๔.๒ ผสู้ ืบทอด -494-
ช่อื
วนั เดือน ปเี กดิ -
ทีอ่ ยู่ -
หมายเลขโทรศัพท์ -
-
๕. สถำนะ กำรคงอยู่ ปฏิบตั ิอย่างแพร่หลาย เสี่ยงต่อการสญู หาย ไมม่ ปี ฏิบตั แิ ลว้
๖. รปู ภำพภมู ปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม/กิจกรรมทำงภูมปิ ัญญำทำงวฒั นธรรม
-495-
แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ัญญำทำงวัฒนธรรมจงั หวดั เชยี งรำย ประจำปี 2565
สภำวัฒนธรรมจังหวดั เชยี งรำย
อำเภอเชียงแสน จงั หวัดเชียงรำย
1. ช่ือข้อมูล การเลน่ ลกู ชว่ ง
๒. ลักษณะ วรรณกรรมพ้ืนบ้านและภาษา
ศลิ ปะการแสดง
แนวปฏบิ ตั ิทางสงั คมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล
อาหาร/ความรแู้ ละการปฏิบัติเก่ียวกบั ธรรมชาติและจักรวาล
งานช่างฝีมือดงั้ เดมิ
การละเล่นพ้นื บ้าน กีฬาพืน้ บา้ น และศิลปะการต่อสู่ป้องกันตัว
๓. รำยละเอยี ดขอ้ มลู
๓.๑) ประวตั ิความเป็นมาของขอ้ มูล
ประเพณีขน้ึ ปใี หมห่ รอื ประเพณฉี ลองปีใหม่ ซง่ึ เป็นงานรนื่ เรงิ ของชาวมง้ ของทุก ๆ ปี จะจดั ขน้ึ หลังจาก
ได้เก็บเกี่ยวผลผลิตในรอบปเี รียบร้อย และเป็นการฉลองถึงความสาเรจ็ ในการเพาะปลกู ของแต่ละปี ซึ่งจะต้อง
ทาพิธีบูชาถึงผฟี า้ - ผปี า่ – ผบี า้ น ทีใ่ หค้ วามคุ้มครอง และดูแลความสขุ สาราญตลอดท้ังปี รวมถึงผลผลิตทไี่ ด้ใน
รอบปีด้วย ซ่ึงแต่ละหมู่บ้านจะทาการฉลองกันอย่างพร้อมเพรียงกัน หรือตามวัน และเวลาท่ีสะดวกของแต่ละ
หมู่บ้าน ซึ่งโดยมากจะอยู่ในช่วงเดือนธันวาคมของทุกปี ประเพณีฉลองปีใหม่ม้งนี้ชาวม้งเรียกกันว่า
“น่อเป๊โจ่วฮ์” แปลตรงตัวได้ว่า “กินสามสิบ” สืบเน่ืองจากชาวม้งจะนับช่วงเวลาตามจันทรคติ โดยจะเร่ิม
นับต้ังแต่ข้ึน ๑ ค่า ไปจนถึง ๓๐ ค่า (ซ่ึงตามปฏิทินจันทรคติจะแบ่งออกเป็นข้างข้ึน ๑๕ ค่า และข้างแรม ๑๕ ค่า)
เมือ่ ครบ ๓๐ คา่ จึงนบั เป็น ๑ เดอื น ดังนน้ั ในวันสดุ ท้าย (๓๐ คา่ ) ของเดือนสดุ ทา้ ย(เดอื นท่ี ๑๒) ของปจี ึงถือได้
ว่าเป็นวันส่งท้ายปีเก่า ช่วงวันฉลองปีใหม่ส่วนใหญ่จะตกอยู่ประมาณช่วงเดือนพฤศจิกายน ถึงเดือนมกราคม
ในวันดังกล่าวหัวหน้าครัวเรือนของแต่ละบ้าน จะประกอบพิธีกรรมทางศาสนา เพ่ือความเป็นสิริมงคลของ
ครัวเรอื น ถดั จากวนั สง่ ท้ายปีเกา่ ไป ๓ วัน คอื วนั ขน้ึ ๑ ค่า ๒ คา่ และ ๓ คา่ ของเดือนหนึ่ง จัดเปน็ วันฉลองปีใหม่
อยา่ งเป็นทางการ ซึง่ ทุกคนจะหยุดหนา้ ทก่ี ารงานทุกอย่างในช่วงวนั ดงั กลา่ วนี้ และจะมกี ารจดั การละเล่นตา่ ง ๆ
ในงานขึน้ ปใี หม่ เช่น การละเลน่ ลูกช่วง
จุดประสงค์ของการเล่น เพื่อความสนุกสนานเป็นการฉลองปีใหม่ และเป็นการหาคู่ให้กับหนุ่มสาว
