The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ข้อมูลมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม จังหวัดเชียงราย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by , 2022-09-11 22:20:01

หนังสือมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม จังหวัดเชึยงราย

ข้อมูลมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม จังหวัดเชียงราย

-๔45-

๔. ช่ือผู้ท่ีถือปฏิบัติและผู้สบื ทอด
๔.๑ ผทู้ ีถ่ อื ปฏิบัติ
ช่อื นางตูลู ยอแจะ
วัน เดือน ปีเกดิ -
ทอี่ ยู่ 206 หมู่ 14 ตา้ บลแม่จัน อา้ เภอแม่จัน จังหวดั เชยี งราย
หมายเลขโทรศัพท์ 097 276 6249
๔.๒ ผสู้ บื ทอด
ช่ือ นางสาวรวิมล เบยี เซ
วนั เดือน ปีเกิด -
ที่อยู่ 95 หมู่ 14 ตา้ บลแมจ่ ัน อา้ เภอแม่จนั จงั หวัดเชียงราย
หมายเลขโทรศัพท์ 080 859 8565

๕. สถานะ การคงอยู่  ปฏบิ ัตอิ ยา่ งแพรห่ ลาย  เสยี่ งต่อการสญู หาย  ไม่มปี ฏิบตั ิแล้ว

๖. รูปภาพภูมปิ ัญญาทางวัฒนธรรม/กิจกรรมทางภูมปิ ัญญาทางวฒั นธรรม

วัสดุอปุ กรณ์ส้าหรบั ผา้ ปักมอื ชาติพนั ธอุ์ าข่า

นางตลู ู ยอแจ๊ะ สาธติ การปกั ผ้าชาติพันธุอ์ าข่า
กระเป๋าปักผา้ ชาตพิ นั ธ์ุอาขา่ เมื่อท้าเสรจ็ แลว้

-446-

แบบสำรวจมรดกภมู ิปญั ญำทำงวฒั นธรรมจงั หวัดเชยี งรำย ประจำปี ๒๕๖4
สำนักงำนวฒั นธรรมจงั หวดั เชยี งรำย
อำเภอแมจ่ ัน จงั หวัดเชียงรำย

๑. ช่อื ข้อมลู ผา้ ปกั มือบ้านสนั ทางหลวง

๒. ลักษณะ  วรรณกรรมพนื้ บ้านและภาษา
 ศลิ ปะการแสดง
 แนวปฏบิ ตั ิทางสังคมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรู้และการปฏิบตั ิเก่ยี วกบั ธรรมชาติและจักรวาล
 งานชา่ งฝีมือดง้ั เดมิ
 การละเลน่ พื้นบา้ น กีฬาพนื้ บ้าน และศิลปะการต่อสปู่ ้องกันตัว

๓. รายละเอยี ดข้อมลู
๓.๑) ประวตั ิความเปน็ มาของข้อมูล
กลุ่มผ้าปักสันทางหลวง ต่อยอดมาจากการทอผ้า เมื่อวันเวลาผ่านไปลายผ้าทอเร่ิมมีการซ้ากันมากขึ้น

แต่ความคิดสร้างสรรค์ยังไม่ส้ินสุด และชาวบ้านเร่ิมมีการปักช่ือใส่เส้ือผ้าของตน เพ่ือแสดงความเป็นเจ้าของ
ต่อมามีการปักเป็นสัญลักษณ์ แทนการปักชื่อ โดยจะมีเอกลักษณ์ที่แตกต่างกันไปในแต่ละคนก่อเกิดเป็น
ลวดลายสวยงาม มีผู้คนชื่นชอบและได้รับค้าชื่นชม อีกทั้งชาวบ้านยังมีความสุขที่ได้ปักตามความพึงพอใจ
ได้ถ่ายทอดจินตนาการของตนลงบนผืนผ้าได้อย่างไม่ส้ินสุด จะปักยังไงก็ได้ไม่มีผิด ไม่มีถูก จึงต่อยอดมาเป็น
การสร้างมูลค่าของผ้าทอโดยการน้าผ้าทอมาปักเป็นลายที่ประกอบมาจากเอกลักษณ์ในแต่ละบุคคลบวกกับ
ความงามของธรรมชาติมาเป็นลวดลายต่าง ๆ ทุกอย่างสามารถสร้างสรรค์ได้อย่างเต็มที่ ท้าให้ผ้าแต่ละผืนจึงมี
ลวดลายทแี่ ตกตา่ งกันไม่เคยซ้ากัน ซ่งึ กลายเปน็ ผ้าทีม่ เี พยี งช้ินเดยี วในโลก

ผ้าปักด้วยมือ มีเป็นงานฝีมือเพ่ือใช้แต่งเสื้อผ้าในงานเทศกาลส้าคัญต่าง ๆ วิถีชีวิตของชุมชนจะมี
การปักผ้าด้วยมือ เพ่ือเป็นการอนุรักษ์ภูมิปัญญางานฝีมือไว้ และก่อให้เกิดรายได้ จึงมีการรวมตัวกัน
ต้ังเป็นกลุ่มผ้าปกั ดว้ ยมอื ข้ึน

๓.๒) ขัน้ ตอน/วิธีการ/ดาเนินการเกย่ี วกบั ข้อมูล
ผ้าปักมือของกลุ่มผ้าปักบ้านสันทางหลวง มีลักษณะเด่นที่เป็นเอกลักษณ์คือการปักตามจินตนาการ
ของผู้ปักที่พบเห็นได้จากธรรมชาติ และสิ่งท่ีอยู่รอบตัว ปักออกมาเป็นลวดลายต่างๆ เช่น ลายทุ่งนา ลายเม็ดข้าว
ลายหอยเชอร่ี ลายภูเขา ลายต้นไม้ใบหญ้า ลายดอกไม้ ลายใบไม้ ผ้าปักมือแต่ละช้ินส่วนใหญ่เน้นสีสันที่สดใส

เช่น สีชมพู สีฟ้า สีแดง สีม่วง สีเหลือง สีเขียว สีน้าเงิน สีน้าตาล การปักไม่มีรูปแบบหรือมาตรฐานตายตัวถือ
เปน็ เอกลักษณ์และอัตลักษณข์ องงานผ้าปักมือ
วสั ดุอุปกรณก์ ารทาผา้ ปักมือ

1. ผา้ ปักคอสตสิ ตาละเอียด (สดี า้ หรอื สีขาว) 2. เข็ม 3. ดา้ ย
4. ปากกาเขยี นกระจก 5. กรรไกร
วิธกี ำรทำผ้ำปักมอื
1. ตดั ผา้ ครอสตสิ ตาละเอียดให้ไดข้ นาดตามที่ตอ้ งการ

2. ใช้ปากกาเขียนกระจกวาดแบบลงบนผา้ ครอสติส
3. เลอื กด้ายตามสที ตี่ ้องการ
4. ปกั ตามรอยท่ีวาดไว้บนผ้าครอสติส ตามจินตนาการ
5. น้าผา้ ทป่ี กั ไดไ้ ปตดั เย็บลงบน กระเปา๋ เส้ือ กางเกง เป็นตน้

-447-

๔. ช่ือผู้ท่ีถอื ปฏิบตั แิ ละผ้สู บื ทอด
๔.๑ ผทู้ ี่ถอื ปฏิบัติ
ชื่อ นางสงั เวยี น ปรารมภ์
วนั เดือน ปีเกิด -
ทีอ่ ยู่ ๑๑๓ หมู่ ๑๒ ตา้ บลจันจว้าใต้ อ้าเภอแม่จัน จงั หวดั เชียงราย
หมายเลขโทรศัพท์ 086 922 5679
๔.๒ ผู้สบื ทอด
ชือ่ นางสาวสุนนั ต์ มหันต์
วนั เดือน ปเี กิด -
ทอ่ี ยู่ 113 หมู่ 12 ต้าบลแมจ่ นั จวา้ ใต้ อา้ เภอแมจ่ ัน จังหวดั เชียงราย
หมายเลขโทรศัพท์ 061 791 1077

๕. สถานะ การคงอยู่  ปฏบิ ัตอิ ย่างแพรห่ ลาย  เสี่ยงตอ่ การสูญหาย  ไม่มปี ฏิบัติแล้ว

๖. รูปภาพภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม/กจิ กรรมทางภูมิปัญญาทางวฒั นธรรม

-448-

แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ญั ญำทำงวฒั นธรรมจังหวดั เชยี งรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวฒั นธรรมจังหวดั เชยี งรำย
อำเภอแม่จัน จังหวดั เชยี งรำย

๑. ช่ือข้อมูล ผ้าปักมอื ลายเชียงแสนหงสด์ ้า

๒. ลกั ษณะ  วรรณกรรมพืน้ บา้ นและภาษา
 ศิลปะการแสดง
 แนวปฏบิ ตั ิทางสงั คมพิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรแู้ ละการปฏบิ ตั เิ กี่ยวกับธรรมชาติและจกั รวาล
 งานช่างฝมี อื ด้ังเดิม
 การละเล่นพนื้ บ้าน กีฬาพนื้ บ้าน และศลิ ปะการตอ่ สู่ป้องกันตวั

๓. รำยละเอยี ดขอ้ มลู

๓.๑) ประวัติความเป็นมาของขอ้ มูล
กลมุ่ ผา้ ปกั ดว้ ยมือ จัดตงั้ ขน้ึ เม่ือปี พ.ศ. 2543 โดยนางนธิ ี สุธรรมรกั ษ์ ซง่ึ เปน็ ผู้หนึง่ ที่มีความสนใจการ
ปักผ้า และได้เรยี นรกู้ ารปักผ้าจากมารดามาตงั้ แต่เด็ก เดิมการปักผ้าเพื่อใช้เองและจ้าหน่ายบ้างบางสว่ น แตย่ ัง
ไม่มีการพัฒนารูปแบบ และลวดลายที่เป็นท่ีต้องการของตลาดมากนัก ประกอบกับมีผู้สนใจผ้าปักมากขึ้น
ลวดลายและสีสันไม่หลากหลาย ไม่มีการวางแผนการตลาด ต่างคนต่างท้าต่างคนต่างขาย จึงจ้าหน่ายได้ใน
ราคาถูก ต่อมาจึงได้มีแนวคิดท่ีจะรวมกลุ่มกันขึ้น น้าโดยนางนิธี สุธรรมรักษ์ มีการสอนกลุ่มท่ีสนใจในการ
ปักผ้าด้วยมือ การลงสีสัน และการผสมผสานลายปัก ท้าให้เป็นท่ีต้องการของผู้ซ้ือมากยิ่งขึ้น การประยุกต์
ลายปักด้วยมือ มีวัตถุประสงค์เพ่ือเป็นการอนุรักษ์งานฝีมือ และมรดกภูมิปัญญาท้องถ่ิน เป็นการสร้างงาน
สร้างอาชีพสร้างรายได้ให้กับกลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มพัฒนาสตรี และกลุ่มเด็กและเยาวชนที่อยากมีอาชีพเสริม
ปัจจุบันผ้าปักด้วยมือยังเป็นที่นิยมของชาวไทยและชาวต่างประเทศ และแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ทางวัฒนธรรม
ได้อย่างหลากหลาย
จังหวัดเชียงรายได้มีประกาศการใช้ลายผ้า “เชียงแสนหงส์ด้า” เป็นลายผ้าอัตลักษณ์ประจ้าจังหวัด
เชยี งราย นางนิธี สธุ รรมรกั ษ์ จงึ ได้ริเรม่ิ ปกั ลวดลายเชียงแสนหงส์ดา้ เป็นต้นแบบใหก้ ับชาวบ้าน

๓.๒) ขน้ั ตอน/วธิ กี าร/ดา้ เนินการเก่ียวกับขอ้ มูล
วัสดอุ ุปกรณ์กำรทำผ้ำปักมือ
1. ผา้ ปกั คอสติสตาละเอยี ด (สดี ้าหรือสขี าว)
2. เข็ม
3. ดา้ ย
๔. กรรไกร
วิธกี ำรทำผ้ำปกั มือ
1. ตดั ผา้ ครอสตสิ ตาละเอยี ดให้ได้ขนาดตามท่ตี ้องการ
๒. เลอื กด้ายตามสที ี่ต้องการ
๓. ปกั ตามรอยทีว่ าดไวบ้ นผ้าครอสตสิ (ตามผ้าต้นแบบ)

-449-

๔. ช่ือผ้ทู ่ีถือปฏิบัตแิ ละผู้สืบทอด

๔.๑ ผทู้ ถ่ี ือปฏิบัติ

ชือ่ นางนธิ ี สุธรรมรักษ์

วนั เดือน ปเี กดิ -

ท่อี ยู่ -

หมายเลขโทรศัพท์ ๐๖๓ ๒๖๕ ๒๙๖๖

๔.๒ ผู้สืบทอด

ช่ือ กลมุ่ พฒั นาสตรตี ้าบลแมไ่ ร่

วัน เดอื น ปีเกิด -

ทีอ่ ยู่ -

หมายเลขโทรศัพท์ -

๕. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏบิ ัตอิ ย่างแพร่หลาย  เสยี่ งตอ่ การสูญหาย  ไมม่ ีปฏบิ ัติแลว้

๖. รปู ภำพภมู ิปญั ญำทำงวัฒนธรรม/กจิ กรรมทำงภูมิปัญญำทำงวัฒนธรรม

-450-

แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ัญญำทำงวัฒนธรรมจงั หวดั เชียงรำย ประจำปี 2565
สภำวฒั นธรรมจังหวัดเชยี งรำย
อำเภอดอยหลวง จงั หวดั เชียงรำย

1. ช่ือข้อมูล ผ้าพ้นื เมือง บ้านปงน้อยใต้

๒. ลกั ษณะ  วรรณกรรมพ้นื บา้ นและภาษา
 ศลิ ปะการแสดง
 แนวปฏบิ ัติทางสงั คมพิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรู้และการปฏิบตั เิ ก่ียวกบั ธรรมชาตแิ ละจกั รวาล
 งานช่างฝมี อื ดั้งเดมิ
 การละเล่นพ้ืนบ้าน กีฬาพ้ืนบ้าน และศิลปะการตอ่ สูป่ ้องกนั ตัว

๓. รำยละเอยี ดข้อมูล

3.1) ประวตั คิ วามเปน็ มาของข้อมูล
กลุ่มทอผ้าพ้ืนเมือง บ้านปงน้อยใต้ หมู่ 10 ต้าบลปงน้อย อ้าเภอดอยหลวง จังหวัดเชียงราย

ก่อต้ังข้ึนเม่ือปี พ.ศ. 2536 โดยเป็นการจัดตั้งกลุ่มเพื่อส่งเสริมอาชีพให้กับกลุ่มสตรี ได้รับการสนับสุนนจาก
ศูนย์การเรียนรู้ชุมชน ต้าบลปงน้อย และได้ใช้เวลาว่างหลังการเก็บเก่ียวหรือหลังเสร็จสิ้นฤดูกาลท้านา
และองค์การบริหารส่วนต้าบลปงน้อย อ้าเภอดอยหลวง จังหวัดเชียงราย ได้ต้ังงบประมาณ ประจ้าปี 2565
เพ่ือส่งเสริมกลุ่มอาชีพต่าง ๆ ในต้าบลปงน้อย เนื่องจากกลุ่มอาชีพต่าง ๆ มีบทบาทส้าคัญในการส่งเสริมและ
สนบั สนนุ การดา้ เนนิ กิจกรรมพัฒนากลมุ่ อาชพี ให้มีรายได้เพม่ิ ข้ึน มคี วามเข้มแข็ง เป็นก้าลงั สา้ คญั ในการพฒั นา
ทอ้ งถน่ิ

3.2) ขน้ั ตอน/วิธกี าร/ด้าเนินการเกยี่ วกบั ข้อมลู

1. สบื เส้นด้ายยืนเข้ากับแกนม้วนด้ายยืน และร้อยปลายด้ายแต่ละเส้นเข้าในตะกอแตล่ ะชุดและ
ฟันหวี ดงึ ปลายเส้นด้ายยนื ทัง้ หมดมว้ นเข้ากบั แกนมว้ นผ้าอีกดา้ นหนึ่ง ปรับความตึงหย่อนให้พอเหมาะกรอด้าย
เข้ากระสวยเพอื่ ใช้เป็นดา้ ยพ่งุ

2. เริ่มการทอโดยกดเครื่องแยกหมู่ตะกอ เส้นด้ายยืนชุดที่ 1 จะถูกแยก ออกและเกิดช่องว่าง
สอดกระสวยดา้ ยพุ่งผ่าน สลบั ตะกอชุดท่ี 1 ยกตะกอชดุ ที่ 2 สอดกระสวยด้ายพงุ่ กลับ ทา้ สลับกันไปเร่ือย ๆ

3. การกระทบฟันหวี (ฟืม) เมื่อสอดกระสวยด้ายพุ่งกลับก็จะกระทบฟันหวี เพ่ือให้ด้ายพุ่งแนบ
ตดิ กัน ไดเ้ นือ้ ผ้าที่แน่นหนา

4. การเก็บหรือม้วนผ้า เมื่อทอผ้าได้พอประมาณแล้วก็จะม้วนเก็บในแกนม้วนผ้า โดยผ่อนแกน
ดา้ ยยืนให้คลายออกและปรบั ความตงึ หยอ่ นใหํมใ่ ห้พอเหมาะ

4. ช่ือผู้ที่ถอื ปฏิบัตแิ ละผูส้ บื ทอด นางลา้ ยอง รักบ้าน
4.1 ผถู้ ือปฏิบัติ 21 กรกฎาคม 2501
ชอื่ 118/2 หมู่ 10 ต้าบลปงน้อย อ้าเภอดอยหลวง จังหวัดเชียงราย
วนั เดอื น ปเี กิด 080 828 1934
ทอ่ี ยู่
หมายเลขโทรศัพท์

-451-

4.2 ผู้สืบทอด นางกานดา ปงลงั กา
ช่ือ 2 มถิ ุนายน 2502
วัน เดือน ปเี กิด 116 หมู่ 10 ตา้ บลปงน้อย อ้าเภอดอยหลวง จังหวดั เชยี งราย
ที่อยู่ 085 052 1627
หมายเลขโทรศพั ท์

๖. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏิบตั ิอย่างแพรห่ ลาย  เสีย่ งต่อการสูญหาย  ไม่มปี ฏิบัติแล้ว

๗. รูปภำพภูมปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม/กจิ กรรมทำงภมู ปิ ญั ญำทำงวฒั นธรรม

-452-

แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ัญญำทำงวัฒนธรรมจงั หวดั เชยี งรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวัฒนธรรมจงั หวดั เชยี งรำย

อำเภอเวยี งเชยี งรุ้ง จงั หวดั เชียงรำย

1. ช่ือข้อมลู ผ้าไหมทอมือ บา้ นหว้ ยเคยี น

๒. ลักษณะ  วรรณกรรมพ้ืนบ้านและภาษา
 ศลิ ปะการแสดง
 แนวปฏิบัตทิ างสังคมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรู้และการปฏิบตั เิ กยี่ วกับธรรมชาติและจักรวาล
 งานช่างฝมี ือดั้งเดิม
 การละเลน่ พน้ื บ้าน กีฬาพนื้ บา้ น และศิลปะการต่อสูป่ ้องกนั ตวั

3. รำยละเอียดขอ้ มูล
ผลิตภัณฑข์ องกล่มุ ทอผา้ ไหมทอมือ มีลกั ษณะเดน่ เปน็ งานหัตถกรรม ผ้าไหมแท้ทอมอื ท่มี รี ปู แบบ

