The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

1 คู่มือปฏิบัติราชการของตุลาการ 2562 ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง เล่มที่ 1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by aram.du, 2021-10-11 00:13:32

1 คู่มือปฏิบัติราชการของตุลาการ 2562 ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง เล่มที่ 1

1 คู่มือปฏิบัติราชการของตุลาการ 2562 ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง เล่มที่ 1

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๒๒๓

ในการสาบานนั้น คู่ความขอให้กระทาต่อหน้าผู้อานวยการฯ โดยโจทก์จะเป็นฝ่ ายนาผู้อานวยการฯ
ไปยงั . . . ค่าใช้จ่ายในการนโี้ จทก์ยอมทดรองจ่ายไปก่อน และให้ถือว่าเป็นค่าฤชาธรรมเนียมในคดี

คู่ความตกลงกันไปสาบานในวันที่ . . . . เวลา . . .น. และตกลงกันว่า ถ้าโจทก์ไม่ไป
โดยไม่มีข้อแก้ตวั อันควร ถือว่าโจทก์ไม่ยอมสาบาน ถ้าฝ่ ายจาเลยไม่ไปกใ็ ห้ดาเนินการสาบานไปได้

ศาลเห็นว่า คาท้าดังกล่าวชอบด้วยกฎหมาย จึงอนุญาตให้ดาเนินการไปตามความประสงค์
ของคู่ความ นดั พร้อม หรือนดั ฟังคาพิพากษาวันที่ . . . . เวลา . . . น.”

ตัวอย่างท่ี ๒
“นดั สืบพยานโจทก์วนั นี้ ทนายของท้ังสองฝ่ ายมาศาล ตัวโจทก์และจาเลยไม่มา
คู่ความท้ังสองฝ่ ายตกลงท้ากันว่า ให้ผู้เช่ียวชาญพิสูจน์ลายมือช่ือและลายพิมพ์นิ้วมือ
ในสัญญากู้และสัญญาค้าประกัน ถ้าผู้เชี่ยวชาญตรวจแล้วรายงานว่า ลายมือช่ือและลายพิมพ์
นิ้วมือไม่ใช่ของจาเลย ถือว่าโจทก์ยอมรับข้อเท็จจริงตามคาให้การของจาเลย โจทก์ยอมแพ้
ถ้าอย่างใดอย่างหนึ่งเป็นของจาเลยถือว่าจาเลยยอมรับว่าข้อเท็จจริงเป็นดังท่ีโจทก์ฟ้อง จาเลยยอมแพ้
คู่ความไม่ติดใจสืบพยานอื่นต่อไป
ค่าใช้จ่ายในการตรวจพิสูจน์ คู่ความตกลงกันว่าจะออกฝ่ ายละคร่ึง และจะนามาวางศาล
ภายในสามวัน โดยถือว่าเป็นค่าฤชาธรรมเนียมในคดี
ศาลเห็นว่า คาท้าดังกล่าวของคู่ความชอบด้วยกฎหมาย จึงอนุญาตให้ดาเนินการไปตาม
ความประสงค์ของคู่ความ นดั พร้อมหรือนดั ฟังคาพิพากษา ในวนั ท่ี . . . .เวลา . . . น.”

ตัวอย่างท่ี ๓
“นัดสืบพยานโจทก์วันนี้ โจทก์ จาเลยและทนายของท้ังสองฝ่ ายมาศาล
คู่ความทั้งสองฝ่ ายตกลงท้ากันว่าท่ีดินของทั้งสองฝ่ ายเป็ นท่ีดินมีโฉนด แต่หลักเขต
ระหว่างที่ดินสูญหายไป จึงขอให้ศาลมีคาส่ังให้เจ้าพนักงานท่ีดินรังวัด โดยการปูโฉนดตาม
หลักวิชาการว่า แนวเขตที่ดินของคู่ความท้ังสองฝ่ ายอย่บู ริเวณแนวใด หากเจ้าพนักงานท่ีดินรังวัด
ปักหลักเขตแล้ว มีความเห็นชีข้ าดว่าท่ีพิพาทอย่ใู นเขตของโจทก์ จาเลยยอมแพ้ ถ้าเจ้าพนักงานท่ีดิน
มีความเห็นชีข้ าดว่าที่พิพาทอย่ใู นเขตของจาเลย โจทก์ยอมแพ้ คู่ความไม่ติดใจสืบพยานอื่นต่อไป
ค่าใช้จ่ายในการตรวจพิสูจน์ คู่ความตกลงกันว่าจะออกฝ่ ายละครึ่ง และจะนามาวางศาล
ภายในสามวนั โดยถือว่าเป็นค่าฤชาธรรมเนียมในคดี
ศาลเห็นว่า คาท้าดังกล่าวของคู่ความชอบด้วยกฎหมาย จึงอนุญาตให้ดาเนินการไปตาม
ความประสงค์ของคู่ความ ให้ มีหนังสือถึงเจ้าพนักงานท่ีดินออกไปรังวัด โดยวิธีปูโฉนดตาม
หลักวิชาการว่า แนวเขตระหว่างที่ดินของคู่ความอยู่บริเวณใด และที่พิพาทอยู่ในเขตของโจทก์

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๒๒๔

หรือจาเลย โดยให้คู่ความทั่งสองฝ่ ายไปติดต่อและนาชีต้ ามความต้องการของเจ้าพนกั งานท่ีดิน
หากคู่ความฝ่ ายใดไม่ไปถือว่าไม่ติดใจนาชี้

ให้นดั พร้อมหรือนัดฟังคาพิพากษาวนั ท่ี . . . . เวลา . . . น.”

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๒๒๕

บทท่ี ๑๘
การเผชิญสืบ

ตามมาตรา ๑๐๒ ให้ศาลท่ีพิจารณาคดีเป็ นผู้สืบพยานหลักฐาน โดยจะสืบในศาล
หรือนอกศาล ณ ท่ีใด ๆ ก็ได้ แล้วแต่ศาลจะสั่งตามที่เห็นสมควรตามความจาเป็ นแห่งสภาพ
ของพยานหลกั ฐานน้ัน และตามมาตรา ๑๐๖/๑ และมาตรา ๑๐๘ เม่ือพยานมีสิทธิไม่ไปศาล
ศาลมีอานาจไปเผชิญสืบพยานน้นั นอกศาลได้ นอกจากน้ีในกรณีที่คูค่ วามมีความจานงจะให้ศาล
ตรวจสอบบุคคล วตั ถุ หรือสถานท่ีซ่ึงนามาใหต้ รวจสอบไม่ได้ ศาลก็มีอานาจท่ีจะออกไปเผชิญ
สืบตรวจสอบนอกศาลได้ การเผชิญสืบเป็ นการสืบพยานอยา่ งหน่ึง หากศาลออกไปเผชิญสืบนดั
แรกถือว่า วนั ดงั กล่าวเป็ นวนั สืบพยาน ตามมาตรา ๑ (๑๐) (ฎีกาท่ี ๓๘๗๒/๒๕๓๕) ก่อนไป
ใหจ้ ดรายงานกระบวนพจิ ารณาไวแ้ ละเมื่อเผชิญสืบเสร็จกใ็ หจ้ ดรายงานกระบวนพิจารณาไว้

รายงานกระบวนพจิ ารณาก่อนไปเผชิญสืบ

ตัวอย่างที่ ๑
“นดั สืบพยานโจทก์วนั นี้ คู่ความท้ังสองฝ่ ายมาศาล
สืบพยานโจทก์ได้ ๒ ปาก แล้วโจทก์แถลงว่ายงั ติดใจสืบพระภิกษุ . . . . . . พยานไม่ยอมมา
ศาล ขอให้ศาลไปเผชิญสืบที่วดั . . . . .ซึ่งโจทก์ได้นดั หมายกับพยานไว้แล้ว
จาเลยไม่ค้าน
เห็นสมควรที่จะเผชิญสืบพยานตามที่โจทก์ขอ ให้โจทก์จัดหาพาหนะมารับศาลและ
วางเงินค่าป่ วยการ (ตาราง ๓ ท้าย ป.วิ.พ.) ให้คู่ความไปพร้ อมกันที่วัด . . . วันนี้ เวลา . . . น.
เพื่ อเผชิ ญสื บพยาน ”

ตัวอย่างท่ี ๒
“นัดสืบพยานจาเลยวนั นี้ ทนายโจทก์ และทนายจาเลยมาศาล
สืบพยานจาเลยได้อีก ๑ ปาก แล้วทนายจาเลยแถลงหมดพยานจาเลย แต่จาเลยติดใจขอให้
ศาลออกไปเดินเผชิญสืบดูท่ีดินพิพาทซ่ึงจะทาให้ได้เห็นสภาพลักษณะที่แท้จริ งอันจะเป็ น
ประโยชน์แก่การพิจารณาพิพากษาต่อไป โดยจาเลยรับจะจัดหาพาหนะและออกค่าใช้จ่าย
ทนายโจทก์แถลงไม่คัดค้าน ฝ่ ายโจทก์จะไปรอ ณ ที่พิพาท
พิเคราะห์แล้วเห็นว่า การออกไปเผชิญสืบดูท่ีพิพาทจะเป็ นประโยชน์แก่การพิจารณา
พิพากษา จึงให้นัดไปเผชิญสืบดูท่ีพิพาทวันที่ . . . . .เวลา . . . น. ให้จาเลยจัดพาหนะมารับศาล
และวางเงินค่าป่ วยการตามระเบียบ”

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๒๒๖

ตัวอย่างท่ี ๓
“นดั สืบพยานโจทก์วนั นี้ ทนายโจทก์ และทนายจาเลยมาศาล
ทนายโจทก์แถลงว่า ขอให้ศาลไปเผชิญสืบดูทางพิพาท ซ่ึงเป็นทางภาระจายอมเพ่ือจะได้
เห็นสภาพลักษณะท่ีแท้จริง เพื่อสะดวกและเป็นประโยชน์แก่การพิจารณาพิพากษาโดยโจทก์ขอ
ออกค่าใช้จ่ายและรับจะจัดยานพาหนะมารับศาล
ทนายจาเลยไม่คัดค้าน
พิเคราะห์ แล้วเห็นว่า การไปเผชิญสืบดูทางพิพาทจะเป็ นประโยชน์แก่การพิจารณา
และพิพากษาต่อไป จึงให้นัดไปเผชิญสืบดูทางพิพาท วันที่ . . . . . เวลา . . . น. ให้โจทก์จัด
พาหนะมารับศาล และให้วางเงินค่าป่ วยการตามระเบยี บ”

รายงานกระบวนพจิ ารณาหลงั จากเสร็จการเผชิญสืบ

ตัวอย่างท่ี ๑
“วันนีศ้ าลและคู่ความได้มาที่วัดแหลมสน ตาบลปากนา้ กระแส อาเภอแกลง จังหวัดระยอง
เพื่อเผชิญสืบพระภิกษุ . . . . .พยานโจทก์
สืบพยานดงั กล่าวเสร็จแล้ว ทนายโจทก์แถลงขอเล่ือนไปสืบพยานโจทก์ท่ีเหลือนัดหน้า
จาเลยไม่ค้าน
อนญุ าตให้เล่ือนไปนัดสืบพยานโจทก์วนั ที่ . . . . . เวลา . . . น”

ตัวอย่างท่ี ๒
“วนั นศี้ าลได้มาตรวจสภาพบ้าน ณ ที่เกิดเหตุ คู่ความมาพร้อม
ทนายโจทก์ชีใ้ ห้ดูบ้านที่โจทก์อ้างว่าจาเลยบุกรุกเข้าปลูกในที่ดินของโจทก์ ศาลตรวจดู
แล้วปรากฏว่าบ้านดังกล่าวมีสภาพเป็นเพิงพักชั่วคราว หลังคามุงจาก เสาทาด้วยไม้ไผ่ฝาทาด้วย
ไม้อัดใช้แล้ว ตามโคนเสายงั มีกองดินอยู่ ลกั ษณะเป็นดินที่ขดุ ขึน้ มาใหม่ ๆ
ทนายโจทก์แถลงว่า ติดใจให้ดูสภาพบ้านและบันทึกไว้เพียงเท่านีข้ อกลับไปสืบพยาน
โจทก์ต่อท่ีศาลวันนี้ เวลา ๑๓.๓๐ น.
ทนายจาเลยไม่ค้าน
อนญุ าตตามขอ”

ตวั อย่างท่ี ๓
“นัดเผชิญสืบดูท่ีดินพิพาทวันนี้ โจทก์ ทนายโจทก์จาเลย และทนายจาเลยมาพร้ อม
ณ ที่ดินพิพาท ตาบล . . . . . อาเภอ . . . . .จังหวดั . . . . .

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๒๒๗

ตรวจดูที่ดินพิพาทแล้ว เป็ นท่ีดินเนินเขา ทิศเหนือกว้างประมาณ . . . . เมตร ทิศใต้
กว้างประมาณ . . . เมตร ทิศตะวันออก กว้างประมาณ . . . เมตร ทิศตะวันตก กว้างประมาณ . . . เมตร
ทิศตะวันตกอยู่บริ เวณเชิงเขามีหนองน้าเล็ก ๆ ถัดขึ้นไปทางซ้ายเป็ นสวนสะตอ ทางขวา
เป็ นสวนยางพารา ซึ่งสวนท้ังหมดมีลักษณะขาดการดูแล มีกระท่อมร้ างอยู่ส่วนบนของที่ดิน
บริเวณท่ีดินรอบ ๆ นอกเขตที่ดินพิพาทเป็ นสวนยางพารา และมะม่วงหิมพานต์ ซึ่งมีลักษณะ
ขาดการดูแลเช่นเดียวกัน ไม่ปรากฏว่ามีบ้านพักอาศัยของผู้ใดอีก คู่ความติดใจให้ศาลเผชิญสืบ
ดูเพยี งเท่านี้

เสร็จสิ้นการเผชิญสืบแล้ว คู่ความท้ังสองฝ่ ายไม่ติดใจให้ศาลดาเนินกระบวนพิจารณาใดอีก
คดีเสร็จการพิจารณา
นัดฟังคาพิพากษาวนั ท่ี . . . . . เวลา . . . น.”

ตัวอย่างที่ ๔
“นัดเผชิญสืบดูทางพิพาทวันนี้ โจทก์ ทนายโจทก์ จาเลยและทนายจาเลยมาพร้ อม
ณ ทางพิพาท หมู่ . . . . ตาบล . . . .อาเภอ . . . .จังหวดั . . . .
ตรวจดูทางพิพาทซึ่งเป็ นทางภาระจายอม และบริเวณโดยรอบตามท่ีคู่ความท้ังสอง
นาชีแ้ ล้ว บริเวณดังกล่าวเป็ นสวนยางพารา ซ่ึงคู่ความท้ังสองฝ่ ายรับกันว่า เป็ นสวนของจาเลย
ซ่ึงเป็ นท่ีดินโฉนดเลขที่ . . . .ตาบล . . . .อาเภอ . . . .จังหวัด . . . .ทางทิศเหนือของที่ดินจาเลย
คู่ความรับกันว่าเป็ นท่ีดินของโจทก์ โฉนดเลขท่ี . . . . ตาบล . . . .อาเภอ . . . .จังหวัด . . . .
ส่วนด้านทิศใต้ของท่ีดินจาเลยเป็นถนนสาธารณะชื่อถนนปะเหลยี น ตรวจดูแล้วพบว่า มีลาธาร
เลก็ ๆ ไหลผ่านที่ดินจาเลยจากทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ โจทก์ชี้
ให้ดูแนวทางเดินจากท่ีดินโจทก์ผ่านท่ีดินจาเลยออกสู่ถนนปะเหลียน ตรวจดูแล้วเห็นว่าเป็ น
แนวทางเล็ก ๆไม่ค่อยมีต้นหญ้า ส่วนบริเวณข้างทางมีต้นหญ้าขึน้ เต็ม แนวทางนีผ้ ่านมาถึง
ลาธารมีแผ่นไม้ ๑ แผ่น วางพาดสาหรับข้ามลาธาร แล้วแนวทางนีย้ าวไปจนถึงถนนปะเหลียน
คู่ความติดใจให้ศาลเผชิญสืบดเู พยี งเท่านี้ แล้วคู่ความขอให้นัดสืบพยานโจทก์ต่อไป
เสร็จสิน้ การเผชิญสืบแล้ว นดั สืบพยานโจทก์วนั ที่ . . . . . เวลา . . . น.”

