชุมและเสนอว่า ให้เปลี่ยนกันเป็ น
เจ้าภาพวัดละปเี วยี นแต่ละวัด ทัง้ 4 วัด ไดแ้ ก่ วดั เจดีย์หลวง วัดลา้ นทอง วดั ผ้าขาวปา้ น และวัดปงสนุก

3.2 ขัน้ ตอน/วธิ ีกำร/ดำเนนิ กำรเก่ยี วกับข้อมูล

ในการทาพิธีแต่ละปี จะทาขึ้นในวัน 9 เป็ง (ข้ึน 15 ค่า เดือน 9) ของทุกปี ประกอบด้วยก๋วย 25 ก๋วย
รวมท้ังเรือสะเปาคาอีก 1 ลา ภายในเรือจะมีอาหาร ขนม ผลไม้หลากหลายชนิด เพื่อให้เป็นอาหารของ
สรรพสัตวท์ ่ีอาศัยอยใู่ นน้าและพญานาค

การทาพธิ ีน้ีจะมพี ธิ ีกรรมอยู่ 3 พธิ ี ดังน้ี
1. การทาบญุ เมอื ง หรอื การสบื ชะตาเมอื ง
2. การสะเดาะเคราะห์นพเคราะห์ทั้ง 9
3. สลากซาวห้า (ทานใหบ้ รรพบุรษุ )

๔. ชอ่ื ผทู้ ี่ถอื ปฏิบตั แิ ละผู้สบื ทอด

๔.๑ ผทู้ ่ีถอื ปฏิบตั ิ

ชอ่ื นายบุญสง่ เชอ้ื เจด็ ตน

วนั เดอื น ปเี กิด 16 มถิ นุ ายน 2492

ท่อี ยู่ 119/1 หมู่ 2 ตาบลเวยี ง อาเภอเชียงแสน จงั หวัดเชียงราย

หมายเลขโทรศัพท์ 082 758 0882

๔.๒ ผูส้ ืบทอด

ช่ือ สภาวัฒนธรรมเทศบาลเวียงเชยี งแสน และสภาวฒั นธรรมอาเภอเชียงแสน

วนั เดอื น ปีเกิด -

ทอ่ี ยู่ -

หมายเลขโทรศัพท์ -

๕. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏิบัติอยา่ งแพร่หลาย  เสย่ี งต่อการสญู หาย  ไม่มปี ฏบิ ัติแลว้

-1๕๖-
๖. รปู ภำพภมู ิปญั ญำทำงวัฒนธรรม/กิจกรรมทำงภูมิปัญญำทำงวฒั นธรรม

พิธสี บื ชะตา เครื่องสืบชะตา

สะเดาะเคราะหน์ พเคราะห์ (สะเดาะเคราะห์เมือง) เรอื สะเปาคา

ตน้ สลาก

ต้นสลากซาวห้า (25 ตน้ )

-1๕๗-

แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ัญญำทำงวฒั นธรรมจงั หวัดเชยี งรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวฒั นธรรมจังหวดั เชยี งรำย

อำเภอพญำเม็งรำย จงั หวดั เชยี งรำย

๑. ชื่อข้อมูล ประเพณที าบุญตานข้าวใหม่

๒. ลักษณะ  วรรณกรรมพ้นื บ้านและภาษา
 ศลิ ปะการแสดง
 แนวปฏิบัติทางสงั คมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรู้และการปฏบิ ตั เิ กี่ยวกบั ธรรมชาติและจักรวาล
 งานช่างฝีมอื ดัง้ เดมิ
 การละเลน่ พ้นื บ้าน กีฬาพน้ื บ้าน และศิลปะการตอ่ สปู่ ้องกันตัว

๓. รำยละเอยี ดขอ้ มูล

๓.๑) ประวตั ิความเปน็ มาของขอ้ มูล

ชาวพ้ืนเมืองลา้ นนา มีความเช่ือว่าวันข้ึน 15 ค่า เดือน 4 เป็ง เป็นวันพระใหญ่ และเป็นประเพณีของ
ชาวบ้านทางภาคเหนือมาแต่โบราณ หลังจากท่ีชาวบ้านเก็บเก่ียวข้าวแล้วก็จะนาข้าวที่เก็บเก่ียวมาสีเป็น
ข้าวสาร นามานึ่งเป็นข้าวสุก หรือทาเป็นข้าวหลาม หรือนาข้าวสารมาถวายแด่พระสงฆ์ เพ่ืออุทิศส่วนกุศล
ให้กับบรรพบุรุษท่ีล่วงลับไปแล้ว เป็นการแสดงความกตัญญูบิดา-มารดาท่ีได้เล้ียงดูมา การท่ีเก็บเกี่ยวข้าวใหม่
พ่อ-แม่จะต้องได้รับประทานก่อน หรือท่ีชาวไทยล้านนาเรียกวา่ “ประเพณีทาบุญตานข้าวใหม่” หรือ “ทาบุญ
เดือน 4 เป็ง” ท่ีสืบทอดกันมายาวนาน ถือเป็นประเพณีท่ียึดถือกันมาแต่โบราณ ท่ีสืบทอดกันมายาวนาน
แต่คนรุ่นใหม่ไม่ค่อยจะใส่ใจ เกรงว่าจะสูญหาย ยิ่งเป็นชุมชนเมืองยิ่งต้องมีการอนุรักษ์และสืบสานประเพณี
เอาไว้ เพือ่ ใหอ้ นุชนรุ่นหลังไดร้ ูจ้ กั เรียนรู้ประเพณวี ัฒนธรรมหรอื รากเหงา้ ของตนเอง

๓.๒) ขั้นตอน/วิธกี าร/ดาเนนิ การเกี่ยวกับขอ้ มูล
หลังจากฤดูกาลเก็บเกี่ยวชาวบ้านท่ีเป็นชาวนา ต่างร่วมกันนาผลผลิตข้าวสารใหม่ ข้าวเปลือก ซึ่งเพิ่ง
เก็บเกี่ยวได้ รวมถึงอาหารที่ทาจากข้าวใหม่ ท้ังข้าวหลาม ข้าวจ่ี ข้าวต้ม ข้าวเหนียว ขนมเทียน อาหาร น้าตาล
และน้าอ้อย ถวายหน้าพระประธานของวัดแต่ละหมู่บ้าน และร่วมทาบุ ญใส่บาตรถวายแด่พระภิกษุ
เพ่ืออุทิศส่วนกุศลให้กับบรรพบุรุษ หรือญาติผู้ใหญ่-พี่น้องท่ีล่วงลับไปแล้ว ส่วนใหญ่จะทากันในวันข้ึน 15 ค่า
เดือน 4 เป็ง ยังคงร่วมรักษาสืบสานวัฒนธรรมประเพณีทาบุญวันเดือน 4 เป็ง หรือที่ชาวไทยล้านนาเรียกว่า
“ประเพณีทาบุญตานข้าวใหม่” ท่ีสืบทอดกันมายาวนาน นอกจากน้ียังมีการนา ฟืน มาสุมกองรวมกันที่หน้า
พระวิหาร เพื่อรอทาพธิ สี ุมไฟคลายหนาวให้พระพุทธเจา้ ตามความเชอื่ ของชาวบ้านดว้ ย

๔. ช่ือผู้ที่ถอื ปฏิบัตแิ ละผ้สู บื ทอด

๔.๑ ผูท้ ีถ่ ือปฏิบัติ

ชื่อ นายอทิ ธพิ ล จาปา

วนั เดอื น ปเี กดิ 9 กมุ ภาพนั ธ์ 2509

ท่อี ยู่ 106 หมู่ 10 ตาบลแม่ต๋า อาเภอพญาเมง็ ราย จงั หวัดเชยี งราย

หมายเลขโทรศัพท์ 081 030 3606

4.2 ผสู้ บื ทอด -๑๕๘- -
ช่ือ
วนั เดอื น ปีเกิด -
ทอี่ ยู่ -
หมายเลขโทรศัพท์ -
-

๕. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏบิ ัติอย่างแพรห่ ลาย  เสย่ี งต่อการสญู หาย  ไม่มปี ฏิบตั แิ ล้ว

๖. รปู ภำพภมู ปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม/กิจกรรมทำงภูมปิ ัญญำทำงวฒั นธรรม

-๑๕๙-

แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ัญญำทำงวฒั นธรรมจงั หวัดเชียงรำย
สำนกั งำนวัฒนธรรมจังหวดั เชยี งรำย
อำเภอแมส่ ำย จังหวดั เชยี งรำย

๑. ชื่อข้อมูล ประเพณบี วงสรวงพระเจ้าพรหมมหาราช

๒. ลกั ษณะ  วรรณกรรมพ้นื บ้านและภาษา
 ศลิ ปะการแสดง
 แนวปฏบิ ัตทิ างสังคมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรแู้ ละการปฏิบัติเกีย่ วกับธรรมชาติและจกั รวาล
 งานชา่ งฝมี ือดงั้ เดิม
 การละเลน่ พนื้ บา้ น กีฬาพื้นบ้าน และศลิ ปะการต่อสู่ป้องกันตวั

