คู่มือ
ปฏิบัติราชการ
ของตุลาการ
ส่วนวิธีพิจารณาความแพง่
เล่มที่ ๑
สานกั งานศาลยตุ ิธรรม (พ.ศ. ๒๕๖๒)
คู่มือ
ปฏบิ ตั ริ าชการของตุลาการ
ส่วนวธิ ีพจิ ารณาความแพ่ง
เล่มท่ี ๑
สานักงานศาลยุตธิ รรม
คำส่ังคณะกรรมกำรบรหิ ำรศำลยตุ ธิ รรม
ที่ 3/2552
เร่ือง แต่งต้ังคณะอนุกรรมกำรปรับปรุงแก้ไขคู่มือปฏิบัติรำชกำร
ของตุลำกำร
ตามที่ได้มีการจัดทาคมู่ อื ปฏบิ ัตริ าชการของตุลาการเพื่อให้ขา้ ราชการตลุ าการใช้เปน็ แนวทาง
ปฏิบัติในการดาเนินกระบวนพิจารณาพิพากษาคดี ตลอดจนการสั่งคาร้องคาคู่ความและเร่ืองต่าง ๆ
ใหอ้ ยใู่ นแนวเดยี วกัน ซ่งึ เปน็ ประโยชนอ์ ยา่ งย่งิ ต่อการอานวยความยตุ ธิ รรมแก่ประชาชน น้ัน
เน่ืองจากปัจจุบันกฎหมายหมายฉบับได้มีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง เพ่ือให้สอดคล้องกับ
หลักการใหม่ของรัฐธรรมนูญ และการเปล่ียนแปลงทางด้านเศรษฐกิจและสังคม มีความจาเป็นต้อง
ปรับปรุงคู่มือปฏิบัติราชการของตุลาการที่ใช้อยู่ในขณะน้ีให้ทันสมัยสอดคล้องกับบทบัญญัติของ
กฎหมายในปัจจุบัน ดังน้ัน เพื่อให้การดาเนินการปรับปรุงแก้ไขคู่มือปฏิบัติราชการของตุลาการ
เป็นไปอย่างถูกต้องเหมาะสมกับวิธีปฏิบัติงานของแต่ละศาลอย่างแท้จริง จึงเห็นสมควรแต่งต้ัง
คณะอนุกรรมการปรับปรุงแก้ไขคู่มือปฏิบัติราชการของตุลาการข้ึน ประกอบด้วยข้าราชการ
ฝ่ายตลุ าการศาลยุตธิ รรม ดังตอ่ ไปน้ี
๑. นายบญุ รอด ตันประเสริฐ ประธานอนกุ รรมการ
๒. นายมนตรี ยอดปญั ญา อนกุ รรมการ
๓. นายไพโรจน์ วายุภาพ อนกุ รรมการ
๔. นายธานิศ เกศวพิทกั ษ์ อนุกรรมการ
๕. นายประทีป เฉลิมภทั รกลุ อนุกรรมการ
๖. นายชัยสิทธิ์ ตราชูธรรม อนกุ รรมการ
๗. นายวรี ะพล ต้ังสวุ รรณ อนกุ รรมการ
๘. นายสุรศกั ด์ิ กติ ติพงษพ์ ัฒนา อนุกรรมการ
๙. อธิบดผี ูพ้ ิพากษาศาลอาญาหรือผแู้ ทน อนุกรรมการ
๑๐. อธิบดผี ู้พพิ ากษาศาลแพง่ หรอื ผแู้ ทน อนกุ รรมการ
๑๑. อธบิ ดีผูพ้ พิ ากษาศาลเยาวชน อนุกรรมการ
และครอบครัวหรือผู้แทน
(๔)
๑๒. อธบิ ดผี ู้พิพากษา อนุกรรมการ
ศาลศาลแรงงานกลางหรอื ผแู้ ทน
อนุกรรมการ
๑๓. นายปรญิ ญา ดีผดุง อนกุ รรมการ
๑๔. นายวชั รนิ ทร์ ปัจเจกวญิ ญสู กลุ อนุกรรมการ
๑๕. นายชัยยุทธ ศรีจานงค์ อนุกรรมการ
๑๖. นายนพพร โพธริ งั สิยากร อนกุ รรมการ
๑๗. อธบิ ดีผพู้ ิพากษา
อนกุ รรมการ
ศาลลม้ ละลายกลางหรอื ผู้แทน
๑๘. นายจริ นติ ิ หะวานนท์ อนกุ รรมการ
๑๙. อธิบดีผูพ้ ิพากษาศาลทรพั ยส์ นิ ทางปัญญา
อนกุ รรมการ
และการคา้ ระหว่างประเทศกลางหรือผูแ้ ทน อนกุ รรมการ
๒๐. นายอานาจ พวงชมภู อนกุ รรมการ
๒๑. อธิบดีผพู้ ิพากษา อนกุ รรมการ
อนกุ รรมการ
ศาลภาษอี ากรกลางหรือผู้แทน
๒๒. นายภัทรศักดิ์ วรรณแสง อนกุ รรมการและเลขานุการ
๒๓. นายชาญณรงค์ ปราณจี ิตต์ อนกุ รรมการและผชู้ ่วยเลขานุการ
๒๔. นายสุรนิ ทร์ ชลพัฒนา อนุกรรมการและผชู้ ว่ ยเลขานกุ าร
๒๕. นายวรวุฒิ ทวาทศนิ อนกุ รรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
๒๖. ผพู้ ิพากษาหวั หนา้ ศาลแขวง อนุกรรมการและผ้ชู ่วยเลขานุการ
อนกุ รรมการและผชู้ ว่ ยเลขานกุ าร
พระนครใต้หรือผู้แทน อนุกรรมการและผชู้ ่วยเลขานกุ าร
๒๗. นายพงษเ์ ดช วานิชกิตตกิ ลู อนุกรรมการและผ้ชู ่วยเลขานกุ าร
๒๘. นายธรรมนญู พิทยาภรณ์ อนกุ รรมการและผู้ชว่ ยเลขานุการ
๒๙. นายสรุ สิทธิ์ แสงวิโรจนพัฒน์ อนกุ รรมการและผชู้ ่วยเลขานกุ าร
๓๐. นางสาวสุนทรียา เหมอื นพะวงศ์
๓๑. นายดล บนุ นาค อนุกรรมการและผชู้ ว่ ยเลขานุการ
๓๒. นางเยาวรตั น์ เตมีศรีสุข
๓๓. นายสมบัติ พฤฒิพงศภัค
๓๔. นางสาวเปรมรัตน์ วิจารณาญาณ
๓๕. นายชัยรัตน์ วงศ์วีรธร
๓๖. ผอู้ านวยการสานกั กฎหมาย
และวชิ าการศาลยตุ ธิ รรม
๓๗. หวั หน้ากลมุ่ เอกสารวชิ าการ
(๕)
สานักกฎหมายและวชิ าการศาลยตุ ิธรรม
๓๘. นางสาววนนั ดา สดุ คะนงึ ผูช้ ่วยเลขานุการ
ใหค้ ณะอนุกรรมการมีอานาจหน้าทดี่ งั ตอ่ ไปน้ี
๑. พิจารณาและดาเนินการปรับปรุงแก้ไขคู่มือปฏิบัติราชการของตุลาการให้มีความถูกต้อง
สมบรู ณ์ สอดคลอ้ งกับบทบญั ญตั ขิ องกฎหมายในปจั จุบัน
๒. เสนอคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมแต่งต้ังคณะกรรมอนุกรรมการดาเนินการ
ตามความจาเปน็
ทง้ั น้ี ตั้งแตว่ ันที่ ๒ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๕๒ เป็นต้นไป
สงั่ ณ วนั ท่ี ๑๓ กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๕๕๒
(นายวิรชั ล้มิ วิชัย)
ประธานศาลฎีกา
ประธานกรรมการบรหิ ารศาลยตุ ิธรรม
คำสง่ั คณะกรรมกำรบรหิ ำรศำลยุตธิ รรม
ที่ ๑๑/255๔
เรือ่ ง แต่งตงั้ คณะอนุกรรมกำรปรบั ปรงุ แกไ้ ขคู่มือปฏบิ ัติรำชกำร
ของตุลำกำร
ตามที่คณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมได้มีคาสั่งที่ ๓/๒๕๕๒ ลงวันท่ี ๑๓ กุมภาพันธ์
พ.ศ.๒๕๕๒ เรอ่ื ง แตง่ ต้ังคณะอนุกรรมการปรับปรงุ แก้ไขคมู่ อื ปฏบิ ตั ริ าชการของตุลาการ นั้น
บัดนี้ คณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมในคราวประชุม ครั้งท่ี ๑๔/๒๕๕๔ เมื่อวันท่ี
๑๙ กันยายน ๒๕๕๔ เห็นสมควรปรับปรุงองค์ประกอบคณะอนุกรรมการปรับปรุงแก้ไขคู่มือปฏิบัติ
ราชการของตุลาการ อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๑๗ (๗) แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหาร
ราชการศาลยุตธิ รรม พ.ศ. ๒๕๔๓ จึงยกเลิกคาสั่งท่ี ๓/๒๕๕๒ ลงวันที่ ๑๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๒
และแต่งตั้งคณะอนุกรรมการปรับปรุงแก้ไขคู่มือปฏิบัติราชการของตุลาการ ประกอบด้วยบุคคล
ดงั ตอ่ ไปนี้
๑. นายบุญรอด ตันประเสริฐ ท่ปี รกึ ษาอนกุ รรมการ
๒. นายไพโรจน์ วายุภาพ ประธานอนุกรรมการ
๓. นายธานศิ เกศวพิทักษ์ อนุกรรมการ
๔. นายประทีป เฉลมิ ภทั รกลุ อนกุ รรมการ
๕. นายชัยสิทธ์ิ ตราชธู รรม อนุกรรมการ
๖. นายวีระพล ต้ังสุวรรณ อนกุ รรมการ
๗. นายสรุ ศักดิ์ กิตติพงษพ์ ฒั นา อนกุ รรมการ
๘. นายปรญิ ญา ดีผดงุ อนุกรรมการ
๙. อธบิ ดีผพู้ ิพากษาศาลแพ่งหรือผูแ้ ทน อนุกรรมการ
๑๐. นายวชั รินทร์ ปจั เจกวิญญูสกุล อนุกรรมการ
๑๑. อธบิ ดีผ้พู ิพากษา อนุกรรมการ
ศาลอาญาหรือผู้แทน อนกุ รรมการ
๑๒. นายชยั ยุทธ ศรีจานงค์ อนกุ รรมการ
๑๓. นางเมทนิ ี ชโลธร อนกุ รรมการ
๑๔. นายนพพร โพธริ ังสิยากร
(๗)
๑๕. อธบิ ดผี ู้พพิ ากษา อนกุ รรมการ
ศาลลม้ ละลายกลางหรือผู้แทน
อนกุ รรมการ
๑๖. อธิบดีผพู้ พิ ากษาศาลเยาวชน
และครอบครวั กลางหรือผู้แทน อนุกรรมการ
อนุกรรมการ
๑๗. นายแรงรณ ปรพิ นธ์พจนพิสุทธ์ิ
๑๘. อธบิ ดีผูพ้ พิ ากษาศาลแรงงานกลาง อนกุ รรมการ
หรอื ผู้แทน อนุกรรมการ
๑๙. อธบิ ดผี ้พู พิ ากษา อนกุ รรมการ
อนุกรรมการ
ศาลภาษอี ากรกลางหรอื ผู้แทน
๒๐. นายอธิคม อนิ ทุภตู ิ อนกุ รรมการ
๒๑. นายอานาจ พวงชมภู อนกุ รรมการ
๒๒. อธบิ ดีผพู้ พิ ากษาศาลทรพั ย์สิน อนุกรรมการ
อนุกรรมการ
ทางปัญญาและการค้าระหวา่ ง
ประเทศกลางหรอื ผูแ้ ทน อนกุ รรมการและเลขานกุ าร
๒๓. นายชาญณรงค์ ปราณจี ติ ต์ อนุกรรมการและผูช้ ่วยเลขานกุ าร
๒๔. นายสุรินทร์ ชลพัฒนา อนุกรรมการและผ้ชู ว่ ยเลขานกุ าร
๒๕. นายวรวฒุ ิ ทวาทศนิ อนุกรรมการและผูช้ ่วยเลขานกุ าร
๒๖. ผู้พพิ ากษาหวั หน้าศาลแขวง อนกุ รรมการและผชู้ ว่ ยเลขานุการ
พระนครใต้หรอื ผูแ้ ทน อนุกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
๒๗. นายพงษเ์ ดช วานิชกติ ติกลู อนุกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
๒๘. นายธรรมนูญ พิทยาภรณ์ อนุกรรมการและผู้ชว่ ยเลขานกุ าร
๒๙. นายสรุ สิทธิ์ แสงวโิ รจนพัฒน์ อนกุ รรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
๓๐. นางสาวสนุ ทรียา เหมอื นพะวงศ์ อนุกรรมการและผชู้ ว่ ยเลขานุการ
๓๑. นายดล บนุ นาค
๓๒. นางเยาวรัตน์ เตมีศรีสขุ อนกุ รรมการและผชู้ ่วยเลขานุการ
๓๓. นายสมบัติ พฤฒพิ งศภคั
๓๔. นางสาวเปรมรตั น์ วจิ ารณาญาณ
๓๕. นายชยั รตั น์ วงศว์ ีรธร
๓๖. ผอู้ านวยการสานกั กฎหมาย
และวชิ าการศาลยตุ ธิ รรม
๓๗. หัวหนา้ กลมุ่ เอกสารวิชาการ
สานกั กฎหมายและวชิ าการศาลยุติธรรม
(๘)
๓๘. นางสาวพชิ ามญชุ์ โทวกุลพานชิ ย์ ผูช้ ่วยเลขานุการ
ให้คณะอนุกรรมการมีอานาจหนา้ ที่ ดังต่อไปนี้
๑. พิจารณาและดาเนินการปรับปรุงแก้ไขคู่มือปฏบิ ัตริ าชการของตลุ าการให้มีความถกู ต้อง
สมบูรณ์ สอดคลอ้ งกบั บทบญั ญัติของกฎหมายในปัจจุบนั
๒. ให้มอี านาจแต่งต้งั คณะอนกุ รรมการเพือ่ ดาเนินการใด ๆ ตามที่จะมอบหมาย
ทง้ั น้ี ตั้งแต่วันท่ี ๑๙ กนั ยายน ๒๕๕๔ เป็นตน้ ไป
สัง่ ณ วันท่ี ๒๘ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๔
(นายสบโชค สุขารมณ)์
ประธานศาลฎีกา
ประธานกรรมการบรหิ ารศาลยุติธรรม
คำสง่ั คณะกรรมกำรบรหิ ำรศำลยตุ ธิ รรม
ท่ี ๕/255๕
เรือ่ ง ปรับปรงุ องค์ประกอบคณะอนกุ รรมกำรปรบั ปรุงแก้ไข
คมู่ ือปฏิบัติรำชกำรของตุลำกำร
ตามท่ีคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมได้มีคาส่ังที่ ๑๑/๒๕๕๔ ลงวันท่ี ๒๘ กันยายน
๒๕๕๔ เร่ือง แตง่ ตง้ั คณะอนกุ รรมการปรบั ปรุงแกไ้ ขคมู่ อื ปฏบิ ตั ิราชการของตลุ าการ โดยให้มีอานาจ
หน้าท่ีพิจารณาและดาเนินการปรับปรุงแก้ไขคู่มือปฏิบัติราชการของตุลาการให้มีความถูกต้อง
สมบรู ณ์ สอดคล้องกับบทบัญญัติของกฎมายในปจั จบุ ัน และให้มีอานาจแตง่ ตัง้ คณะอนกุ รรมการเพอ่ื
ดาเนนิ การใด ๆ ตามท่ีจะมอบหมาย นน้ั
คณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมเห็นสมควรปรับปรุงองค์ประกอบคณะอนุกรรมการ
ปรับปรุงแก้ไขคู่มือปฏิบัติราชการของตุลาการ โดยแต่งตั้งให้นายธานิศ เกศวพิทักษ์ เป็นประธาน
อนุกรรมการแทนนายไพโรจน์ วายุภาพ
ทง้ั นี้ ต้งั แต่วนั ที่ ๓๐ มกราคม ๒๕๕๕ เป็นตน้ ไป
ส่ัง ณ วนั ที่ ๖ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๕
(นายไพโรจน์ วายภุ าพ)
ประธานศาลฎีกา
ประธานกรรมการบริหารศาลยตุ ธิ รรม
คำส่งั คณะกรรมกำรบรหิ ำรศำลยตุ ธิ รรม
ท่ี ๑๓/255๗
เร่อื ง ปรับปรุงองคป์ ระกอบคณะอนกุ รรมกำรปรับปรุงแก้ไข
คมู่ อื ปฏิบัติรำชกำรของตุลำกำร
ตามท่ีคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมได้มีคาสั่งที่ ๑๑/๒๕๕๔ ลงวันท่ี ๒๘ กันยายน
พ.ศ. ๒๕๕๔ เรื่อง แต่งต้ังคณะอนุกรรมการปรับปรุงแก้ไขคู่มือปฏิบัติราชการของตุลาการ และคาส่ังท่ี
๕/๒๕๕๕ ลงวันท่ี ๖ กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๕๕๕ เรื่อง ปรับปรงุ องค์ประกอบคณะอนุกรรมการปรับปรุง
แก้ไขคู่มือปฏิบัติราชการของตุลาการ โดยให้มีอานาจหน้าท่ีพิจารณาและดาเนินการปรับปรุงแก้ไข
คู่มือปฏิบัติราชการของตุลาการให้มีความถูกต้องสมบูรณ์ สอดคล้องกับบทบัญญัติของกฎหมาย