ข้อสังเกต
๑. การเผชิญสืบเป็ นการสืบพยาน จาเลยซ่ึงมีหน้าท่ีนาสืบก่อนขอเผชิญสืบ
ท่ีพิพาท และศาลไดไ้ ปเผชิญสืบในวนั ท่ีจาเลยขอ ถือไดว้ ่าเป็ นการสืบพยาน และวนั ดงั กล่าว
เป็นวนั สืบพยานตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๑ (๑๐) ประกอบมาตรา ๑๐๒ วรรคแรก การท่ีโจทก์ไดร้ ่วม
ไปเผชิญสืบในวนั น้ันย่อมถือไดว้ ่าโจทก์ไดม้ าศาลในวนั สืบพยาน ตามมาตรา ๑๙๗ วรรคสอง

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๒๒๘

แมโ้ จทก์จะไม่มาศาลในวนั สืบพยานจาเลยนัดต่อมา ก็ไม่เป็ นการขาดนดั พจิ ารณา ที่ศาลช้นั ตน้
มีคาส่งั วา่ โจทกข์ าดนดั พิจารณาแลว้ สืบพยานจาเลยตอ่ ไปโดยมิไดส้ ืบพยานฝ่ ายโจทก์ เป็นกรณี
ท่ีศาลช้นั ตน้ มิไดป้ ฏิบตั ิตามบทบญั ญตั ิแห่ง ป.วิ.พ. ว่าดว้ ยการพิจารณา ศาลฎีกายอ่ มเพิกถอน
กระบวนพิจารณาท่ีมิชอบดังกล่าวเสีย ตามมาตรา ๒๔๓(๒) ประกอบด้วยมาตรา ๒๔๗
โดยพิพากษายกคาสั่งของศาลช้นั ตน้ ท่ีให้โจทก์ขาดนัดพิจารณาและกระบวนพิจารณาภายหลงั
จากน้นั ท้งั หมดกบั ใหย้ กคาพิพากษาของศาลล่างท้งั สอง ให้ศาลช้นั ตน้ ดาเนินกระบวนพิจารณา
แลว้ พิพากษาใหมต่ ามรูปคดี (ฎีกาที่ ๓๘๗๒/๒๕๓๕)

๒. ในการเผชิญสืบศาลควรจดรายงานกระบวนพิจารณาเฉพาะท่ีศาลมองเห็นดว้ ยตา
แม้คู่ความไม่นาช้ีแต่ถ้าศาลมองเห็นเองก็สามารถจดได้ ส่วนข้อโต้แย้งอ่ืนของคู่ความ
ไมจ่ าเป็นตอ้ งจด เป็นเรื่องที่ตอ้ งนาสืบพยานในช้นั ศาล

๓. คู่ความอาจถ่ายภาพวตั ถุหรือสถานที่หรือถ่ายวีดีทศั น์หรือบนั ทึกลงในวสั ดุ
ซ่ึงสามารถถ่ายทอดเป็ นภาพหรือเสียง หรือภาพและเสียง หรือโดยวิธีการอ่ืนใด ( เช่น CD,
DVD ฯลฯ) ส่งศาลประกอบการเผชิญสืบได้ เพ่ือความสะดวกในการพิจารณาของศาลสูง

๔. ในการเผชิญสืบผพู้ พิ ากษาตอ้ งไปครบองคค์ ณะ

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๒๒๙

บทที่ ๑๙

การตกลงเกย่ี วกบั การสืบพยาน

๑. การตกลงให้แต่งต้งั เจ้าพนักงานทาการสืบพยานนอกศาล

ปกติในการพิจารณาคดี ศาลจะเป็ นผู้สืบพยานหลักฐานในศาลตามมาตรา ๑๐๒
แต่คู่ความอาจตกลงกนั เก่ียวกบั การสืบพยานหลกั ฐานส่วนใดส่วนหน่ึงนอกศาล โดยขอให้ศาล
แต่งต้งั เจา้ พนกั งานศาลหรือเจา้ พนกั งานอ่ืนไปทาการสืบพยานหลกั ฐานที่จะตอ้ งกระทานอกศาล
เช่น การสืบพยานบุคคลนอกศาล หรือการตรวจดูวตั ถุหรือสถานที่นอกศาล แทนการที่ศาล
จะตอ้ งออกไปเผชิญสืบพยานหลกั ฐานน้นั เองตามมาตรา ๑๐๓/๑ วรรคหน่ึง โดยมีหลกั เกณฑ์
และวิธีการดงั น้ี

(๑) คู่ความทุกฝ่ ายตอ้ งตกลงร่วมกันในการขอสืบพยานนอกศาล การขออาจกระทา
โดยการแถลงดว้ ยวาจาหรือเป็นหนงั สือก็ได้

(๒) การร้องขอดงั กล่าวตอ้ งระบุพยานหลกั ฐานที่ประสงคจ์ ะสืบนอกศาลและเหตุผลที่ขอ
กรณีขอให้แต่งต้งั เจา้ พนักงานอื่นควรระบุตาแหน่งหรือชื่อสกุลของเจา้ พนักงานที่ขอให้ศาล
แต่งต้งั ใหท้ าการสืบพยานหลกั ฐานดงั กลา่ วโดยคูค่ วามทกุ ฝ่ ายตอ้ งเห็นชอบดว้ ย

(๓) การตกลงให้ศาลแต่งต้งั เจา้ พนักงานทาการสืบพยานนอกศาลตามมาตรา ๑๐๓/๑
เป็ นขอ้ ยกเวน้ ของมาตรา ๑๐๒ ศาลจึงตอ้ งพิจารณาแล้วเห็นเป็ นการจาเป็ นและสมควรอย่าง
แทจ้ ริง จึงจะมีคาสั่งอนุญาตตามขอ้ ตกลงได้ ท้งั น้ี ศาลอาจกาหนดกรอบให้เจา้ พนักงานศาล
หรือเจา้ พนักงานอื่นดาเนินการอยา่ งหน่ึงอยา่ งใดก็ได้ โดยศาลอาจจดรายงานกระบวนพิจารณา
ว่า ให้เจา้ พนักงานศาลหรือเจา้ พนกั งานอื่นก็ดี กระทาการสืบพยานอย่างไรบา้ ง เพ่ือเป็ นกรอบ
หรือแนวทางในการสืบพยานนอกศาล

กรณีท่ีคู่ความขอให้ศาลแต่งต้ังเจ้าพนักงานตามที่ศาลเห็นสมควร ศาลอาจแต่งต้ัง
เจ้าพนักงานศาลตามบทนิยามในขอ้ ๓ ของขอ้ กาหนดของประธานศาลฎีกาว่าดว้ ยแนวทาง
การนาสืบพยานหลกั ฐานและการสืบพยานบุคคลท่ีอยนู่ อกศาลโดยระบบการประชุมทางจอภาพ
พ.ศ. ๒๕๕๖ ไดแ้ ก่ ขา้ ราชการศาลยตุ ิธรรมซ่ึงปฏิบตั ิหนา้ ที่ดา้ นกฎหมายระดบั ชานาญการข้ึนไป
หรือสาเร็จการศึกษาระดบั ปริญญาโททางกฎหมาย หรือเป็นสามญั สมาชิกแห่งเนติบณั ฑิตยสภา
ในกรณีที่ไม่มีขา้ ราชการศาลยตุ ิธรรมดงั กล่าว ผพู้ ิพากษาหวั หนา้ ศาลอาจมอบหมายใหข้ า้ ราชการ
ศาลยตุ ิธรรมคนหน่ึงไปทาหนา้ ที่เจา้ พนกั งานศาลกไ็ ด้ หรือแตง่ ต้งั เจา้ พนกั งานอื่น เช่น เจา้ หนา้ ที่
ของรัฐในหน่วยงานอ่ืนที่มีตาแหน่งหนา้ ที่เหมาะสม หรือมีความรู้ความเช่ียวชาญในเรื่องเกี่ยวกบั

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๒๓๐

พยานหลกั ฐานท่ีจะสืบแลว้ แต่กรณี กรณีท่ีศาลแต่งต้งั เจา้ พนักงานอ่ืนไปสืบพยานนอกศาลน้นั
เจา้ พนกั งานท่ีไดร้ ับแตง่ ต้งั ตอ้ งยนิ ยอมดว้ ยในการแตง่ ต้งั

กรณีท่ีศาลเห็นเป็นการจาเป็นและสมควรที่จะมีคาส่ังอนุญาต เช่น สถานที่ท่ีจะไปตรวจดู
อยู่ห่างไกลทุรกันดาร ไม่สะดวกในการเดินทางของศาล ก็อาจแต่งต้งั ผูป้ กครองท้องท่ีหรือ
เจา้ พนกั งานท่ีดินใหไ้ ปตรวจดูท่ีดินพิพาทแทน หรือกรณีตอ้ งไปตรวจดูความเสียหายของอาคาร
ใกลเ้ คียงสถานที่ก่อสร้าง ซ่ึงหากให้วิศวกรไปตรวจดูก็จะไดข้ อ้ เท็จจริงครบถว้ นชัดเจนและ
รวดเร็ว เป็ นประโยชน์แก่การพิจารณาพิพากษาคดี ก็อาจแต่งต้งั ขา้ ราชการสายงานวิศวกรรม
โยธาของหน่วยงานใดหน่วยงานหน่ึงให้ไปตรวจดูแทน แต่หากพยานเป็ นบุคคลสาคญั หรือ
เป็ นกรณีที่ตอ้ งสังเกตอากปั กิริยาของพยานขณะเบิกความเพื่อประกอบดุลพินิจในการวินิจฉัย
ชง่ั น้าหนกั พยานหลกั ฐาน แมค้ ู่ความตกลงกนั ให้เจา้ พนกั งานทาการสืบพยานดงั กล่าวแทนศาล
กอ็ าจมีคาสัง่ ไม่อนุญาตและไปเผชิญสืบพยานดงั กล่าวเองหรือส่งประเด็นตามมาตรา ๑๐๒

เม่ือศาลมีคาส่งั แต่งต้งั เจา้ พนกั งานตามขอ้ ตกลงแลว้ เจา้ พนกั งานดงั กลา่ วจะเป็ นผูท้ าการ
สืบพยานแทนศาลโดยอนุโลมตามวิธีการสืบพยานของศาลและตามขอ้ กาหนดของประธาน
ศาลฎีกา ว่าด้วยแนวทางการนาสืบพยานหลักฐานและการสืบพยานบุคคลท่ีอยู่นอกศาล
โดยระบบการประชุมทางจอภาพ พ.ศ. ๒๕๕๖ เช่น สอบถามพยาน บันทึกคาเบิกความ
ของพยาน หมายเอกสาร ตรวจดูวตั ถุหรือสถานท่ีและบนั ทึกรายละเอียดไว้ ตลอดจนบนั ทึก
รายงานกระบวนพิจารณาการไปสืบพยานหลกั ฐานดงั กล่าว ท้งั ต้องปฏิบตั ิตามมาตรา ๑๐๓
โดยอนุโลม กล่าวคือ ภายใตบ้ งั คบั บทบญั ญตั ิว่าดว้ ยการขาดนดั การร้องสอด และการขบั ไล่
ออกนอกศาล เจา้ พนกั งานที่ไดร้ ับแต่งต้งั ตอ้ งให้โอกาสเต็มท่ีแก่คู่ความทุกฝ่ ายในอนั ที่จะมาฟัง
การสืบพยานและใชส้ ิทธิเก่ียวดว้ ยกระบวนพิจารณาดงั กล่าวตามกฎหมายไม่วา่ พยานหลกั ฐาน
น้ัน คู่ความฝ่ ายใดจะเป็ นผูอ้ า้ งอิงหรือศาลเป็ นผูส้ ั่งให้สืบ และเจา้ พนักงานผูท้ าการสืบพยาน
นอกศาลถือวา่ เป็นเจา้ พนกั งานตามประมวลกฎหมายอาญา (มาตรา ๑๐๓/๑ วรรคสอง)

ในการไปสืบพยานหลกั ฐานนอกศาล เจา้ พนักงานผูไ้ ปสืบพยานแทนศาลมีสิทธิได้รับ
ค่าป่ วยการเช่นเดียวกับค่าป่ วยการของเจ้าพนักงานศาลในอัตราต่อคนวันละ ๑๕๐ บาท
ตามตาราง ๓ ทา้ ย ป.วิ.พ.

ข้อสังเกต
๑. กรณีแต่งต้งั เจา้ พนักงานซ่ึงเป็ นผูเ้ ช่ียวชาญให้ตรวจดูวตั ถุหรือสถานที่นอกศาลตาม
มาตรา ๑๐๓/๑ แตกต่างจากกรณีแต่งต้ังผูเ้ ช่ียวชาญตามมาตรา ๙๙ โดยตามมาตรา ๑๐๓/๑

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๒๓๑

เจา้ พนกั งานซ่ึงเป็นผเู้ ชี่ยวชาญเป็นผสู้ ืบพยานแทนศาล มีผลเทา่ กบั ศาลเป็นผตู้ รวจดูเอง ส่วนตาม
มาตรา ๙๙ ผเู้ ชี่ยวชาญมีฐานะเป็นพยานผใู้ หข้ อ้ มูลแก่ศาลในรูปของความเห็น

(๒) ศาลไม่สามารถแต่งต้ังเจ้าพนักงานไปทาการสืบพยานนอกเขตอานาจของศาล
น้นั เองไดเ้ พราะเป็นการใชอ้ านาจนอกเขตศาลตอ้ งหา้ มตาม ป.ว.ิ พ. มาตรา ๑๕

(๓) ตามมาตรา ๑๐๓/๑ ศาลอาจแต่งต้งั เจา้ พนกั งานศาลหรือเจา้ พนกั งานอื่นซ่ึงคู่ความ
เห็นชอบใหท้ าการสืบพยานนอกศาลแทนได้ แต่ไมอ่ าจแต่งต้งั บุคคลอ่ืนท่ีไม่ใช่เจา้ พนกั งานศาล
หรือเจา้ พนกั งานอ่ืนสืบพยานนอกศาลแทนได้ แมค้ ู่ความจะเห็นชอบกต็ าม

(๔) ในคดีสาคญั หรือคดีที่มีทนุ ทรัพยส์ ูง ศาลควรแตง่ ต้งั เจา้ พนกั งานหลายคนซ่ึงคู่ความ
เห็นชอบเป็นองคค์ ณะร่วมกนั ไปทาการสืบพยานนอกศาล

ตวั อย่างรายงานกระบวนพจิ ารณา

(๑) กรณีสืบพยานบุคคลนอกศาลโดยเจา้ พนกั งานศาล
“นัดชีส้ องสถาน ทนายโจทก์และทนายจาเลยมาศาล
............................................................................................................................................
ศาลสอบถามคู่ความเกี่ยวกับพยานหลักฐานที่จะนาสืบแล้ว ทนายโจทก์แถลงประสงค์
จะสืบพยาน....ปาก ..... ทนายจาเลยแถลงประสงค์จะสืบพยาน....ปาก... แล้วคู่ความร่ วมกนั แถลง
ว่า เน่ืองจากนายสมชายพยานโจทก์อันดับ ๑ ตามบัญชีระบุพยานโจทก์ลงวันท่ี .... ซึ่งโจทก์
จะนาสืบข้อเทจ็ จริงเกยี่ วกับการกู้ยืมเงินตามฟ้องซึ่งนายสมชายเป็นพยานในสัญญาก้แู ละปัจจุบัน
ป่ วยเป็นโรคไตต้องนอนพักรักษาตัวอยู่ท่ีโรงพยาบาลภธู รเป็นเวลานานไม่สามารถมาเบิกความท่ี
ศาลได้ โจทก์ประสานงานกับพยานและแพทย์แล้วไม่ขัดข้องท่ีพยานจะเบิกความท่ีโรงพยาบาล
โจทก์ และจาเลยจึงตกลงกันขอให้ ศาลแต่ งตั้งเจ้ าพนักงานศาลตามที่ศาลเห็นสมควรไปทาการ
สื บพยานโจทก์ ปากดังกล่ าวท่ีโรงพยาบาล ภูธรโดยโจทก์ ยินยอมชาระค่ าสื บพยานหลักฐาน
นอกศาลตามจานวนที่ศาลกาหนด
พิเคราะห์แล้ว เห็นว่า กรณีมีเหตุจาเป็ นและสมควร จึงแต่งต้ังนายเก่งกาจ เจ้าพนักงาน
ศาลประจาศาลนี้ (หรื อเจ้าพนักงานศาลอ่ืน) ไปทาการสืบพยานโจทก์ปากนายสมชาย
ณ โรงพยาบาลภูธรแทนศาล ในวันท่ี... เวลา... หากถึงวันนัด ทนายโจทก์ไม่ไป ถือว่าโจทก์
ไม่ติดใจสืบพยานปากนี้ หากทนายจาเลยไม่ไป ให้สืบพยานโจทก์ไปได้โดยถือว่าทนายจาเลย
ไม่ติดใจถามค้าน เสร็จแล้วให้นายเก่งกาจเสนอรายงานการดาเนินการพร้ อมถ้อยคาสานวน
การสืบพยานต่อศาลโดยเร็ว

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๒๓๒

ให้โจทก์วางเงินค่าป่ วยการและค่าพาหนะในการสืบพยานหลักฐานนอกศาลสาหรับจ่าย
ให้แก่เจ้าพนักงานศาลผู้ทาการสืบพยานจานวนรวม.... บาท และสาหรับจ่ายให้แก่พนักงาน
ธุรการ ๑ คน จานวนรวม...บาท ภายใน ๓ วัน นับแต่วันนี้ มิฉะน้ันถือว่าไม่ติดใจสืบพยาน
นอกศาล

สาหรั บการสื บพยานท่ีศาลนี้ ให้ นัดสื บพยานโจทก์ ....นัด และนัดสื บพยาน
จาเลย....นัด...”

