ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๗๓
การที่ศาลช้นั ตน้ ยกคาร้อง โจทก์อุทธรณ์ ศาลอุทธรณ์ภาค ๑ ไม่รับอุทธรณ์คาสั่งของโจทก์ไว้
วินิจฉัยด้วยเหตุดังกล่าวจึงชอบแล้วเพราะกรณีของโจทก์เป็ นการอุทธรณ์คาสั่งศาลช้ันตน้
ท่ีไม่เพิกถอนสัญญาประนีประนอมยอมความตามที่โจทก์ยื่นคาร้องขอให้เพิกถอน หาใช่เป็ น
การอุทธรณ์คาพพิ ากษาตามยอมเขา้ ขอ้ ยกเวน้ ของมาตรา ๑๓๘วรรคสอง ท่ีโจทกจ์ ะอุทธรณ์ไดไ้ ม่
(ฎีกาที่ ๒๔๒๖/๒๕๔๘)
การประนีประนอมยอมความในช้ันอทุ ธรณ์/ฎกี า
การประนีประนอมยอมความคดีท่ีอยใู่ นระหวา่ งการพิจารณาของศาลอุทธรณ์หรือฎีกา ทาไดด้ งั น้ี
๑. คู่ความท้ังสองฝ่ ายย่ืนคาร้องพร้อมสัญญาประนีประนอมยอมความต่อศาลช้ันต้น
ส่ังคาร้องวา่ “ส่งศาลอทุ ธรณ์/ฎีกา เพื่อพิจารณา”
๒. คู่ความฝ่ ายใดฝ่ ายหน่ึงย่ืนคาร้องพร้อมสัญญาประนีประนอมยอมความ สั่งคาร้องวา่
“นัดพร้อม” เม่ือถึงวนั นดั จดรายงานกระบวนพจิ ารณาวา่
“นดั พร้อมวันนี้ โจทก์ ทนายโจทก์ จาเลยและทนายจาเลยมาศาล
สอบถามแล้ว คู่ความแถลงว่า ได้ตกลงทาสัญญาประนีประนอมยอมความตามที่ได้
ยื่นไว้ ต่ อศาลจริ ง
ให้ส่งสัญญาประนีประนอมพร้ อมรายงานกระบวนพิจารณานีไ้ ปศาลอุทธรณ์/ฎีกา
เพื่อพิจารณาดาเนินการต่อไป”
๓. คู่ความฝ่ ายใดฝ่ ายหน่ึงหรือท้งั สองฝ่ ายยื่นคาร้องขอให้ศาลอุทธรณ์/ฎีกา ไกล่เกล่ีย
สั่งคาร้องวา่ “ส่งศาลอทุ ธรณ์/ฎกี า เพื่อพิจารณาดาเนินการ”
๔. กรณีท่ีคู่ความทาสัญญาประนีประยอมความแล้วนามาย่ืนต่อศาลช้ันต้น เม่ือศาลช้ันต้น
สอบถามคู่ความแลว้ ให้ลงลายมือช่ือไวใ้ นสัญญาประนีประนอมยอมความต่อหน้าผูพ้ ิพากษา
ในศาลช้ันต้นแล้ว ผู้พิพากษาในศาลช้ันต้นจึงลงลายมือชื่อต่อท้าย ตามแบบพิมพ์สัญญา
ประนีประนอมยอมความ (๒๙)
ข้อสังเกต
คู่ความจะขอทาสญั ญาประนีประนอมยอมความที่ศาลอทุ ธรณ์หรือศาลฎีกากไ็ ด้
ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๗๔
ส่วนท่ี ๙
ละเมิดอานาจศาล
ละเมิดอานาจศาลเป็ นบทบัญญัติที่มีข้ึนเพ่ือรักษาความสงบเรี ยบร้อยในบริเวณศาล
และเพื่อให้การดาเนินกระบวนพิจารณาคดีดาเนินไปดว้ ยความราบรื่น รวดเร็ว รวมท้งั ป้องกนั
การสร้างอิทธิพลอนั มิชอบเหนือความรู้สึกของประชาชน หรือเหนือศาล หรือเหนือคู่ความ
หรือเหนือพยานแห่งคดีซ่ึงอาจกระทบการพจิ ารณาคดีที่มุ่งหมายใหเ้ กิดความยตุ ิธรรม
๑. การละเมิดอานาจศาลตามมาตรา ๓๐ ถึง ๓๒ มีดงั น้ี
๑.๑ กรณีท่ีศาลออกข้อกาหนด ศาลมีอานาจออกข้อกาหนดใด ๆ แก่คู่ความหรือ
บุคคลภายนอกท่ีอยู่ต่อหน้าศาลตามที่เห็นจาเป็ น เพื่อรักษาความเรียบร้อยในบริเวณศาลและ
เพ่ือให้กระบวนพิจารณาดาเนินไปตามเที่ยงธรรมและรวดเร็ว รวมถึงการส่ังห้ามคู่ความมิให้
ดาเนินกระบวนพิจารณาในทางก่อความราคาญ หรือในทางประวิงใหช้ กั ชา้ หรือในทางฟ่ ุมเฟื อย
เกินสมควร (มาตรา ๓๐) และบุคคลน้นั ขดั ขืนไมป่ ฏิบตั ิตามขอ้ กาหนดของศาล (มาตรา ๓๑ (๑))
ข้อสังเกต
๑. เฉพาะการรักษาความสงบเรียบร้อยในบริเวณศาลและเพ่ือให้กระบวนพิจารณา
ดาเนินไปตามเที่ยงธรรมและรวดเร็วเท่าน้นั ท่ีศาลจะตอ้ งออกขอ้ กาหนดตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๓๐
๒. การออกข้อกาหนดเพื่อรักษาความเรี ยบร้อยในบริ เวณศาลและเพื่อให้
กระบวนพิจารณาดาเนินไปตามเที่ยงธรรมและรวดเร็วน้ัน ศาลจะออกขอ้ กาหนดแก่ผูท้ ี่อยู่
ต่อหน้าศาลไม่ว่าจะเป็ นคู่ความหรือมิใช่คู่ความก็ได้ (ฎีกาท่ี๗ - ๘/๒๕๔๓) และจะออกขอ้ กาหนด
ด้วยวาจาในขณะที่ศาลออกนั่งพิจารณา (ฎีกาที่ ๒๒๗๑/๒๕๓๗) หรือออกขอ้ กาหนดเป็ นหนังสือ
โดยปิ ดประกาศใหท้ ราบไวใ้ นศาลก็ได้
๓. ศาลออกข้อกาหนดมิให้โจทก์ลุกข้ึนแถลงการณ์ใด ๆ ในขณะที่ศาล
จดรายงานกระบวนพิจารณาอยู่ อนั จะเป็ นการขดั ขวางทาให้กระบวนพิจารณาไม่อาจดาเนิน
ไปไดโ้ ดยรวดเร็ว ซ่ึงโจทก์กระทาหลายคร้ังแล้ว แต่โจทก์มิได้นาพาต่อขอ้ กาหนดของศาล
ยงั ลุกข้ึนแถลงโดยศาลมิไดอ้ นุญาตและขอให้ศาลบนั ทึกในรายงานกระบวนพิจารณาอีก จึงเป็นการ
ขดั ขวางทาใหก้ ระบวนพจิ ารณาไม่อาจดาเนินไปไดโ้ ดยรวดเร็ว ยอ่ มเป็นการละเมิดอานาจศาล (ฎีกา
ที่ ๒๒๗๑/๒๕๓๗)
ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๗๕
๑.๒ กรณีท่ีศาลไม่จาตอ้ งออกขอ้ กาหนด ผกู้ ระทาการอยา่ งใด ๆ ดงั ที่บญั ญตั ิไวใ้ นมาตรา
๓๑ (๑) เฉพาะกรณีประพฤติตนไม่เรียบร้อยในบริเวณศาลถึง (๕) ใหถ้ ือว่ากระทาผิดฐานละเมิด
อานาจศาล
ข้อสังเกต
๑. ความผิดฐานละเมิดอานาจศาลตามมาตรา ๓๑ (๑) กรณีประพฤติตน
ไม่เรียบร้อยในบริเวณศาลน้ันเป็ นความผิดโดยสภาพ ศาลไม่จาตอ้ งออกขอ้ กาหนดก่อนและ
ไม่จาตอ้ งกระทาตอ่ หนา้ ศาล หากมีการกระทาภายในบริเวณศาลก็ถือวา่ ประพฤติตนไม่เรียบร้อย
ในบริเวณศาล และศาลยอ่ มมีอานาจสั่งลงโทษฐานละเมิดอานาจศาลไดท้ นั ทีโดยมิพกั ตอ้ งเตือน
(ฎีกาท่ี ๓๗๒๐/๒๕๒๘, ๑๗๑๕/๒๕๔๘)
๒. ตวั อย่างคาพิพากษาศาลฎีกาที่ถือว่าเป็ นการประพฤติตนไม่เรียบร้อยใน
บริเวณศาล อนั เป็ นความผิดฐานละเมิดอานาจศาลตามมาตรา ๓๑ (๑) เช่น การพกพาอาวธุ ปื น
เขา้ มาในอาคารท่ีทาการศาล (ฎีกาท่ี ๕๑๐๐/ ๒๕๔๓) เรียกและรับเงินในบริเวณศาลอ้างว่า
เป็ นค่าใชจ้ ่ายในการช่วยเหลือให้พน้ โทษหรือรับโทษนอ้ ยลง (ฎีกาที่ ๒๖๔๗/๒๕๔๖, ๕๘๐๑/
๒๕๕๐) รับเงินค่าปรับจากจาเลยแทนศาลแล้วไม่นาเงินไปชาระต่อศาล (ฎีกาท่ี ๒๘๗๒/
๒๕๔๖) พยานมาศาลตามหมายเรียก แต่ให้พยานกลบั ไปก่อนโดยพลการแลว้ แถลงเท็จต่อศาล
ว่าพยานติดราชการไม่สามารถมาเป็ นพยานได้ เป็ นเหตุให้ศาลเข้าใจโดยสุจริ ตว่าพยาน
มีพฤติการณ์หลีกเลี่ยงไม่มาศาลและมีคาสั่ง ออกหมายจบั (ฎีกาที่ ๔๔๘๗/๒๕๔๖) ว่าจา้ งให้มี
การเปล่ียนตวั ผูต้ ้องหา (ฎีกาท่ี ๕๓๒๓/๒๕๔๖, ๙๓๐๑/๒๕๔๔, ๗๙๒๐/๒๕๔๔, ๗ - ๘/
๒๕๔๓) ทราบว่าตนเองถูกจาหน่ายชื่อออกจากทะเบียนทนายความแล้ว ย่อมตอ้ งห้ามมิให้
ปฏิบตั ิหนา้ ท่ีทนายความตามมาตรา ๓๓ แห่งพ.ร.บ.ทนายความฯ แต่กลบั ฝ่ าฝืนโดยยงั คงปฏิบตั ิ
หนา้ ที่ทนายความวา่ ความ ถือวา่ การประพฤติตนไมเ่ รียบร้อยในบริเวณศาลเสร็จเด็ดขาดในแต่ละ
คร้ังที่กระทา เป็ นการกระทาความผิดฐานละเมิดอานาจศาลหลายกรรมต่างกนั ตอ้ งลงโทษ
ทุกกรรมเป็ นกระทงความผิดไปตาม ป.อ. มาตรา ๙๑ และเมื่อความปรากฏต่อศาลว่า
ผูถ้ ูกกล่าวหากระทาความผิดฐานละเมิดอานาจศาลเช่นเดียวกนั น้ีอีกหลายคดี ศาลจึงมีอานาจ
นบั โทษของผูถ้ ูกกล่าวหาต่อจากคดีอื่นไดต้ าม ป.อ. มาตรา ๒๒วรรคหน่ึง (ฎีกาท่ี ๗๔๑๓/๒๕๔๔,
๒๑๗๔/๒๕๔๙) ร่วมกันนาคาฟ้องอุทธรณ์ยื่นต่อศาล โดยในคาฟ้องอุทธรณ์มีข้อความก้าวร้าว
ดูหมิ่น เสียดสีศาล (ฎีกาท่ี ๒๑๗๔/๒๕๔๕, ๑๑๑๖/๒๕๓๕) เรียกและรับเงินกันท่ีบริเวณ
โต๊ะหินมา้ นั่งภายในบริเวณศาล โดยแอบอา้ งว่าจะนาไปว่ิงเตน้ คดีอาญากบั ผูพ้ ิพากษา (ฎีกาที่
๖๔๔๔/๒๕๔๐) อ้างว่าจะเอาเงินไปให้ผูพ้ ิพากษา เพ่ือเป็ นอามิสสินจ้างในการดาเนินคดี
ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๗๖
ในศาล แมจ้ ะกระทานอกบริเวณศาล แต่ผลท่ีเกิดข้ึนน้นั มุ่งหมายใหม้ ีผลในการดาเนินกระบวน
พิจารณาของศาล โดยเฉพาะคดีน้ียงั มีการทวงถามเงินดงั กล่าวในบริเวณศาล อนั เป็ นการกระทา
ต่อเนื่องและเป็ นส่วนหน่ึงของการเรียกเงิน ถือว่าเป็ นการประพฤติตนไม่เรียบร้อยในบริเวณศาล
(ฎีกาท่ี ๕๔๖๒/๒๕๓๙)
กรณีไม่ถือว่าเป็ นการประพฤติตนไม่เรียบร้อยในบริเวณ เช่น ไม่ปรากฏวา่ การปลอม
สาเนาคาสั่งศาลช้นั ตน้ ไดเ้ กิดข้ึนในบริเวณศาล (ฎีกาที่ ๔๔๙๘/๒๕๔๖ ประชุมใหญ่) การเรียก
และรับเงินได้กระทาท่ีบ้านผู้ร้องเรี ยนและท่ีบ้านผู้ถูกกล่าวหาซ่ึงเกิดข้ึนนอกบริ เวณศาล
(ฎีกาท่ี ๑๒๔๒๓/๒๕๔๗)
๑.๓ การละเมิดอานาจศาลของหนงั สือพมิ พห์ รือส่ิงพมิ พต์ ามมาตรา ๓๒ (๑) และ (๒)
การลงข้อความและบทความในหนังสือพิมพ์เป็ นเชิงเปรี ยบเปรยให้เข้าใจว่า
ผูพ้ ิพากษาสั่งเลื่อนคดีโดยไม่ยุติธรรม ความยตุ ิธรรมหาไม่ได้ แสดงว่าประสงคใ์ ห้มีอิทธิพล
เหนือความรู้สึกของพยานและเหนือศาล จะทาใหก้ ารพิจารณาคดีเสียความยตุ ิธรรม บรรณาธิการ
ผพู้ มิ พโ์ ฆษณาหนงั สือพมิ พม์ ีความผิดดว้ ยตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๓๑ (๒) (ฎีกาที่ ๒๖๑๑/๒๕๒๓)
๒. กระบวนพจิ ารณาคดีละเมิดอานาจศาล
เม่ือศาลจะส่ังลงโทษผูใ้ ดฐานละเมิดอานาจศาลตามมาตรา ๓๓ ให้คานึงถึงประมวล
จริยธรรมขา้ ราชการตุลาการขอ้ ๕ วรรคทา้ ยท่ีว่า บทบญั ญตั ิว่าดว้ ยเรื่องละเมิดอานาจศาล พึงใช้
ดว้ ยความระมดั ระวงั ไม่ลุแก่โทสะ นอกจากน้ียงั มีระเบียบขา้ ราชการฝ่ ายตุลาการศาลยุติธรรม
ว่าดว้ ยการนั่งพิจารณาและพิพากษาคดีของผูร้ ับผิดชอบราชการศาล พ.ศ. ๒๕๔๔ บญั ญตั ิให้
ผรู้ ับผิดชอบราชการศาล ไดแ้ ก่ ประธานศาลฎีกา ประธานศาลอุทธรณ์ ประธานศาลอุทธรณ์ภาค
อธิบดีผพู้ ิพากษาศาลช้นั ตน้ อธิบดีผพู้ พิ ากษาภาค และผพู้ ิพากษาหวั หนา้ ศาล มีอานาจหนา้ ที่เป็น
องค์คณะนั่งพิจารณาและมีคาสั่งคดีเกี่ยวกับการกระทาความผิดฐานละเมิดอานาจศาลที่อยู่
ในความรับผิดชอบ (ขอ้ ๔ (๕))
๒.๑ กรณีการละเมิดอานาจศาลได้กระทาต่อหน้าศาล เห็นได้ว่าขอ้ เท็จจริงอนั เป็ น
ความผดิ ยอ่ มปรากฏชดั แจง้ ใหศ้ าลเห็นอยแู่ ลว้ ศาลยอ่ มมีอานาจลงโทษไดท้ นั ทีโดยไม่ตอ้ งมีการ
ไต่สวน (ฎีกาที่ ๑๑๕๙/๒๕๒๖) เช่น มีการทาร้ายร่างกายพยานหรือคู่ความฝ่ ายใดฝ่ ายหน่ึง
ในระหว่างท่ีศาลน่ังพิจารณาคดี หรือพกอาวุธเขา้ มาในห้องพิจารณาคดี ผูพ้ ิพากษาซ่ึงเป็ น
ผูพ้ ิจารณาและลงโทษฐานละเมิดอานาจศาลในกรณีน้ีทันทีทนั ใดเพื่อรักษาไวซ้ ่ึงความสงบ
เรียบร้อยในศาล
ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๗๗
๒.๒ กรณีที่การกระทามิไดเ้ กิดข้ึนตอ่ หนา้ ศาล ศาลตอ้ งไตส่ วนหาความจริงก่อนมีคาสั่ง
การไต่สวนอาจกระทาไดโ้ ดยการสืบพยานที่เกี่ยวขอ้ งหรือสอบถามขอ้ เท็จจริงให้เป็ นที่รับกนั
เป็ นยุติก็ได้ และถือว่าเป็ นพยานหลกั ฐานของศาล ฝ่ ายใดจะไดอ้ า้ งหรือไม่ไม่สาคญั แมไ้ ม่มี
คู่ความฝ่ายใดอา้ ง ก็รับฟังได้ และเร่ืองละเมิดอานาจศาลน้ีเป็นกฎหมายพิเศษที่ศาลมีอานาจคน้ หา
ความจริงไดโ้ ดยไม่จาตอ้ งกระทาต่อหน้าจาเลย (ผูถ้ ูกกล่าวหา) ดังเช่นการพิจารณาคดีอาญา
ทว่ั ไป การที่ศาลบนั ทึกถอ้ ยคาพยานไวใ้ นแบบพิมพค์ าให้การโดยพยานไดป้ ฏิญาณหรือสาบาน
ตนแลว้ ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๑๑๒ แมจ้ ะมิไดก้ ระทาต่อหนา้ จาเลยก็เป็นกระบวนพิจารณาที่ชอบ
แล้ว (ฎีกาที่ ๑๖๐๔/๒๕๑๑, ๑๑๕๙/๒๕๒๖, ๔๖๑๗/๒๕๔๗) ในกรณีที่ศาลทาการ
ไต่สวนพยานหรือผกู้ ล่าวหา พยานหรือผูก้ ล่าวหาตอ้ งสาบานตวั ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๑๑๒ ดว้ ย
มิฉะน้นั รับฟังพยานดงั กลา่ วไม่ได้ (ฎีกาที่ ๒๙๖๒/๒๕๔๗)
๒.๓ กรณีที่การกระทามิไดเ้ กิดข้ึนต่อหนา้ ศาล และการกระทาน้นั มีผลกระทบไปถึงตวั
ผูพ้ ิพากษาคนหน่ึงคนใดซ่ึงจะตอ้ งมีการไต่สวนก่อน กรณีน้ีผูพ้ ิพากษาคนท่ีถูกกระทบจากการ
กระทาน้ันไม่ควรเป็ นผูพ้ ิจารณาและลงโทษฐานละเมิดอานาจศาลเพราะอาจถูกมองว่าเป็ นผูม้ ี
อคติหรือมีส่วนไดเ้ สียในคดี ควรจะใหผ้ พู้ ิพากษาคนอ่ืนเป็ นผพู้ จิ ารณาและมีคาสัง่ เพราะมิฉะน้นั
ผพู้ ิพากษาอาจถกู คดั คา้ นไดต้ ามมาตรา ๑๑ (๑)
๒.๔ กรณีกระทาต่อผูพ้ ิพากษาคนใดคนหน่ึงขณะนง่ั พิจารณาคดี พึงยึดหลกั ตามประมวล
จริยธรรมขา้ ราชการตุลาการ ขอ้ ๕ วรรคทา้ ย กล่าวคือใชอ้ านาจดว้ ยความระมดั ระวงั และไม่ลุแก่
โทสะ หากจะตอ้ งดาเนินการไต่สวน ควรให้เจา้ พนักงานศาลในห้องพิจารณาเป็ นผูก้ ล่าวหา
โดยให้พยานอื่นที่เห็นเหตุการณ์เป็นพยาน ถา้ จาเป็นอาจให้ผพู้ ิพากษาท่ีถูกกระทาใหถ้ อ้ ยคาเป็น
พยาน สาหรับผูพ้ ิพากษาท่ีพิจารณาและมีคาสั่งไม่ควรเป็ นผูพ้ ิพากษาท่ีถูกกระทาเพราะอาจถูก
มองวา่ มีอคติหรือมีส่วนไดเ้ สียตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๑๑ เช่นเดียวกบั ขอ้ ๒.๓ ควรใหผ้ พู้ พิ ากษาอ่ืน
เป็ นผูพ้ ิจารณาและมีคาสั่ง นอกจากน้ีผูก้ ระทาอาจมีความผิดตาม ป.อ. มาตรา ๑๙๘ ฐานดูหมิ่น
ศาลหรือผพู้ ิพากษาในการพิจารณาหรือพิพากษาคดี ดงั น้นั ก่อนมีคาสั่งควรปรึกษาผรู้ ับผิดชอบ
ราชการศาลตามระเบียบราชการฝ่ ายตุลาการศาลยตุ ิธรรมว่าดว้ ยการนัง่ พิจารณาฯ พ.ศ. ๒๕๔๔
ขอ้ ๔
๒.๕ การลงโทษละเมิดอานาจศาล เป็ นอานาจของศาลโดยเฉพาะ ผูอ้ ื่นหามีสิทธิฟ้องคดี
เพื่อให้ศาลลงโทษผูก้ ระทาความผิดไม่ (ฎีกาที่ ๑๑๔๐/๒๕๑๖) แต่ถา้ มีผูย้ ื่นคาร้องต่อศาลว่า
ผูถ้ ูกกล่าวหากระทาความผิดฐานละเมิดอานาจศาลและขอให้ศาลไต่สวนน้นั ศาลย่อมมีอานาจ
วินิจฉัยว่า สมควรจะไต่สวนหาขอ้ เทจ็ จริงตามคาร้องหรือไม่ เมื่อเห็นว่าไม่สมควรก็ชอบท่ีจะยก
ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๗๘
คาร้องเสียได้ คาส่งั ดงั กลา่ วเป็นอานาจของศาลโดยเฉพาะ ผยู้ น่ื คาร้องยอ่ มมิใช่ผเู้ สียหายอนั จะมี
สิทธิอทุ ธรณ์ฎีกาได้ (ฎีกาที่ ๓๒๔๙/๒๕๓๖) กรณีท่ีมีผรู้ ้องเรียนหรือกล่าวหาวา่ บุคคลใดกระทา
ความผิดฐานละเมิดอานาจศาลซ่ึงมิไดก้ ระทาต่อหน้าศาล ศาลจาตอ้ งไต่สวนพยานหลกั ฐาน
เพ่ือหาขอ้ เท็จจริงก่อนมีคาสั่ง (ฎีกาที่ ๗๙๘๘/๒๕๕๑) ถ้าผูถ้ ูกกล่าวหาให้การรับสารภาพ
ก็ลงโทษไดโ้ ดยไมต่ อ้ งไต่สวน (เทียบฎีกาท่ี ๔๖๘๑ – ๔๖๘๒/๒๕๒๘)
๒.๖ คาสั่งศาลเร่ืองละเมิดอานาจศาลกฎหมายมิได้กาหนดรูปแบบไว้ เมื่อศาลมีคาสั่ง
ต่อเนื่องกบั การไต่สวนตามรายงานกระบวนพิจารณาซ่ึงมีชื่อศาลลงวนั ที่เดือนปี ไวแ้ ลว้ จึงเป็ น
คาสั่งท่ีชอบดว้ ย ป.วิ.อ. มาตรา ๑๘๖ (๑) จาเลยดูหมิ่นศาลและกล่าวเสียดสีศาลเป็ นการละเมิด
อานาจศาล ศาลมีอานาจลงโทษฐานละเมิดอานาจศาลไดโ้ ดยไม่ตอ้ งฟ้อง จึงไม่มีกรณีที่จะเป็ น
ฟ้องเคลือบคลุมหรือต้องเปิ ดโอกาสให้จาเลยแก้ข้อกล่าวหาหรือให้โอกาสต้ังทนายความ
มาถามคา้ น (เทียบฎีกาที่ ๑๓๒๔/๒๕๓๙)
๒.๗ การลงโทษฐานละเมิดอานาจศาลเป็นการลงโทษตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๓๑ และมาตรา
๓๓ โดยไม่มีโจทก์ฟ้อง แมศ้ าลจะลงโทษจาเลยฐานละเมิดอานาจศาลไปแลว้ ก็ไม่ทาใหส้ ิทธินา
คดีอาญามาฟ้องระงบั ตาม ป.วิ.อ. มาตรา ๓๙ (๔) พนักงานอยั การหรือผูเ้ สียหายยงั มีสิทธิฟ้อง
ขอใหล้ งโทษจาเลยตาม ป.อ.ในส่วนที่เก่ียวขอ้ งน้นั ไดอ้ ีก (ฎีกาที่ ๒๓๐๓/๒๕๒๓, ๘๗/๒๕๓๔,
๑๑๒๐/๒๕๓๙)
๒.๘ การพิจารณาคดีและมีคาส่ังเร่ืองละเมิดอานาจศาล ควรท่ีจะต้งั สานวนคดีและ
ออกหมายเลขคดีใหม่แยกต่างหากจากสานวนคดีหลกั ท้งั น้ีเพ่ือความสะดวกในการส่งสานวน
ไปยงั ศาลสูงหากคดีน้นั มีการอุทธรณ์หรือฎีกา
๒.๙ กระบวนพิจารณาเก่ียวกับการละเมิดอานาจศาลในคดีแพ่งเป็ นไปตาม ป.วิ.พ.
มาตรา ๓๐ ถึงมาตรา ๓๓ แต่ในคดีอาญาเป็ นไปตาม ป.วิ.อ. มาตรา ๑๘๐ ซ่ึงบญั ญตั ิว่า “ให้นา
บทบญั ญตั ิเร่ืองรักษาความเรียบร้อยในบริเวณศาลใน ป.วิ.พ. มาบงั คบั แก่การพิจารณาคดีอาญา
โดยอนุโลม แต่หา้ มมิใหส้ ัง่ ใหจ้ าเลยออกจากหอ้ งพจิ ารณา เวน้ แต่ จาเลยขดั ขวางการพิจารณา
๒.๑๐ บทลงโทษผูก้ ระทาผิดฐานละเมิดอานาจศาล ป.วิ.พ. มาตรา ๓๓ บญั ญตั ิให้ศาล
มีอานาจสั่งลงโทษคู่ความฝ่ ายใดหรือบุคคลใดท่ีกระทาความผิดฐานละเมิดอานาจศาลโดยวิธีใด
วิธีหน่ึงหรือท้งั สองวิธี ดงั น้ี
(ก) ไลอ่ อกจากบริเวณศาล หรือ
(ข) ใหล้ งโทษจาคุก หรือปรับ หรือท้งั จาท้งั ปรับ
ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๗๙
สาหรับการไล่ออกจากบริเวณศาล
ให้กระทาไดช้ ว่ั ระยะเวลาท่ีศาลน่ังพิจารณาหรือภายในระยะเวลาใด ๆ ก็ได้ ตามท่ีศาล
เห็นสมควร เม่ือจาเป็นจะเรียกใหต้ ารวจช่วยจดั การกไ็ ด้
ส่วนกรณกี าหนดโทษจาคุกและปรับน้ัน
ใหจ้ าคุกไดไ้ ม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินห้าร้อยบาท สาหรับการใชด้ ุลพินิจวา่ สมควร
จะลงโทษอย่างไร ก็ข้ึนอยู่กบั พฤติการณ์แห่งการกระทาผิดฐานละเมิดอานาจศาล ซ่ึงควรใช้
ดุลพินิจด้วยความละเอียดรอบคอบ พึงใช้ดว้ ยความระมดั ระวงั ไม่ลุแก่โทสะ แยกให้ออกว่า
การกระทาความผิดฐานละเมิดอานาจศาล มิใช่ละเมิดต่อตวั ผพู้ ิพากษา
ตัวอย่างรายงานกระบวนพจิ ารณาและคาส่ังคดลี ะเมิดอานาจศาล
ตัวอย่างที่ ๑
“วันนี้ ขณะที่ศาลออกน่ังพิจารณาคดีหมายเลขดาท่ี . . . . . / . . . . ของศาลนี้ ผ้อู านวยการฯ
ทารายงานเสนอว่า เม่ือเวลาประมาณ . . . . .น. นาย . . . .ได้พยายามเข้าไปในห้องพิจารณาที่ศาล
กาลังพิจารณาคดี เม่ือเจ้าหน้าที่หน้าบัลลังก์และเจ้าหน้าที่ตารวจผู้รักษาความสงบประจาศาล
ขอตรวจค้นตัวเพื่อต้องการทราบว่านาย . . . . มีอาวุธหรือของต้องห้ามมิให้นาเข้าบริเวณศาล
ซุกซ่อนมาด้วยหรือไม่ นาย . . . แสดงท่าทางพิรุธและขดั ขืนไม่ยอมให้ตรวจค้น เจ้าหน้าที่ตารวจ
จึงจับกุมนาย . . . . และควบคุมตัวไปตรวจค้นท่ีห้องผู้อานวยการฯ พบว่านาย . . . . แอบซุกซ่อน
นาอาวธุ ปื นพกสั้นชนิดลูกโม่บรรจุกระสุนจานวน ๖ นัดเตม็ เข้ามาในบริเวณศาล พร้อมท่ีจะใช้
เป็ นอาวุธได้ทันที โดยใช้เขม็ ขัดหนังผูกรัดไว้ท่ีหน้าแข้งข้างขวา เป็ นที่น่าสงสัยว่านาย . . . .
