The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

1 คู่มือปฏิบัติราชการของตุลาการ 2562 ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง เล่มที่ 1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by aram.du, 2021-10-11 00:13:32

1 คู่มือปฏิบัติราชการของตุลาการ 2562 ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง เล่มที่ 1

1 คู่มือปฏิบัติราชการของตุลาการ 2562 ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง เล่มที่ 1

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๔๒๓

๒.๑.๒ ถา้ เห็นว่าคดีมีเหตุผลอนั สมควร และผูร้ ้องยงั คงไม่มีทรัพยส์ ินพอท่ีจะเสีย
ค่าธรรมเนียมศาลในการฟ้องอุทธรณ์หรือฎีกา ให้ส่ังอนุญาตไดท้ นั ทีโดยไม่ตอ้ งฟังคาคดั คา้ น
ของอีกฝ่ ายและไม่ตอ้ งไต่สวน เพราะเป็ นเร่ืองระหว่างศาลกับคู่ความท่ีร้องขอ (เทียบฎีกาท่ี
๙๐๑/๒๕๒๐) และเม่ือส่งั อนุญาตแลว้ คู่ความอีกฝ่ ายไมม่ ีสิทธิอทุ ธรณ์คาส่งั

ตวั อย่างคาส่ัง
“คดีนีโ้ จทก์(จาเลย) เคยได้รับอนุญาตให้ดาเนินคดีโดยได้รับยกเว้นค่าธรรมเนียม

ศาลในศาลช้ันต้นมาแล้ว และไม่ปรากฏต่อศาลเป็ นอย่างอื่น ถือว่าโจทก์(จาเลย) ยังคงไม่มี
ทรัพย์สินพอที่จะเสียค่าธรรมเนียมศาล หรือหากไม่ได้รับยกเว้นค่าธรรมเนียมศาลแล้วจะ
ได้รับความเดือดร้ อนเกินสมควร และอุทธรณ์ (ฎีกา) มีเหตุผลอันสมควร จึงอนุญาตให้โจทก์
(จาเลย) อุทธรณ์ (ฎกี า) โดยได้รับยกเว้นค่าธรรมเนยี มศาลในช้ันอุทธรณ์ (ฎีกา)”

และส่ังในคาฟ้องอุทธรณ์ ว่า “โจทก์ (จาเลย) ได้รับอนุญาตให้ ดาเนินคดี
โดยได้รับยกเว้นค่าธรรมเนียมชั้นอุทธรณ์ รับอุทธรณ์ สาเนาให้จาเลย(โจทก์) แก้อุทธรณ์
ภายใน ๑๕ วัน ให้โจทก์(จาเลย)นาส่งสาเนาอุทธรณ์ โดยให้วางเงินค่าส่งหมายอย่างช้าใน
วันทาการถดั ไป หากส่งไม่ได้ให้โจทก์(จาเลย) แถลงเพื่อดาเนินการต่อไปภายใน ๑๕ วนั นบั แต่
วนั ส่งไม่ได้ มิฉะนั้นถือว่าทิง้ ฟ้องอทุ ธรณ์”

กรณีโจทก์ (จาเลย) ขออนุญาตฎีกา ส่ังในคาร้ องขออนุญาตฎีกาว่า “โจทก์
(จาเลย) ได้รับยกเว้นค่าธรรมเนียมศาลช้ันฎกี า รวมส่งศาลฎีกา”

อย่างไรก็ดี หากตอ้ งการทราบว่า หลงั จากศาลอนุญาตให้คู่ความดาเนินคดีโดย
ไดร้ ับยกเวน้ ค่าธรรมเนียมในศาลช้นั ตน้ แลว้ ในขณะยื่นอุทธรณ์หรือฎีกามีขอ้ เท็จจริงเก่ียวกบั
การขอยกเวน้ ค่าธรรมเนียมศาลเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมหรือไม่ ศาลจะส่ังนัดไต่สวนคาร้อง
ก่อนมีคาสั่งก็ได้

๒.๒ กรณีผูข้ อไม่ได้รับอนุญาตให้ดาเนินคดีโดยได้รับยกเวน้ ค่าธรรมเนียมศาลใน
ศาลช้นั ตน้ แต่ยนื่ คาร้องขอยกเวน้ คา่ ธรรมเนียมศาลมาพร้อมอุทธรณ์หรือฎีกา ใหพ้ ิจารณาดงั น้ี

๒.๒.๑ ถ้าเห็นว่าคดีไม่มีเหตุผลอนั สมควรจะอุทธรณ์(ฎีกา) ให้ส่ังยกคาร้องขอ
ยกเวน้ ค่าธรรมเนียมศาลไดท้ นั ทีโดยไม่ตอ้ งไตส่ วน และยงั ไมต่ อ้ งสัง่ คาฟ้องอุทธรณ์ (ฎีกา) น้นั

๒.๒.๒ ถา้ คดีมีเหตุผลสมควรจะอุทธรณ์ (ฎีกา) และคู่ความยื่นคาร้องมาพร้อม
อุทธรณ์หรือฎีกา โดยเสนอพยานหลักฐานมาพร้อมคาร้อง หากศาลเห็นสมควรไต่สวน
พยานหลกั ฐานเพ่ิมเติมก็ใหด้ าเนินการไต่สวนโดยเร็วเท่าท่ีจาเป็ น (ป.วิ.พ. มาตรา ๑๕๖) โดยสั่ง
ในคาร้องขอยกเวน้ คา่ ธรรมเนียมศาล วา่ “เรียกไต่สวน” หรือสง่ั วา่

“รับคาร้อง นดั ไต่สวนวันท่ี . . . เวลา . . . .น.”

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๔๒๔

และสั่งในคาฟ้องอุทธรณ์ (ฎีกา)ว่า “รอไว้ส่ังเมื่อไต่สวนคาร้ องขอยกเว้น
ค่าธรรมเนยี มศาลเสร็จแล้ว ”

ข้อสังเกต
๑. ถ้าศาลช้ันต้นส่ังยกคาร้อง ผู้ขออาจอุทธรณ์คาสั่งไปยงั ศาลอุทธรณ์ได้
โดยไม่ตอ้ งเสียค่าธรรมเนียม (ฎีกาที่ ๑๓๖๘/๒๕๑๐) เพราะเป็ นเรื่องเก่ียวกบั การร้องว่าไม่มี
ทรัพยส์ ินพอท่ีจะเสียคา่ ธรรมเนียมศาล
๒. ศาลช้ันต้นต้องส่ังคาร้องขอยกเวน้ ค่าธรรมเนียมศาลก่อนส่ังรับหรือไม่รับ
คาฟ้องอุทธรณ์ (หรือก่อนส่งคาร้องขออนุญาตฎีกาไปยงั ศาลฎีกา) ดงั น้ัน ศาลช้นั ตน้ จึงไม่ควร
กา้ วล่วงไปส่ังไม่รับคาฟ้องอุทธรณ์โดยอา้ งว่าอุทธรณ์ตอ้ งห้ามก่อนที่จะพิจารณาส่ังคาร้องขอ
ยกเวน้ ค่าธรรมเนียมศาล หรือส่งคาร้องขออนุญาตฎีกาไปยงั ศาลฎีกาโดยยงั ไม่ไดพ้ ิจารณาส่ัง
คาร้องขอยกเวน้ ค่าธรรมเนียมศาลก่อน
จาเลยยื่นอุทธรณ์และย่ืนคาร้องขอฟ้องอุทธรณ์อย่างคนอนาถาศาลช้ันต้นนัด
ไต่สวนอนาถา คร้ันถึงวนั นดั ไดส้ ่ังงดไต่สวนเสีย โดยว่าไม่จาเป็ นและมีคาสั่งว่า ไม่รับอุทธรณ์
ของจาเลย เพราะเป็นอุทธรณ์ในปัญหาขอ้ เทจ็ จริง ซ่ึงตอ้ งห้ามอุทธรณ์ ตามป.วิ.พ. มาตรา ๒๒๔
ที่ศาลช้ันตน้ ส่ังเช่นน้ี ศาลฎีกาเห็นว่า ยงั คลาดเคลื่อนอยู่ เพราะเม่ือศาลช้ันต้นเห็นว่าจาเลย
อทุ ธรณ์ในปัญหาขอ้ เทจ็ จริงไม่ได้ เพราะตอ้ งหา้ มตามป.ว.ิ พ. มาตรา ๒๒๔ กพ็ ึงยกคาร้องขอฟ้อง
อุทธรณ์อย่างคนอนาถาน้ันเสีย ตามป.วิ.พ. มาตรา ๑๕๖ วรรคสาม หาควรท่ีจะกา้ วล่วงไปสั่ง
ไม่รับอุทธรณ์ของจาเลย เสียทีเดียวไม่ จึงพิพากษายกคาส่ังศาลอุทธรณ์และศาลช้ันต้น
ให้ศาลช้นั ตน้ พิจารณาส่ังใหม่ ตามป.วิ.พ. มาตรา ๑๕๖ วรรคสาม ค่าธรรมเนียมช้นั อุทธรณ์ฎีกา
ใหค้ ืนจาเลยไป (ฎีกา ๗๗๒/๒๕๑๐)

๓. การไต่สวนคาร้องขอยกเว้นค่าธรรมเนยี มศาลในช้ันอทุ ธรณ์หรือฎีกา

๓.๑ ผูร้ ้องอาจเสนอพยานหลกั ฐานไปพร้อมคาร้องก็ได้ หากศาลตรวจดูแลว้ เห็นสมควร
ไต่สวนพยานหลักฐานเพิ่มเติมก็ให้ดาเนินการไต่สวนโดยเร็วเท่าท่ีจาเป็ น โดยจะมีคาสั่ง
งดการดาเนินกระบวนพิจารณาคดีน้ันไวท้ ้ังหมดหรือแต่บางส่วนเป็ นการชั่วคราวจนกว่า
การพิจารณาส่ังคาร้องขอยกเวน้ ค่าธรรมเนียมศาลจะถึงที่สุดก็ได้ (มาตรา ๑๕๖) เช่นเดียวกบั
ข้นั ตอนการไตส่ วนคาร้องขอยกเวน้ ค่าธรรมเนียมศาลในศาลช้นั ตน้

๓.๒ เมื่อไต่สวนเสร็จแลว้ ศาลตอ้ งมีคาสั่งโดยเร็ว (มาตรา ๑๕๖/๑ วรรคหน่ึง) อย่างใด
อยา่ งหน่ึง ดงั น้ี

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๔๒๕

๓.๒.๑ อนุญาตใหย้ กเวน้ ค่าธรรมเนียมศาลในช้นั อุทธรณ์หรือฎีกาท้งั หมด หากเชื่อ
ไดว้ า่ ผูร้ ้องไม่มีทรัพยส์ ินพอที่จะเสียค่าธรรมเนียมศาล หรือหากผูร้ ้องไม่ไดร้ ับยกเวน้ ค่าธรรมเนียมศาล
จะไดร้ ับความเดือดร้อนเกินสมควรเม่ือพิจารณาถึงสถานะของผรู้ ้อง และอุทธรณ์หรือฎีกาของ
ผรู้ ้องตอ้ งมีเหตุผลอนั สมควรดว้ ย (มาตรา๑๕๖/๑วรรคสอง) คาสั่งอนุญาตให้ยกเวน้ ค่าธรรมเนียมศาล
ท้งั หมดเป็นท่ีสุด

ตวั อย่างคาส่ัง
“พิเคราะห์แล้ว เห็นว่า คดีของ โจทก์(จาเลย) มีเหตุผลอันสมควรท่ีจะอุทธรณ์ และ
โจทก์(จาเลย)ไม่มีทรัพย์สินพอที่จะเสียค่าธรรมเนียมศาลได้ จึงอนุญาตให้โจทก์(จาเลย) ได้รับ
ยกเว้นไม่ต้องเสียค่าธรรมเนยี มศาลช้ันอุทธรณ์(ฎกี า)”
และส่ังในคาฟ้องอุทธรณ์ ว่า “โจทก์ (จาเลย) ได้รับอนุญาตให้ยกเว้นค่าธรรมเนียม
ศาลช้ันอุทธรณ์ รับอทุ ธรณ์ สาเนาให้จาเลย (โจทก์) แก้ภายใน ๑๕ วนั ให้โจทก์ (จาเลย) นาส่ง
หมายนดั สาเนาอทุ ธรณ์ โดยให้วางเงินค่าส่งหมาย อย่างช้าภายในวนั ทาการถัดไป หากส่งไม่ได้
ให้แถลงภายใน ๑๕ วัน นบั แต่วันส่งไม่ได้ มิฉะน้ันถือว่าทิง้ อุทธรณ์ ”
กรณีโจทก์ (จาเลย) ขออนุญาตฎีกา ส่ังว่า “โจทก์ (จาเลย) ได้รับอนุญาตให้ยกเว้น
ค่าธรรมเนียมศาลชั้นฎกี า รวมส่งศาลฎกี า”

ข้อสังเกต
๑. เงินคา่ ธรรมเนียมที่ไดร้ ับยกเวน้ คือ ค่าข้ึนศาลช้นั อุทธรณ์หรือฎีกาและเงินวางศาล
ในการย่ืนอุทธรณ์หรือฎีกาตามมาตรา ๒๒๙ ได้แก่ เงินค่าธรรมเนียมรวมท้งั ค่าทนายความ
ที่ตอ้ งใชแ้ ทนอีกฝ่ ายตามคาพิพากษา (คาส่ังคาร้องศาลฎีกาที่ ๓๓๙/๒๕๒๓, ๓๓๓๓/๒๕๒๗)
(มาตรา ๑๕๗) แตไ่ มร่ วมถึงหลกั ประกนั การทเุ ลาการบงั คบั (ฎีกาที่ ๓๑๕๖/๒๕๒๗)
๒. การยกเวน้ ค่าธรรมเนียมศาลในการยื่นฟ้องอุทธรณ์ถือเป็ นเร่ืองเฉพาะตวั ของ
จาเลยแต่ละคน แมศ้ าลอนุญาตใหจ้ าเลยท่ี ๑ ดาเนินคดีช้นั อุทธรณ์โดยไดร้ ับยกเวน้ ค่าธรรมเนียม
ศาล ก็ไม่มีผลถึงจาเลยท่ี ๒ ดว้ ยแตอ่ ยา่ งใด (เทียบฎีกาที่ ๘๑๘๘/๒๕๓๘)
๓.๒.๒ อนุญาตใหย้ กเวน้ คา่ ธรรมเนียมศาลในช้นั อทุ ธรณ์หรือฎีกาบางส่วน
ตวั อย่างคาสั่ง
“พิเคราะห์แล้ว ข้อเท็จจริงฟังได้ว่า จาเลยมีสิทธิได้รับส่วนแบ่งจากทรัพย์มรดก
มูลค่านับล้านบาทในคดีแพ่งซึ่งอยู่ระหว่างการบังคับคดีตามคาพิพากษา และจาเลยมีอาชีพ
เป็ นตัวแทนขายประกัน เห็นว่า จาเลยมีอาชีพเป็ นหลักฐานและการท่ีจาเลยมีสิทธิจะได้รับส่วนแบ่ง
ทรัพย์มรดกย่อมทาให้ จาเลยมีทรัพย์สินพอท่ีจะเสียค่าธรรมเนียมศาลชั้นอุทธรณ์(ฎีกา)ได้ จึงมี
คาสั่งให้ยกเว้นค่าธรรมเนียมศาลในชั้นอุทธรณ์ (ฎีกา) แก่จาเลยบางส่วน โดยให้จาเลยเสียค่าขึน้ ศาล

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๔๒๖

๑๐๐,๐๐๐ บาท ค่าธรรมเนียมศาลนอกจากน้ันยกเว้นให้ ทั้งนีใ้ ห้จาเลยนาเงินค่าธรรมเนียม
ดังกล่าวมาชาระภายใน ๑๕ วัน เม่ือชาระแล้วจึงจะส่ังอุทธรณ์ (หรือดาเนินกระบวนพิจารณา
เก่ียวกับคาร้องขออนญุ าตฎีกา) ของจาเลยต่อไป”

๓.๒.๓ ยกคาร้องขอยกเวน้ คา่ ธรรมเนียมศาลช้นั อทุ ธรณ์หรือฎีกาในกรณีดงั น้ี
๓.๒.๓.๑ หากไต่สวนแลว้ ปรากฏว่า คดีมีเหตุผลอนั สมควรที่จะอุทธรณ์

(ฎีกา) แต่ผขู้ อยงั มีทรัพยส์ ินพอที่จะเสียคา่ ธรรมเนียมศาล

ตัวอย่างคาสั่ง
“พิเคราะห์แล้วข้อเทจ็ จริงฟังได้ว่า โจทก์(จาเลย)เป็นเจ้าของที่ดิน ๑ แปลง
ราคาประมาณ ๔,๐๐๐,๐๐๐ บาท แต่ค่าขึน้ ศาลในช้ันอุทธรณ์ (ฎีกา) กับเงินวางศาลรวมจานวน
เพียง ๑๐๖,๐๐๐ บาท โจทก์(จาเลย) จึงยังมีทรัพย์สินพอท่ีจะเสียค่าธรรมเนียมศาลได้ให้
ยกคาร้ อง และให้โจทก์(จาเลย)นาเงินค่าธรรมเนียมศาลมาชาระภายใน ๗ วัน เม่ือชาระแล้ว
จึงจะสั่งอุทธรณ์ (หรือดาเนินกระบวนพิจารณาเก่ียวกับคาร้องขออนุญาตฎีกา) ของโจทก์(จาเลย)
ต่อไป”
๓.๒.๓.๒ หากไต่สวนแล้วปรากฏว่า คดีไม่มีเหตุผลอันสมควรที่จะ
อุทธรณ์ (ฎีกา) ดงั น้ี ไม่วา่ ผูข้ อจะมีทรัพยส์ ินพอท่ีจะเสียค่าธรรมเนียมศาลไดห้ รือไม่ก็ตาม ใหส้ ั่งยก
คาร้อง (ฎีกาที่ ๕๒๐๘/๒๕๔๕)

ตัวอย่างคาสั่ง
“พิเคราะห์แล้ว . . . เห็นว่า ถึงแม้โจทก์(จาเลย) ไม่มีทรัพย์สินพอท่ีจะเสีย
ค่าธรรมเนียมศาลได้ก็ตาม แต่ดังวินิจฉัยมาแล้วว่าคดีของโจทก์(จาเลย) ไม่มีเหตุผลอันสมควร
ที่จะอุทธรณ์(ฎีกา) จึงให้ยกคาร้ อง หากโจทก์(จาเลย) ประสงค์จะดาเนินคดีต่อไป ให้นาเงิน
ค่าธรรมเนียมศาลมาชาระภายใน ๑๐ วนั นบั แต่วันน”ี้

๓.๓ หากผขู้ อไมน่ าเงินคา่ ธรรมเนียมศาลมาชาระภายในกาหนด
สง่ั ในคาฟ้องอทุ ธรณ์ วา่
“โจทก์ (จาเลย) ผู้อุทธรณ์ ไม่นาเงินค่าธรรมเนียมศาลมาชาระภายในกาหนดตาม

คาสั่งศาล จึงไม่รับอทุ ธรณ์”
ส่ังในคาร้องขออนุญาตฎีกาวา่
“โจทก์ (จาเลย) ผู้ขออนุญาตฎีกา ไม่นาเงินค่าธรรมเนียมศาลชั้นฎีกามาชาระภายใน

กาหนดตามคาส่ังศาล รวมส่งศาลฎีกา”

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๔๒๗

ถา้ ผูข้ อนาเงินค่าธรรมเนียมศาลมาชาระภายในกาหนดก็ให้ส่ังรับคาฟ้องอุทธรณ์ ว่า
“หมายนัดให้อีกฝ่ ายแก้อทุ ธรณ์ โดยให้ผู้อทุ ธรณ์ นาส่งหมายนดั สาเนาอุทธรณ์ต่อไป”

กรณีโจทก์ (จาเลย) ยนื่ คาร้องขออนุญาตฎีกา ส่งั วา่ “รวมส่งศาลฎีกา”

๔. การอทุ ธรณ์คาส่ังคาร้องขอยกเว้นค่าธรรมเนียมศาล

เมื่อศาลมีคาสั่งอนุญาตให้ยกเวน้ ค่าธรรมเนียมศาลในช้ันอุทธรณ์หรือฎีกาแต่เฉพาะ
บางส่วนหรือยกคาร้อง ผูข้ อมีสิทธิอุทธรณ์คาสั่งน้ันต่อศาลอุทธรณ์ ท้งั น้ี ไม่ว่าจะเป็ นการขอ
ยกเวน้ ค่าธรรมเนียมศาลในช้นั อุทธรณ์หรือฎีกาก็ตาม โดยตอ้ งย่ืนอุทธรณ์ต่อศาลช้นั ตน้ ภายใน
เจด็ วนั นบั แต่วนั มีคาสัง่ เมื่อศาลอทุ ธรณ์มีคาส่งั อยา่ งใดแลว้ ยอ่ มเป็นที่สุด (มาตรา ๑๕๖/๑ วรรคสี่)

ข้อสังเกต
๑. ถา้ ศาลช้นั ตน้ ไม่อนุญาตให้อุทธรณ์หรือฎีกาโดยไดร้ ับยกเวน้ ค่าธรรมเนียม
ศาลก็ชอบที่จะกาหนดเวลาให้ผูข้ อชาระค่าธรรมเนียมไดต้ ามที่เห็นสมควร อาศยั อานาจทวั่ ไป
ตามความเหมาะสมและความยุติธรรม (ฎีกาท่ี ๖๔๙/๒๕๒๑) แต่หากผูข้ ออุทธรณ์คาสั่งต่อไป
แลว้ ศาลอุทธรณ์ส่ังยืนตามศาลช้ันต้นโดยมิไดก้ าหนดเวลาใหม่ระยะเวลาย่อมสิ้นสุดไปตาม
คาส่งั ศาลช้นั ตน้ (ฎีกาที่ ๑๗๐๗/๒๕๒๔)
๒. อุทธรณ์คาส่ังในเรื่องอ่ืนท่ีมิใช่เน้ือหาคาร้องขอยกเวน้ ค่าธรรมเนียมศาลคาส่งั
ศาลอุทธรณ์ไม่เป็ นท่ีสุดตามมาตรา ๑๕๖/๑ วรรคส่ี เช่น อุทธรณ์ของผูร้ ้องท่ีคดั คา้ นคาสั่งของ
ศาลช้ันต้นท่ียกคาร้องขอยกเวน้ ค่าธรรมเนียมศาลของผูร้ ้อง โดยอ้างว่าผูร้ ้องทิ้งคาร้องน้ัน
คาส่ังของศาลช้นั ตน้ ดงั กล่าวมิไดส้ ั่งในเน้ือหาของคาร้อง จึงมิใช่คาสั่งที่ให้ยกคาร้องขอยกเวน้
ค่าธรรมเนียมศาลซ่ึงผู้ร้องจะต้องอทุ ธรณ์ภายใน ๗ วนั ตามมาตรา ๑๕๖/๑ วรรคส่ี ผูร้ ้องจึงมี
สิทธิอุทธรณ์คัด ค้านคาสั่งดังกล่าวได้ภายในกาหนด ๑ เดือน ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๒๓
ประกอบดว้ ยมาตรา ๒๒๙ (ฎีกาท่ี ๓๖๖๗/๒๕๕๐)

