The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

1 คู่มือปฏิบัติราชการของตุลาการ 2562 ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง เล่มที่ 1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by aram.du, 2021-10-11 00:13:32

1 คู่มือปฏิบัติราชการของตุลาการ 2562 ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง เล่มที่ 1

1 คู่มือปฏิบัติราชการของตุลาการ 2562 ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง เล่มที่ 1

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๒๓

ถา้ ไม่รับ ส่ังว่า “คาร้ องของผู้ร้ องไม่มีเหตุตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๕๗ (๑) จึงไม่รับ
คาร้อง คืนค่าขึน้ ศาลให้ผู้ร้องท้ังหมด”

ข้อสังเกต
๑. ร้องสอดว่าท่ีพิพาทเป็ นของผูร้ ้องไม่ใช่ของจาเลย เป็ นการร้องสอดตาม
ป.วิ.พ. มาตรา ๕๗(๑) (ฎีกาที่ ๙๑๗/๒๔๙๓, ๔๖/๒๔๙๕)
๒. โจทก์จาเลยยอมกนั เพื่อโอนทรัพยส์ ินของจาเลยไปให้พน้ จากการบงั คบั คดี
ผเู้ สียหายฐานยกั ยอกทรัพยร์ ้องสอดในคดีแพง่ ได้ (ฎีกาที่ ๑๔๖๔/๒๕๐๓ ประชุมใหญ)่
๓. ผรู้ ้องร้องสอดว่าทรัพยส์ ินท่ีศาลส่ังอายดั ชวั่ คราวเป็ นของผูร้ ้อง เป็ นการร้องสอด
ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๕๗ (๑) (ฎีกาท่ี ๒๒๔/๒๕๒๔) แต่มีฎีกาที่ ๗๗๘/๒๕๐๓ วินิจฉัยว่ากรณีเช่นน้ี
เป็ นเรื่องร้องขดั ทรัพย์ และฎีกาท่ี ๕๙๗/๒๕๓๐ วินิจฉัยว่าเจา้ ของทรัพยส์ ินที่ถูกศาลสั่งยึด
หรืออายดั ชว่ั คราวร้องขอเพิกถอนได้ (ตามมาตรา ๒๖๑)
๔. โจทก์ฟ้องบริษทั เป็ นจาเลยขอให้เพิกถอนมติประชุมใหญ่บริษทั ที่ต้งั ผูร้ ้อง
เป็ นกรรมการว่ามติน้ันไม่ชอบ ผูร้ ้องร้องสอดเขา้ มาไดต้ าม ป.วิ.พ. มาตรา ๕๗ (๑) (ฎีกาท่ี
๑๕๓๗/๒๕๑๔)
๕. เป็ นดุลพินิจของศาลท่ีจะอนุญาตให้บุคคลภายนอกร้องสอดเขา้ มาในคดี
หรือไม่ก็ได้ โดยพิจารณาว่ามีเหตุสมควรหรือไม่ (ฎีกาที่ ๙๒๕/๒๕๐๘) โดยถือหลักว่า
หากอนุญาตให้มีการร้องสอดเขา้ มาแล้วจะต้องเริ่มต้นทาการสืบพยานกนั ใหม่อีก ก็ไม่ควร
อนุญาต เช่น ผูร้ ้องร้องสอดเขา้ มาตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๕๗ (๑) โดยย่ืนคาร้องหลงั จากทราบว่า
โจทก์และจาเลยเป็ นความกนั มานาน ๕ ปี แลว้ และสืบพยานโจทก์แลว้ ๑๔ นดั สืบพยานจาเลย
ไปแลว้ ๒๙ นัด ดงั น้ี ศาลไม่อนุญาต (ฎีกาท่ี ๑๓๕๕/๒๕๒๑) คดีท่ีมีการรวมการพิจารณา
เก้าสานวนเขา้ ดว้ ยกนั หากอนุญาตให้ผูร้ ้องสอดเขา้ มาเป็ นคู่ความฝ่ ายที่สาม ซ่ึงศาลก็ตอ้ งให้
โจทก์จาเลยยื่นคาให้การแกข้ อ้ กล่าวหาดว้ ย จึงอาจก่อให้เกิดความยุง่ ยากสับสนในการดาเนิน
กระบวนพิจารณา ชอบท่ีศาลจะใชด้ ุลพินิจไม่อนุญาตให้ผรู้ ้องสอดเขา้ มาเป็ นคู่ความฝ่ ายท่ีสาม
ตามมาตรา ๕๗ (๑) (ฎีกาที่ ๑๑๑๓/๒๕๓๕, ๗๕๘๔- ๗๕๙๒/๒๕๔๐)
๖. จาเลยเดิมขาดนดั ยื่นคาให้การ ผูร้ ้องสอดตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๕๗ (๑) มีสิทธิ
เขา้ เป็นคู่ความได้ (ฎีกาที่ ๗๙๗/๒๕๑๕ และ ๑๗๒/๒๕๒๐)

๒. การร้องสอดเข้าเป็ นคู่ความร่วมกบั โจทก์หรือจาเลย (มาตรา ๕๗ (๒))

๒.๑ การร้องสอดเขา้ มาเป็ นคู่ความร่วม ตามมาตรา ๕๗ (๒) น้ันตอ้ งเขา้ มาโดยสมคั รใจ
และมีส่วนไดเ้ สียตามกฎหมายในผลแห่งคดีน้ัน หมายถึงว่าจะตอ้ งเป็ นผูถ้ ูกกระทบกระเทือน

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๒๔

หรือถูกบังคบั โดยคาพิพากษาน้ันโดยตรงหรือผลคดีตามกฎหมายจะมีผลไปถึงตน (ฎีกาท่ี
๑๔๐๖/๒๕๔๑,๓๙๙๕/๒๕๔๑,๒๙๖๒/๒๕๔๓)

คาวา่ “เพราะตนมีส่วนไดเ้ สียตามกฎหมายในผลแห่งคดีน้นั ” ซ่ึงเป็นเง่ือนไขสาคญั ที่
จะร้องสอดเขา้ มาเป็ นโจทก์ร่วมหรือจาเลยร่วมหรือเขา้ แทนที่คู่ความฝ่ ายใดฝ่ ายหน่ึงเสียทีเดียว
โดยไดร้ ับความยนิ ยอมของคูค่ วามฝ่ ายน้นั ตามมาตรา ๕๗ (๒) น้นั หมายถึง ผรู้ ้องจะตอ้ งเป็นผูท้ ี่
ถูกกระทบกระเทือนหรือถูกบงั คบั โดยคาพิพากษาน้ันโดยตรง หรือผลคดีตามกฎหมายจะมีผล
ไปถึงตนดว้ ย (ฎีกาท่ี ๑๔๐๖/๒๕๔๑) ไดแ้ ก่

(๑) ผมู้ ีกรรมสิทธ์ิรวม
ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๕๗ และมาตรา ๑๓๕๘ ให้สันนิษฐานไวก้ ่อนว่าผูเ้ ป็ น
เจา้ ของรวมมีส่วนเท่ากนั และมีสิทธิจดั การทรัพยส์ ินรวมกนั และมาตรา ๑๓๕๙ เจา้ ของรวม
คนหน่ึงๆ อาจใชส้ ิทธิอนั เกิดแต่กรรมสิทธ์ิครอบไปถึงทรัพยส์ ินท้งั หมดได้ ส่วนมาตรา ๑๓๖๓
เจา้ ของรวมคนหน่ึง ๆ อาจใช้สิทธ์ิเรียกให้แบ่งทรัพยส์ ินได้ และมาตรา ๑๓๖๕ เจ้าของรวม
ตอ้ งรับผิดร่วมกันต่อบุคคลภายนอกในหน้ีอนั เกี่ยวกบั ทรัพยส์ ินรวมด้วย ดังน้ัน ในกรณีท่ีมี
การฟ้องร้องเกี่ยวกับทรัพยส์ ินท่ีเป็ นกรรมสิทธ์ิรวม ผูเ้ ป็ นเจ้าของรวมย่อมถือว่าเป็ นผูม้ ีส่วน
ไดเ้ สียตามกฎหมายในผลแห่งคดีตามมาตรา ๕๗ (๒)
คาพิพากษาศาลฎีกาที่ ๒๖๖๒/๒๕๕๐ ผรู้ ้องร้องสอดเขา้ มาในคดี อา้ งว่าผูร้ ้องเป็ น
เจา้ ของท่ีดินพิพาทร่วมกบั โจทก์ โจทกฟ์ ้องคดีโดยพลการ ผูร้ ้องอาจไดร้ ับความเสียหายจากการ
กระทาของโจทก์ ผรู้ ้องจึงมีส่วนไดเ้ สียในฐานะเจา้ ของกรรมสิทธ์ิรวมในที่ดินร่วมกบั โจทก์ ชอบ
ที่จะร้องสอดเข้ามาด้วยความสมัครใจเองเพราะตนมีส่ วนได้เสี ยตามกฎหมายในผล
แห่งคดีน้นั ตามมาตรา ๕๗ (๒)
(๒) บริวารของจาเลยผถู้ กู ฟ้องขบั ไล่
ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๑๔๒ (๑) คาพิพากษาหรือคาสั่งใหข้ บั ไล่จาเลยมีผลใชบ้ งั คบั ถึง
บริวารของจาเลยดว้ ย บริวารของจาเลยจึงเป็ นผูม้ ีส่วนได้เสียตามกฎหมายในผลแห่งคดีตาม
มาตรา ๕๗ (๒)
คาพิพากษาศาลฎีกาที่ ๓๔๘/๒๕๓๓ โจทก์ฟ้องขบั ไล่จาเลยและบริวารออกจาก
ที่ดินพิพาท ซ่ึงผรู้ ้องและจาเลยอยอู่ าศยั มีผลเสมือนว่าโจทก์ฟ้องขบั ไล่ผรู้ ้องดว้ ย ผูร้ ้องจึงมีส่วน
ไดเ้ สียตามกฎหมายในผลแห่งคดีตามมาตรา ๕๗ (๒) (ฎีกาท่ี ๔๔๔/๒๕๑๒ วินิจฉัยทานอง
เดียวกนั )
คาพิพากษาศาลฎีกาที่ ๒๘๐๓/๒๕๓๗ โจทก์ฟ้องขบั ไล่จาเลยและบริวารออกจาก
ที่ดินพิพาท จาเลยใหก้ ารว่าผรู้ ้องซ่ึงเป็ นบุตรเขยของจาเลยไดต้ กลงเช่าท่ีดินกบั โจทกต์ ่อจากสามี

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๒๕

จาเลย ผูร้ ้องยื่นคาร้องสอดขอเข้ามาเป็ นจาเลยร่วมอ้างว่า ผู้ร้องเช่าที่ดินพิพาทจากโจทก์
ตอ่ จากสามีจาเลย จาเลยเป็นบริวารของผรู้ ้อง ดงั น้ี คาฟ้องโจทกแ์ ละคาใหก้ ารจาเลยมีขอ้ โตเ้ ถียง
ประเด็นพิพาทถึงสิทธิของผู้ร้องซ่ึงเป็ นขอ้ ต่อสู้ว่าโจทก์จะฟ้องขบั ไล่ผูร้ ้องดว้ ย ถือไดว้ ่ามีการ
โตแ้ ยง้ สิทธิของผรู้ ้อง ผรู้ ้องจึงมีส่วนไดเ้ สียตามกฎหมายในผลแห่งคดีตามมาตรา ๕๗ (๒)

(๓) หุน้ ส่วนประเภทไมจ่ ากดั ความรับผิดในหา้ งหุน้ ส่วนจากดั
ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๐๗๗ (๒) ผูเ้ ป็ นหุ้นส่วนประเภทไม่จากัดความรับผิด
ตอ้ งรับผิดในบรรดาหน้ีของห้างหุ้นส่วนจากดั โดยไม่มีจากดั จานวน ดงั น้ัน หากห้างหุ้นส่วนจากดั
ถูกฟ้องเป็ นจาเลย ผูเ้ ป็ นหุ้นส่วนประเภทไม่จากัดความรับผิดถือว่าเป็ นผูม้ ีส่วนได้เสียตาม
กฎหมายในผลแห่งคดี จึงร้องสอดเขา้ มาเป็ นจาเลยร่วมกบั หา้ งหุน้ ส่วนจากดั ไดต้ ามมาตรา ๕๗ (๒)
คาพิพากษาศาลฎีกาที่ ๒๗๐/๒๕๕๒ จาเลยร่วมมีฐานะเป็ นหุ้นส่วนผูจ้ ัดการ
ห้างโจทก์ จาเลยร่วมจึงเป็ นหุ้นส่วนไม่จากดั ความรับผิด ซ่ึงจะตอ้ งร่วมรับผิดในบรรดาหน้ีสิน
ของห้างโจทก์โดยไม่จากดั จานวน และผลแห่งคดีหรือขอ้ เท็จจริงในคดีผูกพนั บงั คบั แก่จาเลย
ร่วม จาเลยร่วมจึงเป็ นผูม้ ีส่วนไดเ้ สียตามกฎหมายในผลแห่งคดีโดยตรงในคดีที่ห้างโจทก์ถูก
จาเลยฟ้องแยง้ ใหร้ ับผิดตามสญั ญาตามมาตรา ๕๗ (๒)
กรณีของห้างหุ้นส่วนสามัญน้ันตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๐๒๕ ผูเ้ ป็ นหุ้นส่วน
หมดทุกคนตอ้ งรับผิดร่วมกนั เพ่ือหน้ีท้งั ปวงของหุ้นส่วนโดยไม่มีจากัดจานวน ดงั น้ัน ผูเ้ ป็ น
หุน้ ส่วนในหา้ งหุน้ ส่วนสามญั ยอ่ มมีส่วนไดเ้ สียตามกฎหมายในผลแห่งคดีตามมาตรา ๕๗ (๒)
สาหรับผเู้ ป็ นหุ้นส่วนประเภทจากดั ความรับผิดตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๐๗๗ (๑) น้นั
เป็ นหุ้นส่วนประเภทมีจากดั ความรับผิดเพียงไม่เกินจานวนเงินที่ตนรับจะลงหุ้น จึงไม่ใช่เป็ น
ผมู้ ีส่วนไดเ้ สียตามกฎหมายในผลแห่งคดีตามมาตรา ๕๗ (๒) (ฎีกาที่ ๑๔๐๒/๒๕๑๘)
ส่วนผูถ้ ือหุ้นในบริษทั จากดั น้ันตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๐๙๖ ผูถ้ ือหุ้นต่างรับผิด
จากดั เพยี งไมเ่ กินจานวนท่ีตนยงั ส่งใชไ้ มค่ รบมูลค่าของหุน้ ที่ตนถือเทา่ น้นั จึงไม่ไดร้ ับผลกระทบ
จากผลของคาพิพากษาที่บริษัทถูกฟ้องเป็ นจาเลยแต่อย่างใด ถือไม่ได้ว่ามีส่วนได้เสียตาม
กฎหมายในผลแห่งคดีตามมาตรา ๕๗ (๒) (ฎีกาที่ ๒๙๖๒/๒๕๔๓)
กรณีผรู้ ้องไม่มีส่วนไดเ้ สียตามกฎหมายในผลแห่งคดี
(๑) กรณีผู้ร้องอ้างเพียงว่าเป็ นภริยาชอบด้วยกฎหมายและอยู่ร่วมกับจาเลย
ไม่ถือว่ามีส่วนไดเ้ สียตามกฎหมายในผลแห่งคดีท่ีโจทก์ฟ้องเรียกใหจ้ าเลยชาระเงินท่ีจาเลยกู้ยืม
ไปจากโจทก์ (ฎีกาท่ี ๘๗๕๔/๒๕๔๔)
(๒) กรณีผูร้ ้องเพียงแต่ทาสัญญาจะซ้ือจะขายท่ีดินซ่ึงอยู่ติดกบั ที่ดินของจาเลย
จากโจทก์ภายหลงั โจทก์ยนื่ ฟ้องจาเลยแลว้ แมส้ ญั ญาจะซ้ือจะขายจะมีเงื่อนไขโดยจะมีผลต่อเมื่อ

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๒๖

โจทก์เป็ นฝ่ ายชนะคดีและสามารถบงั คบั คดีได้ แต่ถา้ โจทก์เป็ นฝ่ ายแพค้ ดีหรือไม่อาจบงั คบั ได้
ภายใน ๓ ปี นบั แต่วนั ฟ้องคดี สัญญาจะซ้ือจะขายก็ส้ินผลก็ตาม ผูร้ ้องก็มิใช่เป็ นผูม้ ีส่วนไดเ้ สีย
ตามกฎหมายในผลแห่งคดีตามมาตรา ๕๗ (๒) (ฎีกาที่ ๓๙๙๕/๒๕๔๑)

(๓) กรณีผูม้ ีสิทธิตามสัญญาจะซ้ือจะขายที่ดินกบั จาเลยร้องสอดเขา้ มาในคดีที่
โจทก์ฟ้องขอแบ่งมรดกจากจาเลย ถือว่าไม่เป็ นบุคคลผูม้ ีส่วนไดเ้ สียตามกฎหมายในผลแห่งคดี
ตามมาตรา ๕๗ (๒) (ฎีกาที่ ๕๙๐/๒๕๑๓ และ ๒๓๙๑ – ๒๓๙๒/๒๕๑๙)

๒.๒ สั่งคาร้องว่า “ตามคาร้ อง ผู้ร้ องมีส่วนได้เสียตามกฎหมายในผลแห่งคดี อนุญาตให้
เข้าเป็นโจทก์ (หรือจาเลย) ร่วมได้ สาเนาให้โจทก์จาเลย ให้ผู้ร้องนาส่งภายใน . . .วนั ”

ข้อสังเกต
๑. ภริยาถูกฟ้องเรียกเงินกู้ สามีจะร้องสอดว่าการกู้เป็ นโมฆะโดยบอกลา้ งแลว้
ไม่ได้ เพราะถึงโจทก์ชนะคดีแล้วอาจจะบังคับเอาแก่ทรัพย์สินส่วนตัวของจาเลยก็ได้
ไมจ่ าเป็นตอ้ งใหผ้ รู้ ้องเขา้ มาในคดี (ฎีกาที่ ๒๕๑/๒๕๐๑)
๒. ร้องสอดไดเ้ ฉพาะระหว่างการพิจารณาของศาลช้นั ตน้ ต่างกบั การร้องสอด
ตามมาตรา ๕๗(๑) ซ่ึงร้องสอดในช้นั บงั คบั คดีได้
๓. ผูร้ ้องสอดเขา้ เป็ นโจทก์ร่วมหรือจาเลยร่วมตอ้ งใช้สิทธิที่มีอยู่แก่คู่ความท่ี
เขา้ ร่วม (ฎีกาที่ ๑๐๔๘/๒๕๒๓) ถา้ จาเลยเดิมขาดนดั ยน่ื คาใหก้ าร ผรู้ ้องสอดตามมาตรา ๕๗ (๒)
ยอ่ มยนื่ คาใหก้ ารและสืบพยานตามขอ้ ต่อสู้ไม่ได้ ไมม่ ีประโยชนท์ ่ีจะพจิ ารณาวา่ ผรู้ ้องสอดมีส่วน
ไดเ้ สียหรือไม่ ศาลไม่อนุญาตให้ร้องสอด (ฎีกาที่ ๒๒๙๕/๒๕๒๐, ๓๑๕/๒๕๒๑) หรือแมศ้ าล
จะอนุญาตให้ผูร้ ้องสอดเขา้ เป็ นจาเลยร่วมตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๕๗ (๒) จาเลยร่วมจึงตอ้ งห้าม
มิใหใ้ ชส้ ิทธิอยา่ งอ่ืนนอกจากสิทธิท่ีมีอยขู่ องจาเลยท่ี ๑ ซ่ึงเป็ นคู่ความฝ่ ายท่ีตนเขา้ เป็ นจาเลยร่วม
ตามมาตรา ๕๘ วรรคสอง เมื่อจาเลยที่ ๑ ไม่ย่ืนคาให้การจนศาลสั่งว่าจาเลยที่ ๑ ขาดนัดย่ืน
คาให้การแล้ว จาเลยร่ วมย่อมไม่มีสิทธิย่ืนคาให้การของตนเข้ามาอันเป็ นการใช้สิทธิ
นอกเหนือจากท่ีจาเลยท่ี ๑ มีอยู่ได้ และเมื่อศาลช้ันต้นส่ังรับคาให้การของจาเลยร่วมไว้
โดยผิดหลง ศาลช้ันต้นชอบท่ีจะเพิกถอนคาส่ังรับคาให้การของจาเลยร่วมแล้วสั่งไม่รับ
คาให้การของจาเลยร่วมให้ถูกตอ้ งไดต้ าม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๗ วรรคหน่ึง (ฎีกา ๙๙๖/๒๕๔๙)
ผรู้ ้องสอดใชส้ ิทธิร้องสอดเขา้ แทนท่ีโจทกต์ ามมาตรา ๕๗ (๒) จึงมีฐานะเสมอดว้ ยโจทกซ์ ่ึงเป็น
คู่ความที่ผูร้ ้องสอดเขา้ แทนที่ ตามมาตรา ๕๘ วรรคสอง เม่ือจาเลยไม่ไดย้ กอายุความข้ึนต่อสู้
โจทก์ จาเลยย่อมไม่มีสิทธิยกข้อต่อสู้ดังกล่าวข้ึนต่อสู้ผูร้ ้องสอด (ฎีกาที่ ๖๔๐๕/๒๕๓๘)
เมื่อจาเลยมิได้ฟ้องแยง้ ผูร้ ้องสอดท่ีเขา้ มาเป็ นจาเลยร่วมตามมาตรา ๕๗ (๒) ย่อมไม่มีสิทธิ

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๒๗

ฟ้องแยง้ เพราะผรู้ ้องสอดจะใชส้ ิทธิอยา่ งอื่นนอกจากสิทธิท่ีมีอยแู่ ก่จาเลยซ่ึงเป็ นคู่ความฝ่ ายที่ตน
เขา้ ร่วมไม่ได้ (ฎีกา ๓๖๖๕/๒๕๓๘)

๔. เป็นดุลพินิจของศาลท่ีจะอนุญาตใหร้ ้องสอดไดห้ รือไม่
๕. โจทกฟ์ ้องขบั ไลจ่ าเลยออกจากที่พิพาท ผรู้ ้องอา้ งวา่ เช่าช่วงที่พิพาทจากจาเลย
โจทกไ์ ม่ใช่เจา้ ของกรรมสิทธ์ิที่พพิ าท จึงขอเขา้ เป็นจาเลยร่วม ดงั น้ี เป็นการขอเขา้ มาตามมาตรา
๕๗ (๒) (ฎีกาที่ ๓๑๕/๒๕๒๑)
๖. แมศ้ าลจะอนุญาตใหบ้ ุคคลภายนอกเขา้ มาแทนที่คู่ความเดิม ตามมาตรา ๕๗ (๒)
คู่ความเดิมคือโจทก์หรือจาเลยก็ยงั เป็ นคู่ความในคดีน้ันอยู่และตอ้ งรับผิดตามคาพิพากษาและ
สามารถใชส้ ิทธิอุทธรณ์ฎีกาได้ (ฎีกาที่ ๒๔๐๔/๒๕๒๙)
๗. เม่ือศาลอุทธรณ์พิพากษายกคาร้องขอจาเลยท่ีขอให้เรียก ส. เขา้ มาเป็ นจาเลยร่วม
จาเลยและจาเลยร่วมมิได้ฎีกา กระบวนพิจารณาเก่ียวกับจาเลยร่วมหลังจากที่ศาลช้ันต้นอนุญาตให้
ส.เขา้ มาเป็ นจาเลยร่วม รวมท้ังพยานหลักฐานของจาเลยร่วมย่อมเป็ นอนั ถูกเพิกถอนไปในตวั
รับฟังเป็นพยานหลกั ฐานของจาเลยไมไ่ ด้ (ฎีกา ๘๘๔/๒๕๒๑)
๘. คาร้องสอดของผูร้ ้องซ่ึงเป็ นบุคคลภายนอกที่ขอเขา้ มาเป็ นจาเลยร่วมตาม
มาตรา ๕๗ (๒) ถือว่าเป็ นคาคู่ความตามมาตรา ๑ (๕) ดงั น้ัน เม่ือศาลช้นั ตน้ มีคาสั่งไม่อนุญาต
ผูร้ ้องย่อมอุทธรณ์คาส่ังได้ แต่เม่ือผูร้ ้องไม่ไดอ้ ุทธรณ์ จาเลยย่อมไม่มีสิทธิท่ีจะอุทธรณ์คาส่ัง
ศาลช้นั ตน้ ดงั กลา่ วแทนผรู้ ้อง (ฎีกา ๑๒๕๔/๒๕๔๗, ๔๔๑๐- ๔๔๑๑/๒๕๔๒)
๙. แม้โจทก์กับจาเลยจะไม่มีนิติสัมพันธ์ต่อกัน แต่การที่โจทก์ซ่ึงเป็ นผู้เช่า
ท่ีพิพาทจากโจทก์ร่วมเขา้ ครอบครองทาประโยชน์ในท่ีพิพาทไม่ไดเ้ นื่องจากจาเลยซ่ึงเป็ นผเู้ ช่า
ท่ี พิพาทจากโจทก์ร่ วมและสัญญาเช่ าส้ิ นสุ ดลงก่ อนหน้าน้ ี ไม่ยอมออกไปจากท่ี พิพ า ทน้ ัน
ยอ่ มเป็นการรอนสิทธิโจทก์ โจทกจ์ ึงมีสิทธิดาเนินคดีแก่จาเลยโดยการยนื่ คาฟ้องพร้อมกบั ขอให้
ศาลเรียกผู้ให้เช่าคือโจทก์ร่วมเข้ามาร่วมเป็ นโจทก์ได้ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๔๗๗ และ ๕๔๙
ซ่ึงโจทก์ก็ไดป้ ฏิบตั ิตามบทบญั ญตั ิกฎหมายดงั กล่าวแล้ว กรณีมิใช่เร่ืองที่โจทก์ร่วมร้องสอด
เขา้ มาเป็นโจทก์ร่วมตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๕๗ (๒) เม่ือโจทก์ร่วมยินยอมเขา้ ร่วมเป็ นโจทก์ตามท่ี
โจทก์มีคาขอแล้ว ก็ย่อมมีผลทาให้โจทก์และโจทก์ร่วมมีอานาจฟ้องจาเลย (ฎีกา ๘๗๐๕/
๒๕๔๗)

๓. การถูกหมายเรียกเข้ามาในคดี (มาตรา ๕๗ (๓))

๓.๑ คู่ความขอให้เรียกบุคคลภายนอกเขา้ มาในคดีตามมาตรา ๕๗(๓) น้นั ตอ้ งยน่ื คาร้อง
พร้อมกบั คาฟ้องหรือคาให้การหรือยื่นในเวลาใด ๆ ก่อนมีคาพิพากษา แต่กรณีที่มิไดย้ ่ืนคาร้อง

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๒๘

น้ันพร้อมกบั คาฟ้องหรือคาให้การตอ้ งแสดงเหตุที่ไม่อาจยื่นคาร้องก่อนน้ันได้ ถา้ ไม่แสดงเหตุผล
ท่ียน่ื คาร้องลา่ ชา้ ศาลไมอ่ นุญาต (ฎีกาท่ี ๗๐๖/๒๕๐๕) เช่น

โจทกย์ นื่ คาร้องขอเรียกบุคคลภายนอกเขา้ มาในคดี โดยยน่ื คาร้องภายหลงั ยน่ื คาฟ้องแลว้
โดยอ้างแต่เพียงว่าเพื่อคุม้ ครองรักษาประโยชน์ของโจทก์ประการเดียว มิได้แสดงเหตุผลว่า
เหตุใดจึงยืน่ คาร้องน้นั ล่าชา้ ศาลไม่อนุญาต (ฎีกาท่ี ๑๓๖๓/๒๕๐๘) แสดงว่าเป็ นดุลพินิจของ
ศาลที่จะอนุญาตหรือไม่อนุญาตตามคาร้อง

จาเลยยื่นคาให้การไว้แล้ว หลังจากน้ัน ๔ เดือน จึงย่ืนคาร้องขอให้เรี ยก
บุคคลภายนอกเขา้ มาเป็ นจาเลยร่วมโดยไม่แสดงเหตุท่ีไม่อาจย่ืนคาร้องน้ีได้ก่อนหน้าน้ัน
ศาลไมอ่ นุญาต (ฎีกาท่ี ๗๐๖/๒๕๐๕)

กรณีศาลเรียกเอง คู่ความไม่ตอ้ งย่ืนพร้อมคาฟ้องหรือคาให้การตามฎีกาที่ ๖๗๕/๒๕๑๕
โจทกย์ นื่ คาร้องต่อศาลหลงั จากยน่ื คาฟ้องแลว้ มีความวา่ หากศาลเห็นเป็นการสมควรหรือจาเป็น
เพ่ือประโยชน์แห่งความยตุ ิธรรม ก็ขอใหเ้ รียกบุคคลภายนอกเขา้ มาเป็ นจาเลยร่วม ดงั น้ี คาร้อง
ดงั กล่าวเป็ นเพียงการแสดงให้ปรากฏต่อศาล ซ่ึงศาลเรียกบุคคลดงั กล่าวเขา้ มาเป็ นจาเลยไดเ้ อง
ตามอานาจที่มีอยู่ตามมาตรา ๕๗ (๓) (ข) คาร้องของโจทก์ดงั กล่าวไม่จาตอ้ งยื่นพร้อมคาฟ้อง
ตามมาตรา ๕๗ (๓)

๓.๒ โจทก์หรือจาเลยย่ืนคาขอโดยทาเป็ นคาร้องขอให้เรียกบุคคลภายนอกเขา้ มาเป็ น
คู่ความ