สวยงาม เป็นภูมิปัญญาท่ีสืบทอดกันมาจากรุ่นสู่รุ่น ซ่ึงมีการปลูกหม่อน เลี้ยงไหม จนเกิดเป็นผ้าทอท่ีได้รับ
ความนิยมจากลูกคา้ ซง่ึ ได้พฒั นามาเร่ือย ๆ เป็นผลติ ภณั ฑ์ทหี่ ลากหลาย ไดแ้ ก่ ผา้ สามตะกรอ สต่ี ะกรอ ผ้าสาย
ฝน และผ้าขดิ เป็นตน้ เปน็ ผลิตภณั ฑ์ผ้าไหมแทท้ อมือ มีทั้งผา้ ไหมทเ่ี ป็นผืนเพ่ือใช้สา้ หรับตัดเย็บเส้ือผ้า รวมท้ัง
ผลิตภัณฑ์แปรรูปจากผ้าไหมทอมืออีกมากมาย ทั้งผ้าเมตร ผ้าคลุมไหล่ ผ้าพันคอ มีท้ังลายสมัยใหม่ และลาย
ด้ังเดิม มีการประยุกต์ลายขนานเพ่ือสนองต่อคู่แข่ง มีแหล่งจ้าหน่ายผลิตภัณฑ์ โดยการส่งให้กับพ่อค้าคนกลาง
และกลุ่มเครือข่ายสินค้า OTOP ท้ังนอก-ใน ท้องถิ่น ตลอดจนมีการสร้างสรรค์ในการท้าผ้าไหมมัดหม่ีซึ่งเป็น
ศิลปะการทอผ้า ที่ใช้กรรมวิธีในการย้อมสีที่เรียกว่าการมัดย้อม (tie dye) เพ่ือท้าให้ผ้าท่ีทอเกิดเป็นลวดลาย
สีสันต่าง ๆ มีเอกลักษณ์อันโดดเด่นอยู่ตรงท่ีรอยซึมของสีที่วิ่งไปตามบริเวณของลวดลายที่ผูกมัด และการ
เหลื่อมล้าในต้าแหน่งตา่ ง ๆ ของเส้นดา้ ยเมอื่ ถูกนา้ ไปข้นึ ก่ที อผา้

๓.๑) ประวัติความเปน็ มาของขอ้ มลู
การจัดตง้ั กลุ่มทอผ้าไหมบ้านห้วยเคียน หมู่ ๕ ตา้ บลทุ่งก่อ อ.เวยี งเชียงรงุ้ เรมิ่ จาก นางสมยั มูลสานต์
เป็นประธานกลุ่ม ประกอบอาชีพการเกษตร ท้าไร่ ท้านา ต่อมาประมาณปี พ.ศ.๒๕๓๕ มีการส่งเสริมให้มี
การปลูกหม่อนเลี้ยงไหมเพ่ือเป็นอาชีพเสริม หลังจากการท้าไร่ ท้านา จึงได้ชักชวนให้แม่บ้านท่ีท้าการทอผ้า
มาร่วมกันจัดต้ังกลุ่ม โดยน้าผ้าทอในแต่ละคนทอมารวมกันจ้าหน่าย ผลจากการรวมตัวกันเป็นกลุ่มท้าให้มี
อ้านาจในการตั้งราคา สามารถขายในราคาที่สูงขึ้นจากน้ันกลุ่มรวมตัวกันมีสมาชิก ๒๔ คน จึงได้จัดต้ัง
กลุ่มข้ึนมาอย่างเป็นทางการ และ มีการจดทะเบียนกลุ่ม โดยส้านักพัฒนาชุมชน อ้าเภอเวียงเชียงรุ้ง ได้เข้ามา
แนะน้าให้ไปออกร้านจ้าหน่ายสินค้าตามงานต่าง ๆ และเมื่อมีการออกร้านจ้าหน่ายสินค้าท้าให้กลุ่มขายสินค้า
ไดร้ าคาดี มีกา้ ไรมากขน้ึ รวมถึง การได้รับลูกคา้ รายใหมเ่ พ่ิมข้ึนอกี ด้วย
หลังจากน้ัน ส้านักพัฒนาชุมชน ได้เข้ามาแนะน้าให้กลุ่มน้าผลิตภัณฑ์ส่งเข้าประกวดคัดสรรสุดยอด
ผลติ ภัณฑ์ หนึ่งต้าบลหน่งึ ผลติ ภัณฑ์ (OTOP) โดยในปี พ.ศ. ๒๕๔๗ ผา้ ทอของกล่มุ ได้รับรางวลั หน่ึงต้าบลหนึ่ง
ผลิตภัณฑ์ (OTOP) สองดาวระดับประเทศ และในปี พ.ศ. ๒๕๔๙ ผ้าทอของกลุ่มได้รับรางวัลหน่ึงต้าบล
หน่งึ ผลติ ภัณฑ์ (OTOP) สี่ดาวระดบั ประเทศและนับจากนั้นกลุ่มก็เป็นท่รี ู้จักของบุคคลภายนอกมายิง่ ขึ้น กลมุ่ มี
การพัฒนาการผลิตและคุณภาพสินค้าอย่างต่อเนื่องท้าให้เป็นที่สนใจแก่คนในชุมชนและมีสมาชิกเพ่ิมขึ้น
ประกอบไปด้วยผู้ที่มีความช้านาญในด้านการทอผ้าผู้ที่ปลูกหม่อนเล้ียงไหม เนื่องจากหมู่บ้านห้วยเคียน
ส่วนใหญ่เปน็ ชมุ ชนชาวอสี าน โดยคนอสี านถือว่าการทอผ้าเป็นกจิ กรรมยามว่าง หลังจากฤดูการทา้ นา หรอื ว่าง
จากงานประจ้าอน่ื ๆ โดยใต้ถนุ บา้ นแตล่ ะหลังจะกางหกู ทอผ้ากนั แทบทุกครัวเรอื น

-453-

โดยผู้หญิงในวัยต่าง ๆ จะสืบทอดกันมา ผ่านการจดจ้าและปฏิบัติ จากวัยเด็กท้ังลวดลายสีสันการ
ยอ้ ม และการทอผา้ ทท่ี อดว้ ยมือจะน้าไปใช้ตัดเย็บ ทา้ เปน็ เคร่ืองนุ่งห่ม หมอน ทน่ี อน ผ้าห่ม และการทอผ้ายัง
เป็นการเตรียมผ้าส้าหรับการออกเรือนส้าหรับหญิงวัยสาว ทั้งการเตรียมส้าหรับตนเองและเจ้าบ่าว อีกทั้งยัง
เปน็ การแสดงถงึ ความเป็นกุลสตรี เปน็ แม่เหย้า แม่เรือนของหญงิ ชาวอีสานอกี ดว้ ย

๓.๒) ขน้ั ตอน/วิธกี าร/ด้าเนินการเกยี่ วกับข้อมลู
วสั ดอุ ุปกรณแ์ ละอุปกรณ์
๑) ใบหม่อนเลี้ยงใหม่ เป็นอาหารของหนอนไหมท่ีเลี้ยง เพราะหนอนไหมกินอาหารเพียงอย่างเดียว
คอื ใบหมอ่ นเท่าน้ัน
๒) ตัวหนอนไหม เส้นใยที่น้าออกมาทอเป็นผ้าไหมนั้นได้มาจากใยท่ีห่อหุ้มดักแด้ท่ีเรียกว่า “รังไหม”
ซงึ่ ไดม้ าจากหนอนไหม
3) จอ่ : เม่ือตวั หนอนไหมทีส่ กุ เต็มทีจ่ ะถูกเกบ็ รักษาเขา้ “จ่อ” เพอ่ื ชักใยทา้ รงั เปน็ ”รังไหม”
4) หูกทอผ้า : หรือ ก่ี เป็นเคร่ืองมือส้าหรบั ทอผ้า มีหลายขนาดและชนดิ แต่มีหลักการพ้ืนฐานอย่าง
เดยี วกนั คือ การขดั ประสานระหวา่ งดา้ ยเส้นพุ่ง และ ดา้ ยเส้นยนื
5) สี : เปน็ วตั ถุดิบท่ใี ช้ในกระบวนการย้อมสีเสน้ ไหมให้เป็นสตี า่ ง ๆ ตามความต้องการ
6) ดา่ งลอกกาวไหม : เปน็ วตั ถดุ บิ ที่ใชใ้ นกระบวนการลอกกาวไหมออกจากเนื้อไหมและท้าใหเ้ สน้ ไหมนุม่
7) สเี คลือบ : ใชใ้ นการเคลือบสีเสน้ ไหมทีผ่ ่านการย้อมสแี ลว้ ซึ่งท้าใหส้ ีติดทนทานและมีความวาว สวยงาม
8) เหลง่ : ใชส้ า้ หรับจดั เรียงเส้นไหมออกจากกระบุง หรอื ตะกร้า
9) กง และอั้ก : ท้าหน้าท่ีใช้ส้าหรับใส่ใจเสน้ ไหม ส่วนอก้ั ใชส้ า้ หรบั กวักเส้นหมีอ่ อกจากกง
10) ท่ีสาวไหมเสน้ ยืน : ใช้ส้าหรับสาวไหมเสน้ ยนื
11) ที่เขน็ ไหม : ใช้โดยการเอาปลายมว้ นไหมจ่อไว้ที่ไน ส่วนมืออกี ขา้ งจบั ท่ีหมนุ ใหว้ งล้อหมุนส่วนไนก็
จะหมนุ ตาม
12) หลักเฝือ : ใช้ในการคน้ ดา้ ยเสน้ ยนื หลักเฝอื ทา้ จากไม้ หรอื เหล็ก
13) ฟันหวี และตะกรอ : ฟันหวี มีลักษณะคล้ายหวี ยาวเท่ากับความกว้างของหน้าผ้า ท้าด้วยโลหะ
มีลักษณะเป็นซี่เล็ก ๆ มีกรอบท้าด้วยไม้หรือโลหะ ส่วนตะกอ คือเชือกท้าด้วยด้ายไนลอนที่ร้อยคล้องไหมยืน
เพือ่ แยกเสน้ ไหมเปน็ หมวดหมู่ตามทตี่ อ้ งการ ใชส้ ้าหรบั แยกเสน้ ดา้ ยใหข้ นึ้ เพอื่ เปดิ ใหจ้ ังหวะของเส้นด้ายพ่งุ สอดขัดกนั
14) หลอดด้าย และกระสวย : หลอดด้ายมีลักษณะรูปร่างเป็นกลม เรียวยาว มีรูกลวงตรงกลาง
ส้าหรับสอดไม้ขอหลอด เพ่ือสอดรูหลอดด้ายให้อยู่ในรางกระสวย ส่วน กระสวย ท้าด้วยไม้ ปลายสองด้านมน
ตรงกลางกลวง สา้ หรบั บรรจหุ ลอดด้ายพ่งุ มีนา้ หนกั และขนาดเหมาะมือ ใชพ้ ุง่ ไปมาระหว่างการยกเสน้ ด้ายยืน
ขึ้นลง
๑5) ฮงโวน้ หม่ี : มลี กั ษณะเป็นกรอบไม้รูปส่ีเหลี่ยมผืนผ้า เป็นอปุ กรณ์สา้ หรับ จัดเรียงเส้นไหมหลบไป
หลบมาให้เปน็ ลา้ ตามล้าดับ
16) ฮงมัดหมี่ : เป็นอุปกรณ์ส้าหรับน้าเส้นไหมท่ีเว้นเตรียมไว้มาใส่เพ่ือเตรียมจะท้าการมัดหมี่ให้
เปน็ ไปตามลวดหลายที่จะท้า
17) ก่ีทอผ้าหรอื หูกทอผ้า : เป็นอปุ กรณ์ใช้สา้ หรบั ทอผา้
ขัน้ ตอนกำรผลติ ผ้ำและผลิตภณั ฑจ์ ำกผำ้
๑) กำรเล้ียงไหม เส้นใยที่น้าออกมาทอเป็นผา้ ไหมนน้ั ได้มาจากใยที่ห่อหุ้มดักแด้ท่เี รียกว่า “รังไหม”
ซึ่งรังไหมนี้ก็คือช่วงชีวิตหน่ึงของผีเส้ือ ผีเส้ือไหมตัวผีเส้ือจะมีปี ๒ ปี สีขาวปนเทาไม่มีปากแต่มีรอยเหมือน
ปากผีเสื้อตัวเมียมขี นาดใหญ่กว่าตวั ผู้ บินไกลไมไ่ ด้ ลกั ษณะการบินเหมือนการกระโดดไกล ๆ อายุของผีเสือ้ ไหม
มีช่วงเวลาทีส่ ้นั มากภายหลังการผสมพันธแุ์ ละออกไข่แล้วผีเส้ือไหมจะตาย

-454-

2) ตัวหนอนไหม ตวั หนอนระยะท่ีหนง่ึ ไขไ่ หมจะฟักออกมาเป็นตัวหนอนเล็กๆ กนิ ใบหมอนห่ันฝอย
ละเอียดอยู่ประมาณ ๓ – ๔ วัน จากน้ันจะลอกคราบเพื่อให้ล้าตัวยาวโตขึ้น หลังจากการลอกคราบแล้วตัว
หนอนไหมจะนอนเหยียดตรง น่ิง ไม่กินอาหารเป็นเวลา ๑ วัน ๑ คืน เรียกว่า “ไหมนอน” เม่ือครบก้าหนดจึง
กินอาหารต่อเปน็ หนอนระยะที่สอง ประมาณ ๒ – ๓ วนั แลว้ ลอกคราบอกี ครัง้ จากนัน้ จะนอนต่อ ๑ วัน ๑ คนื
เมื่อต่ืนมาก็จะเป็นหนอนระยะที่สาม ตัวหนอนระยะท่ี ๓ จะสามารถกินใบหม่อนทั้งใบ ไม่ต้องหั่นฝอยระยะนี้ใช้
เวลา ๓ – ๔ วันหลังจากนัน้ จะลอกคราบนอน ๑ วนั ๑ คืน แลว้ จะเขา้ สรู่ ะยะทีส่ ่ี

ตัวหนอนระยะที่สี่ จะกินอาหารจ้านวนมาก โตเร็วใช้เวลาประมาณ ๓ – ๔ แล้วจะลอกคราบคร้ัง
สุดท้ายเพือ่ เขา้ สรู่ ะยะที่หา้ ซ่งึ เป็นระยะสดุ ท้ายใช้เวลาประมาณ ๗ – ๘ วัน เป็นระยะที่หนอนไหมกินใบหม่อน
มากเมอื่ โตเตม็ ที่แลว้ จะมีตอ่ มไหมเกดิ ข้ึนภายในตวั ไหม ทา้ ใหต้ วั หนอนไหมมสี ีเหลืองเรียกว่า “ไหมสกุ ” ตวั ไหมสุก
จะมีล้าตัวสั้นและเล็กลงเล็กน้อย ตัวโตใสและหยุดกินใบหมอนเริ่มชูหัวส่ายหาที่ท้ารัง ตัวหนอนไหมที่สุกเต็มที่
จะถูกเก็บรกั ษาเขา้ “จ่อ” เพอื่ ชกั ใยทา้ รังเปน็ ”รงั ไหม” ท่เี รานา้ มาสาวเสน้ ใย น้าไปทอเปน็ ผา้ ไหมนั่นเอง

3) การสาวเสน้ ไหม
3.๑) ต้มน้าให้ร้อนประมาณ ๗๐ – ๘๐ องศาเซลเซียน แล้วใส่ รังไหมลงไปประมาณ ๔๐ – ๕๐

รังเพ่ือใหค้ วามร้อนจากนา้ ช่วยละลาย Serricin (โปรตนี ) ทีย่ ึดเสน้ ไหม
3.2) ใช้ไมพ่ ายเลก็ แกว่งตรงกลางเปน็ แฉกคนรังไหมกดรงั ไหมใหจ้ มน้าเสยี ก่อน
3.3) เมือ่ รงั ไหมลอยข้ึนจึงค่อย ๆตะลอ่ มให้รวมกนั แล้วต่อยๆดงึ เส้นใยไหมออกมา จะได้เสน้ ใยไหม

ซึง่ มีขนาดเล็กมากรวมเส้นใยไหมหลายๆ เสน้ รวมกนั
3.4) ดึงเส้นไหม โดยให้เส้นไหมลอดออกมาตามแฉกไม้ ซ่ึงจะท้าให้ได้เส้นไหมท่ีสม้่าเสมอและรัง

ไหมไม่ไต่ตามมากับเส้นไหม เส้นไหมที่สาวได้ จะผ่านไม้หีบขึ้นไปร้อยกันรอกที่แขวนหรือ พวงสาวที่ยึดติดกับ
ปากหมอ้ แลว้ ดึงเส้นไหมใส่กระบงุ

3.5) คอยเตมิ รังไหมใหม่ลงไปในหมอ้ ตม้ เปน็ ระยะ ๆ
3.6) รงั ไหมจะถกู สาวจนหมดรังเหลอื ดักแด้จมลงกน้ หม้อแลว้ จงึ ตักดักแด้ออก
4) การทอผา้ ขน้ั ตอนในการทอผา้ มดี งั นี้
4.๑) สบื เส้นดา้ ยยืนเขา้ กับแกนมว้ นด้ายยืน และรอ้ ยปลายดา้ ยแต่ละเส้นเข้าในตะกอแต่ละชุดและ
ฟันหวี ดึงปลายเส้นด้ายยืนท้ังหมดม้วนเข้ากับแกนม้วนผ้าอีกด้านหนึ่ง ปรับความตึงหย่อนให้พอเหมาะ กรอ
ด้ายเข้ากระสวยเพอ่ื ใชเ้ ป็นดา้ ยพงุ่
4.๒) เร่ิมการทอโดยกดเคร่ืองแยกหมู่ตะกอ เส้นด้ายยืนชุดที่ ๑ จะถูกแยก ออกและเกิดช่องว่าง
สอดกระสวยด้ายพงุ่ ผา่ น สลับตะกอชดุ ท่ี 1 ยกตะกอชดุ ที่ 2 สอดกระสวยดา้ ยพงุ่ กลบั ท้าสลับกนั ไปเรอ่ื ย ๆ
4.3) การกระทบฟันหวี (ฟืม) เม่ือสอดกระสวยด้ายพุ่งกลับก็จะกระทบ ฟันหวี เพื่อให้ด้ายพุ่งแนบ
ตดิ กัน ไดเ้ น้ือผา้ ทแ่ี น่นหนา
4.4) การเก็บหรือม้วนผ้า เมื่อทอผ้าได้พอประมาณแล้วก็จะม้วนเก็บใน แกนม้วนผ้า โดยผ่อนแกน
ดา้ ยยืนให้คลายออกและปรบั ความตงึ หยอ่ นใหม่ให้พอเหมาะ
เทคนคิ พเิ ศษที่ใชใ้ นการทอผา้
การขิด ขิด หมายถึง กรรมวิธีในการทอผ้าเพื่อให้เกิดลวดลายต่าง ๆ ข้ึนมา โดยวิธีการเพ่ิมเส้นด้ายพุง่
พิเศษในระหว่างการ ทอ เพ่ือให้เกิดลวดลายที่โดดเด่นกว่าสีพื้น วิธีการท้าคือ ใช้ไม้เขี่ยหรือสะกิด เพื่อช้อน
เส้นด้ายยืนข้ึน แล้วสอดเส้นด้ายพุ่ง ไปตามแนวท่ีถูกจัดช้อน จังหวะการสอดเส้นด้ายพุ่งนี่เอง ท่ีท้าให้เกิดเป็น
ลวดลายตา่ ง ๆ
การจก เป็นเทคนิคการทอผ้าเพื่อใหเ้ กดิ ลวดลายต่าง ๆ โดยเพม่ิ เส้นด้ายพุ่งพเิ ศษสอดขึ้นลง วิธีการคือ
ใช้ขนเม่น ไม้ หรือน้ิว สอดเส้นด้ายยืนข้ึน แล้วสอดเส้นด้ายพุ่งพิเศษเข้าไป ซึ่งจะท้าให้เกิดเป็นลวดลายเป็นช่วง ๆ
สามารถท้าสลับสีลวดลายได้หลากสี ซ่ึงจะแตกต่างจากการขิดตรงท่ีขิดท่ีเป็นการใช้เส้นด้ายพุ่งพิเศษเพียง
สเี ดียว การทอผา้ วิธจี กใช้เวลานานมากมกั ท้า เปน็ ผืนผ้าหนา้ แคบใชต้ อ่ กบั ตัวซ่นิ เรียกว่า “ซิ่นตีนจก”