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๔๒๘

ส่วนท่ี ๕

การอ่านคาพพิ ากษาและคาส่ังคาร้อง

ศาลอุทธรณ์หรือศาลฎกี า

เ มื่ อ ศ า ล อุ ท ธ ร ณ์ แ ล ะ ศ า ล ฎี ก าทาคาพิพากษาหรื อคา สั่งคา ร้อ ง เ สร็ จ แล้ว จะ ส่ ง มาให้
ศาลช้นั ตน้ อ่านใหค้ ู่ความฟัง ศาลช้นั ตน้ มีหนา้ ที่ป้องกนั มิใหค้ าพพิ ากษาหรือคาส่งั คาร้องรั่วไหล
ก่อนอ่าน ซ่ึงกระทรวงยตุ ิธรรมไดว้ างแนวทางปฏิบตั ิในเรื่องน้ีไว้ (ดู น.ว.๙/๒๔๙๑) ส่วนการอ่าน
คาพพิ ากษาหรือคาส่งั คาร้องน้นั คูค่ วามจะมาฟังเองหรือมอบฉนั ทะใหผ้ อู้ ื่นมาแทนก็ไดแ้ ละถือว่า
วนั ที่อา่ นเป็นวนั ที่ศาลอทุ ธรณ์หรือศาลฎีกาพิพากษาหรือมีคาสง่ั คาร้องน้นั (มาตรา ๑๔๐ วรรคทา้ ย)

๑. การอ่านคาพพิ ากษาศาลอุทธรณ์และศาลฎกี า

๑.๑ การแจง้ วนั นดั
ศาลช้นั ตน้ ตอ้ งนัดฟังคาพิพากษาหรือคาส่ังศาลอุทธรณ์หรือศาลฎีกาโดยเร็วท่ีสุด

การแจง้ หมายนัดฟังคาพิพากษาหรือคาส่ังของศาลสูง ให้ส่งให้ท้งั ตวั ความและทนายความ
โดยทางไปรษณียล์ งทะเบียนตอบรับหรือจะใชว้ ิธีใหเ้ จา้ หนา้ ที่ศาลเป็ นผสู้ ่งหมายนดั หรือวิธีการ
อื่นท่ีคูค่ วามตกลงกนั เช่นการส่งทางอิเลก็ ทรอนิกส์

เม่ือศาลช้นั ตน้ ไดร้ ับสานวนและคาพิพากษาจากศาลอุทธรณ์หรือศาลฎีกาให้ส่ังใน
หนังสือนาส่งว่า “นัดฟังคาพิพากษาศาลอุทธรณ์ (หรือศาลฎีกา) หมายแจ้งวันนัดให้คู่ความ
ทราบ ส่งทางไปรษณีย์ลงทะเบียนตอบรับ หากส่งไม่ได้ให้ส่งโดยเจ้าพนักงานศาล ถ้าไม่มีผู้รับ
โดยชอบอนุญาตให้ปิ ดหมาย เป็นหมายศาล”

เจา้ หน้าที่อาจออกหมายนัดไปยงั ทนายความของคู่ความท้งั สองฝ่ ายก็ได้ เวน้ แต่
ทนายความขอถอนตวั จากการแต่งต้งั หรือพน้ จากสภาพเป็ นทนายความของคู่ความแลว้ จึงให้
ออกหมายนัดไปยงั ตวั ความ (เพราะการส่งหมายนัดทนายความสะดวกกว่าส่งหมายนัดตวั ความ)
ให้ระวงั การส่งหมายนัด ถ้าผูล้ งชื่อในอุทธรณ์หรือฎีกาเป็ นทนายความที่ได้รับแต่งต้ังใหม่
ใหส้ ่งไปใหท้ นายความท่ีไดร้ ับแต่งต้งั ใหม่น้นั

อน่ึง กรณีที่ศาลอุทธรณ์หรือศาลฎีกาได้ทาความตกลงกับศาลช้ันต้นให้นัดฟัง
คาพิพากษาของศาลอุทธรณ์หรือศาลฎีกาไวล้ ่วงหน้า เม่ือศาลช้นั ตน้ ส่ังรับอุทธรณ์หรือจัดส่ง
คาร้องขออนุญาตฎีกา ศาลช้นั ตน้ ตอ้ งปฏิบตั ิในการนดั ฟังคาพิพากษาหรือคาส่ังไวล้ ่วงหนา้ โดย

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๔๒๙

ให้ผอู้ ุทธรณ์หรือผขู้ ออนุญาตฎีกาลงชื่อทราบวนั นดั และส่งหมายแจง้ วดั นดั ฟังคาพิพากษาหรือ
คาส่งั เมื่อดาเนินการเช่นน้ีแลว้ ก็ไมต่ อ้ งออกหมายแจง้ วนั นดั ซ้าอีก

๑.๒ การอ่านคาพิพากษาหรือคาสง่ั
ในกรณีท่ีไดม้ ีการอา่ นคาพิพากษาหรือคาส่ังของศาลสูงแลว้ ถา้ คูค่ วามฝ่ ายใดฝ่ ายหน่ึง

หรือท้งั สองฝ่ ายไม่มาฟังการอ่าน ให้ศาลแจง้ คู่ความฝ่ ายน้ันว่าไดม้ ีการอ่านคาพิพากษาหรือคาส่ังฯ
แล้ว โดยไม่ต้องแจ้งผลคาพิพากษาหรือคาส่ังฯ ท้ังน้ีให้ศาลใช้ดุลพินิจแจ้งเฉพาะคดีท่ีมี
ความสาคญั หรือคดีท่ีมีทุนทรัพยส์ ูง

ในกรณีท่ีคู่ความทุกฝ่ ายมีความประสงค์จะมาฟังคาพิพากษาหรือคาส่ังท่ีศาลสูง
ให้ทาเป็ นคาขอยื่นต่อศาลช้นั ตน้ ให้ศาลช้นั ตน้ ส่งคาขอน้ันให้ศาลสูงเพ่ือนัดอ่านคาพิพากษา
หรือคาส่ังที่ศาลสูงสาหรับคดีที่มีความสาคญั ถา้ ศาลเห็นสมควรก็ให้นัดอ่านคาพิพากษาหรือ
คาส่ังท่ีศาลสูงน้ัน โดยถือปฏิบตั ิตามระเบียบศาลฎีกาว่าดว้ ยการอ่านคาพิพากษาหรือคาส่ัง
ศาลฎีกา พ.ศ. ๒๕๕๐

๑.๓ การบนั ทึกรายงานการอ่านคาพพิ ากษาหรือคาสง่ั
การบนั ทึกรายงานการอ่านคาพิพากษาหรือคาส่ังศาลฎีกา โดยเฉพาะกรณีท่ีถือว่า

ได้อ่านคาพิพากษาหรือคาส่ังของศาลฎีกาแล้ว ขอให้ผู้พิพากษาผู้อ่านบันทึกไว้ด้านหลัง
คาพิพากษาหรือคาส่ังศาลฎีกาแผน่ สุดทา้ ย แต่หากมีเหตุผลความจาเป็ นอยา่ งอื่นท่ีจะตอ้ งบนั ทึก
ไวใ้ นแบบพิมพร์ ายงานกระบวนพิจารณาก็ขอให้หมายเหตุไวท้ ่ีดา้ นหลงั คาพิพากษาหรือคาสั่ง
ศาลฎีกาแผ่นสุดทา้ ยดว้ ยว่า ไดบ้ นั ทึกรายงานการอ่านคาพิพากษาหรือคาสั่งศาลฎีกาน้นั ไวใ้ น
แบบพมิ พร์ ายงานกระบวนพจิ ารณาแลว้

๑.๔ การเล่ือนอ่านคาพพิ ากษา
การเล่ือนการอ่านคาพิพากษาหรื อคาส่ังศาลอุทธรณ์หรื อศาลฎี กาไม่ควรกระทา

เวน้ แต่จะมีเหตุที่ไม่อาจกา้ วล่วงไดเ้ ท่าน้นั และใหเ้ ล่ือนไดค้ ร้ังเดียวไม่เกิน ๓ เดือน นบั แต่วนั ที่
ศาลช้นั ตน้ รับซองคาพพิ ากษาหรือคาส่งั จากศาลอุทธรณ์ศาลฎีกา

ในกรณีท่ีศาลช้นั ตน้ เลื่อนการอ่านคาพิพากษาหรือคาส่ังศาลอุทธรณ์ศาลฎีกาไปนาน
เกินกว่า ๓ เดือน นับแต่วนั ที่ไดร้ ับซองคาพิพากษาหรือคาสั่งจากศาลอุทธรณ์หรือศาลฎีกา
หรือเล่ือนการอ่านเป็ นคร้ังที่ ๒ แลว้ ผพู้ ิพากษาหัวหนา้ ศาลตอ้ งแจง้ เหตุที่ตอ้ งมีการเล่ือนการอ่าน
คาพพิ ากษาหรือคาสง่ั ศาลอทุ ธรณ์หรือศาลฎีกาไปใหศ้ าลอุทธรณ์หรือศาลฎีกาทราบทุกคดีดว้ ย

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๔๓๐

๑.๕ การแจง้ การอ่านคาพิพากษา
การแจง้ การอ่านคาพิพากษาหรือคาส่ังศาลอุทธรณ์และศาลฎีกาน้นั ขอใหผ้ พู้ ิพากษา

ผูอ้ ่านจดแจ้งผลคาพิพากษาหรือคาส่ังไวท้ ี่ด้านหลังใบแจ้งการอ่านหรือถ่ายสาเนาผลของ
คาพิพากษาหรือคาส่ังแนบไปกบั ใบแจง้ การอ่าน พร้อมท้งั ลงลายมือชื่อไว้ และจดั ส่งใบแจง้
การอ่านกบั สาเนา ผลของคาพพิ ากษาหรือคาส่งั ถา้ มี ไปยงั ศาลอทุ ธรณ์หรือศาลฎีกาโดยเร็ว

หมายเหตุ ขอ้ ๑.๑ ถึง ๑.๓ ดงั กล่าวให้ดูหนังสือศาลฎีกาที่ ยธ ๐๒๐๖/ว.๒ ลงวนั ท่ี ๑๙
ตุลาคม ๒๕๓๑ หนังสือกระทรวงยุติธรรมท่ี ยธ ๐๔๐๔/ว.๑๕๔ ลงวนั ท่ี ๓๐ พฤศจิกายน
๒๕๓๑ และหนงั สือกระทรวงยตุ ิธรรมท่ี ยธ ๐๕๐๓/ว. ๒๖ ลงวนั ที่ ๒๒ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๓๖

๑.๖ ศาลช้นั ตน้ จดรายงานกระบวนพจิ ารณาเก่ียวกบั การอา่ นดงั น้ี
๑.๖.๑ กรณีศาลอุทธรณ์หรือศาลฎีกาพิพากษายืน ยก กลบั หรือแก้คาพิพากษา

ศาลช้นั ตน้ หรือศาลอุทธรณ์ หรือใหย้ กอทุ ธรณ์หรือฎีกา จดรายงานวา่
ตวั อยา่ งท่ี ๑ กรณีคู่ความมาศาล
“นัดฟังคาพิพากษาศาลอุทธรณ์ (หรือศาลฎีกา) วันนี้ โจทก์ จาเลย และ

ทนายคู่ความทั้งสองฝ่ ายมาศาล (หรือได้มอบฉันทะให้เสมยี นทนายมาฟังแทน)
ศาลได้อ่านคาพิพากษาศาลอุทธรณ์ (หรื อศาลฎีกา) ให้ คู่ความฟังแล้ว

แจ้งผลการอ่านให้ศาลอทุ ธรณ์ (หรือศาลฎีกา) ทราบ”
ตวั อยา่ งที่ ๒ กรณีคู่ความท้งั สองฝ่ ายไมม่ าศาล
“นัดฟังคาพิพากษาศาลอุทธรณ์ (หรือศาลฎีกา)วันนี้ เวลา๑๓.๓๐ น. โจทก์ จาเลย

และทนายคู่ความทั้งสองฝ่ ายทราบนดั โดยชอบแล้วไม่มาศาล
จึงให้ งดการอ่ านคาพิพากษาศาลอุทธรณ์ (หรื อศาลฎีกา)โดยถือว่ า

คาพิพากษาศาลอทุ ธรณ์ (หรือศาลฎีกา) ได้อ่านตามกฎหมายแล้ว แจ้งผลการอ่านให้ศาลอุทธรณ์
(หรื อศาลฎีกา)ทราบ”

ตวั อยา่ งท่ี ๓ กรณีที่คู่ความบางฝ่ ายไมม่ าศาล
“นัดฟั งคาพิพากษาศาลอุทธรณ์ (หรื อศาลฎีกา) วันนี้ โจทก์ และ

ทนายโจทก์มาศาล ส่วนจาเลยและทนายจาเลยทราบนัดโดยชอบแล้วไม่มา
จึงได้อ่านคาพิพากษาศาลอุทธรณ์ (หรือศาลฎีกา) ให้โจทก์และทนายโจทก์

ฟังฝ่ ายเดียว และถือว่าได้อ่านคาพิพากษาให้จาเลยฟังด้วยแล้ว
แจ้งผลการอ่านให้ศาลอทุ ธรณ์ (หรือศาลฎกี า) ทราบ”

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๔๓๑

๑.๖.๒ กรณีศาลอุทธรณ์หรือศาลฎีกาพิพากษายกคาพิพากษาศาลช้ันต้นหรือ
ศาลอุทธรณ์ หรือพิพากษายืนตามศาลอุทธรณ์ที่พิพากษายกคาพิพากษาศาลช้นั ตน้ และให้ยอ้ น
สานวนมาให้ศาลช้นั ตน้ พิจารณาพพิ ากษาใหม่ หรือใหศ้ าลอุทธรณ์พิพากษาใหม่ คงจดรายงาน
กระบวนพิจารณาทานองเดียวกับกรณีข้อ ๑.๖.๑ แต่ต้องให้ปรากฏข้อความ เพ่ิมเติมว่า
“ศาลอุทธรณ์ พิพากษายกคาพิพากษาศาลช้ันต้น ให้ พิจารณาพิพากษาใหม่ จึงให้ นัด . . . .
(นัดพร้ อม นัดสืบพยาน หรือนัดฟังคาพิพากษาในกรณีไม่ต้องสืบพยาน) วันท่ี . . . . เวลา . . . .
ถ้าหากมีการฎีกา กใ็ ห้งดเสีย” (ขอ้ ความตอนทา้ ยน้ีใชเ้ ฉพาะกรณีอ่านคาพิพากษาศาลอุทธรณ์)
การนดั ดงั กลา่ ว ควรนดั ใหพ้ น้ กาหนดฎีกา เพือ่ ดูวา่ จะมีการฎีกาตอ่ ไปหรือไม่

ส่ ว น ก ร ณี ท่ี ศ า ล ฎี ก า ย ้อ น ส า น ว น ใ ห้ ศ า ล อุ ท ธ ร ณ์ พิ พ า ก ษ า ใ ห ม่ ค ง จ ด
รายงานกระบวนพิจารณาทานองเดียวกับขอ้ ๑.๖.๑ แต่ต้องให้ปรากฏข้อความเพิ่มเติมว่า
“เนื่องจากศาลฎีกาพิพากษายกคาพิพากษาศาลอุทธรณ์ ให้ศาลอุทธรณ์ พิพากษาใหม่ จึงให้
รวบรวมถ้อยคาสานวนส่งไปศาลอทุ ธรณ์ เพื่อดาเนินการตามคาพิพากษาศาลฎีกาต่อไป”

ข้อสังเกต
กรณีศาลอุทธรณ์หรือศาลฎีกาพิพากษายอ้ นสานวนมาให้ศาลช้นั ตน้ พิจารณาพิพากษา
ใหม่ ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๔๓ น้นั หากองคค์ ณะผพู้ ิพากษาเดิมยา้ ยไปรับราชการท่ีศาลอื่นแลว้
กรณีเช่นน้ีถือว่ามีเหตุจาเป็ นอื่นอนั มิอาจก้าวล่วงได้ ทาให้องค์คณะในการพิจารณาคดีน้ัน
ไม่อาจจะนั่งพิจารณาหรือทาคาพิพากษาคดีน้ันต่อไปได้ เพราะองค์คณะผูพ้ ิพากษาพน้ จาก
ตาแหน่งที่ดารงอยู่ ตามพระธรรมนูญศาลยุติธรรม มาตรา ๓๐ ซ่ึงตอ้ งใชก้ ระบวนการแกป้ ัญหา
ตามพระธรรมนูญศาลยตุ ิธรรม มาตรา ๒๘ หรือ มาตรา ๒๙ แลว้ แตก่ รณี ดงั น้ี
(ก) หากศาลสูงยอ้ นสานวนมาให้พิจารณาพิพากษาใหม่ ถือว่าเหตุจาเป็ นอื่นอนั มิอาจ
ก้าวล่วงได้ ตามมาตรา ๓๐ เกิดข้ึนในระหว่างพิจารณา จึงตอ้ งใช้ทางแก้ตามมาตรา ๒๘(๓)
โดยอธิบดีผูพ้ ิพากษาศาลช้นั ตน้ อธิบดีผูพ้ ิพากษาภาค ผูพ้ ิพากษาหัวหน้าศาล หรือรองอธิบดี
ผู้พิพากษาศาลช้ันต้น รองอธิบดีผูพ้ ิพากษาภาค หรือผูพ้ ิพากษาในศาลช้ันต้นของศาลน้ัน
ซ่ึงอธิบดีผูพ้ ิพากษาศาลช้นั ตน้ อธิบดีผูพ้ ิพากษาภาค หรือผูพ้ ิพากษาหัวหน้าศาล แลว้ แต่กรณี
มอบหมาย มีอานาจนงั่ พิจารณาแลว้ มีคาพิพากษาใหมไ่ ด้ (ฎีกาท่ี ๙๕๘๕/๒๕๕๔)
(ข) หากศาลสูงย้อนสานวนมาให้พิพากษาใหม่ แสดงว่าเป็ นกรณีศาลสูงเห็นว่า
คดีปรากฏเหตุท่ีศาลช้นั ตน้ มิไดป้ ฏิบตั ิตามบทบญั ญตั ิแห่ง ป.วิ.พ. ว่าดว้ ยคาพิพากษาตาม ป.วิ.พ.
มาตรา ๒๔๓ (๑) เท่าน้นั แต่การพิจารณาไม่มีขอ้ บกพร่องผดิ พลาด จึงเพียงแต่ยอ้ นสานวนมาให้
ศาลช้นั ตน้ พิพากษาใหม่ ในกรณีเช่นน้ี ถือว่า เหตุจาเป็ นอื่นอนั มิอาจกา้ วล่วงไดต้ าม มาตรา ๓๐
เกิดข้ึนในระหว่างการทาคาพิพากษา จึงต้องใช้ทางแก้ตามมาตรา ๒๙(๓) กล่าวคือ อธิบดี

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๔๓๒

ผพู้ พิ ากษาศาลช้นั ตน้ อธิบดีผพู้ ิพากษาภาค รองอธิบดีผพู้ พิ ากษาศาลช้นั ตน้ รองอธิบดีผพู้ พิ ากษา
ภาค หรือผูพ้ ิพากษาหวั หนา้ ศาล แลว้ แต่กรณี มีอานาจลงลายมือชื่อทาคาพิพากษาคดีน้นั ได้ ท้งั น้ี
หลงั จากที่ไดต้ รวจสานวนคดีน้นั แลว้ (ฎีกาท่ี ๓๕๔๕/๒๕๕๑)

๑.๖.๓ กรณีท่ีศาลนดั พร้อม จดรายงานกระบวนพจิ ารณาวา่
“นัดพร้ อมวันนี้ คู่ความทั้งสองฝ่ ายมาศาล ศาลอุทธรณ์ (หรื อศาลฎีกา)

ย้อนสานวนมาให้ ศาลนีส้ ืบนาย . . . . พยานจาเลยที่ศาลช้ันต้นสั่งงดสืบแล้วพิพากษาใหม่
ตามรูปคดี จึงให้นัดสืบพยานจาเลยวันที่ . . . เวลา . . . . น.” (ถา้ หากมีการฎีกา ก็ไม่ตอ้ งนดั
สืบพยาน)

ข้อสังเกต กรณีเช่นน้ีศาลช้นั ตน้ คงสืบพยานเทา่ ที่ศาลอทุ ธรณ์ (หรือศาลฎีกา) กาหนด
แลว้ พพิ ากษาใหม่ หลงั จากน้นั คูค่ วามยอ่ มอทุ ธรณ์ฎีกาต่อไปไดต้ ามรูปคดี

๒. การอ่านคาสั่งคาร้องของศาลอทุ ธรณ์

เม่ือศาลช้นั ตน้ อ่านคาสั่งคาร้องของศาลอุทธรณ์แลว้ จะตอ้ งจดรายงานกระบวนพิจารณา
ให้ปรากฏในเร่ื องอ่านคาสั่งคาร้องน้ัน และหากจะต้องดาเนินคดีต่อไปอย่างไรก็จะตอ้ ง
จดรายงานกระบวนพิจารณาใหป้ รากฏเช่นเดียวกบั การอา่ นคาพิพากษาตาม ขอ้ ๑.๖

การอ่านคาสั่งศาลอุทธรณ์เกี่ยวกบั การขอทุเลาการบงั คบั ศาลช้นั ตน้ จะตอ้ งปฏิบตั ิอยา่ งไร
ดูส่วนท่ี ๒ เรื่องการขอทเุ ลาการบงั คบั ช้นั อทุ ธรณ์ฎีกา

๓. การอ่านคาสั่งคาร้องของศาลฎกี า ก็คงปฏิบตั ิทานองเดียวกบั ขอ้ ๒

๔. วิธีปฏิบัติก่อนอ่านคาพิพากษาหรือคาสั่งหรือคาส่ังคาร้องของศาลอุทธรณ์หรือ
ศาลฎีกา

๔.๑ ก่อนเปิ ดซองคาพิพากษาหรือคาส่ังให้ศาลช้ันต้นควรตรวจสานวนดูว่ามีรายงาน
กระบวนพิจารณาของศาลอุทธรณ์ หรือศาลฎีกาท่ีสั่งให้ศาลช้ันตน้ ปฏิบตั ิอย่างหน่ึงอย่างใด
ก่อนอ่านคาพิพากษาหรื อคาส่ังหรื อไม่ กรณี ที่เกิดข้ึนมากที่สุ ดก็ได้แก่เร่ื องคู่ความ
เสียคา่ ธรรมเนียมขาด เช่น ค่าข้ึนศาล (ช้นั อุทธรณ์ ฎีกา) ค่าอา้ งเอกสาร เป็นตน้ ศาลอทุ ธรณ์หรือ
ศาลฎีกาจะส่ังในรายงานกระบวนพิจารณาว่าให้ศาลช้ ันต้นเรี ยกให้คู่ความเสี ยค่าธรรมเนี ยม
ให้ครบก่อนอ่าน หากคู่ความไม่ยอมปฏิบตั ิก็ให้งดอ่านคาพิพากษาหรือคาส่ังและส่งสานวน
คืนไป กรณีเช่นน้ีศาลช้นั ตน้ จะตอ้ งรอการอา่ นคาพิพากษาหรือคาสั่งไว้ แลว้ สัง่ ใหค้ ูค่ วามนาเงิน
ค่าธรรมเนียมมาชาระ ถา้ คู่ความฝ่ ายน้ันไม่ปฏิบตั ิตาม ศาลช้นั ตน้ จะตอ้ งจดรายงานกระบวน