๓. รำยละเอยี ดขอ้ มลู

๓.๑) ประวตั คิ วามเปน็ มาของข้อมลู
พระเจ้าพรหมมหาราช พระองค์พรหมราช หรือ พรหมกุมาร เป็นราชบุตรของ พระองค์พังคราช
กษัตริย์เมอื งโยนกนครไชยบรุ รี าชธานีศรชี ้างแสน่ ประสตู ริ าว พ.ศ. 1555 ถงึ พ.ศ. 1632 ซึง่ เป็นเมอื งในที่ลุ่ม
แม่น้ากก แต่มีหลักฐานท้องถิ่นระบุว่าพระองค์ประสูติใน พ.ศ. 1655 ที่เวียงสี่ทวง (ตาบลเวียงพางคา อาเภอ
แม่สาย จังหวัดเชียงรายในปัจจุบัน) และส้ินพระชนม์ใน พ.ศ. 1732 พระองค์มีพระปรีชาสามารถด้านการรบ
สามารถตีเอาเมืองโยนกนครไชยบุรีราชธานีศรีช้างแส่น คืนได้จากพระยาขอม (ขอมดา จากเมืองอุโมงคเสลานคร)
ซึ่งยกทัพมาชิงเมืองโยนกในสมัยพระองค์พังคราช พระองค์เป็นมหาราชผู้ประเสริฐ ได้ทานุบารุงบ้านเมือง
ให้เจริญรุ่งเรืองขึ้น กว่าแต่ก่อนทุก ๆ ด้านเป็นอันมากในการปกปักษ์รักษาบ้านเมืองให้อยู่รอด มีความมั่นคง
แข็งแรงพอที่จะต่อสู้กับอริราชศัตรู พระองค์ทรงเสริมสร้างป้อมคูประตูหอรบ ขยายอาณาเขตให้กว้างขวาง
ยิ่งข้ึน คุณธรรมความดีอันเป็นพื้นฐานแห่งมหาบารมีบุญญาธิการของพระองค์ จ้าบรรเจิดซาบซึ้งสิงอยู่ในจิตใจ
ชาวไทยลานนา และไทยในทุกแว่นแคว้นแห่งดินแดนสุวรรณภูมิ พระองค์จึงทรงได้รับสมัญญานามจากดวงใจ
อันเบิกบานผ่องใส เต็มไปด้วยความจงรกั ภกั ดีของชาวไทยในยคุ นัน้ และยุคต่อมาวา่ “องคป์ ฐมมหาราชไทย”
ดงั นน้ั จงั หวดั เชยี งราย โดยอาเภอแมส่ ายกาหนดจัดประเพณีบวงสรวงพระเจ้าพรหมมหาราช ระหวา่ ง
วันท่ี ๒๓ - ๒๔ กุมภาพันธ์ เป็นประจาทุกปี บริเวณหน้าพระบรมราชานุเสาวรีย์พระเจ้าพรหมมหาราช
ณ ท่ีว่าการอาเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย โดยมีส่วนราชการ ภาคเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน พ่อค้า
นักเรียน นักศึกษา และประชาชนชาวแม่สาย ได้ร่วมกันประกอบพิธีถวายเคร่ืองสักการะแบบล้านนา และ
บวงสรวงพระเจ้าพรหมหาราช สาหรับในพิธีมีการตกแต่งนาเอาเคร่ืองสักการะ ประกอบด้วยเคร่ืองบวงสรวง
บายศรีเทพบานศรพี รหม บายศรีหลัก บายศรีตอ บายศรีปากชาม เคร่ืองสักการะพานพุ่มดอกไม้สดเครื่องบชู า
อญั เชิญ หมากเบ็ง สมุ่ ปู ต้นเทยี น ต้นออ้ ย เครอื่ งเซ่นไหว้ อาหารคาวหวานหลากหลายชนดิ มาถวายสกั การะแด่
พระองค์ท่านอันเป็นเครื่องหมายแห่งความกตัญญูอยู่รู้คุณเพื่อเป็นการเทิดพระเกียรติและน้อมราลึกถึง
พระมหากรณุ าที่คณุ ของพระองคท์ ่านอีกด้วย
การฟ้อนเพ่ือถวายแด่พระเจ้าพรหมมหาราชเป็นการเทิดพระเกียรติ และน้อมราลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณ
ของพระเจ้าพรหมมหาราชที่พระองค์ทรงกอบกู้เอกราชให้รอดพ้นจากการปกครองของขอมดา และได้รวบรวม
หัวเมืองน้อยใหญ่สร้างบ้านแปลงเมืองเป็นอาณาจักรล้านนา พระองค์ทรงทานุบารุงพระพุทธศาสนาให้
เจริญรุ่งเรืองทรงส่งเสริมการชลประทาน การเกษตร การอาชีพการทหาร และการป้องกันเมือง ทรงขุดคูเมือง
ลอ้ มรอบ เปน็ แบบอยา่ งของการสรา้ งบา้ นแปลงเมืองในยคุ ต่อมาคุณปู การนานปั การ พระองค์ที่มีตอ่ ชาวล้านนา
จนไดร้ ับสมัญญานามพระเจ้าพรหมมหาราชอันเป็นกษัตรยิ ท์ ี่ได้รับสมญั ญานามมหาราชพระองค์แรกของชาติไทย

-1๖๐-

๓.๒) ข้นั ตอน/วธิ กี าร/ดาเนนิ การเก่ียวกบั ข้อมูล
อาเภอแม่สายกาหนดจัดประเพณีบวงสรวงพระเจา้ พรหมมหาราช ระหว่างวันที่ ๒๓ - ๒๔ กุมภาพันธ์
เป็นประจาทุกปี บริเวณหน้าพระบรมราชานุเสาวรีย์พระเจ้าพรหมมหาราช ณ ท่ีว่าการอาเภอแม่สาย
จังหวัดเชียงราย โดยมีส่วนราชการ ภาคเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ่อค้า นักเรียน นักศึกษา และ
ประชาชนชาวแมส่ าย ได้รว่ มกนั ประกอบพิธถี วายเคร่ืองสักการะแบบล้านนา และบวงสรวงพระเจ้าพรหมมหาราช
สาหรับในพิธีมีการตกแต่งนาเอาเครื่องสักการะ ประกอบด้วยเครื่องบวงสรวง บายศรีเทพบานศรี
พรหม บายศรีหลัก บายศรีตอ บายศรีปากชาม เครื่องสักการะพานพุ่มดอกไม้สดเคร่ืองบูชาอัญเชิญ หมากเบ็ง
สุ่มปู ต้นเทียน ต้นอ้อย เครื่องเซ่นไหว้ อาหารคาวหวานหลากหลายชนิดมาถวายสักการะแด่พระองค์ท่านอัน
เป็นเครอ่ื งหมายแห่งความกตัญญูอยรู่ ู้คุณเพ่ือเปน็ การเทิดพระเกยี รติและน้อมราลึกถึงพระมหากรุณาท่ีคุณของ
พระองค์ท่านอีกด้วย พร้อมท้ังมีกลุ่มสตรีในอาเภอแม่สาย กว่า 1,000 คน ฟ้อนเพื่อถวายแด่พระเจ้าพรหม
มหาราช เพื่อเป็นการเทิดพระเกียรติ และน้อมราลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณของพระเจ้าพรหมมหาราชที่
พระองค์ทรงกอบกู้เอกราชให้รอดพ้นจากการปกครองของขอมดา และได้รวบรวมหัวเมืองน้อยใหญ่สร้างบ้าน
แปลงเมอื งเปน็ อาณาจักรลา้ นนา

4. ชอื่ ผู้ท่ีถือปฏิบตั ิและผ้สู ืบทอด
4.๑ ผูท้ ่ีถอื ปฏบิ ตั ิ
ช่ือ นางสาวกฤตพร สุขสกั
วัน เดือน ปีเกิด -
ทอี่ ยู่ ๖๘ หมู่ ๘ ตาบลแมส่ าย อาเภอแม่สาย จงั หวดั เชียงราย
หมายเลขโทรศัพท์ ๐๕๓ ๗๓๑ ๒๘๘
4.2 ผสู้ ืบทอด
ชือ่ - -
วนั เดือน ปีเกดิ -
ทอี่ ยู่ -
หมายเลขโทรศัพท์ -

5. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏบิ ัติอย่างแพร่หลาย  เสยี่ งต่อการสญู หาย  ไมม่ ปี ฏิบัตแิ ลว้

6. รูปภำพภมู ปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม/กิจกรรมทำงภูมปิ ัญญำทำงวฒั นธรรม

-1๖๑-

แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ัญญำทำงวัฒนธรรมจงั หวัดเชยี งรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวฒั นธรรมจงั หวดั เชยี งรำย

อำเภอเวยี งเชียงรุ้ง จงั หวดั เชียงรำย

๑. ชอ่ื ข้อมูล ประเพณบี ญุ บ้งั ไฟตาบลดงมหาวนั

๒. ลกั ษณะ  วรรณกรรมพ้นื บา้ นและภาษา
 ศิลปะการแสดง
 แนวปฏบิ ตั ทิ างสังคมพิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรู้และการปฏิบัติเกี่ยวกับธรรมชาติและจักรวาล
 งานชา่ งฝมี อื ดัง้ เดิม
 การละเล่นพ้ืนบา้ น กีฬาพ้ืนบ้าน และศิลปะการตอ่ สู่ป้องกนั ตวั

๓. รายละเอียดขอ้ มูล

๓.๑) ประวัติความเป็นมาของขอ้ มูล

ประเพณีบุญบั้งไฟ เป็นวัฒนธรรมประเพณีชาวอีสาน ที่สืบทอดมาจากบรรพบุรุษ เป็นความเชื่อใน

ด้านความเป็นอยู่ และวิถชี ีวติ ของชุมชน

ตาบลดงมหาวัน เดิมเป็นหมู่บ้านชาวพื้นเมืองล้านนาเป็น ส่วนใหญ่ และมีชาวอีสานที่อพยพมาจาก

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ทาให้มีวัฒนธรรมของชาวอีสานในตาบลดงมหาวัน คือ ประเพณีบุญบ้ังไฟ เพื่อให้

เป็นการอนุรักษ์ ประเพณีให้ย่ังยืน และสร้างความสามัคคีในชุมชนให้อย่างยืน ตาบลดงมหาวัน ได้ร่วมกันจัด

ประเพณีบุญบ้ังไฟตาบลดงมหาวัน โดยการมีส่วนร่วมของหมู่บ้านท่ีเป็นคนพื้นเมืองล้านนา และคนอีสาน

ตลอดจนเปน็ การสง่ เสริมการท่องเทีย่ วทางวฒั นธรรม โดยมกี ารจดั งานข้นึ ทุกปี ในเดือนพฤษภาคมของทกุ ปี ซง่ึ

จัดเป็นงานบุญเดือนหก ตามฮีตสิบสองครองสิบส่ี ซึ่งจัดในพ้ืนท่ีตาบลดงมหาวัน ซ่ึงเป็นสถานที่ท่ีมีความ

เหมาะสมในการจดั งานในแต่ละปี

ประชาชนในตาบลดงมหาวัน ของแตล่ ะหม่บู า้ นจะจดั เตรียมขบวนแห่ ตกแต่งเอ้หรอื บั้งไฟ โดยการจัด

งานเปน็ เวลา ๒ วัน วันแรกมพี ิธีกรรมทางศาสนา และพธิ บี ชู าพญาแถน, การแห่ขบวนบั้งไฟ ของ ๑๑ หมู่บา้ น,

การประกวดการตกแต่งบ้ังไฟ, การประกวดท้าวผาแดง-นางไอ่คา, การประกวดลาบและส้มตาลีลา, การราเซิ้ง

การละเล่นตา่ ง ๆ และการแข่งขันจดุ บั้งไฟ

ชาวอีสานทาบุญบ้ังไฟตามความเชื่อว่าบนฟ้ามีสิ่งศักด์ิสิทธ์ิหรือที่ชาวอีสานเรียกว่า “พญาแถน” ซ่ึงก็

คือเทวดาน้ันเองคอยประทานฟ้าฝน ความอุดมสมบูรณ์แห่งฤดูกาล ข้าวปลาอาหารธัญญาหารให้ บั้งไฟคือ

เครื่องบูชาหรืออุปกรณ์ท่ีจะไปบอกกล่าวให้พญาแถนทราบว่าชาวโลกยังให้ความเคารพ นับถือบูชาไม่เคยขาด

ขอจงดลบันดาลหรอื ประทานฟา้ ฝนใหต้ ามต้องการดว้ ย

๔. ชอื่ ผทู้ ่ีถือปฏิบัติและผู้สบื ทอด

๔.๑ ผู้ทถ่ี อื ปฏบิ ัติ

ชอ่ื องค์การบริหารส่วนตาบลดงมหาวนั อาเภอเวยี งเชยี งรงุ้ จังหวัดเชยี งราย

วนั เดอื น ปีเกิด -

ทอี่ ยู่ องค์การบรหิ ารส่วนตาบลดงมหาวัน อาเภอเวียงเชยี งรงุ้ จังหวัดเชยี งราย

หมายเลขโทรศัพท์ ๐๕๓ ๑๗๒ ๑๓๐

๔.๒ ผู้สืบทอด -๑๖๒-
ชอ่ื ประชาชน และเครือข่ายศาสนา ศลิ ปวฒั นธรรม ในพ้นื ที่ตาบลดงมหาวนั
วัน เดือน ปเี กดิ
ที่อยู่ -
หมายเลขโทรศัพท์ -
-

๕. สถานะ การคงอยู่  ปฏิบัตอิ ย่างแพรห่ ลาย  เสย่ี งตอ่ การสญู หาย  ไมม่ ีปฏบิ ัติแล้ว