ตามตัวอย่างข้างต้น หากศาลส่ังให้คู่ความเป็ นผู้จัดการหาพาหนะให้เจ้าพนักงานศาล
ไปทาการสืบพยานนอกศาลตามตาราง ๓ ท้าย ป.วิ.พ. จดรายงานกระบวนพิจารณาในย่อหน้า
ต่อจากศาลส่ังแต่งตงั้ เจ้าพนักงานศาลว่า

“ให้ โจทก์วางเงินค่าป่ วยการสาหรับจ่ายให้ แก่เจ้าพนักงานศาลผู้ทาการสืบพยาน
และพนักงานธุรการ ๑ คน คนละ ๑๕๐ บาท ภายใน ๓ วัน นับแต่วันนี้ และให้โจทก์จัดหาพาหนะ
มารับเจ้าพนักงานศาลและพนักงานธุรการไปทาการสืบพยานนอกศาลในวันนัด มิฉะน้ันถือว่า
ไม่ติดใจสืบพยานนอกศาล”

(๒) กรณีแต่งต้งั เจา้ พนกั งานอื่นไปตรวจดูที่ดินพพิ าทแทนศาล
“นัดชีส้ องสถาน ทนายโจทก์และทนายจาเลยมาศาล
............................................................................................................................................
ศาลสอบถามคู่ความเก่ียวกับพยานหลักฐานท่ีจะนาสืบแล้ว ทนายโจทก์แถลงประสงค์
จะสืบพยาน ๖ ปาก ทนายจาเลยแถลงประสงค์จะสืบพยาน ๔ ปาก แล้วคู่ความร่วมกันแถลง
ว่า คดีนีพ้ ิพาทกันเกี่ยวด้วยสิทธิครอบครองท่ีดิน ซ่ึงโจทก์ย่ืนบัญชีระบุพยานขอให้ศาลไปเผชิญ
สืบเพื่อให้ ข้อเท็จจริ งเกี่ยวกับการครอบครองทาประโยชน์ในท่ีดินพิพาทชัดเจนยิ่งขึ้นแล้ว
แต่เน่ืองจากที่ดินพิพาทอยู่ห่างไกลจากศาลมาก การเดินทางเข้าไปยังท่ีดินพิพาทไม่สะดวก
โจทก์และจาเลยจึงตกลงกันขอให้ศาลแต่งต้ังนายประสงค์ หัวหน้าฝ่ ายรังวัด และนายบุญช่วย
นายช่างรังวัดชานาญงาน ข้าราชการประจาสานักงานท่ีดินจังหวัดเชียงใหม่ สาขาเชียงดาว
ร่ วมกันไปตรวจดูสภาพและการทาประโยชน์ในท่ีดินพิพาทแทนการท่ีศาลจะไปเผชิญสืบตรวจดู
ท่ีดินพิพาทเอง โดยโจทก์ประสานงานนดั หมายกบั นายประสงค์และนายบุญช่วย แล้วทั้งสองคน
ไม่ขัดข้องที่จะปฏิบัติตามคาสั่งศาล และโจทก์ยินยอมชาระค่าสืบพยานหลักฐานนอกศาล
ตามจานวนที่ศาลกาหนด ท้ังนี้ โจทก์จะได้ดาเนินการบันทึกภาพและเสียงในขณะที่
นายประสงค์และนายบญุ ช่วยตรวจดทู ่ีดินพิพาทส่งศาลเพ่ือประกอบการพิจารณาด้วย
พิเคราะห์แล้ว เห็นว่า กรณีมีเหตุจาเป็ นและสมควร อาศัยอานาจตาม ป.วิ.พ. มาตรา
๑๐๓/๑ จึงแต่งตั้งนายประสงค์ หัวหน้าฝ่ ายรังวดั สานักงานที่ดินจังหวัดเชียงใหม่ สาขาเชียงดาว

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๒๓๓

และนายบุญช่วย นายช่างรังวัดระดับชานาญงานสานักงานท่ีดินจังหวัดเชียงใหม่ สาขาเชียงดาว
เป็นเจ้าพนักงานทาการสืบพยานหลักฐานแทนศาล โดยให้นายประสงค์และนายบุญช่วยร่วมกัน
ไปตรวจดูสภาพและการทาประโยชน์ในท่ีดินพิพาท น.ส. ๓ ก เลขที่ ๑๖๘ ตาบลเชียงดาว
อาเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ ในวันท่ี... เวลา... ตามที่คู่ความนาชี้ และตามท่ีเห็นว่าจะเป็น
ประโยชน์แก่การพิจารณาพิพากษาคดีของศาล แล้วจัดทาบันทึกผลการตรวจท่ีดินพิพาท
โดยละเอียดพร้อมรายงานการดาเนินการ อ่านให้คู่ความฟังและให้คู่ความลงลายมือชื่อไว้เสนอ
ต่อศาลโดยเร็ว

ให้โจทก์วางเงินค่าป่ วยการและค่าพาหนะในการสืบพยานหลักฐานนอกศาลสาหรับ
จ่ายให้แก่นายประสงค์และนายบุญช่วย จานวนรวมคนละ... บาท ภายใน ๓ วัน นับแต่วันนี้
มิฉะนน้ั ถือว่าไม่ติดใจขอให้ตรวจที่ดินพิพาท

ให้ มีหนังสื อแจ้ งคาส่ังแต่ งต้ังดังกล่าวให้ นายประสงค์ และนายบุญช่ วย ทราบ
และดาเนินการตามคาสั่งศาล โดยให้ ส่ งค่าป่ วยการและค่าพาหนะ พร้ อมท้ังสาเนาคาฟ้อง
คาให้ การ และรายงานกระบวนพิจารณาฉบับนีไ้ ปให้ ด้วย หากถึงวันนัดตรวจท่ีดินพิพาท
คู่ความฝ่ ายใดไม่ไป ให้คู่ความฝ่ ายที่ไปนาชีใ้ ห้นายประสงค์และนายบุญช่วยตรวจดูท่ีดินพิพาท
ไปฝ่ ายเดียว หากคู่ความท้ังสองฝ่ ายไม่ไป ก็ให้ นายประสงค์และนายบุญช่วย งดตรวจดู
ท่ีดินพิพาทและรายงานให้ ศาลทราบ

สาหรับการสืบพยานท่ีศาลนี้ ให้นัดสืบพยานโจทก์ ๓ นัด และนัดสืบพยานจาเลย
๒ นัด”

๒. การตกลงเร่ืองวธิ ีการสืบพยาน

คู่ความอาจร้องขอต่อศาลให้ดาเนินการสืบพยานหลกั ฐานไปตามวิธีการที่คู่ความตกลง
กนั ไดต้ ามมาตรา ๑๐๓/๒ โดยมีหลกั เกณฑแ์ ละวิธีการดงั น้ี

(๑) คู่ความทุกฝ่ ายอาจตกลงกนั เกี่ยวกบั วิธีการสืบพยานหลกั ฐาน ไม่ว่าจะเป็ นวิธีการ
สืบพยานบุคคล วิธีการสืบพยานเอกสาร หรือวิธีการสืบพยานวตั ถุ ซ่ึงนอกเหนือหรือแตกต่าง
จากวิธีการที่บัญญตั ิไวใ้ น ป.วิ.พ. ก็ได้ แต่วิธีการดังกล่าวต้องไม่เป็ นการต้องห้ามชัดแจง้
โดยกฎหมายที่เกี่ยวกบั ความสงบเรียบร้อย หรือขดั ต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอนั ดีของ
ประชาชน

ตัวอย่างข้อตกลงเกยี่ วกบั วธิ ีการสืบพยานหลกั ฐาน

๑. วธิ ีการสืบพยานบุคคล

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๒๓๔

๑.๑ คู่ความทุกฝ่ ายขอสืบพยานบุคคลที่เป็ นเด็กโดยผ่านนักจิตวิทยาหรือนักสังคม
สงเคราะห์ในลกั ษณะเดียวกบั คดีอาญา

๑.๒ คู่ความทุกฝ่ ายขอสื บพยานบุคคลตามวิธีการสื บพยานหลักฐานของ
อนุญาโตตุลาการในเรื่องที่ไม่ขัดต่อหลกั การพ้ืนฐานของการดาเนินกระบวนพิจารณาตาม
ป.ว.ิ พ.  ไดแ้ ก่

๑.๒.๑ วิธีการสืบพยานหลกั ฐานของอนุญาโตตุลาการที่คู่ความสามารถตกลง
กนั ไดต้ ามมาตรา ๑๐๓/๒ เช่น

(๑) ตกลงกนั ใหศ้ าลเป็นผกู้ าหนดวา่ จะสืบพยานหรือฟังคาแถลงการณ์
ด้วยวาจาหรือเป็ นหนังสือ หรือจะดาเนินกระบวนพิจารณาโดยรับฟังเพียงเอกสารหรื อ
พยานหลกั ฐานอ่ืนใดกไ็ ด้ (มาตรา ๓๐ แห่ง พ.ร.บ. อนุญาโตตุลาการฯ)

(๒) ตกลงใหส้ ืบพยานเป็นการลบั
(๓) ตกลงให้คู่ความฝ่ ายใดนาพยานหลกั ฐานเขา้ สืบก่อน (ไม่ใช่การ
ตกลงเร่ืองภาระการพสิ ูจน)์
๑.๒.๒วิธีการสืบพยานหลกั ฐานที่คู่ความอาจตกลงกนั ไดใ้ นช้นั อนุญาโตตุลา
การแต่อาจเป็ นการสืบพยานหลกั ฐานที่ไม่ชอบดว้ ยกฎหมายหรือขดั ต่อความสงบเรียบร้อยหรือ
ศีลธรรมอนั ดีของประชาชนที่คู่ความไมส่ ามารถตกลงกนั ได้ ตามมาตรา ๑๐๓/๒ เช่น
(๑) ตกลงกาหนดตวั ผพู้ ิพากษาที่ทาการสืบพยาน
(๒) ตกลงกาหนดองคค์ ณะผพู้ พิ ากษาที่ทาการสืบพยาน
(๓) ตกลงใหใ้ ชภ้ าษาอื่นแทนภาษาไทยในการสืบพยาน
(๔) ตกลงกาหนดให้พยานที่มาศาล (ไม่ใช่บุคคลตาม ป.วิ.พ. มาตรา
๑๑๕) ไม่ยอมเบิกความหรือตอบคาถามใดๆก็ได้
(๕) ตกลงกาหนดไมใ่ หศ้ าลเป็นผถู้ ามพยานเอง
(๖) ตกลงกาหนดไมใ่ หศ้ าลทาการสืบพยานเพ่มิ เติมเอง
(๗) ตกลงกาหนดให้คู่ความถอนบนั ทึกถอ้ ยคาแทนการซักถามพยาน
ที่ไดย้ น่ื ตอ่ ศาลแลว้

๑.๓ คู่ความทุกฝ่ ายขอให้ส่งคาถามให้พยานบุคคลไดต้ ระเตรียมล่วงหน้าก่อนมา
เบิกความ

 โปรดดตู ารางเปรียบเทียบการสืบพยานในกระบวนการอนุญาโตตุลาการในคูม่ ือฯ ส่วนภาคผนวก

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๒๓๕

๑.๔ คูค่ วามทกุ ฝ่ ายขอใหส้ ่งคาถามใหพ้ ยานบคุ คลจดั ทาคาตอบเป็นลายลกั ษณ์อกั ษร
ส่งศาล โดยพยานไม่ตอ้ งมาเบิกความ

๑.๕ คู่ความทุกฝ่ ายขอสืบพยานบุคคลโดยให้คู่ความฝ่ ายท่ีอา้ งพยานซักถามพยาน
เทา่ น้นั โดยไม่มีการถามคา้ นและถามติง

๒. วธิ ีการสืบพยานผเู้ ชี่ยวชาญ
๒.๑ คู่ความทุกฝ่ ายขอให้พยานผูเ้ ชี่ยวชาญของแต่ละฝ่ ายรวมท้งั พยานผูเ้ ช่ียวชาญ

ของศาลมาให้ขอ้ เท็จจริงและความเห็นต่อศาลพร้อมกันรวมท้ังตอบข้อซักถามในลักษณะ
การประชุมร่วมกนั

๒.๒ คู่ความทุกฝ่ ายขอให้ผูเ้ ช่ียวชาญทาการทดลองเร่ืองใดเร่ืองหน่ึงเพื่อนาผล
การทดลองมาเปรียบเทียบกบั กรณีที่พิพาทกนั

๓. วธิ ีการสืบพยานเอกสาร
๓.๑ คู่ความทุกฝ่ ายขอส่งพยานเอกสารแทนการสืบพยานบุคคลในคดีปกติท่ีคู่ความ

มิไดข้ าดนดั
๓.๒ คู่ความทุกฝ่ ายตกลงกนั ว่า คู่ความฝ่ ายที่อ้างอิงเอกสารเป็ นพยานหลกั ฐาน

ไม่ต้องส่งสาเนาเอกสารน้ันให้คู่ความฝ่ ายอื่นก่อนวันสืบพยานไม่น้อยกว่า ๗ วัน ตาม
ป.ว.ิ พ. มาตรา ๙๐

๔. วิธีการสืบพยานวตั ถุ
เช่น คู่ความทุกฝ่ ายขอให้เจ้าพนักงานศาลทาการตรวจดูพยานวัตถุซ่ึงอยู่ ณ

ที่ทาการศาลแทนองคค์ ณะผพู้ พิ ากษา

(๒) เม่ือคู่ความทุกฝ่ ายตกลงกนั ได้แล้วให้คู่ความยื่นคาร้องขอหรือคาแถลงต่อศาล
หรือร่วมกนั แถลงต่อศาลดว้ ยวาจาตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๑ (๑)

(๓) คาร้องขอหรื อคาแถลงน้ันต้องระบุให้ชัดเจนว่า ขอให้ศาลดาเนินการสืบ
พยานหลกั ฐานใดดว้ ยวธิ ีการอยา่ งไร

(๔) ศาลจะมีคาสั่งอนุญาตตามคาร้องขอหรือคาแถลงในกรณีที่เห็นสมควรเพื่อให้การ
สืบพยานหลกั ฐานเป็นไปโดยสะดวก รวดเร็ว และเท่ียงธรรม

(๕) ศาลจะมีคาส่งั ยกคาร้องขอหรือคาแถลงในกรณีดงั ตอ่ ไปน้ี
(๕.๑) วิธีการสืบพยานหลักฐานตามคาร้องขอหรือคาแถลงเป็ นเร่ื องยุ่งยาก

ไม่สะดวก ใชเ้ วลานานเกินสมควร หรืออาจก่อให้เกิดความไม่เป็ นธรรม เช่น ขอสืบพยานไป

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๒๓๖

ตามลาดบั ท่ีตกลงกนั แต่พยานที่จะเบิกความเป็ นลาดบั แรกๆ ยงั ไม่สามารถมาเบิกความได้
หากตอ้ งรอสืบพยานตามลาดบั ท่ีคูค่ วามตกลงกนั จะทาใหค้ ดีลา่ ชา้

(๕.๒) เป็ นวิธีการสืบพยานหลกั ฐานท่ีไม่ชอบดว้ ยกฎหมายหรือขดั ต่อความสงบ
เรียบร้อยหรือศีลธรรมอนั ดีของประชาชน เช่น ขอให้บุคคลใดทาการสะกดจิตและสอบถาม
ขอ้ เท็จจริงจากพยาน หรือขอให้บุคคลภายนอกทาการสืบพยานบุคคลในศาลแทนองค์คณะ
ผพู้ พิ ากษา หรือขอใหผ้ พู้ ิพากษานงั่ พิจารณาคดีโดยไม่ครบองคค์ ณะ เป็นตน้

ข้อสังเกต
๑. ในกรณีที่ศาลอนุญาตให้สืบพยานหลักฐานตามวิธีการที่คู่ความตกลงกัน
ถา้ จะตอ้ งดาเนินการอย่างหน่ึงอย่างใดซ่ึงมิไดก้ ระทาต่อหน้าศาล ศาลอาจมอบให้เจา้ พนักงาน
ศาลคนใดคนหน่ึงเป็ นผูด้ ูแล ตรวจสอบ บนั ทึกการตรวจสอบ และรายงานใหศ้ าลทราบก็ไดต้ าม
ขอ้ กาหนดของประธานศาลฎีกา ว่าดว้ ยแนวทางการนาสืบพยานหลกั ฐานและการสืบพยานบุคคล
ท่ีอยนู่ อกศาลโดยระบบการประชุมทางจอภาพ พ.ศ. ๒๕๕๖ ขอ้ ๖
๒. ศาลตอ้ งนาผลที่ไดจ้ ากการสืบพยานหลกั ฐานตามวิธีการที่คู่ความตกลงกนั มา
วนิ ิจฉยั ชงั่ น้าหนกั เช่นเดียวกบั พยานหลกั ฐานที่เขา้ สู่สานวนโดยการนาสืบตามวธิ ีการปกติ

 ขอ้ กาหนดของประธานศาลฎีกา ว่าดว้ ยแนวทางการนาสืบพยานหลกั ฐานและการสืบพยานบคุ คลที่อยนู่ อกศาล
โดยระบบการประชุมทางจอภาพ พ.ศ. ๒๕๕๖

ขอ้ ๖ ในกรณีที่ศาลอนุญาตให้สืบพยานหลกั ฐานตามวิธีการท่ีคู่ความตกลงกนั ตามมาตรา ๑๐๓/๒ แห่งประมวล
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง ถา้ จะตอ้ งดาเนินการอยา่ งหน่ึงอยา่ งใดซ่ึงมิไดก้ ระทาต่อหนา้ ศาล ศาลอาจมอบใหเ้ จา้ พนกั งาน
ศาลคนใดคนหน่ึงเป็นผดู้ ูแล ตรวจสอบ บนั ทึกการตรวจสอบ และรายงานให้ศาลทราบกไ็ ด้

การจดั ทาบนั ทึกและรายงานของเจา้ พนกั งานศาลตามวรรคหน่ึง ให้นาความในขอ้ ๕ มาใชบ้ งั คบั โดยอนุโลม

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๒๓๗

ตวั อย่างรายงานกระบวนพจิ ารณา

ตัวอย่างที่ ๑
“นดั สืบพยานจาเลย ทนายโจทก์และทนายจาเลยมาศาล
สืบพยานจาเลยปากนายชานาญ คล่องงาน ได้ ๑ ปาก จาเลยอ้างส่งเอกสารเป็ นพยาน
เพ่ิมเติม ๒๐ ฉบับ ศาลหมาย ล.๑๕๑ ถึง ล.๑๗๐ โจทก์อ้างส่งเอกสารประกอบการถามค้าน
๕ ฉบบั ศาลหมาย จ.๒๐๑ ถึง จ.๒๐๕ เอกสารให้แยกเกบ็
ทนายจาเลยแถลงหมดพยานจาเลยตามบญั ชีระบุพยานที่ย่ืนไว้ต่อศาลเพียงเท่านี้
ทนายคู่ความท้ังสองฝ่ ายร่ วมกันย่ืนคาร้องขอให้ศาลดาเนินการสืบพยานหลักฐานตามท่ี
คู่ความตกลงกันตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๑๐๓/๒ ฉบับลงวันท่ีวันนี้ และแถลงเพิ่มเติมว่า
จากประเด็นข้อพิพาทในคดีที่ว่า สาเหตุการทรุดตัวถล่มของอาคารคอนโดมิเนียมที่พิพาท
เกิดจากการขาดความรู้ตามสมควรแก่วิชาชีพและการก่อสร้ างที่ไม่ได้มาตรฐานของจาเลย
หรือเกิดจากการที่โจทก์มีคาส่ังให้แก้ไขแบบแปลนอาคารนั้น โจทก์นานายรอบรู้ ขยันย่ิง
เข้าสืบพิสูจน์ และจาเลยนานายชานาญ คล่องงาน เข้าสืบพิสูจน์ในนดั นี้ พยานท้ังสองต่างกเ็ ป็น
ผู้เช่ียวชาญด้านการก่อสร้ าง แต่มีความเห็นแตกต่างกัน เพ่ือให้ การวินิจฉัยชี้ขาดประเด็น
ข้อพิพาทในข้อสาคัญแห่งคดีเป็นไปโดยเท่ียงธรรม คู่ความท้ังสองฝ่ ายประสงค์จะสืบพยานอีก
๑ ปาก คือ นายชนะ เก่งกาจ ซึ่งเป็ นผู้มีความรู้ท้ังด้านวิศวกรรมโยธาและสถาปัตยกรรมเป็ น
อย่างดี ขอให้ศาลหมายเรียกพยานมาเบิกความในฐานะผู้เช่ียวชาญคนกลาง คู่ความตกลงกัน
ขอให้สืบพยานปากนายชนะโดยไม่จาเป็นต้องย่ืนบัญชีระบพุ ยานร่วมกันแต่อย่างใด และเพ่ือให้
พยานทราบรายละเอียดเก่ียวกับประเดน็ ข้อพิพาท รวมทั้งสามารถเตรียมความพร้อมในการให้
ความเห็นโดยศึกษาข้อมูลต่างๆล่วงหน้า คู่ความจึงตกลงกันแจ้งคาถามให้พยานทราบก่อนมา
เบิกความ โดยคู่ความท้ังสองฝ่ ายจะเสนอคาถามที่ต้องการทราบจากพยานต่อศาล เพื่อให้
พนกั งานเดินหมายนาส่งแก่พยานพร้อมหมายเรียก
ทั้งนี้ คาถามที่คู่ความทั้งสองฝ่ ายเสนอต่อศาลนั้น จะไม่ส่งสาเนาให้คู่ความอีกฝ่ ายหน่ึง
ทราบล่วงหน้า ส่วนฉบับที่เกบ็ รักษาไว้ที่ศาลขอให้ใส่ซองปิ ดผนึก และห้ามอีกฝ่ ายหนึ่งตรวจดู
พิเคราะห์แล้ว เห็นว่าวิธีการสืบพยานที่คู่ความตกลงกันตามคาร้ องขอดังกล่าว เป็ น
ประโยชน์เพ่ือให้การวินิจฉัยชีข้ าดประเดน็ ข้อพิพาทในข้อสาคัญแห่งคดีเป็ นไปโดยเที่ยงธรรม
และจะทาให้การสืบพยานเป็ นไปโดยสะดวกรวดเร็วด้วย อาศัยอานาจตามความในมาตรา
๑๐๓/๒ แห่ง ป.วิ.พ. จึงอนุญาตให้คู่ความสืบพยานตามวิธีการท่ีตกลงกันในคาร้ องขอโดยให้
คู่ความทั้งสองฝ่ ายเสนอคาถามต่อศาลภายในวันท่ี... เพื่อนาส่งแก่พยานพร้อมหมายเรียก