ปจั จุบัน และใหม้ อี านาจแต่งตง้ั คณะอนกุ รรมการเพอื่ ดาเนนิ การใด ๆ ตามทม่ี อบหมาย นน้ั
อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๑๗ (๗) แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ
ศาลยุติธรรม พ.ศ. ๒๕๔๓ คณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมในคราวประชุมคร้ังท่ี ๙/๒๕๕๗
เมื่อวันท่ี ๓๐ มิถุนายน ๒๕๕๗ เห็นสมควรปรับปรุงองค์ประกอบคณะอนุกรรมการปรับปรุงแก้ไข
คู่มือปฏิบัติราชการของตุลาการ โดยให้นางสาวพิชามญช์ุ โทวกุลพานิชย์ พ้นจากตาแหน่ง
ผู้ช่วยเลขานุการ และแต่งต้ังนิติกร สานักกฎหมายและวิชาการศาลยุติธรรม ตามท่ีผู้อานวยการ
สานักกฎหมายและวชิ าการศาลยตุ ิธรรมมอบหมาย เป็นผชู้ ่วยเลขานกุ าร แทน
ทงั้ นี้ ต้ังแต่วนั ที่ ๓๐ มิถนุ ายน ๒๕๕๗ เปน็ ต้นไป
สั่ง ณ วนั ท่ี ๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๗
(นายดิเรก องิ คนินันท)์
ประธานศาลฎีกา
ประธานกรรมการบรหิ ารศาลยุตธิ รรม
คำส่ังคณะกรรมกำรบริหำรศำลยุตธิ รรม
ท่ี ๓/255๙
เร่ือง แต่งตั้งคณะอนุกรรมกำรปรับปรุงแก้ไขคู่มือปฏิบัติรำชกำร
ของตุลำกำร
ตามที่คณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมได้มีคาสั่งที่ ๑๑/๒๕๕๔ ลงวันท่ี ๒๘ กันยายน
พ.ศ. ๒๕๕๔ แต่งต้ังคณะอนุกรรมการปรับปรุงแก้ไขคู่มือปฏิบัติราชการของตุลาการ คาส่ังที่
๕/๒๕๕๕ ลงวันท่ี ๖ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๕ และคาสั่งท่ี ๑๓/๒๕๕๗ ลงวันที่ ๙ กรกฎาคม
พ.ศ.๒๕๕๗ เร่ือง ปรับปรุงองค์ประกอบคณะอนุกรรมการปรับปรุงแก้ไขคู่มือปฏิบัติราชการของ
ตุลาการ นั้น
อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๑๗ (๗) แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ
ศาลยุติธรรม พ.ศ. ๒๕๔๓ คณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรม ในการประชุมครั้งที่ ๒/๒๕๕๙
เม่ือวันท่ี ๒๕ มกราคม ๒๕๕๙ มีมติเห็นชอบให้ปรับปรุงองค์ประกอบคณะอนุกรรมการปรับปรุง
แก้ไขคู่มือปฏิบัติราชการของตุลาการ โดยให้ยกเลิกคาส่ังคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมที่
๑๑/๒๕๕๔ ลงวันท่ี ๒๘ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๔ คาส่ังที่ ๕/๒๕๕๕ ลงวันที่ ๖ กุมภาพันธ์
พ.ศ. ๒๕๕๕ และคาสั่งท่ี ๑๓/๒๕๕๗ ลงวันท่ี ๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ และแต่งตั้ง
คณะอนกุ รรมการปรับปรุงแก้ไขคมู่ ือปฏิบตั ริ าชการของตลุ าการ จานวน ๒ คณะ โดยมอี งคป์ ระกอบ
และอานาจหน้าที่ ดังต่อไปน้ี
๑. คณะอนุกรรมการปรบั ปรุงแกไ้ ขคมู่ ือปฏบิ ตั ริ าชการของตุลาการ (คณะท่ี ๑) ประกอบด้วย
๑. นายบุญรอด ตันประเสรฐิ ท่ปี รึกษา
๒. นายธานิศ เกศวพิทักษ์ ประธานอนกุ รรมการ
๓. นายสุรศักดิ์ กิตตพิ งษพ์ ัฒนา อนกุ รรมการ
๔. นายชัยยุทธ ศรีจานงค์ อนกุ รรมการ
๕. นางเมทนิ ี ชโลธร อนกุ รรมการ
๖. นายนพพร โพธริ งั สิยากร อนกุ รรมการ
๗. นายจิรนิติ หะวานนท์ อนุกรรมการ
๘. นายแรงรณ ปริพนธพ์ จนพิสทุ ธิ์ อนุกรรมการ
๙. นายชาญวิทย์ รกั ษ์กุลชน อนุกรรมการ
(๑๒)
๑๐. นายชาญณรงค์ ปราณีจิตต์ อนุกรรมการ
๑๑. นายสรุ ินทร์ ชลพฒั นา อนุกรรมการ
๑๒. นายวรวุฒิ ทวาทศิน อนุกรรมการ
๑๓. นายพงษเ์ ดช วานชิ กิตตกิ ูล อนกุ รรมการ
๑๔. นางกรกันยา สุวรรณพานิช อนกุ รรมการ
๑๕. นายสุรสิทธิ์ แสงวโิ รจนพัฒน์ อนุกรรมการ
๑๖. นายดล บุนนาค อนกุ รรมการ
๑๗. นางสาวเปรมรัตน์ วจิ ารณาญาณ อนุกรรมการ
๑๘. นายเผ่าพนั ธ์ ชอบน้าตาล อนกุ รรมการและเลขานกุ าร
๑๙. นายอมรชัย ศริ ถิ าพร อนุกรรมการและผชู้ ่วยเลขานุการ
๒๐. ผู้อานวยการสานักกฎหมาย อนกุ รรมการและผชู้ ่วยเลขานกุ าร
และวิชาการศาลยุติธรรม อนุกรรมการและผูช้ ว่ ยเลขานุการ
๒๑. หวั หน้ากลุม่ เอกสารวชิ าการ
ผู้ช่วยเลขานกุ าร
สานักกฎหมายและวิชาการ
ศาลยตุ ิธรรม
๒๒. นติ ิกร สานกั กฎหมาย
และวชิ าการศาลยตุ ธิ รรม
ตามทีผ่ อู้ านวยการสานักกฎหมาย
และวิชาการศาลยตุ ิธรรม
มอบหมาย
๒. คณะอนกุ รรมการปรับปรุงแก้ไขค่มู อื ปฏบิ ตั ิราชการของตลุ าการ (คณะที่ ๒) ประกอบด้วย
๑. นายประทีป เฉลมิ ภทั รกลุ ประธานอนุกรรมการ
๒. นายปริญญา ดีผดงุ อนุกรรมการ
๓. นายวชั รนิ ทร์ ปจั เจกวญิ ญูสกุล อนกุ รรมการ
๔. นางอโนชา ชีวิตโสภณ อนกุ รรมการ
๕. นายสมชยั ฑฆี าอุตมากร อนุกรรมการ
๖. นายชาญณรงค์ ปราณีจติ ต์ อนกุ รรมการ
๗. นายอนนั ต์ เสนคมุ้ อนกุ รรมการ
๘. นายสบื พงษ์ ศรีพงษ์กุล อนุกรรมการ
๙. นายประเสรฐิ เสียงสุทธวิ งศ์ อนุกรรมการ
๑๐. นางวาสนา อัจฉรานุวฒั น์ อนกุ รรมการ
๑๑. นายพฒั นไชย ยอดพยุง อนุกรรมการ
(๑๓)
๑๒. นายธานี สงิ หนาท อนุกรรมการ
๑๓. นายเอือ้ น ขุนแก้ว อนุกรรมการ
๑๔. นางสาวสนุ ทรียา เหมอื นพะวงศ์ อนุกรรมการ
๑๕. นายสรวิศ ลมิ ปรังษี อนุกรรมการ
๑๖. นางสาวเยาวรัตน์ กุหลาบเพช็ รทอง อนุกรรมการ
๑๗. นายสมบตั ิ พฤฒพิ งศภคั อนุกรรมการ
๑๘. นางสาวนภัทร์พร เจรญิ วัฒนา ทองใบ อนุกรรมการและเลขานกุ าร
๑๙. นางสาวปณิตา เทยี มสอาด อนุกรรมการและผชู้ ว่ ยเลขานกุ าร
๒๐. ผอู้ านวยการสานกั กฎหมาย อนุกรรมการและผชู้ ่วยเลขานกุ าร
และวิชาการศาลยตุ ธิ รรม
๒๑. หัวหน้ากลมุ่ เอกสารวชิ าการ อนกุ รรมการและผู้ชว่ ยเลขานุการ
สานกั กฎหมายและวชิ าการ
ศาลยตุ ิธรรม
๒๒. นิติกร สานักกฎหมาย ผูช้ ่วยเลขานกุ าร
และวชิ าการศาลยตุ ธิ รรม
ตามท่ีผ้อู านวยการสานักกฎหมาย
และวชิ าการศาลยตุ ิธรรม
มอบหมาย
ใหค้ ณะอนุกรรมการแตล่ ะคณะมอี านาจหนา้ ท่ี ดงั นี้
๑. พิจารณาและดาเนนิ การปรับปรงุ แก้ไขคมู่ อื ปฏิบัตริ าชการของตลุ าการใหม้ คี วามถกู ต้อง
สมบูรณ์ สอดคล้องกบั บทบญั ญตั ขิ องกฎหมายในปจั จุบนั
๒. ใหม้ ีอานาจแตง่ ตง้ั คณะทางานเพื่อดาเนินการใด ๆ ตามทจ่ี ะมอบหมาย
ทงั้ นี้ ต้ังแตว่ ันที่ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๙ เป็นตน้ ไป
สงั่ ณ วนั ที่ ๒ กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๙
(นายวีระพล ต้ังสุวรรณ)
ประธานศาลฎีกา
ประธานกรรมการบรหิ ารศาลยตุ ธิ รรม
คำส่ังคณะกรรมกำรบริหำรศำลยตุ ิธรรม
ที่ ๓๐/255๙
เร่ือง ปรบั ปรุงองค์ประกอบคณะอนกุ รรมกำรปรบั ปรุงแก้ไข
คมู่ อื ปฏิบัติรำชกำรของตุลำกำร (คณะท่ี ๒)
ตามที่คณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมได้มีคาสั่งที่ ๓/๒๕๕๙ ลงวันที่ ๒ กุมภาพันธ์
พ.ศ. ๒๕๕๙ เร่ือง แต่งต้ังคณะอนุกรรมการปรับปรุงแก้ไขคู่มือปฏิบัติราชการของตุลาการ
โดยมอี านาจหน้าท่ีพิจารณาและดาเนินการปรับปรุงแก้ไขคู่มือปฏิบัติราชการของตุลาการ ให้มีความ
ถูกต้องสมบูรณ์ สอดคล้องกับบทบัญญัติของกฎหมายในปัจจุบันและแต่งตั้งคณะทางาน
เพอ่ื ดาเนินการใด ๆ ตามทจี่ ะมอบหมาย นั้น
อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๑๗ (๗) แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ
ศาลยุติธรรม พ.ศ. ๒๕๔๓ คณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมในคราวประชุมคร้ังท่ี ๑๔/๒๕๕๙
เม่ือวันที่ ๘ สิงหาคม ๒๕๕๙ มีมติเห็นชอบให้ปรับปรุงองค์ประกอบคณะอนุกรรมการปรับปรุงแก้ไข
คู่มอื ปฏบิ ัติราชการของตลุ าการ (คณะท่ี ๒) โดยแตง่ ต้ังอนุกรรมการเพ่ิมเตมิ ดังต่อไปนี้
๑. นายตลุ เมฆยงค์ เป็นอนกุ รรมการ
๒. นายพิทกั ษ์ หลมิ จานนท์ เป็นอนกุ รรมการ
๓. นางสาวฉันทนา เจริญศักดิ์ เป็นอนกุ รรมการ
๔. นายวิวฒั น์ วอ่ งววิ ัฒน์ไวทยะ เปน็ อนุกรรมการ
ท้ังนี้ ตั้งแตว่ นั ท่ี ๘ สิงหาคม ๒๕๕๙ เปน็ ตน้ ไป
สง่ั ณ วนั ท่ี ๑๘ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๙
(นายวรี ะพล ต้งั สวุ รรณ)
ประธานศาลฎกี า
ประธานกรรมการบริหารศาลยตุ ิธรรม
คำสง่ั คณะกรรมกำรบรหิ ำรศำลยตุ ธิ รรม
ท่ี ๓๙/๒๕๖๐
เรอื่ ง แต่งตัง้ คณะอนกุ รรมกำรปรบั ปรงุ แกไ้ ขคู่มอื ปฏิบัติรำชกำร
ของตุลำกำร
ตามที่คณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมได้มีคาส่ังท่ี ๓/๒๕๕๙ ลงวันที่ ๒ กุมภาพันธ์
พ.ศ. ๒๕๕๙ แต่งต้ังคณะอนุกรรมการปรับปรุงแก้ไขคู่มือปฏิบัติราชการของตุลาการ และคาส่ังที่
๓๐/๒๕๕๙ ลงวันที่ ๑๘ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ ปรับปรุงองค์ประกอบคณะอนุกรรมการปรับปรุง
แกไ้ ขคมู่ อื ปฏิบัติราชการของตุลาการ (คณะท่ี ๒) นั้น
อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๑๗ (๗) แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ
ศาลยุติธรรม พ.ศ. ๒๕๔๓ คณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมในคราวประชุมครั้งท่ี ๑๙/๒๕๖๐
เมื่อวันท่ี ๑๓ พฤศจิกายน ๒๕๖๐ มีมติเห็นชอบให้ปรับปรุงองคป์ ระกอบคณะอนุกรรมการปรับปรงุ
แก้ไขคู่มือปฏิบัติราชการของตุลาการ โดยให้ยกเลิกคาสั่งคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมท่ี
๓/๒๕๕๙ ลงวันที่ ๒ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๙ และคาสั่งท่ี ๓๐/๒๕๕๙ ลงวันท่ี ๑๘ สิงหาคม
พ.ศ. ๒๕๕๙ และแต่งต้ังคณะอนุกรรมการปรับปรุงแก้ไขคู่มือปฏิบัติราชการของตุลาการ จานวน
๒ คณะ โดยมอี งค์ประกอบและอานาจหน้าที่ ดังตอ่ ไปน้ี
๑. คณะอนุกรรมการปรับปรงุ แก้ไขคูม่ อื ปฏิบัติราชการของตลุ าการ (คณะที่ ๑) ประกอบด้วย
๑. นางเมทินี ชโลธร ประธานอนกุ รรมการ
๒. นายนพพร โพธิรงั สยิ ากร อนุกรรมการ
๓. นายจิรนติ ิ หะวานนท์ อนกุ รรมการ
๔. นายแรงรณ ปรพิ นธ์พจนพสิ ทุ ธิ์ อนกุ รรมการ
๕. นายชาญวิทย์ รกั ษก์ ุลชน อนุกรรมการ
๖. นายสันต์ชยั ล้อมณนี พรัตน์ อนกุ รรมการ
๗. นายธนิต รัตนะผล อนุกรรมการ
๘. นายชาญณรงค์ ปราณจี ิตต์ อนกุ รรมการ
๙. นายวรวุฒิ ทวาทศนิ อนุกรรมการ
๑๐. นายพงษเ์ ดช วานิชกติ ติกลู อนกุ รรมการ
๑๑. นายวรนันท์ ประถมปทั มะ อนกุ รรมการ
(๑๖)
๑๒. นางกรกนั ยา สุวรรณพานชิ อนกุ รรมการ
๑๓. นายสรุ สิทธ์ิ แสงวโิ รจนพฒั น์ อนุกรรมการ
๑๔. นางอรอษุ า กฤษณะโลม จรญั รัตนศรี อนกุ รรมการ
๑๕. นายเผ่าพันธ์ ชอบน้าตาล อนุกรรมการ
๑๖. นายอมรชยั ศิรถิ าพร อนุกรรมการและเลขานุการ
๑๗. นางสาวอมั ภัสชา ดษิ ฐอานาจ อนุกรรมการและผู้ช่วยเลขานกุ าร
๑๘. ผู้อานวยการสานกั กฎหมายและวิชาการ อนกุ รรมการและผชู้ ว่ ยเลขานุการ
ศาลยุตธิ รรม
๑๙. หวั หน้าส่วนเอกสารวชิ าการ อนกุ รรมการและผู้ชว่ ยเลขานุการ
สานกั กฎหมายและวิชาการศาลยุติธรรม
๒๐. นิตกิ ร สานกั กฎหมายและวชิ าการ ผู้ช่วยเลขานกุ าร
ศาลยุติธรรม ตามที่ผอู้ านวยการสานักกฎหมาย
และวิชาการศาลยุตธิ รรม มอบหมาย
๒. คณะอนุกรรมการปรับปรงุ แกไ้ ขคมู่ อื ปฏิบัติราชการของตุลาการ (คณะที่ ๒) ประกอบด้วย
๑. นายประทปี เฉลมิ ภทั รกุล ประธานอนกุ รรมการ
๒. นายวัชรินทร์ ปจั เจกวิญญสู กุล อนุกรรมการ