พกอาวุธเข้ามาในบริเวณศาลโดยเฉพาะในห้องพิจารณาท่ีศาลกาลังพิจารณาคดีอย่โู ดยเจตนาร้าย
ขอให้ศาลลงโทษนาย . . . .ฐานละเมิดอานาจศาล รายละเอียดปรากฏตามรายงาน ของผู้อานวยการฯ
ศาลสอบปากคานาง. . . . (เจ้าหน้าท่ีหน้าบัลลังก์)และจ่าสิบตารวจ. . . .ผู้จับกุมและตรวจค้นตวั
นาย . . . . แล้ว ต่างยืนยันว่า นาย . . . .ซุกซ่อนอาวุธปื นท่ีบรรจุกระสุนเต็มลูกโม่ พยายามแอบแฝง
จะเข้าไปในห้ องพิจารณาของศาลจริ งตามรายงานของผู้อานวยการฯ
จึงมีคาส่ังให้นาตัวนาย . . . .มาสอบปากคาต่อหน้าผู้อานวยการฯ และเจ้าหน้าท่ีตารวจ
ผู้จับกุม นาย . . . .ให้การรับสารภาพว่า ได้แอบซ่อนอาวุธปื นที่เจ้าหน้าที่ยึดได้เข้ามาในห้อง
พิจารณาจริ ง
พิเคราะห์รายงานของผู้อานวยการฯ ประกอบกับถ้อยคาของนาย . . . .นาง . . . . เจ้าหน้าที่
หน้าบัลลังก์และจ่าสิบตารวจ . . . . เจ้าหน้าที่ตารวจผู้ตรวจค้นจับกุมแล้วเชื่อว่า นาย . . . .
ลักลอบพกพาอาวุธปื นเข้ามาในบริเวณศาล โดยเฉพาะอย่างยิ่งในห้องพิจารณาในขณะท่ีศาล
ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๘๐
กาลังพิจารณาคดี การกระทาของนาย . . . . เป็ นการประพฤติตนไม่เรียบร้ อยในบริเวณศาล
มีความผิดฐานละเมิดอานาจศาลตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๓๑(๑) , ๓๓ ให้ จาคุกนาย . . . .
มกี าหนด . . . เดือน
ให้ผู้อานวยการฯ ทาหนังสือร้ องทุกข์ต่อพนักงานสอบสวน เพ่ือดาเนินคดีตามกฎหมาย
พร้อมกับส่งอาวธุ ปื นและกระสุนปื นท่ียึดได้ไปด้วย”
ตัวอย่างท่ี ๒
“วันนี้ ขณะที่ศาลออกน่ังพิจารณาคดีหมายเลขดาท่ี . . . . / . . . .ของศาลนี้ จาเลยท่ี ๑
ยื่นคาร้ องอุทธรณ์คาสั่งศาลช้ันต้นไม่รับอุทธรณ์โดยจาเลยท่ี ๒ ในฐานะทนายความของจาเลย
ที่ ๑ เป็นผู้เรียงพิมพ์ อุทธรณ์ฉบับดังกล่าวมขี ้อความว่า . . . .อันเป็นการดูหม่ินให้ร้ายและเสียดสีศาล
การกระทาของจาเลยทั้งสองจึงเป็ นการประพฤติตนไม่เรี ยบร้ อยในบริ เวณศาลเป็ นความผิดฐาน
ละเมิดอานาจศาลตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๓๑(๑), ๓๓ สาหรับจาเลยท่ี ๑ ให้ปรับ ๕๐๐ บาท หากไม่
ชาระค่าปรับให้จัดการตาม ป.อ. มาตรา ๒๙, ๓๐ ส่วนจาเลยที่ ๒ ให้จาคุก ๑๕ วัน”
ตัวอย่างที่ ๓
คดีสื บเน่ื องมาจากเม่ือวันที่.......................นายยุติ ธรรมนิ ติกรงานประชาสั มพันธ์ และ
บริการประชาชน สานักงานประจาศาลจังหวัด....................รายงานต่อผู้พิพากษาหัวหน้าศาล
จังหวัด.........................ว่า นาง...................ผู้กล่าวหาซึ่งเป็ นมารดาของนาย...............ผู้ต้องหา
ในคดหี มายเลขดาที่ อ..................ร้องเรียนว่าผ้ถู ูกกล่าวหาอ้างตนเป็นทนายความและเรียกรับเงิน
จากผู้กล่าวหาประมาณ ๗,๐๐๐ บาท ในบริเวณศาลโดยอ้างว่าจะนาเงินไปให้ พนักงานอัยการ
จังหวัด..............................เพื่อช่วยเหลือทางคดีแก่นาย....................................... .......และยังมี
บุคคลอ่ืนร้ องเรียนว่า ผู้ถูกกล่าวหาเรียกเงินในการดาเนินคดีขอจัดการมรดกเป็ นเงิน ๔๐,๐๐๐
บาท และในวันท่ี.................................ผู้ถูกกล่าวหามาศาลอ้างตนเป็นทนายความเพื่อสอบถาม
นายยตุ ิธรรมเกี่ยวกับหลักทรัพย์ในการขอปล่อยชั่วคราว นายยตุ ิธรรมขอดูใบอนุญาตว่าความ
ผู้ถูกกล่าวหาจึงยอมรับว่าไม่ได้เป็นทนายความ เป็นเพียงผู้รับมอบฉันทะเท่านนั้
ผู้ถูกกล่าวหาให้ การปฏิเสธ
ศาลไต่สวนแล้วได้ความว่า ผู้ถูกกล่าวหาอ้างตนเป็ นทนายความเรียกเงินจากนายเขิง
คู่ความซ่ึงมีข้อพิพาทท่ีศาลจังหวัด.........และเรี ยกเงินจากผู้กล่าวหาซึ่งเป็ นมารดาของ
นาย...............จาเลยซ่ึงถกู ฟ้องที่ศาลจังหวัด.............................โดยอ้างว่าจะนาเงินไปให้พนักงาน
อัยการจังหวัด.................และเรียกรับเงินจากผู้กล่าวหาจานวน ๑,๐๐๐ บาท ท่ีบริเวณโต๊ะตั้ง
ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๘๑
เคร่ืองพิมพ์ดีดหน้าห้องฝ่ ายธุรการคดีของศาลและผู้ถูกกล่าวหาแจ้งเท็จต่อนายยตุ ิธรรมว่าเป็ น
ทนายความ ท้ัง ๆ ที่ไม่ได้เป็นทนายความ อันเป็นการแสดงตนให้เจ้าพนักงานศาลและประชาชน
หลงเชื่อว่าเป็ นทนายความ การกระทาของผู้ถูกกล่าวหาเป็ นการประพฤติ ตนไม่เรียบร้ อย
ในบริเวณศาลมีความผิดฐานละเมิดอานาจศาลตามป.วิ.พ. มาตรา ๓๑ (๑), ๓๓ ประกอบป.วิ.อ.
มาตรา ๑๕ จาคุก ๓ เดือน
อนึ่ง ข้อกล่าวหาท่ีว่า มีบุคคลอ่ืนร้ องเรียนว่า ผู้ถูกกล่าวหาเรียกเงินในการดาเนิ นคดี
ขอจัดการมรดกเป็ นเงิน ๔๐,๐๐๐ บาท นั้น ทางการไต่สวนไม่ได้ความว่าผู้ถูกกล่าวหากระทา
ต่อใครและเป็ นการละเมิดอานาจศาลจริ งหรือไม่ จึงไม่อาจลงโทษผู้ถูกกล่าวหาฐานละเมิด
อานาจศาลในข้อกล่าวหานีไ้ ด้
ตวั อย่างที่ ๔
คดสี ืบเนื่องมาจากเม่ือวันท่ี......................เวลากลางวัน นาย..........................ผู้ถูกกล่าวหา
นาข้าว ๒ กล่อง ไปฝากให้นาย.....................ผู้ต้องหาในคดีอาญาหมายเลขดาที่ อ............ของ
ศาล...................................ซ่ึงถูกควบคุมตัวอยู่ในห้องควบคุมผู้ต้องขังของศาล เจ้าพนักงาน
ตารวจประจาศาลได้ตรวจข้าวกล่องดังกล่าว พบเมทแอมเฟตามีนอันเป็ นยาเสพติดให้ โทษ
ในประเภท ๑ จานวน ๔ เมด็ บรรจุในหลอดเคร่ืองด่ืมปิ ดหัวท้ายซุกซ่อนอย่ใู นกล่องข้าวดงั กล่าว
จึงรายงานต่อผ้พู ิพากษาหัวหน้าศาล และคาส่ังเรียกไต่สวน
ผู้ถกู กล่าวหาให้การปฏิเสธ
พิเคราะห์แล้ว เห็นว่า ทางไต่สวนได้ความจากนายดาบตารวจ.........เจ้าพนักงานตารวจ
ประจาศาล........เบิกความยืนยันว่า ตามวันเวลาดังกล่าว ผู้ถูกกล่าวหา นาข้าวกล่อง ๒ กล่อง
ไปฝากให้นาย.......ผู้ต้องหาในคดีอาญาหมายเลขดาที่ อ.............ของศาล............ซ่ึงถกู ควบคุมตัว
อย่ใู นห้องควบคุมผู้ต้องขังของศาล พยานได้ตรวจข้าวกล่องดังกล่าวพบเมทแอมเฟตามีน ๔ เมด็
บรรจุในหลอดเครื่องด่ืมปิ ดหัวท้ายซุกซ่อนอย่ใู นกล่องข้าวและยึดเป็นหลักฐาน นายดาบตารวจ
.....เป็ นเจ้ าพนักงานปฏิบัติตามหน้ าท่ีไม่มีเหตุให้ ระแวงสงสัยว่าจะเบิกความเพื่อกล่ันแ กล้งผู้ถูก
กล่าวหา ข้อเท็จจริงจึงฟังได้เช่นนั้น การกระทาของผู้ถูกกล่าวเป็ นการประพฤติตนไม่เรียบร้อย
ในบริเวณศาล มีความผิดฐานละเมิดอานาจศาลตามป.วิ.พ. มาตรา ๓๑ (๑), ๓๓ ประกอบป.วิ.อ.
มาตรา ๑๕ จาคุก ๒ เดือน
ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๘๒
๓. การอทุ ธรณ์ฎีกา
บทบญั ญตั ิในเร่ืองละเมิดอานาจศาลเป็ นบทบญั ญตั ิพิเศษไม่เก่ียวกบั การลงโทษผูก้ ระทา
ความผิดทางอาญาทว่ั ไป จึงไม่อยู่ในบงั คบั ของขอ้ จากดั เกี่ยวกบั การอุทธรณ์ฎีกาจึงสามารถ
อุทธรณ์หรือฎีกาได้ (เทียบคาส่ังคาร้องฎีกาท่ี ๑๙๒๖/๒๕๔๘) และเม่ือศาลมีคาสั่งลงโทษผูใ้ ด
ฐานละเมิดอานาจศาลตามมาตรา ๓๓ แลว้ ไม่ตอ้ งห้ามอุทธรณ์ฎีกาในปัญหาขอ้ เท็จจริงเพราะ
เป็นคาสั่งตามมาตรา ๒๒๘(๑) (คาสั่งคาร้องท่ี ๖๖/๒๕๑๖) ผทู้ ่ีถูกลงโทษมีสิทธิอุทธรณ์ฎีกาได้
(ฎีกาท่ี ๑๓๑๖/๒๕๑๙) จาเลยหรือทนายจาเลยท่ีขอให้ลงโทษผูถ้ ูกกล่าวหาในความผิดฐาน
ละเมิดอานาจศาล จึงไมใ่ ช่ผเู้ สียหายอนั จะมีสิทธิฎีกาคาพพิ ากษาต่อไป(ฎีกาที่ ๑๒๔๘/๒๕๓๕)
สาหรับพนักงานอยั การน้ันตาม พ.ร.บ. พนักงานอยั การ พ.ศ. ๒๕๒๑ มาตรา ๑๑ (๗)
(เดิม) พนกั งานอยั การมีอานาจฎีกาในคดีละเมิดอานาจศาลได้ แต่ตาม พ.ร.บ. องคก์ รอยั การและ
พนักงานอยั การ พ.ศ. ๒๕๕๓ ท่ีแก้ไขใหม่ ที่บญั ญตั ิถึงอานาจและหนา้ ท่ีของพนักงานอยั การ
ในมาตรา ๑๔ (๑) ถึง (๑๑) มิไดม้ ีอนุมาตราใดระบุให้พนักงานอยั การมีอานาจฎีกาคดีละเมิด
อานาจศาลแตอ่ ยา่ งใด ดงั น้นั ในปัจจุบนั น้ีพนกั งานอยั การจึงไม่มีอานาจฎีกาคดีละเมิดอานาจศาล
ไดอ้ ีกแลว้
ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๘๓
ส่วนท่ี ๑๐
คดฟี อกเงิน
วตั ถุประสงคใ์ นการประกาศใช้ พ.ร.บ. ป้องกนั และปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. ๒๕๔๒
สืบเน่ืองจากผูป้ ระกอบอาชญากรรมซ่ึงกระทาความผิดกฎหมายบางประเภท ไดน้ าเงินหรือ
ทรัพยส์ ินท่ีเก่ียวกบั การกระทาความผิดน้ันมากระทาการในรูปแบบต่าง ๆ อนั เป็ นการฟอกเงิน
เพื่อนาเงินหรือทรัพย์สินน้ันไปใช้ประโยชน์ในการกระทาความผิดต่อไปได้อีก ทาให้ยาก
แก่การปราบปรามการกระทาความผิดกฎหมายเหล่าน้ัน และโดยท่ีกฎหมายที่มีอยกู่ ็ไม่สามารถ
ปราบปรามการฟอกเงินหรือดาเนินการกบั เงินหรือทรัพยส์ ินน้ันไดเ้ ท่าที่ควร ดงั น้ัน เพื่อเป็ น
การตดั วงจรการประกอบอาชญากรรมดงั กล่าว จึงกาหนดมาตรการตา่ ง ๆ ใหส้ ามารถดาเนินการ
ป้องกนั และปราบปรามการฟอกเงินไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ จึงจาตอ้ งมี พ.ร.บ. ฉบบั น้ี
พ.ร.บ. ป้องกนั และปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๕๙ วรรคหน่ึง บญั ญตั ิ
ให้การดาเนินการทางศาลในส่วนของทรัพย์สินที่เกี่ยวกับการกระทาความผิดตาม พ.ร.บ.
ดงั กลา่ วตอ้ งยน่ื ตอ่ ศาลแพ่ง โดยใหน้ า ป.วิ.พ. มาใชบ้ งั คบั โดยอนุโลม และมาตรา ๔๖ วรรคหน่ึง
บญั ญตั ิให้พนักงานเจา้ หนา้ ที่ซ่ึงเลขาธิการคณะกรรมการป้องกนั และปราบปรามการฟอกเงิน
มอบหมายเป็ นหนังสือย่ืนคาขอฝ่ ายเดียวต่อศาลแพ่ง เพ่ือมีคาสั่งอนุญาตให้พนกั งานเจา้ หน้าท่ี
เขา้ ถึงบญั ชี ขอ้ มูลทางการส่ือสารหรือขอ้ มูลคอมพิวเตอร์ เพ่ือใหไ้ ดม้ าซ่ึงขอ้ มูลดงั กล่าว ดงั น้ัน
คาร้องและคาขอส่วนแพ่งตาม พ.ร.บ. น้ี จึงอยใู่ นเขตอานาจของศาลแพ่ง หากมีการยื่นต่อศาล
จงั หวดั หรือศาลอื่นใด ศาลน้นั ชอบที่จะมีคาสั่งไม่รับหรือคืนคาคู่ความน้นั ไปเพื่อยนื่ ต่อศาลแพ่ง
และเน่ืองจากศาลแพ่งมีคู่มือการดาเนินคดีฟอกเงินในการดาเนินคดีของศาลแพ่งอยู่แล้ว
รายละเอียดของการดาเนินคดีฟอกเงินจึงเป็นไปตามคู่มือของศาลแพ่งดงั กลา่ ว
ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๘๔
หมวด ๓
การพจิ ารณาช้ันอทุ ธรณ์
๑. สิทธิในการอทุ ธรณ์
เมื่อศาลช้ันตน้ พิพากษาหรือมีคาสั่ง คู่ความหรือผมู้ ีส่วนไดเ้ สียที่ไม่พอใจอาจอุทธรณ์ได้
เวน้ แต่จะมีกฎหมายบญั ญตั ิให้เป็ นท่ีสุดหรือมีกฎหมายบญั ญตั ิห้ามมิให้อุทธรณ์ (ฎีกาท่ี ๓๒๔/
๒๕๐๓, ๕๕๘๙/๒๕๓๖)
สิทธิที่จะอุทธรณ์ไม่อยู่ท่ีการแพช้ นะ ถา้ ผูช้ นะคดีในศาลช้นั ตน้ ไม่พอใจหรือคาพิพากษา
หรือคาสั่งกระทบสิทธิของผูช้ นะ ผูช้ นะคดีย่อมอุทธรณ์ในประเด็นขอ้ น้ันได้ แมศ้ าลช้ันตน้ จะ
พิพากษาให้จาเลยชนะคดี แต่ถา้ จาเลยเห็นว่าศาลช้นั ตน้ วินิจฉยั ไม่ถูกตอ้ งตรงประเด็น และผลของ
คาพิพากษาทาให้เสียสิทธิของจาเลย จาเลยมีสิทธิอุทธรณ์ได้ (ฎีกาท่ี ๙๐๐/๒๕๐๕, ๕๒๔/๒๕๑๓,
๑๔๐๔/๒๕๒๐)
๒. ผู้มีสิทธิอทุ ธรณ์
เม่ือศาลช้นั ตน้ มีคาพพิ ากษาหรือคาสัง่ แลว้ บุคคลต่อไปน้ียอ่ มมีสิทธิอุทธรณ์ต่อไปได้
๒.๑ คู่ความ
๒.๒ ผมู้ ีส่วนไดเ้ สียท่ีถกู กระทบสิทธิโดยคาพิพากษาหรือคาส่งั ของศาลช้นั ตน้ เช่น
๒.๒.๑ ต่างฝ่ ายต่างขอให้ลงโทษอีกฝ่ ายฐานละเมิดอานาจศาล เมื่อศาลลงโทษ
ฝ่ ายหน่ึงแล้ว ฝ่ ายน้ันแม้ไม่ได้เป็ นคู่ความในคดีน้ันก็อุทธรณ์ได้เฉพาะที่ตนถูกลงโทษ
แต่จะอุทธรณ์ให้ลงโทษอีกฝ่ ายหน่ึงไม่ได้ เพราะไม่ใช่ผูเ้ สียหายในการละเมิดอานาจศาล
ของอีกฝ่ ายหน่ึง (ฎีกาที่ ๘๖๑/๒๕๐๓) คาส่ังศาลช้ันตน้ ท่ีไม่อนุญาตให้ไต่สวนการกระทาผิด
ฐานละเมิดอานาจศาลที่มิไดก้ ระทาต่อหนา้ ศาลเป็ นอานาจศาลโดยเฉพาะ คู่ความมิใช่ผเู้ สียหาย
อนั จะมีสิทธิอุทธรณ์ได้ (ฎีกาท่ี ๓๒๔๙/๒๕๓๖)
๒.๒.๒ ผถู้ ูกลงโทษฐานละเมิดอานาจศาลมีสิทธิอุทธรณ์ฎีกาได้ (ฎีกาที่ ๖๖/๒๕๑๖)
๒.๒.๓ ผรู้ ักษาทรัพยท์ ี่ถกู ยดึ ใชส้ ิทธิอทุ ธรณ์ไดถ้ า้ ไมพ่ อใจคาส่งั ศาลช้นั ตน้ เกี่ยวกบั
ค่ารักษาทรัพย์ (ฎีกาท่ี ๑๙๓/๒๕๐๒)
๒.๒.๔ ผคู้ ้าประกนั ในศาลเพ่อื ชาระหน้ีตามมาตรา ๒๗๔ (ฎีกาท่ี ๘๐๒/๒๕๑๗)
๒.๒.๕ ผถู้ ูกศาลสั่งกกั ขงั กรณีอื่นท่ีไม่ใช่เรื่องละเมิดอานาจศาล เช่น พยานถูกกกั ขงั
เพราะจงใจไม่ไปศาลตามมาตรา ๑๑๑ (๒)
ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๘๕
๒.๒.๖ บริวาร วงศญ์ าติ ของผูถ้ ูกพิพากษาขบั ไล่และถูกบงั คบั คดี ยอ่ มอุทธรณ์ได้
เพราะถกู กระทบกระเทือนสิทธิตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๑๔๒ (๑) ประกอบมาตรา ๒๙๖ จตั วา (ฎีกาท่ี
๓๒๓๙/๒๕๔๙, ๗๒๑๙-๗๒๒๙/๒๕๔๙)
๒.๒.๗ กรณีขายทอดตลาด ผูท้ ี่ซ้ือทรัพย์หรือผูส้ ู้ราคาในการขายทอดตลาด
ตามคาสง่ั ศาล (ฎีกาท่ี ๑๙๙๐/๒๕๑๕ ประชุมใหญ่, ๑๔๓๑/๒๕๑๘)
๒.๒.๘ เจา้ พนกั งานพทิ กั ษท์ รัพยม์ ีหนา้ ที่รวบรวมทรัพยส์ ินและฟ้องร้องหรือต่อสู้คดี
เกี่ยวกบั ทรัพยส์ ินของลูกหน้ี รวมถึงกระทาการในนามลูกหน้ีมีสิทธิอุทธรณ์คาสั่งศาลช้นั ตน้ ได้
(เทียบฎีกาท่ี ๒๕๘๓/๒๕๓๑)
ข้อสังเกต
๑. ผูท้ ่ีไม่มีส่วนได้เสียไม่มีสิทธิอุทธรณ์ เช่น เจ้าพนักงานศาลจะอุทธรณ์
คดั คา้ นคาสง่ั ศาลไมไ่ ด้
๒. เจ้าพนักงานบังคบั คดีเห็นควรเก็บค่าธรรมเนียมบังคับคดีอัตราหน่ึง
แต่ศาลสั่งให้เรียกเก็บอีกอตั ราหน่ึง เจา้ พนักงานบงั คบั คดีตอ้ งปฏิบตั ิตามไม่มีสิทธิอุทธรณ์
โตแ้ ยง้ เพราะเป็นเจา้ พนกั งานผมู้ ีอานาจในการบงั คบั ตามคาพิพากษาหรือคาสง่ั ของศาล
๓. ศาลช้นั ตน้ มีคาสั่งให้ยกเลิกการขายทอดตลาดของเจา้ พนักงานบงั คบั คดี
เจา้ พนกั งานบงั คบั คดีตอ้ งปฏิบตั ิการไปตามน้นั ไมม่ ีสิทธิอุทธรณ์คาส่ังดงั กลา่ ว (ฎีกาที่ ๑๐๘๕/
๒๕๒๕) เวน้ แต่กรณีศาลสั่งให้เจ้าพนักงานบังคบั คดีรับผิด เช่น เจ้าพนักงานบังคบั คดี
ไม่ยึดทรัพยอ์ นั จะต้องยึดภายในเวลาอนั ควร ตอ้ งกระทาโดยปราศจากความระมดั ระวงั หรือ
โดยสมรู้เป็นใจกบั ลกู หน้ีตามคาพิพากษา ตามมาตรา ๒๘๓ วรรคสอง เป็นตน้
๔. ศาลช้ันต้นมีคาส่ังให้โจทก์นาส่งหมายเรี ยกและสาเนาคาฟ้องให้แก่
จาเลยที่ ๑ ณ บ้านเลขที่ ๑๐ ถนนราชดาเนินกลาง เป็ นการดาเนินกระบวนพิจารณาที่มีผล
ต่อจาเลยท่ี ๑ โดยเฉพาะ ผูร้ ้องซ่ึงเป็ นจาเลยที่ ๒ ในคดีและเป็ นเจ้าของหรือผูค้ รอบครอง
สถานที่ดังกล่าวหามีส่วนได้เสียไม่ จึงไม่มีอานาจท่ีจะอุทธรณ์คดั คา้ นคาสั่งของศาลช้ันต้น
หากผูร้ ้องเห็นว่าการที่ศาลช้นั ตน้ สั่งเช่นน้ันเป็ นการถูกโตแ้ ยง้ กระทบกระเทือนสิทธิของผูร้ ้อง
กเ็ ป็นเร่ืองที่ผรู้ ้องจะดาเนินการอีกเรื่องหน่ึง (ฎีกาท่ี ๓๔๖๑/๒๕๒๘)
ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๘๖
ส่วนท่ี ๑
คาฟ้องอทุ ธรณ์และคาแก้อุทธรณ์
๑. การตรวจคาฟ้องอุทธรณ์
คาฟ้องอุทธรณ์และคาแก้อุทธรณ์ต้องยื่นต่อศาลช้ันต้นและเป็ นคาคู่ความท่ีศาลช้ันตน้
มีหนา้ ท่ีตรวจสั่งรับหรือไม่รับตามมาตรา ๑๘, ๒๓๐, ๒๓๒ พึงใชค้ วามระมดั ระวงั ในการตรวจ
ใหร้ อบคอบ ดงั น้ี
๑.๑. ตรวจกาหนดเวลาในการย่ืนอุทธรณ์
การย่ืนอุทธรณ์ จะตอ้ งทาเป็ นหนังสือย่ืนต่อศาลช้ันต้นภายในกาหนดหน่ึงเดือน
(ไม่ใช่ ๓๐ วนั ) นับแต่วนั ท่ีไดอ้ ่านคาพิพากษาหรือคาส่ังศาลช้นั ตน้ ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๒๙
รวมท้งั การยน่ื คาร้องขอแกไ้ ขเพม่ิ เติมอุทธรณ์ดว้ ย (คาสง่ั คาร้องศาลฎีกาท่ี ๑๙๙/๒๔๙๖) สาหรับ
คดีแพ่งเก่ียวเนื่องกบั คดีอาญา เมื่อมีอุทธรณ์เฉพาะคดีแพ่งระยะเวลาอุทธรณ์เป็ นอย่างเดียวกบั
คดีแพ่ง (ฎีกาที่ ๗๖๒/๒๕๐๔) กรณีคืนฟ้องอุทธรณ์ไปให้ทามาใหม่ ควรกาหนดระยะเวลาไว้
ถา้ ไม่กาหนดยอ่ มยน่ื ใหม่ไดภ้ ายในเวลาอนั สมควร (ฎีกาที่ ๔๙๕/๒๕๐๓)ส่วนการนบั ระยะเวลาอุทธรณ์
น้นั นบั ตาม ป.พ.พ. บรรพ ๑ ลกั ษณะ ๕ วา่ ดว้ ยระยะเวลา
ตัวอย่าง ศาลช้นั ตน้ อา่ นคาพพิ ากษาหรือคาสง่ั
๑. วนั ท่ี ๔ เมษายน จะตอ้ งย่ืนอุทธรณ์ภายในวนั ท่ี ๔ พฤษภาคม (ป.พ.พ. มาตรา
๑๙๓/๕ วรรคสอง)
๒. วนั ท่ี ๓๐ เมษายน จะตอ้ งยน่ื อทุ ธรณ์ภายในวนั ที่ ๓๑ พฤษภาคม (ป.พ.พ. มาตรา
๑๙๓/๕ วรรคหน่ึง)
๓. วนั ที่ ๓๑ พฤษภาคม จะตอ้ งย่ืนอุทธรณ์ภายในวนั ที่ ๓๐ มิถุนายน (ป.พ.พ.