เพื่อมิตรภาพท่ีดีต่อกัน ส่วนหญิงท่ีแต่งงานแล้วจะไม่มีสิทธ์ใิ นการเล่นลูกช่วงอีก เพราะถือว่าผิดตามธรรมเนียม
ของม้ง ส่วนฝ่ายชาย สามารถเล่นได้แต่อยู่ที่ว่าฝ่ายหญิงจะทาการยินยอมเล่นกับตนหรือไม่ แล้วแต่ฝ่ายหญิง
สาวคนนั้น การเล่นลูกช่วง ยังเป็นการช่วยฝกึ ทักษะความชานาญในการคว้าจับส่ิงของท่ีพุ่งเข้ามาปะทะใบหนา้
อันเป็นการฝึกป้องกันตัวจากสิ่งของที่ลอยมาหาใบหน้าอย่างกะทันหันได้ด้วย ในช่วงระหว่าง การเล่นลูกช่วง
หนุ่มสาวทเี่ ลน่ ลกู ช่วงจะร้องเพลงโต้ตอบกนั เพ่ิมความสนกุ สนานในการเล่น
การเล่นลูกช่วง จะเล่นในช่วงประเพณีปีใหม่ม้งเท่าน้ัน การเล่นลูกช่วงน้ีจะเล่นเป็นคู่ ๆ เป็นโอกาสดี
ของหนุ่มสาวชาวม้งท่ีมีการเกี้ยวพาราสีกันมากที่สุดและกระทาในเวลากลางวัน ซ่ึงชายหนุ่มหญิงสาว
ซึ่งชายหนุ่มหญิงสาวจะแต่งตัวด้วยเส้อื ผ้าสวยสดงดงามเป็นชุดประจาเผ่า จับคู่เล่นโยนลูกช่วง (ลูกช่วงทาด้วย
ผา้ สีดาหรอื สีอ่ืนกไ็ ด้ นามามดั หรือเย็บเปน็ รปู ทรงกลมใหแ้ น่นคล้ายลูกบอลมีขนาดท่ีพอจะใช้มือขา้ งเดียวจับได้)
หญิงสาวคนใดยังไม่มีคู่หมายจะเลือกชายหนุ่มที่ตนรู้จักชอบพอ มีการสนทนาพูดคุยกันตลอดเวลาโยนลูกช่วง
ชายหนุ่มคนใดไม่ชอบพอคู่โยนของตนจะหาทางปลีกตัวออกไปโดยมิให้เสียมารยาท ระหว่างโยนหากผู้ใด
รับไม่ได้อาจต้องเสียค่าปรับเป็นเคร่ืองประดับหรือสุดแล้วแต่จะมีส่ิงของให้ได้ การเสียค่าปรับแก่กันและกัน
จะเป็นการเปิดช่องว่างให้มีการเกี้ยวพาราสีในตอนกลางคืนอีกต่อไป หากหญิงชาวม้งคนใดที่มีคู่แล้ว แต่งงาน
แล้ว อยากเล่นลูกช่วง ก็อาจชวนผู้หญิงด้วยกันเล่นได้ แต่จะไม่เล่นลูกช่วงกับผู้ชายท่ีไม่ใช่คู่ของตนเอง คุณค่า
ของการละเลน่ ผู้เล่นได้รับความสนกุ สนาน กระบวนการเลน่ เสริมสรา้ งความสามัคคี ความรักพวกพอ้ งและรู้จัก
ช่วยเหลอื พวกพ้องเมอ่ื มีภยั เป็นการส่งเสรมิ ความมนั่ คงในสังคม
-496-
3.2 ขน้ั ตอน วธิ ีการดาเนินการเกี่ยวกบั ขอ้ มูล
โอกาส เวลาทจี่ ะเล่น ประเพณีขนึ้ ปใี หมห่ รือประเพณีฉลองปใี หม่ การโยนลกู ช่วงนจ้ี ะเล่นกนั ประมาณ
๑๒ วัน (ตามประเพณีจะเล่นแทน ๑๒ เดอื น) แตใ่ นปจั จุบนั เล่นไม่ถึง ๑๒ วนั คงเหลอื ประมาณ ๓ – ๕ วัน
สถานทีเ่ ล่น โรงเรยี นบ้านธารทอง ตาบลแม่เงิน อาเภอเชยี งแสน จงั หวดั เชยี งราย
จานวนผู้เล่น การโยนลูกช่วงนั้นจะแบ่งผู้เล่นออกเป็น ๒ ฝ่าย (เล่นเป็นคู่) คือฝ่ายชายหนึ่งแถว
ฝ่ายหญิงหน่ึงแถว โดยฝ่ายชายและฝ่ายหญิงยืนหันหน้าเข้าหากันระยะห่างประมาณ ๓ -๕ เมตร โดยการเล่นนั้น
ไม่จากัดจานวนผูเ้ ลน่
อปุ กรณ์การเลน่ ลูกช่วงลกั ษณะกลมเหมือนลกู บอลทาดว้ ยเศษผ้าสีดา หรือสอี น่ื ของชาวมง้ เศษผา้ ทา