ส่งั คาร้องของโจทก์หรือจาเลยวา่ “ตามคาร้องของโจทก์ (หรือจาเลย) แสดงว่าโจทก์
(หรือจาเลย) อาจฟ้องหรือถูกนาย ก. ฟ้องเพ่ือการใช้สิทธิไล่เบีย้ (หรือเพ่ือใช้ค่าทดแทน) ได้ตาม
มาตรา ๕๗ (๓) จึงให้เรียกนาย ก. เข้ามาเป็ นโจทก์ร่วม (หรือจาเลยร่ วม) ให้โจทก์นาส่งสาเนา
คาร้ องและสาเนาคาฟ้องให้ผู้ร้องภายใน ๗ วัน ถ้าส่งไม่ได้ให้แถลงเพ่ือดาเนินการต่อไปภายใน
๑๕ วัน นับแต่วันส่งไม่ได้ ถ้าไม่แถลงถือว่าทิ้งคาร้ อง” กรณีเรียกบุคคลภายนอกเขา้ มาเป็ น
จาเลยร่วม จาเลยร่วมจะตอ้ งย่ืนคาให้การแกค้ ดีภายใน ๑๕ วนั ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๑๗๗วรรคทา้ ย
(ฎีกาที่ ๑๒๒๖/๒๕๑๐ ประชุมใหญ)่ ตอ้ งระบไุ วใ้ นหมายเรียกดว้ ย

ถา้ ไม่รับคาร้องท่ีขอใหเ้ รียกบุคคลท่ีสามเขา้ มาเป็ นคู่ความ สั่งว่า “คาร้ องของจาเลย
ท่ีขอให้เรียกนาย ก. เข้ามาเป็นคู่ความร่วมน้นั กรณีไม่ต้องด้วย ป.วิ.พ. มาตรา ๕๗ (๓) ให้ยกคาร้อง”

ผูเ้ อาประกนั ภยั เรียกผูร้ ับประกนั ภยั (ค้าจุน)เขา้ เป็ นจาเลยร่วมได้ (ฎีกาท่ี ๒๐๗๘/๒๕๒๓,
๒๓๗๕/๒๕๒๓)

โจทก์ฟ้องกรมไปรษณียโ์ ทรเลขแล้วยื่นคาร้องว่าเพ่ือประโยชน์แห่งความยุติธรรม
ขอให้เรียกการสื่อสารแห่งประเทศไทยเขา้ มาเป็ นจาเลยร่วมโดยอา้ ง พ.ร.บ. การสื่อสารแห่งประเทศไทย

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๒๙

พ.ศ. ๒๕๑๙ มาตรา ๑๓ เรื่องการโอนทรัพยส์ ินเป็ นของจาเลยร่วม คาร้องของโจทก์ชอบตาม
ป.ว.ิ พ. มาตรา ๕๗ (๓) (ข) (ฎีกาท่ี ๑๑๐๐/๒๕๒๔)

๓.๓ เมื่อผูถ้ ูกหมายเรียกเขา้ มาเป็ นจาเลยร่วม ยื่นคาให้การเขา้ มาให้สั่งว่า “รับคาให้การ
จาเลยร่วมสาเนาให้โจทก์และจาเลย นัดชีส้ องสถาน หมายแจ้งโจทก์จาเลย ไม่มีผู้รับโดยชอบ
ให้ปิ ดหมาย”

ข้อสังเกต
เมื่อศาลยกคาร้องของโจทก์ท่ีขอให้เรี ยกบุคคลภายนอกเข้ามาเป็ นจาเลยร่ วม
ตามมาตรา ๕๗ (๓) เพราะคาร้องไม่มีเหตุ ต่อมาโจทก์ย่ืนคาร้องใหม่อา้ งเหตุจาเป็ นตามมาตรา
๕๗ (๓) แลว้ ศาลกอ็ นุญาตได้ (ฎีกาท่ี ๑๐๕๓/๒๕๐๙)
คาร้องของบคุ คลภายนอกที่ขอเขา้ มาเป็นคูค่ วามร่วมตามมาตรา ๕๗ (๑) หรือ ๕๗ (๒)
เป็ นคาคู่ความตามมาตรา ๑ (๕) เพราะเป็ นการต้งั ประเด็นระหว่างคู่ความ หากศาลไม่อนุญาต
ผรู้ ้องอทุ ธรณ์ฎีกาไดท้ นั ที (ฎีกาที่ ๑๒๒๖/๒๕๑๐ ประชุมใหญ่)
แต่คาร้องของคูค่ วามท่ีขอให้เรียกบุคคลภายนอกเขา้ มาในคดีตามมาตรา ๕๗ (๓) น้นั
ไมใ่ ช่คาคูค่ วาม เม่ือศาลยกคาร้องจึงเป็นคาสั่งระหวา่ งพิจารณา คู่ความจะอทุ ธรณ์ฎีกาทนั ทีไม่ได้
(คาสง่ั คาร้องศาลฎีกาท่ี ๒๕๘/๒๕๒๘)
อน่ึง เจา้ หน้ีใชส้ ิทธิเรียกร้องของลูกหน้ีเรียกลกู หน้ีเขา้ มาเป็นโจทกร์ ่วมในคดีตาม
ป.พ.พ. มาตรา ๒๓๔ ไดไ้ ม่มีขอ้ จากดั ตามมาตรา ๕๗(๓) น้ี แม้ ป.พ.พ. มาตรา ๒๓๔ บญั ญตั ิให้
เจา้ หน้ีผูใ้ ชส้ ิทธิเรียกร้องของลูกหน้ีจะตอ้ งขอหมายเรียกลูกหน้ีเขา้ มาในคดี ท้งั น้ีเพ่ือเปิ ดโอกาส
ให้ลูกหน้ีไดร้ ักษาสิทธิของตน การที่โจทก์ฟ้องจาเลยที่ ๑ ซ่ึงเป็ นลูกหน้ีแทนการขอให้ลูกหน้ี
เขา้ มาในคดีตามความมุ่งหมายของบทบญั ญตั ิดงั กล่าวตาม ป.พ.พ. มาตรา ๒๓๔ แลว้ โจทก์จึง
ฟ้องจาเลยที่ ๑ แทนการขอให้ศาลหมายเรียกจาเลยที่ ๑ เขา้ มาในคดีได้ ไม่เป็นเหตุใหต้ อ้ งยกฟ้อง
(ฎีกาท่ี ๒๙๑/๒๕๔๒, ๘๐๒/๒๕๔๖)
การยน่ื คาร้องขอให้เรียกผูร้ ับประกนั ภยั เขา้ มาเป็ นจาเลยร่วมถือไดว้ ่าเป็นการฟ้องคดี
เพ่ือต้ังหลักฐานสิทธิเรี ยกร้องให้ผู้รับประกันภัยใช้ค่าทดแทนตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๗๓
(ตรงกบั มาตรา ๑๙๓/๑๔ (๒) ในปัจจุบนั ) และ ป.วิ.พ. มาตรา ๕๗ (๓) (ฎีกาที่ ๒๙๐๔/๒๕๓๕)
โจทกฟ์ ้องจาเลยท้งั สองภายในกาหนดอายคุ วามละเมิด แมจ้ าเลยท่ี ๑ จะขอใหศ้ าล
หมายเรียกจาเลยร่วมซ่ึงเป็ นผูร้ ับประกันภยั รถยนต์คนั เกิดเหตุเขา้ มาในคดีเพ่ือให้ร่วมรับผิด
เม่ือเกิน ๑ ปี นับแต่วนั ละเมิดก็ตาม แต่ก็เป็ นเรื่องท่ีจาเลยที่ ๑ ขอให้ศาลเรียกจาเลยร่วมเขา้ มา

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๓๐

ในคดีตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๕๗ (๓) เพื่อการใช้สิทธิไล่เบ้ีย เพราะจาเลยร่วมจะตอ้ งรับผิดตาม
สัญญาประกนั ภยั จะนาบทบญั ญตั ิมาตรา ๔๔๘ แห่ง ป.พ.พ. ซ่ึงเป็ นเรื่องการใชส้ ิทธิเรียกร้อง
ของผตู้ อ้ งเสียหายในมูลละเมิดซ่ึงมีอายคุ วาม ๑ ปี มาบงั คบั แก่กรณีจาเลยร่วมไม่ได้ คดีของโจทก์
สาหรับจาเลยร่วมจึงไม่ขาดอายุความ (ฎีกาท่ี ๒๐๗๘/๒๕๒๓) แต่หากโจทก์ย่ืนฟ้องจาเลยซ่ึงเป็ น
ลูกจา้ งภายในกาหนดอายคุ วามละเมิด และโจทกม์ ีคาร้องขอใหศ้ าลเรียกจาเลยร่วมซ่ึงเป็นนายจา้ ง
หรือผูบ้ งั คบั บญั ชาเขา้ มาในคดีละเมิดเมื่อพน้ ๑ ปี นับแต่วนั ท่ีโจทก์รู้ถึงการละเมิดและรู้ตวั
ผู้จะพึงใช้ค่าสินไหมทดแทน คดีโจทก์สาหรับจาเลยร่ วมจึงขาดอายุความฟ้องร้องตาม
ป.พ.พ. มาตรา ๔๔๘ (ฎีกาท่ี ๔๓๙๑/๒๕๓๐)

ข้อสังเกต
การพิจารณาว่าจะอนุญาตให้ร้องสอดไดห้ รือไม่ ตอ้ งพิจารณาตามหลกั เกณฑ์
ท่ีบญั ญตั ิไวใ้ นมาตรา ๕๗ (๓) ส่วนปัญหาวา่ คดีโจทกข์ าดอายคุ วามหรือไม่เป็นเรื่องภายหลงั จาก
ท่ีศาลอนุญาตให้หมายเรียกเขา้ มาเป็ นจาเลยร่วมแลว้ ซ่ึงหากจาเลยร่วมไม่ไดใ้ ห้การยกอายคุ วาม
ข้ึนเป็ นขอ้ ต่อสู้ ศาลก็จะอา้ งเอาอายุความมาเป็ นเหตุยกฟ้องไม่ได้ (ป.พ.พ. มาตรา ๑๙๓/๒๙)
ฉะน้ัน ศาลจึงไม่อาจนาเหตุคดีขาดอายุความมาเป็ นขอ้ พิจารณาอนุญาตหรือไม่อนุญาตให้ร้อง
สอดเขา้ มาในคดีได้
คาร้องของจาเลยท่ี ๒ ที่ขอให้เรียก ธ. เข้ามาเป็ นจาเลยร่วมในคดีน้ีอ้างว่า จาเลยที่ ๒
ไดโ้ อนเงินค่าใช้จ่ายของโจทก์ในการเดินทางไปทางานท่ีไตห้ วนั ให้แก่ ธ.ซ่ึงเป็ นตวั แทนของจาเลยท่ี ๑
ดงั น้นั จาเลยท่ี ๑ จึงมีฐานะเป็ นตวั การของ ธ. เมื่อโจทก์ไดฟ้ ้องจาเลยท่ี ๑ ในฐานะตวั การเขา้ มา
ในคดีน้ีแลว้ ธ.ในฐานะตวั แทนของจาเลยท่ี ๑ ย่อมไม่ตอ้ งร่วมรับผิดกบั จาเลยที่ ๒ ต่อโจทก์
อยา่ งลูกหน้ีร่วมธ.จึงไม่อาจถูกจาเลยที่ ๒ฟ้องเพ่ือการใชส้ ิทธิไล่เบ้ียตามความในมาตรา ๕๗ (๓) (ก)ได้
(ฎีกาที่ ๖๓๖/๒๕๔๗)

๔. การร้องสอดช้ันบังคบั คดี

การร้องขัดทรัพย์ การขอเฉลี่ยทรัพย์ ไม่ใช่เป็ นการร้องสอดช้ันบังคับคดี แต่เมื่อคดี
ร้องขดั ทรัพยด์ าเนินไปอยา่ งคดีธรรมดา บุคคลภายนอกอา้ งวา่ เป็ นทรัพยข์ องตน ยอ่ มร้องสอด
เขา้ มาไดต้ ามมาตรา ๕๗ (๑)

การสงั่ คาร้องสอดช้นั บงั คบั คดีกเ็ หมือนกบั ช้นั ระหวา่ งพิจารณาคดีตามขอ้ ๑ และขอ้ ๒

ข้อสังเกต
๑. การท่ีบุคคลภายนอกร้องขอให้ปล่อยทรัพย์สินท่ีศาลสั่งยึดไว้ชั่วคราว
ก่อนพิพากษาเป็นการร้องตามมาตรา ๒๖๑ มิใช่การร้องสอดตามมาตรา ๕๗(๑) น้ี

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๓๑

๒. การร้องสอดตามมาตรา ๕๗ (๑) จะต้องเสียค่าข้ึนศาลหรื อไม่อยู่ท่ีสภาพแห่ง
คาขอ (ฎีกาที่ ๑๔๒๖/๒๔๙๓ ประชุมใหญ่, ๒๙๒๓/๒๕๒๘)

๓. การร้องสอดเรียกทรัพย์มรดก ตาม ป.พ.พ.มาตรา ๑๗๔๙ เป็ นการร้องสอด
ตามมาตรา ๕๗ (๑) ตอ้ งเสียค่าข้ึนศาลตามทุนทรัพยท์ ี่เรียกร้อง (ฎีกาที่ ๔๕๗ - ๔๕๘/๒๕๒๑)

๔. ศาลพิพากษาและออกคาบงั คบั ให้จาเลยและบริวารร้ือถอนสิ่งปลูกสร้าง
ออกไปจากที่พิพาท เจ้าของส่ิงปลูกสร้างร้องเข้ามาในช้ันบังคับคดีตามมาตรา ๕๗ (๑)ได้
โดยไมต่ อ้ งรอใหม้ ีการบงั คบั คดีเสียก่อน (ฎีกาท่ี ๓๗๗๖/๒๕๓๔ ประชุมใหญ)่

๕. ศาลมีคาส่ังแสดงกรรมสิทธ์ิโดยครอบครองปรปักษ์ ผูร้ ้องนาคาส่ังศาลไป
เปล่ียนแปลงทางทะเบียนอนั เป็นการดาเนินการช้นั บงั คบั คดี เจา้ ของท่ีดินชอบท่ีจะร้องขอเขา้ มา
ในช้นั บงั คบั คดีตามมาตรา ๕๗ (๑) และสามารถพิสูจน์วา่ ตนมีสิทธิดีกว่าผรู้ ้อง (ฎีกาที่ ๑๐๓๑/๒๕๓๗,
๒๕๙๑/๒๕๔๕) หากมีการบงั คบั คดีเสร็จสิ้นสมบูรณ์ไปโดยมีการทะเบียนเปลี่ยนแปลงชื่อ
ในโฉนดท่ีดินเป็ นของผูร้ ้องแล้ว การบังคับคดีตามคาพิพากษาหรือคาสั่งก็ไม่มีอีกต่อไป
ผรู้ ้องสอดจึงไม่มีส่วนไดเ้ สียและไม่มีสิทธิร้องขอเขา้ มาเป็ นคู่ความตามมาตรา ๕๗ (๑) ได้ (ฎีกา
ที่ ๔๔๒๐/๒๕๔๑)

๖. กรณีบคุ คลภายนอกมาร้องขอเพิกถอนคาพิพากษา ไม่ใช่การร้องสอดช้นั บงั คบั คดี
๗. โจทก์โอนสิทธิเรียกร้องที่จะไดร้ ับเงินทดแทนท่ีดินเพ่ิมข้ึนตามคาพิพากษา
ใหแ้ ก่ผรู้ ้อง โดยมีหนงั สือแจง้ การโอนให้จาเลยทราบแลว้ การโอนสิทธิจึงสมบูรณ์ตาม ป.พ.พ.
มาตรา ๓๐๖ วรรคหน่ึง สิทธิของโจทก์ที่จะไดร้ ับชาระหน้ีจากจาเลยตามคาพิพากษายอ่ มตก
เป็นของผรู้ ้อง การท่ีโจทกย์ ืน่ คาแถลงขอใหศ้ าลออกคาบงั คบั และศาลออกให้ ต่อมาโจทกแ์ ถลง
ขอรับเงินท่ีจาเลยนามาวางศาลท้งั ๆ ท่ีโจทก์ส้ินสิทธิไปแลว้ ถือเป็ นการจงใจให้ผูร้ ้องได้รับ
ความเสียหาย เป็นการใชส้ ิทธิโดยไมส่ ุจริต ชอบท่ีศาลจะส่ังไมจ่ ่ายเงินท่ีจาเลยนามาวางใหแ้ ก่โจทก์
ผรู้ ้องซ่ึงไดร้ ับโอนสิทธิเรียกร้องเป็นผมู้ ีส่วนไดเ้ สียในการบงั คบั ตามคาพิพากษา
หรือคาส่งั และถูกโตแ้ ยง้ สิทธิในการท่ีโจทกข์ อรับเงินที่จาเลยนามาวางศาล ผรู้ ้องชอบท่ีจะร้องขอ
เข้ามาในช้ันบังคับตามคาพิพากษาได้ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๕๗(๑) และร้องขอรับเงินตาม
คาพพิ ากษาของผรู้ ้องถือไดว้ า่ เป็นคาร้องสอดที่ผรู้ ้องมีสิทธิเรียกร้องเก่ียวเน่ืองดว้ ยการบงั คบั ตาม
คาพิพากษาตามมาตรา ๕๗(๑) ศาลชอบที่จะรับคาร้องขอของผูร้ ้องไวเ้ พ่ือดาเนินการไตส่ วนและ
วนิ ิจฉยั ถึงขอ้ โตแ้ ยง้ สิทธิของผรู้ ้องในช้นั บงั คบั คดีใหต้ ามรูปคดีตอ่ ไป (ฎีกาที่ ๓๐๔๔/๒๕๔๕)
๘. โจทก์ใชส้ ิทธิบงั คบั ขบั ไล่จาเลยให้ร้ือถอนตึกแถวออกไปจากที่ดินของโจทก์
ผูร้ ้องในฐานะผูร้ ับจานองตึกแถวไวจ้ ากจาเลยชอบที่จะใช้สิทธิเพื่อให้ตนไดร้ ับชาระหน้ีจาก
ทรัพยส์ ินน้ันก่อนเจา้ หน้ีสามญั ตามมาตรา ๒๘๙ วรรคแรก เท่าน้ัน ผูร้ ้องจึงไม่ถูกโตแ้ ยง้ สิทธิ

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๓๒

หรือเป็ นผูม้ ีส่วนได้เสียในวิธีการบงั คับคดีเกี่ยวกับตึกแถวอนั เป็ นทรัพย์สินที่เจ้าพนักงาน
บงั คบั คดีดาเนินการใหจ้ าเลยร้ือถอนออกไปจากท่ีดินของโจทก์ (ฎีกาที่ ๑๔๔๕/๒๕๓๙)

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๓๓

ส่วนที่ ๖

การพจิ ารณาโดยขาดนัด

๑. การขาดนัดยื่นคาให้การ (มาตรา ๑๙๗ และ ๑๙๘)

๑.๑ เมื่อจาเลยยน่ื คาใหก้ ารพน้ กาหนดเวลาตามมาตรา ๑๙๗ ใหส้ ง่ั ดงั น้ี
“จาเลยยื่นคาให้การพ้นกาหนดเวลาแล้ว ไม่รับคาให้การ สาเนาให้โจทก์”

๑.๒ เม่ือครบกาหนดย่ืนคาใหก้ ารแลว้ จาเลยไม่ยน่ื คาใหก้ าร โจทก์จะตอ้ งยนื่ คาขอต่อศาล
ภายใน ๑๕ วนั เพ่ือให้ศาลมีคาพิพากษาหรือคาสั่งช้ีขาดใหต้ นเป็ นฝ่ ายชนะคดีโดยขาดนดั ตาม
มาตรา ๑๙๘ วรรคหน่ึง ใหพ้ ิจารณาสงั่ ดงั น้ี

ก. กรณีเป็ นคดีที่ศาลพิพากษาคดีไปโดยไม่ต้องสืบพยานบุคคลหรือให้โจทก์
ส่งพยานเอกสารแทนการสืบพยาน สง่ั วา่

“ครบกาหนดย่ืนคาให้การวันท่ี . . . จาเลยไม่ย่ืนคาให้การภายในกาหนด ถือว่า
จาเลยขาดนัดย่ืนคาให้ การ เนื่องจากเป็ นคดีที่ไม่จาต้องสืบพยานหรื อไม่จาต้องให้ โจทก์
ส่ง พยานเอกสารแทนการสืบพยาน จึงให้นัดฟังคาพิพากษาในวันที่ . . . เวลา . . . น. หมายแจ้ง
จาเลย ไม่มผี ู้รับแทนโดยชอบให้ปิ ดหมาย ให้โจทก์นาส่งหมายภายใน . . . วัน”

ข. กรณีเป็นคดีท่ีตอ้ งสืบพยานหรือศาลเห็นสมควรใหส้ ืบพยาน สง่ั วา่
“ครบกาหนดยื่นคาให้การ วันท่ี . . . จาเลยไม่ยื่นคาให้การภายในกาหนด ถือว่า
จาเลยขาดนัดยื่นคาให้การ เนื่องจากเป็ นคดีเกี่ยวด้วย . . . (หรือศาลเห็นสมควรให้สืบพยาน)
จึงให้สืบพยานโจทก์ไปฝ่ ายเดียวในวันที่ . . . เวลา . . . น. หมายแจ้งจาเลย ไม่มีผู้รับแทนโดย
ชอบให้ปิ ดหมาย ให้โจทก์นาส่งหมายภายใน . . . วัน”
ค. กรณีเป็นคดีท่ีมีคาขอบงั คบั ใหจ้ าเลยชาระหน้ีเป็นเงินจานวนแน่นอน สัง่ วา่

“ครบกาหนดยื่นคาให้การวันท่ี . . . จาเลยไม่ย่ืนคาให้การภายในกาหนด ถือว่า
จาเลยขาดนัดย่ืนคาให้ การ เน่ืองจากโจทก์มีคาขอบังคับให้ จาเลยชาระหนี้เป็ นเงินจานวน
แน่นอน จึงให้โจทก์ส่งพยานเอกสารที่จาเป็ นเพื่อกาหนดจานวนเงินแทนการสืบพยานภายใน
วันท่ี . . . และให้โจทก์เสียค่าอ้าง ให้นัดฟังคาพิพากษาวันที่ . . . เวลา . . . น. หมายแจ้งจาเลย
ไม่มีผู้รับแทนโดยชอบ ให้ปิ ดหมาย ให้โจทก์นาส่งหมายภายใน . . . วนั ”

เม่ือโจทกย์ น่ื คาแถลงขอส่งเอกสาร สั่งวา่
“รับไว้ หมาย จ.๑ ถึง จ. . . . ให้แยกเกบ็ หรือรวมสานวน ”

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๓๔

ง. กรณีเป็ นคดีที่มีคาขอบงั คบั ให้จาเลยชาระหน้ีเป็ นเงินอนั ไม่อาจกาหนดจานวน
ไดโ้ ดยแน่นอน (ให้ส่ังทานองเดียวกบั ขอ้ ข.) “ . . . เพื่อกาหนดจานวนเงินตามคาขอบังคับของ
โจทก์ . . .”

ข้อสังเกต
๑. หากจาเลยไม่ยื่นคาให้การภายในกาหนดระยะเวลาท่ีกาหนดไว้ ตอ้ งถือว่า
ขาดนดั ยน่ื คาใหก้ ารโดยผลของกฎหมาย (ฎีกาท่ี ๔๓๔๐ - ๔๓๔๑/๒๕๔๕ ประชุมใหญ่)
๒. คาขอตามมาตรา ๑๙๘ วรรคหน่ึง ตอ้ งทาเป็นคาร้องตามระเบียบขา้ ราชการ
ฝ่ายตุลาการ ฉบบั ท่ี ๓ และเสียค่าธรรมเนียมศาลตามตาราง ๒ ทา้ ย ป.วิ.พ.
๓. จาเลยไม่ยื่นคาให้การแกค้ าฟ้องโจทก์ท่ีขอแกไ้ ขเพ่ิมเติมตามมาตรา ๑๘๐
ไม่ถือวา่ จาเลยขาดนดั ยนื่ คาใหก้ ารในส่วนน้ี (ฎีกาท่ี๙๕๑ - ๙๕๒/๒๕๐๐,๓๓๗๙/๒๕๓๗)
๔. เม่ือจาเลยขาดนดั ยนื่ คาให้การแลว้ โจทก์ตอ้ งย่นื คาขอใหศ้ าลมีคาพิพากษาหรือ
คาส่ังช้ีขาดให้ตนเป็ นฝ่ ายชนะคดีโดยขาดนัดภายใน ๑๕ วัน นับแต่ระยะเวลาท่ีกาหนดให้จาเลย
ยนื่ คาใหก้ ารไดส้ ิ้นสุดลง (มาตรา ๑๙๘ วรรคหน่ึง)

๔.๑ หากโจทก์ไม่ย่ืนคาขอในกาหนดเวลาดงั กล่าว ให้ศาลมีคาส่ังจาหน่ายคดีน้ัน
เสียจากสารบบความ (มาตรา ๑๙๘ วรรคสอง) การส่ังจาหน่ายคดีดงั กล่าว ศาลมีอานาจที่จะสัง่
คืนค่าข้ึนศาลบางส่วนไดต้ ามที่เห็นสมควร (มาตรา ๑๕๑ วรรคสาม) เม่ือเจา้ หนา้ ท่ีรายงานให้
ศาลทราบ ส่ังว่า “โจทก์ไม่ยื่นคาขอให้ศาลมีคาพิพากษาหรือคาสั่งให้ตนชนะคดีโดยขาดนัด
จึงให้จาหน่ายคดีจากสารบบความ คืนค่าขึน้ ศาลให้โจทก์จานวน . . . บาท” ตามระเบียบราชการ
ฝ่ายตุลาการศาลยตุ ิธรรม วา่ ดว้ ยการคืนคา่ ข้ึนศาล พ.ศ. ๒๕๕๓

การที่จาเลยซ่ึงมิไดย้ ่ืนคาให้การภายในระยะเวลาท่ีกาหนดไวแ้ ละจาเลย
ขออนุญาตให้ย่ืนคาให้การตามมาตรา ๑๙๙ วรรคหน่ึง และคดีอยู่ในระหว่างท่ีศาลส่ังไต่สวน
คาร้องดงั กล่าวน้ัน เป็ นเรื่องระหว่างศาลกบั จาเลย และมิใช่เหตุที่จะทาให้โจทก์ไดร้ ับยกเวน้
หน้าที่ตามมาตรา ๑๙๘ วรรคหน่ึง ในอันที่จะต้องมีคาขอต่อศาลภายใน ๑๕ วัน นับแต่
ระยะเวลาท่ีกาหนดใหจ้ าเลยย่ืนคาให้การไดส้ ้ินสุดลง ท้งั โจทก์จะถือว่าระยะเวลาท่ีกาหนดให้
จาเลยยน่ื คาใหก้ ารไดส้ ้ินสุดลงในวนั ท่ีศาลมีคาส่ัง ไมอ่ นุญาตใหจ้ าเลยยน่ื คาใหก้ ารไม่ได้ ดงั น้นั
ศาลจึงส่ังจาหน่ายคดีไดเ้ พราะเหตุที่โจทก์ไม่ย่ืนคาขอ ดงั กล่าวภายในระยะเวลาท่ีกาหนดไว้
(เทียบฎีกาที่ ๑๘๒๐/๒๕๓๐) การท่ีศาลนัดสืบพยานโจทก์ไวก้ ่อนจาเลยขาดนัดย่ืนคาให้การ
และได้สืบพยานโจทก์ไปบ้างแล้ว หามีผลลบล้างให้โจทก์ไม่ต้องปฏิบตั ิตามมาตรา ๑๙๘
วรรคหน่ึงไม่ (เทียบฎีกาที่ ๖๗๒/๒๕๒๖)

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๓๕

๔.๒ การส่ังจาหน่ายคดีจากสารบบความตามขอ้ ๔.๑ น้ันเป็ นดุลพินิจของศาล
มิใช่บทบังคบั โดยเคร่งครัด ดังน้ันหากโจทก์ย่ืนคาขอดงั กล่าวภายหลงั ๑๕วนั แล้ว แต่ขณะน้ัน
ศาลยงั มิได้มีคาส่ังจาหน่ายคดีโจทก์ ดังน้ี ศาลก็มีอานาจสั่งตามคาร้องของโจทก์ได้ (เทียบฎีกาท่ี
๔๙๘ - ๔๙๙/๒๕๐๙) หรือจะสั่งจาหน่ายคดีก็ได้ แต่ถ้าศาลสั่งจาหน่ายคดีจากสารบบความไปแล้ว
โจทกเ์ พ่งิ มายน่ื คาขอดงั กลา่ ว ดงั น้ี ศาลชอบท่ีจะยกคาขอน้นั เสีย (เทียบฎีกาท่ี ๑๖๗๐/๒๕๓๐)

๕. ทุกคร้ังท่ีจาเลยขาดนัดยื่นคาให้การ เช่น จาเลยขออนุญาตย่ืนคาให้การใหม่
และศาลอนุญาต แต่จาเลยไม่ย่ืนภายในกาหนด ดังน้ี โจทก์ต้องย่ืนคาขอให้ศาลส่ังว่าจาเลยขาดนัด
ยื่นคาให้การอีกตามขอ้ ๔ เสมอ แมศ้ าลจะส่ังนัดสืบพยานโจทก์ไวล้ ่วงหน้าก็ตาม ศาลก็สั่งจาหน่ายคดี
เพราะเหตทุ ่ีโจทกไ์ มย่ นื่ คาขอดงั กล่าวได้ (เทียบฎีกาท่ี ๒๔๓๘/๒๕๒๘, ๑๘๒๐/๒๕๓๐)

๖. ผลของคาส่ังจาหน่ายคดีโจทก์จากสารบบความคือโจทก์อุทธรณ์ฎีกาไดท้ นั ที
เพราะไม่ใช่คาส่งั ระหวา่ งพจิ ารณา (ฎีกาท่ี ๑๓๖๕/๒๕๓๐)

๗. คดีร้องขดั ทรัพย์ โจทกจ์ ะตอ้ งยน่ื คาใหก้ ารแกค้ าร้องขดั ทรัพยเ์ หมือนคดีธรรมดา
ในทางปฏิบตั ิศาลจะออกหมายเรียกโดยกาหนดเวลาให้โจทกย์ ่ืน คาให้การภายใน ๑๕ วนั ถา้ โจทก์
ไม่ยื่นคาให้การ ถือว่าโจทก์ขาดนดั ย่ืนคาให้การแกค้ าร้องขดั ทรัพย์ ผูร้ ้องขดั ทรัพยก์ ็ตอ้ งยื่นคาขอ
ต่อศาลภายใน ๑๕ วนั เพ่ือให้ศาลมีคาพิพากษาหรือคาส่ังช้ีขาดให้ตนเป็ นฝ่ ายชนะคดีโดยขาดนัด
ตามมาตรา ๑๙๘ วรรคหน่ึง เช่นเดียวกนั (เทียบฎีกาท่ี ๓๑๐/๒๕๒๓)