มาตรา ๑๙๓/๕ วรรคหน่ึง)
๔. วนั ท่ี ๓๑ มกราคม เม่ือกาหนดระยะเวลาอุทธรณ์ ตอ้ งยนื่ อทุ ธรณ์ภายใน ๑ เดือน
ระยะเวลาเร่ิมตน้ นับหน่ึงในวนั รุ่งข้ึนต้งั แต่วนั ท่ี ๑ กุมภาพนั ธ์ ตามมาตรา ๑๙๓/๓ วรรคสอง
เป็นกรณีท่ีระยะเวลากาหนดนบั แต่วนั ตน้ แห่งเดือนไม่อยใู่ นบงั คบั ของมาตรา ๑๙๓/๕ วรรคสอง
กาหนดระยะเวลา ๑ เดือน จึงตอ้ งคานวณตามปี ปฏิทินตามมาตรา ๑๙๓/๕ วรรคหน่ึง เมื่อเดือน
กุมภาพนั ธ์ตามปี ปฏิทินมี ๒๘ วนั ระยะเวลาอุทธรณ์ยอ่ มส้ินสุดในวนั ที่ ๒๘ กุมภาพนั ธ์ เวน้ แต่
ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๘๗
เดือนกมุ ภาพนั ธ์ปี ใดมี ๒๙ วนั ระยะเวลาอุทธรณ์ยอ่ มส้ินสุดลงในวนั ที่ ๒๙ กุมภาพนั ธ์* (ป.พ.พ.
มาตรา ๑๙๓/๕ วรรคหน่ึง)
๕. วนั ที่ ๓๐ มกราคม เมื่อกาหนดระยะเวลาอุทธรณ์ตอ้ งอุทธรณ์ภายใน ๑ เดือน
ระยะเวลาเร่ิมตน้ นับหน่ึงในวนั รุ่งข้ึน ต้งั แต่วนั ที่ ๓๑ มกราคมตามมาตรา ๑๙๓/๓ วรรคสอง
เป็ นกรณีท่ีระยะเวลามิได้กาหนดนับแต่วันต้นแห่งเดือนอยู่ในบังคับของมาตรา ๑๙๓/๕
วรรคสอง วนั เร่ิมระยะเวลาคือวนั ท่ี ๓๑ มกราคม วนั ก่อนหนา้ จะถึงวนั แห่งเดือนสุดทา้ ยอนั เป็ น
วนั ตรงกบั วนั เร่ิมระยะเวลาไม่มีวนั ตรงกนั เพราะเดือนกุมภาพนั ธ์มี ๒๘ วนั ดงั น้ัน วนั สิ้นสุด
ระยะเวลาย่อมเป็ นไปตามมาตรา ๑๙๓/๕ วรรคสองตอนทา้ ย ซ่ึงให้ถือว่าวนั สุดทา้ ยแห่งเดือน
สุดท้ายเป็ นวนั สิ้นสุดระยะเวลา ระยะเวลาอุทธรณ์ย่อมส้ินสุดลงในวนั ท่ี ๒๘ กุมภาพนั ธ์
แมศ้ าลช้นั ตน้ อ่านคาพิพากษาหรือคาส่ังวนั ที่ ๒๙ มกราคม ระยะเวลาอุทธรณ์ยอ่ มส้ินสุดลงใน
วนั ท่ี ๒๘ กุมภาพนั ธ์เช่นเดียวกนั เวน้ แต่เดือนกุมภาพนั ธ์ปี ใดมี ๒๙ วนั ระยะเวลาอุทธรณ์ยอ่ ม
ส้ินสุดลงในวนั ท่ี ๒๙ กมุ ภาพนั ธ์** (ป.พ.พ. มาตรา ๑๙๓/๕ วรรคสอง)
๖. ถ้าวันสุดท้ายของเดือนเป็ นวันที่ ๒๘ หรื อ ๒๙ กุมภาพันธ์ แล้วแต่กรณี
เมื่อกาหนดระยะเวลาอุทธรณ์ตอ้ งอุทธรณ์ภายใน ๑ เดือน ระยะเวลาเร่ิมตน้ นบั หน่ึงในวนั รุ่งข้ึน
ต้งั แต่วนั ที่ ๑ มีนาคมตามมาตรา ๑๙๓/๓ วรรคสอง เป็ นกรณีที่ระยะเวลากาหนดนบั ต้งั แต่วนั ตน้
แห่งเดือน ไม่อยู่ในบงั คบั ของมาตรา ๑๙๓/๕ วรรคสอง วนั ครบกาหนดระยะเวลาอุทธรณ์
๑ เดือน จึงต้องคานวณตามปี ปฏิทินตามมาตรา ๑๙๓/๕ วรรคหน่ึง เมื่อเดือนมีนาคมตามปี
ปฏิทินมี ๓๑ วนั ระยะเวลาอุทธรณ์ย่อมส้ินสุดลงในวนั ที่ ๓๑ มีนาคมของปี น้ัน*** (ป.พ.พ. มาตรา
๑๙๓/๕ วรรคหน่ึง)
หากวนั สุดทา้ ยที่ครบกาหนดระยะเวลาอุทธรณ์เป็นวนั หยดุ ทาการ คู่ความยอ่ มมีสิทธิ
ยนื่ อุทธรณ์ในวนั ที่เร่ิมทาการใหม่ต่อจากวนั หยดุ ทาการน้นั ได้ ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๙๓/๘ แต่หาก
ศาลมีคาส่ังขยายเวลาอุทธรณ์ก็ตอ้ งบงั คบั ตามบทบญั ญตั ิมาตรา ๑๙๓/๑ ซ่ึงให้นบั วนั ที่ต่อจากวนั
สุดทา้ ยของระยะเวลาเดิมเป็ นวนั เร่ิมตน้ แห่งระยะเวลาที่ขยายออกไป (ฎีกาท่ี ๑๒๘ - ๑๒๙/๒๕๓๖)
ในกรณีท่ีศาลมีคาสั่งขยายระยะเวลาอุทธรณ์โดยไม่ไดก้ าหนดวนั เร่ิมตน้ แห่งระยะเวลาท่ีขยายออกไป
กต็ อ้ งนบั ต่อจากวนั สุดทา้ ยท่ีครบกาหนดระยะเวลาเดิมตามมาตรา ๑๙๓/๗ เช่น ครบกาหนดยน่ื อุทธรณ์
* ศกั ด์ิ สนองชาติ, คาอธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ นิติกรรม สัญญา, (กรุงเทพฯ: สานักพิมพน์ ิติบรรณการ, ๒๕๕๗), หนา้ ๕๖๓.
และ กาชัย จงจักรพันธ์, คาอธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วย ระยะเวลาและอายุความ , (กรุงเทพฯ: คณะนิติศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์), หนา้ ๓๖.
** ศกั ด์ิ สนองชาติ, หนา้ ๕๖๒-๕๖๓. และ กาชยั จงจกั รพนั ธ์, หนา้ ๔๑.
*** ศกั ด์ิ สนองชาติ, หนา้ ๕๖๒. และ กาชยั จงจกั รพนั ธ์, หนา้ ๓๗.
ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๘๘
วนั ที่ ๑๗ เมษายน๒๕๕๒ ซ่ึงเป็ นวนั เสาร์ แมค้ ู่ความจะมีสิทธิย่นื คาร้องขอขยายระยะเวลายนื่ อุทธรณ์
ในวนั ท่ี ๑๙ เมษายน ๒๕๔๒ ซ่ึงเป็ นวนั ที่เริ่มทาการใหม่ได้ แต่การนับระยะเวลาที่ขอขยายออกไป
ตอ้ งนบั ต่อจากวนั สุดทา้ ยที่ครบกาหนดระยะเวลาเดิม คือเริ่มนบั หน่ึงต้งั แต่วนั ท่ี ๑๘ เมษายน ๒๕๔๒
(เทียบฎีกาท่ี ๘๗๓๕/๒๕๔๒)
ข้อสังเกต คาพิพากษาศาลฎีกาท่ี ๘๗๓๕/๒๕๔๒ เป็ นกรณีที่ศาลอนุญาตให้
ขยายระยะเวลาออกไปโดยมิได้มีการกาหนดระยะเวลาเร่ิมตน้ แห่งระยะเวลาท่ีขยายออกไป
กรณีจึงตอ้ งดว้ ยมาตรา ๑๙๓/๗ ให้นบั วนั ท่ีต่อจากวนั สุดทา้ ยของระยะเวลาเดิมเป็ นวนั เริ่มตน้
ดงั น้นั หากคาสั่งขยายระยะเวลาของศาลไดม้ ีการกาหนดวนั เร่ิมตน้ แห่งระยะเวลาท่ีขยายออกไป
อยา่ งไร ก็ตอ้ งเริ่มตน้ นบั แตว่ นั น้นั
ข้อสังเกต
๑. การส่ังขยายระยะเวลาอุทธรณ์ควรระบุให้ชดั เจนว่าขยายให้ถึงวนั ที่เท่าไร
เช่น “ตามคาร้ องมีพฤติการณ์ พิเศษ อนุญาตให้ ขยายระยะเวลาย่ืนอุทธรณ์ ได้ถึงวันท่ี
๕ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๕๓ สาเนาให้โจทก์”
๒. ควรตรวจสอบวนั หยุดราชการ ตามท่ีมีประกาศให้เป็ นวนั หยุดต่อเนื่อง
ในแต่ละปี และระบุไวใ้ นคาสั่งให้ชดั เจน เช่น “ครบกาหนดอุทธรณ์วันท่ี ๑๖ เมษายน ๒๕๕๓
ตรงกับวันศุกร์ ซ่ึงมีประกาศให้เป็ นวันหยุดต่อเนื่องจากวันสงกรานต์ จาเลยจึงยื่นอุทธรณ์ใน
วันจันทร์ ที่ ๑๙ เมษายน ๒๕๕๓ ซึ่งเป็ นวันที่เร่ิ มทาการใหม่ต่อจากวันท่ีหยุดทาการน้ันได้
รับอุทธรณ์ . . .”
๑.๒ ตรวจอุทธรณ์ในเบือ้ งต้น
ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๑๘ หากศาลช้นั ตน้ พบขอ้ บกพร่องก็มีอานาจสั่งคืนอุทธรณ์น้ัน
ไปให้ทามาใหม่ หรือแก้ไขเพิ่มเติมภายในเวลาที่ศาลกาหนดหากไม่ปฏิบัติตามให้มีคาสั่ง
ไม่รับอุทธรณ์
๑.๓ ตรวจความถูกต้องครบถ้วนในคาฟ้องอทุ ธรณ์ ได้แก่
๑.๓.๑ อุทธรณ์จะตอ้ งบรรยายขอ้ เท็จจริงหรื อขอ้ กฎหมายท่ียกข้ึนอา้ งโดยชัดแจง้
มีขอ้ ความโต้แยง้ คาพิพากษาหรือคาส่ังศาลช้ันต้นพร้อมดว้ ยเหตุผล (ฎีกาที่ ๔๐๐๔/๒๕๒๘,
๑๘๖/๒๕๒๙, ๒๕๒๕/๒๕๓๐, ๔๘๓/๒๕๓๔, ๑๖๖๓/๒๕๓๙, ๖๔๐/๒๕๔๐) และตอ้ งเป็ น
ขอ้ ท่ีได้ยกข้ึนว่ากนั มาแลว้ โดยชอบในศาลช้ันต้น ท้งั ต้องเป็ นสาระแก่คดีอนั ควรได้รับการ
วนิ ิจฉยั (ป.วิ.พ. มาตรา ๒๒๕ วรรคหน่ึง)
ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๘๙
๑.๓.๒ คดีมีขอ้ หา้ มหรือขอ้ จากดั สิทธิในการอุทธรณ์หรือไม่ ไดแ้ ก่
(๑) ขอ้ ห้ามขอ้ จากดั สิทธิตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๑๓๘, ๑๖๘, ๑๘๘, ๒๒๒,
๒๒๔ และ ๒๒๕ วา่ ดว้ ยการอุทธรณ์ โดยตรวจดูขอ้ ยกเวน้ ที่ทาให้เกิดสิทธิอุทธรณ์ไดใ้ นแตล่ ะ
มาตราดงั กล่าวดว้ ย
(๒) มีกฎหมายบญั ญตั ิให้คาพิพากษาหรือคาสั่งของศาลช้นั ตน้ เป็ นท่ีสุด
เช่น ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๘, ๑๔, ๒๘, ๑๓๖, ๑๓๗, ๑๔๖, ๑๕๔, ๑๕๖/๑, ๑๙๙เบญจ วรรคส่ี, ๒๓๐,
๒๓๖,๒๖๗,๒๘๘,๒๙๓, ๒๙๖, ๓๐๙ และ ๓๐๙ ทวิ เป็นตน้ ยอ่ มตอ้ งหา้ มอทุ ธรณ์
(๓) หา้ มอทุ ธรณ์คาสง่ั ระหวา่ งพิจารณาตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๒๖
๑.๓.๓ คดีต้องห้ามอุทธรณ์ในข้อเท็จจริ งตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๒๔หรื อไม่
มีขอ้ พจิ ารณา ดงั น้ี
(๑) สิทธิอุทธรณ์ในขอ้ เท็จจริงถือตามจานวนทุนทรัพยท์ ี่พิพาทกนั ในช้นั
อุทธรณ์ แต่สาหรับราคาทรัพยส์ ินที่พิพาทถือตามราคาทรัพยใ์ นขณะย่ืนฟ้อง ถา้ ราคาทรัพยส์ ิน
พิพาทมีราคาไม่เกิน ๕๐,๐๐๐ บาท ในขณะยน่ื ฟ้องต่อศาลช้นั ตน้ ก็ตอ้ งหา้ มอทุ ธรณ์ในขอ้ เทจ็ จริง
(คาส่ังคาร้องศาลฎีกาท่ี ๑๔๗๕/๒๕๓๕ และฎีกาที่ ๒๑๐/๒๕๓๗, ๔๐๘/๒๕๓๘, ๑๐๖๙/
๒๕๓๙)
(๒) คดีหลายเรื่องรวมพิจารณาหรือโจทก์หลายคนฟ้องรวมมาในคดี
เดียวกันและเป็ นหน้ีอนั อาจแบ่งแยกได้ คิดทุนทรัพยแ์ ยกเป็ นรายสานวนหรือตามจานวนหน้ี
ที่โจทกแ์ ต่ละคนเรียกร้อง (ฎีกาท่ี ๑๕๐๔/๒๕๒๐,๒๒๐๒/๒๕๒๐,๙๒๙- ๙๓๐/๒๕๒๕,๒๓๘๙/๒๕๓๖,
๒๔๑๙/๒๕๓๖, ๓๘๓๐/๒๕๓๗, ๖๓/๒๕๓๘, ๕๔๙๕/๒๕๓๘)
(๓) โจทก์ฟ้องจาเลยคนเดียวเรี ยกทรัพย์หลายอย่างในคดีเดียวกัน
คิดราคาทรัพยร์ วมกนั เป็ นจานวนทุนทรัพย์ หรือกรณีที่โจทก์ฟ้องจาเลยเรียกเงินกูต้ ามสัญญากู้
หลายฉบบั ใหเ้ อาจานวนเงินตามสัญญากูท้ ุกฉบบั มารวมกนั เป็ นทุนทรัพย์ เช่น ในกรณีที่โจทก์
ฟ้องให้จาเลยคนเดียวรับผิดชาระเงินกู้ ๒ ฉบบั มาในคาฟ้องเดียวกนั โดยแยกทาสัญญากู้เป็ น
๒ ฉบบั การวินิจฉัยสิทธิอุทธรณ์ในปัญหาขอ้ เท็จจริงจะตอ้ งคานวณโดยการรวมทุนทรัพยต์ าม
สัญญากู้ท้ัง ๒ ฉบับ ในคาฟ้องน้ัน (คาสั่งคาร้องศาลฎีกาท่ี ๑๐๗๖/๒๕๑๔ ประชุมใหญ่และฎีกาที่
๒๗๒๖/๒๕๒๘ ประชุมใหญ่) ตามพระธรรมนูญศาลยตุ ิธรรม มาตรา ๑๗ ประกอบดว้ ยมาตรา
๒๕ (๔) บญั ญตั ิใหศ้ าลแขวงมีอานาจพจิ ารณาพพิ ากษาคดีแพ่งซ่ึงราคาทรัพยส์ ินหรือจานวนเงิน
ที่ฟ้องไม่เกินสามแสนบาทน้นั จานวนเงินท่ีฟ้องน้ีหมายถึงจานวนเงินรวมกนั ในคาฟ้องที่โจทก์
แต่ละคนขอให้ศาลบงั คบั ให้จาเลยชาระไม่ว่าเงินจานวนดงั กล่าวจะเกิดจากมูลหน้ีรายเดียว
หรือมูลหน้ีหลายรายรวมกนั ก็ตาม เม่ือรวมจานวนเงินที่ฟ้องในมูลหน้ีเหล่าน้ันแลว้ มีจานวนไม่เกิน
ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๙๐
สามแสนบาท ก็อยู่ในอานาจศาลแขวงที่จะพิจารณาพิพากษา หากรวมกันแล้วเกินสามแสนบาท
คดีก็ไม่อยู่ในอานาจศาลแขวง โจทก์ฟ้องเรียกเงินตามเช็คท่ีจาเลยเป็ นผูส้ ่ังจ่าย ๖ ฉบบั ฉบบั ละ
๕๕,๐๐๐ บาท เป็ นจานวนเงินท่ีโจทก์ฟ้องเรียกรวมดอกเบ้ียดว้ ย ๓๓๐,๐๐๐ บาท ดงั น้ี คดีไม่อยู่
ในอานาจศาลแขวงท่ีจะพจิ ารณาพิพากษา (เทียบฎีกาที่ ๒๐๕๔/๒๕๒๕)
(๔) แต่ถา้ โจทก์ฟ้องจาเลยเรียกเบ้ียปรับตามสัญญาค้าประกนั คนต่างดา้ ว
๕ ราย โดยจาเลยทาสัญญาค้าประกนั เป็ นรายฉบบั รวม ๕ ฉบบั สาหรับผูค้ ้าประกนั แต่ละราย
หากจาเลยผิดสัญญายอมให้ปรับรายละ ๕๐,๐๐๐บาท ทุนทรัพยใ์ นคดีจึงแยกออกตามสัญญา
ค้าประกนั แต่ละฉบบั แมจ้ ะปรับรวมกนั มาก็ถือว่ากาหนดค่าปรับภายในวงเงินตามสัญญา
ค้าประกนั แต่ละฉบบั ไม่เกินฉบบั ละ ๕๐,๐๐๐บาท คดีจึงตอ้ งห้ามอุทธรณ์ในขอ้ เท็จจริงตาม
ป.ว.ิ พ. มาตรา ๒๒๔ แมศ้ าลช้นั ตน้ จะสัง่ รับอุทธรณ์ในขอ้ เทจ็ จริงและศาลอุทธรณ์รับวินิจฉัยให้
ก็ถือไม่ไดว้ ่าเป็ นขอ้ ที่ไดว้ ่ากล่าวกนั มาแลว้ โดยชอบในช้ันอุทธรณ์ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๔๙
แมจ้ าเลยจะฎีกาในขอ้ เทจ็ จริงดงั กล่าวต่อมา ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัย (เทียบฎีกาท่ี ๒๒๗๓/๒๕๒๖)
โจทกฟ์ ้องว่าจาเลยเล่นแชร์กบั โจทก์รวม ๑๓ วง แล้วผิดสัญญาไม่ชาระค่าแชร์รวมเป็ นเงิน
ท้ังส้ิน ๗๕๐,๐๐๐ บาท แต่จานวนเงินท่ีผิดสัญญาแต่ละวงน้ันไม่เกินห้าหม่ืนบาท ดังน้ี
ทุนทรัพยใ์ นคดีน้ีจึงแยกออกตามสัญญาเล่นแชร์แต่ละวงซ่ึงไม่เกินห้าหม่ืนบาท จึงเป็ นคดีท่ี
หา้ มมิใหค้ ู่ความอุทธรณ์ในขอ้ เทจ็ จริงตาม ป.ว.ิ พ. มาตรา ๒๒๔ (เทียบฎีกาท่ี ๒๔๖๘/๒๕๒๗)
(๕) ในคดีท่ีมีฟ้องแยง้ คดีตามฟ้องและฟ้องแยง้ จะอุทธรณ์หรือฎีกาได้
เพียงใดหรือไม่ ตอ้ งแยกพิจารณา ไม่ถือเป็ นทุนทรัพยร์ วมกนั (ฎีกาที่ ๘๘๓/๒๕๑๕, ๖๒๕/
๒๕๓๗) หากฟ้องแยง้ เป็ นคดีท่ีมีคาขอให้ปลดเปล้ืองทุกข์อนั ไม่อาจคานวณเป็ นราคาเงินได้
ซ่ึงไม่ตอ้ งหา้ มอทุ ธรณ์ในขอ้ เทจ็ จริง แตเ่ ม่ือการวนิ ิจฉยั ฟ้องแยง้ ตอ้ งอาศยั ขอ้ เทจ็ จริงจากฟ้องเดิม
ซ่ึงต้องห้ามอุทธรณ์ในขอ้ เท็จจริงแล้ว ฟ้องแยง้ ก็ไม่อาจอุทธรณ์ฎีกาในขอ้ เท็จจริงได้ (ฎีกาที่
๔๗๕๔/๒๕๓๘, ๕๗๐/๒๕๔๐) การพิจารณาวา่ คดีตอ้ งห้ามอุทธรณ์ในปัญหาขอ้ เท็จจริงหรือไม่
ตอ้ งพิจารณาฟ้องเดิมและฟ้องแยง้ แยกจากกนั
(๖) ดอกเบ้ียนับแต่วนั ฟ้องจนกว่าจะชาระเสร็จจะนามารวมคานวณเป็ น
ทุนทรัพยใ์ นช้นั อุทธรณ์ไม่ได้ (คาสั่งคาร้องศาลฎีกาท่ี ๑๔๖๖/๒๕๓๕ และฎีกาท่ี ๑๙๒๖/๒๕๓๗
ประชุมใหญ่, ๓๓๖๗/๒๕๓๘) ตลอดจนค่าเสี ยหายในอนาคตก็จะนามาคานวณเป็ น
ทุนทรัพยไ์ ม่ได้ (คาส่ังคาร้องศาลฎีกาที่ ๑๒๙๗/๒๕๓๗, ๔๗๑๙/ ๒๕๓๘) การขอให้พิจารณา
คดีใหม่ ถือตามทนุ ทรัพย์ ในคดีเดิม (ฎีกาที่ ๕๔๕๐/๒๕๓๖)
๑.๓.๔ ตรวจวา่ ผูล้ งลายมือชื่อในอุทธรณ์มีอานาจหรือไม่ ตวั ความหรือทนายความ
ผูม้ ีอานาจอุทธรณ์ไดต้ อ้ งลงชื่อในอุทธรณ์ ให้ตรวจดูใบแต่งทนายความว่ามีอานาจอุทธรณ์
ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๙๑
หรือไม่ กรณีทนายความเป็นผูย้ ื่นอุทธรณ์โดยตวั ความมิไดใ้ ห้อานาจในการอุทธรณ์ไว้ ตอ้ งยื่น
ใบแต่งทนายความต่อศาล ถา้ เป็ นโจทก์ในคดีเดิมซ่ึงทนายความ มีอานาจว่าความต่อไปในช้นั
ร้องขดั ทรัพย์ หรือขอเฉล่ียทรัพยใ์ นคดีเร่ืองอ่ืนใหแ้ ก่ลูกความของตนได้ ใหอ้ ุทธรณ์ในเร่ืองน้นั
ไดโ้ ดยไม่ตอ้ งทาใบแต่งทนายความใหม่ (ฎีกาที่ ๑๒๒๕/๒๕๐๙) และถา้ ใบแต่งทนายความเดิม
ให้อานาจอุทธรณ์ได้ ทนายความย่อมมีอานาจลงชื่อในอุทธรณ์ได้ (ฎีกาที่ ๔๑๙/๒๔๙๓)
แต่ถา้ ทนายความน้นั ขาดตอ่ ใบอนุญาต การดาเนินกระบวนพิจารณาของทนายความในการเรียง
คาให้การยื่นต่อศาล ย่อมไม่ชอบ แมต้ ่อมาทนายความน้ันจะไดย้ ่ืนคาขอจดทะเบียนและไดร้ ับ
ใบอนุญาตเป็ นทนายความแลว้ ก็ตาม ศาลฎีกาเพิกถอนกระบวนพิจารณาของศาลช้ันตน้ ได้
(ฎีกาท่ี ๒๙๐๔ - ๒๙๐๕/๒๕๓๗, ๑๐๔๓/๒๕๓๘) และผู้ที่ได้รับมอบอานาจจากตวั ความ
ใหฟ้ ้องและดาเนินคดีแทนยอ่ มเรียงอุทธรณ์และลงช่ือในฟ้องอุทธรณ์ไดด้ ว้ ยตนเองเช่นเดียวกบั
ตวั ความหรือทนายความ (ฎีกาที่ ๒๙๔๗/๒๕๑๖ ประชุมใหญ,่ ๓๒๖๖/ ๒๕๒๗)
๑.๓.๕ ตรวจวา่ เสียค่าข้ึนศาลช้นั อุทธรณ์และวางเงินคา่ ธรรมเนียมใชแ้ ทนครบถว้ น
ถกู ตอ้ งหรือไม่
๑) กรณีที่ตอ้ งวางเงินค่าธรรมเนียมซ่ึงจะตอ้ งใช้แก่คู่ความอีกฝ่ ายหน่ึง
ตามคาพิพากษาหรือคาสั่ง ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๒๙ ตอ้ งเป็ นอุทธรณ์ที่มีผลโดยตรงทาให้
คาพพิ ากษาศาลช้นั ตน้ ถูกเพิกถอนหรือสิ้นผลบงั คบั มีดงั น้ี
(๑) อุทธรณ์คัดคา้ นคาพิพากษาศาลช้ันต้นเพื่อให้ศาลอุทธรณ์
พพิ ากษากลบั ใหต้ นเป็นฝ่ ายชนะคดี ไม่วา่ จะอุทธรณ์ในปัญหาขอ้ เทจ็ จริงหรือขอ้ กฎหมายกต็ าม
(๒) อุทธรณ์คาส่ังศาลช้นั ตน้ ซ่ึงมีคาส่ังมาโดยไม่ชอบและหาก
อุทธรณ์ฟังข้ึน ศาลอุทธรณ์ต้องพิพากษายกคาพิพากษาและคาส่ังศาลช้ันต้น อันจะมีผล
ทาใหค้ าพิพากษาของศาลช้นั ตน้ ตอ้ งถูกยกเลิกหรือเพิกถอนไป ไดแ้ ก่ การอุทธรณ์คาส่ังระหวา่ ง
พจิ ารณาตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๒๖ เช่น คาสั่งไม่อนุญาตใหเ้ ล่ือนคดี (ฎีกาที่ ๒๑๕/๒๕๔๔) คาสง่ั
งดสืบพยาน (ฎีกาท่ี ๒๘๘๙/๒๕๔๐) คาสั่งอนุญาตให้แก้ไขคาฟ้องคาให้การ คาส่ัง
ไม่อนุญาตให้จาเลยย่ืนคาให้การ และการอุทธรณ์คาสั่งท่ีมิให้ถือว่าเป็ นคาสั่งระหว่างพิจารณา
ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๒๗
(๓) อุทธรณ์คาสั่งศาลช้ันต้นท่ียกคาร้องขอเพิกถอนกระบวน
พิจารณาที่ผดิ ระเบียบ ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๗ ซ่ึงมีผลทาใหค้ าพพิ ากษาศาลช้นั ตน้ ตอ้ งถูกยกเลิก
หรือเพกิ ถอนไปดว้ ย (ฎีกาที่ ๗/๒๕๔๔, ๒๕๕๒ - ๒๕๖๒/๒๕๔๙)
(๔) อุทธรณ์คาส่ังศาลช้ันต้นท่ีไม่อนุญาตให้พิจารณาคดีใหม่
(ฎีกาท่ี ๒๘๘๙/๒๕๔๔, ๗๔๘๙/๒๕๔๖ ประชุมใหญ)่
ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๙๒
๒) กรณีท่ีไม่ตอ้ งวางเงินค่าธรรมเนียมใช้แทนตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๒๙
เมื่อเป็นอุทธรณ์ท่ีไมม่ ีผลเปล่ียนแปลงคาพพิ ากษาศาลช้นั ตน้ มีดงั น้ี
(๑) ศาลช้นั ตน้ พิพากษาใหจ้ าเลยรับผิดต่อโจทก์ จาเลยย่ืนคาร้อง
ขอพิจารณาคดีใหม่ ศาลช้นั ตน้ ยกคาร้องเพราะคาร้องมิไดค้ ดั คา้ นคาตดั สินช้ีขาดของศาลที่แสดง
ให้เห็นว่าหากศาลได้พิจารณาคดีน้ันใหม่ตนเองจะเป็ นฝ่ ายชนะ จาเลยอุทธรณ์โดยขอให้
ศาลอทุ ธรณ์มีคาส่งั ใหศ้ าลช้นั ตน้ รับคาร้องขอพิจารณาใหมข่ องจาเลยไวพ้ ิจารณาและมีคาส่ังใหม่
ตามรูปคดี อุทธรณ์ของจาเลยจึงไม่มีผลโดยตรงต่อคาพิพากษาศาลช้ันต้นให้ส้ินผลบังคบั
แต่อยา่ งใด เมื่ออุทธรณ์ไม่มีผลกระทบต่อคาพิพากษาศาลช้นั ตน้ จาเลยจึงไม่ตอ้ งวางเงินตาม
ป.วิ.พ. มาตรา ๒๒๙ มาพร้อมอุทธรณ์ (ฎีกาที่ ๖๖๔๓/๒๕๔๘, ๗๕๖/๒๕๕๐, ๓๑๗๑/๒๕๕๐)
(๒) จาเลยขอพิจารณาคดีใหม่หลังจากศาลพิพากษาให้รับผิด
ต่อโจทกแ์ ลว้ ศาลช้นั ตน้ นดั ไต่สวนถึงวนั นดั จาเลยขอเล่ือนคดี ศาลช้นั ตน้ ไมอ่ นุญาตและถือวา่
จาเลยไม่มีพยานมาสืบ ยกคาร้องขอพิจารณาคดีใหม่ จาเลยอุทธรณ์ขอให้ศาลอุทธรณ์มีคาสั่ง
อนุญาตให้จาเลยเลื่อนคดีและให้ศาลช้นั ตน้ ไต่สวนคาร้องขอพิจารณาคดีใหม่และมีคาส่ังตาม
รูปคดีเท่าน้ัน อุทธรณ์ของจาเลยจึงไม่มีผลโดยตรงต่อคาพิพากษาศาลช้นั ตน้ ให้ส้ินผลบงั คบั
แตอ่ ยา่ งใด จาเลยจึงไม่ตอ้ งวางเงินตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๒๙ มาพร้อมอุทธรณ์ (ฎีกาท่ี ๖๔๔๗/๒๕๔๘)
(๓) ถา้ ศาลช้นั ตน้ มีคาส่ังให้ค่าฤชาธรรมเนียมเป็ นพบั หรือมิได้
พิพากษาให้ผูอ้ ุทธรณ์ใชค้ ่าฤชาธรรมเนียมแทนอีกฝ่ ายหน่ึง จึงไม่มีค่าฤชาธรรมเนียมใชแ้ ทนท่ี
ผอู้ ทุ ธรณ์จะตอ้ งนามาวางศาลพร้อมอุทธรณ์ ผอู้ ทุ ธรณ์กไ็ มต่ อ้ งวางเงินตาม ป.ว.ิ พ. มาตรา ๒๒๙
(ฎีกาท่ี ๒๒๐/๒๕๔๙)
ข้อสังเกต
๑. เงินค่าธรรมเนียมที่จะตอ้ งใชแ้ ทนคู่ความอีกฝ่ ายหน่ึงซ่ึงผอู้ ุทธรณ์นามาวางศาล
พร้อมอุทธรณ์ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๒๙ น้นั หากตอ่ มาศาลอุทธรณ์พิพากษากลบั ใหผ้ อู้ ทุ ธรณ์ชนะคดี
แมค้ ู่ความอีกฝ่ ายหน่ึงฎีกา ผูอ้ ุทธรณ์ขอรับเงินดังกล่าวคืนได้โดยไม่จาตอ้ งรอให้คดีถึงท่ีสุด
(ฎีกาท่ี ๖๖๗/๒๕๓๐)
ข้อสังเกต
คาพิพากษาศาลฎีกาท่ี ๖๖๗/๒๕๓๐ ผูอ้ ุทธรณ์ขอรับเงินท่ีวางศาลคืนโดยอาศยั
มาตรา ๒๕๑ (เดิม) ที่บญั ญตั ิให้สิทธิคู่ความฝ่ ายที่กลบั ชนะคดีในช้นั อุทธรณ์ที่จะไดร้ ับเงินที่วาง
ไวต้ ่อศาลคืนได้โดยไม่จาต้องรอให้คดีถึงที่สุด ถึงแม้ปัจจุบันมาตรา ๒๕๑ (เดิม) ถูกแก้ไข
เพ่ิมเติมโดย พ.ร.บ. แก้ไขเพิ่มเติม ป.วิ.พ. (ฉบบั ที่ ๒๗) พ.ศ. ๒๕๕๘ โดยยกเลิกความเดิม
ท้งั หมด และไม่มีบทบญั ญตั ิทานองเดียวกบั มาตรา ๒๕๑ (เดิม) อีก แต่คู่ความท่ีกลบั ชนะคดีใน
ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๙๓
ช้นั อุทธรณ์ก็ยงั คงมีสิทธิขอรับเงินท่ีวางไวต้ ่อศาลคืนได้ เนื่องจากคาพิพากษาหรือคาส่ังของ
ศาลอุทธรณ์เป็ นท่ีสุดตามมาตรา ๒๔๔/๑ เม่ือผูอ้ ุทธรณ์ชนะคดีในช้ันอุทธรณ์ เหตุแห่งการ
วางเงินย่อมหมดสิ้นไป หากมีการขออนุญาตฎีกาคาพิพากษาหรือคาสั่งของศาลอุทธรณ์
ตามมาตรา ๒๔๗ ย่อมเป็ นหน้าที่ของผูร้ ้องที่ตอ้ งนาเงินค่าธรรมเนียมซ่ึงจะตอ้ งใชแ้ ก่คู่ความ
อีกฝ่ ายหน่ึงตามคาพิพากษาหรือคาสั่งมาวางศาลพร้อมกับคาฟ้องฎีกา ตามข้อกาหนดของ
ประธานศาลฎีกาวา่ ดว้ ยการขออนุญาตฎีกาในคดีแพ่ง พ.ศ. ๒๕๕๘ ขอ้ ๗
๒. กรณีศาลช้ันต้นพิพากษาให้จาเลยหลายคนร่วมกันชาระหน้ีแก่โจทก์
หากจาเลยต่างคนต่างย่ืนอุทธรณ์หรือฎีกาคนละฉบบั จาเลยแต่ละคนตอ้ งเสียค่าข้ึนศาลตาม
จานวนทุนทรัพยใ์ นฟ้องอุทธรณ์หรือฟ้องฎีกาของตน (ฎีกาท่ี ๕๖๐๓/๒๕๓๐) หากมูลความแห่ง
คดีของคู่ความเป็ นการชาระหน้ีอนั ไมอ่ าจแบ่งแยกได้ แต่ยน่ื อุทธรณ์หรือฎีกาแยกกนั โดยต่างเสีย
ค่าข้ึนศาลในช้นั อุทธรณ์หรือช้นั ฎีกา หากค่าข้ึนศาลดงั กล่าวรวมกนั แลว้ สูงกว่าค่าข้ึนศาลที่ตอ้ ง
ชาระในกรณีที่ย่ืนอุทธรณ์หรือฎีการ่วมกนั ให้ศาลอุทธรณ์หรือศาลฎีกาสั่งคืนค่าข้ึนศาลส่วนท่ี
เกินแก่คู่ความเหล่าน้ันตามส่วนของค่าข้ึนศาลท่ีคู่ความแต่ละคนไดช้ าระไปในเวลาท่ีศาลน้นั มี
คาพิพากษาหรือคาส่งั ตาม ป.ว.ิ พ. มาตรา ๑๕๐ วรรคหา้
๓. เงินค่าธรรมเนียมซ่ึงจะต้องใช้แก่คู่ความอีกฝ่ ายหน่ึงตามคาพิพากษา
หรือคาส่ังซ่ึงผูอ้ ุทธรณ์ต้องนามาวางศาลพร้อมกับอุทธรณ์ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๒๙ จะขอ
ทุเลาการบงั คบั ไม่ได้ (ฎีกาที่ ๑๗๐/๒๕๐๙, ๙๖๔/๒๕๓๒) รวมท้งั จะขอวางหลกั ประกนั แทน
ก็ไมไ่ ด้ (คาส่งั คาร้องศาลฎีกาที่ ๖/๒๕๑๕) เวน้ แต่จะไดร้ ับอนุญาตใหด้ าเนินคดีโดยไดร้ ับยกเวน้
คา่ ธรรมเนียมศาลในช้นั อุทธรณ์ก็ไม่ตอ้ งวางเงินส่วนน้ีตามป.วิ.พ. มาตรา ๑๕๗ และการวางเงิน
ค่าธรรมเนียม มิใช่การวางเพ่ือชาระหน้ีใหแ้ ก่คูค่ วามอีกฝ่ ายหน่ึง ดงั น้นั คู่ความอีกฝ่ายขอรับเงิน
ดงั กลา่ วไมไ่ ด้ (ฎีกาที่ ๓๒๐๗/๒๕๒๘)
๔. จาเลยอุทธรณ์ภายในกาหนดอายุอุทธรณ์แต่มีเงินค่าธรรมเนียมไม่พอ
ศาลช้นั ตน้ ส่ังขยายเวลาใหเ้ กิน ๑ เดือนอออกไป เม่ือจาเลยวางเงินแลว้ จึงสั่งรับอุทธรณ์เป็ นการ
ชอบแลว้ (เทียบฎีกาที่ ๖๐๓/๒๕๒๐)
๕. การท่ีโจทก์หรือจาเลยอุทธรณ์ขอให้สืบพยานโจทก์หรือพยานจาเลยต่อไป
เ น่ื อ ง จ า ก ศ า ล ช้ ัน ต้น มี ค า ส่ั ง ง ด สื บ พ ย า น แ ล้ว พิ พ า ก ษ า โ ด ย วิ นิ จ ฉัย ช้ ี ข า ด เ บ้ื อ ง ต้น ใ น ปั ญ ห า
ขอ้ กฎหมายตามมาตรา ๒๔ ซ่ึงทาใหค้ ดีเสร็จไปท้งั เรื่อง เป็นการอุทธรณ์คาสั่งตามมาตรา ๒๒๗
ตอ้ งเสียค่าข้ึนศาลเพียง ๒๐๐ บาท ตามตาราง ๑ ขอ้ ๒ ข. ทา้ ย ป.วิ.พ. มิใช่เสียตามทุนทรัพยท์ ี่พิพาท
(ฎีกาท่ี ๓๙๐๐/๒๕๔๙, ๔๖๔/๒๕๔๙, ๖๗๓๕/๒๕๔๘, ๒๕๔๐/๒๕๔๕, ๒๕๑๖/๒๕๔๔,
๔๙๖๙ - ๔๙๗๒/๒๕๔๐)
ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๙๔
๖. ศาลช้นั ตน้ มีคาสั่งว่าโจทก์ทิ้งฟ้องให้จาหน่ายคดี โจทก์อุทธรณ์คาส่ังดงั กล่าว
ตอ้ งเสียคา่ ข้ึนศาลช้นั อทุ ธรณ์ ๒๐๐ บาท (ฎีกาที่ ๗๖๐๐/๒๕๔๑)
๗. โจทก์อุทธรณ์ขอให้ศาลช้ันต้นสืบพยานหลักฐานแล้วพิพากษาใหม่
ตามรูปคดี ไม่ได้ขอให้พิพากษาให้โจทก์ชนะคดี เสียค่าข้ึนศาลช้ันอุทธรณ์เพียง ๒๐๐ บาท (ฎีกาที่
๔๘๑๔/๒๕๕๐, ๖๗๓๕/๒๕๔๘, ๖๐๐๘/๒๕๔๘, ๓๐๑๙/๒๕๔๑, ๒๕๑๖/๒๕๔๑)
๑.๓.๖ การอทุ ธรณ์คาพิพากษาหรือคาสง่ั ช้นั บงั คบั คดี
- การขอกนั ส่วน (มาตรา ๒๘๗) และขอเฉล่ียทรัพย์ (มาตรา ๒๙๐) เป็นคดี
ไม่มีทุนทรัพย์ (ฎีกาที่ ๘๕๕/๒๕๑๕ และ คาสั่งคาร้องศาลฎีกาที่ ๑๙/๒๕๑๙) ไม่ต้องห้าม
อุทธรณ์ในขอ้ เทจ็ จริงตามมาตรา ๒๒๔ วรรคสอง
- การขอรับเงินในฐานะเป็ นเจา้ หน้ีบุริมสิทธิหรือเจา้ หน้ีจานอง (มาตรา ๒๘๙)
เป็นคดีมีทุนทรัพย์ ตอ้ งเสียค่าข้ึนศาลช้นั อุทธรณ์หรือฎีกาตามราคาทรัพยท์ ี่ผูร้ ้องต้งั เป็นขอ้ พิพาท
(ฎีกาท่ี ๑๐๘๒/๒๕๐๔) และจะอุทธรณ์ในปัญหาขอ้ เท็จจริงไดห้ รือไม่ ตอ้ งพิจารณาตามทุนทรัพย์
พิพาทดงั กล่าว
ถา้ เป็ นเจา้ หน้ีจานองตามคาพิพากษาไม่ตอ้ งเสียค่าข้ึนศาลอีก เพียงแต่ตอ้ งทา
เป็ นคาร้อง
- การร้องขดั ทรัพย์ ตอ้ งพิจารณาถึงทุนทรัพยว์ า่ ตอ้ งหา้ มหรือไม่ โดยถือตาม
ทุนทรัพยท์ ี่ผรู้ ้องขอใหป้ ล่อยทรัพย์(ฎีกาท่ี ๓๐๖/๒๕๑๓) มใิ ช่พจิ ารณาทุนทรัพยท์ ่ีพิพาทในคดีเดิม
(ฎีกาท่ี ๗๘๙/๒๕๒๑)
- อุทธรณ์ช้นั บงั คบั คดีในคดีฟ้องขบั ไล่บุคคลใด ๆ ออกจากอสังหาริมทรัพย์
อนั มีค่าเช่าไม่เกินเดือนละ ๔,๐๐๐ บาท ซ่ึงตอ้ งห้ามอุทธรณ์ในปัญหาขอ้ เท็จจริงตาม ป.วิ.พ.
มาตรา ๒๒๔ วรรคสอง ย่อมตอ้ งห้ามอุทธรณ์ในปัญหาขอ้ เท็จจริงเช่นกัน (ฎีกาท่ี ๕๘๐๑/
๒๕๓๙)
๑.๓.๗ กรณีคาส่ังระหวา่ งพิจารณาซ่ึงหา้ มไม่ใหอ้ ุทธรณ์ทนั ที จะอุทธรณ์ไดต้ ่อเมื่อ
ศาลมีคาพิพากษาหรือคาสั่งช้ีขาดตดั สินคดีแลว้ ตาม ป.ว.ิ พ. มาตรา ๒๒๖ (๒) และการโตแ้ ยง้ คาส่ัง
ระหวา่ งพจิ ารณาน้นั ตอ้ งโตแ้ ยง้ ภายหลงั ที่ศาลไดม้ ีคาสัง่ แลว้ (ฎีกาท่ี ๕๖๕/๒๕๔๐) เวน้ แตไ่ มม่ ี
โอกาสโต้แยง้ คาส่ังได้ทัน เช่น โจทก์มอบฉันทะให้เสมียนทนายไปยื่นคาร้องขอเล่ือนคดี
ศาลมีคาสั่งไม่อนุญาตให้เลื่อนคดี โดยศาลช้นั ตน้ มีคาสั่งในวนั เดียวกบั ที่มีคาพิพากษาหรือสั่งแลว้
นดั ฟังคาพิพากษาในวนั รุ่งข้ึน ถือว่าคู่ความไม่มีเวลาท่ีจะโตแ้ ยง้ คาส่ังน้นั (ฎีกาที่ ๒๖๗๗/๒๕๒๖,
๓๑๘/๒๕๓๖)
ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๙๕
ศาลมีคาสง่ั งดสืบพยานแลว้ นดั ฟังคาพพิ ากษาในวนั รุ่งข้ึน โดยคูค่ วามไดร้ ับทราบ
คาส่ังและวนั นดั ฟังคาพิพากษาในวนั น้นั แลว้ ถือวา่ คู่ความดงั กล่าวยงั มีโอกาสที่จะโตแ้ ยง้ คาส่ัง
ระหว่างพิจารณาไดก้ ่อนฟังคาพิพากษา เม่ือมิไดโ้ ต้แยง้ คาส่ังไวย้ ่อมไม่มีสิทธิอุทธรณ์คาสั่ง
ดงั กล่าวได้ (ฎีกาท่ี ๓๙๘๕/๒๕๒๘) หรือถา้ ศาลช้นั ตน้ ส่ังงดสืบพยานในวนั พุธที่ ๑๒ และนดั ฟัง
คาพิพากษาวนั ศุกร์ที่ ๑๔ เดือนเดียวกนั ถือว่ามีเวลาพอท่ีคู่ความจะโตแ้ ยง้ คาส่ังน้นั ได้ เมื่อมิได้
โตแ้ ยง้ ไวจ้ ะอทุ ธรณ์ฎีกาขอใหม้ ีการพจิ ารณาสืบพยานต่อไปหาไดไ้ ม่ (ฎีกาท่ี ๒๐๑๗/๒๕๑๕)
ข้อสังเกต
ข้อเท็จจริ งตามคาพิพากษาศาลฎีกาที่ ๒๖๗๗/๒๕๒๖ เป็ นกรณีท่ีโจทก์
ขอเลื่อนคดีโดยมอบฉันทะให้เสมียนทนายไปยื่นคาร้องแทน แต่เนื่องจากผูร้ ับมอบฉันทะ
จากทนายความไม่มีอานาจท่ีจะดาเนินกระบวนพิจารณาแทนตวั ความนอกจากที่ไดร้ ับมอบหมาย
ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๖๔ ยอ่ มไม่อยใู่ นฐานะท่ีจะโตแ้ ยง้ คาส่ังศาลได้ การท่ีศาลช้นั ตน้ ไม่อนุญาต
ให้เล่ือนคดีแลว้ นัดฟังคาพิพากษาในวนั รุ่งข้ึน จึงถือว่าคู่ความไม่มีโอกาสโตแ้ ยง้ คาสั่งไดท้ นั
ส่วนขอ้ เท็จจริงตามฎีกาท่ี ๓๙๘๕/๒๕๒๘ ทนายจาเลยเป็ นผูร้ ับทราบคาสั่งศาลช้ันตน้ ที่ให้
งดสืบพยานและนัดฟังคาพิพากษาในวันรุ่งข้ึนด้วยตนเอง ทนายจาเลยจึงอาจโต้แยง้ คาสั่ง
ของศาลได้ แต่ไม่ไดโ้ ตแ้ ยง้ คาส่งั ดงั กลา่ วไวท้ ้งั ท่ีมีโอกาสโตแ้ ยง้ ไดก้ ่อนฟังคาพิพากษา
คาสง่ั ศาลช้นั ตน้ อนุญาตใหแ้ กไ้ ขคาฟ้องหรือคาให้การเป็นคาสั่งระหวา่ งพิจารณา
ตอ้ งโตแ้ ยง้ คดั คา้ นไวจ้ ึงจะอุทธรณ์ฎีกาได้ (ฎีกาที่ ๕๘/๒๕๓๑) แต่คาส่ังไม่อนุญาตให้แก้ไข
คาฟ้องและคาร้องขอแกไ้ ขคาใหก้ ารแกฟ้ ้องแยง้ (ฎีกาท่ี ๑๔๘๘/๒๕๒๙) และคาสั่งไม่อนุญาต
ให้จาเลยแกไ้ ขคาให้การ (ฎีกาท่ี ๗๖๕๗/๒๕๔๘) มีผลเป็ นการส่ังไม่รับคาคู่ความตาม ป.วิ.พ.
มาตรา ๒๒๘ (๓) มิให้ถือว่าเป็ นคาสั่งระหว่างพิจารณา คาสั่งจาหน่ายคดีสาหรับจาเลยบางคน
ไม่เป็ นคาสั่งระหว่างพิจารณา (ฎีกาที่ ๑๓๖/๒๕๓๐) แมศ้ าลไดม้ ีคาพิพากษาหรือคาส่ังช้ีขาด
ตดั สินคดีอนั เป็ นประเด็นขอ้ พิพาทแห่งคดีแลว้ เม่ือจาเป็ นตอ้ งดาเนินกระบวนพิจารณาเพ่ือมี
คาส่ังช้ีขาดตามคาขอของคู่ความฝ่ ายใดฝ่ ายหน่ึงอยู่อีก คาส่ังในระหว่างการดาเนินกระบวน
พิจารณาดงั กล่าวก่อนมีคาสั่งช้ีขาด คาขอน้ันย่อมเป็ นคาส่ังระหว่างพิจารณา (ฎีกาที่ ๓๓๐๕/
๒๕๓๓, ๔๐๕๗/๒๕๔๐)
๑.๓.๘ กรณียน่ื อุทธรณ์คาพพิ ากษาและคาส่งั ระหวา่ งพิจารณาเขา้ มาในฉบบั เดียวกนั
หากปรากฏวา่ คาส่งั ระหวา่ งพิจารณาน้นั ผอู้ ทุ ธรณ์มิไดโ้ ตแ้ ยง้ คาสง่ั ไวก้ ่อน ศาลควรจะสัง่ ดงั น้ี
“รับอุทธรณ์ของโจทก์ (จาเลย)เฉพาะข้อ . . . และข้อ . . . สาเนาให้จาเลย
(โจทก์) แก้ภายใน ๑๕ วัน ให้โจทก์ (จาเลย) นาส่งหมายนัดและสาเนาอุทธรณ์ โดยให้วางเงิน
ค่า ส่งหมายอย่างช้าภายในวันทาการถัดไป หากส่งไม่ได้ให้โจทก์(จาเลย) แถลงเพ่ือดาเนินการ
ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๙๖
ต่อไปภายใน ๑๕ วัน นับแต่วันส่งไม่ได้ มิฉะน้ันถือว่าโจทก์ (จาเลย) ทิง้ อุทธรณ์ ส่วนอุทธรณ์
ข้อ . . . และ ข้อ . . . เป็ นอุทธรณ์คาส่ังระหว่างพิจารณา ซ่ึงโจทก์(จาเลย) มิได้โต้แย้งคาสั่งไว้
ต้องห้ามอุทธรณ์ ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๒๖(๒) จึงมีคาสั่งไม่รับอุทธรณ์คาส่ังระหว่างพิจารณา
ข้อ . . .และข้อ . . . ”
๑.๓.๙ ผอู้ ทุ ธรณ์ตอ้ งแนบสาเนาอุทธรณ์เท่าจานวนจาเลยอทุ ธรณ์
๒. การสั่งคาฟ้องอทุ ธรณ์
เมื่อศาลช้นั ตน้ เห็นวา่ คาฟ้องอุทธรณ์ชอบแลว้ จะสง่ั ดงั น้ี
๒.๑ คดีมีข้อพิพาท ส่ังว่า “รับอุทธรณ์ ของโจทก์ (จาเลย) สาเนาให้ จาเลย (โจทก์)
แก้ภายใน ๑๕ วัน ให้โจทก์ (จาเลย) นาส่งหมายนัดและสาเนาอุทธรณ์ โดยให้วางเงินค่าส่งหมาย
อย่างช้าภายในวันทาการถดั ไป หากส่งไม่ได้ให้โจทก์ (จาเลย) แถลงเพ่ือดาเนินการต่อไป ภายใน
๑๕ วัน นบั แต่วนั ส่งไม่ได้ มิฉะนัน้ ถือว่าทิง้ อุทธรณ์”
หรือ“วันที่ . . . ซ่ึงเป็ นวันครบกาหนดอุทธรณ์ตรงกับวันเสาร์ วันรุ่งขึน้ เป็ นวันอาทิตย์
ศาลหยุดทาการ โจทก์ (จาเลย) ย่ืนอุทธรณ์วันนีไ้ ด้ รับอุทธรณ์ของโจทก์ (จาเลย)สาเนาให้จาเลย
(โจทก์)แก้ภายใน ๑๕ วัน ให้โจทก์(จาเลย) นาส่งหมายนัดสาเนาอุทธรณ์ โดยให้วางเงินค่าส่งหมาย
อย่างช้าภายในวนั ทาการถดั ไป หากส่งไม่ได้ให้โจทก์ (จาเลย) แถลงเพื่อดาเนินการต่อไป ภายใน
๑๕ วนั นับแต่วนั ส่งไม่ได้ มิฉะน้นั ถือว่าทิง้ อุทธรณ์”
ข้อสังเกต
ในช้ันอุทธรณ์ไม่มีการออกหมายเรียกให้จาเลยอุทธรณ์แก้คดี แต่ใช้หมายนัดนาส่ง
สาเนาอุทธรณ์แทนหมายเรียก
๒.๒ คดีไมม่ ีขอ้ พพิ าท ส่งั วา่ “รับอุทธรณ์ รวบรวมถ้อยคาสานวนส่งศาลอุทธรณ์”
๒.๓ เมื่อศาลช้ันต้นเห็นว่าการยื่นฟ้องอุทธรณ์มีขอ้ บกพร่องอย่างใดอย่างหน่ึง
ควรสัง่ ดงั น้ี
๒.๓.๑ ย่ืนอุทธรณ์เม่ือพ้นกาหนดส่ังว่า“คดีนี้ศาลชั้นต้ นอ่ านคาพิพากษา
(หรือคาส่ัง) วันท่ี . . . พ้นกาหนดหน่ึงเดือนแล้ว จึงไม่รับอทุ ธรณ์ คืนค่าขึน้ ศาลทั้งหมด”
๒.๓.๒ อุทธรณ์ตอ้ งหา้ มหรือตอ้ งดว้ ยขอ้ จากดั ส่งั วา่ “คดนี ี้ . . . (อ้างเหต)ุ ต้องห้าม
อุทธรณ์ในข้อเท็จจริง อุทธรณ์ ข้อ . . . โต้แย้งเรื่อง . . . เป็นอุทธรณ์ในข้อเทจ็ จริง ส่วนอุทธรณ์
ข้อ . . . แม้เป็นข้อกฎหมายแต่กไ็ ม่เป็นสาระแก่คดี จึงไม่รับอทุ ธรณ์ คืนค่าขึน้ ศาลทั้งหมด”
ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๙๗
๒.๔ หากผูอ้ ุทธรณ์ไม่นาส่งสาเนาภายในเวลาท่ีศาลกาหนดยอ่ มเป็ นการทิ้งฟ้องอุทธรณ์
เมื่อมีรายงานเจา้ หน้าที่ ส่ังว่า “ให้ส่งถ้อยคาสานวนไปยังศาลอุทธรณ์” เพ่ือให้ศาลอุทธรณ์
พิจารณาส่ังจาหน่ายคดีในช้ันอุทธรณ์ ศาลช้ันต้นไม่มีอานาจสั่งจาหน่ายคดีในช้ันอุทธรณ์
(เทียบฎีกาที่ ๕๗๓๙/๒๕๓๙)
๓. การแก้ไขคาฟ้องอุทธรณ์
๓.๑ เนื่องจากไม่มีบทบญั ญตั ิเก่ียวกบั เรื่องดงั กล่าวไวโ้ ดยเฉพาะในลกั ษณะ ๑ อุทธรณ์
จึงตอ้ งนาบทบญั ญตั ิในมาตรา ๑๗๙ ซ่ึงเป็ นบทบญั ญตั ิเร่ืองการแกไ้ ขคาฟ้องในศาลช้นั ตน้ มาใช้
บงั คบั โดยอนุโลมตามมาตรา ๒๔๖ (ฎีกาท่ี ๘๐๙๘/๒๕๔๓) กล่าวคือ คาร้องขอแกไ้ ขคาฟ้อง
อุทธรณ์ จะกระทาได้ต่อเม่ือศาลช้นั ตน้ ส่ังรับคาฟ้องอุทธรณ์ไวแ้ ล้ว (ฎีกาที่ ๖๖๑๑ - ๖๖๑๒/
๒๕๓๘)
คาร้องขอแก้ไขคาฟ้องอุทธรณ์ต้องยื่นภายในกาหนดระยะเวลาอุทธรณ์ตาม
มาตรา ๒๒๙ เพราะเมื่อคาร้องขอแก้ไขคาฟ้องอุทธรณ์ก็เป็ นคาฟ้องอุทธรณ์ตาม ป.วิ.พ.