-455-

การทอมัดหมี่ ผ้ามัดหม่ีมีกรรมวิธีการทอผ้าท่ีใช้เทคนิคการมัดและการย้อม เริ่มจากน้าเส้นด้ายหรือ
ไหมมาย้อมสีแล้วมัดบริเวณที่ ต้องการเก็บไว้ เม่ือน้าไปย้อมสีอื่นจะได้ไม่ติดสี เพียงซึมเข้ามาบางส่วน โดยย้อม
เรียงล้าดับจากสีอ่อนไปหาสีเข้มจนครบ ตามลวดลายที่ก้าหนด หลังจากนั้นจึงน้าด้ายกรอเข้าหลอดตามล้าดับ
แล้วน้าไปทอจะเกิดลวดลายบนผืนผ้าที่มีลักษณะคลาดเคลื่อนเหลื่อมล้า อันเป็นเอกลักษณ์เฉพาะของมัดหมี่
การทอผ้าชนิดนี้จึงต้องอาศัยความช้านาญในการมัดย้อมและทอเป็นอย่างมาก ผ้ามัดหมี่มีอยู่หลายชนิด ได้แก่
มดั หมเ่ี สน้ พุ่ง มดั หม่เี สน้ ยืน มดั หมเี่ ส้นพุ่งและเสน้ ยนื

4. ผทู้ ีถ่ อื ปฏบิ ัติและผู้สืบทอด นางสาวหทยั รตั น์ มลู สานต์
๔.๑ ผู้ทีถ่ อื ปฏบิ ัติ -
ชอื่
วัน เดอื น ปเี กิด 216 หมู่ 5 ต้าบลทุ่งกอ่ อ้าเภอเวยี งเชยี งรงุ้ จังหวดั เชยี งราย
ทีอ่ ยู่ ๐๘๙ ๘๕๑ ๖๖๗๘
หมายเลขโทรศัพท์ ชนมช์ ญาณ์ มลู สานต์
Facebook Hathairat moonsan
Line กลุ่มทอผา้ ไหมบ้านหว้ ยเคียน
๔.๒ ผสู้ ืบทอด
ชอ่ื -
วนั เดือน ปีเกดิ 216 หมู่ 5 ต้าบลทุ่งกอ่ อ้าเภอเวยี งเชียงร้งุ จังหวัดเชยี งราย
ทีอ่ ยู่ ๐๘๙ ๘๕๑ ๖๖๗๘
หมายเลขโทรศัพท์

๕. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏบิ ัติอยา่ งแพรห่ ลาย  เสยี่ งตอ่ การสูญหาย  ไมม่ ปี ฏิบตั ิแล้ว

๖. รูปภำพภมู ปิ ญั ญำทำงวัฒนธรรม/กิจกรรมทำงภูมิปัญญำทำงวฒั นธรรม

ภำพของ ตน้ หมอ่ น
สว่ นประกอบ

หนอนไหม

เสน้ ไหมที่ได้จากกรรมวธิ กี ารสาวไหม

ภำพของ -456-
สว่ นประกอบ หกู ทอผ้าหรือก่ที อผา้
ฟันหวแี ละตะกรอ

ฮงโวน้ หมี่
ฮงมดั หม่ี

การสบื ทอดทอผา้ จากร่นุ สู่รุ่น
ผ้ำคลุมไหล่ , ผำ้ ทอเป็นผืน สำหรบั ตดั เยบ็ เส้ือผำ้

ผำ้ คลุมไหล่ได้รับเคร่อื งหมำยรับรองมำตรฐำนผลติ ภณั ฑผ์ ำ้ ไหมไทยชนดิ Royal Thai Silk นกยูงสีทอง
ผ้ำถุง หรอื ผ้ำซ่นิ ไหมลวดลำย โบรำณ

-457-

ลำยหมำกจบั เลก็ ลำยฟันปลำ ลำยโบรำณ (ไมม่ ชี ื่อลำย)

ลำยขิตชำ้ ง ผำ้ ไหมทอ ลำยโบรำณ (ไมม่ ีช่ือลำย)

ลำยหมำกจับเล็ก เป็นลายโบราณดงั้ เดิมทเี่ กิดข้ึนจากตน้ พืช (หญ้า)
ท่เี กิด ในธรรมชาติ เวลาเดินผ่านดอกหมากจบั จะเกาะติดแน่นตามเสื้อผ้า
จากการสังเกตรปู ลกั ษณะทีม่ ีความสวยงามในตัวของมนั เอง จึงไดน้ า้ มาท้า
เปน็ ลายบนผืนผา้ เกิดเปน็ ลายเล็ก ๆ สวยงาม

ผ้ำไหมมัดหม่ีลำยฟันปลำ เป็นหน่ึงในผ้าไหมลายไทยโบราณ ใช้กรรมวิธี
การทอผ้าไหมมัดหมี่ ออกมาในลวดลายพ้ืนบ้านท่ีเรียกว่าฟันปลา มีคุณค่า
ความหรูหราในตวั เหมาะสา้ หรับเป็นของขวญั ผู้ใหญ่ในโอกาสต่าง ๆ

ผ้ำไหมลำยขิดช้ำง การขิดเป็นภาษาพื้นบ้านของภาคอีสาน หมายถึง
สะกิดหรืองัดช้อนข้ึน ดงั นัน้ การทอ ผา้ ขดิ จึงหมายถึงกรรมวธิ ีการทอทีผ่ ู้ทอใช้
ไม้ เรียกว่า “ไม้เก็บขิด” สะกิดหรือช้อนเส้นยืนยกข้ึนเป็นช่วงระยะตาม
ลวดลายตลอดหน้าผ้า แล้วพุ่งกระสวยสอดเส้นพุ่งพิเศษและเส้นพุ่งเข้าไป
ตลอดแนว ท้าให้เกิดเป็นลวดลายยกตัวนูนบนผืนผ้า ซ่ึงส่วนใหญ่จะเป็น
ลวดลายซ้า ๆ ตลอดแนวผ้า โดยสีของลวดลายที่เกิดขึ้นเป็นสีของด้ายพุ่ง
พิเศษ โดยลวดลายส่วนใหญ่จะเป็นลายจากธรรมชาติ ส่ิงแวดล้อม ลายสัตว์
และความเช่ือ เช่น ลายช้าง ลายหอปราสาทหรือธรรมาสน์ ลายพญานาค
ลายมา้ ลายดอกแกว้ เป็นตน้

-458-

แบบสำรวจมรดกภมู ิปญั ญำทำงวฒั นธรรมจังหวัดเชยี งรำย ประจำปี 2565
สภำวัฒนธรรมจงั หวัดเชยี งรำย
อำเภอเชยี งแสน จงั หวดั เชียงรำย

1. ช่ือข้อมูล มดี (เผา่ ม้ง)

๒. ลกั ษณะ  วรรณกรรมพน้ื บ้านและภาษา
 ศิลปะการแสดง
 แนวปฏบิ ตั ิทางสงั คมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรูแ้ ละการปฏิบัตเิ กย่ี วกับธรรมชาติและจักรวาล
 งานช่างฝมี อื ด้ังเดมิ
 การละเลน่ พ้ืนบา้ น กีฬาพ้ืนบ้าน และศิลปะการตอ่ สู่ป้องกันตวั

๓. รำยละเอียดข้อมูล

๓.๑) ประวตั คิ วามเปน็ มาของข้อมลู
มีด คือ เคร่ืองมือชนิดแรก ๆ ท่ีมนุษย์ประดิษฐ์ข้ึนเพ่ือใช้ในชีวิตประจ้าวันมาอย่างยาวนาน เกี่ยวข้อง
สัมพันธ์กับแทบจะทุกกิจกรรมในการด้าเนินชีวิตไม่ว่าจะเป็นเผ่าพันธ์ุ หรือกลุ่มสังคมใด ๆ ก็ตาม มีดเป็น
เคร่ืองมือตัดเฉือน ชนิดมีคมส้าหรับใช้ สับ หั่น เฉือน ปาด บางชนิดอาจมีปลายแหลมส้าหรับกรีด หรือแทง
มกั มีขนาดเหมาะสมสา้ หรบั จบั ถือด้วยมือเดยี ว
ชาวม้งยึดถือระบบครอบครัว บุรุษที่มีอาวุโสสูงสุดจะมีศักด์ิเป็นหัวหน้าหรือประมุขของตระกูล มีสิทธิ
ขาดในการตัดสินใจ ขณะเดียวกันผู้อาวุโสจะต้องรับผิดชอบต่อความเป็นอยู่ของคนในตระกูล มีครอบครัว
ชาวม้งครอบครัวหนึ่งและมีเพียงครอบครัวเดียว ที่ยังรักษาการตีมีดแบบโบราณ ไว้ได้เป็นอย่างดี และสืบทอด
มาหลายชั่วอายุคน ตีมดี ตั้งแต่อย่เู มืองจีน จนกระท่งั อพยพมาอยู่ที่ขุนเขาคลองลาน และอพยพมาอยู่พื้นล่างใน
ท่ีสุดกว่า ๒๐ ปี ท่านผู้น้ันคือ นายยูเล่ง แซ่ม้า อายุ ๖๔ ปี เรียนรู้การตีมีดจากพ่อ พ่อเรียนรู้มาจากปู่ ปู่เรียนรู้
มาจากทวด สืบทอดมาแสนนาน เขาเร่ิมตีมีดมา ตั้งแต่อายุ ๑๖ ปี โดยการใช้เหล็กแท่งหรือเหล็กแหนบเป็น
วัตถุดิบส้าหรับตี เตาท่ีใช้ตีมีดของนายยเู ล่ง แซ่ม้า เป็นเตาแบบโบราณ ที่ใช้ ปู้ หรือ ไฟส้าหรับเป่าให้เหล็กแดง
ท้าด้วยไม้เน้ืออ่อนเจาะเข้าไปให้เป็นโพรงเป็นกระบอกสูบและใช้ขนไก่ส้าหรับเป็นลูกสูบ การสูบเบาแรงมาก
แทบไม่ต้องออกแรง เพียงดึงเบา ๆ ก็ท้าให้เกิดลมอัดอย่างแรงท้าให้ไฟลุกอย่างคุโชนท้าให้เหล็กแดงเมื่อได้ที่
แลว้ จงึ นา้ มาใชต้ ี มีเทคนิคการตที ่ีไม่เคยเหน็ มาก่อน คือ การทา้ ใหเ้ หล็กอ่อนตวั โดยเมอื่ เผาเหลก็ ให้ร้อนจนแดง
แล้วน้ามากลบด้วยแกลบสกั ครู่ แลว้ จึงไปตใี หมห่ รือไปตะไบจะท้าใหเ้ หล็กอ่อนมากขน้ึ และนา้ ไปเข้าเล่มท้าให้ได้
มีดที่ถาวรและคมเด่นกว่ามีดทั้งหลาย นายยูเล่ง แซ่ม้า เป็นห่วงมากในอาชีพการตีมีดแบบโบราณท่ีไม่มีผู้สืบ
ทอด อาจท้าให้การตีมีดท่ีสืบทอดมาหลายร้อยปีต้องสาบสูญไปพร้อมภูมิปัญญาของชาวเขาเผ่าม้งที่จะต้องไร้
ทายาทสบื ทอดอยา่ งน่าเสียดายเปน็ อย่างยิง่

3.2 ขัน้ ตอน วธิ ีการด้าเนินการเก่ยี วกับข้อมูล
ในการเตรียมการตีมีด หรือท้ามีดน้ัน มีปัจจัยท่ีส้าคัญ ๓ ประการคือ เตรียมคน : ต้องใช้คน ๓-๔ คน
ขนึ้ ไป โดยเฉพาะการตีมดี ในข้ันตอนที่ ๑ (การหลาบ) ตอ้ งใชค้ นที่มีพละก้าลังร่างกายแขง็ แกร่ง ตลอดจนต้องมี
ความสามัคคีและประสบการณ์เป็นอยา่ งมากเตรียมอุปกรณ์ : เป็นอปุ กรณ์ และเครื่องมือเครื่องใช้ส้าหรับช่างตี
เหล็ก หรือช่างตีมีดโดยเฉพาะ เช่น ท่ัง ค้อน พะเนิน คีม สูบลม เตาเผาเหล็ก ตะไบ เหล็กขูด เหล็กไช รางน้า
ชุบมีด เข่ือนตัดเหล็ก ขอไฟ หินหยาบ-ละเอียด ท่ังขอ เถาวัลย์เปรียง หลักส่ี (ปากกา) กบ และเลื่อย เป็นต้น
เตรียมวัตถุดิบ : วัสดุที่ส้าคัญในการตีมีดเป็นอันดับแรก ได้แก่ เหล็กกล้า ท่ีต้องใช้ความช้านาญในการดูสีของ
เหล็กขณะชุบ ซ่ึงเป็นภูมิปัญญาอย่างหนึ่งส้าหรับช่างตีมีด อันดับต่อไป คือ ถ่านไม้ไผ่ซ่ึงจะเป็นถ่านท่ีมี
ประสิทธภิ าพสูงในการเผาเหลก็ ต่างจากถ่านจากไมท้ ่ัว ๆ ไป และอนั ดบั สุดทา้ ยคอื ไมท้ ี่ใช้ท้าดา้ มมีด

-459-

๔. ชื่อผูท้ ่ีถอื ปฏิบัตแิ ละผู้สบื ทอด

๔.๑ ผทู้ ี่ถอื ปฏิบตั ิ

ช่ือ นายสรวชิ ญ์ สว่างธนานันท์

วนั เดือน ปเี กิด -

ทอ่ี ยู่ 337 หมู่ 11 ตา้ บลแมเ่ งิน อ้าเภอเชยี งแสน จงั หวดั เชยี งราย

หมายเลขโทรศัพท์ -

๔.๒ ผู้สบื ทอด

ช่ือ -

วัน เดอื น ปเี กิด -

ท่อี ยู่ -

หมายเลขโทรศัพท์ -

๕. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏบิ ตั ิอย่างแพร่หลาย  เสยี่ งต่อการสญู หาย  ไม่มีปฏิบัติแล้ว

๖. รูปภำพภมู ปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม/กิจกรรมทำงภูมปิ ัญญำทำงวฒั นธรรม

-460-

แบบสำรวจมรดกภมู ิปัญญำทำงวัฒนธรรมจังหวัดเชยี งรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวฒั นธรรมจงั หวดั เชยี งรำย

อำเภอพญำเมง็ รำย จงั หวดั เชยี งรำย

๑. ชื่อข้อมูล ไม้กวาดดอกหญา้ บา้ นป่าม่วง

๒. ลักษณะ  วรรณกรรมพ้ืนบ้านและภาษา
 ศลิ ปะการแสดง
 แนวปฏิบัตทิ างสังคมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรู้และการปฏบิ ตั เิ กีย่ วกับธรรมชาติและจกั รวาล
 งานชา่ งฝมี อื ดง้ั เดมิ
 การละเล่นพน้ื บ้าน กีฬาพื้นบ้าน และศลิ ปะการตอ่ สู่ป้องกันตวั

๓. รำยละเอยี ดข้อมูล

๓.๑) ประวตั ิความเป็นมาของขอ้ มูล
ไม้กวาด เป็นอุปกรณ์ที่ยังจ้าเป็นต้องใช้ภายในครอบครัว แม้ปัจจุบัน บางบ้านได้น้าเคร่ืองดูดฝุ่น
เข้ามาใช้บ้างแล้ว แต่ก็ยังมีบ้านและสถานที่ต่าง ๆ อีกจ้านวนไม่น้อย ท่ีต้องการใช้ไม้กวาด ดังนั้น การท้าไม้
กวาดเพอ่ื จ้าหนา่ ย จงึ เปน็ การเสรมิ รายไดอ้ ีกทางหน่งึ ใหก้ บั ครอบครวั ได้
ไม้กวาดดอกหญ้า ท้ามาจากดอกหญ้าท่ีข้ึนอยู่ตามเชิงเขาหรือพื้นที่สูงซ่ึงการท้าไม้กวาดดอกหญ้า
เป็นการถ่ายทอดมาจากบรรพบุรุษ หลังจากการเก็บเก่ียวข้าวไร่เสร็จแล้วคนส่วนใหญ่ก็จะหันมาท้าไม้กวาด
เป็นอาชีพเสริมแทนเพราะต้นดอกหญ้าส่วนใหญจ่ ะเก็บได้ในชว่ งเดือนธันวาคม มกราคม กุมภาพันธ์ แต่ในช่วง
ที่ดอกออกมากท่ีสุด จะอยู่ในช่วงต้นเดือนมกราคม ปัจจุบันกลุ่มสมาชิกไม้กวาดดอกหญ้า บ้านป่าม่วง
ได้รวมกลุ่มกันสานไม้กวาดเพื่อจ้าหน่ายเปน็ ผลิตภณั ฑ์ท่ีช่วยสร้างงาน สร้างอาชีพ และสร้างรายได้ให้กับชมุ ชน
ได้เปน็ อยา่ งดี
การสานไม้กวาดดอกหญ้า เป็นภูมิปัญญาของคนไทยท่ีได้รู้จักและเรียนรู้การน้าวัชพืชและภูมิปัญญา
มาใช้ประโยชน์ในวถิ ีชีวติ ประจ้าวนั ของคนในท้องถ่ิน สร้างจิตส้านึกและความตระหนักในคุณค่าของทรัพยากร
ชีวภาพและกายภาพในท้องถิ่น อันจะส่งผลให้เกิดการพัฒนาและการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชต่าง ๆ ให้เกิด
ประโยชน์อย่างยั่งยืนแก่ท้องถ่ิน ปัจจุบันไม่นิยมท้าไม้กวาดด้วยมือ ส่วนใหญ่จะท้าด้วยเคร่ืองจักร อาจท้าให้
คุณค่าของมรดกทางวัฒนธรรมมีโอกาสเส่ียงต่อการสูญหายได้ หากไม่มีการอนุรักษ์และส่งเสริมต่อยอด
ผลติ ภัณฑท์ ท่ี า้ ดว้ ยมอื

๓.๒) ข้นั ตอน/วิธกี าร/ดา้ เนนิ การเกี่ยวกบั ขอ้ มลู
อปุ กรณ์ในการท้าไมก้ วาดดอกหญา้
1. เขม็ เยบ็ กระสอบ
2. เชอื กฟาง
3. ไมไ้ ผ่ ความยาวประมาณ 80 ซม.
4. ดอกหญ้า
5. ตะปูขนาด 1 นิว้ จ้านวน 2 ตวั
วิธกี ารทา้ ไม้กวาดดอกหญา้
1. นา้ ดอกหญ้ามาตากแดดให้แห้ง
2.น้าดอกหญ้ามาตหี รอื ฟาดกับพน้ื เพื่อใหด้ อกหญ้าดอกเล็ก ๆหลดุ ออกให้ เหลือแต่ก้านเลก็ ๆ
แกะก้านดอกหญ้าออกจากต้นน้ามามัดรวมกันประมาณ 1 ก้ามือ