การสั่งคาขอของผูร้ ้องขดั ทรัพยใ์ นกรณีน้ี ให้ปฏิบตั ิเช่นเดียวกบั คดีธรรมดา
ในข้อ ๑.๒ ส่วนการท่ีศาลจะมีคาสั่งช้ีขาดคดีร้องขดั ทรัพยแ์ ละจะตอ้ งมีการสืบพยานหรือไม่
ใหป้ ฏิบตั ิตามขอ้ ๒.๑ และ ๒.๒ โดยอนุโลม

๘. กรณีที่จาเลยฟ้องแยง้ มาในคาให้การ ถา้ โจทก์ไม่ยื่นคาให้การแก้ฟ้องแยง้
ก็ถือว่าโจทก์ขาดนัดย่ืนคาให้การแกฟ้ ้องแยง้ มาตรา ๑๙๙ ฉ ให้นาบทบญั ญตั ิเร่ืองการขาดนัด
ยนื่ คาใหก้ ารมาใชบ้ งั คบั โดยอนุโลม

๒. การพพิ ากษาหรือมคี าสั่งชี้ขาดคดโี ดยขาดนัดยื่นคาให้การ (มาตรา ๑๙๘ ทวิ)

เม่ือจาเ ล ย ข าดนัดยื่นคาให้การและโจทก์ได้ย่ืนคาขอต่อศาลให้มีคาพิพากษาหรื อคาส่ังช้ ีขาด
ให้ตนเป็ นฝ่ ายชนะคดีโดยขาดนัดตามมาตรา ๑๙๘ วรรคหน่ึงแล้ว ศาลจะต้องมีคาพิพากษาหรือคาสั่ง
ช้ีขาดคดีโดยขาดนัดตามมาตรา ๑๙๘ ทวิ โดยไม่ชักช้า ซ่ึงตามปกติจะไม่ต้องมีการสืบพยานบุคคล
เวน้ แต่เป็ นคดีท่ีกฎหมายบังคับให้ต้องสืบพยาน หรือให้โจทก์ส่งพยานเอกสารแทนการสืบพยาน
หรือศาลเห็นสมควรใหส้ ืบพยานก่อนพิพากษาคดี

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๓๖

๒.๑ กรณีที่ไม่ตอ้ งมีการสืบพยาน ศาลมีอานาจพิพากษาหรือมีคาสั่งช้ีขาดคดีให้โจทก์
เป็ นฝ่ ายชนะไดท้ นั ที หากศาลพิจารณาคาฟ้องของโจทก์แลว้ เห็นว่ามีมูลและไม่ขดั ต่อกฎหมาย
แต่ถา้ มีปัญหาขอ้ กฎหมายอนั เก่ียวดว้ ยความสงบเรียบร้อยของประชาชน เช่น โจทก์ไม่มีอานาจฟ้อง
ฟ้องโจทก์เป็ นฟ้องซ้าหรือฟ้องซ้อน หรือโจทก์เรียกดอกเบ้ียเงินกู้เกินกว่าอตั ราที่กฎหมาย
กาหนด ฯลฯ ศาลมีอานาจหยิบยกข้ึนวินิจฉัยไดเ้ องและพิพากษายกฟ้องโจทก์ไดต้ ามมาตรา
๑๙๘ ทวิ วรรคหน่ึงตอนทา้ ย

๒.๒ กรณีที่มีการสืบพยาน แบง่ ออกเป็น ๒ กรณี
ก. กรณีที่ศาลเห็นสมควรให้สืบพยาน ไดแ้ ก่ คดีอ่ืน ๆ ท่ีกฎหมายไม่ไดบ้ งั คบั ให้ศาล

ตอ้ งสืบพยานหรือให้โจทกส์ ่งพยานเอกสารแทนการสืบพยาน แต่ศาลเห็นวา่ ตามคาฟ้องยงั มีขอ้ สงสัย
ไม่อาจวินิจฉัยถึงมูลคดีได้ ศาลก็มีอานาจสั่งใหส้ ืบพยานเกี่ยวกบั ขอ้ อา้ งของโจทก์หรือพยานหลกั ฐาน
อ่ืนไปฝ่ ายเดียวตามท่ีเห็นว่าจาเป็ นเพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรมตามมาตรา ๑๙๘ ทวิ วรรคสอง
ตอนตน้

ข. กรณีที่ศาลตอ้ งสืบพยานโจทกฝ์ ่ ายเดียว ไดแ้ ก่ คดีเกี่ยวดว้ ยสิทธิแห่งสภาพบุคคล
สิทธิในครอบครัวตามมาตรา ๑๙๘ ทวิ วรรคสองตอนทา้ ย คดีพิพาทเก่ียวด้วยกรรมสิทธ์ิ
ในอสงั หาริมทรัพย์ หรือคดีที่มีคาขอบงั คบั ใหช้ าระหน้ีเป็นเงินอนั ไม่อาจกาหนดจานวนไดโ้ ดย
แน่นอนตามมาตรา ๑๙๘ ทวิ วรรคสาม (๒) คดีดงั กล่าวน้ีศาลตอ้ งมีคาส่ังให้สืบพยานโจทกไ์ ป
ฝ่ายเดียว หรือจะเรียกพยานหลกั ฐานอ่ืนมาสืบไดเ้ องตามท่ีเห็นวา่ จาเป็นเพอ่ื ประโยชน์แห่งความ
ยตุ ิธรรมแลว้ จึงพพิ ากษาหรือมีคาสง่ั ไปตามรูปคดี

กรณีคาฟ้องท่ีมีคาขอบงั คบั ใหจ้ าเลยชาระหน้ีเป็ นเงินจานวนแน่นอนตามมาตรา
๑๙๘ ทวิ วรรคสาม (๑) กาหนดใหศ้ าลมีคาสง่ั ใหโ้ จทกส์ ่งพยานเอกสารตามที่ศาลเห็นวา่ จาเป็น
แทนการสืบพยาน

ข้อสังเกต
๑. การท่ีศาลจะทาการสืบพยานโจทก์ไปฝ่ ายเดียว หรือเรียกพยานหลกั ฐานอื่น
มาสืบเอง หรื อศาลจะมีคาพิพากษาหรื อคาสั่งช้ีขาดคดีโดยขาดนัดตามมาตรา ๑๙๘ ทวิ
ศาลจะตอ้ งแจง้ วนั นดั ดงั กล่าวให้จาเลยทราบ เพราะจาเลยจะไดใ้ ชส้ ิทธิขออนุญาตยื่นคาให้การ
ตามมาตรา ๑๙๙ วรรคหน่ึง หากจาเลยไม่ไดข้ ออนุญาตย่ืนคาให้การหรือศาลไม่อนุญาตใหย้ ่นื
คาให้การ จาเลยก็จะมีสิทธิถามคา้ นพยานโจทก์ไดต้ ามมาตรา ๑๙๙ วรรคสอง แต่จาเลยไม่มี
สิทธินาพยานของตนเขา้ สืบไม่ว่าจะเป็ นพยานบุคคลหรือพยานเอกสาร รวมท้งั ไม่มีสิทธิอา้ ง
ตนเองเป็นพยานดงั เช่นกฎหมายเก่า เวน้ แต่ จะไดม้ ีการกาหนดวนั นดั สืบพยานโจทกใ์ นนดั แรก

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๓๗

และแจง้ วนั นดั ให้จาเลยทราบล่วงหน้าแลว้ ก็ไม่ตอ้ งแจง้ วนั นัดให้จาเลยทราบอีก ซ่ึงจะตอ้ งมี
คาสั่งในคาฟ้องว่า “ให้นัดชีส้ องสถานและกาหนดแนวทางการดาเนินคดีหรือสืบพยานโจทก์
วนั ที่ . . . เวลา . . . น. หากจาเลยขาดนัดย่ืนคาให้การ ให้งดชีส้ องสถานและให้ถือวันนัดดงั กล่าว
เป็ นวันนัดสื บพยานโจทก์ แทน” (เทียบฎีกาที่ ๖๗๒๑/๒๕๔๔) และแจ้งให้จาเลย
ทราบนดั ต้งั แต่ช้นั ส่งหมายเรียกสาเนาฟ้อง

๒. ในวนั สืบพยานโจทกน์ ดั แรก หากเจา้ หนา้ ท่ีรายงานศาลวา่ โจทกไ์ ม่มาศาลสั่งวา่ “โจทก์
ไม่นาพยานหลักฐานมาสื บตามที่ศาลกาหนด ให้ ถือว่าคดีโจทก์ไม่มีมูลและพิพากษายกฟ้อง
ค่าฤชาธรรมเนียม เป็นพบั ”

คดีท่ีศาลยกฟ้องโจทก์เช่นน้ี โจทก์จะร้องขอให้พิจารณาคดีใหม่ ไม่ไดแ้ ละ
จะนาคดีมาฟ้องใหม่ไม่ได้ ถือว่าเป็ นฟ้องซ้า ฟ้องซ้อนหรือดาเนินกระบวนพิจารณาซ้าแลว้ แต่กรณี
เพราะศาลไดว้ นิ ิจฉยั ในประเดน็ อนั เป็นเน้ือหาแห่งคดีแลว้

๓. สาหรับจาเลยแมไ้ ม่มาศาลในวนั สืบพยานนัดแรก ก็ไม่ถือว่าจาเลยขาดนัด
พิจารณาตามมาตรา ๑๙๘ ทวิ วรรคส่ี

๔. การสืบพยานหรือการใหโ้ จทกส์ ่งพยานเอกสารตอ้ งปฏิบตั ิตามบทกฎหมายวา่
ดว้ ยพยานหลกั ฐาน เช่น ตอ้ งย่นื บญั ชีระบุพยาน ตอ้ งส่งสาเนาเอกสารใหจ้ าเลย ตอ้ งรับฟังแต่
ตน้ ฉบบั เอกสาร จาเลยมีสิทธิคดั คา้ นว่าเอกสารไม่ถูกตอ้ งหรือเป็ นเอกสารปลอมไดแ้ ละตอ้ งเสีย
ค่าอา้ งเอกสาร

๕. คดีเก่ียวดว้ ยสิทธิแห่งสภาพบุคคล ไดแ้ ก่ คดีท่ีมีประเด็นแห่งคดีที่ตอ้ งวินิจฉยั
ถึงสิทธิแห่งสภาพบุคคลตาม ป.พ.พ. บรรพ ๑ ลกั ษณะ ๒ เช่น คดีพิพาทว่าโจทก์เป็ นผูม้ ี
สัญชาติไทย หรือคนต่างดา้ ว (ฎีกาที่ ๑๔๖๓/๒๔๙๖) คดีที่ขอให้ศาลมีคาส่ังให้บุคคลวิกลจริต
เป็นคนไร้ความสามารถและต้งั ผอู้ นุบาล (ฎีกาท่ี ๑๑๘๒/๒๕๑๑)

คดีเก่ียวดว้ ยสิทธิในครอบครัว ไดแ้ ก่คดีที่มีประเด็นแห่งคดีที่ตอ้ งวินิจฉยั ถึง
สิทธิในครอบครัวตาม ป.พ.พ. บรรพ ๕ เร่ืองการสมรส บิดามารดากบั บุตร บุตรบุญธรรม
รวมถึงการใชส้ ิทธิ เรียกค่าอุปการะเล้ียงดู ค่าทดแทนและค่าเล้ียงชีพ (ฎีกาที่ ๒๙๙๕/๒๕๔๐)
คดีฟ้องเรียกค่าทดแทนจากชายชูห้ รือหญิงอื่นที่แสดงตนวา่ มีความสัมพนั ธ์กบั สามีในทานองชูส้ าว
ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๕๒๓ (คาส่ังคาร้องศาลฎีกาท่ี ๒๔๔/๒๕๔๕) แต่ไม่รวมถึงเรื่องการ
ผิดสัญญาหม้ัน ซ่ึงถือว่าไม่เกี่ยวกับสิทธิในครอบครัว (ฎีกาท่ี ๙๓๔๒/๒๕๓๘ และคาสั่ง
คาร้องศาลฎีกาที่ ๑๓๓๐/๒๕๓๕)

๖. คดีพิพาทเกี่ยวดว้ ยกรรมสิทธ์ิในอสังหาริมทรัพย์ ไดแ้ ก่คดีท่ีมีประเด็นแห่งคดี
ที่ตอ้ งวนิ ิจฉยั ในเร่ืองกรรมสิทธ์ิในอสงั หาริมทรัพยต์ าม ป.พ.พ. บรรพ ๔ ลกั ษณะ ๒ กรรมสิทธ์ิ

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๓๘

หมวด ๑ การไดม้ าซ่ึงกรรมสิทธ์ิ หมวด ๒ แดนกรรมสิทธ์ิและการใชก้ รรมสิทธ์ิ หมวด ๓
กรรมสิทธ์ิรวม คดีที่อา้ งกรรมสิทธ์ิในอสังหาริมทรัพยโ์ ดยการครอบครองปรปักษ์ คดีฟ้อง
บงั คบั ให้ส่งมอบอสังหาริมทรัพย์ โดยอา้ งกรรมสิทธ์ิหรือสิทธิตามสัญญา รวมท้งั คดีท่ีอา้ งสิทธิ
ความเป็นเจา้ ของในที่ดินที่ไมม่ ีโฉนด หรือที่ดินมือเปลา่ ซ่ึงมีแต่เพยี งสิทธิครอบครอง

คดีฟ้องขบั ไล่ผูเ้ ช่า ผอู้ าศยั เม่ือจาเลยขาดนดั ยืน่ คาให้การจึง ไม่มีขอ้ โตแ้ ยง้
เร่ืองกรรมสิทธ์ิ คดีฟ้องบังคบั จานองอสังหาริมทรัพย์ คดีฟ้องขอให้เปิ ดทางภาระจายอม
คดีฟ้องเรียกโฉนดที่ดินจากผูท้ ่ีไม่มีสิทธิยึดถือไวเ้ หล่าน้ี มิใช่คดีพิพาทเกี่ยวดว้ ยกรรมสิทธ์ิ
ในอสงั หาริมทรัพย์

๗. คดีท่ีโจทกม์ ีคาขอบงั คบั ใหช้ าระหน้ีเป็นเงินจานวนแน่นอน ไดแ้ ก่ คดีที่โจทก์
ฟ้องบงั คับให้จาเลยชาระหน้ีตามสัญญากู้ ค้าประกัน จานอง ตัว๋ เงิน ช้ือขาย เช่าทรัพย์
บตั รเครดิต บญั ชีเดินสะพดั

ส่วนคดีที่โจทก์มีคาขอบงั คบั ให้ชาระหน้ีเป็ นเงินอนั ไม่อาจกาหนดจานวนได้
โดยแน่นอน ไดแ้ ก่ คดีที่โจทกฟ์ ้องเรียกค่าเสียหายในมลู ละเมิด หรือผิดสญั ญาหรือเรียกเบ้ียปรับ

กรณีเป็นคดีที่มีคาขอใหช้ าระหน้ีท่ีเป็นเงินจานวนแน่นอนและไม่อาจกาหนด
จานวนไดโ้ ดยแน่นอนรวมกนั มา ศาลควรส่ังให้โจทก์ส่งพยานเอกสารและสืบพยานโจทก์ไป
ฝ่ายเดียวสาหรับหน้ีเงินอนั ไม่อาจกาหนดจานวนไดโ้ ดยแน่นอน

๘. ในวนั นัดสืบพยานโจทก์ตามมาตรา ๑๙๘ ทวิ ถ้าจาเลยทราบนัดโดยชอบ
แต่ไม่มาศาล หากศาลสืบพยานโจทก์ไม่เสร็จหรือมีเหตุตอ้ งเล่ือนคดีไปอนั เน่ืองมาจากโจทก์
ศาลตอ้ งหมายแจง้ วนั นดั สืบพยานโจทก์ (ฝ่ ายเดียว) ที่เล่ือนมาใหจ้ าเลยทราบโดยวิธีปิ ดประกาศ
หนา้ ศาลหรือจะมีคาส่งั ใหโ้ จทกน์ าส่งหมายแจง้ วนั นดั ใหจ้ าเลยทราบกไ็ ด้

๓. การพิพากษาหรือมีคาส่ังชี้ขาดคดีโดยขาดนัดย่ืนคาให้การ ในคดีที่มีจาเลยหลายคน

(มาตรา ๑๙๘ ตรี)

๓.๑ ในคดีท่ีมีจาเลยหลายคน การขาดนดั ยื่นคาให้การเป็ นไปเฉพาะตวั จาเลยแต่ละคน
จาเลยคนหน่ึงจะยน่ื คาให้การเพ่ือจาเลยอีกคนหน่ึงไม่ได้ และจะถือเอาคาให้การของจาเลยอีกคนหน่ึง
มาเป็นคาใหก้ ารของตนไมไ่ ด้ ( ฎีกาท่ี ๒๔๗๔/๒๕๓๐, ๔๗๑๕/๒๕๓๐, ๑๕๓๔/๒๕๓๖ )

๓.๒ คดีท่ีมีจาเลยหลายคน เหตุท่ีศาลจะมีคาส่ังจาหน่ายคดีออกเสียจากสารบบความ
เพราะโจทกไ์ ม่ไดย้ น่ื คาขอให้ศาลมีคาพิพากษาหรือคาส่ังช้ีขาดใหโ้ จทก์เป็ นฝ่ ายชนะคดีโดยขาดนดั
ตามมาตรา ๑๙๘ วรรคสอง ไม่จาตอ้ งเกิดข้ึนแก่จาเลยทุกคนในคดีเสมอไป กรณีอาจเกิดข้ึนแก่จาเลย
เป็ นรายบุคคลก็ได้ ในกรณีที่เหตุดงั กล่าวเกิดข้ึนแก่จาเลยในคดีเป็ นรายบุคคล ศาลจะมีคาส่ังให้

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๓๙

จาหน่ายคดีเฉพาะจาเลยรายท่ีโจทกไ์ ม่ยื่นคาขอต่อศาลภายในกาหนดเวลาดงั กล่าวเท่าน้นั เพราะถือวา่
โจทก์ไม่ประสงค์จะดาเนินคดีแก่จาเลยรายน้ันต่อไป ศาลจะส่ังจาหน่ายคดีท้งั คดีออกเสียจาก
สารบบความหาไดไ้ ม่ ( ฎีกาที่ ๖๐๕๓/๒๕๓๙ )

๓.๓ คดีที่มีจาเลยหลายคน จาเลยบางคนขาดนดั ยน่ื คาให้การ ศาลจะตอ้ งดาเนินกระบวน
พิจารณาแบบการพิจารณาและพิพากษาโดยขาดนัดยื่นคาให้การ ส่วนจาเลยที่ยื่นคาให้การ
ศาลจะตอ้ งดาเนินกระบวนพิจารณาโดยวิธีพิจารณาแบบสามญั ซ่ึงจาเลยที่ยนื่ คาใหก้ ารน้ีอาจจะ
มีการขาดนดั พจิ ารณาได้

๓.๔ คดีท่ีมีจาเลยหลายคนและจาเลยบางคนขาดนดั ยน่ื คาใหก้ าร แบง่ ออกได้ ๒ กรณี
ก. กรณีมลู ความแห่งคดีน้นั เป็นการชาระหน้ีซ่ึงแบ่งแยกจากกนั ได้
(๑) หากคดีท่ีจาเลยบางคนขาดนัดยื่นคาให้การน้ัน ไม่มีการสืบพยานหรือ

โจทกไ์ มต่ อ้ งส่งเอกสารแทนการสืบพยาน ศาลมีอานาจพิพากษาหรือมีคาสง่ั ช้ีขาดคดีโดยขาดนดั
ระหว่างโจทกก์ บั จาเลยท่ีขาดนดั ยืน่ คาให้การตามมาตรา ๑๙๘ทวิ ไปก่อน และดาเนินการพิจารณาคดี
ระหวา่ งโจทกก์ บั จาเลยท่ียน่ื คาให้การต่อไปโดยวิธีพิจารณาแบบสามญั (มาตรา๑๙๘ตรี วรรคหน่ึง
ตอนตน้ )

(๒) เพื่อความสะดวกในการพิจารณา ควรออกเลขคดีแดงในสานวนเดิม
และแยกถ้อยคาสานวนในคดีที่จาเลยยื่นคาให้การไปต้ังสานวนใหม่โดยออกเลขคดีดาใหม่
ซ่ึงเป็นเร่ืองการจดั การสานวนคดีในทางธุรการของศาล ( เทียบฎีกาที่ ๘๑๑/๒๕๓๘)

(๓) ถา้ คดีท่ีจาเลยบางคนขาดนดั ยนื่ คาใหก้ ารน้นั จะตอ้ งมีการสืบพยานโจทก์
ไปฝ่ ายเดียวตามมาตรา ๑๙๘ ทวิ วรรคสองหรือวรรคสามแลว้ ศาลก็ตอ้ งดาเนินการสืบพยานไป
ตามบทบญั ญตั ิของมาตรา ๑๙๘ ทวิ และหากจาเลยท่ีขาดนัดย่ืนคาให้การน้ีไม่มาศาลในวนั
สืบพยานโจทกก์ ็ไม่ถือวา่ จาเลยน้ีขาดนดั พจิ ารณา

ข. กรณีมลู ความแห่งคดีน้นั เป็นการชาระหน้ีซ่ึงแบง่ แยกจากกนั มิได้ เช่น คดีที่โจทก์
ฟ้องจาเลยหลายคนให้ร่วมกันรับผิดอย่างลูกหน้ีร่วม คดีที่โจทก์ฟ้องลูกหน้ีช้ันต้นกับ
ผูค้ ้าประกัน คดีที่โจทก์ฟ้องให้จาเลยท่ี ๑ซ่ึงเป็ นลูกจา้ งและจาเลยที่ ๒ ซ่ึงเป็ นนายจา้ งให้ร่วมรับผิด
ในมลู ละเมิดท่ีลกู จา้ งไดก้ ระทาไปในทางการที่จา้ ง

(๑) ศาลจะต้องรอการพิพากษาคดีระหว่างโจทก์กับจาเลยท่ีขาดนัดย่ืน
คาใหก้ ารไวก้ ่อน และดาเนินการพจิ ารณาสาหรับจาเลยที่ยน่ื คาให้การตามวิธีพิจารณาแบบสามญั
หรือพิจารณาคดีโดยขาดนัดพิจารณา หากมีกรณีที่คู่ความไม่มาศาลในวนั สืบพยาน แล้วมี
คาพิพากษาหรือคาส่งั ช้ีขาดคดีสาหรับจาเลยทกุ คน

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๔๐

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ ๘๑๒๒/๒๕๔๘ โจทก์ฟ้องขอให้จาเลยท้งั สอง
ร่วมกันรับผิดในมูลความแห่งคดีอนั เป็ นการชาระหน้ีซ่ึงแบ่งแยกจากกนั มิได้ แม้จาเลยที่ ๑
จะมิไดย้ กอายคุ วามข้ึนต่อสู้เพราะขาดนดั ยื่นคาให้การ แต่จาเลยท่ี ๒ ไดใ้ หก้ ารต่อสู้ในเรื่องน้ีไว้
การดาเนินกระบวนพิจารณาซ่ึงทาโดยจาเลยที่ ๒ จึงถือว่าไดท้ าโดยจาเลยที่ ๑ ดว้ ย ตาม ป.วิ.พ.
มาตรา ๕๙ (๑) เมื่อศาลพิจารณาคดีระหว่างโจทก์กับจาเลยที่ ๒ ซ่ึงยื่นคาให้การเสร็จแล้ว
และไดค้ วามว่าคดีของโจทก์ขาดอายุความ ศาลย่อมมีอานาจพิพากษาให้มีผลถึงจาเลยที่ ๑ ได้
และคาพิพากษาศาลฎีกาท่ี ๔๐๗๒/๒๕๔๕ ตดั สินวา่ แมจ้ าเลยที่ ๔ ซ่ึงเป็ นผูค้ ้าประกนั ไม่ไดย้ ก
อายุความข้ึนเป็ นขอ้ ต่อสู้ในคาให้การ แต่เมื่อจาเลยที่ ๑ ซ่ึงเป็ นลูกหน้ีและจาเลยท่ี ๓ ซ่ึงเป็ น
ผู้ค้าประกันให้การยกอายุความข้ึนต่อสู้แล้ว และคดีน้ีมีมูลความแห่งคดีเป็ นการชาระหน้ี
ซ่ึงแบ่งแยกจากกนั มิได้ การยกอายุความข้ึนต่อสู้ของจาเลยท่ี ๑ และท่ี ๓ จึงถือไดว้ ่าเป็ นการ
ทาแทนจาเลยท่ี ๔ ดว้ ย ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๕๙ (๑) ดงั น้ัน จาเลยที่ ๔ จึงมีสิทธิฎีกาในประเด็น
เรื่องอายคุ วาม และศาลฎีกามีอานาจวินิจฉยั

(๒) หากจาเลยที่ยน่ื คาใหก้ ารไม่มาศาลในวนั สืบพยาน ถือวา่ ขาดนดั พจิ ารณา
แต่จาเลยท่ีขาดนดั ยื่นคาให้การน้นั แมไ้ ม่มาศาลในวนั สืบพยานของคู่ความอื่นก็ไม่ถือวา่ จาเลย
น้นั ขาดนดั พจิ ารณาอีก (มาตรา ๑๙๘ ตรี วรรคสอง)

๔. จาเลยทีข่ าดนัดยื่นคาให้การขออนุญาตย่ืนคาให้การ (มาตรา ๑๙๙)

๔.๑ จาเลยท่ีขาดนดั ยืน่ คาให้การ มีสิทธิท่ีจะขออนุญาตยน่ื คาใหก้ ารไดต้ ามมาตรา ๑๙๙
วรรคหน่ึง โดยจาเลยตอ้ งมาศาลก่อนศาลวินิจฉัยช้ีขาดคดีและแจง้ ต่อศาลในโอกาสแรกว่าตน
ประสงคจ์ ะต่อสู้คดี เช่น กรณีจาเลยมาศาลในวนั นดั ฟังคาพิพากษาแต่ก่อนศาลอ่านคาพพิ ากษา
ถือว่าจาเลยมาศาลก่อนศาลวินิจฉัยช้ีขาดคดี (เทียบฎีกาที่ ๓๙๓๓/๒๕๒๙) หากมาศาลแล้ว
ปล่อยให้ศาลสืบพยานโจทก์ไปจนเสร็จจึงมาแจง้ ถือว่าพน้ เวลาแล้ว (เทียบฎีกาที่ ๑๘๖๕/
๒๕๑๗,๑๔๓๕/๒๕๒๑)

๔.๒ การแจง้ ต่อศาลกฎหมายไม่ไดบ้ ญั ญตั ิให้ทาเป็ นคาร้องอาจทาดว้ ยวาจาได้ (เทียบ
ฎีกาที่ ๓๗๘/๒๕๐๓) แต่ทางปฏิบตั ิจาเลยมกั จะทาเป็นคาร้องยน่ื พร้อมกบั คาใหก้ าร

๔.๓ เหตุที่อา้ งมี ๒ ประการ คือ การขาดนดั มิไดเ้ ป็ นไปโดยจงใจอยา่ งหน่ึงหรือมีเหตุ
อนั สมควร อีกอย่างหน่ึง หากเขา้ เหตุอย่างใดอย่างหน่ึงศาลก็ส่ังอนุญาตได้ (ฎีกาท่ี ๔๖๘/
๒๕๓๙)

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๔๑

๔.๔ เมื่อจาเลยยื่นคาร้องต่อศาลแลว้ เป็นอานาจของศาลท่ีจะไต่สวนก่อนมีคาสั่งหรือไม่
ก็ได้ หากขอ้ เท็จจริงตามคาร้องเพียงพอต่อการวินิจฉัย ศาลมีอานาจออกคาสั่งไดโ้ ดยไม่ตอ้ ง
ไต่สวน (เทียบฎีกาที่ ๒๑๗๑/๒๕๒๓ และ ๒๖๗๔/๒๕๓๕) แต่หากจะตอ้ งไตส่ วนใหส้ ัง่ ในคาร้อง
ของจาเลยวา่

“สาเนาให้โจทก์ นัดไต่สวน (หากมีการนัดสืบพยานโจทก์ไว้ก่อนแล้ว ให้ส่ังงด
สืบพยานโจทก์ด้วย)”

หากถึงวนั นดั ไต่สวน โจทก์ไม่คดั คา้ น กรณีไม่จาตอ้ งไต่สวน ศาลอนุญาตไดเ้ ลย
(ฎีกาที่ ๑๓๓๐/๒๕๓๘) และใหจ้ ดรายงานกระบวนพิจารณาวา่

“นัดไต่สวนคาร้ องของจาเลยขออนุญาตยื่นคาให้การ ทนายโจทก์ ทนายจาเลยมาศาล
ทนายโจทก์แถลงว่า โจทก์ไม่คัดค้านท่ีจาเลยอ้างว่าขาดนัดยื่น คาให้การโดยไม่จงใจ จึงให้งดไต่สวน
พิเคราะห์ คาร้ องของจาเลยประกอบกับคาแถลงของโจทก์แล้ว ข้อเท็จจริ งฟังได้ว่า การขาดนัด
ย่ืนคาให้การของจาเลยมิได้เป็ นไปโดยจงใจ (หรือมีเหตุสมควร) จึงอนุญาตให้จาเลยย่ืนคาให้การ
เนื่องจากจาเลยยื่น คาให้การเข้ามาแล้วจึงมีคาส่ังรับคาให้การจาเลย สาเนาให้ โจทก์ นัดชีส้ องสถาน
วันท่ี . . . หรือนัดสืบพยาน . . . . . . .วันที่ . . . หรือจึงให้จาเลยยื่นคาให้การภายใน . . . วัน และ
นัดชีส้ องสถาน วนั ท่ี . . . หรือนดั สืบพยาน. . . .วนั ที่ . . . ”

๔.๕ กรณีที่จาเลยยนื่ คาร้องขออนุญาตยนื่ คาใหก้ ารใกลก้ บั วนั นดั สืบพยานโจทกจ์ นไม่อาจ
นดั ไต่สวนทนั ถึงวนั นดั จดรายงานกระบวนพจิ ารณาวา่

“นดั สืบพยานโจทก์ ทนายโจทก์ จาเลย และทนายจาเลยมาศาล
ทนายโจทก์ได้รับสาเนาคาร้ องขออนุญาตยื่นคาให้การของจาเลยแล้ว แถลงคัดค้านว่า
จาเลยขาดนัดโดยจงใจและไม่มเี หตสุ มควร
จึงให้งดสืบพยานโจทก์ไว้ก่อน และนดั ไต่สวนคาร้องของจาเลยวนั ท่ี . . .”