เป็นร้ิว กว้างประมาณ ๒ – ๓ เซนติเมตร และนามามัดให้เป็นลูกกลม ๆ และนาผ้าผืนใหญ่ข้ึนเย็บหุ้มเป็น
รปู ทรงกลมให้แนน่ ใหค้ ลา้ ยลกู บอล มีขนาดเลก็ พอทจ่ี ะถือดว้ ยมือข้างเดยี วได้
ขั้นตอนวิธีการละเล่น โดยหนุ่ม ๆสาว ๆ ก็จะแต่งกายด้วยชุดม้งสวยงาม ฝ่ายหญิงจะเป็นฝ่ายทาลูกช่วง
ซึ่งทาจากผ้าเป็นลูกกลม ๆ และวานให้เพื่อนหญงิ หรือจะเป็นหญิงท่ีแต่งงานแลว้ เป็นผู้นาลูกช่วงของตนไปมอบ
ใหก้ บั ชายหนุ่มท่ีตนพึงพอใจ และหญิงสาวทีท่ าหน้าท่ีเปน็ แมส่ ่ือนจ้ี ะบอกกับชายหนุ่มว่าลกู ชว่ งน้นั เป็นของหญิง
สาวคนใดเพ่ือท่ีชายหนุ่มจะได้นาลูกช่วงนี้ไปโยนหรือขว้างเล่นกับหญิงสาวผูเ้ ป็นเจา้ ของลูกช่วงตอ่ ไป หรือหาก
ผู้ชายหมายตาหญิงสาวคนใดไว้ก็จะไปขอโยนลูกช่วงด้วย ถ้าฝ่ายหญิงไม่พอใจก็จะไม่โยนด้วย ระหว่างท่ีชาย
หนุ่มหญิงสาวโยนลูกช่วงก็จะพูดจาจีบกันในเวลานี้ ในส่วนใหญ่แล้วคู่โยนลูกช่วงจะมีการสู่ขอแต่งงานกันหลัง
งานปใี หม่
วิธีการเล่น การโยนลูกช่วงนั้นจะแบ่งผู้เล่นออกเป็น ๒ ฝ่าย คือฝ่ายชายหนึ่งแถว ฝ่ายหญิงหนึ่งแถว
โดยฝ่ายชายและฝ่ายหญงิ ยนื หันหนา้ เขา้ หากันระยะห่างประมาณ ๓ -๕ เมตร
ส่วนการละเล่นลูกช่วงนั้น จะแบ่งกลุ่มผู้เล่นออกเป็น ๒ ฝ่าย คือ ฝ่ายหญิงกับฝ่ายชายโดยที่ก่อนจะมี
การละเล่น ฝ่ายหญิงจะเป็นผู้ท่ีเอาลูกช่วงไปให้ฝ่ายชาย หรือญาติ ๆ ของฝ่ายหญิงเป็นผู้ที่นาลูกช่วงไปให้ฝ่าย
ชาย เม่ือตกลงกันได้ก็จะทาการโยนลูกช่วงโดยฝ่ายหญิง และฝ่ายชายแต่ละฝ่ายจะยืนเป็นแถวหน้า กระดาน
เรียงหน่ึง หันหน้าเข้าหากันมีระยะห่างกันพอสมควร แล้วโยนลูกช่วงให้กันไปมาและสามารถทาการสนทนา
กับค่ทู ่ีโยนได้
๔. ช่อื ผทู้ ี่ถอื ปฏิบัตแิ ละผู้สืบทอด
๔.๑ ผู้ทถี่ ือปฏบิ ัติ
ชอื่ โรงเรียนบา้ นธารทอง
วัน เดอื น ปเี กิด -
ท่ีอยู่ หมู่ 5 ตาบลเวยี ง อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย
หมายเลขโทรศัพท์ 08๑ ๕๓๑ ๙๘๐๕
๔.๒ ผู้สบื ทอด
ชอ่ื โรงเรยี นบ้านธารทอง
วนั เดอื น ปเี กิด -
ทอ่ี ยู่ หมู่ 5 ตาบลเวียง อาเภอเชียงแสน จังหวดั เชยี งราย
หมายเลขโทรศัพท์ 08๑ ๕๓๑ ๙๘๐๕
๕. สถำนะ กำรคงอยู่ ปฏิบัติอยา่ งแพร่หลาย เสยี่ งตอ่ การสญู หาย ไมม่ ีปฏบิ ตั ิแล้ว
-497-
๖. รูปภำพภูมปิ ญั ญำทำงวัฒนธรรม/กจิ กรรมทำงภูมปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม
-49๘-
แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ัญญำทำงวฒั นธรรมจังหวดั เชยี งรำยประจำปี ๒๕๖๕
สภำวฒั นธรรมจังหวดั เชยี งรำย
อำเภอเวยี งชยั จังหวัดเชียงรำย
๑. ช่ือข้อมลู ของเลน่ พ้นื บา้ นจากใบมะพร้าว
๒. ลักษณะ วรรณกรรมพ้นื บา้ นและภาษา
ศลิ ปะการแสดง