มาตรา ๑ (๓) จึงอย่ใู นบงั คบั ตอ้ งย่ืนภายในกาหนดระยะเวลาอุทธรณ์ตามมาตรา ๒๒๙ เช่นกนั
(ฎีกาที่ ๑๘๔๓/๒๕๕๑, ๗๑๙๘/๒๕๔๓, ๑๙๖๖/๒๕๑๕)
ในกรณีท่ีศาลอนุญาตใหแ้ กไ้ ขเพ่ิมเติมคาฟ้องอุทธรณ์ ตอ้ งให้โอกาสจาเลยอุทธรณ์
ในการแกอ้ ทุ ธรณ์ดว้ ย (เทียบคาสง่ั คาร้องศาลฎีกาที่ ๒๙๔-๒๙๕/๒๕๓๒)
๓.๒ เม่ือมีการย่ืนคาร้องขอแกไ้ ขคาฟ้องอุทธรณ์ ศาลช้นั ตน้ จะเป็ นผูพ้ ิจารณาสั่งคาร้อง
ดงั กลา่ วเช่นเดียวกบั กรณีการสั่งคาฟ้องอทุ ธรณ์ กลา่ วคือ
๓.๒.๑ หากยน่ื ภายในกาหนดระยะเวลาอุทธรณ์ ส่ังว่า “อนุญาต สาเนาให้จาเลย(โจทก์)
ให้โจทก์(จาเลย) นาส่งสาเนาคาร้องโดยให้วางเงินค่าส่งหมายอย่างช้าภายในวนั ทาการถดั ไป”
๓.๒.๒ หากย่ืนเกินกาหนดระยะเวลาอุทธรณ์ ส่ังว่า “คาร้ องขอแก้ไขคาฟ้อง
อุทธรณ์ ย่ืนเม่ือพ้นกาหนด ๑ เดือน นับแต่วันอ่านคาพิพากษา(หรื อคาส่ัง) จึงไม่อนุญาต
ให้ยกคาร้ อง” หรืออาจสั่งรับเป็ นคาแถลงการณ์ โดยส่ังว่า “คาร้ องขอแก้ไขคาฟ้องอุทธรณ์
ยื่นเม่ือพ้นกาหนด ๑ เดือน นับแต่วันอ่านคาพิพากษา (หรื อคาสั่ง) จึงไม่อนุญาต แต่ให้ รับเป็ น
คาแถลงการณ์ สาเนาให้อีกฝ่ าย” (เทียบคาส่ังคาร้องศาลฎีกาที่ ๙๗๑/๒๕๕๓, ๑๙๗/๒๕๕๒
และ ๕๙/๒๕๑๓)
ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๙๘
๓.๓ หากเป็ นกรณีขอแก้ไขถ้อยคาท่ีพิมพ์ผิดพลาดในคาฟ้องอุทธรณ์ กรณีเช่นน้ี
ไม่ใช่เป็ นกรณีการขอแกไ้ ขคาฟ้องอุทธรณ์ จึงไม่จาตอ้ งย่ืนภายในกาหนดระยะเวลาอุทธรณ์
(เทียบคาส่งั คาร้องศาลฎีกาที่ ๑๓๖๒/๒๕๕๓, ๓๓๗๑/๒๕๔๓, ๑๑๘๔/๒๕๓๘ และ ๓๗๒/๒๕๑๕)
๔. กรณศี าลช้ันต้นไม่รับอุทธรณ์
ผูอ้ ุทธรณ์ต้องย่ืนคาร้องอุทธรณ์คาส่ังศาลช้ันตน้ ภายในกาหนด ๑๕ วนั และผูอ้ ุทธรณ์
ต้องนาเงินค่าฤชาธรรมเนี ยมท้ ังปวงมาวางศาลและนาเงินมาชาระหน้ ี ตามคาพิพากษาหรื อ
หาประกนั ให้ไวต้ ่อศาลด้วยตาม ป.วิ.พ.มาตรา ๒๓๔ มิฉะน้ันศาลอุทธรณ์ยกคาร้อง (ฎีกาท่ี
๑๖๗๙/๒๕๓๑) แต่กรณีที่ศาลช้ันต้นรับอุทธรณ์ไว้เพียงบางขอ้ และไม่รับอุทธรณ์บางขอ้
กรณีเช่นน้ีไม่ตอ้ งดว้ ย ป.วิ.พ. มาตรา ๒๓๔ ไม่ถือว่าเป็ นคาส่ังไม่รับอุทธรณ์ของผอู้ ุทธรณ์ท้งั หมด
ผูอ้ ุทธรณ์ก็ไม่ต้องนาเงินมาชาระตามคาพิพากษาหรือหาประกันให้ไวต้ ่อศาล (คาส่ังคาร้อง
ศาลฎีกาที่ ๔๐๙/๒๕๓๑, ฎีกาท่ี ๓๒๗๑/๒๕๓๕) และหากหน้ีตามคาพิพากษาตามยอม
ยงั ไม่ถึงกาหนดชาระ ผูอ้ ุทธรณ์ก็ไม่ตอ้ งวางเงินตามคาพิพากษาหรือหาประกนั ให้ไวต้ ่อศาล
(คาส่งั คาร้องศาลฎีกาท่ี ๓๐๐๐ - ๓๐๐๒/๒๕๓๕)
๔.๑ การยื่นอุทธรณ์คาสั่งไม่รับอุทธรณ์น้ัน ผูอ้ ุทธรณ์ตอ้ งย่ืนภายใน ๑๕ วนั นับแต่วนั ที่
ผูอ้ ุทธรณ์ทราบคาสั่งศาลช้ันต้นที่สั่งไม่รับอุทธรณ์ ไม่ใช่นบั แต่วนั ที่ศาลมีคาสั่ง (คาส่ังคาร้อง
ศาลฎีกาท่ี ๕๕๕/๒๕๒๓)
๔.๒ ในการอุทธรณ์ นอกจากผอู้ ุทธรณ์ตอ้ งชาระค่าข้ึนศาลช้นั อุทธรณ์แลว้ ยงั ตอ้ งนาเงิน
ค่าธรรมเนียมซ่ึงจะตอ้ งใชแ้ ก่คู่ความอีกฝ่ ายหน่ึงตามคาพิพากษาหรือคาส่ังศาลมาวางศาลพร้อม
อุทธรณ์ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๒๙ แต่ถา้ ศาลช้นั ตน้ ไม่รับอุทธรณ์ ในการยน่ื คาร้องอุทธรณ์คาสง่ั
ไม่รับอุทธรณ์ ผูอ้ ุทธรณ์คาสั่งไม่รับอุทธรณ์ตามมาตรา ๒๓๔ นอกจากตอ้ งนาเงินค่าฤชาธรรม
เนียมท้งั ปวงมาวางศาลแลว้ ยงั ตอ้ งนาเงินมาชาระหน้ีตามคาพิพากษาหรือหาประกนั มาวางไว้
ต่อศาลพร้อมกบั อุทธรณ์คาสั่งน้นั จะขอทุเลาการบงั คบั เงินส่วนน้ีไม่ได้ (ฎีกาที่ ๑๘๘๖/๒๕๓๐
และ ๑๖๘๒/๒๕๒๖) ถึงแมผ้ อู้ ุทธรณ์ไดร้ ับอนุญาตใหไ้ ดร้ ับยกเวน้ ค่าธรรมเนียมศาลในการฟ้อง
คดีช้ันอุทธรณ์ทาให้ไม่ต้องเสียค่าธรรมเนียมศาลในการดาเนินกระบวนพิจารณาในศาลน้ัน
ตามมาตรา ๑๕๗ ซ่ึงรวมถึงค่าธรรมเนียมที่จะตอ้ งใช้แก่คู่ความอีกฝ่ ายหน่ึงตามมาตรา ๒๒๙
ดว้ ย (ฎีกา ๘๐๖/๒๕๕๔ และ ๓๒๐๔/๒๕๔๗) แตถ่ า้ จะอุทธรณ์คาส่งั ไมร่ ับอุทธรณ์กต็ อ้ งนาเงิน
มาชาระตามคาพิพากษาหรือหาประกนั ให้ไวต้ ่อศาลตามมาตรา ๒๓๔ เพราะเงินดงั กล่าวไม่ใช่
คา่ ธรรมเนียมศาลที่ไดร้ ับยกเวน้ ใหไ้ มต่ อ้ งเสีย (เทียบฎีกาท่ี ๒๘๘๒/๒๕๔๘)
ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๙๙
๔.๓ ผูอ้ ุทธรณ์คาสั่งไม่รับอุทธรณ์ ไม่นาเงินค่าฤชาธรรมเนียมท้งั ปวงมาวางศาล และนาเงิน
มาชาระตามคาพิพากษาหรือหาประกันให้ไวต้ ่อศาลดังกล่าว ย่อมเป็ นคาร้องอุทธรณ์คาสั่ง
ที่ไมช่ อบดว้ ยกฎหมาย ศาลช้นั ตน้ เลือกปฏิบตั ิได้ ๒ ทาง คือ
๔.๓.๑ สง่ั วา่ “ส่งศาลอุทธรณ์เพ่ือพิจารณาส่ัง” หรือ
๔.๓.๒ สั่งว่า “เป็ นกรณีผู้อุทธรณ์คาสั่งไม่รับอุทธรณ์ ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๓๔
จึงมีคาส่ังให้ ผู้อุทธรณ์ นาเงินค่ าฤชาธรรมเนียมทั้งปวงมาวางศาลและนาเงินมาชาระตามคาพิพากษา
หรือหาประกันให้ไว้ต่อศาลภายในกาหนด . . .วัน”
เมื่อครบกาหนดแลว้ หากผูอ้ ุทธรณ์คาสั่งไม่ปฏิบตั ิตามคาสั่งดงั กล่าวก็ให้
ส่ังว่า “ให้ส่งสานวนไปศาลอุทธรณ์เพื่อพิจารณาส่ังต่อไป” ในกรณีเช่นน้ี ศาลช้ันต้นจะส่ัง
ไม่รับอุทธรณ์ไม่ได้ และไม่ตอ้ งส่งสาเนาอุทธรณ์คาส่ังน้ันให้อีกฝ่ ายหน่ึงหรือจะส่งให้ก็ได้
สาหรับศาลอุทธรณ์สามารถยกคาร้องได้โดยไม่ต้องแจง้ ให้ผูอ้ ุทธรณ์ปฏิบตั ิเสียก่อน (ฎีกาท่ี
๒๗๒๙/๒๕๓๕, ๑๔๑๓ - ๑๔๑๕/๒๕๓๓)
๔.๔ ถา้ ผอู้ ุทธรณ์คาสั่งไม่รับอุทธรณ์ ยน่ื อุทธรณ์คาส่ังเกินกาหนด ๑๕ วนั ตามมาตรา ๒๓๔
ศาลช้นั ตน้ จะสั่งรับหรือไม่รับอุทธรณ์คาสั่งน้ีไม่ได้ แต่ให้จดแจง้ เหตุท่ียื่นอุทธรณ์เกินกาหนด
ดงั กล่าวและสั่งให้ส่งคาร้องพร้อมสานวนไปศาลอุทธรณ์ ดงั น้ี “ผู้อุทธรณ์ย่ืนคาร้ องอุทธรณ์
คาสั่งที่ไม่รับอุทธรณ์เกินกาหนด ๑๕ วนั ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๓๔ ให้ส่งสานวนไปศาลอุทธรณ์
เพื่อพิจารณาส่ัง”
๕. การรับรองให้อุทธรณ์ในข้อเทจ็ จริง
คดีท่ีต้องห้ามอุทธรณ์ในขอ้ เท็จจริง ย่อมอุทธรณ์ได้เมื่อมีความเห็นแยง้ หรือคารับรอง
ใหอ้ ทุ ธรณ์หรือไดร้ ับอนุญาตใหอ้ ทุ ธรณ์เป็นหนงั สือจากอธิบดีผพู้ ิพากษาศาลช้นั ตน้ หรือ อธิบดี
ผพู้ พิ ากษาภาคผมู้ ีอานาจ แลว้ แตก่ รณี โดยส่งั วา่
๕.๑ “ผู้พิพากษาที่นั่งพิจารณาคดีทาความเห็นแย้งไว้ จึงอุทธรณ์ในข้อเท็จจริงได้
รับอุทธรณ์ของโจทก์ (จาเลย) สาเนาให้จาเลย (โจทก์) แก้ภายใน ๑๕ วนั ให้โจทก์ (จาเลย) นาส่ง
หมายนัดสาเนาอุทธรณ์ โดยให้วางเงินค่าส่งหมายอย่างช้าภายในวันทาการถัดไป หากส่งไม่ได้
ให้โจทก์ (จาเลย) แถลงเพื่อดาเนินการต่อไปภายใน ๑๕ วนั นบั แต่วันส่งไม่ได้ มิฉะนั้นถือว่าทิง้
อทุ ธรณ์”
๕.๒ “ผู้พิพากษาท่ีน่ังพิจารณาคดีได้รับรองว่ามีเหตุอันควรอุทธรณ์ ในข้อเท็จจริงได้
รับอุทธรณ์ของโจทก์ (จาเลย) สาเนาให้จาเลย (โจทก์) แก้ภายใน ๑๕ วัน ให้โจทก์ (จาเลย)
ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๔๐๐
นาส่งหมายนัดสาเนาอุทธรณ์ โดยให้วางเงินค่าส่งหมายอย่างช้าภายในวันทาการถัดไป หากส่ง
ไม่ได้ให้โจทก์ (จาเลย) แถลงเพื่อดาเนินการต่อไปภายใน ๑๕ วัน นับแต่วันส่งไม่ได้ มิฉะน้ัน
ถือว่าทิง้ ฟ้องอทุ ธรณ์”
๕.๓ “อธิบดีผู้พิพากษาศาลแพ่ง (หรื ออธิบดีผู้พิพากษาภาค) อนุญาตให้ อุทธรณ์
ในข้อเท็จจริงได้ รับอุทธรณ์ของโจทก์ (จาเลย) สาเนาให้จาเลย (โจทก์) แก้ภายใน ๑๕ วัน
ให้โจทก์ (จาเลย) นาส่งสาเนาอุทธรณ์โดยให้วางเงินค่าส่งหมายอย่างช้าภายในวันทาการถัดไป
หากส่งไม่ได้ให้โจทก์ (จาเลย) แถลงเพื่อดาเนินการต่อไปภายใน ๑๕ วัน นับแต่วันส่งไม่ได้
มิฉะน้นั ถือว่าทิง้ อุทธรณ์”
อน่ึง การขอให้รับรองอุทธรณ์ในขอ้ เทจ็ จริง ผอู้ ุทธรณ์ตอ้ งทาเป็นคาร้อง (ป.วิ.พ.
มาตรา ๒๒๔ วรรคท้าย) และต้องขอมาพร้อมอุทธรณ์ จะยื่นคาร้องหลังจากศาลช้ันต้น
สั่งอุทธรณ์แลว้ ไม่ได้ (คาส่ังคาร้องศาลฎีกาท่ี ๑๖๖๙/๒๕๓๕) การรับรองใหอ้ ุทธรณ์ตอ้ งรับรอง
ใหช้ ดั แจง้ จะสัง่ เพียงวา่ “รับอุทธรณ์ สาเนาให้โจทก์” เป็นการไม่ชอบดว้ ย ป.ว.ิ พ. มาตรา ๒๒๔
(ฎีกาที่ ๒๑๗/๒๕๒๑) โดยตอ้ งส่ังว่า “อุทธรณ์ของ . . . . .มีเหตุอันควรอุทธรณ์ ในข้อเทจ็ จริงได้
จึงรับรองให้อุทธรณ์” ผูพ้ ิพากษาหรือผูพ้ ิพากษาหัวหนา้ ศาลที่ไม่ไดน้ ่ังพิจารณา และไม่ไดล้ งชื่อ
ในคาพพิ ากษารับรองใหอ้ ุทธรณ์ไมไ่ ด้ (ฎีกาท่ี ๓๙๒/๒๔๙๒) ผพู้ ิพากษาซ่ึงเคยนงั่ พิจารณาคดีน้นั
แม้จะถูกยา้ ยไปอยู่ศาลอ่ืน หากยงั คงเป็ นผู้พิพากษาอยู่ย่อมรับรองให้อุทธรณ์ได้ (ฎีกาที่
๑๔๙/๒๔๙๒ ประชุมใหญ่) ผูพ้ ิพากษาท่ีนั่งพิจารณามีหน้าท่ีพิจารณาเพียงว่ามีเหตุอนั ควร
อุทธรณ์ในขอ้ เท็จจริงหรือไม่เท่าน้ัน การที่ไปส่ังว่า “คดีโจทก์เป็ นคดีที่มีคาขอให้ปลดเปลือ้ งทุกข์
อันไม่อาจคานวณเป็นราคาเงินได้ ไม่ต้องห้ามอทุ ธรณ์ในข้อเท็จจริง ให้ยกคาร้อง” จึงเป็นคาสงั่ ที่ไม่ชอบ
(ฎีกาท่ี ๕๓๙๒/๒๕๓๗) ผูพ้ ิพากษาท่ีพิจารณาในศาลช้ันต้นท่ีรับประเด็น รับรองอุทธรณ์ไม่ได้
(เทียบฎีกาที่ ๓๔๒๐/๒๕๓๘)
ข้อสังเกต
เมื่อคู่ความยื่นคาร้องขอให้รับรองอุทธรณ์ที่ตอ้ งห้ามอุทธรณ์ในขอ้ เท็จจริงผูพ้ ิพากษา
พงึ ใชด้ ุลพนิ ิจรับรองใหเ้ ฉพาะในกรณีท่ีมีเหตุอนั ควรอทุ ธรณ์อยา่ งแทจ้ ริงเท่าน้นั
๖. คาแก้อุทธรณ์
จาเลยอุทธรณ์อาจย่ืนคาแกอ้ ุทธรณ์ต่อศาลช้นั ตน้ ไดภ้ ายในกาหนด ๑๕ วนั นบั แต่วนั ส่ง
สาเนาอทุ ธรณ์ (นบั แต่วนั ที่การส่งมีผลบงั คบั ) แต่ไม่วา่ ในกรณีใด ๆ หา้ มมิใหศ้ าลแสดงวา่ จาเลย
อุทธรณ์ขาดนดั เพราะไมย่ น่ื คาแกอ้ ทุ ธรณ์ (มาตรา ๒๓๗ วรรคสอง)
ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๔๐๑
๖.๑ ถ้ายื่นภายในกาหนด ส่ังว่า “รับคาแก้อุทธรณ์ สาเนาให้อีกฝ่ าย รวบรวมถ้อยคาสานวน
ส่ งศาลอุทธรณ์ ”
๖.๒ ถ้าย่ืนเมื่อพ้นกาหนด ส่ังว่า“ . . . (จาเลยอุทธรณ์) รับสาเนาอุทธรณ์วันที่ . . . ย่ืนคาแก้
อุทธรณ์พ้นกาหนด ๑๕ วัน จึงไม่รับคาแก้อุทธรณ์ แต่ให้รับเป็นคาแถลงการณ์ สาเนาให้อีกฝ่ าย
รวบรวมถ้อยคาสานวนส่งศาลอทุ ธรณ์”
๖.๓ กรณีที่จาเลยอุทธรณ์มิไดแ้ ก้อุทธรณ์ภายในกาหนด และเจ้าหน้าท่ีรายงานว่า
พน้ กาหนดแลว้ ไมม่ ีคาแกอ้ ุทธรณ์ ส่งั วา่ “รวบรวมถ้อยคาสานวนส่งศาลอุทธรณ์”
๗. การแก้ไขคาแก้อทุ ธรณ์
มีหลกั การเช่นเดียวกบั คาร้องขอแกไ้ ขคาฟ้องอุทธรณ์ กล่าวคือ จะตอ้ งยืน่ ภายในกาหนด
ระยะเวลายื่นคาแก้อุทธรณ์ตามมาตรา ๒๓๗ โดยส่ังว่า“สาเนาให้อีกฝ่ าย รวบรวมถ้อยคาสานวน
ส่งศาลอุทธรณ์” หากยื่นเกินกาหนดศาลจะสั่งรับไวเ้ ป็ นคาแกอ้ ุทธรณ์ไม่ได้ แต่อาจรับไวเ้ ป็ น
คาแถลงการณ์ได(้ ฎีกาที่ ๑๑๙๘/๒๔๙๒, ๕๙/๒๕๑๓)
๘. การถอนฟ้องอทุ ธรณ์
ป.วิ.พ. มิไดบ้ ญั ญตั ิเร่ืองถอนอุทธรณ์ไว้ แต่ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๔๖ ให้นาการพิจารณา
และช้ีขาดตดั สินคดีในศาลช้นั ตน้ มาใชโ้ ดยอนุโลม ในการถอนอุทธรณ์จึงตอ้ งนา ป.วิ.พ. มาตรา
๑๗๕ มาบงั คบั ใช้ โดยศาลอุทธรณ์จะตอ้ งถามจาเลยหรือผูร้ ้องสอดก่อนถา้ หากมี และการขอ
ถอนอุทธรณ์เป็ นการใชส้ ิทธิตามกฎหมาย ไม่ถือเป็ นการดาเนินกระบวนพิจารณาโดยไม่สุจริต
(ฎีกาท่ี ๓๙๑๕/๒๕๓๔)
ข้อสังเกต
๑. ศาลช้นั ตน้ ไมม่ ีอานาจอนุญาตหรือไมอ่ นุญาตใหถ้ อนฟ้องอุทธรณ์
๒. การอนุญาตให้ถอนอุทธรณ์หรือไม่ เป็ นดุลพินิจของศาลอุทธรณ์ (ฎีกาท่ี
๒๑๓๒-๒๑๓๕/๒๕๓๘)
๘.๑ ก่อนส่งสาเนาอุทธรณ์ให้อีกฝ่ าย ผูอ้ ุทธรณ์ทาเป็นคาบอกกล่าว (คาแถลง) ขอถอน
ฟ้องอุทธรณ์ สัง่ วา่ “รวบรวมถ้อยคาสานวนส่งศาลอทุ ธรณ์” ไม่ตอ้ งส่งสาเนาใหอ้ ีกฝ่าย
๘.๒ เมื่อส่งสาเนาอุทธรณ์ให้อีกฝ่ ายแล้ว ผูอ้ ุทธรณ์ต้องทาเป็ นคาร้อง สั่งว่า “สาเนา
ให้อีกฝ่ าย จะคัดค้านประการใดให้ย่ืนคาแถลงภายใน . . . วัน นับแต่วันได้รับสาเนาคาร้ อง
มิฉะนั้นถือว่าไม่คัดค้าน ให้ผู้อุทธรณ์นาส่งโดยให้วางเงินค่าส่งหมายอย่างช้าภายในวันทาการ
ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๔๐๒
ถัดไป หากส่งไม่ได้ให้ผู้อุทธรณ์ แถลงเพื่อดาเนินการต่อไปภายใน ๑๕ วัน นับแต่วันส่งไม่ได้
มิฉะน้นั ถือว่าทิง้ คาร้อง”
เม่ือพน้ เวลากาหนดให้ผูร้ ับสาเนาคาร้องคดั คา้ นแลว้ ไม่ว่าจะมีคาคดั คา้ นหรือไม่ก็ตาม
สั่งว่า “รวบรวมถ้อยคาสานวนส่งศาลอุทธรณ์” การอนุญาตให้ถอนอุทธรณ์เป็ นอานาจของ
ศาลอุทธรณ์ท่ีจะพิจารณาส่งั
ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๔๐๓
ฎกี า
พระราชบัญญตั ิแก้ไขเพ่ิมเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง (ฉบับท่ี ๒๗)
พ.ศ. ๒๕๕๘ ไดป้ รับเปล่ียนระบบการฎีกาจาก “ระบบสิทธิ”เป็น “ระบบอนุญาต” คาพิพากษา
หรือคาสง่ั ของศาลอุทธรณ์จึงเป็ นท่ีสุด เวน้ แต่ไดร้ ับอนุญาตจากศาลฎีกา ดงั น้นั หลกั การอุทธรณ์
ขอ้ กฎหมายโดยตรงต่อศาลฎีกาตาม ป.วิ.พ.มาตรา ๒๒๓ ทวิ จึงไม่มีความจาเป็ นอีกต่อไป
ทาให้การอุทธรณ์ และฎี กาคาพิพากษาหรื อคาส่ังของศาลไม่ว่าในปั ญหาข้อกฎหมายหรื อ
ปัญหาขอ้ เท็จจริงตอ้ งเป็ นไปตามลาดบั ช้นั ศาล นอกจากน้ียงั ไดป้ รับเปล่ียนกระบวนพิจารณา
ช้นั ศาลฎีกา เป็นดงั น้ี
๑. คาพิพากษาของศาลช้ันอุทธรณ์เป็ นท่ีสุด คู่ความไม่อาจฎีกาได้ท้ังปัญหาข้อกฎหมาย
และปัญหาข้อเท็จจริง เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากศาลฎีกา ตามมาตรา ๒๔๔/๑ และมาตรา
๒๔๗ วรรคหนึ่ง และโดยท่ีมาตรา ๒๔๗ วรรคหน่ึง บัญญัติว่า การฎีกาคาพิพากษาหรือคาสั่ง
ของศาลอุทธรณ์ ให้กระทาได้เม่ือได้รับอนุญาตจากศาลฎีกา ซ่ึงมีความหมายชัดเจนว่า
คาพิพากษาหรือคาส่ังท่ีอาจถูกโต้แย้งโดยการขออนุญาตฎีกาได้ต้องเป็ นคาพิพากษาหรือคาส่ัง
ของศาลอุทธรณ์เท่าน้นั การขออนุญาตฎีกาจงึ มีข้อพจิ ารณาดังนี้
๑.๑ กรณีท่ีบทบญั ญตั ิแห่งกฎหมายระบุให้ผูพ้ ิพากษาบางตาแหน่งเป็ นผูอ้ อกคาสั่งหรือ
มีคาวินิจฉยั ปัญหาใดปัญหาหน่ึงในคดีและบญั ญตั ิใหค้ าสั่งหรือคาวินิจฉัยน้นั เป็ นที่สุด ยอ่ มเป็ น
กรณีที่กฎหมายให้อานาจแก่ผูพ้ ิพากษาท่ีดารงตาแหน่งน้ันในการออกคาส่ังหรือคาวินิจฉัย
ดังกล่าวไวเ้ ป็ นการเฉพาะโดยให้มีผลเด็ดขาดเป็ นยุติ ประกอบกบั คาสั่งหรือคาวินิจฉัยของ
ผูพ้ ิพากษาดงั กล่าวไม่ใช่คาพิพากษาหรือคาสั่งของศาลอุทธรณ์ตามนยั มาตรา ๒๔๗ วรรคหน่ึง
คู่ความจึงไม่อาจอุทธรณ์หรือขออนุญาตฎีกาคาสั่งหรือคาวินิจฉัยเช่นว่าน้ันได้ เช่น คาสั่งของ
ประธานศาลอุทธรณ์ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๖ วรรคสอง มาตรา ๖ /๑ มาตรา ๘ มาตรา ๒๘ วรรคสอง
คาวินิจฉัยของประธานศาลอุทธรณ์ว่าคดีใดเป็ นคดีผบู้ ริโภคหรือไม่ตาม พ.ร.บ. วิธีพิจารณาคดี
ผูบ้ ริโภค พ.ศ. ๒๕๕๑ มาตรา ๘ คาวินิจฉัยของประธานศาลอุทธรณ์คดีชานัญพิเศษว่าคดีใด
จะอยู่ในอานาจของศาลชานัญพิเศษหรือไม่ ตาม พ.ร.บ.จดั ต้งั ศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดี
แรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๙ พ.ร.บ.จัดต้ังศาลภาษีอากรและวิธีพิจารณาคดีภาษีอากร
พ.ศ. ๒๕๒๘ มาตรา ๑๐ พ.ร.บ.จดั ต้งั ศาลทรัพยส์ ินทางปัญญาและการคา้ ระหว่างประเทศและ
วิธีพิจารณาคดีทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๙
พ.ร.บ.จัดต้ังศาลล้มละลายและวิธีพิจารณาคดีล้มละลาย พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๙ และ
ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๔๐๔
พ.ร.บ.ศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๓
มาตรา ๑๑ รวมท้งั คาวินิจฉัยของประธานศาลอุทธรณ์ว่าคดีใดจะอยู่ในอานาจของศาลอาญา
คดีทุจริตและประพฤติมิชอบหรือไม่ ตาม พ.ร.บ.จดั ต้งั ศาลอาญาคดีทุจริตและประพฤติมิชอบ
พ.ศ. ๒๕๕๙ มาตรา ๑๑ เป็นตน้
๑.๒ กรณีท่ีบทบญั ญตั ิแห่งกฎหมายกาหนดให้คาพิพากษาหรือคาสั่งใดเป็ นที่สุดแมเ้ ป็น
คาพิพากษาหรือคาสั่งของศาลช้ันต้น คู่ความไม่มีสิทธิอุทธรณ์คาพิพากษาหรือคาสั่งน้ันได้
เพราะตอ้ งดว้ ยขอ้ ยกเวน้ ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๒๓ ตอนทา้ ย ท่ีวา่ “...เวน้ แตค่ าพิพากษาหรือคาสง่ั
น้นั ประมวลกฎหมายน้ีหรือกฎหมายอ่ืนจะไดบ้ ญั ญตั ิว่าให้เป็ นท่ีสุด” เช่น คาส่ังตามมาตรา ๑๔
วรรคหน่ึง และมาตรา ๑๕๔ วรรคสอง หรือคาพิพากษาตามมาตรา ๑๓๖ วรรคหน่ึง และ
มาตรา ๑๓๗ วรรคสอง เป็ นตน้ เมื่อคาพิพากษาหรือคาส่ังของศาลช้นั ตน้ เช่นวา่ น้ีไม่อาจอทุ ธรณ์
ไดโ้ ดยชอบ ยอ่ มไม่อาจมีคาพิพากษาหรือคาส่ังของศาลอุทธรณ์ในเร่ืองดงั กล่าวท่ีคู่ความจะขอ
อนุญาตฎีกาต่อไป
๑.๓ กรณีท่ีบทบญั ญตั ิแห่งกฎหมายกาหนดให้คาพิพากษาหรือคาสั่งของศาลช้นั อุทธรณ์
เป็ นที่สุด คู่ความจะขออนุญาตฎีกาคาพิพากษาหรือคาส่ังดังกล่าวได้หรือไม่ ยงั มีความเห็น
แตกตา่ งกนั โดยมีขอ้ พิจารณาดงั น้ี
(ก) ฝ่ ายที่เห็นว่ากรณีดังกล่าวสามารถขออนุญาตฎีกาได้ มีเหตุผลสนับสนุนว่า
การฎีกาในคดีแพ่งตามกฎหมายเดิมซ่ึงเป็ นระบบสิทธิ กล่าวคือ คู่ความมีสิทธิฎีกาคาพิพากษา
หรือคาส่ังของศาลช้นั อุทธรณ์ภายใตข้ อ้ จากดั บางประการ เช่น การห้ามฎีกาในปัญหาขอ้ เท็จจริง
โดยพิจารณาจากจานวนทุนทรัพยใ์ นช้นั ฎีกา นอกจากน้ีศาลฎีกามีอานาจไม่รับวินิจฉัยฎีกาที่เป็น
สาระอนั ไม่ควรไดร้ ับการวินิจฉยั ตามมาตรา ๒๔๙ เดิม บางกรณีกฎหมายบญั ญตั ิใหค้ าพิพากษา
หรือคาส่ังของศาลช้ันอุทธรณ์เป็ นท่ีสุด ท้งั น้ีก็โดยที่ตอ้ งการให้ศาลฎีกาซ่ึงเป็ นศาลสูงสุดได้
วินิจฉัยปัญหาที่สาคญั แต่เม่ือเปลี่ยนแปลงหลกั เกณฑก์ ารฎีกาจากระบบสิทธิเป็ นระบบอนุญาต
ยอ่ มไม่จาเป็นท่ีจะตอ้ งมีขอ้ จากดั ใด ๆ เพราะในท่ีสุดแลว้ เป็นอานาจของศาลฎีกาในการพิจารณา
ว่าจะอนุญาตให้ฎีกาคาพิพากษาหรือคาส่ังใดของศาลอุทธรณ์โดยพิจารณาว่าปัญหาตามฎีกาน้ัน
เป็ นปัญหาสาคญั ที่ศาลฎีกาควรวินิจฉัยตามหลกั เกณฑใ์ นมาตรา ๒๔๘ หรือไม่ และจะนาไปสู่
การส่งเสริมบทบาทของศาลฎีกาไปสู่การเป็ นศาลที่วางหลกั กฎหมาย อีกท้งั ตวั บทมาตรา ๒๔๗
วรรคแรก ก็บญั ญตั ิเป็ นหลกั การทัว่ ไปว่าการฎีกาคาพิพากษาหรือคาสั่งของศาลอุทธรณ์ให้
กระทาไดเ้ ม่ือไดร้ ับอนุญาตจากศาลฎีกา โดยไมม่ ีถอ้ ยคาเป็ นขอ้ ยกเวน้ ไวด้ งั เช่นมาตรา ๒๒๓ วา่
ถา้ กฎหมายบญั ญตั ิให้คาพิพากษาหรือคาสั่งใดของศาลช้นั อุทธรณ์เป็ นท่ีสุดแลว้ จะขออนุญาต
ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๔๐๕
ฎีกาคาพิพากษาหรือคาส่ังน้ันไม่ได้ ดงั น้ัน ถึงแมก้ ฎหมายบญั ญตั ิไวโ้ ดยเฉพาะว่าคาพิพากษา
หรือคาส่ังของศาลอุทธรณ์ในกรณีใดเป็ นท่ีสุด คู่ความก็สามารถขออนุญาตฎีกาคาพิพากษาหรือ
คาส่ังน้ันไดต้ ามมาตรา ๒๔๗ และเป็ นอานาจของศาลฎีกาที่จะพิจารณาว่าจะอนุญาตให้ฎีกา
หรือไม่ ดงั น้นั หลกั การขออนุญาตฎีกาใชบ้ งั คบั แก่คดีท้งั หมด ไม่วา่ จะเป็นคดีหลกั หรือคดีสาขา
เช่น คดีมีขอ้ พพิ าท คดีไมม่ ีขอ้ พพิ าท หรือคดีในช้นั บงั คบั คดี เป็นตน้
(ข) สาหรับความเห็นฝ่ ายท่ีเห็นวา่ หากเป็นกรณีที่กฎหมายบญั ญตั ิใหค้ าพิพากษาหรือ
คาส่ังใดของศาลช้ันอุทธรณ์เป็ นท่ีสุด คู่ความไม่อาจขออนุญาตฎีกาคาพิพากษาหรือคาส่ังน้ันได้
มีเหตุผลสนับสนุนว่า การปรับปรุงหลักเกณฑ์การฎีกาตาม พ.ร.บ.แก้ไขเพ่ิมเติม ป.วิ.พ.