๔.๖ กรณีที่จาเลยย่ืนคาร้องขออนุญาตยื่นคาให้การโดยอา้ งว่าการขาดนัดมิได้เป็ นไป
โดยจงใจ ถึงวนั นดั ไต่สวนจาเลยไมม่ าศาล จดรายงานกระบวนพจิ ารณาวา่

“ . . . จาเลยไม่มีพยานหลักฐานมาสนับสนุนคาร้ องของจาเลยให้ ฟังได้ว่า
การขาดนัดยื่นคาให้ การของจาเลยมิได้เป็ นไปโดยจงใจ (หรือมีเหตุสมควร) จึงยกคาร้ อง
นัดสืบพยานโจทก์วันที่ . . . หมายนัดจาเลย ส่งไม่ได้ให้ปิ ดหมาย”

ข้อสังเกต
๑. คาสั่งศาลที่อนุญาตหรือไม่อนุญาตใหจ้ าเลยยนื่ คาให้การเป็นคาส่งั ระหวา่ ง
พิจารณา (ฎีกาท่ี ๑๑๙๖/๒๕๒๗, ๒๑๙๖/๒๕๓๓)

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๔๒

๒. กรณีที่ถือวา่ จาเลยจงใจขาดนดั ยนื่ คาใหก้ ารหรือไม่มีเหตอุ นั สมควร เช่น
- การหลงลืมจาวนั รับหมายผิด (ฎีกาที่ ๒๖๘/๒๕๐๖)
- การเพิกเฉยไม่เอาใจใส่ตอ่ คดี (ฎีกาท่ี ๔๑๓/๒๕๐๘)
แมใ้ นคาฟ้องและหมายเรียกจะระบุว่าจาเลยช่ือนางสุดจารีย์ อนั เป็ นการ

ผิดพลาดเพราะจาเลยชื่อนางสุดจารีก็ไม่ทาให้คาฟ้องเสียไป เพราะเป็ นการสะกดการันต์
ผิดพลาดเลก็ นอ้ ย และท่ีบา้ นจาเลยไม่มีบุคคลอ่ืนท่ีมีชื่อว่านางสุด-จารีย์ อนั จะทาใหเ้ ขา้ ใจผิดไป
ไดแ้ ละปรากฏด้วยว่า การที่จาเลยหาเหตุที่ฟ้องของโจทก์สะกดการันต์ช่ือจาเลยไม่ถูกต้อง
เจา้ พนกั งานศาลปิ ดหมายเรียก ซ่ึงจาเลยยงั มีเวลายื่นคาให้การไดห้ ลงั กลบั จากต่างประเทศแลว้
การท่ีจาเลยไมย่ นื่ คาใหก้ ารโดยจงใจและมีการปิ ดหมายนดั ไวท้ ี่บา้ นจาเลย จึงตอ้ งถือวา่ ไดม้ ี การ
ส่งหมายกาหนดวนั สืบพยานให้จาเลยทราบโดยชอบแลว้ เช่นเดียวกนั การท่ีจาเลยไม่มาศาลจึง
ถือว่าจาเลยขาดนัดพิจารณาโดยจงใจ ย่อมไม่มีเหตุที่จะขอให้พิจารณาใหม่ได้ (ฎีกาที่ ๗๔๔/
๒๕๒๖)

จาเลยมอบหมายเรียกสาเนาคาฟ้องและใบแต่งทนายความให้คนขบั รถบรรทุก
ขา้ วของจาเลยนาไปให้ทนายความที่กรุงเทพฯ ก่อนครบ ๒ วนั รถเสียกลางทางตอ้ งซ่อมจนพน้
กาหนดเป็ นความบกพร่องและความผิดของจาเลยโดยจงใจและไม่มีเหตุอนั สมควร (ฎีกาท่ี
๒๘๘๘-๒๘๘๙/๒๕๓๑)

จาเลยเขา้ ใจว่าจาเลยคนอ่ืนที่ถูกฟ้องร่วมกนั จะย่ืนคาให้การแทน (ฎีกาท่ี
๒๐๓๓/๒๕๓๔)

จาเลยมีถิ่นท่ีอยู่หลายแห่ง เจา้ พนกั งานศาลส่งหมายเรียกและสาเนาคาฟ้อง
ณ ภูมิลาเนาแห่งหน่ึงโดยภริยารับหมายแทน (ฎีกาท่ี ๓๙/๒๕๓๕)

๓. กรณีถือวา่ ไม่จงใจหรือมีเหตุอนั สมควร เช่น
จาเลยอยู่นอกประเทศ โจทก์ฟ้องจาเลยโดยประกาศทางหนังสือพิมพ์แทน

การส่งหมายและสาเนาฟ้องเพราะไม่ทราบท่ีอยู่ จาเลยทราบว่าถูกฟ้องก็ขอหนังสือเดินทาง
จึงเดินทางเขา้ มาได้ ๖วนั ก็ขอยน่ื คาใหก้ ารไม่ถือวา่ จงใจขาดนดั ยน่ื คาใหก้ าร(ฎีกาที่ ๖๗๘/๒๔๘๖)

ศาลสั่งใหโ้ จทกส์ ่งสัญญากูใ้ ห้จาเลยดูก่อนจาเลยให้การ วนั ท่ีศาลกาหนดให้
โจทกส์ ่งเป็ นวนั ครบกาหนดจาเลยยื่นคาใหก้ ารโจทก์ส่งสัญญากูช้ า้ ไป ๓ วนั ต่อมาอีก ๒ วนั จาเลย
ยนื่ คาใหก้ าร ไม่เรียกวา่ จาเลยจงใจขาดนดั ยนื่ คาใหก้ าร (ฎีกาที่ ๙๕๐/๒๔๙๗)

ศาลส่งหมายเรียกและสาเนาฟ้องใหจ้ าเลยไมไ่ ด้ จึงประกาศทางหนงั สือพิมพ์
ซ่ึงกาหนดให้จาเลยย่ืนคาให้การในวนั ที่ ๙ พฤษภาคม ๒๔๙๒ จาเลยกลับมารับสาเนาฟ้องและ
หมายเรียกไปจากศาลเองวนั ที่ ๒๓ เมษายน ๒๔๙๒ แลว้ เพ่ิงมายื่นคาให้การเม่ือวนั ท่ี ๙ พฤษภาคม

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๔๓

๒๔๙๒ ดงั น้ี แมเ้ กินกาหนด ๘ วนั แต่จาเลยเขา้ ใจโดยสุจริตว่าย่ืนคาให้การไดถ้ ึงวนั ที่ ๙ พฤษภาคม
๒๔๙๒ ตามกาหนดในประกาศ จาเลยมิไดจ้ งใจขาดนดั ยน่ื คาใหก้ าร (ฎีกาที่ ๑๗๙๘/๒๔๙๔)

การส่งหมายเรียกและสาเนาคาฟ้องโดยปิ ดไวท้ ี่สานักงานจาเลย แม้เป็ น
การส่งโดยชอบ แตจ่ าเลยไมท่ ราบเพราะไปตรวจกิจการทางภาคใตข้ องนายจา้ งเพ่ิงกลบั มาทราบ
เม่ือพน้ กาหนดยน่ื คาใหก้ ารแลว้ ดงั น้ี ท่ีจาเลยมิไดย้ นื่ คาใหก้ ารภายในกาหนดจึงเป็นการขาดนดั
โดยไมจ่ งใจ (ฎีกาที่ ๒๔๒๒/๒๕๒๕)

จาเลยตายก่อนครบกาหนดยนื่ คาใหก้ าร กรณียอ่ มมีเหตุท่ีจะตอ้ งเลื่อนกาหนด
ย่ืนคาให้การไป เพ่ือให้ผทู้ ่ีเขา้ เป็ นคู่ความแทนไดย้ ่ืนคาให้การภายในเวลาอนั สมควร การเพิกถอน
คาส่งั ขาดนดั ยน่ื คาใหก้ ารของศาลช้นั ตน้ จึงชอบแลว้ (ฎีกาท่ี ๒๘๙๐/๒๕๒๙)

๔. พยานหลกั ฐานในช้นั ไต่สวนคาร้องขออนุญาตยื่นคาให้การไม่ใช่พยานหลักฐาน
สนับสนุนขอ้ อา้ งหรือขอ้ เถียงตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๘๘ ดงั น้ัน จึงไม่ตอ้ งย่ืนบญั ชีระบุพยาน
(เทียบฎีกาท่ี ๑๙๒/๒๕๑๗)

๕. กรณีที่ศาลช้นั ตน้ มีคาสั่งว่า การขาดนัดย่ืนคาให้การของจาเลยเป็ นไปโดยจงใจ
และใหย้ กคาร้องขออนุญาตยนื่ คาใหก้ ารและตอ่ มาไดม้ ีคาพพิ ากษา จาเลยยน่ื อุทธรณ์ขอใหม้ ีคาสัง่ ให้
ศาลช้นั ตน้ รับคาให้การและให้ดาเนินกระบวนพิจารณาใหม่ต้งั แต่วนั ท่ีจาเลยขาดนัดยื่นคาให้การ
ต่อมาศาลอุทธรณ์มีคาพิพากษายืนตามศาลช้นั ตน้ ที่ไม่อนุญาตให้จาเลยยื่นคาให้การ คาพิพากษา
ศาลอุทธรณ์ดงั กล่าวไม่เป็ นที่สุดตามมาตรา ๑๙๙ เบญจ วรรคส่ี เพราะกรณีดงั กล่าวไม่ไดใ้ ชส้ ิทธิ
ขอใหพ้ ิจารณาคดีใหม่ ดงั น้นั จึงยนื่ ฎีกาได้ (เทียบคาส่งั คาร้องศาลฎีกาที่ ๒๑๑๕/๒๕๔๖ประชุม
ใหญ)่

๖. ถา้ จาเลยท่ีขาดนัดยื่นคาให้การมาศาล แต่ไม่ไดแ้ จง้ ต่อศาลก็ดี หรือศาลเห็นว่า
การขาดนัดย่ืนคาให้การน้ันเป็ นไปโดยจงใจหรือไม่มีเหตุอนั สมควรก็ดี มาตรา ๑๙๙ วรรคสอง
กาหนดให้ศาลดาเนินกระบวนพิจารณาต่อไป โดยจาเลยจะนาสืบพยานหลกั ฐานของตนไม่ได้
แตถ่ ามคา้ นพยานโจทกท์ ี่อยรู่ ะหวา่ งการสืบพยานได้

ก. การที่พยานโจทก์ไม่ตอบคาถามคา้ น หรือไม่ไดเ้ บิกความรับรองเอกสาร
ประกอบการถามค้านของฝ่ ายจาเลย ถ้าจาเลยขอส่ งเอกสารน้ันเป็ นพยาน ถือว่าจาเลย
นาพยานหลกั ฐานของตนเขา้ สืบอนั เป็นการฝ่ าฝื นมาตรา ๑๙๙ วรรคสอง พยานเอกสารท่ีจาเลยอา้ งส่ง
น้นั จึงตอ้ งหา้ มมิใหร้ ับฟัง (เทียบฎีกาที่ ๒๔๔๓/๒๕๓๘ , ๖๕๕๗/๒๕๓๙) แตห่ ากพยานโจทกต์ อบ
คาถามคา้ นหรือเบิกความรับรองเอกสารของจาเลย การที่จาเลยขออา้ งส่งเอกสารน้นั เป็ นพยาน ถือวา่
เป็นเอกสารประกอบการถามคา้ น ศาลยอ่ มรับฟังได้ (เทียบฎีกาที่ ๙๖๗๖/๒๕๓๙)

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๔๔

ข. การถามคา้ นของฝ่ ายจาเลยก็เพื่อเป็ นการหักลา้ งพยานหลกั ฐานของโจทก์
เท่าน้ัน จะต้งั ประเด็นขอ้ พิพาทข้ึนมาไม่ได้ ประเด็นขอ้ พิพาทสาหรับคดีที่จาเลยขาดนัดยื่น
คาใหก้ ารคงเกิดจากคาฟ้องเท่าน้นั (เทียบฎีกาท่ี ๗๐๑๖/๒๕๓๘,๖๔๖๙/๒๕๓๙)

ค. จาเลยจะใช้สิทธิถามคา้ นตามมาตรา๑๙๙วรรคสองหรือไม่ก็ได้ หากศาลไม่ได้
สอบถามว่าจาเลยจะใชส้ ิทธิดงั กล่าวหรือไม่ ถือไม่ไดว้ า่ เป็ นการดาเนินกระบวนพิจารณาที่ไม่ชอบ
(เทียบฎีกาที่ ๖๑๖๕/๒๕๓๘)

๕. จาเลยท่ขี าดนัดย่ืนคาให้การขอพจิ ารณาคดใี หม่ (มาตรา ๑๙๙ ตรี และมาตรา ๑๙๙ จตั วา)

๕.๑ จาเลยที่ขาดนัดย่ืนคาให้การมีสิทธิขอพิจารณาคดีใหม่ได้ต่อเม่ือศาลมีคาพิพากษา
หรือคาส่งั ช้ีขาดใหแ้ พค้ ดีตามมาตรา ๑๙๙ ตรี ภายใตเ้ ง่ือนไขดงั ตอ่ ไปน้ี

๕.๑.๑ จาเลยท่ีขอให้พิจารณาคดีใหม่จะต้องไม่ยื่นอุทธรณ์คัดคา้ นคาพิพากษา
หรือคาส่งั ที่ใหจ้ าเลยแพค้ ดี

๕.๑.๒ จาเลยที่ขอให้พิจารณาคดีใหม่น้ันจะตอ้ งไม่เขา้ ขอ้ ห้ามตามมาตรา ๑๙๙ ตรี
(๑) หรือ (๒) ไดแ้ ก่

๑. ศาลเคยมีคาสั่งใหพ้ ิจารณาคดีน้นั ใหม่มาคร้ังหน่ึงแลว้ (มาตรา ๑๙๙ ตรี (๑))
คือ จาเลยท่ีขาดนดั ย่นื คาให้การ ศาลพิพากษาใหแ้ พค้ ดี จาเลยขอพิจารณาคดีใหม่ ศาลอนุญาต
และกาหนดเวลาให้จาเลยยื่นคาให้การ แต่จาเลยไม่ยื่นคาให้การและกลบั ขาดนัดอีก เมื่อศาล
พิพากษาใหแ้ พค้ ดีเป็ นคร้ังที่สอง จาเลยจะขอใหพ้ จิ ารณาคดีใหม่ไม่ได้ ไม่ว่าจาเลยจะมิไดจ้ งใจ
ขาดนดั หรือกรณีมีเหตสุ มควรกต็ าม

๒. คาขอให้พิจารณาคดีใหม่ตอ้ งห้ามตามกฎหมาย (มาตรา ๑๙๙ ตรี (๒))
ไดแ้ ก่ จาเลยที่ขาดยน่ื คาใหก้ ารที่เขา้ เหตตุ ามมาตรา ๑๙๙ วรรคสาม แบ่งออกเป็น ๒ ประเภท

(๑) จาเลยที่ขาดนดั ย่ืนคาให้การไดใ้ ชส้ ิทธิขออนุญาตย่ืนคาให้การตาม
มาตรา ๑๙๙ วรรคหน่ึง ซ่ึงศาลอนุญาตและกาหนดเวลาให้ยื่นคาให้การแต่จาเลยน้ีไม่ยื่นคาให้การ
กลบั ขาดนัดอีก แมก้ ารขาดนัดน้ีจะไม่จงใจหรือมีเหตุอนั สมควร หากศาลพิพากษาให้แพค้ ดี จาเลยน้ี
จะขอใหพ้ จิ ารณาคดีใหมไ่ ม่ได้

(๒) จาเลยที่ขาดนัดยื่นคาให้การและเคยขออนุญาตยื่นคาให้การ
แต่ศาลเห็นวา่ การขาดนดั เป็ นไปโดยจงใจหรือไม่มีเหตุอนั สมควร จึงไม่อนุญาตใหย้ ่นื คาใหก้ าร
ตามมาตรา ๑๙๙ วรรคสอง เม่ือศาลพพิ ากษาใหแ้ พค้ ดีจะขอใหพ้ ิจารณาคดีใหมไ่ ม่ได้

๕.๒ คาร้องขอให้พิจารณาคดีใหม่ตามมาตรา ๑๙๙ ตรี ต้องบรรยายให้ครบถ้วนตามมาตรา
๑๙๙ จตั วาวรรคสอง คือ (๑) แสดงเหตุที่จาเลยไดข้ าดนัดย่ืนคาให้การ (๒) ขอ้ คดั คา้ นคาตดั สินช้ีขาด

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๔๕

ของศาล และแสดงให้เห็นว่า หากพิจารณาคดีน้ันใหม่จาเลยจะชนะคดีได้อย่างไร (๓) หากจาเลยย่ืน
คาขอให้พิจารณาคดีใหม่ล่าช้าอันเนื่องมาจากพฤติการณ์นอกเหนือไม่อาจบังคับได้ จาเลยจะต้อง
กลา่ วถึงเหตุแห่งการยน่ื คาขอลา่ ชา้ มาดว้ ย

คาขอให้พิจารณาคดีใหม่ท่ีไม่ชอบด้วยมาตรา ๑๙๙ จัตวา วรรคสอง เป็ นปัญหา
ขอ้ กฎหมายท่ีเกี่ยวดว้ ยความสงบเรียบร้อยของประชาชน ศาลยกข้ึนวินิจฉัยเองได้ (เทียบฎีกาท่ี
๒๑๕๐/๒๕๑๕, ๙๒๕/๒๕๒๖)

เช่น คาร้องบรรยายเพียงว่า จาเลยทราบว่าถูกโจทก์ฟ้อง จาเลยตอ้ งการต่อสู้คดี
และมาศาล จาเลยมีทางชนะคดีโจทก์ไดแ้ น่นอน ถือวา่ เป็ นคาร้องที่ไม่ชอบเน่ืองจากมิไดก้ ลา่ ว
แสดงโดยชดั แจง้ ซ่ึงขอ้ คดั คา้ นคาตดั สินช้ีขาดของศาล (เทียบฎีกาที่ ๓๗๗๔/๒๕๔๒)

๕.๓ คาร้องน้นั ตอ้ งยนื่ ภายในกาหนดเวลาตามมาตรา ๑๙๙ จตั วา วรรคหน่ึง คือ
๕.๓.๑ ตอ้ งย่ืนภายใน ๑๕ วนั นับจากวนั ที่ไดส้ ่งคาบงั คบั ตามคาพิพากษาหรือ

คาส่งั ใหแ้ ก่จาเลย
๕.๓.๒ ตอ้ งยน่ื ภายใน ๑๕ วนั นบั แต่วนั ท่ีศาลไดก้ าหนดการอยา่ งใดเพ่ือให้การ

ส่งคาบงั คบั มีผล เช่น ศาลอาจจะสั่งว่า จาเลยไม่อยใู่ นราชอาณาจกั รในขณะท่ีมีการปิ ดคาบงั คบั
จึงใหก้ ารปิ ดคาบงั คบั น้ีใหม้ ีผลเม่ือระยะเวลา ๖๐ วนั ไดล้ ่วงพน้ ไป

๕.๓.๓ ตอ้ งยน่ื ภายใน ๑๕ วนั นบั แตว่ นั ที่มีพฤติการณ์นอกเหนือไม่อาจบงั คบั ได้
ส้ินสุดลง

หากพฤติการณ์นอกเหนือไม่อาจบงั คบั ไดส้ ้ินสุดลงก่อนพน้ กาหนดเวลา
๑๕ วนั นับจากวนั ส่งคาบงั คบั ตามคาพิพากษาหรือคาส่ัง จาเลยจะตอ้ งยื่นคาขอให้พิจารณา
คดีใหม่ภายในกาหนดเวลา ๑๕ วนั นบั แต่วนั ท่ีไดส้ ่งคาบงั คบั ให้จาเลย จาเลยจะใชส้ ิทธิ ๑๕ วนั
นบั แตว่ นั ที่มีพฤติการณ์นอกเหนือไมอ่ าจบงั คบั ไดส้ ้ินสุดลงไมไ่ ด้ (เทียบฎีกาที่ ๖๓๘๒/๒๕๓๙)

แต่จาเลยจะยื่นคาร้องขอพิจารณาคดีใหม่หลัง ๖ เดือน นับแต่วนั ที่ได้
ยดึ ทรัพยห์ รือมีการบงั คบั ตามคาพิพากษาหรือคาสง่ั โดยวิธีอ่ืนแลว้ ไม่ได้ เช่น

จาเลยยื่นคาขอเม่ือพ้นกาหนด ๖ เดือน นับแต่วันยึดทรัพย์ แม้จะมี
พฤติการณ์นอกเหนือไม่อาจบงั คบั ได้เกิดข้ึนจนเกิน ๖ เดือน จาเลยก็หามีสิทธิที่จะยื่นคาขอให้
พิจารณาคดีใหมไ่ ดไ้ ม่ (เทียบฎีกาท่ี ๒๕๒๐/๒๕๓๒)

กรณีท่ีมีจาเลยหลายคน กาหนดเวลา ๖ เดือน นับแต่วนั ท่ีถูกยึดทรัพย์
หมายถึงเฉพาะจาเลยคนที่ถูกยดึ ทรัพยเ์ ทา่ น้นั (เทียบฎีกาที่ ๒๑๕๒/๒๕๓๖)

กรณีท่ีไม่มีการยึดทรัพย์ให้นับ ๖ เดือน นับแต่วันที่มีการบังคับตาม
คาพิพากษาหรือคาส่ังโดยวิธีอื่น เช่น ภายใน ๖ เดือน นบั แต่วนั ที่โจทก์นาคาพิพากษาของศาลไป

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๔๖

เปลี่ยนแปลงช่ือผู้ถือกรรมสิทธ์ิหรื อภายใน ๖ เดือน นับแต่วนั ท่ีโจทก์นาคาพิพากษาอนั ถึงที่สุด
ไปใหน้ ายทะเบียนบนั ทึกการหยา่ ไวใ้ นทะเบียนสมรส (เทียบฎีกาท่ี ๑๓๓๐/๒๕๓๘)

๕.๔ กรณีที่มีการส่งหมายเรียกและสาเนาคาฟ้องหรือส่งคาบงั คบั ให้แก่จาเลยโดยไมช่ อบ
ดว้ ยกฎหมาย จาเลยมีสิทธิยืน่ คาขอพิจารณาคดีใหม่เมื่อใดก็ได้ (ฎีกาท่ี ๒๔๓๓/๒๕๒๓, ๑๕๕/
๒๕๒๗, ๒๘๐/๒๕๓๐, ๒๒๓๘/๒๕๓๔, ๖๙๑๑/๒๕๓๙, ๗๓๙/๒๕๔๒, ๑๓๙๘/๒๕๔๒)

การยื่นคาขอให้พิจารณ าคดีใหม่ในกรณี ที่มีการส่ งหมายเรี ยกและสาเนาคาฟ้อง
ไม่ชอบดว้ ยกฎหมาย ถือวา่ เป็ นกรณีที่ไม่ไดป้ ฏิบตั ิตามบทบญั ญตั ิแห่ง ป.วิ.พ. ในขอ้ ท่ีมุ่งหมาย
จะยงั ให้การเป็ นไปดว้ ยความยุติธรรมในเร่ืองการส่งคาคู่ความ ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๗ (เทียบ
ฎีกาท่ี ๒๘๐/๒๕๓๐, ๗๙๙๑/๒๕๔๔) เมื่อเป็ นคาร้องขอให้เพิกถอนกระบวนพิจารณาที่ผิด
ระเบียบก็จะตอ้ งยน่ื คาร้องไมช่ า้ กวา่ ๘ วนั นบั แตว่ นั ท่ีจาเลยไดท้ ราบขอ้ ความหรือพฤติการณ์ อนั
เป็นมูลแห่งขอ้ อา้ งน้นั (เทียบฎีกาที่ ๖๑๓/๒๕๔๓) และแมค้ าร้องของจาเลยจะอา้ งวา่ เป็นคาร้อง
ขอใหพ้ ิจารณาคดีใหมต่ าม มาตรา ๑๙๙ จตั วา แต่ศาลเห็นวา่ เป็นการร้องขอใหเพิกถอนกระบวน
พิจารณาที่ผิดระเบียบตามมาตรา ๒๗ เป็ นหน้าท่ีศาลที่จะพิจารณาตามขอ้ เท็จจริงท่ีไดค้ วาม
(เทียบฎีกาที่ ๕๐๔๗/๒๕๔๗)

๕.๕ การสัง่ คาร้องขอพจิ ารณาคดีใหม่
ส่ังคาร้องว่า “รับคาร้ อง นัดไต่สวน สาเนาให้โจทก์และเจ้าพนักงานบังคับคดี

โจทก์ จะคัดค้ านประการใดให้ ยื่นคาคัดค้ านเข้ ามาก่ อนหรื อหรื อภายในวันนัด (หรื ออาจกาหนด
วนั ให้โจทก์ย่ืนคาคดั คา้ นก็ได)้ ให้จาเลยวางเงินค่านาส่งตามข้อบังคับว่าด้วยการส่งคาคู่ความ
และเอกสารทางคดีอย่างช้าภายในวันทาการถัดไป มิฉะน้ันถือว่าจาเลยทิ้งคาร้ อง นัดไต่สวน
วันที่ . . . เวลา . . . น. ” หรือส่ังว่า“รับคาร้ อง นัดไต่สวน สาเนาให้โจทก์และเจ้าพนักงานบังคับคดี
โจทก์จะคัดค้านประการใดให้ยื่นคาคัดค้านเข้ามาก่อนหรือในวันนัด มิฉะน้ันถือว่าไม่คัดค้าน
(หรืออาจกาหนดวนั ให้โจทก์ยื่นคาคดั คา้ นก็ได)้ ให้จาเลยนาส่งสาเนาคาร้ องให้โจทก์ภายใน
. . . วัน ถ้าส่งไม่ได้ให้แถลงเพื่อดาเนินการต่อไปภายใน ๑๕ วัน นับแต่วันส่งไม่ได้ มิฉะน้ัน
ถือว่าทิง้ คาร้อง . . .”

