ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๒๓
วธิ ีคานวณค่าขนึ้ ศาลคดีแพ่งทยี่ ่ืนฟ้องต้งั แต่วนั ที่ ๑๑ พฤษภาคม ๒๕๕๑
ลกั ษณะของคดี ทนุ ทรัพยไ์ มเ่ กิน ทนุ ทรัพยส์ ่วนท่ีเกิน
๕๐,๐๐๐,๐๐๐๐ บาท ๕๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท ข้ึนไป
๑. คดีมีทุนทรัพย์ ร้อยละ ๒ (หาร ๕๐)
ไม่เกิน ๒๐๐,๐๐๐ บาท เสียอีกร้อยละ ๐.๑
๒. คดีร้องขอใหบ้ งั คบั ตาม ร้อยละ ๐.๕ (หาร ๒๐๐) (หาร ๑,๐๐๐)
หรือเพิกถอนคาช้ีขาดของ ไมเ่ กิน ๕๐,๐๐๐ บาท
อนุญาโตตลุ าการในประเทศ เสียอีกร้อยละ ๐.๑
๓. คดีร้องขอใหบ้ งั คบั ตาม (หาร ๑,๐๐๐)
หรือเพิกถอนคาช้ีขาดของ
อนุญาโตตลุ าการต่างประเทศ ร้อยละ ๑ (หาร ๑๐๐) เสียอีกร้อยละ ๐.๑
๔. คดีฟ้องบงั คบั จานอง ไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท (หาร ๑,๐๐๐)
หรือบงั คบั เอาทรัพยส์ ิน
จานองหลุด ร้อยละ ๑ (หาร ๑๐๐) เสียอีกร้อยละ ๐.๑
๕. คดีไมม่ ีทุนทรัพย์ ไมเ่ กิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท (หาร ๑,๐๐๐)
๖. คดีมีทนุ ทรัพยแ์ ละ
ไมม่ ีทนุ ทรัพยร์ วมกนั อยู่ เรื่องละ ๒๐๐ บาท
๗. อทุ ธรณ์หรือฎีกาคาสง่ั อตั ราค่าข้ึนศาลตามขอ้ ๑, ๒, ๓, ๔
ตามมาตรา ๒๒๗ หรือ
มาตรา ๒๒๘ (๒) (๓) แตไ่ มน่ อ้ ยกวา่ ๒๐๐ บาท
เร่ืองละ ๒๐๐ บาท
หมายเหตุ ๑. คา่ ข้ึนศาลที่มีเศษไม่ถึง ๑ บาท ใหป้ ัดทิง้
๒. คดีที่ฟ้องก่อน ๑๑ พฤษภาคม ๒๕๕๑ หากจะอุทธรณ์ ฎีกา เสียคา่ ข้ึนศาล
อตั ราเดิมจนกวา่ คดีถึงที่สุด
ตาม พ.ร.บ. แกไ้ ขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง (ฉบบั ท่ี ๒๔) พ.ศ. ๒๕๕๑ ประกาศใน
ราชกิจจานุเบกษาวนั ท่ี ๑๑ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๕๑ มีผลใชเ้ ม่ือพน้ ๙๐ วนั นบั แต่วนั ประกาศ
ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๒๔
๒. ค่าขนึ้ ศาลอนาคต (ตามตาราง ๑ ทา้ ย ป.วิ.พ. (๔) )
๒.๑ กรณคี ่าเช่า ดอกเบยี้ และค่าเสียหาย
๒.๑.๑ ถ้าไม่ได้ขอดอกเบ้ียก่อนวันฟ้อง แต่ขอดอกเบ้ียนับแต่วันฟ้องจนถึง
วนั ชาระเสร็จ ตอ้ งเสียคา่ ข้ึนศาล ๑๐๐ บาท (ตามตาราง ๑ ทา้ ย ป.วิ.พ. (๔) )
ตวั อย่าง
โจทกฟ์ ้องเรียกค่าเสียหาย ๑๕,๐๐๐ บาท และขอใหจ้ าเลยเสียดอกเบ้ียร้อยละ ๗ คร่ึง
ต่อปี นบั แต่วนั ฟ้องไปจนกว่าจะชาระให้โจทก์เสร็จ คาฟ้องไม่ไดเ้ สียค่าข้ึนศาลอนาคต ๑๐๐ บาท
สั่งในคาฟ้องว่า “ปรากฏว่ายังไม่ได้เสียค่าขึ้นศาลอนาคต ฉะนั้น ให้ โจทก์เสียค่าขึ้นศาล
ให้ครบถ้วนภายใน ๗ วัน”
๒.๑.๒ ถา้ ขอดอกเบ้ียก่อนฟ้องจนถึงวนั ฟ้อง และขอต่อจากวนั ฟ้องไป จนถึงวนั
ชาระเสร็จตามคาพิพากษา ไม่ตอ้ งเสียค่าข้ึนศาลอนาคต เพราะถือว่าศาลพิพากษาให้ดอกเบ้ีย
จากวนั ฟ้องจนถึงวนั ชาระเสร็จไดอ้ ยแู่ ลว้ ตามมาตรา ๑๔๒ (๓) (ฎีกาท่ี ๙๓๔/ ๒๔๙๓)
ค่าเสียหายฐานละเมิดซ่ึงศาลกาหนดให้เป็ นรายวนั ต้ังแต่วนั ทาละเมิด
จนกว่าจะเลิกทาละเมิดไม่ตอ้ งเสียค่าข้ึนศาลสาหรับจานวนท่ีศาลพิพากษาให้ต้ังแต่วันฟ้อง
ตามมาตรา ๑๔๒ (ฎีกาที่ ๖๔๐/๒๕๑๐)
๒.๑.๓ กรณีมีสัญญาจะให้ค่าเสียหาย เช่น โจทก์ฟ้องขบั ไล่จาเลยและเรียกค่าเช่า
คา้ งชาระ ๔ เดือน เดือนละ ๕๐๐ บาท เป็ นเงิน ๒,๐๐๐ บาท และเรียกค่าเสียหายตามสัญญา
โดยจาเลยตกลงไวก้ ับโจทก์ว่า ถ้าครบสัญญาเช่าน้ีแล้วจาเลยไม่ออกไปจะให้ค่าเสียหาย
เดือนละ ๑,๐๐๐ บาท โจทก์ขอให้ศาลบงั คบั จาเลยใช้ค่าเช่าที่คา้ งชาระ ๔ เดือน และนับแต่
วันฟ้องเป็ นต้นไป ให้จาเลยใช้ค่าเสียหายตามสัญญาเดือนละ ๑,๐๐๐ บาท จนกว่าจาเลย
จะออกไป เช่นน้ีไม่เขา้ ขอ้ ๒.๑.๒ ขา้ งตน้ แต่เป็ นเรื่องที่โจทก์เรียกค่าเสียหายตามสัญญา
จากวนั ฟ้อง เป็นตน้ ไปจนกวา่ จาเลยจะออกไป ส่วนที่ขอก่อนฟ้องเป็นเร่ืองเรียกคา่ เช่าที่คา้ งชาระ
จึงตอ้ งเสียค่าข้ึนศาลอนาคต (ฎีกาท่ี ๗๙๕/๒๕๑๐) แต่ถา้ โจทกฟ์ ้องเรียกค่าเสียหายอนั ต่อเน่ือง
คานวณถึงวนั ฟ้องและต้งั แต่วนั ฟ้องต่อไป ไม่ตอ้ งเสียค่าข้ึนศาลอนาคต
๒.๒ กรณีอื่น
กรณีอื่น ๆ นอกจากดอกเบ้ีย ค่าเช่า หรือค่าเสียหายที่ศาลมีอานาจพิพากษาหรือ
สั่งตามมาตรา ๑๔๒ อยแู่ ลว้ เช่น คดีที่ขอใหช้ าระค่าอุปการะเล้ียงดู ค่าเล้ียงชีพ เงินปี เงินเดือน
เงินเบ้ียบานาญ ค่าบารุงรักษา หรือเงินอ่ืน ๆ ที่ให้จ่าย มีกาหนดเป็ นระยะเวลาในอนาคต
ตอ้ งเสียคา่ ข้ึนศาลอนาคตตามตาราง ๑ ทา้ ย ป.ว.ิ พ. (๔)
ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๒๕
คาขอเรียกค่าขาดอุปการะเป็ นค่าเสียหายชว่ั ระยะเวลาหน่ึงในอนาคตนอกเหนือจาก
ป.วิ.พ. มาตรา ๑๔๒ ตอ้ งเสียคา่ ข้ึนศาลตามตาราง ๑ (๔) (ฎีกาท่ี ๒๙๒/ ๒๔๙๒)
๓. ค่าขนึ้ ศาลเพมิ่ ขนึ้
ค่าข้ึนศาลปกติคานวณเมื่อยน่ื ฟ้อง ถา้ ต่อมามีการยนื่ คาฟ้องเพิ่มเติมหรือมีเหตุประการอื่น
อนั ทาให้ทุนทรัพยท์ วีข้ึน ศาลมีอานาจสั่งเรียกใหถ้ ูกตอ้ งโดยให้โจทกเ์ สียค่าข้ึนศาลตามจานวน
ทุนทรัพย์ที่ทวีข้ึนภายในระยะเวลาท่ีศาลเห็นสมควร ตามมาตรา ๑๕๐วรรคสาม (ดูส่วนที่ ๓
ช้นั ช้ีสองสถาน)
๔. การคืนค่าธรรมเนยี ม
๔.๑ ระเบียบราชการฝ่ ายตุลาการศาลยุติธรรมว่าดว้ ยการคืนค่าข้ึนศาล พ.ศ. ๒๕๕๓
กาหนดไวว้ า่
๔.๑.๑ เว้นแต่ศาลจะเห็นสมควรส่ังเป็ นอย่างอื่น สาหรับศาลช้ันต้นเม่ือมี
การถอนฟ้อง หรือเมื่อคดีได้เสร็จเด็ดขาดลงโดยสัญญาหรือการประนีประนอมยอมความ
หรือการพิพากษาตามคาช้ีขาดของอนุญาโตตุลาการ ตาม ป.วิ.พ มาตรา ๑๕๑ วรรคสอง การคืน
ค่าข้ึนศาลใหเ้ ป็นไป ดงั ตอ่ ไปน้ี
ก. ก่อนสืบพยาน ให้คืนค่าขึน้ ศาลไม่เกิน ๓ ใน ๔ ส่วน แต่มิให้เหลือน้อยกว่า
๒๐๐ บาท
ข. เม่ือมีการสืบพยานไปบ้างแล้ว ให้คืนค่าขึน้ ศาลไม่เกินก่ึงหนึ่ง แต่มิให้เหลือ
น้อยกว่า ๒๐๐ บาท
ค. การคืนค่าขึ้นศาลเป็ นกรณีพิเศษ ให้คืนค่าขึ้นศาลไม่เกิน ๗ ใน ๘ ส่วน
แต่มิให้เหลือน้อยกว่า ๒๐๐ บาท
การคืนค่าข้ึนศาลท้ังสามกรณีให้ศาลพิเคราะห์ถึงการพิจารณาที่ได้กระทา
ไปแลว้ ประกอบดว้ ย
๔.๑.๒ เว้นแต่ศาลจะเห็นสมควรส่ังเป็ นอย่างอื่น สาหรับศาลช้ันต้นเมื่อมีการ
ทิ้งฟ้อง หรือศาลส่ังจาหน่ายคดีในกรณีอื่นตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๑๕๑ วรรคสาม การคืนค่าข้ึนศาล
ใหเ้ ป็นไปดงั ตอ่ ไปน้ี
ระเบียบราชการฝ่ ายตุลาการศาลยตุ ิธรรมวา่ ดว้ ยการคืนค่าข้นึ ศาล พ.ศ. ๒๕๕๓ ประกาศ ณ วนั ท่ี ๑๓ ตลุ าคม
๒๕๕๓ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วนั ท่ี ๔ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๕๔ มีผลบงั คบั ใชต้ ้งั แตว่ นั ถดั จากวนั ประกาศในราชกิจจา
นุเบกษา
ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๒๖
ก. ก่อนสืบพยาน ให้ คืนค่าขึ้นศาลไม่เกินกึ่งหน่ึง แต่มิให้ เหลือน้อยกว่า
๒๐๐ บาท
ข. เมื่อมีการสืบพยานไปบ้างแล้ว ให้คืนค่าขึน้ ศาล ๑ ใน ๔ แต่มิให้เหลือน้อย
กว่า ๒๐๐ บาท
การคืนค่าข้ึนศาลท้งั สองกรณีให้ศาลพิเคราะห์ถึงพฤติการณ์ในการดาเนินคดี
ของโจทก์ประกอบดว้ ย
๔.๒ กรณีทุนทรัพยล์ ดลงเพราะโจทก์ย่ืนคาร้องขอแกไ้ ขฟ้องเพ่ือลดจานวนทุนทรัพยล์ ง
ตามมาตรา ๑๗๙ น้ัน ศาลมีอานาจส่ังคืนค่าข้ึนศาลตามจานวนทุนทรัพยท์ ี่ลดลงให้โจทก์ได้
โดยอนุโลมว่าเป็ นการถอนฟ้องบางส่วน โดยให้คานวณค่าข้ึนศาลสาหรับทุนทรัพยท์ ี่เหลืออยู่
ใหค้ รบถว้ นก่อน ค่าข้ึนศาลส่วนท่ีเกินไปน้นั ก็คืนใหบ้ างส่วนโดยคิดแบบเดียวกบั กรณีถอนฟ้อง
๔.๓ กรณีคู่ความทาสัญญาประนีประนอมยอมความ และศาลพิพากษาตามยอม ให้เขียน
ที่ทา้ ยคาพิพากษาวา่ “คืนค่าขึน้ ศาลให้ . . . . . . บาท” (อยา่ เขียนวา่ คืนตามระเบียบเพราะระเบียบ
มิไดก้ าหนดไวแ้ น่นอนตายตวั )
ถ้าศาลเห็นสมควรหรือปรากฏเหตุในคาแถลงของคู่ความ หรือในรายงานกระบวน
พจิ ารณาวา่ คู่ความขอคืนค่าข้ึนศาลเป็นกรณีพิเศษ ใหส้ ่ังวา่ “คืนค่าขึน้ ศาล ให้เป็นกรณีพิเศษ .
. . . . .บาท”
ข้อสังเกต
ทางปฏิบตั ิของศาลแพ่งให้ระบุตวั เลขจานวนเงินที่แน่นอน และใหเ้ ป็ นหลกั สิบข้ึนไป
ในกรณีที่มีจานวนเป็นหลกั หน่วยหรือเศษสตางคใ์ หป้ ัดเป็นหลกั สิบ
๔.๔ กรณีถอนฟ้อง ศาลจะสั่งคืนค่าข้ึนศาลในคาร้องหรือคาบอกกล่าวขอถอนฟ้องหรือ
ส่งั ในรายงานกระบวนพจิ ารณาก็ได้
ตัวอย่าง
ศาลช้ันตน้ มีคาส่ังจาหน่ายคดีโจทก์ออกจากสารบบความเน่ืองจากจาเลยถูกศาล
มีคาสั่งพิทกั ษท์ รัพยเ์ ด็ดขาด แต่ศาลช้นั ตน้ มิไดส้ ่ังเรื่องค่าฤชาธรรมเนียมจึงเป็ นการไม่ชอบดว้ ย
ป.วิ.พ. มาตรา ๑๖๗ วรรคหน่ึง ท่ีบญั ญตั ิให้ศาลมีคาสั่งในเร่ืองค่าฤชาธรรมเนียมดว้ ย และ
บทบญั ญตั ิดงั กล่าวมีเจตนารมณ์ให้อยู่ในดุลพินิจของศาลที่จะมีคาส่ังในเร่ืองฤชาธรรมเนียม
เม่ือพิจารณาถึงเหตุที่ศาลช้ันต้นมีคาส่ังจาหน่ายคดีออกจากสารบบความเน่ืองจากจาเลย
ถูกศาลมีคาสั่งพิทกั ษท์ รัพยเ์ ด็ดขาด และภาระที่โจทก์จะตอ้ งเสียค่าธรรมเนียม ในการยื่นคาขอ
ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๒๗
รับชาระหน้ีในคดีล้มละลายตาม พ.ร.บ. ลม้ ละลาย ฯ มาตรา ๑๗๙ ศาลฎีกาจึงคืนค่าข้ึนศาล
ท้งั หมดในศาลช้นั ตน้ ใหแ้ ก่โจทก์ (ฎีกาที่ ๔๗๒๙/๒๕๔๘)
กรณีศาลสั่งจาหน่ายคดีเพราะไม่มีผูร้ ับมรดกความแทนท่ีผูม้ รณะ ตาม ป.วิ.พ.
มาตรา ๔๒ ตอ้ งสั่งคืนคา่ ข้ึนศาลใหแ้ ก่โจทก์ (ฎีกาท่ี ๒๐๖/๒๔๘๑)
๔.๕ กรณีคู่ความแถลงรับขอ้ เทจ็ จริงและกาหนดคา่ เสียหายอนั เป็นเหตใุ หท้ นุ ทรัพยล์ ดลง
ตวั อย่าง
โจทก์ฟ้องเรียกค่าเสียหาย ๔๑๔,๐๐๐ บาท คู่ความตกลงรับขอ้ เท็จจริงและกาหนด
จานวนค่าเสียหายกนั วา่ ๑๐๐,๐๐๐ บาท สละขอ้ อา้ งและขอ้ ต่อสู้นอกจากน้ี ดงั น้ี เม่ือโจทกไ์ ม่ได้
ขอแก้ไขคาฟ้อง และมิใช่คดีเสร็จโดยสัญญาประนีประนอมยอมความ จึงคืนค่าข้ึนศาล
ในจานวนทุนทรัพยเ์ ดิมที่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท ไม่ได้ (ฎีกาที่ ๒๔๙/๒๕๒๓)
๔.๖ คืนค่าข้ึนศาลที่โจทกเ์ สียเกินมา
ตัวอย่าง
จาเลยฎีกาเฉพาะขอ้ กฎหมายว่าศาลอุทธรณ์พิพากษาต้งั โจทก์เป็ นผูจ้ ัดการทรัพย์
ของผูไ้ ม่อยรู่ ่วมกบั จาเลย เป็ นขอ้ ที่มิไดย้ กข้ึนว่ากนั มาแลว้ ในศาลช้นั ตน้ โดยชอบและเป็ นการ
พิพากษาเกินคาขอ คาพพิ ากษาศาลอุทธรณ์จึงไมช่ อบ เป็นฎีกาเกี่ยวกบั คาขอใหป้ ลดเปล้ืองทุกข์
อนั ไม่อาจคานวณเป็ นราคาเงินได้ จึงตอ้ งเสียค่าข้ึนศาลช้นั ฎีกาเพียง ๒๐๐ บาท ตามบญั ชีทา้ ย
ป.วิ.พ. ตาราง ๑ (๒) (ก) เม่ือปรากฏว่าจาเลยเสียค่าข้ึนศาลดงั กล่าวเกินมา จึงตอ้ งคืนค่าข้ึนศาล
ช้นั ฎีกาส่วนที่เกินใหแ้ ก่จาเลย (ฎีกาที่ ๔๘๗๕/๒๕๓๗)
เม่ือโจทก์ฎีกาเฉพาะเพียงในขอ้ ที่ขอให้ยกคาพิพากษาศาลอุทธรณ์ และให้ศาลอุทธรณ์
พิพากษาใหม่ตามรูปคดีเท่าน้ัน จึงต้องคืนค่าข้ึนศาลส่วนที่เกิน ๒๐๐ บาท ให้โจทก์ (ฎีกาท่ี
๕๔๗๔/๒๕๓๖)
๔.๗ กรณีท่ีศาลส่ังไม่รับคาฟ้อง (รวมท้งั คาร้องขอ) ให้คืนค่าข้ึนศาลท้งั หมดตามมาตรา
๑๕๑ วรรคหน่ึง
ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๒๘
บทที่ ๕
การส่งและการคืนหมายเรียกและสาเนาคาฟ้อง
๑. การส่งหมายเรียกและสาเนาคาฟ้อง
๑.๑ กรณที ่จี าเลยมภี ูมลิ าเนาอยู่ในราชอาณาจกั ร
๑.๑.๑ หลกั ทวั่ ไป จะตอ้ งส่งใหแ้ ก่ตวั จาเลย ณ ภูมิลาเนาหรือสานกั ทาการงานของ
จาเลย (มาตรา ๗๔ (๒)) ในทางปฏิบตั ิเรียกวา่ “ส่งโดยวิธีธรรมดา” (ฎีกาท่ี ๙๔/๒๕๔๒)
เรื่องภูมิลาเนาหรือสานักทาการงาน ให้ดูบทที่ ๑ การตรวจและสั่งคาฟ้อง
ขอ้ ๑.๒.๑ ประกอบดว้ ย
๑.๑.๒ ขอ้ ยกเวน้ กรณีท่ีใหถ้ ือวา่ เป็นการส่งโดยชอบดว้ ยกฎหมายแลว้
๑.๑.๒.๑ การส่งให้ทนายจาเลย หรือบุคคลท่ีทนายจาเลยแต่งต้ังให้รับ
หมายเรียกและสาเนาคาฟ้องได้ (มาตรา ๗๕) (ฎีกาท่ี ๔๒๔๖/๒๕๒๙)
ทนายจาเลยมอบฉนั ทะให้เสมียนทนายมายน่ื คาร้องขอถอนตวั จาก
การเป็นทนายและฟังคาสง่ั ศาลแทน ศาลไม่อนุญาตใหท้ นายจาเลยถอนตวั และเล่ือนไปสืบพยาน
โจทกใ์ หม่ โดยผูร้ ับมอบฉันทะจากทนายจาเลยลงลายมือชื่อรับทราบคาส่ังในรายงานกระบวน
พจิ ารณา ถือวา่ ทนายจาเลยทราบคาส่งั ศาลท้งั หมดแลว้ (ฎีกาที่ ๒๙๒๔/๒๕๓๑)
ส่งหมายนดั ฟังคาพพิ ากษาศาลอุทธรณ์ให้แก่ทนายจาเลยโดยชอบแลว้
ถือวา่ ตวั จาเลยทราบโดยชอบแลว้ (ฎีกาท่ี ๔๓๕๒/๒๕๓๒)
๑.๑.๒.๒ การส่ง ณ ภูมิลาเนาหรือสานักทาการงานของจาเลยให้แก่บุคคล
ท่ีมีอายเุ กินยส่ี ิบปี ซ่ึงอยหู่ รือทางานในบา้ นเรือนหรือสานกั ทาการงานของจาเลย แต่บุคคลน้นั
ตอ้ งมิใช่โจทก์ (มาตรา ๗๖) ในทางปฏิบตั ิเรียกวา่ “มผี ู้รับแทนโดยชอบ”
โจทก์มิได้แจ้งให้จาเลยทราบเรื่องการยา้ ยภูมิลาเนาของโจทก์
เพ่ือให้จาเลยจัดส่งหนังสือแจง้ ความแก่โจทก์ตามภูมิลาเนาใหม่ แต่การย่ืนแบบแจง้ รายการ
เพื่อเสียภาษีโจทก์ระบุภูมิลาเนาเดิม แสดงว่าโจทก์ประสงค์ให้ใชภ้ ูมิลาเนาเดิมเป็ นภูมิลาเนา
ของโจทกอ์ ีกแห่งหน่ึงโดยเฉพาะในการติดต่อกบั จาเลย (ฎีกาท่ี ๙๑๓/๒๕๓๑)
ลูกจา้ งของผูร้ ้องซ่ึงอยู่ท่ีสานกั ทาการงานของผูร้ ้องมีอายุเกิน ๒๐ ปี
ไดร้ ับหนงั สือทวงหน้ีจากผคู้ ดั คา้ นไว้ จึงถือไดว้ า่ มีการส่งหนงั สือทวงหน้ีให้แก่ผูร้ ้องโดยชอบแลว้
(ฎีกาที่ ๙๗๔/๒๕๓๗)
ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๒๙
๑.๑.๒.๓ การส่งไปยงั ที่อ่ืนนอกจากภูมิลาเนาหรือสานักทาการงานของจาเลย
เม่ือตวั จาเลยยอมรับไว้ หรือเป็นการส่งในศาลแก่ผมู้ ีอานาจรับได้ (มาตรา ๗๗)
ศา ลช้ ันต้นออกหมายนัดฟั งคา พิพากษาโดยระ บุชื่ อโจทก์ร่ วม
ในหมายนดั เจา้ พนกั งานศาลไดใ้ ห้ บ. สามีโจทกร์ ่วมลงชื่อรับแทนโจทกร์ ่วมในศาล จึงเป็นการ
ส่งหมายนดั โดยเจา้ พนกั งานศาลไปยงั ท่ีอื่นนอกจากภูมิลาเนาของโจทก์ร่วม เมื่อ บ. มิใช่ผมู้ ีช่ือ
ระบุว่าเป็ นผูร้ ับหมายโดยตรง และไม่ปรากฏว่าเป็ นผูซ้ ่ึงโจทก์ร่วม หรือทนายความของโจทก์
ร่วมแต่งต้งั ใหท้ าการแทน แม้ บ. จะรับหมายในศาลจากเจา้ พนกั งานศาล ก็ถือไม่ไดว้ า่ เป็ นการ
รับหมายไวแ้ ทนโจทกร์ ่วมโดยชอบ (ฎีกาท่ี ๑๕๕๘/๒๕๒๗)
๑.๑.๒.๔ การวางหมายซ่ึงตอ้ งปฏิบตั ิตามข้นั ตอนท่ีบญั ญตั ิไวใ้ นมาตรา ๗๘
ซ่ึงการวางหมายเป็ นอานาจของเจ้าพนักงานศาล ท่ีจะดาเนินการได้เองโดยไม่ต้องให้ศาล
มีคาสง่ั ก่อน
ส่งหมายเรียกและสาเนาคาฟ้องให้แก่จาเลยท้งั สี่ที่บา้ นจาเลยที่ ๓
ขณะที่จาเลยท้ังสี่กาลังช่วยกันปลูกบ้านจาเลยท่ี ๓ อยู่ จาเลยท้ังสี่ไม่ยอมรับหมายเรียก
และ สาเนาคาฟ้อง เจา้ พนกั งานศาลจึงไดส้ ่งโดยวิธีวางหมายต่อหนา้ เจา้ พนกั งานตารวจ ณ ที่น้นั
และไดค้ วามดว้ ยว่าจาเลยท้งั สี่มีบา้ นอย่ตู ิดกนั และต่างอยอู่ าศยั มาคนละสิบกว่าปี แลว้ กรณีถือ
ไดว้ า่ จาเลยท้งั ส่ีมีภูมิลาเนาหลายแห่ง แมโ้ จทกจ์ ะนาเจา้ พนกั งานศาลไปส่งหมายเรียกและสาเนา
คาฟ้องให้จาเลยยงั ภูมิลาเนาอ่ืน นอกจากที่ปรากฏในคาฟ้องก็ถือว่าเป็ นการส่งหมายเรียกและ
สาเนาคาฟ้องโดยวิธีการวางหมายท่ีถกู ตอ้ งตามกฎหมาย (ฎีกาที่ ๔๖๒๖ - ๔๖๒๙/๒๕๓๐)
๑.๑.๒.๕ การส่งโดยวิธีอ่ืนตามคาส่ังศาลตามมาตรา ๗๙ อาจทาไดห้ ลายวิธี
ที่ใชม้ ากคือการปิ ดหมาย ณ ภูมิลาเนาหรือสานกั ทาการงานของจาเลย การปิ ดหมายกระทาได้
หลายวิธี เช่น ใชเ้ ชือกผูก ตอกตะปู แปะติดไว้ หรือวิธีอ่ืนใดตามท่ีเห็นสมควรก็ได้ แต่จะตอ้ ง
แสดงไวใ้ นที่แลเห็นไดง้ ่าย (ฎีกาที่ ๙๕๔/๒๕๔๓) และการประกาศโฆษณาทางหนังสือพิมพ์
และการปิ ดประกาศหนา้ ศาล แต่จะใชว้ ิธีการตามมาตราน้ีไดต้ ่อเม่ือใชว้ ิธีการธรรมดาไม่ไดแ้ ลว้
เทา่ น้นั การส่งโดยวิธีอื่นน้ี จะมีผลใชไ้ ดต้ ่อเม่ือพน้ กาหนด ๑๕ วนั นบั แตป่ ิ ดหมายหรือประกาศ
โฆษณา
ศาลสั่งในตอนรับฟ้องว่า ถ้าส่งหมายเรียกและสาเนาคาฟ้องให้
จาเลยไม่ไดใ้ ห้ปิ ดหมายและสาเนาคาฟ้องตามคาสั่งศาล จึงเป็ นการส่งตามคาส่ังศาลตาม ป.วิ.พ.