แนวปฏบิ ตั ทิ างสงั คมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล
อาหาร/ความรแู้ ละการปฏบิ ัตเิ กยี่ วกับธรรมชาตแิ ละจักรวาล
งานช่างฝีมือดั้งเดิม
การละเลน่ พ้ืนบา้ น กีฬาพ้ืนบา้ น และศลิ ปะการตอ่ สปู่ ้องกันตวั
๓. รำยละเอียดข้อมูล
๓.๑) ประวัตคิ วามเป็นมาของขอ้ มูล
การเล่นเป็นธรรมชาติอย่างหน่ึงของมนุษย์ เพราะทาให้เกิดความเพลิดเพลิน มีความคิดสร้างสรรค์
และเกิดจินตนาการ การเล่นของเดก็ จะเร่ิมตงั้ แต่เริม่ มองเหน็ หรือได้ยินเสยี ง คนโบราณจึงมักนิยมแขวนสิ่งของ
ที่เป็นสีต่าง ๆ ไว้ให้เด็กดูเล่น เช่น พวงกระจับท่ีเย็บด้วยเศษผ้ายัดด้วยนุ่น เป็นรูปสามเหลี่ยม ส่ีเหล่ียมด้วย
เศษผ้าสีต่าง ๆ หรือแขวนพวงปลาตะเพียนไว้ที่เปลเด็ก เพื่อให้เด็กได้เห็นความเคล่ือนไหว และเห็นสีสัน
ของสงิ่ ทแ่ี ขวนใหด้ ู เม่ือเด็กสามารถนงั่ หรือคลานไดจ้ งึ เปลีย่ นของเล่นทสี่ ามารถจบั ต้องได้
ในสมัยโบราณ พ่อ แม่ ปู่ ย่า ตา ยายมักประดิษฐ์ของเล่นจากวัสดุเหลือใช้ในบ้านให้บุตรหลานได้เล่น
เช่น ตุ๊กตาเศษผา้ ตุก๊ ตากระดาษ ดนิ เหนยี วป้ันเป็นรูปสัตว์ สงิ่ ของต่าง ๆ หรือจากใบไม้ เช่น ใบมะพรา้ ว ใบตาล
ใบลาน กก และใบไม้ชนิดอ่ืน ๆ ที่สามารถนามาสานหรือประดิษฐ์เป็นของเล่นได้ ของเล่นจากการสานจะได้
รูปแบบมาจากธรรมชาติทั้งส้ิน เช่น รูปสัตว์ ได้แก่ นก ปลา ตั๊กแตน ดอกไม้ เป็นต้น เมื่อเด็ก ๆ โตขึ้น และ
สามารถประดิษฐ์ของเล่นได้ พ่อ แม่ ปู่ ย่า ตา ยายจะสอนให้เด็ก ๆ รู้จักประดิษฐ์ของเล่นได้เอง ซึ่งเป็น
การพฒั นาทักษะดา้ นการใช้มือและความจา ซึ่งเปน็ แหลง่ กาเนิดของความคิดสรา้ งสรรค์และจนิ ตนาการของเด็ก
ของเล่นพ้ืนบ้านที่ทาจากวัสดุธรรมชาติ มักไม่มีความคงทน อยู่ได้ชั่วระยะเวลาส้ัน ๆ ก็จะเห่ียวแห้ง
และถูกทิ้งไป เมื่อจะเล่นครั้งต่อไปต้องหาวัสดุมาประดิษฐ์ข้ึนใหม่ เนื่องจากเหตุผลดังกล่าวนี้เอง ทาให้ของเล่น
พื้นบา้ นถูกทอดทงิ้ ถกู ลมื ไปในทสี่ ุด และเปน็ สิ่งท่ีหาผ้ปู ระดิษฐ์ไดย้ ากในปัจจุบัน
๓.๒) ขั้นตอน/วิธีการ/ดาเนินการเกย่ี วกับขอ้ มลู
ของเล่นจากใบมะพร้าว เป็นการใช้ภูมิปัญญาท้องถ่ินเลี้ยงดูบุตรหลานให้ได้รับความเพลิดเพลิน
มีความสุข ขณะเดียวกันจะสอนให้บุตรหลานประดิษฐ์ของเล่นจากใบมะพร้าวได้ด้วยตนเอง งานสานของเล่น
ด้วยใบมะพร้าวถือเป็นกระบวนการทางความคิด สร้างสรรค์ของมนุษย์ เพราะเป็นส่ิงช่วยฝึกความถนัด
ในการใช้มือฝึกนิสัยให้รักการทางาน กล่อมเกลาจิตใจให้รักสวยรักงาม มีความเป็นระเบียบ มีสมาธิดี
มีความพิถีพิถัน ประณีตทุกข้ันตอน ต้ังแต่เร่ิมต้นจนจบช้ินงาน เป็นการรู้จักนาวัสดุที่มีในท้องถิ่นมาปรับใช้
ให้เกิดประโยชน์ในชีวติ ประจาวัน