ถา้ ส่งั ไมร่ ับ เช่น คาร้องขอพิจารณาคดีใหมไ่ ม่ชอบดว้ ย มาตรา ๑๙๙ จตั วา วรรคสอง
สั่งว่า “ตามคาร้ องมิได้แสดงถึงเหตุที่ขาดนัดและ มิได้คัดค้านคาตัดสินชี้ขาดของศาล
ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๑๙๙ จัตวา วรรคสอง ให้ยกคาร้อง”

ข้อสังเกต
๑. คาขอใหพ้ ิจารณาคดีใหม่ถือวา่ เป็นคาฟ้อง เมื่อจาเลยผยู้ น่ื คาขอไม่ปฏิบตั ิตามคาส่ังศาล
ที่กาหนดไวถ้ ือวา่ เป็นการทิง้ ฟ้อง (ฎีกาท่ี ๘๒๑/๒๕๑๑ ประชุมใหญ)่

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๔๗

๒. คาขอให้พิจารณาคดีใหม่ต้องทาเป็ นคาร้อง (ตามระเบียบราชการฝ่ ายตุลาการ
ฉบบั ท่ี ๓) ตอ้ งยนื่ ต่อศาลช้นั ตน้ (ฎีกาท่ี ๗๖/๒๕๒๓)

๓. คา ข อใ ห้พิจารณาคดีให ม่ที่บรรยาย มาไม่ครบถ้วนตามมาตรา ๑๙๙ จัตวา
วรรคสอง ศาลยกคาร้อง จาเลยยื่นคาร้องขอพิจารณาคดีใหม่โดยบรรยายคาร้องให้ครบถว้ น
ภายในกาหนดเวลาตามมาตรา ๑๙๙ จัตวา วรรคหน่ึงอีกได้ ไม่เป็ นการดาเนินกระบวนพิจารณาซ้ า
(ฎีกาที่ ๑๓๐๙/๒๔๙๔, ๖๐๔/๒๕๑๐, ๑๗๗/๒๕๓๘)

ศาลมีคาสั่งยกคาร้องขอใหพ้ ิจารณาคดีใหม่ เนื่องจากจาเลยไม่ไดก้ ล่าวโดยละเอียด
ชัดแจ้งซ่ึงข้อคดั คา้ นคาตัดสินช้ีขาดของศาล จาเลยย่ืนคาร้องฉบับที่ ๒ โดยบรรยายเพียง
ขอ้ คดั คา้ นคาตดั สินช้ีขาดของศาลและขอถือเอาเหตตุ ามคาร้องฉบบั แรกเป็ นส่วนหน่ึงของคาร้อง
ฉบับที่ ๒ ได้ โดยไม่ต้องบรรยายซ้าอีก (เทียบฎีกาที่ ๖๐๔/๒๕๑๐) ท้ังน้ี คาร้องฉบบั ที่ ๒
จะตอ้ งยนื่ มาภายในระยะเวลาตามขอ้ ๕.๔.๑ ถึง ๕.๔.๓ เช่นเดียวกนั (เทียบฎีกาที่ ๙๙/๒๕๓๖)

๔. คดีน้นั มีการพิจารณาคดีฝ่ ายเดียว ถา้ ไม่มีการพิจารณาฝ่ ายเดียวแลว้ คูค่ วามท่ีขาดนดั
จะขอใหพ้ ิจารณาใหม่ไมไ่ ด้ แมไ้ ม่จงใจ (ฎีกาที่ ๑๑๖๕/๒๕๑๕ ประชุมใหญ่)

๕. เมื่อศาลไต่สวนคาร้องขอพิจารณาคดีโดยสืบพยานจาเลยและพยานโจทกแ์ ลว้ ถา้ ศาล
จะอนุญาตให้พิจารณาใหม่ มีคาสั่งว่า “พิเคราะห์แล้ว เห็นว่า จาเลยป่ วยเป็นโรคประสาทรักษาตวั
ในโรงพยาบาลสมเดจ็ เจ้าพระยา จาเลยรักษาตวั หายแล้วได้ทราบว่าถูกโจทก์ฟ้องจึงหาทนายความ
แก้ต่าง จาเลยไม่จงใจขาดนัดยื่นคาให้การ กรณีมีเหตุสมควรให้พิจารณาคดีใหม่ได้ จึงอนุญาต
ให้พิจารณาคดนี ใี้ หม่ ให้จาเลยยื่นคาให้การภายใน ๑๕ วนั นบั แต่วนั นี”้

ถา้ ศาลจะไม่อนุญาต มีคาส่งั วา่ “พิเคราะห์คาร้องของจาเลยประกอบพยานหลักฐาน
โจทก์จาเลยแล้ว เห็นว่า จาเลยได้รับหมายเรียกและสาเนาคาฟ้องไว้ด้วยตนเอง แต่ไม่ย่ืน
คาให้การภายในกาหนด ถือว่าจาเลยจงใจขาดนัดย่ืนคาให้การ ไม่มีเหตุจะพิจารณาคดีใหม่
ให้ ยกคาร้ อง”

๖. คาส่ังของศาลที่อนุญาตหรือไม่อนุญาตใหพ้ ิจารณาคดีใหม่ไม่เป็ นคาส่ังระหวา่ งพิจารณา
คู่ความอุทธรณ์ได้ (ฎีกาที่ ๔๑๑/๒๕๐๔) สิทธิในการอุทธรณ์ปัญหาขอ้ เทจ็ จริงตอ้ งถือตามทุนทรัพย์
ที่พิพาทในคดีเดิม (ฎีกาที่ ๖๐๕๐/๒๕๓๗, ๖๓๐๙/๒๕๓๙, ๔๒๔๔/๒๕๔๑)

๗. การขอให้พิจารณาคดีใหม่สาหรับคดีแรงงาน พ.ร.บ. จัดต้ังศาลแรงงานและ
วิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๔๐ วรรคสอง บญั ญตั ิไวโ้ ดยเฉพาะแลว้ จึงไม่นา
ป.วิ.พ. มาตรา ๑๙๙ จตั วาไปใชบ้ งั คบั อีก (เทียบฎีกาท่ี ๒๕๕๘/๒๕๔๘)

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๔๘

๘. คาขอให้พิจารณาใหม่จะตอ้ งสาเนาใหอ้ ีกฝ่ ายไดม้ ีโอกาสโตแ้ ยง้ คดั คา้ น เวน้ แต่กรณีที่ศาล
เห็นวา่ คาร้องน้นั ไม่ชอบดว้ ยกฎหมาย ศาลชอบท่ีจะยกคาร้องน้นั ไดโ้ ดยไม่ตอ้ งสาเนาใหอ้ ีกฝ่ าย
(เทียบฎีกาท่ี ๑๗๗/๒๕๓๘)

๙. การวินิจฉัยว่า จาเลยจงใจขาดนัดยื่นคาให้การหรือไม่ ตอ้ งพิจารณาว่าเหตุท่ีจาเลย
ไม่ไดย้ ื่นคาให้การภายในกาหนดน้นั จาเลยทราบหรือไม่ว่าตนถูกฟ้อง จาเลยไดร้ ับหมายเรียก
และสาเนาคาฟ้องเม่ือใด และพฤติการณ์ต่าง ๆ ก่อนที่กาหนดระยะเวลาย่นื คาใหก้ ารจะส้ินสุดลง
(เทียบฎีกาท่ี ๒๒๑๒/๒๕๓๕)

๑๐. หลงั จากศาลช้นั ตน้ มีคาพิพากษาแลว้ จาเลยยน่ื คาร้องขอใหพ้ ิจารณาคดีใหม่ศาลช้นั ตน้
พิจารณาแลว้ เห็นว่า คาร้องขอใหพ้ ิจารณาคดีใหม่ของจาเลยไม่ชอบดว้ ย ป.วิ.พ. มาตรา ๑๙๙ จตั วา
วรรคสอง ใหย้ กคาร้องทีเดียว จาเลยอุทธรณ์คาส่ังดงั กล่าวตอ้ งเสียคา่ ข้ึนศาล ๒๐๐ บาท (เป็นคดี
ที่มีคาขอให้ปลดเปล้ืองทุกขอ์ นั มิอาจคานวณเป็ นราคาเงินได้ เทียบฎีกาท่ี ๓๑๔๐/๒๕๔๕) และ
จาเลยไม่ตอ้ งนาเงินค่าธรรมเนียมซ่ึงจะตอ้ งใชแ้ ทนโจทก์ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๒๙ มาวางศาล
พร้อมอุทธรณ์เพราะหากศาลอุทธรณ์เห็นชอบดว้ ยตามขอ้ อุทธรณ์ของจาเลย ก็จะพิพากษายก
คาส่ังศาลช้นั ตน้ และให้ศาลช้นั ตน้ รับคาร้องขอให้พิจารณาคดีใหม่ของจาเลยไวพ้ ิจารณาและ
มีคาส่ังตอ่ ไปตามรูปคดี การอุทธรณ์คาส่ังของจาเลยในช้นั น้ีไม่มีผลโดยตรงต่อคาพพิ ากษาศาล
ช้ันต้นให้สิ้นผลบงั คบั แต่อย่างใด (ฎีกาที่ ๗๕๖/๒๕๕๐, ๒๒๐๑/๒๕๕๐, ๓๑๗๑/๒๕๕๐)
แต่หากศาลช้นั ตน้ รับคาร้องขอพิจารณาคดีใหม่ไวพ้ ิจารณาแลว้ ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๑๙๙ เบญจ
จากน้นั ยกคาขอพิจารณาคดีใหมข่ องจาเลย จาเลยอุทธรณ์คาส่งั ศาลช้นั ตน้ ที่ยกคาร้องขอพิจารณา
คดีใหม่ดงั กล่าว หากอุทธรณ์ของจาเลยฟังข้ึน ศาลอุทธรณ์ยอ่ มพิพากษาให้พิจารณาคดีใหม่ซ่ึง
จะทาใหค้ าพิพากษาของศาลช้นั ตน้ ตอ้ งถูกเพิกถอนไปตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๑๙๙ เบญจ วรรคสาม
อุทธรณ์คาสง่ั ของจาเลยจึงมีผลเท่ากบั เป็ นการอุทธรณ์คาพพิ ากษาศาลช้นั ตน้ ในตวั จาเลยจึงตอ้ ง
นาเงินคา่ ธรรมเนียมซ่ึงจะตอ้ งใชแ้ ก่โจทกต์ ามมาตรา ๒๒๙ มาวางศาลพร้อมอุทธรณ์ (เทียบฎีกา
ท่ี ๗๔๘๙/๒๕๔๖ ประชุมใหญ่, ๒๐๘/๒๕๕๐)

๖. ผลของการอนุญาตให้จาเลยที่ขาดนัดย่ืนคาให้การพจิ ารณาคดใี หม่ (มาตรา ๑๙๙ เบญจ)

๖.๑ เมื่อศาลไดร้ ับคาขอใหพ้ ิจารณาคดีใหม่ หากเห็นสมควรศาลจะมีคาสั่งงดการบงั คบั คดี
ไวก้ ่อนก็ได้ และให้แจง้ คาสั่งให้เจา้ พนักงานบงั คบั คดีทราบ มาตรา๑๙๙ เบญจ วรรคหน่ึง
(การสัง่ งดการบงั คบั คดีใหพ้ ิจารณา ดูหมวด ๑ ส่วนท่ี ๖ บทท่ี ๖)

๖.๒ การอนุญาตใหพ้ ิจารณาคดีใหม่ จะตอ้ งประกอบดว้ ย

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๔๙

(๑) มีเหตุควรเชื่อว่า การขาดนัดย่ืนคาให้การน้ันมิไดเ้ ป็ นไปโดยจงใจหรือมีเหตุ
อนั สมควร

(๒) ศาลเห็นวา่ เหตุผลท่ีอา้ งมาในคาขอน้นั ผขู้ อมีทางชนะคดีได้ และ
(๓) ในกรณีท่ียื่นคาขอล่าช้า ผูข้ อได้ปฏิบตั ิตามและยื่นภายในกาหนดเวลาตามท่ี
กาหนดไวใ้ นมาตรา ๑๙๙ จตั วา
เมื่อศาลมีคาสั่งอนุญาตให้พิจารณาคดีใหม่แลว้ ให้ศาลแจง้ คาส่ังให้ศาลอุทธรณ์
หรือศาลฎีกาทราบดว้ ยหากมีการยน่ื อุทธรณ์หรือฎีกาตามมาตรา ๑๙๙ เบญจ วรรคสอง

๖.๓ ผลของการอนุญาตใหพ้ ิจารณาใหม่ ทาให้คาพิพากษาหรือคาสั่งของศาลโดยคู่ความ
ขาดนดั รวมท้ังคาพิพากษาหรื อคาสั่งของศาลสูงและการบงั คบั คดีท่ีไดด้ าเนินการไปแลว้
ถือวา่ เป็นการเพกิ ถอนไปในตวั ไม่ตอ้ งสัง่ เพกิ ถอนอีก

ศาลมีอานาจสั่งใหเ้ จา้ พนกั งานท่ีดินซ่ึงจดทะเบียนลงช่ือโจทก์ในโฉนดตามคาพพิ ากษา
ท่ีขาดนดั ยน่ื คาใหก้ ารเพิกถอนรายการจดทะเบียนน้นั ได้ (ฎีกาท่ี ๓๓๖๘/๒๕๓๗)

๖.๔ ศาลพิจารณาคดีน้นั ใหม่ต้งั แตเ่ วลาท่ีจาเลยขาดนดั ยน่ื คาให้การโดยศาลจะกาหนดเวลา
ให้จาเลยยื่นคาให้การภายในกาหนดเวลาตามท่ีศาลเห็นสมควร (มาตรา ๑๙๙ เบญจ วรรคสาม
ตอนทา้ ย)

๖.๕ คาสง่ั ศาลช้นั ตน้ ที่อนุญาตใหพ้ ิจารณาคดีใหม่น้ีเป็นท่ีสุด
แต่คาสั่งศาลช้ันต้นท่ีไม่อนุญาตให้พิจารณาคดีใหม่น้ันจาเลยมีสิทธิอุทธรณ์ได้

คาพพิ ากษาของศาลอทุ ธรณ์ไมว่ า่ จะอนุญาตหรือไมอ่ นุญาตใหเ้ ป็นท่ีสุด (มาตรา ๑๙๙เบญจ วรรคส่ี)

ข้อสังเกต
มาตรา ๑๙๙ เบญจ วรรคส่ี บัญญัติให้คาพิพากษาศาลอุทธรณ์ เป็ นที่สุด
หมายถึง คาพิพากษาศาลอุทธรณ์ท่ีวินิจฉัยในเน้ือหาแห่งคดีในช้นั ขอให้พิจารณาใหม่เท่าน้ัน
หากศาลอุทธรณ์วินิจฉยั ยกอุทธรณ์ของจาเลยโดยเหตุอื่น เช่น คดีมีทุนทรัพยไ์ ม่เกิน ๕๐,๐๐๐ บาท
ตอ้ งหา้ มอุทธรณ์ กรณีน้ีไม่เป็ นที่สุด จาเลยย่ืนฎีกาได้ (เทียบคาส่ังคาร้องศาลฎีกาท่ี ๓๗๗๙/๒๕๔๖
ประชุมใหญ)่

๗. โจทก์ไม่ได้ให้การแก้ฟ้องแย้ง (มาตรา ๑๙๙ ฉ)

การที่จาเลยใชส้ ิทธิยืน่ คาใหก้ ารและฟ้องแยง้ โจทก์อยใู่ นฐานะเป็ นจาเลยในส่วนของฟ้องแยง้
และมีหน้าท่ีตอ้ งย่ืนคาให้การแกฟ้ ้องแยง้ ภายในกาหนดเวลา ๑๕ วนั นับแต่วนั ท่ีไดร้ ับคาให้การ
และฟ้องแยง้ (ดูหมวดที่ ๑ ส่วนที่ ๒ บทท่ี ๓ และ ๔)

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๕๐

หากโจทก์ไม่ได้ย่ืนคาให้การแก้ฟ้องแยง้ ภายในเวลาท่ีกาหนด ก็จะต้องนาบทบัญญตั ิ
มาตรา ๑๙๗ ถึง ๑๙๙ จตั วา มาใชบ้ งั คบั ในส่วนที่เก่ียวกบั ฟ้องน้นั โดยอนุโลม

๘. การขาดนดั พจิ ารณา

๘.๑ การขาดนัดพิจารณา คือการท่ีคู่ความฝ่ ายใดฝ่ ายหน่ึงไม่มาศาลในวันสืบพยาน
โดยคู่ความฝ่ ายน้ันมิได้รับอนุญาตจากศาลให้เล่ือนคดีตามมาตรา ๒๐๐(ฎีกาท่ี ๑๑๖๕/๒๕๑๕
ประชุมใหญ,่ ๘๙๕/๒๕๒๖, ๒๖๕๔/๒๕๒๖)

หากเป็ นกรณีตามมาตรา ๑๙๘ ทวิ และมาตรา ๑๙๘ ตรี จะไม่นามาตรา ๒๐๐ มาใชบ้ งั คบั
กล่าวคือ จาเลยซ่ึงขาดนดั ย่นื คาใหก้ าร และไม่มาศาลในวนั นดั สืบพยาน ไม่ถือวา่ จาเลยดงั กล่าว
ขาดนดั พจิ ารณาตามมาตรา ๑๙๘ ทวิ วรรคส่ี และมาตรา ๑๙๘ ตรี วรรคสอง

๘.๑.๑ วนั สืบพยาน หมายความว่า วนั ท่ีศาลเริ่มตน้ ทาการสืบพยานตามมาตรา ๑(๑๐)
วนั สืบพยานจึงหมายถึงวนั ท่ีศาลเร่ิมตน้ ทาการสืบพยานเป็ นคร้ังแรกในคดีหน่ึงๆ ซ่ึงจะมีเพียง
วนั เดียวเทา่ น้นั (ฎีกาท่ี ๕๘๓/๒๕๓๐)

๘.๑.๒ วนั อื่น ๆ ไมใ่ ช่วนั สืบพยานตามความหมายในมาตรา ๑(๑๐) เช่น
วนั นดั ช้ีสองสถานกด็ ี วนั นดั พร้อมก็ดี ไม่ใช่วนั สืบพยานตามความหมายใน

มาตรา ๑(๑๐) (ฎีกาท่ี ๑๓๑๘/๒๔๙๕)
วนั นัดพิจารณา หรือวนั นดั ฟังประเด็นกลบั ก็ไม่ใช่วนั สืบพยานตามความหมาย

ดงั กล่าว (ฎีกาที่ ๓๓๔๑/๒๕๒๙, ๘๙๐/๒๕๑๖)
วนั นดั สืบพยานนดั แรกตอ้ งเล่ือนออกไปไม่วา่ ดว้ ยเหตุใด ไม่ถือวา่ วนั น้นั เป็น

“วนั สืบพยาน” (ฎีกาท่ี ๒๗๗/๒๔๘๙)
หากเป็นวนั นดั ไตส่ วนอื่น ๆ เช่น วนั นดั ไตส่ วนคาร้องขอรับชาระหน้ีจานอง

วนั ดงั กล่าวไม่ใช่วนั สืบพยานตาม มาตรา ๑ (๑) ดงั น้นั จึงนาบทบญั ญตั ิเรื่องการขาดนดั พจิ ารณา
มาตรา ๒๐๐ มาใชบ้ งั คบั ไม่ได้ (เทียบฎีกาท่ี ๕๘๓/๒๕๕๑)

วนั นดั สืบพยานนัดต่อมาในคดีท่ีมีการขาดนัดพิจารณา หากคู่ความฝ่ ายใด
ไม่มาศาล เป็นการไม่มาศาลในวนั นดั อ่ืนที่มิใช่วนั สืบพยาน ถือวา่ คู่ความฝ่ ายน้นั สละสิทธิการดาเนิน
กระบวนพิจารณาของตนในนัดน้ัน และทราบกระบวนพิจารณาที่ศาลไดด้ าเนินไปในนัดน้ันด้วยแล้ว
ตามมาตรา ๒๐๐ วรรคสอง

๘.๑.๓ คาวา่ “คู่ความ” ตามมาตรา ๑ (๑๑) หมายถึง ตวั ความ ทนายความและผรู้ ับมอบ
อานาจ หรือรับมอบฉันทะจากตวั ความหรือทนายความดว้ ย (ฎีกาที่ ๒๘๔/๒๕๒๓, ๑๐๐/๒๕๓๐,
๑๓๕๖/๒๕๓๐) แต่เสมียนทนายหรื อผู้รับมอบฉันทะให้มาศาลในเร่ื องอ่ืน ไม่ใช่เร่ื องการสืบพยาน

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๕๑

บุคคลดงั กล่าวไม่อยู่ในฐานะเป็ นคู่ความ ดงั น้ัน หากถึงวนั นัดสืบพยานแลว้ คู่ความไม่มาศาล
แมเ้ สมียนทนายหรือผูร้ ับมอบฉันทะให้มาศาลในเร่ืองอ่ืนมาศาล ก็ต้องถือว่าคู่ความฝ่ ายน้ัน
ขาดนดั พจิ ารณา (เทียบฎีกาท่ี ๓๔๗๔/๒๕๓๘, ๖๔๐/๒๕๔๙)

แมต้ วั ความไมม่ าแต่ทนายความมากจ็ ะถือวา่ ขาดนดั พิจารณาไมไ่ ด้
ทนายจาเลยมายื่นคาร้องขอถอนตวั ศาลมีคาส่ังอนุญาต แมว้ ่าจาเลยจะ
ไม่มาศาลในวนั ดงั กล่าวกจ็ ะถือวา่ จาเลยขาดนดั พิจารณาไม่ได้ (เทียบฎีกาที่ ๗/๒๕๒๘)
๘.๑.๔ คาวา่ “คู่ความฝ่ ายใดไม่มาศาล” หมายความว่าไม่เขา้ มาในหอ้ งพิจารณาของศาล
ตามวนั เวลาท่ีศาลไดแ้ จง้ วนั นัดให้ทราบโดยชอบแลว้ กรณีคู่ความมาศาลแต่ไม่ยอมเขา้ ห้องพิจารณา
ก็ถือว่าไม่มาศาลตามความหมายน้ีจึงถือว่าขาดนัดพิจารณา (ฎีกาท่ี๕๒๒/๒๕๒๔ , ๕๗๒๔/๒๕๓๓)
แต่ถา้ เขา้ มาในห้องพิจารณาแลว้ กลบั ไปก่อนไม่ยอมอยฟู่ ังการพิจารณาจนจบสิ้นถือว่ามาศาลแลว้
ไม่เป็นการขาดนดั พจิ ารณา (ฎีกาที่ ๑๑๕๘/๒๕๒๑)
การที่เข้าห้องพิจารณาผิด (ฎีกาท่ี ๙๑๐๖/๒๕๓๘) หรือติดการพิจารณาที่ห้อง
พจิ ารณาอีกคดีหน่ึง ซ่ึงนดั พจิ ารณาในเวลาเดียวกนั (ฎีกาที่ ๗๔๒๓/๒๕๔๗) ถือวา่ มาศาลแลว้
๘.๑.๕ กรณีคู่ความฝ่ ายใดไม่มาศาลในวนั สืบพยาน แต่ไดร้ ้องขอเล่ือนคดีก่อนลงมือ
สืบพยาน (เช่น ยนื่ คาร้องไวก้ ่อนวนั สืบพยาน) ดงั น้ี หากศาลไมอ่ นุญาตใหเ้ ล่ือนคดี ถือวา่ คู่ความ
ฝ่ายน้นั ขาดนดั พิจารณา (ฎีกาที่ ๑๘๔๐/๒๕๓๘)
การขอเล่ือนคดีต่อศาลอื่นตามมาตรา ๑๐ เพราะมีเหตุสุดวิสัย หากศาลน้ัน
อนุญาตใหเ้ ลื่อนคดีก็ไม่ถือวา่ ขาดนดั พิจารณา (เทียบฎีกาที่ ๑๖๔๔/๒๕๑๙, ๔๒๙๗/๒๕๓๔)
๘.๑.๖ กรณีไมไ่ ปศาลที่รับประเด็นแมจ้ ะเป็นวนั สืบพยานนดั แรกของคดี กไ็ มถ่ ือวา่
คูค่ วามฝ่ายน้นั ขาดนดั พจิ ารณา เพราะเป็นขอ้ ยกเวน้ ตามมาตรา ๑๐๒วรรคสาม (ฎีกาท่ี ๘๖๓/๒๕๐๔)

๘.๒ คูค่ วามท้งั สองฝ่ ายขาดนดั พิจารณา (มาตรา ๒๐๑)
ศาลจดรายงานกระบวนพจิ ารณาวา่
“นัดสืบพยานโจทก์ (หรื อจาเลย) วันนี้ คู่ความท้ังสองฝ่ ายทราบนัดโดยชอบแล้ว

ไม่มาศาลโดยไม่ได้รับอนญุ าตจากศาลให้เลื่อนคดี ถือว่าคู่ความท้ังสองฝ่ ายขาดนดั พิจารณา
จึงให้ จาหน่ายคดีเสียจากสารบบความตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๐๑ คืนค่าขึน้ ศาล

จานวน . . . บาท ” ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๑๕๑ วรรคสาม
ถ้าคดีน้ันมีโจทก์หลายคนหรือจาเลยหลายคน ต้องแยกพิจารณาเป็ นคู่ ๆ

โจทก์กบั จาเลยคู่ใดไม่มาศาลท้งั สองฝ่ าย ถือว่าเป็ นกรณีคู่ความท้งั สองฝ่ ายขาดนัดพิจารณา
ส่วนคู่ระหว่างโจทก์ท่ีไม่มาศาลกบั จาเลยที่มาศาล ถือว่าโจทก์ขาดนดั พิจารณาตามมาตรา ๒๐๒

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๕๒

ส่วนคู่ระหว่างโจทก์ที่มาศาลกับจาเลยท่ีไม่มาศาล ถือว่าเป็ นกรณีจาเลยขาดนัดพิจารณาตาม
มาตรา ๒๐๔

ผลของคาสั่งศาลใหจ้ าหน่ายคดีดงั กลา่ วคือ
การส่ังจาหน่ายคดีกรณีดงั กลา่ วตอ้ งดว้ ย ป.วิ.พ. มาตรา ๑๕๑ วรรคสาม คือ
เป็นการสัง่ จาหน่ายคดีในกรณีอ่ืน ศาลมีอานาจส่ังคืนค่าข้ึนศาลตามจานวนท่ีเห็นสมควร
๘.๒.๑ โจทกข์ อพิจารณาคดีใหม่ไม่ได้ เพราะไม่มีการพิจารณาคดีฝ่ ายเดียว (ฎีกาที่
๑๑๖๕/๒๕๑๕ ประชุมใหญ่, ๑๓๖๔/๒๕๓๔, ๙๖๗/๒๕๓๕, ๔๒๑๐/๒๕๓๖)
อน่ึง แม้คู่ความจะขอให้ไต่สวน ศาลก็ไม่จาต้องไต่สวน ให้ศาลสั่งยก
คาร้องไดเ้ ลย
๘.๒.๒ โจทก์ขอให้ศาลเพิกถอนคาสั่งดงั กล่าวเพราะส่ังโดยหลงผิดตาม ป.วิ.พ.มาตรา๒๗
ได้(ฎีกาที่ ๑๖๙๒/๒๕๑๖ ประชุมใหญ่, ๑๕๔๘/๒๕๓๐)
๘.๒.๓ โจทกอ์ ุทธรณ์คาส่งั จาหน่ายคดีไมไ่ ดต้ ามมาตรา ๒๐๓
๘.๒.๔โจทก์ฟ้องคดีน้ันใหม่ได้ภายในอายุความเดิมเพราะคาสั่งจาหน่ายคดี
ไมท่ าใหอ้ ายคุ วามสะดุดหยดุ ลงตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๙๓/๑๗ วรรคหน่ึง

๘.๓ โจทกฝ์ ่ ายเดียวขาดนดั พจิ ารณา (มาตรา ๒๐๒) แยกพจิ ารณาส่งั ได้ ๒ อยา่ ง ดงั น้ี คือ
๘.๓.๑ กรณีจาเลยมิได้แจ้งต่อศาลว่าประสงค์จะดาเนินคดีต่อไป ศาลต้องสั่ง

จาหน่ายคดีโจทกเ์ สียจากสารบบความ โดยจดรายงานกระบวนพจิ ารณาวา่
“นัดสืบพยานโจทก์ (หรือจาเลย) วันนี้ จาเลยมาศาล ฝ่ ายโจทก์ทราบนัด

โดยชอบแล้วไม่มาศาลโดยไม่ได้รับอนญุ าตจากศาลให้เล่ือนคดี ถือว่าโจทก์ขาดนัดพิจารณา
จาเลยแถลงไม่ขอให้ศาลดาเนินการพิจารณาคดีต่อไป (หรือจาเลยมิได้แถลง

ว่าอย่างไร)
จึงให้จาหน่ายคดีเสียจากสารบบความ คืนค่าขึน้ ศาลแก่โจทก์จานวน . . . บาท”

ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๑๕๑ วรรคสาม
๘.๓.๒ กรณีจาเลยแถลงว่าขอให้ศาลดาเนินการพิจารณาคดีต่อไปหรือแถลงใน

ทานองเดียวกนั น้ัน ดงั น้ี ศาลต้องส่ังให้พิจารณาและช้ีขาดตดั สินคดีน้ันไปฝ่ ายเดียวโดยจดรายงาน
กระบวนพิจารณาดงั น้ี

“นัดสืบพยานโจทก์ (หรือจาเลย)วันนี้ จาเลยมาศาล ฝ่ ายโจทก์ทราบนัดโดยชอบ
แล้วไม่มาศาลโดยไม่ได้ รั บอนุญาตจากศาลให้ เลื่อนคดีถือว่ าโจทก์ ขาดนัดพิจารณา

จาเลยแถลงขอให้ดาเนินการพิจารณาคดีต่อไป (หรือแถลงขอให้ยกฟ้องโจทก์
หรือแถลงในทานองเดยี วกนั น)ี้

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๕๓

จึงให้พิจารณาและชีข้ าดตดั สินคดีไปฝ่ ายเดยี ว
สืบพยานจาเลยได้ . . . ปาก จาเลยแถลงติดใจสืบพยานเพียงเท่านี้ (หรือจาเลย
แถลงขอเล่ือนไปสืบพยานจาเลยในนัดหน้า)
คดีเสร็จการพิจารณา (หรืออนุญาตให้เล่ือนไปนัดสืบพยานจาเลยในวันท่ี . . . )
ให้รอฟังคาพิพากษาวนั นเี้ วลา ๑๖.๐๐ น.”