(ฉบบั ที่ ๒๗) เป็นการเปล่ียนระบบการฎีกาจากเดิมท่ีระบบสิทธิไปเป็ นระบบอนุญาต การฎีกา
ในระบบสิทธิถือว่าเป็ นสิทธิของคู่ความในการฎีกาโต้แยง้ คาพิพากษาหรือคาสั่งของศาล
ช้นั อุทธรณ์ ในขณะท่ีการฎีกาในระบบอนุญาตจะตอ้ งไดร้ ับอนุญาตจากศาลฎีกาเท่าน้ันจึงถือ
เป็นการจากดั สิทธิของคู่ความการโตแ้ ยง้ คาพิพากษาหรือคาสั่ง การตีความขอบเขตคาพิพากษา
หรือคาส่ังของศาลอุทธรณ์ที่อาจขออนุญาตฎีกาไดต้ อ้ งคานึงถึงบริบทดงั กล่าวดว้ ย เมื่อตวั บท
มาตรา ๒๔๔/๑ บญั ญตั ิว่า “ภายใตบ้ งั คบั มาตรา ๒๔๗ คาพิพากษาหรือคาส่ังของศาลอุทธรณ์
ให้เป็ นที่สุด” และมาตรา ๒๔๗ วรรคหน่ึง บัญญัติว่า “การฎีกาคาพิพากษาหรือคาส่ังของ
ศาลอุทธรณ์ ให้กระทาไดเ้ ม่ือไดร้ ับอนุญาตจากศาลฎีกา” แสดงว่าคาพิพากษาหรือคาส่ังของ
ศาลอุทธรณ์ท่ีอาจขออนุญาตฎีกาไดต้ ามมาตรา ๒๔๗ คือคาพิพากษาหรือคาส่ังของศาลอุทธรณ์
ตามมาตรา ๒๔๔/๑ ซ่ึงจะเป็ นท่ีสุดหากไม่มีการขออนุญาตฎีกา แต่สาหรับกรณีที่กฎหมาย
บญั ญตั ิเป็นบทเฉพาะใหค้ าพพิ ากษาหรือคาส่งั ใดของศาลอทุ ธรณ์เป็นท่ีสุด คาพพิ ากษาหรือคาส่งั
ถึงท่ีสุดน้ันไม่ใช่คาพิพากษาหรือคาสั่งของศาลอุทธรณ์ตามความหมายของมาตรา ๒๔๔/๑
จึงไม่อยู่ภายใต้บงั คบั มาตรา ๒๔๗ ที่จะขออนุญาตฎีกาได้ นอกจากน้ีการท่ีฝ่ ายนิติบัญญตั ิ
ออกกฎหมายกาหนดใหค้ าพิพากษาหรือคาสั่งใดของศาลช้นั อุทธรณ์เป็ นที่สุดยอ่ มมีเจตนารมณ์
ท่ีตอ้ งการให้คาพิพากษาหรือคาส่ังน้นั เป็ นท่ียตุ ิไม่ให้มีการโตแ้ ยง้ คดั คา้ นต่อไปอีก และถือเป็ น
กรณีที่คาพิพากษาหรือคาส่ังน้ันตามกฎหมายจะฎีกาไม่ไดต้ าม ป.วิ.พ. มาตรา ๑๔๗ วรรคหน่ึง
ซ่ึงถือวา่ เป็นที่สุดต้งั แต่วนั ที่ไดอ้ ่านเป็นตน้ ไป
๑.๔ อานาจในการสั่งให้ทุเลาการบงั คบั ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๓๑ เป็ นอานาจเฉพาะของ
ศาลแต่ละช้นั เม่ือศาลอุทธรณ์มีคาสั่งในเรื่องน้ีอยา่ งไรแลว้ คู่ความจะฎีกาคาส่ังดงั กล่าวไม่ได้
(ฎีกาท่ี ๑๑๒๑๖/๒๕๕๕, ๓๔๓๘/๒๕๓๓, ๑๔๔๘/๒๕๓๐) จึงไม่อาจขออนุญาตฎีกาได้
ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๔๐๖
๑.๕. คู่ความสามารถขออนุญาตฎีกาคาพิพากษาหรือคาสั่งของศาลอุทธรณ์ในปัญหา
ขอ้ เทจ็ จริงไดโ้ ดยไม่มีขอ้ จากดั เก่ียวกบั จานวนทนุ ทรัพยท์ ่ีพพิ าทในช้นั ฎีกา
๑.๖ การขออนุ ญาตฎี กาให้ย่ืนคาร้องพร้อมกับคาฟ้องฎีกาต่อศาลช้ันต้นที่มี
คาพิพากษาหรือคาส่ังในคดีน้ันภายในกาหนดหน่ึงเดือน นับแต่วนั ที่ไดอ้ ่านคาพิพากษาหรือ
คาส่ังของศาลอุทธรณ์ แล้วให้ศาลช้ันต้นรีบส่งคาร้องพร้อมฎีกาดังกล่าวไปยงั ศาลฎีกาและ
ใหศ้ าลฎีกาพิจารณาวนิ ิจฉยั คาร้องใหเ้ สร็จสิ้นโดยเร็ว (มาตรา ๒๔๗ วรรคสอง)
๑.๗. หลักเกณฑ์และวิธีการในการย่ืนคาร้อง การพิจารณาวินิจฉัยและระยะเวลา
ในการพิจารณาคาร้องตามมาตา ๒๔๗ การตรวจรับฎีกา การแก้ฎีกา การพิจารณาและ
การพิพากษาคดี รวมท้งั การสั่งคืนค่าฤชาธรรมเนียมให้เป็ นไปตามขอ้ กาหนดของประธานศาลฎีกา
๒. ข้ันตอน หลักเกณฑ์ และวิธีการขออนุญาตฎีกาต้องปฏิบัติตามข้อกาหนดของประธาน
ศาลฎีกา ว่าด้วยการขออนุญาตฎีกาในคดีแพ่ง พ.ศ.๒๕๕๘ ประกอบกับ ป.วิ.พ. ภาค ๓
ลกั ษณะ ๒ ฎีกาด้วย โดยมีรายละเอยี ด ดังนี้
๒.๑ วิธีการขออนุญาตฎีกา
๒.๑.๑ คู่ความท่ีประสงคจ์ ะขออนุญาตฎีกาตอ้ งยน่ื คาร้องขออนุญาตฎีกาพร้อมกบั
คาฟ้องฎีกาตอ่ ศาลช้นั ตน้ ที่มีคาพิพากษาหรือคาสง่ั ในคดีน้นั ภายในกาหนดหน่ึงเดือนนบั แต่วนั ท่ี
ไดอ้ ่านคาพพิ ากษาหรือคาส่งั ของศาลอทุ ธรณ์ (ป.ว.ิ พ. มาตรา ๒๔๗ วรรคสอง)
๒.๑.๒ คาร้องขออนุญาตฎีกา ผรู้ ้องตอ้ งระบุ
(๑) ปัญหาขอ้ เท็จจริงหรือปัญหาขอ้ กฎหมายท่ีขออนุญาตฎีกาโดยชัดแจง้
และ
(๒) ปัญหาท่ีขออนุญาตฎีกาน้ันเป็ นปัญหาสาคัญดังที่บัญญัติไว้ใน
มาตรา ๒๔๙ หรือในขอ้ กาหนดของประธานศาลฎีกาว่าด้วยการขออนุญาตฎีกาในคดีแพ่ง
พ.ศ. ๒๕๕๘ (ขอ้ กาหนดฯ ขอ้ ๖)
๒.๑.๓ ผูข้ ออนุญาตฎีกาตอ้ งนาเงินค่าข้ึนศาลช้นั ฎีกาและค่าธรรมเนียมท่ีต้องใช้
แทนอีกฝ่ ายตามคาพิพากษาหรือคาส่ังศาลอุทธรณ์มาวางศาลช้นั ตน้ ดว้ ย เวน้ แต่จะไดร้ ับอนุญาต
ใหย้ กเวน้ คา่ ธรรมเนียมศาล (ขอ้ กาหนดฯ ขอ้ ๗ วรรคหน่ึง)
๒.๒ การตรวจคาร้องขออนุญาตฎีกาและคาฟ้องฎีกา
ศาลช้นั ตน้ มีอานาจตรวจคาร้องและคาฟ้องฎีกาและมีคาสั่งตามมาตรา ๑๘ (ขอ้ กาหนดฯ
ขอ้ ๘ วรรคหน่ึง)
ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๔๐๗
๒.๒.๑ ตรวจกาหนดระยะเวลายนื่ คาร้องขออนุญาตฎีกา
ก า ร ยื่ น ค า ร้ อ ง ข อ อ นุ ญ า ต ฎี ก า ต้อ ง ก ร ะ ท า ภ า ย ใ น ก า ห น ด ห น่ึ ง เ ดื อ น
(ไมใ่ ช่ ๓๐ วนั ) นบั แตว่ นั ที่ไดอ้ า่ นคาพพิ ากษาหรือคาส่ังของศาลอุทธรณ์ (การนบั ระยะเวลาให้ดู
หมวด ๓ การพิจารณาช้นั อุทธรณ์)
๒.๒.๒ ตรวจความถกู ตอ้ งสมบูรณ์ของคาร้องขออนุญาตฎีกาและคาฟ้องฎีกา
มาตรา ๒๔๗ วรรคสอง กาหนดใหผ้ ูร้ ้องขอยน่ื คาร้องพร้อมกบั คาฟ้องฎีกา
ดงั น้ัน ศาลช้นั ตน้ จึงมีหน้าท่ีตรวจความถูกตอ้ งสมบูรณ์ของคาร้องขออนุญาตฎีกาและคาฟ้อง
ฎีกาดว้ ย
(๑) กรณีท่ีคาร้องขออนุญาตและคาฟ้องฎีกาสมบรู ณ์ครบถว้ น ส่งั ตามขอ้ ๓
(๒) กรณีที่คาร้องขออนุญาตฎีกาบกพร่อง สั่งว่า “คาร้องขออนุญาตฎีกา
ของโจทก์ (จาเลย) มิไดร้ ะบปุ ัญหาขอ้ เทจ็ จริง (ขอ้ กฎหมาย) ท่ีศาลฎีกาสมควรรับไวพ้ ิจารณาโดย
ชดั แจง้ จึงใหแ้ กไ้ ขเพม่ิ เติมคาร้องภายในระยะเวลา ๗ วนั ”
(๓) กรณีคาฟ้องฎีกาบกพร่อง ส่ังว่า “คาฟ้องฎีกาของโจทก์ (จาเลย) ในขอ้ ๒
ถึง ๔ อ่านไม่เขา้ ใจและใช้ถ้อยคาฟ่ ุมเฟื อยเย่ินเยอ้ เกินสมควร คืนคาฟ้องฎีกาแก่โจทก์ (จาเลย)
ใหโ้ จทก์ (จาเลย) ทาคาฟ้องฎีกามายน่ื ใหม่ภายในระยะเวลา ๗ วนั ”
(๔) กรณีผูฎ้ ีกายื่นเฉพาะคาฟ้องฎีกาภายในกาหนดระยะเวลายื่นคาร้อง
ขออนุญาตฎีกา โดยไม่ไดย้ ่ืนคาร้องขออนุญาตฎีกามาด้วย อาจส่ังว่า“โจทก์ (จาเลย) มิไดย้ ื่น
คาร้องขออนุญาตฎีกามาพร้อมกับคาฟ้องฎีกา จึงให้ทาคาร้องขออนุญาตฎีกามายื่นภายใน
ระยะเวลา ๗ วนั ” แต่หากยน่ื คาฟ้องฎีกาเกินกาหนดระยะเวลาแลว้ ส่ังวา่ “ส่งคาฟ้องฎีกาพร้อม
สานวนความไปยงั ศาลฎีกาเพ่ือพิจารณาสง่ั ”
(๕) กรณีผูฎ้ ีกายื่นเฉพาะคาร้องขออนุญาตฎีกาภายในกาหนดระยะเวลา
ขออนุญาตฎีกา ยื่นคาร้องขออนุญาตฎีกา แต่ไม่ได้ยื่นคาฟ้องฎีกามาด้วย อาจส่ังว่า “โจทก์
(จาเลย) มิไดย้ ่ืนคาฟ้องฎีกามาพร้อมกบั คาร้องขออนุญาตฎีกา จึงให้ทาคาฟ้องฎีกามาย่ืนภายใน
ระยะเวลา ๗ วนั ”
แตห่ ากยนื่ คาร้องขออนุญาตฎีกาเม่ือเกินกาหนดระยะเวลายน่ื คาร้องขอ
อนุญาตฎีกาแลว้ ส่ังว่า “ส่งคาร้องขออนุญาตฎีกาพร้อมสานวนความไปยงั ศาลฎีกาเพื่อพิจารณา
สั่ง”
ข้อสังเกต
๑. กรณีท่ีผูร้ ้องขออนุญาตฎีกาแก้ไขขอ้ บกพร่องในคาร้องขออนุญาตฎีกาหรือ
คาฟ้องฎีกาตามคาสั่งศาลช้นั ตน้ ใหศ้ าลช้นั ตน้ สง่ั ตามขอ้ ๓ เช่นกนั
ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๔๐๘
๒. กรณีท่ีผรู้ ้องขออนุญาตฎีกาไมแ่ กไ้ ขขอ้ บกพร่องในคาร้องขออนุญาตฎีกาหรือ
คาฟ้องฎีกาตามคาสั่งศาลช้นั ตน้ ศาลช้นั ตน้ ไม่มีอานาจที่จะสั่งไม่รับคาร้องขออนุญาตฎีกาหรือ
คาฟ้องฎีกา เพราะจะมีผลเป็ นการไม่อนุญาตให้คู่ความฎีกา อันเป็ นการใช้อานาจของ
ศาลฎีกา ศาลช้นั ตน้ จึงตอ้ งสั่งว่า “ส่งคาร้องและคาฟ้องฎีกาพร้อมสานวนความไปยงั ศาลฎีกา
เพ่ือพจิ ารณาสง่ั ตอ่ ไป” (ขอ้ กาหนดฯ ขอ้ ๘ วรรคหน่ึง)
๒.๓ การตรวจการเสียคา่ ข้ึนศาลช้นั ฎีกาและการวางเงินคา่ ธรรมเนียมใชแ้ ทน
ตามข้อกาหนดฯ ข้อ ๗ วรรคหน่ึง กาหนดให้ผู้ร้องขออนุญาตฎีกาต้องเสีย
ค่าข้ึนศาลช้นั ฎีกาและนาเงินค่าธรรมเนียมซ่ึงจะตอ้ งใช้แก่คู่ความอีกฝ่ ายหน่ึงตามคาพิพากษา
หรือคาส่ังของศาลอุทธรณ์มาวางศาลพร้อมกบั คาฟ้องฎีกาน้ันดว้ ย เวน้ แต่จะไดร้ ับอนุญาตให้
ยกเวน้ คา่ ธรรมเนียมศาล
ตามข้อกาหนดฯ ข้อ ๗ วรรคหน่ึงดังกล่าว ถ้าผู้ฎีกาประสงค์จะขอยกเว้น
ค่าธรรมเนียมศาลช้นั ฎีกา ให้ย่ืนคาร้องขอยกเวน้ ค่าธรรมเนียมศาลช้นั ฎีกาพร้อมกบั คาร้องขอ
อนุญาตฎีกาและคาฟ้องฎีกา และศาลช้ันต้นต้องพิจารณาส่ังคาร้องขอยกเวน้ ค่าธรรมเนียม
ศาลช้ันฎีกาก่อนแล้วจึงจะมีคาส่ังตรวจและส่งคาร้องขออนุญาตฎีกาและคาฟ้องฎีกาไปยงั
ศาลฎีกาต่อไป ตามมาตรา ๑๕๖ และมาตรา ๑๕๖/๑
ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๑๕๖/๑ วรรคสี่ บญั ญตั ิว่า “ในกรณีท่ีศาลมีคาสั่งอนุญาตให้
ยกเวน้ ค่าธรรมเนียมศาลให้แต่เฉพาะบางส่วน หรือมีคาสั่งยกคาร้อง ผูข้ ออาจอุทธรณ์คาสั่งน้นั
ต่อศาลไดภ้ ายในกาหนดเจ็ดวนั นับแต่วนั มีคาสั่ง คาสั่งของศาลอุทธรณ์เช่นว่าน้ีให้เป็ นที่สุด”
ดงั น้ัน ถา้ ศาลช้นั ตน้ มีคาส่ังอนุญาตให้ยกเวน้ ค่าธรรมเนียมศาลช้นั ฎีกาให้แต่เฉพาะบางส่วน
หรือมีคาส่ังยกคาร้อง ศาลช้นั ตน้ ตอ้ งรอให้คาส่ังยกเวน้ ค่าธรรมเนียมศาลดงั กล่าวถึงที่สุดตาม
ป.วิ.พ. มาตรา ๑๕๖/๑ วรรคสี่ ก่อน แลว้ จึงจะมีคาส่ังเก่ียวกบั การส่งคาร้องขออนุญาตฎีกาและ
คาฟ้องฎีกาไปยงั ศาลฎีกาตอ่ ไป
กรณีที่ผู้ร้องขออนุญาตฎีกาไม่เสียเงินค่าข้ึนศาลช้ันฎีกาหรือเสียไม่ครบ หรือ
ไม่วางเงินค่าธรรมเนียมใชแ้ ทนหรือวางไม่ครบ ศาลช้นั ตน้ อาจกาหนดเวลาให้ผูร้ ้องขออนุญาต
ฎีกาเสียค่าข้ึนศาลและวางเงินค่าธรรมเนียมใช้แทนให้ครบถว้ นได้ โดยส่ังว่า “โจทก์ (จาเลย)
เสียค่าข้ึนศาลช้ันฎีกา/วางเงินค่าธรรมเนียมใช้แทน ไม่ครบ ให้โจทก์ (จาเลย) นาเงิน
ค่าข้ึนศาลช้นั ฎีกา/ค่าธรรมเนียมใชแ้ ทน จานวน .... บาท มาชาระตอ่ ศาล ภายใน ๗ วนั ”
ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๔๐๙
๓. การส่งคาร้องขออนุญาตฎีกาและคาฟ้องฎีกาไปยังศาลฎีกา
เม่ือศาลช้นั ตน้ ตรวจคาร้องและคาฟ้องฎีกาแลว้ ไม่มีขอ้ บกพร่อง ใหร้ ีบส่งสาเนาคาร้องและ
คาฟ้องฎีกาน้ันให้คู่ความอีกฝ่ ายแล้วส่งคาร้องพร้อมคาฟ้องฎีกาและสานวนความไปยงั
ศาลฎีกาโดยเร็ว โดยไม่จาตอ้ งรอคาคดั คา้ นของคู่ความฝ่ ายน้นั (ขอ้ กาหนดฯ ขอ้ ๑๐ วรรคหน่ึง)
ในกรณีน้ีให้ศาลช้นั ตน้ สั่งในคาร้องว่า “ส่งสาเนาคาร้องและคาฟ้องฎีกาให้คู่ความอีกฝ่ ายหน่ึง
ตามขอ้ บงั คบั ว่าดว้ ยการส่งคาคู่ความและเอกสารทางคดี พ.ศ. ๒๕๔๕ หากจะคดั คา้ นคาร้อง
ให้คดั คา้ นภายใน...วนั มิฉะน้ันให้ถือวา่ ไม่ติดใจคดั คา้ น ให้ผูฎ้ ีกาวางเงินค่าใชจ้ ่ายในการจดั ส่ง
ภายในวันทาการถัดไป รี บส่งคาร้องพร้อมคาฟ้องฎีกาและสานวนความไปยังศาลฎีกา
โดยไมจ่ าตอ้ งรอคาคดั คา้ น”
กรณีผูฎ้ ีกายื่นคาแถลงขอให้เจา้ พนกั งานศาลเป็ นผูส้ ่ง ส่ังว่า “ส่งสาเนาคาร้องและคาฟ้อง
ฎีกาให้คู่ความอีกฝ่ ายหน่ึง หากจะคัดคา้ นคาร้องให้คัดคา้ นภายใน...วนั มิฉะน้ันให้ถือว่า
ไม่ติดใจคดั คา้ น ให้ผูฎ้ ีกา นาส่งภายใน...วนั การส่งหากไม่มีผูร้ ับโดยชอบ ให้ปิ ดหมาย รีบส่ง
คาร้องพร้อมคาฟ้องฎีกาและสานวนความไปยงั ศาลฎีกาโดยไม่จาตอ้ งรอคาคดั คา้ น”
สั่งในคาฟ้องฎีกาดว้ ยวา่ “รวมส่ังในคาร้องขออนุญาตฎีกา”
กรณีคู่ความอกี ฝ่ ายยื่นคาร้องขออนุญาตฎีกาด้วย
ในกรณีท่ีคู่ความอีกฝ่ ายไดย้ ่ืนคาร้องขออนุญาตฎีกาดว้ ย ให้ศาลช้ันตน้ ดาเนินการ
เก่ียวแก่คาร้องดงั กล่าวให้เสร็จส้ินเสียก่อน แลว้ จึงส่งคาร้องและคาฟ้องฎีกาของคู่ความทุกฝ่ าย
ไปยงั ศาลฎีกาในคราวเดียวกนั (ขอ้ กาหนดฯ ขอ้ ๑๐ วรรคหน่ึง ตอนทา้ ย)
กรณีมีการย่ืนคาคดั ค้านคาร้องขออนุญาตฎีกา
(ก) กรณียน่ื คาคดั คา้ นก่อนส่งเรื่องไปยงั ศาลฎีกา ส่งั วา่
“สาเนาให้อีกฝ่ าย ส่งคาคดั คา้ นพร้อมคาร้องและคาฟ้องฎีกาและสานวนความไปยงั
ศาลฎีกาโดยเร็ว”
(ข) กรณียนื่ คาคดั คา้ นหลงั ส่งเร่ืองไปยงั ศาลฎีกาแลว้ สัง่ วา่
“สาเนาใหอ้ ีกฝ่าย ส่งคาคดั คา้ นไปยงั ศาลฎีกาเพื่อประกอบการวนิ ิจฉยั ” (ขอ้ กาหนดฯ
ขอ้ ๑๐ วรรคสอง)
๔. การขอขยายระยะเวลาเกย่ี วกบั การขออนุญาตฎีกา
คู่ความท่ียนื่ คาร้องขออนุญาตฎีกาต่อศาลช้นั ตน้ อาจขอขยายระยะเวลายน่ื คาร้องขออนุญาต
ฎีกาหรือวางเงินค่าข้ึนศาลช้ันฎีกาหรือค่าธรรมเนียมใช้แทนได้ (ขอ้ กาหนดฯ ขอ้ ๙) โดยให้
ศาลช้นั ตน้ ปฏิบตั ิดงั น้ี
ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๔๑๐
(๑) หากศาลช้นั ตน้ เห็นควรอนุญาต ก็พิจารณาส่ังอนุญาตโดยกาหนดระยะเวลาให้ตามท่ี
ผรู้ ้องขอหรือกาหนดระยะเวลาตามที่ศาลช้นั ตน้ เห็นสมควร โดยส่ังวา่ “ตามคาร้องแสดงให้เห็น
ว่ามีพฤติการณ์พิเศษ/เหตุสุดวิสัย จึงอนุญาตให้ขยายระยะเวลา .......................ได้ถึงวนั ท่ี
.............................. สาเนาใหอ้ ีกฝ่าย”
(๒) กรณีท่ีศาลช้นั ตน้ ไม่เห็นควรอนุญาตให้ขยายระยะเวลา ให้ส่ังว่า “ให้ส่งคาร้องขอ
ขยายระยะเวลาพร้อมสานวนความไปยงั ศาลฎีกาเพ่อื พิจารณาส่งั ตอ่ ไป”
๕.การแก้ฎีกา
เม่ือศาลฎีกามีคาส่ังอนุญาตให้ฎีกาและไดอ้ ่านคาสั่งน้นั ให้คู่ความฟังแลว้ ตอ้ งจดรายงาน
กระบวนพจิ ารณาใหค้ ูค่ วามอีกฝ่ ายยน่ื คาแกฎ้ ีกาดว้ ย ภายในกาหนดเวลาตาม ขอ้ กาหนดฯ ขอ้ ๑๔
วรรคสอง โดยส่ังว่า “... ให้จาเลย (โจทก)์ ยืน่ คาแกฎ้ ีกาภายในกาหนดเวลา ๑๕ วนั นบั แต่วนั ฟัง
คาสัง่ ...”