๓. นางอโนชา ชวี ิตโสภณ อนกุ รรมการ
๔. นายชาญณรงค์ ปราณีจติ ต์ อนุกรรมการ
๕. นายอนนั ต์ เสนคุม้ อนกุ รรมการ
๖. นายประเสรฐิ เสยี งสุทธวิ งศ์ อนุกรรมการ
๗. นางวาสนา อัจฉรานวุ ัฒน์ อนกุ รรมการ
๘. นายตลุ เมฆยงค์ อนกุ รรมการ
๙. นายธานี สิงหนาท อนกุ รรมการ
๑๐. นายเออื้ น ขนุ แกว้ อนกุ รรมการ
๑๑. นายชโิ นรส ยงเกียรตกิ านต์ อนุกรรมการ
๑๒. นายพิทกั ษ์ หลิมจานนท์ อนุกรรมการ
๑๓. นางสาวนภัทรพ์ ร เจรญิ วฒั นา ทองใบ อนกุ รรมการ
๑๔. นายมขุ เมธิน กลั่นนุรกั ษ์ อนุกรรมการและเลขานุการ
๑๕. นายพรภัทร์ ตันตกิ ุลานนั ท์ อนกุ รรมการและผชู้ ่วยเลขานกุ าร
๑๖. ผอู้ านวยการสานักกฎหมายและวชิ าการ อนุกรรมการและผู้ช่วยเลขานกุ าร
ศาลยตุ ธิ รรม อนุกรรมการและผู้ชว่ ยเลขานกุ าร
๑๗. หวั หน้าส่วนเอกสารวชิ าการ
สานักกฎหมายและวชิ าการศาลยตุ ธิ รรม
(๑๗)
๑๘. นติ ิกร สานกั กฎหมายและวิชาการ ผชู้ ว่ ยเลขานุการ
ศาลยตุ ิธรรม ตามท่ีผอู้ านวยการสานกั กฎหมาย
และวชิ าการศาลยุตธิ รรม มอบหมาย
ใหค้ ณะอนกุ รรมการมอี านาจหนา้ ที่ ดังตอ่ ไปนี้
๑. พิจารณาและดาเนินการปรับปรุงแก้ไขคู่มือปฏิบัติราชการของตุลาการ ให้มีความถูกต้อง
สมบรู ณ์ สอดคล้องกบั บทบัญญตั ขิ องกฎหมายในปัจจบุ ัน
๒. ใหม้ ีอานาจแต่งต้งั คณะอนกุ รรมการเพื่อดาเนนิ การใดๆ ตามที่จะมอบหมาย
ท้งั นี้ ตงั้ แต่วนั ท่ี ๑๓ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๐ เปน็ ตน้ ไป
สัง่ ณ วันท่ี ๑๗ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๐
(นายชีพ จลุ มนต)์
ประธานศาลฎกี า
ประธานกรรมการบริหารศาลยตุ ิธรรม
คำสงั่ คณะกรรมกำรบริหำรศำลยุตธิ รรม
ที่ ๕/๒๕๖๑
เร่ือง ปรับปรุงองค์ประกอบคณะอนุกรรมกำรปรับปรุงแก้ไขคู่มือ
ปฏบิ ัตริ ำชกำรของตลุ ำกำร (คณะท่ี ๒)
ตามที่คณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมได้มีคาสั่งที่ ๓๙/๒๕๖๐ ลงวันที่ ๑๗ พฤศจิกายน
พ.ศ. ๒๕๖๐ เร่ือง แต่งตั้งคณะอนุกรรมการปรับปรุงแก้ไขคู่มือปฏิบัติราชการของตุลาการ โดยให้มี
อานาจหน้าที่พิจารณาและดาเนินการปรับปรุงแก้ไขคู่มือปฏิบัติราชการของตุลาการให้มีความถูกต้อง
สมบูรณ์ สอดคลอ้ งกับบทบัญญตั ขิ องกฎหมายในปจั จบุ ัน น้นั
อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๑๗ (๗) แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ
ศาลยุติธรรม พ.ศ. ๒๕๔๓ คณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมในการประชุมคร้ังที่ ๔/๒๕๖๑
เมื่อวันที่ ๙ เมษายน ๒๕๖๑ มีมติเห็นชอบให้ปรับปรุงองค์ประกอบคณะอนุกรรมการปรับปรุงแก้ไข
คู่มือปฏิบัติราชการของตุลาการ (คณะท่ี ๒) โดยให้นายมุขเมธิน กล่ันนุรักษ์ พ้นจากการเป็น
อนุกรรมการและเลขานกุ ารและแตง่ ต้งั บคุ คล ดังต่อไปน้ี
๑. นายพรภทั ร์ ตันติกลุ านนั ท์ เป็นอนุกรรมการและเลขานกุ าร
๒. นางสาวปณตพร ชโลธร เป็นอนกุ รรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
ทั้งน้ี ตัง้ แตว่ นั ท่ี ๙ เมษายน ๒๕๖๑ เปน็ ตน้ ไป
ส่ัง ณ วนั ท่ี ๒๐ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๑
(นายชีพ จลุ มนต์)
ประธานศาลฎีกา
ประธานกรรมการบริหารศาลยุตธิ รรม
คำสง่ั คณะกรรมกำรบรหิ ำรศำลยตุ ธิ รรม
ที่ ๓/๒๕๖๒
เร่อื ง ปรับปรุงองค์ประกอบคณะอนุกรรมกำรปรับปรุงแก้ไขคู่มือ
ปฏิบัติรำชกำรของตุลำกำร (คณะที่ ๒)
ตามท่ีคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมได้มีคาสั่งท่ี ๓๙/๒๕๖๐ ลงวันท่ี ๑๗ พฤศจิกายน
พ.ศ. ๒๕๖๐ เรื่อง แตง่ ตัง้ คณะอนุกรรมการปรบั ปรงุ แกไ้ ขคู่มอื ปฏิบตั ริ าชการของตุลาการ และคาสัง่
ที่ ๕/๒๕๖๑ ลงวันท่ี ๒๐ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๑ เร่ือง ปรับปรุงองค์ประกอบคณะอนุกรรมการ
ปรับปรุงแก้ไขคู่มือปฏิบัติราชการของตุลาการ (คณะที่ ๒) โดยให้มีอานาจหน้าที่พิจารณาและ
ดาเนินการปรับปรุงแก้ไขคู่มือปฏิบัติราชการของตุลาการ ให้มีความถูกต้องสมบูรณ์ สอดคล้องกับ
บทบัญญัติของกฎหมายในปัจจุบนั นั้น
อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๑๗ (๗) แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ
ศาลยุติธรรม พ.ศ. ๒๕๔๓ คณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมในคราวประชุมครั้งท่ี ๒ /๒๕๖๒
เม่ือวันที่ ๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒ มีมติเห็นชอบให้ปรับปรุงองค์ประกอบคณะอนุกรรมการปรับปรุง
แก้ไขคมู่ ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ (คณะท่ี ๒) ดงั นี้
๑. ใหข้ า้ ราชการตุลาการศาลยุตธิ รรมพ้นจากตาแหน่งในคณะอนกุ รรมการฯ ดงั ตอ่ ไปน้ี
๑.๑ นายประทปี เฉลมิ ภทั รกุล พ้นจากการเป็นประธานอนกุ รรมการ
๑.๒ นายวชั รนิ ทร์ ปจั เจกวิญญูสกลุ พ้นจากการเปน็ อนกุ รรมการ
๑.๓ นางวาสนา อัจฉรานุวัฒน์ พ้นจากการเป็นอนุกรรมการ
๑.๔ นายชโิ นรส ยงเกียรตกิ านต์ พน้ จากการเป็นอนุกรรมการ
๑.๕ นางสาวนภัทร์พร เจรญิ วัฒนา ทองใบ พน้ จากการเป็นอนุกรรมการ
๒. แตง่ ต้งั บคุ คล ดังตอ่ ไปน้ี เปน็ ประธานอนกุ รรมการ
๒.๑ นางอโนชา ชวี ติ โสภณ เป็นอนุกรรมการ
2.2 นายธวัชชยั สุรกั ขกะ เปน็ อนกุ รรมการ
2.3 นางไข่มกุ ด์ ปอพานชิ กรณ์ เป็นอนุกรรมการ
2.4 นางพงารัตน์ มาประณตี เปน็ อนกุ รรมการ
๒.๕ นายทรงเดช บุญธรรม
(๒๐)
๒.๖ นายวรวงศ์ อัจฉราวงศช์ ยั เป็นอนุกรรมการ
ท้งั นี้ ตัง้ แต่วนั ที่ ๑๓ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๖๒ เป็นต้นไป
สงั่ ณ วันที่ ๒๐ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๒
(นายชพี จลุ มนต)์
ประธานศาลฎกี า
ประธานกรรมการบริหารศาลยตุ ิธรรม
สารบาญ ……. .หน้า
วธิ ีพจิ ารณาความแพ่ง
หมวด ๑ กระบวนพจิ ารณาคดแี พ่งแบบสามญั ๑
ส่วนท่ี ๑ ช้ันยื่นฟ้อง ๑
บทที่ ๑ การตรวจและสง่ั คาํ ฟ้อง ๑
บทท่ี ๒ การฟ้องต่อศาลตามพระธรรมนูญศาลยตุ ิธรรม ๑๒
บทที่ ๓ คูค่ วามเป็นผเู้ ยาว์ ๑๕
บทท่ี ๔ คา่ ธรรมเนียมศาล ๑๗
บทท่ี ๕ การส่งและการคืนหมายเรียกและสาํ เนาคาํ ฟ้อง ๒๘
บทที่ ๖ คู่ความมรณะ ๓๗
บทท่ี ๗ การทิ้งฟ้อง ๔๒
บทท่ี ๘ การถอนฟ้อง ๔๕
๔๙
ส่วนที่ ๒ ช้ันจาํ เลยย่ืนคาํ ให้การ ๔๙
บทท่ี ๑ การโอนคดีไปยงั ศาลอื่น ๕๒
บทท่ี ๒ จาํ เลยขอขยายระยะเวลายนื่ คาํ ใหก้ าร ๕๓
บทท่ี ๓ การตรวจและสงั่ คาํ ใหก้ าร ๕๖
บทท่ี ๔ คาํ ใหก้ ารและฟ้องแยง้ ๖๑
บทท่ี ๕ การแกไ้ ขคาํ ฟ้องหรือคาํ ใหก้ าร ๖๖
บทที่ ๕/๑ การโอนคดีไปยงั ศาลแพง่ ตามมาตรา ๖/๑ ๖๘
บทที่ ๖ การวางทรัพยแ์ ละวางเงิน
(๒๒)
…… ..หน้า
ส่วนท่ี ๓ ช้ันชี้สองสถาน ๗๐
บทท่ี ๑ การกาํ หนดใหม้ ีการช้ีสองสถาน ๗๐
บทท่ี ๒ กระบวนการพจิ ารณาในช้นั ช้ีสองสถาน ๗๑
บทที่ ๓ ผลของการช้ีสองสถาน ๑๐๘
บทท่ี ๔ การจดรายงานกระบวนพจิ ารณาในการช้ีสองสถาน ๑๑๐
ส่วนท่ี ๔ ช้ันพจิ ารณา ๑๑๒
บทที่ ๑ การพิจารณาคดีรวมกนั ๑๑๒
บทท่ี ๒ การแยกคดี ๑๑๘
บทที่ ๓ กระบวนพิจารณาช้ีขาดขอ้ กฎหมายเบ้ืองตน้ ๑๒๑
บทท่ี ๔ การเพกิ ถอนกระบวนพิจารณาที่ผดิ ระเบียบ ๑๒๖
บทที่ ๕ กรณีไม่สามารถดาํ เนินกระบวนพิจารณาต่อศาล
ท่ีมีเขตอาํ นาจ ๑๓๔
บทที่ ๖ การยนื่ บญั ชีพยาน ๑๓๖
บทท่ี ๗ การเลื่อนคดี ๑๔๒
บทที่ ๘ การอา้ งเอกสารเป็นพยาน ๑๕๑
บทที่ ๙ การขอใหเ้ รียกเอกสารมาเป็นพยาน ๑๕๖
บทที่ ๑๐ พยานบุคคล ๑๕๙
บทท่ี ๑๑ การส่งประเดน็ รับประเดน็ ฟังประเดน็ กลบั
และส่งประเดน็ ไปต่างประเทศ ๑๖๓
บทที่ ๑๒ การเบิกความของพยาน ๑๖๙
บทที่ ๑๓ การออกหมายจบั พยาน ๑๙๖
บทท่ี ๑๔ การสืบพยานบุคคลหรือสาํ เนาแทนเอกสาร ๑๙๘
(๒๓)
…… ..หน้า
บทท่ี ๑๕ การส่งเอกสารไปใหผ้ เู้ ช่ียวชาญตรวจพิสูจน์ ๒๐๑
บทที่ ๑๕/๑ การสงั่ ใหต้ รวจพิสูจนบ์ ุคคล วตั ถุ
๒๐๕
หรือเอกสารโดยวธิ ีการทางวทิ ยาศาสตร์ ๒๐๙
บทที่ ๑๖ การทาํ แผนที่พพิ าท ๒๑๑
บทท่ี ๑๗ คาํ ทา้ ๒๒๕
บทที่ ๑๘ การเผชิญสืบ ๒๒๙
บทท่ี ๑๙ การตกลงเก่ียวกบั การสืบพยาน ๒๔๑
บทท่ี ๒๐ คดีเสร็จการพจิ ารณา ๒๔๓
ส่วนที่ ๕ ช้ันพพิ ากษา ๒๔๓
บทที่ ๑ ข้นั ตอนการพิพากษาหรือมีคาํ สงั่ ช้ีขาดคดี ๒๔๔
บทท่ี ๒ รูปแบบคาํ พพิ ากษาหรือคาํ สง่ั ช้ีขาดคดี
๒๘๖
หมวด ๒ กระบวนพจิ ารณาคดแี พ่งแบบพเิ ศษ ๒๘๖
๒๙๗
ส่วนที่ ๑ การยกเว้นค่าธรรมเนียมศาล ๓๑๐
ส่วนท่ี ๒ วธิ ีการช่ัวคราวก่อนพพิ ากษา ๓๑๔
ส่วนที่ ๓ การขอให้ถอนการยดึ อายดั ห้ามชั่วคราว ๓๒๑
ส่วนท่ี ๔ คดมี โนสาเร่และคดไี ม่มขี ้อย่งุ ยาก ๓๓๓
ส่วนท่ี ๕ การร้องสอดเข้าเป็ นคู่ความ ๓๕๖
ส่วนที่ ๖การพจิ ารณาโดยขาดนัด ๓๖๓
ส่วนที่ ๗ การพจิ ารณาคดใี หม่ ๓๗๔
ส่วนท่ี ๘ การประนีประนอมยอมความ ๓๘๓
ส่วนท่ี ๙ ละเมิดอาํ นาจศาล
ส่วนท่ี ๑๐ คดฟี อกเงนิ
(๒๔)
…… ..หน้า
หมวด ๓ การพจิ ารณาช้ันอุทธรณ์ ๓๘๔
ส่วนท่ี ๑ คาํ ฟ้องอทุ ธรณ์และคาํ แก้อทุ ธรณ์ ๓๘๖
ส่วนที่ ๒ การขอทุเลาการบังคบั ช้ันอุทธรณ์ ๔๑๑
ส่วนท่ี ๓ การเข้าเป็ นคู่ความแทนท่ผี ู้มรณะช้ันอทุ ธรณ์หรือฎกี า ๔๑๗
ส่วนที่ ๔ การดาํ เนินคดโี ดยได้รับยกเว้นค่าธรรมเนียมศาล
ในช้ันอทุ ธรณ์ ๔๒๒
ส่วนท่ี ๕ การอ่านคาํ พพิ ากษาและคาํ สั่งคาํ ร้อง
ศาลอุทธรณ์หรือศาลฎกี า ๔๒๘
ส่วนที่ ๖การคืนเอกสารหลกั ฐานต่าง ๆ ๔๔๐
หมวด ๔ คดไี ม่มขี ้อพพิ าท ๔๔๒
ส่วนที่ ๑ ช้ันย่ืนคาํ ร้องขอ ๔๔๒
ส่วนท่ี ๒ การประกาศนัดไต่สวน ๔๕๔
ส่วนที่ ๓ รายงานกระบวนพจิ ารณาเกย่ี วกบั
การไต่สวนคาํ ร้องขอ ๔๕๕
ส่วนที่ ๔ เม่ือคดไี ม่มขี ้อพพิ าทกลายเป็ นคดมี ีข้อพพิ าท ๔๕๖
ส่วนท่ี ๕ แบบคาํ สั่งคดไี ม่มีข้อพพิ าท ๔๕๘
หมวด ๕ ทนายความ ๔๖๒
วธิ ีพจิ ารณาความแพง่
ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๑
หมวด ๑
กระบวนพจิ ารณาคดีแพ่งแบบสามัญ
ส่วนที่ ๑
ช้ันยื่นฟ้อง
บทที่ ๑
การตรวจและส่ังคาฟ้อง
๑. การตรวจคาฟ้อง ใหต้ รวจดูวา่
๑.๑ คดีอยใู่ นอานาจพจิ ารณาพพิ ากษาหรือไม่ (มาตรา ๒ (๑))
๑.๑.๑ หลกั ทว่ั ไป
๑.๑.๑.๑ ศาลท่ีมีอานาจพิจารณาพิพากษาคดีแพ่ง คือ ศาลแขวง ศาลจงั หวดั
และศาลแพง่ ทกุ ศาลในกรุงเทพมหานคร (พระธรรมนูญศาลยตุ ิธรรม มาตรา ๑๕, ๑๖ และ ๑๗)
๑.๑.๑.๒ การฟ้องคดีแพ่งเป็ นคร้ังแรกจะต้องกระทาท่ีศาลช้ันต้นเท่าน้ัน
เวน้ แต่จะมีกฎหมายบญั ญตั ิไวช้ ัดแจ้งเป็ นอย่างอื่น (มาตรา ๑๗๐ วรรคหน่ึง) กรณีขอ้ ยกเวน้
ท่ีอาจมี เช่น ผูด้ ารงตาแหน่งทางการเมืองหรือกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริต
แห่งชาติถูกฟ้องวา่ มีพฤติการณ์ร่ารวยผดิ ปกติ ทุจริตต่อหนา้ ที่ หรือผูด้ ารงตาแหน่งทางการเมือง
มีทรัพยส์ ินเพิ่มข้ึนผิดปกติ ซ่ึงอาจถูกดาเนินคดีให้ทรัพยส์ ินที่เพิ่มข้ึนผิดปกติน้ันตกเป็ นของ
แผ่นดิน คดีเช่นน้ีจะเร่ิมคดีที่ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผูด้ ารงตาแหน่งทางการเมือง (พ.ร.บ.
