The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ข้อมูลมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม จังหวัดเชียงราย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by , 2022-09-11 22:20:01

หนังสือมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม จังหวัดเชึยงราย

ข้อมูลมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม จังหวัดเชียงราย

-395-

ขั้นตอนและวิธีกำรในกำรทำปรำสำทศพ
กลุมชางจะมีกระบวนการขั้นตอนในการท้าสวนประกอบของแตละสวนแยกออกจากกัน และ
จะมีการท้าเตรียมไวลวงหนาเปนจ้านวนมาก เนื่องจากงานสั่งท้าปราสาทศพไมมีก้าหนดเวลาที่แน่นอน ข้ึนอยู
กับการเปนการตายของคนเรา ดังนั้น ช่างท้าปราสาทศพจึงตองจัดเตรียมวัสดุทุกอย่างไวให้พรอมตลอดเวลา
โดยมีประโยคท่ีเรียกกันวา “ส่ังเชาไดสาย สั่งบายไดเย็น” หรือ “คนใช้ไม่ได้ซ้ือ คนซื้อไม่ได้ใช้” โดยมีขั้นตอน
และวธิ กี ารในการท้าปราสาทศพ ดังน้ี
๑. สว่ นท่ีเป็นงานกระดาษ

การท้าลาย แกะลาย ต้องลาย และตัดกระดาษ งานประเภทนี้มักจะให้ช่างผู้หญิงเป็นผู้ท้า
โดยจัดเตรียมกระดาษชนิดต่าง ๆ ท้ังกระดาษแข็งและกระดาษอ่อนหลากสีสัน น้ามาตัดลายในรูปแบบต่าง ๆ
และจัดเตรียมไว้เป็นจ้านวนมาก เนื่องจากเป็นช้ินส่วนท่ีต้องใช้ประดับตกแต่งตัวปราสาทและในกรณีที่มีเจ้าภาพ
มาสงั่ ท้าปราสาทศพในกรณีเร่งด่วน และมาส่ังพร้อมกันหลาย ๆ แห่ง อาทิเชน่ ชอ่ ฟา้ หางชอ่ ฟ้า ตัวช่อฟา้ ใบระกา
ดอกตั้ง ฝาหยวด นาคต้น กาบเสา กาบจิว ผ้าม่าน ยอดปราสาท และยอดฉัตร (ใช้ส้าหรับปราสาทศพของ
พระสงฆ์เทา่ นั้น)

๒. สว่ นท่ีเปน็ โครงปราสาท ตวั ปราสาทศพ
การทา้ โครงปราสาท หรือตวั ปราสาทศพ จะใช้ชา่ งผู้ชายเปน็ ผูล้ งมอื ทา้ โดยมีกระบวนการ

ในการจดั ทา้ ดังน้ี
(๑) นา้ ไมท้ ี่เป็นแผน่ ขนาดใหญ่มาเลอื่ ยใหม้ ีขนาดเลก็ ตามทต่ี ้องการ
(๒) น้าไม้ที่เล่ือยเตรียมไว้ตามขนาดที่ต้องการ มาประกอบเป็นโครงปราสาท อันดับแรกคือ

ท้าโครงเสาเป็นรูปส่ีเหล่ียมด้านไม่เท่า โดยการน้าไมมาประกอบเขากัน และจะท้าตามขนาดที่เจาภาพมาสั่ง
เชน เจ้าภาพตองการปราสาทศพขนาดเสา ๘ ตน หรือ ๑๒ ตน หรือ ๒๔ ตน ซ่ึงส่วนประกอบโครงปราสาทน้ี
ช่างจะต้องจดั เตรยี มไวเปนจา้ นวนมากเชนกนั

(๓) น้าส่วนท่ีประกอบเป็นเสาแต่ละอันมาประกบกันเพื่อท้าโครงปราสาทหรือตัวปราสาท
โดยเริ่มตง้ั แต่ทา้ ฐานขึน้ ไปเป็นอนั ดับแรกเพ่ือยึดใหต้ ัวปราสาทต้ังได้

(๔) เร่ิมท้าส่วนท่ีเปน็ ตัวฐานดา้ นบนเพ่อื เป็นสว่ นท่รี องรับหลงั คาปราสาทศพอีกช้นั หนึ่ง
๓. ส่วนท่ีเปน็ หลังคาปราสาท

ช่างท้าปราสาทก็จะจัดท้าส่วนหลังคาแยกไว้ต่างหาก เพื่อความสะดวกในการขนย้าย และ
สามารถยกมาประกอบท่ีหลังได้ จึงมีการท้าปราสาทแยกแต่ละส่วนไว้เป็นจ้านวนมาก และพร้อมท่ีจะ
ประกอบให้แล้วเสร็จภายในวันเดียวได้เลย ในการท้าส่วนที่เป็นโครงหลังคาจะมีขนาดเช่นเดียวกับท้าเสา
ปราสาทโดยให้ได้สัดส่วนและมีความสัมพันธ์กันท้ังโครงปราสาท และหลังคา เช่น เสา ๘ ต้น จะท้ามุม ๔ เหลี่ยม
เสา ๑๒ ต้น ท้ามุม ๖ เหล่ียม เสา ๒๔ ต้น ท้ามุม ๘ เหล่ียม เป็นต้น โดยช่างจะเน้นหลังคารูปทรงไทย
มีลกั ษณะ ๓ ชั้น ๕ ชั้น ๗ ช้ัน ๙ ชัน้ ข้นึ อยู่กบั ความต้องการของเจา้ ภาพท่ีมาสง่ั ท้า (จะท้าปราสาทกี่ช้ัน)

๔. ส่วนที่เปน็ ยอดปราสาท (ฉัตร)
ในส่วนน้ีช่างก็จะท้าแยกไว้ต่างหากเช่นกัน เพื่อความสะดวกในการน้ามาประกอบเข้าเป็น

ตัวปราสาทท่ีสมบูรณ์ โดยแต่ละส่วนท่ีกล่าวมาแล้ว หากท้าเสร็จแล้วจะเก็บรอไว้ จนกว่าจะมีเจ้าภาพมาส่ัง
กลุ่มช่างก็จะระดมกันตกแต่งชิ้นส่วนแต่ละอย่างให้สวยงามและน้ามาประกอบกันจนเป็นปราสาทบรรจุศพ
๑ หลงั

๕. การตกแตง่ แตล่ ะสว่ น ฐานปราสาท ตวั ปราสาท หลงั คา ยอดปราสาท

-396-

๔. ช่อื ผู้ทีถ่ ือปฏิบตั ิและผ้สู บื ทอด

๔.๑ ผ้ทู ถ่ี ือปฏบิ ัติ

ชอ่ื นายสุบรรณ ปงช่มุ ใจ

วัน เดือน ปเี กิด -

ที่อยู่ 65 หมู่ 11 ตา้ บลเมอื งชุม อ้าเภอเวยี งชยั จังหวัดเชียงราย

หมายเลขโทรศัพท์ 086 117 1055

๔.๒ ผู้สบื ทอด

ชื่อ นายณรงค์ ปงชมุ่ ใจ

วนั เดอื น ปีเกดิ -

ทีอ่ ยู่ 65 หมู่ 11 ตา้ บลเมืองชุม อ้าเภอเวียงชัย จังหวัดเชียงราย

หมายเลขโทรศัพท์ -

๕. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏิบตั อิ ย่างแพร่หลาย  เสี่ยงตอ่ การสูญหาย  ไมม่ ปี ฏบิ ตั แิ ลว้
๖. รปู ภำพภมู ิปัญญำทำงวัฒนธรรม/กิจกรรมทำงภูมปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม

-397-

แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ัญญำทำงวัฒนธรรมจังหวดั เชียงรำย ประจำปี ๒๕๖5
สภำวัฒนธรรมจังหวดั เชยี งรำย
อำเภอเวียงชยั จังหวดั เชียงรำย

๑. ชื่อข้อมูล ปราสาทศพ (บา้ นรอ่ งบวั ลอย)

๒. ลักษณะ  วรรณกรรมพน้ื บา้ นและภาษา
 ศลิ ปะการแสดง
 แนวปฏิบัติทางสงั คมพิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรู้และการปฏิบตั เิ กยี่ วกับธรรมชาตแิ ละจกั รวาล
 งานช่างฝมี ือดงั้ เดมิ
 การละเล่นพ้ืนบา้ น กีฬาพนื้ บา้ น และศลิ ปะการต่อสปู่ ้องกนั ตัว

๓. รำยละเอียดข้อมลู
๓.๑) ประวัตคิ วามเป็นมาของขอ้ มลู
การท้าปราสาทศพในพื้นที่บ้านร่องบัวลอย ต้าบลเวียงชัย อ้าเภอเวียงชัย จังหวัดเชียงราย เร่ิมมีมาต้ังแต่ปี

พ.ศ. ๒๔๙๘ โดยมีนายทา ศรีเปง นายมา ศรีเปง (บุคคลทั้งสองท่านน้ีเป็นพ่ีนองกัน) และนายมา ลือชัย
ซ่ึงบุคคลทั้ง ๓ ท่านนี้ไดสืบทอดวิชาความรู้การท้าปราสาทศพ มาจากบรรพบุรุษท่ีอพยพมาจากบานดอนแกว
อ้าเภอหางฉตั ร จังหวัดลา้ ปาง และได้มาตัง้ รกรากอยู่ทบ่ี ้านรอ่ งบวั ลอย ตา้ บลเวยี งชัย อา้ เภอเวียงชัย จังหวดั เชยี งราย

ทั้งน้ี ในการท้าปราสาทศพครั้งแรก เกิดข้ึนจากการท้าเพ่ือช่วยเหลือซ่ึงกันและกันในหมู่ญาติ พ่ีน้อง
บ้านใกล้เรือนเคียง และเปน็ ชาวบ้านท่ีอาศัยอยู่ในหมู่บ้านเดียวกนั ได้เสียชีวิต จึงได้ช่วยกนั ทา้ ปราสาทบรรจุโลง
ศพให้แก่ผู้ตาย โดยที่ไม่ได้คิดค่าแรงหรือค่าจ้างแต่อย่างใด เพียงแต่ให้ญาติท่ีเป็นเจ้าภาพในการจัดงานศพของ
ผู้เสียชีวิตเป็นผู้ขึ้นขันตั้งในการท้าปราสาทบรรจุโลงศพ เน่ืองจากมีความเชื่อที่สืบทอดกันมาว่า ก่อนการท้า
ปราสาทศพทุกครั้งจะต้องมีขันต้ัง หากไม่มีการท้าขันต้ังจะท้าให้เกิดสิ่งที่ไม่ดีหรือที่ชาวล้านนาเชื่อกันว่า
“จะแพ้จะขึด จะแพ้ผี” ซ่ึงจะส่งผลท้าให้ชา่ งท่ีท้าปราสาทศพจะไม่สบายป่วยไข้ได้ ดังนั้น ก่อนการท้าปราสาท
ศพทุกครงั้ จะตอ้ งมขี ันต้งั โดยเจา้ ภาพศพจะตอ้ งจดั เตรยี มสิ่งของในการทา้ ขนั ต้ัง ประกอบด้วย

๑. กรวยดอกไม จ้านวน ๑ กรวย (ใส่ข้าวตอกดอกไม /ดอกไมสขี าว /ธูปและเทียน )
๒. หมากแหง จา้ นวน ๑ พวง
๓. เมย่ี ง จ้านวน ๑ อม
๔. บุหรี่ จ้านวน ๑ มวน
๕. เหลาขาว จ้านวน ๑ ขวด
๖. ไกตม จ้านวน ๑ ตวั
๗. ไขตม จา้ นวน ๑ ฟอง
๘. สตางค (เงนิ ) จา้ นวน ๑๒.๕๐ บาท
หมำยเหตุ ปัจจบุ ันทงั้ ๓ ทา่ น ได้เสยี ชีวิตแลว้
เม่ือมีความช้านาญในการท้าปราสาทศพเพิ่มมากขึ้นก็มีการถ่ายทอดความรู้สู่คนในชุมชน ต่อมาคนท่ี
เคยมาเป็นลูกมือในการท้าปราสาทศพทั้งหลายก็เริ่มมีความช้านาญขึ้นเรื่อย ๆ เพราะเป็นงานฝีมือ ท่ีสามารถ
เรียนรู้และดูจากรูปแบบโครงสร้าง ฝึกท้าบ่อย ๆ ก็สามารถท้าได้ หรือบางคนก็มาเรียนรู้ในลักษณะ ครูพักลัก
จา้ และนา้ ไปฝึกปฏิบัติ จนมีการสืบทอดวิชาความรู้การท้าปราสาทศพต่อมากันอีกหลายรุ่น และแตกแขนง
ออกไปเป็นหลายกลุ่ม ซึ่งในแต่ละกลุ่มจะมีช่างเฉพาะของตนเองในการท้าส่วนประกอบต่าง ๆ
เช่น ชา่ งตัดไม้ ชา่ งท้าตวั ปราสาท ชา่ งท้าหลงั คา ชา่ งทา้ ยอดปราสาท ช่างแกะลาย ต้องลาย ฉลุลาย ทา้ ช่อฟ้า
ใบระกา หรือช่างบางคนก็สามารถท้าได้ในทุกส่วนประกอบของปราสาทศพ ซ่ึงการทา้ ปราสาทศพนั้นจะมี

-398-
ความสวยงาม ประณีตเพียงใดนั้น ข้ึนอยู่ที่การพัฒนาฝีมือและการประยุกต์ออกแบบลวดลายของชา่ งแตล่ ะคน
รวมไปถึงความอลังการก็ข้ึนอยู่กับงบประมาณในการสั่งท้า โดยงบประมาณในการจัดท้าปราสาทศพมีต้ังแต่
หลักพัน หลักหมื่น จนไปถึงหลักแสน โดยการออกแบบการใช้สีในการท้าปราสาทศพมักจะใช้สีตามวัยของ
ผู้เสียชีวิต อาทิเช่น ผู้สูงอายุที่มีอายุตั้งแต่ ๖๐ ปีขึ้นไปมักจะใช้โทนสีขาวเป็นหลัก คนวัยหนุ่มสาวหรือวัย
กลางคนกม็ กั จะใชห้ ลากสีสัน คอื สีแดง สชี มพู ส่วนพระสงฆม์ กั จะใช้สีทอง เปน็ ตน้

จากเดิมการท้าปราสาทศพท่ีเริ่มตน้ จากการทา้ เพ่ือชว่ ยเหลือกนั ในหมู่ญาติพี่น้องก็กลับกลายมา
เป็นองค์ความรู้ มรดกภูมิปัญญาที่สืบทอดกันมาจากรุ่นสู่รุ่น จนท้าให้วิชาความรู้ในการท้าปราสาทศพมาเป็น
วิชาชีพในการหารายได้ในการเล้ียงชีพกันอย่างแพร่หลายในหมู่บ้านร่องบัวลอย โดยเร่ิมมาตั้งแต่ ปี พ.ศ. ๒๕๑๘
โดยมีการแยกตัวออกไปท้าธุรกิจปราสาทศพกันอย่างแพร่หลาย ในอดีตแทบทุกครัวเรือนในชุมชนจะมีอาชีพ
ท้าปราสาทศพซ่ึงในยุคหน่ึงมีความจ้านวนร้านค้าปราสาทศพมากกว่า 12 ร้าน แต่ในปัจจุบันเหลือผู้ที่ท้า
ปราสาทศพขายในชุมชนเหลืออยู่จ้านวน 4 ร้าน ถึงกระนั้นก็ตามแม้ว่าในปัจจุบันแม้จะเหลือเพียงไม่กี่ร้าน
แต่ปราสาทศพบ้านร่องบัวลอยก็ยังคงเป็นที่รู้จักของคนเชียงรายและจังห วัดใกล้เคียงในฐานะหมู่บ้านที่ท้า
ปราสาทศพที่มีช่ือเสียงของจังหวัดเชียงราย จนกลายมาเป็นอาชีพท่ีสร้างรายได้ เป็นธุรกิจที่ท้าสร้างชื่อเสียง
ใหก้ บั คนในหมู่บา้ นรอ่ งบัวลอยมาจนถึงปจั จบุ นั น้ี

๓.2) ขัน้ ตอน/วิธีการ/ด้าเนนิ การเกย่ี วกบั ข้อมูล
วสั ดุทใี่ ชใ้ นกำรจัดทำปรำสำทศพ ประกอบดว้ ย
๒. กระดาษเงนิ กระดาษทอง
๓. กระดาษมันขาว มันแดง สขี าว สีเทา สีเหลอื ง หลากสี

ใชส้ ้าหรับตกแต่งตัวปราสาทศพ โดยการตอ้ งใหเ้ ปน็ ลวดลายต่าง ทง้ั ลายไทย ลายดอก เพื่อความสวยงาม

ใช้สา้ หรับตกแต่งตัวปราสาทศพ โดยการแกะลาย ต้องลายให้เป็นลวดลายตา่ ง ๆ
ท้งั ลายไทย ลายดอก เพอ่ื ความสวยงาม

-399-

๓. กาว หรอื แป้งเปยี ก สา้ หรับใชท้ ากระดาษติดกับตวั ปราสาท โดยการนา้ แป้งมันสา้ ปะหลงั
ต้มนา้ ให้เดือดคนจนได้ท่ีเหนียวพอดี จึงเรยี กวา่ แป้งเปยี ก

แปง้ มนั สา้ ปะหลัง ทนี่ ้ามาท้าเป็นกาวหรอื แป้งเปยี ก น้าแปง้ มนั สา้ ปะหลัง มาตม้ น้าให้เดอื ดคนไปเร่ือย ๆ
ซง่ึ สามารถหาซ้ือได้ตามทอ้ งตลาดท่วั ไป จนเหนยี วได้ทพ่ี อดี จะไดก้ าวหรอื แปง้ เปยี ก

๔. ไมง้ วิ้ แดง ไมน้ ุ่น

ไม้งิ้วแดง ไม้น่นุ สา้ หรบั ใชท้ ้าตัวปราสาท โครงหลังคา และทกุ ส่วนของปราสาทศพ

เครอื่ งมอื ที่ใช้ในกำรจดั ทำปรำสำทศพ ประกอบด้วย
๑. เล่ือยมือ

ใชส้ ้าหรบั เลือ่ ยไม้ ตัดไม้ ที่มีขนาดเล็ก

-400-

๒. เลื่อยวงเดือน

ใชส้ ำหรบั เล่ือยไมท้ ่ีมีขนำดใหญ่ ตดั ซอยออกมำใหม้ ีขนำดเลก็
๓. ส่วิ ขนาดตา่ ง ๆ

สา้ หรบั ใช้ตอ้ งดอก ตอ้ งลาย แกะสลกั ลายตา่ ง ๆ
๔. คอ้ น มยุ

ใชส้ ้าหรบั ตอกตะปู ตอกไม้ ตอกส่วิ ตอนท่ีแกะลาย

-401-

๕. กรรไกร

ใช้สา้ หรับตดั วสั ดุตา่ ง ๆ เชน่ กระดาษ

๖. ตะปู

ใชส้ ้าหรบั ตอกไมใ้ ห้ยึดติดกบั ตวั ปราสาท
๗. มดี ขนาดต่าง ๆ ใช้ส้าหรับตัดไม้ ฟนั ไม้ ผ่าไม้