๖. รปู ภาพภมู ปิ ัญญาทางวัฒนธรรม/กจิ กรรมทางภูมปิ ัญญาทางวฒั นธรรม

งานบุญบงั้ ไฟตาบลดงมหาวัน และพิธีเปิดงานในแตล่ ะปี

การแสดงศิลปวัฒนธรรม

พิธีทางศาสนา และพธิ ีบชู าพญา ขบวนบั้งไฟ
แถน

ขบวนแห่ การประกวดทา้ วผาแดง - นางไอ่

-1๖๓-

แบบสำรวจมรดกภมู ิปัญญำทำงวฒั นธรรมจงั หวัดเชียงรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวัฒนธรรมจงั หวัดเชยี งรำย
อำเภอแม่จนั จงั หวัดเชียงรำย

๑. ช่ือข้อมูล ประเพณปี ีใหม่เขาะจาเว

๒. ลักษณะ  วรรณกรรมพน้ื บา้ นและภาษา
 ศลิ ปะการแสดง
 แนวปฏบิ ัตทิ างสังคมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรแู้ ละการปฏบิ ตั ิเกี่ยวกบั ธรรมชาติและจกั รวาล
 งานช่างฝีมือดัง้ เดมิ
 การละเลน่ พ้นื บา้ น กีฬาพืน้ บ้าน และศิลปะการตอ่ สปู่ ้องกันตัว

๓. รำยละเอยี ดข้อมูล

๓.๑) ประวตั ิความเป็นมาของขอ้ มลู
พื้นท่ีตาบลป่าตึงเป็นพื้นที่ที่มีความหลากลายทางชาติพันธ์ุสูง ประกอบด้วย กลุ่มคนพื้นเมืองร้อยละ 50
ของประชากรและกลุ่มชาติพันธ์ุ ร้อยละ 50 ของประชากรซ่ึงประกอบดว้ ย อาขา่ (อกี อ้ ) ลาหู่ (มูเซอ) อิว้ เมยี่ น
(เยา้ ) ลซี ู (ลซี อ) ไทยใหญ่ (เง้ียว) ปะหลอ่ ง ล๊วั ะ วา้ และจนี ฮ่ออสิ ระ
ประชากรตาบลป่าตึง สามารถอยู่และดาเนินวิถีชีวิตร่วมกันเรื่อยมาได้ด้วย การใช้ประโยชน์และเห็น
ความสาคัญของวัฒนธรรมท่ีแตกต่างกัน การจัดประเพณี ปีใหม่ เขาะ จา เว จึงเป็นการสร้างความเข้าใจอันดี
งามระหวา่ งกล่มุ ชาตพิ ันธต์ า่ งๆในพื้นทีต่ าบลปา่ ตงึ และเปน็ การสง่ เสรมิ การท่องเท่ียวอีกด้วย

๓.๒) ข้ันตอน/วิธีการ/ดาเนนิ การเกี่ยวกับข้อมูล
ประเพณี“เขาะจาเว”คือ พิธีฉลองปีใหม่ของชาวไทยภูเขา (พ้ืนที่สูง) ซึ่งเป็นประเพณีหรือ
ขนบธรรมเนียมปฏิบัติสืบต่อกันมาของชนเผ่าต่างๆ 9 ชนเผ่า ประกอบด้วย ชนเผ่าอาข่า ชนเผ่าลาหู่(มูเซอ)
ชนเผา่ ลีซ(ู ลซี อ) ชนเผา่ ลวั๊ ะ และชนเผา่ จีน โดยแตล่ ะชนเผา่ จะประกอบ พธิ กี รรมประเพณีหรือขนบธรรมเนียม
ที่บรรพบุรษุ ไดส้ ืบทอดกันมาของชนเผ่าน้ัน ๆ โดยจัดข้นึ ในวนั ขึ้น 1 ค่า เดือน 3 (กุมภาพนั ธ์) ตามความเช่ือว่า
การได้ทาพิธี“เขาะจาเว”หรือการไหว้เทพพระเจ้าท่ีแต่ละชนเผ่านับถือ (ไหว้เจ้าป่าเจ้าเขา) ให้ปกปักรักษา
คุ้มครองตนเอง ครอบครัว ให้อยู่อย่างเป็นสุขอย่าได้มีโรคภัยไข้เจ็บมาเบียดเบียนและรวมถึงการขอบคุณ
ในการให้ความอุดมสมบูรณ์แก่พืชพันธุ์ธัญญาหารของชนเผ่าท่ีมีผลผลิตที่เจริญงอกงามของปีท่ีผ่าน พิธีกรรม
พิธีการจะทาหลังตรุตจีนประมาณ ๗ วัน และจะใช้เวลาอีก ๑๕ วันของแต่ละชนเผ่ารวมถึงการเชิญแขก
ต่างบ้านต่างถิ่นมาร่วมงาน มีงานเลี้ยงในหมู่บ้านที่เรียกว่า“กินวอ”มีการละเล่นร่ืนเริงหรือการแสดงชนเผ่า
ที่นิยมกันเรียกว่าเต้น“จะคึ”มีกิจกรรมในครอบครัว เช่นการจัดหิ้งบูชาพระเจ้าที่ตนเคารพนับถือภายในบ้าน
การตาข้าวปุก การตักน้าศักดิ์สิทธิ์ การดาหัวผู้สูงอายุหรือผู้อาวุโสการปลูกต้นปีใหม่(มีการเต้นรารอบต้นปใี หม่
ทุกคืน การทาพิธีขอพรจากเทพเจ้า (หงื่อชา) สรุปความเป็นมาประเพณี“เขาะจาเว” คือการรวมเอากิจกรรม
ของชนเผ่าทั้ง 9 ชนเผ่า ที่มีพิธีกรรมการไหว้เทพพระเจ้าเชน่ เดียวกันเข้ามาจัดร่วมกันเป็นงานประเพณีประจา
ตาบลหรือท้องถ่ิน ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2539 เป็นต้นมา โดยมีองค์การบริหารส่วนตาบลปา่ ตึงสนับสนุนงบประมาณ
ในการจดั งาน

-1๖๔-

ควำมมงุ่ หมำยของประเพณี
เพื่อเป็นการฟ้ืนฟูและอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณีอันดีงามดั้งเดิมของชาวไทยภูเขา การส่งเสริมการ
ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ การประชาสัมพันธ์เผยแพร่วัฒนธรรมชนเผ่าต่าง ๆ ให้เป็นท่ีรู้จักแก่บุคคลท่ัวไป อีกท้ัง
ยังได้ให้เด็ก ๆ และเยาวชนรุ่นหลังได้เห็นคุณค่าและยึดถือปฏิบัติสืบต่อกันไป เพื่อไม้ให้สูญหาย อีกทั้งยังเป็น
การปลูกฝงั ความรกั ความสามคั คีของคนในครอบครวั และหมู่คณะอีกดว้ ย
ควำมเช่ือที่เก่ยี วข้อง
การจดั งานประเพณ“ี เขาะจาเว” มคี วามเชื่อว่าเปน็ การเร่ิมต้นปใี หม่ของชนเผา่ ที่ชนเผ่าทั้ง 9 ชนเผ่าได้
ถือปฏิบัติสืบต่อกันมาเป็นเวลาช้านาน เมื่อเร่ิมต้นปีใหม่ก็ต้องประพฤติปฏิบัติตัวแต่สิ่งท่ีดีท่ีเป็นมงคลแก่ตัวเอง
ทาความดี เคารพผอู้ าวุโส (ผูส้ ูงวัย) เคารพสง่ิ ท่ีบรรพบุรุษนับถือมาแต่ดง่ั เดิม ขอพรปีใหม่จากเทพเจ้าให้อยู่เย็น
เป็นสุข ทาอาชีพอะไรก็ขอให้ได้ดี เช่น ทาอาชีพค้าขายก็ให้ค้าขายดี และหากทาการเกษตรก็ขอให้ได้ผลผลติ ท่ี
งอกงาม ซึง่ เชื่อวา่ เทพเจ้าจะให้พรแก่ผู้ขอพรในปีใหม่

๔. ชอ่ื ผูท้ ่ีถอื ปฏิบัตแิ ละผสู้ ืบทอด

๔.๑ ผู้ท่ถี อื ปฏิบตั ิ

ชอ่ื องค์การบรหิ ารสว่ นตาบลป่าตึง และกลุ่มชาติพันธใ์ นพื้นที่ตาบลป่าตงึ

อาเภอแมจ่ นั จงั หวัดเชียงราย

วัน เดอื น ปเี กิด -

ทอี่ ยู่ องค์การบรหิ ารสว่ นตาบลป่าตึง

หมายเลขโทรศัพท์ ๐๕๓ ๑๘๐ ๐๒๒

๔.๒ ผู้สบื ทอด

ชือ่ องค์การบริหารสว่ นตาบลป่าตึง และกลุ่มชาติพันธใ์ นพ้ืนทต่ี าบลป่าตงึ

อาเภอแมจ่ นั จงั หวัดเชยี งราย

วนั เดอื น ปีเกดิ -

ที่อยู่ องค์การบรหิ ารสว่ นตาบลป่าตึง

หมายเลขโทรศัพท์ ๐๕๓ ๑๘๐ ๐๒๒

๕. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏิบัตอิ ยา่ งแพร่หลาย  เสี่ยงต่อการสูญหาย  ไมม่ ีปฏิบัติแล้ว

๖. รูปภำพภมู ปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม/กจิ กรรมทำงภูมปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม

-1๖๕-

แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ัญญำทำงวัฒนธรรมจงั หวัดเชียงรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวฒั นธรรมจังหวัดเชยี งรำย

อำเภอเวียงเชียงรุง้ จงั หวดั เชยี งรำย

๑. ช่ือข้อมูล ประเพณสี รงน้าพระธาตดุ อยกู่

๒. ลกั ษณะ  วรรณกรรมพืน้ บา้ นและภาษา

 ศลิ ปะการแสดง
 แนวปฏบิ ตั ทิ างสังคมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรู้และการปฏิบตั เิ ก่ยี วกับธรรมชาตแิ ละจกั รวาล
 งานชา่ งฝีมือดั้งเดิม
 การละเล่นพื้นบา้ น กีฬาพ้ืนบ้าน และศลิ ปะการต่อสู่ป้องกนั ตวั