มาตรา ๗๖ วรรคหน่ึง ไม่ใช่การส่งโดยวิธีอ่ืน ตามมาตรา ๗๙ วรรคหน่ึง จึงเป็ นการส่งโดยชอบ
(ฎีกาท่ี ๑๐๘๘/๒๕๑๕)
ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๐
๑.๑.๒.๖ การส่งทางไปรษณียต์ ามมาตรา ๗๓ ทวิ โดยปฏิบตั ิตามขอ้ บงั คบั
วา่ ดว้ ยการส่งคาคู่ความและเอกสารทางคดี พ.ศ. ๒๕๔๕
เจ้าพนักงานไปรษณีย์จะเป็ นผูน้ าคาคู่ความหรือเอกสารไปส่ง
ณ ภูมิลาเนาหรือสานักทาการงานของผูร้ ับ เจา้ พนักงานไปรษณียย์ อ่ มใชว้ ิธีการส่งตามมาตรา
๗๔, ๗๖ และมาตรา ๗๗ ไดเ้ ช่นเดียวกบั การส่งของเจา้ พนักงานศาล (ฎีกาท่ี ๔๒๙๓/๒๕๔๗,
๒๘/๒๕๔๘)
๑.๑.๒.๗ การส่งคาคู่ความและเอกสารทางไปรษณียอ์ ิเล็กทรอนิกส์หรือส่ือ
เทคโนโลยสี ารสนเทศอื่นใดตาม ป.วิ.พ.มาตรา ๖๘ ตอ้ งดาเนินการตามขอ้ กาหนดของประธาน
ศาลฎีกาว่าดว้ ยการยื่น ส่ง และรับคาคู่ความและเอกสารทางระบบรับส่งอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ.
๒๕๖๐
ข้อสังเกต
การส่งทางไปรษณียม์ ิใช่การส่งโดยวิธีพิเศษตามมาตรา ๗๙ จึงมีผล
ทนั ทีไม่ตอ้ งรอใหพ้ น้ กาหนด ๑๕ วนั นบั แตว่ นั ส่งทางไปรษณีย์
ตัวอย่างคาพิพากษาศาลฎีกาท่ีส่ งโดยชอบและตัวอย่างคาพิพากษาศาลฎีกา
ทสี่ ่งโดยไม่ชอบ
ตวั อย่างคาพพิ ากษาศาลฎกี าทีส่ ่งโดยชอบ
ส่ งหมายเรี ยกและสาเนาคาฟ้ องให้จาเลยท่ีสานักงานแห่ งใหญ่
ท่ีปรากฏในหนังสือรับรองการจดทะเบียนของบริ ษัทจาเลยในขณะน้ัน แม้ต่อมาจาเลย
จดทะเบียนแก้ไขเพ่ิมเติมที่ต้งั สานักงานแห่งใหญ่ของจาเลยภายหลงั ศาลช้นั ตน้ พิพากษาแล้ว
จาเลยขอพิจารณาคดีใหม่อา้ งว่าแกไ้ ขท่ีต้งั สานกั งานแห่งใหญ่แลว้ ไม่ได้ (ฎีกาที่ ๒๐๖/๒๕๓๐)
พนกั งานเดินหมายรายงานว่า ไปส่งหมายเรียกและสาเนาคาฟ้องให้จาเลยตามภูมิลาเนาที่ระบุ
ในฟ้อง พบบริ ษัทจาเลยปิ ดประตูใส่กุญแจทิ้งไว้ สอบถามบุคคลข้างเคียงได้ความว่า
บริษัทจาเลยยา้ ยไปแล้วประมาณ ๑๐ วนั ไม่ทราบว่าไปอยู่ท่ีใด ศาลช้ันต้นส่ังให้ประกาศ
หนังสือพิมพ์แทนการส่งหมายธรรมดาได้ (ฎีกาท่ี ๓๑๗/๒๕๓๐,๙๘๙/๒๕๓๑) จาเลยมีชื่ออยู่ใน
ทะเบียนบ้านเลขท่ีตามฟ้อง แต่พนักงานเดินหมายส่งหมายเรี ยกและสาเนาคาฟ้องให้ไม่ได้
เพราะบ้านเลขที่ดังกล่าวถูกร้ือถอนไปแล้ว ศาลช้ันต้นอนุญาตให้ประกาศหนังสือพิมพ์ได้
(ฎีกาที่ ๒๕๐๔/๒๕๓๔)
ผูป้ ระกนั มิไดแ้ จง้ เหตุผลหรือแถลงใหไ้ ดค้ วามชดั วา่ ท่ีอยทู่ ่ีแทจ้ ริง
อยแู่ ห่งใด เมื่อไมอ่ าจติดต่อผูป้ ระกนั โดยวิธีส่งหมายนดั และปิ ดหมายได้ การปิ ดประกาศวนั นดั
ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๑
ฟังคาพิพากษาไวท้ ี่หนา้ ศาล ถือวา่ ผูป้ ระกนั ทราบนดั โดยชอบแลว้ (ฎีกาท่ี ๕๖๘/๒๕๓๑) จาเลย
ยา้ ยภูมิลาเนาและโจทกไ์ ม่อาจคน้ หาภูมิลาเนาใหม่ไดเ้ พราะไม่ปรากฏวา่ จาเลยไดแ้ จง้ ยา้ ยเขา้ และ
ยา้ ยออกจากบา้ นที่แจง้ ไวใ้ นทะเบียน การประกาศหนงั สือพิมพจ์ ึงชอบ (ฎีกาท่ี ๔๗๗/๒๕๓๒)
บริษัทจาเลยที่ ๒ มีสานักงานต้ังอยู่ท่ีตึกแถวช้ันท่ีสอง ตึกแถวช้ันล่างเป็ นสานักงานของ
อีกบริษัทหน่ึงซ่ึงมี ช. เป็ นกรรมการของบริษัทท้ังสอง สานักงานบริษัทท้ังสองตามท่ีได้
จดทะเบียนต่อกระทรวงพาณิชย์ไม่ได้แบ่งแยกออกจากกันให้เป็ นสัดส่วน ป้ายแสดงช่ือ
สานกั งานบริษทั ท้งั สองต่างอยู่บริเวณประตูทางเขา้ สานักงาน การปิ ดหมายท่ีประตูสานักงาน
ช้นั ล่างจึงชอบแลว้ (ฎีกาท่ี ๓๐๐๔/๒๕๓๒) จาเลยท่ี ๑ มอบอานาจให้ ว. ไปดาเนินการควบคุม
การขายทอดตลาด กรณีเช่นน้ีการส่งคาคู่ความหรือหมายนัดไม่จาเป็ นต้องส่งให้ท้ังสองคน
(ฎีกาที่ ๑๔๒๕/๒๕๓๔)
จาเลยยา้ ยภมู ิลาเนาไปจากภูมิลาเนาเดิมที่ปรากฏในคาฟ้องระหวา่ ง
พิจารณาโดยจาเลยไม่แถลงให้ศาลทราบ การส่งหมายนัดไปยงั ภูมิลาเนาเดิมจึงชอบ (ฎีกาท่ี
๑๖๔๐/๒๕๓๔)
ผูร้ ้องมีชื่อในทะเบียนบ้านเลขที่ ๕๐๗/๒๙๒ แต่ผูร้ ้องยงั ใช้
บา้ นเลขท่ี ๗๗๖/๒๖ ในการขอจดทะเบียนต้งั บริษทั ลูกหน้ีและใชบ้ า้ นเลขที่ดงั กล่าวปฏิเสธหน้ี
ต่อเจา้ พนกั งานพิทกั ษท์ รัพย์ ถือว่าผูร้ ้องเจตนาประสงคใ์ ชบ้ า้ นเลขท่ี ๗๗๖/๒๖ เป็ นภูมิลาเนา
เฉพาะในการจดั ต้งั บริษทั ลูกหน้ีและการปฏิเสธหน้ี (ฎีกาท่ี ๑๕๓๘/๒๕๓๕) จาเลยท่ี ๑ เป็ น
นิติบุคคลประเภทห้างหุน้ ส่วนจากดั มีภูมิลาเนาอยทู่ ่ี ๓๖๔๒ - ๓๖๔๖ จาเลยท่ี ๒ เป็ นหุ้นส่วน
ผูจ้ ดั การย่อมเป็ นผูม้ ีอานาจจัดการแทนหรือแสดงความประสงค์แทน ถือว่าจาเลยที่ ๒
มีหลกั แหล่งท่ีทาการปกติ ณ ภูมิลาเนาของจาเลยที่ ๑ อีกแห่ง การส่งสาเนาคาฟ้องและหมายเรียก
แก่จาเลยท้งั สองยงั ภูมิลาเนาของจาเลยที่ ๑ จึงชอบ (ฎีกาท่ี ๒๕๒๘/๒๕๓๗)
ตวั อย่างคาพพิ ากษาศาลฎกี าท่สี ่งโดยไม่ชอบ
ศาลสง่ั ใหเ้ ลื่อนการอ่านคาพพิ ากษาไป โดยใหป้ ิ ดประกาศแจง้ วนั นดั
ฟังคาพิพากษาให้โจทก์ทราบหน้าศาล เมื่อกาหนดเวลามิได้ล่วงพ้นสิบห้าวนั นับแต่วัน
ปิ ดประกาศ จึงไม่ชอบ (ฎีกาท่ี ๑๐๗๗/๒๕๓๒) การส่งหมายเรียกและสาเนาคาฟ้องใหแ้ ก่จาเลย
ที่ ๒ ไม่ไดเ้ พราะไม่มีผูใ้ ดยอมรับ ศาลช้นั ตน้ อนุญาตให้ลงโฆษณาทางหนังสือพิมพจ์ ึงไม่ชอบ
(ฎีกาที่ ๑๙๒๕/๒๕๓๒) การส่งหมายแจ้งวนั นัดอ่านคาพิพากษาต้องส่งไปยงั ภูมิลาเนาของ
จาเลยที่ ๔ ศาลช้นั ตน้ ให้ปิ ดประกาศแจง้ วนั นัดหน้าศาลจึงไม่ชอบ (ฎีกาที่ ๒๓๗๙ - ๒๓๘๐/
๒๕๓๒)
ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๒
ทนายโจทก์ได้ย้ายไปจากภูมิลาเนาเดิมแล้วก่อนวันนัดอ่าน
คาพิพากษาศาลอุ ท ธ รณ์ กา รส่ ง หมา ย นัดฟั งค า พิพา ก ษา ศา ลอุ ท ธ รณ์ ให้แ ก่ ท นา ย โจ ท ก์ ต า ม
ภมู ิลาเนาเดิมโดยวิธีปิ ดหมาย จึงไมช่ อบ (ฎีกาที่ ๖๐๖๘/๒๕๓๘)
แม้ท่ีอยู่ของจาเลยท้ังสองตามท่ีโจทก์ระบุในคาฟ้องจะเป็ น
ภูมิลาเนาของจาเลยท้งั สองตามหลกั ฐานทางทะเบียน แต่เม่ือโจทก์ทราบดีแลว้ ว่าจาเลยท่ี ๑
ขายกิจการให้ตนและจาเลยที่ ๒ ซ่ึงเป็ นหุ้นส่วนผูจ้ ดั การของจาเลยที่ ๑ ไดไ้ ปพกั อยู่ที่อื่นซ่ึงถือ
ไดว้ ่าเป็ นสานักทาการงานของจาเลยท้งั สองแลว้ การที่โจทก์แถลงขอให้ศาลส่งหมายเรียกและ
สาเนาคาฟ้องใหแ้ ก่จาเลยท้งั สองโดยวิธีการปิ ดหมายตามภูมิลาเนาที่ปรากฏทางทะเบียน ท้งั ๆ ที่
ทราบดีวา่ จาเลยท้งั สองมิไดอ้ ยทู่ ี่บา้ นดงั กลา่ วจึงเป็นการไมช่ อบ (ฎีกาท่ี ๕๘๙๘/๒๕๓๓) โจทก์
ไดย้ ่ืนคาแถลงเท็จต่อศาลขอประกาศทางหนังสือพิมพแ์ ทนการส่งหมายเรียกและสาเนาคาฟ้อง
รวมท้งั วนั นัดสืบพยานโจทก์แก่จาเลย ตลอดจนขอให้ศาลประกาศให้จาเลยทราบคาบงั คบั
ท่ีหนา้ ศาล โดยอา้ งว่าไม่ทราบที่อย่ขู องจาเลย ศาลหลงเชื่อจึงอนุญาตให้ประกาศโฆษณาทาง
หนังสือพิมพซ์ ่ึงไม่ใช่หนงั สือพิมพท์ ี่แพร่หลายในหมู่ประชาชน จาเลยไม่ทราบการให้จาเลยยน่ื
คาใหก้ ารแกค้ ดี การนดั สืบพยานโจทก์และการประกาศคาบงั คบั หากไดค้ วามวา่ เป็ นความจริง
ดงั ท่ีจาเลยอา้ ง การส่งหมายเรียกและสาเนาคาฟ้องรวมท้งั วนั นดั สืบพยานโจทกต์ ลอดจนการส่ง
คาบงั คบั แก่จาเลยกไ็ ม่ชอบดว้ ยกฎหมาย (ฎีกาท่ี ๒๒๓๘/๒๕๓๔)
การส่งหมายนัดโดยวิธีอื่นแทนการส่งหมายเรี ยกแก่จาเลย
โดยวิธีธรรมดาตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๗๙ น้ันตอ้ งเป็ นกรณีที่ไม่สามารถส่งหมายโดยวิธีธรรมดา
ดงั ท่ีบญั ญตั ิไวใ้ นมาตรา ๗๔ ถึง ๗๘ แล้ว ถ้ายงั สามารถส่งโดยวิธีธรรมดาได้ การส่งหมาย
โดยใช้วิธีอื่นตามมาตรา ๗๙ ย่อมเป็ นการไม่ชอบ ดังน้ัน การท่ีศาลช้ันต้นปิ ดประกาศ
แจ้งนัดฟังคาพิพากษาที่หน้าศาล โดยมิได้ดาเนินการส่งหมายโดยวิธีธรรมดาก่อนจะถือว่า
จาเลยทราบวนั นัดฟังคาพิพากษาแล้วยงั ไม่ได้ (ฎีกาที่ ๔๘๒๘/๒๕๓๙) โจทก์ทราบดีว่า
จาเลยที่ ๑ อยทู่ ี่บา้ นเลขที่ ๔๔๔/๔๖ ซ่ึงแมม้ ิใช่ภูมิลาเนาทางทะเบียน แต่ก็ถือว่าเป็ นภูมิลาเนา
ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๓๗ การที่โจทกแ์ ถลงต่อศาลวา่ ไม่ทราบภูมิลาเนา ขอใหศ้ าลส่งหมายเรียก
และสาเนาคาฟ้องแก่จาเลยท่ี ๑ โดยวิธีประกาศทางหนังสือพิมพจ์ ึงไม่ชอบ (ฎีกาท่ี ๖๗๗๗/๒๕๓๙)
ทะเบียนบ้านกลางไม่ถือเป็ นภูมิลาเนาท่ีแท้จริงของคู่ความที่ศาลจะมีคาสั่งให้ปิ ดหมายไม่อาจ
ใชว้ ธิ ีปิ ดหมายได้ (ฎีกาท่ี ๗๖๐๘/๒๕๕๐)
ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๓
๑.๑.๓ การสัง่ ของศาล
๑.๑.๓.๑ เม่ือเจ้าพนักงานเดินหมายรายงานว่า ส่งสาเนาคาฟ้องและ
หมายเรียกแก่จาเลยไม่ได้ ส่ังว่า “รอโจทก์แถลง” หรือ “รอฟังโจทก์” (ถา้ โจทก์ไม่แถลงภายใน
๑๕ วนั นับแต่วนั ส่งไม่ไดถ้ ือว่าโจทก์ทิ้งฟ้องเพราะไม่ปฏิบตั ิตามที่ศาลส่ังไวใ้ นช้นั รับฟ้อง)
แตถ่ า้ เจา้ พนกั งานเดินหมายรายงานวา่ ส่งไดแ้ ลว้ สั่งวา่ “รวม”
๑.๑.๓.๒ในกรณีท่ียงั ส่งสาเนาคาฟ้องและหมายเรียกไม่ได้ เม่ือโจทก์
มาแถลงขอให้ปิ ดหมาย ศาลจะสั่งให้ปิ ดหมายไดต้ ่อเม่ือเห็นว่าจาเลยอยู่ท่ีสถานท่ีซ่ึงเจา้ พนักงาน
เดินหมายไปส่งสาเนาคาฟ้องและหมายเรียกจริง ซ่ึงอาจปรากฏจากรายงานการเดินหมายวา่ จาเลย
ออกไปธุระหรือไปต่างจงั หวดั หรือโจทก์แสดงหลกั ฐานเป็ นท่ีพอใจศาล เช่น ส่งแบบรับรอง
รายการทะเบียนราษฎรของจาเลย (ซ่ึงไม่ควรเกิน ๑ เดือน) กรณีเช่นน้ี สั่งวา่ “ให้โจทก์นาส่งใหม่
ภายใน . . . วนั ถ้าไม่พบหรือไม่มผี ู้รับแทนโดยชอบให้ปิ ดหมาย”
แต่ถา้ ตามรายงานการเดินหมายไม่อาจทราบไดว้ ่า จาเลยจะอยูใ่ น
สถานที่ดงั กล่าวหรือไม่ เช่น พบบา้ นปิ ด ไม่มีผใู้ ดอยู่ หรือมีผแู้ จง้ วา่ จาเลยยา้ ยไปแลว้ ถา้ โจทก์
แถลงยืนยนั ขอให้ปิ ดหมายโดยมิไดแ้ สดงหลักฐาน ส่ังว่า “ให้โจทก์คัดสาเนาแบบรับรอง
รายการทะเบยี นราษฎร (หรือหนงั สือรับรองนิติบคุ คล) ดังกล่าวเสนอศาลภายใน . . . วนั ”
ถา้ เจา้ พนกั งานเดินหมายรายงานวา่ หาบา้ นเลขที่หรือสานกั ทาการงาน
ตามฟ้องไม่พบ เม่ือโจทก์ยืนยนั ส่ังว่า “ให้โจทก์นาเจ้าพนักงานไปส่ งสาเนาคาฟ้องและ
หมายเรียกให้จาเลยภายใน . . . วัน” หรือสั่งว่า “ให้โจทก์ทาแผนท่ีแสดงภูมิลาเนาของจาเลย
เสนอต่อศาลภายใน . . . วัน”
๑.๑.๓.๓ ถา้ โจทก์มาขอแกท้ ่ีอยตู่ ามฟ้องของจาเลยและมิไดแ้ สดงหลกั ฐาน
ท่ีฟังไดว้ ่า จาเลยมีท่ีอยู่ตามท่ีขอแกใ้ หม่น้ัน เม่ือสั่งอนุญาตให้แกฟ้ ้องแลว้ ส่ังว่า “ส่งโดยวิธี
ธรรมดาก่อน ให้โจทก์นาส่งภายใน . . . วนั ”
๑.๑.๓.๔ กรณี โจทก์แถลงขอให้ประกาศโฆษณาทางหนังสือพิมพ์
ศาลตอ้ งตรวจใหม้ นั่ ใจวา่ ไมอ่ าจส่งหมายเรียกและสาเนาคาฟ้องโดยวธิ ีธรรมดาและวธิ ีอ่ืนที่ดีกวา่
ได้แล้ว เช่น สถานที่ท่ีไปส่งสาเนาคาฟ้องและหมายเรียกได้ร้ือไปแล้ว หรือโจทก์แสดง
หลกั ฐานทางทะเบียนว่าจาเลยยา้ ยออกไปแลว้ และไม่ไดย้ า้ ยเขา้ ณ ที่ใดนานแลว้ หรือไม่พบ
ฐานขอ้ มูลของจาเลย หรือจาเลยมีช่ืออยใู่ นทะเบียนบา้ นกลาง ส่ังว่า “ประกาศทางหนังสือพิมพ์
กาหนดวันให้จาเลยยื่นคาให้การและวันสืบพยานโจทก์ ให้โจทก์นาค่าประกาศมาวางศาลภายใน
๗ วนั หากไม่ปฏิบัติตามถือว่าโจทก์ทิง้ ฟ้อง”
ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๔
(ถา้ วนั นดั สืบพยานโจทก์ตอ้ งเล่ือนไปจากท่ีเคยนัดไวเ้ ดิมตอ้ งแจง้
วนั นดั ใหม่ใหจ้ าเลยคนอื่นทราบดว้ ย)
๑.๑.๓.๕ ถา้ โจทกย์ น่ื คาแถลงขอเวลาสืบหาที่อยขู่ องจาเลย สัง่ วา่ “อนญุ าต
ให้แถลงให้ศาลทราบภายในวนั ท่ี . . . . . . ”
๑.๑.๓.๖ เม่ือจาเลยมีภูมิลาเนาอยใู่ นจงั หวดั อ่ืน โจทกต์ อ้ งยนื่ คาแถลงขอให้
ศาลท่ีรับฟ้องมีหนังสื อขอให้ศาลท่ีจาเลยมีภูมิลาเน าอยู่ในเขตช่ วยส่ งหมายเรี ยกและสาเนา
คาฟ้องให้ ซ่ึงโจทก์จะตอ้ งเสียค่าพาหนะและค่าป่ วยการ ส่ังว่า “มีหนังสือถึงศาลจังหวัด . . .
ช่วยจัดการให้” (กรณีฟ้องจาเลยหลายคนโจทกข์ อใหส้ ่งใหจ้ าเลยคนใด คาสง่ั ศาลควรระบุใหช้ ดั เจน)
เม่ือศาลท่ีทาแทนส่งผลคืนมา ถา้ ส่งได้ ส่งั วา่ “รวม” ถา้ ส่งไมไ่ ด้
สง่ั วา่ “รอโจทก์แถลง”
กรณีเจา้ พนกั งานศาลที่ทาแทนรายงานวา่ หาบา้ นไม่พบและโจทก์
ยืนยันว่าจาเลยมีภูมิลาเนาอยู่ ณ ที่น้ัน สั่งว่า “ให้ โจทก์ไปนาส่ งเองหรื อทาแผนท่ีส่ งศาล
ภายใน . . . วนั ”
ถ้าศาลท่ีทาแทนแจ้งมาว่าค่าพาหนะท่ีส่งไปน้ันยงั ขาดอยู่อีก
. . . . .บาท ใหส้ ง่ั โจทกเ์ สียเงินจานวนดงั กล่าวภายใน . . . วนั แลว้ ใหจ้ ดั ส่งไปใหศ้ าลท่ีทาแทน
ข้อสังเกต
การส่ งคาคู่ความหรื อเอกสารให้แก่ พระบรมวงศานุ วงศ์หรื อบุคคลใด
ซ่ึงพานกั อยใู่ นพระบรมมหาราชวงั ตอ้ งดาเนินการตามระเบียบกระทรวงยตุ ิธรรม ว่าดว้ ยการส่ง
คาคู่ความ เอกสารและสานวนความ พ.ศ. ๒๕๒๒ ขอ้ ๑๔
๑.๒ กรณีท่ีจาเลยไม่มภี ูมลิ าเนาในราชอาณาจักร
๑.๒.๑ ตามมาตรา ๘๓ ทวิ หลกั ทว่ั ไปคือโจทก์ต้องส่งหมายเรียกและสาเนา
คาฟ้องท่ีต้งั ต้นคดีแก่จาเลย ณ ภูมิลาเนาหรือสานักทาการงานของจาเลยนอกราชอาณาจักร
โดยมีขอ้ ยกเวน้ ใหส้ ่งภายในราชอาณาจกั รได้ ๒ ประการคือ
๑.๒.๑.๑ ถ้าจาเลยประกอบกิจการในราชอาณาจักรหรือมีตัวแทนใน
ราชอาณาจกั รให้ส่ง ณ สถานท่ีท่ีจาเลยหรือตวั แทนใชป้ ระกอบกิจการหรือถ่ินท่ีอยขู่ องตวั แทน
อน่ึง ในกรณีส่งให้ตวั แทนของจาเลย ให้สั่งว่า “ส่งแก่ . . . . . ตัวแทนของจาเลย” โดยใน
หมายเรียกตอ้ งระบดุ ว้ ยวา่ หมายถึง “ . . .ตวั แทนของ . . .”