ใช้สา้ หรับตดั ไม้ ฟันไม้ ผา่ ไม้
๘. แทน่ รอง ใช้ส้าหรบั รองกระดาษเพ่อื ต้องดอก ตอ้ งลาย แกะลาย

ใชส้ า้ หรับรองกระดาษเพื่อตอ้ งดอก ต้องลาย แกะ
ลาย

-402-

๙. ไมฉ้ าก ตลบั เมตร

สา้ หรับใช้วดั ความยาว ความกว้างของไมท้ ใี่ ชป้ ระกอบเป็นโครงสร้างตัวปราสาทศพ
๑๐. ดนิ สอเขยี นไม้

ใช้ส้าหรบั ขดี เขยี นท้าเครือ่ งหมายเพ่ือให้ไดไ้ ม้ตามท่ีตอ้ งการ
๑๑. แมก็ ยงิ ป้มั ลม สา้ หรับใชย้ งิ ไมต้ ามจุดตา่ งๆท่คี ้อนตอกเขา้ ไปไม่ถงึ

ส้าหรับใช้ยิงไม้ตามจดุ ตา่ ง ๆ ที่คอ้ นตอกเขา้ ไปไมถ่ ึง
๑๒. บล็อกสกรีนลาย

ใชส้ ้าหรบั สกรีนลายดอกตา่ ง ๆ เปน็ อุปกรณเ์ สรมิ ท่ีช่วยใหง้ านกระดาษ แกะลาย ตอ้ งดอกรวดเรว็ ยิ่งข้นึ

-403-

๑๓. สี - แปรงทาสี

ใช้สา้ หรับท้าลายดอกสีต่าง ๆ ตามต้องการ

ขัน้ ตอนและวิธีกำรในกำรทำปรำสำทศพ
กลุ มช างจะมีกระบวนการข้ันตอนในการท้าส วนประกอบของแต ละส วนแยกออกจา กกัน
และ จะมีการท้าเตรียมไวลวงหนาเปนจ้านวนมาก เนื่องจากงานส่ังท้าปราสาทศพไมมีก้าหนดเวลาที่แน่นอน
ขึ้นอยูกับการเปนการตายของคนเรา ดังน้ัน ช่างท้าปราสาทศพจึงตองจัดเตรียมวัสดุทุกอย่างไวให้พรอม
ตลอดเวลา โดยมีประโยคที่เรียกกันวา “ส่ังเชาไดสาย ส่ังบายไดเย็น” หรือ “คนใช้ไม่ได้ซื้อ คนซ้ือไม่ได้ใช้”
โดยมขี ้นั ตอนและวิธกี ารในการทา้ ปราสาทศพ ดงั น้ี
๑. สว่ นที่เปน็ งานกระดาษ

การท้าลาย แกะลาย ต้องลาย และตัดกระดาษ งานประเภทน้ีมักจะให้ช่างผู้หญิงเป็นผู้ท้า
โดยจัดเตรียมกระดาษชนิดต่าง ๆ ทั้งกระดาษแข็งและกระดาษอ่อนหลากสีสัน น้ามาตัดลายในรูปแบบต่าง ๆ
และจัดเตรียมไว้เป็นจ้านวนมาก เนื่องจากเป็นชิ้นส่วนที่ต้องใช้ประดับตกแต่งตัวปราสาทและในกรณีท่ีมีเจ้าภาพ
มาสงั่ ท้าปราสาทศพในกรณีเร่งด่วน และมาสั่งพร้อมกันหลาย ๆ แหง่ อาทิเชน่ ชอ่ ฟา้ หางชอ่ ฟ้า ตัวชอ่ ฟา้ ใบระกา
ดอกต้ัง ฝาหยวด นาคต้น กาบเสา กาบจิว ผ้าม่าน ยอดปราสาท และยอดฉัตร (ใช้ส้าหรับปราสาทศพของ
พระสงฆเ์ ทา่ นัน้ )

-404-

๒. สว่ นทเ่ี ป็นโครงปราสาท ตัวปราสาทศพ
การท้าโครงปราสาท หรือตวั ปราสาทศพ จะใช้ช่างผชู้ ายเป็นผู้ลงมอื ทา้ โดยมีกระบวนการ

ในการจัดท้า ดงั นี้
(๒) นา้ ไมท้ ่เี ป็นแผ่นขนาดใหญ่มาเลอ่ื ยใหม้ ีขนาดเลก็ ตามทต่ี ้องการ
(๒) น้าไม้ท่ีเลื่อยเตรียมไว้ตามขนาดที่ต้องการ มาประกอบเป็นโครงปราสาท อันดับแรกคือ

ท้าโครงเสาเป็นรูปส่ีเหล่ียมด้านไม่เท่า โดยการน้าไมมาประกอบเขากัน และจะท้าตามขนาดที่เจาภาพมาสั่ง
เชน เจ้าภาพตองการปราสาทศพขนาดเสา ๘ ตน หรือ ๑๒ ตน หรือ ๒๔ ตน ซ่ึงส่วนประกอบโครงปราสาทน้ี
ช่างจะตอ้ งจัดเตรยี มไวเปนจา้ นวนมากเชนกัน

-405-
(๓) น้าส่วนท่ีประกอบเป็นเสาแต่ละอันมาประกบกันเพื่อท้าโครงปราสาทหรือตัวปราสาท
โดยเรม่ิ ตง้ั แต่ท้าฐานขนึ้ ไปเป็นอันดับแรกเพื่อยึดใหต้ ัวปราสาทตั้งได้

(๔) เร่ิมท้าส่วนที่เปน็ ตวั ฐานดา้ นบนเพอ่ื เป็นส่วนท่ีรองรับหลงั คาปราสาทศพอีกชน้ั หนง่ึ

๓. ส่วนท่ีเปน็ หลังคาปราสาท
ช่างท้าปราสาทก็จะจัดท้าส่วนหลังคาแยกไว้ต่างหาก เพื่อความสะดวกในการขนย้าย และ

สามารถยกมาประกอบท่ีหลังได้ จึงมีการท้าปราสาทแยกแต่ละส่วนไว้เป็นจ้านวนมาก และพร้อมที่จะ
ประกอบให้แล้วเสร็จภายในวันเดียวได้เลย ในการท้าส่วนที่เป็นโครงหลังคาจะมีขนาดเช่นเดียวกับท้าเสา
ปราสาทโดยให้ได้สัดส่วนและมีความสัมพันธ์กันทั้งโครงปราสาท และหลังคา เช่น เสา ๘ ต้น จะท้ามุม ๔ เหล่ียม
เสา ๑๒ ต้น ท้ามุม ๖ เหล่ียม เสา ๒๔ ต้น ท้ามุม ๘ เหลี่ยม เป็นต้น โดยช่างจะเน้นหลังคารูปทรงไทย
มีลกั ษณะ ๓ ชัน้ ๕ ชัน้ ๗ ช้ัน ๙ ชน้ั ขนึ้ อย่กู บั ความต้องการของเจา้ ภาพท่ีมาสั่งท้า (จะท้าปราสาทกี่ช้ัน)

-406-
๔. ส่วนท่ีเป็นยอดปราสาท (ฉัตร)

ในส่วนน้ีช่างก็จะท้าแยกไว้ต่างหากเช่นกัน เพื่อความสะดวกในการน้ามาประกอบเข้าเป็น
ตัวปราสาทท่ีสมบูรณ์ โดยแต่ละส่วนท่ีกล่าวมาแล้ว หากท้าเสร็จแล้วจะเก็บรอไว้ จนกว่าจะมีเจ้าภาพมาส่ัง
กลุ่มช่างก็จะระดมกันตกแต่งช้ินส่วนแต่ละอย่างให้สวยงามและน้ามาประกอบกันจนเป็นปร าสาทบรรจุศพ
๑ หลัง

๕. การตกแตง่ แตล่ ะส่วน ฐานปราสาท ตวั ปราสาท หลังคา ยอดปราสาท

-407-

4. ช่ือผู้ท่ีถือปฏิบัติและผ้สู ืบทอด

4.๑ ผทู้ ีถ่ อื ปฏบิ ัติ ปัจจบุ ันมีผถู้ อื ปฏิบัติการทา้ ปราสาทศพ จา้ นวน ๔ ร้าน ดงั น้ี

(๑) ชอ่ื รา้ นสล่ารัตน์ (ปราสาทเสรี)

วัน เดือน ปเี กดิ ๓ มกราคม ๒๔๙๒

ทีอ่ ยู่ ๖๙ หมู่ ๒ ต้าบลเวียงชัย อา้ เภอเวยี งชยั จังหวดั เชียงราย

หมายเลขโทรศัพท์ 081 998 2308

(๒) ชื่อ นายพุฒ บุญวงค์ รา้ นสล่าเสรฐิ (ร่องบวั ลอย ๑)

วัน เดอื น ปีเกดิ ๙ กรกฎาคม ๒๕๐๔

ทอี่ ยู่ หมู่ ๒ ตา้ บลเวียงชยั อา้ เภอเวียงชัย จงั หวัดเชียงราย

หมายเลขโทรศัพท์ 081 ๓๖๖ ๙๑๕๔

(๓) ชอ่ื นายเจริญ ขัตยิ ะ รา้ นปราสาทเจรญิ ทอง

วัน เดือน ปีเกิด ๙ มนี าคม ๒๕๐๓

ที่อยู่ ๗๗ หมู่ ๒ ต้าบลเวยี งชัย อา้ เภอเวียงชยั จงั หวัดเชียงราย

หมายเลขโทรศัพท์ 081 ๗๙๖ ๖๔๗๔ / ๐๘๓ ๗๖๔ ๕๑๓๓

(๔) ชอ่ื นายอนิ จนั ทร์ ปญั ญาไว รา้ นสล่าอนิ จันทร์ (ศาลาทองร่องบวั ลอย)

วนั เดือน ปเี กดิ ๑๘ ตุลาคม ๒๔๙๖

ที่อยู่ ๑๖๑ หมู่ ๒ ต้าบลเวยี งชัย อา้ เภอเวียงชยั จงหวดั เชียงราย

หมายเลขโทรศัพท์ 081 ๓๖๖ ๑๗๑๔ / ๐๘๓ ๑๕๓ ๕๓๙๙ /๐๘๗ ๑๗๗ ๖๘๖๙

4.๒ ผ้สู บื ทอด

(๑) ชื่อ นางสาวล้าดวน เผา่ ปนิ ตา ร้านสลา่ รตั น์ (ปราสาทเสรี)

วนั เดือน ปเี กิด ๑๗ กนั ยายน ๒๕๑๗

ทอ่ี ยู่ ๖๙ หมู่ ๒ ตา้ บลเวยี งชยั อ้าเภอเวียงชยั จงั หวัดเชียงราย

หมายเลขโทรศัพท์ 090 321 1608

(๒) ช่ือ นายวรี ะพงษ์ ขัตยิ ะ ร้านปราสาทเจริญทอง

วนั เดอื น ปเี กดิ ๑๕ กรกฎาคม ๒๕๓๒

ทอ่ี ยู่ ๗๗ หมู่ ๒ ตา้ บลเวียงชัย อา้ เภอเวยี งชัย จงั หวดั เชียงราย

หมายเลขโทรศัพท์ 081 ๗๙๖ ๖๔๗๔

(๓) ชื่อ นางสาวกนกพร ปญั ญาไว รา้ นสล่าอนิ จนั ทร์ (ศาลาทองร่องบวั ลอย)

วนั เดอื น ปีเกิด ๒๕๑๙

ที่อยู่ ๑๖๑ หมู่ ๒ ต้าบลเวยี งชยั อ้าเภอเวียงชยั จงั หวดั เชียงราย

หมายเลขโทรศัพท์ 081 ๓๖๖ ๑๗๑๔ / ๐๘๓ ๑๕๓ ๕๓๙๙ /๐๘๗ ๑๗๗ ๖๘๖๙

5. สถำนะกำรคงอยู่  ปฏิบตั อิ ยา่ งแพรห่ ลาย  เส่ยี งต่อการสญู หาย  ไมม่ ปี ฏิบัติแล้ว
การท้าปราสาทศพ ในส่วนท่ีเป็นฝีมืองานช่างไม้น้ันยังมีช่างจ้านวนมากที่สืบทอด และท้าปราสาท

ได้เป็นอย่างดี และได้แยกกลุ่มออกไปแต่ไม่มีสาขา งานจ้าง งานส่ังท้าปราสาทเข้ามาน้อยจึงไม่เพียงพอต่อ
การครองชีพ ท้าใหต้ ้องเลกิ ไปโดยปริยาย

แต่ส่วนท่ีเส่ียงต่อการสูญหายต้องได้รับการปกป้องคุ้มครองอย่างเร่งด่วน ก็คือภูมิปัญญาในส่วนของ
การต้องดอก ต้องลาย แกะลาย ซึ่งนับวันจะสูญหาย เนื่องจากงานประเภทน้ีต้องอาศัยใจรัก มีความอดทน
ความละเอียด ความประณีต สวยงาม ใช้เวลาในการท้ากว่าจะต้องออกมาได้ ๑ ลาย จึงท้าให้ไม่มีใครสนใจ
สืบทอด เพราะการท้าส่ิงเหล่านี้น้าไปขายในงานอื่นไม่ได้ ต้องท้าใช้กับปราสาทศพอย่างเดียว จึงไม่มีคนสนใจ
ที่จะสืบทอด มเี พยี งแต่กลุ่มครอบครวั ช่างเท่านั้นทีย่ ังคงทา้ กันอยู่

-408-

อีกประการหน่ึง ที่น่าเป็นห่วงในเร่ืองของภูมิปัญญาการต้องดอกท่ีก้าลังจะสูญหาย คือมีการน้า
เทคโนโลยีสมัยใหม่เข้าช่วยให้งานต้องดอกรวดเร็วยิ่งข้ึน น่ันก็คือการท้าบล็อกสกรีนลวดลายต่าง ๆ เข้ามา
แทนการท้าด้วยมือ เพราะสามารถท้าได้เป็นจ้านวนมาก รวดเร็ว ไม่เสียเวลา จึงนิยมใช้แบบสกรี นแทน
การแกะลายด้วยมอื

6. รปู ภำพภมู ิปญั ญำทำงวัฒนธรรม/กิจกรรมทำงภูมิปัญญำทำงวัฒนธรรม

โครงสร้างตวั ปราสาทศพ ก่อนการประดับ องคป์ ระกอบในสว่ นของหลังคาปราสาทศพ
ตกแตง่ ดว้ ยกระดาษลวดลายต่าง ๆ ซง่ึ แยกออกมาเพ่ือความสะดวกในการขนย้าย

ผลงานปราสาทศพ ของชา่ งฝีมอื บา้ นร่องบัวลอยในรปู แบบตา่ ง ๆ

การขนย้ายปราสาทศพ ไปยงั บ้านเจ้าภาพ โดยจะแยกช้ินสว่ นระหวา่ งตัวปราสาท กับหลังคาปราสาท

ผลงานการทา้ ขบวนร้ิวขบวนศลิ ปวฒั นธรรม โดยการนา้ งานชา่ งฝมี อื ในการทา้ ปราสาทศพ
มาเป็นองคป์ ระกอบหลกั ในรวิ้ ขบวน ซ่ึงเป็นกจิ กรรมการประกวดรว้ิ ขบวน
ในการแข่งขนั กีฬาแหง่ ชาติ ครัง้ ที่ ๔๖ “เจียงฮายเกมส์”

-409-

แบบสำรวจมรดกภมู ิปัญญำทำงวฒั นธรรมจงั หวัดเชียงรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวัฒนธรรมจงั หวดั เชยี งรำย
อำเภอเวียงชยั จงั หวดั เชียงรำย

๑. ช่ือข้อมูล ปั้นพระพุทธรปู หลอ่ พระพุทธรปู ปัน้ รูปเหมือน

๒. ลักษณะ  วรรณกรรมพน้ื บา้ นและภาษา

 ศิลปะการแสดง

 แนวปฏบิ ัตทิ างสังคมพิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรู้และการปฏิบตั เิ กยี่ วกับธรรมชาติและจกั รวาล
 งานช่างฝมี ือดัง้ เดิม

 การละเลน่ พื้นบ้าน กีฬาพ้นื บ้าน และศิลปะการตอ่ สูป่ ้องกนั ตัว

๓. รำยละเอยี ดขอ้ มูล
๓.๑) ประวัตคิ วามเปน็ มาของขอ้ มลู
แรกเรม่ิ นายปญั ญา โพธิเจรญิ ไดเ้ รียนรู้วธิ ีการปั้นหม้อ ปั้นดิน ทีอ่ า้ เภอแม่ริม จังหวดั เชียงใหม่ และได้

เรียนรเู้ พิ่มเติมจากมหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่ ด้านการหลอ่ หลอมพระพุทธรปู
เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๒๔ ถึงปี พ.ศ. ๒๕๓๑ ได้มีโอกาสไปเรียนรู้กับพ่ออุ้ยค้า และพ่ออุ้ยดวงจันทร์

ที่บ้านช่างหล่อ ต้าบลหายยา อ้าเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ ได้เป็นผู้ช่วยช่างหล่อและติดตามท่าน
ไปยังท่ตี า่ ง ๆ หลังจากน้นั นายปญั ญา โพธิเจริญ ไดเ้ ร่มิ ตน้ ท้าเป็นอาชพี รบั งานดว้ ยตนเอง และย้ายมาประกอบ
อาชพี ช่างหล่อท่จี ังหวัดเชียงรายต่อจนถึงปัจจบุ นั

๓.๒) ข้ันตอน/วธิ ีการ/ดา้ เนินการเกยี่ วกบั ขอ้ มูล
วิธกี ารพระพุทธรูป หล่อพระพุทธรูป ปนั้ รูปเหมือน มขี ั้นตอน ดงั นี้
๑. การเตรยี มดิน โดยการนา้ ดินเหลืองที่ไดม้ าจากการขุดจากพื้นดินลึกลงไปถึง ๕ เมตรและนา้ มาหมัก
แชน่ ้าจนได้ท่ี จึงน้ามาผสมกบั แกลบด้าและขเ้ี ล่ือย
๒. นา้ ดนิ มาปั้นตามขนาด และสัดส่วนตามที่ได้ออกแบบ
๓. จากนน้ั น้ารปู ป้นั ที่ไดข้ นาดตามทตี่ อ้ งการแล้วน้ามาขัด ตกแต่งให้เรยี บไดร้ ปู ทรง
๔. นา้ รปู ปัน้ ไปเผาเพื่อใหไ้ ดค้ วามรอ้ น
๕. น้าขี้ผึ้งเป็นแผ่นมาต้มและเอาไปติดเป็นแผ่นตรงดินที่ปั้นไว้ เหตุผลที่ต้องเผาดินก่อนเพื่อให้ดินมี
ความร้อนถงึ จะทา้ ให้ข้ีผึ้งเกาะติดดินได้
๖. หลงั จากนัน้ จะนา้ มาพอกดนิ นวล ดนิ ออ่ น และดนิ แก่ ประมาณ ๒ - ๓ รอบ
๗. เม่ือดินที่พอกไว้แห้งแล้ว จึงน้าไปเผาละลายขี้ผ้ึงออก และเผาจนหุ่นสุกเป็นสีแดงเหมือนสีของ
ถา่ นร้อน
๘. นา้ มาหลอมทอง (ทองแดงและทองเหลือง ทัง้ น้ี ส่วนประกอบขึน้ อยู่กับชนิ้ งานน้นั ๆ) ทมี่ คี วามร้อน
เกนิ ๑,๐๐๐ องศา ให้ไดก้ ับมาตราส่วนและขนาด น้าหนักของหุ่น
๙. เมื่อทองที่หลอมร้อนได้ที่จึงเทใส่หุ่นให้เต็มและรอให้เย็นถึงจะทุบดินออก จะได้ออกมาเป็นรูปทรง
ตามท่ีป้นั ไว้
๑๐. หลงั จากนั้นเอามาขัดและตกแต่ง เกบ็ รายละเอยี ดใหส้ วยงาม