๓. รำยละเอยี ดข้อมลู

๓.๑) ประวัติความเปน็ มาของขอ้ มลู
การจัดงานประเพณีสรงน้าพระธาตุดอยกู่ จัดข้ึนเป็นประจาทุกปีในวันวิสาขบูชา โดยชาวบ้านในตาบลป่า
ซาง จะร่วมใจกันเดินขบวนแห่รูปจาลองพระธาตุดอยกู่ จากองค์การบริหารสว่ นตาบลป่าซาง ไปที่วัดดอยกู่ จะ
มีกิจกรรมทาบุญตักบาตร ร่วมกันทาบุญสรงน้า พระธาตุกู่ครูบา ๕ องค์ คือ ครูบาเจ้าชัยยะลังก๋า ครูบาเจ้าศรีวิชัย
หลวงปู่ครูบาเจ้าอินถา ครูบาเจ้าอภิชัยขาวปี และครูบาเจ้าชัยยะวงศาพัฒนา รวมท้ังการแสดงของผู้สูงอายุ
เยาวชน และประชาชนทัว่ ไป
รูปแบบของการจัดประเพณีสรงน้าพระธาตุดอยกู่จะจัดข้ึนเป็นประจาทุกปีในวั นวิสาขบูชา
โดยชาวบ้านในตาบลป่าซางจะร่วมใจกันเดินขบวนแห่รูปจาลองพระธาตุดอยกู่ จากองค์การบริหารส่วนตาบล
ปา่ ซาง ไปท่วี ัดดอยกู่ จะมกี จิ กรรมทาบุญตักบาตร ร่วมกนั ทาบญุ สรงนา้ พระธาตกุ ่คู รูบา
วัดดอยกู่ เป็นวัดท่ีมีอายุเก่าแก่ ของตาบลป่าซาง อาเภอเวียงเชียงรุ้ง และเป็นท่ีสักการบูชาของ
ประชาชนในตาบลป่าซาง เป็นท่ีเก็บพระธาตุของครูบาเจ้าท้ัง ๕ องค์ โดยเฉพาะในวันวิสาขบูชาจะเป็น
ประเพณีของวัดดอยกู่ทุก ๆ ปี จะมีคณะศรัทธาในเขตตาบลป่าซางและใกล้เคียงร่วมแรงร่วมใจกันจัดงาน
ประเพณีสรงน้าพระธาตุดอยกู่ครูบา โดยการนาของกานันผู้ใหญ่บ้าน ผู้นาทุกภาคส่วน งานพิธีดังกล่าวในช่วง
กลางวัน จะมีการแสดงศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น เช่น การเล่นดนตรีพ้ืนเมือง การฟ้อน มีผู้มาร่วมงานอย่าง
มากมาย ซ่ึงมีความผูกพันและเคารพนับถือครูบา จึงไม่น่าแปลกใจเลยว่าเม่ือได้ยินข่าวว่าวัดดอยกู่จะมีงาน
กม็ าช่วยงานดว้ ยความพรอ้ มเพรียงร่วมจติ รว่ มใจในพธิ ีกุศลกรรมมาตลอดไม่ขาดสายตราบจนถึงปัจจุบันนี้

๓.๒) ขั้นตอน/วิธกี าร/ดาเนนิ การเกยี่ วกับข้อมลู
การจัดงานประเพณีสรงน้าพระธาตุดอยกู่ จะจัดข้ึนเป็นประจาทุกปีในวันวิสาขบูชา โดยประชาชน
ในตาบลป่าซางจะร่วมใจกันเดินขบวนแห่รูปจาลองพระธาตุดอยกู่ มีกิจกรรมทาบุญตักบาตร ร่วมกันทาบุญ
สรงนา้ พระธาตุกคู่ รบู า การแสดงของผู้สูงอายุ เยาวชน และประชาชนท่วั ไป

-1๖๖-

๔. ชอ่ื ผ้ทู ี่ถือปฏิบัติและผูส้ ืบทอด

๔.๑ ผทู้ ี่ถือปฏิบัติ

ชอื่ องค์การบริหารสว่ นตาบลป่าซาง / สภาวฒั นธรรมตาบลปา่ ซาง

วัน เดอื น ปเี กิด -

ทอี่ ยู่ องค์การบริหารส่วนตาบลป่าซาง อาเภอเวียงเชยี งร้งุ จงั หวัดเชยี งราย

หมายเลขโทรศัพท์ ๐๕๓ ๑๗๓ ๖๖๑

๔.๒ ผู้สบื ทอด

ช่ือ ประชาชนในตาบลป่าซาง อาเภอเวยี งเชียงรงุ้ จังหวดั เชียงราย

วนั เดือน ปเี กดิ -

ทีอ่ ยู่ -

หมายเลขโทรศัพท์ -

๕. สถานะ การคงอยู่  ปฏบิ ตั ิอย่างแพรห่ ลาย  เส่ียงต่อการสญู หาย  ไมม่ ีปฏิบัตแิ ลว้

๖. รปู ภาพภมู ิปญั ญาทางวัฒนธรรม/กจิ กรรมทางภูมิปัญญาทางวฒั นธรรม

อุโบสถวัดดอยกู่ พระธาตุ 5 พระองค์

ขบวนแหเ่ ครอ่ื งสกั การะ

พทุ ธศาสนิกชนสรงน้าพระธาตดุ อยกู่ การแสดงศลิ ปวัฒนธรรม

-1๖๗-

ขบวนแห่เครือ่ งสักการะ ขบวนแหเ่ คร่อื งสักการะ

-1๖๘-

แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ญั ญำทำงวฒั นธรรมจงั หวดั เชียงรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวฒั นธรรมจงั หวัดเชยี งรำย
อำเภอแม่จนั จงั หวัดเชียงรำย

๑. ช่ือข้อมลู ประเพณสี ืบชะตาแม่น้าจัน

๒. ลกั ษณะ  วรรณกรรมพ้ืนบา้ นและภาษา
 ศิลปะการแสดง
 แนวปฏบิ ตั ทิ างสังคมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรูแ้ ละการปฏิบตั ิเกี่ยวกบั ธรรมชาตแิ ละจักรวาล
 งานชา่ งฝมี อื ดัง้ เดมิ
 การละเลน่ พน้ื บา้ น กีฬาพ้นื บ้าน และศลิ ปะการตอ่ สูป่ ้องกนั ตัว

๓. รำยละเอียดข้อมลู

๓.๑) ประวัตคิ วามเป็นมาของขอ้ มูล
น้าแม่จันเป็นลุ่มน้าขนาดเล็ก โดยตั้งแต่พื้นที่ลุ่มน้าบริเวณส่วนบนซึ่งเป็นป่าต้นน้าอยู่ในเขตตาบล
ป่าตึงอาเภอแม่จัน และตาบลแม่สลองนอก อาเภอแม่ฟ้าหลวง เนื้อที่ประมาณ 235 ตารางกิโลเมตร
(146,875ไร่) บริเวณส่วนกลางลุ่มน้าอยู่ในเขตเทศบาลเมืองและเขตตาบลแม่จัน ตาบลศรีค้า ตาบลจอมสวรรค์
ตาบลสันทราย ตาบลป่าซาง อาเภอแม่จัน และส่วนปลายน้าในเขตตาบลจันจว้า อาเภอแม่จัน และเขตตาบล
ป่าสัก อาเภอเชียงแสน เน้ือท่ี ประมาณ 325ตารางกิโลเมตร ความยาวของลาน้าแม่จันประมาณ 85 กิโลเมตร
บรรจบแม่น้าคาท่ีบา้ นสันมะเค็ด ตาบลป่าสัก อาเภอเชียงแสน ก่อนไหลลงสู่แมน่ ้าโขงท่ีบ้านสบคา ตาบลเวยี ง
อาเภอเชียงแสน และคิดเป็นพื้นท่ีของลุ่มน้าแม่จันประมาณ 560 ตารางกิโลเมตร หรือ 350,000 ไร่
“แม่น้าจัน” เป็นแม่น้าสายหลักของอาเภอแม่จันมีต้นกาเนิดมาจากเทือกเขารอยต่อกับสหภาพเมียนมาร์
ทางทศิ ตะวันตก นับเปน็ แม่น้าท่สี าคญั ท่ีหล่อเล้ียงชีวิตและเอ้ือประโยชน์ให้กับพ่นี ้องประชาชนตาบลป่าตึงและ
ชาวอาเภอแม่จัน โดยไหลผ่านชมุ ชนเมืองแมจ่ นั และชมุ ชนหมูบ่ า้ นอื่น ๆ ตลอดจนพน้ื ท่เี กษตรกรรมของตาบล
ป่าตึง ตาบลแม่จัน ตาบลสันทราย ตาบลป่าซาง ตาบลจอมสวรรค์ ตาบลจันจว้า และตาบลจันจว้าใต้ ในอดีต
แม่น้าจันมีขนาดกว้างใหญ่และลึก มีน้าอุดมสมบูรณ์ตลอดปี เป็นอู่ข้าวอู่น้า ช่ืออาเภอจึงเรียกว่า “อาเภอแม่จัน”
ตามช่ือแม่น้าสายนี้ปัจจุบันแม่น้าจัน แคบ เล็กและตื้นเขิน มีน้าไหลน้อย เน่ืองจากสาเหตุหลายประการ เช่น
การบุกรุก ตัดทาลายป่าไม้ ต้นน้าลาธาร มีการบุกรุกถมท่ีชายตล่ิง มีการท้ิงขยะมูลฝอย ส่ิงปฏิกูลต่าง ๆ
อย่างขาดความสานึก จึงก่อให้เกิดความเดือดร้อนอย่างสืบเน่ือง ฤดูฝนน้าจะท่วมบ้านเรือนที่อยู่อาศัย และฤดูแล้ง
จะขาดแคลนนา้ ไม่เพยี งพอต่อการเกษตร
๓.๒) ขนั้ ตอน/วธิ กี าร/ดาเนินการเกีย่ วกบั ขอ้ มลู
การประกอบพิธีสืบชะตาแม่น้าจัน เป็นประเพณีประจาปีของชาวตาบลป่าตึงและชาวอาเภอแม่จัน
เพื่อให้ลูกหลานได้ศึกษา เรียนรู้ และนาไปปฏิบัติสืบต่อกันไปโดยที่ไม่ให้ประเพณีสืบชะตาแม่น้าจันได้หายไป
และประกอบพิธีได้อย่างถูกต้องสืบไป มีความร่วมมือร่วมใจกันฟ้ืนฟูสภาพแม่น้าจัน ให้เป็นแม่น้า แห่งชีวิต
ของชาวแม่จันสืบไป เคร่ืองใช้ประกอบพิธีในการสืบชะตาจะส่ือความหมายไปยังสิ่งท่ีเช่ือว่ามีอานาจในการต่อ
อายหุ รอื ตอ่ ดวงชะตาให้ตนได้ ซึ่งกค็ อื อานาจทเ่ี ก่ียวกับธรรมชาติ ทาใหท้ ราบถึงความคดิ ความเชื่อท่ีแฝงอยู่ใน
จิตสานึกของคนในสังคมล้านนาไทยได้พอสมควร แม้ว่าคนที่ทาพิธีเหล่าน้ีในปัจจุบันจะไม่ได้คานึงถึง
ความหมายที่แท้จริงเลยกต็ าม แตจ่ ากความคดิ ความเช่ือทีแ่ ฝงอยู่ในจิตสานึกเคร่ืองประกอบพธิ ีเหล่านี้จึงยังคง
มีอิทธิพลต่อจิตใจของคนอยู่มาก อย่างไรก็ตามการตีความหมายของเคร่ืองใช้ประกอบพิธีเหล่านี้ย่อมต้อง
ข้ึนอยู่กับความคิด ความเชื่อของคนท่ีทาพิธีนัน้ ๆ ซึ่งย่อมจะผิดแผกแตกต่างกันไปตามแต่ละสังคมและยังอาจ
ชใี้ หเ้ หน็ ถงึ ความสมั พันธข์ องสงั คมท่ีใชเ้ ครอื่ งใช้ประกอบพธิ ที ค่ี ลา้ ยคลงึ กันได้