๑.๒.๑.๒ เมื่อโจทกแ์ ละจาเลยตกลงกนั ไวเ้ ป็นหนงั สือ
ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๕
๑.๒.๒ มาตรา ๘๓ จตั วา กาหนดวิธีการ เงื่อนไข และส่ิงท่ีโจทก์จะตอ้ งปฏิบตั ิ
ในการส่ง เช่น ตอ้ งยนื่ คาร้องภายในเจ็ดวนั นบั แตย่ น่ื คาฟ้อง ตอ้ งทาคาแปล วางเงินค่าใชจ้ ่าย
๑.๒.๓ การส่งมีผลเม่ือใดเป็ นไปตามมาตรา ๘๓ เบญจ หรื อมาตรา ๘๓ ฉ
แลว้ แตก่ รณี
๑.๒.๓.๑ ถ้าเป็ นการส่งแก่จาเลยนอกราชอาณาจักรและส่งได้โดยวิธี
ธรรมดา มีผลใช้ไดเ้ ม่ือพน้ กาหนดเวลา ๖๐ วนั แต่ถ้าส่งโดยวิธีอื่นแทนจะมีผลต่อเม่ือพน้
กาหนดเวลา ๗๕ วนั (มาตรา ๘๓ เบญจ) ดงั น้นั การส่งโดยวิธีธรรมดาจาเลยมีสิทธิยนื่ คาให้การ
ภายใน ๗๕ วนั ถา้ ส่งโดยวธิ ีอ่ืนยน่ื คาใหก้ ารไดภ้ ายใน ๙๐ วนั
๑.๒.๓.๒ ถา้ เป็ นการส่งแก่จาเลยหรือตวั แทนในราชอาณาจกั รมีผลใชไ้ ด้
เม่ือพน้ กาหนดเวลา ๓๐ วนั (มาตรา ๘๓ ฉ วรรคแรก) ดังน้ัน หากส่งได้โดยวิธีธรรมดา
จาเลยมีสิทธิยน่ื คาใหก้ ารไดภ้ ายใน ๔๕ วนั ถา้ ส่งไดโ้ ดยวิธีอ่ืนยน่ื คาใหก้ ารไดภ้ ายใน ๖๐ วนั
๑.๒.๔ มาตรา ๘๓ จตั วา และมาตรา ๘๓ สตั ต กาหนดหนา้ ท่ีและวิธีปฏิบตั ิของศาล
ในการดาเนินการซ่ึงในกรณีที่ไม่มีขอ้ ตกลงระหว่างประเทศที่ประเทศไทยเป็ นภาคีกาหนดไว้
เป็ นอยา่ งอื่น ให้ศาลดาเนินการส่งโดยทางไปรษณียด์ ่วนพิเศษระหว่างประเทศหรือผูป้ ระกอบ
กิจการรับส่งพสั ดุภณั ฑร์ ะหว่างประเทศหรือโดยผ่านสานกั งานศาลยุติธรรมและกระทรวงการ
ต่างประเทศ ตามขอ้ กาหนดของประธานศาลฎีกาว่าดว้ ยการส่งหมายเรียกและคาฟ้องต้งั ตน้ คดี
แก่จาเลย ณ ภมู ิลาเนาหรือสานกั ทาการงานของจาเลยนอกราชอาณาจกั ร พ.ศ.๒๕๕๘
๑.๒.๕ มาตรา ๘๓ อฎั ฐ กาหนดทางแกใ้ นการส่งเมื่อไม่สามารถส่งโดยวิธีปกติได้
หมายเหตุ การส่งคาคู่ความและเอกสารอื่นนอกจากคาฟ้องต้งั ต้นคดีมีหลักการ
บญั ญตั ิอยใู่ นมาตรา ๘๓ ตรี และ ๘๓ ฉ วรรคสองและวรรคสาม
๒. การคืนหมายเรียกและสาเนาคาฟ้อง
๒.๑ ถา้ ปรากฏจากคาแถลงของบุคคลภายนอกว่า ได้รับหมายเรียกและสาเนาคาฟ้อง
แทนจาเลยโดยไม่รู้ความจริงวา่ จาเลยไปต่างจงั หวดั หลายวนั แลว้ จึงขอส่งหมายเรียกและสาเนา
คาฟ้องคืนศาล
ส่ังว่า “ตามรายงานการเดินหมาย ปรากฏว่าเจ้าพนักงานส่งหมายเรียกและสาเนา
คาฟ้องให้แก่นาย . . .ซ่ึงมีอายเุ กิน ๒๐ ปี และอย่ใู นบ้านของจาเลยเป็นการถูกต้องตามกฎหมาย
แล้ว ไม่รับคืน” (แต่คาแถลง หมายเรียก และสาเนาคาฟ้องคงติดอยใู่ นสานวน) ในกรณีปิ ดหมาย
กส็ ง่ั เช่นเดียวกนั
ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๖
ข้อสังเกต
ถา้ บุคคลท่ีอยใู่ นบา้ นจาเลยเป็ นคูค่ วามฝ่ ายปรปักษ์ คือเป็ นโจทกแ์ ละโจทกร์ ับไว้
แทนเช่นน้ี ถือวา่ การส่งหมายเรียกและสาเนาคาฟ้องไมช่ อบดว้ ยกฎหมายตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๗๖
วรรคสอง ตอ้ งส่งั แกไ้ ขใหถ้ กู ตอ้ งโดยสัง่ วา่ “รับคืน หมายนดั ให้โจทก์มานาส่งใหม่ภายใน . . . วัน”
๒.๒ ถา้ ปรากฏจากคาแถลงของจาเลยวา่ คดีน้ีมีจาเลย ๒ คน ส่งหมายใหจ้ าเลยไดค้ นเดียว
และจาเลยคนที่รับหมายเรียกไวอ้ ยู่บ้านเดียวกับจาเลยท่ีไม่ได้รับหมายซ่ึงมีอายุเกิน ๒๐ ปี
รับหมายไวแ้ ทน ต่อมาจาเลยคนท่ีรับหมายแทนขอส่งหมายเรียกและสาเนาคาฟ้องคืนต่อศาล
และขอให้ถือว่าจาเลยอีกคนหน่ึงยงั ไม่ไดร้ ับ ศาลไม่ยอมรับคืนเพราะถือว่าไดส้ ่งหมายให้จาเลย
ท้งั สองโดยชอบแลว้ (หากจาเลยคนที่ยงั ไม่ไดร้ ับหมายดงั กล่าว ไม่ไดย้ ่ืนคาให้การก็ตอ้ งถือว่า
จาเลยน้นั ขาดนดั ยน่ื คาใหก้ ารตามมาตรา ๑๙๗)
ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๗
บทท่ี ๖
คู่ความมรณะ
กรณีคู่ความมรณะในคดีท่ีคา้ งพิจารณาอยใู่ นศาล ทายาทของผูม้ รณะหรือผูจ้ ดั การมรดก
หรือผปู้ กครองทรัพยม์ รดก อาจมีคาขอเขา้ มาเองหรือศาลมีหมายเรียกใหเ้ ขา้ มาเป็นคู่ความแทนท่ี
ผูม้ รณะเนื่องจากคู่ความฝ่ ายใดฝ่ ายหน่ึงมีคาขอฝ่ ายเดียว คาขอตามมาตรา ๔๒ จะตอ้ งทาเป็ น
คาร้องตามระเบียบราชการฝ่ายตุลาการ ฉบบั ท่ี ๓
การเขา้ เป็นคูค่ วามแทนที่คูค่ วามผมู้ รณะน้นั แมจ้ ะร้องขอเขา้ มาเม่ือเกินกาหนด ๑ ปี นบั แต่
วนั ท่ีคู่ความฝ่ ายน้นั มรณะตามมาตรา ๔๒ ประกอบดว้ ยมาตรา ๑๓๒ (๓) แต่ก็อยใู่ นอานาจของ
ศาลที่จะใชด้ ุลพนิ ิจสง่ั จาหน่ายคดีหรือไมก่ ไ็ ด้ (คาส่งั คาร้องศาลฎีกาท่ี ๓๒/๒๕๑๖ ประชุมใหญ่)
กรณีตามมาตรา ๔๒ น้ี ตอ้ งเป็นคดีที่ฟ้องร้องเกี่ยวกบั ทรัพยส์ ินหรือสิทธิเก่ียวกบั ทรัพยส์ ิน
ซ่ึงทายาทอาจรับมรดกความได้ แต่ถา้ สิทธิตามฟ้องน้นั ตามกฎหมายหรือโดยสภาพเป็ นสิทธิ
เฉพาะตวั ของผตู้ ายตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๖๐๐ เมื่อคู่ความตาย สิทธิน้นั ก็ยอ่ มส้ินสุดระงบั ไปดว้ ย
ไม่ตกทอดไปยงั ทายาท ทายาทจะรับมรดกความไม่ได้ (ฎีกาท่ี ๙๖/๒๕๑๖)
ในกรณีท่ีจาเลยมรณะก่อนฟ้อง ศาลตอ้ งพิพากษายกฟ้องจะสั่งเรียกทายาทของจาเลย
เขา้ มาเป็นคู่ความแทนหาไดไ้ ม่ เพราะไม่ใช่กรณีคู่ความมรณะในระหวา่ งคดีคา้ งพิจารณาอยูใ่ น
ศาลตามมาตรา ๔๒ ถา้ จาเลยบางคนมรณะก่อนฟ้อง ให้ศาลส่ังจาหน่ายคดีเฉพาะจาเลยคนน้นั
ไดท้ นั ที โดยไมจ่ าตอ้ งรอสั่งในคาพพิ ากษา
การที่คู่ความมรณะอนั จะเกิดผลต่อคดี ตอ้ งเป็ นการมรณะท่ีปรากฏต่อศาลแลว้ ถา้ ไม่
ปรากฏต่อศาล ศาลดาเนินกระบวนพิจารณาไปอย่างไรย่อมไม่ถือว่าเป็ นการพิจารณาที่ผิด
ระเบียบ แมศ้ าลจะมีคาพิพากษาโดยได้อ่านคาพิพากษาไปแลว้ คาพิพากษาน้ันก็ชอบด้วย
กฎหมายไมว่ า่ เป็นคาพิพากษาของศาลช้นั ตน้ ศาลอทุ ธรณ์ หรือศาลฎีกา (ฎีกาที่ ๔๓๗๖/๒๕๔๐,
๘๙๘๙/๒๕๔๗)
๑. กรณมี ีผู้ร้องขอเป็ นคู่ความแทนทผี่ ู้มรณะ
ส่ังคาร้องวา่ “นัดไต่สวนคาร้อง หมายส่งสาเนาให้ (โจทก์หรือจาเลย) ตามขอ้ บงั คบั วา่ ดว้ ย
การส่งคาคู่ความและเอกสารทางคดี พ.ศ. ๒๕๔๕ หากจะคัดค้านประการใดให้แถลงภายใน ๑๕ วัน
นับแต่ได้รับหมายนัด ให้ผู้ร้ องวางเงินค่าใช้จ่ายในการจัดส่งภายในวันทาการถัดไป มิฉะน้ัน
ถือว่าทิ้งคาร้ อง นัดไต่สวนวันท่ี . . . เวลา . . . ” กรณีผูร้ ้องย่ืนคาแถลงขอให้เจา้ พนกั งานศาล
เป็นผูส้ ่ง สั่งวา่ “นัดไต่สวนคาร้ อง หมายส่งสาเนาให้(โจทก์หรือจาเลย) หากจะคัดค้านประการใด
ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๘
ให้แถลงภายใน ๑๕ วนั นบั แต่ได้รับหมายนัด ให้ผู้ร้องนาส่งภายใน ๕ วัน ส่งไม่ได้ให้แถลงภายใน
๗ วัน นับแต่วันส่งไม่ได้ มิฉะนนั้ ถือว่าทิง้ คาร้อง . . .”
ถึงวนั นดั ไต่สวน ถา้ คู่ความอีกฝ่ ายไม่คดั คา้ น และไม่มีบุคคลนอกคดีย่นื คาร้องขอเขา้ เป็น
คู่ความแทนท่ีผูม้ รณะเขา้ มาอีก เมื่อมีหลกั ฐานพอเช่ือไดว้ ่าผูร้ ้องมีสิทธิเขา้ เป็ นคู่ความแทนท่ี
ผมู้ รณะกม็ ีคาสง่ั อนุญาตใหผ้ รู้ ้องเขา้ เป็นคูค่ วามแทนที่ผมู้ รณะแลว้ ดาเนินการพิจารณาตอ่ ไป
ถา้ มีการคดั คา้ นก็ให้ศาลไต่สวนตามท่ีเห็นสมควรเพื่อทราบว่า ผูร้ ้องมีสิทธิเขา้ เป็ นคู่ความ
แทนที่ผมู้ รณะหรือไม่ ถา้ ไมม่ ีสิทธิกย็ กคาร้อง ถา้ มีสิทธิกม็ ีคาส่งั อนุญาตแลว้ ดาเนินการต่อไป
๒. กรณคี ู่ความฝ่ ายใดฝ่ ายหน่ึงร้องขอให้เรียกบุคคลภายนอกมาเป็ นคู่ความแทนท่ีผู้มรณะ
สัง่ คาร้องวา่
“นัดพร้ อมเพื่อฟังคู่ความ หมายเรียก . . . . .มาศาลโดยส่งตามข้อบังคับว่าด้วยการส่ง
คาคู่ความและเอกสารทางคดี พ.ศ. ๒๕๔๕ หากจะคัดค้านประการใดให้แถลงภายใน ๑๕ วัน
นับแต่ได้รับหมายเรียก ให้โจทก์ (หรือจาเลย)วางเงินค่าใช้จ่ายในการจัดส่งภายในวันทาการ
ถัดไป มิฉะน้ันถือว่าทิ้งคาร้ อง นัดพร้ อมวันท่ี . . . . . เวลา . . .น.” กรณีโจทก์ (หรือจาเลย)
ยื่นคาแถลงขอให้เจา้ พนักงานศาลเป็ นผสู้ ่ง สั่งว่า “นัดพร้ อมเพ่ือฟังคู่ความ หมายเรียก . . . . . .
มาศาล หากจะคัดค้านประการใดให้แถลงภายใน ๑๕ วัน นับแต่ได้รับหมายเรียก ให้โจทก์
(หรือจาเลย) นาส่งภายใน ๕ วัน ส่งไม่ได้ให้แถลงภายใน ๗ วนั นบั แต่วนั ส่งไม่ได้ มิฉะนัน้ ถือว่า
ทิง้ คาร้อง . . .” (กรณีบุคคลภายนอกมีหลกั ฐานแสดงภมู ิลาเนาแน่นอน กใ็ หส้ ั่งปิ ดหมายเรียก)
ถึงวนั นดั ที่ศาลหมายเรียกบุคคลภายนอกมาศาล ถา้ บุคคลภายนอกน้ันยอมเขา้ เป็ นคู่ความ
แทนท่ีโดยไม่คดั คา้ นประการใด และไม่มีบุคคลนอกคดีย่ืนคาร้องขอเขา้ เป็ นคู่ความแทนท่ี
ผูม้ รณะเขา้ มาอีก เม่ือเป็ นท่ีเช่ือไดว้ ่าบุคคลภายนอกน้ันมีสิทธิเขา้ เป็ นคู่ความแทนที่ผูม้ รณะ
ก็มีคาสง่ั อนุญาตใหบ้ ุคคลน้นั เขา้ เป็นคูค่ วามแทนที่ผมู้ รณะแลว้ ดาเนินการพจิ ารณาตอ่ ไป
ถา้ มีการคดั คา้ นกใ็ หศ้ าลไต่สวนตามที่เห็นสมควร เพ่อื ทราบวา่ บุคคลภายนอกน้นั เป็นผทู้ ่ีมี
สิทธิเขา้ เป็ นคู่ความแทนที่ผมู้ รณะหรือไม่ ถา้ ไม่มีสิทธิก็ยกคาร้อง และใหเ้ ล่ือนการพิจารณาไป
จนกวา่ จะมีผเู้ ขา้ เป็ นคูค่ วามแทนท่ีผมู้ รณะ ถา้ ปรากฏวา่ บุคคลภายนอกน้นั มีสิทธิเขา้ เป็นคู่ความ
แทนที่ผมู้ รณะก็มีคาส่งั อนุญาตใหบ้ คุ คลน้นั เขา้ เป็นคูค่ วามแทนที่ผมู้ รณะแลว้ ดาเนินการพิจารณา
ตอ่ ไป
๓. กรณีคู่ความมรณะในคดที อี่ ยู่ในระหว่างการพจิ ารณาของศาลอุทธรณ์และศาลฎีกา
(ใหด้ ูหมวด ๓ ส่วนที่ ๓ การเขา้ เป็นคูค่ วามแทนท่ีผมู้ รณะช้นั อุทธรณ์หรือฎีกา)
ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๙
๔. ข้อสังเกตเกยี่ วกบั คู่ความมรณะ
๔.๑ คดีเรื่องแต่งต้งั หรือถอดถอนผูจ้ ัดการมรดก หรือถอดถอนผูพ้ ิทกั ษ์ เมื่อผูจ้ ัดการ
มรดกหรือโจทก์ถึงแก่กรรม ไม่เป็ นคดีท่ีจะรับมรดกความได้ (ฎีกาท่ี ๑๓๑/๒๕๐๖, คาส่ังคาร้อง
ศาลฎีกาที่ ๘๑๙/๒๕๑๖, ๒๑๐๒/ ๒๕๑๗)
๔.๒ การเข้าเป็ นคู่ความแทนท่ีผู้มรณะย่อมเข้ามาเป็ นคู่ความแทนท่ีท้ังคดี ฉะน้ัน
ผปู้ กครองทรัพยม์ รดกอนั เป็นทรัพยท์ ี่พิพาทเฉพาะบางส่วนไม่ใช่ท้งั หมดไม่อาจเขา้ เป็ นคู่ความ
แทนท่ีคู่ความฝ่ ายท่ีมรณะได้ (คาส่งั คาร้องศาลฎีกาท่ี ๒๖๐/๒๕๑๒)
๔.๓ กรณีท่ีมีกฎหมายจากดั สิทธิการฟ้องร้องของบคุ คลไว้ เช่น บิดาฟ้องมารดาเป็นจาเลย
ระหวา่ งพิจารณาบิดาตาย บุตรขอรับมรดกความแทนบิดาไม่ได้ เพราะว่าอยใู่ นฐานะเป็นผฟู้ ้อง
บพุ การี (ฎีกาท่ี ๑๕๕๑/๒๔๙๔)
๔.๔ การขอเขา้ เป็ นคู่ความแทนเจา้ หน้ีตามคาพิพากษาซ่ึงคดีถึงที่สุดแลว้ ในช้นั บงั คบั คดี
เพื่อบงั คบั คดีเป็ นไปตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๕๙๙ มิใช่เป็ นการรับมรดกความตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๔๒
(ฎีกาที่ ๓๔๗/๒๕๐๓, ๓๐๓๔/๒๕๓๑) และกรณีคู่ความตายในช้ันบงั คบั คดีก็สามารถส่ง
คาบงั คบั ให้แก่คู่สมรสหรือทายาทของผูต้ ายไดเ้ ช่นกนั เพราะไม่ใช่คดีคา้ งพิจารณาตามมาตรา ๔๒
(ฎีกาที่ ๓๓๔/๒๕๑๓) แต่อย่างไรก็ตาม หากมีการโตแ้ ยง้ ในช้ันบงั คบั คดีซ่ึงจะตอ้ งพิจารณา
ขอ้ โตแ้ ยง้ หากคู่ความฝ่ ายใดถึงแก่ความตาย โจทก์ย่ืนคาร้องต่อศาลช้นั ตน้ ขอให้แกค้ าบงั คบั
ศาลช้ันต้นยกคาร้อง โจทก์อุทธรณ์คาสั่ง ศาลอุทธรณ์พิพากษากลบั ทนายจาเลยฎีกา ดังน้ี
เมื่อศาลช้นั ตน้ รับอุทธรณ์โจทก์ไวย้ อ่ มทาใหค้ ดีกลบั มีกรณีจะตอ้ งต้งั ตน้ พิจารณาในช้นั อุทธรณ์
ใหม่ในระหวา่ งโจทก์จาเลย เมื่อจาเลยตายไปแลว้ ทนายจาเลยย่อมหมดสภาพเป็ นทนายจาเลย
ในการพิจารณาคดีช้นั อทุ ธรณ์ ตอ้ งใหม้ ีผเู้ ขา้ เป็นคูค่ วามแทนเสียก่อน (ฎีกาท่ี ๑๙๙๕/๒๕๒๔)
๔.๕ เมื่อคู่ความมรณะระหว่างที่คดีคา้ งพิจารณาอยใู่ นศาลอุทธรณ์เป็ นเวลาเกินกว่า ๑ ปี
แต่ศาลอุทธรณ์มิไดส้ ่ังจาหน่ายคดี จนกระบวนพิจารณาไดผ้ ่านจากช้นั อุทธรณ์มาเป็ นกระบวน
พิจารณาช้นั ศาลฎีกา โดยศาลช้นั ตน้ ส่ังให้ทายาทของผมู้ รณะเขา้ มาเป็ นคูค่ วามแทนที่และสั่งรับ
ฎีกาแลว้ ยอ่ มมิใช่กรณีที่คู่ความฝ่ ายใดฝ่ ายหน่ึงมรณะในระหวา่ งที่คดีคา้ งพิจารณาอยใู่ นศาลฎีกา
ศาลฎีกาจะสั่งจาหน่ายคดีมิได้ (ฎีกาท่ี ๓๕๗/ ๒๕๑๖ ประชุมใหญ่) ถ้ามีการขอขยายระยะเวลา
อุทธรณ์และขอเขา้ เป็ นคู่ความแทนที่ผมู้ รณะ ศาลช้นั ตน้ จะตอ้ งไต่สวนคาร้องขอเขา้ เป็ นคู่ความแทน
และมีคาสงั่ ตาม ป.ว.ิ พ. มาตรา ๔๒, ๔๓ ก่อน จะสั่งอนุญาตใหข้ ยายระยะเวลาอุทธรณ์ไปก่อนมี
คาส่งั อนุญาตใหเ้ ขา้ เป็นคู่ความแทนที่ไมไ่ ด้ (ฎีกาท่ี ๒๙๑/๒๕๔๐)
ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๔๐
๔.๖ ผูท้ ี่เข้ามาแทนที่คู่ความฝ่ ายที่มรณะตามมาตรา ๔๒ น้ี ไม่มีผลเป็ นคู่ความตาม
มาตรา ๕๗ ศาลจะพิพากษาให้ผูน้ ้ันรับผิดหรือชาระหน้ีไม่ได้ ต้องพิพากษาให้คู่ความเดิม
ท่ีมรณะน้ันรับผิดต่อไปเพราะผูท้ ่ีเขา้ มาน้ันเพียงแต่ดาเนินกระบวนพิจารณาต่อไปแทนคู่ความ
ท่ีมรณะเท่าน้นั (ฎีกาท่ี ๖๑/๒๕๓๐, ๓๕๐๘/๒๕๔๕)
๔.๗ การขอเขา้ เป็ นคู่ความแทนท่ี หมายถึงคู่ความมรณะในคดีอยใู่ นระหว่างการพิจารณา
ของศาลช้ันต้น ศาลอุทธรณ์ ศาลฎีกา รวมท้งั ช่วงระยะเวลาท่ีศาลช้ันต้นหรือศาลอุทธรณ์
พิพากษาคดีไปแลว้ จนกวา่ คู่ความอุทธรณ์หรือฎีกาหรือคดีถึงที่สุดโดยไม่อุทธรณ์หรือฎีกา เช่น
โจทกถ์ ึงแก่ความตายภายหลงั วนั อ่านคาพิพากษาศาลอุทธรณ์ แต่ยงั ไม่พน้ กาหนดเวลาย่ืนฎีกา
และคดีสามารถฎีกาได้ คดีจึงไม่ถึงที่สุด ตามมาตรา ๑๔๗ วรรคสอง ผูร้ ้องจึงมีสิทธิขอเขา้ เป็น
คูค่ วามแทนท่ีผมู้ รณะได้ (ฎีกาที่ ๑๕๗๕/๒๕๓๘)
๔.๘ คดีอยู่ในระหว่างพิจารณาของศาลใดศาลน้ันเป็ นผูส้ ่ัง (ฎีกาที่ ๕๗๗๖/ ๒๕๓๔)
แต่ในกรณีท่ีศาลช้ันต้นส่ังรับอุทธรณ์หรือฎีกาแล้ว แมย้ งั ไม่ส่งสานวนไปศาลอุทธรณ์หรือ
ศาลฎีกา ก็ถือวา่ คดีอยใู่ นระหวา่ งการพิจารณาของศาลอุทธรณ์หรือศาลฎีกาแลว้ ศาลช้นั ตน้ ไม่มี
อานาจส่งั (ฎีกาท่ี ๕๘๕๒/๒๕๓๗, ๒๒๒๘/๒๕๔๒)
๔.๙ คาส่ังศาลช้ันต้นท่ีอนุญาตให้ผู้ร้องเข้าเป็ นคู่ความแทนท่ีผู้มรณะน้ันเป็ นคาส่ัง
ระหวา่ งพิจารณา (ฎีกาที่ ๔๖๗๐/๒๕๒๙) ในศาลอุทธรณ์กเ็ ช่นเดียวกนั (ฎีกาที่ ๔๐๕๓/๒๕๓๓)
กรณีไม่อนุญาตใหผ้ ูร้ ้องเขา้ เป็ นคู่ความแทนที่ผูม้ รณะไม่เป็ นคาส่ังระหว่างพิจารณา
(ฎีกาที่ ๑๔๒๓/๒๕๓๖)
๔.๑๐กรณีผูแ้ ทนนิติบุคคลจาเลยตายในระหว่างพิจารณาคดี ไม่อยูใ่ นบงั คบั มาตรา ๔๒
เพราะนิติบคุ คลน้นั ยงั มีอยู่ (ฎีกาที่ ๘๐๙/๒๔๘๗)
ตวั อย่าง
โจทก์ยื่นคาร้องว่า ผูแ้ ทนจาเลยถึงแก่กรรมระหว่างพิจารณาคดีถือว่าห้างหุ้นส่วน
เลิกกนั แลว้ ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๐๕๕ แต่เนื่องจากยงั ไม่มีการจดทะเบียนเลิก และยงั ไม่มีการ
ชาระบญั ชี จึงถือวา่ หา้ งจาเลยยงั คงต้งั อยตู่ ามมาตรา ๑๒๔๙ และตามนยั แห่งมาตรา ๑๒๕๑ ศาล
มีอานาจต้งั ผชู้ าระบญั ชี เพ่ือใหม้ ีสิทธิดาเนินการต่อไปตามมาตรา ๑๒๕๙ ได้ ดงั น้นั จึงขอใหศ้ าล
คาส่ังต้งั นาย . . . . . . ซ่ึงเป็ นหุ้นส่วนอีกคนหน่ึงเป็ นผูช้ าระบญั ชีของห้างจาเลย แลว้ ส่ังให้
ผชู้ าระบญั ชีเป็นผดู้ าเนินการแทนจาเลยในการดาเนินคดีตอ่ ไปตามมาตรา ๕๖
ส่ังคาร้องว่า “ส่งสาเนาให้จาเลย สั่งในรายงานกระบวนพิจารณา” และจดรายงาน
กระบวนพิจารณาวา่
ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๔๑
“นัดพร้อมวันนี.้ . . . มาศาล
ศาลสอบทนายจาเลยแล้ว ทนายจาเลยแถลงว่า หุ้นส่วนคนอ่ืนของจาเลยไม่ได้ติดต่อ
กับทนายจาเลย ทนายจาเลยจึงไม่ทราบว่าจะมใี ครขอเข้ามาเป็นคู่ความ
วันนี้โจทก์ย่ืนคาร้ องขอให้ ต้ังผู้ชาระบัญชีตามนัยแห่ ง ป.พ.พ. มาตรา ๑๒๕๑
ศาลส่ งสาเนาให้ จาเลยแล้ว
ศาลสอบทนายจาเลย ทนายจาเลยแถลงว่า นาย . . . ซึ่งเป็ นหุ้นส่ วนอีกคนหน่ึง
ไม่เคยตกลงว่าจ้างทนายจาเลย ไม่เคยติดต่อกับทนายจาเลย ทนายจาเลยจึงไม่มอี านาจใด ๆ ที่จะ
ดาเนินการเรื่ องนี้
ศาลพิจารณาคาร้องของโจทก์แล้ว เห็นว่า ผู้มีส่วนได้เสียตามนัยแห่งมาตรา ๑๒๕๑
ป.พ.พ. หมายถึง ผู้มีส่วนได้เสียของห้างหุ้นส่วนฯท่ีเลิกกัน ผู้ร้องเป็นโจทก์ในคดีนี้ มีฐานะเป็น
คู่ความกับจาเลย จึงไม่ใช่ผู้มีส่วนได้เสียตามมาตรา ๑๒๕๑ จะมาย่ืนคาร้ องขอให้ศาลต้ังผู้ชาระ
บัญชีของจาเลยหาได้ไม่ กรณีไม่ต้องด้วยมาตรา ๑๒๕๑ จึงมีคาสั่งให้ยกคาร้ อง (คาร้องที่ย่ืน
ต้งั แตว่ นั ท่ี ๑๑ พฤษภาคม ๒๕๕๑ ไมต่ อ้ งเสียค่าคาร้อง จึงไมต่ อ้ งสัง่ วา่ ค่าคาร้องเป็นพบั )
ห้างหุ้นส่วนสามัญย่อมเลิกกันเมื่อผู้เป็ นหุ้นส่วนคนใดคนหนึ่งตายตาม ป.พ.พ.