ในกระบวนการการสานของเลน่ ดว้ ยใบมะพรา้ วน้ีตรงกับจดุ ประสงค์ของวชิ าศลิ ปะทุกประการ เช่น
1. มคี วามประณตี ละเอียดออ่ น ช่างสังเกต
2. สามารถปฏบิ ตั งิ านร่วมกับผ้อู ืน่ ได้อยา่ งมคี วามสขุ
3. มสี มาธดิ ี
4. สามารถนาภมู ปิ ญั ญามาปรับใช้ในชวี ิตประจาวนั และสามารถนามาพัฒนาเปน็ อาชพี
-499-
๔. ชื่อผูท้ ี่ถือปฏิบตั ิและผ้สู ืบทอด
๔.๑ ผทู้ ถ่ี อื ปฏบิ ตั ิ
ชอื่ นายอานวย จันทร์คา
วนั เดือน ปเี กิด ๑๒ มนี าคม ๒๔๙๓
ทอี่ ยู่ ๘๔ หมู่ ๑๐ ตาบลผางาม อาเภอเวียงชยั จงั หวดั เชยี งราย
หมายเลขโทรศัพท์ -
๔.๒ ผู้สืบทอด
ช่ือ นายมงคล จันทรค์ า
วัน เดอื น ปีเกดิ -
ทีอ่ ยู่ ๘๔ หมู่ ๑๐ ตาบลผางาม อาเภอเวียงชัย จงั หวัดเชียงราย
หมายเลขโทรศัพท์ -
๕. สถำนะกำรคงอยู่ ปฏบิ ตั อิ ยา่ งแพร่หลาย เสี่ยงต่อการสญู หาย ไม่มปี ฏบิ ตั ิแลว้
๖. รูปภำพภมู ิปญั ญำทำงวัฒนธรรม/กจิ กรรมทำงภูมปิ ัญญำทำงวฒั นธรรม
-500-
แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ัญญำทำงวัฒนธรรมจงั หวดั เชยี งรำย ประจำปี 2565
สภำวฒั นธรรมจังหวัดเชยี งรำย
อำเภอเชยี งของ จงั เหวัดเชียงรำย
1.ชื่อขอ้ มูล ลกู ชว่ ง (ปีใหม่มา้ )
๒. ลกั ษณะ วรรณกรรมพืน้ บา้ นและภาษา
ศลิ ปะการแสดง
แนวปฏบิ ตั ิทางสังคมพิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล
อาหาร/ความรูแ้ ละการปฏบิ ัติเกยี่ วกับธรรมชาติและจกั รวาล
งานชา่ งฝีมือดัง้ เดมิ
การละเลน่ พืน้ บ้าน กีฬาพ้ืนบา้ น และศิลปะการต่อสูป่ ้องกนั ตัว
๓. รายละเอยี ดข้อมูล
3.1 ประวตั ิความเป็นมา
ในวาระข้ึนปีใหม่ม้า จะมีการละเล่นเพื่อฉลองวันปีใหม่โดยเฉพาะการเล่นลูกช่วง การละเล่นลูกช่วง
ระหว่างผู้หญิงกับผู้ชายโยนลูกช่วงหากันเพ่ือความสนุกสนานเป็นการฉลองปีใหม่และเป็นการหาคู่ให้กับ
หนุ่มสาวเพื่อมิตรภาพทีดีต่อกันและจะมีการละเล่นอย่างอ่ืนอีกมากมายไม่ใช่เเ ค่การเล่นลูกช่วงอย่างเดียว
เชน่ ตลี กู ขา่ ง เป่าแคน และการแสดงสื่อถงึ วัฒนธรรมปใี หมม่ ้า
๓.๒) ขั้นตอน/วธิ กี าร/ดาเนนิ การเก่ยี วกบั ข้อมลู
เป็นการละเล่นระหว่างผู้หญิงกับผู้ชาย โดยการโยนลูกช่วงหากัน เพื่อความสนุกสนานเป็นการฉลอง
ปีใหมแ่ ละเป็นการหาคใู่ ห้กบั หนุ่มสาวเพอ่ื มิตรภาพทดี ีต่อกัน
4. ช่ือผูท้ ี่ถือปฏิบัติและผสู้ ืบทอด
๔.๑ ผู้ทถี่ อื ปฏิบตั ิ
ชือ่ นายเลาย่ง เเซลี
วนั เดือน ปเี กดิ 1 มกราคม 2486
ท่อี ยู่
หมายเลขโทรศัพท์ -
๔.๒ ผู้สืบทอด
ชอื่ นายเลาซ้า เเซล่ ี
วัน เดอื น ปเี กิด 1 มกราคม 2511
ที่อยู่ 275 หมู่ 9 ตาบลรมิ โขง อาเภอเชยี งของ จงั หวดั เชียงราย
หมายเลขโทรศัพท์ -
๕. สถานะ การคงอยู่ ปฏบิ ัติอย่างแพร่หลาย เส่ียงต่อการสญู หาย ไมม่ ปี ฏิบตั แิ ลว้