-410-

๔. ชือ่ ผทู้ ่ีถือปฏิบตั แิ ละผู้สบื ทอด

๔.๑ ผูท้ ี่ถอื ปฏบิ ัติ

ช่ือ นายปัญญา โพธิเจริญ

วัน เดือน ปเี กิด ๒๓ กุมภาพนั ธ์ ๒๔๙๘

ทอี่ ยู่ ๒๙๑ หมู่ ๖ ตา้ บลเมอื งชมุ อ้าเภอเวยี งชัย จังหวดั เชยี งราย

หมายเลขโทรศัพท์ ๐๘๙ ๔๒๙ ๕๔๙๐

๔.๒ ผ้สู บื ทอด -
ช่ือ -
วัน เดอื น ปีเกิด -
ท่ีอยู่ -
หมายเลขโทรศัพท์

๕. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏบิ ตั อิ ยา่ งแพร่หลาย  เส่ยี งตอ่ การสญู หาย  ไมม่ ีปฏบิ ตั แิ ลว้
๖. รปู ภำพภูมปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม/กจิ กรรมทำงภูมิปัญญำทำงวฒั นธรรม

รปู เหมือนพระครศู าสนกิจโกศล รปู เหมือนพระครสู ิรบิ ญุ ญานนั ท์
(ทา่ นทา) ณ วัดศรีบุญเรอื ง

นายปญั ญา โพธิเจริญ

-411-

แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ัญญำทำงวัฒนธรรมจังหวดั เชียงรำย ประจำปี 2565
สภำวัฒนธรรมจงั หวดั เชยี งรำย
อำเภอเวยี งชัย จงั หวัดเชยี งรำย

๑. ชื่อข้อมลู ผลติ ภณั ฑ์เสื่อสานจากต้นกก

๒. ลกั ษณะ  วรรณกรรมพื้นบา้ นและภาษา
 ศิลปะการแสดง

 แนวปฏบิ ัตทิ างสงั คมพิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล

 อาหาร/ความรู้และการปฏิบัตเิ กี่ยวกบั ธรรมชาตแิ ละจักรวาล
 งานช่างฝีมอื ดง้ั เดมิ
 การละเล่นพื้นบ้าน กีฬาพน้ื บ้าน และศลิ ปะการต่อสู่ป้องกนั ตวั

๓. รำยละเอยี ดข้อมูล

๓.๑) ประวัติความเป็นมาของขอ้ มลู
นางทัศนีย์ วงค์ศรีเทพ หมู่ที่ 1 บ้านสมานมิตร ต้าบลดอนศิลา อ้าเภอเวียงชัย จังหวัดเชียงราย
โทร. 082 232 1612
ผลิตภัณฑ์จากต้นกก ถือเป็นวิถีการด้ารงชีวิตอีกอาชีพหนึ่งของชุมชน เพราะหลังจากการท้านาแล้ว
ชาวบ้านจะตระเวนหาต้นกกจากแหล่งน้าต่าง ๆ ท้ังพ้ืนที่และนอกพ้ืนที่มาท้าผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ใช้ในครัวเรือน
ซึ่งเป็นวัตถุดิบมีมาตั้งแต่ด้ังเดิม จนมีการรวมกลุ่มอาชีพกันในปัจจุบัน ต้นกกในธรรมชาติหายากข้ึน จึงมีการ
ปลกู ใชใ้ นครัวเรือนเพ่มิ มากข้ึนเพราะถ้าไม่ผลติ เองกส็ ามารถจา้ หน่ายตน้ สดได้

การรู้จักใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ในการแปรรูปผลผลิต เพื่อการบริโภคอย่างปลอดภัย และประหยัด
อันเป็นกระบวนการให้ชุมชนท้องถ่ินพึ่งพาตนเอง ทางเศรษฐกิจได้ เช่น การท้าเครื่องเรือนจากไม้ การทอผ้า
การทอเสอื่ การท้าเครื่องจกั สาน เปน็ ต้น

๓.๒) ข้ันตอน/วธิ ีการ/ดา้ เนนิ การเกีย่ วกับข้อมูล
ขนั้ ตอนหรือวํิธกิ ารทีส่ า้ คัญ ๆ มดี ังนี้
1. การปลูกกกหรือทานากก นับเป็นจุดเร่ิมต้นของการสร้างวัสดุในการทอเสื่อ โดยเตรียมที่ดินด้วย
การไถ แล้วปักดาหัวกกลงในนาเหมือนการด้านาข้าว จากนั้น มีการบ้ารุงรักษาถอนหญ้าใส่ํป๋ย ปลูกแซมด้วย
เวลา ๓-๔ เดอื น กส็ ามารถเก็บเกี่ยวได้
2. การตัดกกจะใช้มีดเล็ก ตัดเกือบถึงโคนต้นกก แล้วน้ามากองเรยี งเพื่อคัดแยกขนาด ตั้งแต่ความยาว
๙ คืบ ๘ คืบ เรื่อยลงมา จนถึง ๔ คืบ จากน้ันน้าแต่ละกองท่ีมีขนาดเท่ากันมัดเก็บไวด้วยกันตัดดอกท้ิงเพื่อท้า
การกรดี เป็นเสน้
3. การกรีดจะใช้มีดปลายแหลมที่ท้ามาจากใบเล่ือย กรีดแบ่งคร่ึงกกแต่ละเส้นถ้าเป็นต้นเล็ก ถ้าเป็น
ต้นใหญ่ก็กรดี เหมอื นกันแต่จะ มสี ่วนทีก่ รีดทิ้ง เพอ่ื ใหแ้ หง้ งา่ ย
4. หลังจากได้เส้นกกแล้ว กน็ า้ ไปตาก โดยแผ่วางเรียงเปน็ แนวยาว วนั แรกจะตากเตม็ วัน จากน้ันน้ามา
มัดเเปน็ มัดเลก็ ๆ แล้วตาก อกี ราว ๒ วัน ใหเ้ สน้ กกน้ันแหง้
5. การยอ้ มสีนา้ กกท่ีตากแห้งแล้วมามดั แชน่ ้า ราว ๑๐ ช่ัวโมง เพอื่ ใหเ้ ส้นกกนมิ่ จากน้ันต้มนา้ ให้เดือด
ใส่สีย้อม แล้วน้าเส้นกกท่ี มัดเป็นก้าแช่ลงไปในน้าสีท่ีก้าลังเดือดท้ิงไว้ ๑๐-๑๕ นาทีจึงน้าไปแช่น้า แล้วน้า ขึ้น
ตากในท่ีรม่ มลี มพัดผ่าน ๓-๔ วัน เม่ือเสน้ กกสแี ห้ง ก็สามารถนา้ ไปใช้ในการทอได้
6. การทอจะร้อยเส้นเอ็นกับฟืมเป็นเส้นยืน ตามขนาดของคืบที่ก้าหนด แล้วใช้เส้นกกใส่กระสวยทอ
เรยี งเปน็ เส้นนอนคล้ายการทอผ้า การใส่ลายสใี นการทอนยิ มใสต่ อนแรกและตอนสดุ ท้ายของการทอเมอื่ จะเต็มผนื

-412-

7. เมือ่ ทอได้เตม็ ผนื ก็มัดรมิ เส่อื ตัดเสอื่ ออกจากกแ่ี ละตัดริมอีกครั้งพรอ้ มแต่งเส่ือใหม้ ีความเรยี บรอ้ ย
สวยงาม

8. ส่วนราคาในการขาย ถ้าเป็นเส่ือธรรมดา ๕ คืบ ผืนละ ๘๐ บาท, ๖ คืบ ผืนละ ๑๐๐ บาท, ๗ คืบ
ผืนละ ๑๒๐ บาท, ๘ คืบ ผืนละ ๑๕๐ บาท และ ๙ คืบ ผืนละ ๑๘๐ บาท ถ้าเป็นเสื่อสีจะท้าต้ังแต่ ๗ คืบ
ในราคาผืนละ ๒๕๐ บาท, ๘ คบื ผืน ละ ๓๐๐ บาท และ ๙ คบื ผืนละ ๓๕๐ บาท

๔. ช่อื ผูท้ ่ีถอื ปฏิบัติและผู้สบื ทอด

๔.๑ ผทู้ ่ถี ือปฏิบตั ิ

ช่อื นางทัศนยี ์ วงคศ์ รีเทพ

วนั เดอื น ปีเกิด -

ท่อี ยู่ หมู่ 1 บา้ นสมานมิตร ต้าบลดอนศิลา อ้าเภอเวยี งชัย จงั หวัดเชียงราย

หมายเลขโทรศัพท์ 082 232 1612

๔.๒ ผู้สบื ทอด

ช่อื -
วนั เดือน ปีเกิด -
ที่อยู่ -

หมายเลขโทรศัพท์ -

๕. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏบิ ตั อิ ย่างแพรห่ ลาย  เสี่ยงต่อการสญู หาย  ไม่มปี ฏบิ ัตแิ ล้ว

๖. รูปภำพภูมปิ ญั ญำทำงวัฒนธรรม/กิจกรรมทำงภูมิปัญญำทำงวฒั นธรรม

-413-

แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ญั ญำทำงวฒั นธรรมจงั หวดั เชยี งรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวัฒนธรรมจังหวดั เชยี งรำย

อำเภอเวียงเชยี งรุง้ จังหวดั เชียงรำย

๑. ช่ือข้อมลู ผา้ ขาวมา้ ทอมือ

๒. ลักษณะ  วรรณกรรมพนื้ บ้านและภาษา
 ศลิ ปะการแสดง

 แนวปฏิบัติทางสังคมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล

 อาหาร/ความรูแ้ ละการปฏบิ ตั ิเกี่ยวกับธรรมชาติและจักรวาล
 งานชา่ งฝีมือดงั้ เดิม
 การละเล่นพ้นื บา้ น กีฬาพ้นื บา้ น และศลิ ปะการตอ่ สปู่ ้องกันตัว

๓. รำยละเอียดขอ้ มลู
๓.๑) ประวัตคิ วามเปน็ มาของข้อมลู
กลมุ่ ผ้าขาวมา้ ทอมือ บา้ นเหล่าเจรญิ ราษฎร์ เกิดจากการตงั้ กลุ่มผู้สงู อายุในหมบู่ า้ นเมอื่ ปี พ.ศ.2550

โดยการจดั ตั้งกลุ่มผสู้ ูงอายุในหมู่บ้าน เพอ่ื ให้เกดิ ความสามัคคีในกลุ่ม สรา้ งชุมชนใหเ้ ข้มแขง็ อนรุ ักษภ์ มู ิปัญญา
ท้องถ่ินวิถีชีวจิในชุมชนไว้ ,เพ่ือหารายได้เสริม ไม่เป็นภาระของลูกหลาน และใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
ซ่ึงหลังจากมีกล่มุ ผู้สูงอายแุ ล้ว ทา้ ให้ผูส้ งู อายมุ ีกิจกรรมรว่ มกัน

หลังจากนั้น เมื่อ พ.ศ.2552 ได้มีการรวมกลุ่มผู้ทอเสื่อกก และการจัดหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้นของ
กศน.อ้าเภอเวียงเชียงรุ้ง ซึ่งเกิดจากการไปศึกษาดูงาน การผลิตเป็นกระบวนการ การย้อมสี จึงมีการพัฒนา
ผลิตภัณฑ์ทอเส่ือกกให้มีความสวยงาม และใช้ประโยชน์ได้ ต่อมากลุ่มผู้สูงอายุได้มีแนวคิดร่วมกันในการริเร่ิม
“การทอผ้าขาวม้าทอมือ” ซ่ึงสามารถสร้างงานและสร้างรายได้เพ่ิม ตลอดจนเพื่อให้เป็นแหล่งเรียนรู้
ภมู ิปญั ญาของชมุ ชน และได้ดา้ เนนิ งานต่อยอดมาจนถงึ ปจั จบุ ัน

การทอผ้าขาวม้าทอมือ ของกลุ่มผู้สูงอายุบ้านเหล่าเจริญราษฎร์ มีแรงบันดาลใจมากจากการต้องการ
ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ และต้องการอนุรักษ์มรดกภูมิปัญญาด้านการทอผ้า ตลอดจนสร้างรายได้แก่
ผู้สูงอายุ ท้าให้ผู้สูงอายุไม่ได้อยู่บ้านเพียงล้าพัง ได้พบปะ พูดคุยกัน เกิดความสนุกสนาน สามัคคีและเกิด
ความคิดสร้างสรรค์ในการคิดลวดลายการทอผ้าขาวม้า และสามารถเป็นแหล่งเรียนรู้ ถ่ายทอดภูมิปัญญาของ
ชุมชนได้เป็นอย่างดจุดเด่นของผ้าขาวม้าทอมือบ้านเหล่าเจริญราษฎร์ คือลวดลายที่ร่วมกันคิดในกลุ่ม และตั้ง
ชอ่ื ลายตามหน่วยงานทสี่ งั่ หรือต้องการ เช่น ลายออมสนิ ลายกศน. และจดุ เดน่ ของกลมุ่ คือไม่ได้ต้งั กฏเกณฑ์ที่
เข้มงวด เนื่องจากสมาชิกกลุ่มมีเวลาว่างไม่เท่ากัน ใครว่างจากภารกิจก็มาร่วมท้า ถ้าใครมีภารกิจอื่นหากเสร็จ
ภารกิจกเ็ ข้ามาช่วยกัน ทุกคนในกลุ่มมคี วามสามัคคี รักใคร่ กลมเกลียว

๓.๒) ขน้ั ตอน/วธิ ีการ/ดา้ เนินการเกยี่ วกบั ขอ้ มลู
1) น้าด้ายหรือฝ้ายมาโว้นกบั หลักเฝือ เพ่ือขงึ เส้นด้าย เตรยี มนา้ ไปท้าเป็นเส้นยืน หรือเส้นแนวตัง้
2) นา้ ด้ายมาใส่กง และอกั เพ่ือจดั ระเบียบเสน้ ด้าย
3) น้าดา้ ยมาใส่ในฟืม บนก่ีเพ่ือทา้ เปน็ เสน้ ยนื หรือแนวตงั้ เตรยี มการทอผา้ ขาวม้า
4) น้าดา้ ย หรอื ฝ้ายมากรอกับเฝ่ือนด้าย เพื่อนา้ ด้ายใหอ้ ยู่บนหลอดหรอื แกนดา้ ย
5) นา้ หลอดดา้ ยใสใ่ นกระสวย เพือ่ เตรยี มนา้ ไปทอเปน็ เสน้ พุ่งแนวนอน

-๔14-
วัสดุอปุ กรณ์
1) ฝา้ ย และด้ายสตี า่ ง ๆ ได้มาจากการซื้อจากแหล่งตา่ ง ๆ (กโิ ลกรัมละ 320 บาท)

ฝ้ายหึก คือฝา้ ยดัง้ เดิม ฝ้ายดิน้ กา่ น เป็นเสน้ ฝ้ายผสม ด้ายประดิษฐ์ สตี า่ ง ๆ
กับด้ายประดิษฐม์ ีสีสดใส
2) เฝือ่ น : ใช้สา้ หรบั ป่ันด้าย
3) หลอดกรอดา้ ย

4) เฝือ : ใชส้ า้ หรบั ขงึ เส้นด้ายเพื่อน้าไป 5) กระสวย ใชส้ า้ หรับใสห่ ลอดด้ายทก่ี รอแล้ว
ท้าเปน็ เส้นยืนหรอื เส้นแนวตัง้ ใน สง่ เสน้ ดา้ ยพงุ่ เขา้ ไปในด้ายเส้นยืนที่ขงึ อยู่
ขัน้ ตอนการทอผ้า บนก่หี รือหูกทอผา้

6) กง : ใช้จัดระเบยี บเส้นด้ายจากดา้ ย 7) อัก : ใช้พนั เสน้ ดา้ ย เพื่อจัดระเบียบเส้นด้าย
ทีซ่ ื้อมา

8) ฟมื : มลี กั ษณะเป็นฟันฟืม หรือ 9) ก่ี หรือหกู : ใช้สา้ หรบั ทอผ้า
ฟันหวีท่ีห่าง ตามขนาดของเส้นด้าย

10) จกั รเยบ็ ผ้า : ใช้ส้าหรบั เยบ็ ริมผ้าขาวม้า

-415-

๔. ช่ือผู้ที่ถือปฏิบัตแิ ละผสู้ บื ทอด

๔.๑ ผูท้ ่ถี อื ปฏบิ ัติ

ชอื่ นางวรรณดี สุนันต์

วัน เดือน ปีเกดิ -

ท่ีอยู่ 623 หมู่ 11 ต้าบลทุง่ ก่อ อ้าเภอเวียงเชียงร้งุ จงั หวัดเชียงราย

หมายเลขโทรศัพท์ -

๔.๒ ผู้สบื ทอด

ชอ่ื -
วัน เดือน ปีเกดิ -
ทอ่ี ยู่ -

หมายเลขโทรศัพท์ -

5. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏิบตั ิอยา่ งแพรห่ ลาย  เสีย่ งตอ่ การสญู หาย  ไม่มีปฏบิ ัติแลว้

6. รูปภำพภูมปิ ญั ญำทำงวัฒนธรรม/กจิ กรรมทำงภูมิปัญญำทำงวัฒนธรรม

-416-

แบบสำรวจมรดกภมู ิปญั ญำทำงวฒั นธรรมจังหวัดเชยี งรำย
สำนักงำนวัฒนธรรมจงั หวัดเชียงรำย
อำเภอแม่สำย จงั หวดั เชยี งรำย

๑. ชอื่ ข้อมลู ผ้าชดุ ไทใหญ่

๒. ลักษณะ  วรรณกรรมพื้นบา้ นและภาษา
 ศิลปะการแสดง
 แนวปฏิบตั ิทางสังคมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรู้และการปฏบิ ัติเกีย่ วกบั ธรรมชาติและจกั รวาล
 งานชา่ งฝมี อื ดั้งเดิม
 การละเล่นพน้ื บา้ น กีฬาพนื้ บ้าน และศิลปะการต่อสูป่ ้องกันตวั

๓. รายละเอียดข้อมูล
๓.๑) ประวตั ิความเป็นมาของขอ้ มลู
การทอผ้าชุดไทใหญ่ ถือเป็นศิลปะและหัตถกรรมหรืองานฝีมืออย่างหน่ึงที่มีมาตั้งแต่สมัยโบราณ