มาตรา ๑๐๕๕ แต่แม้จะได้เลิกกันแล้ว มาตรา ๑๒๔๙ ก็ให้ ถือว่ายังคงตั้งอยู่ตราบเท่าเวลา
ท่ีจาเป็ นเพ่ือการชาระบัญชี ฉะนั้น ฐานะบุคคลของจาเลยในคดีนีจ้ ึงยังคงมีอยู่ และการดาเนิน
กระบวนพิจารณาคดีของจาเลยก็ดาเนินต่อไปได้ จึงมีคาส่ังให้ นัดสืบพยานจาเลยต่อไปใน
วันที่ . . . เวลา . . .”
๔.๑๑ ถ้าทายาทของผูม้ รณะมีหลายคน คู่ความจะขอเรียกทายาทคนใดคนหน่ึงหรือ
หลายคนของผูม้ รณะเขา้ มาเป็ นคู่ความแทนก็ได้ แมท้ ายาทคนน้ันจะเป็ นผูเ้ ยาวก์ ็ตาม ถา้ ทายาท
คนน้ันเป็ นผูเ้ ยาว์ก็ต้องแก้ไขขอ้ บกพร่องความสามารถตามมาตรา ๕๖ ก่อน (คาสั่งคาร้อง
ศาลฎีกาท่ี ท. ๙๒๕/๒๕๔๙)
๔.๑๒ โจทก์ฟ้องจาเลยท้งั สามในฐานะเป็ นกรรมการของบริษทั จาเลยที่ ๑ และในฐานะ
ผูถ้ ือหุน้ ของจาเลยท่ี ๑ อีกดว้ ย เม่ือโจทก์มรณะ ผูร้ ้องซ่ึงเป็ นทายาทของโจทก์ยอ่ มมีสิทธิท่ีจะได้
กรรมสิทธ์ิในหุ้นของโจทก์และตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๑๙๕ บญั ญตั ิให้ผูถ้ ือหุ้นฟ้องขอให้ศาล
เพิกถอนมติท่ีประชุมของบริษทั ได้ กรณีจึงไม่ใช่โจทกฟ์ ้องอนั มีลกั ษณะเป็ นคุณสมบตั ิเฉพาะตวั
ของโจทก์ ผรู้ ้องจึงมีสิทธิเขา้ มาเป็นคูค่ วามแทนได้ (ฎีกาท่ี ๗๗๐๐/๒๕๔๙)
ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๔๒
บทท่ี ๗
การทงิ้ ฟ้อง
การทิง้ ฟ้อง ตาม ป.ว.ิ พ. มาตรา ๑๗๔
๑. ถา้ ปรากฏจากรายงานเจา้ หน้าท่ีว่า นับต้งั แต่วนั ย่ืนฟ้องจนถึงบดั น้ีเกิน ๗ วนั แลว้
โจทก์เพิกเฉยไม่มาร้องขอต่อเจา้ หน้าท่ีเพ่ือให้ส่งหมายเรียกให้แกค้ ดีแก่จาเลย จึงรายงานมายงั ศาล
เพือ่ ขอใหม้ ีคาสั่ง
ส่ังวา่ “ถือว่าโจทก์ทิง้ ฟ้องตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๑๗๔ ให้จาหน่ายคดีเสียจากสารบบความ
ค่าขึน้ ศาลไม่ถึง ๒๐๐ บาท จึงไม่คืนให้หรือคืนค่าขึน้ ศาล (บางส่วน) . . . บาท แก่โจทก์ ” (มาตรา
๑๗๔ (๑) ประกอบดว้ ยมาตรา ๑๓๒ (๑) และมาตรา ๑๕๑ วรรคสาม)
๒. ถา้ ปรากฏจากรายงานเจา้ หนา้ ท่ีวา่ นบั แตโ่ จทกน์ าส่งหมายเรียกและสาเนาคาฟ้องแก่
จาเลยไม่ได้ จนบดั น้ีเกิน ๑๕ วนั ตามที่ศาลกาหนดใหโ้ จทกแ์ ถลง แต่โจทกไ์ มแ่ ถลงวา่ จะจดั การ
อยา่ งใด จึงรายงานมาขอใหศ้ าลมีคาสง่ั
สง่ั วา่ “ถือว่าโจทก์ทิง้ ฟ้องตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๑๗๔ ให้จาหน่ายคดีเสียจากสารบบความ
ค่าขึน้ ศาลไม่ถึง ๒๐๐ บาท จึงไม่คืนให้ หรือคืนค่าขึ้นศาล (บางส่วน) . . . . . บาท แก่โจทก์”
(มาตรา ๑๗๔ (๒) ประกอบดว้ ยมาตรา ๑๓๒ (๑) และมาตรา ๑๕๑ วรรคสาม)
ศาลช้นั ตน้ ส่ังคาฟ้องของโจทก์ในวนั เดียวกบั ท่ีโจทก์ย่ืนคาฟ้องว่า ให้โจทก์นาส่ง
หมายเรียกและสาเนาคาฟ้อง ถา้ ส่งไมไ่ ดใ้ หแ้ ถลงภายใน ๗ วนั นบั แต่วนั ส่งไม่ได้ มิฉะน้นั ใหถ้ ือ
ว่าทิ้งฟ้อง ท้งั ในคาขอทา้ ยฟ้องมีขอ้ ความดว้ ยว่า โจทกร์ อฟังคาสั่งอยู่ ถา้ ไม่รอถือวา่ ทราบแลว้
ดงั น้ี ถือว่าโจทก์ทราบคาสั่งศาลดงั กล่าวต้งั แต่วนั ยื่นคาฟ้องแลว้ ไม่จาเป็ นท่ีศาลตอ้ งส่งคาสั่ง
ศาลให้โจทก์ทราบอีก และไม่จาเป็ นท่ีศาลจะตอ้ งแจง้ ผลการส่งหมายให้โจทก์ทราบ (ฎีกาท่ี
๑๔๘/๒๕๓๒)
๓. การทิ้งฟ้องตามมาตรา ๑๗๔(๒) มีใช้มาก เพราะกรณีใดก็ตามในระหว่างการ
ดาเนินคดีถา้ ศาลมีคาสั่งให้โจทก์ทาอะไรภายในกาหนดเวลาแลว้ โจทก์ไม่ทาภายในกาหนดเวลา
ดงั กล่าวถือเป็นการทิ้งฟ้องตามมาตรา ๑๗๔ (๒) ได้
ศาลช้ันตน้ สืบพยานโจทก์จาเลยเสร็จแลว้ ได้ส่ังนัดพร้อมเพื่อสอบถาม ให้โจทก์
เสนอพยานหลกั ฐานต่อศาลว่า นายหุยซิว แซ่คู จาเลย เป็ นชายหรือหญิงมีตวั ตนอยู่ ณ ภูมิลาเนา
ตามฟ้องหรือไม่ภายในกาหนด คาสั่งดังกล่าวเป็ นการดาเนินกระบวนพิจารณาอย่างหน่ึง
เมื่อโจทก์ทราบคาส่ังแลว้ เพิกเฉยไม่ปฏิบตั ิตามภายในกาหนด จึงเป็ นการทิ้งฟ้องตามมาตรา
ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๔๓
๑๗๔ (๒)(ฎีกาที่ ๒๓๗๗/๒๕๓๑) ศาลช้ันต้นส่ังให้จาเลยนาส่งสาเนาคาร้องขอให้ไต่สวน
คาร้องขออุทธรณ์โดยขอยกเวน้ ค่าธรรมเนียมให้โจทก์ภายใน ๗ วนั มิฉะน้ันถือว่าทิ้งคาร้อง
จาเลยมิไดน้ าส่งถือว่าทิ้งคาร้อง ตามมาตรา๑๗๔(๒) (ฎีกาท่ี ๙๐๖/๒๕๓๑, ๔๖๙/๒๕๓๑, ๕๕๑๖/
๒๕๓๔, ๒๘๑๖/๒๕๓๙, ๒๘๓๘/๒๕๓๙)
ศาลช้นั ตน้ ส่ังคาร้องอุทธรณ์คาส่ังไม่รับอุทธรณ์ของจาเลยว่า ให้จาเลยนาค่าฤชา
ธรรมเนียมตาม ป.วิ.พ. มาวางศาลภายในกาหนด ๗ วนั ย่อมหมายถึงให้นาค่าฤชาธรรมเนียม
ท้งั ปวงมาวางศาล และนาเงินมาชาระตามคาพิพากษาหรือหาประกนั ใหไ้ วต้ ่อศาลตามที่บญั ญตั ิ
ไวใ้ นมาตรา ๒๓๔ วนั ครบกาหนดจาเลยคงนาแต่ค่าฤชาธรรมเนียมท่ีใชแ้ ทนโจทกม์ าวางศาล
เทา่ น้นั ถือวา่ ทิ้งคาร้องอุทธรณ์คาสง่ั ตามมาตรา ๑๗๔ (๒) (ฎีกาท่ี ๖๑๐๙/๒๕๓๑)
๔. ในกรณีที่โจทกท์ ิ้งฟ้องจาเลยบางคนให้ศาลสั่งจาหน่ายคดีเฉพาะจาเลยที่โจทกท์ ิ้งฟ้อง
ส่ังว่า “โจทก์เพิกเฉย ไม่แถลงภูมิลาเนาของจาเลยที่ . . . . .ต่อศาลภายในกาหนด
ถือว่าโจทก์ทิง้ ฟ้องจาเลยท่ี . . .ให้จาหน่ายคดเี ฉพาะจาเลยที่ . . .จากสารบบความ”
ให้บนั ทึกที่หน้าสานวนว่า “โจทก์ทิ้งฟ้องจาเลยท่ี . . . ตามคาสั่งศาลลงวันท่ี . . .”
และลงลายมือช่ือผูพ้ ิพากษากากับไวโ้ ดยไม่ต้องลงลายมือช่ือผูพ้ ิพากษาที่หน้าสานวนและ
ไมล่ งเลขคดีแดง
๕. การทิ้งฟ้อง ตามมาตรา ๑๗๔ (๑) ไม่นาไปใชใ้ นช้นั อุทธรณ์หรือฎีกาเพราะไม่มีการ
ออกหมายเรียกให้อีกฝ่ ายยื่นคาแกอ้ ุทธรณ์หรือแกฎ้ ีกา มีแต่ส่งสาเนาอุทธรณ์หรือฎีกาใหเ้ ทา่ น้นั
(ฎีกาที่ ๗๘๙/๒๔๙๘) แต่ถา้ ศาลกาหนดเวลาใหผ้ ยู้ นื่ อุทธรณ์หรือฎีกานาส่งหมายนดั และสาเนา
อุทธรณ์หรือฎีกาให้อีกฝ่ ายหน่ึงแลว้ หากเพิกเฉยไม่ว่าเพราะป่ วยหรือหลงลืม หรือใช้ผูอ้ ่ืน
ใหท้ าแทนแลว้ ไม่ทา ถือวา่ เป็นการทิ้งฟ้องตามมาตรา ๑๗๔ (๒) (ฎีกาท่ี ๑๗๘/๒๕๐๕, ๑๒๓๒/
๒๕๑๔, ๕๗๑/๒๕๑๖)
แต่ถ้าศาลสั่งรับอุทธรณ์โดยให้โจทก์นาส่งหมายนัดและสาเนาอุทธรณ์ แต่มิได้
กาหนดเวลาให้โจทก์นาส่ง เมื่อโจทก์มิไดน้ าส่งจะถือว่าโจทก์ทิ้งฟ้อง ตามมาตรา ๑๗๔ (๒)
หาไดไ้ ม่ (ฎีกาท่ี ๖๕๕๑/๒๕๓๔) หรือกรณีส่งหมายขา้ มเขต ศาลจะตอ้ งแจง้ ผลการส่งหมายให้
โจทก์หรือผูอ้ ุทธรณ์ทราบก่อน ถา้ ไม่ไดแ้ จง้ แมโ้ จทก์หรือผอู้ ุทธรณ์จะไม่แถลงภายในกาหนด
ก็จะถือว่าโจทก์ทิ้งฟ้องหรือผูอ้ ุทธรณ์ทิ้งอุทธรณ์ไม่ได้ (ฎีกาท่ี ๒๐๒๘/๒๕๓๗, ๕๓๙๗/๒๕๔๐,
๒๗๑๒/๒๕๔๑)
ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๔๔
๖. เม่ือทิ้งฟ้องช้ันศาลใด ศาลน้ันเป็ นผูม้ ีอานาจสั่งจาหน่ายคดี เช่น เม่ือศาลช้ันตน้
รับอุทธรณ์แลว้ ถือว่าคดีอยูใ่ นอานาจของศาลอุทธรณ์ การท่ีจะสั่งว่าผูอ้ ุทธรณ์ทิ้งฟ้องอุทธรณ์
ตอ้ งใหศ้ าลอุทธรณ์เป็นผสู้ ัง่ (ฎีกาที่ ๕๔๗๕/๒๕๔๓)
๗. การจาหน่ายคดีเป็นดุลพินิจของศาล คือ แมจ้ ะทิง้ ฟ้องแลว้ ตามกฎหมาย ศาลอาจจะ
ไม่สั่งจาหน่ายคดี แต่กลบั ให้เวลาโจทก์ต่อไปอีกก็ได้ หรืออาจจะช้ีขาดคดีไปตามมาตรา ๑๓๓
ก็ได้ (ฎีกาท่ี ๑๖๖๙/๒๔๙๓, ๒๒๒๓/๒๕๓๐) แต่ถา้ ศาลมีคาสั่งให้จาหน่ายคดีไปแลว้ จะกลบั
ใหเ้ วลาแก่โจทกอ์ ีกไม่ได้
ศาลช้นั ตน้ สั่งจาหน่ายคดีเพราะโจทก์ทิ้งฟ้องไปแลว้ เมื่อโจทก์มาย่ืนคาร้องแสดง
เหตุอนั สมควร ศาลช้นั ตน้ มีอานาจไต่สวนคาร้องเพื่อทราบขอ้ เทจ็ จริง และมีอานาจสั่งเพกิ ถอน
คาส่ังที่ว่าโจทก์ทิ้งฟ้องและให้จาหน่ายคดีจากสารบบความน้ันเสียได้ตามมาตรา ๒๗ และ
ขยายเวลาใหโ้ จทกต์ ามมาตรา ๒๓ (ฎีกาท่ี ๑๒๘๘/๒๕๓๒ ประชุมใหญ่)
๘. การท่ีโจทก์ไม่ไปศาลในวนั ช้ีสองสถาน (หรือไม่ตามประเด็นหรือไม่ไปในการ
เดินเผชิญสืบ) ไม่ถือวา่ ทิง้ ฟ้องตามมาตรา ๑๗๔ (๒) (ฎีกาท่ี ๑๒๕๗/๒๕๑๔)
๙. คาฟ้องหมายความรวมถึงฟ้องแยง้ ฟ้องอทุ ธรณ์ ฟ้องฎีกา คาร้องขอใหป้ ล่อยทรัพย์
คาร้องสอดเป็นคูค่ วามฝ่ ายที่ ๓ และคาร้องขอในคดีไม่มีขอ้ พพิ าท จึงมีการทิ้งฟ้องได้ เช่นเดียวกนั
ผรู้ ้องยน่ื คาร้องขอตอ่ ศาลใหป้ ลอ่ ยทรัพยท์ ่ียดึ ไว้ และศาลสัง่ ใหผ้ รู้ ้องชาระค่าข้ึนศาล
เพ่ิมภายใน ๑๕ วนั เม่ือผูร้ ้องไม่เสียค่าข้ึนศาลเพิ่มภายในเวลาที่ศาลกาหนด จึงเป็ นการทิ้งฟ้อง
(ฎีกาท่ี ๑๗๖/๒๕๓๐) จาเลยยนื่ ฎีกา แต่ไมน่ าส่งสาเนาฎีกาแก่โจทกผ์ ซู้ ้ือทรัพยแ์ ละเจา้ พนกั งาน
บงั คบั คดีภายในกาหนด ถือวา่ เป็นการทิ้งฎีกาตามมาตรา ๑๗๔ (๒) (ฎีกาที่ ๘๑๖/๒๕๓๗)
ผลของการทงิ้ ฟ้อง
๑. ผลของการทิ้งฟ้องยอ่ มลบลา้ งผลแห่งการยน่ื คาฟ้องน้นั โจทกฟ์ ้องเป็นคดีใหม่ไดต้ าม
ป.วิ.พ. มาตรา ๑๗๖ ไม่เป็ นฟ้องซ้อน ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๑๗๓ วรรคสอง (๑) และไม่เป็ น
ฟ้องซ้าตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๑๔๘ อายุความไม่สะดุดหยุดลงตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๙๓/๑๗
ประกอบมาตรา ๑๙๓/๑๔ (๒)
๒. การท่ีโจทกท์ ิ้งฟ้องและศาลสั่งจาหน่ายคดีของโจทกจ์ ากสารบบความไม่มีผลกระทบ
ต่อฟ้องแยง้ ของจาเลย ฟ้องแยง้ ไม่ตกไปด้วย ศาลดาเนินคดีในส่วนของฟ้องแยง้ ต่อไปได้
(ฎีกาท่ี ๖๘๖๖/๒๕๓๗, ๓๔๖๐/๒๕๔๑
ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๔๕
บทที่ ๘
การถอนฟ้อง
การถอนฟ้องเป็ นสิทธิของโจทก์ ถา้ คดีมีโจทก์หลายคน โจทก์แต่ละคนจะถอนฟ้องได้
เฉพาะคาฟ้องส่วนของตนเทา่ น้นั กรณีนิติบคุ คลเป็นโจทก์ ผแู้ ทนนิติบุคคลมีอานาจถอนฟ้องได้
เมื่อโจทก์มีคาขอถอนฟ้อง ไม่ว่าจะทาเป็ นคาบอกกล่าวหรือคาร้อง ให้ตรวจในคาขอว่า
เป็ นลายมือชื่อโจทก์หรือไม่ หากเป็ นลายมือชื่อผูร้ ับมอบอานาจโจทก์ หรือทนายความโจทก์
ตอ้ งตรวจหนงั สือมอบอานาจหรือใบแต่งทนายความ วา่ ไดใ้ หอ้ านาจบคุ คลดงั กล่าวถอนฟ้องดว้ ย
๑. การถอนฟ้องก่อนจาเลยยื่นคาให้การ
โจทก์ตอ้ งทาเป็ นคาบอกกล่าว สั่งวา่ “อนุญาตให้โจทก์ถอนฟ้องได้ จาหน่ายคดีเสียจาก
สารบบความ คืนค่าขึน้ ศาลให้โจทก์ . . . บาท” แลว้ บนั ทึกหนา้ สานวนพร้อมกบั ลงลายมือช่ือ
ผพู้ ิพากษาผสู้ ง่ั ท่ีหนา้ สานวน และนาไปลงเลขคดีแดง
กรณีคดีที่มีจาเลยหลายคน โจทก์ยื่นคาบอกกล่าวขอถอนฟ้องจาเลยบางคน ส่ังว่า
“อนญุ าตให้โจทก์ถอนฟ้องจาเลยที่ . . .ได้ จาหน่ายคดจี าเลยที่ . . . เสียจากสารบบความ”
กรณีจาเลยหลายคนเป็ นหน้ีร่วมกนั ไม่ตอ้ งส่ังคืนค่าข้ึนศาล แต่ใหบ้ นั ทึกท่ีหนา้ สานวนว่า
“โจทก์ได้ถอนฟ้องจาเลยที่ . . .ศาลมีคาส่ังอนุญาตลงวันท่ี . . . ” และลงลายมือชื่อผู้พิพากษา
กากับไว้โดยไม่ต้องลงลายมือชื่อผ้พู ิพากษาที่หน้าสานวน และไม่ลงเลขคดีแดง
ข้อสังเกต
๑. คดีที่มีจาเลยเกินกว่า ๑ คน โจทก์ยื่นคาบอกกล่าวขอถอนฟ้องจาเลยไม่หมด
ทุกคน ไม่จาตอ้ งถามจาเลยคนอ่ืนท่ีไม่ได้ขอถอนฟ้อง ไม่ว่าจาเลยอื่นน้ันจะยื่นคาให้การหรือไม่
ก็ตามจาหน่ายคดีเฉพาะตัว กรณี น้ียังไม่ลงเลขคดีแดง (เที ยบฎี กา ที่ ๓ ๖๗๘/ ๒๕๒๘ ,
๖๓๓๓/๒๕๓๘, ๔๗๖๙/๒๕๔๐)
๒. การฟ้องขอให้เพิกถอนการฉ้อฉลตาม ป.พ.พ. มาตรา ๒๓๗ โจทก์จะตอ้ ง
ฟ้องคู่กรณีท้งั สองฝ่ ายท่ีทานิติกรรมดงั กล่าว ศาลจึงจะบงั คบั ตามคาขอของโจทก์ได้ เพราะผล
ของคาพิพากษาไม่อาจบงั คบั แก่บุคคลนอกคดีได้ การที่โจทก์ฟ้องจาเลยท้งั สองแลว้ ศาลอุทธรณ์
ภาค ๗ ส่ังจาหน่ายคดีสาหรับจาเลยที่ ๑ ออกเสียจากสารบบความของศาลอุทธรณ์ภาค ๗ มีผล
ให้จาเลยที่ ๑ พน้ จากการที่ตอ้ งถูกบงั คบั ตามคาพิพากษา ศาลฎีกาไม่อาจพิจารณาพิพากษา
ตามคาขอของโจทก์เพราะจะมีผลกระทบไปถึงจาเลยที่ ๑ ซ่ึงเป็ นบุคคลภายนอกได้ (ฎีกาที่
๒๗๓๘/๒๕๕๐ )
ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๔๖
๒. การถอนฟ้องหลงั จาเลยย่ืนคาให้การ
๒.๑ โจทก์ตอ้ งทาเป็ นคาร้อง และศาลตอ้ งสอบถามจาเลยและผู้ร้องสอด (ถา้ มี) ก่อน
(มาตรา ๑๗๕ วรรคสอง (๑)) โจทก์ย่ืนคาร้องขอถอนฟ้องก่อนวนั นัดช้ีสองสถานหรือวนั นัด
สืบพยานโจทก์ ส่ังคาร้องว่า “สาเนาให้จาเลย รอสอบและสั่งในวันนัด” กรณีโจทก์ยื่นคาร้อง
ขอถอนฟ้องในวนั นัดช้ีสองสถาน หรือวนั นัดสืบพยานโจทก์ ส่ังคาร้องว่า “สาเนาให้จาเลย
สั่งในรายงานกระบวนพิจารณา”
จดรายงานกระบวนพจิ ารณาดงั น้ี
“วันนี้นัดชี้สองสถาน(หรื อนัดสืบพยานโจทก์) ทนายโจทก์และทนายจาเลย
มาศาล ทนายโจทก์ย่ืนคาร้องขอถอนฟ้องจาเลย ปรากฏตามคาร้องฉบับลงวันที่วันนี้ (หรือฉบับ
ลงวันท่ี . . . ) ทนายจาเลยได้รั บสาเนาคาร้ องแล้วแถลงไม่คัดค้านจึงอนุญาตให้ โจทก์
ถอนฟ้องได้ ให้จาหน่ายคดเี สียจากสารบบความ คืนค่าขึน้ ศาลให้โจทก์ . . . . . บาท”
ข้อสังเกต
๑. แมจ้ าเลยจะคดั คา้ นการที่โจทก์ขอถอนฟ้อง ศาลก็ใชด้ ุลพินิจอนุญาตให้ถอนฟ้องได้
(ฎีกาท่ี ๑๒๖/๒๕๑๑, ๑๘๕๒/๒๕๒๓, ๔๐๐๓/๒๕๒๙, ๖๘๗๕/๒๕๔๑)
๒. กรณีจาเลยยนื่ คาใหก้ ารแลว้ แตข่ าดนดั พิจารณาและโจทกย์ นื่ คาร้องขอถอนฟ้อง
ศาลไมต่ อ้ งสอบถามจาเลยก่อนเพราะเป็นขอ้ ยกเวน้ ตามมาตรา ๒๑ (๒)
๒.๒ คาร้องขอถอนฟ้องท่ีจาเลยไม่คดั คา้ นหรือโจทกจ์ าเลยมีขอ้ ตกลงหรือประนีประนอม
ยอมความกนั แลว้ ยนื่ คาร้องร่วมกนั ขอถอนฟ้อง
สั่งวา่ “อนญุ าตให้โจทก์ถอนฟ้องได้ จาหน่ายคดีเสียจากสารบบความ คืนค่าขึน้ ศาล
ให้โจทก์ . . . . . บาท ” ถา้ โจทก์เสียมา ๒๐๐ บาท สั่งว่า “โจทก์เสียค่าขึน้ ศาลในอัตราขัน้ ตา่
อย่แู ล้ว จึงไม่คืนให้”
๒.๓ การขอถอนฟ้องโดยมีขอ้ ตกลงหรือประนีประนอมยอมความ ตามมาตรา ๑๗๕
วรรคสอง (๒) ให้ศาลส่ังอนุญาตโดยมิตอ้ งฟังจาเลยหรือผูร้ ้องสอด (ถา้ ศาลสงสัยว่าจะไม่ได้
มีการตกลงประนีประนอมยอมความกนั จริง ศาลตอ้ งสอบถามจาเลยก่อน)
ผลของการถอนฟ้องคดี (มาตรา ๑๗๖)
ผลของการถอนฟ้องย่อมลบล้างผลแห่งการยื่นคาฟ้องน้ัน โจทก์อาจย่ืนฟ้องคดี
เรื่องน้นั ใหม่ไดภ้ ายในอายคุ วามคดีเรื่องน้นั เวน้ แต่กรณีโจทก์ถอนฟ้องโดยแถลงวา่ จะไม่ฟ้อง
จาเลยอีก (ฎีกาท่ี ๒๐๐๒/๒๕๑๑) หรือถอนฟ้องเพราะจาเลยยอมสาบานตามคาท้า อย่างน้ี
ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๔๗
โจทกฟ์ ้องใหม่อีกไม่ได้ (ฎีกาท่ี ๒๒๔๐/๒๕๑๕) แต่ถา้ ในคดีก่อนโจทก์ยื่นคาร้องวา่ โจทกไ์ ม่มี
ความประสงคจ์ ะดาเนินคดีแก่จาเลยท้งั สองอีกต่อไป ก็มีความหมายเพียงวา่ โจทกไ์ ม่ประสงค์