๔. ชอื่ ผ้ทู ี่ถือปฏิบัตแิ ละผสู้ บื ทอด -1๖๙-

๔.๑ ผู้ท่ีถือปฏิบัติ

ชื่อ องค์การบริหารส่วนตาบลปา่ ตงึ นายอ้าย ชมุ่ เมืองเย็น นายสงิ หค์ า ยานะใจ

วัน เดอื น ปีเกดิ -

ที่อยู่ องค์การบรหิ ารส่วนตาบลป่าตึง อาเภอแมจ่ นั จังหวดั เชยี งราย

หมายเลขโทรศัพท์ ๐๕๓ ๑๘๐ ๐๒๒

๔.๒ ผูส้ ืบทอด

ช่ือ องค์การบริหารสว่ นตาบลป่าตึง นายอ้าย ชมุ่ เมืองเย็น นายสิงหค์ า ยานะใจ

วัน เดือน ปีเกดิ -

ทีอ่ ยู่ องค์การบริหารส่วนตาบลป่าตึง อาเภอแมจ่ นั จงั หวัดเชยี งราย

หมายเลขโทรศัพท์ ๐๕๓ ๑๘๐ ๐๒๒

๕. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏิบัตอิ ย่างแพรห่ ลาย  เสี่ยงตอ่ การสญู หาย  ไมม่ ีปฏิบตั แิ ลว้

๖. รูปภำพภมู ปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม/กิจกรรมทำงภูมปิ ัญญำทำงวฒั นธรรม

-1๗๐-

แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ญั ญำทำงวฒั นธรรมจงั หวดั เชยี งรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวัฒนธรรมจงั หวดั เชยี งรำย
อำเภอแมจ่ นั จงั หวัดเชียงรำย

๑. ชื่อข้อมูล ประเพณีสู่ขวญั ควาย

๒. ลักษณะ  วรรณกรรมพืน้ บา้ นและภาษา
 ศิลปะการแสดง
 แนวปฏบิ ัตทิ างสังคมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความร้แู ละการปฏิบตั เิ กย่ี วกับธรรมชาตแิ ละจักรวาล
 งานชา่ งฝีมอื ดั้งเดมิ
 การละเลน่ พนื้ บา้ น กีฬาพื้นบ้าน และศิลปะการต่อสูป่ ้องกนั ตัว

๓. รำยละเอียดข้อมลู
๓.๑) ประวตั คิ วามเป็นมาของข้อมูล
ตามประเพณีชาวล้านนา เม่ือถึงฤดูทานาตอ้ งใชแ้ รงวัวควายจนเสรจ็ การทานาหลงั จากการปลูกข้าว

แล้ว เพ่ือเป็นการราลึกถึงบุญคณุ ของสัตว์ท่ใี ช้งานหนัก

๓.๒) ขั้นตอน/วธิ กี าร/ดาเนินการเก่ยี วกบั ขอ้ มลู
พิธีสู่ขวัญควายโดยเริ่มไปเก่ียวหญ้าที่วัวควายชอบมาสักหาบเพ่ือให้วัวควายกิน โดยการเตรียมดอกไม้
ธูปเทียน นาใบตอง ทาเป็นกรวยดอกไม้พร้อมด้วยสายสิญจน์ เพื่อมัดติดเขาวัวควาย นาไก่ต้มหนึ่งหรือสองตัว
พรอ้ มขา้ วเหนียวน่งึ และน้าส้มป่อยมาเตรียมไว้ เรมิ่ ทาพิธสี ู่ขวญั โดยมีการขอโทษขอโพยววั ควายที่ไดด้ ่าเฆ่ียนตี
ในขณะท่ีทาการไถ่นาทผี่ ่านมา โดยกล่าววา่
“ขออยา่ ให้มเี วรกรรมซึ่งกันและกัน ขอให้เจ้าของววั ควายจงอยู่เยน็ เป็นสุขสบายหากพ้นหายจากโลกน้ี
ขอเจ้าจงพ้นจากการเป็นสัตว์เดียรัจฉาน ขอให้ได้พบสมภารนักปราชญ์เจ้า ขอให้สุขสบาย เต่ียงเต้าตลอดไป
จตั ตาโล ธมั มา วฒั ฒันติ อายุวณั โน สุขงั พลัง”
เม่ือจบแล้วก็นาเอาข้าวนึ่งสักหน่ึงกามือและเน้ือไก่หน่ึงชิ้นวางไว้ระหว่างเขาควาย เอากรวยดอกไม้
ตดิ เขาท้งั สองแลว้ ประพรมนา้ ส้มปอ่ ยเป็นอันเสร็จพิธี
ปัจจุบันวิวัฒนาการในการทาเกษตรพัฒนาไปมาก มักไม่มีการไถ่นาด้วยวัวควายแล้ว การเล้ียงวัว
เล้ยี งควายในปจั จุบันเพื่อการส่งออกเป็นอาหาร การทาพิธีส่ขู วญั ควายเพ่ือเปน็ การรักษาประเพณวี ัฒนธรรมท่ีมี
มาแตเ่ ดิมเท่านน้ั

๔. ช่ือผูท้ ี่ถอื ปฏิบัติและผ้สู ืบทอด
๔.๑ ผทู้ ีถ่ ือปฏิบตั ิ
ชือ่ จ.ส.ต.อทุ ัย สยุ ะศักดิ์
วัน เดอื น ปเี กิด -
ที่อยู่ -
หมายเลขโทรศัพท์ ๐๘๐ ๕๐๓ ๗๔๗๙
๔.๒ ผ้สู บื ทอด
ชอ่ื นายพิพัฒนะ ซาวคาเขต และเทศบาลตาบลสายน้าคา
วัน เดือน ปีเกดิ -
ที่อยู่ เทศบาลสายน้าคา อาเภอแม่สาย จงั หวดั เชยี งราย
หมายเลขโทรศัพท์ ๐๕๓ ๗๗๙ ๑๙๘ , ๐๕๓ ๗๗๙ ๓๘๘

-๑๗๑-
๕. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏบิ ตั ิอย่างแพรห่ ลาย  เสีย่ งต่อการสญู หาย  ไม่มปี ฏบิ ตั ิแลว้
๖. รูปภำพภมู ปิ ญั ญำทำงวัฒนธรรม/กิจกรรมทำงภูมปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม

-1๗๒-

แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ญั ญำทำงวัฒนธรรมจงั หวัดเชยี งรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวัฒนธรรมจังหวดั เชยี งรำย

อำเภอแม่ฟ้ำหลวง จงั หวดั เชียงรำย

๑. ชื่อข้อมลู ปอยส่างลอง

๒. ลกั ษณะ  วรรณกรรมพนื้ บ้านและภาษา
 ศลิ ปะการแสดง
แนวปฏบิ ตั ิทางสงั คมพิธกี รรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความร้แู ละการปฏิบัติเกยี่ วกบั ธรรมชาตแิ ละจักรวาล
 งานช่างฝีมอื ดั้งเดมิ
 การละเล่นพื้นบา้ น กีฬาพื้นบา้ น และศลิ ปะการต่อส่ปู ้องกนั ตัว

๓. รำยละเอยี ดข้อมูล

๓.๑) ประวัติความเป็นมาของข้อมลู
งานบวชลูกแก้ว จัดขึ้นเพื่อบรรพชาเป็นสามเณรในพระพุทธศาสนาของชาวไทใหญ่ท่ีอาศัยอยู่ประเทศไทย
เช่น จังหวัดแม่ฮ่องสอน เชียงใหม่ และในจังหวัดเชียงรายมีชาวไทยใหญ่อาศัยกระจายอยู่ในอาเภอแม่สาย
ส่วนอาเภอแมฟ่ า้ หลวงมชี าวไทยใหญ่อาศัยอยู่ ณ บา้ นห้วยน้าขนุ่ ตาบลแมฟ่ ้าหลวง จงั หวัดเชยี งราย ประชากร
สว่ นใหญส่ บื เชอื้ สายมาจากไทยใหญ่ในประเทศพม่าและยา้ ยถิ่นฐานอบอพยพเขา้ มาในประเทศไทยโดยสืบทอด
งานประเพณีน้ีมาเป็นเวลาช้านาน และถือว่าประเพณี “ปอยส่างลอง” เป็นประเพณีท่ีสาคัญทางพระพุทธศาสนา
ของชาวไทยใหญ่และส่งเสริมให้มีการจัดกิจกรรม ข้ึนเป็นประจาทุกปี ในสมัยก่อนถือว่าการบวชลูกแก้วน้ี
เป็นการให้การศึกษาแก่บุตรหลานของคนไตในช่วงท่ีเก็บเก่ียวข้าวในนาเสร็จแล้ว โดยจัดขึ้นระหว่างเดือน
มีนาคมและเดือนเมษายน ของทุกปพี อถึงเดือนมนี าคมและเมษายน

๓.๒) ข้ันตอน/วิธกี าร/ดาเนินการเกยี่ วกับข้อมูล
ประเพณีปอยส่างลอง มีกิจกรรมท่ียุ่งยาก ซับซ้อน และจัดกิจกรรมต่อเนื่องเป็นเวลานานผู้ท่ีมีส่วน
เก่ียวข้องจะต้องมีการเตรียมงานล่วงหน้าอย่างมีขั้นตอนตลอดจนวิธีการจะต้องยึดถือและปฏิบัติ ตามแนวทาง
จารีประเพณสี บื ทอดมาแต่โบราณ แต่จะมีการประยกุ ตใ์ ช้ใหเ้ หมาะสมกบั สภาวการณ์ในปัจจุบนั การเตรยี มงาน
ตามความเชื่อของชาวไทยใหญ่เป็นการจัดทากันตามประเพณีท่ยี ึดถือปฏิบัติสบื ต่อกันมาซึ่งมีการศึกษา ค้นคว้า
รวบรวมประวตั กิ ารจัดกิจกรรมจากผู้รู้และผลงานการศึกษาวิจัยของผู้ที่สนใจ

๔. ช่อื ผทู้ ี่ถือปฏิบัตแิ ละผสู้ ืบทอด -
๔.๑ ผทู้ ถ่ี ือปฏิบตั ิ -
ช่อื -
วัน เดอื น ปีเกดิ -
ที่อยู่ -
หมายเลขโทรศัพท์ -
๔.๒ ผสู้ บื ทอด -
ชอื่ -
วนั เดือน ปีเกิด
ทีอ่ ยู่
หมายเลขโทรศัพท์

-๑๗๓-
5. สถำนะ กำรคงอยู่ ปฏบิ ตั อิ ย่างแพร่หลาย  เสย่ี งตอ่ การสญู หาย  ไม่มปี ฏิบตั แิ ลว้
6. รปู ภำพภูมิปญั ญำทำงวัฒนธรรม/กจิ กรรมทำงภูมปิ ัญญำทำงวฒั นธรรม

-1๗๔-

แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ญั ญำทำงวัฒนธรรมจงั หวัดเชียงรำย ประจำปี 2565
สภำวัฒนธรรมจังหวดั เชยี งรำย
อำเภอเชียงของ จงั เหวัดเชยี งรำย

1.ช่ือข้อมูล พธิ ีกรรม ประเพณี การฮ้องขวญั สืบชะตา

2.ลกั ษณะ  วรรณกรรมพื้นบา้ นและภาษา
 ศิลปะการแสดง
 แนวปฏบิ ตั ทิ างสังคมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรู้และการปฏบิ ตั เิ กยี่ วกับธรรมชาติและจักรวาล
 งานชา่ งฝีมอื ดงั้ เดิม
 การละเลน่ พ้ืนบ้าน กีฬาพื้นบา้ น และศลิ ปะการตอ่ สูป่ ้องกนั ตวั