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๒๓๘

นัดสืบพยานโจทก์และจาเลยวันท่ี....ให้คู่ความทั้งสองฝ่ ายนาส่งหมายภายในวันท่ี....
มิฉะนั้นถือว่าไม่ติดใจสืบพยานอีกต่อไป

หมายเหตุ
(๑) กรณีคู่ความตกลงกันขอสืบพยานปากนายชนะโดยไม่จาต้องย่ืนบญั ชีระบุพยาน
ร่วมกันน้ัน เป็ นการตกลงกนั เก่ียวกบั กระบวนพิจารณาก่อนสืบพยาน มิใช่เป็ นการตกลงสืบ
พยานหลกั ฐานไปตามวิธีการที่คู่ความตกลงกนั ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๑๐๓/๒ แต่ขอ้ ตกลงกัน
เกี่ยวกบั การดาเนินกระบวนพิจารณาก่อนสืบพยานเช่นน้ี มิไดข้ ดั ต่อกฎหมายหรือขดั ต่อความ
สงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอนั ดีของประชาชน ซ่ึงชอบที่คู่ความจะตกลงกนั ได้
(๒) กรณีคู่ความตกลงกนั วา่ คาถามที่คู่ความท้งั สองฝ่ ายเสนอต่อศาลน้นั จะไมส่ ่งสาเนา
ให้คู่ความอีกฝ่ ายหน่ึงทราบล่วงหน้าน้ัน หาใช่เป็ นขอ้ ตกลงกนั ไม่ต้องส่งสาเนาเอกสารตาม
มาตรา ๙๐ไม่ เพราะมิใช่เป็ นกรณีคู่ความอา้ งอิงเอกสารเป็ นพยานตามมาตรา ๘๘ แต่เป็ นการ
ตกลงกนั เกี่ยวกบั วิธีการสืบพยานตามมาตรา ๑๐๓/๒ ว่า คู่ความตกลงกนั ให้นายชนะมาเบิก
ความต่อศาลเฉพาะที่คู่ความท้งั สองไดเ้ สนอคาถามตามท่ีตอ้ งการทราบจากพยานต่อศาลไวแ้ ลว้
เท่าน้ัน ในวนั สืบพยาน กระบวนการซกั ถามพยานจึงไม่อยูใ่ นบงั คบั ที่จะตอ้ งดาเนินการตาม
ป.วิ.พ. มาตรา ๑๑๖, ๑๑๗ และมาตรา ๑๑๘ แต่อยา่ งใด แต่เน่ืองจากมาตรา ๑๑๙ ใหอ้ านาจศาล
ท่ีจะถามพยานด้วยคาถามใดๆ ตามที่เห็นว่าจาเป็ น เพ่ือให้คาเบิกความของพยานบริบูรณ์
หรือชดั เจนย่ิงข้ึน หรือเพื่อสอบสวนถึงพฤติการณ์ที่ทาใหพ้ ยานเบิกความเช่นน้นั ดงั น้นั หาก
คู่ความเห็นเป็ นการจาเป็ นที่จะซักถามพยานเพิ่มเติมเพื่อประโยชน์ตามมาตรา ๑๑๙ ดงั กล่าว
คู่ความอาจขออนุญาตศาลซักถามเพิ่มเติมจากท่ีได้เสนอคาถามพยานไวแ้ ล้ว และหากศาล
เห็นสมควรจะอนุญาตก็น่าจะได้

ตัวอย่างท่ี ๒
“นัดชีส้ องสถาน ทนายโจทก์และทนายจาเลยมาศาล
............................................................................................................................................
ตามที่โจทก์และจาเลยร่วมกันยื่นคาร้ องขอว่า คดีนีโ้ จทก์ขอให้ศาลมีคาสั่งเรียกหีบบัตร
เลือกตั้งกรรมการสหกรณ์จาเลยมาเก็บรักษาไว้ที่ศาลแล้ว แต่ศาลยังมิได้กาหนดวันนัดเปิ ด
หีบบัตรเลือกตั้งและตรวจนับคะแนนบัตรเลือกตั้งต่อหน้าศาล ฉะน้ันเพื่อเป็นการประหยัดเวลา
ในการพิจารณาคดีของศาล โจทก์และจาเลยจึงตกลงกันว่าจะร่ วมกันตรวจนับคะแนนบัตร
เลือกต้ังดังกล่าวเองโดยขอให้ศาลมอบหมายให้เจ้าพนักงานศาลตามที่เห็นสมควรเป็ นผู้ดูแล
ตรวจสอบ รายละเอียดปรากฏตามคาร้องขอฉบับลงวันที่ ....

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๒๓๙

พิเคราะห์แล้ว เห็นว่า กรณีมเี หตุสมควรเพื่อให้การสืบพยานหลกั ฐานเป็นไปโดยสะดวก
รวดเร็ว และเท่ียงธรรม จึงอนุญาตให้ ดาเนินการสื บพยานหลักฐานไปตามวิธีการ
ท่ีคู่ความตกลงกันตามคาร้ องขอ โดยให้นัดคู่ความตรวจนับคะแนนบัตรเลือกตั้งในวันท่ี ....
เวลา... ณ ห้องพิจารณาคดีที่ ๗ และให้ นายเก่งกาจ เจ้าพนักงานศาลนี้ เป็ นผู้ดูแลตรวจสอบ
หากมีเหตุขัดข้องในการตรวจนับคะแนน ให้นายเก่งกาจ รายงานให้ศาลทราบ และเมื่อคู่ความ
ตรวจนับคะแนนบัตรเลือกต้ังเสร็จแล้ว ให้นายเก่งกาจ จัดทารายงานบันทึกผลการตรวจนับ
คะแนนโดยละเอียดให้คู่ความลงลายมือชื่อไว้ และเสนอต่อศาลโดยเร็ว

สาหรับการสืบพยานคดนี ี้ ให้นัดสืบพยานโจทก์.... นัด และนัดสืบพยานจาเลย...นดั ”
หมายเหตุ
หากพยานวัตถุอยู่นอกที่ทาการศาล คู่ความทุกฝ่ ายอาจตกลงกันขอให้ศาลแต่งต้ัง
เจา้ พนักงานศาลไปตรวจดูพยานวตั ถุน้ัน ณ สถานที่เก็บรักษาแทนศาลไดต้ าม ป.วิ.พ. มาตรา
๑๐๓/๑

ตวั อย่างท่ี ๓
“นดั ชีส้ องสถาน ทนายโจทก์ท้ังเจด็ ทนายจาเลยท้ังสาม และทนายจาเลยร่วมมาศาล
คู่ความร่ วมกันแถลงว่า คดีนีม้ ีประเด็นสาคัญว่า เหตุท่ีอาคารพิพาททรุดตัวพังลงมา
ในระหว่างก่อสร้ างเกิดจากความประมาทเลินเล่อของจาเลยทั้งสามและจาเลยร่ วมหรือไม่
และเนื่องจากจาเลยทั้งสามขอให้ศาลหมายเรียกจาเลยร่วมซ่ึงเป็ นผู้รับเหมาในส่วนเสาเขม็ เจาะ
เข้ามาในคดีโดยอ้างว่า เหตุที่อาคารพิพาททรุดตัวพังลงมาเพราะจาเลยร่ วมก่อสร้ างเสาเขม็ เจาะ
ไม่ได้มาตรฐาน เสาเขม็ จึงไม่สามารถรับนา้ หนักตัวอาคารได้ ซ่ึงผู้เชี่ยวชาญสามารถตรวจสอบ
ความสมบูรณ์ ของเสาเข็มเจาะตามหลักวิชาได้ ฉะนั้น เพื่อให้ การดาเนินกระบวนพิจารณา
เกย่ี วกับจาเลยร่วมเสร็จไปและทาให้การพิจารณาคดนี ีเ้ ป็นไปโดยรวดเร็ว คู่ความทุกฝ่ ายจึงตกลง
กันขอสืบพยานหลักฐานในประเด็นเก่ียวกับเสาเข็มของอาคารพิพาทเสียก่อน โดยวิธีการ
ให้บริษัท เอกวิศวกรก่อสร้าง จากัด ซ่ึงคู่ความทุกฝ่ ายได้ประสานงานไว้แล้ว เป็นผู้ดาเนินการ
ตรวจสอบความสมบูรณ์ ของเสาเข็มเจาะของอาคารพิพาททุกต้นด้วยระบบคลื่นเสียง
(Seismic Test ) โดยมีวิศวกรซ่ึงได้รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมระดับวุฒิ
วิศวกร สาขาวิศวกรรมโยธา เป็นผู้ควบคมุ และรับรองผลการทดสอบ ซ่ึงคาดว่าจะใช้เวลาในการ
ดาเนินการประมาณ ๒ เดือน โดยฝ่ ายโจทก์ ฝ่ ายจาเลย และฝ่ ายจาเลยร่ วมตกลงออกค่าใช้จ่าย
ในการนีฝ้ ่ ายละเท่า ๆ กัน และตกลงให้ทนายจาเลยร่ วมเป็ นผู้ประสานงานในการตรวจสอบ
หากทนายจาเลยร่วมเพิกเฉย ให้ถือว่า จาเลยร่วมยอมรับข้อเทจ็ จริงว่า เหตุที่อาคารพิพาททรุดตัว
พังลงมาเพราะจาเลยร่ วมก่อสร้ างเสาเข็มเจาะไม่ได้มาตรฐาน จึงขอให้ ศาลอนุญาตให้ สืบ

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๒๔๐

พยานหลักฐานตามวิธีการดังกล่าวและเลื่อนการชี้สองสถานในวันนีไ้ ปก่อนเพ่ือรอฟังผลการ
ตรวจสอบเสาเขม็ อาคารพิพาท

พิเคราะห์แล้ว เห็นว่า กรณีมีเหตุสมควรเพื่อให้การสืบพยานหลักฐานเป็นไปโดยสะดวก
รวดเร็ว และเที่ยงธรรม จึงอนุญาตให้ดาเนินการสืบพยานหลักฐานไปตามวิธีการท่ีคู่ความตกลง
กนั ตามขอ โดยให้มีหนังสือขอให้บริษัท เอกวิศวกรก่อสร้าง จากัด ดาเนินการดงั กล่าวแล้วจัดทา
รายงานผลการตรวจสอบโดยละเอียดส่ งต่อศาลโดยเร็ว ท้ังนี้ ให้ทนายจาเลยร่วมมารับหนังสือ
จากศาลไปดาเนินการภายใน ๓ วนั นับแต่วันนี้

ให้เล่ือนไปนัดชีส้ องสถานในวันที่... เวลา...นาฬิกา”

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๒๔๑

บทท่ี ๒๐
คดีเสร็จการพจิ ารณา

เม่ือคดีเสร็จการพิจารณา ตอ้ งจดรายงานกระบวนพิจารณาใหม้ ีขอ้ ความสาคญั ดงั ต่อไปน้ี
๑. คดีเสร็จการพิจารณา หรือคดีเสร็จการไต่สวนในกรณีท่ีเป็นคดีไม่มีขอ้ พิพาท
๒. คู่ความประสงคจ์ ะแถลงการณ์ปิ ดคดีเป็นหนงั สือหรือไม่
๓. วนั เวลาที่นดั ฟังคาพิพากษา
๔. ศาลตอ้ งออกหมายนัดหรือปิ ดประกาศแจง้ วนั นดั ฟังคาพิพากษาหรือคาส่ังให้คู่ความ
ที่ไม่มาศาลทราบด้วย และตอ้ งกาหนดระยะเวลาล่วงหน้าอย่างน้อย ๑๕ วนั เวน้ แต่ศาลไดม้ ี
คาพพิ ากษาหรือคาส่งั ในวนั ส้ินการพจิ ารณา กรณีไมจ่ าตอ้ งออกหมายนดั หรือปิ ดประกาศนดั ฟัง
คาพิพากษาหรือคาส่งั ใหค้ ูค่ วามทราบอีก ตามมาตรา ๑๓๓ (ฎีกาที่ ๔๒๕/๒๕๒๑)

ข้อสังเกต
เมื่อส้ินการพิจารณา ผูพ้ ิพากษาเจา้ ของสานวนควรตรวจดูสานวน เช่น มีการส่ังคาร้อง
คาขอ คาแถลง ใบแต่งทนายความ และลงช่ือตามท่ีเกษียนสั่งครบถว้ นหรือไม่ ในกรณีท่ีหมาย
เอกสารสับสนหรือซ้าซอ้ น ใหจ้ ดรายงานกระบวนพจิ ารณาแกไ้ ขใหถ้ กู ตอ้ งเสียก่อน
จดรายงานกระบวนพจิ ารณาว่า

ตัวอย่างที่ ๑
“นดั สืบพยานจาเลยวันนี้ โจทก์ จาเลย และทนายทั้งสองฝ่ ายมาศาล
สืบพยานจาเลยได้ ๓ ปาก แล้วทนายจาเลยแถลงว่าติดใจสืบพยานจาเลยเพยี งเท่านี้
คู่ความขอแถลงการณ์เป็ นลายลักษณ์อักษรประกอบการพิจารณาพิพากษาภายใน ๑๐ วัน
ถ้าฝ่ ายใดไม่แถลงภายในกาหนดให้ถือว่าไม่ติดใจแถลง อนญุ าตตามที่คู่ความขอ
คดีเสร็จการพิจารณา
นัดฟังคาพิพากษาวันที่ . . . . เวลา . . . น.”

ตัวอย่างที่ ๒
“นัดสืบพยานโจทก์และพยานจาเลยวนั นี้ โจทก์ จาเลย และทนายท้ังสองฝ่ ายมาศาล
สืบพยานโจทก์ได้ ๑ ปาก แล้วโจทก์แถลงว่าติดใจสืบพยานโจทก์เพยี งเท่านี้
สืบพยานจาเลยได้ ๕ ปาก แล้วทนายจาเลยแถลงว่าติดใจสืบพยานจาเลยเพยี งเท่านี้
คู่ความไม่ติดใจแถลงการณ์

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๒๔๒

อน่ึง ระหว่างสืบพยาน จาเลยอ้างส่งเอกสารเป็ นพยาน ๓ ฉบับ คือ ๑. สัญญาจ้าง ๑ ฉบับ
๒. หนังสือทวงถาม ๑ ฉบับ ๓. หนังสือบอกเลิกสัญญาจ้าง ๑ ฉบับ ศาลหมาย ล.๑ ถึง ล.๓
และคู่ความอ้างร่วมกันอีก ๑ ฉบบั คือ . . . .ศาลหมาย จ.ล. ๑ ให้แยกเกบ็ เอกสาร

คดเี สร็จการพิจารณา
นดั ฟังคาพิพากษาวนั ที่ . . . . เวลา . . . น.”