๖. รปู ภาพภูมปิ ัญญาทางวัฒนธรรม/กิจกรรมทางภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม
-ไมม่ -ี
-501-
แบบสำรวจมรดกภมู ิปญั ญำทำงวัฒนธรรมจงั หวดั เชยี งรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวฒั นธรรมจังหวดั เชยี งรำย
อำเภอขนุ ตำล จงั หวัดเชียงรำย
๑. ชื่อข้อมลู เลน่ ลูกขา่ ง (หม่ะขา่ ง)
๒. ลักษณะ วรรณกรรมพนื้ บ้านและภาษา
ศลิ ปะการแสดง
แนวปฏบิ ตั ทิ างสงั คมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล
อาหาร/ความรู้และการปฏบิ ัตเิ กยี่ วกับธรรมชาตแิ ละจกั รวาล
งานช่างฝีมือด้งั เดิม
การละเล่นพ้นื บ้าน กีฬาพืน้ บ้าน และศลิ ปะการตอ่ สู่ป้องกนั ตัว
๓. รำยละเอยี ดขอ้ มลู
๓.๑) ประวตั ิความเป็นมาของขอ้ มลู
เจา้ ของภมู ปิ ัญญา คือ นายวชิ าญ ภวิ งศ์ ผใู้ หญ่บา้ นห้วยสัก มภี มู ลิ าเนาอยู่บ้านเลขท่ี 345 หมู่ 9
ตาบลยางฮอม อาเภอขุนตาล จังหวัดเชียงราย
การเล่นลูกข่างเปน็ กีฬาพื้นบ้านของชาวเหนือบ้านนา ซึ่งมักจะเล่นเม่ือเวลามีงานเทศกาลต่าง ๆ หรือ
ว่างเวน้ จากการทางานประจา หรือมีงานชมุ นุมสงั สรรคก์ ัน
๓.๒) ขนั้ ตอน/วิธีการ/ดาเนินการเกี่ยวกับข้อมูล
ลูกข่าง ใช้ไม้ดิบสด ไม้เน้ือแข็ง จะทาให้ลูกข่างมีน้าหนัก ลูกข่างจะมีขนาดต่างกัน ตั้งแต่เล็กจนใหญ่
ขนาดส้นผา่ ศนู ย์กลาง นวิ้ ครงึ่ จนถึง 4-5 นิ้ว
อุปกรณ์กำรเลน่ ลกู ข่ำง
1. ลกู ข่าง แล้วแตข่ นาด
2. เชอื ก ทป่ี ่นั จากเถาวลั ย์ ปอ หรือไนลอน
กติกำกำรเลน่
1. นาลกู ข่างมารวมกัน แลว้ แบ่งคร่งึ โดยจับคตู่ ามขนาด ใหญ่ กลาง เล็ก
2. แบง่ ผู้เล่นเปน็ 2 ทมี ๆละ 2-3 คน
3. แต่ละทีมจะเลือกลูกข่างทจ่ี ะทาการเลน่ หรือหมนุ ได้นาน (ตายช้า)จะเป็นฝ่ายชนะ จะได้เป็นผ้เู ล่นก่อน
4. เม่ือเริ่มลงลูกข่างไป อีกฝ่ายหนึ่งต้องตีลูกข่างโดยตีให้ถูกลูกข่างของฝ่ายแรกที่ลงให้หยุด ถ้ายังไม่
หยุด สามารถลงลกู ขา่ งตีอกี ถา้ ลกู ข่างยงั ไม่หยดุ ถอื วา่ ฝา่ ยทีม่ ีลกู ข่างหมนุ อยู่ เปน็ ผูช้ นะ
การเล่นดังกล่าวนี้ เป็นการใช้ไหวพริบ วางแผนในการตีลูกข่างของฝ่ายตรงข้ามให้ถูก เครียด
สนกุ สนาน ได้ความสามัคคี
๔. ช่อื ผ้ทู ่ีถือปฏิบตั ิและผู้สบื ทอด
๔.๑ ผ้ทู ่ีถือปฏบิ ตั ิ
ชอื่ นายวชิ าญ ภิวงศ์
วัน เดอื น ปีเกิด -
ท่ีอยู่ 345 หมู่ 9 ตาบลยางฮอม อาเภอขนุ ตาล จงั หวัดเชียงราย
หมายเลขโทรศัพท์ -
๔.๒ ผู้สบื ทอด -502-
ช่ือ
วนั เดอื น ปีเกดิ -
ที่อยู่ -
หมายเลขโทรศัพท์ -
-
๕. สถานะ การคงอยู่ ปฏิบตั อิ ยา่ งแพร่หลาย เส่ยี งตอ่ การสูญหาย ไมม่ ีปฏิบตั แิ ลว้
๖. รปู ภาพภมู ปิ ญั ญาทางวัฒนธรรม/กิจกรรมทางภูมิปัญญาทางวฒั นธรรม