๓. รำยละเอียดข้อมลู

๓.๑) ประวัตคิ วามเป็นมาของข้อมูล
การฮ้องขวัญ ซ้อนขวัญ เน่ืองจากบุคคลได้เจ็บป่วยไข้ไม่สบาย เลยให้พ่ออาจารย์มาซ้อนข้าวฮ้องขวัญ
มาสูข่ วัญ และการสืบชะตาจะทาช่วงสงกรานต์ของทุกปี

๓.๒) ขัน้ ตอน/วธิ ีการ/ดาเนินการเก่ียวกับขอ้ มูล
การฮ้องขวัญสู่ขวัญให้ดูวันเวลา และเตรียมสวิง+ดอกไม้+เทียน+กล้วย+ข้าว+ฝ้าย+เงิน การสืบชะตา
เตรยี มสะตวงปั้นรปู สตั วต์ า่ ง ๆ ของกนิ ทกุ อยา่ ง ผลละหมากรากไม้ทุกชนดิ

๔. ช่อื ผ้ทู ี่ถอื ปฏิบัติและผู้สบื ทอด

4.1 ช่อื ผู้ถอื ปฏิบัติ

ชื่อ นายสทุ ศั น์ วงคโ์ กฎ

วนั เดอื น ปเี กิด 15 มกราคม 2506

ท่ีอยู่ 16 หมู่ 2 ตาบลรมิ โขง อาเภอเชยี งของ จังหวดั เชยี งราย

หมายเลข 081 831 4964
๔.๒ ผู้สืบทอด
ชือ่ -
วัน เดอื น ปีเกดิ -
ทอี่ ยู่ -
หมายเลขโทรศัพท์ -

๕. สถานะ การคงอยู่  ปฏบิ ัตอิ ยา่ งแพรห่ ลาย  เสี่ยงต่อการสูญหาย  ไมม่ ปี ฏบิ ัตแิ ล้ว

6. รปู ภำพภมู ปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม/กิจกรรมทำงภูมิปัญญำทำงวฒั นธรรม

- ไม่มี -

-1๗๕-

แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ัญญำทำงวฒั นธรรมจงั หวดั เชียงรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวฒั นธรรมจังหวัดเชยี งรำย
อำเภอเวียงชัย จังหวัดเชยี งรำย

๑. ช่ือข้อมลู พิธกี รรมทางศาสนา

๒. ลกั ษณะ  วรรณกรรมพ้ืนบา้ นและภาษา
 ศลิ ปะการแสดง
 แนวปฏบิ ตั ทิ างสงั คมพิธกี รรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความร้แู ละการปฏิบัติเก่ยี วกับธรรมชาติและจกั รวาล
 งานช่างฝีมอื ด้ังเดิม
 การละเล่นพ้ืนบา้ น กีฬาพื้นบ้าน และศลิ ปะการตอ่ สู่ป้องกนั ตวั

๓. รำยละเอียดข้อมลู

๓.๑) ประวัตคิ วามเป็นมาของขอ้ มลู
ความเช่ือดั้งเดิมของชาวล้านนา มีแนวคิดพื้นฐานเก่ียวกับเร่ืองผีผสมผสานกับความเป็นพุทธได้อย่าง
ลงตัว เสมือนหนึ่งว่าผีและพุทธร่วมกันสร้างโลกทัศน์ให้ชาวล้านนามีรูปแบบเฉพาะของตนเอง ดังเช่นในขณะ
ทีม่ กี ารเลี้ยงผีปู่แสะยา่ แสะ กจ็ ะต้องขงึ ภาพพระบฏเพ่อื เปน็ สัญลกั ษณก์ ารมาถึงของพระพทุ ธเจ้าด้วย
ศาสนพิธี หมายถึง ระเบียบแบบแผนหรือแบบอย่างที่ถือปฏิบัติในศาสนาเมื่อนามาใช้ในพระพุทธศาสนา
จึงหมายถงึ ระเบยี บแบบแผนหรือแบบอย่างท่ีพึงปฏิบตั ิติในพระพุทธศาสนา ศาสนพธิ ีตา่ ง ๆ ช่วยทาให้ความศรัทธา
ต่อพระพุทธศาสนิกชนมีความแน่นแฟ้นยิ่งข้ึนเป็นสิ่งตอกย้าใจให้ระลึกถึงคุณของพระรัตนตรัยได้อย่างดีเย่ียม
จึงเป็นระเบียบแบบแผนอันดีงามที่ควรรักษาไว้คู่กับพระพุทธศาสนาตลอดไปส่ิงหนง่ึ ที่ทาใหเ้ ห็นถึงความสาคญั
ของพุทธศาสนาในชาวล้านนา คอื ประเพณตี ่าง ๆ ทง้ั 12 เดอื น ลว้ นแลว้ เกยี่ วข้องกับพุทธศาสนาแทบท้ังสน้ิ แมก้ ระท่ัง
กิจกรรมต่าง ๆ ในช่วงชีวิตหน่ึงก็ยังมีความสัมพันธ์กับพุทธศาสนาด้วย อาทิ การข้ึนบ้านใหม่ การบวช การสืบ
ชะตา เป็นตน้
นายธรรมรัตน์ มณีคา ได้ศึกษาเรียนรู้พิธีกรรมทางศาสนาต้ังแต่สมัยเยาว์วัย ซึ่งได้ศึกษาเรียนรู้จาก
การบวชพระ และสบื ทอดมาจากผู้เป็นลุงรวมถงึ ศึกษาค้นควา้ ทางตาราพิธีกรรมตา่ ง ๆ และปฏิบัตสิ ืบต่อมาจนถงึ ปัจจุบนั

๓.๒) ขนั้ ตอน/วิธกี าร/ดาเนินการเก่ียวกับข้อมูล
พิธกี ำรตักบำตร
คือการนาข้าวและอาหารคาวหวานใส่บาตรพระหรือสามเณร โดยอาจทาประจาวันในท้องถิ่นชุมชน
ท่ีมีพระสงฆ์และสามเณรออกบิณฑบาต จะทาในวันเกิดของตนหรอื วันสาคัญทางศาสนา รวมท้ังวัน ๘ ค่า และ
๑๔, ๑๕ ค่า เปน็ ตน้
พธิ ถี วำยสังฆทำน
คือการถวายวัตถุท่ีควรเป็นทานแก่สงฆ์ มิได้เจาะจงแก่ภิกษุรูปใดรูปหนึ่ง หากถวายเจาะจงเฉพาะรูป
เรียกว่า “ปาฏิบุคลิกทาน” ไม่ต้องมีพิธีกรรมอะไรในการถวาย ส่วนสังฆทานนั้นเป็นการถวายกลาง ๆ ให้สงฆ์
เฉลย่ี กนั ใชส้ อย จึงมีพธิ กี รรมเขา้ มาเกีย่ วขอ้ งด้วย โดยเฉพาะการถวายและการอนโุ มทนาของสงฆ์
กำรอำรำธนำศลี และสมำทำนศีล
เบื้องต้นของการบาเพ็ญกุศลของพุทธศาสนิกชน ต้องมีพิธีรับสรณคมน์และศีลก่อนแล้วจึงค่อย
อาราธนา พระปริตรถ้าบาเพ็ญบุญเก่ียวกับการเทศนจ์ ึงจะอาราธนาธรรม การที่ขอเบญจศีลก่อนเสมอไปทุกพิธี
น้ัน เพื่อชาระจิตให้บริสุทธ์ิ ให้เป็นผู้มีศีลสมควรแก่การรอง รับ พระธรรมสรณคมน์ หมายความว่าขอถึง
พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์เป็นท่ีพ่ึงก่อนอาราธนาควรกราบพระพุทธรูป ทโ่ี ต๊ะหมู่บูชาและบชู าพระก่อนแล้ว
จงึ กล่าวคาอาราธนาตามดว้ ยการสมาทานศีล

-1๗๖-
ศำสนพธิ ตี ่ำง ๆ ทำงพระพทุ ธศำสนำ
- การประเคนของ
- การกรวดนา้
- โตะ๊ หมูบ่ ูชา
- ระเบยี บปฏิบัตกิ ารมอบเทียนชนวนผใู้ หญ่
- พิธีกรรมในวันสาคัญทางพระพุทธศาสนา
- ระเบยี บปฏิบัตกิ ารไปรว่ มงานศพ
- วฒั นธรรมชาวพทุ ธที่ปรากฎหลักฐานในพระไตรปิฎก
พิธีกรรมงานบุญต่าง ๆ ของชาวพุทธ สามารถนามาปฏิบัติได้ตามกิจกรรมงานบุญต่าง ๆ ได้พร้อมกัน
ในวันเดียวกัน เช่นในพิธีทอดกฐิน พิธีทอดผ้าป่า พิธีถวายจตุปัจจัยไทยธรรม พิธีทาบุญปุพพเปตตพลีอุทิศบุญ
ให้บรรพบุรุษหรือผู้ท่ีล่วงลับไปแล้วในวันพระขึ้น ๑๔ ค่า ๑๕ ค่า และวันแรม ๑๔ ค่า ๑๕ ค่า พิธีจุดประทีป
ในวันสาคัญทางพระพุทธศาสนา เช่นวนั มาฆบชู า วนั วิสาขบชู า วันอาสาฬหบชู า

๔. ชือ่ ผทู้ ่ีถือปฏิบัตแิ ละผสู้ ืบทอด

๔.๑ ผทู้ ่ีถอื ปฏบิ ัติ

ชอื่ นายธรรมรตั น์ มณีคา

วัน เดอื น ปเี กดิ 26 สงิ หาคม 2500

ท่ีอยู่ ๑๒๓ หมู่ ๑ ตาบลเวียงเหนื อาเภอเวยี งชยั จังหวัดเชียงราย

หมายเลขโทรศัพท์ 087-1758161
๔.๒ ผู้สบื ทอด
ชือ่ -
วัน เดอื น ปีเกดิ -
ทอ่ี ยู่ -
หมายเลขโทรศัพท์ -

๕. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏบิ ัตอิ ยา่ งแพร่หลาย  เสย่ี งตอ่ การสญู หาย  ไม่มปี ฏบิ ัติแล้ว

๖. รปู ภำพภมู ปิ ญั ญำทำงวัฒนธรรม/กิจกรรมทำงภูมิปัญญำทำงวัฒนธรรม

-1๗๗-

-1๗๘-

แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ัญญำทำงวัฒนธรรมจังหวดั เชยี งรำย ประจำปี ๒๕๖4
สำนักงำนวัฒนธรรมจังหวดั เชยี งรำย
อำเภอแมจ่ ัน จงั หวัดเชยี งรำย

๑. ชื่อข้อมลู พธิ ีกนิ อ้อผะญา๋ ล้านนา

๒. ลกั ษณะ  วรรณกรรมพืน้ บ้านและภาษา
 ศิลปะการแสดง
 แนวปฏิบัติทางสงั คมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรูแ้ ละการปฏบิ ัตเิ ก่ยี วกับธรรมชาติและจักรวาล
 งานชา่ งฝมี ือด้งั เดมิ
 การละเล่นพ้ืนบ้าน กีฬาพื้นบ้าน และศลิ ปะการต่อสู่ป้องกนั ตวั