-461-

3. ใช้เชือกฟางหรือเชือกในล่อนสอยเข้ากับเข็มเย็บกระสอบแล้วแทงเข้าตรง กลางมัดดอกหญ้า
แล้วถักไปถักมาประมาณ 3-4 ชั้นพร้อมท้ังจัดมัดดอกหญ้าให้แบนราบ ใช้มีดตัดโคนรัดดอกหญ้าท่ีถักแล้ว
ให้เสมอเปน็ ระเบยี บสวยงาม

4. ใช้ด้ามไม้ไผ่รวกเสียบตรงกลางหรืออาจจะใช้ต้นดอกหญ้า 8-10 ต้น มัดรวมกันแทนไม้ไผ่รวกก็ได้
แลว้ ตอกตะปูขนาด 1 นว้ิ 2 ตวั เพื่อใหม้ ดั ดอกหญ้ากบั ด้ามให้แน่น

5. ใช้น้ามันยางหรือชันผสมนา้ มันก๊าดทาโดยใชแ้ ปรงจุม่ และทาบรเิ วณที่ตวั

๔. ชอ่ื ผ้ทู ่ีถอื ปฏิบตั แิ ละผู้สบื ทอด
๔.๑ ผู้ที่ถือปฏบิ ตั ิ
ชื่อ กลุ่มสมาชิกไมก้ วาดดอกหญ้า บา้ นปา่ ม่วง จงั หวดั เชียงราย
วัน เดือน ปเี กิด -
ที่อยู่ หมู่ 4 ตา้ บลแม่ตา้ อา้ เภอพญาเม็งราย จังหวดั เชยี งราย
หมายเลขโทรศัพท์ -
๔.๒ ผสู้ บื ทอด
ชอ่ื กลุ่มสมาชิกไม้กวาดดอกหญา้ บ้านปา่ มว่ ง จังหวดั เชียงราย
วนั เดอื น ปีเกิด -
ที่อยู่ หมู่ 4 ต้าบลแม่ต้า อ้าเภอพญาเม็งราย จงั หวดั เชยี งราย
หมายเลขโทรศัพท์ -

๕. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏิบตั ิอยา่ งแพร่หลาย  เสี่ยงตอ่ การสูญหาย  ไม่มปี ฏบิ ัตแิ ลว้

๖. รูปภำพภูมิปญั ญำทำงวัฒนธรรม/กจิ กรรมทำงภูมปิ ัญญำทำงวฒั นธรรม

-462-

แบบสำรวจมรดกภมู ิปญั ญำทำงวัฒนธรรมจงั หวัดเชยี งรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวัฒนธรรมจังหวดั เชยี งรำย
อำเภอแมล่ ำว จังหวดั เชยี งรำย

๑. ชื่อข้อมลู ไมก้ วาดดอกหญา้ ปา่ ก่อดา้

๒. ลักษณะ  วรรณกรรมพื้นบา้ นและภาษา
 ศลิ ปะการแสดง
 แนวปฏบิ ตั ทิ างสงั คมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรูแ้ ละการปฏบิ ัตเิ ก่ียวกับธรรมชาติและจักรวาล
 งานชา่ งฝีมือด้งั เดิม
 การละเล่นพนื้ บ้าน กีฬาพ้นื บ้าน และศิลปะการต่อสปู่ ้องกนั ตัว

๓. รำยละเอียดขอ้ มลู

๓.๑) ประวตั ิความเป็นมาของขอ้ มลู
การทา้ ไม้กวาดดอกหญ้าเกดิ จากการน้าเอาความคิด ผสมผสานกับจนิ ตนาการ บวกกบั ได้ประยุกต์วัสดุ
ท่ีมีอยู่ในท้องถิ่นมาท้าเป็นไม้กวาดจากดอกหญ้า เป็นการดัดแปลงวัตถุดิบที่มีอยู่ในท้องถิ่นให้เกิดประโยชน์และ
สร้างรายได้โดยให้เป็นผลิตภัณฑ์ชุมชน ซึ่งเป็นการน้าวัตถุดิบท่ีอยู่ใกล้ตัว น้ามาดัดแปลงเป็นส่ิงของเครื่องใช้
ในครัวเรือนจากข้ันตอนการผลิตที่ง่ายๆ และค่อยพัฒนา ประยุกต์ใช้ตามวัสดุท่ีมีอยู่ พร้อมค้านึงถึงประโยชน์ของ
การใช้สอย และท้าสืบทอดจากบรรพบุรุษ จนถึงปัจจุบัน ซึ่งกรรมวิธีต่าง ๆ ที่มาจากกระบวนการและข้ันตอน
การผลติ ลว้ นมาจากสตปิ ญั ญา และการใช้ภูมปิ ญั ญา ของบรรพบุรษุ ผลติ ภัณฑ์ทไ่ี ด้ และนา้ มาใชส้ อยกบั ชวี ติ ประจ้าวนั
ดอกหญ้าไม้กวาด หรือเรียกว่า“ดอกหญ้าก๋ง” จัดเป็นพืชล้มลุกตระกูลหญ้า มีล้าต้นต้ังตรง ล้าต้นแตกกอ
คล้ายกอไผ่ ล้าต้นมีลักษณะทรงกลม แบ่งเป็นข้อปล้องชัดเจน ดอกหญ้าไม้กวาดเป็นพืชที่เกิดข้ึนเองตาม
ธรรมชาติ อยู่ตามเชิงเขาหรือพ้ืนที่สูง ส่วนใหญ่จะเก็บได้ในช่วงเดือนธันวาคม–เมษายน ซึ่งช่วงที่ดอกออกมาก
ที่สุดจะอยู่ในช่วงต้นเดือนมกราคม และสามารถ เก็บเก่ียวเอาดอก ก่ิงก้าน มาท้าเป็นไม้กวาด ท้าความสะอาด
ภายในครัวเรอื น
แม่บุญรอด ปิดทะเหล็ก ได้น้าวัตถุดิบท่ีใช้ท้าไม้กวาด จึงได้น้าความรู้ วิธีการท้าไม้กวาดดอกหญ้า
มาเผยแพร่ให้กับคนในครอบครัว ญาติพ่ีน้องได้ท้าใช้ในครวั เรือน และขายให้กับคนในหมู่บา้ น และเมื่อมีผู้ผลิต
มากขึ้น เหลือใช้ในครัวเรือนจึงน้าออกขายให้กับเพ่ือนบ้าน ต่างหมู่บ้าน ต่างต้าบลและออกเป็นวงกว้าง
นอกจากนั้นยังมีพ่อค้าต่างจังหวัดมารับซื้อเพื่อไปจ้าหน่าย ท้าให้เรื่องการท้าไม้กวาดกลายเป็นอาชีพหลัก
และเป็นอาชพี เสรมิ ของหลายครอบครวั สรา้ งรายไดใ้ ห้กับตนเอง เป็นอาชีพทท่ี ้ารายได้ตลอดทั้งปี
ลกั ษณะเดน่ ทีเ่ ปน็ อตั ลักษณ์ของไม้กวาด
- ไม้กวาดของทนี่ ่ี เม่ือได้รบั ดอกหญ้ามาแล้ว จะท้าการคดั ดอกหญา้ อย่างพิถีพิถัน จะไม่ใชด้ อกหญ้าทแี่ ก่
เนื่องจากหญ้าแกจ่ ะมีความแห้งและกรอบ จะทา้ ให้เวลาใช้กวาดพน้ื ดอกหญ้าจะรว่ งตกได้
- แต่ละข้ันตอนการมัดประกอบ ต้องใช้ความช้านาญ
- มีการสรา้ งลวดลายแบบดง้ั เดิมและแบบสมยั ใหม่

๓.2) ขัน้ ตอน/วิธีการ/ด้าเนินการเกย่ี วกับข้อมูล
อุปกรณ์การทา้ ไม้กวาดดอกหญา้
๑. เขม็ เย็บกระสอบ
๒. เชือกฟาง
๓. ไมไ้ ผ่ ความยาวประมาณ ๘๐ ซม.
๔. ดอกหญา้
๕. ตะปขู นาด ๑ น้ิว จา้ นวน ๒ ตัว

-463-

ข้ันตอนการทา้ ไม้กวาด
๑.นา้ ดอกหญ้ามาทา้ ความสะอาดและตากแดดให้แห้งคดั เลอื กเฉพาะดอกหญ้าท่ีมคี ุณภาพดี ไมแ่ ก่
๒. น้าดอกหญ้าปรมิ าณ ๑ ก้ามือ มดั ให้เป็นวงกลม
๓. นา้ เขม็ เย็บกระสอบ ซึ่งรอ้ ยเชือกฟางไว้แลว้ แทงเข้าตรงกลางมัดดอกหญ้า แล้วถกั ขึ้นลงแบบหางปลา
ให้ได้ ๓ ชนั้ พร้อมจดั ดอกหญา้ ใหม้ ลี กั ษณะแบน
๔. ตัดโคนดอกหญ้าให้เสมอกัน
๕. นา้ ด้ามไม้ไผ่เจาะรูทหี่ ัวไว้สา้ หรบั ห้อยเชือก และเจาะรูตรงปลายน้ามาเสียบเข้าตรงกลางมัดดอกหญ้า
๖. นา้ เชือก หรือฟางมดั ดอกหญ้าไวด้ ว้ ยกัน โดยนา้ เชอื กมาสอดตรงรูที่เจาะ เพือ่ ปอ้ งกันไม่ใหด้ อกหญ้า
หลุดออกจากกัน
7. ตอกตะปทู ีเ่ ตรยี มไว้ เพ่ือใหด้ อกหญา้ ติดกับดา้ มไม้ไผ่ และมีความแขง็ แรงขึ้น
** เคลด็ ลับท้าให้ไม้กวาดแข็งแรง ควรน้าดอกหญา้ ตากแดดให้แห้งสนิทก่อนมดั จะไดไ้ ม้กวาดที่มีความ
แขง็ แรง ไม่หลุดง่าย เมือ่ ถึงเวลาใชง้ าน

๔. ช่ือผู้ทถี่ ือปฏบิ ตั ิและผู้สบื ทอด
๔.๑ ผ้ทู ่ถี ือปฏิบตั ิ
ช่ือ นางบญุ รอด ปดิ ทะเหล็ก
วนั เดอื น ปเี กดิ -
ทีอ่ ยู่ หมู่ ๕ ต้าบลปา่ กอ่ ดา้ อ้าเภอแม่ลาว จงั หวดั เชยี งราย
หมายเลขโทรศัพท์ ๐๘๔ ๑๗๐ ๓๗๓๐
๔.๒ ผู้สืบทอด
ชอ่ื นักเรยี น กศน.ตา้ บลป่ากอ่ ดา้
วัน เดือน ปีเกดิ -
ที่อยู่ อาคารเอนกประสงค์ หมู่ ๒ ต้าบลป่าก่อด้า อา้ เภอแม่ลาว จังหวดั เชยี งราย
หมายเลขโทรศัพท์ ๐๘๘ ๒๒๕ ๒๕๓๓

5. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏบิ ัตอิ ย่างแพรห่ ลาย  เส่ียงตอ่ การสูญหาย  ไม่มีปฏบิ ัตแิ ล้ว

6. รปู ภำพภมู ปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม/กจิ กรรมทำงภูมิปัญญำทำงวัฒนธรรม

คัดแยกดอกหญ้าก๋งท่แี ก่ออก แล้วน้าไปตากแดด ขึน้ โครงเพ่ือต่อสว่ นหัวและดา้ มไม้กวดเขา้ ด้วยกนั
สาธิตการทา้ ไมก้ วาดดอกหญ้า

-464-

แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ญั ญำทำงวัฒนธรรมจงั หวดั เชียงรำย ประจำปี ๒๕65
สภำวฒั นธรรมจังหวัดเชยี งรำย
อำเภอเวียงชยั จังหวดั เชียงรำย

๑. ชื่อข้อมูล ไมก้ วาดดอกหญ้า เมืองชุม

๒. ลักษณะ

 วรรณกรรมพนื้ บา้ นและภาษา
 ศิลปะการแสดง
 แนวปฏบิ ัตทิ างสงั คมพิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรแู้ ละการปฏบิ ัติเก่ียวกับธรรมชาตแิ ละจักรวาล
 งานชา่ งฝมี อื ดั้งเดมิ
 การละเล่นพ้นื บ้าน กีฬาพ้ืนบ้าน และศลิ ปะการต่อสปู่ ้องกันตวั

๓. รำยละเอียดข้อมูล
๓.๑) ประวตั คิ วามเป็นมาของข้อมลู
ดอกหญ้าไม้กวาด หรือเรียกว่า“ดอกหญ้าก๋ง” จัดเป็นพืชล้มลุกตระกูลหญ้า มีล้าต้นตั้งตรง ล้าต้นแตก

กอคล้ายกอไผ่ ล้าต้นมีลักษณะทรงกลม แบ่งเป็นข้อปล้องชัดเจน ดอกหญ้าไม้กวาดเป็นพืชท่ีเกิดข้ึนเองตาม
ธรรมชาติ อยู่ตามเชิงเขาหรือพื้นท่ีสูง ส่วนใหญ่จะเก็บได้ในช่วงเดือนธันวาคม–เมษายน ซ่ึงช่วงที่ดอกออกมาก
ท่ีสุดจะอยู่ในช่วงต้นเดือนมกราคม และสามารถ เก็บเกี่ยวเอาดอก กิ่งก้าน มาท้าเป็นไม้กวาด ท้าความสะอาด
ภายในครัวเรอื น

ในชุมชนต้าบลเมืองชุม โดยกลุ่มอาชีพที่ต้ังขึ้นเอง ในหมู่ ๑๑ ต้าบลเมืองชุม มีการรวมกลุ่มจัดท้าไม้
กวาดดอกหญ้าเพื่อเป็นการหารายได้เสริมอีกทางหน่ึงของชุมชน และเป็นการฝึกฝีมือและท้าอาชีพ
ของกลุ่ม โดยใช้วัสดุอุปกรณ์ท่ีมีในท้องถิ่นของตัวเอง ปัจจุบันภูมิปัญญาชาวบ้านได้ก่อเกิดและสืบทอดกันมา
ในชุมชนหมู่บ้าน เม่ือหมู่บ้านเปลี่ยนแปลงไปพร้อมกับสังคมสมัยใหม่ ภูมิปัญญาชาวบ้านก็มีการปรับตัว
เช่นเดียวกัน ท้าให้วัสดุอุปกรณ์ท่ีใช้มีการปรับเปลี่ยนด้วยเช่นกันบางพื้นที่ จากวัสดุด้ามท่ีเป็นไม้ไผ่เริ่มมีการใช้
เป็นดา้ มพลาสตกิ

๓.๒) ข้นั ตอนวธิ กี าร/ด้าเนินการเกยี่ วกบั ข้อมลู
1. ตัดก้านดอกหญา้ ท่ยี งั มคี วามเขียวอยู่ ด้วยการตัดยาวประมาณ 80 เซนตเิ มตร จากนั้น น้ามาตาก
แดดให้แห้งประมาณ 2-5 วนั
๒. น้าก้านดอกหญ้ามาฟาดหรอื เขา้ เคร่ืองเพ่ือแยกปุยดอกออกให้หมด กอ่ นน้าไปตาก
๓. คดั เลอื กดอกหญา้ คัดขนาดให้เทา่ กนั แลว้ แตต่ ้องการความหนามาก หรือน้อย
๔. แบ่งดอกหญ้าเป็น 3 ก้า มัดด้วยลวดให้แนน่
๕. ทุบด้วยคอ้ นตรงรอยมัดให้แบน
๖. ตดั ตรงโคนใหเ้ ปน็ รูปสามเหลย่ี ม
๗. นา้ ดอกหญ้าก้าที่ 1 ใส่ในบล็อกพลาสตกิ จัดใหแ้ ผ่ออก จากนนั้ ใส่ก้าที่ 2 และ 3
๘. เย็บแบบเนาจนสุดกา้ แลว้ เย็บย้อนกลับมาทจี่ ดุ เรม่ิ ต้น ลนไฟปลายเชอื กป้องกันเชือกหลุดและ
นา้ มาประกอบกบั ดา้ มจับ และหูแขวน ตอกด้วยตะปเู ข็ม ตัดตกแตง่ ปลายดอกหญ้าใหส้ วยงาม
๙. ใชด้ า้ มพลาสตกิ ยาวประมาณ 60 เซนติเมตร ตอกใสก่ ับตวั บลอ็ กแล้วตอกตะปู ขนาด 1 นว้ิ 2 ตวั
เพื่อยดึ ดอกหญ้าที่ใส่บลอ็ ก กับด้ามให้แน่น แลว้ ใส่จุกทา้ ยสาหรบั เปน็ ทีแ่ ขวนเป็นอนั เสรจ็ ข้ันตอน

-465-

๔. ชื่อผ้ทู ี่ถือปฏิบตั ิและผู้สืบทอด

๔.๑ ผทู้ ถี่ ือปฏบิ ัติ

ชื่อ นางค้าเอย้ ยาชมุ ภู

วนั เดอื น ปเี กิด 13 กันยายน 2495

ท่ีอยู่ 126 หมู่ 11 ตา้ บลเมอื งชมุ อา้ เภอเวยี งชัย จงั หวัดเชยี งราย

หมายเลขโทรศัพท์ -

๔.๒ ผ้สู บื ทอด

ชอ่ื -

วนั เดือน ปเี กดิ -

ท่ีอยู่ -

หมายเลขโทรศัพท์ -

๕. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏบิ ตั ิอย่างแพร่หลาย  เสยี่ งตอ่ การสูญหาย  ไม่มปี ฏิบตั แิ ลว้
๖. รูปภำพภูมปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม/กิจกรรมทำงภูมปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม

-466-

แบบสำรวจมรดกภมู ิปัญญำทำงวัฒนธรรมจังหวดั เชยี งรำย ประจำปี 2565
สภำวัฒนธรรมจงั หวัดเชยี งรำย
อำเภอเวียงชัย จังหวัดเชยี งรำย

๑. ชื่อข้อมลู ไม้กวาดดอกหญ้าและไม้กวาดทางมะพรา้ ว

๒. ลกั ษณะ  วรรณกรรมพ้นื บา้ นและภาษา

 ศิลปะการแสดง

 แนวปฏิบัตทิ างสงั คมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรูแ้ ละการปฏบิ ตั เิ ก่ยี วกบั ธรรมชาตแิ ละจกั รวาล
 งานชา่ งฝีมือด้งั เดิม

 การละเลน่ พนื้ บา้ น กีฬาพืน้ บา้ น และศลิ ปะการตอ่ สปู่ ้องกันตวั

๓. รำยละเอียดขอ้ มูล

๓.๑) ประวตั ิความเปน็ มาของขอ้ มลู
นางบัว เข่ือนค้าป้อ เกิดเม่ือวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2498 ปัจจุบัน อายุ 67 ปี เป็นบุตร นายแสง –
นางผง เขื่อนค้าป้อ อาศัยอยู่บ้านเลขที่ 22 หมู่ 6 บ้านดอยงาม ต้าบลดอนศิลา อ้าเภอเวียงชัย จังหวัด
เชียงราย ประกอบอาชีพเกษตรกรรม
ภาคเหนือมีวัสดุในการท้าไม้กวาดดอกหญ้าซ่ึงทางเหนือเรียกว่า “ก๋ง” หรือ “ดอกอ้อ” ท่ีทางภาคกลาง
เรียกกัน การท้าไม้กวาดดอกหญ้าและไม้กวาดทางมะพร้าวเป็นอาชีพเสริมที่ นางบัว เขื่อนค้าป้อ สามารถท้า
รายได้ให้แก่ตนเอง เพราะวัสดุในการท้าน้ันเป็นวัสดุท้องถิ่นท่ีสามารถหาได้ง่าย แต่สามารถน้ามาเพิ่มมูลค่า
ให้กลายเป็นสินค้าท่ีสร้างรายได้ในพ้ืนท่ีต้าบลดอนศิลา มีผู้ที่มีภูมิปัญญาในการท้าไม้กวาดดอกหญ้าและ
ไม้กวาดทางมะพร้าวหลายท่าน และนางบัว เขื่อนค้าป้อ ก็เป็นหน่ึงในนั้นและได้เข้าร่วมกิจกรรม การถ่ายทอด
ภูมิปัญญาให้แก่ลูกหลานเพราะเห็นว่าตนควรถ่ายทอดความรู้ที่มีอยู่ให้กับเด็กในพื้นท่ี สร้างจิตส้านึก
ในการรกั ษาภูมปิ ัญญาทีม่ ีอยใู่ นทอ้ งถ่ินแกเ่ ด็ก