เป็นกรรมวิธีการผลิตผืนผ้าโดยใช้เส้นด้ายพุ่งและเส้นด้ายยืนมาขัดประสานกันจนได้เป็นผืนผ้า นอกจากเป็น
ขั้นตอนการผลิตเครื่องนุ่งห่ม หน่ึงในปัจจัยส่ีของมนุษย์แล้ว ยังถือเป็นงานศิลปะประเภททัศนศิลป์ด้วย
เน่ืองจากมกี ารใหส้ ีสนั และลวดลายต่าง ๆ ในผืนผา้ การทอผ้าจงึ ถอื เปน็ ศิลปะอย่างหนึ่ง ท่ีคนแม่สายรุ่นปัจจุบัน
ต้องชว่ ยกันอนรุ ักษ์ไว้ในสมยั กอ่ น ผหู้ ญงิ จะท้าเคร่ืองใช้ต่าง ๆ ในบ้านเอง งานสา้ คัญอย่างหน่ึงคอื การทา้ เสื้อผ้า
ผ้านุ่ง ผ้าห่ม ไว้ใช้กันในครอบครัว ในพิธีกรรมต่าง ๆ ก็ต้องใช้ผ้า ดังนั้น ผ้าทอจึงเป็นส่ิงจ้าเป็นส้าหรับชวี ิตคน
แม่สายเชน่ กนั

ไทใหญ่คือกลุ่มชาติพันธ์ุในตระกูลภาษาไท-กะได ซึ่งเป็นกลุ่มชาติพันธ์ุขนาดใหญ่อันดับสองของพม่า
ส่วนมากอาศัยในรัฐฉาน ประเทศพม่าและบางส่วนอาศัยอยู่บริเวณดอยไตแลง ชายแดนประเทศไทย-ประเทศ
พม่า คนไทใหญ่ที่ได้อพยพเข้าสู่ประเทศไทยเพํือหนีปัญหาทางการเมืองและการหางาน ตามภาษาของเขาเอง
จะเรียกตัวเอง ไต๊ หรือ ไต (ตามส้าเนียงไทย) พ่ีน้องไต๊ในพม่ามีหลายกลุ่ม เช่น ไต๊คืน ไต๊แลง ไต๊คัมตี ไต๊ล้ือ
และ ไต๊เมา แต่กลุ่มใหญ่ท่ีสุดคือ ไต๊โหลง ไต๊ = ไทย และ โหลง(หลวง) = ใหญ่ ซึ่งคนไทยเรียก ไทยใหญ่ เหตุ
ฉะนั้นจะเห็นได้ว่าภาษาไต๊ และภาษาไทยคล้ายกันบ้างแต่ไม่เหมือนกัน นอกจากน้ียังมีค้าเรียกไทใหญ่อีกอย่าง
ว่า เงยี้ ว แต่เป็นค้าท่ีไม่สภุ าพในการเอ่ยถึงชาวไทใหญ่ คนไทใหญ่เองเรียก ตวั เองว่า “ไต” ไทใหญ่ต้งั บา้ นเรือน
อยู่บริเวณพม่า ลาว ไทย และในเขตประเทศจีนตอนใต ในประเทศไทยพบชาวไทใหญ่อยู่ในจังหวัดเชียงราย
เชียงใหม่ เพชรบูรณ์ และแมฮ่ ่องสอน สา้ หรับการแต่งกายของชาวไทยใหญ่ โดยสว่ นมากแล้วจะเนน้ การสวมใส่
ท่ีมีสีสันสดใส ซ่ึงสีดา สีเทา จะไม่ค่อยมี ซ่ึงจะใช้การออกแบบเสื้อผ้าไทใหญ่มาในของเจ้าฟ้าต่าง ๆ แต่ละชุด
แต่ละองค์จะไมเ่ หมือนกัน จะแยกออกไปเป็นชุดไทลือ ชุดไทใหญ่ โดยจะแยกออกไปตามแต่รชั กาล

การแต่งกายของชาวไทใหญ่มีเอกลักษณ์ท่ีเด่นชัด คือ ถ้าเป็นผู้ชายจะนุ่งกางเกงขาก๊วย หรือเป็น
กางเกงเป้าใหญ่ เรียกเปน็ ภาษาไทใหญว่ ่า โก๋นโห่งโยง่ และ สวมเส้อื แขนยาว คอกลมมปี กเล็กนอ้ ยหรือบ้างก็ไม่
มี ผ่ากลางอกตลอดแนวแบะมี กระดุมแบบถักด้วยมือตามแนวสาบเส้ือ เส้ือดังกล่าวมักจะใช้สวมเป็นเส้ือตัว
นอก ส่วนเส้ือตัวในไม่จ้ากัดแบบ แต่ส่วนใหญ่เพ่ือความเรียบร้อยจะนิยมใส่เสื้อเช้ิตคอปกสีขาว ท้ังเสื้อและ
กางเกงท้ามาจากผ้าฝ้ายทอมือ และจะโพกหัวด้วยผ้าสีชมพูอ่อนๆ ส่วนการแต่งกายของผู้หญิง สวมเสื้อ
แขวยาวหรือแขนสามส่วน นิยมตัดให้พอดีตัว นุ่งผ้าถุงยาวหรือ ซิ่น ถึงเร่ียตาตุ่ม นุ่งโดยวิธีป้ายผ้าแล้วบิดเก้ยี ว
ม้วนลงใหก้ ระชบั และมกี ารโพกหวั คลา้ ยๆ ผูช้ ายด้วยผา้ เชน่ เดยี วกนั แตไ่ ม่ไดก้ ้าหนดสผี า้

-๔17-

๓.2) ข้ันตอน/วธิ กี าร/ดา้ เนนิ การเกยี่ วกบั ข้อมูล

วสั ดุอุปกรณ์และอปุ กรณ์

1) จักรเยบ็ ผา้ /จักรโพง้ 2) สายวดั 3) กรรไกร

4) กระดาษ 5) สรา้ งแบบ/กระดาษกดลาย 6) ลูกกลิง้ ผ้า

7) ดนิ สอ 8) ด้ายเย็บ 9) เขม็

ข้นั ตอนการผลิตผ้าและผลติ ภณั ฑ์จากผา้

ข้นั ตอนการผลติ ชดุ ไทใหญ่

1) วดั ตวั 2) สร้างแบบ/กดรอย 3) สรา้ งลายปัก/กดรอย

4) ปักลาย 5) ตดั ตามแบบ 6) เยบ็ เข้าตวั

7) เยบ็ กระดุมเสอ้ื 8) สอยกระดุมเส้อื

ข้ันตอนการผลิตผ้าถุงไทใหญ่

1) สรา้ งแบบ 2) ตดั ตามรอย 3) เยบ็ เอว 4) ติดตะขอ

4. ชื่อผ้ทู ่ีถอื ปฏิบตั ิและผ้สู บื ทอด

4.๑ ผ้ทู ีถ่ ือปฏบิ ตั ิ

ชอื่ นายมานิตย์ ประกอบกจิ

วัน เดือน ปีเกิด -

ที่อยู่ 76/2 หมู่ 5 ตา้ บลเวยี งพางคา้ อา้ เภอแมส่ าย จังหวดั เชยี งราย

หมายเลขโทรศัพท์ 085 722 1383

4.๒ ผ้สู บื ทอด

ชอื่ -

วัน เดอื น ปีเกดิ -

ทอี่ ยู่ -

หมายเลขโทรศัพท์ -

5. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏบิ ตั ิอย่างแพร่หลาย เสย่ี งต่อการสญู หาย  ไมม่ ปี ฏบิ ัติแลว้

6. รปู ภำพภมู ปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม/กจิ กรรมทำงภูมปิ ัญญำทำงวฒั นธรรม

ตัวอย่างผ้าชุดไทยใหญ่ผชู้ าย ตัวอยา่ งผ้าชุดไทยใหญ่ผหู้ ญิง

-418-

แบบสำรวจมรดกภมู ิปญั ญำทำงวฒั นธรรมจังหวดั เชียงรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวัฒนธรรมจงั หวัดเชยี งรำย
อำเภอแมล่ ำว จังหวัดเชยี งรำย

๑. ชื่อข้อมลู ผ้าทอกลมุ่ ชาติพันธ์ลุ มุ่ แมน่ ้าโขง

๒. ลักษณะ  วรรณกรรมพน้ื บ้านและภาษา
 ศิลปะการแสดง
 แนวปฏิบัติทางสังคมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรแู้ ละการปฏบิ ตั ิเกย่ี วกบั ธรรมชาติและจักรวาล
 งานช่างฝีมือดงั้ เดิม
 การละเล่นพืน้ บ้าน กีฬาพื้นบ้าน และศิลปะการต่อส่ปู ้องกันตัว

๓. รำยละเอยี ดขอ้ มลู

๓.๑) ประวัตคิ วามเป็นมาของข้อมลู
การทอผ้า เป็นการสืบสานงานหัตถกรรมจากบรรพบุรุษ ต้องอาศัยฝีมือและความรู้ความช้านาญของ
ผู้ทอเป็นอย่างมาก ลวดลายมีความเป็นเอกลักษณ์จากการลวดลายดั้งเดิมและออกแบบลวดลายเองแบบ
ผสมผสาน ผ้าทอของทางกลุ่มได้สืบสานหัตถกรรมการทอผ้ามาจากจังหวัดล้าพูน เนื่องจากบิดามารดาได้ย้าย
ถิ่นฐานมาจากจังหวัดล้าพูนและย้ายถิ่นท่ีอยู่มาจังหวัดเชียงราย ซึ่งคนล้าพูน มีทักษะในการทอผ้าเป็นทุนเดิ ม
อยู่แล้ว โดยมีนางแปง ยาวิชัย มารดา ได้ถ่ายทอดองค์ความรู้เกี่ยวกับการทอผ้าให้กับนางมอญ ยาวิชัย ซ่ึงเป็น
ลูกสาวคนแรกและต่อมานางมอญ ยาวิชัย ได้ถ่ายทอดองค์ความรู้เกี่ยวกับการทอผ้าให้กับน้องสาว อีก ๒ คน
คือนางบุหงา จันทร์หน่อแก้ว และนางจันทร์สม อิ่นค้า เพ่ือมิให้ภูมิปัญญาการทอผ้าที่ได้รับสืบทอดมาสูญหาย
ส้าหรับลวดลายต่าง ๆ นางมอญ ยาวิชัย จะเป็นผู้คิดค้น ออกแบบจากการดูลวดลายจากลายผ้าถุงเก่าของ
ผู้เป็นมารดา ต่อมาก็พัฒนาจาการดูลวดลายจากอินเตอร์เน็ตและหรือจากผู้ที่มาว่าจ้างให้ถักทอ ที่มาในการ
ออกแบบลวดลายผ้าทอมาจากการถอดลวดลายจากผ้าถุงของมารดา ต่อมาก็พัฒนาจาการดูลวดลายจาก
อินเตอร์เน็ตและหรอื จากผ้ทู ่มี าว่าจา้ งให้ถักทอ
๓.๒) ขั้นตอน/วิธกี าร/ดา้ เนินการเกี่ยวกับข้อมลู
การทอผ้ายกดอกล้าพูน ผ้ายก หมายถึง ผ้าไหมท่ีทอยก ลวดลายให้นูนสูงขึ้นกว่าผืนผ้า โดยเลือกยก
บางเส้นและข่มบางเส้น แล้วพุ่งกระสวยไปในระหว่างกลางด้วยดิ้นเงินหรือด้ินทอง ซึ่งเทคนิคในการทอยก
ให้เกดิ ลวดลายนี้เรียกว่า เทคนคิ การยกดอก ผ้ายกเป็นผ้าโบราณที่อดตี ใช้ในคุ้มเจ้าหรือในพระราชส้านักเท่าน้ัน
ค้าว่า ยกดอก น้ันเพ่ือบ่งบอกถึงเทคนิคที่ใช้ทอผ้าและบ่งบอกถึงลวดลายท่ีเป็นเอกลักษณ์ของจังหวัดล้าพูน
ท่ีเปน็ ลวดลายดอกไม้ เช่น ลายดอกพกิ ุล ดงั น้ันจงึ เรยี กวา่ "ผา้ ไหมยกดอก" หรือ "ผ้าไหมยกดอก ล้าพนู "
การประดิษฐ์ลวดลายน้ัน ผ้ายกล้าพูนนับว่าเป็นศิลปะการทอผ้าท่ีมีลวดลายงดงามมีเอกลักษณ์
เป็นของตนเอง มีรูปแบบลวดลายท่ีอ่อนช้อยงดงามของธรรมชาติ เป็นเร่ืองราวของดอกไม้ ใบไม้ เช่น ลายดอกพิกุล
ลายกลีบล้าดวน ลายใบเทศ ลายเม็ดมะยม และลายพุ่มข้าวบิณฑ์ เป็นต้น นอกจากนี้ยังน้าลวดลายธรรมชาติ
เหล่าน้ีประยุกต์เข้ากับลายไทยต่าง ๆ ตามจินตนาการของผู้ออกแบบ ส้าหรับลวดลายที่เปน็ ลายโบราณด้ังเดิม
และยังได้รับความนิยมในปัจจุบันคือ ลายดอกพิกุลหรือดอกแก้ว ซ่ึงเร่ิมแรกในสมัยโบราณไม่มีการบันทึก
ลวดลายเป็นลายลักษณ์อักษร ต้องจดจ้าลวดลายไว้ในหัวสมอง ถ้าความจ้าลบเลือนหรือเสียชีวิตไป ลวดลาย
ที่จดจ้าไว้น้ันก็สูญหายไปด้วย ท้าให้ลายผ้าโบราณหายไปมากเพราะไม่ได้ลอกลายไว้ ต่อมา เจ้าพงศ์แก้ว ณ ล้าพูน
(สมรสกับโอรสเจ้าผู้ครองนครล้าพูน) ได้รับการถ่ายทอดวิชาทอผ้าด้วยก่ีพ้ืนบ้าน และมีความสามารถในการ
เรยี นร้ลู ายผา้ ยกโบราณทส่ี วยงามของคมุ้ ลา้ พูน จึงได้เร่ิมเก็บลวดลายไวโ้ ดยบันทึกไว้ในกระดาษกราฟ เพ่ือเป็น
ต้นแบบและปอ้ งกันการสูญหาย

-419-

ผ้าทอยกดอกที่มีลวดลาย มีเอกลักษณ์โดยเฉพาะตัวของจังหวัดล้าพูน ซ่ึงเป็นศิลปะการทอที่มีรูปแบบ

เอกลักษณ์เป็นของตนเอง โดยที่เห็นจากลายจะเป็นในเรื่องของธรรมชาติ เป็นเรื่องราวของดอกไม้ใบไม้ ซึ่งสื่อให้เห็น
ภูมิปัญญาของชาวบ้าน การด้ารงชวี ิตที่มธี รรมชาตเิ ขา้ มาเปน็ เอกลกั ษณ์

๔. ชื่อผทู้ ่ีถือปฏิบัติและผู้สืบทอด
4.๑ ผูท้ ีถ่ ือปฏบิ ตั ิ
ชือ่ นางจันทร์สม อิ่นคา้
วนั เดือน ปเี กิด -
ท่ีอยู่ 28 หมู่ 7 ตา้ บล บัวสลี อา้ เภอแม่ลาว จงั หวดั เชยี งราย
หมายเลขโทรศัพท์ 083-438-4551
4.๒ ผสู้ ืบทอด
ชอ่ื นางบุหงา จันทรห์ นอ่ แก้ว
วัน เดือน ปเี กดิ -
ทอี่ ยู่ 28 หมู่ 7 ตา้ บลบัวสลี อา้ เภอแมล่ าว จงั หวดั เชยี งราย
หมายเลขโทรศัพท์ 086 187 5179

5. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏบิ ตั อิ ยา่ งแพร่หลาย  เสีย่ งตอ่ การสูญหาย  ไม่มีปฏิบัตแิ ลว้

6. รปู ภำพภูมปิ ญั ญำทำงวัฒนธรรม/กจิ กรรมทำงภูมปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม

-420-

แบบสำรวจมรดกภมู ิปัญญำทำงวัฒนธรรมจงั หวดั เชียงรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวัฒนธรรมจังหวดั เชยี งรำย
อำเภอเวียงแกน่ จังหวัดเชยี งรำย

๑. ชือ่ ข้อมูล ผ้าทอไทลื้อ

๒. ลกั ษณะ  วรรณกรรมพืน้ บา้ นและภาษา

 ศิลปะการแสดง

 แนวปฏิบตั ิทางสังคมพิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรู้และการปฏิบัตเิ กยี่ วกับธรรมชาติและจักรวาล
 งานชา่ งฝมี อื ดัง้ เดิม

 การละเลน่ พน้ื บ้าน กีฬาพ้นื บ้าน และศิลปะการตอ่ สปู่ ้องกันตวั

๓. รายละเอยี ดขอ้ มูล

๓.๑) ประวัตคิ วามเป็นมาของข้อมลู
ผ้าทอไทลื้อบ้านดอน ต้าบลปอ อ้าเภอเวียงแก่นน้ัน จะสัมผัสได้ถึงความงดงามบนผืนผ้าทอ โดยมีการใช้
ศลิ ปหัตถกรรมท่ีมคี วามเป็นมาของชาวไทลื้อร่วมดว้ ยบนลายผา้ ท้าให้เห็นถึงความเปน็ เอกลกั ษณแ์ ละสญั ลักษณ์
ของความเปน็ ไทล้อื บ้านดอน ต้าบลปอ อ้าเภอเวยี งแกน่ โดยชาวบา้ นไทล้อื บ้านดอน ตา้ บลปอ อ้าเภอเวยี งแก่น
มีภูมิล้าเนามาจากเขตสิบสองปันนา การแต่งกายที่เป็นเอกลักษณ์ไทล้ือคือ ผ้าซิ่น ของผู้หญิงไทลื้อ ท่ีเรียกว่า
“ซน่ิ ตา” ซ่งึ เป็นผ้าซิน่ ทีม่ ี ๒ ตะเขบ็ มลี กั ษณะโครงสรา้ งประกอบดว้ ย ๓ ส่วนคือ หัวซน่ิ สเี ขยี ว ตัวซนิ่ ลายขวาง
หลากสีต่อตีนซ่ินสีด้า ความเด่นอยู่ที่ตัวซิ่น ซ่ึงมีริ้วลายขวางสลับสีสดใส และตรงช่วงกลางมีลวดลายที่ทอด้วย
เทคนิคขิด จก เกาะหรือล้วง เป็นลายรูปสตั ว์ในวรรณคดี ลายพรรณพฤกษา และลายเรขาคณติ จากการศึกษา
กลุ่มไทลื้อ ในประเทศไทย พบว่า เอกลักษณ์การทอผ้าท่ีส้าคัญของกลุ่มชนนี้ คือ การทอผ้าด้วยเทคนิคเกาะ
หรือล้วงหรือที่เป็นท่ีรู้จักกันว่า “ลายน้าไหล” ซึ่งเป็นเทคนิคท่ีมีความยุ่งยากซับซ้อน แต่ท้าให้เกิดลวดลาย
และสีสันที่งดงามแปลกตา และเป็นอัตลักษณ์อันโดดเด่นเฉพาะกลุ่มที่แตกต่างจากผ้าซิ่นของกลุ่มชาติพันธุ์
ไทล้ือกลุ่มอ่ืน ๆ การทอผ้าคือหน้าที่ส้าคัญอย่างหน่ึงของหญิงล้านนาในอดีต ผ้าทอพ้ืนเมืองมิได้เป็นเพียง
เครื่องนุ่งห่ม เพื่อปกปิดร่างกายหรือให้ความอบอุ่นเท่านั้น แต่เหนือกว่าน้ัน งานศิลปหัตถกรรมบน "ผืนผ้า"
มีวิญญาณ มีความหมายและมีคุณค่าสะท้อนถึงเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมของผู้สวมใส่ ก่อนนั้นการทอผ้าเป็น
เพียงการทอเพื่อใช้ในครัวเรือนและขายเล็กน้อย แต่ปัจจุบันกลายมาเป็นงานที่เสริมรายได้ให้กับหลาย
ครอบครัวและชุมชนท่ีมีการทอผ้า ในปริมาณท่ีมากกว่าความต้องการใช้เองภายในชุมชน รูปแบบและสีสัน
ได้รับการพัฒนาไปอย่างหลากหลาย รวมท้ังลวดลายและคุณภาพ การทอ และมีการแปรรูปผ้าทอเป็นเสื้อ
กระโปรง กางเกง ผา้ ถุงส้าเรจ็ ผ้าพนั คอ กระเป๋า รองเท้า ซองแวน่ ตา และผลิตภณั ฑ์อื่น ๆ