๓. รำยละเอยี ดข้อมูล

๓.๑) ประวัติความเปน็ มาของขอ้ มูล
ไม้อ้อ ตามพจนานุกรม หมายถึง พรรณไม้ล้มลุกชนิด Arundo donax Linn. หรือ Gramineace ข้ึน
เป็นกอตามริมลาธาร ลาต้นแข็ง ปล้องในกลวงต้นอ้อต้นไม้ที่ชอบขึ้นในพื้นท่ีช้ืนแฉะ ลาต้น เป็นปล้องแข็ง
ใบเรียวเหมือนต้นแขมหรือหญ้าคา มีดอกสีขาว เวลาบานจะเป็นปุยนุ่นแผ่กระจายสวยงาม แพร่พันธุ์และแตกกอ
ได้งา่ ย ตายยาก
พิธีกินอ้อผะญ๋ำล้ำนนำ ชาวล้านนามีวิถีชีวิตท่ีควบคู่ไปกับความเช่ือ ทั้งท่ีมาจากความเชื่อด้ังเดิมและ
ความเช่ือที่เกิดจากคาสอนทางพระพุทธศาสนาหรือเกิดจากการผสมผสานความเช่ือทั้งสองเข้าด้วยกัน
เพอื่ ความสวัสดี ความเจรญิ รุง่ เรอื งของชวี ติ หรอื แมใ้ นยามชีวิตตกอยู่ในหว้ งทกุ ข์ ชาวลา้ นนาก็มกี ุศโลบายในการ
ประยุกต์ส่วนใหญ่จะมุ่งเน้นไปที่ผลทางด้านจิตใจ การเรียนรู้ การศึกษาก็เป็นส่ิงที่ชาวล้านนาให้ความสาคัญ
ไม่น้อยกว่าด้านอ่ืน ๆ ชาวล้านนาตระหนักว่า คนเราเกิดมานั้นระดับสติปัญญา การเรียนรู้ของคนน้ันแตกต่าง
กันไป แต่ถึงถึงกระนั้นก็มีการค้นคิดวิธีการทางจิตวิทยาเพื่อช่วยเพ่ิมกระบวนการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพไปด้วย
คนล้านนาในแวดวงการศึกษาของพระสงฆ์สมัยโบราณให้ความสาคัญกับทางพิธีกรรมทางจิตท่ีเรียกว่า
การกินอ้อผะญ๋าอย่างมาก เพราะเป็นกระบวนการที่ช่วยลดปมด้อยของคนท่ีคิดว่าตนเองมีความจาไม่ดี
สติปัญญาไม่ดี ไม่ปรอดโปร่ง และช่วยเพ่ิมความม่ันใจให้กับคนท่ีสมองดีอยู่แล้วด้วย ปัจจุบันพิธีกรรมดังกล่าว
แพร่หลายอย่วู งแคบ ๆ ในหมทู่ ี่ยงั มีความเชื่ออยู่ แต่นบั วันจะเลือนหายจากความทรงจาไปแลว้ เพราะวิทยาการ
ในสมัยใหม่มีบทบาทมาก จนทาให้มนุษย์แทบจะไม่ต้องคิดอะไรเพราะมีเครื่องมือช่วยคิด ช่วยคานวณ การ
เรียนรู้จดจาที่ต้องใช้สมองท่องจาแทบจนหมดความจาเป็นไป การกินอ้อผญ๋านั้น มีวินัยทางกระบวนการ
ท่ีต้องพิจารณากันเป็นพิเศษ ท้ังสัญลักษณ์ของอุปกรณ์ท่ีก็น่าศึกษาอย่างยิ่ง แวดวงศึกษาของชาวบ้านล้านนา
ส่วนหน่ึงเช่ือว่า ผู้ใดผ่านการกินอ้อผญ๋ามาแล้วแม้นว่าสมองทึบ สติปัญญาไม่เอาไหน ก็จะกลายเป็นคนมี
สติปัญญาเป็นเลิศ สามารถท่องจาได้ดี มีการจัดพิธีกรรมดังกล่าวไม่มากหนัก ในปีหนึ่งๆ มีการคัดเลือกคน
เข้าร่วมพิธีด้วยเช่นกัน ผู้ประกอบพิธีกรรมหรือผู้เข้าใจกระบวนการหายาก ส่วนใหญ่จะเป็นพระสงฆ์ที่ผ่าน
การบวชเรียนมาแลว้

-1๗๙-

คุณสมบัติของอ้อมี 5 อย่ำง (ในอ้อ 1 ปล้อง คือ จื่อ จ๋ำ ผญำ สิเนหำ เต๋ชำ) ให้ต้ังสัจจาธิษฐานอ้อ

หลักไว้ก่อนเช่นเรียนหนังสือตั้งอ้อจ่ือ (จา) จ๋า ผญา สิเนหา เตชา ตามมาเอง โต้วาที หรือช่างซอ คาว จ๊อย

นักร้อง ดนตรี จะนิยมอ้อจ๋า เป็นครู หรือต้องการฉลาดมีไหวพริบปฏิภาณ ลายมือสวย จะนิยมอ้อผญา

(สติปัญญา) หนุ่มสาวมักต้องการอ้อสิเนหา ท้ังฟ้อนรา เล่นดนตรี แสดงละคร ลิเก ค้าขาย จะนิยมอ้อสิเนหา

ร่างกายอ่อนแอ ต้องการเอาไปผสมยา จะนิยมเด๋ชา(สามารถขออาจารย์กากับคาถาเต๋ชาเป็นน้าผ้ึงขวดได้

เหมือนน้ามนต์ใส่น้าต้น หรือกระบอกไม้ (สมัยก่อน) สรุปว่า ถ้าสามเณรหรือพระ หรือครูบาทาอ้อกิน

จะเรียกอ้อธรรม ออ้ อรหันต๋า ถ้าชาวบ้าน จะเรียกออ้ ผญา หรอื ออ้ ภมู ิวิสัย ท่วั ไปคอื ออ้ ท้ัง ๕

วัน เดือน ท่นี ยิ มทำพิธีกินอ้อผญำ๋
1. วนั พญาวัน(สงกรานต์) ก่อนเทย่ี ง
2. วนั ท่ี 31 ธันวาคม คาบเกย่ี ว 1 มกราคม เท่ียงคืน หรือ 25 น.
3. วันสมโภชพระประธาน หรือพระธาตุ สมโภชสวดมนต์ต๋ัน และสวดเช้า หลังถวายข้าวมธุปายาส
กย็ กออ้ มาแจก (เสร็จพธิ ี)
4. วันต้ังธรรมเดือนย่ีเป็ง(เพ็ญเดือน 12) ตั้งธรรมมหาชาติ หรือมหาชาติย่อ แต่ต้องอ่านคาถาพันให้
จับท้ังพันคาถา มนต์คาถาพนั กากบั จะทงั้ 3 ผกู รวดเดียว หรอื กากบั ทลี ะผูก รวดเดียวจบหลังเทยี่ งกแ็ จกได้
5.วันต้ังธรรม แต่เป็นธรรมมนต์ท้ัง 5 คือ มหาทิพย์มนตร์ สารากริวิชานสูตร อุณหิสสวิไชยสูตร
โลกวุฒิ คาถาพนั (ไชยสงั คหะ)
5.วันท่ีเกิดจันทรรุปราคา หรือสุริยุปราคา (เริ่มไปหาขณะที่กาลังเกิดเหตุ และกินทันทีขณะที่ราหูพ้น
จากเดือน ,ดวงตะวัน
6.ท่ัวไปส่วนตัวถ้าเรียนธรรมถือเอาวันพฤหัสบดี แต่สมัยที่เป็นเด็กวัดหรือสามเณรสมัยก่อนจะเอาทั้ง
วนั ทีต่ วั เองคลอด จะถามแมว่ ่าคลอดเวลาไหน ก็จะทากนิ เอง หรอื ใหอ้ าจารยเ์ สกให้
วธิ ีกนิ ออ้
ถ้าทาพิธีหมู่นักเรียนเปิดเรียน จะมีซุ้มขาจ๋า (ยอ) ลอดซุ้มแล้วกิน สถานที่โล่ง ไม่มีสิ่งบดบัง เม่ือเงยหน้า
ยกดื่มแล้ว พอดีได้จังหวะจะโยนข้ามหัว หรือออกปล่อง (หน้าต่าง) หรือไหลท่ีร่องน้า เด็กวัดจะแข่งกันท่อง
หนังสือ จะเสกเอง หรอื ใหอ้ าจารย์กากับเสกให้
สถานที่อ้อขึ้น ห้ามเอาอ้อที่ข้ึนอยู่มาทาพิธี คือ แม่น้าที่น้าคดไปมาหรือน้ามาชนกัน ใต้ต้นไม้
ริมสะพานทางรถ-คน-สัตว์เดนิ ข้าม

๓.๒) ข้ันตอน/วธิ กี าร/ดาเนินการเกี่ยวกบั ข้อมลู

พธิ กี นิ อ้อผะญ๋า จะต้องเตรยี มอปุ กรณ์ดงั ต่อไปน้ี
1. ไม้อ้อท่ีตัดทั้งข้อ คือ เหลือข้อยาว ๓ น้ิว ตามจานวนผู้เข้าร่วมพิธีให้ผู้เข้าพิธี กราบพระรัตนตรัย
กราบครูอาจารย์ ผู้ประกอบพิธีกล่าวโอกาส ว่าคาถาต่าง ๆ ที่อยู่ในกระบวนการใชน้ ้ามนต์ประพรมกระบอกไม้
อ้อท่ีบรรจุน้าผ้ึง เม่ือจบกระบวนการกล่าวโอกาสของผู้ประกอบพิธีแล้วก็อนุญาตให้ผู้เข้าร่วมพิธีดื่มอ้อปัญญา
ตามจานวนที่กาหนดให้ซึ่งอ้อท้ัง ๕ จะมีคาถากากับท้ัง ๕ บทคือ ๑. อ้อจื่อ (จาแม่น) ๒.อ้อจ๋า (อู้แกว่น)
๓. อ้อผะญา๋ (คิดแล่น) ๔. อ้อเสนห่ ์ (คนแหน) ๕. อ้อเต๋จา เดชา (ปอ้ งกนั โรคภัยไขเ้ จบ็ )
2. พิธีกินอ้อผะญ๋า ในอ้อ 1 จะมีคาถาทั้ง ๕ ให้ต้ังสัจจกิริยาก่อนกิน ถ้ากินเป็นหมู่คณะคนมาก จะใช้

ถังแล้วนาไปราดที่โคนต้นโพธิ์ หรือกินกลางแจ้งแล้วโยนข้ามหัว หรือยืนใกล้หรือคล่อมแม่น้า กินแล้วโยนไปน้าไป

หรือถ้ากินในบ้านให้โยนออกหน้าต่าง(ปล่อง) ข้อสาคัญต้องอธิษฐานก่อนกิน แล้วแต่วัตถุประสงค์ของผู้กิน

วา่ ต้องการ จาแมน่ พดู เก่ง มีปัญญาฉลาด คนรกั และป้องกันโรคภยั ไขเ้ จบ็

-๑๘๐-

4. ชื่อผ้ทู ี่ถอื ปฏิบัติและผู้สบื ทอด
4.๑ ผู้ทีถ่ ือปฏบิ ตั ิ
ชอ่ื พระครูประสิทธิ์บญุ ญาคม
วัน เดือน ปีเกดิ ๔ มถิ นุ ายน ๒๔๘๘
ทอี่ ยู่ วัดก่วิ พรา้ ว ๖๔ หมู่ ๔ ตาบลจนั จว้าใต้ อาเภอแม่จัน จงั หวดั เชยี งราย
หมายเลขโทรศัพท์ 094 757 7637
4.๒ ผู้สืบทอด
ช่อื นายสเุ มธ ทุนกาศ
วัน เดือน ปีเกดิ -
ท่ีอยู่ เทศบาลตาบลจนั จว้า ตาบลจันจวา้ ใต้ อาเภอแมจ่ ัน จังหวดั เชยี งราย
หมายเลขโทรศัพท์ 098 902 5505

5. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏิบัติอย่างแพรห่ ลาย  เสีย่ งต่อการสูญหาย  ไม่มีปฏิบัตแิ ล้ว

6. รปู ภำพภมู ปิ ญั ญำทำงวัฒนธรรม/กจิ กรรมทำงภูมิปัญญำทำงวัฒนธรรม

ตน้ ออ้ ที่นามาใช้ในพิธี

การเตรียมอ้อผญ๋า และการท่องคาถาเสกออ้ ผญ๋า

การนาเสนอพธิ กี ินออ้ ผะญ๋าในการจดั กจิ กรรมแสดงมรดกภูมปิ ัญญาทางวัฒนธรรมท้องถิ่น
ภายใตโ้ ครงการจดั ทาฐานข้อมูลด้านศาสนา วฒั นธรรม และจารีตประเพณีทอ้ งถิ่น
ประจาปี ๒๕๖๔ วันศุกรท์ ่ี ๑๐ ธันวาคม ๒๕๖๔
ณ โรงเรียนแมจ่ นั วิทยาคม อาเภอแม่จนั จงั หวัดเชียงราย

-1๘๑-

แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ญั ญำทำงวฒั นธรรมจงั หวดั เชียงรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวฒั นธรรมจังหวดั เชยี งรำย

อำเภอพญำเมง็ รำย จงั หวัดเชียงรำย

๑. ช่ือข้อมลู พธิ บี ายศรสี ่ขู วญั

๒. ลักษณะ  วรรณกรรมพน้ื บา้ นและภาษา
 ศลิ ปะการแสดง
 แนวปฏิบตั ิทางสงั คมพิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรแู้ ละการปฏิบัตเิ กย่ี วกบั ธรรมชาติและจักรวาล
 งานชา่ งฝีมอื ดัง้ เดมิ
 การละเลน่ พ้ืนบา้ น กีฬาพ้นื บา้ น และศิลปะการต่อส่ปู ้องกันตัว

๓. รำยละเอียดข้อมูล

๓.๑) ประวัตคิ วามเป็นมาของขอ้ มลู

พธิ ีบำยศรีสู่ขวัญ เป็นพธิ กี รรมอย่างหน่ึงของคนไทย บางคร้ังก็เรียกว่า พธิ บี ายศรี, พธิ ีสูข่ วัญ, พิธที าขวัญ,

พิธีรับขวัญ ด้วยความเช่ือที่ว่าทุกคนเกิดมาพร้อมกับสิ่งนามธรรมอย่างหนึ่งที่เรียกกันว่า “ขวัญ” ซ่ึงมีหน้าที่

รกั ษาประคับประคองชวี ิตและติดตามเจ้าของไปทุกหนแหง่ การทาพิธสี ู่ขวัญจงึ เปน็ การเชิญขวญั ท่ีหนหี ายไปให้

เข้ามาอยู่กับตัว และเชื่อว่าเป็นการส่งเสริมพลังใจให้เข้มแข็ง มีสติและไม่ประมาทประเพณีบายศรีสู่ขวัญใช้

เคร่ืองเชิญขวัญที่เรียกว่า บายศรี ทาด้วยใบตอง รูปคล้ายกระทง เป็นชั้น ๆ มีขนาดใหญ่เล็กสอบขึ้นไป

ตามลาดับ เปน็ 3 ชัน้ 5 ช้ัน 7 ชน้ั หรอื 9 ชน้ั มเี สาปักตรงกลางเป็นแกน มีเครอื่ งสงั เวยวางอยู่ในบายศรี และ

มีไข่ขวัญ (ไข่ต้ม) เสียบอยู่บนยอดบายศรี มีหลายประเภท เช่น บายศรีตอง บายศรีปากชาม บายศรีใหญ่

(ภาษาเขมร บาย = ข้าว + ศรี = สิริ หมายความว่า ข้าวอันเป็นสิริหรือข้าวขวัญ) มีการพันสายสิญจน์ไว้

โดยรอบเพ่ือใช้ผกู ข้อมือผ้รู ับขวัญ ผู้นาทาพธิ ีเรียกวา่ หมอขวญั

บายศรี น้ันมีข้อสันนิษฐานว่าได้ประดิษฐ์ขึ้นมาจากคติความเชื่อของพราหมณ์ พิจารณาจากการนา

ใบตองมาประดิษฐ์บายศรี เนื่องด้วยใบตองนั้นเป็นของสะอาดบริสุทธิ์ไม่มีมลทินของอาหารเก่าให้

แปดเปื้อน และอีกประการหน่ึงก็คือ รูปร่างลักษณะของบายศรีท่ีได้จาลองเขาพระสุเมรุซึ่งเป็นที่สถิตของ

พระอิศวร ตลอดจนเคร่ืองสังเวยก็มีความเช่ือมาจากคติพราหมณ์เช่น ไข่ แตงกวา มะพร้าว รวมถึงพิธีการ

เช่น การเวียนเทียน การเจิม และพิธีการต่าง ๆ เหล่าน้ีพราหมณ์เป็นผู้ประกอบพิธีท้ังส้ิน โดยในภาคเหนือ

จะเรียก บายศรีว่า ใบสี, ใบสรี หรือ ใบสีนมแมว และจะเรียก พานบายศรีว่า ขันใบสี เพราะชาวล้านนา

จะเรียกพานว่า ขัน แล้วเรยี กขันว่า สลุง ซง่ึ บายศรีสามารถแยกเป็น 4 ประเภท คือ

1. บายศรีหลวง 3. บายศรีปากชาม

2. บายศรีนมแมว 4. บายศรีกลว้ ย

"พธิ ีบำยศร"ี หรือ "บำยศรสี ่ขู วัญ" เป็นพิธีกรรมสาคัญอย่างหนึ่ง ส่วนใหญพ่ ิธีกรรมสขู่ วญั ทากันแทบ

ทกุ โอกาส ท้ังในมลู เหตุแหง่ ความดแี ละไม่ดี เป็นพิธีเรยี กขวัญให้มาอยู่กบั ตัว พิธีสขู่ วัญนเ้ี ป็นไดท้ ้งั การแสดง

ความชน่ื ชมยินดี ช่วยให้เกดิ สริ มิ งคลต่อผู้ท่ีเข้าร่วมพิธี และเชอ่ื กนั วา่ พธิ ีนเี้ ปน็ การต่อชวี ติ คนใหม้ ีอายุยนื ยาว

เปน็ การเสริมบารมี สะเดาะเคราะห์ ให้พ้นจากโชครา้ ย โรคาพยาธิ เพื่อรับโชคลาภ ร่ารวย และจะมีความสขุ

ความเจรญิ และเปน็ การปลอบใจใหเ้ จา้ ของขวัญจากคณะญาตมิ ิตรและบุคคลท่ัวไป นยิ มทากนั ในโอกาส

อนั เปน็ มงคลตา่ ง ๆ เชน่ ข้นึ บ้านใหม่ บวชนาค แต่งงาน เล่ือนยศ เลื่อนตาแหน่ง พระภิกษุเล่ือนสมณศกั ดิ์ หรือ

ผูใ้ หญท่ ีเ่ คารพนับถือมาสทู่ ้องถน่ิ จะต้องเดนิ ทางไกล ยา้ ยที่อยู่ เป็นตน้

-1๘๒-

๓.๒) ข้ันตอน/วธิ กี าร/ดาเนินการเก่ยี วกับขอ้ มลู
พิธีสู่ขวัญ หรือที่ชาวบ้านห้วยก้างนาล้อมเรียกว่า “บายศรี” มีข้ันตอนการดาเนินการ กล่าวคือ ผู้เฒ่าผู้แก่
จะช่วยกันทาพานขวญั (พานบายศรี) นิยมใช้ใบตองจับจีบตามแบบโบราณจดั ใส่พาน จะเป็นพานขวัญธรรมดา
3 ชน้ั 5 ชั้น โดยช้ันล่างมีบายศรดี อกไม้ ขา้ วต้ม ขนม กลว้ ย ช้นั ที่ 2 , 3 , 4 มบี ายศรดี อกไม้ สว่ นชัน้ ที่ 5 จะมี
บายศรีดอกไม้ ฝ้ายผูกแขน เทียนเวียนหัว 7 ชั้น จัดพานรอง 3 ชั้น บายศรี 4 ช้ัน แล้วจัดพานอีกใบหนึ่ง
สาหรับใส่ผ้าผืนแพรวา กระจก หวี น้าอบ น้าหอม สร้อย แหวน ส่วนประกอบอ่ืนๆ เพิ่มเติม ได้แก่ หมาก พลู
บุหร่ี อาหาร ข้าวต้ม ขนมหวาน ไก่ตม้ สรุ า จัดวางประกอบไวอ้ ย่างสวยงาม พร้อมด้วยเสื้อผา้ เครือ่ งแตง่ ตัวของ
ผู้เปน็ เจา้ ของขวญั พธิ จี ะเร่มิ ด้วยการแหพ่ านบายศรีเป็นขบวนฟ้อนนาพานบายศรีออกมาตั้งบนตงั่ (โต๊ะ) ทป่ี ผู า้
ขาวรองไว้ จากน้ันหมอขวัญ จะเป็นผู้ประกอบพิธีด้วยการสวดชุมนุมเทวดา จุดเทียนเวียนหัว จุดธูปส่องธรรม
หน้าพระพุทธรูป และพระสงฆ์ มีคู่สู่ขวัญเอามือขวามาจับด้ายสายสิญจน์ เจ้าของขวัญจับพานขวัญ หมอขวัญ
ทาพิธีสวดด้วยบทสวดเป็นภาษาพื้นเมืองล้านนา ใช้เวลาประมาณ 30 นาที จากน้ันหมอขวัญก็ผูกข้อมือด้วย
ฝา้ ยท่ีจดั เตรียมไว้ เปน็ อนั เสร็จพิธบี ายศรสี ่ขู วัญ

๔. ช่ือผทู้ ี่ถอื ปฏิบัตแิ ละผสู้ ืบทอด
๔.๑ ผู้ท่ีถอื ปฏิบตั ิ
ชือ่ พ่ออาจารยห์ นานพนิ บุญหม้ัน
วนั เดอื น ปีเกิด 30 กรกฎาคม 2490
ทอ่ี ยู่ หมู่ 11 ตาบลไม้ยา อาเภอพญาเมง็ ราย จงั หวัดเชียงราย
หมายเลขโทรศัพท์ 080 665 9815
๔.๒ ผสู้ บื ทอด
ชื่อ พอ่ อาจารยห์ นานคา ใจยา
วนั เดือน ปเี กดิ -
ทีอ่ ยู่ หมู่ 11 ตาบลไมย้ า อาเภอพญาเม็งราย จังหวดั เชยี งราย
หมายเลขโทรศัพท์ 062 263 4584

๕. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏบิ ตั อิ ยา่ งแพร่หลาย  เสี่ยงต่อการสูญหาย  ไมม่ ีปฏิบัติแล้ว

๖. รูปภำพภูมปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม/กจิ กรรมทำงภูมปิ ัญญำทำงวฒั นธรรม


Click to View FlipBook Version