๓.๒) ขั้นตอน/วธิ ีการ/ดา้ เนินการเกีย่ วกบั ขอ้ มูล
กำรทำไม้กวำดดอกหญ้ำและไมก้ วำดทำงมะพร้ำว
วธิ กี ารถ่ายทอดโดยสังเขป
ไม้กวาดเป็นอุปกรณ์ที่ยังจ้าเป็นต้องใช้ภายในครอบครัว ปัจจุบันบางบ้านได้น้าเครื่องดูดฝุ่นเข้ามา
ใช้บ้างแล้ว แต่ก็ยังมีบ้านและสถานที่ต่าง ๆ อีกจ้านวนไม่น้อยท่ีต้องการใช้ไม้กวาด ดังน้ันการท้าไม้กวาด
เพื่อจ้าหน่ายจึงเป็นการเสริมรายได้อกี ทางหน่ึงให้กับครอบครัวได้
อปุ กรณ์
1. เขม็ เยบ็ กระสอบ
2. เชือกฟาง
3. ไม้ไผ่ ความยาวประมาณ 80 ซม.
4. ดอกหญา้
5. ตะปู ชนาด 1 น้วิ จ้านวน 2 ตวั
ขั้นตอนกำรทำไม้กวำด
1. น้าดอกหญา้ มาตากแดดให้แหง้
2. น้าดอกหญ้ามาตีหรือฟาดกับพื้น เพื่อให้ดอกหญ้าดอกเล็ก ๆ หลุดออกให้เหลือแต่ก้านเล็กๆ แกะ
กา้ นดอกหญา้ ออกจากต้น นา้ มามัดรวมกนั ประมาณ 1 กา้ มือ

-467-

3. ใช้เชือกฟางหรือเชือกไนลอนสอยเข้ากับเข็มเย็บกระสอบ แล้วแทงเข้าตรงกลางมัดดอกหญ้า
แล้วถักไปถักมาประมาณ 3-4 ช้ัน พร้อมทั้งจัดมัดดอกหญ้าให้แบนราบ ใช้มีดตัดโคน รัดดอกหญ้าท่ีถักแล้ว
ให้เสมอเปน็ ระเบียบสวยงาม

4. ใช้ด้ามไม้ไผ่รวก เสียบตรงกลางหรืออาจจะใช้ต้นดอกหญ้า 8 - 10 ต้น มัดรวมกันแทนไม้ไผ่รวก
กไ็ ด้ แลว้ ตอกตะปขู นาด 1 น้ิว 2 ตวั เพอ่ื ใหม้ ัดดอกหญ้ากับดา้ นใหแ้ นน่

5. ใช้นา้ มนั ยางหรือชนั ผสมน้ามนั ก๊าดทา โดยใชแ้ ปลงจมุ่ และทาบรเิ วณทต่ี ัว

๔. ชอ่ื ผูท้ ี่ถือปฏิบตั ิและผู้สบื ทอด

๔.๑ ผู้ทถี่ อื ปฏบิ ัติ

ชื่อ นางบัว เข่อื นคา้ ป้อ

วัน เดอื น ปีเกิด 6 กมุ ภาพันธ์ 2498

ทีอ่ ยู่ 22 หมู่ 6 ต้าบลดอนศลิ า อา้ เภอเวียงชยั จงั หวัดเชียงราย

หมายเลขโทรศัพท์ -

๔.๒ ผสู้ บื ทอด

ชอ่ื -

วัน เดือน ปีเกิด -

ท่อี ยู่ -

หมายเลขโทรศัพท์ -

๕. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏบิ ัติอย่างแพร่หลาย  เส่ียงต่อการสญู หาย  ไมม่ ีปฏบิ ตั แิ ล้ว

๖. รปู ภำพภมู ิปญั ญำทำงวัฒนธรรม/กจิ กรรมทำงภูมิปัญญำทำงวัฒนธรรม

-468-

แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ัญญำทำงวฒั นธรรมจงั หวัดเชียงรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวฒั นธรรมจังหวัดเชยี งรำย

อำเภอพญำเม็งรำย จังหวดั เชียงรำย

๑. ช่ือข้อมูล สานสุม่ ไก่

๒. ลกั ษณะ  วรรณกรรมพ้ืนบา้ นและภาษา
 ศลิ ปะการแสดง
 แนวปฏบิ ตั ิทางสังคมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรู้และการปฏิบตั เิ กีย่ วกบั ธรรมชาติและจกั รวาล
 งานช่างฝมี ือด้ังเดมิ
 การละเล่นพน้ื บา้ น กีฬาพืน้ บ้าน และศลิ ปะการตอ่ สปู่ ้องกันตัว

๓. รำยละเอยี ดขอ้ มลู

๓.๑) ประวตั คิ วามเป็นมาของข้อมลู
เดิมทีบ้านบ้านแม่ต้าน้อย คนส่วนใหญ่มีอาชีพเล้ียงไก่พื้นเมืองและปล่อยให้ไก่หากินเองยังไม่มีท่ีกักขัง
ไมส่ ามารถควบคุมไก่ได้ ต้องปลอ่ ยใหไ้ ก่เดนิ หากินเพน่ พา่ นไปยงั บา้ นหรอื อาณาเขตของคนอน่ื ต่อมาเม่ือจ้านวน
ไก่มากขึ้นชาวบ้านจึงคิดหาวิธีการว่าจะท้าอย่างไรให้มีที่กักขังไก่เพ่ือควบคุมไม่ให้ไก่เพ่นพ่านไปยังบริเวณบ้าน
ของคนอ่ืน จึงมีความคิดว่าต้องหาไม้เพ่ือน้ามาสานท้าเป็นรูปลักษณะกรง สานไขว้ให้คงทนถาวรเพ่ือให้กักขัง
ไก่ เมื่อท้าแล้วได้ใช้ประโยชน์ คนส่วนใหญ่จึงนิยมน้าไม้มาจักสานเพ่ือท้าเป็นกรงขังไก่ และมีช่ือเรียกว่า “สุ่ม
ไก่” โดยเห็นว่าเป็นวิธีการท่ีประหยัดค่าใช้จ่ายและเป็นงานที่ท้าด้วยมือทุกข้ันตอน ที่ควรต้องอนุรักษ์ ส่งเสริม
แ ล ะ สื บ ท อ ด ม ร ด ก ภู มิ ปั ญ ญ า ง า น ช่ า ง ฝี มื อ ด้ั ง เ ดิ ม น้ี ไ ว้ ใ ห้ ค น รุ่ น ห ลั ง ไ ด้ สื บ ท อ ด วิ ธี ก า ร ท้ า แ ล ะ
ตอ่ ยอดสร้างรายได้ให้กบั ครอบครัวและชุมชนได้อยา่ งพอเพียง

๓.๒) ข้นั ตอน/วิธกี าร/ด้าเนินการเกย่ี วกับขอ้ มลู
ข้นั ตอนการสานสุ่มไกม่ ีวิธีการ ดังน้ี
1. คัดเลอื กไม้ไผ่ที่มลี ักษณะล้าตรงและมเี น้ือไม้ท่ีแกแ่ ขง็ แรง
2. ตดั ไม้ไผน่ ้ามาผา่ และเหลาเป็นเส้นๆ ใหม้ ขี นาดเท่าน้วิ มือ
3. นา้ ไม้ไผ่ท่ผี า่ และเหลา มาสานแบบขัดกนั ใหม้ ีขนาดและดดั เปน็ รปู ทรงกลม
4. น้าสุ่มไกท่ ีส่ านแลว้ มาใช้ประโยชน์ขงั ไก่ หากสานไดจ้ ้านวนมาก ก็น้ามาจา้ หน่ายใหก้ บั ผทู้ ่สี นใจ เป็น
การสร้างรายไดใ้ ห้กบั ครอบครวั และชุมชนไดเ้ ป็นอย่างดี

๔. ช่อื ผูท้ ่ีถอื ปฏิบตั ิและผู้สืบทอด
๔.๑ ผทู้ ่ถี อื ปฏบิ ัติ
ช่ือ นายศรี มินทะขตั ิ
วัน เดอื น ปเี กดิ 5 เมษายน 2482

ที่อยู่ บา้ นแมต่ ้าน้อย หมู่ 1 ต้าบลแมต่ ้า อ้าเภอพญาเม็งราย จังหวัดเชยี งราย
หมายเลขโทรศัพท์ -
๔.๒ ผูส้ ืบทอด
ช่อื นายสรวิชญ์ มนิ ทะขตั ิ

วัน เดอื น ปีเกดิ 27 มกราคม 2514
ท่ีอยู่ บ้านแมต่ า้ น้อย หมู่ 1 ต้าบลแม่ต้า อา้ เภอพญาเม็งราย จังหวัดเชยี งราย
หมายเลขโทรศัพท์ -

-469-
๕. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏิบัตอิ ย่างแพร่หลาย  เสย่ี งต่อการสญู หาย  ไม่มีปฏบิ ตั ิแลว้
๖. รูปภำพภูมิปญั ญำทำงวัฒนธรรม/กิจกรรมทำงภูมปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม

-470-

แบบสำรวจมรดกภมู ิปญั ญำทำงวัฒนธรรมจังหวัดเชยี งรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวฒั นธรรมจังหวัดเชยี งรำย
อำเภอแม่สำย จงั หวดั เชยี งรำย

๑. ช่ือข้อมลู เสอ่ื กก

๒. ลกั ษณะ  วรรณกรรมพ้ืนบ้านและภาษา

 ศิลปะการแสดง
 แนวปฏบิ ัติทางสงั คมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล

 อาหาร/ความรู้และการปฏิบัติเก่ยี วกบั ธรรมชาติและจักรวาล
 งานชา่ งฝมี อื ด้ังเดิม

 การละเลน่ พนื้ บ้าน กีฬาพ้นื บา้ น และศิลปะการต่อส่ปู ้องกันตัว

๓. รำยละเอียดขอ้ มูล

๓.๑) ประวตั ิความเป็นมาของขอ้ มูล
นับต้ังแต่พ่ีน้องไตหย่าได้เดินทางจากประเทศจีนเข้ามาอาศัยอยู่ ณ หมู่บ้านป่าสักขวาง ต้าบลแม่ไร่
อ้าเภอแม่จัน จังหวัดเชียงราย โดยเร่ิมต้ังแต่ 6 ครอบครัว ต่อมาระยะหลังได้มีอีกหลายครอบครัวเดินทาง
มาเพ่ือจะเข้ามาอยู่ท่ีป่าสักขวาง แต่ก็ถูกปล้นกลางทางหลายครอบครัว ต้องกระจัดกระจายกันไป หนีกลับถิ่น
เดิมเสียก็มี 4 ครอบครวั ทเ่ี ข้ามาอยใู่ นประเทศไทย คือ
1. ครอบครวั ลุงใส่ อา่ นแต่น
2. ครอบครวั ลงุ หลวง นางไอ
3. ครอบครัวลุงจาย นางไอ
4. ครอบครวั ลงุ แกว้ นางอ่า

ทั้ง 4 ครอบครัวนี้ได้หลบหนีไปพักอยู่ที่บ้านปุ่นซาน ประเทศจีนต้องพักท่ีน่ันถึง 4 คืน ในระหว่าง
ท่ีพักอยู่ท่ีบ้านปุ่นซานนั้น เขาได้เท่ียวไปมาในแถบน้ัน ไปพบต้นกก คิดว่าคงจะเป็นประโยชน์แน่ ลุงจาย จึงขุด
ใส่กระบอกไม้ติดตวั มา 3 ต้น กเ็ ดนิ ทางเขา้ มาเมืองไทยท่บี ้านป่าสักขวางในปี พ.ศ. 2478 น้าต้นกกไปเพาะช้า
ไว้ประมาณ 3 ปี ก็ตัด คัด ตากและน้ามาทอเป็นผืนเส่ือเพื่อใช้เองและน้าไปขายบ้าง เส่ือกกได้แพร่ขยายพันธ์
ออกไปตามหมู่บ้านใกล้เคียงและทวั่ ไปจนถึงทุกวนั น้ี (คดั จากหนงั สือ 60 ปี คริสตจกั รไทยสมคั รบ้านป่าสักขวาง 26
ธันวาคม 1992)

ในปจั จุบนั การท่อเสื่อกก ยังคงท้าเป็นอาชีพเสริมภายในหมูบ่ ้าน และหมู่บา้ นใกลเ้ คียง ยงั คงทอ่ เสื่อกก

เป็นผืน ใช้ปูนั่ง หรือนอนเล่น และมีการเพิ่มมูลค่าโดยการแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์อ่ืน ๆ เช่น ที่รองจานข้าว

รองแกว้ น้า และประดิษฐ์ดอกไม้ หรืออนื่ ๆ อีกมากมาย

๓.๒) ขัน้ ตอน/วิธีการ/ด้าเนนิ การเก่ียวกบั ข้อมลู

-

-471-

๔. ชื่อผูถ้ ือปฏบิ ัติและผู้สืบทอด

4.1 ผู้ที่ถอื ปฏบิ ัติ

ชอ่ื ประชาชนในหมบู่ า้ น ปราชญ์ชมุ ชน

วัน เดือน ปีเกดิ -

ทอ่ี ยู่ บา้ นฮอ่ งแฮ่ หมู่ 4 ต้าบลห้วยไคร้ อา้ เภอแมส่ าย จงั หวัดเชียงราย

หมายเลขโทรศัพท์ 091 072 1688

๔.๒ ผูส้ ืบทอด

ชือ่ เดก็ นกั เรยี น และเยาวชน บคุ คลทั่วไป

วนั เดือน ปีเกิด -

ท่ีอยู่ -

หมายเลขโทรศัพท์ -

๕. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏิบัตอิ ย่างแพรห่ ลาย  เสย่ี งตอ่ การสูญหาย  ไมป่ ฏบิ ัติแล้ว

๖. รปู ภำพภูมปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม/กจิ กรรมทำงภูมิปัญญำทำงวฒั นธรรม

รูปแบบดัง้ เดิม ท่ีรองจาน ตงุ

ดอกไม้จากเส่อื กก

-472-

แบบสำรวจมรดกภมู ิปญั ญำทำงวฒั นธรรมจงั หวัดเชียงรำย ประจำปี 2565
สภำวฒั นธรรมจังหวัดเชยี งรำย
อำเภอดอยหลวง จังหวดั เชยี งรำย

1. ช่ือข้อมูล เส่ือกกบ้านปา่ ลัน

๒. ลักษณะ  วรรณกรรมพ้ืนบ้านและภาษา

 ศลิ ปะการแสดง
 แนวปฏิบตั ิทางสงั คมพิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล

 อาหาร/ความรู้และการปฏบิ ตั ิเก่ยี วกบั ธรรมชาตแิ ละจักรวาล
 งานชา่ งฝีมือด้งั เดมิ

 การละเลน่ พืน้ บ้าน กีฬาพืน้ บา้ น และศิลปะการต่อส่ปู ้องกันตวั

3. รำยละเอียดข้อมูล

3.1) ประวตั คิ วามเป็นมาของขอ้ มลู

กลุ่มแม่บ้านทอเส่ือกกบ้านป่าลัน เป็นกลุ่มทอเสื่อกกท่ีสืบทอดภูมิปัญญาจากรุ่นพ่อแม่ ซ่ึงอพยพมา
จากแถบจังหวัดกาฬสินธุ์ และจังหวัดมหาสารคาม เมื่อปี พ.ศ. 2555 นางรุ่งอรุณ ไชยสีหา ได้เล็งเห็น
ความสา้ คัญของภูมปิ ัญญา และเห็นวา่ ต้นกกซ่ึงเป็นวัตถุดบิ ท่ีมใี นชุมชนอยู่แล้ว นางรุ่งอรุณจึงได้คิดผลิตทอเสื่อกก
ขายให้แก่คนในชุมชน และชุมชนใกล้เคียง เพื่อท้าให้มีสินค้าและผลิตภัณฑ์ท่ีเป็นเอกลักษณ์ของท้องถิ่น
ก่อให้เกิดรายได้ และส่งเสริมให้เกิดงานในชมุ ชน เพ่ือขอค้าแนะน้าในการจดทะเบียนผลติ ภัณฑ์ OTOP และได้
ผ่านการอบรม KBO ทา้ ใหร้ จู้ กั วธิ ีการพัฒนาผลติ ภัณฑ์ให้ไดม้ าตรฐาน การวางแผนบริหารจดั การในกลุ่ม รวมถงึ
ได้รับการส่งเสริมสนบั สนนุ จากศนู ยพ์ ฒั นาฝมี ือแรงงาน และศนู ย์การศกึ ษานอกโรงเรยี นอ้าเภอดอยหลวง ซ่ึงได้
พาไปอบรม ศึกษาดูงานกลุ่มทอเสื่อในชุมชนอื่น เพื่อฝึกทักษะ เรียนรู้กระบวนการผลิตให้เกิดความเชี่ยวชาญ
พัฒนาฝีมือในการผลิต ปจั จุบันทางกลุ่มได้คิดหาวธิ ีพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้ได้รูปแบบที่หลากหลายตรงกับความต้องการ
ของตลาด รวมถงึ รสนยิ มของผบู้ ริโภค

3.2) ขน้ั ตอน/วิธีการ/ด้าเนินการเกย่ี วกับข้อมลู
1. ตัดตน้ กก ในระยะท่ยี ังไม่แก่ สงั เกตจากดอกตน้ กกจะมีสเี ขยี ว
2. ผ่าต้นกกออกเป็นเส้น ประมาณ 4-6 เสน้ ตามจา้ นวนทีต่ อ้ งการผลิต
3. นา้ ไปตากแดดใหแ้ ห้ง สงั เกตเม่ือตน้ กกแหง้ แลว้ จะเปลย่ี นสเี ป็นสีขาว
4กา้ หนดความกว้างของเสื่อท่ีต้องการทอ แลว้ นา้ เส้นกกไปตัดใหไ้ ด้ขนาดทตี่ อ้ งการ
5. น้าต้นกกไปย้อมสีเคมี โดยเติมน้า 5 ลิตร ต่ออัตราส่วนสีย้อม 1 ซอง ต้มน้าให้เดือด น้าเส้นกกจุ่ม
ลงในน้าสีย้อมกกเป็นเวลา 1-2 นาที จากนั้นน้ามาผ่ึงในที่รม่ ให้แหง้
6.ใช้เชือกในล่อนขนาดเลก็ ทา้ เป็นโครงขนาดความกวา้ งของเสื่อ เพ่ือเตรียมจะทอเป็นผืนเสอ่ื ซง่ึ ขนาด
ความกว้างและความยาวของเส่อื ขึ้นอยู่กบั ความกวา้ งของเส้นกก และขึงไหมด้งั บนกท่ี อให้ตึง
7. น้าเส้นกกที่แห้งแลว้ มาทอเป็นผืนเส่ือ โดยวิธีการสอดเส้นกกสลับบนลา่ ง และใช้ฟืมควบคุมการทอ
ใหไ้ ด้ตามขนาดความยาวที่ต้องการ
8. เม่ือได้ขนาดความยาวที่ต้องการแล้ว ให้ตัดเชือกในล่อนที่ขึงไว้เป็นโครงทอเสื่อออกแล้วผูกปลาย
เชอื กตรงเสอื่ ท่ีทอ เพอ่ื ไมใ่ ห้เสน้ กกหลดุ ออกจากกัน
9. ตัดปลายขอบของเส้นกกและเชอื กทเี่ หลือจากการทอทิ้ง