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๒๔๓

ส่วนที่ ๕

ช้ันพพิ ากษา

บทที่ ๑

ข้นั ตอนการพพิ ากษาหรือมคี าส่ังชี้ขาดคดี

คดีที่ย่ืนฟ้องต่อศาลและศาลรับฟ้องไว้ หากศาลมิไดม้ ีคาสั่งให้จาหน่ายคดีจากสารบบความ
ศาลจะตอ้ งวนิ ิจฉยั ช้ีขาดในเร่ืองประเดน็ แห่งคดี โดยทาเป็นคาพิพากษาหรือคาสัง่ (มาตรา ๑๓๑ (๒))

การพิจารณาคดีไม่จาต้องมีการนั่งพิจารณาสืบพยานเสมอไป ศาลอาจวินิจฉัยช้ีขาด
เบ้ืองตน้ ในปัญหาขอ้ กฎหมายและพิพากษาคดีไป (มาตรา ๒๔) หรือคู่ความอาจไม่สืบพยาน
โดยรับขอ้ เทจ็ จริงกนั หรือทา้ กนั กไ็ ด้

เมื่อส้ินสุดการพิจารณาไม่ว่าจะมีการสืบพยานหรือไม่ก็ตาม ให้ศาลช้ีขาดคดีโดยทาเป็น
คาพิพากษาหรือคาส่ังในวนั ท่ีส้ินการพิจารณาน้ัน โดยไม่จาตอ้ งนัดฟังคาพิพากษาหรือคาส่ัง
(ฎีกาท่ี ๔๒๕/๒๕๒๑, ๓๘๒/๒๕๓๘, ๑๘๔๐/๒๕๓๘) แต่ศาลจะเลื่อนการพิพากษา
หรือคาส่ังต่อไปก็ไดต้ ามที่เห็นสมควร เพื่อประโยชน์แห่งความยตุ ิธรรม (มาตรา๑๓๓) หากมีการ
เล่ือนจะตอ้ งแจง้ วนั นดั ใหค้ ูค่ วามที่ไมม่ าไดท้ ราบดว้ ย

ไม่ว่ากรณีใด ๆ ห้ามมิให้ศาลปฏิเสธไม่ยอมพิพากษาหรือมีคาส่ังช้ีขาดคดีโดยอ้างว่า
ไม่มีบทบญั ญตั ิแห่งกฎหมายที่จะใชบ้ งั คบั แก่คดีหรือบทบญั ญตั ิแห่งกฎหมายท่ีจะใชบ้ งั คบั น้ัน
เคลือบคลุมหรือไม่บริบูรณ์ (มาตรา ๑๓๔) หากไม่มีบทบญั ญตั ิแห่งกฎหมายโดยตรงก็ใช้
จารีตประเพณีหรือกฎหมายใกลเ้ คียง ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๔

ศาลอาจพพิ ากษาคดีโดยไม่ต้องวนิ ิจฉัยชีข้ าดได้ในกรณตี ่อไปนี้
จาเลยวางเงินต่อศาลโดยยอมรับผิดและโจทก์พอใจยอมรับโดยไม่ติดใจเรี ยกร้อง

มากกวา่ น้นั และคดีไม่มีประเดน็ ท่ีจะตอ้ งวนิ ิจฉยั ตอ่ ไปอีก (มาตรา ๑๓๖)
จาเลยทาการชาระหน้ีอยา่ งอ่ืนนอกจากเงินและโจทกพ์ อใจเตม็ ตามท่ีเรียกร้อง (มาตรา ๑๓๗)
คู่ความตกลงกนั หรือประนีประนอมยอมความกนั ในประเด็นแห่งคดี โดยมิไดม้ ีการ

ถอนฟ้อง และศาลพิพากษาตามยอม (มาตรา ๑๓๘)
คูค่ วามตกลงกนั เสนอขอ้ พิพาทอนั เก่ียวกบั ประเด็นแห่งคดีซ่ึงอยใู่ นระหวา่ งพจิ ารณา

ของศาลช้นั ตน้ ใหอ้ นุญาโตตุลาการเป็นผชู้ ้ีขาด (มาตรา ๒๑๐, ๒๑๘)

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๒๔๔

บทที่ ๒
รูปแบบคาพพิ ากษาหรือคาส่ังชี้ขาดคดี

คาพิพากษาหรือคาสัง่ ของศาลตอ้ งทาเป็นหนงั สือเวน้ แต่คดีมโนสาเร่หรือคดีไมม่ ีขอ้ ยงุ่ ยาก
คาพิพากษาใช้สาหรับคดีท่ีเร่ิมตน้ ดว้ ยคาฟ้อง และคดีร้องขดั ทรัพยซ์ ่ึงกฎหมายบญั ญตั ิ
ให้พิจารณาช้ีขาดตัดสินเหมือนอย่างคดีธรรมดา (มาตรา ๒๘๘) ส่วนคาสั่งใช้สาหรับคดี
ท่ีเร่ิมตน้ ดว้ ยคาร้องขอ ยกเวน้ คดีร้องขดั ทรัพย์ (มาตรา ๑๘๘)

๑. รูปแบบคาพพิ ากษา

คาพพิ ากษาหรือคาส่งั ที่ทาเป็นหนงั สือ ตอ้ งมีรายการดงั บญั ญตั ิไวใ้ นมาตรา ๑๔๑ ดงั น้ี

๑.๑ ช่ือศาลทพ่ี พิ ากษาคดีน้ัน

๑.๒ ช่ือคู่ความ

(ก) ในช่องชื่อคู่ความเขียนเฉพาะชื่อคู่ความเท่าน้ันว่าใครเป็ นโจทก์ เป็ นจาเลย

หรือเป็นผรู้ ้อง โดยไมต่ อ้ งระบชุ ื่อผูร้ ับมอบอานาจใหฟ้ ้องหรือดาเนินคดีแทน เวน้ แต่ กรณีผแู้ ทน

โดยชอบธรรมของผเู้ ยาวต์ อ้ งระบุ

ตวั อย่าง

เด็กหญิงบญุ เสริม ชลกิจ โดย โจทก์

ระหวา่ ง นางยอ่ ง ถนอมสิน ผแู้ ทนโดยชอบธรรม

นายยงั มลิเครือ จาเลย

ในกรณีที่มีผแู้ ทนหรือผรู้ ับมอบอานาจ ใหร้ ะบุไวใ้ นยอ่ คาฟ้องหรือคาใหก้ าร
(ข) การเขียนช่ือนิติบุคคล ให้เขียนติดกบั คาบอกประเภทนิติบุคคล เช่น บริษทั
เมโทร จากดั (เวน้ วรรคคาวา่ จากดั เสมอ) มลู นิธิศิลปาชีพ

ยกเวน้ กรณีห้างหุ้นส่วนให้เวน้ วรรคระหว่างคา “ห้างหุ้นส่วนจากัด” และ
“ห้างหุ้นส่วนสามญั ” กบั ช่ือ เช่น หา้ งหุน้ ส่วนจากดั เมโทร หา้ งหุน้ ส่วนสามญั นิติบคุ คล เมโทร

สาหรับนิติบุคคลที่มีชื่อยาว ๆ หรือเป็ นคาหลายคาประกอบกนั ให้เขียนตาม
หนงั สือรับรองนิติบคุ คลหรือตามท่ีคู่ความระบุ เช่น

บริษทั เมโทร เอน็ จิเนียร่ิง จากดั
หา้ งหุน้ ส่วนจากดั สมิท จอหน์ สนั แอนซนั

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๒๔๕

(ค) หญิงหมา้ ยฟ้องคดีเองไม่ตอ้ งเติมคาวา่ “หม้าย”
(ง) กรณีท่ีมีคู่ความร่วมหรือคู่ความฝ่ ายท่ีสามหรือผูร้ ้อง ให้ใส่ไวต้ รงกลางระหว่าง
โจทกจ์ าเลย แต่สาหรับจาเลยร่วมใหใ้ ส่ถดั ลงมาจากจาเลย

ระหวา่ ง ตวั อย่าง โจทก์
ระหว่าง นายวิโรจน์ ชนะคา้ ผรู้ ้อง
นางไฉไล สูเ้ สมอ จาเลย
บริษทั ไทยประกนั ชีวติ จากดั จาเลยร่วม
บริษทั ขนส่ง จากดั

(จ) กรณีคู่ความตายในระหวา่ งพจิ ารณา ใชช้ ื่อคูค่ วามเดิมโดยเขียนขอ้ ความต่อทา้ ย
ช่ือคูค่ วามดงั น้ี

นายปิ ติ สร้างสรรค์ โดยนายชิน เช่ียวชาญ ผูเ้ ขา้ เป็นคูค่ วามแทน
(ฉ) กรณีคู่ความใช้สิทธิฟ้องหรือถูกฟ้องในฐานะผูจ้ ัดการมรดกหรือในฐานะ
ส่วนตวั ใหเ้ ขียนฐานะต่อทา้ ยช่ือคูค่ วามดงั น้ี

นายสมศกั ด์ิ สรรคส์ ร้าง ในฐานะผจู้ ดั การมรดกของนายสมชาย สรรคส์ ร้าง
นายสมศกั ด์ิ สรรค์สร้าง ในฐานะส่วนตวั และในฐานะผูจ้ ัดการมรดกของ
นายสมชาย สรรคส์ ร้าง (ฎีกาท่ี ๑๙๑/๒๕๕๒)
(ช) กรณีมีผยู้ นื่ คาร้องขอสวมสิทธิเป็นคูค่ วามแทนโจทกต์ าม พ.ร.ก. บริษทั บริหาร
สินทรัพย์ พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๗ ใชช้ ่ือโจทกเ์ ดิม โดยเขียนขอ้ ความตอ่ ทา้ ยชื่อโจทก์ ดงั น้ี
“ธนาคารกรุงไทย จากดั (มหาชน) โดยบริษทั บริหารสินทรัพย์พญาไท จากดั
ผู้เข้าสวมสิทธิเป็นคู่ความแทน” (ฎีกาที่ ๒๖๖/๒๕๔๕)
(ซ) คดีที่ไม่มีขอ้ พิพาท เรียกผูย้ ่ืนคาร้องขอว่า ผูร้ ้อง เมื่อมีบุคคลอื่นเขา้ มาเป็ น
คูค่ วามในคดี เช่น ยนื่ คาคดั คา้ น เรียกวา่ ผคู้ ดั คา้ น (ฎีกาที่ ๑๔๗๙/๒๕๕๓)

๑.๓ รายการแห่งคดี
๑.๓.๑ ชื่อเร่ือง ใหใ้ ส่ทุกขอ้ อา้ งท่ีอาศยั เป็นหลกั แห่งขอ้ หา ตวั อยา่ งเช่น

คดแี พ่งท่วั ไป
กรรมสิทธ์ิรวม
ขอใหส้ ัง่ หา้ มการใชน้ าม
ละเมิด

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๒๔๖

ลาภมิควรได้
จดั การงานนอกสั่ง
ซ้ือขาย
แลกเปลี่ยน
ให้
เช่าทรัพย์
เช่าซ้ือ
จา้ งแรงงาน
จา้ งทาของ
รับขน
ยมื
ฝากทรัพย์
เกบ็ ของในคลงั สินคา้
เรียกทรัพยค์ ืน
ค้าประกนั
จานอง
จานา
ตวั แทน
นายหนา้
ประกนั ภยั
ประกนั ภยั ค้าจุน
ประนีประนอมยอมความ
บญั ชีเดินสะพดั
ตวั๋ เงิน
หุน้ ส่วน
บริษทั
สมาคม
ที่ดิน
ขบั ไล่

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๒๔๗

ภาระจายอม
มรดก
พนิ ยั กรรม
หน้ี
สญั ญา
ผดิ สญั ญาบตั รเครดิต
ผิดสญั ญาเล่นแชร์
ผิดสญั ญาประกนั
นิติกรรมอาพราง
รับช่วงสิทธิ
สิทธิยดึ หน่วง
รับสภาพหน้ี
เพกิ ถอนนิติกรรม
เพกิ ถอนการฉอ้ ฉล
หกั กลบลบหน้ี
ขอแบ่งทรัพย์
ทางสาธารณะ
ทางจาเป็ น
เงินบาเหนจ็
บาเหนจ็ ตกทอด
สญั ญาต่างตอบแทน
สิทธิเรียกร้อง
สิทธิเก็บกิน
สิทธิอาศยั
เรียกค่าทดแทนที่ดิน
เรียกคา่ ทดแทนท่ีดินและส่ิงปลกู สร้าง
ขอจดั การมรดก
ขอต้งั ผจู้ ดั การมรดก
ขอถอนผจู้ ดั การมรดก
ขอใหล้ งชื่อเป็นเจา้ ของรวมในโฉนด

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๒๔๘

ขอใหส้ ่งมอบโฉนดที่ดิน
ตลาดหลกั ทรัพย์
คดั คา้ นการเลือกต้งั สมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎร
คดั คา้ นการเลือกต้งั กานนั
สัญชาติ
ขอใหร้ ้ือถอนอาคาร
พระราชบญั ญตั ิควบคุมอาคาร
พระราชบญั ญตั ิการเช่าท่ีดินเพ่ือเกษตรกรรม
ละเมิดอานาจศาล

คดีสาขาของเร่ืองเดิมหรือเกี่ยวกับปัญหาวิธีพิจารณาในช้ันต่าง ๆ รวมท้ัง
ช้ันบังคับคดี ใหใ้ ชช้ ่ือเร่ืองเดิม โดยระบุเรื่องสาขาท่ีแยกออกมาหรือปัญหาที่ตอ้ งพิจารณาไวใ้ น
วงเลบ็ เช่น

ละเมดิ (ช้นั ร้องขดั ทรัพย)์
(ช้นั ขอเฉลี่ยทรัพย์
(ช้นั ขอกนั ส่วน)
(ช้นั ขอใชส้ ิทธิจานอง ฯลฯ)
(ช้นั บงั คบั คดี)
(ช้นั ขออนุญาตฟ้องคดี)
(ช้นั ละเมิดอานาจศาล)
(ช้นั ขอยกเวน้ ค่าธรรมเนียมศาลในการฟ้องคดี)
(ช้นั ขอยกเวน้ ค่าธรรมเนียมศาลในการอุทธรณ์)
(ช้นั วิธีการชว่ั คราวก่อนพพิ ากษา)
(ช้นั ขอใหพ้ ิจารณาใหม)่
(ช้นั ขอใหเ้ พิกถอนการขายทอดตลาด)
(ช้นั ขอคืนคา่ ธรรมเนียม)
(ช้นั ขอใหเ้ พิกถอนกระบวนพิจารณาท่ีผิดระเบียบ)
(ช้นั ขอเงินวางศาลคืน)
(ช้นั ขอขยายระยะเวลา . . .) เช่น ยนื่ อุทธรณ์ ฎีกา วางเงิน ฯลฯ
(ช้นั อทุ ธรณ์คาส่งั ท่ีไมใ่ หเ้ ลื่อนคดี)

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๒๔๙

(ช้นั ไมร่ ับคาคู่ความ)
(ช้นั คดั คา้ นผพู้ พิ ากษา)
ฯลฯ

คดไี ม่มีข้อพพิ าท ใชช้ ื่อเรื่องตามบทกฎหมายที่บญั ญตั ิถึงกรณีท่ีตอ้ งใชส้ ิทธิ
ทางศาล เช่น

ขอจดั การมรดก
ขอแสดงกรรมสิทธ์ิท่ีดิน (หากมีผูค้ ดั คา้ นเขา้ มาในคดีทาให้เป็ นคดีอนั มี
ขอ้ พิพาทตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๑๘๘(๔) จึงเป็นคดีท่ีมีขอ้ พพิ าทในเร่ืองที่ดิน ใหเ้ ปล่ียนช่ือเรื่องเป็น
“ที่ดิน”
๑.๓.๒ คาฟ้อง
คดแี พ่ง
ให้ย่อคาฟ้องพอไดใ้ จความแต่ให้ครบทุกประเด็นแห่งคดี อาจดดั แปลง
ใหถ้ ูกหลกั ภาษาไทยไดบ้ า้ ง เวน้ แต่จาเลยต่อสู้วา่ ฟ้องเคลือบคลุม อยา่ ดดั แปลงจนไม่เคลือบคลุม
หรือยอ่ จนเคลือบคลุมยง่ิ ข้ึน
ถ้ามีการขอแก้ไขหรือเพ่ิมเติมคาฟ้องทุกกรณีไม่ว่าแก้มากแก้น้อย และ
ศาลอนุญาต ใหร้ ะบไุ วด้ ว้ ยวา่ มีการแกไ้ ขคาฟ้อง โดยใชถ้ อ้ ยคาวา่ “โจทก์ฟ้องและแก้ไขคาฟ้องว่า”
คาขอทา้ ยฟ้องให้เขียนโดยไม่ตอ้ งระบุขอ้ และจะยอ่ บา้ งก็ไดแ้ ต่อยา่ ใหข้ าด
เฉพาะคาขอให้จาเลยใชค้ ่าฤชาธรรมเนียมแทนโจทก์ไม่ตอ้ งเขียน เพราะศาลมีหน้าที่ส่ังโดย
คูค่ วามไมต่ อ้ งขอ (ฎีกาที่ ๒๔๘๒/๒๕๑๗)
กรณี โจทก์หรื อจาเลยได้รับอนุ ญาตให้ฟ้องหรื อต่อสู้คดี โดยได้รับยกเวน้
ค่าธรรมเนียมศาลหรือไดร้ ับอนุญาตใหอ้ ุทธรณ์ฎีกาโดยไดร้ ับยกเวน้ ค่าธรรมเนียม ตาม ป.วิ.พ.
มาตรา ๑๕๗ ใหร้ ะบวุ า่ ไดร้ ับอนุญาตให้ยกเวน้ คา่ ธรรมเนียมศาล เพ่ือสะดวกในการสั่งให้รับผิด
ในค่าฤชาธรรมเนียมหรือคืนคา่ ธรรมเนียมศาล เช่น
“โจทก์ฟ้องโดยได้รับอนุญาตให้ยกเว้นค่าธรรมเนียมศาลว่า . . . ”
“จาเลยให้ การและฟ้องแย้ งโดยได้ รั บอนุญาตให้ ยกเว้ นค่ าธรรมเนียม ศาล
ว่า . . .”
แต่ถ้าคู่ความได้รับอนุญาตให้ยกเวน้ ค่าธรรมเนียมศาลเฉพาะบางส่วน
ให้ระบุไว้ ด้วยว่า ได้รับอนุญาตให้ดาเนินคดีโดยได้รับยกเวน้ ค่าธรรมเนียมศาลในส่วนใด
หรือเป็นจานวนเท่าใด เช่น