จะดาเนินคดีแก่จาเลยท้งั สองสาหรับคดีน้ันเท่าน้ัน หาอาจแปลไปว่าโจทก์จะไม่ฟ้องคดีใหม่
แก่จาเลยท้ังสองอีกไม่ การถอนฟ้องในคดีก่อนไม่ทาให้อานาจฟ้องของโจทก์หมดไป
(ฎีกาท่ี ๒๓๑๙/๒๕๔๓)
๓. การไม่อนุญาตให้ถอนฟ้อง
การท่ีจะอนุญาตให้โจทกถ์ อนฟ้องหรือไม่ มาตรา ๑๗๕ วรรคสอง กาหนดใหเ้ ป็นดุลพินิจ
ของศาลโดยพิจารณาจากความสุจริตในการดาเนินคดีของโจทก์ (ฎีกาท่ี ๓๙๖๒/๒๕๓๕)
และผลไดผ้ ลเสียของคู่ความทุกฝ่ าย (ฎีกาท่ี ๒๔๒๐/๒๕๔๓) ปรากฏว่านอกจากฟ้องคดีน้ีแลว้
โจทก์ยงั ย่ืนคาร้องขอให้ห้ามจาเลยและเจา้ พนกั งานที่ดินทานิติกรรมใด ๆ เก่ียวกบั ท่ีดินพิพาท
และ ศาลไดไ้ ตส่ วนคาร้องดงั กลา่ วเสร็จส้ินแลว้ เมื่อโจทกข์ อถอนฟ้องโดยใหเ้ หตุผลวา่ ประสงค์
ที่จะย่นื ฟ้องจาเลยที่ ๑ ใหม่ จึงอาจทาใหจ้ าเลยที่ ๑ เสียหาย ศาลช้นั ตน้ ใชด้ ุลพินิจส่ังไม่อนุญาต
ให้โจทก์ถอนฟ้องชอบแลว้ (ฎีกาท่ี ๖๐๓๕/๒๕๓๔) โจทก์บกพร่องในการดาเนินคดีท่ีไม่ได้
ยน่ื บญั ชีระบุพยาน ศาลช้นั ตน้ จึงมีคาส่งั วา่ โจทกไ์ ม่มีสิทธินาพยานเขา้ สืบ ใหง้ ดสืบพยาน และ
เลื่อนไปนดั ฟังคาพิพากษา กรณีเช่นน้ีโจทก์รู้ดีว่าจะตอ้ งแพค้ ดี การที่โจทกถ์ อนฟ้องเพื่อนาคดี
มาฟ้องใหมจ่ ึงมิไดเ้ ป็นไปโดยสุจริตและทาใหจ้ าเลยเสียเปรียบ (ฎีกาที่ ๓๙๖๒/๒๕๓๕)
๔. การขอถอนฟ้องหลงั จากศาลช้ันต้นมีคาพพิ ากษาแล้ว
เม่ือศาลช้นั ตน้ มีคาพิพากษาแลว้ โจทกจ์ ะขอถอนฟ้องไมไ่ ด้
หลงั จากศาลช้ันต้นมีคาพิพากษาแล้วและมีการขอถอนฟ้อง ถ้ายงั ไม่สั่งรับอุทธรณ์
หรือฎีกา แลว้ แต่กรณี ให้ส่ังว่า “ศาลช้ันต้นมีคาพิพากษาแล้ว จึงให้ยกคาร้ อง” หากมีการรับ
อุทธรณ์หรือฎีกาแล้วให้ศาลช้ันต้นส่ังว่า “ให้ ส่ งคาร้ องไปยังศาลอุทธรณ์ (หรื อศาลฎีกา)
เพ่ือพิจารณาสั่ง”
๕. การขอถอนฟ้องอทุ ธรณ์หรือฎีกา
ผูอ้ ุทธรณ์หรือฎีกาย่ืนคาร้องขอถอนอุทธรณ์หรือฎีกา สั่งคาร้องว่า “สาเนาให้อีกฝ่ าย
จะคัดค้านประการใดให้ยื่นคาแถลงภายใน . . .วัน นับแต่วันได้รับสาเนาคาร้อง มิฉะน้ันถือว่า
ไม่คัดค้าน ให้ผู้อุทธรณ์หรือฎีกานาส่งโดยให้วางเงินค่าส่ งหมายอย่างช้าภายในวันทาการถดั ไป
หากส่งไม่ได้ ให้ผู้อุทธรณ์หรือฎีกาแถลงเพ่ือดาเนินการต่อไปภายใน ๑๕ วัน นับแต่วันส่ง
ไม่ได้ มิฉะนน้ั ถือว่าทิง้ คาร้อง”
ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๔๘
ข้อสังเกต
๑. การขอถอนฟ้องน้ัน โจทก์ต้องกระทาก่อนท่ีศาลช้ันต้นจะมีคาพิพากษา
จะขอถอนฟ้องขณะคดีอยู่ในระหว่างพิจารณาของศาลฎีกาไม่ได้ แต่ตามคาร้องของโจทก์ท่ีว่า
จาเลยไดช้ าระหน้ีภายนอกให้แก่โจทกเ์ ป็ นท่ีถูกตอ้ งและพอใจของโจทกแ์ ลว้ โจทก์ไม่ประสงค์
จะดาเนินคดีกับจาเลยท้ังสองอีกต่อไป จึงขอถอนฟ้องจาเลยท้งั สองน้ัน แสดงว่า โจทก์ไม่
ประสงค์ที่จะให้ศาลฎีกาพิจารณาพิพากษาคดีน้ีต่อไป ดงั น้นั แมโ้ จทก์จะใชถ้ อ้ ยคาในคาร้องว่า
“ขอถอนฟ้อง” ก็ตาม ก็พอแปลความหมายไดว้ ่า โจทก์ขอถอนฟ้องฎีกานั่นเอง จึงอนุญาตให้
โจทก์ถอนฟ้องฎีกาได้ (คาส่ังคาร้องศาลฎีกาท่ี ๘๕๑/๒๕๔๙, ๑๔๗๘/๒๕๒๙, ๗๘๖/๒๕๑๙,
และ ๑๘๗๗/๒๕๕๑)
๒. โจทกจ์ ะถอนฟ้องเดิมในช้นั ฎีกาไม่ได้ และแมจ้ ะแปลวา่ โจทกถ์ อนฟ้องเท่ากบั
โจทกป์ ระสงคจ์ ะถอนฎีกา แตโ่ จทกไ์ ม่ไดฎ้ ีกาจึงไม่มีคาฟ้องในช้นั ฎีกาท่ีจะถอนได้ ใหย้ กคาร้อง
(คาส่งั คาร้องศาลฎีกาที่ ๑๑๑๘/๒๕๓๓ และ ๓๓๙/๒๕๓๒)
เมื่อพ้นเวลากาหนดให้ผู้รับสาเนาคาร้องคัดค้านแล้ว ไม่ว่าจะมีคาคัดค้าน
หรือไม่ก็ตาม ส่ังว่า “รวบรวมถ้อยคาสานวนส่งศาลอุทธรณ์ (หรือศาลฎีกา)” การอนุญาตให้
ถอนอุทธรณ์ (หรือฎีกา) เป็นอานาจของศาลอุทธรณ์ (หรือศาลฎีกา) ที่จะพิจารณาส่งั แลว้ แต่กรณี
ข้อสังเกต
๑. โจทก์ถอนฟ้องอุทธรณ์เมื่อจาเลยยื่นคาแกอ้ ุทธรณ์แลว้ จะตอ้ งฟังจาเลยก่อน
(ฎีกาที่ ๔๑๗/๒๕๑๓)
๒. กรณีที่อีกฝ่ ายไม่แกอ้ ุทธรณ์หรือฎีกาก็ไม่ตอ้ งส่งสาเนาคาร้องใหค้ ดั คา้ น
แต่ส่ังใหส้ ่งสานวนและคาร้องไปยงั ศาลอทุ ธรณ์หรือศาลฎีกาเพอื่ ส่งั ไดท้ นั ที
๓. ถ้าขอถอนอุทธรณ์หรือฎีกา เมื่อศาลอุทธรณ์หรือศาลฎีกาส่งคาพิพากษา
มาให้อ่านก็ตอ้ งสั่งงดอ่านคาพิพากษาดว้ ย ถา้ มีการอ่านคาพิพากษาศาลอุทธรณ์หรือศาลฎีกา
โดยยงั มิไดส้ ง่ั คาร้องขอถอนอุทธรณ์หรือฎีกาเป็นการไม่ชอบ (ฎีกาที่ ๕๓๗/๒๕๓๒)
ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๔๙
ส่วนท่ี ๒
ช้ันจาเลยยื่นคาให้การ
บทที่ ๑
การโอนคดไี ปยงั ศาลอื่น
๑. การขอโอนคดี
๑.๑ ก่อนยน่ื คาใหก้ าร จาเลยยนื่ คาร้องขอโอนคดีหรือจาเลยย่ืนคาใหก้ ารพร้อมกบั คาร้อง
ขอโอนคดีไปยงั ศาลอื่นท่ีมีเขตอานาจซ่ึงตอ้ งเป็นศาลใดศาลหน่ึง ตามมาตรา ๓ ถึงมาตรา ๕ และ
มาตรา ๗ อ้างว่าการพิจารณาคดีในศาลน้ีจักไม่ไดร้ ับความสะดวกหรือจาเลยอาจไม่ได้รับ
ความยตุ ิธรรม ตามมาตรา ๖
คาร้องน้ีตอ้ งยนื่ ขอต่อศาลท่ีรับฟ้องโจทก์
สั่งคาร้องว่า “สาเนาให้โจทก์ นัดไต่สวน” ส่วนในคาให้การจาเลย สั่งว่า “รับคาให้ การ
สาเนาให้โจทก์” ศาลจะไตส่ วนหรือไมเ่ ป็นการใชด้ ุลพนิ ิจตามมาตรา ๒๑ (๔) ถา้ เห็นวา่ คาร้อง
ไม่เขา้ หลกั เกณฑต์ ามมาตรา ๖ ใหย้ กคาร้องโดยไมต่ อ้ งไต่สวน
๑.๒ จาเลยหรือโจทก์ขอโอนคดีไปรวมการพิจารณาท่ีศาลอ่ืน ตามมาตรา ๒๘ วรรคสอง
ส่ังวา่ “สาเนาให้อีกฝ่ าย สั่งในรายงานกระบวนพิจารณา”
การอนุญาตให้โอนคดีตาม ๑.๑ หรือ ๑.๒ ศาลจะส่ังโอนคดีทนั ทีไม่ได้ ต้องมี
หนังสือสอบถามไปยงั ศาลท่ีจะรับโอนก่อน ถ้าศาลท่ีจะรับโอนไม่ยินยอมก็สั่งโอนไม่ได้
ในกรณีเช่นน้ีศาลท่ีตอ้ งการให้โอนคดีก็ตอ้ งส่งเร่ืองให้ประธานศาลอุทธรณ์ เพื่อให้ประธาน
ศาลอทุ ธรณ์ช้ีขาดวา่ จะใหโ้ อนคดีหรือไม่
ข้อสังเกต
๑. จาเลยท่ีขาดนัดยื่นคาให้การมีสิทธิขอโอนคดีได้โดยถือว่าตราบใดท่ีจาเลย
ยงั ไม่ยื่นคาให้การอาจเรียกได้ว่า “ก่อนยื่นคาให้ การ” อยู่นั่นเอง (ฎีกาที่ ๑๕๘๗/ ๒๕๑๔
ประชุมใหญ)่
๒.การโอนคดีตามมาตรา ๖ ใชก้ บั คดีมโนสาเร่ดว้ ย
๓. ในระหว่างโอนคดีหากยงั ไม่พ้นเวลาย่ืนคาให้การ จาเลยต้องไปย่ืนคาให้การ
ตอ่ ศาลที่รับโอน หรือต่อศาลท่ีโจทกย์ น่ื ฟ้องก็ได้
ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๕๐
๔. การส่ังเรื่ องการโอนคดีเป็ นอานาจของประธานศาลอุทธรณ์โดยเฉพาะ
ประธานศาลอทุ ธรณ์ภาคไมม่ ีอานาจ
๒. รายงานกระบวนพจิ ารณาเกย่ี วกบั การโอนคดีไปรวมการพจิ ารณายงั ศาลอ่ืน
“นดั ไต่สวนวันนี้ โจทก์และจาเลยมาศาล
จาเลยย่ืนคาร้องขอโอนคดีไปรวมการพิจารณาที่ศาล . . . . .ปรากฏตามคาร้อง
โจทก์แถลงว่าคดีนีเ้ ป็นกรณีเดียวกับคดีหมายเลขดาที่ . . . ของศาล . . . . . จริง โดยคดีน้ัน
เจ้าของรถกับคนขับฟ้องจาเลยทั้งสองที่ศาล . . . . . เหตุท่ีโจทก์ฟ้องคดีนีท้ ่ีศาลนีเ้ พราะจาเลยที่ ๑
ต้องขังอยู่ที่เรือนจา . . . . .ในเขตศาลนี้ ที่จาเลยขอโอนคดีไปรวมการพิจารณาโจทก์ไม่ขัดข้อง
แล้วแต่ศาลจะพิจารณาเห็นสมควร
ศาลพิเคราะห์ แล้วเห็นว่า เหตุท้ังสองคดีนี้เป็ นกรณีเดียวกัน จาเลยคนเดียวกัน หากรวม
การพิจารณาจะเป็นการสะดวก ในช้ันนใี้ ห้มหี นังสือสอบถามไปยงั ศาล . . . . . .ก่อนว่าจะยินยอม
รับโอนคดีนีห้ รือไม่ โดยให้ถ่ายสาเนาคาฟ้อง คาให้การ คาร้องขอโอนคดีและรายงานกระบวน
พิจารณาฉบบั นสี้ ่งไปด้วย
ให้นดั พร้อมเพื่อทราบเร่ืองการโอนคดีในวนั ที่ . . . . . เวลา . . . น.”
๓. ศาลท่ีรับโอนคดีส่ังในหนังสือขอโอนคดีทส่ี ่งมาว่า
“พิเคราะห์แล้วเห็นว่า คดีท่ี . . . . . . เป็ นโจทก์ฟ้องนาย . . . . . .กับพวก ตามสานวนคดี
หมายเลขดาท่ี . . . . . . ของศาลนเี้ ป็นกรณีเดยี วกันกับท่ีนาย . . . . . . เป็นโจทก์ฟ้องนาย . . . . . . กบั
พวก ที่ศาล . . . . . . เมื่อศาล . . . (ท่ีจะโอนคดี) อ้างว่า จาเลยขอโอนคดีมาพิจารณาที่ศาลนี้
จะเป็นการสะดวก ศาลนีเ้ ห็นชอบด้วย จึงยินยอมให้โอนมาได้ตามคาขอ มีหนังสือแจ้งให้ศาล
. . . . . ทราบ”
๔. ศาลขอโอนคดไี ด้รับหนงั สือยินยอมรับโอนคดี
“นดั พร้อมเพ่ือทราบเร่ืองการโอนคดวี นั นี้ โจทก์และจาเลยมาศาล
เน่ืองจากศาล . . . . . . . ยินยอมรับโอนสานวนคดีนีไ้ ปพิจารณารวมกับคดีหมายเลขดาท่ี
. . . . . ตามหนงั สือยินยอมฉบบั ลงวนั ท่ี . . . . .
จึงอนุญาตให้โอนสานวนคดีนีไ้ ปพิจารณาที่ศาล . . . . . . . . โดยคู่ความขอนัดพร้ อม
ที่ศาล . . . . . . ในวันที่ . . . . . เวลา . . . ให้จาหน่ายคดนี ีจ้ ากสารบบความ
ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๕๑
ข้อสังเกต
๑. ศาลท่ีขอโอนคดีส่ังจาหน่ายคดีลงเลขคดีแดงแลว้ ส่งสานวนไปโดยให้ทากาก
สานวนเก็บไว้ ส่วนศาลที่รับโอนไดร้ ับสานวนแลว้ ให้ทาปกหน้าสานวนและลงเลขคดีดาของ
ศาลที่รับโอนเพอื่ พจิ ารณาตอ่ ไป
๒. ตามระเบียบคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรม ว่าดว้ ยเงินค่าธรรมเนียมศาล
เงินค่าปรับ และเงินกลาง พ.ศ. ๒๕๕๖ ขอ้ ๑๒ (๒) กาหนดหลกั เกณฑก์ ารจ่ายเงินค่าธรรมเนียม
ศาลให้จ่ายไดใ้ นกรณีที่มีการโอนคดีไปศาลอ่ืนนอกจากศาลยตุ ิธรรมไดด้ ว้ ย ดงั น้นั ศาลท่ีสั่งให้
โอนคดีไปศาลอ่ืนนอกจากศาลยตุ ิธรรม ควรจดรายงานดว้ ยวา่ “และใหโ้ อนเงินค่าธรรมเนียมศาล
ท้งั หมดไปใหศ้ าล....(ศาลอ่ืนนอกจากศาลยตุ ิธรรม).......ดว้ ย”
ศาลท่ีโอนคดีควรกาหนดวนั นดั พร้อมให้ศาลท่ีรับโอนคดี เม่ือโอนสานวนไปแลว้
ศาลท่ีรับโอนคดีจะไดไ้ ม่ตอ้ งหมายแจง้ วนั นดั ให้คู่ความทราบอีก เป็ นการสะดวกและรวดเร็ว
ไม่ทาใหส้ านวนตกหล่น
ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๕๒
บทท่ี ๒
จาเลยขอขยายระยะเวลายื่นคาให้การ
๑. จาเลยขอขยายระยะเวลาย่ืนคาให้การ
สั่งว่า “สาเนาให้ โจทก์ ตามคาร้ องมีพฤติการณ์ พิเศษ อนุญาตให้ ขยายระยะเวลา
ย่ืนคาให้การออกไปถึงวันท่ี . . . .” หากวนั สุดทา้ ยท่ีครบกาหนดยืน่ คาให้การเป็ นวนั หยดุ ทาการ
จาเลยมีสิทธิย่ืนคาร้องในวนั ที่เร่ิมทางานใหม่ต่อจากวนั หยุดทาการน้ันได้ แต่เมื่อศาลมีคาสั่ง
ขยายระยะเวลายนื่ คาให้การ ตอ้ งนบั เอาวนั ท่ีต่อจากวนั สุดทา้ ยของระยะเวลาเดิมเป็ นวนั เร่ิมตน้
แห่งระยะเวลาท่ีขยายออกไป (ฎีกาที่ ๑๒๘ - ๑๒๙/๒๕๓๖, ๗๐๖๐/๒๕๓๙)
ถา้ ไมอ่ นุญาต สง่ั วา่ “ท่ีจาเลยอ้างว่าไม่มเี งินพอท่ีจะไปหาทนายได้รวดเร็วน้นั ไม่ใช่เป็น
กรณีมีพฤติการณ์พิเศษท่ีจะอ้างได้ตามกฎหมาย จึงให้ยกคาร้อง”
ถา้ ยน่ื เม่ือพน้ ระยะเวลายนื่ คาใหก้ ารแลว้
สั่งว่า “จาเลยยื่นคาร้ องเม่ือพ้นกาหนดเวลาย่ืนคาให้การแล้ว ท้ังไม่ปรากฏเหตุสุดวิสัย
ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๓ ให้ยกคาร้ อง” (คาร้องท่ีย่ืนต้งั แต่วนั ที่ ๑๑ พฤษภาคม ๒๕๕๑ ไม่ตอ้ ง
เสียค่าคาร้อง จึงไมต่ อ้ งสัง่ วา่ คา่ คาร้องใหเ้ ป็นพบั )
๒. จาเลยขอขยายระยะเวลายื่นคาให้การโดยอ้างเหตสุ ุดวสิ ัย
สั่งวา่ “สาเนาให้โจทก์ นัดไต่สวน” สง่ั คาใหก้ าร (ถา้ มี) วา่ “รอไว้สั่งเม่ือไต่สวนคาร้อง
เสร็จแล้ว” ศาลจะไต่สวนหรือไม่เป็ นการใชด้ ุลพินิจตามมาตรา ๒๑ (๔) ถา้ เห็นวา่ ไม่ใช่เหตุสุดวสิ ยั
ใหย้ กคาร้องโดยไม่ตอ้ งไต่สวน
ไต่สวนแลว้ ถา้ ไม่อนุญาต ส่งั วา่ “พิเคราะห์แล้ว ข้อเทจ็ จริงตามท่ีได้ความจากการไต่สวน
ไม่ใช่กรณีที่มีเหตสุ ุดวิสัย จึงยกคาร้อง” และสั่งไมร่ ับคาใหก้ ารจาเลย (ถา้ มี) ซ่ึงอาจส่ังในคาใหก้ าร
หรือสง่ั ในรายงานกระบวนพจิ ารณากไ็ ด้
ถา้ อนุญาต สั่งว่า “พิเคราะห์แล้ว ข้อเท็จจริงตามท่ีได้ความจากการไต่สวน มีเหตุสุดวิสัย
จึงรับคาให้การจาเลย สาเนาให้โจทก์ นัดชีส้ องสถาน” (ถา้ จาเลยยงั ไม่ไดย้ ่ืนคาใหก้ ารมาพร้อม
คาร้อง ใหก้ าหนดเวลาใหจ้ าเลยยนื่ คาใหก้ าร)
ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๕๓
บทที่ ๓
การตรวจและสั่งคาให้การ
๑. การตรวจคาให้การ
๑.๑ ตามมาตรา ๑๗๗ วรรคหน่ึง จาเลยตอ้ งทาคาให้การเป็ นหนงั สือย่ืนต่อศาลภายใน
๑๕ วนั นบั แต่ไดร้ ับหมายเรียกและสาเนาคาฟ้อง ดงั น้นั เมื่อจาเลยยน่ื คาใหก้ ารใหต้ รวจรายงาน
การเดินหมายก่อนว่า จาเลยรับหมายเรียกและสาเนาคาฟ้องเมื่อใด ส่งหมายให้ไดโ้ ดยวิธีใด
เพื่อพิจารณาวา่ พน้ กาหนดเวลาย่ืนคาใหก้ ารหรือไม่ ถา้ ยงั ไม่มีรายงานการเดินหมายในสานวน
จะสั่งให้รับคาให้การไวก้ ่อนตามขอ้ ๑๐ (การตรวจคาให้การอนุโลมตามการตรวจคาฟ้อง)
หรือจะสัง่ ใหเ้ สนอรายงานการเดินหมายมาก่อนสัง่ คาใหก้ ารกไ็ ด้
๑.๒ ตามมาตรา ๑๗๗ วรรคสอง จาเลยตอ้ งแสดงโดยชัดแจ้งในคาให้การว่าปฏิเสธ
ข้ออ้างตามคาฟ้องของโจทก์ในข้อใดบ้าง และจะต้องให้เหตุผลแห่งการปฏิเสธ มิฉะน้ัน
ถือวา่ ยอมรับตามฟ้อง
๒. การส่ังรับคาให้การ
ตรวจคาใหก้ ารแลว้ เห็นวา่ ไม่มีปัญหา สั่งว่า“รับคาให้การ สาเนาให้โจทก์ นัดชีส้ องสถาน
ตามท่ีนัดไว้เดิม”
กรณีวันครบกาหนดยื่นคาให้การตรงกับวนั หยุดราชการ (วันหยุดราชการอาจเป็ น
วนั หยดุ ราชการตามปกติหรือหยดุ ราชการเป็ นกรณีพิเศษ เช่น ตามมติคณะรัฐมนตรี จึงควรระบุ
ให้ชดั เจน) สั่งวา่ “วันที่ . . . . .ซ่ึงเป็นวันครบกาหนดยื่นคาให้การตรงกับวันเสาร์ วันรุ่งขึน้ เป็น
วันอาทิตย์ ศาลหยดุ ทาการ จาเลยยื่นคาให้การวนั นไี้ ด้ รับคาให้การ สาเนาให้โจทก์ นดั ชีส้ องสถาน
ตามที่นัดไว้เดิม”
กรณีปิ ดหมาย การปิ ดหมายมีผลเม่ือพน้ ๑๕ วนั และตอ้ งยื่นคาให้การภายใน ๑๕ วนั
รวมเป็น ๓๐ วนั สัง่ วา่ “กรณีปิ ดหมายและครบกาหนดย่ืนคาให้การในวันที่ . . .ซึ่งตรงกับวันอาทิตย์
ศาลหยดุ ทาการ จาเลยยื่นคาให้การวันนีไ้ ด้ รับคาให้การ สาเนาให้โจทก์ นดั ชีส้ องสถานตามที่นัด
ไว้เดิม”
ข้อสังเกต
ในวนั รับฟ้อง ศาลไดก้ าหนดวนั นดั ช้ีสองสถานให้โจทก์ลงชื่อทราบนดั และไดแ้ จง้ วนั
นัดช้ีสองสถานในหมายเรียกให้จาเลยทราบแลว้ กรณีจึงไม่ต้องส่งหมายแจ้งวนั นัดช้ีสองสถาน
ใหโ้ จทกห์ รือจาเลยทราบอีก
ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๕๔
๓. การส่ังไม่รับคาให้การ
สั่งว่า“จาเลยรับหมายเรียกและสาเนาคาฟ้องเม่ือวันท่ี .. . .มายื่นคาให้การวันนีพ้ ้นกาหนดเวลา