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๔๓๓

พิจารณา งดอ่านคาพิพากษาหรือคาส่ังแลว้ ส่งสานวนพร้อมดว้ ยคาพิพากษาหรือคาส่ังคืนไปยงั
ศาลอุทธรณ์หรือศาลฎีกา หากคูค่ วามชาระค่าธรรมเนียมแลว้ กอ็ า่ นคาพิพากษาหรือคาสง่ั ไปได้

๔.๒ กรณีศาลช้ันต้นตรวจพบว่า คาพิพากษาหรื อคาส่ังศาลอุทธรณ์หรื อศาลฎีกา
มีขอ้ บกพร่อง ให้ผนึกซองคาพิพากษาหรือคาสั่งและจดรายงานกระบวนพิจารณางดการอ่าน
แลว้ ส่งซองคาพิพากษาหรือคาส่งั พร้อมสานวนกลบั คืนไปศาลอุทธรณ์หรือศาลฎีกาแลว้ แต่กรณี
เพอื่ แกไ้ ขขอ้ บกพร่องตอ่ ไป

๕. กรณที ค่ี ู่ความตายก่อนอ่านคาพพิ ากษาศาลอุทธรณ์หรือศาลฎกี า

เมื่อศาลอุทธรณ์หรือศาลฎีกาส่งคาพิพากษาและคาสั่งมาให้ศาลช้นั ตน้ อ่านให้คู่ความฟัง
หากปรากฏว่ามีคู่ความตายในระหว่างที่นัดฟังคาพิพากษาหรือคาสั่งดังกล่าว ศาลช้ันต้น
ต้องงดการอ่านแล้วดาเนินการหาคู่ความแทนที่ผูม้ รณะตามมาตรา ๔๒ ต่อไป หากต้องมี
การไต่สวน ก็ให้ทาการไต่สวนเสียดว้ ยโดยไม่ตอ้ งทาคาส่ัง แลว้ ส่งซองคาพิพากษาและสานวน
คืนศาลอุทธรณ์หรือศาลฎีกาเพ่ือดาเนินการต่อไป

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๔๓๔

ท่ี ยธ ๐๒๐๖/ว.๒ ศาลฎีกา
ถนนราชดาเนินใน
กทม. ๑๐๒๐๐

๑๙ ตลุ าคม ๒๕๓๑

เรื่อง การเล่ือนการอา่ นคาพิพากษาหรือคาสง่ั ศาลฎีกา และการแจง้ การอ่านล่าชา้

เรียน อธิบดีผพู้ ิพากษาศาลช้นั ตน้ ผพู้ ิพากษาหวั หนา้ ศาลทกุ ศาล

ส่ิงท่ีส่งมาดว้ ย ตวั อยา่ งแบบแจง้ การอา่ นคาพพิ ากษาหรือคาสง่ั ศาลฎีกา

ด้วยปรากฏว่าในระยะหลัง ๆ น้ี มีผูพ้ ิพากษาศาลช้ันต้นบางท่านอนุญาตให้มี
การเลื่อนการอ่านคาพิพากษาหรื อคาสั่งของศาลฎีกาโดยไม่มีเหตุอันควรเป็ นที่เสียหาย
แก่คู่ความ และทาให้เกิดขอ้ ครหาไปในทางท่ีไม่เหมาะสม อนั อาจจะนามาซ่ึงความเส่ือมเสีย
แก่สถาบนั ศาลเป็ นส่วนรวม อีกท้งั ในกรณีท่ีไดม้ ีการอ่านหรือถือว่าไดอ้ ่านคาพิพากษาหรือ
คาสง่ั ของศาลฎีกาแลว้ ก็ไมแ่ จง้ การอ่านไปยงั ศาลฎีกาโดยเร็ว (แมจ้ ะไดแ้ จง้ ไปยงั สานกั งานส่งเสริม
งานตุลาการแลว้ ก็ตาม) เป็ นเหตุให้ศาลฎีกาไม่สามารถนาคาพิพากษาหรือคาส่ังดงั กล่าวไปใช้
อา้ งอิงหรือนาออกพิมพเ์ ผยแพร่ได้ จึงเรียนมาเพื่อขอให้ผูพ้ ิพากษาหัวหนา้ ศาลและผูพ้ ิพากษา
ทุกทา่ นร่วมมือถือปฏิบตั ิ ดงั น้ี

๑. เมื่อศาลช้นั ตน้ ไดร้ ับซองคาพิพากษาหรือคาสั่งของศาลฎีกาแลว้ ขอให้นดั อ่าน
คาพิพากษาหรือคาส่ังดังกล่าวโดยเร็วท่ีสุดเท่าท่ีจะเป็ นไปได้ และเม่ือถึงกาหนดนัดแล้ว
ไมค่ วรใหเ้ ล่ือนการอา่ น (เวน้ แต่จะเป็นกรณีที่ส่งหมายนดั ไมไ่ ด)้

๒. การเลื่อนการอ่านคาพิพากษาหรื อคาส่ังของศาลฎีกา ให้พึงกระทาได้เฉพาะ
เมื่อปรากฏว่ามีเหตุที่ไม่อาจก้าวล่วงได้เท่าน้ัน และถ้าเป็ นการเล่ือนการอ่านคร้ังท่ีสองหรือ
เล่ือนไปเกินกว่า ๓ เดือนนบั แต่วนั ท่ีศาลช้นั ตน้ ไดร้ ับซองคาพิพากษาหรือคาส่ังของศาลฎีกา
ขอใหผ้ พู้ พิ ากษาหวั หนา้ ศาลแจง้ เหตุที่ตอ้ งมีการเลื่อนการอา่ นไปใหศ้ าลฎีกาทราบดว้ ยทกุ คดี

๓. เม่ือไดม้ ีการอ่านหรือถือว่าไดอ้ ่านคาพิพากษาหรือคาสั่งของศาลฎีกาแลว้ ขอให้
ผพู้ ิพากษาผูอ้ ่านกรอกรายการลงในใบแจง้ การอ่านซ่ึงปะหนา้ ซองคาพิพากษาหรือคาสั่งศาลฎีกา
ดงั กลา่ วพร้อมท้งั ลงลายมือช่ือไว้ และจดั ส่งใบแจง้ การอา่ นไปยงั ศาลฎีกาโดยเร็ว

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๔๓๕

ศาลฎีกาหวงั เป็ นอยา่ งย่ิงว่า อธิบดีผูพ้ ิพากษาศาลช้นั ตน้ ผูพ้ ิพากษาหัวหน้าศาล
และผูพ้ ิพากษาทุกท่านจะไดใ้ ห้ความร่วมมือถือปฏิบัติตามท่ีเรียนมาน้ีโดยเคร่งครัด จึงขอ
ขอบคุณลว่ งหนา้ มา ณ ที่น้ี

ขอแสดงความนบั ถือ

(นายจารัส เขมะจารุ)
ประธานศาลฎีกา

ศาลฎีกา
โทร. ๒๒๔๑๖๐๐,๒๒๔๑๕๒๗

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๔๓๖

ท่ี ยธ ๐๔๐๔/ว ๑๕๔ กระทรวงยตุ ิธรรม
ถนนราชินี กทม. ๑๐๒๐๐

๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๓๑

เร่ือง การเลื่อนการอ่านคาพิพากษาหรือคาสั่งของศาลฎีกา และคาพิพากษาหรือคาส่ังของ
ศาลอุทธรณ์ ตลอดจนการแจง้ การอ่านลา่ ชา้

เรียน ผพู้ ิพากษาศาลท้งั หลาย

อา้ งถึง หนงั สือศาลฎีกาท่ี ยธ ๐๒๐๖/ว.๒ ลงวนั ที่ ๑๙ ตุลาคม ๒๕๓๑

ดว้ ยไดร้ ับแจง้ จากศาลฎีกาว่า ในระยะหลงั ๆ น้ีมีผูพ้ ิพากษาศาลช้นั ตน้ บางท่าน
อนุญาตให้มีการเลื่อนการอ่านคาพิพากษาหรื อคาสั่งของศาลฎีกาโดยไม่มีเหตุอันควร
เป็ นท่ีเสียหายแก่คู่ความ และทาให้เกิดขอ้ ครหาไปในทางที่ไม่เหมาะสมอนั อาจนามาซ่ึง
ความเสื่อมเสียแก่สถาบันศาลเป็ นส่วนรวม อีกท้งั ในกรณีที่ได้มีการอ่านหรือถือว่าได้อ่าน
คาพิพากษาหรือคาส่ังของศาลฎีกาแลว้ ก็ไม่แจง้ การอ่านไปยงั ศาลฎีกาโดยเร็ว (แมจ้ ะไม่แจง้
ไปยงั สานักงานส่งเสริมงานตุลาการแลว้ ก็ตาม) เป็ นเหตุให้ศาลฎีกาไม่สามารถนาคาพิพากษา

หรือคาสง่ั ดงั กล่าวไปใชอ้ า้ งอิงหรือนาออกพิมพเ์ ผยแพร่ได้ ศาลฎีกาจึงไดข้ อความร่วมมือ มายงั
ศาลช้นั ตน้ ทกุ ศาลตามหนงั สือที่อา้ งถึงใหถ้ ือปฏิบตั ิเกี่ยวกบั การนดั ฟังคาพิพากษาหรือ คาสง่ั ของ
ศาลฎีกา การเลื่อน การอา่ น ตลอดจนการแจง้ การอ่านใหเ้ ป็นแนวเดียวกนั ดงั น้ี

๑. เมื่อศาลช้นั ตน้ ไดร้ ับซองคาพิพากษาหรือคาส่ังของศาลฎีกาแลว้ ขอใหน้ ดั อ่าน
คาพิพากษาหรือคาส่ังดงั กล่าวโดยเร็วท่ีสุดเท่าท่ีจะเป็ นไปได้ และเมื่อถึงกาหนดนดั แลว้ ไม่ควร
ใหเ้ ลื่อนการอ่าน (เวน้ แตจ่ ะเป็นกรณีที่ส่งหมายนดั ไมไ่ ด)้

๒. การเล่ือนการอ่านคาพิพากษาหรือคาส่งั ของศาลฎีกา ใหพ้ งึ กระทาไดเ้ ฉพาะเม่ือ
ปรากฏว่ามีเหตุท่ีไม่อาจกา้ วล่วงไดเ้ ท่าน้นั และถา้ เป็ นการเล่ือนการอ่านคร้ังท่ีสองหรือเล่ือนไป
เกินกว่า ๓ เดือนนับแต่วนั ท่ีศาลช้ันต้นได้รับซองคาพิพากษาหรือคาส่ังของศาลฎีกา ขอให้
ผพู้ พิ ากษาหวั หนา้ ศาลแจง้ เหตทุ ่ีตอ้ งมีการเล่ือนการอ่านไปใหศ้ าลฎีกาทราบดว้ ยทกุ คดี

๓. เมื่อไดม้ ีการอ่านหรือถือวา่ ไดอ้ ่านคาพิพากษาหรือคาสัง่ ของศาลฎีกาแลว้ ขอให้
ผพู้ ิพากษาผอู้ ่านกรอกรายการลงในใบแจง้ การอ่านซ่ึงปะหนา้ ซองคาพพิ ากษาหรือคาสง่ั ศาลฎีกา
ดงั กล่าวพร้อมท้งั ลงลายมือชื่อไว้ และจดั ส่งใบแจง้ การอา่ นไปยงั ศาลฎีกาโดยเร็ว

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๔๓๗

กระทรวงยุติธรรมพิจารณาแลว้ มีความเห็นว่า การขอความร่วมมือจากศาลฎีกา
ดงั กล่าวนับเป็ นการวางแนวทางปฏิบตั ิให้เป็ นระเบียบและแนวทางเดียวกนั อนั จะเป็ นผลดีต่อ
ราชการศาลเป็ นอย่างย่ิง ท้งั มีความเห็นด้วยว่าคาพิพากษาหรือคาส่ังของศาลอุทธรณ์ก็นับว่ามี
ความสาคญั ต่อคู่ความไม่นอ้ ย โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ ในคดีท่ีถึงท่ีสุดในช้นั ศาลอุทธรณ์ แนวปฏิบตั ิ
ในการอ่านคาพิพากษาหรื อคาสั่งของศาลฎี กาดังกล่าวจึ งสมควรใช้ครอบคลุมถึ งการอ่าน
คาพพิ ากษา หรือคาส่งั ของศาลอทุ ธรณ์ดว้ ย

จึงเรียนมาเพอ่ื ทราบและถือปฏิบตั ิโดยทว่ั กนั
ขอแสดงความนบั ถือ

(นายสวสั ด์ิ โชติพานิช)
ปลดั กระทรวงยตุ ิธรรม

สานกั งานส่งเสริมงานตลุ าการ
กองวิชาการ
โทร. ๒๒๔๑๔๕๘,๒๒๔๑๔๖๗

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๔๓๘

ที่ ยธ ๐๕๐๓/ว ๒๖ กระทรวงยตุ ิธรรม
ถนนราชินี กทม. ๑๐๒๐๐

๒๒ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๓๖

เร่ือง การอ่านและการแจง้ การอ่านคาพพิ ากษาหรือคาสัง่ ของศาลอุทธรณ์ ศาลอทุ ธรณ์ภาค และศาลฎีกา

เรียน ผพู้ ิพากษาศาลท้งั หลาย

อา้ งถึง หนงั สือกระทรวงยตุ ิธรรม ท่ี ยธ ๐๔๐๔/ว ๑๕๔ ลงวนั ท่ี ๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๓๑

ส่ิงที่ส่งมาดว้ ย ๑. สาเนาหนงั สือศาลฎีกาที่ ยธ ๐๒๐๖/๗๐๗๔ ลงวนั ที่ ๒๙ ตุลาคม ๒๕๓๕
๒. ตวั อยา่ งแบบแจง้ การอ่านคาพิพากษาหรือคาสง่ั ศาลฎีกา

ตามท่ีกระทรวงยุติธรรมไดเ้ คยขอความร่วมมือมาตามหนังสือที่อา้ งถึงเก่ียวกับ
การปฏิบตั ิในการนัดฟังคาพิพากษาหรือคาสั่งของศาลฎีกา การเลื่อนการอ่านตลอดจนการแจง้
การอ่านใหเ้ ป็นแนวเดียวกนั ความละเอียดแจง้ อยแู่ ลว้ น้นั

บัดน้ี โดยท่ีได้รับแจ้งจากศาลฎีกาตามสาเนาหนังสือศาลฎีกาที่ ยธ ๐๒๐๖/๗๐๗๔
ลงวนั ที่ ๒๙ ตุลาคม ๒๕๓๕ ว่า เพ่ือให้การอ่านและการแจ้งการอ่านคาพิพากษาและคาส่ัง
ศาลฎีกาท่ีศาลช้นั ตน้ อ่านหรือถือว่าไดอ้ ่านแลว้ น้นั ถูกตอ้ งตรงกบั หลกั ฐานท่ีศาลฎีกา ตลอดจน
มีความรัดกุม เหมาะสม และสะดวกแก่การตรวจสอบย่ิงข้ึน ศาลฎีกาจึงเห็นสมควรแก้ไขเพ่ิมเติม
วิธีปฏิบตั ิเกี่ยวกบั การอา่ นและการแจง้ การอา่ นคาพิพากษาหรือคาสัง่ ศาลฎีกาดงั กลา่ วขา้ งตน้ ดงั น้ี

๑. การแจง้ หมายนัดฟังคาพิพากษาหรือคาส่ังของศาลสูง ให้ส่งท้งั ตวั ความและ
ทนายความโดยทางไปรษณียล์ งทะเบียนตอบรับ หรือจะใชว้ ิธีให้เจา้ หนา้ ที่ศาลเป็ นผูส้ ่งหมายนดั
ก็ได้ แตไ่ ม่ใหส้ ่งในวนั หยดุ ราชการ หรือวนั ที่สานกั งานทนายความของคู่ความหยดุ ทาการ

๒. ในกรณีที่ไดม้ ีการอ่านคาพิพากษาหรือคาส่ังของศาลสูงแล้ว ถ้าคู่ความฝ่ ายใด
ฝ่ายหน่ึงหรือท้งั สองฝ่ ายไมม่ าฟังการอา่ น ใหศ้ าลแจง้ คูค่ วามฝ่ ายน้นั วา่ ไดม้ ีการอ่านคาพพิ ากษา
หรือคาส่งั ฯ แลว้ โดยไม่ตอ้ งแจง้ ผลคาพิพากษาหรือคาสัง่ ฯ ท้งั น้ีใหศ้ าลใชด้ ุลพินิจแจง้ เฉพาะคดี
มีความสาคญั หรือคดีท่ีมีทนุ ทรัพยส์ ูง

๓. ในกรณีที่คู่ความทกุ ฝ่ ายมีความประสงคจ์ ะมาฟังคาพพิ ากษาหรือคาส่งั ท่ีศาลสูง
ให้ทาเป็ นคาขอยื่นต่อศาลช้นั ตน้ ให้ศาลช้นั ตน้ ส่งคาขอน้ันให้ศาลสูงเพ่ือนัดอ่านคาพิพากษา

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๔๓๙

หรือคาส่ังท่ีศาลสูงสาหรับคดีท่ีมีความสาคญั ถา้ ศาลเห็นสมควรก็ให้นัดอ่านคาพิพากษาหรือ
คาส่งั ที่ศาลสูงน้นั

๔. การบนั ทึกรายงานการอ่านคาพิพากษาหรือคาสั่งศาลฎีกา โดยเฉพาะกรณีที่
ถือว่าไดอ้ ่านคาพิพากษาหรือคาสั่งของศาลฎีกาแลว้ ขอให้ผูพ้ ิพากษาผูอ้ ่านบนั ทึกไวด้ า้ นหลงั
คาพพิ ากษาหรือคาส่งั ศาลฎีกาแผ่นสุดทา้ ย แต่หากมีเหตุผลความจาเป็นอยา่ งอื่นท่ีจะตอ้ งบนั ทึก
ไวใ้ นแบบพิมพร์ ายงานกระบวนพิจารณา ก็ขอให้หมายเหตุไวท้ ี่ดา้ นหลงั คาพิพากษาหรือคาส่ัง
ศาลฎีกาแผ่นสุดทา้ ยดว้ ยว่าไดบ้ นั ทึกรายงานการอ่าน คาพิพากษาหรือคาส่ังศาลฎีกาน้นั ไวใ้ น
แบบพมิ พร์ ายงานกระบวนพจิ ารณาแลว้

๕. การแจ้งการอ่านคาพิพากษาหรือคาสั่งศาลฎีกาน้ัน ขอให้ผูพ้ ิพากษาผูอ้ ่าน
จดแจง้ ผลคาพิพากษาหรือคาส่ังไวท้ ี่ดา้ นหลงั ใบแจง้ การอ่านหรือถ่ายสาเนาผลของคาพิพากษา
หรือคาส่ังแนบไปกับใบแจ้งการอ่าน พร้อมท้งั ลงลายมือชื่อไว้ และจดั ส่งใบแจ้งการอ่านกบั
สานวนผลของคาพิพากษาหรือคาส่ัง ถา้ มี ไปยงั ศาลฎีกาโดยเร็ว ดงั ปรากฏความตามสาเนา
หนงั สือศาลฎีกาตลอดจนตวั อย่างแบบแจง้ การอ่านคาพิพากษาหรือคาสั่งศาลฎีกาที่ไดแ้ นบมา
พร้อมน้ี

กระทรวงยตุ ิธรรมพิจารณาแลว้ มีความเห็นว่า การแกไ้ ขเพิ่มเติมวิธีปฏิบตั ิเก่ียวกบั
การอ่านและการแจ้งการอ่านคาพิพากษาหรื อคาส่ังศาลฎี กาดังกล่าวมี เหตุผลสมควรและ
เป็ นประโยชน์ต่อการปฏิบตั ิราชการศาลเป็ นอยา่ งย่ิง และเห็นสมควรใชค้ รอบคลุมถึงการอ่าน
คาพิพากษาหรือคาส่ังของศาลอุทธรณ์และศาลอุทธรณ์ภาค โดยขอให้อนุโลมใช้แบบแจ้ง
การอ่านคาพพิ ากษาหรือคาส่งั ศาลฎีกาตามที่ส่งมาดว้ ยน้ี โดยปรับปรุงช่ือศาลตามควรแก่กรณีดว้ ย

จึงเรียนมาเพื่อทราบและถือปฏิบตั ิต่อไป

ขอแสดงความนบั ถือ

(นายสุประดิษฐ์ หุตะสิงห)์
ปลดั กระทรวงยตุ ิธรรม

สานกั งานส่งเสริมงานตุลาการ
กองวชิ าการ
โทร. ๒๒๔๑๔๕๘,๒๒๔๑๔๖๗
โทรสาร ๒๒๔๑๕๕๘

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๔๔๐

ส่วนที่ ๖

การคืนเอกสารหลกั ฐานต่าง ๆ

กระทรวงยุติธรรมไดว้ างระเบียบการรับและคืนเอกสารและสิ่งสาคญั ในคดีไวป้ รากฏ
ตามหนงั สือกระทรวงยุติธรรมที่ . . . . /๒๐๓๒ - ๒๐๔๙ ลงวนั ท่ี ๓๐ สิงหาคม ๒๔๗๐ ท่ี . . . . /
๑๐ - ๒๓ ลงวนั ท่ี ๕ เมษายน ๒๔๗๖ และท่ี น.ว. ๕๓/๒๔๙๘ ลงวนั ท่ี ๑๘ กรกฎาคม ๒๔๙๘
(ดูประมวลคาส่ังขอ้ บงั คบั และระเบียบราชการกระทรวงยุติธรรม เล่ม ๑ แผนกคดีและวินัย
สานกั งานส่งเสริมงานตุลาการ)

แนวทางปฏิบตั ิมีดงั น้ี

๑. การคืนเอกสารและหลกั ฐานในระหว่างการพจิ ารณาคดี

๑.๑ โฉนดฉบบั หลวงหรือโฉนดฉบบั ท่ีเก็บรักษาไวท้ ่ีสานักงานที่ดิน ซ่ึงศาลหมายเรียก
มาจากสานกั งานท่ีดิน เมื่อเจา้ พนกั งานท่ีดินนามาให้ศาลตรวจดูในวนั พิจารณา เมื่อศาลดูแล้ว
ควรใหเ้ จา้ พนกั งานท่ีดินรับคืนไป ถา้ ศาลตอ้ งการเป็ นหลกั ฐานติดสานวนไว้ ก็ใหค้ ดั หรือถ่ายไว้
คราวตอ่ ไปเม่ือตอ้ งการดูตน้ ฉบบั อีกควรหมายเรียกใหน้ ามาใหม่

๑.๒ เอกสารมหาชนอ่ืน ๆ หรือที่เก่ียวกับกรรมสิทธ์ิท่ีดินหรือท่ีเกี่ยวกับห้างหุ้นส่วน
บริษัทที่จดทะเบียนหรื อที่เก่ียวกับการทะเบียนราษฎร์ ซ่ึงคู่ความขอให้เรี ยกมาเป็ นพยาน
เจา้ พนกั งานส่งภาพถ่ายที่รับรองวา่ ถูกตอ้ งแทนตน้ ฉบบั ก็ไมต่ อ้ งคืนใหแ้ ก่ผสู้ ่งหรือผขู้ อให้เรียกมา
แต่ถา้ ผูอ้ า้ งประสงค์จะให้เรียกตน้ ฉบบั ซ่ึงศาลเห็นว่าจาเป็ นแก่คดียอ่ มจะตอ้ งจดั การให้ กรณีน้ี
เมื่อทางเจา้ พนกั งานขอรับคืน ศาลควรอนุญาตและดาเนินการทานองเดียวกบั ขอ้ ๑.๑