เมื่อไดร้ ับคาแก้ฎีกาแล้ว ภายในกาหนดเจ็ดวนั นับแต่วนั ท่ีจาเลยฎีกายื่นคาแก้ฎีกาหรือ
นับแต่ระยะเวลาท่ีกาหนดไวส้ าหรับการยื่นคาแก้ฎีกาไดส้ ้ินสุดลง ให้สั่งว่า “สาเนาให้อีกฝ่ าย
ส่งศาลฎีกา” หากไม่ไดร้ ับคาแกฎ้ ีกาภายในกาหนด ส่ังในรายงานเจา้ หนา้ ที่ศาลว่า “แจง้ ศาลฎีกา
ทราบวา่ ไม่มีคาแกฎ้ ีกา” (ขอ้ กาหนดฯ ขอ้ ๑๔ วรรคสอง)
หากคู่ความขอขยายระยะเวลายื่นคาแก้ฎีกา ให้สั่งตามข้อ ๔ (ข้อกาหนดฯ ข้อ ๑๔
วรรคสาม)
๖. การขอทุเลาการบงั คับคดีในระหว่างฎีกา (ขอ้ กาหนดฯ ขอ้ ๑๐ วรรคสาม)
๖.๑ ในกรณีท่ีมีการย่ืนคาร้องขอทุเลาการบงั คบั คดีในระหว่างฎีกา ให้ศาลช้นั ตน้ รีบส่ง
คาร้องน้ันไปยงั ศาลฎีกาเพื่อพิจารณา โดยส่ังว่า “สาเนาให้อีกฝ่ าย ถา้ มีขอ้ คดั คา้ นประการใด
ใหย้ น่ื คาคดั คา้ น ภายใน...วนั ใหผ้ รู้ ้องนาส่งสาเนาคาร้อง ภายใน...วนั ”
เม่ือครบกาหนดยน่ื คาคดั คา้ นแลว้ ส่งั วา่ “ส่งศาลฎีกาเพื่อพจิ ารณาสง่ั ”
๖.๒ ห้ามศาลช้นั ตน้ มีคาสั่งใด ๆ เกี่ยวกบั คาร้องขอทุเลาการบงั คบั คดี แมจ้ ะเป็ นกรณีมี
เหตฉุ ุกเฉินอยา่ งยง่ิ ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๓๑ วรรคสอง ก็ตาม
๖.๓ หา้ มมิใหศ้ าลฎีกามีคาสั่งอนุญาตตามคาร้องน้นั จนกวา่ ศาลฎีกาจะมีคาส่งั อนุญาตใหฎ้ ีกา
๖.๔ ท้งั น้ีไม่กระทบถึงอานาจในการสั่งงดการบงั คบั คดีหรือถอนการบงั คบั คดีตามท่ี
บญั ญตั ิไวใ้ นป.วิ.พ.
ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๔๑๑
ส่วนที่ ๒
การขอทุเลาการบงั คบั ช้ันอุทธรณ์
๑. การขอทุเลาการบงั คบั ตามคาพิพากษาหรือคาสั่งของศาลช้นั ตน้ จะตอ้ งทาเป็ นคาร้อง
ต่อศาลอุทธรณ์ และมีขอ้ ความช้ีแจงเหตุอนั สมควรแห่งการขอ (มาตรา ๒๓๑, ๒๔๗ คาสั่ง
คาร้องศาลฎีกาที่ ๔๙๐/๒๕๑๙)
๒. ใหผ้ อู้ ทุ ธรณ์ยนื่ ตอ่ ศาลช้นั ตน้ ไดจ้ นถึงเวลาที่ศาลมีคาส่งั อนุญาตใหอ้ ทุ ธรณ์ ถา้ ภายหลงั
ศาลได้มีคาส่ังเช่นว่าน้ีแล้ว ให้ย่ืนตรงต่อศาลอุทธรณ์ ถ้าได้ย่ืนคาร้องต่อศาลช้ันต้นก็ให้
ศาลช้นั ตน้ รีบส่งคาร้องน้นั ไปยงั ศาลอุทธรณ์
๓. อานาจในการสั่งให้ทุเลาการบงั คบั หรือไม่อยู่ที่ศาลอุทธรณ์ และเป็ นอานาจเฉพาะ
ของแต่ละช้นั ศาล เม่ือศาลอุทธรณ์มีคาส่ังในเร่ืองน้ีอยา่ งไรแลว้ คู่ความฎีกาไม่ได้ (ฎีกาที่ ๗๕๙/
๒๕๒๑, ๒๑/๒๕๒๒, ๑๔๔๘/๒๕๓๐ และ ๒๕๔๓/๒๕๓๕) กรณีไม่เขา้ หลกั เกณฑม์ าตรา ๒๒๘
(๒) (ฎีกาท่ี ๑๐๑/๒๔๙๑ประชุมใหญ่) ซ่ึงอานาจในแต่ละช้นั ศาลน้ีรวมตลอดถึงการพิจารณา
หลกั ประกนั ดว้ ย (ฎีกาที่ ๔๔/๒๕๓๓) ดงั น้นั กรณีท่ีศาลฎีกามีคาสั่งใหค้ ู่ความวางหลกั ประกนั
ตามคาร้องขอทุเลาช้นั ฎีกา หากจาเลยวางเงินหรือหลกั ประกนั แลว้ โจทก์ไม่พอใจไดค้ ดั คา้ น
ตอ่ ศาลช้นั ตน้ เมื่อศาลช้นั ตน้ ยกคาร้องของโจทกแ์ ละโจทกอ์ ุทธรณ์คาส่ังของศาลช้นั ตน้ ดงั กล่าว
เช่นน้ี เป็ นอุทธรณ์เก่ียวเน่ืองกับคาสั่งทุเลาการบังคับ ซ่ึงเป็ นอานาจของแต่ละช้ันศาล
ศาลฎีกาจึงมีอานาจพิจารณาอุทธรณ์ของโจทก์ (ฎีกาท่ี ๒๒๗๖/๒๕๓๖)
๔. ถา้ มีคาขอในกรณีที่มีเหตุฉุกเฉินอย่างยิ่ง ศาลช้นั ตน้ มีอานาจส่ังให้ทุเลาการบงั คบั
ไวร้ อคาวินิจฉยั ช้ีขาดของศาลอทุ ธรณ์ ในเร่ืองคาร้องขอทุเลาการบงั คบั (มาตรา ๒๓๑ วรรคสอง)
๕. จะตอ้ งมีการยนื่ ฟ้องอุทธรณ์เสียก่อน จึงจะยนื่ คาร้องขอทเุ ลาการบงั คบั ได้ (คาสง่ั คาร้องศาล
ฎีกาที่ ๒๔/๒๕๑๙)
ข้อสังเกต
๑. กรณีศาลช้ันต้นมีคาสั่งไม่รับอุทธรณ์ คาร้องขอทุเลาการบงั คบั ย่อมตกไปด้วย
ถือว่าผูย้ ื่นคาร้องไม่ใช่คู่ความที่ยื่นอุทธรณ์ตามความหมายในมาตรา ๒๓๑ ศาลช้นั ตน้ ควร
สั่งไม่รับคาร้องขอทเุ ลาการบงั คบั น้นั
๒. กรณีผูอ้ ุทธรณ์เคยยื่นคาร้องขอทุเลาการบงั คบั มาแลว้ คร้ังหน่ึง แต่ศาลอุทธรณ์
ไม่อนุญาตหรือยกคาร้องแลว้ ผูอ้ ุทธรณ์ย่ืนคาร้องขอทุเลาการบงั คบั ใหม่อีกได้ ไม่ตอ้ งห้าม
ตามมาตรา ๑๔๔
ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๔๑๒
๓. หากผูอ้ ุทธรณ์ย่ืนคาร้องอุทธรณ์คาส่ังไม่รับอุทธรณ์โดยปฏิบัติถูกต้อง
ตามมาตรา ๒๓๔ พร้อมกบั ย่นื คาร้องขอทุเลาการบงั คบั มาแลว้ ดงั น้ี ศาลตอ้ งสั่งรับคาร้องขอ
ทุเลาการบงั คบั น้นั (ฎีกาท่ี ๑๘๘๖/๒๕๓๐)
๖. ย่ืนคาขอทุเลาการบังคับได้ต้งั แต่แรกย่ืนฟ้องอุทธรณ์จนกระท่งั ก่อนศาลอุทธรณ์
พิพากษา แต่ถ้าศาลช้ันต้นยงั ไม่สั่งรับฟ้องอุทธรณ์ ศาลอุทธรณ์ยังไม่มีอานาจสั่งคาร้อง
(คาสง่ั คาร้องศาลฎีกาท่ี ๗๗๓/๒๕๑๖)
๗. ค่าธรรมเนียมและค่าทนายความท่ีจะตอ้ งใชแ้ ก่คู่ความอีกฝ่ าย จะขอทุเลาการบงั คบั
ไม่ได้ (คาสง่ั คาร้องศาลฎีกาท่ี ๑๗๐/๒๕๐๙)
๘. เม่ือไม่มีเหตทุ ่ีจะตอ้ งทุเลาการบงั คบั แต่มีการขอทเุ ลาการบงั คบั ศาลอุทธรณ์ยอ่ มจะส่ัง
ยกคาร้อง เช่น ศาลช้นั ตน้ พิพากษาว่าที่ดินเป็ นของโจทก์ ขบั ไล่จาเลย ศาลอุทธรณ์พิพากษา
กลบั ยกฟ้อง โจทกฎ์ ีกาและขอทุเลาการบงั คบั ศาลฎีกายอ่ มจะยกคาร้อง (คาสั่งคาร้องศาลฎีกาท่ี
๕๓๓/๒๕๐๐)
๙. กรณีไม่มีเหตุจะทุเลาการบังคับ แต่ฝ่ ายผูร้ ้องอาจเสียหาย เมื่อยื่นคาร้องขอทุเลา
การบงั คบั ศาลอุทธรณ์ เห็นว่า เพื่อประโยชน์แห่งความยตุ ิธรรมอาจจะส่ังคุม้ ครองประโยชน์
ของผูร้ ้องตามมาตรา ๒๖๔ ได้ เช่น ผูร้ ้องร้องขดั ทรัพยแ์ ลว้ ศาลช้นั ตน้ ยกคาร้องขอ ผูร้ ้องขอทุเลา
การบงั คบั ยอ่ มเห็นไดว้ า่ ผูร้ ้องประสงคจ์ ะใหง้ ดการขายทรัพยพ์ ิพาทไว้ ศาลอุทธรณ์แปลคาร้อง
ของผูร้ ้องว่าเป็ นเรื่องขอคุม้ ครองประโยชน์ของผูร้ ้อง ตามมาตรา ๒๖๔ จะไม่ส่ังยกคาร้องขอ
(คาส่งั คาร้องศาลฎีกาท่ี ๗๔/๒๕๑๔)
๑๐. คาสั่งพิทกั ษท์ รัพยเ์ ด็ดขาดในคดีลม้ ละลายจะขอทุเลาการบงั คบั ไม่ได้ (คาสั่งคาร้อง
ศาลฎีกาที่ ๑๑๒/๒๕๑๘) หรือศาลช้ันตน้ พิพากษาให้จาเลยเป็ นบุคคลลม้ ละลายแล้วจาเลย
จะขอทเุ ลาการบงั คบั ไมไ่ ด้ (ฎีกาที่ ๙๒๙/๒๕๓๘)
๑๑. การปฏิบตั ิของคู่ความบางกรณีมีผลอยา่ งเดียวกบั การที่ศาลสูงอนุญาตใหท้ ุเลาการบงั คบั
กล่าวคือ ถ้าผูอ้ ุทธรณ์วางเงินต่อศาลช้ันตน้ หรือหาประกนั มาให้พอชาระหน้ีและค่าฤชาธรรมเนียม
ในการฟ้องร้องและการบงั คบั คดีจนเป็นท่ีพอใจศาลช้นั ตน้ ใหศ้ าลช้นั ตน้ งดการบงั คบั คดี (มาตรา
๒๓๑ วรรคสาม) ซ่ึงเป็ นอานาจของศาลช้นั ตน้ ไม่ตอ้ งมีการขอทุเลาการบงั คบั อีก (คาสั่งคาร้อง
ศาลฎีกาที่ ๗๔๑/๒๕๑๔, ๙๒๐/๒๕๑๗)
ข้อสังเกต
เงินท่ีวางไวใ้ นกรณีเช่นน้ี ศาลจะจ่ายให้แก่ผชู้ นะคดีหรือเจา้ หน้ีตามคาพิพากษา
ไม่ได้ เพราะเป็ นการวางเงินเพื่อไม่ให้ศาลดาเนินการบังคับคดี ไม่ใช่วางเพื่อให้ชาระหน้ีตาม
คาพิพากษา
ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๔๑๓
๑๒. คาสง่ั ศาลช้นั ตน้ เกี่ยวกบั คาร้องขอทุเลาการบงั คบั
๑๒.๑ “รับคาร้องขอทเุ ลาการบังคับของจาเลย สาเนาให้โจทก์จะคัดค้านอย่างไรให้
แถลงภายใน ๑๕ วัน นับแต่วันรับสาเนาคาร้ อง หากไม่แถลงถือว่าไม่ติดใจคัดค้าน ให้จาเลย
วางเงินค่าส่งหมายอย่างช้าภายในวันทาการถัดไป มิฉะนน้ั ถือว่าไม่ติดใจยื่นคาร้องขอทุเลาการบงั คับ”
๑๒.๒เม่ือมีคาคดั คา้ น สงั่ วา่ “สาเนาให้จาเลย รวมสานวนส่งศาลอทุ ธรณ์”
๑๒.๓ เม่ือไม่มีคาคดั คา้ นและเจา้ หนา้ ที่ศาลรายงานใหท้ ราบ สั่งว่า “ส่งสานวนไป
ศาลอทุ ธรณ์”
๑๒.๔ การทุเลาการบงั คบั ในกรณีมีเหตุฉุกเฉินอย่างย่ิง ศาลช้ันต้นมีอานาจสั่งเอง
ตามมาตรา๒๓๑วรรคสอง โดยส่ังในคาร้องขอทุเลาการบงั คบั น้ันเอง ต่อทา้ ยคาสั่งตามขอ้ ๑๒.๑
ว่า “ . . . กรณีมีเหตุฉุกเฉินอย่างยิ่ง ให้ทุเลาการบังคับไว้ชั่วคราวเพื่อรอคาวินิจฉัยชีข้ าดของ
ศาลอุทธรณ์” ถา้ จาเลยยื่นคาร้องขอทุเลาการบงั คบั ในกรณีมีเหตุฉุกเฉินอย่างย่ิงอีกฉบบั หน่ึง
ตา่ งหาก ก็สั่งในทานองเดียวกนั
๑๓. การสง่ั คาร้องขอทเุ ลาการบงั คบั เป็นอานาจของศาลอุทธรณ์
๑๓.๑ กรณีอนุญาตให้ทุเลาการบงั คบั สั่งวา่ “ถ้าผู้ร้องหาประกันสาหรับจานวนเงิน
ท่ีจะต้องชาระตามคาพิพากษาศาลชั้นต้น มาให้เป็ นที่พอใจของศาลช้ันต้น และภายในเวลาท่ี
ศาลช้ันต้นเห็นสมควรกาหนด ก็อนุญาตให้ ทุเลาการบังคับในระหว่างอุทธรณ์ มิฉะนั้นให้
ยกคาร้ อง” เช่นน้ี ศาลช้ันต้นมีหน้าที่พิจารณาหลักประกันและรับหลักประกันไว้ในการอ่าน
คาส่งั ดงั กล่าว ศาลช้นั ตน้ จึงตอ้ งกาหนดวนั นดั พิจารณาหลกั ประกนั ดว้ ย
๑๓.๒ กรณีจาเลยเป็ นกระทรวง ทบวง กรม หรื อรัฐวิสาหกิจ หรื อธนาคาร
ศาลอุทธรณ์อนุญาตให้ทุเลาการบงั คบั โดยไม่ตอ้ งให้วางประกนั เพราะถือวา่ หน่วยงานดงั กล่าวมี
ฐานะมนั่ คง บงั คบั คดีไดไ้ ม่ยาก แต่มิไดห้ มายความว่าศาลจะตอ้ งอนุญาตให้ทุเลาการบงั คบั
เสมอไป
การอ่านคาส่ังและการปฏิบัติตามคาสั่งของศาลอุทธรณ์ให้ปฏิบัติตาม
หมวด ๑ ส่วนท่ี ๖ ช้นั บงั คบั คดี บทที่ ๑๒ วา่ ดว้ ยการค้าประกนั ในศาล
ข้อสังเกต
๑. หมายแจง้ วนั นัดให้คู่ความทราบ โดยระบุว่าเป็ นนัดฟังคาสั่งของศาลช้นั ตน้
และศาลอุทธรณ์
๒. ถึงวนั นดั ให้ดูวา่ ศาลอุทธรณ์สั่งอยา่ งไร ถา้ สั่งอนุญาตให้ทุเลาหรือไม่อนุญาต
ใหท้ ุเลาการบงั คบั ใหจ้ ดรายงานกระบวนพจิ ารณาวา่
ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๔๑๔
“นดั ฟังคาส่ังของศาล (ช้ันต้น) และศาลอุทธรณ์ วันนี้ . . . มาศาล ได้อ่านคาส่ัง
ของศาลอุทธรณ์ ให้คู่ความฟังแล้ว”
- ถา้ ศาลอุทธรณ์ อนุญาตให้ทุเลาการบงั คบั โดยมีเงื่อนไข เช่น ให้ผูอ้ ุทธรณ์
วางหลกั ประกนั หรือให้ตีราคาทรัพยจ์ านองเป็ นหลกั ประกนั ในการทุเลาการบงั คบั คดี ถา้ ไม่พอ
ชาระหน้ีพร้อมดอกเบ้ียตามคาพิพากษามีกาหนด . . . ปี ก็ให้จาเลยหาหลกั ประกนั มาเพิ่มให้
เพียงพอภายในเวลาท่ีศาลช้ันต้นกาหนด เป็นตน้ ใหจ้ ดรายงานกระบวนพิจารณาวา่
“นัดฟังคาสั่งของศาล (ช้ันต้น) และศาลอุทธรณ์ วนั นี้ . . .มาศาล
ได้อ่านคาส่ังของศาลอทุ ธรณ์ ให้คู่ความฟังแล้ว
นดั พิจารณาหลกั ประกนั วนั ที่ . . . เวลา . . . . น.
จึงให้ ...(ผู้ย่ืนคาร้องขอทุเลาการบังคับ) เสนอหลักประกันต่อศาลภายใน...
วัน (หรือภายในวันนัด แต่ก่อนเวลานัด) มิฉะน้ันถือว่า . . . . (ผู้ย่ืนคาร้ องขอทุเลาการบังคับ)
ไม่ติดใจทุเลาการบังคับ หรือจึงให้จาเลยดาเนินการประเมินราคาทรัพย์จานอง ถ้าไม่พอชาระ
ต้นเงินพร้อมดอกเบีย้ ตามคาพิพากษามีกาหนด . . . ปี กใ็ ห้จาเลยหาหลักประกันมาเพิ่มให้ครบ
และเสนอต่อศาลภายในวันเวลานัด มิฉะนัน้ ถือว่า จาเลยไม่ติดใจทุเลาการบงั คับ”
๑๔. จาเลยนาโฉนดที่ดินหรือหลักทรัพยอ์ ย่างอื่นมาวางก่อนวนั นัด สั่งว่า “รับ . . .
หลักประกนั รอสอบโจทก์ในวนั นดั ”
๑๕. การพิจารณาหลกั ประกนั
๑๕.๑ จดรายงานกระบวนพิจารณาว่า “นัดพิจารณาหลักประกันวันนี้ คู่ความ
ทั้งสองฝ่ ายมาศาล
ศาลให้โจทก์ดูโฉนดท่ีดิน (หรือหลักประกันอื่น) แล้ว โจทก์แถลงว่าท่ีดิน
ตามโฉนดนี้ (หรือหลักประกันอื่น) มีราคาไม่พอกับจานวนหนี้ ไม่สมควรที่ศาลจะรับไว้เป็ น
หลกั ประกัน
จาเลยแถลงว่า เม่ือโจทก์ไม่พอใจหลักประกัน จาเลยขอเวลา . . . วัน เพื่อหา
หลักประกันมาเพ่ิม
พิเคราะห์แล้ว เห็นว่า หลักประกันท่ีจาเลยนามาวาง โจทก์ไม่พอใจและ
จาเลยขอผัดนาหลักประกันมาวางเพ่ิม จึงอนุญาตให้เล่ือนไปนัดพิจารณาหลักประกันวันท่ี . . .
เวลา . . . . น.”