ย่ืนคาให้การแล้ว จึงไม่รับคาให้การจาเลย”
๔. จาเลยหลายคนยื่นคาให้การไม่พร้อมกนั
ส่ังวา่ “รับคาให้การจาเลยที่ ๑ สาเนาให้โจทก์ รอฟังจาเลยที่ ๒ ก่อน”
เม่ือจาเลยท่ี ๒ ยน่ื คาใหก้ ารแลว้ สง่ั วา่ “รับคาให้การจาเลยท่ี ๒สาเนาให้โจทก์ นดั ชีส้ องสถาน
ตามที่นัดไว้เดิม”
๕. จาเลยบางคนขาดนดั ยื่นคาให้การ
กรณีจาเลยท่ี ๑ ยนื่ คาใหก้ ารก่อน ส่งั ในคาใหก้ ารวา่
“รับคาให้การจาเลยที่ ๑ สาเนาให้โจทก์ รอฟังจาเลยท่ี ๒ ก่อน”
กรณีจาเลยที่ ๒ ไม่ยื่นคาให้การภายในกาหนด โจทก์ตอ้ งมีคาขอให้ศาลพิพากษาใหต้ น
เป็นฝ่ายชนะคดีจาเลยที่ ๒ โดยการขาดนดั ส่งั ในคาร้องวา่
“จาเลยท่ี ๒ ขาดนดั ย่ืนคาให้การ งดชีส้ องสถาน ให้สืบพยานโจทก์ในวนั นดั ชีส้ องสถาน
เดิม ส่วนท่ีโจทก์ขอให้พิพากษาชนะคดีจาเลยท่ี ๒ โดยการขาดนัด เห็นสมควรให้รอไว้วินิจฉัย
ในคาพิพากษา”
ข้อสังเกต
กรณีมูลความแห่งคดีน้ันเป็ นการชาระหน้ีแบ่งแยกจากกนั ได้ มาตรา ๑๙๘ ตรี
บญั ญตั ิว่า “ในคดีท่ีจาเลยบางคนขาดนัดย่ืนคาให้การ ให้ศาลมีคาพิพากษาหรือคาส่ังช้ีขาดคดี
โดยขาดนัดยื่นคาให้การระหว่างโจทก์กบั จาเลยที่ขาดนัดยื่นคาให้การน้ันไปก่อน และดาเนิน
การพิจารณาคดีระหวา่ งโจทก์กบั จาเลยที่ยื่นคาให้การต่อไป...” ดงั น้นั ในกรณีเช่นน้ีศาลอาจมี
คาพิพากษาหรื อคาส่ังช้ี ขาดคดี โดยขาดนัด ย่ืนคาให้การระหว่า งโจทก์กับจา เลยท่ี ข า ด นัด
ยื่นคาให้การน้ันไปก่อนไดเ้ ลย หลงั จากน้ันจึงดาเนินการพิจารณาคดีระหว่างโจทก์กบั จาเลย
ที่ยน่ื คาใหก้ ารตอ่ ไปก็ได้
๖. จาเลยให้การไม่มปี ระเดน็
ส่ังว่า “รับคาให้การ สาเนาให้โจทก์ คดีพอวินิจฉัยได้ งดชีส้ องสถานและงดสืบพยาน
นัดฟังคาพิพากษาวนั ท่ี . . . . เวลา . . .น. หมายแจ้งวนั นดั ให้โจทก์ทราบ ไม่มผี ู้รับโดยชอบให้ปิ ดหมาย”
คาให้การของจาเลยที่ ๒ ที่ต่อสู้เร่ืองอานาจฟ้องของโจทกว์ า่ โจทกเ์ ป็ นนิติบุคคลหรือไม่
โจทก์มอบอานาจให้ ส.ฟ้องคดีหรือไม่ ไม่ทราบไม่รับรอง หนังสือรับรองนิติบุคคลและใบมอบอานาจ
ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๕๕
ให้ฟ้องคดีจาเลยขอปฏิเสธน้ัน เป็ นคาให้การท่ีไม่ไดแ้ สดงโดยชดั แจง้ ว่า จาเลยปฏิเสธขอ้ อา้ ง
ของโจทก์ท้งั ส้ินหรือแต่บางส่วน ไม่ชอบดว้ ยมาตรา ๑๗๗ วรรคสอง ถือไม่ไดว้ า่ จาเลยใหก้ าร
ปฏิเสธ จึงไม่เป็นประเด็นท่ีจะตอ้ งวนิ ิจฉยั (ฎีกาที่ ๓๗๓๕/๒๕๓๑)
การที่จาเลยให้การต่อสู้ว่าฟ้องของโจทก์ขาดอายุความ แม้จาเลยไม่จาตอ้ งอา้ งตวั บท
กฎหมายว่าขาดอายุความตามบทมาตราใดก็ตาม แต่จาเลยตอ้ งให้การโดยแสดงเหตุแห่งการ
ขาดอายคุ วามใหป้ รากฏวา่ คดีโจทกข์ าดอายคุ วามเม่ือใด นบั แต่วนั ใดถึงวนั ฟ้องคดีขาดอายคุ วาม
ไปแลว้ เมื่อจาเลยมิไดก้ ล่าวถึงเหตุแห่งการขาดอายคุ วามใหป้ รากฏ คาให้การของจาเลยจึงไม่มี
ประเด็นในเรื่องอายคุ วาม (ฎีกาที่ ๑๘๐๑/๒๕๓๙ ประชุมใหญ่)
๗. จาเลยให้การในคดซี ่ึงมีประเดน็ ไม่ยุ่งยาก
สั่งว่า “รับคาให้การ สาเนาให้โจทก์ คดีมีประเดน็ ข้อพิพาทไม่ยุ่งยาก งดชี้สองสถาน
นดั สืบพยานโจทก์ในวนั นดั ชีส้ องสถานเดิม
๘. โจทก์ให้การแก้คาร้องขอให้ปล่อยทรัพย์ทย่ี ึด (ขัดทรัพย์)
สั่งว่า“รับคาให้การโจทก์ สาเนาให้ผู้ร้ องนัดสืบพยานผู้ร้ องตามท่ีนัดไว้เดิม” (คดีร้องขดั ทรัพย์
ส่วนมากประเด็นตกแก่ผูร้ ้องขดั ทรัพย์นาสืบก่อน ในวนั รับคาร้องศาลจะกาหนดวนั นัดสืบพยาน
ผูร้ ้องไวล้ ่วงหน้า ให้ผูร้ ้องลงช่ือทราบนัดและไดแ้ จ้งวนั นัดในหมายเรียกให้โจทก์ทราบแลว้
จึงไมต่ อ้ งหมายแจง้ ใหค้ ู่ความทราบอีก
๙. กรณสี ่งหมายเรียกและสาเนาคาฟ้องให้จาเลยโดยศาลอ่ืน
จาเลยมายื่นคาให้การก่อนท่ีจะทราบผลการส่งหมายเรียกและสาเนาคาฟ้อง สั่งว่า
“ศาล . . . . . . . ยังไม่ส่ งผลการส่ งหมายมา เพ่ือความรวดเร็วให้รับคาให้การของจาเลยไว้ก่อน
สาเนาให้โจทก์ นัดชีส้ องสถานตามท่ีนัดไว้เดิม หากปรากฏภายหลังว่า จาเลยมิได้ย่ืนคาให้การ
ภายในกาหนด จึงจะเปลีย่ นแปลงคาสั่ง ”
เมื่อไดร้ ับหนงั สือแจง้ ผลการส่งหมาย สั่งในหนังสือว่า “รวม” ถา้ ปรากฏว่าจาเลยมิได้
ยนื่ คาใหก้ ารภายในกาหนด กใ็ หเ้ พกิ ถอนคาสั่งท่ีใหร้ ับคาใหก้ าร เป็นไม่รับคาใหก้ าร ท้งั น้ีอาศยั
อานาจตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๗
๑๐. กรณีท่ีจาเลยขออนุญาตยื่นคาให้การ
ใหด้ ูหมวด ๒ (กระบวนพจิ ารณาคดีแพ่งแบบพิเศษ) ส่วนท่ี ๖ - ๗ (การพจิ ารณาโดยขาดนดั )
ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๕๖
บทที่ ๔
คาให้การและฟ้องแย้ง
๑. การส่ังรับคาให้การและฟ้องแย้งของจาเลยและคาให้การแก้ฟ้องแย้งของโจทก์
สั่งว่า “รับคาให้ การและฟ้องแย้ง ส่ งสาเนาและหมายเรียกโจทก์ให้ การแก้ฟ้องแย้ง
ตามข้อบังคับว่าด้วยการส่งคาคู่ความและเอกสารทางคดี พ.ศ. ๒๕๔๕ให้จาเลยวางเงินค่าใช้จ่าย
ในการจัดส่งภายในวันทาการถัดไป มิฉะนั้นถือว่าทิ้งฟ้องแย้ง” กรณีจาเลยย่ืนคาแถลงขอให้
เจา้ พนกั งานศาลเป็ นผสู้ ่ง สัง่ วา่ “รับคาให้การและฟ้องแย้ง ส่งสาเนาและหมายเรียกโจทก์ให้การ
แก้ฟ้องแย้ง ให้จาเลยนาส่งภายใน ๕ วัน การส่งหากไม่มีผู้รับโดยชอบให้ปิ ดหมาย หากส่งไม่ได้
ให้ จาเลยแถลงเพ่ือดาเนินการต่อไปภายใน ๗ วัน นับแต่วันส่ งไม่ได้ มิฉะนั้นถือว่าจาเลย
ทิง้ ฟ้องแย้ง”
สั่งในคาให้การแก้ฟ้องแยง้ ของโจทก์ว่า “รับคาให้ การแก้ฟ้องแย้ง สาเนาให้ จาเลย
นัดชีส้ องสถานตามท่ีนัดไว้เดิม ” (ในวนั รับฟ้อง ศาลไดก้ าหนดวนั นดั ช้ีสองสถานและไดแ้ จง้
ให้จาเลยทราบในหมายเรียกให้จาเลยยื่นคาให้การแลว้ จึงไม่ต้องหมายแจง้ วนั นัดให้จาเลย
ทราบอีก แต่ถ้าหากมีการยกเลิกวนั นัดช้ีสองสถานเดิม เน่ืองจากวนั นัดกระช้ันชิดเกินไป
จึงจะตอ้ งมีหมายแจง้ วนั นดั ช้ีสองสถานใหมใ่ หค้ ูค่ วามทราบ)
ข้อสังเกต
จาเลยจะฟ้องแยง้ มาในคาให้การตามมาตรา ๑๗๗ วรรคสาม ก็ได้ หรือจะฟ้องแยง้
มาในคาร้องขอแก้ไขเพ่ิมเติมคาให้การตามมาตรา ๑๗๙ วรรคสอง (๓) ก็ได้ (ฎีกาที่ ๖๒๙/๒๕๒๔
ประชุมใหญ)่
๒. ฟ้องแย้งไม่เกยี่ วกบั คาฟ้องเดมิ
ส่ังว่า “รับคาให้การ สาเนาให้โจทก์ นัดชีส้ องสถานตามที่นัดไว้เดิม ส่วนฟ้องแย้งของจาเลยน้ัน
ไม่เก่ยี วกับคาฟ้องเดิม ไม่รับฟ้องแย้ง คืนค่าขึน้ ศาลให้จาเลยท้ังหมด” เช่นโจทกฟ์ ้องขบั ไล่จาเลย
ออกจากท่ีดินแปลงหน่ึง จาเลยฟ้องแยง้ ขอให้โจทก์ออกจากที่ดินอีกแปลงหน่ึงของจาเลย
เป็นฟ้องแยง้ ไมเ่ ก่ียวกบั ฟ้องเดิม (ฎีกาที่ ๓๗๔/๒๕๒๕)
โจทกฟ์ ้องวา่ จาเลยกระทาละเมิดตอ่ โจทกด์ ว้ ยการสร้างประตูเหลก็ ปิ ดก้นั ซอยทางเขา้ ออก
จาเลยให้การและฟ้องแยง้ ว่าจาเลยมีสิทธิปิ ดก้นั ประตูเหล็ก โจทกเ์ ป็ นฝ่ ายผิดสัญญาเช่าดว้ ยการ
ปลูกสร้างอาคารในท่ีดินท่ีเช่าจากจาเลยไม่ตรงตามสัญญาขอให้ขบั ไล่ คาฟ้องแยง้ ที่ว่าโจทก์
ประพฤติผดิ สญั ญาเช่าหรือไม่อยา่ งไรไมไ่ ดเ้ ก่ียวกบั คาฟ้องเดิม (ฎีกาที่ ๗๓๘/๒๕๓๗)
ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๕๗
แมท้ รัพยท์ ี่พิพาทกนั ท้งั ฟ้องเดิมและฟ้องแยง้ จะเป็ นทรัพยท์ ่ีอยู่ในบริเวณเดียวกนั ก็ตาม
แต่โจทก์และจาเลยอาศยั มูลเหตุให้ใชส้ ิทธิเรียกร้องเพ่ือให้ปฏิบตั ิตามฟ้องและฟ้องแยง้ ต่างกนั
กล่าวคือ โจทก์อาศยั เหตุจากการที่เจา้ ของท่ีดินเดิมปลูกสร้างกนั สาดและพ้ืนคอนกรีตรุกล้า
เขา้ ไปในท่ีดินของจาเลยโดยสุจริต และจาเลยขดั ขวางการใชส้ ่วนแห่งแดนกรรมสิทธ์ิของโจทก์
ขอให้จาเลยร้ือถอนทรัพยส์ ินและจดทะเบียนภาระจายอม ส่วนจาเลยอาศยั เหตุจากการท่ีโจทก์
ก่อให้เกิดความเดือดร้อนราคาญอันเป็ นการกระทาละเมิดต่อจาเลยโดยตรง ขอให้ร้ือถอน
และขนยา้ ยทรัพย์สินออกไป ประเด็นในคดีตามฟ้องเดิมและฟ้องแยง้ ต่างกัน ฟ้องแยง้ ของ
จาเลย จึงเป็นคนละเร่ืองกบั ฟ้องเดิมของโจทก์ (ฎีกาที่ ๕๔๑๖/๒๕๔๓)
โจทก์ฟ้องให้จาเลยที่ ๒ ร่วมรับผิดกับจาเลยที่ ๑ ชดใช้ค่าเสียหายให้แก่โจทก์เพราะ
จาเลยที่ ๑ ผิดสัญญาเช่าซ้ือรถยนต์ท่ีจาเลยท่ี ๑ เช่าซ้ือไปจากโจทก์ โดยมีจาเลยที่ ๒ เป็ นผูค้ ้าประกนั
จาเลยที่ ๒ ฟ้องแยง้ ว่า โจทก์ทาละเมิดโดยนารถยนตไ์ ปขายทอดตลาด โดยจาเลยที่ ๒ ไม่ไดย้ ินยอม
ฟ้องแยง้ ของจาเลยที่ ๒ เป็นคนละเร่ืองกบั ที่โจทกฟ์ ้องจาเลยที่ ๒ (ฎีกาท่ี ๑๓๕๙/๒๕๓๘)
ศาลช้นั ตน้ ไมร่ ับฟ้องแยง้ จาเลยอุทธรณ์คาส่งั ดงั กล่าว แต่ศาลอทุ ธรณ์มิไดใ้ หศ้ าลช้นั ตน้
งดการพิจารณาไวใ้ นระหว่างอุทธรณ์และเม่ือศาลช้นั ตน้ ไดพ้ ิจารณาพพิ ากษาคดีเดิมเสร็จโดยอยู่
ระหวา่ งอุทธรณ์ จึงไม่มีเหตุใหศ้ าลช้นั ตน้ รับฟ้องแยง้ และร้ือฟ้ื นพิจารณาพิพากษาประเด็นตาม
ฟ้องแยง้ ใหม่ กรณีไมจ่ าตอ้ งวนิ ิจฉยั วา่ ฟ้องแยง้ เก่ียวกบั ฟ้องเดิมหรือไม่ (ฎีกาที่ ๓๔๗๔/๒๕๓๘)
คาฟ้องของโจทก์เป็ นเร่ืองกล่าวหาจาเลยที่ ๓ ร่วมกบั จาเลยท่ี ๑ และที่ ๒ กระทาละเมิด
ต่อโจทก์ โดยการลงข่าวใส่ความหมิ่นประมาทโจทก์ ส่วนฟ้องแยง้ ของจาเลยท่ี ๓ เป็ นเร่ืองที่
จาเลยท่ี ๓ กล่าวหาวา่ การท่ีโจทกน์ าคดีมาฟ้องจาเลยท่ี ๓ น้ีทาให้จาเลยท่ี ๓ ไดร้ ับความเสียหาย
ดงั น้ี เป็นฟ้องแยง้ ท่ีอาศยั เหตุตา่ งกนั จึงเป็นเรื่องท่ีไม่เกี่ยวกบั ฟ้องเดิม (ฎีกาที่ ๖๘๓/๒๕๔๐)
๓. ฟ้องแย้งมีเงื่อนไข
สั่งว่า “รับคาให้การ สาเนาให้โจทก์ นัดชี้สองสถานตามท่ีนัดไว้เดิม ส่วนฟ้องแย้งของจาเลย
ที่ให้โจทก์ใช้ค่าปลูกสร้ างหรือคืนเงินกินเปล่าหรือใช้ค่าขนย้าย เม่ือศาลพิพากษาขับไล่จาเลย
ออกจากตึกพิพาทนั้นเป็ นฟ้องแย้งที่มีเง่ือนไข ไม่รับฟ้องแย้ง คืนค่าขึน้ ศาลให้จาเลยทั้งหมด”
(ฎีกาท่ี ๒๑๑/๒๕๐๙,๕๙๒/๒๕๐๙,๓๕๐/๒๕๒๐)
โจทก์ฟ้องขับไล่จาเลยและบริวารให้ร้ือถอนลวดหนามท่ีจาเลยและบริวารได้เขา้ ไป
ครอบครองในที่ดินทางหลวง ซ่ึงอยใู่ นความควบคุมดูแลของโจทก์ จาเลยฟ้องแยง้ ว่า โจทก์ได้
ขยายเขตทางหลวงรุกล้าในที่ดินจาเลย หากศาลฟังว่าทางหลวงดงั กล่าวมีการขยายเขตถูกตอ้ ง
ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๕๘
และมีแนวเขตเขา้ มาในที่ดินจาเลยแลว้ โจทก์ตอ้ งใชค้ ่าท่ีดินและอาคารและค่าร้ือถอนให้จาเลย
เป็นฟ้องแยง้ ท่ีมีเง่ือนไข (ฎีกาท่ี ๑๓๓๐/๒๕๓๐)
โจทกฟ์ ้องวา่ จาเลยผดิ สญั ญาเช่าซ้ือที่ดิน ขอใหบ้ งั คบั จาเลยท้งั สองร้ือถอนบา้ นและ ชดใช้
ค่าเสียหาย จาเลยท้งั สองให้การและฟ้องแยง้ อา้ งวา่ โจทก์เป็ นฝ่ ายผิดสัญญา ขอให้บงั คบั โจทก์
โอนกรรมสิทธ์ิที่ดินที่เช่าซ้ือให้แก่จาเลยท้งั สอง หากโจทก์ไม่ปฏิบตั ิตามให้ถือเอาคาพิพากษา
แทนการแสดงเจตนา หากโจทกไ์ ม่สามารถโอนกรรมสิทธ์ิท่ีดินแก่จาเลยท้งั สองได้ และจาเลย
ท้งั สองจะตอ้ งร้ือถอนบา้ นออกไปแลว้ ใหโ้ จทกช์ ดใชค้ า่ ที่ดินท่ีเพม่ิ ข้ึนและชดใชค้ า่ เสียหายที่ตอ้ ง
ร้ือถอนบา้ นออกไปพร้อมดอกเบ้ีย ไมเ่ ป็นคาฟ้องแยง้ มีเง่ือนไข เป็นแตเ่ พียงคาขอในคาฟ้องแยง้
อีกขอ้ หน่ึงในเม่ือบงั คบั ตามคาขอขอ้ แรกไม่ได้ ซ่ึงแลว้ แต่ศาลจะพิพากษาให้จาเลยชนะคดี
ไดม้ ากนอ้ ยเพยี งใดเท่าน้นั (ฎีกาท่ี ๒๗๐๐/ ๒๕๓๕)
โจทก์ฟ้องว่า จาเลยบุกรุก จาเลยให้การปฏิเสธว่า มิไดบ้ ุกรุกหรือรุกล้า คดีมีประเด็นวา่
จาเลยบุกรุกหรือไม่ หากฟังไม่ไดว้ ่าจาเลยบุกรุก ศาลก็ตอ้ งพิพากษายกฟ้อง การที่จาเลยฟ้องแยง้ วา่
เม่ือที่ดินของจาเลยอยู่ติดกบั ที่ดินของโจทก์ หากจาเลยไดค้ รอบครองที่ดินของจาเลยต่อเนื่อง
เขา้ ไปในที่ดินของโจทก์ จาเลยกไ็ ดค้ รอบครองจนไดก้ รรมสิทธ์ิในที่ดินของโจทก์ เป็นฟ้องแยง้
ท่ีมีเงื่อนไข (ฎีกาที่ ๕๙๗๔/๒๕๓๙)
๔. ฟ้องแย้งทไ่ี ม่จาเป็ น
สั่งว่า “รับคาให้การ สาเนาให้ โจทก์ นัดชี้สองสถานตามที่นัดไว้เดิม ส่วนท่ีจาเลยฟ้องแย้ง
ขอให้โจทก์คืนสัญญากู้นั้น หากทางพิจารณาได้ความจริงว่า จาเลยได้ชาระหนี้ โดยชอบด้วยกฎหมาย
ครบถ้วนแล้ว สัญญากู้กไ็ ม่มีผลใช้บังคับต่อไป ไม่จาเป็นต้องฟ้องแย้งขอให้โจทก์คืนสัญญากู้
จึงไม่รับฟ้องแย้ง คืนค่าขึน้ ศาลให้จาเลยทั้งหมด”
จาเลยฟ้องแยง้ ขอให้เพิกถอนทาลายสัญญากู้ยืมและสัญญาจานองระหว่างโจทก์และ
จาเลย อ้างว่าสัญญากู้ยืมเป็ นโมฆะ เนื่องจากจาเลยทาสัญญาโดยสาคัญผิดในส่ิงซ่ึงเป็ น
สาระสาคัญแห่งนิติกรรม โดยข้ออ้างน้ีจาเลยอ้างเป็ นคาให้การต่อสู้คดีไว้แล้ว ดังน้ัน
หากข้อเท็จจริ งได้ความว่าสัญญากู้ยืมเป็ นโมฆะตามท่ีจาเลยยกข้ึนอ้าง ศาลก็ย่อมนามา
เป็ นเหตุยกฟ้องโจทก์อยู่แลว้ จาเลยหาจาตอ้ งฟ้องแยง้ ขอให้เพิกถอนทาลายแต่ประการใดไม่
ที่ศาลล่างท้งั สองไม่รับฟ้องแยง้ ของจาเลยจึงชอบแลว้ (ฎีกาท่ี ๔๙๐๖/๒๕๔๒)
๕. ฟ้องแย้งทีต่ ่อมาไม่มีฟ้องเดมิ
กรณีท่ีฟ้องเดิมตกไป ฟ้องแยง้ จะตกไปดว้ ยหรือไม่ ตอ้ งพิจารณาวา่ ยงั มีโจทกเ์ ดิมท่ีจะเป็น
จาเลยฟ้องแยง้ อยหู่ รือไม่ หากยงั มีตวั โจทกเ์ ดิม ฟ้องแยง้ ยงั คงอยตู่ อ่ ไป
ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๕๙
ในวนั นดั สืบพยานโจทกน์ ดั แรก ทนายจาเลยมาศาล ส่วนโจทกไ์ มม่ า ถือวา่ โจทกข์ าดนดั
พิจารณา แมต้ ามมาตรา ๒๐๑ วรรคแรก (ปัจจุบนั มาตรา ๒๐๒) ประกอบดว้ ย พ.ร.บ. จดั ต้งั
ศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ.๒๕๒๒มาตรา๓๑ให้ศาลแรงงานมีคาสั่งจาหน่ายคดี
โจทก์เสียจากสารบบความก็ตาม แต่คดีน้ีจาเลยฟ้องแยง้ โจทก์ดว้ ย จาเลยจึงมีฐานะเป็ นโจทก์
และโจทก์เดิมตกเป็ นจาเลยตามฟ้องแยง้ ต้องถือว่าโจทก์ตามฟ้องแยง้ มาศาลแล้ว และตาม
มาตรา ๒๐๒ (ปัจจุบนั มาตรา ๒๐๔) ถา้ จาเลยขาดนัดพิจารณา ให้ศาลมีคาส่ังแสดงว่าจาเลย
ขาดนดั พิจารณา แลว้ ใหพ้ ิจารณาและช้ีขาดตดั สินคดีน้นั ไปฝ่ ายเดียว แมก้ ารท่ีศาลแรงงานกลาง
มีคาสั่งจาหน่ายคดีโจทก์อนั ทาให้ไม่มีคาฟ้องเดิมที่จะดาเนินกระบวนพิจารณาต่อไปก็ตาม
แต่ก็ยงั มีตัวโจทก์ท่ียงั คงเป็ นจาเลยของฟ้องแยง้ อยู่ต่อไป จึงมีคู่ความครบถ้วนท้ังสองฝ่ าย
ที่ศาลแรงงานจะดาเนินกระบวนพจิ ารณาในส่วนของฟ้องแยง้ ต่อไปได้ (ฎีกาที่ ๓๑๗๒/๒๕๓๖)
เม่ือจาเลยฟ้องแยง้ เขา้ มาในคาให้การ โจทก์ก็คือจาเลยในฟ้องแยง้ คดีตามฟ้องแยง้ จึงมี