๑.๓ เอกสารที่คู่ความอา้ งและส่งไว้ หรือคู่ความจะขอคืนไปเพ่ือแปลคดั ลอกหรือถ่าย
ไมค่ วรอนุญาต เพราะอาจถูกเปลี่ยนแปลงแกไ้ ข ศาลควรจะสัง่ วา่ “เอกสารท่ีคู่ความส่งไว้ต่อศาล
จะคืนให้ในช้ันนีย้ ังไม่ได้ หากจะแปล คัดลอกหรือถ่าย ก็ให้ทาต่อหน้าผู้อานวยการศาล ฯ”
หรือสั่ง “อนุญาตให้ถ่ายเอกสารได้ โดยอยู่ในความควบคุมของผู้อานวยการศาล ฯ” ถา้ เป็ น
เอกสารที่ไม่ปิ ดอากรแสตมป์ บริบูรณ์หรือปิ ดไม่บริบูรณ์ตามประมวลรัษฎากร เช่น สัญญากู้
สัญญาเช่า เป็ นตน้ คู่ความฝ่ ายท่ีอา้ งจะขอรับคืนไปปิ ดอากรแสตมป์ ให้ครบ ไม่ควรอนุญาต
เช่นเดียวกนั ควรสงั่ ใหส้ ่งเอกสารไปเสียคา่ อากรท่ีสรรพากรกรุงเทพมหานคร สรรพากรจงั หวดั
หรือสรรพากรอาเภอแลว้ แต่กรณี โดยกาหนดระยะเวลาไวด้ ว้ ยแลว้ ศาลทาหนงั สือนาส่งเอกสารน้นั
ไปเป็ นทางราชการ วิธีส่งจะส่งทางไปรษณียล์ งทะเบียนหรือให้ผูอ้ านวยการศาล ฯ นาไปส่งก็ได้

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๔๔๑

ขอ้ ความในหนังสือระบุไวด้ ว้ ยว่า คู่ความฝ่ ายน้ันจะเป็ นผูม้ าติดต่อชาระค่าอากรแก่พนักงาน
เจา้ หนา้ ท่ีดว้ ยตนเอง

๑.๔ การนาเอกสารและหลกั ฐานไปเพื่อให้ผูเ้ ชี่ยวชาญตรวจพิสูจน์ โดยปกติคู่ความ
จะตกลงกนั ให้ผูเ้ ช่ียวชาญ กองพิสูจน์หลกั ฐาน สานักงานตารวจแห่งชาติ เป็ นผูต้ รวจพิสูจน์
เมื่อศาลเห็นว่าจาเป็ นแก่คดีย่อมจะอนุญาตได้ ระหว่างศาลกบั กองพิสูจน์หลกั ฐาน สานกั งาน
ตารวจแห่งชาติ มีขอ้ ตกลงให้เจ้าหน้าท่ีของกองพิสูจน์หลักฐานมารับเอกสารไปจากศาล
เมื่อตรวจพิสูจน์เสร็จแลว้ ก็นามาส่งคืนโดยตรง โดยคู่ความฝ่ ายท่ีขอให้ตรวจพิสูจน์เป็ นผูอ้ อก
คา่ ใชจ้ ่ายในการตรวจพสิ ูจน์ ค่าใชจ้ ่ายน้ีเป็นคา่ ฤชาธรรมเนียมในคดี (ฎีกาท่ี ๒๓๗๒/๒๕๓๙)

สาหรับกรณีศาลต่างจังหวดั ให้ดูหมวด ๑ กระบวนพิจารณาคดีแพ่งแบบสามญั
ส่วนท่ี ๔ ช้นั พิจารณา บทที่ ๑๗ การส่งเอกสารไปใหผ้ เู้ ชี่ยวชาญตรวจพิสูจน์

๑.๕ เอกสารและหลกั ฐานต่าง ๆ ท่ีศาลรับไวป้ ระกอบการพิจารณาคดี ถา้ ไมจ่ าเป็นจะตอ้ ง
ใชเ้ อกสารหรือหลกั ฐานน้นั แลว้ กใ็ หร้ ีบส่งคืนเสียโดยเร็ว

๒. การคืนเอกสารและหลกั ฐานเม่ือคดีถงึ ท่สี ุด

๒.๑ เอกสารหรือหลกั ฐานต่าง ๆ ที่ทางศาลอื่นหรือหน่วยงานอ่ืนส่งมาประกอบการ
พิจารณาคดี เมื่อเสร็จการพิจารณาคดีเรื่องน้นั ๆ ก็ใหร้ ีบจดั การส่งคืนโดยมีหลกั ฐานการส่งคืน
เป็นหนงั สือไว้

๒.๒ เอกสารหรือหลกั ฐานต่าง ๆ ที่คู่ความอา้ งส่งไวเ้ ป็ นพยานหลกั ฐานเมื่อคดีถึงท่ีสุด
คูค่ วามยน่ื คาแถลงขอรับคืนไปจากศาล สง่ั วา่ “เม่ือตรวจถกู ต้องแล้วคืนให้ไป” เม่ือมีคาส่งั ศาล
ดงั กล่าว เจา้ หน้าที่ศาลผูร้ ับผิดชอบในการเก็บรักษาเอกสารและหลกั ฐานต่าง ๆ จะตอ้ งให้
ผูข้ อรับทาใบรับตามแบบพิมพ์ของศาลแบบ (๖๕) ที่ชื่อว่า “ใบรับเงินหรือส่ิงของท่ีคู่ความ
รับไปจากศาล” ระบุชื่อและชนิดของเอกสารและหลกั ฐานต่าง ๆ ที่จะรับคืนไปไวแ้ ล้วก็คืน
เอกสารและหลกั ฐานใหค้ ู่ความรับไป

ใบรับแบบ (๖๕) น้ีสาหรับศาลที่มีปริมาณคดีมากเจา้ หนา้ ท่ีผเู้ ก็บรักษาเอกสารและ
หลกั ฐานไมต่ อ้ งนาเสนอใหศ้ าลสัง่ อีก โดยถือวา่ ศาลไดส้ ง่ั อนุญาตใหค้ ืนในคาแถลงของคู่ความแลว้
จึงเพียงแต่เก็บรวมสานวนไว้ เพราะศาลเหล่าน้นั มีสานวนและเอกสารและส่ิงอ่ืน ๆ ที่เก็บรักษา
และจ่ายคืนจานวนมาก ส่วนศาลอื่น ๆ เม่ือเจา้ หนา้ ที่ผรู้ ับผิดชอบนาเสนอศาล สง่ั วา่ “รวมสานวน”

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๔๔๒

หมวด ๔

คดไี ม่มีข้อพพิ าท

ส่วนท่ี ๑

ช้ันยื่นคาร้องขอ

๑. การตรวจคาร้องขอ (มาตราหลกั คือมาตรา ๕๕, ๑๘, ๑๘๘)

ให้ตรวจดูวา่ เป็ นกรณีที่บุคคลใดจะตอ้ งใชส้ ิทธิทางศาลตามมาตรา ๕๕ หรือไม่ กล่าวคือ
การเสนอคดีไมม่ ีขอ้ พิพาทจะตอ้ งมีกฎหมายสนบั สนุนให้ใชส้ ิทธิทางศาลจึงจะร้องขอต่อศาลได้
(ฎีกาที่ ๑๑๒๙/๒๔๙๖, ๑๗๔๒/๒๕๑๑, ๘๕๐๔/๒๕๔๔) และจะตอ้ งเสียค่าข้ึนศาล ๒๐๐ บาท
ตามตาราง ๑ (๒) (ก) ทา้ ย ป.ว.ิ พ.

ตัวอย่าง กรณีมีกฎหมายสนบั สนุนใหใ้ ชส้ ิทธิทางศาล เช่น
กรรมการหรือผูถ้ ือหุน้ ร้องให้ศาลเพิกถอนมติของท่ีประชุมใหญ่อนั ผิดระเบียบ

ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๑๙๕ (ฎีกาท่ี ๑๕๓๗/๒๕๑๔, ๑๒๐๔๖/๒๕๔๗) หรือการร้องขอถอน
ผชู้ าระบญั ชีตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๒๕๗ (ฎีกาท่ี ๔๖๗/๒๕๐๑ )

การขอให้ศาลสั่งเลิกห้างหุ้นส่วนสามญั ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๐๕๗ (ฎีกาท่ี
๒๕๑๒/๒๕๒๘)

การขอให้ แสดงกรรมสิ ทธ์ ิ ที่ ดิ นมี โฉนดท่ี ดิ นโดยการครอบครองปรปั กษ์ ตาม
ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๘๒ (ฎีกาที่ ๑๐๙/๒๕๐๖, ๑๑๕๐/๒๕๑๗)

การขอให้สั่งเป็ นคนไร้ความสามารถตาม ป.พ.พ. มาตรา ๒๘ (ฎีกาท่ี ๗๔/
๒๕๒๗) หรือเป็ นคนเสมือนไร้ความสามารถตาม ป.พ.พ. มาตรา ๓๒ สาบสูญตาม ป.พ.พ.
มาตรา ๖๑ (ฎีกาท่ี ๕๘๒๗/๒๕๓๐)

การต้ังผูจ้ ัดการทรัพย์สินของบุคคลผูไ้ ม่อยู่ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๔๘ (ฎีกาที่
๒๐๓๘/๒๕๑๔)

เม่ือบุคคลท่ีจะต้องให้ความยินยอมในการท่ีบิดาจะจดทะเบียนเด็กเป็ นบุตร
ชอบดว้ ยกฎหมายไม่อาจให้ความยินยอมได้ เพราะถึงแก่ความตายแล้วตาม ป.พ.พ. มาตรา
๑๕๔๘ วรรคสาม บิดาจึงชอบท่ีจะใชส้ ิทธิทางศาลเพ่ือให้พิพากษาว่าเด็กเป็ นบุตรได้ (ฎีกาท่ี
๒๔๗๓/๒๕๔๕)

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๔๔๓

ผรู้ ้องเคยเป็นผชู้ าระบญั ชีของบริษทั และไดจ้ ดทะเบียนเสร็จการชาระบญั ชีแลว้
ซ่ึง ป.พ.พ. มาตรา ๑๒๗๐ ใหถ้ ือวา่ เป็ นท่ีสุดแห่งการชาระบญั ชี ผูร้ ้องตรวจสอบพบวา่ ยงั มีที่ดิน
ที่บริษทั ถือกรรมสิทธ์ิอย่อู ีก กรณีจะตอ้ งดาเนินการเก่ียวกบั ท่ีดินดงั กล่าว ซ่ึงเป็ นสินทรัพยข์ อง
บริษทั ที่ยงั คงหลงเหลืออยเู่ ม่ือบริษทั ส้ินสภาพความเป็นนิติบุคคลไปแลว้ คดีมีเหตทุ ี่ผรู้ ้องจะตอ้ ง
ใชส้ ิทธิทางศาลโดยยน่ื คาร้องขอใหศ้ าลมีคาสั่งเพิกถอนการจดทะเบียนเสร็จการชาระบญั ชีและ
แต่งต้งั ผรู้ ้องเป็นผชู้ าระบญั ชีของบริษทั ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๕๕ (ฎีกาที่ ๓๓๐๒/๒๕๕๓)

การขอต้งั ผูจ้ ดั การมรดกตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๗๑๓ (ฎีกาท่ี ๕๒๔๑/๒๕๔๘ ,
๖๖๑/๒๕๕๐)

ตวั อย่าง
กรณีไมม่ ีกฎหมายสนบั สนุนใหใ้ ชส้ ิทธิทางศาลยอ่ มไมอ่ าจร้องขอใชส้ ิทธิทางศาลได้ เช่น

ขอให้ศาลแสดงว่าที่ดินมีใบไต่สวนเป็ นกรรมสิทธ์ิของผูร้ ้อง (ฎีกาที่ ๙๙๕/
๒๔๙๗, ๓๐๑๖/๒๕๒๕)

ร้องขอให้ศาลมีคาสั่งแสดงว่าบา้ นท่ีผูร้ ้องปลูกในที่ดินของผอู้ ่ืนเป็ นกรรมสิทธ์ิ
ของผรู้ ้อง (ฎีกาที่ ๑๗๒๗/๒๕๕๑)

ร้องขอให้ศาลไต่สวนและมีคาสั่งเพิกถอนการจดทะเบียนเพ่ิมทุน (ฎีกาที่
๖๕๙๒/๒๕๔๘)

ร้องขอใหส้ ั่งวา่ ผรู้ ้องมีสิทธิว่าความอยา่ งทนายความเป็ นคดีต่างหากจากคดีเดิม
(ฎีกาท่ี ๑๘๑๖/๒๕๔๗)

ร้องขอใหศ้ าลมีคาสัง่ วา่ ผรู้ ้องมีสิทธิใชส้ ัญลกั ษณ์ทางการคา้ น้นั ได้ ผรู้ ้องท้งั สอง
จะเร่ิมคดีโดยทาเป็ นคาร้องขอย่ืนต่อศาลเป็ นคดีไม่มีขอ้ พิพาทตามมาตรา ๕๕ หาไดไ้ ม่ (ฎีกาท่ี
๔๘๘๘/๒๕๔๘)

คนต่างด้าวจะยื่นคาร้องขอแสดงกรรมสิทธ์ิในห้องชุด ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๘๒
เพ่ือไม่ตอ้ งปฏิบตั ิตาม พ.ร.บ. อาคารชุด พ.ศ. ๒๕๒๒ และพ.ร.บ. คนเขา้ เมือง พ.ศ. ๒๕๒๒
หาไดไ้ ม่ (ฎีกาท่ี ๗๕๐๐/๒๕๕๒)

การร้องขอให้ศาลมีคาสั่งต้งั ผูจ้ ดั การอสังหาริมทรัพยห์ รือการประกอบอุตสาหกรรม
พาณิชยกรรม หรือกสิกรรมของลกู หน้ีตามคาพพิ ากษา ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๓๐๗ ผรู้ ้องชอบท่ีจะ
ยื่นคาร้องต่อศาลในคดีท่ีอยู่ระหว่างดาเนินการบังคับคดีตามคาพิพากษา ไม่ใช่ยื่นคาร้อง
เพอื่ ดาเนินคดีใหม่อีกตา่ งหาก (ฎีกาท่ี ๕๓๗๐/๒๕๔๓)

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๔๔๔

ผูร้ ้องย่ืนคาร้องขอให้ศาลสั่งว่าท่ีดินของผูร้ ้องท่ีผูอ้ ่ืนมีกรรมสิทธ์ิรวมอยู่ดว้ ย
ปลอดจากภาระจานอง โดยอา้ งว่ามีการชาระหน้ีจานองแลว้ แต่ผูร้ ับจานองถึงแก่กรรมไปก่อน
จดทะเบียนไถถ่ อนจานองและไม่มีทายาท (ฎีกาท่ี ๒๐๖๔/๒๕๓๓)

ร้องขอใหศ้ าลมีคาสั่งแสดงวา่ เป็นผมู้ ีสิทธิครอบครองที่ดินที่มีแต่หนงั สือรับรอง
การทาประโยชน์ (น.ส. ๓) และแบบแจง้ การครอบครอง (ส.ค. ๑) (ฎีกาที่ ๒๔๘/ ๒๕๓๗) เป็นตน้

๒. การสั่งคาร้องขอ

๒.๑ การขอใหส้ ั่งเป็ นคนสาบสูญ (ป.พ.พ. มาตรา ๖๑) ต้งั ผูจ้ ดั การทรัพยส์ ินของผูไ้ ม่อยู่
(ป.พ.พ. มาตรา ๔๘)

๒.๑.๑ ศาลท่ีจะย่ืนคาร้องขอ ไดแ้ ก่ศาลท่ีมูลคดีเกิดข้ึนในเขตศาลหรือศาลท่ีผูร้ ้อง
มีภูมิลาเนาอยใู่ นเขตศาล (มาตรา ๔(๒))

๒.๑.๒ การสั่งคาร้องขอ ส่ังว่า “รับคาร้ องขอ ประกาศนัดไต่สวน ให้ผู้ร้ องวางเงิน
ค่าประกาศหนงั สือพิมพ์ภายใน . . .วนั นัดไต่สวนวันท่ี . . . เวลา . . . . น.”

ข้อสังเกต
๑. การขอจัดการทรัพย์สินของผูไ้ ม่อยู่ในกรณีสั่งการให้ทาพลางตามท่ีจาเป็ น
ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๔๘ วรรคแรก คาร้องขอตอ้ งบรรยายว่าขอทาอะไรเฉพาะสิ่งเฉพาะอย่าง
เป็นกิจจะลกั ษณะ เพ่ือศาลจะไดพ้ ิจารณาวา่ มีความจาเป็ นที่จะตอ้ งให้ทาพลางหรือไม่ มิฉะน้นั
ตอ้ งยกคาร้องขอ (ฎีกาท่ี ๑๐๘๕/๒๔๘๗) ส่วนวรรคสองเป็ นเร่ืองจดั การทวั่ ไปตอ้ งอา้ งเหตุ
ที่ศาลควรอนุญาต
๒. การส่ังคาร้องขอให้เป็ นคนไร้ความสามารถ (ป.พ.พ. มาตรา ๒๘) คนเสมือน
ไร้ความสามารถ (ป.พ.พ. มาตรา ๓๒) ต้ังผูป้ กครองผูเ้ ยาว์ (ป.พ.พ. มาตรา ๑๕๘๖) ขอทานิติกรรม
แทนผูเ้ ยาว์ (ป.พ.พ. มาตรา ๑๕๗๔) และขอทานิติกรรมแทนผูไ้ ร้ความสามารถ ให้ดูคู่มือตุลาการ
ส่วนวธิ ีพจิ ารณาคดีเยาวชนและครอบครัว

๒.๒ การขอต้งั ผจู้ ดั การมรดก (ป.พ.พ. มาตรา ๑๗๑๓)
๒.๒.๑ ศาลที่จะยื่นคาร้องขอให้ต้งั ผจู้ ดั การมรดก ไดแ้ ก่ศาลท่ีเจา้ มรดกมีภูมิลาเนา

อยใู่ นเขตศาลในขณะถึงแก่ความตาย มาตรา ๔ จตั วา วรรคหน่ึง
กรณีที่เจา้ มรดกไม่มีภูมิลาเนาอยใู่ นราชอาณาจกั ร ให้เสนอต่อศาลที่ทรัพย์

มรดกอยใู่ นเขตศาลตามมาตรา ๔ จตั วา วรรคสอง
๒.๒.๒ ผูม้ ีสิทธิย่ืนคาร้องขอให้ศาลต้งั ผูจ้ ดั การมรดกตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๗๑๓

ตอ้ งเป็นบคุ คลใดบคุ คลหน่ึงดงั ตอ่ ไปน้ี

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๔๔๕

๒.๒.๒.๑ เป็ นทายาทผู้มีสิทธิรับมรดกถ้าไม่มีสิทธิรับมรดก ก็ไม่ใช่
ทายาทผมู้ ีสิทธิยนื่ คาร้องขอ (ฎีกาท่ี ๑๔๙๑/๒๕๒๓, ๗๓๘/๒๕๒๔, ๔๘๙๒/๒๕๓๖)

ตัวอย่างกรณไี ม่ใช่ทายาทผู้มสี ิทธิรับมรดก
(๑) ผรู้ ้องท้งั สองเป็นเพียงหลานของพี่ของป่ ู ผตู้ าย จึงมิใช่ผสู้ ืบสนั ดานของ
ผูต้ ายและมิใช่ทายาทผมู้ ีสิทธิรับมรดกของผตู้ ายตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๖๒๙ ท้งั มิไดก้ ล่าวอา้ งวา่
เป็นผมู้ ีส่วนไดเ้ สียในทรัพยม์ รดก ผรู้ ้องท้งั สองจึงไม่มีสิทธิร้องขอใหต้ ้งั ผจู้ ดั การมรดกของผตู้ าย
(ฎีกาท่ี ๗๔๙/๒๕๓๙)
(๒)แมผ้ ูค้ ดั คา้ นท่ี ๒ จะเพ่ิงคลอดและศาลมีคาส่ังภายหลงั ผูต้ ายถึงแก่ความตาย
ประมาณ ๘ เดือนว่าผูค้ ดั คา้ นที่ ๒ เป็ นบุตรชอบดว้ ยกฎหมายของผตู้ ายก็ตาม ผูค้ ดั คา้ นที่ ๒ ก็มี
สิทธิรับมรดกของผูต้ ายในฐานะทายาทโดยธรรมยอ้ นหลงั ไปถึงวนั ที่เจา้ มรดกถึงแก่ความตาย
ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๕๕๘ วรรคแรก และเป็ นทายาทโดยธรรมลาดบั ท่ี ๑ ผูร้ ้องเป็ นเพียงน้อง
ร่วมบิดามารดาเดียวกนั กบั ผตู้ ายจึงไม่มีสิทธิในทรัพยม์ รดกของผตู้ ายและมิไดเ้ ป็นผูม้ ีส่วนไดเ้ สีย
ในทรัพยม์ รดก เพราะผูม้ ีส่วนไดเ้ สียตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๗๑๓ หมายถึงผูไ้ ดร้ ับประโยชน์
จากทรัพย์มรดกโดยตรงมาต้งั แต่ต้นขณะเจ้ามรดกถึงแก่ความตาย หาใช่เกิดข้ึนในภายหลงั
ตามสัญญาประนีประนอมยอมความซ่ึงมีวตั ถุประสงค์เพื่อระงบั ขอ้ พิพาทระหว่างคู่กรณีไม่
ผรู้ ้องจึงไมม่ ีสิทธิร้องขอใหต้ ้งั ผจู้ ดั การมรดกได้ (ฎีกาที่ ๑๑๙๖/๒๕๓๘)
๒.๒.๒.๒ เป็ นผูม้ ีส่วนไดเ้ สีย ผูม้ ีส่วนไดเ้ สีย หมายถึง ผูไ้ ดร้ ับประโยชน์
จากทรัพยม์ รดกโดยตรงมาต้งั แต่ตน้ ขณะเจา้ มรดกถึงแก่ความตาย (ฎีกาที่ ๑๑๙๖/๒๕๓๘)
ตัวอย่างทถี่ ือว่าเป็ นผู้มสี ่วนได้เสีย
(๑) ผตู้ ายไมม่ ีทายาทเลย ซ่ึงกรณีเช่นน้ีแมท้ รัพยม์ รดกจะตกทอดแก่แผน่ ดิน
ก็ตาม แต่แผ่นดินก็ไม่ใช่ทายาท จึงตอ้ งถือว่าเจา้ หน้ีเป็ นผูม้ ีส่วนไดเ้ สียในกองทรัพยม์ รดกและ
มีสิทธิร้องต่อศาลขอใหต้ ้งั ผูจ้ ดั การมรดกไดต้ าม ป.พ.พ. มาตรา ๑๗๑๓ (ฎีกาท่ี ๑๖๙๕/๒๕๓๑
ประชุมใหญ่)
(๒) สามีภริยาอยู่กินดว้ ยกันโดยมิได้จดทะเบียนสมรส ผูร้ ้องเป็ นภริยา
ที่ไม่ชอบดว้ ยกฎหมายของเจา้ มรดก ไมใ่ ช่ทายาทโดยธรรม แต่มีส่วนไดเ้ สียในทรัพยส์ ินร่วมกนั
ก็ถือวา่ เป็นผมู้ ีส่วนไดเ้ สียเช่นกนั (ฎีกาที่ ๑๐๘๖/๒๕๒๐)
(๓) ผูม้ ีส่วนไดเ้ สียท่ีจะร้องขอให้ต้งั ผูจ้ ดั การมรดกตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๗๑๓
หาจาต้องมีส่วนได้เสียในทรัพย์มรดกของผูต้ ายโดยเป็ นทายาทโดยตรงของผูต้ ายทุกกรณีไม่
เมื่อผูร้ ้องเป็ นบุตรของนาย บ. กบั นาง น.โดยนาย บ. อยกู่ ินฉนั สามีภรรยากบั นาง จ. และนาง น.
ก่อนใช้ ป.พ.พ. บรรพ ๕ หลงั จากนาง น. มารดา ผรู้ ้องถึงแก่ความตาย นาย บ.และนาง จ. ร่วมกนั