ข้อสังเกต
๑. การส่ังจาหน่ายคดีกรณีดงั กล่าวตอ้ งดว้ ยมาตรา ๑๕๑ วรรคสาม คือ
เป็ นการสั่งจาหน่ายคดีในกรณีอื่น ศาลมีอานาจสั่งคืนค่าข้ึนศาลตามจานวนที่เห็นสมควร ท้งั น้ี
ตามระเบียบฯ
๒. มาตรา ๒๐๒ มิไดบ้ ญั ญตั ิให้ศาลตอ้ งสอบถามจาเลยก่อน แต่เป็ น
หนา้ ท่ีของจาเลยท่ีจะตอ้ งแจง้ ต่อศาลว่าประสงคจ์ ะดาเนินคดีต่อไปหรือไม่ หากจาเลยไม่ไดแ้ จง้
ตอ่ ศาลกช็ อบที่ศาลจะมีคาส่งั จาหน่ายคดีเสียจากสารบบความ (เทียบฎีกาท่ี ๗๕๗/๒๕๔๓)
๓. คาแถลงของจาเลยที่ถือว่า จาเลยแจง้ ต่อศาลให้ดาเนินการพิจารณา
ต่อไป เช่น ขอให้ศาลยกฟ้อง (ฎีกาท่ี ๖๓๔/๒๕๒๘) วนั นดั สืบพยานโจทก์ซ่ึงมีหน้าที่นาสืบ
ก่อน แต่โจทก์ขาดนัดพิจารณา เมื่อจาเลยแถลงไม่ติดใจสืบพยาน คาแถลงของจาเลยถือไดว้ ่า
จาเลยต้ังใจให้ศาลทาการพิจารณาพิพากษาคดีต่อไป (ฎีกาที่ ๓๙๘๑/๒๕๓๒) กรณีดังกล่าว
ศาลจะมีคาส่งั จาหน่ายคดีไม่ได้ ศาลจะตอ้ งพิจารณาและช้ีขาดตดั สินคดีไปฝ่ ายเดียว
หากจาเลยแถลงเพียงว่า ขอใหศ้ าลพิจารณาสั่งตามที่เห็นสมควร (ฎีกาที่
๑๑๖๒/๒๕๔๕) แถลงว่าการดาเนินกระบวนพิจารณาต่อไปแลว้ แต่ศาลจะพิจารณาส่ัง (ฎีกาท่ี
๖๐๗๙/๒๕๔๔) หรือกรณีที่โจทก์ยื่นคาร้องขอถอนฟ้อง ศาลมีคาสั่งว่ารอไวส้ ั่งวนั นัด เม่ือถึง
วนั นัดจาเลยแถลงคดั คา้ นการถอนฟ้อง (ฎีกาท่ี ๗๒๘/๒๕๔๘) คาแถลงของจาเลยดงั กล่าว
ยงั ไม่ถือว่าจาเลยแจ้งต่อศาลขอให้ดาเนินการพิจารณาคดีต่อไป ศาลมีอานาจออกคาสั่งให้
จาหน่ายคดีได้
๘.๓.๓ ผลของคาสั่งจาหน่ายคดีออกเสียจากสารบบความตามมาตรา ๒๐๑ (คูค่ วาม
ท้งั สองฝ่ ายขาดนดั พจิ ารณา) และมาตรา ๒๐๒ (โจทก์ขาดนดั พิจารณา) เป็นไปตามมาตรา ๒๐๓
คือหา้ มมิใหโ้ จทกอ์ ทุ ธรณ์คาสง่ั จาหน่ายคดีแต่จาเลยสามารถอุทธรณ์คาส่งั จาหน่ายคดีได้ (ฎีกาท่ี
๑๕๙๑/๒๕๔๒) เมื่อจาเลยอุทธรณ์คาสั่งจาหน่ายคดีอยู่ โจทก์นาคดีไปฟ้องใหม่เป็ นฟ้องซ้อน
ตอ้ งห้ามตามมาตรา ๑๗๒ วรรคสอง (๑) (ฎีกาท่ี ๓๒๔๖/๒๕๓๕, ๘๔๕๐/๒๕๓๘, ๑๕๙๑/
๒๕๔๒)

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๕๔

หากจาเลยใชส้ ิทธิอุทธรณ์ เมื่อศาลอุทธรณ์มีคาพิพากษาแลว้ ก็ไม่ไดท้ าให้
โจทกเ์ กิดสิทธิฎีกาแต่อยา่ งใด โจทกจ์ ึงยนื่ ฎีกาไมไ่ ด้ (เทียบฎีกาท่ี ๖๐๗๙/๒๕๔๔)

๘.๓.๔ ในระหวา่ งการพิจารณาคดีฝ่ ายเดียว ถา้ โจทกม์ าศาล โจทกข์ อพจิ ารณาคดีใหม่
ก่อนศาลมีคาพพิ ากษาไดต้ ามมาตรา ๒๐๖ วรรคสาม

๘.๓.๕ กรณีท่ีโจทกไ์ ม่มาศาล หากศาลพพิ ากษาใหโ้ จทกแ์ พค้ ดี โจทกข์ อพิจารณา
คดีใหมไ่ ดต้ ามมาตรา ๒๐๗

๘.๔ จาเลยฝ่ายเดียวขาดนดั พิจารณา (มาตรา ๒๐๔)
กรณีจาเลยฝ่ ายเดียวขาดนัดพิจารณา ให้ศาลพิจารณาและช้ีขาดตดั สินคดีโจทก์

ไปฝ่ายเดียว โดยจดรายงานกระบวนพจิ ารณาวา่
“นัดสืบพยานโจทก์ (หรือจาเลย)วันนี้ โจทก์มาศาล ฝ่ ายจาเลยทราบนัดโดยชอบ

แล้วไม่มาศาลโดยไม่ได้รับอนุญาตจากศาลให้เลื่อนคดี ถือว่าจาเลยขาดนัดพิจารณา จึงให้
พิจารณาคดีโจทก์ไปฝ่ ายเดียว

สืบพยานโจทก์ได้ . . . ปาก โจทก์ส่งเอกสาร . . . ฉบับ ศาลหมาย จ . . . ถึง จ . . .
ให้รวมสานวนไว้ (หรือให้แยกเกบ็ ) ให้โจทก์เสียค่าอ้างเอกสารให้ครบ

โจทก์แถลงติดใจสืบพยานเพยี งเท่านี้(หรือแถลงขอเล่ือนไปสืบพยานโจทก์นัดหน้า)
คดีเสร็จการพิจารณา (หรืออนุญาตให้เล่ือนไปสืบพยานโจทก์ต่อนดั หน้า...)
ให้รอฟังคาพิพากษาวนั น”ี้

ข้อสังเกต
๑. เนื่องจากมาตรา๑๙๘ทวิ วรรคส่ีและมาตรา๑๙๘ตรี วรรคสอง บญั ญตั ิว่า
มิให้ถือว่าจาเลยที่ขาดนัดย่ืนคาให้การท่ีไม่มาศาลในวนั สืบพยานน้ันขาดนัดพิจารณา ดงั น้ัน
จาเลยท่ีขาดนดั พจิ ารณาจึงมีไดแ้ ตเ่ ฉพาะจาเลยท่ียนื่ คาใหก้ าร
๒. ก่อนท่ีศาลจะส่ังให้พิจารณาและช้ีขาดตัดสินคดีไปฝ่ ายเดียว
ศาลไม่จาต้องมีคาสั่งว่าจาเลยขาดนัดพิจารณาดงั เช่นกฎหมายเดิม และกรณีท่ีจะถือว่าจาเลย
ขาดนดั พิจารณา จะตอ้ งเป็ นท่ีพอใจแก่ศาลวา่ ไดม้ ีการส่งหมายกาหนดวนั นดั สืบพยานใหจ้ าเลย
ท่ีขาดนดั พิจารณาทราบโดยชอบแลว้ ตามมาตรา ๒๐๕ หากยงั ส่งหมายเรียกและสาเนาคาฟ้อง
แก่จาเลยไม่ได้ (เทียบฎีกาที่ ๕๒๕๔/๒๕๔๒) หรือศาลมีคาสั่งให้เลื่อนคดีไปทายอมหรือนัดฟัง
คาพิพากษา วันท่ีเลื่อนมาจึงไม่ใช่วันสื บพยานโจทก์ เม่ือจาเลยไม่มาศาล(เทียบฎีกาที่
๒๖๙๒/๒๕๔๓) จะถือวา่ จาเลยขาดนดั พิจารณาไมไ่ ด้

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๕๕

๒.๑ กรณีถือวา่ คู่ความยงั ไม่ทราบวนั นดั สืบพยาน เช่น
เจ้าพนักงานศาลปิ ดหมายนัดโดยพลการโดยศาลมิได้สั่ง

เป็ นการปิ ดหมายนดั โดยไม่ชอบดว้ ย ป.วิ.พ. มาตรา ๗๓ และ ๗๙ ถือวา่ คู่ความน้นั ยงั ไม่ทราบวนั
นดั สืบพยาน (ฎีกาท่ี ๒๘๐/๒๕๓๐)

เจา้ พนกั งานศาลส่งหมายนดั ไปยงั บา้ นอ่ืนซ่ึงไม่ใช่ภูมิลาเนา
ของคูค่ วาม ถือวา่ คูค่ วามฝ่ ายน้นั ยงั ไมท่ ราบวนั นดั สืบพยาน (ฎีกาที่ ๑๓๑๒/๒๕๒๔)

จาเลยมีภูมิลาเนาแน่นอน แต่โจทก์ขอส่งหมายนัดโดย
วิธีประกาศหนงั สือพมิ พเ์ ป็นการไม่ชอบ ถือวา่ จาเลยยงั ไม่ทราบวนั นดั พิจารณา (ฎีกาที่ ๒๑๒๙/
๒๕๒๗)

๒.๒ กรณีถือวา่ คู่ความทราบวนั นดั สืบพยานโดยชอบแลว้ เช่น
คู่ความทราบกาหนดวนั นดั ช้ีสองสถานโดยชอบแลว้ แต่ไม่มา

ศาลในวนั นดั ช้ีสองสถาน ศาลทาการช้ีสองสถานและกาหนดวนั สืบพยานต่อไป ดงั น้ี ถือว่า
คู่ความฝ่ ายน้ันทราบกาหนดวนั นัดสืบพยานดงั กล่าวแลว้ ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๑๘๓ วรรคสอง
(ฎีกาที่ ๑๗๙/๒๕๓๐, ๔๖๓/๒๕๓๑)

จาเลยยนื่ คาให้การ ศาลส่ังรับคาใหก้ ารและสง่ั นดั สืบพยานโจทก์
(หรือจาเลย)โดยศาลทาคาส่งั ในวนั เดียวกบั ที่จาเลยยนื่ คาใหก้ ารน้นั ดงั น้ีถือวา่ จาเลยทราบกาหนด
วันนัดสืบพยานดังกล่าวแล้ว เพราะตามแบบพิมพ์คาให้การจาเลย (๑๑ ก.) ตอนล่าง
มีขอ้ ความเขียนไวว้ ่า “หมายเหตุ ข้าพเจ้ารอฟังคาส่ังอยู่ ถ้าไม่รอให้ถือว่าทราบแล้ว” จึงตอ้ ง
ถือวา่ จาเลยทราบวนั นดั สืบพยานดงั กล่าวแลว้ หากจาเลยไม่ไปศาลในวนั ดงั กล่าวก็ถือว่าจาเลย
ขาดนดั พิจารณา (ฎีกาที่ ๕๗๖/๒๕๒๔)

๓. ถา้ จาเลยที่ขาดนดั พิจารณามาศาลเม่ือโจทก์ซ่ึงมีหนา้ ท่ีนาสืบก่อนยงั
สืบพยานไม่บริบูรณ์ จาเลยมีสิทธินาพยานของจาเลยเขา้ สืบดว้ ย เพราะถือว่าจาเลยมาศาลเม่ือยงั
ไมพ่ น้ เวลาที่ตนจะนาพยานเขา้ สืบ (ฎีกาที่ ๓๗๑/๒๕๐๖, ๔๖/๒๕๑๐)

๔. กรณีท่ีจาเลยขาดนดั พิจารณา ศาลจะตอ้ งพิจารณาและช้ีขาดตดั สิน
คดีไปฝ่ายเดียวจะใชบ้ ทกฎหมายหรือวิธีพิจารณาอยา่ งอ่ืน เช่น ถือวา่ คดีน้ีจาเลยไม่มีพยานมาสืบ
ไมไ่ ด้ (ฎีกาที่ ๑๔๔/๒๕๓๐)

๕. แมจ้ าเลยจะขาดนัดพิจารณา ประเด็นขอ้ พิพาท ยงั คงเป็ นไปตาม
คาฟ้องและคาใหก้ าร

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๕๖

ส่วนที่ ๗

การพจิ ารณาคดีใหม่

๑. การขอพิจารณาคดีใหม่กรณีคู่ความท่ีขาดนัดพิจารณามาศาลระหว่างพิจารณาคดี
ฝ่ ายเดียว มาตรา ๒๐๖ วรรคสามและวรรคส่ี

การขอให้พิจารณาคดีใหม่จะต้องมีการพิจารณาคดีฝ่ ายเดียวเป็ นหลักสาคัญ ถ้าคดี
ไม่มีการพิจารณาฝ่ ายเดียวแลว้ คู่ความท่ีขาดนดั พิจารณาจะขอพิจารณาคดีใหม่ไม่ได้ แมจ้ ะไม่
จงใจขาดนดั พิจารณาก็ตาม (ฎีกาที่ ๑๑๖๕/๒๕๑๕ ประชุมใหญ่) หากจาเลยขอพิจารณาคดีใหม่
ตอ้ งพิจารณาเสียก่อนว่าจาเลยน้ันย่ืนคาให้การหรือไม่ ถา้ จาเลยน้ันขาดนัดยื่นคาให้การจะขอ
พิจารณาคดีใหม่ไดแ้ ต่เฉพาะกรณีภายหลงั จากที่ศาลมีคาพิพากษาแลว้ ตามมาตรา ๑๙๙ ตรี จาเลย
ที่ขาดนดั ยน่ื คาใหก้ ารน้ีจะมาขอพจิ ารณาคดีใหม่ระหวา่ งการพิจารณาคดีโจทก์ไปฝ่ ายเดียวไมไ่ ด้
แต่ชอบท่ีจะขออนุญาตย่ืนคาให้การตามมาตรา ๑๙๙ แต่ถา้ เป็ นจาเลยท่ียื่นคาให้การไวข้ าดนัด
พิจารณา จาเลยน้ีมีสิทธิขอพิจารณาคดีใหม่ท้งั ระหวา่ งพิจารณาคดีไปฝ่ ายเดียวตามมาตรา ๒๐๖
วรรคสาม และภายหลงั จากที่ศาลมีคาพิพากษาให้จาเลย(ที่ยื่นคาให้การ) ขาดนดั พิจารณาแพค้ ดี
ตามมาตรา ๒๐๗

การขอพิจารณาคดีใหม่โดยคู่ความฝ่ ายที่ขาดนดั พิจารณา ซ่ึงอาจจะเป็ นโจทก์ซ่ึงขาดนดั
พิจารณาหรือเป็ นจาเลยที่ย่ืนคาให้การแต่ขาดนัดพิจารณา เป็ นฝ่ ายยื่นคาขอให้พิจารณาคดีใหม่
ก็ได้ โดยมีหลกั เกณฑต์ ามมาตรา ๒๐๖ วรรคสาม คือ

๑. คูค่ วามฝ่ ายท่ีขาดนดั พิจารณามาศาลภายหลงั เร่ิมตน้ สืบพยานไปบา้ งแลว้
๒. คูค่ วามฝ่ ายน้นั ไดแ้ จง้ ตอ่ ศาลในโอกาสแรกวา่ ตนประสงคจ์ ะดาเนินคดี
๓. การขาดนดั พิจารณาน้นั มิไดเ้ ป็นไปโดยจงใจ หรือมีเหตุอนั สมควร
๔. คู่ความที่จะขอให้พิจารณาคดีใหม่น้ี ต้องไม่ใช่คู่ความท่ีศาลเคยมีคาส่ังให้
พิจารณาคดีใหม่ตามคาขอของคูค่ วามฝ่ ายน้นั มาก่อนตามมาตรา ๑๙๙ ตรี ประกอบมาตรา ๒๐๗
ศาลอาจจะตอ้ งไต่สวนคูค่ วามฝ่ ายที่ขาดนดั และขอใหพ้ จิ ารณาคดีใหม่
สั่งคาแถลงหรือคาร้องว่า “รับคาแถลง (หรือคาร้ อง) สาเนาให้โจทก์(จาเลย)นัดไต่สวน
งดการพิจารณาไว้ก่อน” ถา้ สามารถไตส่ วนในวนั น้นั ได้ ก็ดาเนินการไต่สวนและมีคาสั่งไปตาม
รูปเร่ือง

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๕๗

ข้อสังเกต
๑. การแจง้ ต่อศาลในโอกาสแรกวา่ ตนประสงคจ์ ะดาเนินคดีตามมาตรา ๒๐๖
วรรคสาม มิไดบ้ ญั ญตั ิไวใ้ ห้ทาเป็ นคาร้อง ดงั น้ัน ในกรณีท่ีคู่ความที่ขาดนัดพิจารณามาศาล
จึงทาเป็นคาแถลงได้ (เทียบฎีกาท่ี ๓๗๘/๒๕๐๓)
๒. คาขอพิจารณาคดีใหม่ตามมาตรา ๒๐๖ วรรคสาม น้ัน หากคู่ความอีกฝ่ าย
ไมค่ ดั คา้ น ศาลอนุญาตใหพ้ จิ ารณาคดีใหมไ่ ดโ้ ดยไมจ่ าตอ้ งไต่สวน
๓. ถา้ คู่ความฝ่ ายที่ขาดนดั มาศาลในระหว่างการพิจารณาคดีฝ่ ายเดียวและแจง้
ต่อศาลในโอกาสแรกว่าตนประสงค์จะดาเนินคดี ศาลจะตอ้ งพิจารณาว่าการขาดนัดพิจารณา
เป็ นไปโดยจงใจหรือไม่ หรือมีเหตุสมควรหรือไม่ เพราะหากการขาดนดั น้ันมิไดเ้ ป็ นไปโดย
จงใจหรือมีเหตุสมควร ศาลจะตอ้ งมีคาสั่งใหพ้ ิจารณาคดีใหม่ ถา้ ศาลไม่ปฏิบตั ิดงั น้ี การดาเนิน
กระบวนพิจารณาถือว่าเป็ นไปโดยมิชอบ (เทียบฎีกาท่ี ๒๕๐๔/๒๕๑๗, ๓๕๖๗/๒๕๒๔,
๓๘๕๔/๒๕๓๒)
๔. หากศาลเห็นว่าการขาดนัดพิจารณาคดีน้ันเป็ นไปโดยจงใจหรือไม่มีเหตุ
อนั สมควร หรือคู่ความฝ่ ายท่ีขาดนัดพิจารณามิได้แจง้ ต่อศาลในโอกาสแรกว่าตนประสงค์
จะดาเนินคดี หรือคาขอพิจารณาคดีใหม่ตอ้ งหา้ มตามกฎหมาย ใหศ้ าลดาเนินกระบวนพิจารณา
ต่อไป แต่

๔.๑ ห้ามมิให้ศาลอนุญาตให้คู่ความที่ขาดนัดพิจารณานาพยานเข้าสืบ
ถา้ คูค่ วามน้นั มาศาลเม่ือพน้ เวลาที่จะนาพยานของตนเขา้ สืบเสร็จแลว้ (มาตรา ๒๐๖ วรรคส่ี(๑))

๔.๒ ถา้ คู่ความที่ขาดนดั พิจารณาน้นั มาศาลเม่ือคู่ความอีกฝ่ ายหน่ึงนาพยาน
เขา้ สืบไปแลว้ คู่ความที่ขาดนัดพิจารณาจะถามคา้ นพยานที่ไดส้ ืบไปแลว้ ไม่ได้ และจะคดั คา้ น
การระบุเอกสาร หรือคดั คา้ นคาขอท่ีใหศ้ าลไปทาการตรวจ หรือให้ต้งั ผูเ้ ช่ียวชาญของศาลไม่ได้
คู่ความที่ขาดนดั พิจารณาคงมีสิทธิเพยี งหกั ลา้ งไดแ้ ต่เฉพาะพยานหลกั ฐานท่ีนาสืบภายหลงั ที่ตน
มาศาล (มาตรา ๒๐๖ วรรคสี่(๒))

๔.๓ เมื่อศาลพิพากษาใหแ้ พค้ ดี ไมม่ ีสิทธิร้องขอใหพ้ ิจารณาคดีใหม่ (มาตรา๒๐๖
วรรคส่ี(๓)) (เทียบฎีกาที่ ๔๒๖๓/๒๕๓๐, ๔๔๑๒/๒๕๓๖)

๕. คาขอให้พิจารณาคดีใหม่ตอ้ งห้ามตามกฎหมาย ไดแ้ ก่ คาขอของคู่ความท่ีเคย
ขาดนัดพิจารณาและเคยขอพิจารณาคดีใหม่มาคร้ังหน่ึงแลว้ เมื่อศาลอนุญาตให้พิจารณาคดีใหม่
กลบั ขาดนดั พิจารณาอีก กบั คาขอของคู่ความท่ีเคยขาดนดั พิจารณาแลว้ ศาลมีคาพิพากษาให้แพ้

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๕๘

คดีมายนื่ คาขอให้พิจารณาคดีใหม่ ศาลอนุญาต กลบั ขาดนดั พิจารณาซ้าอีกหรือกรณีตามมาตรา
๑๙๙ วรรคสาม

๖. กรณีคูค่ วามฝ่ ายที่ขาดนดั พิจารณามาศาลเม่ือคดีเสร็จการพิจารณา เช่น เสร็จ
การสืบพยานของคู่ความที่มาศาลแลว้ แต่เม่ือศาลยงั มิไดม้ ีคาพิพากษา ถือว่าเป็ นการมาศาล
ในระหว่างการพิจารณาคดีฝ่ ายเดียว มีสิทธิขอพิจารณาคดีใหม่ได้ (เทียบฎีกาที่ ๔๔๗๑/๒๕๒๘,
๓๙๓๓/๒๕๒๙)

๗. เมื่อศาลมีคาสั่งให้พิจารณาคดีใหม่ พยานที่ไดส้ ืบไปแล้วเป็ นอนั ถูก
ยกเลิก และตอ้ งมีการนดั สืบพยานใหมท่ ้งั หมด

๘. คดีที่ศาลกาหนดวนั นัดสืบพยานโจทก์และจาเลยต่อเน่ือง คร้ันถึงวนั นัด
สืบพยานโจทก์ ปรากฏว่าจาเลยที่ยื่นคาให้การขาดนัดพิจารณา และศาลไม่อนุญาตให้พิจารณา
คดีใหม่ ถา้ จาเลยมาศาลหลงั จากเร่ิมตน้ สืบพยานไปบา้ งแลว้ ปัญหาว่าจาเลยจะนาพยานหลกั ฐาน
เขา้ สืบหกั ลา้ งพยานโจทก์ไดห้ รือไม่ข้ึนอยกู่ บั ว่า จาเลยมาศาลเมื่อพน้ เวลาท่ีจาเลยจะนาพยานของตน
เขา้ สืบแลว้ หรือโจทกน์ าพยานหลกั ฐานเขา้ สืบบริบูรณ์แลว้ หรือยงั โดยแยกพิจารณา ดงั น้ี

๘.๑ คาพิพากษาศาลฎีกาท่ี ๕๐๑๑ – ๕๐๓๖/๒๕๓๑ วินิจฉัยว่า จาเลย
ซ่ึงขาดนัดพิจารณามาศาลในขณะท่ีศาลแรงงานกลางกาลงั อ่านรายงานกระบวนพิจารณา ซ่ึงศาล
แรงงานกลางไดม้ ีคาสั่งให้งดสืบพยานโจทก์ท่ีเหลือน้ันต่อไปและจดแจง้ ว่าคดีเสร็จการพิจารณา
ดงั น้ี เป็นเร่ืองท่ีจาเลยมาศาลเม่ือพน้ เวลาท่ีจาเลยจะนาพยานของตนเขา้ สืบตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๐๕
วรรคสาม (๑) (ปัจจุบนั คือ มาตรา ๒๐๖ วรรคสี่) จาเลยจึงไมม่ ีสิทธินาพยานเขา้ สืบ

๘.๒ คาพิพากษาศาลฎีกาที่ ๘๖๐/๒๕๓๖ วินิจฉัยว่า การท่ีจาเลยขาดนัด
พิจารณา ไม่มาศาลย่อมทาให้เสียประโยชน์คือไม่มีสิทธิถามคา้ นพยานโจทก์ที่สืบไปแล้วหรือ
คดั คา้ น การระบุเอกสารหรือคดั คา้ นคาขอที่ให้ศาลไปทาการตรวจหรือต้งั ผเู้ ช่ียวชาญของศาลเฉพาะ
ในวนั ท่ีขาดนดั ไมม่ าศาลเทา่ น้นั และหากวา่ โจทกส์ ืบพยานหมดในวนั น้นั จาเลยกไ็ ม่มีสิทธินาพยาน
เขา้ สืบไดใ้ นวนั หลงั อีกเพราะหมดเวลาท่ีตนจะนาพยานเขา้ สืบแลว้ เม่ือปรากฏว่าในวนั นัดแรก
โจทก์มีหน้าที่นาพยาน เขา้ สืบก่อนได้นาตวั โจทก์เข้าเบิกความเพียงปากเดียว การสืบพยาน
ยงั ไม่เสร็จสมบูรณ์ แลว้ เลื่อนไปสืบพยานโจทก์ที่เหลือในนัดต่อไป จาเลยจึงไม่มีสิทธิถามคา้ น
พยานปากตัวโจทก์เท่าน้ัน ส่วนในนัดต่อไปจาเลยมาศาล จาเลยชอบที่จะถามคา้ นพยานโจทก์
ที่เบิกความในนัดต่อมาไดแ้ ละนาพยานจาเลยเขา้ เบิกความได้เพราะยงั ไม่พน้ เวลาท่ีจะนาพยาน
ของตนเขา้ สืบ ท่ีศาลช้นั ตน้ ให้จาเลยถามคา้ นพยานโจทก์ที่นาสืบในนัดต่อมา ท้งั นาพยานจาเลย
เขา้ เบิกความจึงชอบดว้ ยกฎหมายแลว้

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๕๙

๙. คาสั่งศาลที่อนุญาตหรือไม่อนุญาตให้พิจารณาคดีใหม่ตามมาตรา ๒๐๖ น้ี
เป็นคาส่ังระหวา่ งพจิ ารณา (เทียบฎีกาท่ี ๒๓๕ - ๒๔๑/๒๕๑๗, ๙๔๑/๒๕๒๖)

๒. การขอให้พจิ ารณาคดใี หม่กรณีศาลได้มีคาพพิ ากษาแล้วตามมาตรา ๒๐๗

๒.๑ คู่ความท่ีขาดนดั พิจารณา หากศาลพิพากษาให้แพค้ ดี มีสิทธิขอพิจารณาคดีใหม่ได้
ตามมาตรา ๒๐๗ ซ่ึงให้นาบทบญั ญตั ิมาตรา ๑๙๙ ตรี มาตรา ๑๙๙ จตั วาและมาตรา ๑๙๙ เบญจ
เกี่ยวกับการขอให้พิจารณาคดีใหม่ของจาเลยท่ีขาดนัดยื่นคาให้การมาใช้บงั คับโดยอนุโลม
โดยคู่ความผขู้ อจะตอ้ งอยภู่ ายใตเ้ ง่ือนไขดงั ตอ่ ไปน้ี

๒.๑.๑ คู่ความท่ีขอให้พจิ ารณาคดีใหม่จะตอ้ งไม่ยนื่ อุทธรณ์คดั คา้ นคาพิพากษาหรือ
คาส่งั ท่ีใหต้ นแพค้ ดี

๒.๑.๒ คู่ความที่ขอใหพ้ จิ ารณาคดีใหม่น้นั จะตอ้ งไมเ่ ขา้ ขอ้ หา้ มตามมาตรา ๑๙๙ ตรี
(๑) หรือ (๒) ไดแ้ ก่

๑. ศาลเคยมีคาส่ังให้พิจารณาคดีน้ันใหม่มาคร้ังหน่ึงแล้ว คือคู่ความท่ีขาดนัด
พิจารณา ศาลพิพากษาให้แพค้ ดี คู่ความน้ันขออนุญาตพิจารณาคดีใหม่ศาลอนุญาต แต่คู่ความ
ดงั กล่าวกลบั ขาดนดั อีก เมื่อศาลพิพากษาให้แพค้ ดีเป็ นคร้ังที่สอง คู่ความน้นั จะขอใหพ้ ิจารณาคดีใหม่
อีกไมไ่ ด้ ไมว่ า่ จะมิไดจ้ งใจขาดนดั หรือกรณีมีเหตสุ มควรก็ตาม

๒. คาขอให้พิจารณาคดีใหม่ตอ้ งห้ามตามกฎหมาย (มาตรา ๑๙๙ ตรี(๒))
ไดแ้ ก่ คู่ความที่ขาดนดั พิจารณาท่ีเขา้ เหตุตามมาตรา ๒๐๖ วรรคสี่ ไดแ้ ก่

(๑) คู่ความท่ีขาดนัดพิจารณาและไม่ได้แจ้งต่อศาลว่าตนประสงค์
จะดาเนินคดี

(๒) คู่ความที่ขาดนัดพิจารณาและเคยขอพิจารณาคดีใหม่ แต่ศาล
เห็นวา่ การขาดนดั เป็นไปโดยจงใจหรือไม่มีเหตุอนั สมควร

(๓) คู่ความที่เคยขาดนดั พิจารณาและเคยขอพิจารณาคดีใหม่ระหว่าง
การพิจารณาคดีฝ่ายเดียวมาแลว้ เม่ือศาลอนุญาตกลบั ขาดนดั พจิ ารณาอีก

๒.๒ คาร้องขอให้พิจารณาคดีใหม่ตามมาตรา ๒๐๗ ตอ้ งบรรยายให้ครบถว้ นตาม
มาตรา ๑๙๙ จตั วา วรรคสอง คือ (๑) แสดงเหตทุ ่ีคู่ความไดข้ าดนดั (๒) ขอ้ คดั คา้ นคาตดั สินช้ีขาด
ของศาลและแสดงให้เห็นว่า หากพิจารณาคดีน้นั ใหม่ตนจะชนะคดีไดอ้ ยา่ งไร (๓) หากจาเลย
ย่ืนคาขอให้พิจารณาคดีใหม่ล่าชา้ อนั เนื่องมาจากพฤติการณ์นอกเหนือไม่อาจบงั คบั ได้ จาเลย
จะตอ้ งกลา่ วถึงเหตแุ ห่งการยนื่ คาขอลา่ ชา้ มาดว้ ย

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๖๐

คาขอใหพ้ ิจารณาคดีใหม่ท่ีไม่ชอบดว้ ยมาตรา ๑๙๙จตั วาวรรคสอง เป็นปัญหาขอ้ กฎหมาย
ที่เก่ียวดว้ ยความสงบเรียบร้อยของประชาชน ศาลยกข้ึนวินิจฉัยเองได้ (ฎีกาที่ ๒๑๕๐/๒๕๑๕,
๙๒๕/๒๕๒๖)

คาร้องขอใหพ้ ิจารณาคดีใหม่สามารถแกไ้ ขได้ แต่จะตอ้ งยนื่ คาร้องขอแกไ้ ขเพ่ิมเติม
ก่อนศาลยกคาร้องฉบบั เดิม หากศาลมีคาสั่งยกคาร้องขอให้พิจารณาใหมไ่ ปแลว้ ศาลไม่จาตอ้ ง
สงั่ เก่ียวกบั คาร้องขอแกไ้ ขเพม่ิ เติมอีก (เทียบฎีกาที่ ๑๕๘๗/๒๕๔๒)

๒.๓ คาร้องน้นั ตอ้ งยนื่ ภายในกาหนดเวลาตามมาตรา ๑๙๙ จตั วา วรรคหน่ึง คือ
๒.๓.๑ ตอ้ งยน่ื ภายใน ๑๕ วนั นบั จากวนั ท่ีไดส้ ่งคาบงั คบั ตามคาพพิ ากษาหรือคาสง่ั

ใหแ้ ก่คู่ความท่ีขาดนดั
๒.๓.๒ ตอ้ งย่ืนภายใน ๑๕ วนั นบั แต่วนั ที่ศาลไดก้ าหนดการอยา่ งใดเพอ่ื ใหก้ ารส่ง

คาบงั คบั มีผล เช่น ศาลอาจจะสั่งว่าคู่ความที่ขาดนดั ไม่อยใู่ นราชอาณาจกั รในขณะที่มีการปิ ด
คาบงั คบั จึงใหก้ ารปิ ดคาบงั คบั น้ีมีผลเมื่อระยะเวลา ๖๐ วนั ไดล้ ่วงพน้ ไป

๒.๓.๓ ตอ้ งย่ืนภายใน ๑๕ วนั นบั แต่วนั ท่ีมีพฤติการณ์นอกเหนือไม่อาจบงั คบั ได้
ส้ินสุดลง

๒.๓.๔ แต่คู่ความที่ขาดนัดจะยื่นคาร้องขอพิจารณาคดีใหม่หลงั ๖ เดือน นับแต่
วนั ท่ีไดย้ ดึ ทรัพยห์ รือมีการบงั คบั ตามคาพิพากษาหรือคาส่งั โดยวิธีอื่นแลว้ ไม่ได้ เช่น

จาเลยยนื่ คาขอเม่ือพน้ กาหนด ๖ เดือน นบั แต่วนั ยดึ ทรัพย์ แมจ้ ะมีพฤติการณ์
นอกเหนือไมอ่ าจบงั คบั ไดเ้ กิดข้ึนจนเกิน ๖ เดือน จาเลยกห็ ามีสิทธิที่จะยน่ื คาขอใหพ้ ิจารณาคดีใหม่
ไดไ้ ม่ (ฎีกาที่ ๒๕๒๐/๒๕๓๒)

กรณีที่มีจาเลยหลายคน กาหนดเวลา ๖ เดือน นับแต่วนั ที่ถูกยึดทรัพย์
หมายถึงเฉพาะจาเลยคนที่ถกู ยดึ ทรัพยเ์ ทา่ น้นั (ฎีกาที่ ๒๑๕๒/๒๕๓๖)

กรณีท่ีไม่มีการยึดทรัพย์ ให้นบั ๖เดือนนบั แต่วนั ท่ีมีการบงั คบั ตามคาพิพากษา
หรือคาส่ังโดยวิธีอ่ืน เช่น ภายใน ๖ เดือน นับแต่วนั ท่ีโจทก์นาคาพิพากษาของศาลไปเปล่ียนแปลง
ชื่อผูถ้ ือกรรมสิทธ์ิหรือภายใน ๖ เดือนนบั แต่วนั ที่โจทก์นาคาพิพากษาอนั ถึงท่ีสุดไปให้นายทะเบียน
บนั ทึกการหยา่ ไวใ้ นทะเบียนสมรส (ฎีกาที่ ๑๓๓๐/๒๕๓๘)

๒.๔ กรณีที่มีการส่งหมายนัดหรือคาบังคับให้แก่คู่ความที่ขาดนัดโดยไม่ชอบด้วย
กฎหมาย คู่ความท่ีขาดนดั มีสิทธิย่ืนคาขอใหพ้ ิจารณาคดีใหม่เมื่อใดก็ได้ เพราะเป็นการเพิกถอน
กระบวนพิจารณาที่ผิดระเบียบตามมาตรา ๒๗ และคาขอน้ีไม่จาตอ้ งบรรยายให้เขา้ หลกั เกณฑ์
ตามมาตรา ๑๙๙ จตั วา วรรคสอง (ฎีกาท่ี ๖๙๒๘/๒๕๓๗, ๖๙๑๑/๒๕๓๙, ๗๓๙/๒๕๔๒)

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๖๑

๒.๕ การสั่งคาร้องขอพจิ ารณาคดีใหม่
ส่ังคาร้องว่า “รับคาร้ อง นัดไต่สวน สาเนาให้โจทก์และเจ้าพนักงานบังคับคดี

โจทก์จะคัดค้านประการใดให้ยื่นคาคัดค้านเข้ามาก่อนหรือหรือภายในวนั นดั (หรืออาจกาหนด
วันให้โจทก์ย่ืนคาคัดค้านก็ได้) ให้จาเลยวางเงินค่านาส่ งตามข้อบังคับว่าด้วยการส่งคาคู่ความ
และเอกสารทางคดีอย่างช้าภายในวันทาการถัดไป มิฉะน้ันถือว่าจาเลยทิง้ คาร้อง นัดไต่สวน
วันท่ี . . . เวลา . . . น.” หรือสั่งว่า “รับคาร้ อง นัดไต่สวน สาเนาให้ โจทก์และเจ้าพนักงานบังคับคดี
โจทก์จะคัดค้านประการใดให้ ย่ืนคาคัดค้านเข้ามาก่อนหรื อภายในวันนัด มิฉะนั้นถือว่าไม่คัดค้าน
(หรืออาจกาหนดวันให้โจทก์ยื่นคาคัดค้านก็ได้) ให้จาเลยนาส่งสาเนาคาร้ อง ให้โจทก์ภายใน
. . .วัน ถ้าส่งไม่ได้ให้แถลงเพ่ือดาเนินการต่อไปภายใน ๑๕ วัน นับแต่วันส่งไม่ได้ มิฉะนั้น
ถือว่าทิง้ คาร้อง . . .”