-473-

4. ชื่อผทู้ ถ่ี อื ปฏิบัตแิ ละผู้สืบทอด

4.1 ผ้ถู อื ปฏิบตั ิ

ชื่อ นางถนอม สบื พลาย

วัน เดือน ปเี กิด 16 เมษายน 2521

ที่อยู่ 173 หมู่ 5 ตา้ บลปงน้อย อ้าเภอดอยหลวง จงั หวดั เชียงราย

หมายเลขโทรศพั ท์ 087 711 1893

4.2 ผูส้ ืบทอด

ชือ่ นางรุ่งอรุณ ไชยสหี า

วัน เดอื น ปเี กิด 19 ธนั วาคม 2523

ที่อยู่ 34 หมู่ 5 ต้าบลปงน้อย อา้ เภอดอยหลวง จังหวัดเชยี งราย

หมายเลขโทรศพั ท์ 085 710 6762

๕. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏบิ ัติอยา่ งแพรห่ ลาย  เสย่ี งตอ่ การสญู หาย  ไม่ปฏิบัตแิ ลว้

๖. รูปภำพภมู ิปัญญำทำงวัฒนธรรม/กจิ กรรมทำงภมู ิปัญญำทำงวัฒนธรรม

-474-

แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ัญญำทำงวัฒนธรรมจังหวดั เชียงรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวัฒนธรรมจงั หวัดเชยี งรำย

อำเภอพญำเม็งรำย จงั หวดั เชียงรำย

๑. ชื่อข้อมลู เยบ็ หมวกสาน บา้ นศรีชุม

๒. ลกั ษณะ  วรรณกรรมพ้นื บา้ นและภาษา
 ศลิ ปะการแสดง
 แนวปฏิบตั ิทางสังคมพิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรู้และการปฏิบัตเิ กยี่ วกับธรรมชาติและจกั รวาล
 งานชา่ งฝมี อื ดัง้ เดมิ
 การละเล่นพน้ื บ้าน กีฬาพืน้ บ้าน และศลิ ปะการตอ่ สปู่ ้องกันตัว

๓. รำยละเอยี ดขอ้ มลู

๓.๑) ประวตั ิความเปน็ มาของข้อมลู
การท้าเคร่ืองจักสานในชนบท สมัยก่อนชาวบ้านมีการท้าสืบต่อกันมามนุษย์น้าวัตถุดิบจากธรรมชาติ
เท่าที่จะหาได้ใกล้ตัวมาท้าให้เกิดประโยชน์ต้นไม้บางชนิดสามารถน้ามาใช้ประโยชน์ได้อย่างมาก เช่น ต้นไผ่
หรือไม้ไผ่ มนุษย์สามารถนา้ มาจักสานท้าใหเ้ ปน็ เส้นเปน็ ริ้วเพื่อความสะดวกของการเอามาสานเอามาถัก น้ามา
เย็บเป็นหมวกสาน ใช้ส้าหรับสวมใส่กันแดด กันฝนในการไปประกอบอาชีพ ซ่ึงถือได้ว่าเป็นภูมิปัญญาของคน
สมยั ก่อนท่ีถา่ ยทอดให้คนรุ่นหลังได้เรยี นรู้กนั มาก กลุม่ แมบ่ ้านบา้ นศรชี มุ หมู่ 10 ได้เลง็ เห็นถงึ ความส้าคัญของ
ภูมิปัญญาที่มีมาแต่โบราณและเพ่ือสืบทอดมรดกภูมิปัญญาของคนสมัยก่อนไม่ให้สูญหายไป จึงได้รวมกลุ่มกัน
จัดต้ังกลุ่มพัฒนาสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้าน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ช่ือว่า “กลุ่มเย็บหมวก
สาน” และได้รวมตัวกันออกแบบลวดลายของหมวกขึ้นมาใหม่ใหม้ ีความสวยงามและหลากหลาย ทันสมัยต่อผู้
พบเห็นตอบสนองความต้องการให้กลุ่มลูกค้าให้มีทางเลือกว่าต้องการรูปแบบไหน ลวดลายแบบใด อีกทั้ง
สามารถผลิตเพื่อวางจ้าหน่าย เป็นการสร้างอาชีพ สร้างรายได้ ส่งเสริมให้มีผลิตภัณฑ์ประจ้าหมู่บ้านเพ่ือต่อ
ยอดเศรษฐกิจฐานรากให้กับคนในชุมชนได้เป็นอย่างดี และเป็นการรักษาวัฒนธรรมศิลปะงานช่างฝีมือไว้ไม่ให้
สูญหาย

๓.๒) ข้นั ตอน/วิธกี าร/ดา้ เนินการเกีย่ วกับข้อมลู
1. เตรยี มไมไ้ ผ่ (ไม้บงเหนียว) น้ามาผ่าแลว้ จักสอยเป็นเสน้ ตอกขนาดเทา่ ๆ กันประมาณ 1-2 มลิ ลิเมตร
2. น้าเสน้ ตอก 7 หรอื 9 เสน้ มาถักสานไขว้กนั เหมือนลกั ษณะถักเปยี ตามความยาวท่ตี ้องการ สว่ นนี้
เรียกว่า “โค้งหมวก”
3. น้าเส้นโค้งหมวก มาเย็บเป็นหมวกขนาดต่าง ๆ แล้วตกแต่งโดยกุ๊นขอบหรือประดับด้วยไม้ไผ่ท่ีถัก
เป็นเสน้ ชบุ สีหรือใช้ผา้ สตี ่าง ๆ มาตกแต่ให้สวยงาม
การสานหมวกดว้ ยวัสดธุ รรมชาติ (ไม้ไผ่) เปน็ การสบื ทอดมรดกภูมปิ ัญญามาจากบรรพบุรุษ ไมท้ ี่น้ามา
จักสานยาว 1 วา ถงึ 10 วา ในการเย็บ ถา้ จ้านวนไม่มากกลมุ่ ก็จะเย็บดว้ ยมอื เป็นสว่ นใหญ่

๔. ชื่อผ้ทู ี่ถือปฏิบตั แิ ละผูส้ ืบทอด
๔.๑ ผทู้ ่ีถือปฏบิ ตั ิ
ชือ่ กลมุ่ เยบ็ หมวกสาน บา้ นศรีชมุ หมู่ 10
วัน เดอื น ปเี กดิ จดั ต้ัง เม่ือวนั ท่ี 31 มนี าคม 2557
ทอี่ ยู่ 46 หมู่ 10 ตา้ บลไมย้ า อ้าเภอพญาเม็งราย จงั หวดั เชยี งราย
หมายเลขโทรศัพท์ 063 109 3228

๔.๒ ผสู้ ืบทอด -475-
ชือ่
วนั เดือน ปเี กิด กลมุ่ เยบ็ หมวกสาน บา้ นศรีชมุ หมู่ 10
ที่อยู่ จดั ต้งั เมอ่ื วนั ท่ี 31 มนี าคม 2557
หมายเลขโทรศัพท์ 46 หมู่ 10 ต้าบลไมย้ า อ้าเภอพญาเม็งราย จังหวัดเชียงราย
063 109 3228

๕. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏบิ ัติอยา่ งแพร่หลาย  เสี่ยงต่อการสูญหาย  ไมม่ ปี ฏิบตั แิ ลว้

๖. รูปภำพภมู ปิ ญั ญำทำงวัฒนธรรม/กจิ กรรมทำงภูมปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม

-๔7๖-

แบบสำรวจมรดกภมู ิปญั ญำทำงวฒั นธรรมจงั หวดั เชียงรำย ประจำปี 2565
สภำวัฒนธรรมจังหวัดเชยี งรำย
อำเภอเชียงแสน จงั หวัดเชยี งรำย

1. ช่ือข้อมูล ซ้าหวด

2. ลกั ษณะ  วรรณกรรมพืน้ บ้านและภาษา
 ศลิ ปะการแสดง
 แนวปฏบิ ตั ิทางสังคมพิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรแู้ ละการปฏบิ ตั ิเกีย่ วกบั ธรรมชาตแิ ละจักรวาล
 งานชา่ งฝีมอื ดง้ั เดิม
 การละเลน่ พื้นบา้ น กีฬาพนื้ บ้าน และศิลปะการตอ่ สูป่ ้องกันตัว

3. รำยละเอียดขอ้ มูล
3.1 ประวตั ิความเป็นมาของขอ้ มูล
ซ้าหวด หมายถึง เคร่ืองจักสานพ้ืนบ้านล้านนา ใช้ใส่เข้าหม่า หรือข้าวเหนียวที่แช่น้าไว้เพื่อล้างให้หมด

กลิน่ ก่อนจะนา้ ไปนึ่ง ท่ีกน้ ของซ้าหวดจะมีไม้กลม 2 อันวางขดั เปน็ กากบาททม่ี ุมท้ังสี่เพื่อช่วยรับน้าหนกั และเสริม
ความแข็งแรงอีกขั้นหนึ่ง รูปทรงของซ้าหวดน้ีอาจจะต่างกันไปบ้าง คือบางคนอาจสานเป็นทรงป้อม หรือบางคน
อาจสานเป็นทรงกระบอกปากผายตี่เหมือนกันก็คือ ตอกท่ีใช้มีขนาดความกว้างประมาณ 4 มิลลิเมตร
ตอกท่ีใช้สารจะใช้ทีละ 2 เส้น ข้ึนรูปก้นเป็นลายสอง ลายสานจะให้มีช่องว่างเล็กน้อยเพื่อจะให้น้าไหลผ่าน
ไดส้ ะดวก ในส่วนตัวซ้าหวด จะใช้ตอกทน่ี ้ามาข้ึนลายโดยตอกสานใช้สานเรียงทีละ 1 เส้น ส่วนตอกซังจะใช้ทบกัน
2 เส้น และลายตัวของซ้าหวดจะสานให้ชิดติดกันเพ่ือไม่ใช้ข้าวสานที่ล้างหลุดออกมาได้ พอสานถึงระดับของแล้ว
จะใชต้ อกกลมเสน้ เล็ก ๆ สานประมาณ 6-7 เสน้ สานให้ลายชิดตดิ กนั เพื่อเป็นการเสริมขอบปากใหม้ ีความแข็งแรง
จากนั้นจึงเก็บปลายตอก โดยบดิ ตอกซงั ใหเ้ ป็นเกลยี วแล้วพับสอดปลายลงไปในบรเิ วณลายทีส่ านเป็นขอบปากซา้

หวด หรือ ซ้า มีใช้กันท่ัวไปในภาคเหนือตอนบน คือ แม่ฮ่องสอน เชียงใหม่ ล้าพูน ล้าปาง เชียงราย
พะเยา แพร่ น่าน ตาก สานด้วยตอกไม้ไผ่ โดยทั่วไปใช้ไผ่เร้ีย หรือ ไผ่บง การใช้ตอกเรี้ยและตอกบง
มีข้อดีข้อเสียต่างกัน หวดท่ีสานด้วยไผ่เร้ียจะมีความเหนียว ยืดหยุ่นอ่อนตัวได้ดี เวลาบีบปากหวดจะอ่อนตัว
ตามไม่หัก ส่วนหวดที่สานด้วยไผ่บงมีความแข็งแรงกว่า ข้อเสียคือหักง่าย ส่วนใหญ่นิยมใช้หวดท่ีท้าด้วยไผ่บง
มากกว่า ลักษณะของหวดส่วนท่ีเป็นก้นจะสานให้ตาห่างกันพอเมล็ดข้าวสารไม่หลุดลอดออกได้ มีมุม 4 มุม
ส่วนล้าตัวของหวดจะเป็นทรงกลม ปากผายออกกว้างกว่าส่วนก้น ขนาดของหวดมีตั้งแต่ 20 เซนติเมตรไป
จนถึง 40-50 เซนติเมตร

3.2 ขน้ั ตอน วธิ กี ารด้าเนินการเกย่ี วกับขอ้ มูล
1) นา้ ไมไ้ ผ่มาจกั เปน็ ตอก 3 ขนาดตามยืน ประมาณ 6 มลิ ลเิ มตร
2) ตอกสานตามขวาง 3-4 มลิ ลเิ มตร และตอกไพ 2 มิลลิเมตร
3) ใช้ตอกใหญ่ กอ่ กน้ ดว้ ยตอกสองเสน้ คู่กนั ทา้ ลายสอง
4) ใชไ้ มเ้ สียบแยงมุม สานกนั เก้ยี วขึ้นด้วยลายทาน สานสูงตามความต้องการ
5) ใชต้ อกไพ สองเส้นท้าหน่ึงรอบขัดกนั ไปมาสูงประมาณ 5 เซนตเิ มตร แลว้ เก็ยรายละเอยี ด

-๔77-

๔. ชื่อผู้ท่ีถอื ปฏิบัติและผ้สู บื ทอด

๔.๑ ผู้ทีถ่ อื ปฏิบตั ิ

ช่ือ นายยืน ยั่งยืน

วนั เดอื น ปเี กิด -

ทอ่ี ยู่ 411 หมู่ 13 ตา้ บลศรีดอนมูล อ้าเภอเชียงแสน จงั หวดั เชยี งราย
หมายเลขโทรศัพท์ -
๔.๒ ผสู้ ืบทอด
ชื่อ -
วนั เดอื น ปีเกดิ -
ท่ีอยู่ -
หมายเลขโทรศัพท์ -

๕. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏบิ ตั อิ ย่างแพรห่ ลาย  เสยี่ งต่อการสูญหาย  ไมม่ ีปฏบิ ตั แิ ล้ว

6. รปู ภำพปญั ญำทำงวัฒนธรรม/กจิ กรรมทำงภูมปิ ญั ญำทำงวัฒนธรรม

-๔78-

แบบสำรวจมรดกภมู ิปญั ญำทำงวฒั นธรรมจังหวดั เชียงรำย ประจำปี 2565
สภำวัฒนธรรมจังหวดั เชยี งรำย
อำเภอดอยหลวง จงั หวดั เชยี งรำย

1. ช่ือข้อมูล ผา้ อิว้ เมยี่ น

๒. ลกั ษณะ  วรรณกรรมพืน้ บา้ นและภาษา
 ศลิ ปะการแสดง

 แนวปฏบิ ัติทางสงั คมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล

 อาหาร/ความรู้และการปฏบิ ตั เิ กีย่ วกับธรรมชาติและจักรวาล
 งานชา่ งฝมี ือด้งั เดิม

 การละเลน่ พ้นื บา้ น กีฬาพืน้ บา้ น และศิลปะการตอ่ สปู่ ้องกนั ตัว

๓. รำยละเอยี ดขอ้ มูล
๓.๑) ประวัติความเปน็ มาของข้อมูล
สมัยก่อนชาวอิ้วเม่ียน หรือชนเผ่าเย้า จะตัดเย็บเคร่ืองแต่งกายไว้ใช้เองในครัวเรือนและในชีวิตประจ้าวัน

หญิงชาวอิ้วเมี่ยนจะทอผ้าใช้เอง โดยเริ่มตั้งแต่กระบวนการปลูกฝ้าย ป่ันด้าย ทอผ้า และน้ามาตัดเย็บ และ
ปักลวดลาย ผู้หญิงอิ้วเมี่ยนทุกคนจะต้องหัดปักผ้าต้ังแต่อายุ 8 ขวบ พอเร่ิมเป็นสาวรุ่นอายุ 13 - 14 ปี ก็จะ
ปักลวดลายส้าหรับตัวเองเพื่อให้มีเคร่ืองนุ่งห่มใช้ในชีวิตประจ้าวันและมีชุดส้าหรับสวมใส่ไปร่วมในงานต่ าง ๆ
ชุมชนอ้ิวเม่ียนมีค่านิยมและความเชื่อกันว่าผู้หญิงเม่ียนทุกคนต้องปักผ้าได้ หากปักไม่ได้บุคคลอื่นจะดูถูก
การปักผ้าแสดงถึงความขยนั และความเอางานเอาการของสตรีเมยี่ น ซ่งึ จะทา้ ใหบ้ รุ ุษเย้าให้ความสนใจตน

การสบื ทอดการปักผ้าของชาวเมี่ยน ท้าโดยมารดาสอนใหแ้ ก่บุตรสาวตามความพร้อมของ แตล่ ะบคุ คล
โดยการสังเกตและไต่ถามผู้รู้ แล้วฝึกด้วยตนเอง มีการแลกเปล่ียนลวดลายกับผู้อื่น ท้าให้เกิดลวดลายใหม่ ๆ
การปักผ้าทอของชาวเมี่ยนจึงนับได้ว่าเป็นกระบวนการสืบทอดศิลปะท่ีผู้สอนใช้วิธีสอนแบบปากเปล่า และ
การสาธิต ผู้เรียนใช้วิธีการสังเกต และลงมือปฏิบัติโดยฝึกประสบการณ์ด้วยตนเอง จนเกิดความช้านาญ
ในสมัยอดีตที่ยังมีการปลูกฝ้าย ปั่นด้ายด้วยตนเองอยู่จะต้องน้าฝ้ายท่ีได้ มาท้าการย้อมสี แต่ปัจจุบัน
ชาวอิ้วเม่ียนจะนิยมใช้ผ้าฝ้ายส้าเร็จรูปท่ีย้อมด้วยสีธรรมชาติ เนื่องจากสะดวก ประหยัดเวลา และมีราคา
ไม่แพง ซึ่งผ้าฝ้ายท่ีกลุ่มปักลายอิ้วเม่ียนน้ามาใช้ส้าหรับตัดเย็บเป็นผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ จะเป็นผ้าฝ้ายย้อมสี
ธรรมชาติทีม่ าจากประเทศจีน และสามารถหาซอื้ ไดจ้ ากร้านขายผา้ ทว่ั ไป

๓.๒) ขนั้ ตอน/วิธกี าร/ด้าเนินการเกย่ี วกบั ขอ้ มลู
การปักผ้าของชาวอ้ิวเม่ียนทม่ี ีความเปน็ อัตลักษณ์ และเอกลกั ษณ์แตกตา่ งจากการปักผ้าของชาติพันธุ์อื่น ๆ
คอื การปกั ผ้าจากด้านหลังผ้าขึ้นมายังด้านหน้าของผ้าเม่ียน จึงตอ้ งจับผ้าให้ด้านหน้าคว้่าลง ลวดลายของผ้าจะ
ปรากฏอยู่ด้านหลัง การปักผ้าจะปักคล้ายแบบครอสติส เป็นกากบาทไขว้โดย ๑ กากบาท จะเรียกว่า ๑ ดอก
ส่วนทิศทางการปักจะเร่ิมจากการปักหลังข้ึนมาข้างหน้า (ด้านท่ีแสดงลายผ้า) พันกัน และมีการเก็บปมและ
ซ่อนรอยต่อของเส้นด้ายอย่างเป็นระเบียบเรียบร้อย ท้าให้เกิดเป็นลักษณะพิเศษของผ้าปักเม่ียน คือ มีความ
งามทั้งสองด้าน ไม่เหมือนกับการปักผ้าแบบอื่น ๆท่ีด้านหลังเส้นด้ายจะพันกันและมีความสวยงามเพียง
ด้านหน้าด้านเดียวสีท่ีใช้ในการปักผ้าของชาวอ้ิวเมี่ยน แต่เดิมจะมีอยู่ ๕ สี ได้แก่ สีแดง สีเหลือง สีน้าเงิน สีเขียว
และสขี าว แต่ในปัจจุบันชาวเม่ียนมีการใช้สี ในการปักผ้าเพ่ิมมากขน้ึ แลว้ แตล่ วดลายทป่ี ัก