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๔๔๖

ยึดถือทากินท่ีดินมือเปล่า ๔ แปลง เม่ือนาย บ. ถึงแก่ความตายก็ยงั ไม่มีการแบ่งท่ีดินกัน
แต่ก่อนท่ีนาง จ. จะถึงแก่ความตาย ไดข้ อออกโฉนดในท่ีดิน ๔ แปลงดงั กล่าวเป็ นชื่อของ
นาง จ. เอง ดงั น้ี ผูร้ ้องจึงมีส่วนเป็ นเจ้าของกรรมสิทธ์ิอยู่ดว้ ยส่วนหน่ึงในที่ดินท้งั ๔ แปลง
อนั เป็ นทรัพยม์ รดกของนาย บ. และนาง จ. ผูต้ ายถือว่าเป็ นผูม้ ีส่วนไดเ้ สียตาม ป.พ.พ. มาตรา
๑๗๑๓ แลว้ ผรู้ ้องยอ่ มมีสิทธิร้องขอใหต้ ้งั ผรู้ ้องเป็นผจู้ ดั การมรดกของนาง จ.ได้ (ฎีกาท่ี ๕๑๒๙/
๒๕๓๙)

(๔) แมก้ ารจดทะเบียนหย่าจะทาให้ผูค้ ดั คา้ นที่ ๓ มิใช่ทายาทของผูต้ าย
แตเ่ ม่ือผคู้ ดั คา้ นที่ ๓ ยงั มีกรรมสิทธ์ิร่วมในทรัพยส์ ินท่ีทามาหาไดร้ ่วมกนั กบั ผตู้ าย ผคู้ ดั คา้ นที่ ๓
จึงเป็ นผูม้ ีส่วนไดเ้ สียที่จะร้องขอต่อศาลให้ต้งั ผูจ้ ดั การมรดกของผูต้ ายไดต้ าม ป.พ.พ. มาตรา
๑๗๑๓ (ฎีกาที่ ๕๒๗๔/๒๕๓๙)

(๕) การที่ ป. ย่ืนคาคดั คา้ นการท่ีผูร้ ้องขอเป็ นผูจ้ ดั การมรดกของผูต้ ายไว้
แต่ต่อมาถึงแก่ความตายในระหว่างไต่สวน อ. บุตรของ ป. จึงยื่นคาร้องขอให้ต้งั ตนเองเป็ น
ผูจ้ ดั การมรดกแต่ผูเ้ ดียว โดยอา้ งว่ามีส่วนไดเ้ สียในทรัพยม์ รดกของผูต้ าย โดยรับมรดกแทนท่ี
ตอ่ จาก ป. น้นั กรณีเป็นเร่ืองที่ อ. คดั คา้ นคาร้องของผรู้ ้องและขอใหต้ ้งั ตนเองเป็นผจู้ ดั การมรดก
ของผูต้ ายเขา้ มาใหม่ มิใช่เป็ นการขอเขา้ เป็ นคู่ความแทนป. ต้องรับคาร้องของอ.ไวพ้ ิจารณา (ฎีกาท่ี
๑๒๑๙/๒๕๓๘)

(๖) ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๖๐๘ ตวั ทายาทผถู้ ูกตดั มิใหร้ ับมรดกน้นั ตอ้ งระบุ
ไวใ้ ห้ชัดเจน แต่ตามขอ้ ความในพินัยกรรมมิไดร้ ะบุไวใ้ ห้ชดั เจนว่าตดั ผูค้ ดั คา้ นมิให้รับมรดก
จึงถือไมไ่ ดว้ า่ เป็นการตดั ผคู้ ดั คา้ นมิใหร้ ับมรดก และเมื่อผตู้ ายยงั มีทรัพยม์ รดกอื่นนอกจากทรัพย์
มรดกที่ยกให้แก่ บ. ตามพินัยกรรม ผู้คัดค้านในฐานะทายาทจึงเป็ นผู้มีส่ วนได้เสีย
ในทรัพย์มรดกนอกพินัยกรรม มีสิทธิร้องคัดค้านและขอเป็ นผูจ้ ัดการมรดกของผู้ตายได้
(ฎีกาท่ี ๕๑๒๐/๒๕๓๙)

(๗) แม้การสมรสระหว่างผูค้ ัดค้านท่ี ๑ กับผู้ตายจะตกเป็ นโมฆะแต่
ป.พ.พ. มาตรา ๑๕๓๖ ก็บญั ญตั ิวา่ ใหส้ ันนิษฐานไวก้ ่อนว่าผคู้ ดั คา้ นที่ ๒ ซ่ึงเกิดขณะท่ีผูค้ ดั คา้ น
ท่ี ๑ เป็นภริยาของผตู้ าย เป็นบุตรชอบดว้ ยกฎหมายของผตู้ าย เม่ือผูร้ ้องไม่นาสืบหรือมีพยาน
มาหักลา้ งขอ้ สันนิษฐานของกฎหมาย จึงตอ้ งฟังว่าผูค้ ดั คา้ นท่ี ๒ เป็ นทายาทผูม้ ีสิทธิรับมรดก
ของผูต้ าย ย่อมเป็ นผูม้ ีส่วนไดเ้ สียท่ีจะร้องขอต่อศาลให้ ต้งั ผูจ้ ัดการมรดกของผูต้ ายไดต้ าม
ป.พ.พ. มาตรา ๑๗๑๓ (ฎีกาท่ี ๑๔๙๐/ ๒๕๓๗)

(๘) คาวา่ “ผู้มีส่วนได้เสีย” ตามมาตรา ๑๗๑๓ แห่ง ป.พ.พ. ไม่จาตอ้ งเป็น
ผูม้ ีส่วนไดเ้ สียในฐานะทายาทโดยธรรมหรือในทางพินยั กรรมของผตู้ ายโดยตรง เมื่อกองมรดก

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๔๔๗

ของ ส. ซ่ึงตกได้แก่มารดาผูร้ ้องแต่มารดาผู้ร้องถึงแก่ความตายไปแล้ว กองมรดกของ ส.
ยอ่ มตกเป็ นของผรู้ ้อง ผูร้ ้องจึงมีสิทธิร้องขอใหต้ ้งั ผรู้ ้องเป็ นผจู้ ดั การมรดกของ ส. ได้ ส่วนสิทธิ
ในการรับมรดกของ ส. ผูต้ ายว่าทรัพยส์ ินจะตกเป็ นของผูร้ ้องเพียงใดน้ัน เป็ นกรณีที่จะตอ้ งว่า
กล่าวกนั เป็นอีกเรื่องหน่ึงต่างหาก (ฎีกาท่ี ๒๑๓๕/๒๕๓๗)

(๙) ผูค้ ดั คา้ นเป็ นบุตรนอกกฎหมายที่บิดารับรองแลว้ เป็ นทายาทโดยธรรม
และมีสิทธิรับมรดกแทนที่บิดาได้ จึงเป็นผมู้ ีส่วนไดเ้ สียในทรัพยม์ รดกของป่ ูตาม ป.พ.พ. มาตรา
๑๗๑๓ (ฎีกาที่ ๑๑๑๗/๒๕๓๖)

(๑๐) การท่ีผูค้ ดั คา้ นไดร้ ่วมประกอบธุรกิจการคา้ กบั ผูต้ ายขณะที่ผูต้ ายไปนอนป่ วย
รักษาตวั ท่ีโรงพยาบาลก็ปรากฏว่า ธุรกิจดงั กล่าวยงั ดาเนินต่อไปจนกระทงั่ ผูต้ ายถึงแก่กรรม
ทรัพย์สินที่เกิดข้ึนจากการประกอบกิจการดังกล่าวจึงเป็ นของผู้ตายและผู้คัดค้านร่วมกัน
ผคู้ ดั คา้ นจึงเป็ นผูม้ ีส่วนไดเ้ สียและมีสิทธิยื่นคาร้องคดั คา้ นการที่ผรู้ ้องขอเป็นผจู้ ดั การมรดกของ
ผตู้ าย กบั มีสิทธิร้องขอเป็นผจู้ ดั การมรดกของผตู้ ายได้ (ฎีกาท่ี ๕๐๑๒/๒๕๓๘)

ตัวอย่างทีถ่ ือว่าไม่ใช่ผู้มสี ่วนได้เสีย
(๑) ผูค้ ดั คา้ นมิไดเ้ ป็ นทายาทของเจา้ มรดก ท้งั เหตุที่กล่าวอา้ งมาในคาร้องคดั คา้ นว่า
ผูค้ ดั คา้ นเป็ นเจ้าของผูค้ รอบครองและทาประโยชน์ในที่ดินที่ว่าเป็ นทรัพย์มรดกของผูต้ าย
และจะถูกผูร้ ้องใชส้ ิทธิในการเป็ นผูจ้ ดั การมรดกมาบงั คบั น้นั ก็ยงั ฟังเป็ นยตุ ิไม่ไดว้ ่าที่ดินตามที่
กล่าวอา้ งเป็ นทรัพยม์ รดกหรือไม่เพียงใด ซ่ึงชอบที่จะไปว่ากล่าวกนั เป็ นอีกเรื่องหน่ึงต่างหาก
กรณียงั ถือไม่ไดว้ ่า ผูค้ ดั คา้ นมีส่วนไดเ้ สียในทรัพยม์ รดกของผูต้ าย อนั จะก่อใหเ้ กิดสิทธิในการ
ร้องขอใหเ้ พิกถอนผจู้ ดั การมรดกได้ (ฎีกาท่ี ๔๙๐๒/๒๕๓๘)
(๒) เมื่อพินัยกรรมกาหนดให้ผู้คัดค้านท่ี ๒ เป็ นผู้รับมรดกท้ังหมดของผู้ตาย
แต่เพียงผูเ้ ดียวเช่นน้ี ยอ่ มตอ้ งถือว่าผูร้ ้องท้งั สองซ่ึงเป็ นทายาทโดยธรรมของผตู้ าย ผูท้ ี่มิไดร้ ับ
ประโยชน์จากพินัยกรรมเป็ นผูถ้ ูกตดั มิให้รับมรดกตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๖๐๘ วรรคทา้ ย ผูร้ ้ อง
ท้งั สองจึงเป็ นทายาทที่ไม่มีส่วนไดเ้ สียในกองมรดกของผูต้ ายยอ่ มไม่มีอานาจที่จะร้องขอต่อศาล
ใหต้ ้งั ผรู้ ้องท้งั สองเป็นผจู้ ดั การมรดกได้ (ฎีกาท่ี ๓๒๙๒/๒๕๓๘)

๒.๒.๒.๓ เป็ นพนักงานอยั การ พนักงานอยั การยื่นคาร้องขอให้ศาลต้ัง
ผจู้ ดั การมรดกโดยไมต่ อ้ งมีใบแต่งทนายความ แต่ตอ้ งเสียค่าคาร้องขอตามปกติ

ข้อสังเกต
๑. ผูท้ ่ีจะไดร้ ับแต่งต้งั เป็ นผจู้ ดั การมรดกตอ้ งมีคุณสมบตั ิไม่ตอ้ งห้ามตามท่ี
ระบุไวใ้ น ป.พ.พ. มาตรา ๑๗๑๘ ดงั น้นั ผูเ้ ยาวซ์ ่ึงยงั ไม่บรรลุนิติภาวะก็อาจจะร้องขอใหศ้ าลต้งั
ผูจ้ ัดการมรดกได้โดยมีผูแ้ ทนโดยชอบธรรมเป็ นผูด้ าเนินคดีแทนแต่จะขอให้ศาลต้งั ตนเอง

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๔๔๘

เป็นผจู้ ดั การมรดกไม่ได้ ตอ้ งขอใหต้ ้งั บุคคลอื่นซ่ึงไม่ตอ้ งห้ามตามมาตรา ๑๗๑๘ เป็ นผูจ้ ดั การ
มรดก

๒. กรณีที่มีพินยั กรรมกาหนดตวั บุคคลท่ีจดั เป็ นผูจ้ ดั การมรดกไวแ้ ลว้ ศาลตอ้ ง
ต้งั บุคคลดงั กล่าวตามที่กาหนดไวใ้ นพินยั กรรมเป็ นผูจ้ ดั การมรดกตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๗๑๓
วรรคทา้ ย (ฎีกาท่ี ๒๘๒๖/๒๕๑๗,๕๑๒๐/๒๕๓๙)

๓. ตอ้ งมีเหตุขดั ขอ้ งในการจดั การมรดกตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๗๑๓ (๒)
ถา้ ไม่มีเหตุขดั ขอ้ ง ศาลยกคาร้องขอ เช่น ทายาททาสัญญาประนีประนอมยอมความแบ่งทรัพย์
มรดกกนั เรียบร้อยแลว้ ก็ไม่มีความจาเป็ นตอ้ งต้งั ผูจ้ ดั มรดกศาลยกคาร้องขอต้งั ผูจ้ ดั การมรดก
(ฎีกาท่ี ๒๓๐๙/๒๕๒๐)

๔. คาร้องขอให้ศาลต้งั ผูจ้ ัดการมรดกต้องบรรยายให้ชัดว่า ผูร้ ้องเป็ น
ผมู้ ีส่วนไดเ้ สียในกองมรดกหรือมีสิทธิรับมรดก มิฉะน้นั ไมม่ ีสิทธิยน่ื คาร้องขอต้งั ผจู้ ดั การมรดก
ศาลยกคาร้อง (ฎีกาท่ี ๓๘๗/๒๕๑๘)

๕. การร้องขอให้ศาลต้งั ผูจ้ ดั การมรดกเป็ นสิทธิเฉพาะตวั กรณีผูร้ ้องหรือ
ผูค้ ดั คา้ นคดีขอต้งั ผูจ้ ัดการมรดกถึงแก่กรรมลง บุคคลภายนอกจะขอเขา้ เป็ นคู่ความแทนท่ี
ผมู้ รณะ ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๔๒ ไมไ่ ด้ (ฎีกาที่ ๔๘/๒๕๑๙, ๒๐๑๘/๒๕๔๘)

๖. นิติบุคคลก็อาจจะเป็ นผูจ้ ดั การมรดกไดเ้ พราะไม่มีบทกฎหมายใดที่ห้าม
นิติบุคคลมิให้เป็ นผจู้ ดั การมรดก ดงั น้นั ถา้ ไม่ขดั กบั วตั ถุประสงคต์ ามท่ีกาหนดไวใ้ นขอ้ บงั คบั
หรือตราสารจัดต้ังของนิติบุคคลน้ันแล้ว ศาลย่อมต้ังนิติบุคคลเป็ นผูจ้ ัดการมรดกได้ตามท่ี
เห็นสมควร เช่น ผูร้ ้องเป็ นวดั ขอเป็ นผูจ้ ดั การมรดกซ่ึงจะตกเป็ นสมบตั ิของผูร้ ้องเอง ผูร้ ้อง
จึงเป็ นผูม้ ีส่วนไดเ้ สีย ย่อมกระทาการเป็ นผูจ้ ดั การมรดกไดโ้ ดยเจา้ อาวาสซ่ึงเป็ นผูแ้ ทนของวดั
เป็ นผู้แสดงความประสงค์ให้ปรากฏตาม ป.พ.พ. มาตรา ๗๕ (ป.พ.พ. ใหม่ มาตรา ๗๐ วรรคสอง)
(ฎีกาที่ ๑๑๒๗/๒๕๒๔ ประชุมใหญ่) หรือสภากาชาดไทย ผรู้ ้องซ่ึงเป็นนิติบุคคลไม่อยใู่ นฐานะ
ตอ้ งหา้ มมิใหเ้ ป็นผจู้ ดั การมรดกตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๗๑๘ (ฎีกาท่ี ๓๑๖๖/๒๕๒๙)

๗. ถา้ ทรัพยท์ ่ีอา้ งว่าเป็ นทรัพยม์ รดกไม่ใช่ทรัพยม์ รดกของผูต้ ายและไม่ปรากฏว่า
ผตู้ ายมีทรัพยม์ รดกอื่นอีก ก็ไม่มีเหตุท่ีจะต้งั ผจู้ ดั การมรดก เช่น บาเหน็จตกทอด เป็ นทรัพยท์ ่ีผูต้ าย
ไดม้ าหลงั จากผตู้ ายถึงแก่กรรมแลว้ จึงไมใ่ ช่ทรัพยม์ รดกที่จะร้องขอจดั การมรดกได้

๘. ผูร้ ้องหลายคนย่ืนคาร้องขอต้งั เป็ นผูจ้ ัดการมรดกฉบบั เดียวขอจัดการ
ทรัพยม์ รดกของผตู้ ายร่วมกนั เสียคา่ ข้ึนศาล ๒๐๐ บาท

๙. ผูร้ ้องย่ืนคาร้องขอจดั การทรัพยม์ รดกของผูต้ ายหลายคนในคาร้องฉบบั เดียวกนั
เสียคา่ คาร้องรายกองมรดกที่ขอจดั การ

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๔๔๙

๒.๒.๓ การสัง่ คาร้องขอต้งั ผจู้ ดั การมรดก
สั่งคาร้องขอว่า “รับคาร้ องขอ ประกาศนัดไต่สวน ให้ผู้ร้ องวางเงินค่าประกาศ

หนังสือพิมพ์ภายใน . . . วนั นดั ไต่สวนวันที่ . . . เวลา . . . .น.”
ถา้ เจา้ มรดกมีทายาทมากรายท่ีน่าจะเป็ นปรปักษก์ นั เช่น มีบุตรหลายคน

เกิดจากภรรยาหลายคน ควรใช้ดุลพินิจส่งสาเนาคาร้องขอให้ทายาทเหล่าน้ันทราบทุกคน
โดยให้ผรู้ ้องทาสาเนาคาร้องขอมาเท่าจานวนทายาท และให้ผูร้ ้องแถลงที่อยขู่ องทายาทเหลา่ น้นั
ภายในเวลาท่ีกาหนด เพือ่ ส่งั ใหผ้ รู้ ้องนาส่งสาเนาคาร้องใหท้ ายาทเหลา่ น้นั ต่อไป

คาร้องขอตอ้ งมีสาระสาคญั ว่า ผูร้ ้องเป็ นทายาทผูม้ ีสิทธิรับมรดกหรือเป็ น
ผมู้ ีส่วนไดเ้ สียในกองมรดก มีเหตขุ ดั ขอ้ งในการจดั การมรดกและผรู้ ้องมีคุณสมบตั ิตามกฎหมาย
ทางไต่สวนก็ตอ้ งไดค้ วามท้งั สามประการ เวน้ แตข่ อใหผ้ อู้ ื่นเป็ นผจู้ ดั การมรดก ผอู้ ่ืนน้นั ไมต่ อ้ งมี
ส่วนไดเ้ สียในกองมรดก แต่ตอ้ งมีคุณสมบตั ิตามกฎหมาย

หลักฐานเก่ียวกับทรัพย์มรดก เช่น โฉนดทะเบียนรถยนต์ ทะเบียนอาวุธปื น
ไม่จาเป็นแก่คดีไม่ตอ้ งรับไวใ้ นสานวน

ข้อสังเกต
๑. การร้องขอให้ศาลถอดถอนผูจ้ ดั การมรดกที่ศาลมีคาสั่งต้งั ไวแ้ ลว้ การขอถอน
คาสั่งแสดงการสาบสูญ และการขอถอนคาสั่งให้เป็ นคนไร้ความสามารถหรื อเสมือน
ไร้ความสามารถน้นั ตอ้ งเสนอต่อศาลท่ีมีคาสั่งตามมาตรา ๗ (๔) ดงั น้นั ผรู้ ้องจึงตอ้ งยน่ื คาร้อง
ดงั กล่าวเขา้ ไปในคดีเดิมคือศาลช้นั ตน้ ที่ทาการพิจารณาและมี คาส่ังในเรื่องน้นั แต่แรก (ฎีกาที่
๑๔๐๗/๒๕๑๕)
๒. กรณีผูร้ ้องขอไม่มาศาลในวนั นัดไต่สวน ให้ศาลส่ังทิ้งคาร้องขอและจาหน่ายคดี
ตาม ป.ว.ิ พ. มาตรา ๑๗๔ (๒)

ตวั อย่าง เกี่ยวกบั ดุลพนิ ิจในการต้งั ผจู้ ดั การมรดก
(๑) แมศ้ าลยกคาร้องของ ค.ท่ีร้องขอให้ตนเองเป็ นผูจ้ ดั การมรดกแลว้ แต่ต่อมาผูม้ ีส่วน

ไดเ้ สียในทรัพยม์ รดกคนอ่ืนร้องขอต่อศาลให้ต้งั ค. เป็ นผจู้ ดั การมรดกก็เป็ นสิทธิท่ีจะกระทาได้
ไมข่ ดั ตอ่ ป.พ.พ. มาตรา ๑๗๑๓ และการท่ีบคุ คลใดเคยถูกศาลพพิ ากษาลงโทษมิใช่เหตุที่จะเป็น
ผจู้ ดั การมรดกไม่ไดต้ าม ป.พ.พ. ๑๗๑๘ (ฎีกาท่ี ๓๗๒/๒๕๓๙)

(๒) แมผ้ ูค้ ดั คา้ นจะเป็ นทายาทมีสิทธิรับทรัพยม์ รดกนอกพินัยกรรมของผูต้ ายคนหน่ึง
และไม่เป็ นบุคคลตอ้ งห้ามในการเป็ นผูจ้ ดั การมรดกก็ตามแต่เมื่อผูต้ ายไดท้ าพินยั กรรมแต่งต้งั

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๔๕๐

ผู้ร้องเป็ นผู้จัดการมรดก และผู้ร้องไม่เป็ นบุคคลต้องห้ามในการเป็ นผู้จัดการมรดกแล้ว
กส็ มควรใหผ้ รู้ ้องเป็นผจู้ ดั การมรดกตามเจตนาของผตู้ าย (ฎีกาท่ี ๕๑๒๐/๒๕๓๙)