ถา้ สงั่ ไม่รับ เช่น คาร้องขอพิจารณาคดีใหม่ไมช่ อบดว้ ยมาตรา ๑๙๙ จตั วา วรรคสอง
สั่งว่า “ตามคาร้ องมิได้แสดงถึงเหตุที่ขาดนัดและมิได้คัดค้านคาตัดสินชี้ขาดของศาลตาม
ป.วิ.พ. มาตรา ๑๙๙ จัตวา วรรคสอง ประกอบมาตรา ๒๐๗ ให้ยกคาร้อง”

ข้อสังเกต
๑. คาขอให้พิจารณาคดีใหม่ถือว่าเป็ นคาฟ้อง เม่ือจาเลยผูย้ ่ืนคาขอไม่ปฏิบตั ิ
ตามคาสง่ั ศาลท่ีกาหนดไว้ ถือวา่ เป็นการทิ้งฟ้อง (ฎีกาท่ี ๘๒๑/๒๕๑๑ ประชุมใหญ่)
๒. คาขอใหพ้ จิ ารณาคดีใหมต่ อ้ งทาเป็นคาร้อง (ตามระเบียบขา้ ราชการ ฝ่ายตุลาการ
ฉบบั ที่ ๓) ตอ้ งยนื่ ตอ่ ศาลช้นั ตน้ (ฎีกาท่ี ๗๖/๒๕๒๓)
๓. คาขอให้พิจารณาคดีใหม่ที่บรรยายมาไม่ครบถว้ นตามมาตรา ๑๙๙ จตั วา
วรรคสอง ศาลยกคาร้อง จาเลยยื่นคาร้องขอพิจารณาคดีใหม่โดยบรรยายคาร้องให้ครบถ้วน
ภายในกาหนดเวลาตามมาตรา ๑๙๙ จตั วา วรรคหน่ึง อีกได้ ไม่เป็ นการดาเนินกระบวนพิจารณาซ้า
(ฎีกาท่ี ๑๓๐๙/๒๔๙๔, ๖๐๔/๒๕๑๐, ๑๗๗/๒๕๓๘)
๔. คดีที่มีจาเลยหลายคน จาเลยบางคนขาดนัดพิจารณา หากศาลพิพากษา
ใหแ้ พค้ ดี จาเลยที่ขาดนดั พิจารณาอาจขอให้พิจารณาคดีใหม่ตามมาตรา ๑๙๙ ตรี ได้
๕. คาส่ังของศาลที่อนุญาตหรือไม่อนุญาตให้พิจารณาคดีใหม่ไม่เป็ นคาสั่ง
ระหวา่ งพิจารณา (ฎีกาที่ ๔๑๑/๒๕๐๔) สิทธิในการอุทธรณ์ปัญหาขอ้ เท็จจริงตอ้ งถือตามทุนทรัพย์
ท่ีพพิ าทในคดีเดิม (ฎีกาท่ี ๖๐๕๐/๒๕๓๗, ๖๓๐๙/๒๕๓๙, ๔๒๔๔/๒๕๔๑)

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๖๒

๓. ผลของการอนุญาตให้พจิ ารณาคดีใหม่

๓.๑ คาพิพากษาหรือคาส่ังของศาลโดยคู่ความขาดนดั รวมท้งั คาพิพากษาหรือคาส่ังของ
ศาลสูงและการบงั คบั คดีที่ไดด้ าเนินการไปแลว้ ถือวา่ เป็ นการเพิกถอนไปในตวั โดยศาลไม่ตอ้ ง
ส่ังเพกิ ถอนอีก

ศาลมีอานาจสั่งให้เจา้ พนักงานที่ดินซ่ึงจดทะเบียนลงช่ือโจทก์ในโฉนดตามคาพิพากษา
ท่ีขาดนดั พิจารณาเพกิ ถอนรายการจดทะเบียนน้นั ได้ (ฎีกาท่ี ๓๓๖๘/๒๕๓๗)

๓.๒ ศาลพิจารณาคดีน้นั ใหม่ต้งั แต่เวลาที่ขาดนดั พิจารณาโดยศาลจะกาหนดวนั นดั สืบพยานใหม่
(มาตรา ๑๙๙ เบญจ วรรคสาม ตอนทา้ ย)

๓.๓ คาส่งั ศาลช้นั ตน้ ท่ีอนุญาตใหพ้ ิจารณาคดีใหมน่ ้ีเป็นที่สุด
แต่คาส่ังศาลช้นั ตน้ ท่ีไม่อนุญาตให้พิจารณาคดีใหม่น้ัน คู่ความที่ขาดนัดพิจารณา

มีสิทธิอุทธรณ์ได้ คาพิพากษาของศาลอุทธรณ์ไม่ว่าจะอนุญาตหรือไม่อนุญาตให้เป็ นท่ีสุด
(มาตรา ๑๙๙ เบญจ วรรคส่ี)

๔. การพจิ ารณาคดีใหม่กรณสี านวนความสูญหายหรือบุบสลายตามมาตรา ๕๓

เมื่อศาลเห็นสมควรหรือคู่ความที่เก่ียวขอ้ งยื่นคาขอโดยทาเป็ นคาร้องว่ารายงานกระบวน
พิจารณา คาพิพากษา หรือเอกสารอ่ืนใดที่รวมไวใ้ นสานวนระหว่างการพิจารณาหรือรอการบงั คบั
สูญหายไปหรือบบุ สลายท้งั หมดหรือบางส่วนท้งั สาเนาดงั กล่าวหาไมไ่ ด้

ส่ังว่า “พิเคราะห์แล้วปรากฏว่าสานวนความคดีนี้(รายงานคาพิพากษา คาส่ังหรือเอกสารอ่ืนใด)
สูญหายไปทั้งหมดและหาสาเนาไม่ได้ จึงให้พิจารณาคดีนีใ้ หม่ให้โจทก์ ส่งสาเนาคาฟ้องและ
จาเลยส่งสาเนาคาให้การต่อศาลภายใน ๑๕ วัน นับแต่วันนี้ และนัดพร้อมวันที่ . . . เวลา . . . น.”
(เพื่อสอบถามคู่ความหรือให้คู่ความรับกนั ในเร่ืองสาเนาคาฟ้อง สาเนาคาให้การและสาเนา
คาร้อง คาขออ่ืนที่คู่ความยน่ื ต่อศาลแทนฉบบั ที่สูญหาย แลว้ จึงสง่ั ดาเนินคดีตอ่ ไปถา้ จาเป็น)

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๖๓

ส่วนท่ี ๘

การประนีประนอมยอมความ

การตกลงหรือประนีประนอมยอมความในศาลมีบญั ญตั ิไวใ้ นมาตรา ๑๙, ๒๐, ๒๐ ทวิ
และ ๑๓๘ เป็ นการพิจารณาพิพากษาคดีที่เป็ นการระงบั ขอ้ พิพาทโดยไม่ตอ้ งช้ีขาดประเด็น
แห่งคดี และกระทาไดท้ ุกช้นั ศาล

ประโยชน์ของการตกลงกันหรือประนีประนอมยอมความกนั ในศาล ย่อมจะทาให้คดี
เสร็จไปโดยไม่ตอ้ งเปลืองเวลาเป็ นความกนั และคู่ความไดร้ ับความพึงพอใจ อีกท้งั ยงั เป็ นการ
ประหยดั ค่าใชจ้ ่ายและลดความขดั แยง้ ของคู่ความอีกดว้ ย

๑. ผู้ท่ีทาสัญญาประนปี ระนอมยอมความในศาลต้องมอี านาจทาได้โดยชอบ

๑.๑ กรณีทนายความหรือตวั แทนผูร้ ับมอบอานาจเป็ นผูท้ าสัญญาประนีประนอมยอมความ
แทนตวั ความ ศาลตอ้ งตรวจดูใบแต่งทนายความหรือหนงั สือมอบอานาจโดยถี่ถว้ นว่ามีอานาจทาได้
หรือไม่ ตวั แทนรับมอบอานาจทวั่ ไปไม่มีอานาจประนีประนอมยอมความตาม ป.พ.พ. มาตรา ๘๐๑
หากมีการทาสัญญาประนีประนอมยอมความโดยอานาจบกพร่อง สัญญาประนีประนอมยอมความ
ก็ไม่มีผลผกู พนั ตวั การ (ฎีกาที่ ๙๔๖/๒๕๐๙ ประชุมใหญ่)

๑.๒ กรณีผูเ้ ยาว์หรือคนไร้ความสามารถเป็ นคู่ความ ผูแ้ ทนโดยชอบธรรมจะทาสัญญา
ประนีประนอมยอมความ ตอ้ งไดร้ ับอนุญาตจากศาลก่อนตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๕๗๔, ๑๕๙๘/๓
และ ๑๕๙๘/๑๘ ในทอ้ งท่ีใดซ่ึงมีศาลเยาวชนและครอบครัว ตอ้ งไปร้องขอต่อศาลดังกล่าว
(พ.ร.บ จดั ต้งั ศาลเยาวชนและครอบครัวฯ มาตรา๑๑(๓)) ถา้ ทอ้ งท่ีใดไม่มีศาลเยาวชนและครอบครัว
ศาลซ่ึงพิจารณาคดีน้นั อาจมีคาสัง่ อนุญาตโดยไม่ตอ้ งใหค้ ูค่ วามไปร้องขออนุญาตเป็นคดีใหม่

๑.๓ กรณีคนเสมือนไร้ความสามารถเป็ นคู่ความ ผูพ้ ิทกั ษไ์ ม่ใช่ผูแ้ ทนโดยชอบธรรม
ไม่มีอานาจทาสัญญาประนีประนอมยอมความแทน แต่คนเสมือนไร้ความสามารถตอ้ งได้รับ
ความยนิ ยอมจากผพู้ ทิ กั ษต์ าม ป.พ.พ. มาตรา ๓๕ ไม่มีอานาจทาโดยลาพงั

๑.๔ คูค่ วามซ่ึงถกู ศาลสั่งพิทกั ษท์ รัพยช์ ว่ั คราวหรือเดด็ ขาด อานาจประนีประนอมยอมความ
ตกอยแู่ ก่เจา้ พนกั งานพิทกั ษท์ รัพยแ์ ตผ่ เู้ดียวตาม พ.ร.บ. ลม้ ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๒๒ คู่ความน้นั
จึงไมม่ ีอานาจทาสัญญาประนีประนอมยอมความ (ฎีกาท่ี ๓๒๔/๒๕๑๘)

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๖๔

๒. ต้องมกี ารประนีประนอมยอมความกนั ในประเด็นแห่งคดี

๒.๑ ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๑๓๘ คู่ความจะตอ้ งตกลงกนั หรือประนีประนอมยอมความกนั
ในประเดน็ แห่งคดี ซ่ึงรวมถึงท่ีเก่ียวเน่ืองกบั ประเด็นแห่งคดีดว้ ยแต่จะเกินคาขอทา้ ยฟ้องหรือไม่
ไม่สาคญั เพราะว่ามาตรา ๑๓๘ ไม่ตกอยู่ในบังคับมาตรา ๑๔๒ ซ่ึงห้ามมิให้ศาลพิพากษา
เกินคาขอหรือนอกจากที่ปรากฏในคาฟ้อง (ฎีกาท่ี ๑๘๔๘/๒๕๑๖, ๑๔๙๒/๒๕๒๘)

๒.๒ ถึงหากมีการตกลงหรือประนีประนอมยอมความนอกประเด็นแห่งคดีก็เป็ นปัญหา
ในช้นั พิจารณา เมื่อศาลทายอมใหแ้ ละพิพากษาตามยอมคดีเสร็จส้ินไปโดยไม่มีการอุทธรณ์ฎีกา
คาพิพากษาตามยอมน้นั ยอ่ มเป็นที่สุดตามมาตรา ๑๔๗ มีผลผกู พนั คูค่ วามตามมาตรา ๑๔๕ และ
ตอ้ งห้ามมิใหร้ ้ือร้องฟ้องกนั อีก ตามมาตรา ๑๔๘ ศาลหรือคู่ความฝ่ ายใดจะอา้ งว่าการประนีประนอม
ยอมความไมช่ อบหาไดไ้ ม่ (ฎีกาท่ี ๑๑๑๗/ ๒๔๙๙, ๖๗๔/๒๕๑๙)

๓. สัญญาประนีประนอมยอมความในศาล หากมีข้อผิดพลาดเล็กน้อย ศาลแก้ไขได้
และคู่ความอาจร้องขอให้ตคี วามแสดงเจตนาได้

สัญญาประนีประนอมยอมความเป็ นส่วนหน่ึงของคาพิพากษา ถา้ มีขอ้ ผิดพลาดหรือ
ขอ้ ผิดหลงเลก็ นอ้ ย ยอ่ มแกไ้ ขให้ถูกตอ้ งไดต้ ามมาตรา๑๔๓(คาสั่งคาร้องศาลฎีกาที่ ๒๕๓๑/๒๕๓๘)
ถา้ หากมีการเขียนสัญญาประนีประนอมยอมความผิดพลาด ไม่ตรงตามเจตนาอนั แทจ้ ริงของ
คู่ความ เมื่อไม่อาจตกลงกนั ได้ คู่ความฝ่ ายที่เสียประโยชน์ก็ชอบที่จะร้องขอต่อศาลใหต้ ีความ
แสดงเจตนาตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๗๑, ๓๖๘ (ฎีกาท่ี ๕๒๕/๒๕๑๖) ซ่ึงศาลมีอานาจไต่สวน
ฟังขอ้ เท็จจริงประกอบการตีความแสดงเจตนาได้ กรณีท่ีศาลพิพากษาให้แพค้ ดีตามสัญญา
ประนีประนอมยอมความแลว้ จะมาร้องขอพิจารณาคดีใหม่โดยอา้ งเหตุว่าลายเซ็นช่ือของจาเลย
ในใบแตง่ ทนายความของตนเป็นลายเซ็นปลอมไมไ่ ด้ (ฎีกาท่ี ๒๔๕๐/๒๕๒๕)

๔. ข้อตกลงนอกศาลนอกเหนือสัญญาประนปี ระนอมยอมความศาลไม่รับฟัง

เมื่อมีการทาสัญญาประนีประนอมยอมความในศาล ซ่ึงศาลพิพากษาตามยอมและคดี
ถึงท่ีสุดไปแล้ว คู่ความฝ่ ายใดจะอ้างว่ามีข้อตกลงนอกศาล เพื่อมิให้มีการบังคับคดีหรือ
เปลี่ยนแปลงเป็ นอย่างอื่นมิได้ (ฎีกาท่ี ๔๑๗/๒๕๐๔, ๑๑๑๗/๒๕๑๑, ๒๗๒๕/๒๕๑๕) แต่ถา้
ขอ้ สัญญาท่ีกาหนดกนั ไวน้ ้นั มิใช่เป็ นเร่ืองที่ศาลจะบงั คบั ให้จาเลยปฏิบตั ิมิได้ หากแต่เป็ นเร่ือง
ท่ีโจทก์จาเลยจะปฏิบตั ิต่อกนั เองตามความสมคั รใจยอ่ มอาจตกลงกนั เป็ นอยา่ งอื่นได้ โดยไม่ถือ
วา่ เป็นการผดิ สญั ญาประนีประนอมยอมความ ดงั น้ี ศาลตอ้ งไตส่ วนฟังขอ้ เทจ็ จริงวา่ มีการตกลงกนั
นอกศาลจริงหรือไม่ (ฎีกาท่ี ๒๔๒๔/๒๕๑๖) คาพิพากษาศาลฎีกาท่ี ๒๔๒๔/๒๕๑๖ น้ี ยงั ไม่ถือวา่

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๖๕

ศาลฎีกากลบั แนววินิจฉัยเดิม เพราะเป็นเรื่องแยกเร่ืองขอ้ ตกลงตามสัญญาประนีประนอมยอมความ
ว่าเป็นเรื่องบงั คบั ไดห้ รือบงั คบั ไม่ได้ ถา้ หากเป็ นเรื่องบงั คบั ได้ ฝ่ ายใดจะอา้ งวา่ มีขอ้ ตกลงนอกศาล
เพื่อมิให้ถูกบงั คบั ตามยอม ศาลย่อมไม่รับฟังและไม่จาตอ้ งไต่สวนให้เสียเวลา แต่ในเรื่อง
การชาระหน้ีน้ันตาม ป.พ.พ. มาตรา ๓๒๔ การชาระหน้ีตอ้ งทา ณ ภูมิลาเนาของเจา้ หน้ี ฉะน้ัน
หากสัญญาประนีประนอมยอมความมิไดก้ าหนดใหล้ กู หน้ีนาเงินมาวางศาลเพอื่ ชาระหน้ีใหแ้ ก่เจา้ หน้ี
ลูกหน้ีก็ย่อมมีสิทธิชาระหน้ี ณ ภูมิลาเนาของเจา้ หน้ีได้ เมื่อมีการโตเ้ ถียงกนั ว่าลูกหน้ีไดช้ าระหน้ี
แลว้ หรือไม่ ศาลน่าจะตอ้ งไต่สวนฟังขอ้ เทจ็ จริง แต่ถา้ ลูกหน้ีอา้ งวา่ เจา้ หน้ีตกลงใหผ้ ่อนชาระหน้ี
นอกเหนือสัญญายอม ไม่จาเป็นตอ้ งไตส่ วน อยา่ งไรก็ตามถา้ เป็นกรณีท่ีจาเลยบางคนและโจทกต์ กลง
เก่ียวกบั การบงั คบั คดีไวล้ ่วงหนา้ ก่อนพิพากษา ขอ้ ตกลงน้ีใชบ้ งั คบั กนั ได้ โจทกต์ อ้ งบงั คบั คดีเอากบั
จาเลยคนอื่นก่อนตามข้อตกลง หากมีปัญหาข้ึนมาศาลต้องไต่สวนให้ได้ความว่า จาเลยอ่ืน
มีทรัพยส์ ินพอท่ีจะบงั คบั เอาชาระหน้ีไดห้ รือไมก่ ่อน (ฎีกาท่ี ๑๐๕๕/๒๕๒๖)

ตวั อย่างการจดรายงานกระบวนพจิ ารณา
๑. กรณีที่คู่ความเสนอสัญญาประนีประนอมยอมความต่อศาล จดรายงานกระบวนพิจารณาว่า
“นัดสืบพยานโจทก์ โจทก์จาเลย และทนายทั้งสองฝ่ ายมาศาล

โจทก์จาเลยแถลงว่า ตกลงกันได้ตามสัญญาประนีประนอมยอมความที่เสนอศาล
ขอให้ ศาลพิพากษาตามยอม

ศาลพิเคราะห์สัญญาประนปี ระนอมยอมความแล้วเห็นว่าไม่เป็นการฝ่ าฝื นต่อกฎหมาย
จึงพิพากษาตามยอมให้วนั น”ี้

๒. กรณีที่ศาลเปรียบเทียบหรือประนีประนอมยอมความ จดรายงานกระบวนพิจารณาวา่
“นดั สืบพยานโจทก์ โจทก์จาเลย และทนายของท้ังสองฝ่ ายมาศาล

ศาลเปรียบเทียบแล้ว คู่ความตกลงกนั ได้
จึงทาสัญญาประนีประนอมยอมความให้ ตามความประสงค์ และพิพากษาตามยอม
วันน”ี้
ตัวอย่างสัญญาประนปี ระนอมยอมความ
๑. เรื่องกยู้ มื
ขอ้ ๑. จาเลยยอมชาระหน้ีใหโ้ จทก์ ๑๐๐,๐๐๐ บาท โดยขอผอ่ นชาระ ๑๐ งวด งวดละ
(หรือเดือนละ) ๒,๐๐๐ บาท ทุกเดือนจนกวา่ จะชาระเสร็จ งวดแรกจะชาระในวนั ที่ . . . และงวด
ต่อไปภายในวนั ที่ . . . ของทุกเดือนถดั ไป หากจาเลยผิดนดั งวดหน่ึงงวดใดใหถ้ ือวา่ ผิดนดั ท้งั หมด
ยอมใหโ้ จทกบ์ งั คบั คดีไดท้ นั ที

ขอ้ ๒. โจทกย์ อมตามขอ้ ๑. ไมต่ ิดใจเรียกร้องจากจาเลยนอกเหนือจากที่กล่าวขา้ งตน้

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๖๖

ขอ้ ๓. ค่าฤชาธรรมเนียมนอกจากที่ศาลสง่ั คืนใหเ้ ป็นพบั
๒. เรื่องละเมิด

ขอ้ ๑. จาเลยยอมชาระค่าสินไหมทดแทนให้โจทก์จานวน ๕๐,๐๐๐ บาท โดยขอ
ผ่อนชาระ ๒ งวด งวดแรกชาระ ๓๐,๐๐๐ บาท ภายในวนั ท่ี . . . งวดท่ี ๒ ชาระ ๒๐,๐๐๐ บาท
ภายในวนั ที่ . . . หากผดิ นดั งวดใดยอมใหโ้ จทกบ์ งั คบั คดีไดท้ ้งั หมดทนั ที

ขอ้ ๒. โจทกย์ อมตามขอ้ ๑. ไมต่ ิดใจเรียกร้องจากจาเลยนอกเหนือจากน้ี
ขอ้ ๓. ค่าฤชาธรรมเนียมนอกจากที่ศาลส่งั คืนใหเ้ ป็นพบั
๓. เรื่องบงั คบั จานอง
ขอ้ ๑. จาเลยยอมชาระหน้ีจานอง ๑๐๐,๐๐๐ บาท ให้โจทก์ โดยขอผ่อนชาระ
เป็ น ๒๐ งวด งวดละ ๑ เดือน เดือนละ ๕,๐๐๐ บาท งวดแรกชาระภายในวนั ท่ี . . . งวดต่อไป
ชาระภายในวนั ที่ . . . ของทุกเดือนถดั ไป จนกว่าจะชาระเสร็จเป็ นการไถ่จานอง หากผิดนัด
งวดหน่ึงงวดใด ยอมใหโ้ จทกบ์ งั คบั คดีไดท้ นั ที โดยใหย้ ดึ ที่ดินท่ีจานองโฉนดเลขที่ . . . เลขท่ี
ดินที่ . . .ตาบล . . . อาเภอ . . . จงั หวดั . . . ออกขายทอดตลาด ถา้ ไดเ้ งินไม่พอชาระหน้ี ยอมให้
โจทกย์ ดึ ทรัพยส์ ินอ่ืนของจาเลยมาชาระหน้ีจนครบ
ขอ้ ๒. โจทกย์ อมตามขอ้ ๑. และไมต่ ิดใจเรียกร้องจากจาเลยนอกจากท่ีกลา่ วขา้ งตน้
ขอ้ ๓. คา่ ฤชาธรรมเนียมนอกจากที่ศาลสง่ั คืนใหเ้ ป็นพบั

ข้อสังเกต
๑. การคืนค่าข้ึนศาลต้องระบุว่าต้องคืนจานวนเท่าใด ท้ังน้ีตามระเบียบ
ขา้ ราชการฝ่ ายตุลาการ ฉบบั ที่ ๗ ซ่ึงวางเป็ นระเบียบไวว้ ่า เวน้ แต่ศาลจะเห็นสมควรส่ังเป็ น
อยา่ งอื่น การคืนคา่ ธรรมเนียมศาลตามมาตรา ๑๕๑ วรรคสอง สาหรับศาลช้นั ตน้ ใหเ้ ป็นไปดงั น้ี
เมื่อไดม้ ีการถอนคาฟ้อง หรือเม่ือคดีไดเ้ สร็จเดด็ ขาดลงโดยสญั ญาประนีประนอม
ยอมความใหค้ ืนค่าข้ึนศาลตามกรณีดงั ต่อไปน้ี
(๑) ก่อนสืบพยาน ให้คืนค่าข้ึนศาลไม่เกิน ๓ ใน ๔ ส่วน แต่มิให้เหลือ
นอ้ ยกวา่ ๒๐๐ บาท
(๒) เม่ือมีการสืบพยานไปบา้ งแลว้ ให้คืนค่าข้ึนศาลไม่เกินก่ึงหน่ึงแต่มิให้
เหลือนอ้ ยกวา่ ๒๐๐ บาท
ท้งั สองกรณีน้ีใหศ้ าลพิเคราะห์ถึงการพิจารณาท่ีไดก้ ระทาไปแลว้ ประกอบดว้ ย
๒. คาบงั คบั ไม่ควรเขียนไวใ้ นคาพิพากษาตามยอมต่อจากการส่ังคืนค่าข้ึนศาล
ควรเขียนไวท้ ี่หนา้ สานวน (แผน่ ท่ี ๒ ถดั จากปกหนา้ สานวน)

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๖๗

๓. การคืนค่าข้ึนศาลเป็ นกรณีพิเศษควรกระทาต่อเมื่อคู่ความขอและตอ้ งปรากฏ
ในคาแถลงหรือในรายงานกระบวนพิจารณา ทางปฏิบตั ิของศาลแพ่ง การคืนค่าข้ึนศาลเป็ นกรณีพิเศษ
หากยงั ไม่มีการสืบพยาน ให้คืนเจ็ดในแปดส่วน หากสืบพยานไปบา้ งแลว้ ให้คืนสามในสี่ส่วน
หากจะคืนคา่ ข้ึนศาลแตกต่างไปจากหลกั เกณฑเ์ ช่นวา่ น้ีตอ้ งปรึกษารองอธิบดีฯ หรืออธิบดีฯก่อน

๔. เขียนท่ีหน้าสานวนว่าบงั คบั ตามยอม หากไม่ปฏิบตั ิตามอาจถูกยึดทรัพย์
ถูกจบั จาขงั หรือบงั คบั คดีตามกฎหมาย ไม่ควรเขียนเพียงว่าบงั คบั ตามยอมเท่าน้ัน เพราะยงั ถือ
ไม่ไดว้ า่ ศาลมีคาบงั คบั แลว้ ตามที่บญั ญตั ิไวใ้ นมาตรา ๒๗๒ (ฎีกาท่ี ๑๙๓๘/๒๕๒๗)