คู่ความครบถว้ นท่ีจะดาเนินกระบวนพิจารณาต่อไปได้ การที่ศาลช้นั ตน้ อนุญาตให้โจทก์ถอนฟ้อง
เดิมก็คงมีผลเฉพาะคดีโจทกว์ า่ ไม่มีฟ้องเดิมที่จะดาเนินกระบวนพิจารณาต่อไปเท่าน้นั หามีผล
ใหฟ้ ้องแยง้ ของจาเลยตกไปดว้ ยไม่ (ฎีกาที่ ๖๙๐๙/๒๕๔๓)
แต่หากไม่มีตวั โจทก์เดิมอยเู่ ช่น ศาลยกฟ้องเพราะโจทกเ์ ดิมไมอ่ ยใู่ นฐานะท่ีจะถูกฟ้องได้
ฟ้องแยง้ ตอ้ งตกไปดว้ ย
บิดาโดยไม่ชอบดว้ ยกฎหมายเป็ นโจทก์ฟ้องแทนบุตรผูเ้ ยาวข์ อให้ศาลแสดงว่าทรัพยเ์ ป็ น
ของบุตรผเู้ ยาว์ ห้ามจาเลยเก่ียวขอ้ ง จาเลยต่อสู้ว่าโจทก์เป็ นบิดาไมช่ อบดว้ ยกฎหมายของผเู้ ยาว์
ไม่มีอานาจฟ้อง และฟ้องแยง้ ขอแบ่งทรัพยม์ รดกระหวา่ งโจทก์จาเลย เมื่อศาลฟังวา่ โจทก์ไม่มี
อานาจฟ้องแทนผเู้ ยาวแ์ ละพิจารณายกฟ้องโจทก์ ฟ้องแยง้ ของจาเลยก็ตกไปดว้ ยเพราะการฟ้องแยง้
จะตอ้ งมีฟ้องเดิมและตวั โจทกเ์ ดิมท่ีจะเป็นจาเลยตอ่ ไปเป็นหลกั อยแู่ ลว้ (ฎีกาที่ ๗๓๖/๒๕๐๓)
โจทกไ์ ม่ไดร้ ับความคุม้ ครองตาม พ.ร.บ. การเช่าท่ีดินเพือ่ เกษตรกรรมฯ จึงไม่มีอานาจฟ้องเม่อื
โจทก์ไม่มีอานาจฟ้องและศาลพิพากษายกฟ้องแลว้ ฟ้องแยง้ ของจาเลยตอ้ งตกไป เพราะการ
ฟ้องแยง้ น้นั จะมีไดจ้ ะตอ้ งมีฟ้องเดิมและตวั โจทกเ์ ดิมท่ีจะเป็ นจาเลยของฟ้องแยง้ อยดู่ ว้ ย (ฎีกาท่ี
๔๘๗๖/๒๕๓๓)
๖. ฟ้องแย้งเป็ นเร่ืองระหว่างจาเลยกบั โจทก์เท่าน้นั
ฟ้องแยง้ เป็ นเรื่องจาเลยขอให้บังคับโจทก์จะขอให้บังคับจาเลยด้วยกันมิได้ (ฎีกาที่
๓๐๔๕/๒๕๓๐)
ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๖๐
โจทก์ฟ้องขบั ไล่จาเลย จาเลยให้การต่อสู้ว่าโจทก์ไม่ใช่เจา้ ของตึกแถวและที่ดินพิพาท
จึงไม่มีอานาจฟ้องและฟ้องแยง้ ขอให้ศาลพพิ ากษาวา่ สัญญาซ้ือขายท่ีดินพิพาทระหวา่ งโจทก์กบั
ศ. และ อ. เป็ นโมฆะโดย ศ. และ อ. รับซ้ือฝากที่ดินพิพาทไวจ้ ากจาเลย จาเลยไม่เคยขายท่ีดิน
พิพาทให้โจทก์ เป็ นการต่อสู้ว่าจาเลยมีสิทธิในท่ีดินพิพาทดีกว่าโจทก์ เป็ นฟ้องแยง้ ท่ีเก่ียวกบั
ฟ้องเดิม แต่เมื่อมีผลกระทบถึงสิทธิของ ศ. และ อ. บุคคลภายนอกท่ีมิได้เขา้ มาเป็ นคู่ความ
ในคดีดว้ ย จึงเป็นฟ้องแยง้ ท่ีไม่อาจบงั คบั ได้ (ฎีกาท่ี ๓๕๕๗/๒๕๓๘)
โจทก์ฟ้องขบั ไล่จาเลยออกไปจากที่ดินของโจทก์ จาเลยให้การว่าที่ดินเป็ นของจาเลย
และฟ้องแยง้ ว่า ท. กบั จาเลยเป็ นเจา้ ของรวมในที่ดินดงั กล่าว ต่อมา ท. กบั โจทก์และผูม้ ีช่ือได้
ร่วมกนั ปลอมเอกสารเกี่ยวกบั การขอแบ่งแยกท่ีดินและแกไ้ ขเพ่ิม เน้ือที่ส่วนท่ีเพ่ิมรุกล้าท่ีดิน
มือเปล่าท่ีจาเลยครอบครอง การซ้ือขายท่ีดินส่วนน้ีระหว่างโจทก์กบั ท. และผูม้ ีชื่อจึงไม่ชอบ
ขอให้บงั คบั โจทก์แกไ้ ขโฉนดท่ีดินเป็ นเน้ือท่ีเท่าเดิม แลว้ รังวดั แบ่งแยกใหมใ่ หโ้ จทกแ์ ละจาเลย
มีส่วนไดค้ นละก่ึงหน่ึงตามท่ีจาเลยและ ท. ไดต้ กลงประนีประนอมยอมความซ่ึงศาลพิพากษาตามยอม
และให้โอนสิทธิครอบครอง ที่ดินมือเปล่าส่วนที่รุกล้าคืนให้จาเลย ให้เพิกถอนสัญญาซ้ือขาย
ระหวา่ งโจทกก์ บั ท. ฟ้องแยง้ ดงั กลา่ วมีคาขอบงั คบั บุคคลภายนอก ส่วนฟ้องแยง้ ที่อาศยั เป็ นหลกั
แห่งขอ้ หาฟ้องโจทก์ก็ตอ้ งฟังขอ้ เท็จจริงที่จาเลยฟ้องแยง้ บุคคลภายนอกน้นั จึงไม่เก่ียวขอ้ งกบั
คาฟ้องของโจทกพ์ อท่ีจะรวมพิจารณาและช้ีขาดตดั สินเขา้ ดว้ ยกนั ได้ (ฎีกาที่ ๙๑๕๖/๒๕๓๙)
๗. ฟ้องแย้งต้องไม่ขดั กบั คาให้การเดมิ
จาเลยให้การว่า สัญญาซ้ือขายท่ีโจทก์นามาฟ้องตกเป็ นโมฆะ โจทก์ไม่มีอานาจฟ้อง
จาเลยให้ปฏิบตั ิตามสัญญาได้ ฉะน้นั ท่ีจาเลยฟ้องแยง้ ขอให้บงั คบั โจทกช์ าระเงินให้จาเลยตาม
สัญญาดงั กล่าวจึงขดั กบั คาให้การของจาเลย และหากจาเลยชนะคดีก็ไม่อาจบงั คบั ตามคาขอได้
ถือไดว้ า่ ฟ้องแยง้ ดงั กลา่ วไม่เกี่ยวกบั ฟ้องเดิม (ฎีกาท่ี ๒๖๔๘/๒๕๔๑)
ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๖๑
บทท่ี ๕
การแก้ไขคาฟ้องหรือคาให้การ
๑. หลกั เกณฑ์การแก้ไขคาฟ้องหรือคาให้การ
๑.๑ การแกไ้ ขคาฟ้องตอ้ งเป็ นไปตามหลกั เกณฑท์ ่ีบญั ญตั ิไวใ้ นมาตรา ๑๗๙ วรรคสอง
(๑) และ (๒) ส่วนการแกไ้ ขคาใหก้ ารตอ้ งเป็นไปตามหลกั เกณฑท์ ่ีบญั ญตั ิไวใ้ นมาตรา ๑๗๙วรรค
สอง (๓)
โจทก์ฟ้องขอให้บงั คบั จาเลยท้งั สองปฏิบตั ิตามสัญญาจะซ้ือขายที่ดินพิพาทและ
บนั ทึกการให้ทางทาถนนซอยในที่ดิน กบั ให้ร่วมกนั ถอนคาคดั คา้ นท่ีให้ไวต้ ่อการไฟฟ้านครหลวง
สานกั งานเขตบางใหญ่ หากไม่ปฏิบตั ิตามให้ถือคาพิพากษาแทนการแสดงเจตนาและใหร้ ่วมกนั
ใชค้ ่าเสียหาย ๔,๐๐๐,๐๐๐ บาท และดอกเบ้ียอตั ราร้อยละ ๗.๕ ต่อปี แก่โจทก์จนกว่าจะชาระเสร็จ
ท่ีโจทกข์ อแกไ้ ขคาฟ้องวา่ ให้จาเลยท้งั สองร่วมกนั โอนท่ีดินพิพาทให้แก่โจทกต์ ามสัญญาจะซ้ือขาย
กบั ใชค้ ่าปรับจานวน ๙,๐๐๐,๐๐๐ บาท พร้อมดอกเบ้ียอตั ราร้อยละ ๗.๕ ต่อปี นับแต่วนั ฟ้อง
จนกวา่ จะชาระเสร็จเพ่มิ จากคาฟ้องเดิม จึงเป็นการขอเพ่มิ ขอ้ อา้ งท่ีอาศยั เป็นหลกั แห่งขอ้ หาและ
คาขอบงั คบั นอกเหนือไปจากคาฟ้องเดิม มิใช่เป็ นกรณีท่ีเพ่ิมจานวนทุนทรัพยท์ ่ีพิพาทในฟ้องเดิม
หรือเพ่ิมเติมฟ้องเดิมให้บริบูรณ์ ตามมาตรา ๑๗๙ วรรคสอง (๑) (๒) ท้ังมิใช่เป็ นการขอ
แก้ไขข้อผิดพลาดเล็กน้อย การแก้ไขคาฟ้องของโจทก์จึงไม่ชอบท่ีจะกระทาได้ (ฎีกาที่
๙๖๗๗/๒๕๓๙)
๑.๒ การแก้ไขคาฟ้องหรือคาให้การต้องทาเป็ นคาร้องย่ืนต่อศาลก่อนวนั ช้ีสองสถาน
หรือกรณีที่ไม่มีการช้ีสองสถาน ก่อนวนั สืบพยานไม่น้อยกว่าเจ็ดวนั (มาตรา ๑๘๐) มิฉะน้ัน
ศาลยกคาร้อง
๑.๓ ขอ้ ยกเวน้ ที่ไมต่ อ้ งยน่ื ภายในกาหนดเวลา ตามมาตรา ๑๘๐
๑.๓.๑ เม่ือมีเหตุอนั สมควรที่ไม่อาจยื่นคาร้องไดก้ ่อนวนั ช้ีสองสถาน หรือก่อน
วนั สืบพยานไม่นอ้ ยกวา่ ๗ วนั แลว้ แต่กรณี (มาตรา ๑๘๐)
ขอ้ ความที่จาเลยท้งั สองขอแกไ้ ขเป็ นเรื่องท่ีจาเลยท้งั สองเพ่ิงทราบภายหลงั
จากการช้ีสองสถานแลว้ ฉะน้นั จาเลยท้งั สองจึงมีสิทธิขอแกไ้ ขเพิ่มเติมคาให้การและฟ้องแยง้
หลงั จากช้ีสองสถานแลว้ ได้ (ฎีกาท่ี ๑๘๐๓/๒๕๓๓)
ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๖๒
จาเลยอา้ งเหตุท่ีขอแกไ้ ขว่าจาเลยพิมพต์ กไปจากที่ร่างไวเ้ ป็ นเหตุท่ีเกิดจาก
ความบกพร่องไม่สนใจของจาเลยเอง มิใช่เหตุท่ีไม่อาจรู้หรือเกิดข้ึนภายหลงั ย่ืนคาให้การแลว้
(ฎีกาท่ี ๑๐๔/๒๕๓๐)
๑.๓.๒ เม่ือเป็ นการขอแกไ้ ขในเร่ืองท่ีเกี่ยวกบั ความสงบเรียบร้อยของประชาชน
(มาตรา ๑๘๐)
การกล่าวอา้ งว่าโจทก์ไม่มีอานาจฟ้องเป็ นปัญหาที่เกี่ยวกบั ความสงบเรียบร้อย
ของประชาชน (ฎีกาท่ี ๖๓๐๓/๒๕๓๔)
จาเลยที่ ๒ ขอแกไ้ ขคาใหก้ ารเพ่มิ เติมประเดน็ ฟ้องซอ้ นวา่ พนกั งานอยั การ
ไดเ้ ป็ นโจทก์ยื่นฟ้องจาเลยที่ ๑ ในความผิดฐานยกั ยอกทรัพยเ์ ป็ นคดีอาญาและมีคาขอให้จาเลย
ท่ี ๑ คืนหรือใชเ้ งินจานวนเดียวกนั กบั ที่โจทกฟ์ ้องเรียกร้องเงินจากจาเลยท้งั สองคดีน้ี เป็นการขอ
แกไ้ ขเก่ียวกบั อานาจฟ้องของโจทกซ์ ่ึงเป็นขอ้ กฎหมายเก่ียวกบั ความสงบเรียบร้อยของประชาชน
จึงขอแกไ้ ขไดก้ ่อนศาลพพิ ากษา(ฎีกาท่ี ๙๗๗/๒๕๕๐)
คาร้องขอเพ่ิมเติมฟ้องแยง้ เป็ นการขอแกค้ าฟ้องอยา่ งหน่ึง จึงตอ้ งบงั คบั
ตามมาตรา ๑๗๙,๑๘๐ ดว้ ย เม่ือคาร้องขอเพ่ิมเติมฟ้องแยง้ ของจาเลยระบุว่าโจทก์โกงน้าหนัก
สินคา้ อนั เป็ นการผดิ สัญญาของโจทก์อีกประการหน่ึงนอกเหนือจากการผดิ สัญญาตามฟ้องแยง้
จึงเป็ นเร่ืองที่จาเลยกล่าวหาโจทก์ว่าเป็ นฝ่ ายผิดสัญญา ทาให้จาเลยไดร้ ับความเสียหาย หาใช่
เรื่องหรือคดีท่ีเกี่ยวดว้ ยความสงบเรียบร้อยของประชาชนไม่ จาเลยย่อมไม่มีสิทธิย่ืนคาร้องขอ
เพม่ิ เติมฟ้องแยง้ หลงั วนั ช้ีสองสถาน (ฎีกาที่ ๒๘๖๘/๒๕๓๒)
จาเลยขอแกไ้ ขคาใหก้ ารเป็ นคร้ังที่สองหลงั จากสืบพยานจาเลยซ่ึงมีหนา้ ท่ี
นาสืบก่อนเสร็จส้ินแลว้ ซ่ึงหากอนุญาตให้จาเลยแกไ้ ขคาให้การไดต้ ามขอ การพิจารณาคดี
ในส่วนของจาเลยก็ไม่มีท่ีสิ้นสุด แมจ้ าเลยจะอา้ งวา่ คาใหก้ ารท่ีขอแกไ้ ขน้นั เป็ นเรื่องท่ีเก่ียวกบั
ความสงบเรียบร้อยของประชาชน กห็ ามีผลลบลา้ งพยานหลกั ฐานของจาเลยที่นาสืบไปเสร็จสิ้น
แลว้ ไม่ กรณีไม่มีเหตุอนุญาตใหแ้ กไ้ ขคาใหก้ าร (ฎีกาท่ี ๔๑๓๓/๒๕๔๓)
๑.๓.๓ เม่ือเป็ นการขอแก้ไขข้อผิดพลาดเล็กน้อยหรื อข้อผิดหลงเล็กน้อย
(มาตรา ๑๘๐)
คาร้องขอแกไ้ ขคาฟ้องในคดีน้ีเป็ นเพียงรายละเอียดที่โจทก์ประสงค์จะ
แกไ้ ขใหถ้ ูกตอ้ งตามสิทธิของโจทก์ในฐานะที่โจทก์เป็ นผรู้ ับประกนั ภยั ท่ีมีสิทธิเรียกเอาเงินท่ีตน
ไดใ้ ชค้ ่าสินไหมทดแทนใหแ้ ก่ผูเ้ อาประกนั ภยั นบั แต่วนั ที่ใชเ้ งินไป มิใช่นบั แต่วนั ท่ีมีการละเมิด
ท้งั การแกไ้ ขดงั กล่าวไม่เป็ นคุณแก่โจทก์ คาร้องขอแกไ้ ขคาฟ้องเช่นน้ี จึงไม่อยูใ่ นบงั คบั ของ
มาตรา ๑๘๐,๑๘๑ (ฎีกาท่ี ๕๕๘๙/๒๕๓๖)
ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๖๓
คาร้องขอแกไ้ ขวนั ท่ีที่ธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงินตามเช็คโดยอา้ งวา่ พิมพ์
ผิดพลาด เป็นการขอแกไ้ ขรายละเอียดในฟ้อง (ฎีกาท่ี ๑๐๕/๒๕๓๗)
โจทก์ขอแกไ้ ขช่ือจาเลยใหต้ รงกบั ความเป็ นจริง เป็ นการแกไ้ ขขอ้ ผิดหลง
เลก็ นอ้ ย (ฎีกาที่ ๕๘๗๖/๒๕๔๓)
การท่ีจะวินิจฉัยว่า การแก้ไขอย่างไรเป็ นการแกไ้ ขขอ้ ผิดพลาดเล็กนอ้ ย
หรือขอ้ ผิดหลงเล็กน้อยในคาฟ้อง จาเป็ นตอ้ งดูคาบรรยายฟ้องของโจทก์ซ่ึงตามปกติการขอ
แก้ไขเพ่ิมเติมสภาพแห่งขอ้ หา คาขอบงั คบั และขอ้ อา้ งอนั เป็ นที่อาศยั แห่งขอ้ หา ตามมาตรา
๑๗๒ ถือวา่ เป็นการขอแกไ้ ขเพ่มิ เติมในขอ้ สาระสาคญั เมื่อโจทกบ์ รรยายฟ้องวา่ จาเลยผิดสัญญา
ในการใชบ้ ตั รสินเช่ือที่โจทก์ออกใหไ้ ปใช้ โดยจาเลยคา้ งชาระแก่โจทก์จานวน ๒๐,๖๒๐ บาท
จาเลยตอ้ งรับผิดชาระเงินให้โจทก์จานวน ๒๐,๖๒๐ บาท พร้อมค่าธรรมเนียมผิดนัดอตั ราร้อยละ ๒
ต่อเดือน คานวณถึงวนั ฟ้องจานวน ๔,๖๔๖.๗๒ บาท รวมเป็ นเงิน ๒๕,๒๖๖.๗๗ บาท ซ่ึงปกติ
ถ้าโจทก์ไม่บรรยายคาฟ้องต่อไปว่าไม่ประสงค์เรียกร้องให้ตรงจานวนหน้ีแลว้ โจทก์ก็ต้อง
บรรยายคาขอบงั คบั ให้จาเลยชาระเงินจานวนท่ีจาเลยตอ้ งรับผิดดงั กล่าว แต่โจทกก์ ลบั บรรยาย
ฟ้องขอบงั คบั ใหจ้ าเลยชาระเงินจานวน ๔,๖๔๖.๗๗ บาท พร้อมคา่ ธรรมเนียมผิดนดั อตั ราร้อยละ
๒ ต่อเดือน ในตน้ เงินจานวน ๒๐,๖๒๐ บาท เห็นไดช้ ัดว่าการพิมพ์ฟ้องของโจทก์ผิดพลาด
เคล่ือนจากเจตนา ต้องถือว่าเป็ นการผิดพลาดเล็กน้อยหรือผิดหลงเล็กน้อย ซ่ึงโจทก์ย่อม
ยนื่ คาร้องขอแกไ้ ขเพ่มิ เติมได้ แมภ้ ายหลงั วนั ช้ีสองสถาน (ฎีกาท่ี ๔๐๘/๒๕๓๘)
๑.๓.๔ เม่ือเป็นกรณีที่ไมม่ ีการช้ีสองสถานและไมม่ ีการสืบพยาน
ศาลช้นั ตน้ มีคาสั่งเพิกถอนการช้ีสองสถานกบั วนั นดั สืบพยานและนดั ฟัง
คาพพิ ากษา ดงั น้ี จาเลยอาจยนื่ คาร้องขอแกไ้ ขคาใหก้ ารไดก้ ่อนศาลพิพากษา (ฎีกาที่ ๒๓๓๗/๒๕๓๒)
๑.๔ คาร้องขอแก้ไขคาฟ้องตอ้ งเก่ียวขอ้ งกับคาฟ้องเดิม แต่คาร้องขอแก้ไขคาให้การ
ไม่จาเป็นตอ้ งเก่ียวขอ้ งกบั คาใหก้ ารเดิม
การท่ีโจทก์ย่ืนคาร้องขอเพ่ิมช่ือ ช. เขา้ มาเป็ นจาเลยในภายหลงั จึงเท่ากบั เป็ นการฟ้อง
บคุ คลอื่นเป็นจาเลยเพ่มิ เขา้ มาในคดีอีกคนหน่ึง มิใช่เป็นเรื่องขอแกไ้ ขคาฟ้อง (ฎีกาท่ี ๑๑๑๗/๒๕๒๗)
การขอแกไ้ ขเพ่ิมเติมคาให้การโดยการยกขอ้ ต่อสู้ข้ึนใหม่น้นั ไม่วา่ จะเก่ียวขอ้ งกบั
คาใหก้ ารเดิมหรือไมก่ ไ็ มส่ าคญั (ฎีกาท่ี ๑๗๒๓/๒๕๑๓)
ที่โจทก์ขอแกไ้ ขคาฟ้องวา่ ให้จาเลยท้งั สองร่วมกนั โอนที่ดินพิพาทใหแ้ ก่โจทก์ตาม
สญั ญาจะซ้ือจะขายกบั ใชค้ า่ ปรับจานวน ๙,๐๐๐,๐๐๐ บาท พร้อมดอกเบ้ียอตั ราร้อยละ ๗.๕ ตอ่ ปี
นับแต่วนั ฟ้องจนกว่าจะชาระเสร็จเพ่ิมจากคาฟ้องเดิม เป็ นการขอเพิ่มขอ้ อา้ งที่อาศยั เป็ นหลกั
แห่งขอ้ หาและคาขอบงั คบั นอกเหนือไปจากคาฟ้องเดิม มิใช่เป็ นกรณีเพิ่มทุนทรัพยท์ ี่พิพาท
ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๖๔
ในฟ้องเดิมหรือเพ่ิมเติมฟ้องเดิมให้บริบูรณ์ ท้งั มิใช่เป็ นการขอแก้ไขข้อผิดพลาดเล็กน้อย
การแกไ้ ขคาฟ้องของโจทกจ์ ึงไมช่ อบที่จะกระทาได้ (ฎีกาที่ ๙๖๗๗/๒๕๓๙)
๑.๕ โดยหลกั ทวั่ ไปคาร้องขอแกไ้ ขคาฟ้องหรือคาให้การ ศาลจะสั่งอนุญาตทนั ทีไม่ได้
ตอ้ งส่งสาเนาใหอ้ ีกฝ่ ายหน่ึงทราบล่วงหนา้ อยา่ งนอ้ ย ๓ วนั ก่อนนดั พิจารณาคาร้อง เวน้ แต่เป็น
กรณีท่ีอาจทาไดแ้ ต่ฝ่ ายเดียว (มาตรา ๑๘๑)
เดิมโจทกฟ์ ้องบริษทั รัชฎาเฟอร์นิเจอร์และก่อสร้าง จากดั เป็นจาเลย ตอ่ มาโจทกไ์ ด้
ยื่นคาร้องขอแกไ้ ขช่ือจาเลยเป็ น บริษทั ชฎาเฟอร์นิเจอร์และก่อสร้าง จากดั จาเลยย่ืนคาให้การ
มิไดก้ ลา่ วอา้ งวา่ ไมใ่ ช่จาเลยที่โจทกฟ์ ้อง และโจทกก์ ม็ ิไดค้ ดั คา้ นวา่ จาเลยมิใช่บุคคลที่โจทกฟ์ ้อง
เป็ นจาเลย การแกไ้ ขช่ือจาเลยให้ตรงต่อความจริงตามท่ีเขา้ ใจกนั อยู่แลว้ เช่นน้ี ไม่อยูใ่ นบงั คบั
จะตอ้ งปฏิบตั ิตามมาตรา ๒๑, ๑๘๑ (ฎีกาท่ี ๖๐๓/ ๒๕๒๓)
โจทก์ยื่นคาร้องขอแก้ไขคาฟ้องจากบา้ นเลขที่ ๗๓ หมู่ ๕ เป็ นบา้ นเลขที่ ๗๓/๑
หมู่ ๕ เพ่ือใหเ้ ป็นไปตามคาใหก้ ารของจาเลย การขอแกไ้ ขเลขบา้ นตามคาฟ้องดงั กลา่ ว หาใช่การ
ขอแกไ้ ขคาฟ้องตามมาตรา ๑๘๑ ไม่ (ฎีกาที่ ๖๐๑๗/๒๕๓๓)
คาร้องขอแกไ้ ขวนั ท่ีที่ธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงินตามเช็คโดยอา้ งว่าพิมพผ์ ิดพลาดน้นั
เป็นการขอแกไ้ ขรายละเอียดในฟ้อง (ฎีกาที่ ๑๐๕/๒๕๓๗)
๒. ตัวอย่างการส่ังคาร้องและรายงานกระบวนพจิ ารณา
๒.๑ เม่ือคาร้องขอแก้ไขคาฟ้องหรือคาให้การย่ืนภายในหลกั เกณฑ์ ตามมาตรา ๑๘๐
ส่ังว่า “นัดพิจารณาคาร้ องวันท่ี . . . . . เวลา . . . หมายส่ งสาเนาให้ (โจทก์หรื อจาเลย)
ทางไปรษณีย์ ถ้าจะคัดค้านประการใดให้ย่ืนคาแถลงภายใน . . . . วันนบั แต่วนั ได้รับหมายนัดให้
(โจทก์หรือจาเลย) วางเงินค่าใช้จ่ายในการจัดส่งภายในวันทาการถัดไป มิฉะนน้ั ถือว่าทิง้ คาร้อง”
กรณีผูร้ ้องยื่นคาแถลงขอให้เจา้ พนักงานศาลเป็ นผูส้ ่ง ส่ังว่า “นัดพิจารณาคาร้ องวันท่ี . . . . . .