(๓) ที่ดินทรัพยม์ รดกแปลงหน่ึงผูค้ ดั คา้ นมีชื่อถือกรรมสิทธ์ิรวม ท่ีผูค้ ดั คา้ นอา้ งว่าเคย
อยู่กินฉันสามีภรรยากบั ผูต้ ายน้ัน ก็มีแต่คาเบิกความลอย ๆ ของผูค้ ดั คา้ นเท่าน้ัน ผูร้ ้องเองก็
เบิกความว่าผคู้ ดั คา้ นไม่เคยมาอยกู่ บั ผูต้ ายและไม่เคยมาพกั ที่บา้ นผตู้ ายเลย จึงเป็นการยากท่ีจะ
รับฟังว่าผูค้ ดั คา้ นมีความผูกพนั กบั ผูต้ ายถึงข้นั สมควรจะเขา้ ไปร่วมดูแลจดั การทรัพยม์ รดก
ผตู้ าย อีกท้งั ไดค้ วามจากคาเบิกความของผคู้ ดั คา้ นวา่ ที่ผคู้ ดั คา้ นตอ้ งการเป็ นผจู้ ดั การมรดกของ
ผูต้ ายน้ัน ก็เพ่ือป้องกันมิให้ทรัพยส์ ินที่ผูค้ ดั คา้ นมีส่วนร่วมอยู่ดว้ ยเกิดความเสียหายจากการ
จดั การมรดกของฝ่ าย ผรู้ ้อง อนั เป็ นเจตนาท่ีมุ่งแต่ประโยชน์ส่วนตน หาใช่กระทาเพ่ือความชอบธรรม
และประโยชน์ของทายาทผูม้ ีสิทธิรับมรดกของผูต้ ายโดยตรงไม่ กรณีเช่นน้ีถา้ ผคู้ ดั คา้ นซ่ึงมิใช่
ทายาทผูม้ ีสิทธิรับมรดกของผูต้ ายมีส่วนในทรัพยม์ รดกของผูต้ ายในฐานะเจา้ ของรวมอย่างไร
ก็ชอบจะเรียกร้องเอาได้โดยไม่จาต้องมีฐานะเป็ นผู้จัดการมรดกของผูต้ ายได้อยู่แล้ว จึงให้ผูร้ ้อง
เป็นผจู้ ดั การมรดกของผตู้ ายแตเ่ พยี งผเู้ ดียว (ฎีกาที่ ๒๖๐๙/๒๕๓๗)

(๔) เจา้ มรดกมีทายาทช้นั บุตรท่ีเกิดกบั ผูร้ ้อง ๔ คน เป็ นผูเ้ ยาว์ ๓ คน ผูร้ ้องเป็ นมารดา
และอยใู่ นฐานะที่เป็ นผมู้ ีอานาจปกครองตามกฎหมาย ถือไดว้ ่าผูร้ ้องมีความสัมพนั ธ์กบั ทายาท
ส่วนใหญ่ใกลช้ ิดมากกวา่ ผูค้ ดั คา้ นซ่ึงเป็ นมารดาเจา้ มรดก ผรู้ ้องน่าจะเป็ นผรู้ ักษาประโยชน์ของ
ทายาทส่วนใหญ่ไดด้ ีกวา่ ผคู้ ดั คา้ น ท้งั ผูค้ ดั คา้ นยืนยนั ตลอดมาวา่ ทรัพยห์ ลายรายการที่ผรู้ ้องระบุ
ในบัญชีทรัพยว์ ่าเป็ นทรัพย์มรดกน้ันเป็ นของบุคคลอ่ืน เป็ นการกล่าวอ้างในลกั ษณะที่เป็ น
ปฏิปักษต์ ่อกองมรดกของเจา้ มรดก ซ่ึงถา้ ผูค้ ดั คา้ นเป็ นผจู้ ดั การมรดกร่วมดว้ ยก็จะกระทาการใน
ลกั ษณะท่ีเป็ นปฏิปักษต์ ่อกองมรดกของผูต้ ายตามท่ีแสดงไวน้ ้ัน ผูร้ ้องจึงสมควรเป็ นผูจ้ ดั การ
มรดกแต่ผ่ายเดียว แต่เพื่อมิให้เป็ นการเสียหายแก่ฝ่ ายผูค้ ดั คา้ นซ่ึงเป็ นทายาทดว้ ย ศาลฎีกา
จึงกาหนดเง่ือนไขในการต้งั ผูร้ ้องเป็ นผูจ้ ดั การมรดกไวด้ ว้ ยว่า ในกรณีที่ผูร้ ้องจะจดั การมรดก
ไปในทางจาหน่ายจ่ายโอนหรือก่อภาระติดพนั กบั ทรัพยม์ รดกท่ีมีหลกั ฐานทางทะเบียนให้แก่
บุคคลท่ีมิใช่ทายาทท่ีมีสิทธิรับมรดกโดยมิได้รับความเห็นชอบจากทายาททุกคน จะต้องขออนุญาต
จากศาลเป็นกรณีไป (ฎีกาท่ี ๑๙๔/๒๕๓๕)

๒.๓ การขอเพิกถอนมติของท่ีประชุมหรือท่ีประชุมใหญ่ของนิติบุคคล ขอเลิกนิติบุคคล
ขอต้งั หรือถอนผูช้ าระบญั ชีของนิติบุคคล การขอให้กลบั จดชื่อบริษทั คืนเขา้ สู่ทะเบียนตาม
ป.พ.พ. มาตรา ๑๒๔๖ (๖) หรือคาร้องขออ่ืนใดเก่ียวกบั นิติบคุ คล

๒.๓.๑ ศาลที่จะยนื่ คาร้องขอ ได้แก่ ศาลที่นิติบุคคลน้นั มีสานกั งานแห่งใหญอ่ ยใู่ น
เขตศาล (มาตรา ๔ เบญจ)

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๔๕๑

๒.๓.๒ การส่ังคาร้องขอ สง่ั วา่ “รับคาร้องขอ ประกาศนดั ไต่สวน ให้ผู้ร้องวางเงิน
ค่ าประกาศหนังสื อพิมพ์ ภายใน . . . วัน สาเนาให้ นายทะเบียน. . . . .และกรรมการ
ผู้มีอานาจของนิติบุคคล (หากยังไม่ได้จดทะเบียนเลิกนิติบุคคล)จะคัดค้านประการใดให้ย่ืน
เข้ามาภายในวนั เวลานัด ให้ผู้ร้องนาส่งภายใน . . . วัน นัดไต่สวนวนั ที่ . . . เวลา . . . . น.”

๒.๔ การขอให้แสดงกรรมสิทธ์ิที่ดินมีโฉนดโดยการครอบครองปรปักษ์ตาม ป.พ.พ.
มาตรา ๑๓๘๒

๒.๔.๑ ศาลที่จะยื่นคาร้องขอ ได้แก่ ศาลท่ีมูลคดีเกิดข้ึนในเขตศาล หรือศาล
ที่ผรู้ ้องมีภูมิลาเนาอยใู่ นเขตศาล (ตามมาตรา ๔ (๒))

๒.๔.๒ การสั่งคาร้องขอ สัง่ วา่ “รับคาร้องขอ ประกาศนดั ไต่สวน ให้ผู้ร้องวางเงิน
ค่าประกาศหนังสือพิมพ์ ภายใน . . . วนั สาเนาให้ผู้มชี ่ือในโฉนดหรือทายาท จะคัดค้านประการ
ใดให้ย่ืนเข้ามาภายในวันเวลานัด ให้ผู้ร้องนาส่งภายใน . . .วัน นดั ไต่สวนวันที่ . . . เวลา . . . . น.”

ในช้ันไต่สวน เพ่ือให้แน่ใจว่าที่ดินท่ีผูร้ ้องขอแสดงกรรมสิทธ์ิกับที่ดิน
แปลงที่อ้างในคาร้องขอเป็ นท่ีดินแปลงเดียวกนั หรือในกรณีเป็ นการครอบครองที่ดินเพียง
บางส่วน ควรสั่งให้เจา้ พนกั งานท่ีดินรังวดั ที่ดิน ท่ีขอแสดงกรรมสิทธ์ิ เพื่อทราบจานวนเน้ือท่ี
และตาแหน่งท่ีต้งั ของที่ดินที่ร้องขอ เสนอต่อศาลก่อนไตส่ วน โดยใหผ้ รู้ ้องเป็นผเู้ สียค่าใชจ้ ่าย

ข้อสังเกต
๑. กรณีผู้ร้องเป็ นผู้รับมรดกท่ีดินซ่ึงมีโฉนด และครอบครองท่ีดินแปลงน้ัน
ตลอดมา ดงั น้ีไม่ใช่การไดก้ รรมสิทธ์ิอสังหาริมทรัพยต์ าม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๘๒ แต่เป็ นการได้
กรรมสิทธ์ิตามมาตรา ๑๕๙๙ แลว้ ไมจ่ าเป็นที่จะร้องขอตามมาตราน้ี (ฎีกาท่ี ๓๙๗/๒๕๒๒)
๒. กรณีผูร้ ้องยื่นคาร้องฝ่ ายเดียวขอให้ศาลมีคาสั่งว่า ท่ีดินอสังหาริมทรัพยต์ กเป็ น
กรรมสิทธ์ิของผรู้ ้องตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๘๒ แลว้ น้นั ในกรณีเช่นน้ีเจา้ ของกรรมสิทธ์ิเดิมผูม้ ี
ชื่อในโฉนดที่ดินแปลงน้นั มิไดเ้ ขา้ มาเป็นคู่ความในคดีน้นั ดว้ ย ดงั น้ีเจา้ ของกรรมสิทธ์ิเดิมจึงเป็น
บุคคลภายนอกคดีดังกล่าว ย่อมมีอานาจฟ้องเป็ นคดีใหม่ขอพิสูจน์ว่าตนมีสิทธ์ิในที่ดิน
อสังหาริมทรัพยน์ ้นั ดีกวา่ ผรู้ ้อง ตาม ป.ว.ิ พ. มาตรา ๑๔๕ (๒) (ฎีกาท่ี ๗๗๙/๒๕๒๖)
๓. การได้กรรมสิทธ์ิในท่ีดินอสังหาริ มทรัพย์ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๘๒ น้ัน
ศาลจะพิพากษาหรือส่ังให้เจา้ ของเดิมผูม้ ีช่ือในโฉนดจดทะเบียนโอนกรรมสิทธ์ิท่ีดินดงั กล่าว
ให้แก่โจทก์หรือผูร้ ้องไม่ได้ โจทก์หรือผูร้ ้องจะต้องดาเนินการตามกฎกระทรวงมหาดไทย
ฉบบั ท่ี ๗ (พ.ศ. ๒๔๙๗) ซ่ึงออกตามความใน พ.ร.บ.ให้ใชป้ ระมวลกฎหมายท่ีดิน พ.ศ. ๒๔๙๗
(ฎีกาท่ี ๓๐๕๖/๒๕๑๖)

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๔๕๒

๔. การครอบครองปรปักษต์ อ้ งเป็นการครอบครองทรัพยส์ ินของผอู้ ่ืนจะครอบครอง
ปรปักษท์ รัพยส์ ินของตนเองไม่ได้ เช่นบรรยายฟ้องว่า โจทก์เป็ นเจา้ ของ กรรมสิทธ์ิที่ดินพิพาท
ใส่ช่ือจาเลยในโฉนดแทน เช่นน้ีโจทก์ไม่มีอานาจฟ้อง (ฎีกาที่ ๕๓๘/๒๕๓๖, ๑๓๕๕-๑๓๕๗/
๒๕๓๙)

๕. นิติบุคคลก็ครอบครองปรปักษ์ในทรัพยส์ ินของผูอ้ ื่นได้ (ฎีกาที่ ๒๙๕/๒๕๐๑,
๑๒๕๓/๒๔๘๑, ๙๔๔ – ๙๔๕/๒๔๙๗, ๒๓๙/๒๕๑๔)

ข้อสังเกต
กรณีนิติบุคคล ไดแ้ ก่ ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน ห้างหุ้นส่วนจากดั หรือบริษทั จากดั
เป็ นเจ้าของกรรมสิทธ์ิท่ีดินแต่นิติบุคคลถูกนายทะเบียนหุ้นส่วนบริ ษัทขีดชื่อออกจาก
ทะเบียนตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๒๗๓/๓
ถึงแม้ตามมาตราดังกล่าวซ่ึงแก้ไขใหม่จะระบุให้ “ห้างหุ้นส่วนหรือบริษัทน้ัน
ส้ินสภาพนิติบคุ คล” ซ่ึงตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๒๔๖ (๕) เดิม ระบวุ า่ “ใหเ้ ป็นอนั เลิกกนั ” แตต่ าม
คาพิพากษาศาลฎีกาที่ ๘๗๑๒/๒๕๕๕ ที่ตดั สินตามกฎหมายที่แก้ไขใหม่ ยงั คงวินิจฉัยว่า
“เป็ นผลให้นิติบุคคลเป็ นอันเลิกกัน” ดังน้ัน เม่ือยงั ไม่ได้ย่ืนคาร้องต่อศาลขอให้มีคาสั่งให้
นายทะเบียนหุน้ ส่วนบริษทั กลบั จดช่ือบริษทั ใหค้ ืนเขา้ สู่สถานะเป็ นนิติบุคคล บริษทั ไม่สามารถ
มอบอานาจใหอ้ ดีตกรรมการฟ้องคดีแทนได้ (ฎีกาที่ ๑๑๗๑๓/๒๕๕๓) และไม่สามารถดาเนินคดี
ฟ้องบริษทั ที่ถูกขีดช่ือได้ แมม้ าตรา ๑๒๔๙ จะบญั ญตั ิวา่ หา้ งหุน้ ส่วนกด็ ี บริษทั ก็ดี จะไดเ้ ลิกกนั แลว้
ก็ให้พึงถือว่ายงั คงต้งั อยตู่ ราบเท่าเวลาที่จาเป็ นเพื่อการชาระบญั ชีก็ตาม ก็เป็ นการต้งั อย่เู พ่ือการ
ชาระบญั ชีเท่าน้นั (ฎีกาที่ ๘๔๑๓/๒๕๔๔) หุน้ ส่วนผจู้ ดั การหา้ งหรือกรรมการของบริษทั ยอ่ มเขา้
เป็นผชู้ าระบญั ชี (มาตรา ๑๒๕๑ วรรคแรก) ถา้ ไม่มีผชู้ าระบญั ชี ถา้ พนกั งานอยั การหรือผูม้ ีส่วน
ไดเ้ สียร้องขอให้ศาลต้งั ผชู้ าระบญั ชี (มาตรา ๑๒๕๑ วรรคสอง) ศาลยอ่ มมีอานาจต้งั เจา้ พนกั งาน
กรมบงั คบั คดี กระทรวงยุติธรรมเป็ นผูช้ าระบญั ชีได้ (ฎีกาท่ี ๒๒๐/๒๕๒๖) ผูช้ าระบญั ชีย่อมมี
อานาจว่าต่างแก้ต่างในทางแพ่งหรืออาญาในนามนิติบุคคล (มาตรา ๑๒๔๙ (๑) ) หรือทาการ
อยา่ งอ่ืน ๆ ตามแต่จาเป็นเพ่อื ชาระบญั ชีใหเ้ สร็จไปดว้ ยดี (มาตรา๑๒๔๙(๔))
ห้างหุ้นส่วน ผูเ้ ป็ นหุ้นส่วน บริษทั ผูถ้ ือหุ้น หรือเจา้ หน้ีใด ๆ ที่ตอ้ งเสียหายอาจยื่น
คาร้องต่อศาลเพ่ือให้ส่ังจดชื่อกลบั คืนเขา้ สู่ทะเบียนก็ได้ ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๒๗๓/๔ แต่ตอ้ ง
ร้องขอภายใน ๑๐ ปี นบั แต่วนั ที่นายทะเบียนขีดช่ือ (ป.พ.พ. มาตรา ๑๒๗๓/๔ วรรคสอง)
ผู้ชาระบัญชีอาจย่ืนคาร้องต่อศาลเพื่อให้ส่ังจดชื่อนิติบุคคลเข้าสู่ทะเบียนได้ (เทียบ
ฎีกาท่ี ๓๓๐๒/๒๕๕๓)

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๔๕๓

เมื่อมีการย่ืนคาร้องขอแสดงกรรมสิทธ์ิโดยการครอบครองปรปักษท์ ่ีดินที่เป็ นกรรมสิทธ์ิ
ของนิติบุคคลที่ถูกขีดชื่อ ควรส่งสาเนาคาร้องให้แก่ผูช้ าระบญั ชี หุ้นส่วนผูจ้ ดั การห้าง หรือกรรมการ
บริษทั แล้วแต่กรณีและนายทะเบียนหุ้นส่วนบริษทั โดยระบุในหมายด้วยว่า “......หากมีข้อโต้แย้ง
หรือคัดค้านประการใด หรือจะต้องดาเนินการทางศาลเพื่อสั่งให้จดชื่อนิติบุคคลเข้าสู่ทะเบียน ให้แถลง
ให้ศาลทราบก่อนหรือในวนั นัดไต่สวน หากไม่ดาเนินการดงั กล่าว ให้ถือว่าไม่ติดใจคัดค้าน”

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๔๕๔

ส่วนท่ี ๒

การประกาศนัดไต่สวน

กรณีที่ต้องประกาศหนังสือพิมพ์ด้วย ต้องทาประกาศข้ึน ๓ ฉบับ ตามแบบประกาศของศาล
โดยย่อขอ้ ความในคาร้องขอลงในประกาศให้มีใจความท่ีเป็ นสาระสาคญั ของเรื่อง เช่นการขอให้ต้ัง
ผูจ้ ัดการมรดกต้องเป็ นทายาทหรือผู้มีส่วนได้เสีย เหตุขัดข้องและคุณสมบัติของผู้จัดการ
มรดก ประกาศฉบบั แรกส่งไปลงหนงั สือพมิ พ์ ผพู้ ิพากษาไม่ตอ้ งลงลายมือช่ือ (เจา้ หนา้ ท่ี พมิ พ์
ชื่อผูพ้ ิพากษาลงในประกาศ) ฉบบั ที่ ๒ ติดสานวนไว้ ฉบบั ที่ ๓ ปิ ดไว้ ณ ท่ีประกาศศาล สอง
ฉบบั หลงั น้ีผพู้ พิ ากษาตอ้ งลงลายมือช่ือไว้

เม่ือศาลช้ันต้นประกาศคาร้องขอและกาหนดนัดไต่สวนทางหนังสือพิมพ์โดยชอบแลว้
โดยกาหนดว่า ถา้ ผูใ้ ดจะคดั คา้ นคาร้องขอประการใด ให้ยื่นคาร้องต่อศาลก่อนกาหนดน้ี หากมี
การเลื่อนการไตส่ วนออกไป โดยที่ศาลช้นั ตน้ ยงั มิไดท้ าการไตส่ วน สิทธิในการย่นื คาร้องคดั คา้ น
ของผูม้ ีส่วนได้เสียก็ยงั คงมีอยู่ และการท่ีศาลช้ันต้นกาหนดเวลาให้แก่ผูค้ ัดค้านตามท่ีระบุ
ในหมายนดั ก็ไม่กระทบถึงสิทธิของผคู้ ดั คา้ นในอนั ที่จะยน่ื คาร้องคดั คา้ นตามกาหนดในประกาศ
คาร้องขอและกาหนดนดั ไตส่ วนของศาลช้นั ตน้ (ฎีกาที่ ๔๐๙๒/๒๕๔๓)

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๔๕๕

ส่วนที่ ๓
รายงานกระบวนพจิ ารณาเกยี่ วกบั

การไต่สวนคาร้องขอ

เมื่อศาลไต่สวนคาร้องขอเสร็จ จดรายงานกระบวนพจิ ารณาว่า
“นัดไต่สวนคาร้องขอวนั นี้ ผ้รู ้องและทนายมาศาล
ประกาศตามระเบียบแล้วไม่มผี ู้คัดค้าน
ไต่สวนพยานผู้ร้องได้ . . . .ปาก ผู้ร้องส่งพินยั กรรม ๑ ฉบับ มรณบตั ร ๑ ฉบบั
รวม ๒ ฉบบั เป็นพยาน ศาลหมาย ร.๑ และ ร.๒ ตามลาดบั รวมสานวนไว้
ผู้ร้องแถลงว่าหมดพยานผู้ร้อง (หรือติดใจไต่สวนเพียงเท่านี)้
คดเี สร็จการไต่สวน รอฟังคาสั่งวันน”ี้

กรณไี ต่สวนคาร้องขอไม่เสร็จ จดรายงานกระบวนพจิ ารณาว่า
“นดั ไต่สวนคาร้องขอวันนี้ ผ้รู ้องและทนายมาศาล
ประกาศตามระเบยี บแล้ว ไม่มีผู้คัดค้าน
ไต่สวนพยานผู้ร้องได้...ปาก ผ้รู ้องอ้างส่งเอกสารรวม ๔ ฉบับ ศาลรับไว้หมาย ร.๑ - ร.๔
เอกสารให้รวมสานวนไว้ แล้วผ้รู ้องแถลงว่า วันนเี้ ตรียมพยานมาเท่านี้ ขอเล่ือนไปไต่สวน
พยานท่ีเหลือในนัดหน้า
พิเคราะห์แล้ว เห็นสมควรให้เล่ือนคดีไปนัดไต่สวนคาร้องต่อในวนั . . . เดือน . . . พ.ศ. . .
เวลา . . . . น.
ประกาศแจ้งวนั นดั ให้ผู้เก่ียวข้องทราบท่ีหน้าศาล”

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๔๕๖

ส่วนท่ี ๔

เมื่อคดีไม่มีข้อพพิ าทกลายเป็ นคดมี ขี ้อพพิ าท

ถา้ มีผคู้ ดั คา้ น คดีกลายเป็นคดีมีขอ้ พิพาท (กรณีคดั คา้ นการขอต้งั ผจู้ ดั การมรดกถา้ ผคู้ ดั คา้ น
ขอให้ต้ังผูค้ ดั คา้ นเป็ นผูจ้ ัดการมรดก ผูค้ ดั คา้ นต้องเสียค่าข้ึนศาลดว้ ย) สั่งคาร้องคดั คา้ นว่า
“รับคาร้องคัดค้าน สาเนาให้ผู้ร้อง นดั พร้อมในวันนัดไต่สวน”

ไม่ควรเรียกผูร้ ้องวา่ โจทกแ์ ละผูค้ ดั คา้ นว่าจาเลย แต่ให้เรียกว่าผูร้ ้องและผคู้ ดั คา้ นตามเดิม
ตอ่ ไป

ผคู้ ดั คา้ นจะตอ้ งมีส่วนไดเ้ สียดว้ ย (ฎีกาท่ี ๘๔๒/๒๔๘๗, ๓๘๐/๒๕๐๙, ๒๒๔๙/ ๒๕๒๑)
ป.วิ.พ. มาตรา ๑๘๘ (๔) ท่ีว่า ถา้ มีบุคคลอ่ืนเขา้ มาเก่ียวขอ้ งกบั คดี ให้ถือว่าเป็ นคู่ความและให้
ดาเนินคดีไปตามบทบญั ญตั ิว่าดว้ ยคดีมีขอ้ พิพาทน้นั หมายความเฉพาะแต่เป็ นผทู้ ่ีจะคดั คา้ นได้
เท่าน้นั มิไดห้ มายความวา่ เม่ือมีใครคดั คา้ นเขา้ มาแลว้ จะกลายเป็นคูค่ วามท้งั หมด (ฎีกาท่ี ๘๒๒/
๒๔๙๑ ประชุมใหญ)่

เมื่อเป็ นคดีมีขอ้ พิพาท บางกรณีถือว่าเป็ นคดีมีทุนทรัพย์ เช่น การขอแสดงกรรมสิทธ์ิ
ที่ดินโดยการครอบครองปรปักษ์ มีผูค้ ดั คา้ นต่อสู้ในเร่ืองกรรมสิทธ์ิจึงเป็ นคดีมีทุนทรัพย์ ผรู้ ้อง
ตอ้ งเสียค่าข้ึนศาลตามทุนทรัพย์ (ฎีกาที่ ๑๗๐/๒๕๐๖, ๔๙๓๑/๒๕๔๑) คดีท่ีฟ้องต่อศาลจงั หวดั
หากทุนทรัพยอ์ ยู่ในอานาจศาลแขวง ศาลจังหวดั ที่รับคาร้องไวต้ อ้ งโอนคดีไปยงั ศาลแขวง
ตามพระธรรมนูญศาลยตุ ิธรรมมาตรา ๑๗, ๒๕ (๔) (ฎีกาท่ี ๑๖๗๗/๒๕๔๗, ๑๖๖๕/๒๕๔๘)