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๒๕๐

“โจทก์ฟ้องโดยได้รับอนุญาตให้ยกเว้นค่าขึน้ ศาลก่ึงหน่ึงว่า . . .”
“โจทก์ฟ้องโดยได้รับอนุญาตให้ยกเว้นค่าขึน้ ศาลจานวน ๑๐๐,๐๐๐ บาท
ว่า . . .”
กรณีมีการรวมพิจารณาพิพากษาคดีหลายสานวน การย่อคาฟ้อง ถ้าย่อ
รวมกนั ไดก้ ็ให้ย่อรวมกนั ถา้ ยอ่ รวมกนั ไม่ไดใ้ ห้คงใชต้ ามรูปแบบเดิม หากในสานวนคดีหลงั
จาเลยในคดีแรกเป็ นโจทก์ฟ้องโจทก์คดีแรก ไม่ต้องแก้สานวนคดีหลังเป็ นจาเลยฟ้องว่า
คงใชต้ ามรูปแบบเดิม แต่เม่ือจบคาฟ้องคาให้การทุกสานวนแลว้ จึงใส่ขอ้ ความหรือคาส่ังที่ให้
รวมการพิจารณาและเรียกโจทกจ์ าเลยวา่ อยา่ งไรตามรายงานกระบวนพิจารณาในวนั ที่มีคาส่งั
คดีสาขา หากไม่ใช่โจทกห์ รือจาเลยใหใ้ ชว้ า่ “ผู้ร้อง ผู้ร้องขัดทรัพย์ ผู้ซื้อทรัพย์
หรือผู้คัดค้าน ฯลฯ” แลว้ แต่กรณี
คดีไม่มีข้อพิพาท ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๑๘๘(๑) ใหเ้ ร่ิมคดีโดยยน่ื คาร้องขอ
ตอ่ ศาล จึงตอ้ งใชถ้ อ้ ยคาวา่ “ผู้ร้องยื่นคาร้องขอว่า”
ถา้ มีการขอแกไ้ ขคาร้องขอและศาลอนุญาตแลว้ ให้ใชถ้ อ้ ยคาวา่ “ผู้ร้ องย่ืน
คาร้ องขอและแก้ไขคาร้ องขอว่า”
ถา้ มีผยู้ น่ื คาคดั คา้ นเขา้ มาในคดีไม่มีขอ้ พพิ าท ใหใ้ ชถ้ อ้ ยคาวา่ “ผู้คัดค้านยื่น
คาคัดค้านว่า”
๑.๓.๓ คาใหก้ าร
ให้ย่อคาให้การพอไดใ้ จความ แต่ตอ้ งครบถ้วน คาให้การที่ไม่ก่อให้เกิด
ประเดน็ ก็อยา่ ตดั ออก
ถ้ามีการขอแก้ไขหรือเพิ่มเติมคาให้การและศาลอนุญาต ให้ใส่ไวด้ ว้ ยว่า
มีการขอแกไ้ ขคาใหก้ าร โดยใชถ้ อ้ ยคาวา่ “จาเลยให้การและแก้ไขคาให้การว่า . . .”
คาขอทา้ ยคาให้การให้ระบุดว้ ยว่า ขอให้ยกฟ้อง หรือขอชาระหน้ีบางส่วน
ส่วนคาขอใหโ้ จทกใ์ ชค้ า่ ฤชาธรรมเนียมแทนจาเลยไม่จาเป็นตอ้ งเขียน
ถ้ามีฟ้องแยง้ ให้ระบุว่า “จาเลยให้ การและฟ้องแย้งว่า . . .” ส่วนท้าย
คาใหก้ ารใหร้ ะบุวา่ ขอใหย้ กฟ้อง และขอให้บงั คบั โจทก์อยา่ งไรให้ตรงกบั ที่ขอมาทา้ ยฟ้องแยง้
ต่อจากน้ันจึงย่อคาให้การแก้ฟ้องแยง้ ของโจทก์เป็ นลาดบั ถดั ไปทานองเดียวกบั คาให้การของ
จาเลย

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๒๕๑

๑.๓.๔ ช้ีสองสถาน
ถ้ามีการช้ีสองสถานให้เขียนด้วยว่า ศาลช้ีสองสถานกาหนดประเด็น

ขอ้ พิพาทไวอ้ ย่างไร ส่วนฝ่ ายใดมีหน้าที่นาสืบและศาลกาหนดให้ ฝ่ ายใดนาพยานเข้าสืบ
ก่อนหลงั อยา่ งไรไมต่ อ้ งเขียน

๑.๓.๕ ช้ันพิจารณาหากศาลอนุญาตให้ผู้ร้องสวมสิทธิเป็ นคู่ความแทนโจทก์
หรือมีผูเ้ ขา้ มาเป็ นคู่ความแทนที่ผมู้ รณะหรือศาลหมายเรียกบุคคลภายนอกเขา้ มาเป็ นคู่ความร่วม
หรือให้ใช้ถ้อยคาว่า “ระหว่างพิจารณา . . . ย่ืนคาร้ องขอสวมสิทธิเป็ นคู่ความแทนโจทก์
ศาลอนุญาต”“ระหว่างพิจารณาศาลหมายเรียก . . . เข้ามาเป็ นคู่ความแทน . . . ผู้มรณะ” “ระหว่าง
พิจารณาศาลหมายเรียก . . . เข้ามาเป็นโจทก์ร่วม (จาเลยร่วม)”

๑.๓.๖ ทางพจิ ารณา
ใหเ้ ขียนทางนาสืบของฝ่ ายที่มีหนา้ ท่ีนาพยานเขา้ สืบก่อน ซ่ึงปกติโจทก์มกั

มีหน้าท่ีนาพยานเขา้ สืบก่อน กรณีเช่นน้ีให้เขียนว่า “ทางพิจารณาโจทก์นาสืบว่า” แต่ถา้ จาเลย
มีหน้าท่ีนาพยานเขา้ สืบก่อนให้เขียนว่า “ทางพิจารณาจาเลยซ่ึงมีหน้าท่ีนาพยานเข้าสืบก่อน
นาสืบว่า” จบแลว้ จึงเขียนทางนาสืบของอีกฝ่ ายหรือของคู่ความฝ่ ายอื่นตอ่ ไปจนครบทกุ คน

๑.๔ เหตผุ ลแห่งคาวินจิ ฉัย
ให้เขียนเหตุผลแห่งคาวินิจฉัยตามประเด็นข้อพิพาทท่ีกาหนดไว้ ท้ังปัญหา

ขอ้ เทจ็ จริงและขอ้ กฎหมายให้ครบทุกขอ้ เป็ นลาดบั ไป หรือจะยกประเด็นขอ้ ใดข้ึนวินิจฉัยก่อน
ก็ได้ ปกติถา้ มีประเด็นเรื่องอานาจฟ้องหรือฟ้องเคลือบคลมุ มกั จะยกข้ึนวินิจฉยั ก่อน

๑.๕ พพิ ากษา
เม่ือวินิจฉัยได้ผลคดีเป็ นอย่างไร จึงเขียนผลของคดีว่าศาลพิพากษาว่าอย่างไร

โดยเขียนว่า “พิพากษาว่า” ไม่ใชค้ าว่า “จึงพร้ อมกันพิพากษาว่า” ถา้ พิพากษาให้ไม่เต็มตาม
คาขอทา้ ยฟ้องตอ้ งเขียนปิ ดทา้ ยไวด้ ว้ ยว่า “คาขออ่ืนนอกจากนีใ้ ห้ยก” ตลอดจนความรับผิด
ในค่าฤชาธรรมเนียมใหต้ กแก่ฝ่ ายใด หรือใหเ้ ป็นพบั

ค่าทนายความเป็ นค่าฤชาธรรมเนียมอย่างหน่ึง ตอ้ งกาหนดให้เสมอ ถา้ จะให้เป็ นพบั
ก็ตอ้ งสั่งวา่ ใหเ้ ป็นพบั

ในกรณีท่ีมีฟ้องเดิมและฟ้องแยง้ เม่ือวินิจฉยั ใหโ้ จทกช์ นะคดีในฟ้องเดิมแลว้ ก็ตอ้ ง
พพิ ากษายกฟ้องแยง้ และตอ้ งสัง่ คา่ ฤชาธรรมเนียมท้งั ฟ้องเดิมและฟ้องแยง้ ดว้ ย

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๒๕๒

ศาลจะตอ้ งส่ังในเร่ืองคา่ ฤชาธรรมเนียมเสมอ (ฎีกาที่ ๒๔๘๒/๒๕๑๗) ไม่ว่าคู่ความ
จะมีคาขอหรือไมก่ ็ตาม (มาตรา ๑๖๗) (ฎีกาท่ี ๒๖๓๙ - ๒๖๔๐/๒๕๑๘,๕๑๗/ ๒๕๓๙) คดีไมม่ ี
ขอ้ พพิ าทฝ่ ายเร่ิมคดีตอ้ งเสียค่าฤชาธรรมเนียมเอง ศาลตอ้ งสง่ั ใหค้ า่ ฤชาธรรมเนียมเป็นพบั

๑.๖ ลงลายมือชื่อ
ผูพ้ ิพากษาที่พิพากษาหรือทาคาส่ังตอ้ งครบองคค์ ณะตามพระธรรมนูญศาลยตุ ิธรรม

และลงลายมือชื่อไว้ หากผูพ้ ิพากษาคนใดลงลายมือช่ือไม่ไดก้ ็ให้ผูพ้ ิพากษาอื่นท่ีเป็ นองค์คณะ
หรืออธิบดีผูพ้ ิพากษาจดแจง้ เหตุกลดั ไวใ้ นสานวนตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๑๔๑ วรรคสอง ท้งั น้ี
อ ธิ บ ดี ผู้พิ พ า ก ษ า ศ า ล ช้ ัน ต้น อ า จ ม อ บ ห ม า ย ใ ห้ ร อ ง อ ธิ บ ดี ผู้พิ พ า ก ษ า ศ า ล ช้ ัน ต้น แ ล ะ อ ธิ บ ดี
ผพู้ ิพากษาภาค อาจมอบหมายให้รองอธิบดีผูพ้ ิพากษาภาคหรือผพู้ ิพากษาหัวหนา้ ศาล แลว้ แต่กรณี
เป็นผจู้ ดแจง้ เหตกุ ลดั ไวใ้ นสานวนแทนกไ็ ด้

หมายเหตุ
กรณี ดังกล่าวเป็ นคนละเรื่ องกับการลงลายมือช่ือตามมาตรา ๒๘ ถึง ๓๑
แห่งพระธรรมนูญศาลยตุ ิธรรม

๑.๗ ความเห็นแย้ง
ผพู้ ิพากษาซ่ึงเป็นองคค์ ณะคนใดมีความเห็นแยง้ ก็ใหเ้ ขียนความเห็นแยง้ แสดงเหตุผล

ของตนกลดั ไวใ้ นสานวน (มาตรา ๑๔๐(๒)) ความเห็นแยง้ ตอ้ งทาเป็นหนงั สือ

ข้อสังเกต
๑. การใช้ตวั เลขหรือตวั หนังสือควรใชใ้ ห้เหมือนกนั ท้งั ร่างฯกรณีที่ใชต้ วั เลข เช่น
จาเลย ๕ คน โจทก์ท่ี ๑ ฯลฯ กรณีท่ีใช้เป็ นตัวหนังสือ เช่น จาเลยท้ังห้า ฯลฯ จานวนเงิน
ค่าสินไหมทดแทนและค่าฤชาธรรมเนียมในคดีแพ่งใช้เป็ นตัวเลข โดยไม่ต้องวงเล็บเป็ น
ตวั หนงั สืออีก

ตัวอย่าง การใชจ้ านวนเงิน บาท สตางค์ ไม่ควรใช้ ๔๐ บาท ๕๐ สตางค์ ควรใชว้ ่า
๔๐.๕๐ บาท

๒. เม่ือโจทก์ถอนฟ้องจาเลยบางคนและศาลอนุญาตแลว้ ใหร้ ะบุในคาพิพากษาดว้ ย
(ฎีกาท่ี ๔๑๘/๒๕๓๙)

๓. การระบุเวลา ใช้ว่า เวลา ๙.๓๐ นาฬิกา ไม่ใช้ ๐๙.๓๐ นาฬิกา หรื อ ๙.๓๐ น.
เวน้ แต่เวลา ๐.๓๐ นาฬิกา

ถา้ ไม่มีเศษนาที ใชว้ า่ เวลา ๙ นาฬิกา ไมใ่ ช่ ๙.๐๐ นาฬิกา

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๒๕๓

ถ้าใช้คาว่า เวลาประมาณ ไม่ต้องมี .๐๐ นาฬิกา หรือคาว่า เศษ เช่น ใช้เวลา
ประมาณ ๙ นาฬิกา ไม่ใช้ เวลาประมาณ ๙.๐๐ นาฬิกา หรือ ๙ นาฬิกาเศษ

๔. คาย่อน้ันปกติจะไม่ใช้ในคาพิพากษา แต่ในกรณีท่ีกล่าวซ้ ากันหลายคร้ัง
คร้ังตอ่ ๆ ไปอาจใชค้ ายอ่ แลว้ ใส่ “ฯ” ไวข้ า้ งทา้ ยได้ เช่น กรุงเทพฯ พระราชบญั ญตั ิอาวธุ ปื นฯ

สาหรับชื่อ พ.ศ. ของกฎหมาย ให้ใช้ พ.ศ. ท้ังหมด ไม่ว่าช่ือกฎหมาย
จะใช้ พ.ศ. พทุ ธศกั ราชหรือพระพุทธศกั ราช

๕. ชื่อคู่ความควรตรวจให้ถูกตอ้ งตามคาคู่ความ เน่ืองจากอาจมีผลในการบงั คบั คดี
สาหรับชื่อบุคคลอื่น ตาแหน่ง สถานท่ี หรือส่ิงใด หากไม่อาจทราบแน่ไดว้ ่าที่ถูกตอ้ งเป็ นอยา่ งไร
ควรใชใ้ หเ้ หมือนกนั ทกุ แห่ง โดยจะใชอ้ ยา่ งใดอยา่ งหน่ึงก็ได้

๑.๘ การส่ังค่าฤชาธรรมเนียมในคาพพิ ากษา
ค่าฤชาธรรมเนียมตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๑๔๙ วรรคหน่ึง น้นั ไดแ้ ก่ ค่าธรรมเนียมศาล

ค่าสืบพยานหลักฐานนอกศาล ค่าป่ วยการ ค่าพาหนะเดินทาง และค่าเช่าท่ีพกั ของพยาน
ผูเ้ ชี่ยวชาญ ล่าม และเจ้าพนักงานศาล ค่าทนายความ ค่าใช้จ่ายในการดาเนินคดี ตลอดจน
คา่ ธรรมเนียมหรือคา่ ใชจ้ ่ายอื่น ๆ บรรดาที่กฎหมายบงั คบั ใหช้ าระ

๑.๘.๑ ค่าทนายความเป็ นค่าฤชาธรรมเนียมอย่างหน่ึง (ฎีกาที่ ๑๗๙๓/๒๕๒๔)
ดงั น้นั เม่ือศาลทาคาพิพากษาจึงไมต่ อ้ งส่ังอีกวา่ “ . . . และให้ใช้ค่าทนายความแก่อีกฝ่ ายหนึ่ง”
แต่ตอ้ งกาหนดคา่ ทนายความวา่ จะใหใ้ ชเ้ ป็นจานวนเงินเท่าใด

ไมค่ วรส่งั วา่ “ให้จาเลยใช้ค่าฤชาธรรมเนยี มและค่าทนายความ๓,๐๐๐บาทแทนโจทก์”
แต่ควรส่ังว่า “ให้จาเลยใช้ค่าฤชาธรรมเนียมแทนโจทก์ โดยกาหนดค่าทนายความ
๓,๐๐๐ บาท”
หมายความว่า ค่าทนายความน้ันเป็ นส่วนหน่ึงของค่าฤชาธรรมเนียม เพียงแต่
ยงั ไมท่ ราบวา่ เป็นจานวนเท่าใด ศาลจึงตอ้ งกาหนดลงไปใหแ้ น่ชดั วา่ จะใหใ้ ชค้ า่ ฤชาธรรมเนียม
เฉพาะส่วนที่เป็นคา่ ทนายความเท่าใด
๑.๘.๒ ค่าใชจ้ ่ายในการดาเนินคดี ตามตาราง ๗ ทา้ ย ป.วิ.พ. เป็ นค่าฤชาธรรมเนียม
อย่างหน่ึงที่กฎหมายเพ่ิมเติมข้ึนใหม่ ดงั น้ัน การกาหนดความรับผิดในช้ันที่สุดสาหรับค่าฤชา
ธรรมเนียมท้งั ปวงตามมาตรา ๑๖๑ นอกจากศาลตอ้ งกาหนด ค่าทนายความซ่ึงจะตอ้ งใช้แทน
ตามตาราง ๖ แลว้ ศาลยงั ตอ้ งกาหนดค่าใชจ้ ่ายในการดาเนินคดีตามตาราง ๗ อีกดว้ ยไม่วา่ คู่ความ
จะมีคาขอหรือไม่ (ฎีกาท่ี ๑๑๐๙๑/๒๕๕๘ ประชุมใหญ่) มีหลกั เกณฑ์การกาหนดจานวนเงิน
คา่ ใชจ้ ่ายในการดาเนินคดี ดงั น้ี

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๒๕๔

(๑) ตอ้ งไมเ่ กินอตั ราข้นั สูง

- คดีมีทุนทรัพย์ ไมเ่ กินร้อยละ ๑ ของจานวนทุนทรัพย์
- คดีไม่มีทุนทรัพย์ ไม่เกิน ๕,๐๐๐ บาท
(๒) การใชด้ ุลพินิจ ใหศ้ าลกาหนดค่าใชจ้ ่ายในการดาเนินคดีโดยคานึงถึง
- ค่าใชจ้ ่ายต่าง ๆ ท่ีคู่ความไดเ้ สียไป เช่น ค่าพาหนะเดินทาง ค่าเช่าที่พกั
ของตวั ความและทนายความของตวั ความ เป็นตน้

- รวมท้งั ลกั ษณะและวธิ ีการดาเนินคดีของคูค่ วาม

ข้อสังเกต
การสงั่ คา่ ทนายความและค่าใชจ้ ่ายในการดาเนินคดีในคาพพิ ากษามีดงั น้ี
๑. การกาหนดให้คู่ความฝ่ ายหน่ึงใชค้ ่าทนายความแทนอีกฝ่ ายหน่ึงน้นั ศาลตอ้ ง
กาหนดให้ไม่ต่ากว่าเรื่องคดีละ ๓,๐๐๐ บาท และไม่เกินกวา่ อตั ราข้นั สูงร้อยละ ๕ตามที่กาหนด
ไวใ้ นตาราง ๖ ทา้ ย ป.ว.ิ พ.
๒. คดีที่โจทกช์ นะคดีเตม็ ตามฟ้อง ควรสัง่ เรื่องค่าฤชาธรรมเนียมดงั น้ี
“. . .ให้จาเลยใช้ค่าฤชาธรรมเนยี มแทนโจทก์ โดยกาหนดค่าทนายความ . . .บาท
และค่าใช้จ่ายในการดาเนินคดี......บาท (หรือ ค่าใช้จ่ายในการดาเนินคดีให้เป็นพบั )”
ไม่ควรใช้คาว่า ให้ชาระค่าฤชาธรรมเนียม หรือให้ชดใช้ค่าฤชาธรรมเนียม
หรือใหเ้ สียคา่ ฤชาธรรมเนียม
๓. คดีที่โจทก์ชนะคดีเพียงบางส่วน ควรสั่งเร่ืองค่าฤชาธรรมเนียม ดงั น้ี “. . .
ให้จาเลยใช้ค่าฤชาธรรมเนียมแทนโจทก์ โดยกาหนดค่าทนายความ . . . บาท และค่าใช้จ่าย
ในการดาเนินคดี.....บาท (หรือ ค่าใช้จ่ายในการดาเนินคดีให้เป็นพับ) เฉพาะค่าขึน้ ศาล ให้จาเลย
ใช้ แทนตามจานวนทุนทรั พย์ท่ีโจทก์ชนะคดี หรื อเฉพาะค่ าขึ้นศาลให้ จาเลยใช้ แทน
โจทก์ . . . บาท”
๔. กรณีรวมการพิจารณาคดีหลายเรื่องเขา้ ดว้ ยกนั และโจทก์ชนะคดีทุกเรื่อง
ควรสัง่ ใหค้ ่าฤชาธรรมเนียมวา่
“ . . .ให้ จาเลยใช้ค่าฤชาธรรมเนียมแทนโจทก์ท้ัง . . .สานวน โดยกาหนด
ค่าทนายความสานวนละ . . . บาท และค่าใช้จ่ายในการดาเนินคดีสานวนละ....บาท (หรื อ
ค่าใช้จ่ายในการดาเนินคดีทั้ง......สานวน ให้เป็นพับ)”
๕. กรณีจาเลยหลายคน บางคนชนะคดี บางคนแพ้คดี ควรส่ังเร่ื องค่าฤชา
ธรรมเนียมดงั น้ี