เวลา . . . .หมายส่งสาเนาให้ (โจทก์หรือจาเลย) ถ้าจะคัดค้านประการใดให้ย่ืนคาแถลงภายใน
. . .วัน นับแต่วันได้รับหมายนัด ให้(โจทก์หรือจาเลย) นาส่งภายใน ๕ วัน มิฉะน้ันถือว่าทิง้ คาร้อง
การส่งหมายหากไม่มีผู้รับโดยชอบให้ปิ ดหมาย”
กรณีท่ีวนั ยนื่ คาร้องขอแกไ้ ขคาฟ้องหรือคาให้การ มีระยะเวลากระช้นั ชิดกบั วนั นดั
ช้ีสองสถาน สัง่ วา่ “สาเนาให้อีกฝ่ าย รอสอบและสั่งในวันนัด”
ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๖๕
๒.๒ “เน่ืองจากโจทก์ยื่นคาร้ องขอแก้ไขเพิ่มเติมคาฟ้องลงวันที่ . . . . .ศาลสอบจาเลย
จาเลยแถลงว่า ไม่คัดค้านในการท่ีโจทก์ขอแก้ไขเพิ่มเติมคาฟ้องนี้ และไม่คัดค้านที่ได้รับสาเนา
คาร้องล่วงหน้าน้อยกว่า ๓ วัน
พิเคราะห์แล้ว เห็นว่า ข้อท่ีโจทก์ขอแก้ไขเพ่ิมเติมนั้นเกี่ยวข้องกับฟ้องเดิม ท้ังได้
ย่ืนคาร้ องขอแก้ไขเพ่ิมเติมฟ้องก่อนวันชี้สองสถาน จึงอนุญาตให้แก้ไขเพ่ิมเติม คาฟ้องได้
(ถา้ จาเลยประสงค์จะโตแ้ ยง้ หักลา้ งขอ้ หาตามคาฟ้องแกไ้ ขเพ่ิมเติม ก็ให้ศาลกาหนดเวลาให้
จาเลยแกไ้ ขคาใหก้ ารและนดั ช้ีสองสถานไวล้ ่วงหนา้ )
๒.๓ “พิเคราะห์คาร้องขอแก้ไขเพิ่มเติมคาฟ้องของโจทก์ลงวันที่ . . . . ปรากฏว่าคาร้องนี้
ยื่นภายหลังวันชี้สองสถาน (หรื อเห็นว่าคาฟ้องเดิมและคาฟ้องที่เสนอโดยคาร้ องฉบับนี้
ไม่เก่ียวข้องกนั พอท่ีจะรวมการพิจารณาและชีข้ าดตดั สินเข้าด้วยกันได้) จึงให้ยกคาร้องของโจทก์”
ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๖๖
บทท่ี ๕/๑
การโอนคดไี ปยงั ศาลแพ่งตามมาตรา ๖/๑
การโอนคดีที่อาจกระทบต่อการอนุรักษ์หรือการบารุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติหรือ
สิ่งแวดล้อม การคุ้มครองบริโภคเป็ นส่วนรวม หรือประโยชน์สาธารณะอย่างอื่นที่สาคัญไปยัง
ศาลแพ่ง ตามมาตรา ๖/๑
คดีที่ยนื่ ฟ้องไวต้ อ่ ศาลช้นั ตน้ ซ่ึงไมใ่ ช่ศาลแพง่ ก่อนวนั ช้ีสองสถาน หรือก่อนวนั สืบพยาน
ไม่น้อยกว่าเจ็ดวนั ในกรณีที่ไม่มีการช้ีสองสถาน หากศาลท่ีคดีน้ันอยู่ระหว่างพิจารณาเห็นว่า
ผลของคดี ดังกล่าวอาจกระทบต่อการอนุ รักษ์หรื อการบารุ งรักษาทรัพยากรธรรมชาติหรื อ
ส่ิงแวดล้อม การคุ้มครองผูบ้ ริโภคเป็ นส่วนรวม หรือประโยชน์สาธารณะอย่างอื่นท่ีสาคญั
และการโอนคดีไปยงั ศาลแพง่ จะทาใหก้ ารพจิ ารณาพิพากษาคดีเป็นไปอยา่ งมีประสิทธิภาพยง่ิ ข้ึน
ให้ศาลแจง้ คู่ความทราบและทาความเห็นเสนอประธานศาลอุทธรณ์เพื่อมีคาสั่งให้โอนคดีน้ัน
ไปยงั ศาลแพง่ คาส่งั ของประธานศาลอุทธรณ์เป็นที่สุด
ข้อสังเกต
๑. การขอโอนคดีไปยงั ศาลแพ่งตามมาตรา ๖/๑ เป็ นดุลพินิจศาลช้นั ตน้ ท่ีพิจารณาคดีน้นั
คู่ความไม่มีสิทธิขอโอนคดีตามมาตราน้ี แต่คู่ความอาจยื่นคาแถลงต่อศาลเพื่อประกอบการ
พจิ ารณาสง่ั ตามมาตราน้ีได้
๒. ในกรณีท่ีศาลช้นั ตน้ ที่พจิ ารณาคดีเห็นวา่ ควรโอนคดีไปยงั ศาลแพ่งศาลช้นั ตน้ มีหนา้ ท่ี
เพียงแจง้ คู่ความทราบว่าจะโอนคดีและทาความเห็นเสนอประธานศาลอุทธรณ์ แต่ไม่มีอานาจ
ออกคาสั่งโอนคดี
๓. ศาลช้นั ตน้ ที่จะโอนคดีตามมาตรา ๖/๑ ไม่ตอ้ งสอบถามความยินยอมไปยงั ศาลแพ่ง
ซ่ึงเป็ นศาลที่จะรับโอนคดี ศาลแพ่งก็ไม่มีอานาจไม่ยินยอมรับโอนคดี เน่ืองจากกรณีน้ีไม่ใช่
การโอนคดีตามมาตรา ๖
๔ การออกคาส่ังให้โอนคดีไปยงั ศาลแพ่ง หรือไม่ใหโ้ อนคดีตามมาตรา ๖/๑ เป็นอานาจ
ของประธานศาลอุทธรณ์ และคาสง่ั ของประธานศาลอทุ ธรณ์เป็นท่ีสุด
๕. ศาลแพ่งซ่ึงไดร้ ับโอนคดีตามมาตรา ๖/๑ มีอานาจดาเนินกระบวนพิจารณาใด ๆ นอกเขต
ศาลได้ตามที่เห็นสมควร (มาตรา ๑๕ วรรคสาม) เช่น องค์คณะผูพ้ ิพากษาสามารถออกไป
สืบพยานท่ีอยู่นอกเขตอานาจดว้ ยตนเองไดโ้ ดยไม่ตอ้ งส่งประเด็น หรือศาลแพ่งมีอานาจออก
ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๖๗
หมายเรียกคู่ความหรือบุคคลนอกเขตศาลได้ โดยไม่ต้องให้ศาลซ่ึงมีอานาจในเขตศาลน้ัน
สลกั หลงั หมาย
ตวั อย่างรายงานกระบวนพจิ ารณา
“คดีนี้ โจทก์ทั้งย่ีสิบฟ้องขอให้บังคับจาเลยชดใช้ค่าสินไหมทดแทนจากการท่ี
จาเลยกระทาละเมิดโจทก์ทั้งยส่ี ิบโดยจาเลยจงใจปล่อยนา้ เสียจากกระบวนการผลิตของโรงงาน
จาเลยลงแหล่งนา้ สาธารณะ เป็ นเหตุให้โจทก์ท้ังย่ีสิบตลอดจนประชาชนท่ีอาศัยอยู่ในชุมชน
ได้ รั บความเสี ยหายแก่ อนามั ยและได้ รั บผลกระทบต่ อการดารงชีวิตอย่ างรุ นแรงในวงกว้ าง
โดยคู่ความต่างอ้างอิงพยานหลักฐานทางนิติวิทยาศาสตร์ จานวนมาก เห็นว่า ผลของคดีนีอ้ าจ
กระทบต่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม พยานหลักฐานที่สาคัญส่ วนมากเป็ นหลักฐานทางนิติ
วิทยาศาสตร์ซ่ึงจาเป็นต้องอาศัยพยานผู้เช่ียวชาญส่วนกลาง การโอนคดีไปยังศาลแพ่งจะทาให้
การพิจารณาพิพากษาคดีเป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพย่ิงขึน้ จึงให้ส่งความเห็นพร้ อมสานวน
หรือสาเนาสานวนความที่จาเป็ น ไปยังประธานศาลอุทธรณ์เพ่ือมีคาสั่งโอนคดีไปยังศาลแพ่ง
ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๖/๑ วรรคหน่ึง
หมายแจ้งคู่ความทราบ และนัดพร้ อมเพ่ือฟังคาส่ังของประธานศาลอุทธรณ์
ในวนั ที่.......... ไม่มีผู้รับโดยชอบให้ปิ ดหมาย.”
เมื่อได้รับคาสั่งของประธานศาลอุทธรณ์แล้ว ในวันนัดพร้อม จดรายงานกระบวน
พจิ ารณาว่า
“นัดพร้อมเพื่อฟังคาสั่งของประธานศาลอุทธรณ์เกี่ยวกับการโอนคดีวันนี้ โจทก์
และจาเลยมาศาล
อ่านคาส่ังของประธานศาลอทุ ธรณ์ให้คู่ความฟังแล้ว
เนื่องจากประธานศาลอุทธรณ์ มีคาสั่งให้ โอนคดีนีไ้ ปยังศาลแพ่ง ตาม ป.วิ.พ.
มาตรา ๖/๑ จึงให้โอนสานวนคดีนีไ้ ปพิจารณาที่ศาลแพ่ง โดยคู่ความขอนัดพร้ อมที่ศาลแพ่ง
ในวนั ท่ี........เวลา.... ให้จาหน่ายคดีนจี้ ากสารบบความ”
หรื อ
“เน่ืองจากประธานศาลอุทธรณ์มีคาสั่งไม่ให้ โอนคดีนีไ้ ปยังศาลแพ่งให้ นัดชี้
สองสถาน/นดั สืบพยาน......วนั ท่ี..........”
ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๖๘
บทที่ ๖
การวางทรัพย์และวางเงนิ
๑. การวางเงินตาม ป.ว.ิ พ. มาตรา ๑๓๕, ๑๓๖
๑.๑ จาเลยย่ืนคาแถลงขอวางเงินต่อศาลโดยยอมรับผิด ส่ังว่า “รับเงินลงบัญชีไว้
ให้ โจทก์ ทราบ”
๑.๒ เม่ือโจทก์แถลงขอรับเงินโดยไม่ติดใจเรียกร้องมากไปกว่าน้ันอีก ส่ังว่า “จ่ายให้
โจทก์ได้”
เมื่อโจทกร์ ับเงินที่จาเลยวางเช่นน้ี ศาลก็พิพากษาคดีไปตามน้นั และคาพิพากษาน้นั
เป็นอนั ถึงที่สุดตามมาตรา ๑๓๖
ข้อสังเกต
๑. จาเลยอาจวางด้วยเช็คซ่ึงธนาคารรับรองก็ได้ (อา้ งอิงระเบียบคณะกรรมการบริหาร
ศาลยุติธรรม ว่าด้วยเงินค่าธรรมเนียมศาล เงินค่าปรับและเงินกลาง พ.ศ. ๒๕๕๖, ระเบียบ
กระทรวงการคลงั วา่ ดว้ ยการรับเงิน ผลประโยชนเ์ ป็นเชค็ พ.ศ. ๒๕๓๗)
๒. การวางเงินตามมาตรา ๑๓๕, ๑๓๖ แตกตา่ งจากการวางทรัพยอ์ นั เป็นวตั ถุแห่งหน้ี
ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๓๓๑ ถึง ๓๓๙ (ดูระเบียบกระทรวงยตุ ิธรรม วา่ ดว้ ยการวางทรัพย์ สานกั งาน
วางทรัพยก์ ลาง กรมบงั คบั คดี พ.ศ. ๒๕๑๘)
๒. การวางทรัพย์ในเขตศาลจงั หวดั ทไี่ ม่มีสานักงานบังคบั คดตี ้ังอยู่
เม่ือผอู้ านวยการ ฯ รายงานผูพ้ พิ ากษาหวั หนา้ ศาลและรับทรัพยไ์ วแ้ ลว้ ให้ผพู้ ิพากษา
หัวหน้าศาลแจง้ ให้ผูอ้ านวยการสานักงานบงั คับคดีและวางทรัพยภ์ ูมิภาคที่มีเขตอานาจทราบ
(ตามระเบียบกระทรวงยตุ ิธรรม ว่าดว้ ยการปกครองและปฏิบตั ิราชการของสานกั งานบงั คบั คดี
ในส่วนภูมิภาค พ.ศ. ๒๕๔๔ ขอ้ ๑๑.๓)
ข้อสังเกต
ให้ดูระเบียบกระทรวงยุติธรรมว่าดว้ ยการประเมินราคาทรัพย์ สานักงานวางทรัพยก์ ลาง
สานกั งานบงั คบั คดีและวางทรัพยภ์ ูมิภาค และสานกั งานบงั คบั คดีจงั หวดั พ.ศ. ๒๕๔๐
ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๖๙
๓. การขายทรัพย์ทวี่ าง
เม่ือสานักงานวางทรัพยก์ ลาง สานักงานบงั คบั คดีและวางทรัพยภ์ ูมิภาค หรือสานักงาน
บังคับคดีจังหวัด ท่ีอยู่ในเขตอานาจศาล มีหนังสือขออนุญาตขายทรัพย์ที่วางโดยเห็นว่า
อาจเสื่อมราคาหรือบุบสลายได้ หรือโดยท่ีผูว้ างทรัพย์ให้ความยินยอมและมอบอานาจไว้
ล่วงหน้าว่าให้นาทรัพย์ท่ีวางออกขายทอดตลาด เพื่อเอาเงินที่ได้จากการขายวางไว้แทน
สั่งว่า “อนุญาตให้ขายทอดตลาดทรัพย์ท่ีวาง” (ตามระเบียบกระทรวงยุติธรรม ว่าดว้ ยการ
วางทรัพยส์ านกั งานวางทรัพยก์ ลาง กรมบงั คบั คดี พ.ศ. ๒๕๑๘ ขอ้ ๑๑)
ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๗๐
ส่วนที่ ๓
ช้ันชี้สองสถาน
บทที่ ๑
การกาหนดให้มีการชี้สองสถาน
๑. กรณีท่ีมกี ารชี้สองสถาน
เมื่อจาเลยย่ืนคาให้การหรือโจทก์ย่ืนคาให้การแกฟ้ ้องแยง้ สาหรับกรณีท่ีจาเลยฟ้องแยง้
เขา้ มาดว้ ยแลว้ ศาลตอ้ งทาการช้ีสองสถานต่อไป โดยตอ้ งแจง้ กาหนดวนั ช้ีสองสถานใหค้ ู่ความ
ทราบล่วงหนา้ ไมน่ อ้ ยกวา่ ๑๕ วนั (มาตรา ๑๘๒ วรรคหน่ึง)
๒. กรณีทไ่ี ม่ต้องทาการชี้สองสถาน (ตามมาตรา ๑๘๒ วรรคหน่ึง)
กรณีตอ่ ไปน้ีศาลไม่ตอ้ งทาการช้ีสองสถาน
๒.๑ จาเลยคนใดคนหน่ึงขาดนดั ยนื่ คาใหก้ าร
๒.๒ คาใหก้ ารของจาเลยเป็นการยอมรับโดยชดั แจง้ ตามคาฟ้องโจทกท์ ้งั ส้ิน
๒.๓ คาให้การของจาเลยเป็ นคาให้การปฏิเสธขอ้ อ้างของโจทก์ท้งั ส้ิน โดยไม่มีเหตุ
แห่งการปฏิเสธ
๒.๔ ศาลเห็นสมควรวนิ ิจฉยั คดีใหเ้ สร็จไปท้งั เร่ืองโดยไม่ตอ้ งสืบพยาน
๒.๕ คดีมโนสาเร่ตามมาตรา ๑๘๙ หรือคดีไม่มีขอ้ ยงุ่ ยากตามมาตรา ๑๙๖
๒.๖ คดีท่ีศาลเห็นวา่ มีประเดน็ ขอ้ พิพาทไม่ยงุ่ ยาก หรือไม่จาเป็นท่ีจะตอ้ งช้ีสองสถาน
กรณีท่ีศาลไม่ตอ้ งมีการช้ีสองสถาน ศาลตอ้ งมีคาส่ังงดการช้ีสองสถาน และกาหนดวนั นดั
สืบพยานสาหรับกรณีท่ีตอ้ งมีการสืบพยานตอ่ ไป (มาตรา ๑๘๒ วรรคสอง)
ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๗๑
บทท่ี ๒
กระบวนการพจิ ารณาในช้ันชี้สองสถาน
๑. กระบวนพจิ ารณาทต่ี ้องกระทาและพงึ กระทาก่อนวนั ชี้สองสถาน
๑.๑ กระบวนพจิ ารณาท่ีต้องกระทา
๑.๑.๑ ศาลตอ้ งกาหนดวนั ช้ีสองสถานและแจง้ วนั นัดให้คู่ความทราบ เม่ือไดย้ ่ืน
คาฟ้อง คาให้การและคาให้การแกฟ้ ้องแยง้ (ถา้ หากมี) แลว้ โดยศาลจะส่ังในคาให้การของจาเลย
คนหลงั สุดว่า “รับเป็ นคาให้ การ สาเนาให้ โจทก์ นัดชี้สองสถาน”พร้อมกับแจ้งกาหนดวนั
ช้ีสองสถานใหค้ ู่ความทราบล่วงหนา้ ไมน่ อ้ ยกวา่ ๑๕ วนั (มาตรา ๑๘๒ วรรคหน่ึง)
การแจ้งกาหนดวนั ช้ีสองสถานศาลจะมีคาสั่งให้โจทก์มีหน้าท่ีนาส่งก็ได้
(มาตรา ๗๐)
การช้ีสองสถานเป็ นการนั่งพิจารณาอย่างหน่ึง(มาตรา๑(๙)) ดงั น้นั ถา้ คู่ความ
ฝ่ ายใดฝ่ ายหน่ึงถึงแก่ความตายและแจ้งให้ศาลทราบแลว้ ศาลจะตอ้ งส่ังเล่ือนการนัดช้ีสองสถาน
ที่นดั ไวอ้ อกไปจนกวา่ จะมีบุคคลตามมาตรา ๔๒ เขา้ มาเป็นคูค่ วามแทน (ฎีกาที่ ๑๐๑๐/๒๕๓๙)
๑.๑.๒ การพิจารณาเร่ืองการขอแกไ้ ขคาฟ้องหรือคาให้การ ถา้ หากมีเพราะการแกไ้ ข
คาฟ้องและคาให้การ (มาตรา ๑๘๐) น้ัน ในคดีที่มีการช้ีสองสถาน การร้องขอแกไ้ ขคาฟ้อง
หรือคาใหก้ ารจะตอ้ งกระทาก่อนวนั ช้ีสองสถาน เวน้ แตก่ รณีเขา้ ขอ้ ยกเวน้ ตอ่ ไปน้ี
๑.๑.๒.๑ ขอ้ ที่ยกข้ึนขอแกไ้ ขน้นั เก่ียวกบั ความสงบเรียบร้อยของประชาชน
๑.๑.๒.๒ เป็นขอ้ ที่ไม่อาจยกข้ึนอา้ งไดก้ ่อนวนั ช้ีสองสถาน
๑.๑.๒.๓ เป็นการแกไ้ ขขอ้ ผิดพลาดหรือผิดหลงเลก็ ๆ นอ้ ย ๆ เช่น เขียนผดิ
พมิ พผ์ ิด เป็นตน้
หากมีการขอแก้ไขคาฟ้องหรื อคาให้การก่อนวันช้ีสองสถาน ก็ให้ศาล
ดาเนินการไปตามกฎหมายและมีคาสง่ั ในเร่ืองน้ีก่อน
๑.๒ กระบวนพจิ ารณาทพ่ี งึ กระทา
๑.๒.๑ การสั่งให้คู่ความมาศาลดว้ ยตนเองตามมาตรา ๑๙ แมว้ ่ากฎหมายจะมิได้
บังคับว่าจะต้องกระทาก่อนวันช้ีสองสถาน แต่การสั่งให้คู่ความมาศาลด้วยตนเองจะก่อ
ประโยชน์ในการไกล่เกลี่ยใหค้ ู่ความตกลงกนั หรือประนีประนอมยอมความกนั ตามท่ีบญั ญตั ิไว้
ในมาตรา ๒๐ มาตรา ๒๐ ทวิ
ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๗๒
๑.๒.๒ การเรียกคา่ ข้ึนศาลเพม่ิ
เนื่องจากจาเลยให้การต่อสู้คดี ทาให้คดีน้นั ซ่ึงเดิมเป็ นคดีที่ไม่มีทุนทรัพย์
กลายเป็ นคดีท่ีมีทุนทรัพย์ เช่น โจทก์ฟ้องขับไล่เป็ นคดีไม่มีทุนทรัพย์ จาเลยให้การต่อสู้
กรรมสิทธ์ิหรือสิทธิครอบครอง ทาให้คดีที่โจทก์ฟ้องกลายเป็ นคดีมีทุนทรัพยห์ รือจาเลยอาจ
โตแ้ ยง้ ว่าราคาทรัพยพ์ ิพาทท่ีโจทกร์ ะบุมาในคาฟ้องน้นั ต่ากวา่ ความเป็นจริงควรดาเนินการตีราคา
ทรัพยพ์ พิ าทและเรียกคา่ ข้ึนศาลจากโจทกเ์ พม่ิ
๑.๒.๓ การจดั ใหค้ ู่ความตรวจสอบเอกสารหรือพยานวตั ถุ
ในบางคดีคู่ความอาจแนบสาเนาพยานเอกสารหรือพยานวตั ถุท่ีสาคญั มา
ในคาฟ้องหรือคาให้การด้วย หรืออาจขออนุญาตส่งต้นฉบบั เอกสารต่อศาลแทนการส่งสาเนา
ตามมาตรา ๙๐ (๓) ไวต้ ้งั แตก่ ่อนวนั ช้ีสองสถานเช่นน้ีหากศาลจดั ใหม้ ีการนดั พร้อมเสียช้นั หน่ึงก่อน
วนั ช้ีสองสถานเพื่อให้คู่ความไดม้ ีโอกาสตรวจดูตน้ ฉบบั เอกสารหรือตวั พยานวตั ถุของฝ่ ายตรงขา้ ม
แลว้ อาจช่วยใหค้ ู่ความตกลงกนั ไดง้ า่ ยข้ึน หรือจะออกคาสง่ั ใหค้ ู่ความเตรียมนาตน้ ฉบบั เอกสาร
หรือพยานวตั ถุท่ีสาคญั น้นั มาศาลในวนั ช้ีสองสถานดว้ ย โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งเมื่อมีคู่ความฝ่ ายใด
ฝ่ายหน่ึงร้องขอต่อศาลก่อนวนั ช้ีสองสถาน (ฎีกาท่ี ๑๕๒๙/๒๕๑๑)
๑.๒.๔ การจดั ทาแผนท่ีพิพาท
คดีท่ีพพิ าทเก่ียวกบั ท่ีดิน ก่อนวนั ช้ีสองสถานศาลอาจนดั พร้อมเพอ่ื พิจารณา
วา่ สมควรมีการจดั ทาแผนท่ีพิพาทหรือไม่ เมื่อศาลไดฟ้ ังคูค่ วามทุกฝ่ ายแลว้ เห็นว่า การทาแผนท่ี
พิพาทจะทาใหก้ ารพิจารณาคดีสะดวกและง่ายข้ึน ตลอดจนการบงั คบั คดีจะเป็ นการสะดวกแลว้
ศาลอาจส่ังให้ทาแผนที่พิพาทได้ (ฎีกาที่ ๕๓๙/๒๕๑๒) เม่ือพนักงานที่ดินจดั ทาแผนท่ีพิพาท
เสร็จและส่งมายงั ศาลแลว้ ศาลควรจะนดั ใหค้ ู่ความมาตรวจและรับรองแผนที่พพิ าทอีกคร้ังหน่ึง
ซ่ึงอาจจะเป็นในวนั นดั ช้ีสองสถานน้นั เอง หรือก่อนหนา้ น้นั แลว้ แตศ่ าลจะเห็นวา่ สะดวก
๑.๒.๕ การส่งตรวจพสิ ูจน์หลกั ฐาน
กรณีคู่ความโตเ้ ถียงกนั เรื่องความแท้จริงของเอกสารก่อนหรือในวนั นัด
ช้ีสองสถาน ศาลอาจสอบถามคู่ความถึงความจาเป็ นท่ีจะตอ้ งส่งเอกสารไปให้ผูเ้ ช่ียวชาญตรวจ
พิสูจน์ หากมีความจาเป็ นก็ให้ศาลส่งเอกสารดงั กล่าวไปตรวจพิสูจน์ เมื่อกองพิสูจน์หลกั ฐาน
สานกั งานตารวจแห่งชาติ หรือสถาบนั นิติวิทยาศาสตร์กระทรวงยตุ ิธรรม ส่งผลการตรวจพิสูจน์
กลบั มา ศาลตอ้ งใหค้ ู่ความทราบผลการตรวจพสิ ูจน์ก่อน