๓.๒) ขั้นตอน/วธิ ีการ/ดา้ เนนิ การเกีย่ วกับขอ้ มลู
1. สืบเส้นด้ายยืนเข้ากับแกนม้วนด้ายยืน และร้อยปลายด้ายแต่ละเส้นเข้าในตะกอแต่ละชุด

และฟันหวี ดึงปลายเส้นด้ายยืนทั้งหมดม้วนเข้ากับแกนม้วนผ้าอีกด้านหนึ่ง ปรับความตึงหย่อนให้พอเหมาะ
กรอดา้ ยเขา้ กระสวยเพือ่ ใชเ้ ปน็ ดา้ ยพุ่ง

2. เริ่มการทอโดยกดเครื่องแยกหมู่ตะกอ เส้นด้ายยืนชุดที่ 1 จะถูกแยก ออกและเกิดช่องว่าง
สอดกระสวยดา้ ยพุ่งผ่าน สลับตะกอชุดท่ี 1 ยกตะกอชุดที่ 2 สอดกระสวยด้ายพุง่ กลับ ทา้ สลับกันไปเรื่อย ๆ

3. การกระทบฟันหวี (ฟืม) เม่ือสอดกระสวยด้ายพุ่งกลับก็จะกระทบฟันหวี เพ่ือให้ด้ายพุ่งแนบ
ตดิ กนั ได้เนือ้ ผ้าทแี่ น่นหนา

4. การเก็บหรือม้วนผ้า เม่ือทอผ้าได้พอประมาณแล้วก็จะม้วนเก็บในแกนม้วนผ้า โดยผ่อนแกน
ด้ายยนื ใหค้ ลายออกและปรบั ความตงึ หยอ่ นใหมใ่ ห้พอเหมาะ

-421-

๔. ชอ่ื ผ้ทู ี่ถอื ปฏิบัตแิ ละผู้สบื ทอด

๔.๑ ผู้ท่ีถือปฏบิ ตั ิ

ชอื่ นางสุทธิษา มาตยภ์ ธู ร

วัน เดือน ปเี กดิ -

ท่อี ยู่ ตาบลปอ อาเภอเวยี งแกน่ จังหวัดเชียงราย

หมายเลขโทรศัพท์ 091 078 1382

๔.๒ ผู้สบื ทอด

ชอื่ นางสมัย แสงงาม

วนั เดือน ปีเกดิ -

ท่อี ยู่ ตาบลปอ อาเภอเวียงแก่น จงั หวัดเชยี งราย

หมายเลขโทรศัพท์ 085 965 6234

๕. สถานะ การคงอยู่  ปฏิบตั อิ ย่างแพรห่ ลาย  เสยี่ งตอ่ การสูญหาย  ไมม่ ปี ฏบิ ัตแิ ล้ว

๖. รูปภาพภมู ปิ ัญญาทางวัฒนธรรม/กิจกรรมทางภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม

ขน้ั ตอนการทอผ้า

ผลติ ภณั ฑ์ผ้าทอ

-422-

แบบสำรวจมรดกภมู ิปัญญำทำงวฒั นธรรมจังหวดั เชยี งรำย ประจำปี ๒๕๖4
สำนักงำนวัฒนธรรมจังหวดั เชียงรำย
อำเภอแมจ่ ัน จังหวดั เชียงรำย

๑. ชอื่ ข้อมลู ผ้าทอมือบ้านสันหลวงใต้

๒. ลักษณะ  วรรณกรรมพืน้ บ้านและภาษา
 ศลิ ปะการแสดง
 แนวปฏบิ ตั ทิ างสังคมพิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรูแ้ ละการปฏบิ ตั เิ กี่ยวกบั ธรรมชาตแิ ละจักรวาล
 งานช่างฝมี ือดัง้ เดิม
 การละเลน่ พ้ืนบ้าน กีฬาพื้นบ้าน และศิลปะการต่อสู่ป้องกันตัว

๓. รายละเอยี ดขอ้ มูล

๓.๑) ประวตั คิ วามเป็นมาของข้อมูล
ผ้าทอมือบ้านสันหลวงใต้ เกิดจากการรวมกลุ่มของแม่บ้าน หมู่ที่ 3 ต้าบลจอมสวรรค์ อ้าเภอแม่จัน
จงั หวดั เชียงราย เมื่อเวน้ ว่างจากการท้านาก็มาทอผ้าเพ่ือไว้ใช้ในครวั เรือน ในปี พ.ศ. 2534 ไดร้ วมห้นุ จาก 37 หนุ้
เป็นจ้านวนเงนิ 4,000 บาท ตอ่ มาได้มสี ้านักงานพัฒนาชุมชนได้เข้ามาดูแลชว่ ยเหลือจดั การอบรม เพอ่ื พัฒนา
ศักยภาพของผ้าทอ และลวดลายใหม่ ๆ ให้มีความหลากหลายเพ่ิมมากย่ิงขึ้น รวมทั้งการปรับปรุงการดูแลผ้า
การบริหารจัดการกลมุ่ ใหด้ ียง่ิ ขึน้ ปัจจบุ นั มีสมาชิกทง้ั หมด 167 คน และไดจ้ ัดตั้งเปน็ กลมุ่ วิสาหกิจชุมชนผ้าทอ
พ้ืนเมืองสันหลวงใต้ ผ้าทอทุกผืนถูกถ่ายทอดอัตลักษณ์ความเป็นไทยของท้องถ่ินท่ีบ่งบอกถึงความต้ังใจของ
ผูท้ อลงบนผนื ผ้า ผลติ ภณั ฑผ์ า้ ทอมือของบ้านสันหลวงใตท้ ี่โดดเดน่ คือ ผา้ ลายจก ใช้เวลาทอประมาณ 3-4 วัน
ต่อหน่ึงผนื และผ้ายกดอก 4 ตระกอ มีลักษณะที่โดดเดน่ คอื ลายจะอยใู่ นตัวของมันเอง เวลาทอลายจะปรากฏ
ข้ึนโดยไม่ต้องเก็บดอก และลายเกาะ น้าไหล ทอด้วยเทคนิค “เกาะ” หรือ “ล้วง” เกิดลวดลายที่พลิ้วไหว
เหมือนสายน้า วัฒนธรรมการทอผ้าผูกพันกับชาวบ้านสันหลวงใต้มาเป็นระยะเวลายาวนาน ผ้าทอเป็นส่ือ
สัญลักษณ์ของคนในชุมชน ในอดีตเด็กผู้หญิงทุกคนจะถูกหัดให้รู้จักการทอผ้า หรือการเย็บปักถักร้อย การทอผ้า
เป็นบทบาททางสังคมและวัฒนธรรม การค้าขาย มีการใช้ผ้าในประเพณี และพิธีกรรมต่าง ๆ การสืบทอด
ความคิด ความเชอื่ แบบแผนทางสังคม การทอผา้ เปน็ วัฒนธรรมอยา่ งหน่ึงที่สืบทอดกันมา นอกจากคุณค่าทาง
ศิลปะแล้วยังเป็นการแสดงถึงแบบแผนความเป็นอยู่ในสังคมการสืบทอด หรือถ่ายทอดในสมัยโบราณผู้คน
เรียนรู้หนังสือน้อย การถ่ายทอดต้องอาศัยความจ้าจากการปฏิบัติ จึงท้าให้เกิดการช้านาญ ไม่มีการบันทึก
เป็นภาพหรือลายลักษณ์อักษรแต่อย่างใด การถ่ายทอดจากแม่สู่ลูก หรือเครือญาติใกล้ชิด ปัจจุบันทางกลุ่ม
ผู้ทอผ้าบ้านสันหลวง ได้รับความช่วยเหลือจากหน่วยงานต่าง ๆ ที่ได้เข้ามาพัฒนาศักยภาพการทอผ้า
การจดั เก็บองคค์ วามรดู้ า้ นทอผ้า

-๔23-

๓.๒) ขั้นตอน/วธิ ีการ/ด้าเนนิ การเกยี่ วกับข้อมูล
ลกั ษณะลวดลำยของผ้ำ
ลำยจก ลกั ษณะท่โี ดดเดน่ คือ จะยกดอกขึน้ มาใหเ้ ห็นชัด โดยการสอดเสน้ ดา้ ยความลวดลาย

ล้อมรอบด้วยเครอื สลับสีสันระหว่างดอก

ลำยยกดอก 4 ตระกอ มีลักษณะทโ่ี ดดเดน่ คือลายจะอยใู่ นตัวของมนั เอง เวลาทอลายจะปรากฏ
ข้นึ โดยไม่ต้องเก็บดอก

ลำยเกำะน้ำไหล ทอดว้ ยเทคนิค “เกาะ” หรือ “ล้วง” เกดิ ลวดลาย ทพ่ี ลว้ิ ไหวเหมอื นสายนา้

วัสดุอุปกรณ์และอุปกรณ์

1. ก่ีกระตุก 2. ฝ้าย 3. เครื่องโวน้ ฝา้ ย

4. ฟนั หวี 5. เคร่ืองกรอระวิง 6. เครือ่ งกรอระวงิ หลอดเล็ก

7. กระสวย 8. กีท่ อผา้

ขั้นตอนกำรผลติ ผ้ำและผลติ ภัณฑ์จำกผำ้

1. น้าฝ้าย (สีตามตอ้ งการ) ไปใส่ในเครื่องระวิงปนั่ ใส่หลอดใหญ่

2. นา้ ไปใส่เครอื่ งโว้นฝ้าย หรือเดินด้ายเพอื่ หาความยาว

3. เดนิ ด้ายเสรจ็ น้าไปใส่ฟันหวีเพอ่ื หวดี ้าย

4. น้าด้ายท่ีหวีแล้วไปใสใ่ นกี่

5. เก็บตระกรอเพื่อท้าให้เปน็ ลายขดั พื้นฐาน

6. พนั ดา้ ยสีตามตอ้ งการใส่หลอดเล็ก โดยใสเ่ คร่ืองระวิงหลอดเล็ก

7. นา้ ด้ายท่ใี สห่ ลอดเล็กใส่ในกระสวย และน้าไปพุ่งทีก่ ี่ขณะทอผา้

8. ทอจนได้ความยาวทีต่ ้องการ หรือทา้ ลวดลายจก ลายเกาะ หรอื ขิด

-424-

๔. ชอื่ ผู้ที่ถอื ปฏิบัตแิ ละผู้สืบทอด

๔.๑ ผ้ทู ่ีถือปฏบิ ตั ิ

ชือ่ นางสนุ า ตาฟู

วัน เดอื น ปีเกดิ -

ทอ่ี ยู่ กลุ่มวสิ าหกิจชมุ ชนผา้ ทอพ้นื เมอื งสนั หลวงใต้

150 หมู่ 3 ตา้ บลจอมสวรรค์ อา้ เภอแม่จนั จังหวัดเชียงราย

หมายเลขโทรศัพท์ -

๔.๒ ผู้สืบทอด

ช่อื นางรัตนาภรณ์ จ้อยนแุ สง

วัน เดือน ปีเกดิ -

ที่อยู่ กล่มุ วสิ าหกิจชมุ ชนผา้ ทอพ้ืนเมืองสนั หลวงใต้

150 หมู่ 3 ต้าบลจอมสวรรค์ อ้าเภอแมจ่ นั จังหวดั เชียงราย

หมายเลขโทรศัพท์ 086 915 6181

๕. สถานะ การคงอยู่  ปฏบิ ตั อิ ย่างแพร่หลาย  เสยี่ งต่อการสูญหาย  ไม่มปี ฏบิ ัติแลว้

๖. รปู ภาพภมู ปิ ัญญาทางวัฒนธรรม/กิจกรรมทางภูมิปัญญาทางวฒั นธรรม

การทอผา้ บ้านสันหลวงใต้ ต้าบลจอมสวรรค์ อ้าเภอแม่จัน จงั หวัดเชียงราย

-425-

แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ญั ญำทำงวฒั นธรรมจงั หวัดเชียงรำย ประจำปี 2565
สภำวฒั นธรรมจงั หวัดเชยี งรำย
อำเภอเชียงแสน จงั หวดั เชยี งรำย

1. ชื่อข้อมูล ผ้าทอหมู่บ้านท่าขนั ทอง

๒. ลักษณะ  วรรณกรรมพน้ื บา้ นและภาษา
 ศลิ ปะการแสดง
 แนวปฏิบัติทางสังคมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความร้แู ละการปฏิบัติเก่ยี วกับธรรมชาตแิ ละจักรวาล
 งานช่างฝมี อื ดั้งเดมิ
 การละเลน่ พืน้ บา้ น กีฬาพ้ืนบ้าน และศลิ ปะการตอ่ สูป่ ้องกันตวั

๓. รำยละเอยี ดขอ้ มูล
๓.๑) ประวัติความเปน็ มาของข้อมลู
หมู่บ้านท่าขันทอง เป็นหมู่บ้านคนไทยอีสาน ซึ่งย้ายมาจาก17จังหวัดของภาคอีสาน ได้ย้ายมาอยู่

ดินแดนล้านนา อยู่กันมานานสมัครสมานสามัคคีพร้อมใจรวมกันพัฒนา เพ่ือน้าพาบ้านเราก้าวไกล ซึ่งเป็น
หมบู่ า้ นหัตถกรรม การแปรรปู ผลิตภัณฑจ์ ากการทอผา้ ผ้าซน่ิ จึงนบั เปน็ ความภาคภูมใิ จอยา่ งหนึ่งของหญิงไทย
ในสมัยโบราณ การทอผ้าเป็นงานในบ้าน ลูกผู้หญิงมีหน้าที่ทอผ้า แม่จะสั่งสอนให้ลูกสาวฝึกทอผ้าจนช้านาญ
แล้วทอผ้าผืนงามส้าหรับใช้ในโอกาสพิเศษ เช่น งานแต่งงาน งานบวช หรืองานบุญประเพณีต่าง ๆ การนุ่ง
ผ้าซ่ินของผู้หญิงจึงเป็นเหมือนการแสดงฝีมือของตนให้ปรากฏ ผ้าซิ่นที่ทอได้สวยงาม มีฝีมือดี จะเป็นท่ี
กล่าวขวญั และชืน่ ชมอย่างกวา้ งขวาง

เสน่หข์ อง ผำ้ ฝำ้ ยทอมือ
จะเป็นลวดลาย เอกลักษณ์อัตลักษณ์ของชุมชนบ้านท่าขันทอง ซึ่งจะผสมผสานกันกับอีสานล้านนา
จากทเ่ี ป็นลายอสี านด่ังเดิม กลายมาเป็น ลายอสี านผสมล้านนา
ชื่อลำยสำยแมน่ ้ำโขง
เป็นผ้าทอที่มีเอกลักษณ์แห่งเดียวคือผ้าลายสายแม่น้าโขงที่ชุมชนบ้านท่าขันทองเป็นภูมิปัญญ าของ
ท้องถ่ินสู่กรรมวธิ ี การผลิตฝีมือพนื้ บา้ นกลายเปน็ “ผา้ ฝ้ายทอมอื ลายสายแม่น้าโขง” ชนิดตา่ ง ๆ อาทิ ผา้ ขาวม้า
ผา้ พันคอ ผา้ สไบ ผ้าคลมุ ไหล่ ผ้าเชด็ มือ กระเปา๋ หมอน เสื้อผา้ และ อีกมากมาย ฯลฯ กลุม่ ชมรมอสี านล้านนา
(ผา้ ฝา้ ยทอมือ) เรม่ิ กอ่ ตง้ั เมื่อปีพ.ศ. 2543โดย นางสาวกิง่ กานดา อนุภาพ จดั ต้ังกล่มุ และสร้างรายได้ให้แก่คน
ในท้องถิ่น ภาคภูมิใจในฝีมือ จากการทอผ้าที่สืบทอดจากภูมิปัญญาบรรพบุรุษ ทางกลุ่มได้มีการจัดฝึกสอนให้
เด็กและเยาวชน ทอผ้า เพ่ือเผยแพร่ และสาธิตแก่นักศึกษาดูงาน หรือนักท่องเท่ียว เป็นศูนย์การเรียนรู้ของ
ชมุ ชน ถือเปน็ การสรา้ งรายไดแ้ ละปลกู ฝังภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถ่ินให้กับลูกหลานในชุมชนต่อไป
ซ่นิ ตนี จกเชยี งแสน
1 .ซน่ิ ตนี จกเชยี งแสนคือผ้าซ่ินตีนจกรุ่นเกา่ ทีส่ ุดท่ีพอจะมีหลักฐานมาถงึ ปัจจบุ นั ก่อนท่ีจะคลี่คลายมา
เปน็ ซนิ่ ตีนจกในยุคนี้ สว่ นมากอายรุ าว ๆ150 - 200ปี บางผืนอาจมากกว่าน้นั
2. ที่เรียกว่าซ่ินตีนจกเชียงแสนคือบรรพบุรุษไทยวนจากเมืองเชียงแสนได้น้ากรรมวิธีการทออาจจะ
หอบหว้ิ ซ่ินร่นุ นไี้ ปยังดนิ แดนต่าง ๆ หลังเมอื งเชยี งแสนแตกเมอื่ ราว200ปีก่อน
3.ชาวเชียงแสนได้กระจัดกระจายไปยังดินแดนต่าง ๆ เช่น เชียงใหม่ใต้ ล้าปาง แพร่ น่าน อุตรดิตถ์
ลาว ราชบุรี สระบุรี รวมถงึ สีคิ้ว ซง่ึ ในดนิ แดนเหลา่ นี้เราจะพบซ่นิ เชียงแสน

-426-

4. ซ่ินเชียงแสนมีจุดเด่นอย่างไร อย่างแรกคือจกลายโปร่ง และจกบนพ้ืนแดง ในขณะท่ีจกยุคปัจจุบัน
จกบนพื้นด้าหรือสีอ่ืน เล็บหรือปลายสุดของซ่ินเป็นสีเหลือง ขาว หรือบางผืนอาจจะไม่มี ตัวซิ่นใช้เทคนิคการ
ทอตระการตาซ่ึงต่างไปแต่ละท้องถิ่น เช่น แถบน่านใต้นยิ มเกาะล้วง มัดก่าน ขิด เชียงใหม่ใต้นิยมมัดหมีเ่ ป็นร้ิว
ล้าปาง แพร่ และสระบุรี นิยมแถบริ้วขิดหรือจก อุตรดิตถ์นิยมแถบริ้วจก ราชบุรีใช้เทคนิคหลากหลาย
ท้ังมดั หมี่ จก ยกมกุ เกาะล้วง เป็นตน้