ประกอบรัฐธรรมนูญว่าดว้ ยวิธีพิจารณาคดีอาญาของผดู้ ารงตาแหน่งทางการเมือง พ.ศ. ๒๕๖๐
มาตรา ๙,๑๐)
๑.๑.๒ ขอ้ ยกเวน้
๑.๑.๒.๑ ศาลที่มีอานาจพิจารณาพิพากษาคดีแพ่งในลกั ษณะเฉพาะของศาล
น้นั ๆ ซ่ึงเป็นไปตาม พ.ร.บ. จดั ต้งั และวิธีพิจารณาคดีของศาลเหลา่ น้นั ไดแ้ ก่
(๑) กรณีตาม พ.ร.บ. ศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณา
คดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๓ มาตรา ๑๐ ถึงมาตรา ๑๔
(๒) กรณี ตาม พ.ร.บ. จัดต้ังศาลแรงงานและวิธี พิจารณา
คดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๘ และ ๙
ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๒
(๓) กรณีตาม พ.ร.บ. จัดต้ังศาลภาษีอากรและวิธีพิจารณาคดี
ภาษอี ากร พ.ศ. ๒๕๒๘ มาตรา ๗ และ ๑๐
(๔) กรณีตาม พ.ร.บ. จดั ต้งั ศาลทรัพยส์ ินทางปัญญาและการคา้
ระหวา่ งประเทศและวิธีพจิ ารณาคดีทรัพยส์ ินทางปัญญาและการคา้ ระหวา่ งประเทศ พ.ศ. ๒๕๓๙
มาตรา ๗, ๘ และ ๙
(๕) กรณีตาม พ.ร.บ. จัดต้ังศาลล้มละลายและวิธีพิจารณา
คดีลม้ ละลาย พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๕, ๖, ๗ และ ๘
กรณีมีปัญหาวา่ คดีใดจะอยใู่ นอานาจของศาลชานัญพิเศษใด
หรือไม่ ให้เสนอปัญหาน้นั ให้ประธานศาลอุทธรณ์คดีชานญั พิเศษเป็ นผูว้ ินิจฉยั คาวินิจฉัยของ
ประธานศาลอุทธรณ์คดีชานญั พิเศษใหเ้ ป็นท่ีสุด ท้งั น้ีตามพ.ร.บ.จดั ต้งั ศาลชานญั พเิ ศษน้นั ๆ
(๖) กรณีตาม พ.ร.บ. ป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน
พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๕๙ การดาเนินการทางศาลเกี่ยวกับทรัพยส์ ินที่เก่ียวกับการกระทาผิด
ใหย้ น่ื ตอ่ ศาลแพง่
(๗) กรณีอื่น ๆ ตามบทบญั ญตั ิของกฎหมาย เช่น คดีเลือกต้งั ตาม
กฎหมายว่าดว้ ยการเลือกต้งั ฯ คดีร้องขอให้ทรัพยส์ ินตกเป็ นของแผ่นดินตามกฎหมายว่าด้วย
การจดั ต้งั ศาลอาญาคดีทุจริตฯ
๑.๑.๒.๒ ศาลที่มีอานาจพิจารณาพิพากษาคดีตามรัฐธรรมนูญ เช่น ศาลปกครอง
หรือศาลรัฐธรรมนูญ
๑.๑.๓ คดีท่ีอยใู่ นอานาจของศาลตาม ๑.๑.๒.๑ ถา้ มายนื่ ฟ้องท่ีศาลตาม ๑.๑.๑
ศาลต้องสั่งไม่รับหรื อคืนคาฟ้องให้ไปยื่นต่อศาลท่ีมีอานาจ (มาตรา ๑๘
วรรคสาม ประกอบดว้ ยมาตรา ๒ (๑)) ดงั น้ี “....คดีจึงไม่อยู่ในอานาจพิจารณาพิพากษาของศาลนี้
ไม่รับคาฟ้อง (หรือคืนคาฟ้อง) ให้ไปยื่นต่อศาลที่มอี านาจ คืนค่าขึน้ ศาลท้ังหมด”
แต่ถา้ ขอ้ เท็จจริงปรากฏชดั เจนว่าศาลตาม ๑.๑.๒.๑ ไดป้ ฏิเสธไม่รับคาฟ้อง
ดงั กล่าวแลว้ ถา้ ศาลที่คู่ความมาย่ืนคาฟ้องยงั มีความเห็นว่า คดีดงั กล่าวอยู่ในอานาจพิจารณา
พิพากษาของศาลตาม ๑.๑.๒.๑ ให้ศาลท่ีคู่ความมาย่ืนคาฟ้อง ส่งคาฟ้องดงั กล่าว ใหผ้ ทู้ ่ีมีอานาจ
ตามที่ระบุไวใ้ นกฎหมายจดั ต้งั ศาลตาม ๑.๑.๒.๑ วินิจฉัย โดยสั่งดงั น้ี “. . .กรณียังมีปัญหาว่า
อย่ใู นอานาจของศาล. . . หรือไม่ ส่งให้. . .วินิจฉัยต่อไป”
กรณีท่ีศาลตรวจพบภายหลังท่ีมีคาสั่งรับฟ้องไว้แล้ว ให้ส่งสานวนให้
ผทู้ ่ีมีอานาจตามที่ระบไุ วใ้ นกฎหมายจดั ต้งั ศาลตาม ๑.๑.๒.๑ วนิ ิจฉยั
ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓
๑.๒ คดีอยใู่ นเขตศาลหรือไม่ (มาตรา ๒ (๒))
ให้พิจารณาเป็ นประการแรกว่า เป็ นการเร่ิมคดีท่ีเป็ นคาร้องขอหรือคาฟ้อง ถา้ เป็ น
คาร้องขอให้พิจารณาตามมาตรา ๑๘๘, ๔(๒), ๔ จตั วา, ๔ เบญจ, ๔ ฉ, ๕ และ ๗ แต่ถา้ เป็ น
คาฟ้องบทมาตราที่เกี่ยวขอ้ งคือ มาตรา ๓, ๔ (๑), ๔ ทวิ, ๔ ตรี, ๕ และ ๗ โดยให้พิจารณาตรวจ
เรียงตามลาดบั ต้งั แต่ ๑.๒.๑ - ๑.๒.๕ เมื่อเขา้ กรณีใดก็ถือว่าอยใู่ นเขตศาลน้นั อีกท้งั ตอ้ งพิจารณา
เขตศาลตามพระธรรมนูญศาลยุติธรรม มาตรา ๑๕ และพระราชบัญญัติจัดต้ังศาลน้ัน ๆ
ประกอบดว้ ย
๑.๒.๑ พิจารณาวา่ จาเลยมีภูมิลาเนาอยใู่ นเขตศาลหรือไม่
๑.๒.๑.๑ ภูมิลาเนาของบคุ คลธรรมดาพิจารณาตาม ป.พ.พ. มาตรา ๓๗ - ๔๗
ตัวอย่าง จาเลยมีบา้ นท่ีจงั หวดั เชียงใหม่และกรุงเทพฯ ข้ึนล่องเป็ นประจา
ถือว่าท้งั สองแห่งเป็ นภูมิลาเนาจาเลย (ฎีกาท่ี ๘๘๑/๒๕๑๑, ๒๙๗๐/๒๕๓๐) ภูมิลาเนาบริษทั
ถือวา่ เป็นภมู ิลาเนาของกรรมการผจู้ ดั การบริษทั ดว้ ยเพราะเป็นที่ทางานสาคญั ของกรรมการผูน้ ้นั
(ฎีกาท่ี ๑๒๕๑/๒๕๒๓, ๒๕๒๘/๒๕๓๗) จาเลยแจง้ ยา้ ยทะเบียนบา้ นจากบา้ นเดิมที่จังหวดั
บุรี รัมย์แล้วไม่แจ้งย้ายเข้าที่กรุ งเทพฯ ตามที่เคยระบุไว้ จึงไม่อาจทราบได้ว่ายา้ ยไปท่ีใด
ท้งั ไดค้ วามว่าจาเลยแจง้ ยา้ ยเฉพาะตนเองไมไ่ ดแ้ จง้ ยา้ ยครอบครัว ถือว่าภูมิลาเนาจาเลยอยใู่ นเขต
ศาลจังหวดั บุรีรัมย์ (ฎีกาท่ี ๕๐๕๓/๒๕๓๓) การท่ีทางราชการจาหน่ายช่ือจาเลยออกจาก
ทะเบียนบา้ นเดิมแลว้ ลงชื่อไวใ้ นทะเบียนบา้ นกลาง ไม่อาจถือว่าจาเลยเปลี่ยนภูมิลาเนา (ฎีกาท่ี
๒๑๘๕/๒๕๓๕) หากจาเลยตอ้ งโทษจาคุกอยู่ที่เรือนจาในอาเภอกบินทร์บุรี ขณะท่ีคดีอยใู่ น
ระหว่างอุทธรณ์ หรือคาพิพากษาดงั กล่าวยงั ไม่ถึงท่ีสุด เรือนจาดงั กล่าวไม่ใช่ท้องท่ีท่ีจาเลย
มีภูมิลาเนา (ฎีกาที่ ๘๘๓๖/๒๕๓๘, ๒๒๐๙/๒๕๔๐)
๑.๒.๑.๒ ภมู ิลาเนาของนิติบคุ คล พิจารณาตาม ป.พ.พ. มาตรา ๖๘ และ ๖๙
ตัวอย่าง สานักงานสาขาของบริษทั เป็ นภูมิลาเนาสาหรับกิจการเก่ียวกบั
สาขาน้ันและสาขาของบริษทั ก็คือส่วนหน่ึงของบริษทั โดยไม่จาตอ้ งจดทะเบียนให้เป็ นสาขา
(ฎีกาที่ ๔๘๔/๒๕๐๗) จาเลยเป็ นห้างหุ้นส่วนจากดั มีสานักงานใหญ่อยู่จงั หวดั สุราษฎร์ธานี
แต่โจทก์เคยติดต่อซ้ือขายไม้รายพิพาทกบั จาเลยท่ีบา้ นท่ีถนนขา้ วสาร กรุงเทพฯ ถือว่าบา้ น
ดงั กล่าวเป็ นภูมิลาเนาของจาเลยอีกแห่งหน่ึงในการคา้ ขายน้ัน (ฎีกาที่ ๙๙/๒๕๒๔) จาเลยเป็ น
บริษทั ต่างประเทศไดม้ อบให้สานกั งานสาขาในประเทศไทยยื่นคาขอจดทะเบียนเคร่ืองหมาย
การคา้ ถือว่าบริษทั จาเลยมีภูมิลาเนาในส่วนกิจการน้ีในประเทศไทยตาม ป.พ.พ. มาตรา ๗๑
(เดิม) หรือมาตรา ๖๘ (ใหม่) (ฎีกาท่ี ๑๓๖๙/๒๕๒๕)
ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๔
๑.๒.๑.๓ แม้จาเลยไม่มีภูมิลาเนาในราชอาณาจักร แต่อาจถือว่าจาเลย
มีภูมิลาเนาในราชอาณาจกั รได้ หากเขา้ เงื่อนไขตามมาตรา ๓ (๒)
การที่ถือวา่ เป็ นภูมิลาเนาของจาเลยดงั กล่าว เพ่ือประโยชน์ในการ
ยื่นฟ้องเท่าน้ัน จะถือว่าเป็ นภูมิลาเนาเพ่ือการส่งหมายเรียกและสาเนาคาฟ้องไม่ได้ จะตอ้ งส่ง
หมายเรียกและสาเนาคาฟ้องไปใหจ้ าเลยตาม ป.ว.ิ พ. มาตรา ๘๓ ทว,ิ ๘๓ จตั วา และ ๘๓ อฏั ฐ
๑.๒.๑.๔ จาเลยอาจมีภมู ิลาเนาอยใู่ นหลายเขตศาล (มาตรา ๕)
๑.๒.๑.๕ บุคคลต้งั แต่สองคนข้ึนไปอาจถูกฟ้องเป็นจาเลยร่วมในคดีเดียวกนั ได้
หากปรากฏวา่ มีผลประโยชนร์ ่วมกนั ในมลู ความแห่งคดี (มาตรา ๕๙)
๑.๒.๒ พิจารณาว่าเป็ นคาฟ้องเก่ียวดว้ ยอสังหาริมทรัพย์ หรือสิทธิ หรือประโยชน์
อนั เกี่ยวดว้ ยอสังหาริมทรัพยห์ รือไม่ ถา้ ใช่ เสนอคาฟ้องต่อศาลท่ีอสังหาริมทรัพยน์ ้ันต้ังอยู่
ในเขตศาลได้ (มาตรา ๔ ทวิ)
๑.๒.๒.๑ การพิจารณาว่าเป็ นคาฟ้องเกี่ยวดว้ ยอสังหาริมทรัพยห์ รือไม่ ตอ้ งดู
คาฟ้องและคาขอทา้ ยฟ้องวา่ จะตอ้ งบงั คบั ไปถึงตวั อสงั หาริมทรัพยน์ ้นั หรือไม่
ตัวอย่างคาฟ้องที่เกี่ยวด้วยอสังหาริมทรัพย์ เช่น ฟ้องขบั ไล่ออกจากบา้ น
พิพาท (ฎีกาที่ ๑๑๓๔/๒๕๑๔) ฟ้องห้ามจาเลยกบั บริษทั มิใหเ้ ก่ียวขอ้ งรบกวนสิทธิครอบครอง
ทาความเสียหายแก่โจทก์ต่อไป (ฎีกาท่ี ๑๑๗๓/๒๕๓๘) ฟ้องว่าจาเลยกระทาละเมิดต่อโจทก์
เป็นเหตุใหโ้ จทกไ์ ดร้ ับความเสียหายตอ้ งสูญเสียท่ีดินของโจทกไ์ ป จาเลยใหก้ ารวา่ ที่พพิ าทเป็นที่
สาธารณะไม่ใช่ของโจทกแ์ ละจาเลยมิไดก้ ระทาละเมิดตอ่ โจทก์ แมจ้ ะมิไดก้ ลา่ วแกเ้ ป็นขอ้ พิพาท
ด้วยกรรมสิทธ์ิว่าท่ีดินเป็ นของจาเลย และตามคาฟ้องของโจทก์มิไดม้ ีคาขอท่ีจะบังคับแก่
ที่พิพาท แต่การที่จะพิจารณาว่าจาเลยกระทาละเมิดต่อโจทก์หรือไม่ ก็จะตอ้ งพิจารณาดว้ ยว่าท่ี
พพิ าทเป็นของโจทกห์ รือไม่ อนั เป็นการพิจารณาถึงความเป็นอยแู่ ห่งอสงั หาริมทรัพย์ จึงเป็นคดี
เกี่ยวดว้ ยอสังหาริมทรัพย์ (ฎีกาท่ี ๑๗๘๓/๒๕๒๗ ประชุมใหญ่) ฟ้องบงั คบั จานองท่ีดิน (ฎีกาท่ี
๖๘๐/๒๕๓๒) ฟ้องใหส้ ่งมอบท่ีดินตามสญั ญาซ้ือขาย (ฎีกาที่ ๔๖๕๗/๒๕๓๒)
ตวั อยา่ งคาฟ้องท่ีไมเ่ กี่ยวดว้ ยอสังหาริมทรัพย์ เช่น คาฟ้องเกี่ยวกบั สิทธิยดึ หน่วง
โฉนดท่ีดิน (ฎีกาที่ ๑๔๒๘ - ๑๔๒๙/๒๕๑๖) ฟ้องเรียกเงินค่าท่ีดินที่จาเลยซ้ือไปจากโจทก์
(ฎีกาที่ ๒๓๓๔/๒๕๑๗) ฟ้องว่าจาเลยผิดสัญญาจะซ้ือจะขายที่ดินและสิ่งปลูกสร้างเรียกเงิน
มดั จาคืนและให้ใชค้ ่าเสียหาย (ฎีกาท่ี ๖๘๓/๒๕๓๔) ฟ้องขอให้บงั คบั จาเลยไปถอนคาคดั คา้ น
การขอโอนมรดกที่โจทกย์ นื่ คาร้องต่อเจา้ พนกั งานที่ดินอาเภอ (ฎีกาที่ ๙๕๕/๒๕๓๗)
๑.๒.๒.๒ อสงั หาริมทรัพยอ์ าจมีที่ต้งั อยใู่ นหลายเขตศาล (มาตรา ๕)
ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๕
๑.๒.๓ พจิ ารณาวา่ มลู คดีเกิดข้ึนในเขตศาลหรือไม่
๑.๒.๓.๑ คดีแพ่งทว่ั ไป เสนอคาฟ้องต่อศาลท่ีมีมูลคดีเกิดข้ึนในเขตศาลได้
(มาตรา ๔ (๑))
ตัวอย่าง โจทก์ได้จ่ายค่าเสียหายเบ้ืองต้นให้แก่ ป. ท่ีสานักงานคุม้ ครอง
ผูเ้ อาประกนั ภยั ซ่ึงต้งั อย่ใู นเขตอานาจศาลแขวงพระโขนง เป็ นเร่ืองท่ีโจทก์ใชส้ ิทธิไล่เบ้ียตาม
มาตรา ๓๑ วรรคหน่ึง แห่ง พ.ร.บ. คุม้ ครองผปู้ ระสบภยั จากรถ พ.ศ. ๒๕๓๕ การจ่ายคา่ เสียหาย
เบ้ืองตน้ ดงั กล่าวมิใช่ตน้ เหตุพิพาทอนั เป็ นท่ีมาแห่งการโตแ้ ยง้ สิทธิแห่งโจทก์ คงเป็ นเพียงสิทธิ
ที่โจทก์จะใชส้ ิทธิไล่เบ้ียตามที่กฎหมายกาหนดไวเ้ ท่าน้ัน มูลคดีน้ีจึงมิไดเ้ กิดข้ึนในเขตอานาจ
ของศาลแขวงพระโขนง (ฎีกาที่ ๒๔๓๗/๒๕๔๐)
๑.๒.๓.๒ สถานที่ท่ีเกิดมลู คดีอาจอยใู่ นหลายเขตศาล (มาตรา ๕) เช่น คดีฟ้อง
ให้ชาระเงินตามเช็ค สถานท่ีออกเช็ค (ฎีกาที่ ๓๘๑๘/๒๕๓๘) สถานท่ีต้งั ของธนาคารท่ีปฏิเสธ
การจ่ายเงินตามเช็ค (ฎีกาที่ ๗๒๕๕/๒๕๓๙) หรือกรณีนาเช็คของผูอ้ ่ืนมาแลกเงินสด สถานที่ท่ี
นาเช็คมาแลกเงินสด (ฎีกาท่ี ๗๒๑๒/๒๕๔๕) หรือสถานท่ีเกิดหน้ีท่ีเป็ นท่ีมาของการออกเช็ค
ชาระหน้ี (ฎีกาที่ ๑๘๖๔/๒๕๔๘) ถือวา่ เป็นสถานท่ีท่ีมลู คดีเกิดข้ึน
๑.๒.๓.๓ ในกรณีท่ีมูลคดีเกิดข้ึนในเรือไทย หรืออากาศยานไทยที่อยู่นอก
ราชอาณาจกั ร ศาลแพ่งเป็ นศาลท่ีมีเขตอานาจ (มาตรา ๓ (๑)) แมจ้ านวนทุนทรัพยจ์ ะอยู่ใน
อานาจการพิจารณาพิพากษาของศาลแขวงก็ฟ้องต่อศาลแพ่งได้ (คาว่า “เรือไทย” ปรากฏใน
พ.ร.บ.เรือไทย พ.ศ.๒๔๘๑ และคาว่า “อากาศยาน”ปรากฏใน พ.ร.บ. การเดินอากาศ พ.ศ. ๒๔๙๗
แตย่ งั ไมม่ ีคาพพิ ากษาศาลฎีกาเก่ียวกบั คานิยามดงั กลา่ ว)
๑.๒.๔ พจิ ารณาวา่ โจทก์เป็นผูม้ ีสัญชาติไทยหรือมีภูมิลาเนาในราชอาณาจกั รหรือไม่
ถา้ ใช่ โจทก์อาจยืน่ ฟ้องต่อศาลแพ่ง หรือศาลซ่ึงโจทก์มีภูมิลาเนาอยใู่ นเขตศาล หรือศาลที่จาเลย
มีทรัพยส์ ินที่อาจถกู บงั คบั คดีไดอ้ ยใู่ นเขตศาล (มาตรา ๔ ตรี)
๑.๒.๔.๑ โจทก์อาจมีภูมิลาเนาอยู่ในหลายเขตศาล จาเลยอาจมีทรัพยส์ ิน
ท่ีอาจถูกบงั คบั คดีไดอ้ ยใู่ นหลายเขตศาล (มาตรา ๕)
๑.๒.๔.๒ บุคคลต้งั แต่สองคนข้ึนไปอาจเป็ นโจทก์ร่วมฟ้องคดีเดียวกันได้
หากปรากฏวา่ มีผลประโยชน์ร่วมกนั ในมลู ความแห่งคดี (มาตรา ๕๙)
๑.๒.๕ กรณีมีการฟ้องคดีเกี่ยวเนื่องกบั คดีท่ีคา้ งพิจารณาอยู่ ใหต้ รวจดูวา่ เป็ นคาฟ้อง
ท่ีเสนอต่อศาลที่คดีคา้ งพิจารณาอยหู่ รือไม่ (มาตรา ๗)
๑.๒.๕.๑ ศาลที่มีอานาจพิจารณาคาฟ้องหรือคาร้องขอก่อนท่ีการบงั คบั คดี
จะดาเนินไปโดยครบถว้ นหรือถูกตอ้ ง คือ ศาลช้นั ตน้ ตามมาตรา ๒๗๑ วรรคหน่ึงหรือวรรคสอง
ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๖
แลว้ แต่กรณี๑ โดยตอ้ งยื่นคาร้องเขา้ ไปในคดีเดิม มิใช่ฟ้องเป็ นคดีใหม่ (ฎีกาท่ี ๑๔๘๖/๒๕๕๑,
๓๕๕๓/๒๕๔๙)
โจทกฟ์ ้องวา่ จาเลยหลอกลวงโจทก์ใหล้ งช่ือในใบแต่งทนายความท่ียงั ไมไ่ ด้
กรอกขอ้ ความเพื่อนาไปถอนฟ้อง แต่จาเลยสมคบกบั อ. กรอกขอ้ ความเป็ นว่า โจทก์แต่งต้งั อ.