กรณีขอให้ส่ังต้งั ผูจ้ ดั การมรดก ผูค้ ดั คา้ นก็ขอให้ต้งั ผูค้ ดั คา้ นต่างคนต่างกล่าวอา้ ง ผูร้ ้อง
เป็นผเู้ ร่ิมคดี ใหผ้ รู้ ้องนาสืบก่อนและสืบแกผ้ คู้ ดั คา้ นไปดว้ ย ถา้ เห็นสมควรศาลอาจต้งั ผรู้ ้องและ
ผูค้ ดั คา้ นเป็ นผูจ้ ดั การมรดกร่วมกนั (ฎีกาท่ี ๑๐๘๖/๒๕๒๐) แต่จะประนีประนอมยอมความ
ไม่ไดเ้ พราะการร้องขอเป็ นผูจ้ ดั การมรดก ศาลจะตอ้ งไต่สวน ให้ไดค้ วามว่า ผูร้ ้องมีคุณสมบตั ิ
ตามกฎหมาย (ฎีกาท่ี ๕๐๑๒/๒๕๓๘)

คดีไมม่ ีขอ้ พพิ าทแมม้ ีผคู้ ดั คา้ น บางกรณีกไ็ มก่ ลายเป็นคดีมีขอ้ พพิ าทดงั ที่บญั ญตั ิยกเวน้ ไว้
ตามมาตรา ๑๘๘ (๔) ตอนทา้ ย

เมื่อผูร้ ้องยื่นคาร้องขอแสดงกรรมสิทธ์ิโดยการครอบครองปรปักษ์อนั เป็ นคดีไม่มีขอ้ พิพาท
เมื่อมีผคู้ ดั คา้ นข้ึนมาตาม ป.วิ.พ.มาตรา ๑๘๘(๔) ให้ดาเนินคดีไปอยา่ งคดีมีขอ้ พิพาท ผรู้ ้องจึงมี
ฐานะเป็นโจทก์ ผคู้ ดั คา้ นยอ่ มมีฐานะเป็นจาเลยจึงมีสิทธิฟ้องแยง้ ผรู้ ้องได้ (ฎีกาท่ี ๓๘๕/๒๕๔๔)

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๔๕๗

ตัวอย่างการจดรายงานกระบวนพจิ ารณาคดไี ม่มีข้อพพิ าทซ่ึง กลบั กลายเป็ นคดีมขี ้อพพิ าท
“นัดไต่สวนคาร้องขอ . . .
ผู้คัดค้านย่ืนคาคัดค้านว่า . . . ปรากฏตามคาคัดค้านลงวนั ที่ . . .
จึงให้ดาเนินคดไี ปอย่างคดมี ขี ้อพิพาท โดยให้ผู้ร้องเป็นฝ่ ายนาสืบก่อน
สืบพยานผ้รู ้องได้ . . . ปาก ระหว่างสืบพยานผ้รู ้องอ้างส่งเอกสาร ศาลหมาย ร . . .
ถึง ร . . . ให้รวมสานวน แล้วทนายผ้รู ้องแถลงติดใจสืบพยานเพยี งเท่านี้
ทนายผ้คู ัดค้านแถลงขอสืบพยานผ้คู ัดค้านนดั หน้า
ให้นัดสืบพยานผ้คู ัดค้านวนั ท่ี . . . เวลา . . . น.”
(ถา้ เป็นคดีมีทุนทรัพยต์ อ้ งสัง่ คูค่ วามใหเ้ สียค่าข้ึนศาลดว้ ย)

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๔๕๘

ส่วนท่ี ๕
แบบคาสั่งคดไี ม่มขี ้อพพิ าท

๑. คาสั่งต้ังผู้จัดการทรัพย์สินของผู้ไม่อยู่

ผรู้ ้องยน่ื คาร้องขอวา่ ผรู้ ้อง . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
ศาลประกาศนดั ไต่สวนแลว้ ไม่มีผคู้ ดั คา้ น
ทางไต่สวนไดค้ วามจากพยานหลกั ฐานของผรู้ ้องวา่ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
ไดค้ วามดงั กลา่ วมา เห็นวา่ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
เห็นสมควรอนุญาตใหผ้ รู้ ้องเป็นผจู้ ดั การทรัพยส์ ินของผไู้ ม่อยู่
จึงมีคาสง่ั ต้งั นาย/นาง. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .ผรู้ ้องเป็นผจู้ ดั การทรัพยส์ ินของ
นาย/นาง. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ผไู้ มอ่ ยู่ และอนุญาตใหน้ าย/นาง. . . . . . . . . . . . . . . . . . .
ผรู้ ้องไดร้ ับบาเหน็จโดยคิดจ่ายจากทรัพยส์ ินของผไู้ ม่อยเู่ ป็นเงิน. . . . . . . . . . . . . . . . . . บาท หรือ
ร้อยละ. . . . . . . . . . . . .ของทรัพยส์ ินขอผไู้ มอ่ ยู่

๒. คาสั่งให้เป็ นคนสาบสูญ

เหมือน ขอ้ ๑.
จึงมีคาสง่ั วา่ นาย/นาง. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . เป็นคนสาบสูญตาม ป.พ.พ. มาตรา ๖๑

ข้อสังเกต

คาส่งั ใหเ้ ป็นคนสาบสูญ และคาสั่งถอนตอ้ งส่งไปโฆษณาในราชกิจจานุเบกษา (โดยสั่ง
ในรายงานกระบวนพิจารณา)งานสารบรรณจะยอ่ คาสัง่ ลงตามแบบพมิ พศ์ าล ๔ ฉบบั มีหนงั สือ
นาส่งถึงเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ๓ ฉบบั ติดไวใ้ นสานวน ๑ ฉบบั

๓. คาส่ังต้ังผู้จดั การมรดก

๓.๑ แบบต้งั ตนเอง ไม่มีพนิ ยั กรรม
ผรู้ ้องยนื่ คาร้องขอวา่ ผรู้ ้องเป็น. . . . . . . . . . . ของนาย/นาง. . . . . . . . . . . . . . . ผตู้ าย

ซ่ึงถึงแก่กรรมโดยไมไ่ ดต้ ้งั บุคคลใดเป็นผจู้ ดั การมรดกไว้ การจดั การมรดกมีเหตุขดั ขอ้ ง ขอให้
ศาลมีคาส่งั ต้งั ผรู้ ้องเป็นผจู้ ดั การมรดกรายน้ี

ศาลประกาศนดั ไตส่ วนแลว้ ไมม่ ีผคู้ ดั คา้ น
ทางไต่สวนผรู้ ้องนาสืบฟังไดว้ า่ ผรู้ ้องเป็น. . . . . . . . . . . .

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๔๕๙

คดีไดค้ วามดงั กล่าวพิจารณาแลว้ เห็นว่า ผูร้ ้องเป็ นทายาท (หรือเป็ นผูม้ ีส่วนไดเ้ สีย
ในทรัพยม์ รดก) ของผูต้ ายมีสิทธิย่ืนคาร้องขอต้งั เป็ นผูจ้ ดั การมรดก การจัดการมรดกมีเหตุ
ขดั ขอ้ ง ผรู้ ้องไม่เป็นบุคคลตอ้ งหา้ มตามกฎหมาย เห็นสมควรต้งั ผรู้ ้องเป็นผจู้ ดั การมรดกรายน้ี

จึงมีคาสง่ั ต้งั นาย/นาง. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ผรู้ ้องเป็นผจู้ ดั การมรดก
ของ. . . . . . . . . . . ผตู้ าย ตามป.พ.พ. มาตรา ๑๗๑๓ ใหม้ ีสิทธิและหนา้ ท่ีตามกฎหมาย

๓.๒ แบบต้ังบุคคลอื่น ไม่มพี นิ ยั กรรม
เหมือนขอ้ ๗.๑ แต่เปลี่ยนขอ้ ความตอนทา้ ยของยอ่ หนา้ แรกเป็นวา่ ขอใหศ้ าลมีคาส่งั

ต้งั นาย/นาง. . . . . . . . . . . เป็นผจู้ ดั การมรดกรายน้ี
ศาลประกาศนดั ไตส่ วนแลว้ ไม่มีผคู้ ดั คา้ น
ทางไต่สวนผรู้ ้องนาสืบฟังไดว้ า่ ผรู้ ้องเป็น. . . . . . . . . . .
คดีไดค้ วามดงั กลา่ วพจิ ารณาแลว้ เห็นวา่ ผรู้ ้องเป็นทายาท (หรือเป็นผู้ มีส่วนไดเ้ สีย

ในทรัพยม์ รดก) ของผตู้ ายมีสิทธิยน่ื คาร้องขอต้งั ผจู้ ดั การมรดกได้ การจดั การมรดกมีเหตขุ ดั ขอ้ ง
และนาย/นาง. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ไม่เป็นบคุ คลตอ้ งหา้ มตามกฎหมายเห็นสมควรต้งั
นาย/นาง. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . เป็นผจู้ ดั การมรดกรายน้ี

จึงมีคาส่งั ต้งั นาย/นาง. . . . . . . . . .. . . เป็นผจู้ ดั การมรดกของ. . . . . . . . . . . . . ผตู้ าย
ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๗๑๓ ใหม้ ีสิทธิและหนา้ ที่ตามกฎหมาย

๓.๓ แบบมีพนิ ยั กรรม
ผรู้ ้องยนื่ คาร้องขอวา่ ผรู้ ้องเป็น. . . . . . . . . . . . . . . . ของผตู้ ายซ่ึงถึงแก่กรรมโดยทา

พินยั กรรมต้งั ผรู้ ้องเป็นผจู้ ดั การมรดกไว้ จึงขอใหศ้ าลมีคาสัง่ ต้งั ผรู้ ้องเป็นผจู้ ดั การมรดกรายน้ี
ศาลประกาศนดั ไต่สวนแลว้ ไมม่ ีผคู้ ดั คา้ น
ทางไต่สวนผรู้ ้องนาสืบฟังไดว้ า่ ผรู้ ้องเป็น. . . . . . . . . . .
คดีได้ความดังกล่าวพิจารณาแลว้ เห็นว่า ผูร้ ้องเป็ นทายาท (หรือผูม้ ีส่วนได้เสีย

ในทรัพยม์ รดกของผูต้ าย) มีสิทธิย่ืนคาร้องขอต้งั ผูจ้ ดั การมรดก การจดั การมรดกมีเหตุขดั ขอ้ ง
ผูร้ ้องไม่เป็ นบุคคลตอ้ งห้ามมิให้เป็ นผูจ้ ดั การมรดก ท้งั มีขอ้ กาหนดตามพินัยกรรมให้ต้งั ผูร้ ้อง
เป็นผจู้ ดั การมรดกรายน้ี

จึงมีคาส่งั ต้งั นาย/นาง. . . . . . . . . . . ผรู้ ้องเป็นผจู้ ดั การมรดกของ. . . . . . . . . . . . . . .
ผตู้ าย ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๗๑๓ ใหม้ ีสิทธิและหนา้ ท่ีตามกฎหมาย

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๔๖๐

๓.๔ แบบพนักงานอยั การเป็ นผู้ร้องขอ
ผูร้ ้องย่ืนคาร้องขอว่า นาย/นาง. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . เป็น . . . . . . . . . . . ของ

นาย/นาง. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ผตู้ ายซ่ึงถึงแก่กรรม โดยไม่ไดต้ ้งั ผใู้ ดเป็ นผจู้ ดั การมรดกไว้
การจดั การมรดกมีเหตุขดั ขอ้ ง ขอให้ศาลมีคาสั่งต้งั นาย/นาง. . . . . . . . . . . . . .เป็นผจู้ ดั การมรดก
รายน้ี

ศาลประกาศนดั ไตส่ วนแลว้ ไมม่ ีผคู้ ดั คา้ น
ทางไต่สวนผรู้ ้องนาสืบฟังไดว้ า่ นาย/นาง . . . . . . . . . . . . . . . . . . . เป็น. . . . . . . . . . .
คดีไดค้ วามดงั กล่าวพิจารณาแลว้ เห็นว่า ผูร้ ้องเป็ นพนักงานอยั การมีสิทธิย่ืนคาร้อง
ขอต้งั ผจู้ ดั การมรดกได้ การจดั การมรดกมีเหตุขดั ขอ้ ง และนาย/นาง. . . . . . . . . . . ไม่เป็ นบุคคล
ตอ้ งหา้ มตามกฎหมาย เห็นสมควรต้งั นาย/นาง. . . . . . . . . . . เป็นผจู้ ดั การมรดกรายน้ี
จึงมีคาสงั่ ต้งั นาย/นาง. . . . . . . . . . . . . เป็นผจู้ ดั การมรดกของ . . . . . . . . . . . . . ผตู้ าย
ตามป.พ.พ. มาตรา ๑๗๑๓ ใหม้ ีสิทธิและหนา้ ที่ตามกฎหมาย

๓.๕ แบบคาส่ังถอนผู้จดั การมรดก (ตามป.พ.พ. มาตรา ๑๗๒๗)
ผคู้ ดั คา้ นยน่ื คาร้องขอวา่ เม่ือวนั ท่ี . . . เดือน . . . . . พ.ศ. . . . ศาลน้ีไดม้ ีคาส่งั ต้งั นาย/

นาง. . . . . . . . . . . ผรู้ ้องเป็นผจู้ ดั การมรดกของ นาย/นาง. . . . . . . . . . เจา้ มรดก จนปัจจุบนั น้ีผรู้ ้อง
ยงั จดั การมรดกไมเ่ สร็จส้ิน ไมท่ าบญั ชีทรัพยม์ รดก ไม่ยนื่ รายการแสดงบญั ชีทรัพยส์ ินและการ
จดั การมรดกให้ผคู้ ดั คา้ นทราบ. . . . . . . . . . . ขอให้ศาลถอนผรู้ ้องจากการเป็นผจู้ ดั การมรดกของ
เจา้ มรดก และต้งั . . . . . . . . . . . เป็นผจู้ ดั การมรดกแทน

ผรู้ ้องยนื่ คาแกค้ าร้องขอของผคู้ ดั คา้ นวา่ . . . . . . . . . . . ขอใหย้ กคาร้อง
ทางไต่สวนผคู้ ดั คา้ นนาสืบวา่ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
ผรู้ ้องนาสืบวา่ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
พเิ คราะห์แลว้ ขอ้ เทจ็ จริงในเบ้ืองตน้ รับฟังยตุ ิไดว้ า่ เม่ือวนั ท่ี . . .เดือน . . . . .พ.ศ. . . .
ศาลน้ีไดม้ ีคาส่งั ต้งั ผูร้ ้องเป็นผจู้ ดั การมรดกของ. . . . . . . . . . . . . . . คดีมีปัญหาท่ีจะตอ้ งวนิ ิจฉัยว่า
กรณีมีเหตุสมควรท่ีจะถอนผรู้ ้องจากการเป็นผจู้ ดั การมรดกของ นาย/นาง. . . . . . . . . . . เจา้ มรดก
ตามที่ผคู้ ดั คา้ นร้องขอหรือไม่. . . . . . . . . . . . . . .(วินิจฉัยขอ้ เทจ็ จริง หากฟังว่าผูจ้ ดั มรดกละเลย
ไม่ทาการตามหน้าท่ี หรือเพราะเหตุอย่างอื่นท่ีสมควรก็ให้ถอนผูจ้ ดั การมรดก แต่ถา้ ฟังไม่ได้
ก็ใหย้ กคาร้อง) . . . . . . . . . . . และเมื่อผคู้ ดั คา้ นเป็นทายาท (หรือผมู้ ีส่วนไดเ้ สียในทรัพยม์ รดก
ของผตู้ าย)และผคู้ ดั คา้ นไมเ่ ป็นบคุ คลตอ้ งหา้ มตามกฎหมาย มิใหเ้ ป็นผจู้ ดั การมรดก เห็นสมควร
ต้งั ผคู้ ดั คา้ นเป็นผจู้ ดั การมรดกแทน

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๔๖๑

จึงมีคาส่งั ใหถ้ อนนาย/นาง. . . . . . . . . . . . .ผรู้ ้องออกจากการเป็นผจู้ ดั การมรดก ของ
นาย/นาง. . . . . . . . . . . เจา้ มรดก และต้งั ให้ นาย/นาง. . . . . . . . . . . ผคู้ ดั คา้ น. . . . . . . . . . . เป็น
ผูจ้ ดั การมรดกของ นาย/นาง. . . . . . . . . . . แทน ให้มีสิทธิและหน้าท่ีตามกฎหมาย ค่าฤชาธรรม
เนียมใหเ้ ป็นพบั

๔. คาส่ังให้จดช่ือบริษทั คืนสู่ทะเบยี น

เหมือนขอ้ ๑.
ศาลประกาศตามระเบียบและส่งสาเนาใหน้ ายทะเบียนแลว้ ไม่มีผคู้ ดั คา้ น
ทางไต่สวนไดค้ วามจากพยานหลกั ฐานของผรู้ ้องวา่ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
จึงมีคาสง่ั ใหน้ ายทะเบียนบริษทั กลบั จดช่ือบริษทั . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .คืนเขา้ สู่
ทะเบียนตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๒๗๓/๔

๕. คาสั่งแสดงกรรมสิทธ์ิทดี่ นิ มโี ฉนดซึ่งได้มาโดยการครอบครองปรปักษ์

เหมือน ขอ้ ๑.
จึงมีคาสง่ั วา่ ท่ีดินโฉนดเลขท่ี. . . . . . . . ตาบล. . . . . . . อาเภอ. . . . . . . . . จงั หวดั . . . . . . . . .
ตกเป็นกรรมสิทธ์ิของนาย/นาง. . . . . . . . . . . ผรู้ ้อง ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๘๒
ข้อสังเกต

เม่ือส่ังแสดงกรรมสิทธ์ิแลว้ ใหจ้ ดรายงานกระบวนพิจารณาสัง่ ใหแ้ จง้ ผลของคาสั่งตอ่ เจา้
พนกั งานท่ีดินแห่งทอ้ งท่ีซ่ึงที่ดินน้นั ต้งั อยตู่ ามประมวลกฎหมายท่ีดิน มาตรา ๖๒

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๔๖๒

หมวด ๕

ทนายความ

๑. ใบแต่งทนายความ

๑.๑ คูค่ วามหลายคนแตง่ ทนายความคนเดียวในใบแตง่ ทนายความใบเดียวกนั ไดเ้ พราะไม่มี
กฎหมายหา้ ม ถา้ คู่ความคนเดียวต้งั ทนายความหลายคนตอ้ งแยกใบแต่งทนายเป็ นรายบุคคลตาม
มาตรา ๖๐ เพราะทนายความแต่ละคนอาจขาดคุณสมบตั ิ ซ่ึงศาลไม่อนุญาตใหเ้ ป็นทนายความได้

๑.๒ ทนายความไดร้ ับมอบอานาจจากตวั ความให้ฟ้องคดีย่อมมีอานาจลงช่ือในคาฟ้อง
และในช่องผูเ้ รียงคาฟ้องได้ (ฎีกาที่ ๓๒๖๖/๒๕๒๗) แต่ไม่มีสิทธิว่าความอย่างทนายความ
(ฎีกาท่ี ๖๑๕/๒๕๒๔) เวน้ แต่จะไดแ้ ต่งต้งั ตวั เองเป็ นทนายความดว้ ย (ฎีกาท่ี ๙๓๘/๒๕๓๐,
๔๙๒๙/๒๕๔๙) จึงจะว่าความอย่างทนายความได้ หากว่าความโดยไม่มีการต้ังตัวเองเป็ น
ทนายความดว้ ยถือว่าเป็ นการดาเนินกระบวนพิจารณาท่ีผิดระเบียบ ศาลมีอานาจสั่งให้แก้ไข
โดยให้ผูร้ ับมอบอานาจทาใบแต่งทนายความต้งั ตวั เองเป็ นทนายความก่อนพิพากษาได้ (ฎีกาที่
๖๑๕/๒๕๒๔)

๑.๓ ก่อนสั่งใบแต่งทนายความให้ดูว่าทนายความลงลายมือช่ือ (ฎีกาที่๒๑๕๙/๒๕๓๐)
และตวั ความลงลายมือชื่อแลว้ หรือไม่ เพราะปรากฏว่ามีการหลงลืมไม่ลงลายมือช่ือกนั บ่อย ๆ
การตดั เอาลายมือช่ือตวั ความมาปิ ดในใบแต่งทนายความใชไ้ ม่ได้ (ฎีกาที่ ๙๒๓/๒๕๐๓) กรณี
ตวั ความพิมพล์ ายนิ้วมือตอ้ งปฏิบตั ิตาม ป.พ.พ. มาตรา ๙ วรรคสอง หากปฏิบตั ิไม่ครบถ้วน
มีผลทาให้การแต่งต้งั ทนายความบกพร่องยงั ไม่สมบูรณ์ ทนายความไม่มีอานาจลงลายมือช่ือ
ในช่องโจทก์ ทา้ ยคาฟ้องได้ ศาลตอ้ งมีคาสั่งให้ทามาใหม่หรือแก้ไขเพ่ิมเติมไดต้ าม ป.วิ.พ.
มาตรา ๑๘ วรรคสอง (ฎีกาที่ ๔๔๒๒/๒๕๔๕)

๑.๔ เม่ือตรวจใบแต่งทนายความวา่ ถูกตอ้ งแลว้ ส่งั ว่า “รวม” ตามมาตรา ๖๑ ถา้ ไม่ถูกตอ้ ง
ใหส้ ัง่ ไม่อนุญาตพร้อมกบั ใหเ้ หตุผลท่ีไม่อนุญาต

ตวั อย่าง
“ปรากฏว่าใบอนุญาตเป็ นทนายความขาดต่ออายุ ไม่อนุญาต” หรือ “ปรากฏว่าไม่ได้
ต่ออายใุ บอนุญาตเป็นทนายความในปี นี้ ไม่อนุญาต” หรือ “ปรากฏว่าถูกสภาทนายความถอน
ช่ือออกจากทะเบียนทนายความ ไม่อนุญาต” หรือ “ปรากฏว่าอย่ใู นระหว่างถูกห้ามทาการเป็ น
ทนายความ ไม่อนญุ าต” หรือ“ปรากฏว่าถกู ลบช่ือออกจากทะเบยี นทนายความแล้ว ไม่อนุญาต”

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๔๖๓

๑.๕ กรณีการแต่งต้งั ทนายความบกพร่อง เป็ นเร่ืองการแก้ไขขอ้ บกพร่องตาม ป.วิ.พ.
มาตรา ๕๖ สามารถทาได้ทุกช้ันศาล โดยโจทก์อาจยื่นคาร้องขอแก้ไขพร้อมท้ังยื่นใบแต่ง
ทนายความฉบบั ใหม่ไดก้ ่อนศาลมีคาพิพากษา (ฎีกาท่ี ๒๔๖๒/๒๕๔๗)

๑.๖ นิติบุคคลทาใบแต่งทนายความโดยผแู้ ทนนิติบุคคลเป็นผลู้ งลายมือช่ือผแู้ ต่งทนายความ
ตอ่ มาผแู้ ทนคนน้นั ตาย ก็ไมต่ อ้ งทาใบแตง่ ทนายความใหม่ (ฎีกาท่ี ๖๗๘/๒๕๑๒)