-๔79-

๔. ชอื่ ผทู้ ี่ถือปฏิบตั ิและผูส้ บื ทอด

๔.๑ ผู้ทีถ่ ือปฏบิ ัติ

ชือ่ นางสาวมานิตา กนั ทะวงศ์

วัน เดือน ปเี กดิ 27 มกราคม 2526

ท่อี ยู่ 91 หมู่ 10 ต้าบลโชคชยั อา้ เภอดอยหลวง จงั หวดั เชียงราย

หมายเลขโทรศัพท์ 086 118 7206

๔.๒ ผู้สืบทอด

ชื่อ -

วัน เดอื น ปเี กดิ -

ที่อยู่ -

หมายเลขโทรศัพท์ -

๕. สถานะการคงอยู่  ปฏบิ ตั ิอย่างแพร่หลาย  เสีย่ งต่อการสญู หาย  ไมม่ ปี ฏิบัตแิ ล้ว
๖. รูปภาพภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม/กิจกรรมทางภูมปิ ัญญาทางวฒั นธรรม

-๔80-

แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ัญญำทำงวฒั นธรรมจงั หวดั เชียงรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวัฒนธรรมจงั หวัดเชยี งรำย
อำเภอป่ำแดด เชียงรำย

๑. ชอ่ื ข้อมลู ผ้าไหมทอมือบ้านวงั ศลิ า

๒. ลักษณะ  วรรณกรรมพ้ืนบา้ นและภาษา

 ศลิ ปะการแสดง

 แนวปฏิบตั ิทางสงั คมพิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรแู้ ละการปฏิบัติเกีย่ วกับธรรมชาติและจกั รวาล
 งานช่างฝมี อื ดง้ั เดมิ

 การละเล่นพนื้ บา้ น กีฬาพ้นื บ้าน และศิลปะการต่อส่ปู ้องกันตวั

๓. รำยละเอียดขอ้ มูล
๓.๑) ประวตั ิความเปน็ มาของขอ้ มลู

กลุ่มทอผ้าไหมบ้านวังศิลา ต้าบลสันมะค่า อ้าเภอป่าแดด จังหวัดเชียงรายได้มีการเพาะเลี้ยงไหม
พันธ์ุผสมระหว่างพันธ์ุทับทิมสยาม และพันธ์ุไทยวนาสวรรค์ ซ่ึงได้รับการสนับสนุนจากศูนย์หม่อนไหมเฉลิม
พระเกียรติจังหวัดน่าน ซ่ึงเป็นพันธุ์ที่เล้ียงง่าย ให้ผลผลิตสูง มีความต้านทานต่อโรคสูง และกลุ่มทอผ้าไหมได้มี
การพัฒนาลวดลายอย่างหลากหลาย ผ้าไหมมัดหมี่ทอมือบ้านวังศิลา ได้รับความนิยม เนื่องจากเป็นผลิตภัณฑ์
ทใี่ ช้วตั ถุดบิ หลกั จากธรรมชาติ และการทอดว้ ยมือ ท่ีใช้ความประณีต ใหไ้ ด้มาซ่ึงผืนผ้าและลวดลายอันสวยงาม
ซึ่งเป็นทช่ี น่ื ชอบของบคุ คลท่ัวไปอยู่เสมอ

ลวดลายที่มาจากวิถีชีวิตประจาวัน บ้านวังศิลา ตาบลสันมะค่า อาเภอป่าแดด จังหวัดเชียงราย
ส่วนใหญ่จะมีวิถีชีวิตท่ีใกล้ชิดกับธรรมชาติ และมีความเชื่อเกี่ยวกับพญานาค ดังน้ัน ลวดลายในการทอผ้าไหม
มัดหม่ีของชาวบ้านวังศิลา จึงสร้างสรรค์จากสิ่งใกล้ตัวท่ีพบเห็น เช่น สามารถนามาสร้างสรรค์ให้เป็นผ้าไหม
มัดหมี่ ภายหลังจากนนั้ ไดค้ ิดลวดลายตา่ ง ๆ เพือ่ เพิม่ ความสวยงามให้แก่ผ้า โดยรูปแบบของลวดลายได้มาจาก
สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ เช่น ลายดอกแกว้ ลายไทย ลายนาคต้นสน ลายก้างปลา

๓.๒) ขนั้ ตอน/วธิ กี าร/ดาเนินการเก่ียวกับขอ้ มลู
วสั ดอุ ุปกรณแ์ ละอุปกรณ์
1. กง เปน็ เคร่ืองมือส้าหรับใส่ไหมทเ่ี ป็นปอย (ไน) แลว้ น้าไปกรอใสใ่ น
2. อกั ใชค้ ู่กบั กงจะรบั เสน้ ไหมจากกงมาใส่ไวใ้ น
3. หลา, ไน หรือเคร่อื งกรอหลอด
4. หลอดกรอไหม ใช้สา้ หรบั ใส่เส้นไหม
5. ฮัง (ทเี่ สยี บหลอด) เป็นที่เก็บหลอดกรอไหม
6. กา้ นสวย (กระสวย) ใช้คู่กับหลอด
7. ก่ีทอผา้ หรือก่ีกระตุก เปน็ เครือ่ งมือท่ีใชส้ า้ หรบั ทอผา้ ให้เปน็ ผืนส้าเร็จออกมา
8. ฟมื (ฟนั หว)ี เป็นเครื่องมือทใี่ ช้ส้าหรับแยกเสน้ ไหมยนื ให้ออกจากกัน
9. ตะกอ ทา้ จากเสน้ ด้ายปา่ น ทีม่ คี วามแข็งแรง เหนยี วแน่น ทา้ หน้าทย่ี กเส้นไหมใหข้ นึ้ ลง
10. กรรไกร ใชส้ ้าหรับตดั ตกแต่งผา้ ไหม
11. ผงั ใช้ส้าหรบั ตึงริมผ้าให้เสมอกนั มลี ักษณะเปน็ ไม้ยาวเท่ากับความกวา้ งของผา้

-๔81-

ขั้นตอนกำรผลิตผำ้ และผลิตภัณฑจ์ ำกผ้ำ
เมอื่ ทา้ การฟอกไหมเพ่ือลอกกาวโปรตีนท่เี กาะเส้นใยตามธรรมชาติออก แลว้ จะคลอ้ งเส้นไหมใส่กงแล้ว
ถ่ายเส้นไหมไปพันรอบอัก ต้ังอักถ่ายเส้นไหมพันรอบหลัก ค้นหม่ี หรือเครื่องโยกหม่ีซ่ึงมีความกว้างสัมพันธ์กับ
ความกว้างของฟืมท่ีใช้ทอผ้า นับ จ้านวนเส้นไหมให้เป็นชุด แต่ละชุดมีจ้านวนเส้นไหมสัมพันธ์กับลาย (จ้านวนล้า)
ขนาด ของลายจ้านวน 1 ล้า เม่ือปรากฏบนผืนผ้าท่ีทอแล้วเสร็จจะเท่ากับ ความยาว 2.8-3.3 มิลลิเมตร โดยเฉล่ีย
3 มลิ ลเิ มตร การออกแบบลายมัดหมี่ให้มที ิศทางของลายและ ขนาดของลาย สามารถท้าได้ 2 ข้นั ตอน ได้แก่
ขั้นตอนที่ 1 การค้นหม่ี เป็นการเตรียมเส้นพุ่งโดยการค้นหม่ีที่เครื่องโยก หม่ี (บางท้องถ่ิน เรียกว่า
โฮงค้นหม่ี โฮงโยกหมี่) ซ่ึงเส้นไหมในหนึ่งรอบจะมีความ ยาวเท่ากับหน้ากว้างของเคร่ืองโฮงมัดหมี่และฟืม
ซึ่งเกิดจากการค้านวณผ้าท่ีได้หน้า กว้าง 102 เซนติเมตร และมีความยาวตามท่ีก้าหนด โดยต้องมัดหมี่ให้เกิด
ลวดลาย ตามขนาดของลาย (จ้านวนลา้ ) ต้องค้นหม่ีก่รี อบในหนง่ึ ล้าเพื่อให้ไดจ้ า้ นวนเสน้ ไหม ตอ่ ล้าท่ีคงสดั ส่วน
ของาย และต้องค้นจ้านวนก่ีรอบ (ไพ, ขึน) เพื่อทบเส้นไหมตาม การซ้า (Repeat) ขนาดของลายเพ่ือให้ได้ความยาว
ของผืนผ้าตามท่ีต้องการ เช่น ลายขนาด 25 ล้า ต้องค้นหม่ีจ้านวน 34 รอบ เป็นต้น ซ่ึงการค้นหมี่จะมีผลต่อ
รูป แบบลวดลายที่จะเกิดข้ึนบนผืนผ้ากระท้าได้ 2 เทคนิควิธี คือ การค้นหมี่แบบหมี่ ร่าย (ลวดลายเรียงเย้ือง
กันเป็นแถบเฉียงที่มีลักษณะเรียงกันร่ายซา่ ย หรือมที ิศทาง ของลายเป็นทางเดยี วกนั ) และการคน้ หมี่แบบหมีร่ วด
ขั้นตอนที่ 2 การมัดหม่ี เป็นการจ้าลวดลายให้กับเส้นไหมก่อนทอเป็นผืนผ้าโดยการใช้เชอื กฟางมัดเสน้
ไหมทมี่ ีการแยกเป็นชุด ๆ ใหเ้ ปน็ ลวดลายตามต้องการ โดยมดั เป็นเปลาะ ๆ ก่อนนา้ เสน้ ไหมไปย้อมนา้ สี ส่วนที่
ถูกมัดโอบจะไม่ติดสี ส่วนท่ี ไม่ถูกมัดโอบก็จะติดสีย้อมน้ัน เมื่อแก้เชือกออกจึงเกิดสีแตกต่างกัน หากต้องการ
หลาย สี ในการผลิตจะมีการแก้และมัดโอบดว้ ยเชือก หรอื มดั โอบ ยอ้ มสที ่ี 1 มัดโอบ ลา้ งสี ยอ้ มสีที่ 2 กระทา
ดังน้ีหลายคร้ัง ย่ิงเพิ่มความซับซ้อนของการผลิต การมัดหม่ีเพื่อให้ ได้รูปแบบลวดลายและทิศทางของลาย
ตามท่ไี ด้วางแผนและค้านวณเสน้ ไหมไว้ตัง้ แต่ ข้นั ตอนการค้นหมี่ การมัดหมเี่ สน้ พุ่งท่เี คร่ืองโฮงมดั หมตี่ ้องมีการ
ปรับแต่งให้ความ ยาวของเคร่ืองโฮงมัดหม่ีเท่ากับขนาดหลักของโฮงค้นหม่ี และเท่ากับหน้าฟืมท่ีใช้ใน
การทอผา้ เพือ่ มใิ ห้ตา้ แหนง่ ของลายมดั หมี่เคลื่อนออกจากตา้ แหน่งทท่ี ้าการย้อมสีไว้

๔. ช่ือผทู้ ่ีถอื ปฏิบัติและผูส้ บื ทอด

๔.๑ ผ้ทู ่ถี ือปฏบิ ัติ

ช่ือ นางราไพ จินโจ

วนั เดอื น ปีเกดิ -

ท่ีอยู่ ๑๖๙ หมู่ ๘ ตาบลสนั มะค่า อาเภอปา่ แดด จังหวัดเชียงราย

หมายเลขโทรศัพท์ ๐๖๒ ๑๒๓ ๑๗๓๗

๔.๒ ผู้สบื ทอด

ชื่อ -

วัน เดือน ปีเกดิ -

ที่อยู่ -

หมายเลขโทรศัพท์ -

๕. สถานะ การคงอยู่  ปฏิบตั ิอยา่ งแพร่หลาย  เส่ยี งตอ่ การสญู หาย  ไม่มปี ฏิบตั แิ ลว้

-๔82-
๖. รปู ภาพภมู ปิ ญั ญาทางวัฒนธรรม/กิจกรรมทางภูมิปัญญาทางวฒั นธรรม

กลุ่มศูนยเ์ รียนรู้ม่อนไหม กลุ่มปลกู มอ่ นเล้ยี งไหมบา้ นวงั ศิลา
ตง้ั อย่ทู ี่ บ้านวงั ศิลา เลขที่ 169 หมู่ 8 ต้าบลสนั มะคา่ อา้ เภอป่าแดด จังหวัดเชยี งราย

ภาพแสดง การคน้ หมีเ่ พอื่ ทบเส้นด้าย และแยกเส้นด้าย เป็นกลมุ่ ๆ

-๔83-

แบบสำรวจมรดกภมู ิปญั ญำทำงวฒั นธรรมจงั หวัดเชยี งรำย ประจำปี 2565
สภำวัฒนธรรมจงั หวัดเชยี งรำย

อำเภอเวียงป่ำเป้ำ จงั หวดั เชยี งรำย

๑. ช่ือข้อมูล เคร่อื งปน้ั ดินเผาเวยี งกาหลง - เวียงป่าเป้า

๒. ลักษณะ  วรรณกรรมพ้ืนบ้านและภาษา
 ศลิ ปะการแสดง

 แนวปฏบิ ัติทางสังคมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล

 อาหาร/ความรแู้ ละการปฏิบัตเิ กย่ี วกบั ธรรมชาติและจักรวาล
 งานช่างฝีมือด้งั เดิม
 การละเลน่ พน้ื บ้าน กีฬาพนื้ บา้ น และศิลปะการต่อสู่ป้องกันตัว

๓. รำยละเอยี ดขอ้ มลู

๓.๑) ประวัติความเปน็ มาของข้อมูล
“เครื่องปั้นดินเผำเวียงกำหลง” กลุ่มหัตถกรรมด้านฝีมือที่ทรงคุณค่ามีเอกลักษณ์เฉพาะโดดเด่น
มีลวดลายใต้เคลือบท่ีสวยงามท่ีบ่งบอกถึงรากฐานของวัฒนธรรมและภูมิปัญญาพื้นบ้าน มีแหล่งวัตถุดิบคือดิน
คุณภาพดีเหมาะแก่การป้ันและแข็งแกร่ง เป็นเคร่ืองชี้วัดหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่ยาวนาน มีเตาเผา
ที่มีรูปลักษณ์เฉพาะเครื่องป้ันเวียงกาหลงต่างจากเครื่องปั้นในท่ีอ่ืน ๆ เพราะมีการเขียนลวดลายและเคลือบ
ด้วยน้าเคลือบท่ีสวยงาม คงทน มีลวดลายเฉพาะตน กล่าวได้ว่า “ลวดลำยเวียงกำหลง” เคร่ืองปั้นดินเผา
เวียงกาหลงถูกคน้ พบและมีการแลกเปล่ียนในบรเิ วณกว้าง แสดงถึงความเจรญิ ร่งุ เรืองด้านหัตถศิลป์ ซงึ่ ถือเป็น
ศิลปวัตถุโบราณปรากฏในพิพิธภัณฑ์สถานของกรมศิลปากรหลายแห่ง พื้นที่เวียงกาหลงกรอปกับเป็นท่ีต้ังของ
โบราณสถานเวียงกาหลง หรือเมอื งโบราณด้วย
เคร่ืองป้ันดินเผาเวียงกาหลง – เวียงป่าเป้า ปรากฏงานป้ันอยู่หลายพื้นที่เป็นศิลปะการป้ันดินแดง
ธรรมดา เช่น กลุ่มปั้นหม้อบ้านโป่ง กลุ่มสันทราย กลุ่มบ้านลังกา เป็นต้น ซึ่งถือได้ว่าเป็นเครื่องป้ันเวียงกาหลง
และกลุ่มเครื่องป้นั เวียงปา่ เป้า

3.2) ข้ันตอน/วิธกี าร/ดา้ เนนิ การเก่ยี วกับขอ้ มูล
- ใช้วตั ถุดินคุณภาพดี คือ ดินขาวทม่ี ใี นพืน้ ที่
- ใช้น้าเคลอื บจากวัสดธุ รรมชาติ เพ่อื สดคล้องกับความงดงาม สวยงาม
- ใช้ลวดลายเวยี งกาหลง เขยี นลวดลายลงบนภาชนะทข่ี นึ้ ทรงแลว้

- ใช้การควบคมุ อณุ ภมู คิ วามร้อนท่ีได้มาตรฐาน
- ใช้องคค์ วามรรู้ ักษารูปลักษณะเดิมที่ปรากฏในเตาโบราณ และพฒั นาสูผ่ ลติ ภณั ฑ์ต่อยอด

๔. ช่ือผทู้ ่ีถือปฏบิ ตั ิตำมและสืบทอด

4.1 ผู้ทถ่ี ือปฏิบัติ

ชอ่ื กลมุ่ วสิ าหกิจชุมชนวดั แม่หา่ ง/กล่มุ เตานายทนั ธิจติ ตงั

วนั เดือน ปเี กดิ -

ทอ่ี ยู่ ต้าบลเวียงกาหลง อ้าเภอเวียงป่าเป้า จงั หวดั เชียงราย

หมายเลขโทรศัพท์ -

4.2 ผูส้ ืบทอด -๔84-
ชื่อ
กลมุ่ เครื่องป้นั ดินเผาบ้านโป่งเทวี – บา้ นลังกา ตา้ บลบา้ นโปง่
วนั เดอื น ปเี กิด กลุม่ เครื่องปน้ั ดินเผาบ้านศรีทรายมูล-ปา่ งิ้ว ต้าบลปา่ งิ้ว
ท่อี ยู่
หมายเลขโทรศัพท์ -
ตา้ บลเวียงกาหลง อา้ เภอเวียงปา่ เป้า จังหวัดเชยี งราย
097 968 9109 (สภาวัฒนธรรมอ้าเภอเวยี งปา่ เปา้ )

๕. สถำนะ กำรคงอยู่ ปฏบิ ัติอย่างแพร่หลาย  เสย่ี งตอ่ การสูญหาย ไมป่ ฏบิ ัตแิ ลว้

๖. รปู ถ่ำยภมู ปิ ัญญำทำงวฒั นธรรม/กจิ กรรมทำงภมู ปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม

-๔85-

แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ญั ญำทำงวัฒนธรรมจงั หวัดเชียงรำย ประจำปี 2565
สภำวัฒนธรรมจงั หวดั เชยี งรำย
อำเภอพำน จังหวัดเชยี งรำย

๑. ช่ือข้อมลู ภูมิปัญญาชาวบ้านดา้ นผลติ ภณั ฑ์เคร่ืองจักสาน

๒. ลกั ษณะ  วรรณกรรมพ้ืนบา้ นและภาษา
 ศลิ ปะการแสดง

 แนวปฏบิ ตั ทิ างสังคมพิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล

 ความรู้และการปฏบิ ตั ิเกี่ยวกับธรรมชาตแิ ละจกั รวาล
 งานช่างฝมี ือด้งั เดมิ

 การละเลน่ พ้นื บ้าน กีฬาพืน้ บา้ น และศลิ ปะการต่อสปู่ ้องกันตวั

๓. รำยละเอยี ดข้อมลู

๓.๑) ประวัตคิ วามเป็นมาของข้อมูล
พ่อค้าอ้าย ทะรินทร์ ผู้ซ่ึงสืบทอดภูมิปัญญาในการท้าไม้กวาด ดอกหญ้าจากปู่ย่าตายาย เริ่มต้นจาก
อดีตได้ท้าข้ึนมาส้าหรับไว้ใช้ในครัวเรือน ยังไม่ได้ท้าขาย เพราะสมัยก่อนแต่ละบ้านก็จะท้าส่ิงของไว้ใช้กันเอง
จนมายุคปัจจุบันชนรุ่นหลังไม่ค่อยมีใครสืบทอดภูมิปัญญาการจักสาน รวมถึงการท้าไม้กวาดจากบรรพบุรุษ
พ่อค้าอ้าย ทะรินทร์ จึงได้เร่ิมท้าเป็นอาชีพเสริมโดยการท้าไม้กวาดดอกหญ้า ไม้กวาดทางมะพร้าว ตะกร้า
หวาย พานขด ซ่ึงผลิตภัณฑ์ของท่านแต่ละช้ินนั้นมีเอกลักษณ์ คือ ความแข็งแรง ทนทาน แต่แฝงไปด้วยความ
ประณตี สวยงาม และการประยกุ ตเ์ อาส่งิ ของเหลอื ใชม้ าเปน็ วตั ถดุ ิบประกอบ สา้ หรับไม้กวาดดอกหญ้ามัดเชือก
ซ่ึงเป็นผลิตภัณฑ์เด่นน้ัน มีแนวคิดจากการน้ายอดของดอกหญ้า ท่ีเหลือจากการคัดเลือกส่วนที่แข็งแรงไปท้า
ไม้กวาดแล้ว