เป็ นทนายความมีอานาจประนีประนอมยอมความแทนโจทก์ แลว้ จาเลยกบั อ. ตกลงทาสัญญา
ประนีประนอมยอมความและศาลพิพากษาตามยอม เป็ นกรณีที่โจทก์กล่าวอา้ งว่า ศาลช้นั ตน้
ดาเนินกระบวนพิจารณาไม่ชอบดว้ ย ป.วิ.พ. มาตรา ๒๗ ซ่ึงศาลมีอานาจสง่ั เพกิ ถอนการพิจารณา
ท่ีผิดระเบียบได้ โจทก์ชอบที่จะยกข้ึนว่ากล่าวกันในคดีเดิม จะมายื่นฟ้องเป็ นคดีใหม่ไม่ได้
(ฎีกาที่ ๓๕๕๓/๒๕๔๙)
๑.๒.๕.๒ ศาลช้ันต้นที่บังคับคดีแทน อันได้แก่ ศาลช้ันต้นอื่นท่ีได้รับ
มอบหมายให้บงั คบั คดีแทน ศาลช้นั ตน้ อ่ืนท่ีเจา้ หน้ีตามคาพิพากษาย่ืนคาแถลงหรือเจา้ พนักงาน
บงั คบั คดีรายงานให้บงั คบั คดีแทน ตามมาตรา ๒๗๑ วรรคสาม โดยมีอานาจเฉพาะท่ีเกี่ยวกบั การ
บงั คบั คดีในส่วนท่ีจะตอ้ งบงั คบั คดีในเขตศาลของตนเท่าน้นั :ซ่ึงตามมาตรา ๒๗๑ วรรคห้า ให้
อานาจศาลที่บงั คบั คดีแทนสั่งเพิกถอนหรือแกไ้ ขกระบวนวิธีการบงั คบั คดี หรือกาหนดวิธีการ
อย่างใดแก่เจา้ พนักงานบงั คบั คดีเพื่อแกไ้ ขขอ้ บกพร่อง ผิดพลาด หรือฝ่ าฝื นกฎหมาย รวมถึง
ดาเนินกระบวนพิจารณาอ่ืนใดที่เกี่ยวเน่ืองได้ จนกว่าการบงั คบั คดีจะเสร็จสิ้นและแจง้ ผลการ
บงั คบั คดีไปยงั ศาลที่มีอานาจในการบงั คับคดีแลว้ อานาจในการดาเนินกระบวนพิจารณาอื่นใด
ท่ีเก่ียวเน่ือง ซ่ึงอย่ใู นอานาจของศาลที่บงั คบั คดีแทน หมายความรวมถึง การรับอุทธรณ์ หรือ
ฎีกาที่เก่ียวเน่ืองกบั การบงั คบั คดีแทนดว้ ย (ฎีกาที่ ๑๓๕๔/๒๕๕๐)
คาร้องซ่ึงอา้ งว่า เจา้ พนกั งานบงั คบั คดีของศาล ที่ไดร้ ับแตง่ ต้งั ให้บงั คบั คดีแทน
ดาเนินการบงั คบั คดีไม่ชอบน้ัน ยื่นต่อศาลท่ีช้ีขาดตดั สินคดีในศาลช้ันต้นได้ (ฎีกาท่ี ๑๒๑๙/
๒๕๒๙ ประชุมใหญ่) แต่ศาลท่ีบงั คบั คดีแทนจะมีคาส่ังงดการบงั คบั คดี (ฎีกาที่ ๒๗๖๙/
๒๕๓๙) ร้องขอรับชาระหน้ีก่อน (ฎีกาท่ี ๗๕๖๕/๒๕๔๘) ไมไ่ ด้
๑.๓ กรณีที่คูค่ วามมิใช่บคุ คลธรรมดาใหต้ รวจดูฐานะของบคุ คลดว้ ย
โจทก์ระบุช่ือจาเลยว่า “สายการเดินเรื อบริ ษัทกรุงเทพฯ” และได้บรรยายฟ้อง
จนเป็ นท่ีเขา้ ใจว่าฟ้องบริษทั ค. กบั บริษทั อ. แมส้ ายการเดินเรือบริษทั กรุงเทพฯ จะมิใช่นิติบุคคล
กถ็ ือวา่ ใชไ้ ด้ (ฎีกาท่ี ๒๘๘๓/๒๕๓๒)
๑ พระราชบญั ญตั แิ กไ้ ขเพมิ่ เตมิ ประมวลกฎหมายวธิ ีพจิ ารณาความแพง่ (ฉบบั ท่ี ๓๐) พ.ศ.๒๕๖๐
ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๗
๑.๔ ผไู้ ร้ความสามารถ (ผเู้ ยาว์ คนไร้ความสามารถ หรือคนเสมือนไร้ความสามารถ) เป็นโจทก์
ใหต้ รวจดูวา่ ไดป้ ฏิบตั ิตามบทบญั ญตั ิวา่ ดว้ ยความสามารถโดยครบถว้ นแลว้ (ใหด้ ูมาตรา ๕๖)
ระบใุ นคาฟ้องของโจทกว์ า่ “นายนวลบิดาเดก็ ชายยทุ ธนา พวงมาลยั ” และบรรยายฟ้องวา่
จาเลยทาละเมิดต่อบุตรโจทก์ ทาให้บุตรโจทก์และโจทก์เสียหาย ดงั น้ี แสดงว่าโจทก์ฟ้องท้งั ใน
ฐานะส่วนตวั และแทนบตุ รผเู้ ยาวด์ ว้ ย (ฎีกาที่ ๑๘๘๙/๒๕๑๑)
แมใ้ นตอนตน้ ของคาฟ้องจะมีช่ือโจทก์เพียงผูเ้ ดียวก็ตาม แต่ปรากฏจากคาฟ้องว่า
โจทก์เป็ นภริยาของผูต้ ายและเป็ นมารดาของผูเ้ ยาวท์ ้งั ๓ คน ท้งั ไดเ้ รียกร้องค่าอุปการะเล้ียงดู
ใหก้ ารศึกษาของบุตรท้งั ๓ คนน้นั ดว้ ย จึงถือไดว้ า่ โจทกฟ์ ้องคดีในฐานะมารดาผแู้ ทนโดยชอบธรรม
ของบุตรผเู้ ยาวด์ ว้ ยแลว้ (ฎีกาท่ี ๑๙๖๓/๒๕๑๗)
โจทก์ระบุในหน้าฟ้องว่า ค. ในฐานะผูป้ กครองเด็กชาย ท. แต่เม่ือขอ้ ความตามที่
โจทก์ระบุไวห้ น้าฟ้องดงั กล่าวและตามท่ีโจทก์บรรยายไวใ้ นคาฟ้องฟังไดว้ ่าโจทก์ฟ้องคดีน้ี
แทนเด็กชาย ท. ในฐานะผูป้ กครองเด็กชาย ท. ผูเ้ ยาว์ โจทก์จึงมีอานาจฟ้อง (ฎีกาที่ ๔๑๘/
๒๕๓๕)
๑.๔.๑ โจทก์ซ่ึงเป็ นผู้มีคู่สมรส (หมายถึงสามีหรื อภริ ยาซ่ึงจดทะเบียนสมรส
ตามกฎหมาย) สามารถเป็นโจทกฟ์ ้องคดีโดยลาพงั ไมต่ อ้ งไดร้ ับความยนิ ยอมจากคู่สมรส
๑.๕ โจทก์ลงชื่อในคาฟ้องหรือไม่ โจทก์ในที่น้ีหมายรวมถึงผูร้ ับมอบอานาจโจทก์ และ
ทนายความโจทกด์ ว้ ย
กรณีนิติบุคคลเป็ นโจทก์ ให้ตรวจดูอานาจของผูแ้ ทนนิติบุคคลดว้ ย คาฟ้องของ
นิติบุคคลซ่ึงผูล้ งช่ือเป็ นโจทก์ไม่มีอานาจลงชื่อแทนนิติบุคคลก็เหมือนไม่มีบุคคลลงชื่อในคาฟ้อง
(ฎีกาที่ ๕๖๖/๒๔๙๘ ประชุมใหญ่)
โจทก์มิไดล้ งลายมือชื่อในคาฟ้อง คงมีแต่ ส.ทนายความซ่ึงไดร้ ับการแต่งต้งั จากโจทก์
ลงลายมือช่ือเป็ นผูเ้ รียงพิมพใ์ นคาฟ้อง จึงเป็ นฟ้องท่ีไม่สมบูรณ์ตามมาตรา ๖๗ (๕) แต่กรณี
เป็นขอ้ บกพร่องในเรื่องท่ีมิไดป้ ฏิบตั ิให้เป็ นไปตามบทบญั ญตั ิแห่งกฎหมาย ซ่ึงศาลมีอานาจสั่ง
ใหค้ ืนหรือแกไ้ ขคาฟ้องไดต้ ามมาตรา ๑๘ วรรคสอง (ฎีกาท่ี ๖๐๑/๒๕๓๗)
๑.๖ โจทก์ฟ้องคดีโดยผูร้ ับมอบอานาจ โจทก์คัดสาเนาหนังสือมอบอานาจเสนอมา
ทา้ ยฟ้องโดยไม่ย่ืนตน้ ฉบบั หนังสือมอบอานาจต่อศาลพร้อมคาฟ้องก็ได้ และถึงแมโ้ จทก์มิได้
คดั สาเนาหนงั สือมอบอานาจให้จาเลยพร้อมกบั สาเนาคาฟ้องก็ใชไ้ ด้ (ฎีกาท่ี ๑๒๗๑- ๑๒๗๓/
๒๕๐๘ ประชุมใหญ)่
ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๘
การมอบอานาจให้ฟ้องคดีไม่จาเป็ นตอ้ งระบุว่าให้ฟ้องศาลใด (ฎีกาที่ ๑๒๐๒/๒๕๓๕)
และในหนงั สือมอบอานาจไม่จาตอ้ งระบุช่ือผถู้ กู ฟ้อง (ฎีกาท่ี ๒๑๕๕/๒๕๓๕)
๑.๗ ผรู้ ับมอบอานาจมีอานาจเรียงคาฟ้องแทนโจทก์ (ฎีกาที่ ๒๙๙/๒๕๒๔)
๑.๘ ผลู้ งชื่อในคาฟ้องเป็นทนายความใหต้ รวจดูวา่ มีใบแตง่ ทนายโดยถูกตอ้ งหรือไม่
ทนายความที่ขาดต่อใบอนุญาตไม่มีอานาจลงชื่อเป็ นผูเ้ รียงและพิมพ์คาคู่ความ
ที่ยน่ื ต่อศาลตลอดจนดาเนินคดีในศาล (ฎีกาที่ ๒๙๐๔ - ๒๙๐๕/๒๕๓๗)
๑.๙ การขีดฆา่ ตกเติมไดล้ งช่ือกากบั ถกู ตอ้ งหรือไม่
๑.๑๐ ตรวจค่าธรรมเนียมศาลว่าไดช้ าระถูกตอ้ งครบถว้ นหรือไม่ โดยตรวจดูจากบนั ทึก
ทา้ ยคาฟ้องของพนักงานรับฟ้องและใบเสร็จรับเงินค่าธรรมเนียมศาล ถา้ ไม่ครบส่ังเรียกเสีย
ให้ครบถว้ นถูกตอ้ ง เมื่อตรวจแลว้ เห็นวา่ เสียค่าธรรมเนียมศาลครบถว้ นแลว้ ใหผ้ พู้ ิพากษาลงช่ือ
กากบั ไว้
๑.๑๑ สาเนาคาฟ้องและสาเนาเอกสารทา้ ยคาฟ้องพิมพห์ รือถ่ายภาพชดั เจนครบถว้ นและ
ไดร้ ับรองสาเนาถกู ตอ้ งหรือไม่
๒. การสั่งคาฟ้อง
๒.๑ เม่ือตรวจคาฟ้องแลว้ เห็นว่ารับไวพ้ ิจารณาได้ การส่ังน้ันให้ใชข้ อ้ ความตามที่ศาล
ไดก้ าหนดข้ึนตามขอ้ บงั คบั ว่าดว้ ยการส่งคาคู่ความและเอกสารทางคดี พ.ศ. ๒๕๔๕ เช่น ส่ังวา่
“รับฟ้อง หมายส่งสาเนาให้จาเลย ตามขอ้ บงั คบั ว่าด้วยการส่งคาคู่ความและเอกสารทางคดี
พ.ศ. ๒๕๔๕ ให้โจทก์วางเงินค่าใช้จ่ายในการจัดส่งภายในวันทาการถัดไป มิฉะนั้น ถือว่า
โจทก์ทิง้ ฟ้อง นัดชีส้ องสถานในวันที่ . . เวลา. . . .น.” การสั่งเช่นน้ีเป็ นการวางขอ้ กาหนดตาม
มาตรา ๑๗๔ (๒) กรณีโจทก์ยื่นคาแถลงขอให้เจ้าพนักงานศาลเป็ นผู้ส่ง สั่งว่า“รับฟ้อง
หมายส่งสาเนาให้ จาเลย ให้โจทก์นาส่งภายใน ๕ วัน ส่งไม่ได้ให้โจทก์แถลงภายใน ๗ วัน
นับแต่วันส่งไม่ได้ มิฉะน้ัน ถือว่าโจทก์ทิง้ ฟ้อง ให้นดั ชีส้ องสถานในวนั ท่ี. . เวลา. . . .น.”
ข้อสังเกต
๑. การที่เจา้ หนา้ ท่ีรายงานเสนอต่อศาลว่า พน้ กาหนดระยะเวลาในการนาหมายแลว้
โจทก์หรือผูแ้ ทนโจทก์ไม่มาเสียค่าธรรมเนียมในการส่งซ่ึงไม่ตรงกับความจริงคงเป็ นเพราะ
เจา้ หนา้ ท่ีไม่ไดต้ รวจสอบให้รอบคอบเกี่ยวกบั ผูแ้ ทนโจทก์ไดเ้ สียค่าธรรมเนียมในการส่งหมาย
นดั นาส่งสาเนาอุทธรณ์ใหแ้ ก่จาเลยท้งั สามไวล้ ่วงหนา้ แลว้ ก่อนที่ศาลช้นั ตน้ จะมีคาส่งั รับอุทธรณ์
ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๙
ของโจทก์ถึง ๑ วนั ดงั น้ี จะถือว่าโจทก์มิไดน้ าส่งสาเนาอุทธรณ์ให้แก่จาเลยท้งั สามตามคาสั่ง
ศาลช้ันต้นเป็ นการเพิกเฉยไม่ดาเนินคดีภายในเวลาที่ศาลช้ันตน้ กาหนด อนั จะถือว่าโจทก์
ทิง้ อุทธรณ์หาไดไ้ ม่ (ฎีกาท่ี ๙๕๓๘/๒๕๓๙)
๒. กรณีท่ีถือว่าศาลไม่ไดก้ าหนดให้โจทก์นาส่ง เช่น การท่ีศาลช้นั ตน้ มีคาสั่งตาม
คาแถลงของผรู้ ้องว่า ส่งใหโ้ จทก์ใหม่ หากไม่มีผูร้ ับโดยชอบใหป้ ิ ดหมายไดน้ ้นั จะถือวา่ ศาลช้นั ตน้
กาหนดให้ผูร้ ้องนาส่งสาเนาอุทธรณ์ดว้ ยหาไดไ้ ม่ กรณีเช่นน้ีเพียงแต่ผรู้ ้องนาเงินค่าธรรมเนียม
ในการส่งไปชาระแก่เจา้ หนา้ ที่ก็ถือว่าผูร้ ้องไดน้ าส่งสาเนาอุทธรณ์แลว้ กรณีไม่อาจถือไดว้ ่าผูร้ ้อง
ทิ้งอุทธรณ์ (ฎีกาท่ี ๕๔๕๖/๒๕๓๙)
๒.๒ สง่ั ไม่รับคาฟ้องหรือคืนคาฟ้อง เช่น กรณีดงั ต่อไปน้ี
๒.๒.๑ กรณีคาฟ้องมีข้อบกพร่อง ให้ระบุข้อบกพร่องและสั่งว่า “. . .ให้ คืน
โจทก์ไปทามาใหม่ให้ถูกต้องหรือให้แก้ไขเพ่ิมเติมหรือให้ปฏิบัติให้บริบูรณ์ ภายใน. . .วัน”
ถา้ ไม่ปฏิบตั ิตามใหม้ ีคาส่งั วา่ “ไม่รับคาฟ้อง คืนค่าขึน้ ศาลทั้งหมด”
กรณีส่ังคืนให้โจทก์ไปทามาใหม่ โจทก์จะรับคาฟ้องไปไม่ได้ ตอ้ งทาคาฟ้อง
ยน่ื เขา้ มาใหม่ ถา้ สง่ั ใหแ้ กไ้ ขเพ่มิ เติมโจทกจ์ ะตอ้ งยนื่ เป็นคาร้องขอแกไ้ ขคาฟ้อง
๒.๒.๒ กรณีมีขอ้ หาหลายขอ้ ไม่เกี่ยวขอ้ งกนั ส่ังว่า“ข้อหามิได้เก่ียวข้องกันให้ รับ
คาฟ้องเฉพาะข้อ. . . . .ส่วนข้อหาอื่นให้โจทก์แยกฟ้องเป็นคดีใหม่” (กรณีไม่รับทุกขอ้ หาดูฎีกาที่
๗๓๙/๒๕๐๓)
๒.๒.๓ กรณีฟ้องผดิ ศาลและศาลตรวจพบก่อน ใหร้ ะบเุ หตผุ ลและส่ังวา่ “. . .คดจี ึง
ไม่อยู่ในเขตอานาจของศาลนี้ ไม่รับคาฟ้อง (หรือคืนคาฟ้องไปเพื่อย่ืนต่อศาลท่ีมีเขตอานาจ)
คืนค่าขึน้ ศาลทั้งหมด” (แมศ้ าลจะสงั่ ไม่รับหรือคืนคาฟ้อง โจทกก์ จ็ ะรับคาฟ้องคืนไปไมไ่ ด)้
๒.๒.๔ กรณีฟ้องผิดศาลและศาลตรวจพบภายหลงั มีคาส่ังรับฟ้องไวแ้ ลว้ ควรสั่ง
ดงั น้ี
“พิเคราะห์แล้ว เห็นว่า. . .คดีจึงมิได้อยู่ในเขตอานาจศาลนี้ อาศัยอานาจ
ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๗ จึงมีคาสั่งให้เพิกถอนคาส่ังรับฟ้อง และมีคาส่ังใหม่เป็ นไม่รับคาฟ้อง
คืนค่าขึน้ ศาลท้ังหมดให้แก่โจทก์ ให้จาหน่ายคดีจากสารบบความ แจ้งให้คู่ความทราบ” (ฎีกาที่
๑๑๔/๒๕๒๑, ๑๘๔๗/๒๕๒๗
ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๑๐
๒.๓ ส่ังไมร่ ับคาฟ้อง หรือพิพากษายกฟ้องในกรณีโจทกไ์ มม่ ีอานาจฟ้อง
๒.๓.๑ กรณีท่ีโจทก์ไม่มีอานาจฟ้องเพราะโจทก์ หรือจาเลยเป็ นคู่ความไม่ได้ เช่น
โจทกห์ รือจาเลยไม่ใช่นิติบคุ คล หรือจาเลยไดถ้ ึงแก่กรรมไปแลว้ ต้งั แตก่ ่อนโจทกย์ นื่ คาฟ้อง
สงั่ วา่ “. . .จึงมคี าส่ังไม่รับคาฟ้อง คืนค่าขึน้ ศาลท้ังหมดให้โจทก์”
๒.๓.๒ กรณีพิพากษายกฟ้องในช้นั ตรวจคาฟ้อง เป็ นกรณีที่ศาลช้นั ตน้ ตรวจคาฟ้อง
แลว้ เห็นว่า โจทก์ไม่มีอานาจฟ้องเพราะเหตุอื่น ๆ นอกจากเหตุตามขอ้ ๒.๓.๑ เช่น สัญญา
ระหว่างโจทก์กบั จาเลยยงั ไม่เกิดข้ึน โจทก์ไม่มีอานาจแห่งมูลหน้ีที่จะเรียกให้จาเลยชาระหน้ี
ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๙๔ หรือเพราะคดีโจทก์ไม่มีมูลที่จะฟ้องร้องให้จาเลยรับผิดต่อโจทก์
ฐานละเมิด หรือเพราะไม่มีขอ้ โตแ้ ยง้ สิทธิ หรือไม่มีความจาเป็ นจะตอ้ งใชส้ ิทธิทางศาลตาม ป.วิ.พ.