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๒๕๕

“ . . . ให้จาเลยท่ี ๑ ท่ี ๒ ร่วมกันใช้ค่าฤชาธรรมเนียมแทนโจทก์ โดยกาหนด ค่า
ทนายความ . . . บาท และค่าใช้จ่ายในการดาเนินคดี....บาท (หรือ ค่าใช้จ่ายในการดาเนินคดี
ให้เป็ นพับ) ให้ยกฟ้องโจทก์สาหรับจาเลยท่ี ๓ ค่าฤชาธรรมเนียมระหว่ างโจทก์กับ จาเลยท่ี ๓
ให้ เป็ นพับ”

ไม่ควรใช้คาว่า “ให้ ยกฟ้องจาเลยที่ ๓” เพราะจะทาให้เข้าใจผิดว่า ยกฟ้อง
ของจาเลยท่ี ๓ ไม่ใช่ยกฟ้องของโจทก์

๖. กรณีโจทกเ์ สียค่าข้ึนศาลมาเกินและตรวจพบในช้นั ทาคาพพิ ากษา ควรสง่ั ดงั น้ี
“ . . . แต่คดีนีเ้ ป็ นคดีไม่มีทุนทรัพย์ โจทก์ชาระค่าขึน้ ศาลอย่างคดีมีทุนทรัพย์
ให้คืนค่าขึน้ ศาลท่ีชาระเกินมาแก่โจทก์” (ฎีกาท่ี ๓๘๒/๒๕๒๗)
๗. กรณีศาลยกฟ้องโจทก์และยกฟ้องแยง้ ของจาเลย ศาลมกั จะให้ค่าฤชาธรรมเนียม
เป็นพบั โดยส่งั วา่
“ . . . ค่าฤชาธรรมเนียมให้เป็นพบั ”
๘. กรณีโจทก์ได้รับอนุญาตให้ฟ้องคดีโดยได้รับยกเว้นค่าธรรมเนียมศาล
หากศาลพิพากษาให้จาเลยแพค้ ดี และศาลเห็นว่าจาเลยจะต้องเป็ นฝ่ ายรับผิดเสียค่าฤชา
ธรรมเนียมตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๑๕๘ ศาลควรสั่งเร่ืองค่าฤชาธรรมเนียมตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๑๕๘
ศาลควรสงั่ เร่ืองค่าฤชาธรรมเนียมดงั น้ี
เหตุที่ใชค้ าว่า “ค่าธรรมเนียมศาล” เพราะเม่ือโจทก์ไดร้ ับอนุญาตให้ดาเนินคดี
โดยไดร้ ับยกเวน้ ค่าธรรมเนียมศาลตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๑๕๖/๑ ประกอบมาตรา ๑๕๗ น้นั โจทก์
คงไดร้ ับยกเวน้ ค่าธรรมเนียมศาลเท่าน้นั ส่วนค่าส่งหมาย คา่ พาหนะ คา่ ป่ วยการพยาน คา่ ทาแผน
ท่ีพิพาท โจทก์ยงั ตอ้ งเสียตามปกติ แต่ถา้ ศาลพิพากษาให้โจทก์ซ่ึงไดร้ ับอนุญาตให้ดาเนินคดี
โดยไดร้ ับยกเวน้ ค่าธรรมเนียมศาลแพค้ ดีแล้ว ก็ส่ังให้โจทก์ใช้ค่าฤชาธรรมเนียมแทนจาเลย
ไดต้ ามปกติ (ฎีกาที่ ๔๒๔๐/๒๕๓๐, ๒๖/๒๕๓๓, ๑๔๑๔/๒๕๓๙)
ในกรณีที่คู่ความไดร้ ับอนุญาตให้ดาเนินคดีโดยไดร้ ับยกเวน้ ค่าธรรมเนียมศาล
หากแพค้ ดีศาลอาจสง่ั ใหร้ ับผดิ ในคา่ ฤชาธรรมเนียมแทนคูค่ วามฝ่ ายที่ชนะคดีได้
“ . . . สาหรับค่าธรรมเนียมศาลที่โจทก์ได้รับอนุญาตให้ดาเนินคดีโดยได้รับยกเว้นน้ัน
ให้จาเลยนามาชาระต่อศาลในนามของโจทก์” (ฎีกาท่ี ๕๐๖ - ๕๐๘/๒๕๒๕, ๓๗๕/๒๕๓๒)
เหตุท่ีใชค้ าว่า “ค่าธรรมเนียมศาล” เพราะเมื่อโจทก์ไดร้ ับอนุญาตให้ดาเนินคดี
โดยไดร้ ับยกเวน้ ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๑๕๖/๑ น้นั โจทกค์ งไดร้ ับยกเวน้ ค่าธรรมเนียมศาลเท่าน้ัน
ส่วนค่าส่งหมาย ค่าพาหนะ ค่าป่ วยการพยาน ค่าทาแผนที่พิพาท โจทก์ยงั ตอ้ งเสียตามปกติ
แต่ถา้ ศาลพิพากษาให้โจทก์ซ่ึงไดร้ ับอนุญาตให้ดาเนินคดีโดยไดร้ ับยกเวน้ ค่าธรรมเนียมศาล

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๒๕๖

แพค้ ดีแล้ว ก็สั่งให้โจทก์ใช้ค่าฤชาธรรมเนียมแทนจาเลยได้ตามปกติ (ฎีกาท่ี ๔๒๔๐/๒๕๓๐,
๒๖/๒๕๓๓, ๑๔๑๔/๒๕๓๙)

ในกรณีท่ีคู่ความไดร้ ับอนุญาตให้ดาเนินคดีโดยไดร้ ับยกเวน้ ค่าธรรมเนียมศาล
หากแพค้ ดีศาลอาจส่งั ใหร้ ับผิดในค่าฤชาธรรมเนียมแทนคูค่ วามฝ่ ายที่ชนะคดีได้

๙. คดีที่พนักงานอัยการเป็ นทนายความว่าความให้ฝ่ ายหน่ึงและชนะคดี
กรณีเช่นน้ีถือว่าพนักงานอยั การอยู่ในฐานะอย่างเดียวกบั ทนายความ ตาม พ.ร.บ.ทนายความ
พ.ศ. ๒๕๒๘ คือ มีอานาจดาเนินคดีในศาลให้แก่ผู้อ่ืน ศาลจึงควรส่ังให้ฝ่ ายที่แพ้คดี
ใชค้ ่าทนายความแทนฝ่ ายที่ชนะคดีซ่ึงมีพนกั งานอยั การวา่ ความ ตาม ป.วิ.พ.มาตรา ๑๖๑ (ฎีกาท่ี
๑๖๘๑/๒๕๓๑)

๒. รูปแบบคาสั่ง

ในคดีที่ไม่มีขอ้ พิพาท ให้ย่อใจความคาร้องขอแล้วเขียนต่อไปว่า “ศาลประกาศนัด
ไต่สวนตามระเบียบแล้ว” หากไม่มีบุคคลใดเขา้ มาเก่ียวขอ้ งในคดี ให้เขียนไวด้ ้วย หากมี
ผูเ้ ขา้ มาเก่ียวขอ้ งในคดีให้ยอ่ คาร้องคดั คา้ นไว้ และจะเขียนไวด้ ว้ ยก็ไดว้ ่า “ศาลจึงดาเนินคดีไป
อย่างคดีมีข้อพิพาท” กรณีเช่นน้ีเรียกผูย้ นื่ คาร้องขอว่า “ผู้ร้อง” และเรียกผูย้ นื่ คาร้องคดั คา้ นวา่
“ผู้คัดค้าน” ไม่จาเป็ นตอ้ งเปลี่ยนฐานะให้ใหม่เป็ นโจทก์จาเลย ส่วนรายการอื่นนอกจากน้ีคงปฏิบตั ิ
ทานองเดียวกบั คดีมีขอ้ พิพาททว่ั ๆ ไป แต่คาวา่ “ทางพิจารณา” เปล่ียนเป็น “ทางไต่สวน”

๓. ตัวอย่างเค้าโครงคาพพิ ากษาและคาสั่งชี้ขาดคดีแพ่งในรูปแบบต่าง ๆ

๓.๑ คาพพิ ากษากรณียอมความ
๓.๒ คาพิพากษาคดีทว่ั ไปกรณีมีการช้ีสองสถานและสืบพยาน
๓.๓ คาพิพากษากรณีมีฟ้องแยง้
๓.๔ คาพพิ ากษากรณีไม่มีการสืบพยาน
๓.๕ คาพิพากษากรณีคูค่ วามทา้ กนั
๓.๖ คาพพิ ากษากรณีรวมการพจิ ารณา

๓.๖.๑ แบบโจทกฟ์ ้องหลายสานวน
๓.๖.๒ แบบโจทกฟ์ ้องและจาเลยสลบั กนั ฟ้อง
๓.๗ คาพพิ ากษากรณีร้องสอด
๓.๘ คาส่งั คดีไม่มีขอ้ พพิ าท
๓.๙ คาพพิ ากษาคดีไม่มีขอ้ พพิ าทซ่ึงกลบั กลายเป็นคดีมีขอ้ พิพาท

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๒๕๗

๓.๑๐ คาพพิ ากษาดว้ ยวาจา คดีมโนสาเร่ หรือคดีไมม่ ีขอ้ ยงุ่ ยาก
๓.๑๑ คาพพิ ากษากรณีจาเลยขาดนดั ยน่ื คาใหก้ าร

๓.๑๑.๑ จาเลยขาดนัดย่ืนคาให้การและไม่มีการสืบพยานตามมาตรา ๑๙๘ ทวิ
วรรคหน่ึง

๓.๑๑.๒ จาเลยขาดนดั ยนื่ คาใหก้ ารและมีการสืบพยานตาม มาตรา๑๙๘ทวิ วรรคสอง
๓.๑๑.๓ จาเลยขาดนดั ยื่นคาให้การและศาลมีคาสั่งให้สืบพยานหลกั ฐานโจทก์ไป
ฝ่ ายเดียวเพราะเป็ นคดีเก่ียวดว้ ยสิทธิแห่งสภาพบุคคล สิทธิในครอบครัว หรือคดีพิพาทเกี่ยวดว้ ย
กรรมสิทธ์ิในอสงั หาริมทรัพย์ ตามมาตรา ๑๙๘ ทวิ วรรคสอง
๓.๑๑.๔ จาเลยขาดนดั ยื่นคาให้การและศาลมีคาสั่งให้โจทก์ส่งพยานเอกสารแทน
การสืบพยานตามมาตรา ๑๙๘ ทวิ วรรคสาม (๑)
๓.๑๑.๕ จาเลยขาดนัดย่ืนคาให้การและศาลมีคาสั่งให้สืบพยานหลกั ฐานโจทกไ์ ป
ฝ่ ายเดียวเก่ียวกบั การกาหนดจานวนเงินตามคาขอบงั คบั ของโจทก์ ท่ีขอใหจ้ าเลยชาระหน้ีเป็นเงิน
อนั ไม่อาจกาหนดจานวนไดโ้ ดยแน่นอน ตามมาตรา ๑๙๘ ทวิ วรรคสาม (๒)
๓.๑๒ คาพิพากษากรณีโจทกข์ าดนดั พจิ ารณา
๓.๑๓ คาพิพากษากรณีจาเลยขาดนดั พจิ ารณา
๓.๑๔ คาพพิ ากษากรณีร้องขดั ทรัพย์
๓.๑๕ คาส่งั คดีฟอกเงิน
๓.๑๕.๑ กรณีไม่มีผคู้ ดั คา้ น
๓.๑๕.๒ กรณีมีผคู้ ดั คา้ น
๓.๑๖ ความเห็นแยง้

มีรายละเอียดดงั ต่อไปน้ี

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๒๕๘

๓.๑ คาพพิ ากษากรณยี อมความ

(๓๑) สาหรับศาลใช้
คาพพิ ากษาตามยอม
คดีหมายเลขดาท่ี ...../........
คดีหมายเลขแดงท่ี ..... /.....

ในพระปรมาภไิ ธยพระมหากษัตริย์
ศาล ...............................

วนั ที่ ..........เดือน ..................พทุ ธศกั ราช ...........
ความแพ่ง

……………………………………..........................................................โจทก์

ระหวา่ ง …………………………………………………………………………จาเลย

เร่ือง………………

ผูพ้ ิพากษาไดพ้ ิจารณาสัญญาประนีประนอมยอมความระหว่างโจทก์และจาเลยในคดีน้ี
ฉบบั ลงวนั ที่.......เดือน.........พ.ศ. ……… เห็นว่า ชอบด้วยกฎหมายแลว้ จึงพิพากษาให้คดี
เป็ นอนั เสร็จเด็ดขาดไปตามสัญญาประนีประนอมยอมความน้ัน คืนค่าข้ึนศาล . . . …….บาท
(กาหนดใหแ้ น่นอนตามระเบียบขา้ ราชการฝ่ ายตุลาการศาลยตุ ิธรรมว่าดว้ ยเร่ืองการคืนค่าข้ึนศาล
พ.ศ. ๒๕๕๓ อยา่ เขียนวา่ คืนค่าข้ึนศาลตามระเบียบ เพราะไม่แน่นอน) . . . . . .

...............
...............

ข้อสังเกต
การบงั คบั ตามยอม ไม่ควรเขียนในคาพิพากษา แต่ให้เขียนต่อท้ายรายงานการอ่าน
คาพิพากษาที่หน้าสานวนโดยเขียนว่า“บังคับตามยอม หากไม่ปฏิบัติตามจะต้องถูกยึดทรัพย์
ถกู จับและจาขงั หรือบังคับคดีตามกฎหมาย”

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๒๕๙

๓.๒ คาพพิ ากษาคดีทว่ั ไปกรณมี ีการชี้สองสถานและสืบพยาน

(๓๑) สาหรับศาลใช้
คาพิพากษา คดีหมายเลขดาท่ี ..../.........
คดีหมายเลขแดงที่ ..... /.....

ในพระปรมาภิไธยพระมหากษตั ริย์
ศาล ...............................

วนั ที่ ..........เดือน ..................พุทธศกั ราช ...........
ความแพ่ง

....................................................................................................................โจทก์

ระหวา่ ง ....................................................................................................................จาเลย
เรื่อง . . . . . . . . . .

โจทกฟ์ ้องวา่ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
ขอใหบ้ งั คบั จาเลย . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

จาเลยใหก้ ารวา่ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .ขอใหย้ กฟ้อง

ช้นั ช้ีสองสถาน ศาลกาหนดประเดน็ ขอ้ พิพาทวา่
๑. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
๒. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
๓. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
๔. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

ทางพิจารณาโจทกน์ าสืบวา่ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
............................................................................
............................................................................
............................................................................

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๒๖๐

จาเลยนาสืบวา่ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
............................................................................
............................................................................

พิเคราะหแ์ ลว้ ขอ้ เทจ็ จริงฟังไดใ้ นเบ้ืองตน้ วา่ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .คดีมีปัญหาตอ้ งวนิ ิจฉัยตามประเดน็ ขอ้ พิพาทดงั น้ี

ประเดน็ ขอ้ แรก . . . . . . . . . . . . . เห็นวา่ . . . . . . . . . . . . .(แลว้ วินิจฉยั ประเด็นขอ้ อ่ืนตอ่ ไป
ตามลาดับ หรือจะยกประเด็นข้อใดข้ึนวินิจฉัยก่อนหลงั ก็ได้ หรือประเด็นขอ้ ใดไม่จาเป็ น
กง็ ดวนิ ิจฉยั โดยใหเ้ หตผุ ลวา่ งดเพราะเหตใุ ด)

พิพากษาให้ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .กบั ให.้ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
ใชค้ ่าฤชาธรรมเนียมแทนโจทก์ โดยกาหนดค่าทนายความ . . . . . . บาท และค่าใชจ้ ่ายในการ
ดาเนินคดี.........................บาท (หรือคา่ ใชจ้ ่ายในการดาเนินคดีใหเ้ ป็นพบั )

....................
....................

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๒๖๑

๓.๓ คาพพิ ากษากรณีมีฟ้องแย้ง

(๓๑) สาหรับศาลใช้
คาพพิ ากษา
คดีหมายเลขดาท่ี ....../.......
คดีหมายเลขแดงที่ ..... /.....

ในพระปรมาภไิ ธยพระมหากษัตริย์
ศาล. . . . . . . . . . . . . . .

วนั ที่ . . . เดือน. . . . . . . . . .พุทธศกั ราช ... . . .
ความแพง่

…………………………………………………………………………….โจทก์
ระหวา่ ง

……………………………………………………………………………จาเลย
เร่ือง……….