-ไม่ม-ี
-503-
แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ญั ญำทำงวัฒนธรรมจงั หวัดเชียงรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวฒั นธรรมจังหวดั เชยี งรำย
อำเภอแมฟ่ ้ำหลวง จงั หวัดเชียงรำย
๑. ช่ือข้อมลู โลช้ งิ ชา้
๒. ลักษณะ วรรณกรรมพ้ืนบ้านและภาษา
ศลิ ปะการแสดง
แนวปฏบิ ตั ทิ างสงั คมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล
อาหาร/ความรู้และการปฏิบัติเก่ยี วกบั ธรรมชาตแิ ละจกั รวาล
งานชา่ งฝีมือดั้งเดมิ
การละเล่นพนื้ บ้าน กีฬาพน้ื บ้าน และศลิ ปะการต่อสปู่ ้องกันตัว
๓. รำยละเอียดขอ้ มูล
๓.๑) ประวัตคิ วามเป็นมาของข้อมูล
ประเพณีโล้ชิงช้า หรืออ่าข่าเรียกว่า "แย้ขู่อ่ำเผ่ว" ซึ่งจะมีการจัดขึ้นทุก ๆ ปี ประมาณปลายเดือน
สิงหาคม ถึงต้นเดือนกันยายนซ่ึงจะตรงกับ ช่วงท่ีผลผลิต กาลังงอกงาม และพร้อมท่ีจะเก็บเกี่ยวในอีกไม่กี่วัน
ในระหว่างนี้อ่าข่าจะดายหญ้าในไร่ข้าวเป็นครง้ั สุดท้าย หลังจากดายหญ้าแลว้ ก็รอสาหรบั การเก็บเกี่ยว ตรงกับ
เดอื นของอ่าข่าคือ “ฉอ่ ลำบำลำ” ประเพณีโล้ชงิ ช้าของชาวอา่ ข่า ถือเป็นพธิ กี รรมที่มีคุณค่ามากดว้ ยภูมิปัญญา
ท่ีใชใ้ นการสง่ เสริมความรู้แล้ว ยงั เก่ียวพนั กบั การดารงชีวิตประจาวนั ของอ่าข่าอีกมากมาย ประวตั ิความเป็นมา
ของประเพณโี ลช้ ิงชา้
ประเพณีโล้ชิงช้ามีต้นกาเนิดในดินแดนที่มีชื่อว่า “จำแดล้อง” คือพ้ืนที่ประเทศจีนในปัจจุบัน
โดยดินแดนแห่งน้ีมีผู้นาอ่าข่า ท่ีชื่อ “ข๊ะบา อ่าเผ่ว หม่อโล๊ะโล๊ะซื่อ" และ "ค๊อบาอ่าเผ่วเอวค๊อ ค๊อคอง”
เป็นผู้นาที่ชาวอ่าข่าให้การเคารพนับถือ โดยกล่าวว่า ดินแดนจาแด จะทาการจัดประเพณีโล้ชิงช้า 33 วัน
เม่ือเป็นเช่นน้ีสมาชิกคนในดินแดนแห่งนี้ ซ่ึงประกอบไปด้วยท้ังคนจน และคนรวย ทุกคนต้องเตรียมเสบียง
อาหารไว้เยอะๆ เพื่อเอาไว้ฉลองกันในวันประเพณี น่ีคือการบอกเล่าถึงที่มาของ ประเพณีโล้ชิงช้า ประเพณีโล้
ชิงช้าถอื เปน็ ประเพณีทีใหค้ วามสาคญั กบั ผู้หญิง ฉะนั้นผูห้ ญิงอ่าข่ามีการแตง่ กาย ดว้ ยเคร่ืองทรงตา่ ง ๆ อยา่ งสวยงาม
ทไี่ ด้เตรยี มไวต้ ลอดทงั้ ปี
๓.๒) ขน้ั ตอน/วธิ กี าร/ดาเนนิ การเก่ียวกับข้อมูล
เทศกาลนี้ สาหรับหญิงสาวอ่าข่าจะแต่งกายเพื่อยกระดับชั้นวัยสาวตามขั้นตอน แสดงให้คนในชุมชน
ได้เห็น พร้อมท้ังข้ึนโล้ชิงช้า และร้องเพลงท้ังลักษณะเด่ียว และคู่ประเพณีโล้ชิงช้า จัดขึ้นเพ่ือเป็นการฉลองพืช
พันธ์ุท่ีจะได้เก็บเกี่ยวไว้บริโภค เนื่องจากพืชไร่ พืชสวนต่าง ๆ ที่ปลูกลงไป พร้อมท่ีจะได้ผลผลิต โดยมีสุภาษิต
กล่าวไว้ว่า “ขู่จ่ำ หม่ำโบะ หม่ำโบะ” หมายถึง ประเพณีโล้ชิงช้า มีอาหาร หลากหลาย และสมบูรณ์มากมาย