มาตรา ๕๕ ซ่ึงเป็ นกรณีที่ศาลช้ันตน้ ตรวจฟ้องแลว้ พิพากษายกฟ้องโดยวินิจฉัยในประเด็น
แห่งคดีตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๑๓๑ (๒) ไดท้ นั ทีโดยไม่จาตอ้ งสัง่ รับคาฟ้องน้นั ไวพ้ ิจารณาช้นั หน่ึง
ก่อนแลว้ จึงทาคาพิพากษาอีกทีหน่ึง กลา่ วคือ ศาลสามารถทาคาพิพากษาในคาฟ้องน้นั ไดท้ นั ที
สงั่ วา่ “ พิเคราะห์คาฟ้องแล้ว เห็นว่า. . .อ้างเหตแุ ห่งการยกฟ้อง. . . พิพากษา
ยกฟ้อง ค่าฤชาธรรมเนียมให้เป็นพับ”
กรณีโจทก์ฟ้องจาเลยหลายคน เม่ือตรวจฟ้องแลว้ ตอ้ งยกฟ้องจาเลยบางคน
ส่งั ในคาฟ้องดงั น้ี
“ รับฟ้องเฉพาะจาเลยที่. . .หมายส่งสาเนาให้จาเลยที่. . .ให้โจทก์นาส่ง
ภายใน ๕ วัน ส่งไม่ได้ให้โจทก์แถลงภายใน ๗ วัน นับแต่วันส่งไม่ได้ มิฉะนั้นถือว่าโจทก์ทิง้ ฟ้อง
ให้นัดชีส้ องสถานในวนั ท่ี. . .เวลา. . .น.”
ส่วนจาเลยท่ี. . . เห็นว่า. . .อ้างเหตุแห่งการยกฟ้อง. . .พิพากษายกฟ้อง
ค่าฤชาธรรมเนียมระหว่างโจทก์กับจาเลยท่ี. . .ให้เป็นพบั ”
ข้อสังเกต
๑. คาพิพากษาดังกล่าว องค์คณะผู้พิพากษาจะต้องลงชื่อให้ครบถ้วน
ตามพระธรรมนูญศาลยตุ ิธรรม
๒.ในกรณีเช่นน้ีศาลจะไม่ส่ังคืนค่าข้ึนศาลให้โจทก์ เพราะไม่มีเหตุท่ีจะคืน
ตามมาตรา ๑๕๑ (ฎีกาท่ี ๒๑๓๖/๒๕๒๕)
๓. ศาลต้องส่ังเร่ืองค่าฤชาธรรมเนียมดว้ ย โดยส่ังให้ค่าฤชาธรรมเนียมเป็ นพบั
(ฎีกาที่ ๙๙๖/๒๕๐๘ ประชุมใหญ)่ คา่ ฤชาธรรมเนียมยอ่ มจะเป็นพบั แก่โจทก์ เพราะจาเลยยงั มิได้
เขา้ มาสูค้ ดี ไมม่ ีอะไรท่ีจะใหใ้ ชแ้ ทน
ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๑๑
๔. ศาลช้นั ตน้ ส่ังไม่รับฟ้องของโจทก์โดยไม่ไดห้ มายเรียกจาเลยมาแก้คดี
ศาลอุทธรณ์มีคาพิพากษายกคาส่ังศาลช้นั ตน้ และให้ศาลช้นั ตน้ รับฟ้อง จาเลยฎีกาได้ (ฎีกาที่
๔๒๐/๒๕๑๙)
๒.๔ ในกรณีที่ส่ังไม่รับฟ้อง หรือจาหน่ายคดี หรือพิพากษายกฟ้องแลว้ ให้จดแจง้ ไว้
ที่หนา้ สานวนดว้ ย
ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๑๒
บทท่ี ๒
การฟ้องต่อศาลตามพระธรรมนูญศาลยตุ ธิ รรม
๑. การนาคดที เ่ี กดิ ขนึ้ นอกเขตมาฟ้องต่อศาลแพ่ง ตามมาตรา ๑๖ วรรคสาม
คดีท่ีเกิดนอกเขตศาลแพ่ง ถา้ ยนื่ ฟ้องต่อศาลแพ่ง ใหอ้ ยใู่ นดุลพนิ ิจศาลแพง่ ที่จะยอมรับไว้
พิจารณาพิพากษาหรือมีคาส่งั โอนคดีไปยงั ศาลยตุ ิธรรมอ่ืนที่มีเขตอานาจ
กรณียอมรับไวพ้ จิ ารณา
สั่งว่า “คดีนีเ้ กิดขึน้ นอกเขตศาลแพ่ง ศาลแพ่งพิจารณาแล้วเห็นสมควรรับไว้พิจารณา
พิพากษา รับฟ้อง หมายส่งสาเนาให้จาเลย ตามข้อบังคับว่าด้วยการส่งคาคู่ความและเอกสาร
ทางคดี พ.ศ. ๒๕๔๕ ให้โจทก์วางเงินค่าใช้จ่ายในการจัดส่งภายในวันทาการถัดไป มิฉะน้ัน
ถือว่าโจทก์ทิง้ ฟ้อง . . .” กรณีโจทก์ยื่นคาแถลงขอให้เจา้ พนกั งานศาลเป็ นผูส้ ่ง ส่ังว่า “ . . . รับฟ้อง
หมายส่ งสาเนาให้ จาเลย ให้ โจทก์นาส่ งภายใน ๕ วัน ส่ งไม่ได้ให้ โจทก์แถลงภายใน ๗ วัน
นับแต่วนั ส่งไม่ได้ มิฉะนน้ั จะถือว่าโจทก์ทิง้ ฟ้อง . . .”
กรณีไม่ยอมรับไวพ้ ิจารณา ใหโ้ อนคดีไปศาลยตุ ิธรรมอื่น
สั่งวา่ “คดนี ีเ้ กิดขึน้ นอกเขตศาลแพ่ง ให้โอนคดไี ปยงั ศาล . . . . . . เพื่อพิจารณาพิพากษา
ต่อไป”
ข้อสังเกต
๑. ศาลท่ีศาลแพ่งจะสั่งให้โอนคดีไปต้องเป็ นศาลยุติธรรม จะโอนคดีไป
ศาลทหารหรือศาลปกครองไม่ได้
๒. ศาลแพ่งไม่ตอ้ งถามศาลท่ีจะรับโอนคดีวา่ จะยนิ ยอมรับโอนหรือไม่
๓. ถ้าศาลที่จะรับโอนคดีมีหลายศาล ให้สอบถามโจทก์ว่า ประสงค์จะให้ศาลแพ่ง
โอนคดีไปพิจารณาพิพากษาที่ศาลใด
๔. ในกรณีที่มีการฟ้องคดีต่อศาลยุติธรรมใดไวแ้ ล้ว ถ้าคู่ความฝ่ ายที่ถูกฟ้อง
เห็นว่าคดีดงั กล่าวอยใู่ นเขตอานาจของศาลอ่ืนที่ไม่ใช่ศาลยตุ ิธรรมและไดย้ นื่ คาร้องต่อศาลท่ีรับ
ฟ้องก่อนวนั สืบพยาน ให้ศาลที่รับฟ้องรอการพิจารณาคดีไวช้ ว่ั คราวและจดั ทาความเห็นส่งไป
ใหศ้ าลที่คู่ความร้องวา่ คดีน้นั อยใู่ นเขตอานาจโดยเร็ว ตาม พ.ร.บ. วา่ ดว้ ยการวนิ ิจฉัยช้ีขาดอานาจ
หนา้ ท่ีระหวา่ งศาล พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๐, ๑๒ โดยดาเนินการดงั ต่อไปน้ี
ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๑๓
(๑) ถ้าศาลยุติธรรมมีความเห็นว่า คดีอยู่ในเขตอานาจของศาลยุติธรรม
และศาลที่รับความเห็นมีความเห็นพอ้ งดว้ ย ให้ศาลยุติธรรมมีคาสั่งดาเนินกระบวนพิจารณาคดี
ตอ่ ไป
(๒) ถา้ ศาลยุติธรรมมีความเห็นว่า คดีอยูใ่ นเขตอานาจของศาลรับความเห็น
และศาลท่ีรับความเห็นมีความเห็นพอ้ งดว้ ย ใหศ้ าลยตุ ิธรรมมีคาส่งั โอนคดีไปยงั ศาลรับความเห็น
หรือส่ังจาหน่ายคดีเพ่ือให้คู่ความไปฟ้องยงั ศาลน้นั (แต่ในทางปฏิบตั ิ ศาลจะมีคาสั่งให้โอนคดี
มากกวา่ มีคาสง่ั จาหน่ายคดี)
(๓) กรณี (๑) และ (๒) ถ้าศาลท่ีรับความเห็น มีความเห็นแตกต่าง
ให้ศาลยุติธรรมส่ งเรื่ องไปให้คณะกรรมการวินิ จฉัยช้ ีขาดอานาจหน้าท่ีระหว่างศาลพิจารณา
วินิจฉัยช้ีขาดให้เสร็จภายในสามสิ บวันนับแต่วันท่ีได้รับเรื่ อง แต่ถ้ามีเหตุจาเป็ นให้
คณะกรรมการลงมติใหข้ ยายเวลาออกไปไดไ้ ม่เกินสามสิบวนั โดยใหบ้ นั ทึกเหตุแห่งความจาเป็น
น้นั ไวด้ ว้ ย
คาส่ังของศาลตาม (๑) และ (๒) และคาวินิจฉัยของคณะกรรมการ
ที่เกี่ยวกบั เขตอานาจศาลตาม (๓) ให้เป็ นท่ีสุดและมิให้ศาลที่อย่ใู นลาดบั สูงข้ึนไปของศาลตาม
(๑) และ (๒) ยกเรื่องเขตอานาจศาลข้ึนพจิ ารณาอีก
๒. การนาคดีท่ีอยู่ในอานาจของศาลแขวงมาฟ้องต่อศาลแพ่ง ศาลแพ่งกรุงเทพใต้
ศาลแพ่งธนบุรี หรือศาลจงั หวดั ตาม มาตรา ๑๙/๑
คดีที่เกิดข้ึนในเขตศาลแขวงและอยู่ในอานาจของศาลแขวง ถ้าย่ืนฟ้องต่อศาลแพ่ง
ศาลแพ่งกรุงเทพใต้ ศาลแพ่งธนบุรี หรือศาลจังหวดั ให้อยู่ในดุลพินิจของศาลดังกล่าวที่จะ
ยอมรับพิจารณาคดีใดคดีหน่ึงท่ียน่ื ฟ้องหรือมีคาสั่งโอนคดีไปยงั ศาลแขวงท่ีมีเขตอานาจก็ได้
กรณียอมรับไว้พจิ ารณา
ส่ังว่า “คดีนีเ้ กิดขึน้ ในเขตศาลแขวงและอย่ใู นอานาจของศาลแขวง แต่เม่ือพิจารณาแล้ว
เห็นสมควรรับไว้พิจารณาต่อไป ตามพระธรรมนูญศาลยตุ ิธรรม มาตรา ๑๙/๑ รับฟ้อง หมายส่ง
สาเนาให้ จาเลย ตามข้อบังคับว่าด้วยการส่ งคาคู่ความและเอกสารทางคดี พ.ศ. ๒๕๔๕
ให้โจทก์วางเงินค่าใช้จ่ายในการจัดส่งภายในวันทาการถัดไป มิฉะนั้น ถือว่าโจทก์ทิง้ ฟ้อง . . .”
กรณีโจทก์ย่ืนคาแถลงขอให้เจา้ พนักงานศาลเป็ นผูส้ ่ง ส่ังว่า “ . . . รับฟ้อง หมายส่งสาเนา
ให้จาเลย ให้โจทก์นาส่งภายใน ๕ วัน ส่งไม่ได้ให้โจทก์แถลงภายใน ๗ วัน นบั แต่วันส่งไม่ได้
มิฉะนัน้ จะถือว่าโจทก์ทิง้ ฟ้อง . . .”
ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๑๔
กรณีไม่ยอมรับไว้พจิ ารณา ให้โอนคดีไปศาลแขวง
ส่ังว่า “คดีเกิดข้ึนในเขตศาลแขวงและอยูใ่ นอานาจของศาลแขวง จึงเห็นสมควรให้โอนคดี
ไปยงั ศาลแขวง... ตามพระธรรมนูญศาลยตุ ิธรรม มาตรา ๑๙/๑”)
ข้อสังเกต
๑. ใชเ้ ฉพาะกรณีท่ีคดีน้นั อยใู่ นอานาจของศาลแขวงต้งั แต่ตน้ คือขณะยน่ื ฟ้อง
๒. ให้ศาลแพ่ง ศาลแพ่งกรุงเทพใต้ ศาลแพ่งธนบุรี หรือศาลจงั หวดั มีดุลพินิจท่ีจะรับ
คดีของศาลแขวงไวพ้ ิจารณาพิพากษาไดโ้ ดยอาจพิจารณาประโยชน์ของคู่ความ หรือความสะดวก
ในการดาเนินกระบวนพิจารณา
๓. ถา้ สั่งโอนคดีไปยงั ศาลแขวงแล้ว ศาลแขวงตอ้ งรับสานวนคดีน้ันเพื่อตรวจและ
มีคาส่งั เกี่ยวกบั คาฟ้องน้นั ตามรูปคดี จะส่งคืนไม่ได้ เพราะการเพิกถอนคาสง่ั โอนคดีเป็นอานาจ
ของศาลท่ีสั่งโอนคดี หากศาลแขวงซ่ึงเป็ นศาลท่ีรับโอนคดี เห็นว่าคดีไม่อยู่ในอานาจของตน
ก็ต้องมีคาสั่งไม่รับหรือคืนคาคู่ความน้ันไปยื่นต่อศาลท่ีมีเขตอานาจตาม ป.วิ.พ.มาตรา ๑๘
ซ่ึงคู่ความอาจใชส้ ิทธิอุทธรณ์ต่อไป
หมายเหตุ กรณีที่มีความเห็นแตกต่างกนั ก่อนมีคาสั่งขา้ งตน้ ศาลแขวงควรประสานไปยงั
ศาลที่มีคาสง่ั ใหโ้ อนคดี โดยคานึงถึงประโยชน์ของคูค่ วามเป็นสาคญั
๔. ถา้ ศาลแพ่ง ศาลแพ่งกรุงเทพใต้ ศาลแพ่งธนบุรี หรือศาลจงั หวดั มีคาสั่งรับฟ้องคดี
ที่อยใู่ นอานาจศาลแขวงไวแ้ ลว้ ตอ้ งพจิ ารณาคดีตอ่ ไป จะมีคาส่งั เพิกถอนในภายหลงั ตอ่ ไปไม่ได้
๕. ถา้ ขณะยืน่ ฟ้องเป็ นคดีที่อยใู่ นอานาจของศาลแพ่ง ศาลแพ่งกรุงเทพใต้ ศาลแพ่งธนบุรี
หรือศาลจงั หวดั อยแู่ ลว้ แมต้ ่อมาพฤติการณ์เปล่ียนแปลงไปทาให้คดีน้นั อยใู่ นอานาจของศาลแขวง
ตอ้ งถือว่าคดีน้ันอยู่ในอานาจของศาลจงั หวดั เช่นเดิมและศาลจังหวดั น้ันตอ้ งพิจารณาต่อไป
จะโอนคดีไปศาลแขวงไมไ่ ด้ ตามพระธรรมนูญศาลยตุ ิธรรม มาตรา ๑๙/๑ วรรคสอง
ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๑๕
บทที่ ๓
คู่ความเป็ นผู้เยาว์
๑. กรณีผู้เยาว์เป็ นโจทก์
๑.๑ ศาลดาเนินกระบวนพิจารณาสืบพยานโจทก์จาเลยเสร็จแลว้ จึงปรากฏขอ้ บกพร่อง
ในเร่ืองความสามารถข้ึน ศาลจะยกฟ้องไม่ได้ ตอ้ งส่ังให้แกไ้ ขขอ้ บกพร่องน้นั ตามมาตรา ๕๖
(ฎีกาท่ี ๑๑๙๐/๒๔๙๕)
๑.๒ ถา้ ปรากฏในศาลสูง ศาลสูงย่อมสั่งให้แก้ไขขอ้ บกพร่องในเร่ืองความสามารถน้ัน
ในช้นั พิจารณาของศาลสูงตามมาตรา ๕๖ จาเลยจะอุทธรณ์ฎีกาขอให้ยกฟ้องเพราะเหตุบกพร่อง
ในเร่ืองความสามารถไม่ได้ เพราะไม่ไดเ้ ป็ นประเด็นมาแต่ศาลช้นั ตน้ (ฎีกาท่ี ๑๓๕๔/๒๕๐๘,
๑๕๒๔/๒๕๐๘)
๑.๓ ในกรณีผเู้ ยาวม์ ีผแู้ ทนโดยชอบธรรม ตอ้ งระบุดว้ ยวา่ ใครเป็นผแู้ ทนโดยชอบธรรม
๑.๔ เม่ือโจทก์ซ่ึงเป็ นผูเ้ ยาวไ์ ดร้ ับความยินยอมจากบิดามารดาใหฟ้ ้องและดาเนินคดีแลว้
ก็มีสิทธิท่ีจะมอบอานาจให้ผูอ้ ื่นฟ้องและดาเนินคดีแทนได้ หาจาต้องได้รับความยินยอม
จากบิดามารดาอีกคร้ังไม่ (ฎีกาที่ ๕๕๒๗/๒๕๔๑)
๒. กรณขี อเป็ นผู้แทนเฉพาะคดี
ถา้ มีผูฟ้ ้องคดีแทนผเู้ ยาว์ เพราะผเู้ ยาวไ์ ม่มีผแู้ ทนโดยชอบธรรม หรือผูแ้ ทนโดยชอบธรรม
ทาหน้าท่ีไม่ไดแ้ ละมีเหตุฉุกเฉินรอให้ศาลต้งั ให้ไม่ทนั ผูป้ กครองโดยพฤตินัยอาจย่ืนคาร้อง
ขอใหศ้ าลต้งั ตนเป็นผแู้ ทนเฉพาะคดีพร้อมกบั คาฟ้อง (หรือคาใหก้ าร) ตามมาตรา ๔๕, ๕๖ กไ็ ด้
ศาลตอ้ งสอบถามจาเลย (หรือโจทกก์ รณีโจทกย์ นื่ คาใหก้ ารแกฟ้ ้องแยง้ ) วา่ จะคดั คา้ นหรือไม่
๒.๑ ถา้ คู่ความอีกฝ่ ายหน่ึงไม่คดั คา้ นและไม่มีเหตุควรสงสัย ศาลจะอนุญาตโดยไม่ส่ัง
ไตส่ วนก็ได้
๒.๒ เมื่อศาลส่งั อนุญาตแลว้ จึงจะตรวจและสัง่ คาฟ้อง (หรือคาใหก้ าร) ต่อไป
๓. กรณีผู้เยาว์ถูกฟ้อง แต่ผู้แทนโดยชอบธรรมไม่ยอมเข้าดาเนนิ คดแี ทน
กรณีผเู้ ยาวถ์ กู ฟ้อง ศาลดาเนินคดีไป ต่อมาปรากฏแก่ศาลวา่ จาเลยเป็นผเู้ ยาว์ ศาลสอบถาม
ผแู้ ทนโดยชอบธรรมแลว้ แตผ่ แู้ ทนโดยชอบธรรมไม่ยอมดาเนินคดีแทนและไม่ใหค้ วามยินยอม
ศาลจะสั่งให้ผูแ้ ทนโดยชอบธรรมดาเนินคดีแทนไม่ได้ จะตอ้ งรอคดีไวก้ ่อนและแจง้ ให้ญาติ
ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๑๖
ของผเู้ ยาวห์ รืออยั การร้องขอใหถ้ อนอานาจปกครองตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๕๘๒ เม่ือดาเนินการ
ดงั กล่าวแล้ว ศาลจึงจะต้งั ผูแ้ ทนเฉพาะคดีไดจ้ ะใชบ้ ทบญั ญตั ิมาตรา ๕๖ ต้งั ผแู้ ทนเฉพาะคดี
ไปก่อนไมไ่ ด้ (ฎีกาท่ี ๑๒๑๕/๒๔๙๒)
ข้อสังเกต
๑. ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๕๘๒ ศาลเยาวชนและครอบครัวมีอานาจสั่งถอนอานาจ
ปกครองได้ ศาลอาจใช้อานาจถอนอานาจของผูแ้ ทนโดยชอบธรรมเพียงบางส่วน เฉพาะที่
เกี่ยวกบั การดาเนินคดีแลว้ ต้งั ผูแ้ ทนเฉพาะคดีให้ผูเ้ ยาวห์ รือให้ความยินยอมแก่ผูเ้ ยาว์ในการ
ดาเนินคดีตามมาตรา ๕๖ กไ็ ด้
๒. คดีละเมิดมิใช่คดีครอบครัวที่ฟ้องหรือร้องขอต่อศาลหรือกระทาการใด ๆ ในทางศาล
เก่ียวกับผูเ้ ยาว์หรือครอบครัว ซ่ึงจะต้องบงั คบั ตาม ป.พ.พ. ดังท่ีบญั ญตั ิไวใ้ นมาตรา ๑๐ (๓)
แห่งพ.ร.บ. ศาลเยาวชนฯ ดงั น้ัน เม่ือมีขอ้ บกพร่องเก่ียวกับเรื่องความสามารถของโจทก์บางคน
ซ่ึงเป็ นผูเ้ ยาว์ ศาลช้ันต้นจึงมีอานาจแก้ไขขอ้ บกพร่อง โดยต้งั ผูแ้ ทนเฉพาะคดีให้ไดต้ าม
มาตรา ๕๖ วรรคสุดท้าย โดยไม่จาเป็ นต้องขออานาจในการดาเนินคดีจากศาลเยาวชน
และครอบครัวกลาง (ฎีกาท่ี ๗๑๙๕/๒๕๓๙)
๔. กรณผี ู้เยาว์ถูกฟ้องและขอดาเนนิ คดเี อง
จาเลยซ่ึงเป็นผเู้ ยาวอ์ า้ งวา่ ไม่มีผแู้ ทนโดยชอบธรรม จึงขออนุญาตศาลดาเนินคดีดว้ ยตนเอง
ตามมาตรา ๕๖ ถา้ ศาลเห็นวา่ ไมค่ วรอนุญาต ส่ังวา่ “พิเคราะห์แล้ว เห็นว่า จาเลยเป็นผู้เยาว์และ
. . . (ระบุเหตุผล) . . . ยังไม่มีความสามารถพอท่ีจะดาเนินคดีด้วยตนเอง จึงไม่อนุญาต นัดพร้อม
เพื่อหาผู้ดาเนินคดีแทน และให้ จาเลยมาศาลในวันนัด” ถ้าศาลเห็นควรอนุญาต ส่ังว่า
“พิเคราะห์แล้วเห็นว่า . . . ผู้เยาว์มีความสามารถพอที่จะดาเนินคดีด้วยตนเองได้แล้วอนุญาต
ให้ผู้เยาว์ดาเนินคดไี ด้เอง”
กรณีจาเลยหลายคนย่ืนคาให้การโดยเขียนรวมกันมาในฉบับเดียวกนั มีจาเลยบางคน
เป็ นผูเ้ ยาว์ สั่งว่า “รับคาให้การเฉพาะจาเลยท่ี ๑ และท่ี ๓ สาเนาให้โจทก์ ส่วนคาให้การ
จาเลยท่ี ๒ นั้น ปรากฏว่าจาเลยที่ ๒ เป็นผู้เยาว์และไม่มีผู้แทนโดยชอบธรรมเข้าดาเนินคดีแทน
ให้นัดพร้อมเพ่ือสั่งในเรื่องความสามารถของจาเลยท่ี ๒” และส่ังในใบแตง่ ทนายของจาเลยที่ ๒
วา่ “ให้รอไว้เพื่อหาผู้ดาเนินคดีแทนก่อน”
ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๑๗
บทท่ี ๔
ค่าธรรมเนียมศาล
๑. ค่าขนึ้ ศาล
๑.๑ คดีมีทนุ ทรัพย์และคดีไม่มีทนุ ทรัพย์
คดีมีทุนทรัพย์ หมายความถึง คดีท่ีคาขอใหป้ ลดเปล้ืองทุกขน์ ้นั อาจคานวณเป็นราคา
เงินไดต้ ามมาตรา ๑๕๐ วรรคหน่ึง จากแนวคาพิพากษาศาลฎีกา ไดแ้ ก่ คดีท่ีโจทก์เรียกร้อง
หรือขอเอาส่ิงใดที่อาจคานวณเป็นราคาเงินได้ ซ่ึงยงั มิไดเ้ ป็นของตนจากผอู้ ่ืน
คดีไม่มีทุนทรัพย์ หมายความถึง คดีท่ีคาขอให้ปลดเปล้ืองทุกขน์ ้นั ไม่อาจคานวณ
เป็นราคาเงินได้ ไดแ้ ก่ คดีที่โจทกข์ อใหบ้ งั คบั จาเลยใหก้ ระทาการ หรือละเวน้ กระทาการอยา่ งใด
อย่างหน่ึงเพ่ือประโยชน์ของโจทก์ โดยโจทก์ไม่ได้กล่าวอ้างหรือเรียกร้องเป็ นจานวนเงิน
หรือทรัพยส์ ินอยา่ งใดอยา่ งหน่ึง รวมถึงคดีที่โจทกเ์ รียกร้องหรือขอในส่ิงซ่ึงเป็ นของตนอย่แู ลว้
หรือเพียงขอให้ศาลแสดงสิทธิอย่างใดอย่างหน่ึง ซ่ึงโดยผลของคาพิพากษาหรือคาสั่งน้ันเอง
ไม่ทาใหโ้ จทกไ์ ดท้ รัพยส์ ่ิงใดเพม่ิ ข้ึนมาหรือขอในส่ิงที่ไมอ่ าจคานวณเป็นราคาเงินได้
๑.๑.๑ ตวั อยา่ งคดีมีทุนทรัพย์
โจทก์ฟ้องว่า ตนมีสิทธิได้รับมรดกของผูต้ าย มีที่ดินมีโฉนด ๒ แปลง
แต่จาเลยอ้างว่าผูต้ ายทาพินัยกรรมยกให้จาเลย โจทก์จึงฟ้องขอให้ศาลแสดงว่าพินัยกรรม
ท่ีจาเลยอา้ งน้นั เป็นโมฆะ เป็นคดีมีทนุ ทรัพย์ (ฎีกาท่ี ๑๑๗๖/๒๕๐๕ ประชุมใหญ่)
เมื่ออธิบดีกรมที่ดินไดม้ ีคาส่ังให้เพิกถอนโฉนดที่ดินของโจทก์ โดยอา้ งว่า
ท่ีดินดงั กล่าวอย่ใู นเขตที่ดินสงวนหวงห้าม ยอ่ มมีผลให้โจทก์ไม่มีกรรมสิทธ์ิในที่ดินดงั กล่าว
โจทก์ฟ้องขอให้เพิกถอนคาส่ังและให้เจา้ พนกั งานที่ดินออกโฉนดท่ีดินให้แก่โจทก์ใหม่ ยอ่ มมีผล
ทาใหโ้ จทกไ์ ดก้ รรมสิทธ์ิในที่ดินกลบั คืนมา เป็นคดีมีทนุ ทรัพย์ (ฎีกาท่ี ๑๕๑๗/๒๕๓๐)
การเพิกถอนนิติกรรมท่ีโจทกม์ ีคาขอใหบ้ งั คบั เอาทรัพยส์ ินที่เพิกถอนมาเป็น
ของโจทก์ ถือวา่ เป็นคดีมีทนุ ทรัพย์ เช่น โจทกท์ ้งั แปดฟ้องขอใหเ้ พกิ ถอนนิติกรรมซ้ือขายที่ดิน
พิพาทระหว่างจาเลยท่ี ๑ และท่ี ๒ และระหว่างจาเลยที่ ๒ และที่ ๓ เป็ นการฟ้องเรียกร้องให้ได้
ท่ีดินพิพาทกลบั คืนมาเป็ นทรัพยม์ รดกเพื่อประโยชน์แก่โจทก์ท้งั แปดผเู้ ป็ นทายาทของเจา้ มรดก
เป็นคดีมีทุนทรัพยต์ ามจานวนราคาของที่ดินพิพาท (ฎีกาท่ี ๘๑/๒๕๓๖)
ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๑๘
๑.๑.๒ ตวั อยา่ งคดีไม่มีทนุ ทรัพย์
คาร้องขอใหศ้ าลมีคาส่งั ต้งั ผจู้ ดั การมรดก เป็นคดีไม่มีทนุ ทรัพย์ (ฎีกาท่ี ๓๘๘
- ๓๘๙/๒๕๑๑)
คาฟ้องขอให้เลิกห้างหุ้นส่วนจากัดและชาระบัญชี ไม่ใช่เร่ืองเรียกร้อง
ทรัพยส์ ินหรือส่วนแบง่ เป็นคดีไมม่ ีทนุ ทรัพย์ (ฎีกาที่ ๑๐๕/๒๔๙๕, ๑๓๒๑/๒๔๙๖, ๑๔๕๓/๒๕๐๖)
การฟ้องขอให้เพิกถอนรายงานการประชุมของบริษทั เป็ นคดีไม่มีทุนทรัพย์
(ฎีกาท่ี ๒๓๖๒/๒๕๒๐)
คาฟ้องขอให้ศาลพิพากษาว่าโจทก์เป็ นทายาทมีสิทธิรับบาเหน็จบานาญ
ของผตู้ าย เป็นคดีไม่มีทนุ ทรัพย์ (ฎีกาที่ ๒๑๖/๒๕๑๘)
ฟ้ อ ง ข อ ใ ห้ศ า ล มี ค า พิ พ า ก ษ า แ ส ด ง ว่า โ จ ท ก์มี สิ ท ธิ ไ ด้รั บ บ า น า ญ ซ่ึ ง ข ณ ะ
ยื่นฟ้องไม่อาจกาหนดจานวนเงินไดแ้ น่นอน โจทก์มิไดข้ อให้บงั คบั ให้จาเลยชาระเงินจานวน
หน่ึงจานวนใด จึงเป็นคดีไม่มีทุนทรัพย์ (ฎีกาท่ี ๒๐๕/๒๕๒๓)
คาฟ้องขอให้เรียกเอกสารโฉนดท่ีดินคืนจากจาเลย ผลของคดี ไม่ทาให้
กรรมสิทธ์ิในท่ีดินน้นั เปลี่ยนแปลง เป็นคดีไมม่ ีทุนทรัพย์ (ฎีกาที่ ๑๓๖๒/๒๕๒๐, ๑๕๙๓/๒๕๒๑)
๑.๑.๓ ตวั อยา่ งคดีท่ีคาใหก้ ารของจาเลยทาใหก้ ลายเป็นคดีมีทุนทรัพย์
คดีท่ีโจทก์ฟ้องขบั ไล่จาเลยออกจากท่ีดินพิพาท เมื่อจาเลยย่ืนคาให้การต่อสู้
กรรมสิทธ์ิวา่ เป็นของจาเลย ดงั น้ีก็จะกลายเป็นคดีมีทนุ ทรัพย์ ศาลตอ้ งสั่งใหโ้ จทก์เสียคา่ ข้ึนศาล
ตามจานวนทุนทรัพยท์ ี่พิพาทกนั (คาส่ังคาร้องศาลฎีกาที่ ๕๖๘/ ๒๕๐๔ ประชุมใหญ่, ๖๑๓/๒๕๑๔
และฎีกาท่ี ๑๐๓๐/๒๕๐๙, ๕๑๐๐/๒๕๔๕)
โจทก์จาเลยโต้เถียงกันในประเด็นว่าท่ีพิพาทเป็ นของโจทก์หรือเป็ นที่
สาธารณประโยชนเ์ ป็นคดีมีทุนทรัพย์ (ฎีกาท่ี ๒๔๘๕/๒๕๓๖)