อน่ึง เมื่อศาลอทุ ธรณ์ส่ังให้ศาลช้นั ตน้ เป็นผพู้ ิจารณาหลกั ประกนั การเปล่ียน
หรือเพ่ิมหลกั ประกนั เป็ นอานาจหนา้ ท่ีศาลช้นั ตน้ ที่จะพิจารณา (คาสั่งคาร้องศาลฎีกาที่ ๗๒ - ๗๓/
๒๕๒๘)
ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๔๑๕
๑๕.๒ เมื่อถึงวนั นดั พิจารณาหลกั ประกนั ตามท่ีเลื่อนมา จาเลยหาหลกั ประกนั มา
ไม่เป็ นท่ีพอใจศาลช้ันต้น หรือไม่หาหลักประกันมาวางเพ่ิม หรือไม่มาศาลโดยไม่แจ้ง
เหตุขดั ขอ้ งและศาลช้นั ตน้ ไม่เห็นสมควรเลื่อนการนดั พิจารณาหลกั ประกนั ต่อไป นอกจากจะ
จดรายงานให้ปรากฏเหตุผลในการที่ถือว่าจาเลยไม่วางหลกั ประกนั อนั มีผลให้ยกคาร้องตาม
คาส่ังของศาลอุทธรณ์แลว้ จะตอ้ งสั่งใหส้ ่งสานวนคืนศาลอุทธรณ์ (หากศาลอุทธรณ์ส่งสานวน
พร้อมดว้ ยคาสงั่ มายงั ศาลช้นั ตน้ )
๑๕.๓ เม่ือศาลช้ันต้นรับหลกั ประกนั ตามท่ีจาเลยเสนอ จดรายงานกระบวนพิจารณาว่า
“นัดพิจารณาหลกั ประกนั วนั นี้ คู่ความท้ังสองฝ่ ายมาศาล
จาเลยเสนอวางที่ดินโฉนดเลขท่ี . . . . .และพนั ธบัตรเงินก้เู ป็นหลักประกัน
ศาลสอบโจทก์แล้ว โจทก์แถลงว่าหลักประกันที่จาเลยเสนอมา โจทก์พอใจ
เพราะมีราคาพอกบั หนที้ ี่จาเลยจะต้องรับผิดแล้ว
ศาลเห็นว่า เม่ือโจทก์ไม่คัดค้านหลักประกันของจาเลย และหลักประกัน
ท่ีจาเลยเสนอมามีราคาพอสมควร จึงรับไว้เป็ นหลักประกัน ยึดโฉนดที่ดินและพันธบัตรเงินกู้
โดยให้เก็บรักษาหลักประกันไว้ตามระเบียบ แจ้งอายัดท่ีดินและแจ้งธนาคารแห่งประเทศไทย
(ในกรณีพันธบตั ร)ให้จาเลยทาสัญญาประกันภายในวันนี้ (หรือภายใน . . .วนั )”
อน่ึง ถา้ จาเลยนาเช็คมาเป็ นประกนั จะตอ้ งเป็ นเช็คที่ธนาคารสั่งจ่ายระบุให้
จ่ายศาลช้นั ตน้ ที่พิจารณาคดี ลงวนั สั่งจ่ายที่มาวางหรือลงวนั ส่ังจ่ายก่อนหน้าน้ันไม่เกิน ๗ วนั
ห้ามรับเช็คลงวนั สั่งจ่ายล่วงหน้า จดรายงานกระบวนพิจารณาให้ปรากฏข้อความสาคัญว่า
“ให้นาเช็คเข้าบัญชีของศาลตามระเบียบ” ไม่ควรส่ังแต่เพียงว่า“รับเช็คไว้แยกเก็บ” เพราะ
เจ้าหน้าที่ศาลอาจจะเอาเช็คไปเก็บรักษาไวท้ ี่แผนกเก็บเอกสารซ่ึงจะเกิดปัญหาเม่ืออีกฝ่ าย
มาขอรับเงินจากศาล สาหรับตว๋ั แลกเงินที่ธนาคารสง่ั จ่ายคงถือปฏิบตั ิเช่นเดียวกบั การรับเช็ค
๑๕.๔ ตามป.วิ.พ หมวด ๘ การบงั คบั ในกรณีมีการประกนั ในศาลตามมาตรา ๓๖๖
บญั ญตั ิว่า “ ถา้ บุคคลใดไดเ้ ขา้ เป็ นผูป้ ระกนั ในศาลโดยทาเป็ นหนังสือหรือโดยวิธีอ่ืน เพื่อการ
ชาระหน้ีตามคาพิพากษาหรือคาส่ัง หรือแต่ส่วนหน่ึงส่วนใดแห่งคาพิพากษาหรือคาส่ังน้ัน
คาพิพากษาหรือคาส่ังเช่นว่าน้ันย่อมใชบ้ งั คบั แก่การประกนั ได้ โดยให้เจา้ หน้ีตามคาพิพากษา
มีสิทธิร้องขอใหศ้ าลบงั คบั คดีแก่ผูป้ ระกนั เสมือนหน่ึงเป็นลูกหน้ีตามคาพิพากษาโดยไม่ตอ้ งฟ้อง
ผปู้ ระกนั เป็นคดีใหม่
ใหน้ าบทบญั ญตั ิในวรรคหน่ึงมาใชบ้ งั คบั แก่การประกนั การปฏิบตั ิตามคาสั่ง
ศาลในกรณีอ่ืนดว้ ยโดยอนุโลม”
ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๔๑๖
กรณีการขอทุเลาการบงั คบั หากมีบุคคลใดไดเ้ ขา้ เป็ นผูป้ ระกนั ในศาลตาม
มาตรา ๓๖๖ ดงั กล่าว เม่ือผูป้ ระกนั ทาสัญญาประกนั กบั ศาลแลว้ เจา้ หนา้ ท่ีศาลฯจะนาสัญญา
ประกันน้ันเสนอศาลตรวจสอบสัญญาแลว้ ส่ังว่า “สัญญาประกันให้รวมสานวนไว้ แล้วส่ง
สานวนคืนศาลอทุ ธรณ์” (หากศาลอุทธรณ์ส่งสานวนมาดว้ ย)
ข้อสังเกต
ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๓๑ กฎหมายกาหนดวิธีการอยู่ในอานาจศาลเป็ นช้ัน ๆ ไป
ไม่ใช่มีผลเป็ นหลักประกันในการทุเลาการบังคับคดีในช้ันฎีกาเป็ นการล่วงหน้าไปด้วย
แมห้ นงั สือสญั ญาค้าประกนั ของจาเลยใชข้ อ้ ความวา่ ขอทาหนงั สือสัญญาค้าประกนั ใหไ้ วต้ ่อศาล
ว่าเม่ือคดีถึงท่ีสุด จาเลยไม่สามารถนาเงินมาชาระหน้ีให้แก่โจทก์ได้ ยินยอมให้บงั คบั เอาจาก
ทรัพยส์ ินที่วางประกนั ไว้ การประกนั ก็มีผลในช้นั อุทธรณ์เท่าน้ัน เมื่อหน้ีตามคาพิพากษาศาล
ช้นั ตน้ ในส่วนค่าเสียหายถูกยกไปโดยคาพิพากษาศาลอุทธรณ์ สัญญาค้าประกนั การชาระหน้ี
ดว้ ยเงินของจาเลยดงั กล่าวยอ่ มไม่มีผลผูกพนั จาเลยอีกต่อไป เมื่อจาเลยย่ืนคาแถลงขอคืนโฉนด
ท่ีดินที่นามาวางประกนั ไวต้ ามสัญญาค้าประกนั จึงตอ้ งคืนโฉนดที่ดินใหจ้ าเลย (ฎีกาท่ี ๘๒๒๘/
๒๕๓๘)
๑๕.๕ กรณีจาเลยไม่วางหลกั ประกนั ตามกาหนด ถึงวนั นดั ศาลจดรายงานกระบวน
พิจารณาให้ปรากฏข้อความว่า “ครบกาหนดให้ จาเลยวางหลักประกันตามคาสั่งศาลแล้ว
จาเลยมิได้วางหลักประกัน ถือว่าคาร้องขอทุเลาการบังคับของจาเลยเป็นอันถูกยกไปตามคาสั่ง
ของศาลอทุ ธรณ์ จึงให้ส่งสานวนคืนศาลอทุ ธรณ์” (หากศาลอุทธรณ์ส่งสานวนมาดว้ ย)
๑๕.๖ กรณีที่ศาลอุทธรณ์อนุญาตให้ทุเลาการบังคบั โดยไม่ต้องมีหลักประกัน
จดรายงานกระบวนพิจารณาวา่ “ได้อ่านคาส่ังทุเลาการบังคับของศาลอุทธรณ์ ให้คู่ความ ฟังแล้ว
ส่ งสานวนคืนศาลอุทธรณ์ ” (หากศาลอุทธรณ์ส่งสานวนมาด้วย) ถ้าคู่ความไม่มาฟังหรือ
มาบางฝ่ายก็ใหจ้ ดรายงานกระบวนพิจารณาไวใ้ หป้ รากฏ
๑๖. กรณีผูข้ อไม่ไดร้ ับอนุญาตให้ทุเลาการบงั คบั หรือไดร้ ับอนุญาตแต่ไม่วางหลกั ประกนั
ภายในเวลาที่ศาลช้นั ตน้ กาหนด ฝ่ ายผขู้ อจะอุทธรณ์ในเร่ืองน้ีไม่ได้ แต่มีสิทธิท่ีจะย่ืนคาขอใหม่
ไดอ้ ีกตราบเท่าที่ศาลอุทธรณ์ยงั มิไดพ้ ิพากษาคดี (คาสั่งคาร้องศาลฎีกาที่ ๑๙๐/๒๕๑๗, ๒๗๕/
๒๕๑๙ และฎีกาที่ ๗๐๖/๒๕๒๐, ๗๕๙/๒๕๒๑, ๒๑/๒๕๒๒, ๕๑๔๑/๒๕๓๑)
หมายเหตุ
กระบวนการพิจารณาหลกั ประกนั ตามขอ้ ๑๕ และขอ้ ๑๖ ตอ้ งนามาใชบ้ งั คบั ในกรณี
การขอทเุ ลาการบงั คบั ในช้นั ฎีกาดว้ ยโดยอนุโลม
ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๔๑๗
ส่วนที่ ๓
การเข้าเป็ นคู่ความแทนทีผ่ ู้มรณะ
ช้ันอุทธรณ์หรือฎกี า
๑. ศาลท่ีมอี านาจพจิ ารณาสั่ง
๑.๑ การร้องขอเข้าเป็ นคู่ความแทนท่ีผูม้ รณะช้ันอุทธรณ์ หากเป็ นการร้องขอก่อน
ศาลช้นั ตน้ สั่งรับอุทธรณ์ ให้เป็ นอานาจของศาลช้นั ตน้ ท่ีจะพิจารณาส่ัง (เทียบคาสั่งคาร้องศาล
ฎีกาที่ ๓๑๙/๒๕๐๗, ๓๕๗/๒๕๑๖ และ ๑๖๒/๒๕๒๖) ถา้ เป็นเวลาภายหลงั จากท่ีศาลช้นั ตน้ ส่ัง
รับอุทธรณ์แลว้ เป็นอานาจของศาลอุทธรณ์ (เทียบคาส่ังคาร้องศาลฎีกาที่ ๔๒๖/๒๕๑๗) แมย้ งั
มิไดส้ ่งสานวนไปศาลอุทธรณ์ คดีก็ยอ่ มอยู่ในอานาจของศาลอุทธรณ์ ศาลช้นั ตน้ จะสั่งคาร้อง
ขอเขา้ เป็ นคู่ความแทนท่ีผูม้ รณะไม่ได้ หากมีคาส่ังไป ศาลอุทธรณ์ชอบจะเพิกถอนคาส่ังของ
ศาลช้นั ตน้ และมีคาสัง่ ใหม่ (เทียบฎีกาที่ ๕๘๕๒/๒๕๓๗)
๑.๒ การร้องขอเขา้ เป็นคู่ความแทนที่ผมู้ รณะช้นั ฎีกา แบ่งเป็น ๒ ระยะ ดงั น้ี
(๑) กรณีท่ีคู่ความถึงแก่ความตายก่อนยื่นคาร้องขออนุญาตฎีกา และยงั อยู่ใน
ระยะเวลาที่อาจขออนุญาตฎีกาได้ หากผมู้ ีสิทธิรับมรดกความตามป.วิ.พ. มาตรา ๔๒ ย่ืนคาร้อง
ขอเขา้ แทนที่ผมู้ รณะเพอื่ ยน่ื คาร้องขออนุญาตฎีกา คดียงั อยใู่ นอานาจของศาลช้นั ตน้ ที่จะพจิ ารณา
ส่ัง ศาลช้นั ตน้ ควรสั่งไต่สวนและมีคาสั่งคาร้องขอเขา้ แทนท่ีคูค่ วามผมู้ รณะก่อน
(๒) กรณีท่ีคู่ความถึงแก่ความตายหลังจากย่ืนคาร้องขออนุญาตฎีกาแล้ว
คดีอยู่ในอานาจของศาลฎีกา ศาลช้นั ตน้ ควรไต่สวนแลว้ ส่งคาร้องขอเขา้ แทนที่ผูม้ รณะไปยงั
ศาลฎีกาเพือ่ พิจารณาสง่ั
ข้อสังเกต
๑. กรณีคู่ความฝ่ ายหน่ึงมรณะก่อนศาลพิพากษา แต่ปรากฏต่อศาลเมื่ออ่าน
คาพพิ ากษาแลว้ คาพิพากษาน้นั ยงั คงใชไ้ ด้ และเมื่อคดียงั อยรู่ ะหวา่ งการพิจารณาของศาลอทุ ธรณ์
และศาลฎีกา ศาลช้นั ตน้ ยอ่ มดาเนินการหาทายาทเขา้ รับมรดกความต่อไปไดด้ ว้ ย (ฎีกาที่ ๗๔๒ -
๗๔๓/๒๔๘๙) แต่ถา้ คดีเป็ นเรื่องเฉพาะตวั ของคู่ความ และจะรับมรดกความแทนที่กนั ไม่ได้
เช่นน้ีกรณีไม่มีประโยชนท์ ่ีจะพิจารณาคดีต่อไป ใหจ้ าหน่ายคดีออกเสียจากสารบบความ (ฎีกาท่ี
๓๗๑๘/๒๕๓๘, ๘๑๖๗/๒๕๓๘, ๘๒๒๙/๒๕๔๐) หรือโจทก์ผูเ้ ป็ นเจา้ หน้ีของจาเลยไดถ้ อน
ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๔๑๘
การยึดที่ดินท่ีร้องขดั ทรัพยแ์ ล้ว การพิจารณาคดีร้องขอเขา้ เป็ นคู่ความแทนที่ผูม้ รณะช้นั ร้อง
ขดั ทรัพยข์ องผรู้ ้องไม่เป็นประโยชนอ์ ีกตอ่ ไป จึงใหจ้ าหน่ายคดี (ฎีกาท่ี ๖๐๔๔/๒๕๓๔)
๒. การเขา้ มาเป็ นคู่ความแทนที่ผูม้ รณะต้องเป็ นกรณีท่ีคดีน้ันยงั คา้ งพิจารณา
อยใู่ นศาลใดศาลหน่ึงหรืออยใู่ นระหวา่ งระยะเวลายนื่ อุทธรณ์หรือขออนุญาตฎีกา
ถา้ คดีถึงที่สุดแลว้ จะให้บุคคลใดเขา้ มาเป็ นคู่ความแทนที่คู่ความมรณะน้ัน
ไม่ได้ เวน้ แต่อย่ใู นระหวา่ งดาเนินการขออนุญาตฎีกา แต่ทายาทของคู่ความท่ีมรณะก็สามารถ
ดาเนินการร้องขอบงั คบั คดีไปได้ หรืออาจจะถูกบงั คบั คดีในฐานะทายาทผูร้ ับมรดกของคู่ความ
ท่ีมรณะก็ได้ เช่น
ในช้นั บงั คบั คดีจาเลยถึงแก่ความตายโจทก์ขอให้ส่งคาบงั คบั ไปให้แก่คู่สมรสของ
จาเลยได้ เพราะไม่ใช่กรณีรับมรดกความตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๔๒ (ฎีกาที่ ๓๓๔/๒๕๑๓) หรือส่ง
คาบงั คบั ไปให้ผูจ้ ดั การมรดกของจาเลยซ่ึงถึงแก่ความตายเพื่อให้ปฏิบตั ิตามคาพิพากษาได้ (ฎีกา
ที่ ๒๕๓๒/๒๕๒๓)
คดีถึงท่ีสุดแล้วในช้ันบังคับคดี ทายาทผู้มีสิทธิรับมรดกของคู่ความ
ซ่ึงถึงแก่มรณะยอ่ มมีสิทธิเขา้ มาใชส้ ิทธิบงั คบั คดีต่อไปไดต้ าม ป.พ.พ มาตรา ๑๕๙๙ และไม่ใช่
เร่ืองการขอรับมรดกความตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๔๒ (ฎีกาท่ี ๓๐๓๔/๒๕๓๑)
ผรู้ ้องยน่ื คาร้องขอเขา้ มาเป็ นคูค่ วามแทนที่ผมู้ รณะในขณะท่ียงั ไม่พน้ เวลาที่
จะยน่ื อทุ ธรณ์ ประกอบกบั เป็นคดีท่ีสามารถอุทธรณ์ได้ จึงยงั ไมถ่ ึงท่ีสุด ถือวา่ คดีคา้ งการพิจารณา
ผรู้ ้องมีสิทธิขอเขา้ เป็นคู่ความแทนที่ผมู้ รณะได้(ฎีกาท่ี ๑๕๗๕/๒๕๓๘)
กรณีผูร้ ้องยื่นคาร้องขอเขา้ มาเป็ นคู่ความแทนที่ผูม้ รณะในขณะท่ียงั ไม่พน้
เวลาท่ีจะย่ืนขออนุญาตฎีกา ถือว่าคดีคา้ งการพิจารณา ผูร้ ้องมีสิทธิขอเขา้ เป็ นคู่ความแทนที่
ผมู้ รณะได้
๓. ศาลจะพิพากษาให้ผู้ที่เข้ามา เป็ นคู่ความแทนท่ีคู่ความมรณะตาม
มาตรา ๔๒ ชาระหน้ีแก่โจทก์ไม่ได้ เพราะผูท้ ี่เขา้ มาเป็ นคู่ความแทนท่ีคู่ความมรณะน้ีเพียงแต่
เขา้ มาดาเนินกระบวนพิจารณาตอ่ ไปแทนคู่ความซ่ึงถึงแก่ความตายในระหวา่ งพจิ ารณาคดีเท่าน้นั
ศาลตอ้ งพิพากษาใหค้ ู่ความเดิมซ่ึงมรณะไปแลว้ น้นั ชาระหน้ีใหแ้ ก่โจทก์ต่อไป แมจ้ ะมรณะไป
แลว้ ก็ตามเพราะช้นั บงั คบั คดี ก็ยงั สามารถบงั คบั เอาชาระหน้ีจากกองมรดกของคู่ความท่ีมรณะ
น้นั ได้ (ฎีกาที่ ๖๑/๒๕๓๐)
ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๔๑๙
๒. การเข้าเป็ นคู่ความแทนทผี่ ู้มรณะ
๒.๑ ก่อนศาลช้นั ตน้ สัง่ รับคาฟ้องอทุ ธรณ์
๒.๑.๑ กรณีขอเขา้ มาเอง
๑. ตอ้ งทาเป็นคาร้อง สง่ั วา่ “สาเนาให้อีกฝ่ าย นัดพิจารณาคาร้อง”
๒. จดรายงานกระบวนพิจารณาในวนั นดั พิจารณาวา่ “นัดพิจารณาคาร้องขอ
เข้าเป็นคู่ความแทน . . . ผู้มรณะวนั นี้ ผ้รู ้องและทนาย . . . มาพร้อม
ทนาย . . . . แถลงขอให้ผู้ร้ องแสดงหลักฐานการตายและฐานะของผู้ร้อง
ต่อศาล
ผู้ร้ องแถลงว่า . . . . ถึงแก่ความตายเมื่อวันที่ . . . ตามมรณบัตรเลขท่ี . . . .
และผู้ร้ องได้รับแต่งต้ังให้เป็ นผู้จัดการมรดกของผู้ตายตามคาสั่งศาล . . . .ตามสาเนาคาสั่งศาล
ในคดหี มายเลขแดงท่ี . . . ตามที่เสนอต่อศาลในวนั นี้
ทนาย . . . . ได้ตรวจดูหลักฐานท่ีผู้ร้ องเสนอแล้ว ไม่คัดค้านท่ีผู้ร้ องขอเข้า
มาเป็นคู่ความแทน . . . . ผ้มู รณะ
ศาลพิจารณาแล้ว เห็นว่า ตามมรณบัตรและสาเนาคาส่ังศาลท่ีผู้ร้ อง
นามาแสดง เชื่อว่า . . . . ถึงแก่ความตายจริ ง และผู้ร้ องได้รับแต่งตั้งให้ เป็ นผู้จัดการมรดก
จึงอนุญาตให้ ผู้ร้ องเข้ามาเป็ นคู่ความแทน . . . ผู้มรณะได้ เพื่อดาเนินกระบวนพิจารณาใน
ชั้นอทุ ธรณ์ต่อไป”
๒.๑.๒ กรณีท่ีศาลหมายเรียกใหเ้ ขา้ มาโดยคูค่ วามอีกฝ่ ายยนื่ คาร้อง
๒.๑.๒.๑ สั่งคาร้องว่า “หมายเรียกนาย (หรือนาง) . . . . เข้ามาเป็นคู่ความ
แทน . . . . ผู้มรณะ จะคัดค้านประการใดให้แถลงมาก่อนวนั นัด นัดพิจารณาวันท่ี . . . เวลา . . . .”
หมายเรียกส่งพร้อมสาเนาคาร้อง การกาหนดวนั นดั พิจารณาจะตอ้ งใหผ้ ถู้ กู เรียกมีโอกาส คดั คา้ น
ไดท้ นั ดว้ ย
๒.๑.๒.๒ เมื่อผถู้ กู เรียกไม่คดั คา้ น ศาลจะรายงานในวนั นดั พิจารณาทานอง
เดียวกบั ขอ้ ๒.๑.๑
๒.๑.๒.๓ ถ้าผูถ้ ูกเรียกคัดคา้ นหรือไม่มาศาล ให้ศาลไต่สวนและส่ังไป
ตามที่ศาลเห็นสมควร ตวั อยา่ งเช่น
จดรายงานกระบวนพิจารณาในวนั นดั พิจารณาเมื่อเสร็จการไตส่ วนวา่
“นัดพิจารณาคาร้องของ . . . . ท่ีขอให้เรียก . . . . เข้ามาเป็นคู่ความแทนท่ี . .
. ผู้มรณะวันนี้ นาย (หรือนาง) . . . .ผู้ถูกหมายเรียก และโจทก์มาศาล
ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๔๒๐
นาย (หรือนาง). . . . แถลงคัดค้านไม่ยอมเข้ามาเป็ นคู่ความแทนผู้มรณะ
อ้างว่าตนไม่ได้เป็ นทายาท ผู้จัดการมรดกหรือผู้ปกครองทรัพย์มรดกผู้ตายเป็ นเพียงผู้อาศัยอยู่
ในบ้านของผ้ตู ายเท่านนั้
ศาลสอบโจทก์แล้ว โจทก์แถลงว่าที่โจทก์ขอให้เรียกนาย (หรือนาง). . . .
มาเป็นคู่ความ เพราะทราบว่า นาย (หรือนาง) . . . . อยู่บ้านเดียวกับผู้ตายขณะผู้ตายเจ็บป่ วย
นาย (หรือนาง). . . . กเ็ ป็นผู้เฝ้าพยาบาลผู้ตายอย่างใกล้ชิดและเรียกผู้ตายว่าพ่อตลอดมา แต่ไม่มี
หลักฐานอ่ืนใดนอกจากนที้ ี่แสดงว่านาย (หรือนาง) . . . . เป็นบตุ รของผู้ตาย เม่ือนาย (หรือนาง)
. . . . คัดค้านไม่ยอมเข้ามาเป็นคู่ความเช่นนี้ จึงแล้วแต่ศาลจะพิจารณาสั่งต่อไป
ศาลพิจารณาแล้ว เห็นว่า โจทก์ยังไม่มีหลักฐานใด ๆ ที่แสดงว่านาย
(หรือนาง). . . . เป็ นทายาทหรือผู้จัดการทรัพย์มรดกหรือผู้ปกครองทรัพย์มรดกของผู้มรณะ
นอกจากคาขอของโจทก์เพียงผู้เดียว คาคัดค้านของนาย (หรื อนาง) . . . . มีเหตุผลฟังได้
จึงให้ เพิกถอนหมายเรี ยก”
๒.๒ ภายหลงั ท่ีศาลช้นั ตน้ สั่งรับอุทธรณ์แลว้ ศาลช้นั ตน้ ยงั คงมีหน้าท่ีส่ังให้ส่งสาเนา
คาร้องขอเขา้ มาเป็ นคู่ความแทนท่ีผมู้ รณะ และคาร้องขอให้เรียกบุคคลเขา้ มาเป็ นคู่ความแทนที่
ผูม้ รณะ ตลอดจนกาหนดวนั นดั พิจารณาคาร้อง คาคดั คา้ น ทาการไต่สวนผรู้ ้องและผถู้ ูกเรียก
เขา้ มาเป็นคู่ความแทนท่ีผูม้ รณะ กบั ไต่สวนพยานหลกั ฐานท่ีแต่ละฝ่ ายอา้ งสนบั สนุนคาร้องและ
คาคดั คา้ นดว้ ย เสร็จแลว้ ส่งไปให้ศาลอุทธรณ์มีคาสั่ง ศาลช้นั ตน้ จะมีคาสั่งในเรื่องน้ีเองไม่ได้
(คาสง่ั คาร้องศาลฎีกาท่ี ๖๖/๒๕๐๘ และฎีกาท่ี ๑๘๐๐/๒๕๓๑)
ข้อสังเกต
๑. คาสั่งศาลท่ีอนุญาตให้บุคคลภายนอกเขา้ มาเป็ นคู่ความแทนที่คู่ความผูม้ รณะ
เป็ น คาสั่งระหว่างพิจารณาของแต่ละช้ันศาลจะอุทธรณ์ทนั ทีไม่ไดต้ าม ป.วิ.พ.มาตรา ๒๒๖
(ฎีกาท่ี ๑๐๑๘ - ๑๐๑๙/๒๕๐๒, ๔๐๕๓/๒๕๓๓) แต่คาสั่งไม่อนุญาตให้บุคคลภายนอกเขา้ มา
เป็ นคู่ความแทนท่ีคู่ความผูม้ รณะตามคาร้องของบุคคลภายนอกเองน้ัน น่าจะถือว่าเป็ นคาส่ัง
ไม่รับคาคูค่ วาม ซ่ึงบุคคลภายนอก ผรู้ ้องมีสิทธิอทุ ธรณ์ไดท้ นั ทีตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๑๘ วรรคทา้ ย
ประกอบ มาตรา ๒๒๘ (๓) ท้งั น้ี โดยเทียบเคียงกบั กรณีท่ีบุคคลภายนอกร้องสอดขอเขา้ เป็ น
คู่ความร่วมหรือเขา้ เป็ นคู่ความแทนท่ีคู่ความเดิมตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๕๗ (๒) ส่วนในกรณีที่
คู่ความฝ่ ายที่ยงั มีชีวิตอยู่ขอให้ศาลหมายเรียกบุคคลภายนอกเขา้ มาเป็ นคู่ความแทนท่ีคู่ความ
ผมู้ รณะน้นั คาขอดงั กล่าวไมน่ ่าจะถือวา่ เป็ นคาคู่ความ ท้งั น้ี โดยเทียบเคียงกบั การที่คูค่ วามเดิม
ขอใหศ้ าลหมายเรียกบุคคลภายนอกเขา้ มาในคดีตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๕๗ (๓) ซ่ึงไม่ว่าศาลจะสั่ง
ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๔๒๑
ใหห้ มายเรียกบุคคลภายนอกเขา้ มาตามคาขอน้นั หรือไม่ ก็ตอ้ งถือว่าเป็ นคาสั่งระหวา่ งพิจารณา
จะอุทธรณ์ทนั ทีมิได้ (ฎีกาที่ ๑๒๒๖/ ๒๕๑๐ ประชุมใหญ่)
๒. ถา้ คูค่ วามฝ่ ายหน่ึงมรณะในระหวา่ งการพิจารณาของศาลอุทธรณ์หรือฎีกา
หากศาลอุทธรณ์หรือฎีกาไดส้ ่งคาพิพากษาไปยงั ศาลช้นั ตน้ ศาลช้นั ตน้ จะอ่านคาพิพากษาของ
ศาลอุทธรณ์หรือศาลฎีกาน้ันไม่ได้ จะต้องเล่ือนการอ่านคาพิพากษาศาลอุทธรณ์หรือฎีกาไปก่อน
(ฎีกาที่ ๔๙๔๗/๒๕๓๗) แลว้ ทาการไต่สวนผูร้ ้องหรือผถู้ ูกเรียกเขา้ มาเป็ นคูค่ วามแทนที่ผูม้ รณะ
แล้วส่งสานวนไปให้ศาลอุทธรณ์หรือศาลฎีกามีคาส่ัง หากศาลช้ันต้นอ่านคาพิพากษาศาลอุทธรณ์
หรือฎีกาไปโดยมิไดด้ าเนินการไต่สวนผูร้ ้องหรือผูถ้ ูกเรียกเขา้ มาเป็ นคู่ความแทน ย่อมถือว่า
การอ่านคาพิพากษาและคาพิพากษาของศาลอุทธรณ์หรือฎีกาน้ันไม่ชอบ (ฎีกาท่ี ๒๗๗๘/
๒๕๓๙)
๓. กรณีศาลอุทธรณ์พิพากษาแลว้ คดีอยใู่ นระหว่างขออนุญาตฎีกา แต่คู่ความ
ยังไม่ได้ยื่นฎีกา แล้วคู่ความฝ่ ายใดฝ่ ายหน่ึงมรณะและศาลช้ันต้นมีคาส่ังอนุญาตให้
บุคคลภายนอกเขา้ มาแทนท่ีคู่ความฝ่ ายที่มรณะ ดงั น้ี คู่ความอีกฝ่ ายหน่ึงย่อมอุทธรณ์คาส่ัง
ศาลช้ันต้นดังกล่าวได้ ซ่ึงปกติจะต้องอุทธรณ์คาสั่งน้ันไปยงั ศาลอุทธรณ์ ในกรณีเช่นน้ี
ถา้ ศาลฎีกาอนุญาตให้ฎีกาในคดีเน้ือหาเดิมเขา้ มาแลว้ ดงั น้ี ศาลช้นั ตน้ ควรส่งอุทธรณ์คาส่งั เช่น
วา่ น้นั ไปยงั ศาลฎีกาเสียทีเดียวเลย เพ่ือความสะดวกรวดเร็วและเพ่ือมิใหค้ าพพิ ากษาศาลอุทธรณ์
และศาลฎีกาขดั แยง้ กนั
๔. ในกรณีท่ีคู่ความฝ่ ายท่ีมรณะมีทนายความ ทนายความยงั มีอานาจจดั การ
อนั สมควรเพ่อื ปกปักษร์ ักษาประโยชน์จนกวา่ ทายาทหรือผแู้ ทนของตวั การจะเขา้ มา ทนายความ
จึงอาจดาเนินการไปพลางก่อนได้ เม่ือดาเนินการไดแ้ ลว้ ก็ตอ้ งหาผูเ้ ขา้ เป็ นคู่ความแทนตวั ความ
ท่ีมรณะต่อไป เช่น ตวั ความตายก่อนมีการยื่นฎีกา ทนายความมีอานาจลงนามเป็ นผูย้ ื่นฎีกา
แทนได้ ท้งั น้ีเพือ่ รักษาประโยชนข์ องตวั ความไว้ (ฎีกาท่ี ๑๖๓๕/๒๕๒๐)
ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๔๒๒
ส่วนท่ี ๔
การดาเนินคดโี ดยได้รับยกเว้นค่าธรรมเนียมศาล
ในช้ันอุทธรณ์หรือฎีกา
๑. การยื่นคาร้องขอยกเว้นค่าธรรมเนียมศาลในช้ันอุทธรณ์หรือฎีกา
๑.๑ ผู้ขอต้องยื่นคาร้องต่อศาลช้ันต้นท่ีฟ้องคดีไว้ พร้อมกบั อุทธรณ์หรือคาร้องขอ
อนุญาตฎีกาแลว้ แต่กรณี เวน้ แต่ถา้ บุคคลน้ันตกเป็ นผูไ้ ม่สามารถเสียค่าธรรมเนียมศาลไดใ้ น
ภายหลงั จะยนื่ คาร้องในเวลาใด ๆ ก็ได้ (มาตรา ๑๕๖ วรรคหน่ึง)
๑.๒ อุทธรณ์หรือฎีกาตอ้ งมีเหตผุ ลอนั สมควร (มาตรา ๑๕๖/๑ วรรคสอง)
ข้อสังเกต
การขอยกเวน้ ค่าธรรมเนียมศาลในช้นั อุทธรณ์หรือฎีกาเป็ นเรื่องระหวา่ งผยู้ ่นื คาร้องกบั ศาล
เทา่ น้นั จึงไม่ตอ้ งส่งสาเนาใหค้ ู่ความฝ่ ายอื่น
๒. การสั่งคาร้องขอยกเว้นค่าธรรมเนยี มศาลในช้ันอทุ ธรณ์หรือฎีกา
๒.๑ กรณีผูข้ อไดร้ ับอนุญาตให้ดาเนินคดีโดยได้รับยกเวน้ ค่าธรรมเนียมศาลมาแล้วใน
ศาลช้นั ตน้ และยืน่ คาร้องขอยกเวน้ ค่าธรรมเนียมศาลมาพร้อมอุทธรณ์หรือคาร้องขออนุญาตฎีกา
ใหพ้ ิจารณาดงั น้ี
๒.๑.๑ ถา้ เห็นว่าคดีไม่มีเหตุผลอนั สมควรจะอุทธรณ์หรือฎีกา เช่น คดีตอ้ งห้ามอุทธรณ์
ในขอ้ เท็จจริงหรือคดีไม่มีเหตุสมควรอนุญาตให้ฎีกาในปัญหาขอ้ เท็จจริง ให้สั่งยกคาร้องขอ
ยกเวน้ ค่าธรรมเนียมศาลไดท้ นั ทีโดยไม่ตอ้ ง ไต่สวน(คาส่ังคาร้องศาลฎีกาท่ี ๒๕๔/๒๕๑๔) และ
ยงั ไม่ตอ้ งสัง่ คาฟ้องอุทธรณ์หรือคาร้องขออนุญาตฎีกาน้นั
ตัวอย่างคาสั่ง
“. . . คดีของโจทก์(จาเลย) ไม่มีเหตุอันสมควรท่ีจะอุทธรณ์(ฎีกา) เน่ืองจาก....
(ให้เหตุผลแห่งคาสั่ง)..... ยกคาร้ อง หากโจทก์(จาเลย) ประสงค์จะดาเนินคดีต่อไปให้นาเงิน
ค่าธรรมเนยี มศาลชั้นอุทธรณ์(ฎีกา) มาชาระภายใน . . . วนั ”๓
๓ ตามขอ้ กาหนดว่าดว้ ยการขออนุญาตฎีกาฯ ขอ้ ๗ วรรคหน่ึง กาหนดว่า ผูร้ ้องตอ้ งย่ืนคาร้องพร้อมกบั คาฟ้องฎีกาโดยเสียค่าข้ึนศาลช้นั ฎีกาและตอ้ งนาเงินค่าธรรมเนียม
ซ่ึงจะตอ้ งใชแ้ ก่คู่ความอีกฝ่ ายหน่ึงตามคาพิพากษาหรือคาส่ังมาวางศาลพร้อมกบั คาฟ้องฎีกาน้นั ดว้ ย เวน้ แต่จะไดร้ ับอนุญาตให้ยกเวน้ ค่าธรรมเนียมศาล ดงั น้นั ศาลช้นั ตน้
จึงตอ้ งพจิ ารณาสั่งเร่ืองการยกเวน้ ค่าธรรมเนียมศาลใหเ้ สร็จสิ้นเสียก่อนส่งคาร้องขออนุญาตฎีกาพร้อมสานวนความไปยงั ศาลฎีกาตาม ขอ้ ๗ วรรคสอง