5.ซิน่ ตนี จกเชยี งแสนจัดวา่ เปน็ ซน่ิ หายากราคาสูง แตม่ ากด้วยคุณค่าและประวัติศาสตร์เคยี งคู่ชาวไทย
วน ในปัจจุบันเร่ิมมกี ารฟืน้ ฟูขน้ึ มาใหม่

ลกั ษณะเดน่ ท่ีเปน็ อตั ลกั ษณ์
เป็นผลิตภัณฑ์ท่ีเน้นชดุ อสี านแบบล้านนา เป็นผา้ ทอมือทม่ี ีทน่ี ่ีที่เดยี ว ไม่มใี ครเหมอื นแล้วไม่เหมือนใคร
ที่เป็นสินค้าโอทอปสินค้าชุมชนบ้านท่าขันทอง ต้าบลบ้านแซว อ้าเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย ผ้าทอที่เป็น
เอกลักษณ์เป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นที่สบื ทอดกันมาโดยมีลวดลายท่ีเป็นเอกลักษณ์ของชาวเชียงแสน หรอื ลวดลาย
ที่ถอดจากผ้าเชยี งแสนโบราณ ตามวถิ ชี วี ติ ความเป็นอยู่ คติความเชื่อจารตี ประเพณี
เอกลักษณ์/จดุ เด่นผลิตภัณฑ์
ลักษณะท่ีโดดเด่นของผ้าทอพ้ืนเมือง ลวดลายเชียงแสน คือลวดลายการทอ และการจรด ลวดลายจะ
ไม่เหมอื นใคร ลวดลายดั้งเดมิ สบื ทอดจากปู่ย่า ของคนเชยี งแสน มีอยู่ 5 ลายดว้ ยกัน ประกอบดว้ ย
1. ลายกาแล
2. ลายขอพนั เสา
3. ลายไขป่ ลา
4. ลายมะลิ
5. ลายเสอื ยอ่ ย เน้อื ผา้ แน่นสไี มต่ ก
3.2 ขน้ั ตอน วธิ กี ารด้าเนนิ การเก่ียวกบั ข้อมลู

ข้ันตอน
๑. นา้ เสน้ ดา้ ยทีย่ อ้ มแล้วมากรอใสห่ ลอด
๒. น้าไปโวน้ กับหลักเพ่อื ให้ได้จา้ นวนเส้นดา้ ยและความยาวตามทตี่ อ้ งการ
๓. เสน้ ดา้ ยท่โี วน้ แล้วน้าไปมว้ นเข้าลมู
๔. นา้ เส้นดา้ ยมาร้อยตะกอ (เขา) และฟนั หวี (ฟืม) จนครบตามจ้านวนเสน้ ด้ายที่กา้ หนดไว้
๕. จากน้ันนา้ ดา้ ยพุ่งท่ีเตรยี มไว้ไปกรอใส่หลอดเลก็ สา้ หรับใส่กระสวยเพื่อใช้ทอ
๖. เริ่มทอผ้าได้ตามลายที่ก้าหนดไว้
วตั ถุดบิ และส่วนประกอบ
1. ก่ี
2. กระสวย
3. พนั หวี
4. กวงพันดา้ ย
5. ฝ้ายดอก
6. เส้นด้าย
7. สยี อ้ มผา้
8. อดี
เทคนคิ ที่ใช้
ขดิ ลาย ทอยกดอก มดั หมี่

-427-

เคล็ดลบั ในกำรผลิต
การเตรียมวัตถุดิบจะต้องพิถีพิถัน โดยผ่านกระบวนการต่าง ๆ จนได้เน้ือผ้าท่ีสวยงาม สมบูรณ์
แบบคนทอจะตอ้ งตรวจสอบทุกขัน้ ตอน ของการทอสลับสี การจกและรมิ ผา้ เสน้ ด้าย พงุ่ เสน้ ด้ายยนื
กำรประยุกต์ใช้
นอกจากจะน้ามาใช้เป็นผ้าถุงแล้ว ยังประยุกต์ใช้เป็นเครื่องใช้อื่น ๆ อีกมากมาย เช่น เส้ือ
กระโปรงแบบสากล กระเปา๋ สุภาพสตรี เนคไท ผา้ พาดบา่ ฯลฯ

๔. ชอื่ ผู้ท่ีถือปฏิบตั ิและผู้สืบทอด

๔.๑ ผทู้ ีถ่ อื ปฏิบตั ิ

ช่ือ กลมุ่ ชมรมชาวอีสานล้านนา (ผา้ ฝา้ ยทอมือ)

วัน เดือน ปเี กดิ -

ทีอ่ ยู่ 195 หมู่ 3 ต้าบลบา้ นแซว อ้าเภอเชียงแสน จงั หวัดเชียงราย

หมายเลขโทรศพั ท์ -

๔.๒ ผสู้ บื ทอด

ชอื่ กลมุ่ ชมรมชาวอสี านลา้ นนา (ผา้ ฝา้ ยทอมือ)

วนั เดือน ปเี กดิ -

ที่อยู่ 195 หมู่ 3 ตา้ บลบา้ นแซว อ้าเภอเชยี งแสน จังหวดั เชียงราย

หมายเลขโทรศัพท์ -

๕. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏบิ ตั อิ ยา่ งแพรห่ ลาย  เสย่ี งต่อการสญู หาย  ไม่มีปฏิบตั ิแลว้

๖. รปู ภำพภมู ปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม/กจิ กรรมทำงภูมปิ ัญญำทำงวฒั นธรรม

-428-

แบบสำรวจมรดกภมู ิปัญญำทำงวัฒนธรรมจังหวดั เชียงรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวัฒนธรรมจังหวัดเชยี งรำย
อำเภอเวียงชัย จงั หวดั เชียงรำย

๑. ชอื่ ข้อมูล ผ้าทออีสานล้านนา

๒. ลักษณะ  วรรณกรรมพื้นบ้านและภาษา
 ศิลปะการแสดง
 แนวปฏบิ ตั ทิ างสงั คมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรูแ้ ละการปฏบิ ตั เิ กย่ี วกับธรรมชาติและจกั รวาล
 งานชา่ งฝมี อื ดง้ั เดิม
 การละเล่นพืน้ บา้ น กีฬาพ้ืนบ้าน และศิลปะการตอ่ ส่ปู ้องกันตวั

๓. รายละเอยี ดขอ้ มูล
๓.๑) ประวตั คิ วามเป็นมาของขอ้ มลู
ประชากรในหมู่บ้านไตรแก้ว ต้าบลเวียงเหนือ อ้าเภอเวียงชัย จังหวัดเชียงราย เป็นประชากรที่มีการ

อพยพย้ายถ่ินฐานมาภาคอีสาน และมาต้ังรกรากอยู่ที่อ้าเภอเวียงชัย โดยครอบครัวของคุณแม่จันได ทองเหลา
แต่เดิมมีภูมิล้าเนาเป็นคนจังหวัดหนองคาย ท้าให้มีการน้าวิถีชีวิต ศิลปวัฒนธรรม ประเพณี และความเช่ือของคน
อีสานมาใช้ ซ่ึงการทอผ้าไหมก็เป็นมรดกภูมิปัญญาท่ีมารดาของคุณแม่จันได ทองเหลา น้ามาใช้เพื่อทอผ้า
ไวเ้ ป็นเครอ่ื งนุง่ หม่ และมไี วใ้ ชส้ า้ หรับงานมงคล และถ่ายทอดวิชาการทอผ้าให้กับคุณแมจ่ ันได ทองเหลา สืบต่อกนั มา
จนถึงปัจจุบัน เพ่ือเป็นอาชีพเสริมนอกเหนือจากการท้าเกษตรกรรมซ่ึงเป็นอาชีพหลักของประชากรในหมู่บ้าน

แต่เดิมมีกลุ่มสตรีที่รวมตัวกันต้ังกลุ่มทอผ้าในชุมชน โดยมีคุณแม่จันได ทองเหลา เป็นผู้น้ากลุ่ม แต่ปัจจุบันมีเพียง
คุณแม่จันได ที่ยังคงทอผ้าไหมเพื่อเป็นอาชีพเสริม โดยมีลูกค้าที่เป็นส่วนราชการในพ้ืนท่ี และประชาชนท่ัวไปมา
สั่งซ้อื สินค้าอยเุ่ ปน็ ประจา้

๓.๒) ขน้ั ตอน/วธิ ีการ/ด้าเนนิ การเกีย่ วกับขอ้ มูล
วัสดุอุปกรณ์และอุปกรณ์
1. ด้ายผ้าไหม
2. เหลง่ : ใชส้ ้าหรับจดั เรยี งเส้นไหมออกจากกระบงุ หรือตะกรา้
๓. กง และอก้ั : ทา้ หน้าท่ีใช้ส้าหรับใส่ใจเสน้ ไหม สว่ นอ้ัก ใชส้ ้าหรับกวกั เสน้ หมี่ออกจากกง
4. ท่สี าวไหมเส้นยืน : ใช้ส้าหรับสาวไหมเส้นยนื
๕. ท่ีเข็นไหม : ใช้โดยการเอาปลายม้วนไหมจ่อไว้ท่ีไน ส่วนมืออีกข้างจับท่ีหมุนให้วงล้อหมุนส่วนใน
ก็จะหมุนตาม
6. หลกั เฝอื : ใชใ้ นการคน้ ด้ายเสน้ ยืน หลกั เฝอื ทา้ จากไม้ หรือเหล็ก
7. แปรงหวี และตะกรอ (เขา) : ฟันหวี มีลักษณะคล้ายหวี ยาวเท่ากับความกว้างของหน้าผ้า
ท้าด้วยโลหะ มีลักษณะเป็นซี่เล็ก ๆ มี กรอบท้าด้วยไม้หรือโลหะ ส่วนตะกอ คือเชือกท้าด้วยด้ายไนลอนที่ร้อย
คล้องไหมยืนเพื่อแย่งเส้นไหมเป็นหมวดหมู่ตามท่ีต้องการ ใช้ส้าหรับแยกเส้นด้ายใหข้ ึ้นเพื่อเปิด ให้จังหวะของ
เส้นดา้ ย พุ่งสอดขัดกนั
8. หลอดด้าย และกระสวย : หลอดด้ายมีลักษณะรูปร่างเป็นกลม เรียวยาว มีรูกลวงตรงกลางส้าหรับ
สอดไม้ขอหลอด เพื่อสอดรูหลอดด้ายให้อยู่ในรางกระสวย ส่วน กระสวย ท้าด้วยไม้ ปลายสองด้านมน
ตรงกลางกลวง ส้าหรับบรรจหุ ลอดดา้ ยพุ่ง มนี ้าหนกั และขนาดเหมาะมอื ใช้พุง่ ไปมาระหว่างการยกเสน้ ด้ายยนื ขนึ้ ล’
9. กท่ี อผา้ หรอื หกู ทอผา้ : เปน็ อปุ กรณ์ใชส้ า้ หรับทอผ้า

-429-
ขัน้ ตอนกำรผลติ
1. การเตรียมเส้นไหม การน้าเส้นไหมที่ซื้อมาเข้าเหล่งส้าหรับการจัดเรียงเส้นไหม จากน้ันน้าเส้นไหม
ไปฟอกด้วยด่างเพอ่ื ทา้ ความสะอาด กอ่ นน้าไปย้อมสีตามที่ต้องการ
๒. การทอผา้ ขัน้ ตอนในการทอผา้ มดี งั นี้

2.๑ สืบเส้นด้ายยืนเข้ากับแกนม้วนด้ายยืน และร้อยปลายด้ายแต่ละเส้นเข้าในตะกอแต่ละชุด
และฟันหวี ดึงปลายเส้นด้ายยืนทั้งหมดม้วนเข้ากับแกนม้วนผ้าอีกด้านหนึ่ง ปรับความตึงหย่อนให้พอเหมาะ
กรอด้ายเข้ากระสวยเพื่อใชเ้ ป็นด้ายพงุ่

2.๒ เร่ิมการทอโดยกดเครื่องแยกหมู่ตะกอ เส้นด้ายยืนชุดที่ ๑ จะถูกแยก ออกและเกิดช่องว่าง
สอดกระสวยด้ายพ่งุ ผ่าน สลับตะกอชดุ ท่ี 1 ยกตะกอชดุ ท่ี 2 สอดกระสวยด้ายพุ่งกลบั ท้าสลับกนั ไปเรือ่ ย ๆ

2.3 การกระทบฟันหวี (ฟืม) เมื่อสอดกระสวยด้ายพุ่งกลับก็จะกระทบ ฟันหวี เพื่อให้ด้ายพุ่งแนบ
ตดิ กนั ได้เนือ้ ผา้ ท่แี นน่ หนา

2.4 การเก็บหรือม้วนผ้า เมื่อทอผ้าได้พอประมาณแล้วก็จะม้วนเก็บใน แกนม้วนผ้า โดยผ่อนแกน
ดา้ ยยืนใหค้ ลายออกและปรบั ความตึงหยอ่ นใหม่ให้พอเหมาะ

๔. ชือ่ ผ้ทู ี่ถอื ปฏิบตั ิและผูส้ บื ทอด

๔.๑ ผู้ทถ่ี อื ปฏบิ ตั ิ
ชือ่ นางจนั ได ทองเหลา

วนั เดือน ปเี กดิ
ท่อี ยู่ ๑๐ หมู่ ๘ ตา้ บลเวียงเหนือ อา้ เภอเวียงชยั จงั หวดั เชยี งราย
หมายเลขโทรศัพท์ 084 948 6610

๔.๒ ผสู้ ืบทอด
ชอื่ -
วัน เดือน ปเี กิด -
ท่อี ยู่ -

หมายเลขโทรศัพท์ -

๕. สถานะ การคงอยู่  ปฏบิ ตั ิอย่างแพรห่ ลาย  เสี่ยงตอ่ การสูญหาย  ไม่มีปฏบิ ตั ิแล้ว

๖. รูปภาพภมู ปิ ัญญาทางวัฒนธรรม/กิจกรรมทางภูมปิ ัญญาทางวฒั นธรรม

-430-

แบบสำรวจมรดกภมู ิปัญญำทำงวัฒนธรรมจงั หวัดเชยี งรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวฒั นธรรมจังหวดั เชยี งรำย
อำเภอเวยี งชยั จงั หวัดเชยี งรำย

๑. ช่ือข้อมลู วสิ าหกิจชมุ ชนผลติ ภัณฑท์ า้ มือบ้านจงเจรญิ “ผา้ ปัก”

๒. ลักษณะ  วรรณกรรมพน้ื บา้ นและภาษา
 ศลิ ปะการแสดง

 แนวปฏบิ ัติทางสงั คมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล

 อาหาร/ความรแู้ ละการปฏิบตั เิ ก่ียวกบั ธรรมชาติและจักรวาล
 งานชา่ งฝีมอื ดง้ั เดมิ
 การละเลน่ พน้ื บ้าน กีฬาพื้นบ้าน และศลิ ปะการต่อสู่ป้องกันตวั

๓. รำยละเอยี ดขอ้ มูล

๓.๑) ประวตั ิความเปน็ มาของข้อมลู
วสิ าหกิจชมุ ชนผลิตภัณฑท์ า้ มือบา้ นจงเจรญิ ได้รวมกลุ่มหรือตั้งแต่เริ่มท้าธรุ กจิ มาแล้ว 17ปี รปู แบบ
การบริหารจดั การในปจั จบุ นั /การแบ่งผลประโยชนใ์ นกลมุ่ สมาชกิ ก้าไรสุทธิในรอบปี จะน้ามาจดั สรรดังตอ่ ไปนี้

1) 50 % เป็นเงินปันผลประจา้ ปี
2) 20 % เป็นเงินตอบแทนคณะกรรมการ
3) 10 % เปน็ เงนิ ทุนส้ารองกลุ่ม
4) 10 % เปน็ เงินสวสั ดกิ ารให้กบั สมาชิก
5) 10 % โบนัสเบย้ี ขยันและบุคคลท่ีให้ความรว่ มมือกบั กลมุ่ อย่างสม้่าเสมอ หรือตามมติ
คณะกรรมการเหน็ สมควรในการช่วยเหลอื สมาชิก
ปัจจบุ ันมีสมาชกิ ในกลุม่ / หรอื คนทา้ งาน สมาชกิ กลุ่ม จา้ นวน ๒๔ คน รวมสมาชกิ เครือขา่ ยตา่ ง
อา้ เภอจ้านวน 5 อ้าเภอ ทีเ่ ป็นทีมปกั ท้ังหมด จา้ นวน 65 คน ปจั จบุ นั มเี งนิ ทนุ หมุนเวยี นตอ่ ปีประมาณ
50,000 บาท โดยใช้แหล่งเงินทุนจากเงินทุนหนุ้ สมาชิก ประมาณ 86,500 บาท

๓.๒) ขน้ั ตอน/วธิ ีการ/ดา้ เนินการเกี่ยวกับขอ้ มูล
ท่ีมาของการปักผ้าด้วยมือ เร่ิมมาจากพ้ืนฐานทักษะงานฝีมือที่มีอยู่เดิม ของกลุ่มผู้หญิงชาวล้านนาในพ้ืนท่ี
จังหวัดเชียงรายแต่มีการประยุกต์ ผสมผสานกับงานอ่ืน ๆ หรือความรู้ใหม่ โดยเริ่มจากผลิตตุ๊กตาไหมพรม
และต่อมาได้ปรับเปลี่ยนมาเป็นการปักผ้าด้วยมือ เม่ือเดือนเมษายน 2561 โดยเน้นงานปักที่แสดงถึงสไตล์

ของตัวเอง 7 ข้อ เช่น การเลือกลาย การก้าหนดสี การวางลาย ฯลฯ รวมถึงการแปรรูปท่ีแตกต่างหลากหลาย
เปน็ ผลติ ภณั ฑ์ชนิดต่าง ๆ เชน่ พวงกุญแจ กลอ่ งทิชชู่ หน้ากาก กระเปา๋ สตางค์ กระเป๋า ยา่ ม และเสอ้ื ผา้ เป็นตน้

ลวดลายของการปักผ้า จะเน้นที่กระบวนการและเทคนิคการปักท่ีแตกต่างจากการปักผ้าอ่ืน ๆ ท่ัวไป ซ่ึง
จะมเี ทคนิค ดังน้ี

1. การปักลายจะต้องเล็กกลางใหญ่
2. ลายทึบติดกับลายห่าง
3. สเี ขม้ ๆ ให้วางสีขาวหรอื สสี ว่างติดกัน
4. การเลีย้ วโคง้ ของลายตอ้ งคดงอไปมา
5. เลือกลายนูนเพ่อื เพ่ิมมิติความสวยงามเพ่ิมอารณ์ความรู้สึก
6. การเลือกสีการปักสผี า้ จะตอ้ งไล่เฉดสี
7. การจดั วางตา้ แหน่งสจี ะตอ้ งสมดลุ กนั ทั้งผนื ผ้า

-431-
วสั ดุ – อุปกรณ์

ผ้าใยกัญชง / เข็มปกั เบอร์ 24 / ด้ายปัก / ปากกาลบด้วยความร้อน และกรรไกร
ขน้ั ตอนการปักผ้า
1. ตัดผ้าตามขนาดทต่ี ้องการ
2. วาดแพทเทริ ์นเพือ่ เปน็ กรอบพ้นื ทีใ่ นการปกั
3. ปกั ผ้าในรปู แบบทตี่ นเองตอ้ งการโดยแสดงถึงสไตล์ของตวั เอง 7 ข้อ
4. น้าช้นิ งานท่ีปกั เรยี บร้อยแล้วไปตกแตง่ หรอื ตดั เย็บลงในชน้ิ งานตามท่กี ้าหนด
มาตรฐานฝีมือ
1) มาตรฐานผ้าปกั มผช.249/2558 เลขที่ 217-3/249(ชร.)
2) มาตรฐานเชยี งรายแบรนด์ พลัส (Chiangrai brand plus)

3) มาตรฐานผลติ ภัณฑผ์ ้าปัก มผช. 216.2554 เลขที่ 217-1/606(ชร.)