คดีโจทก์ฟ้องขบั ไล่ นอกจากจาเลยใหก้ ารต่อสู้กรรมสิทธ์ิแลว้ ยงั ฟ้องแยง้ ว่า
ทรัพยพ์ ิพาทเป็ นกรรมสิทธ์ิของจาเลยและขอห้ามมิให้โจทก์เขา้ มาเก่ียวขอ้ งดว้ ย ดงั น้ี ฟ้องแยง้
ของจาเลยก็เป็ นคดีมีทุนทรัพยเ์ ช่นกนั จาเลยตอ้ งเสียค่าข้ึนศาลตามจานวนทุนทรัพย์ (ฎีกาที่
๑๐๒๗/๒๕๑๓ ประชุมใหญ่, ๒๕๐/๒๕๑๘) กรณีเช่นน้ีท้งั โจทก์และจาเลยตอ้ งเสียค่าข้ึนศาล
ท้งั ๒ ฝ่าย
โจทก์ฟ้องขับไล่จาเลยออกจากที่ดินและตึกแถวที่โจทก์ซ้ือจากการขาย
ทอดตลาดตามคาสั่งศาล เป็ นคดีท่ีมีคาขอให้ปลดเปล้ืองทุกขอ์ นั ไม่อาจคานวณเป็ นราคาเงินได้
การที่จาเลยให้การต่อสู้ว่ากรรมสิทธ์ิในที่ดินและตึกแถวยงั เป็ นของจาเลย เพราะการขาย
ทอดตลาดไมช่ อบ และจาเลยไดย้ นื่ คาร้องขอใหเ้ พกิ ถอนการขายทอดตลาดไวแ้ ลว้ ก็เพื่อประกอบ
ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๑๙
ขอ้ ต่อสู้ของจาเลยที่ว่าโจทก์ยงั ไม่มีอานาจฟ้องขบั ไล่เท่าน้ัน มิใช่เป็ นเร่ืองแย่งกรรมสิทธ์ิใน
ทรัพยส์ ินอนั จะทาให้เป็ นคดีที่มีคาขอใหป้ ลดเปล้ืองทุกขอ์ นั อาจคานวณเป็นราคาเงินได้ (ฎีกาที่
๘๙๖๐/๒๕๕๑)
โจทก์ฟ้องขอให้บังคับจาเลยท้งั สามร่วมกันนาสมุดคู่มือทะเบียนรถยนต์
พพิ าทใหน้ ายทะเบียนใส่ชื่อโจทก์เป็นเจา้ ของ ปรากฏวา่ โจทกก์ บั จาเลยที่ ๑ และท่ี ๒ คงโตเ้ ถียง
กนั ว่า จาเลยที่ ๑ และที่ ๒ ไดโ้ อนสิทธิการเช่าซ้ือให้แก่โจทก์หรือไม่ และโจทก์ไดช้ าระค่าเช่าซ้ือ
ครบถว้ นแลว้ หรือไม่ หากศาลพิพากษาให้โจทก์ชนะคดี โจทก์ย่อมไดก้ รรมสิทธ์ิในรถยนต์
พิพาท ส่วนคาขอทา้ ยฟ้องดงั กล่าวเป็ นเพียงผลจากการที่ศาลไดพ้ ิพากษาว่า โจทก์มีกรรมสิทธ์ิ
ในรถยนตพ์ พิ าท จึงเป็นคดีมีทุนทรัพยต์ ามราคารถยนต์ (ฎีกาที่ ๖๘๕๗/๒๕๓๙)
๑.๑.๔ กรณีคดีเดียวกนั มีโจทกห์ รือจาเลยหลายคน ถา้ ต่างคนต่างใชส้ ิทธิเฉพาะตวั
ตอ้ งคิดทุนทรัพยแ์ ยกกนั เป็ นคน ๆ ไป เช่น โจทกท์ ้งั สองฟ้องใหจ้ าเลยชาระหน้ีแก่โจทกท์ ้งั สอง
คนละจานวนแยกจากกนั โดยเสียค่าข้ึนศาลตามทุนทรัพยท์ ่ีโจทก์แต่ละคนเรียกร้องมาในอตั รา
สูงสุดเป็ นเงินคนละ ๒๐๐,๐๐๐ บาท เม่ือจาเลยฎีกาขอให้ยกฟ้องโจทก์ท้งั สอง จึงต้องเสีย
ค่าข้ึนศาลตามทุนทรัพยท์ ี่โจทกแ์ ต่ละคนเรียกร้องในอตั ราสูงสุดคนละ ๒๐๐,๐๐๐ บาท (ฎีกาท่ี
๒๔๒๑/๒๕๓๘) แต่ถา้ เป็ นการร่วมกนั ใชส้ ิทธิเรียกร้องเอาส่ิงเดียวกนั แลว้ ตอ้ งคิดทุนทรัพย์
รวมกนั หรือกรณีโจทกค์ นเดียวฟ้องจาเลยหลายคนใหร้ ่วมรับผิดในหน้ีรายเดียวกนั โดยมิไดแ้ ยก
ความรับผิดของแต่ละคนเป็ นส่วน ๆ ต่างหากจากกนั แลว้ ก็ตอ้ งคิดทุนทรัพยร์ วมกนั หรือกรณีที่
ทนุ ทรัพยข์ องโจทกแ์ ต่ละคนแยกกนั ได้ หรือโจทกแ์ ต่ละคนมีสิทธิเรียกร้องที่สามารถจะฟ้องคดี
ไดโ้ ดยลาพงั ตนเอง หากโจทก์ฟ้องรวมกนั เป็ นคดีเดียว ค่าข้ึนศาลตอ้ งคานวณตามทุนทรัพย์
ท่ีโจทกแ์ ตล่ ะคนเรียกร้อง (ฎีกาที่ ๓๖๐๑/๒๕๓๐)
๑.๑.๕ การพิจารณาว่าคดีใดจะต้องเสียค่าข้ึนศาลเท่าใดต้องพิจารณาคาฟ้องเป็ น
เกณฑ์ (ฎีกาท่ี ๖๘๘๒/๒๕๔๓) ซ่ึงตอ้ งดูว่าคาฟ้องท่ีเสนอต่อศาลมีก่ีขอ้ หาแต่ละขอ้ หาเก่ียวขอ้ ง
หรือแยกจากกนั โจทกฟ์ ้องเรียกค่าเสียหายในฐานผิดสัญญาขอ้ หาหน่ึง และฟ้องเรียกค่าเสียหาย
ฐานละเมิดอีกขอ้ หาหน่ึง คาฟ้องของโจทกจ์ ึงเป็ นการเสนอขอ้ หา ๒ ขอ้ หา และแยกจากกนั ได้
โจทกจ์ ึงตอ้ งเสียค่าข้ึนศาลท้งั ๒ ขอ้ หา (ฎีกาท่ี ๑๒๑๖/๒๕๓๕)
ข้อสังเกต
๑. ถา้ ปรากฏว่าคาฟ้องที่เสนอต่อศาลมีมูลหน้ีท่ีแยกจากกนั ไดอ้ ย่างชดั เจน
หรือสามารถแยกฟ้องได้ ให้เรียกค่าข้ึนศาลแยกต่างหากจากกนั แต่ถา้ ขณะพิจารณาคาฟ้องยงั
คดีฟ้องต้ังแต่วันท่ี ๑๑ พฤษภาคม ๒๕๕๑ เป็ นต้นไป ค่าข้ึนศาลคานวณตามทุนทรัพย์ท่ีพิพาท
ไมจ่ ากดั อตั ราสูงสุดเพยี ง ๒๐๐,๐๐๐ บาท
ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๒๐
ไม่ชัดเจนให้เรียกค่าข้ึนศาลตามทุนทรัพย์รวมไปก่อน เมื่อเร่ืองดังกล่าวปรากฏชัดเจนใน
ภายหลงั ใหเ้ รียกค่าข้ึนศาลเพม่ิ หรือลดตามส่วน
๒. ในคดีที่ฟ้องมีหลายขอ้ หาและศาลเห็นว่าขอ้ หาขอ้ หน่ึงขอ้ ใดไม่เกี่ยวขอ้ ง
กบั ขอ้ อ่ืน ๆ แลว้ มีคาส่งั ใหแ้ ยกคดีใหด้ ูมาตรา ๒๙ ประกอบมาตรา ๑๕๐ วรรคสี่
๑.๑.๖ เมื่อมีการร้องสอดเขา้ มาเป็ นคูค่ วามฝ่ ายท่ีสามหรือร้องขดั ทรัพยต์ อ้ งพิจารณา
จานวนทุนทรัพยใ์ นคดีร้องสอดหรือร้องขดั ทรัพยแ์ ยกตา่ งหากจากฟ้องเดิม (ฎีกาท่ี ๙๐๑/๒๕๑๑)
คาร้องสอดอ้างว่า ผูร้ ้องสอดเป็ นเจ้าของท่ีดินพิพาทบางส่วนโดยการครอบครองปรปักษ์
จึงร้องขอเข้ามาเพ่ือให้ ได้รับความรับรองคุ้มครองหรื อบังคับตามสิ ทธิ ของตนท่ี มี อยู่ตาม
มาตรา ๕๗ (๑) จึงเป็ นคาฟ้อง ผู้ร้องสอดจึงต้องเสียค่าข้ึนศาล (ฎีกาที่ ๔๕๒๖/๒๕๓๖)
การพิจารณาว่าคดีใดจะต้องเสียค่าข้ึนศาลเท่าใด ให้พิจารณาจากคาฟ้องเป็ นเกณฑ์ ถ้าคดี
มีหลายขอ้ หาและแต่ละขอ้ หาแยกจากกนั ตอ้ งเสียคา่ ข้ึนศาลแต่ละขอ้ ไป (ฎีกาที่ ๑๒๑๖/๒๕๓๕)
หน้ีตามฟ้องเก่ียวเนื่องกนั โจทกร์ วมฟ้องมาในคดีเดียวกนั เสียคา่ ข้ึนศาลในอตั ราสูงสุด๒๐๐,๐๐๐ บาท
แมห้ น้ีจะแยกกนั เป็ นส่วน ๆ รวมแลว้ จะตอ้ งเสียค่าข้ึนศาลเกิน ๒๐๐,๐๐๐ บาท ก็ตาม (ฎีกาที่
๔๐๓๙/๒๕๔๓ ประชุมใหญ่)
๑.๑.๗ ฟ้องขอใหเ้ พกิ ถอนการฉอ้ ฉล เป็นคดีท่ีมีคาขอใหป้ ลดเปล้ืองทุกขอ์ นั ไมอ่ าจ
คานวณเป็ นราคาเงินได้ ถือเป็ นคดีไม่มีทุนทรัพย์ เพราะคาขอของโจทก์ไม่ได้เรียกร้องเอา
ที่พิพาทมาเป็นของโจทก์หรือขอใหโ้ จทกไ์ ดร้ ับประโยชน์เพม่ิ ข้ึนแต่อยา่ งใด ผลของการที่โจทก์
ขอใหเ้ พกิ ถอนการฉอ้ ฉลมีแต่เพียงให้ทรัพยส์ ินกลบั คืนมาเป็นของลูกหน้ีตามเดิมเทา่ น้นั (ฎีกาที่
๙๑๙/๒๕๐๘ ประชุมใหญ่, ๒๘๕๕/๒๕๒๖) ฟ้องขอให้ไถ่ถอนจานอง เป็ นคดีฟ้องขอให้
ปลดเปล้ืองทุกข์อนั ไม่อาจคานวณเป็ นราคาเงินได้ ถือเป็ นคดีไม่มีทุนทรัพย์ (คาสั่งคาร้องศาล
ฎีกาท่ี ๔๒๓/๒๕๓๘)
๑.๑.๘โจทก์ท้ังส่ีฟ้องจาเลยรวมมาในฟ้องเดียวกัน ทุนทรัพย์แต่ละคนแยกกัน
การอุทธรณ์ฎีกากต็ อ้ งถือทุนทรัพยข์ องโจทกแ์ ต่ละคนแยกกนั เพราะเป็นเร่ืองที่โจทกแ์ ต่ละคน
ใชส้ ิทธิเฉพาะของตน (ฎีกาท่ี ๕๙๗๑/๒๕๔๔)
๑.๒ วิธีคานวณค่าขนึ้ ศาล คดีที่ฟ้องต้ังแต่วันที่ ๑๑ พฤษภาคม ๒๕๕๑
๑.๒.๑ คดีที่มีคาขอให้ปลดเปล้ืองทุกข์อนั อาจคานวณเป็ นราคาเงินได้ ทุนทรัพย์
ไม่เกิน ๕๐,๐๐๐,๐๐๐บาท ให้คิดค่าข้ึนศาลในอตั ราร้อยละ ๒ แต่ไม่เกิน ๒๐๐,๐๐๐ บาท ส่วนท่ีเกิน
คดีฟ้องต้ังแต่วันที่ ๑๑ พฤษภาคม ๒๕๕๑ เป็ นต้นไป ค่าข้ึนศาลคานวณตามทุนทรัพย์ที่พิพาท
ไม่จากดั อตั ราสูงสุดเพียง ๒๐๐,๐๐๐ บาท
ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๒๑
๕๐,๐๐๐,๐๐๐บาท ข้ึนไปคิดร้อยละ ๐.๑ เว้นแต่จะเข้าตามตาราง ๑ ท้าย ป.วิ.พ. (๑) (ข)
หรือ (ค) แต่คา่ ข้ึนศาลที่คานวณไดม้ ีเศษไมถ่ ึง ๑ บาท ใหป้ ัดทิ้ง
ตัวอย่าง
ก. ทุนทรัพย์ ๙,๑๒๓,๑๒๓ บาท คิดร้อยละ ๒ เทา่ กบั ๑๘๒,๔๖๒.๔๖ บาท
ปัดเศษ ๔๖ สตางคท์ ิง้ เสียค่าข้ึนศาล ๑๘๒,๔๖๒ บาท
ข. ทุนทรัพย์ ๑๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท ถึง ๕๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท เสียค่าข้ึนศาล
๒๐๐,๐๐๐ บาท
ค. ทุนทรัพย์ ๑๕๐,๕๐๐,๐๐๐ บาท เสียค่าข้ึนศาล ๓๐๐,๕๐๐ บาท มีวิธีคิด
ดงั น้ี
ทนุ ทรัพย์ ๕๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท คิดร้อยละ ๒ แตไ่ ม่เกิน ๒๐๐,๐๐๐ บาท
ทนุ ทรัพย์ ๑๐๐,๕๐๐,๐๐๐ บาท คิดร้อยละ ๐.๑ เท่ากบั ๑๐๐,๕๐๐ บาท
ข้อสังเกต
๑. โจทก์ฟ้องว่าผูต้ ายทาพินัยกรรมยกทรัพยท์ ้งั หมดให้โจทก์ จาเลยต่อสู้ว่าผูต้ าย
ทาพินัยกรรมยกทรัพยพ์ ิพาทให้โจทก์และจาเลยคนละคร่ึง ดังน้ี โจทก์ต้องเสียค่าข้ึนศาล
ตามจานวนทนุ ทรัพยม์ รดกท้งั หมดเตม็ จานวนไม่ใช่คร่ึงเดียว (ฎีกาที่ ๑๕๑๖/ ๒๕๐๓ ประชุมใหญ)่
๒. คดีฟ้องบังคับให้โอนท่ีดินตามสัญญาประมูลราคาที่ดิน คิดตามราคาที่ดิน
ในเวลาท่ียื่นฟ้อง (คาส่ังคาร้องศาลฎีกาท่ี ๒๐/๒๔๙๙) ฟ้องขอไถ่ทรัพย์ที่ขายฝากเป็ นคดี
พิพาทกนั เก่ียวกับทรัพยท์ ่ีขายฝากอนั จะมีผลให้ฝ่ ายใดฝ่ ายหน่ึงไดห้ รือเสียสิทธิในทรัพยน์ ้ัน
เขา้ ลกั ษณะมีทุนทรัพยโ์ ดยถือตามราคาทรัพยท์ ่ีขายฝาก (ฎีกาท่ี ๒๑๒๐/ ๒๕๔๐)
๓. ในกรณีท่ีคู่ความโตแ้ ยง้ วา่ จานวนทุนทรัพยท์ ่ีแทจ้ ริงเป็นจานวนเท่าใด ในทางปฏิบตั ิ
ศาลจะนัดพร้อมคู่ความท้งั สองฝ่ ายมาตกลงกนั ว่าทุนทรัพยท์ ี่แทจ้ ริงเป็ นเท่าใด ในกรณีที่เป็ น
ท่ีดินอาจคานึงถึงราคาประเมินของทางราชการประกอบดว้ ย
๔. กรณีท่ีศาลรับฟ้องไวแ้ ลว้ จึงตรวจพบภายหลงั ว่าโจทก์เสียค่าข้ึนศาลในอตั รา
ท่ีไม่ถูกตอ้ ง ศาลจะตอ้ งสั่งให้โจทก์เสียค่าข้ึนศาลให้ครบถว้ นภายในระยะเวลาท่ีเห็นสมควร
กาหนด หากโจทกไ์ ม่ปฏิบตั ิ ถือวา่ โจทกท์ ิ้งฟ้องตามมาตรา ๑๗๔ (๒)
๕. ผรู้ ้องสอดเขา้ มาในฐานะเป็นจาเลยไมต่ อ้ งเสียค่าข้ึนศาล (ฎีกาท่ี ๒๙๒๓/๒๕๒๘)
ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๒๒
๑.๒.๒ คาร้องขอให้ศาลบงั คบั ตามคาช้ีขาดของอนุญาโตตุลาการในประเทศ หรือ
คาร้องขอเพิกถอนคาช้ีขาดของอนุญาโตตุลาการในประเทศ จานวนไม่เกิน ๕๐,๐๐๐,๐๐๐บาท
คิดค่าข้ึนศาลร้อยละ ๐.๕ แต่ไม่เกิน ๕๐,๐๐๐ บาท ส่วนท่ีร้องขอให้ศาลบังคับเกินกว่า
๕๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท คิดร้อยละ ๐.๑ คา่ ข้ึนศาลท่ีคานวณไดม้ ีเศษไมถ่ ึง ๑ บาทใหป้ ัดทิ้ง
๑.๒.๓ คาฟ้องขอให้บังคับจานองหรือบังคับเอาทรัพย์สินจานองหลุดให้คิด
ค่าข้ึนศาลตามจานวนหน้ีที่เรียกร้องไม่เกิน ๕๐,๐๐๐,๐๐๐ บาทในอตั ราร้อยละ ๑ แต่ไม่ให้เกิน
๑๐๐,๐๐๐ บาท ส่วนที่เกิน ๕๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท ข้ึนไป คิดค่าข้ึนศาลร้อยละ ๐.๑ ค่าข้ึนศาล
ที่คานวณไดม้ ีเศษไม่ถึง ๑ บาท ใหป้ ัดทิง้
๑.๒.๔ คดีที่มีคาขอใหป้ ลดเปล้ืองทุกขอ์ นั ไม่อาจคานวณเป็ นราคาเงินไดเ้ รียกเรื่องละ
๒๐๐ บาท ตามตาราง ๑ ท้าย ป.วิ.พ. (๒) (ก) (ฎีกาที่ ๓๙๓๙/๒๕๓๔) แต่กรณีมีคาขอให้
ปลดเปล้ืองทุกขอ์ นั อาจคานวณเป็ นราคาเงินไดร้ วมอยดู่ ว้ ย ให้คิดค่าข้ึนศาลในส่วนของทุนทรัพย์
ไม่เกิน ๕๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท ในอตั ราร้อยละ ๒ (เป็ นเงินอยา่ งต่า ๒๐๐ บาท) แต่ไม่เกิน ๒๐๐,๐๐๐ บาท
ในส่วนของทุนทรัพย์ที่เกิน ๕๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท ข้ึนไป คิดอัตราร้อยละ ๐.๑ ตามตาราง ๑
ทา้ ย ป.วิ.พ. (๑ ) (ก) แมศ้ าลจะมิไดพ้ ิจารณาในประเด็นท่ีมีคาขอตามทุนทรัพยโ์ ดยตรง เพราะเห็นวา่
ไม่จาเป็นแก่คดี กย็ งั เป็นคดีมีทนุ ทรัพย์ (ฎีกาที่ ๒๔๔๘/๒๕๒๙)