หากประเพณีนไี้ มม่ ี ประเพณอี ่นื หรือพิธีอืน่ กจ็ ะไม่มี
หลังจากที่จัดงานประเพณีโล้ชิงช้าเสร็จแล้ว ชุมชนอ่าข่าก็จะไม่มีการตัดไม้ดิบเข้ามาในชุมชนอีก
ไม้ดิบในที่น้ีคือไม้ยืนต้น หรือไม้ทุกชนิดท่ียังไม่ได้ถูกตัด ยกเว้นกรณีที่มีคนตายแล้วเท่าน้ัน จึงถือว่าเป็นวัน
เข้าพรรษาของชาวอ่าข่าอีกเช่นกัน ในการจัดประเพณีโล้ชิงช้าแต่ละปีของอ่าข่า จะต้องมีฝนตกลงมา ถ้าปีไหน
เกิดฝนไม่ตก อ่าข่าถือว่าไม่ดี ผลผลิตทีอ่ อกมาจะไม่งอกงาม ประเพณีโล้ชิงชา้ มีระยะเวลาในการจัดรวม 4 วัน
ดว้ ยกัน
-504-
๔. ช่ือผทู้ ถ่ี ือปฏิบตั ิและผสู้ บื ทอด -
๔.๑ ผทู้ ี่ถอื ปฏบิ ตั ิ -
ชอ่ื -
วนั เดือน ปเี กิด -
ท่ีอยู่
หมายเลขโทรศัพท์ -
๔.๒ ผู้สบื ทอด -
ช่ือ -
วนั เดือน ปเี กิด -
ทอ่ี ยู่
หมายเลขโทรศัพท์
๕. สถำนะ กำรคงอยู่ ปฏิบตั อิ ยา่ งแพรห่ ลาย เสี่ยงต่อการสญู หาย ไมม่ ปี ฏิบตั แิ ลว้
๖. รปู ภำพภมู ิปัญญำทำงวัฒนธรรม/กจิ กรรมทำงภูมปิ ัญญำทำงวฒั นธรรม
หนังสอื ข้อมลู ด้านมรดกภูมิปญั ญา
ทางวัฒนธรรมทอ้ งถิ่น จังหวดั เชยี งราย
ประจาปี 2565
จัดพิมพ์โดย สภาวฒั นธรรมจงั หวัดเชียงราย ร่วมกบั สานักงานวฒั นธรรมจงั หวดั เชยี งราย กระทรวงวฒั นธรรม
พมิ พ์ครัง้ ท่ี 1 พ.ศ. 256๕
จำนวน ๒0 เล่ม
คณะทำงำน
๑. นางสลักจฤฎด์ิ ตยิ ะไพรชั ประธานสภาวฒั นธรรมจังหวดั เชยี งราย
๒. คณะกรรมการสภาวัฒนธรรมจังหวดั เชียงรายทกุ ทา่ น
๓. คณะกรรมการสภาวฒั นธรรมอาเภอทุกอาเภอในพนื้ ทจี่ ังหวัดเชียงราย
๔. คณะกรรมการสภาวฒั นธรรมตาบลทุกแห่งในพนื้ ที่จังหวัดเชียงราย
๕. คณะกรรมการสภาวัฒนธรรมเทศบาลตาบลทุกแห่งในพ้ืนท่ีจังหวัดเชียงราย
๖. นายพิสันต์ จันทร์ศลิ ป์ วัฒนธรรมจังหวดั เชียงราย
๗. นางพัชรนันท์ แก้วจินดา ผอู้ านวยการกลุ่มสง่ เสริมศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรม
๘. นักวิชาการวฒั นธรรมผ้ปู ระสานงานอาเภอทุกอาเภอ
๙. นางเพยี รโสม ปาสาทงั นักวชิ าการวัฒนธรรมชานาญการ
๑๐. นางสาวธญั วรัตม์ วรรณสอน นกั วิชาการวัฒนธรรม
๑๑. นางสาววลัยพร บญุ มาก เจ้าหนา้ ทมี่ รดกภูมิปญั ญาทางวัฒนธรรม
บรรณำธกิ ำรและผู้เรยี บเรียง จนั ทร์ศลิ ป์ วฒั นธรรมจังหวัดเชยี งราย
1. นายพสิ นั ต์ เลขานุการสภาวฒั นธรรมจงั หวัดเชยี งราย
แกว้ จินดา ผูอ้ านวยการกลุ่มส่งเสริมศาสนา ศิลปะ และวฒั นธรรม
2. นางพัชรนันท์ ปาสาทัง นกั วิชาการวฒั นธรรมชานาญการ
3. นางเพยี รโสม วรรณสอน นักวิชาการวฒั นธรรม
๔. นางสาวธญั วรตั ม์ บุญมาก เจา้ หน้าท่มี รดกภมู ิปญั ญาทางวัฒนธรรม
๕. นางสาววลัยพร
ออกแบบและจัดพิมพ์
ร้านเปน็ ต่อ
โทร. 096 232 3949