รำงวลั ท่เี คยไดร้ ับ

-432-
การประเมนิ ยอดขายของกลมุ่

1) ปี 2562 = 243,470 บาท,
2) ปี 2563 = 416,699.38 บาท
3) ปี 2564 = 480,701.16 บาท
4) ปี 2565 (ม.ค.-ปจั จบุ นั ) = 306,633.06 บาท
ควำมพรอ้ มและศักยภำพของวสิ ำหกิจชมุ ชน
1. ด้ำนปจั จยั กำรผลิต

• มแี ผนเตรียมขยายฐานสมาชิกทมี ปักผ้าเพ่ิมเติม/ขยายพื้นทีเ่ ครือข่ายใหม่ๆ เพื่อรองรับการพฒั นางานปัก

• ขยายทีมแปรรูป ของใช้ เส้ือผ้าเครื่องแต่งกาย

• การจัดหาวัตถุดิบ แหล่งที่มาของวตั ถุดบิ มีอยา่ งต่อเน่ือง

• มีปญั หาและอุปสรรค ทางด้านวตั ถดุ ิบ มีการส่ังซ้ือผา้ พืน้ ส้าหรับการแปรรูป มีบางช่วงทส่ี ินค้าขาดตลาด
เนื่องจากติดขัดเรื่องการขนสง่ (การปิดกจิ การชั่วคราวเน่ืองจากติดโควิด/พนักงานขนสง่ ติดโควดิ )

• มีบุคลากรที่สามารถใชค้ อมพวิ เตอร์, อนิ เตอร์เน็ต และสมาร์ทโฟน ในระดับดี

• มีการถา่ ยทอดเทคนิคการปัก และการแปรรูปข้ันพื้นฐาน

• ยงั ไมม่ ีการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี เครื่องจักรในการผลิต/และยังไมม่ ีเคร่ืองจักรของกลุม่ ฯ

• มีกระบวนการควบคุมการผลิต สินคา้ และบริการที่เป็นมาตรฐานชัดเจน มีกระบวนการชัดเจน

• มกี ารท้าระบบบัญชขี องกลุ่ม โดยมีการจดั ท้าระบบบัญชีและยน่ื เสยี ภาษีวสิ าหกิจชุมชนทุกๆ 6 เดือน

• มีการค้านึงถงึ และมีแผนในการพฒั นาการย้อมสีธรรมชาติจากเส้นใย

• มีการพัฒนารปู แบบสนิ ค้าใหม่ๆ อยู่เสมอ

• มีมาตรฐานผลิตภัณฑ์ มผช. ประเภทผ้าปัก มผช. 219-3/249(ชร) ช่วงระหวา่ งเดือน 15 มนี าคม 2563-15
มนี าคม พ.ศ. 2566

• มีมาตรฐานผลิตภัณฑ์ มผช. ประเภทผลิตภัณฑ์ผ้าปัก มผช. 217-1/616 (ชร) ช่วงระหว่างเดือน 15 มีนาคม
2563-15 มนี าคม พ.ศ. 2566

• มีมาตรฐานผลติ ภัณฑ์ เชยี งรายแบรนด์ พลสั ช่วงระหวา่ งเดือน 20 มีนาคม 2565 - 20 มนี าคม พ.ศ. 2567
2. ดำ้ นอุปสงค์ / กำรตลำด

• พฒั นาช่องทางการจ้าหน่ายสนิ ค้า ผ่านช่องทาง Tiktok (การฝึกท้าคลิปวดี ีโอ)

• ออกงานแสดงสินค้าเพ่ือพบลูกค้าใหม่ๆ /ส้ารวจตลาดความต้องการ

• พัฒนาเวบ็ ไซต์ ของแบรนด์/กลุ่มฯ

• พฒั นาช่อง ยูทูป /Tiktok (การพัฒนาทกั ษะการท้าคลิป วดี โี อ /การคิดสคริป Story telling)

• พัฒนาสนิ ค้า ท่ีพัฒนาเส้นใยดว้ ยการย้อมสีไหมปัก ด้วยสธี รรมชาติ และใส่ใจสิ่งแวดล้อม เพ่ือเข้าถึงตลาด
ต่างประเทศ

• มีแนวโน้มยอดขายที่เพิ่มขึน้ การจากสนับสนุนของกรมการค้าภายใน ท้ังการสนับสนุนการออกงานแสดงสินค้า
และการรวี ิวสนิ ค้าผ่านช่องทางต่าง ๆ

• มี เช่น พวงกุญแจเปน็ สินค้าของขวญั ของฝาก ของท่ีระลึกช่วงส้ินปี/ปีใหม่

• มีเสื้อคลมุ ชว่ ยฤดหู นาว

-433-
• สดั ส่วนยอดขายสินค้า สามารถจัดล้าดับยอดขายตามมูลค่า มีรายละเอียดดังนี้

ล้าดับท่ี ประเภทสินคา้
1 เส้อื ผา้ เครือ่ งแต่งกาย
2 พวงกญุ แจ
3 กระเป๋า
4 ยา่ ม
5 หน้ากาก
6 วัสดุ

กลุ่มลกู ค้าคือ
• กลมุ่ ผหู้ ญงิ อายุ 35-54 ปี ประมาณ 91%
• เป้าหมายของการซอ้ื สนิ ค้า เพอ่ื ใช้เอง ชอบงานฝีมือ ชอบความโดดเด่น แตกต่างไมเ่ หมือนใคร 95% และ

ผู้ประกอบการา ประมาณ 5%
• ผู้ชาย 9% ติดตามทาง IG มากกว่า
• ชอ่ งทางการติดตาม ทางเพจ face book เปน็ หลัก แต่มีการตดิ ตามทาง IG มากขน้ึ
• ลูกคา้ เกา่ มีการซอ้ื ซ้าและ พรีออเดอร์งาน
• ลูกค้าส่วนใหญอ่ าศยั อยู่ กรงุ เทพฯ เชยี งราย เชียงใหม่ นนทบุรี ชลบรุ ีและสมุทปราการ

มีกลมุ่ ลกู คา้ ประเภท
• เป็นกลุ่มทีม่ ีกา้ ลังซื้อ เชน่ เป็นเจ้าของกจิ การ หรือเป็นผู้บรหิ าร สนิ ค้าทซ่ี ้อื ซ้าชว่ งท่ผี า่ นมา จะเปน็ พวงกุญแจ

หน้ากาก กระเปา๋ ยา่ ม เสอ้ื ผา้
• กล่มุ ลูกคา้ ท่ตี ้องการหาสนิ คา้ ทพ่ี เิ ศษๆ โดดเด่น และแตกต่าง สา้ หรับใชเ้ องและเป็นของขวัญ ของฝาก
• มกี ารจัดทา้ ฐานข้อมูลลกู คา้ ชื่อ ทอี่ ย่เู บอร์โทร
• มีช่องทางการประชาสัมพันธ์ และการจดั จา้ หน่ายให้กบั ลูกคา้ ชอ่ งทาง

1) Page facebook : https://www.facebook.com/CraftChiangraibywilai62

2) Line Official : https://line.me/R/ti/p/%40ruw0474a

-434-
3) Instragram : hug_villages

• มกี ารทา้ กลยุทธ์สง่ เสรมิ การขายโดยการจดั โปรโมชัน่ ตามเทศกาล

• มกี ารบริการส่งสินคา้ ฟรี

• จัดทา้ การด์ อวยพรชว่ งปีใหม่ /หรือวันสา้ คัญของลูกคา้

3. ด้ำนกำรสนบั สนุนและเกย่ี วเน่ือง

3.1 การสนับสนนุ ท่ไี ด้รบั จากหน่วยงาน ทั้งภาครฐั และเอกชน

ลา้ ดับ หน่วยงาน/องค์กรที่ให้การสนบั สนุน เรือ่ งท่สี นับสนุน

1 ธนาคารออมสนิ ด้านชอ่ งทางการตลาด โครงการไทยเด็ด ปตท./ การสง่ั สนิ ค้า เชน่ พวงกุญแจ

2 ม.ราชภฎั เชยี งราย ด้านงานวิจยั

3 สสว. เชยี งราย สสว. โครงการSMEโคช้ / เรอ่ื งกฎหมาย ตราสนิ คา้ /

ด้านการออกบธู

4 สา้ นักงานอุตสาหกรรมจงั หวัด ดา้ นมาตรฐานผลติ ภณั ฑ์ชมุ ชน

5 สา้ นักงานเกษตรอ้าเภอเวยี งชัย ด้านยกระดบั มาตรฐานกลุ่มฯ

6 สา้ นักงานพฒั นาชมุ ชนจังหวดั เชียงราย ด้านยกระดบั มาตรฐานกลุ่มฯ

เครอื ข่าย OTOP

7 มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่ ด้านการอบรมพฒั นาศกั ยภาพผู้ประกอบการ/ ออกบธู / การตลาด

8 ส้านกั งานสหกรณ์จังหวดั เชยี งราย ดา้ นออกบธู

9 มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ด้านกฎหมาย/ ตราทะเบียนสินค้า

10 สถาบนั พัฒนาฝีมือท่ี 20 เชียงราย ดา้ นฝึกอบรมเพ่ือเพ่ิมประสิทธภิ าพแรงงาน

11 ส้านักงานพาณชิ ย์จังหวดั เชียงราย สนับสนนุ เขา้ โครงการหมูบ่ ้านทา้ มาคา้ ขาย

12 กรมการค้าภายในฯ โครงการหมู่บา้ นท้ามาคา้ ขาย

13 มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคล ลา้ ปาง สนับสนุนงบประมาณฝึกอบรมและพัฒนาหน้ารา้ น

14 มหาวทิ ยาลยั เกษตร/มทร.เชียงใหม่ การตลาดออนไลน์/การถา่ ยรูปสนิ คา้ สนับสนุนการ

ประชาสัมพนั ธ์

15 สถาบนั พฒั นาอตุ สาหกรรมและส่ิงทอ การออกแบบผลติ ภณั ฑ์ /แฟชนั่ ล้านนาตะวนั ออก

๔. ชอื่ ผู้ท่ีถอื ปฏิบัติและผสู้ ืบทอด นางวิไล นาไพวรรณ์
๔.๑ ผทู้ ี่ถอื ปฏิบัติ 19 พฤศจกิ ายน 2518
ชอื่ 3 หมู่ 12 ตา้ บลดอนศลิ า อา้ เภอเวยี งชยั จังหวดั เชยี งราย
วัน เดือน ปีเกดิ 088 267 4469
ที่อยู่
หมายเลขโทรศพั ท์

-435-

๔.๒ ผู้สบื ทอด ณฐั ธิดา นาไพวรรณ์
(1) ช่ือ 15 มถิ ุนายน 2544
วนั เดอื น ปเี กดิ 3 หมู่ 12 ต้าบลดอนศิลา อา้ เภอเวยี งชัย จังหวัดเชยี งราย
ที่อยู่ 092 905 9591
หมายเลขโทรศพั ท์ นางสาวภูรีรัตน์ นาไพวรรณ์
(2) ชอ่ื 6 มิถุนายน 2549
วนั เดอื น ปเี กดิ 3 หมู่ 12 ตา้ บลดอนศลิ า อา้ เภอเวียงชัย จังหวัดเชยี งราย
ทีอ่ ยู่ 082 160 165๕.
หมายเลขโทรศพั ท์

๕. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏบิ ัติอย่างแพรห่ ลาย  เสี่ยงตอ่ การสญู หาย  ไมม่ ปี ฏบิ ัติแล้ว

๖. รูปภำพภูมปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม/กิจกรรมทำงภูมิปัญญำทำงวฒั นธรรม

1.พวงกญุ แจ

2.หน้ากากอนามยั
กระเป๋าตังเหรียญ

3. เส้อื สตรี

-๔36-

4.ย่าม

5.กระเปา๋ เป/้ สะพาย
6.กระเป๋าถือ
7.ผ้าซิ่น
8.อนื่ ๆ

-๔37-

แบบสำรวจมรดกภมู ิปญั ญำทำงวัฒนธรรมจังหวัดเชียงรำย
สำนักงำนวัฒนธรรมจังหวัดเชียงรำย
อำเภอแมส่ ำย จังหวดั เชยี งรำย

๑. ชอื่ ข้อมูล ผ้าปกั ชดุ ชาตพิ นั ธ์ุไตหย่า

๒. ลกั ษณะ  วรรณกรรมพื้นบ้านและภาษา
 ศลิ ปะการแสดง
 แนวปฏบิ ตั ิทางสงั คมพิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรแู้ ละการปฏบิ ตั เิ กย่ี วกบั ธรรมชาติและจักรวาล
 งานช่างฝีมือดงั้ เดิม
 การละเล่นพื้นบา้ น กีฬาพนื้ บา้ น และศลิ ปะการตอ่ สปู่ ้องกันตวั

๓. รายละเอยี ดข้อมลู
๓.๑) ประวตั คิ วามเปน็ มาของข้อมูล
ปัจจุบันการแต่งกายของชาวไตหย่าจะแต่งกายตามสมัยนิยม ส่วนการแต่งกายในชุดประจ้ากลุ่มชน

ในงานประเพณี เช่น งานชุมนุมประจ้าปี เคร่ืองแต่งกายของสตรีชาวไตหย่าจะประกอบด้วยผ้าซ่ิน 2 ผืนซ้อนกัน
ผนื แรกเรยี กว่า ผ้าไตเ่ ซนิ เปน็ ผา้ พ้นื สีดา้ ประดบั ด้วยรว้ิ ผา้ สีต่าง ๆ เยบ็ เป็นแถบชายซนิ่ สว่ นผ้าผนื ท่ี 2 เรยี กวา่
ผ้าเซิน เป็นผ้าพื้นสีด้าประดับชายผ้าด้วยริ้วผา้ สแี ต่ไม่เย็บด้านข้างให้ตดิ กัน ใช้สวมทับผืนแรกโดยพันรอบตวั ให้
ชายผ้าขนานผืนแล้วคาดเข็มขัดทับ ส่วนช่วงเอวข้ึนไปมีผ้า 3 ชิ้น คือ ผ้าไว้ใช้คาดเอวจะประดับด้วยร้ิวผ้าสีต่าง ๆ
ทั้งผืน จากนั้นสวมทับด้วยเสื้อตัวที่สอง เรียกว่า ซ่ือแย่ง ซึ่งเป็นเสื้อไม่มีแขน คอปิด ไม่มีปกผ่าหน้าเฉียงมา
ทางซ้าย ส่วนเสื้อตัวที่สาม เรียกว่า ซ่ือหลุง มีลักษณะเป็นเสื้อสวมทับแขนยาว ไม่มีปก ผ่าหน้าตรง ความยาว
ของเสื้อจะยาวประมาณ 2 ใน 3 ของความยาวช่วงบนของผู้สวมใส่ ส่วนการแต่งกายของผู้ชายไตหย่า
ประกอบดว้ ยกางเกงขาตรงสดี า้ หรอื สีคราม เสื้อคอจีนแขนยาวสีด้า ไมป่ ระดับลวดลายใด ๆ

เน่ืองจากพื้นท่ีของจังหวัดเชียงราย มีกลุ่มชนชาติติพันธ์อาศัยอยู่ ท้ังตามท่ีราบและบนดอยสูง แต่ละ
กลุ่มจะมีศาสนา ความเชื่อ ประเพณี และวัฒนธรรมแตกต่างกันไป ตามแต่วิถีดั้งเดิมที่บรรพบุรุษได้ปฏิบัติ
สืบทอดกันมา การแต่งกายมีความเป็นเอกลักษณ์อัตลักษณ์ของแต่ละชนชาติพันธ์ุ จุดเด่นท่ีสามารถบ่งบอก
ได้เลยว่าคนที่แต่งชุดนี้เป็นชาติพันธุ์ใด ประกอบกับในพื้นท่ีอ้าเภอแม่สาย มีชาติพันธุ์ไตหย่าอาศัยอยู่เป็น
จ้านวนมาก เครื่องแต่งกายของกลุ่มชาติติพันธ์ไตหย่า มีความโดดเด่นและแปลกตามากกว่าชาติพันธ์ุอ่ืน ๆ
เพราะไม่ค่อยได้พบเห็นบ่อยนัก โดยเหตุข้างตน้ คณุ ณฐภัทร จนั ทาพนู ซ่งึ เป็นบุคคลทม่ี ีความชืน่ ชอบในชุดชาติพันธุ์
และประกอบธุรกิจด้านผ้าของกลุ่มชาติพันธุ์ ในช่วงแรกๆได้หาผ้าชุดชาติพันธจุ์ ากชนเผา่ โดยตรงซึ่งมีราคาแพง
ประกอบกับปัญหาการส่ือสารกับชนเผ่า จึงมีแนวคิดที่จะเก็บข้อมูลความรู้ด้านการแต่งกายชุดชาติพันธ์ุ
แล้วน้ามาออกแบบ ตัดเย็บ และจัดจ้าหน่ายเอง ปัจจุบันคุณณฐภัทร ได้ออกแบบ ผลิต และจัดจ้าหน่าย
ชุดชาติพันธุ์ ทั้งแบบดั้งเดิมและแบบ ประยุกต์ให้ทันสมัย และชุดที่มีความโดดเด่นมากอย่างหน่ึ งของร้าน
คือชดุ ผ้าตัดชาตพิ ันธุ์ไตหยา่

ลักษณะลวดลายผ้าปักในชุดชาติพันธ์ุไตหย่า จะเน้นเป็นรูปทรงเรขาคณิต มีรูปสามเหลี่ยมและรูป

ส่ีเหลี่ยม รูปส่ีเหลี่ยมข้าวหลามตัด รูปวงกลม รูปวงรี ปักด้วยเคร่ืองเงิน มีลักษณะโดดเด่นคงความเป็น

เอกลกั ษณ์อัตลักษณข์ องกลมุ่ ชนชาติพันธ์ุ

-๔38-

๓.2) ข้นั ตอน/วิธีการ/ด้าเนินการเกีย่ วกับขอ้ มูล

วัสดอุ ปุ กรณแ์ ละอปุ กรณ์

๑) ผา้ พ้ืนสีด้า ๔) ดน้ิ ทอง

๒) เครอ่ื งเงิน ๕) ผ้ากุ้น

๓) ดิน้ เงนิ ๖) ผแู้ ดง

ขัน้ ตอนการผลิตผา้ และผลิตภณั ฑจ์ ากผา้

ส้าหรบั เส้ือประกอบดว้ ย

1) วดั ตัว 5) ตดั ตามแบบ

2) สรา้ งแบบ/กดรอย 6) ประดับตกแต่งดว้ ยเครอื่ งเงนิ

3) สร้างลายปัก/กดรอย ๗) ประดบั ด้นิ เงนิ ดิน้ ทอง ผ้ากนุ้

4) ปกั ลาย ๘) ประดับผู้แดง

4. ชอ่ื ผู้ท่ีถอื ปฏิบัตแิ ละผูส้ บื ทอด

4.๑ ผทู้ ีถ่ อื ปฏบิ ัติ

ชอ่ื นายณฐภทั ร จันทาพนู

วัน เดือน ปเี กิด -

ที่อยู่ 183 หมู่ 1 ตา้ บลห้วยไคร้ อา้ เภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย

หมายเลขโทรศัพท์ 096 860 7187

4.๒ ผูส้ ืบทอด

ชื่อ -

วัน เดอื น ปเี กิด -

ที่อยู่ -

หมายเลขโทรศัพท์ -

5. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏิบัติอยา่ งแพร่หลาย  เส่ยี งตอ่ การสูญหาย  ไมม่ ีปฏิบตั ิแล้ว

6. รูปภำพภมู ิปัญญำทำงวัฒนธรรม/กิจกรรมทำงภูมิปัญญำทำงวฒั นธรรม

ตวั อยา่ งผ้าปกั ชดุ ชาตติ พิ ันธไ์ ตหย่าผหู้ ญิง ตวั อย่างผ้าปักชดุ ชาติ

-๔39-

แบบสำรวจมรดกภมู ิปัญญำทำงวัฒนธรรมจงั หวัดเชียงรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวฒั นธรรมจังหวดั เชยี งรำย

อำเภอเวยี งเชียงรุ้ง จงั หวดั เชียงรำย

1. ช่ือข้อมลู ผา้ ปกั ด้วยมือ : กลุม่ วสิ าหกิจชมุ ชนกลมุ่ งานฝมี อื ปักผ้าดว้ ยมือ

๒. ลกั ษณะ  วรรณกรรมพืน้ บ้านและภาษา
 ศิลปะการแสดง
 แนวปฏิบัตทิ างสงั คมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความร้แู ละการปฏบิ ตั เิ กย่ี วกับธรรมชาติและจกั รวาล
 งานชา่ งฝีมอื ดั้งเดิม
 การละเล่นพ้ืนบา้ น กีฬาพื้นบา้ น และศลิ ปะการต่อสปู่ ้องกันตัว

๓. รำยละเอียดข้อมูล

3.1 ประวตั ิความเป็นมา
กลุ่มงานฝีมือปักผ้าด้วยมือ หมู่ 3 บ้านป่าซาง ต้าบลป่าซาง อ้าเภอเวียงเชียงรุ้ง จังหวัดเชียงราย
เปน็ กลมุ่ ทพ่ี ฒั นาต่อยอด เร่ิมแรกจากกล่มุ ทอผา้ ผู้สูงอายุบ้านปา่ ซางซึ่งทอผา้ มานาน ตัง้ แต่ พ.ศ.2548 แต่ไม่มี
ผู้สืบทอดมากนกั ผู้เฒา่ ผแู้ ก่เดมิ เสียชวี ิตไปบ้าง ท้าใหก้ ลุ่มมีสมาชิกลดนอ้ ยลง ต่อมา พ.ศ.2552 คนรนุ่ ต่อมาจึง
มารวมกันเป็นกลุ่มเย็บแปรรูป น้าโดยนางอ้าพร ใจน่าน และได้ด้าเนินกิจกรรมร่วมกันมา และพัฒนาต่อยอด
ในปี พ.ศ.2563 ได้ก่อตั้งกลุ่มวิสาหกิจชมุ ชน “กลุ่มงานฝีมือปักผ้าด้วยมือ” น้าโดยนางสิริยากร ก๋าพรม และ
นางสาวพรพิมล จ๋าจุ๋มป๋า และได้เรียนรู้ การสร้างสรรค์งานฝีมือปักผ้า บนเส้ือ หมวก กระเป๋าใส่เหรียญ และ
พัฒนามาทา้ เปน็ กระเปา๋ ชนดิ ตา่ ง ๆ หลากหลายชนิด
เป็นภูมิปัญญาสร้างสรรค์ของคนรุ่นใหม่ ท่ีใช้ฝีมือ ทักษะการเรียนรู้ และพัฒนาต่อยอด ใช้ความคิด
สร้างสรรค์ในการผลิตงานแต่ละช้ิน และผสมผสานจากผ้าทอ เศษผ้า ในการผลิตช้ินงาน และประยุกต์กับการ
ออกแบบเพื่อให้คนรุ่นใหม่หันมาสนใจ และน้าไปใช้ประโยชน์ โดยลวดลายปักบนผ้า เช่น รูปสัตว์ ต้นไม้ ใบไม้
ดอกไม้ โดยสังเกตุจากธรรมชาติ และส่ิงแวดล้อม และมีแรงบันดาลใจในการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ เพ่ิม
อาชีพ เพ่ิมรายได้แก่ครัวเรือน โดยเฉพาะในช่วงวิกฤตโควิด จากการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
2019 (COVID – 19) ท้าให้ผู้คนอยู่บ้านมากขึ้น แกนน้ากลุ่มจึงคิดหาวิธีการส่งเสริมอาชีพแก่กลุ่มสตรี และ
หารายไดเ้ พ่ิม ซึง่ ถือวา่ เปน็ มรดกภูมิปัญญาทีพ่ ฒั นาตอ่ ยอดมาจากการทอผา้ ดั้งเดิม และใช้วกิ ฤตให้เป็นโอกาส

3.2 ข้ันตอน/วธิ กี าร/ด้าเนินการเกี่ยวกบั ข้อมูล
วัสดอุ ุปกรณ์และอุปกรณ์
1) ผ้าชนิดต่าง ๆ ทั้งผ้าทอ และผา้ ผืนสา้ เรจ็ รปู
2) ดา้ ยสตี า่ ง ๆ
3) เขม็
4) จกั รเย็บผา้
ขั้นตอนกำรผลติ
1) นา้ ผ้ามาตดั เย็บเป็นของใช้ต่าง ๆ ตามต้องการ เช่น เสื้อ หมวก กระเป๋าแบบตา่ ง ๆ พวงกญุ แจ ถุงผา้ ฯลฯ
2) ปกั ลวดลายตา่ ง ๆ ดว้ ยมือ โดยใชด้ ้ายสีต่าง ๆ ปกั ลงบนของใชต้ ามข้อ 1) โดยออกแบบ สรา้ งสรรค์
ผลงานด้วยความคดิ สรา้ งสรรค์ ซ่ึงไมซ่ า้ ลาย ซึ่งจะทา้ ใหผ้ ลิตภณั ฑ์เกดิ ความสวยงาม ความนา่ สนใจ
3) นา้ ไปวางจา้ หน่ายในงานตา่ ง ๆ / เพจ Handmade by แมโ่ พธ์ิทอง /และจากการส่ังซ้ือของลูกค้าท่ีสง่ั
จอง

-๔40-

๔. ชือ่ ผู้ที่ถือปฏิบัตแิ ละผู้สบื ทอด
๔.๑ ผทู้ ถี่ อื ปฏบิ ตั ิ
ชอื่ นางพรทิพย์ จา๋ จมุ๋ ปา๋
วัน เดอื น ปีเกิด -
ที่อยู่ หมู่ 3 ตา้ บลป่าซาง อ้าเภอเวียงเชยี งรงุ้ จงั หวัดเชยี งราย
หมายเลขโทรศัพท์ 093 245 6700
Facebook เพจ Handmade by แมโ่ พธ์ทิ อง
๔.๒ ผสู้ บื ทอด
ชื่อ -
วัน เดอื น ปเี กิด -
ท่ีอยู่ -

หมายเลขโทรศัพท์ -

๖. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏิบตั ิอยา่ งแพรห่ ลาย  เสยี่ งตอ่ การสูญหาย  ไม่มปี ฏิบัตแิ ลว้

๗. รปู ภำพภมู ปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม/กิจกรรมทำงภูมิปัญญำทำงวัฒนธรรม

ดา้ ยปักสีต่าง ๆ

เขม็ เยบ็ ผ้า สะดึง จักรเย็บผา้

การปักผา้ ด้วยมือ การจ้าหน่ายผลิตภณั ฑ์ เพจ Handmade by แมโ่ พธ์ทิ อง

-441-

ผลติ ภณั ฑจ์ ำกผำ้ ของกลุ่มวิสำหกิจชุมชนงำนฝมี ือปกั ผำ้ ด้วยมอื
หม่ทู ่ี 3 บ้ำนปำ่ ซำง ตำบลป่ำซำง อำเภอเวียงเชียงรุ้ง จังหวดั เชยี งรำย

-442-

แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ญั ญำทำงวัฒนธรรมจังหวดั เชียงรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวฒั นธรรมจงั หวัดเชยี งรำย
อำเภอแมจ่ ัน จังหวดั เชียงรำย

๑. ช่ือข้อมูล ผา้ ปกั มอื

๒. ลักษณะ  วรรณกรรมพ้นื บา้ นและภาษา
 ศิลปะการแสดง
 แนวปฏบิ ัติทางสงั คมพิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรู้และการปฏิบตั ิเก่ียวกบั ธรรมชาตแิ ละจกั รวาล
 งานช่างฝีมอื ด้ังเดิม
 การละเลน่ พื้นบ้าน กีฬาพ้นื บา้ น และศลิ ปะการตอ่ สปู่ ้องกันตวั

๓. รำยละเอียดข้อมลู

๓.๑) ประวัตคิ วามเปน็ มาของขอ้ มลู
กล่มุ พัฒนาสตรีต้าบลป่าตึง อ้าเภอแมจ่ ัน จังหวดั เชยี งราย สว่ นใหญม่ ีอาชพี เกษตรกร และเป็นแม่บ้าน
หลังจากฤดูการท้าไร่ ท้านาแลว้ เสร็จจะไมค่ อ่ ยมีงานทา้ จึงรวมกลุม่ กนั ท้างานฝมี ือโดยได้รบั การถ่ายทอดวิธีการ
ปักผ้าแบบผ้าปักมือกองหลวงจากอาจารย์สิริวัฑน์ เธียรปัญญา ซ่ึงอาจารย์ได้ถ่ายทอดเทคนิค แนวคิด การท้า
ผ้าปักมือให้ชาวบ้าน เกิดการสร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ให้กับชุมชน ผ้าปักมือท่ีมีเพียงผืนเดียวในโลก
ผสมผสานความงดงามประณีตของผ้า ซ่ึงเป็นผ้าทอมือพ้ืนเมืองทั้งผ้าฝ้ายและผ้าไหมรวมถึงเส้นใยธรรมชาติ
น้ามาปักโดยใช้เทคนิคการปักแบบลายลูกโซ่ท่ีมีความละเอียดประณีต เกิดจากการแต่งแต้มจินตนาการและ
ความคิดสร้างสรรค์ลงบนผืนผ้า ผ่านลวดลายที่ได้รับแรงบันดาลใจจากลายทองในโบสถ์ และลายปูนปั้น
จากวัดวาอารามในแถบภาคเหนือ ซึ่งล้วนเป็นลายล้านนา โดยน้ามาประยุกต์ออกแบบเป็นเอกลักษณ์เฉพาะ
ของผ้าปักมือ โดยจะวาดลายลงในผ้าทุกผืน ไม่มีการลอกลายจึงท้าให้ลายแต่ละผืนไม่เหมือนกันซึ่งเป็นเสน่ห์
ส้าคัญของผ้าปักมือแบบกองหลวงที่อาจารย์สิริวัฒน์ เธียรปัญญา ครูช่างศิลปหัตถกรรม ปี 2554 ได้
ออกแบบและถา่ ยทอดใหแ้ ก่กลมุ่ พฒั นาสตรีตา้ บลปา่ ตงึ

๓.๒) ข้ันตอน/วิธกี าร/ดา้ เนนิ การเกี่ยวกบั ขอ้ มลู
วสั ดอุ ุปกรณ์และอุปกรณ์
- ผา้ ฝ้ายทอมอื
- ผา้ ไหมทอมือ
- ดา้ ย
- เข็ม
- ปากกาเขียนกระจก
ขน้ั ตอนกำรผลิตผำ้ และผลติ ภณั ฑจ์ ำกผำ้
1. นา้ ผา้ ฝา้ ยทอมือ หรอื ผา้ ไหมทอมือ วาดแบบลวดลายต่างๆ ด้วยปากกาเขยี นกระจก
2. เลือกสดี ้ายท่ีต้องการ ปกั ลายโซต่ ามลวดลายที่วาดไว้

-๔43-

๔. ชื่อผูท้ ี่ถือปฏิบตั ิและผ้สู บื ทอด
๔.๑ ผูท้ ่ถี ือปฏบิ ตั ิ
ชอื่ นางพิมใจ กนั แก้ว
วนั เดือน ปีเกดิ -
ที่อยู่ 1๑๗ หมู่ ๗ ตา้ บลป่าตงึ อ้าเภอแมจ่ ัน จงั หวัดเชยี งราย
หมายเลขโทรศัพท์ 089 855 2494
๔.๒ ผู้สืบทอด
ชือ่ นางศรีพนู จันทาพูน
วัน เดอื น ปเี กดิ -
ทอ่ี ยู่ นางศรพี ูน จันทาพูน
หมายเลขโทรศัพท์ 089 855 2494

๕. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏิบัติอย่างแพรห่ ลาย  เสย่ี งต่อการสญู หาย  ไมม่ ปี ฏบิ ตั แิ ล้ว

๖. รูปภำพภูมปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม/กจิ กรรมทำงภูมปิ ัญญำทำงวฒั นธรรม

วัสดอุ ุปกรณ์ การวาดลวดลายลงบนผ้า

การปักมือแบบลูกโซ่

-๔44-

แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ญั ญำทำงวัฒนธรรมจังหวดั เชยี งรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวฒั นธรรมจงั หวดั เชยี งรำย
อำเภอแมจ่ นั จงั หวัดเชยี งรำย

๑. ชอื่ ข้อมลู ผา้ ปกั มอื ชาติพนั ธอุ์ าข่า

๒. ลกั ษณะ  วรรณกรรมพื้นบ้านและภาษา
 ศิลปะการแสดง

 แนวปฏิบตั ทิ างสงั คมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล

 อาหาร/ความรแู้ ละการปฏิบตั เิ กี่ยวกับธรรมชาตแิ ละจกั รวาล
 งานชา่ งฝมี ือดง้ั เดมิ

 การละเล่นพนื้ บ้าน กีฬาพื้นบา้ น และศลิ ปะการตอ่ สู่ป้องกันตัว

๓. รายละเอยี ดขอ้ มูล

๓.๑) ประวตั ิความเป็นมาของขอ้ มูล
ชนเผ่าอาข่า มีถ่ินฐานเดิมอยู่ที่บริเวณภูเขาสูงทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือและตะวันตกเฉียงใต้ของ
ประเทศจีน ปัจจุบันชาวอ่าข่ามีประชากรอาศัยอยู่หนาแน่นท่ีบริเวณมณฑลยนู นานของประเทศจีน โดยเฉพาะ
แคว้นสิบสองปันนา นอกจากนี้ยังมีประชากรชาวอาข่ากระจายอยู่ในประเทศต่าง ๆ บริเวณเอเชียตะวันออก
เฉียงใต้ ได้แก่ ประเทศลาว พม่า เวียดนามและไทย ชาวอาข่าในประเทศไทยกระจายอยู่ในพ้ืนท่ี ๗ จังหวัด
ทางภาคเหนือของไทย ได้แก่ จังหวัดเชียงราย เชียงใหม่ พะเยา ล้าปาง แพร่ ตากและเพชรบูรณ์ อาศัยอยู่มากท่ีสุด
ในจังหวัดเชียงราย และหมู่บ้านจอป่าคา หมู่ท่ี 14 ต้าบลแม่จัน อ้าเภอแม่จัน จังหวัดเชียงราย ชาวอาข่ายังคง
ใช้วิถีชีวิตแบบเดิม ไม่ว่าจะเป็นภาษาพูด วัฒนธรรมการแต่งกาย อาหาร ที่ได้รับการสืบทอดมาจากบรรพบุรุษ
ผู้หญิงชาวอาข่ายังคงปักผ้าเพื่อสวมใส่ให้กับตนเองและบุคคลในครอบครัว เหลือก็ปักเพื่อจ้าหน่ายให้กับบุคคล
ที่สนใจและนักท่องเที่ยว ปัจจุบันวัฒนธรรมการแต่งกายชุดชาติพันธ์ุจะใช้สวมใส่ในงานหรือพิธีกรรมต่าง ๆ
หรอื การเดนิ ทางที่เป็นทางการ หากอยู่แต่ในหมู่บา้ นมักแตง่ กายแบบทั่วไป
กลมุ่ ผา้ ปกั มอื บ้านจอปา่ คา หมู่ท่ี 14 ต้าบลแมจ่ ัน อ้าเภอแม่จัน จังหวดั เชียงราย ยงั คงอนรุ ักษ์สืบสาน
วิธีการปักผ้าแบบเดิมจากบรรพบุรุษ ลายผ้าปักชาติพันธุ์อาข่ามีความประณีต สวยงาม เน้นการใช้สีสันที่สดใส
ในการปัก ผ้าพื้นที่ใช้ปักเป็นผ้าสีด้า หรือสีกรมท่า เป็นผ้าฝ้าย หรือผ้าใยกัญชง เวลาท่ีปักลวดลายแล้วเห็น
เด่นชัด ลายต่าง ๆ ท่ีปักลงไปน้ันส่วนใหญ่มาจากจิตนาการของผู้ปักที่ได้เห็นจากสิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติ
ลายถอ่ ง ลายขออูโละ๊ ลายโลมิ และลายล้ินผีเส้อื

๓.๒) ขนั้ ตอน/วธิ กี าร/ดาเนนิ การเกย่ี วกบั ขอ้ มูล
วัสดอุ ุปกรณแ์ ละอุปกรณ์
1. เข็ม 2. ลกู ปดั 3. ไหมพรม
4. ดา้ ย 5. ขนไก่ 6. เคร่อื งเงนิ
7. กระด่ิง 8. ผ้าพืน้ ผ้าฝ้าย หรือผ้าใยกญั ชง
ข้นั ตอนกำรผลิตผำ้ และผลิตภณั ฑ์จำกผำ้
1. ตัดผา้ พนื้ ใหไ้ ดต้ ามขนาดที่ตอ้ งการ
2. วาดแบบลวดลายบนผา้
3. เลือกดา้ ยตามสที ่ตี ้องการ และปักด้วยลายท่ีวาดไว้ (บางคนท่ีมคี วามชา้ นาญไม่ตอ้ งวาดลาย)
4. ประดับตกแตง่ ผ้าดว้ ย เคร่ืองเงิน กระด่งิ ลกู ปัด ไหมพรม ขนไก่ ลูกเดอื ย
5. น้าผา้ ปักมอื ที่ปักและตกแตง่ เรียบร้อยแล้วไปประกอบตัดเย็บเป็นเส้ือผา้ กระเปา๋ ถงุ น่อง หรอื
ประยุกต์ เป็นผ้าคลมุ ไหล่ เสอื้ คลุม หรือผา้ ปูโต๊ะ


Click to View FlipBook Version