3.2) ขัน้ ตอน/วธิ ีการ/ด้าเนินการเกยี่ วกับข้อมลู
-

๔. ชื่อผูท้ ีถ่ ือปฏบิ ตั ิตำมและสืบทอด

4.1 ผ้ทู ี่ถือปฏบิ ัติ

ชื่อ นายค้าอา้ ย ทะรินทร์

วนั เดือน ปีเกิด 13 ตุลาคม 2489

ทอี่ ยู่ 254 หมู่ 3 ต้าบลแมอ่ ้อ อ้าเภอพาน จังหวัดเชียงราย

หมายเลขโทรศัพท์ 085 715 2563

4.2 ผสู้ ืบทอด

ชอ่ื นางจันทร์เป็ง ทะรินทร์

วนั เดือน ปเี กิด 7 มีนาคม 2499

ทอ่ี ยู่ 254 หมู่ 3 ต้าบลแม่ออ้ อา้ เภอพาน จังหวดั เชียงราย

หมายเลขโทรศัพท์ 080 068 5817

๕. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏิบัตอิ ยา่ งแพร่หลาย เสีย่ งตอ่ การสญู หาย ไม่ปฏิบตั แิ ล้ว

-๔86-
๖. รูปถำ่ ยภูมปิ ญั ญำทำงวฒั นธรรม/กจิ กรรมทำงภูมปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม

-๔87-

แบบสำรวจมรดกภมู ิปญั ญำทำงวฒั นธรรมจังหวัดเชียงรำย ประจำปี 2565
สภำวฒั นธรรมจงั หวดั เชยี งรำย
อำเภอพำน จงั หวดั เชียงรำย

๑. ชื่อข้อมูล สานตะกร้าทางมะพร้าว

๒. ลกั ษณะ  วรรณกรรมพนื้ บ้านและภาษา
 ศลิ ปะการแสดง

 แนวปฏบิ ตั ทิ างสงั คมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล

 ความรแู้ ละการปฏบิ ตั ิเกี่ยวกบั ธรรมชาตแิ ละจักรวาล
 งานช่างฝมี อื ด้งั เดิม

 การละเล่นพ้นื บา้ น กีฬาพ้ืนบา้ น และศิลปะการตอ่ สปู่ ้องกนั ตวั

๓. รำยละเอยี ดขอ้ มลู

๓.๑) ประวัติความเปน็ มาของขอ้ มูล
นางบวั ผดั อินสอน คร้ังแรก ไดศ้ กึ ษาเรยี นรู้โดยฝึกปฏิบัติกบั ผู้สงู อายุในหมู่บ้านซ่งึ ได้ด้าเนนิ การเพ่ือใช้
ในครัวเรือน และต่อมาได้มีการรวมกลุ่มสมาชิกในหมู่บ้าน จ้านวน 30 ราย และการฝึกอบรมเพิ่มเติมจาก
หนว่ ยงานราชการ เช่น กรมการพฒั นาชมุ ชน ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
จากน้ันได้มีการน้าผลิตภัณฑ์ไปแสดงและจ้าหน่ายสถานท่ีต่าง ๆ และผลิตภัณฑ์เป็นท่ีน่าสนใจของ
บคุ คลทวั่ ไป และมกี ารสัง่ จองจ้านวนมาก
ต่อมามีผู้ประกอบการโรงแรมมาสั่งจองให้ผลิตตะกร้าส้าหรับใส่ผ้า หรือขยะในห้องพักโรงแรม โดยมี
ยอดสั่งจองเดือนละ 300 ชนิ้ สมาชิกกลมุ่ สามารถผลิตและส่งมอบไดค้ รบตามจ้านวนเปน็ ระยะเวลา จา้ นวน 3 เดอื น
นางบัวผัด อินสอน ได้รับการติดต่อให้ไปเป็นวิทยากรในการถ่ายทอดความรู้ และฝึกปฏิบัติให้กับ
บุคคลทั่วไปในเขตพ้ืนท่ีจังหวัดเชียงรายทุกอ้าเภอ และได้รับเกียรติบัตรหลักสูตร “วิทยากรผู้น้าสัมมาชีพ”
เมอ่ื ปี พ.ศ. 2559

3.2) ขัน้ ตอน/วธิ ีการ/ดา้ เนนิ การเกี่ยวกับขอ้ มลู
-

๔. ชื่อผทู้ ถี่ ือปฏบิ ตั ิตำมและสบื ทอด

4.1 ผทู้ ถี่ อื ปฏิบตั ิ

ช่อื นางบัวผัด อินสอน

วัน เดอื น ปีเกิด 25 สงิ หาคม 2502

ที่อยู่ 81 หมู่ 5 ตา้ บลสันตสิ ุข อา้ เภอพาน จงั หวัดเชยี งราย

หมายเลขโทรศัพท์ 089 950 9190

4.2 ผู้สบื ทอด

ชอ่ื นางสุภาพร ทพิ ย์ทอง

วัน เดือน ปีเกิด ๑7 กมุ ภาพนั ธ์ 2๕๐๘

ท่อี ยู่ ๑๓1 หมู่ 5 ตา้ บลสันตสิ ุข อ้าเภอพาน จังหวดั เชยี งราย

หมายเลขโทรศัพท์ 061 794 3695

๕. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏบิ ัตอิ ย่างแพร่หลาย เส่ยี งตอ่ การสญู หาย ไมป่ ฏิบตั แิ ลว้

-๔88-
๖. รูปถำ่ ยภูมปิ ญั ญำทำงวฒั นธรรม/กจิ กรรมทำงภูมปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม

-๔89-

แบบสำรวจมรดกภมู ปิ ญั ญำทำงวฒั นธรรมจงั หวัดเชียงรำย ประจำปี 2565
สภำวัฒนธรรมจงั หวัดเชยี งรำย

อำเภอเมืองเชียงรำย จงั หวัดเชยี งรำย

๑. ช่ือข้อมูล เคร่ืองจักสาน (ฆ้องไมไ้ ผ)่

๒. ลักษณะ  วรรณกรรมพื้นบ้านและภาษา
 ศิลปะการแสดง

 แนวปฏบิ ัติทางสังคมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล

 ความรแู้ ละการปฏิบัติเก่ียวกบั ธรรมชาติและจกั รวาล
 งานชา่ งฝีมือด้งั เดมิ

 การละเลน่ พืน้ บา้ น กีฬาพน้ื บ้าน และศิลปะการตอ่ สู่ป้องกันตัว

๓. รำยละเอยี ดข้อมลู

๓.๑) ประวตั คิ วามเปน็ มาของข้อมูล
ได้รับการสืบทอดจากทางบรรพบุรุษ และให้ลูกหลาน ครอบครัว ชุมชน ได้ปฏิบัติสานต่อฝีมือของ
บรรพบุรุษ ในเรือ่ งเคร่อื งจักสาร ทางหมู่บ้านจะมีการอนรุ ักษ์ การทา้ งานฝมี อื ในเครื่องจักสานของหมู่บ้าน ท่ีจะ
สืบทอดให้คนในชุมชนได้รับรู้และสืบทอดในภูมิปัญญาของผู้เฒ่า ผู้แก่ในชุมชน และจะให้ลูกหลานมีการ
สบื ทอดต่อไป

3.2) ขนั้ ตอน/วธิ ีการ/ด้าเนนิ การเกีย่ วกับขอ้ มลู
ท้าตามวิถีของคนในชมุ ชน ใชอ้ ปุ กรณ์ในพน้ื ทีใ่ นการด้าเนนิ การ

๔. ชอื่ ผ้ทู ่ีถือปฏิบตั ิตำมและสืบทอด

4.1 ผู้ที่ถือปฏบิ ัติ

ช่ือ นายค้า ปัญโญแสง

วัน เดือน ปีเกิด ๒๔๙๒

ทอ่ี ยู่ ๑๖๗ หมู่ ๑๓ ต้าบลแมก่ รณ์ อ้าเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย

หมายเลขโทรศัพท์ -

4.2 ผู้สบื ทอด

ชื่อ ชาวบา้ นในชมุ ชน หมู่ ๑๓

วัน เดือน ปีเกดิ -

ทีอ่ ยู่ หมู่ ๑๓ ต้าบลแม่กรณ์ อา้ เภอเมอื งเชียงราย จังหวดั เชียงราย

หมายเลขโทรศัพท์ -

๕. สถำนะ กำรคงอยู่  ปฏิบัตอิ ย่างแพรห่ ลาย เสี่ยงตอ่ การสญู หาย ไมป่ ฏิบัติแล้ว

-๔90-
๖. รูปถำ่ ยภูมปิ ญั ญำทำงวฒั นธรรม/กจิ กรรมทำงภูมปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม

-๔91-

แบบสำรวจมรดกภมู ิปัญญำทำงวัฒนธรรมจงั หวัดเชียงรำย ประจำปี 2565
สภำวัฒนธรรมจงั หวดั เชยี งรำย

อำเภอเมอื งเชยี งรำย จงั หวดั เชยี งรำย

๑. ช่ือข้อมูล งานแกะสลกั ไม้ สลา่ คา้ จนั ทร์ ยาโน

๒. ลักษณะ  วรรณกรรมพ้นื บา้ นและภาษา
 ศิลปะการแสดง

 แนวปฏบิ ตั ทิ างสงั คมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล

 ความรแู้ ละการปฏิบัติเกี่ยวกับธรรมชาติและจักรวาล
 งานชา่ งฝีมอื ดัง้ เดิม

 การละเล่นพื้นบา้ น กีฬาพื้นบ้าน และศลิ ปะการต่อสูป่ ้องกนั ตวั

๓. รำยละเอียดขอ้ มลู

๓.๑) ประวัตคิ วามเปน็ มาของข้อมูล
“สล่า” คือ ค้าพ้ืนเมืองที่แปลว่า “ช่าง” ซึ่งชาวบ้านถ้าผาตอง ต้าบลท่าสุด อ้าเภอเมืองเชียงราย

จังหวัดเชียงราย ใช้เรียกน้าหน้าชื่อของครคู ้าจันทร์ ยาโน ท่ีมีฝีมือด้านช่างแกะสลักไม้ จนกระทั่งได้รับคัดเลือก

จากส้านักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (สกศ.) ให้เป็นครูภูมิปัญญาไทย รุ่นท่ี ๕ ในสาขาอุตสาหกรรมและ
หตั ถกรรม (แกะสลกั ไม้)

สล่าค้าจันทร์ ได้เล่าถึงแรงบันดาลใจท่ีท้าให้เดินเข้าสู่เส้นทางสายช่างแกะสลักไม้วา่ ได้เห็นผลงานของ
คุณตาทเ่ี ป็นชา่ งแกะสลักไมม้ าก่อน โดยงานที่คุณตาท้าสว่ นใหญ่จะเปน็ งานแกะสลักด้ามกระบวยตักน้า ตามวิถี

ชวี ิตของชาวบ้านทัว่ ไป ตอ่ มาจจงึ ไดท้ ดลองท้าตามทคี่ ณุ ตาท้าไว้
จนกระทั่ง อาจารย์ถวัลย์ ดัชนี ศิลปินแห่งชาติได้มาเห็น ท่านก็ได้บอกว่าน่าจะท้าเป็นเรื่องราวท่ีมีชีวติ

ดบู า้ ง แตก่ ็เกรงว่าจะไม่มีใครซ้ือ แตอ่ าจารย์ถวัลย์ ดัชนี บอกว่าให้ท้ามาเถอะ เดียวจะซอ้ื เอง แตต่ อนน้นั ก้ไม่ได้
คิดจะยึดเป็นอาชีพอย่างจริงจัง จนกระท่ังในปี ๒๕๔๙ ท้านาแล้วประสบปัญหาภัยแล้งอย่างหนัก จึงได้หันมา

แกะสลักด้ามกระบวยน้าอย่างจริงจัง เมื่อเริ่มแกะสลักไม้จนช้านาญ และมีรายได้จากการจ้าหน่ายไม้แกะสลัก
เพ่ือนบ้านก็เริ่มให้ความสนใจมากข้ึน สล่าค้าจันทร์จึงได้ฝึกสอนการแกะสลักไม้ให้กับชาวบ้านที่สนใจ เป็นการ

สรา้ งอาชพี สร้างรายได้ให้กับคนในชุมชนอกี ทางหน่งึ

3.2) ขัน้ ตอน/วิธกี าร/ด้าเนินการเกยี่ วกับขอ้ มูล
สอบถามข้อมูลจาก สลา่ คา้ จันทร์ ยาโน

๔. ชื่อผู้ท่ถี ือปฏิบตั ิตำมและสืบทอด
4.1 ผู้ทีถ่ ือปฏบิ ตั ิ
ช่อื นายคา้ จนั ทร์ ยาโน
วัน เดอื น ปเี กิด -
ท่ีอยู่ ๒๔๘ หมู่ ๖ ต้าบลทา่ สดุ อา้ เภอเมืองเชยี งราย จงั หวดั เชยี งราย
หมายเลขโทรศัพท์ ๐๘๑ ๖๐๒ ๔๗๗๕
4.2 ผสู้ บื ทอด
ชื่อ -
วนั เดือน ปีเกิด -
ทอ่ี ยู่ -
หมายเลขโทรศัพท์ -

-๔92- ไมป่ ฏบิ ตั แิ ลว้
๕. สถำนะ กำรคงอยู่ ปฏิบตั ิอย่างแพร่หลาย  เสีย่ งตอ่ การสูญหาย
๖. รูปถ่ำยภมู ปิ ญั ญำทำงวฒั นธรรม/กจิ กรรมทำงภมู ปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม



-493-

แบบสำรวจมรดกภมู ิปัญญำทำงวัฒนธรรมจงั หวดั เชยี งรำย ประจำปี ๒๕๖๕
สภำวัฒนธรรมจงั หวดั เชยี งรำย
อำเภอแมส่ ำย จงั หวัดเชยี งรำย

๑. ช่ือข้อมูล การชนไก่

๒. ลกั ษณะ  วรรณกรรมพน้ื บา้ นและภาษา
 ศิลปะการแสดง
 แนวปฏบิ ัติทางสงั คมพธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล
 อาหาร/ความรแู้ ละการปฏบิ ตั เิ กยี่ วกบั ธรรมชาตแิ ละจกั รวาล
 งานช่างฝมี อื ด้งั เดมิ
 การละเล่นพื้นบา้ น กีฬาพน้ื บ้าน และศลิ ปะการตอ่ สูป่ ้องกันตัว

๓. รำยละเอียดขอ้ มูล

๓.๑) ประวตั คิ วามเป็นมาของข้อมูล
การชนไก่ (บ้างเรียกตีไก่) เป็นกีฬาท่ีมนุษย์คิดขึ้น โดยใช้สัตว์เป็นตัวแทนของตนในการแข่งขันต่อสู้
จนเป็นที่นิยมกันท่ัวไป และก็เหมือนกีฬาประเภทอื่น ๆ ที่บางครั้งก็มีเร่ืองของการเดิมพัน, การพนันเข้ามา
เกี่ยวข้อง มีการสันนิษฐานว่าคนไทยรู้จักการชนไก่มาต้ังแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา ซ่ึงคงอ้างอิงจากเร่ืองเล่าไก่ชน
ของสมเด็จพระนเรศวร ท่ีว่า เมื่อครั้งที่สมเด็จพระนเรศวรทรงเป็นตัวประกันอยู่ท่ีกรุงหงสาวดี เคยชนไก่ชนะ
พระมหาอปุ ราช จนเกิดการปะทะคารมระหวา่ งทง้ั 2 พระองค์ข้นึ
สมเด็จพระมหาอุปราชตรัสวา่ “ไก่เชลยตวั นเ้ี กง่ จรงิ หนอ”
สมเด็จพระนเรศวรก็ดำรัสตอบว่ำ “ไก่เชลยตวั นี้ อย่าวา่ แตจ่ ะตีกนั อยา่ งกีฬาในวงั เหมอื นวนั น้ีเลย
ตพี นนั บา้ นเมืองก็ยงั ได้”

๓.๒) ข้ันตอน/วิธีการ/ดาเนนิ การเกี่ยวกบั ข้อมลู

ไก่ชนชั้นดี ที่นิยมเลี้ยงไว้เพื่อความสวยงามและนิยมเลี้ยงไว้สาหรับการแข่งขันกัน เนื่องจากกีฬา
ประเภทน้ีเป็นการละเล่นพื้นบ้านท่ีมีประวัติความเป็นมาอย่างยาวนาน จึงได้มีตาราการดูไก่ชน การคัดเลือก

พนั ธ์ุ การเล้ียง ฝกึ ฝนไก่ ซ่งึ ถือเปน็ ภมู ปิ ัญญาทีส่ บื ตอ่ กนั มาจากรนุ่ สูร่ นุ่ สาหรบั การดลู ักษณะไกเ่ กง่ ตามตาราน้ัน
ต้องเร่ิมดูจากใบหน้า ไก่ชนที่ดีต้องมีใบหน้าเกล้ียงเกลา ปากต้องเป็นสีตามพันธ์ุไก่น้ัน ๆ ปากต้องใหญ่ แน่น

แข็งแรง ปลายงุ้มไม่ยาวและไม่ส้ันจนเกินไป ปากบนมีร่องน้า จมูกกว้างใหญ่ ตามีประกายแจ่มใส นัยน์ตาดา
เล็ก ตาขาวมีสีขาว หงอนเล็ก ฐานหงอนหนา กะโหลกศีรษะหนาอวบ ลาตัวยาว กระดูกใหญ่ อกผาย ไหล่ผึ่ง

ปีกยาวใหญ่ สีขนชดั เจนเป็นไปตามพันธุ์ เปน็ ต้น
ปัจจุบันการเล้ียงไก่ชนถือเป็นธุรกิจประเภทหน่ึงซ่ึงสามารถทารายได้ได้เป็นอย่างดี สาหรับผู้ท่ีชื่นชอบ

กฬี าชนดิ นี้ เร่ิมต้งั แตก่ ารเพาะเลยี้ งไกช่ นพันธ์ดุ ี การฝึกฝนไก่ชน การแขง่ ขันชนไก่ ซึ่งผเู้ ลยี้ งและผูฝ้ กึ ฝนตอ้ งส่ัง
สมท้งั ความรแู้ ละประสบการณเ์ พ่อื ให้ได้ไกช่ นพันธ์ดุ ีไวล้ งแขง่ ในสนาม

๔. ช่ือผทู้ ่ถี ือปฏิบตั ิและผ้สู บื ทอด

๔.๑ ผทู้ ี่ถอื ปฏิบตั ิ

ชือ่ นายสงา่ จับใจนาย

วนั เดือน ปเี กิด -

ท่อี ยู่ 83/1 หมู่ 1.ตาบลแม่สาย อาเภอแม่สาย จังหวดั เชียงราย

หมายเลขโทรศัพท์ 081 034 1170


Click to View FlipBook Version