๕. เม่ือมีการยอมความและพิพากษาตามยอมแล้วจะฟ้องว่ายอมความโดยสาคัญผิด
ไม่ได้ คาพพิ ากษายอ่ มผกู พนั คูค่ วาม (ฎีกาท่ี ๑๓๓๒/๒๔๙๖, ๔๙๓๒/๒๕๔๕)

๖. ทนายความทายอมความตามอานาจที่ระบุไว้ในใบแต่งทนายความและ
ศาลพิพากษาตามยอมแล้ว ตัวความอุทธรณ์ว่าทนายความยอมความโดยไม่บอกตวั ความก่อน
ยงั ไม่เป็ นฉ้อฉลตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๑๓๘(๑) (ฎีกาท่ี ๕๙๐/๒๕๐๑) และแมท้ นายจาเลยจะทาสัญญา
ประนีประนอมยอมความโดยฝ่ าฝืนตอ่ ความประสงคข์ องจาเลยและไม่แจง้ ใหจ้ าเลยทราบก็ไม่เป็นเหตุ
ที่จาเลยจะยกข้ึนอ้าง เพื่อขอให้เพิกถอนกระบวนพิจารณาของศาลช้ันต้นดงั กล่าวและขอให้
พจิ ารณาคดีใหมไ่ ด้ (ฎีกาท่ี๗๙๐๐/๒๕๔๗)

๗. ศาลพิพากษาตามยอมแลว้ จาเลยอุทธรณ์วา่ ทนายจาเลยร่วมกบั โจทก์ฉ้อฉล
จาเลย จาเลยมีสิทธิอุทธรณ์ได้ ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๑๓๘ (๑), ๒๒๕ (ฎีกาท่ี๑๑๕๐/๒๕๑๙)
การท่ีจาเลยทาสัญญาประนีประนอมยอมความที่ศาลเพราะถูกโจทก์หลอกว่าเป็ นการทาเร่ือง
ถอนฟ้อง โดยโจทก์จะเอาเงินจากจาเลยเพียง ๑๔๐,๐๐๐ บาท แต่ความจริงเป็ นการทาสัญญา
ประนีประนอมยอมความว่าจาเลยชาระหน้ีให้โจทก์เป็ นเงินกว่า ๒๗๐,๐๐๐ บาท เป็ นการทา
สัญญาประนีประนอมยอมความเพราะถูกโจทก์ฉ้อฉล จาเลยอุทธรณ์ขอให้ศาลเพิกถอนได้
(ฎีกาท่ี ๔๔๓๔/๒๕๓๒)

๘. คาพิพากษาตามยอมให้จาเลยออกจากท่ีดินของโจทก์ ย่อมใช้บงั คับถึง
บริวารดว้ ย (ฎีกาท่ี ๗๗๖/๒๕๐๘)

๙. เจา้ หน้ีจานองยอมความกบั ลูกหน้ี เม่ือมีการบงั คบั คดีขายทอดตลาดทรัพย์
จานองไดเ้ งินไมพ่ อชาระหน้ี เจา้ หน้ีอ่ืนไมม่ ีสิทธิขอเฉล่ียหน้ี (ฎีกาท่ี ๑๒๔๒/๒๕๐๘)

๑๐. พินัยกรรมของจาเลยไม่มีผลลบล้างสัญญาประนีประนอมยอมความ
ท่ีโจทกจ์ าเลยไดท้ าไวก้ ่อนจาเลยถึงแก่กรรม (ฎีกาที่ ๑๒๑๐/๒๕๑๐)

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๖๘

๑๑. ทายอมว่าใหห้ ญิงไปถอนทะเบียนรับรองบุตร ซ่ึงไม่มีขอ้ เท็จจริงว่าจาเลย
มิใช่บิดาท่ีแทจ้ ริงของเด็กโดยชายใหค้ ่าตอบแทน ๒๐,๐๐๐ บาท ถือวา่ คาพพิ ากษาตามยอมขดั ต่อ
ความสงบเรียบร้อยของประชาชน โจทกอ์ ทุ ธรณ์ได้ (ฎีกาท่ี ๒๔๑๔/๒๕๑๙)

๑๒.โจทก์จาเลยแถลงว่ายอมความกนั ได้ ศาลไม่ต้องส่ังรับคาให้การจาเลย
ศาลทาสญั ญาประนีประนอมยอมความและพพิ ากษาตามยอมได้ (ฎีกาที่ ๒๑๖๙/๒๕๒๓)

๑๓. คูค่ วามยอมความกนั และศาลพพิ ากษาตามยอม โจทกอ์ ทุ ธรณ์อา้ งวา่ ฉอ้ ฉล
แต่ขอ้ ความอุทธรณ์เป็ นการอา้ งความสาคญั ผิด คาพิพากษาตามยอมเสร็จเด็ดขาดตาม ป.วิ.พ.
มาตรา ๑๓๘ ไมม่ ีประโยชน์จะใหน้ าสืบตามขอ้ อา้ ง (ฎีกาที่ ๑๒๙๘/๒๕๒๔)

๑๔. จาเลยอุทธรณ์ว่าถูกทนายโจทก์กบั เสมียนศาลขู่ให้ลงลายมือช่ือในสัญญา
ประนีประนอมยอมความท่ีศาลทาให้ แต่เมื่อเรียกจาเลยกบั เสมียนมาสอบถามพร้อมกนั จาเลย
แถลงว่าเสมียนศาลมิไดพ้ ูดขู่เข็ญให้จาเลยลงลายมือช่ือในสัญญายอมไม่มีเหตุเพิกถอนสัญญายอม
(ฎีกาท่ี ๑๔๘๕/๒๕๒๔)

๑๕. ในกรณีท่ีสามีภริยาหยา่ กนั ดว้ ยความยนิ ยอม ใหท้ าความตกลงเป็ นหนงั สือ
วา่ ฝ่ายใดจะเป็นผใู้ ชอ้ านาจปกครองบุตร ถา้ มิไดต้ กลงหรือตกลงกนั ไม่ไดใ้ หศ้ าลเป็นผชู้ ้ีขาด

ถา้ หยา่ โดยคาพพิ ากษาของศาล ใหศ้ าลซ่ึงพิจารณาคดีฟ้องหยา่ ช้ีขาดดว้ ยวา่
ฝ่ายใดจะเป็นผใู้ ชอ้ านาจปกครองบุตร (ป.พ.พ. มาตรา ๑๕๒๐)

๑๖. ในคดีฟ้องบงั คบั จานอง ถา้ จาเลยใหก้ ารโดยไมม่ ีขอ้ ตอ่ สู้ ไมต่ อ้ งเรียกคา่ ข้ึนศาล
เพ่ิมจากโจทก์ ส่วนค่าข้ึนศาลร้อยละ ๑ ท่ีโจทกเ์ สียไวแ้ ลว้ น้นั คืนให้โจทก์ ๓ ใน ๔ หรือก่ึงหน่ึง
หรือคืนเป็นกรณีพเิ ศษ

ถา้ มีหน้ีประธานอยู่ดว้ ยคิดค่าข้ึนศาลร้อยละ ๒ ถา้ เป็ นคดีบงั คบั จานอง
อยา่ งเดียว เช่น ฟ้องผูจ้ านองคนเดียวไม่ไดฟ้ ้องลูกหน้ีช้นั ตน้ ดว้ ยคิดร้อยละ ๑ ของจานวนหน้ี
ที่เรียกร้อง แต่ไม่เกินหน่ึงแสนบาท ส่วนท่ีเกินหา้ สิบลา้ นบาทข้ึนไป คิดร้อยละ ๐.๑ ตามตาราง ๑
ทา้ ย ป.วิ.พ. ขอ้ (๑) (ค)

๑๗. สัญญาประนีประนอมยอมความ ซ่ึงศาลมีคาพิพากษาตามยอมแล้วถ้าจาเลย
ไม่ปฏิบตั ิตามสัญญาประนีประนอมยอมความ และโจทก์ขอให้ศาลบงั คบั จาเลยจะขอใหง้ ดการ
บงั คบั คดีไวจ้ นกวา่ จะทราบผลแห่งคาพิพากษาในคดีท่ีฟ้องขอใหเ้ พิกถอนสัญญาประนีประนอมยอมความ
หาไดไ้ ม่ กรณีไม่ตอ้ งดว้ ย ป.วิ.พ. มาตรา๒๙๓ วรรคหน่ึง แต่จาเลยใชส้ ิทธิอุทธรณ์คาพิพากษาได้
ตามมาตรา๑๓๘ (๓) (ฎีกาที่ ๑๔๘๗/๒๕๒๑)

๑๘. การไกล่เกลี่ยของผูพ้ ิพากษาเพ่ือให้คู่ความตกลงกนั เป็ นหน้าที่ตามกฎหมาย
ของผพู้ ิพากษาตามมาตรา ๒๐ ซ่ึงยอ่ มเป็ นไปตามความสมคั รใจของคู่ความ (ฎีกาท่ี ๕๐๑๒/๒๕๓๘)

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๖๙

และใหศ้ าลจดรายงานกระบวนพิจารณาแสดงขอ้ ความแห่งขอ้ ตกลงหรือการประนีประนอมยอม
ความเหล่าน้ันไวแ้ ล้วพิพากษาไปตามน้ัน ดงั น้ัน การท่ีศาลจดรายงานกระบวนพิจารณาว่า
คู่ความตกลงกันแล้ว ทาสัญญาประนีประนอมยอมความ แต่โจทก์ไม่ลงลายมือช่ือ ศาลจด
รายงานกระบวนพิจารณาไวว้ ่า โจทก์ไม่ยอมลงลายมือชื่อในสัญญาประนีประนอมยอมความ
โดยมิไดแ้ จง้ เหตุใด ๆ จึงบนั ทึกไวต้ ่อหนา้ โจทกจ์ าเลย สัญญาประนีประนอมยอมความน้ีไม่ชอบ
ดว้ ย ป.พ.พ. มาตรา ๘๕๑ คาพิพากษาที่บงั คบั คดีตามยอมน้ันไม่เป็ นคาพิพากษาท่ีชอบ คู่ความ
อุทธรณ์ฎีกาได้ ศาลพิพากษาให้เพิกถอนสัญญาประนีประนอมยอมความและยกคาพิพากษา
ตามยอมใหพ้ ิจารณาพิพากษาใหม่ (ฎีกาที่ ๑๙๕/๒๕๒๑)

๑๙. สัญญาประนีประนอมยอมความที่ศาลพิพากษาตามยอมแล้ว ถือว่าเป็ น
ส่วนหน่ึงของคาพิพากษาจะแก้ไขขอ้ ผิดพลาดไดเ้ ม่ือเป็ นขอ้ ผิดพลาดเล็กน้อยหรือขอ้ ผิดหลง
เล็กน้อย (ฎีกาท่ี ๙๐๗/๒๕๓๙) แต่ขอ้ ความท่ีโจทก์ขอแก้ไขเพ่ิมเติมว่า พร้อมดอกเบ้ียร้อยละ
๑๘.๕ ต่อปี จากตน้ เงินดังกล่าวนับถัดจากวนั ทายอมเป็ นตน้ ไปจนกว่าจะชาระเสร็จต่อจาก
ขอ้ ความว่า จาเลยยอมรับผิดชาระตน้ เงินและดอกเบ้ียรวมเป็ นเงิน ๘๙๒,๔๕๒.๗๒ บาท น้ัน
เป็ นการเพ่ิมความรับผิดให้จาเลยต้องรับผิดในส่วนของดอกเบ้ียมากข้ึนกว่าเดิม จึงไม่ใช่
ขอ้ ผิดพลาดเล็กนอ้ ยหรือขอ้ ผิดหลงเล็กนอ้ ยอื่น ๆ แมจ้ าเลยจะไม่คดั คา้ น โจทก์ก็ไม่อาจขอแกไ้ ขได้
(ฎีกาท่ี ๑๗๗๑/๒๕๔๗)

๒๐. การทา้ กนั ให้ถือเอาผลของคาพิพากษา หมายถึง ผลคาพิพากษาท่ีถึงที่สุดแลว้
(ฎีกาที่ ๑๔๓๖/๒๕๓๘)

๒๑. ตามมาตรา ๓๕ แห่ง พ.ร.บ. คณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕ มาตรา ๓๕ ท่ีบญั ญตั ิว่า
“ท่ีวัด ท่ีธรณีสงฆ์และที่ศาสนสมบัติกลางเป็ นทรัพย์สินซึ่งไม่อยู่ในความรับผิดแห่ง การบังคับคดี”
ยอ่ มหมายถึงว่า เม่ือมีการบงั คบั คดีแลว้ จะตอ้ งมีการยึดหรืออายดั ทรัพยส์ ินท่ีกฎหมายห้ามยึด
หรืออายดั การท่ีทนายโจทก์และจาเลยตกลงกนั ทาสัญญาประนีประนอมยอมความต่อหนา้ ศาลว่า
ใหจ้ าเลยจดั ทาถนนในท่ีดินพพิ าทโดยจาเลยตอ้ งแจง้ ให้โจทก์ทราบ ขอ้ ตกลงดงั กลา่ วหากโจทก์
บิดพลิ้วจาเลยไม่จาต้องยึดหรืออายดั ที่ดินพิพาทเพ่ือการบังคบั คดีแต่อย่างใด ขอ้ ตกลงของ
ทนายโจทกก์ บั จาเลยขอ้ น้ีจึงมิไดข้ ดั ต่อบทบญั ญตั ิแห่งกฎหมายอนั เกี่ยวดว้ ยความสงบเรียบร้อย
ของประชาชนและศาลช้ันต้นได้พิพากษาไปตามสัญญาประนีประนอมยอมความดังกล่าวแล้ว
ขอ้ อา้ งของโจทก์จึงมิไดเ้ ขา้ ขอ้ ยกเวน้ ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๑๓๘ วรรคสอง ในอนั ท่ีจะใชส้ ิทธิ
อุทธรณ์ได้ (ฎีกาท่ี ๑๑๑๐/๒๕๔๐)

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๗๐

๒๒. โจทก์มีสิทธิที่จะทาสัญญาประนีประนอมยอมความกบั จาเลยบางคนก็ได้
แต่จาเลยอ่ืน ๆ หลุดพน้ ความรับผิดเท่ากบั จานวนเงินที่จาเลยน้ันทายอมเท่าน้นั (ฎีกาที่ ๘๙๗/
๒๕๒๕)

ข้อสังเกต
กรณีโจทก์ฟ้องจาเลยหลายคนซ่ึงมูลความแห่งคดีเป็ นการชาระหน้ีท่ีมิอาจ
แบ่งแยกได้ แต่โจทก์ทาสัญญาประนีประนอมยอมความกบั จาเลยไดเ้ พียงบางคน ซ่ึงอาจส่งผล
ทาใหจ้ าเลยคนอื่น ๆ หลุดพน้ ความรับผดิ ไม่วา่ จะเขา้ เกณฑเ์ ป็ นลูกหน้ีร่วมตาม ป.พ.พ. มาตรา ๒๙๒
หรือมาตรา ๒๙๓ ก็ดีหรือเป็ นผูค้ ้าประกันตาม ป.พ.พ. มาตรา ๖๙๑ หรือมาตรา ๗๐๐ ก็ดี
หรือจานองตาม ป.พ.พ. มาตรา ๗๔๔ ก็ดี กรณีต่าง ๆ เหล่าน้ีลว้ นกลายเป็ นอุปสรรคสาคัญ
แห่งการท่ีธนาคารหรือสถาบนั การเงินที่เป็ นโจทก์จะตกลงยินยอมในการปรับโครงสร้างหน้ี
ให้แก่จาเลยซ่ึงเป็ นลูกหน้ีช้นั ตน้ และอาจส่งผลทาให้การตกลงประนีประนอมยอมความและ
การพิพากษาตามยอมตามมาตรา ๑๓๘ เกิดข้ึนไม่ได้ เพื่อแก้ไขปัญหาเช่นว่าน้ี มีแนวทาง
แกไ้ ขปัญหาอยู่ ๒ แนวทาง คือ
(๑) ศาลอาจบันทึกเป็ นสัญญาประนีประนอมยอมความไว้ และจดรายงาน
กระบวนพิจารณาเก่ียวกับความตกลงของคู่ความที่ตกลงประนีประนอมยอมความกนั ได้ไว้
เป็นหลกั ฐานแต่จดไวใ้ นรายงานกระบวนพิจารณาดว้ ยวา่ เป็นกรณีที่มลู ความแห่งคดีน้นั เป็ นการ
ชาระหน้ีซ่ึงแบ่งแยกกนั มิได้ จึงให้รอการพิพากษาตามยอมไวก้ ่อน เมื่อศาลดาเนินการพิจารณา
สาหรับจาเลยที่ไม่อาจยอมความไดเ้ สร็จส้ินแล้ว จะได้มีคาพิพากษาตามยอมและคดีเรื่องน้ี
ไปตามรูปคดีตอ่ ไป
(๒) ถา้ โจทก์กบั จาเลยท่ีตกลงยอมความกนั ได้ โดยโจทก์พอใจต่อเง่ือนไขท่ีจาเลย
ซ่ึงเป็นลูกหน้ีช้นั ตน้ เสนอบุคคลใด ๆ เขา้ มาเป็ นผคู้ ้าประกนั ในศาลตามมาตรา ๒๗๔ กรณีเช่นน้ี
คู่ความที่ตกลงกนั ไดอ้ าจใชว้ ิธีการตามมาตรา ๒๗๔ ให้มีบุคคลผูเ้ ขา้ มาเป็ นผูค้ ้าประกนั ในศาล
โดยทาหนังสือประกันหรื อวิธีอื่น ๆ เพื่อเป็ นการชาระหน้ีตามคาพิพากษาตามยอมน้ัน
แลว้ โจทกถ์ อนฟ้องจาเลยอื่นน้นั เสีย กเ็ ป็นอีกแนวทางหน่ึงท่ีพอจะแกป้ ัญหาไดเ้ ช่นกนั
คาพพิ ากษาศาลฎีกาที่ ๔๕๕๔/๒๕๓๖ โจทกย์ น่ื คาร้องขอคุม้ ครองชว่ั คราวก่อน
พิพากษาและยนื่ คาขอในเหตุฉุกเฉินเมื่อวนั ที่ ๑๐ ตุลาคม ๒๕๓๑ ศาลช้นั ตน้ มิไดท้ าการไต่สวน
คาร้องท้งั สองฉบบั ของโจทก์ในวนั ดงั กล่าว แต่มีคาส่ังให้ส่งสาเนาคาร้องท้งั สองฉบบั ให้แก่
จาเลยท้งั สี่ และนัดไต่สวนคาร้องในวนั ที่ ๑๘ ตุลาคม ๒๕๓๑ การที่ศาลช้นั ตน้ ให้นัดไต่สวน
คาร้องของโจทก์หลงั วนั ย่ืนคาร้องถึง ๘ วนั จึงมิใช่เป็ นการพิจารณาเป็ นการด่วนตาม ป.วิ.พ.
มาตรา ๒๖๗ ถือวา่ ศาลช้นั ตน้ ดาเนินการไตส่ วนคาร้องของโจทก์อยา่ งวิธีธรรมดา ดงั น้ี เมื่อศาลอทุ ธรณ์

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๗๑

พิพากษายกคาส่งั ศาลช้นั ตน้ คาพิพากษาของศาลอุทธรณ์จึงไม่เป็นที่สุด โจทกย์ อ่ มมีสิทธิย่ืนฎีกา
ไดต้ าม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๔๗ โจทก์ฟ้องขอให้บงั คบั จาเลยท้งั สี่จดแจง้ การโอนหุ้นลงในสมุด
ทะเบียนผถู้ ือหุน้ วา่ โจทกเ์ ป็นผถู้ ือหุน้ ของบริษทั จาเลยที่ ๑ และออกใบหุน้ พร้อมกบั ใชค้ ่าเสียหาย
ให้แก่โจทก์ แต่ตามคาร้องท่ีโจทก์ขอให้คุม้ ครองช่ัวคราวก่อนพิพากษากลับเป็ นเรื่องโจทก์
ตอ้ งการใช้สิทธิเขา้ ไปดูแลครอบงาการจดั การและเรียกประชุมผูถ้ ือหุ้นเพื่อจะไดด้ าเนินการ
บริษทั จาเลยที่ ๑ ต่อไปชว่ั คราว ซ่ึงเป็ นเรื่องที่นอกเหนือจากประเด็นแห่งคาฟ้อง โจทก์ไม่อาจ
ร้องขอให้คุม้ ครองดังกล่าวได้ กรณีจึงไม่มีเหตุสมควรและเพียงพอที่จะนาวิธีการคุม้ ครอง
ชว่ั คราวก่อนพิพากษาตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๕๔ (๒) มาใช้ การท่ีโจทก์ยื่นคาร้องขอถอนฟ้อง
จาเลยที่ ๒ ท่ี ๓ และที่ ๔ และในวนั เดียวกนั กรรมการชุดใหม่ของจาเลยท่ี ๑ ซ่ึงโจทก์เป็ นผูร้ ่วม
ประชุมแต่งต้งั ไดย้ ่ืนคาร้องขอถอนทนายจาเลยท่ี ๑ ท่ีกรรมการชุดเดิมไดต้ ้งั ไว้ หลงั จากน้ัน
โจทก์กบั ทนายความคนใหม่ของจาเลยท่ี ๑ ไดท้ าสัญญาประนีประนอมยอมความให้เป็ นไปตาม
คาขอทา้ ยฟ้องของโจทก์เช่นน้ี เป็ นท่ีเห็นไดว้ ่ากระทาไปโดยไม่สุจริตและกระทาเพื่อเอาเปรียบ
ในเชิงคดีแก่จาเลยท่ี ๒ ท่ี ๓ และท่ี ๔ ซ่ึงจาเลยดงั กล่าวต่างให้การต่อสู้อยู่ว่า หุ้นตามฟ้องมิใช่
ของโจทก์ ท้งั ยงั คดั คา้ นคาร้องขอถอนฟ้องดว้ ย ยอ่ มทาใหจ้ าเลยท่ี ๒ ท่ี ๓ และที่ ๔ ไม่มีโอกาส
ต่อสู้คดีกบั โจทก์ ที่ศาลช้นั ตน้ อนุญาตให้โจทก์ถอนฟ้องจาเลยที่ ๒ ท่ี ๓ และที่ ๔ แลว้ พิพากษา
คดีตามสัญญาประนีประนอมยอมความระหวา่ งโจทกก์ บั จาเลยที่ ๑ จึงเป็นการไมช่ อบ

๒๓. ในกรณีท่ีคู่ความฝ่ ายใดฝ่ ายหน่ึง เช่น จาเลยขาดนัดยื่นคาให้การหรือ
ขาดนัดพิจารณา ศาลก็ยงั มีอานาจส่ังให้จาเลยไปศาลเพื่อการเปรียบเทียบหรือประนีประนอม
ยอมความได้ เพราะจาเลยยงั คงเป็ นคู่ความอยู่และเมื่อจะตอ้ งดาเนินกระบวนพิจารณาอย่างใด
กฎหมายกบ็ งั คบั ใหศ้ าลตอ้ งแจง้ ใหจ้ าเลยทราบทุกคร้ัง

๒๔. หากการตกลงมีผลเพียงทาให้คดีเสร็จไปเพียงบางประเด็น กรณีเช่นน้ี
ก็ไม่อาจพิพากษาตามยอมได้ (ฎีกาที่ ๓๐/๒๕๔๙)

๒๕. อุทธรณ์ของจาเลยท่ีว่า ฟ้องโจทก์เป็ นฟ้องซ้าและฟ้องซ้อนเป็ นการกล่าวอา้ ง
วา่ คาพิพากษาตามยอมของศาลช้นั ตน้ ล่วงละเมิดต่อบทบญั ญตั ิแห่งกฎหมายเก่ียวดว้ ยความสงบ
เรียบร้อยของประชาชนตามมาตรา ๑๓๘ (๒) (ฎีกาท่ี ๒๖๘๔/๒๕๓๙)

๒๖. การตีความตามคาพิพากษาตามยอมถือว่าเป็ นกระบวนพิจารณาช้นั บงั คบั
คดีมิใช่อุทธรณ์คาพิพากษาตามยอม ดงั น้ี เม่ือจาเลยอุทธรณ์คาส่ังของศาลช้นั ต้นท่ีมีคาส่ังให้
จาเลยดาเนินการรังวดั ให้ไดเ้ น้ือที่จานวน ๖๐ ไร่ ให้แก่บุตรโจทก์ตามขอ้ สัญญาประนีประนอมยอม
ความและศาลอุทธรณ์ยกอุทธรณ์คาสั่งของจาเลย โดยยงั มิไดว้ ินิจฉัยว่าคาสั่งศาลช้นั ตน้ เป็ นไป
ตามสัญญาประนีประนอมยอมความหรือไม่ จาเลยจึงฎีกาได้ ตามสัญญาประนีประนอมยอม

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๗๒

ความกาหนดวิธีแบ่งแยกที่ดินเพ่ือให้ไดเ้ น้ือท่ี ๖๐ ไร่ เป็ นของบุตรโจทก์ซ่ึงสามารถปฏิบตั ิได้
จาเลยจะยกเหตุอื่นเพื่อแกไ้ ขมิไดเ้ พราะนอกขอ้ ตกลง คาพิพากษาตามยอมจึงไม่มีขอ้ ผิดพลาด
ไม่มีเหตทุ ่ีศาลจะแกไ้ ขหรือกาหนดแนวทางใหค้ ูค่ วามปฏิบตั ิ (ฎีกาท่ี ๑๗๑๙/๒๕๓๘)

๒๗. การที่จาเลยยินยอมชาระเงินแก่โจทก์ตามฟ้องพร้อมดอกเบ้ียอตั ราร้อยละ
๑๙ ต่อปี ไม่เกินกวา่ อตั ราดอกเบ้ียที่โจทก์มีสิทธิคิดจากจาเลยไดต้ ามประกาศกระทรวงการคลงั
และสัญญากู้เงิน สัญญาประนีประนอมยอมความ จึงมิได้ฝ่ าฝื นต่อกฎหมาย ศาลช้ันต้น
ตอ้ งพิพากษาไปตามน้ันจะลดอตั ราดอกเบ้ียเพราะเหตุที่เห็นว่าเป็ นอตั ราดอกเบ้ียที่สูงเกินส่วน
มิได้ (ฎีกาท่ี ๘๓๐๙/๒๕๔๓)

๒๘. ศาลช้นั ตน้ พิพากษาตามยอมไปโดยคู่ความยงั มิไดเ้ สียค่าข้ึนศาลใหถ้ ูกตอ้ ง
ครบถว้ นตามคาส่ังของศาลช้นั ตน้ ศาลฎีกาย่อมพิพากษายกคาพิพากษาแลว้ ให้ดาเนินการใหม่
ใหถ้ กู ตอ้ ง (ฎีกาที่ ๓๗๑๗/๒๕๔๖)

๒๘/๑. โจทก์ฟ้องและยื่นคาร้องขอดาเนินคดีอย่างคนอนาถา (ยื่นคาร้องขอ
ยกเวน้ ค่าธรรมเนียม) ศาลช้นั ตน้ นดั ไต่สวนคาร้อง ระหว่างไต่สวน โจทกจ์ าเลยตกลงกนั และ
ศาลช้นั ตน้ พิพากษาตามยอม โดยศาลช้นั ตน้ ยงั มิไดม้ ีคาสั่งให้รับฟ้องไวพ้ ิจารณา จึงเป็นกรณีที่
มิได้ปฏิบตั ิตาม ป.วิ.พ. ในขอ้ ท่ีมุ่งหมายจะยงั ให้การเป็ นไปด้วยความยุติธรรม คาพิพากษา
ตามยอมและหมายบงั คบั คดีตามยอมจึงไม่ชอบและชอบที่จะเพิกถอนกระบวนพิจารณาของ
ศาลช้นั ตน้ ท้งั หมด เจา้ พนักงานบงั คบั คดีไม่มีอานาจยึดทรัพยส์ ินของจาเลย (ฎีกาที่ ๒๙๙๔/
๒๕๔๓)

๒๙. เมื่อประเด็นแห่งคดีคงมีเฉพาะเก่ียวกบั หน้ีจานวนท่ีโจทก์ฟ้อง มิไดร้ วมหน้ี
รายอื่นที่จาเลยให้การถึง การท่ีทนายโจทก์ทาสัญญาประนีประนอมยอมความกบั จาเลยในหน้ี
รายอื่นโดยโจทก์มิได้ยินยอมดว้ ย จึงเป็ นการทาสัญญาประนีประนอมยอมความในหน้ีท่ีไม่
เก่ียวกบั ประเด็นแห่งคดี ไม่มีผลผกู พนั โจทกแ์ ละศาลไม่อาจพพิ ากษาตามสญั ญาประนีประนอม
ยอมความน้นั ได้ การท่ีศาลช้นั ตน้ มีคาพิพากษาตามสัญญาประนีประนอมยอมความให้ จึงเป็ น
การไม่ชอบดว้ ยมาตรา ๑๓๘ โจทกย์ อ่ มอทุ ธรณ์ของใหเ้ พกิ ถอนเสียได้ (ฎีกาท่ี ๕๓๗๒/๒๕๔๒)

๓๐. คดีที่ศาลช้นั ตน้ พพิ ากษาตามยอม มาตรา ๑๓๘ วรรคสอง หา้ มมิใหอ้ ทุ ธรณ์
คาพิพากษาเช่นว่าน้ี เว้นแต่ในเหตุ ๓ ประการดังน้ี เมื่อโจทก์เห็นว่าข้อตกลงตามสัญญา
ประนี ประนอมยอมความข้อใดขัดต่อความสงบเรี ยบร้อยของประชาชนทาให้คาพิพากษาตามยอม
ไม่ชอบเขา้ ขอ้ ยกเวน้ ที่โจทก์สามารถอุทธรณ์ได้ โจทก์ก็ตอ้ งอุทธรณ์คาพิพากษาศาลช้นั ตน้
ภายในกาหนดหน่ึงเดือนตามมาตรา ๒๒๙ แต่โจทก์หาไดอ้ ุทธรณ์ไม่ กลบั ยื่นคาร้องขอให้
ศาลช้นั ตน้ เพิกถอนสัญญาประนีประนอมยอมความ โดยไม่มีบทกฎหมายใดให้โจทก์กระทาเช่นน้นั ได้


Click to View FlipBook Version