โจทกฟ์ ้องวา่ . . . . . . . . . . . . . . . .(ยอ่ ฟ้อง) ขอใหบ้ งั คบั จาเลย . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

จาเลยใหก้ ารและฟ้องแยง้ วา่ . . . . . . . . . . (ยอ่ คาให้การและฟ้องแยง้ ) ขอให้ยกฟ้องและ
บงั คบั โจทก์ . . . . . . . . . . (ตามฟ้องแยง้ )

โจทกใ์ หก้ ารแกฟ้ ้องแยง้ วา่ . . . . . . . . . . (ยอ่ คาใหก้ ารแกฟ้ ้องแยง้ ถา้ โจทกใ์ หก้ ารทานอง
เดียวกบั คาฟ้องของตนก็ไม่ตอ้ งย่อ แต่เขียนว่า “โจทก์ให้การแก้ฟ้องแย้ง ยืนยันตามคาฟ้อง
ของโจทก์”) ขอใหย้ กฟ้องแยง้

ช้นั ช้ีสองสถาน ศาลกาหนดประเดน็ ขอ้ พพิ าทดงั น้ี
๑. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
๒. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
๓. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
๔. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

ทางพจิ ารณาโจทกน์ าสืบวา่ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

จาเลยนาสืบวา่ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๒๖๒

พิเคราะห์พยานหลกั ฐานของท้งั สองฝ่ ายแลว้ ขอ้ เท็จจริงฟังไดใ้ นเบ้ืองตน้ วา่ . . . . . . . . .
(แลว้ วินิจฉยั ตามประเดน็ ขอ้ พิพาท)

พิพากษาให้จาเลย . . . . . . . . . . . . . . . กับให้จาเลยใช้ค่าฤชาธรรมเนียมแทนโจทก์
โดยกาหนดค่าทนายความ . . . . . บาท และค่าใชจ้ ่ายในการดาเนินคดี........บาท (หรือค่าใชจ้ ่าย
ในการดาเนินคดีให้เป็ นพบั ) ฟ้องแยง้ ของจาเลยให้ยกเสีย ค่าฤชาธรรมเนียมในส่วนฟ้องแยง้
ใหเ้ ป็นพบั

....................
....................

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๒๖๓

๓.๔ คาพพิ ากษากรณีไม่มกี ารสืบพยาน สาหรับศาลใช้
(๓๑)
คาพพิ ากษา คดีหมายเลขดาที่ ....../........
คดีหมายเลขแดงท่ี ..... /.....

ในพระปรมาภไิ ธยพระมหากษัตริย์
ศาล. . . . . . . . . . . . . . .

วนั ท่ี . . . เดือน. . . . . . . . . .พทุ ธศกั ราช . . . . . .
ความแพ่ง

…………………………………………………………………………….โจทก์
ระหวา่ ง

……………………………………………………………………………..จาเลย
เร่ือง ...................

โจทกฟ์ ้องวา่ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
.............................................................................
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ขอใหบ้ งั คบั จาเลย. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

จาเลยใหก้ ารวา่ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ขอใหย้ กฟ้อง

วนั ช้ีสองสถาน คู่ความแถลงรับขอ้ เทจ็ จริงกนั ว่า . . . . . . . . . . แลว้ ท้งั สองฝ่ ายไม่ติดใจ
สืบพยาน (หรือศาลเห็นวา่ ขอ้ เทจ็ จริงตามคาฟ้องคาใหก้ ารเพียงพอวนิ ิจฉยั ได้ จึงสั่งงดสืบพยาน)

พเิ คราะห์คาฟ้อง คาใหก้ าร และคารับของคูค่ วามแลว้ เห็นวา่ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
............................................................................
............................................................................

พพิ ากษา . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . กบั ให้ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
ใชค้ า่ ฤชาธรรมเนียมแทน . . . . .โดยกาหนดคา่ ทนายความ . . . . .บาท และค่าใชจ้ ่ายในการ
ดาเนินคดี........บาท (หรือค่าใชจ้ ่ายในการดาเนินคดีใหเ้ ป็นพบั )

.............
.............

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๒๖๔

๓.๕ คาพพิ ากษากรณีคู่ความท้ากนั สาหรับศาลใช้
(๓๑)
คาพิพากษา คดีหมายเลขดาที่ ...../.......
คดีหมายเลขแดงที่..... /......

ในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย์
ศาล. . . . . . . . . . . . .

วนั ท่ี . . . เดือน. . . . . . . . . .พุทธศกั ราช . . . . . .
ความแพง่

......................................................................................................................โจทก์
ระหวา่ ง

......................................................................................................................จาเลย
เร่ือง . . . . . . . . . . . . . . .

โจทกฟ์ ้องวา่ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
............................................................................
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .ขอใหบ้ งั คบั จาเลย. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

จาเลยใหก้ ารวา่ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ขอใหย้ กฟ้อง

ระหว่างพิจารณา คู่ความตกลงทา้ กนั ว่า . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .ศาลอนุญาตใหเ้ ป็นไป
ตามท่ีคู่ความทา้ กนั

ปรากฏวา่ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . (ผลของการปฏิบตั ิตามคาทา้ )
พพิ ากษา. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . กบั ใหใ้ ชค้ ่าฤชาธรรมเนียมแทน . . . . . . . .
โดยกาหนดค่าทนายความ . . . . .บาท และค่าใชจ้ ่ายในการดาเนินคดี........บาท (หรือค่าใชจ้ ่ายใน
การดาเนินคดีใหเ้ ป็นพบั )

...................
..................

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๒๖๕

๓.๖.๑ คาพพิ ากษากรณรี วมการพจิ ารณา แบบโจทก์ฟ้องหลายสานวน

(๓๑) สาหรับศาลใช้
คาพพิ ากษา คดีหมายเลขดาที่ ....../..........

คดีหมายเลขแดงที่ ...../...........

คดีหมายเลขดาที่ ....../……..

ในพระปรมาภิไธยพระมหากษตั ริย์ คดีหมายเลขแดงที่ ....../........

ศาล . . . . . . . . . . . . .

วนั ที่. . . เดือน. . . . . . . . . .พุทธศกั ราช . . . . . .

ความแพ่ง

……………………………………………………………………………..โจทก์

ระหวา่ ง

………………………………………………………………………………จาเลย

เรื่อง . . . . . . . . . . . . . . . .

.........................................................................................................................โจทก์

ระหวา่ ง

……………………………………………………………………………….จาเลย

เร่ือง . . . . . . . . . . . . . . . .

คดีท้งั สองสานวนน้ีศาลส่ังรวมการพิจารณา โดยให้เรียกนายองั คารจาเลยในสานวน
แรกว่าจาเลยท่ี ๑ และให้เรียกนายพุธจาเลยในสานวนหลงั ว่าจาเลยท่ี ๒ โจทก์ฟ้องท้งั สอง
สานวนรวมใจความว่า . . . . . (ย่อฟ้องท้งั สองสานวนรวมเขา้ ดว้ ยกนั ถา้ ย่อรวมไม่ได้ ให้แยก
เขียนวา่ สานวนแรก โจทกฟ์ ้องวา่ . . . . . . . . . .สานวนหลงั โจทกฟ์ ้องวา่ . . . . . . . . . .)

จาเลยท้งั สองสานวนให้การทานองเดียวกนั ว่า . . . (ย่อคาให้การของท้งั สองสานวน
รวมเขา้ ดว้ ยกนั ถา้ ยอ่ รวมกนั ไมไ่ ด้ ก็แยกเขียนเป็นสานวนแรกสานวนหลงั )

(เขียนตามรูปแบบคาพิพากษาทว่ั ไป)

...............
...............

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๒๖๖

๓.๖.๒ คาพพิ ากษากรณีรวมการพจิ ารณาโจทก์และจาเลยสลบั กนั ฟ้อง

(๓๑) สาหรับศาลใช้
คาพพิ ากษา
คดีหมายเลขดาที่ ....../...........
คดีหมายเลขแดงท่ี ......./..........

ในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย์
ศาล. . . . . . . . . . . . . . . .

วนั ที่. . . เดือน. . . . . . . . . .พุทธศกั ราช . . . . . .
ความแพง่

……………………………………………………………………………….โจทก์
ระหวา่ ง

………………………………………………………………………………..จาเลย
เร่ือง . . . . . . . . . . . . . .

………………………………………………………………………………..โจทก์
ระหวา่ ง

……………………………………………………………………………….จาเลย
เร่ือง . . . . . . . . . . . . . . .

คดีท้ังสองสานวนน้ีศาลส่ังรวมการพิจารณา โดยให้เรียกนายแดงซ่ึงเป็ นโจทก์ใน
สานวนแรกและเป็ นจาเลยท่ี ๑ ในสานวนหลงั ว่าโจทก์ที่ ๑ เรียกนายเขียวซ่ึงเป็ นจาเลยท่ี ๒
ในสานวนหลงั ว่าโจทก์ท่ี ๒ และให้เรียกนายดาซ่ึงเป็ นจาเลยในสานวนแรกและเป็ นโจทก์
ในสานวนหลงั วา่ จาเลย

สานวนแรกโจทกท์ ี่ ๑ ฟ้องวา่ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
............................................................................

จาเลยใหก้ ารวา่ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
............................................................................

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๒๖๗

สานวนหลงั จาเลยฟ้องวา่ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
............................................................................

โจทกท์ ้งั สองใหก้ ารวา่ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
............................................................................

(เขียนตามรูปแบบคาพิพากษาทว่ั ไป)
...................
...................

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๒๖๘

๓.๗ คาพพิ ากษากรณรี ้องสอด สาหรับศาลใช้
(๓๑)
คาพพิ ากษา คดีหมายเลขดาที่ ......./........
คดีหมายเลขแดงที่..... /........

ในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย์
ศาล. . . . . . . . . . . .

วนั ท่ี. . . เดือน. . . . . . . . . .พทุ ธศกั ราช . . . . . .
ความแพง่

…………………………………………………………………………….โจทก์

ระหวา่ ง
…………………………………………………………………………….จาเลย
…………………………………………………………………………จาเลยร่วม

เร่ือง ........................

โจทกฟ์ ้องวา่ . . . . . . . . . . . . . . . (ยอ่ คาฟ้อง) ขอใหบ้ งั คบั จาเลย . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

จาเลยใหก้ ารวา่ . . . . . . . . . . . . .(ยอ่ คาใหก้ าร) ขอใหย้ กฟ้อง . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

ระหวา่ งพจิ ารณา จาเลยยน่ื คาร้องขอใหเ้ รียกนายพธุ เขา้ มาเป็นจาเลยร่วม โดยอา้ งวา่ .
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ศาลอนุญาต

จาเลยร่วมใหก้ ารวา่ . . . . . . . . . . (ยอ่ คาใหก้ าร) ขอใหย้ กฟ้อง

ช้นั ช้ีสองสถาน ศาลกาหนดประเดน็ ขอ้ พพิ าทวา่ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

ทางพิจารณาโจทกน์ าสืบวา่ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

จาเลยและจาเลยร่วมนาสืบวา่ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

พิเคราะหแ์ ลว้ ขอ้ เทจ็ จริงฟังไดใ้ นเบ้ืองตน้ วา่ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
(แลว้ วินิจฉยั ตามประเดน็ ขอ้ พิพาท)

พิพากษาให้จาเลยและ/หรื อจาเลยร่ วมชาระเงินแก่โจทก์........................................................บาท

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๒๖๙

กบั ให้จาเลยและ/หรือจาเลยร่วมใชค้ ่าฤชาธรรมเนียมแทนโจทก์ โดยกาหนดค่าทนายความ . .
.........บาท และคา่ ใชจ้ ่ายในการดาเนินคดี............................บาท (หรือค่าใชจ้ ่ายในการดาเนินคดี
ใหเ้ ป็นพบั ) .......

..............
..............

ข้อสังเกต
คาพิพากษาในคดีที่มีการร้องสอดจะมีผลบงั คบั ถึงผูร้ ้องสอดหรือไม่ และหากพิพากษา
ไปถึงผรู้ ้องสอดจะถือวา่ เกินคาขอของโจทก์หรือไม่ เห็นวา่ ในเรื่องน้ีไม่มีบทบญั ญตั ิของกฎหมาย
บัญญัติไว้โดยชัดแจ้ง คงมีแต่มาตรา ๕๗ (๒) เท่าน้ันท่ีให้คู่ความที่ถูกแทนที่ต้องผูกพนั ตน
โดยคาพิพากษาของศาลทุกประการ ดงั น้ัน ในการทาคาพิพากษาในคดีที่มีการร้องสอดจึงควร
พิจารณาวา่ ประเด็นในคดีครอบคลุมถึงความรับผิดของผูร้ ้องสอดดว้ ยหรือไม่ กล่าวคือ เม่ือศาล
วนิ ิจฉยั ช้ีขาดประเดน็ ในคดีก็ยอ่ มเห็นถึงความรับผิด หรือสิทธิของผรู้ ้องสอดไดท้ นั ทีโดยไม่ตอ้ ง
ไปวินิจฉัยในขอ้ อ่ืนอีก เช่นน้ี ศาลจึงพิพากษาใหม้ ีผลถึงผรู้ ้องสอดได้ และไม่ถือวา่ เกินคาขอ ของโจทก์
เช่น คาพิพากษาศาลฎีกาที่ ๑๗๓๗/๒๔๙๔, ๙๘๙/๒๕๐๑, ๕๑๗/๒๕๐๖, ๖๕๒/๒๕๑๐,
๗๐๙๑/๒๕๔๒ และ ๒๖๕๘/๒๕๔๔ เป็ นตน้ แต่หากเมื่อวินิจฉัยประเด็นในคดีแลว้ ยงั บงั คบั
ถึงผู้ร้องสอดทันทีไม่ได้ จะต้องไปวินิจฉัยในข้ออื่นซ่ึงมิได้เป็ นประเด็นในคดีเสียก่อน
ศาลจะไม่พิพากษาเลยไปถึงผรู้ ้องสอด เช่น คาพิพากษาศาลฎีกาที่ ๑๒๘๑ - ๑๒๘๓/๒๔๙๓,๑๕๘๓/
๒๕๑๑, ๑๒๗๘/๒๕๑๓

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๒๗๐

๓.๘ คาส่ังกรณีคดีไม่มีข้อพพิ าท

สาหรับศาลใช้

(๓๑) คดีหมายเลขดาท่ี ....../........
คาสง่ั คดีหมายเลสขาแหดรงบัทศี่...า..ล/ใ.ช...้.....

ในพระปรมาภไิ ธยพระมหากษตั ริย์
ศาล . . . . . . . . . . . . . .

วนั ที่. . . เดือน. . . . . . . . . .พทุ ธศกั ราช . . . . . .
ความแพง่

ระหวา่ ง …………………………………………………………………………ผรู้ ้อง

เรื่อง ขอจดั การมรดก

ผูร้ ้องย่ืนคาร้องขอว่า . . . . . . . . . . . . .ขอให้ศาลมีคาสั่งต้งั ผูร้ ้องเป็ นผูจ้ ัดการมรดก
ของนายพธุ ผตู้ าย

ศาลไดน้ ดั ไต่สวนและประกาศโฆษณาแลว้ (บางทีก็เขียนวา่ ศาลไดป้ ระกาศนดั ไต่สวน
ตามระเบียบแลว้ ) ไมม่ ีผใู้ ดคดั คา้ น

ทางไต่สวนไดค้ วามจากพยานหลกั ฐานของผรู้ ้องวา่ . . . และไมป่ รากฏวา่ ผรู้ ้องเป็นบคุ คล
ตอ้ งหา้ มตามที่บญั ญตั ิไวใ้ นป.พ.พ. มาตรา ๑๗๑๘

จึงมีคาสั่งต้ังผู้ร้องเป็ นผู้จัดการมรดกของนายพุธผู้ตาย โดยให้มีสิทธิและหน้าท่ี
ตามกฎหมาย

..................
..................

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๒๗๑

๓.๙ คาพพิ ากษากรณีคดไี ม่มีข้อพพิ าท ซ่ึงกลบั กลายเป็ นคดีมขี ้อพพิ าท

(๓๑) สาหรับศาลใช้
คาพพิ ากษา คดีหมายเลขดาท่ี ......./..........

คดีหมายเลขแดงท่ี ..... /........

ในพระปรมาภไิ ธยพระมหากษัตริย์
ศาล . . . . . . . . . . . . . .

วนั ที่ . . . เดือน . . . . . . . . . .พทุ ธศกั ราช . . . . . .
ความแพ่ง

…………………………………………………………………………. ผรู้ ้อง
ระหวา่ ง

.............................................................................................................ผคู้ ดั คา้ น
เรื่อง ขอจดั การมรดก

ผรู้ ้องยนื่ คาร้องขอวา่ ..........ขอใหศ้ าลมีคาสัง่ ต้งั ผรู้ ้องเป็นผจู้ ดั การมรดกของนายพุธผตู้ าย

ศาลไดน้ ดั ไตส่ วนและประกาศโฆษณาแลว้

ผคู้ ดั คา้ นยนื่ คาคดั คา้ นวา่ ....ขอใหย้ กคาร้องและต้งั ผคู้ ดั คา้ นเป็นผจู้ ดั การมรดกของนายพธุ ผตู้ าย

ศาลจึงดาเนินคดีไปอยา่ งคดีมีขอ้ พิพาท โดยใหผ้ รู้ ้องเป็นฝ่ ายนาสืบก่อน

ทางไตส่ วนผรู้ ้องนาสืบวา่ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

ผคู้ ดั คา้ นนาสืบวา่ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

พเิ คราะหแ์ ลว้ เห็นวา่ . . . . . . ผรู้ ้องกบั ผคู้ ดั คา้ นต่างเหมาะสมที่จะเป็นผจู้ ดั การมรดกของ
ผตู้ ายร่วมกนั และไม่ปรากฏว่าท้งั สองฝ่ ายเป็ นบุคคลตอ้ งห้ามตามที่บญั ญตั ิไวใ้ น ป.พ.พ. มาตรา
๑๗๑๘ ท้งั มีเหตขุ ดั ขอ้ งในการจดั การทรัพยม์ รดก

จึงมีคาสั่งต้งั ให้ผูร้ ้องกบั ผูค้ ดั คา้ นเป็ นผจู้ ดั การมรดกของนายพุธผูต้ ายร่วมกนั โดยให้มี
สิทธิและหนา้ ที่ตามกฎหมาย ค่าฤชาธรรมเนียมใหเ้ ป็นพบั

....................
…………...

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๒๗๒

ข้อสังเกต
๑. ถา้ จะต้งั ฝ่ ายใดฝ่ ายหน่ึงเป็นผจู้ ดั การมรดกกใ็ หย้ กคาร้องของอีกฝ่ าย
๒. แม้คู่ความจะประนีประนอมยอมความกันโดยขอให้ศาลมีคาสั่งต้ังเป็ น
ผูจ้ ดั การมรดกร่วมกนั ศาลก็จะพิพากษาตามยอมไม่ได้ ยงั คงตอ้ งไต่สวนใหไ้ ดค้ วามว่า คู่ความมี
คุณสมบตั ิไม่ตอ้ งหา้ มตามกฎหมายมิใหเ้ ป็นผจู้ ดั การมรดก


Click to View FlipBook Version