๑.๗ พนกั งานอยั การถา้ ดาเนินคดีในฐานะเป็นตวั ความตามอานาจหนา้ ที่พระราชบญั ญตั ิ
องค์กรอยั การและพนักงานอยั การ พ.ศ. ๒๕๕๓ ให้ไว้ ไม่ตอ้ งทาใบแต่งทนายความ แต่ถ้า
ว่าความในฐานะเป็ นทนายความต้องทาใบแต่งทนายความ (ฎีกาท่ี ๕๗๘๖/๒๕๓๗) เช่น
พนกั งานอยั การวา่ ความในคดีอุทลุมไม่ตอ้ งทาใบแต่งทนายความ แต่ถา้ พนกั งานอยั การวา่ ความ
แกต้ ่างให้กบั กระทรวง ทบวง กรมต่าง ๆ ตอ้ งทาใบแต่งทนายความ ถา้ ว่าความในฐานะเป็ น
ทนายความมีสิทธิไดร้ ับค่าทนายความ (ฎีกาท่ี ๑๒๕๑/๒๕๑๗) หากไม่ทาใบแต่งทนายความ
เป็นการมิไดป้ ฏิบตั ิตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๖๑ (ฎีกาที่ ๕๑๖๗/๒๕๔๘)

๒. การถอนทนายความหรือทนายความถอนตนจากการแต่งต้งั

๒.๑ ตวั ความขอถอนทนายความ ศาลส่งั อนุญาตโดยไมต่ อ้ งรอสอบถามทนายความก่อน
๒.๒ กรณีทนายความที่ตวั ความไดแ้ ต่งต้งั ไวน้ ้นั ขอถอนตวั ออกจากการเป็ นทนายความ
ศาลจะสั่งอนุญาตไดก้ ็ต่อเมื่อเป็ นที่พอใจแก่ศาลว่าทนายความผนู้ ้นั ไดแ้ จง้ ให้ตวั ความทราบแลว้
เวน้ แต่จะหาตวั ความไม่พบ (มาตรา ๖๕)

๒.๒.๑ กรณีทนายความไดแ้ จง้ เร่ืองขอถอนตนใหต้ วั ความทราบแลว้
ส่ังคาร้องดงั น้ี

“นาย (นางหรือนางสาว) . . . . . . . . .ทนายโจทก์ (จาเลย) ขอถอนตัวจากการ
เป็ นทนายโจทก์ (จาเลย) และตัวความได้ทราบคาขอถอนตนนีแ้ ล้ว (หรือทนายแถลงยืนยันว่า
ได้แจ้งให้ตัวความทราบแล้ว) อนุญาตให้นาย (นางหรือนางสาว) . . . . . . . . . . . ถอนตนจากการ
เป็นทนายโจทก์ (จาเลย) ได้”

๒.๒.๒ กรณีทนายความไม่สามารถแจง้ การขอถอนตวั ใหต้ วั ความทราบเพราะหาตวั
ไมพ่ บ สง่ั ในคาร้องหรือในรายงานกระบวนพิจารณาใหไ้ ดใ้ จความดงั น้ี

“ . . . นาย (นางหรือนางสาว) . . . ขอถอนตัวจากการเป็ นทนายโจทก์ (หรือ
จาเลย) และแถลงว่าไม่สามารถแจ้งเรื่องการถอนตวั ให้ตวั โจทก์ (จาเลย) ทราบได้เพราะหาตวั ไม่พบ

พิเคราะห์แล้วอนุญาตให้นาย (นางหรือนางสาว) . . . . . . . . . . . . . . ถอนตน
จากการเป็นทนายของโจทก์ (หรือจาเลย)

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๔๖๔

เน่ืองจากตัวโจทก์ (หรือจาเลย) ยังไม่ทราบคาขอถอนตนจากการเป็นทนาย
จึงให้ หมายส่ งสาเนาคาร้ องดังกล่าวไปให้ ตัวโจทก์ (หรื อจาเลย) และมีคาส่ังให้ ตัวโจทก์
(หรือจาเลย) รีบต้ังทนายเข้ามาใหม่ภายในวันเวลานัด และศาลจะไม่ให้เลื่อนคดีเพราะเหตุ
ท่ีโจทก์ (หรือจาเลย) ไม่มีทนายความ การส่งหมายไม่มีผู้รับโดยชอบให้ปิ ดหมายได้

ให้เลื่อนไปนดั สืบพยานโจทก์ (หรือจาเลย) ในวนั ท่ี . . . ”
ข้อสังเกต
ตราบใดที่ศาลยงั มิได้ส่ังอนุญาตให้ถอนตัว ทนายจาเลยก็ยงั มีฐานะเป็ นคู่ความอยู่
ศาลย่อมมีอานาจที่จะพิเคราะห์สั่งเก่ียวกบั การพิจารณาไดว้ ่าสมควรจะใหเ้ ลื่อนไปหรือไม่ ไม่จาเป็น
จะตอ้ งส่ังคาร้องขอถอนตวั ของทนายจาเลยก่อนเสมอไป มิฉะน้นั ก็จะกลายเป็ นว่าทนายจาเลย
สามารถบงั คบั ใหศ้ าลเล่ือนคดีไปไดท้ ้งั ที่ไม่มีเหตผุ ลสมควรตอ้ งเล่ือน (ฎีกาที่ ๒๕๕๙/๒๕๒๔)

๒.๒.๓ ถา้ ทนายความถอนตวั โดยมีเจตนาประวิงคดี ศาลสั่งไม่อนุญาตก็ไดแ้ ละ
ไมต่ อ้ งสอบถามตวั ความ (ฎีกาท่ี ๖๙๘/๒๕๓๘)

๓. การถามพยาน

กรณีคู่ความคนใดต้งั ทนายความไวห้ ลายคน ให้ทนายความคนเดียวเป็ นผูถ้ ามพยาน
เวน้ แต่ศาลจะเห็นสมควรเป็นอยา่ งอ่ืน (มาตรา ๑๑๗) หากทนายความพยายามถามซ้าซากถึงเรื่อง
ท่ีพยานเบิกความแลว้ ศาลส่งั หา้ มไม่ใหถ้ ามถึงเรื่องที่พยานตอบมาแลว้ ได้ (ฎีกาที่ ๔๔๐/๒๔๙๐)

๔. ทนายความเป็ นพยาน

ตามมาตรา ๑๑๔ ห้ามพยานมิให้เบิกความต่อหน้าพยานอื่นที่จะเบิกความภายหลงั ดงั น้ัน
ถา้ คู่ความอา้ งทนายความเป็ นพยานดว้ ย ทนายความที่เป็ นพยานจะตอ้ งเบิกความก่อนพยานอ่ืน
ท้งั หมด กรณีเช่นน้ีทนายความไมไ่ ดท้ าหนา้ ท่ีทนายความจึงไมม่ ีสิทธิสวมเส้ือครุย

ในคดีใดคู่ความอา้ งทนายความของตนเองเป็ นพยานจะขอให้ศาลออกหมายเรียกพยาน
เพ่ือให้ทนายความไดค้ ่าป่ วยการและค่าพาหนะไม่ได้ เพราะทนายความตอ้ งมาศาลเพื่อปฏิบตั ิ
หนา้ ที่ของตนในคดีน้นั อยแู่ ลว้

กรณีทนายความมีสิทธิท่ีจะไม่เบิกความตามมาตรา ๙๒ เช่น โจทกอ์ า้ งทนายความในคดีก่อน
มาเบิกความ ซ่ึงขอ้ ความท่ีทนายความเบิกความน้ันเป็ นการเอาความลบั ของลูกความมาเปิ ดเผย
โดยมิไดร้ ับอนุญาตหรือไมป่ รากฏวา่ ศาลสง่ั ใหเ้ ปิ ดเผยเป็นการผิดมรรยาททนายความ แตถ่ อ้ ยคา
เช่นน้นั ศาลรับฟังเป็นพยานได้ ส่วนจะมีน้าหนกั เพยี งใดเป็นอีกเรื่องหน่ึง (ฎีกาที่ ๕๘๗/๒๔๘๗)

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๔๖๕

๕. อานาจของทนายความ

๕.๑ คาฟ้อง คาร้องขอแกไ้ ขคาฟ้อง คาใหก้ าร ฟ้องแยง้ คาร้องและคาแถลง ทนายความ
มีอานาจลงลายมือชื่อแทนตวั ความได้ (ฎีกาที่ ๔๑๙/๒๔๙๓, ๑๙๕๙/๒๕๐๐, ๒๐๐๘/๒๕๐๐,
๓๖๙๘/๒๕๓๑)

๕.๒ ทนายความจะถอนฟ้อง ยอมความ อุทธรณ์หรือฎีกา (ฎีกาที่ ๓๓๘๑/๒๕๒๕) หรือ
ขอใหพ้ จิ ารณาคดีใหม่ (ฎีกาท่ี ๓๗๕๐/๒๕๓๓)ไมไ่ ดเ้ วน้ แต่ตวั ความจะไดร้ ะบใุ หอ้ านาจไวใ้ นใบแตง่
ทนายความ (หากยอมความโดยไม่มีอานาจเท่ากับตวั แทนทาโดยปราศจากอานาจ ไม่เป็ นโมฆะ
ตวั ความอาจใหส้ ัตยาบนั ภายหลงั ตามมาตรา ๘๒๓ ได้ (ฎีกาท่ี ๑๓๒๘/๒๔๘๐))

ถา้ ทนายความไม่มีอานาจในการอุทธรณ์ฎีกา ศาลอุทธรณ์หรือศาลฎีกาส่ังให้ทา
ใบแตง่ ทนายความใหม้ ีอานาจเช่นน้นั ไดก้ ่อนท่ีศาลช้นั ตน้ จะอ่านคาพพิ ากษาศาลอุทธรณ์หรือศาล
ฎีกา (ฎีกาที่ ๑๓๐๘/๒๕๓๕)

๕.๓ ทนายความไม่มีอานาจรับเงินจากศาล (ฎีกาที่ ๑๙๐/๒๕๓๒) หรือทรัพยส์ ินที่ศาลสั่งคืน
เวน้ แต่ไดร้ ับมอบฉันทะจากตวั ความ ค่าทนายความท่ีศาลพิพากษาให้เวลาชนะคดีเป็ นค่าฤชา
ธรรมเนียมท่ีศาลใหแ้ ก่ตวั ความไม่ใช่ใหแ้ ก่ทนายความ

๕.๔ ทนายความอาจแต่งต้งั ให้ผูอ้ ื่น เช่น เสมียนทนาย ทากิจการบางอย่างแทนตนได้
โดยยื่นใบมอบฉันทะต่อศาลทุกคร้ังตามมาตรา ๖๔ รวมท้งั มอบฉันทะให้มาย่ืนคาฟ้อง (ฎีกาท่ี
๓๒๑/๒๕๐๓ ประชุมใหญ่, ๒๒๙๕/๒๕๒๒)

๕.๕ ทนายความทราบนัดของศาลถือว่าว่าตวั ความทราบแล้ว (ฎีกาท่ี ๗๒๐/๒๕๓๔)
ทนายความมาศาล ก็ถือเทา่ กบั ตวั ความมาศาล

๕.๖ การส่งคาคู่ความหรือเอกสารให้แก่ทนายความถือวา่ ไดม้ ีการส่งโดยชอบแลว้ แต่การ
ส่งคาบงั คบั มาตรา ๒๗๒ กาหนดใหส้ ่งแก่ลกู หน้ีตามคาพพิ ากษา

อย่างไรก็ตามมีคาพิพากษาศาลฎีกาท่ี ๒๒๐/๒๕๓๐ วินิจฉัยว่า “คาว่าลูกหน้ี
ตามนัยบทมาตรา ๒๗๒ แห่งป.วิ.พ. หมายความรวมถึงทนายความของลูกหน้ีด้วย การท่ี
ทนายความจาเลยซ่ึงไดด้ าเนินกระบวนพิจารณาแทนจาเลย ลงลายมือช่ือรับทราบคาบงั คบั ในศาล
ในวนั ทาสัญญาประนีประนอมยอมความ ถือได้ว่าทนายความซ่ึงเป็ นตวั แทนได้กระทาไป
ในขอบอานาจในฐานะทนายความแทนจาเลยซ่ึงเป็นตวั การ ยอ่ มมีผลผูกพนั จาเลยและถือไดว้ ่า
จาเลยทราบคาบงั คบั ของศาลแลว้

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๔๖๖

๕.๗ ทนายความมาฟังคาพิพากษาแล้ว ศาลให้ทนายความหรือเสมียนทนายผูร้ ับมอบฉันทะ
จากทนายความลงชื่อรับทราบคาบงั คบั แลว้ ถือว่าตวั ความไดท้ ราบคาบงั คบั แลว้ (ฎีกาที่ ๒๑๘/๒๕๑๘,
๒๗๗๒/๒๕๒๔)

๕.๘ ทนายความที่ไดร้ ับแตง่ ต้งั ใหด้ าเนินคดีใดแลว้ มีอานาจดาเนินคดีในช้นั บงั คบั คดีและ
ช้นั ร้องขดั ทรัพยไ์ ดด้ ว้ ย (ฎีกาที่ ๑๒๒๕/๒๕๐๙) ขอเฉล่ียหน้ีในคดีอื่นก็ไดไ้ ม่ตอ้ งทาใบแต่ง
ทนายความเขา้ ไปในคดีน้นั อีก (ฎีกาที่ ๕๘๑/๒๕๐๖)

๕.๙ ทนายความยยุ งเส้ียมสอนให้ตวั ความหลบเล่ียงไม่รับหมายของศาลเป็ นการละเมิด
อานาจศาล (ฎีกาท่ี ๑๐๒/๒๕๐๗ ประชุมใหญ่)

๕.๑๐ ทนายความอาจขอเลื่อนคดีโดยเสนอต่อศาลดว้ ยวาจา หรือโดยยืน่ คาขอเขา้ มาก่อน
หรือในวนั นัด และแสดงเหตุผลแห่งการขอเล่ือน แต่ศาลจะอนุญาตให้เลื่อนคดีไดเ้ ฉพาะเม่ือมี
เหตุจาเป็ นอนั ไม่อาจกา้ วล่วงเสียไดแ้ ละหากไม่อนุญาตจะทาให้เสียความยุติธรรมตาม ป.วิ.พ.
มาตรา ๔๐ กรณีใดมีเหตุจาเป็ นอนั ไม่อาจกา้ วล่วงไดเ้ ป็ นดุลยพินิจของศาล (ฎีกาที่ ๓๓๘๙/๒๕๔๑,
๑๒๗๗/๒๕๔๒, ๕๔๗๔/๒๕๕๐)

๕.๑๑ ทนายความถงึ แก่ความตาย ศาลตอ้ งเลื่อนการพิจารณาไปจนกวา่ ตวั ความจะแต่งต้งั
ทนายความใหม่ตามมาตรา ๔๕ วรรคสอง

๕.๑๒ ทนายความท่ีเป็ นท้งั ผูร้ ับมอบอานาจให้เป็ นผูด้ าเนินคดีแทนตวั ความและแต่งต้งั
ตนเองเป็นทนายความ มีสิทธิไดร้ ับค่าทนายความใชแ้ ทนจากฝ่ายตรงขา้ ม (ฎีกาที่ ๑๐๑๓/๒๕๒๕)

๖. ค่าทนายความ

๖.๑ การสั่งค่าทนายความที่จะให้คู่ความอีกฝ่ ายใชแ้ ทนให้ศาลกาหนดตามท่ีศาลเห็นสมควร
ไม่เกินอตั ราข้นั สูงท่ีระบุไวใ้ นตาราง ๖ แต่ตอ้ งไม่ต่ากว่าคดีละ ๓,๐๐๐ บาท ไม่ว่าจะเป็ นคดี
มีทุนทรัพยห์ รือไม่มีทนุ ทรัพยก์ ็ตาม

หมายเหตุ
อัตราค่าทนายความตาราง ๖ มีการแก้ไขในปี ๒๕๕๑ มีผลบังคับใช้ในวันที่ ๑๑
พฤษภาคม ๒๕๕๑ แต่สาหรับคดีท่ีไดย้ ่ืนฟ้องไวก้ ่อนตอ้ งใชอ้ ตั ราค่าทนายความเดิมจนกว่า
คดีจะถึงท่ีสุด ตามมาตรา ๒๑

๖.๒ คดีที่มีการรวมสานวน การสั่งค่าทนายความตอ้ งส่ังแยกเป็ นรายสานวน สานวนละ
เท่าใด (ฎีกาท่ี ๑๓๑๐ - ๑๓๑๑/๒๕๓๘, ๘๗๕๕ - ๘๗๕๖/๒๕๓๘, ๖๒๒๓ - ๖๒๒๔/๒๕๓๙,
๔๗๓๓/๒๕๔๑)

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๔๖๗

๖.๓ อัตราค่าทนายความคดีมีทุนทรัพย์และไม่มีทุนทรัพย์ ต้องถือตามคดีท่ีมีอตั รา
ค่าทนายความสูงกว่า เช่น โจทก์ฟ้องขอให้ขบั ไล่จาเลยออกจากท่ีดินพิพาท จาเลยให้การต่อสู้
กรรมสิทธ์ิ จึงเป็ นคดีที่มีคาขอให้ปลดเปล้ืองทุกข์อันไม่อาจคานวณเป็ นราคาเงินได้และ
อาจคานวณเป็นราคาเงินไดร้ วมอยดู่ ว้ ยกนั การกาหนดค่าทนายความใชแ้ ทนให้แก่ผูช้ นะคดีใน
กรณีเช่นน้ี จึงตอ้ งถือเอาค่าทนายความในอตั ราข้นั สูงกว่าตามตาราง ๖ ทา้ ย ป.วิ.พ. เป็ นหลกั
(ฎีกาที่ ๔๙๓๖/๒๕๔๐)

๖.๔ การกาหนดค่าทนายความที่คู่ความจะตอ้ งรับผิดน้ัน ให้ศาลพิจารณาตามความยาก
ง่ายแห่งคดีเทียบดูเวลาและงานที่ทนายความตอ้ งปฏิบตั ิในการว่าคดีเรื่องน้ัน เช่น ศาลช้นั ตน้
กาหนดค่าทนายความ ๕,๐๐๐,๐๐๐ บาท เพราะเหตุคดีมีทุนทรัพยส์ ูงถึง ๕,๘๕๗ ลา้ นบาทเศษ
และใช้เวลาพิจารณาเกือบ ๗ ปี กับเม่ือเปรียบเทียบอตั ราค่าทนายความที่ศาลช้ันต้นกาหนด
กบั อตั ราที่กฎหมายกาหนดแลว้ อตั ราที่ศาลช้นั ตน้ กาหนดยงั ต่ากว่าท่ีกฎหมายให้อานาจอยูม่ าก
จึงเป็นการใชด้ ุลยพินิจท่ีชอบดว้ ยกฎหมายและเหมาะสมแก่รูปคดีแลว้ (ฎีกาท่ี ๕๔๐๐/๒๕๓๖)
ศาลช้ันต้นกาหนดค่าทนายความ ๑,๐๐๐,๐๐๐ บาทและศาลอุทธรณ์กาหนดค่าทนายความ
๕๐๐,๐๐๐ บาท เพราะคดีมีทุนทรัพย์สูงถึง ๗๓,๒๘๒,๔๐๐ บาท และเป็ นคดีที่มีขอ้ ยุ่งยาก
สลบั ซบั ซอ้ น ท้งั ตอ้ งใชเ้ วลาในการพิจารณาในศาลช้นั ตน้ นานถึง ๕ ปี เศษ หากเปรียบเทียบอตั รา
คา่ ทนายความที่ศาลช้นั ตน้ กาหนดให้ ๑,๐๐๐,๐๐๐ บาท และศาลอทุ ธรณ์กาหนด ๕๐๐,๐๐๐ บาท
กบั อตั ราท่ีกฎหมายกาหนดใหต้ ามตาราง ๖ ทา้ ย ป.วิ.พ.แลว้ อตั ราที่ศาลช้นั ตน้ และศาลอุทธรณ์
กาหนดดงั กล่าวยงั ต่ากว่าอตั ราข้นั สูงท่ีกฎหมายให้อานาจศาลช้นั ตน้ และศาลอุทธรณ์กาหนด
ได้อยู่มาก นับได้ว่าศาลล่างท้งั สองได้ใช้ดุลยพินิจกาหนดค่าทนายความเหมาะสมแก่รูปคดี
และชอบดว้ ยกฎหมายแลว้ (ฎีกาที่ ๕๐๒๓/๒๕๔๐)

๖.๕ การกาหนดค่าทนายความ คิดจากทุนทรัพยท์ ่ีโจทก์เรียกร้อง หาใช่จากจานวนที่ศาล
พิจารณาใหไ้ ม่ กรณีโจทกห์ ลายคนและทุนทรัพยแ์ ตล่ ะคนต่างกนั ตอ้ งแยกกาหนดค่าทนายความ
ใช้แทนโจทก์แต่ละคนเป็ นรายไปและกรณีจาเลยหลายคนตอ้ งรับผิดไม่เท่ากันก็ตอ้ งกาหนด
ค่าทนายความใช้แทนโจทก์แยกกันด้วย มิใช่ให้จาเลยทุกคนรับผิดร่วมกันท้ังหมด (ฎีกาท่ี
๖๖๑๗/๒๕๓๙)

อตั ราคา่ ทนายความตามตาราง ๖ (เดิม) ทา้ ย ป.วิ.พ. กาหนดอตั ราข้นั สูงในศาลช้นั ตน้
ไวว้ า่ ทนุ ทรัพยเ์ กิน ๒๕,๐๐๐ บาท อตั ราค่าทนายความในศาลช้นั ตน้ ข้นั สูงร้อยละ ๕ การกาหนด
ค่าทนายความดงั กล่าวคิดจากทุนทรัพยท์ ี่โจทก์เรียกร้อง หาใช่คิดจากจานวนที่ศาลพิพากษา
ให้ไม่ เพราะมิฉะน้ันแล้ว หากศาลพิพากษายกฟ้องจะกาหนดค่าทนายความให้ไม่ได้เลย

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๔๖๘

เม่ือทุนทรัพยต์ ามฟ้องของโจทก์ท่ี ๑ จานวน ๔๐,๐๐๐ บาท และโจทก์ท่ี ๒ จานวน ๕๒๑,๗๐๐
บาท การที่ศาลช้นั ตน้ กาหนดค่าทนายความใหจ้ าเลยท้งั สองร่วมกนั รับผดิ จานวน ๒๕,๐๐๐ บาท
จึงไม่เกินอัตราข้ันสูงท่ีกฎหมายกาหนด แต่ท่ีศาลช้ันต้นกาหนดให้จาเลยท้ังสองร่ วมกัน
ใชค้ ่าทนายความแทนโจทก์ท้งั สองรวมกนั มาโดยไม่ไดแ้ ยกว่าให้ใชแ้ ทนโจทก์คนไหนเท่าใด
และใหจ้ าเลยท่ี ๒ ร่วมใชแ้ ทนดว้ ยท้งั หมด เป็ นการไม่ถูกตอ้ ง ศาลฎีกาเห็นควรกาหนดเสียใหม่
ให้ถูกตอ้ งโดยพิพากษาแก้เป็ นว่า สาหรับค่าทนายความตามที่ศาลช้นั ตน้ กาหนดน้ัน ให้จาเลย
ท้งั สองร่วมกนั ใช้แทนโจทก์ที่ ๑ จานวน ๒,๐๐๐ บาท และให้จาเลยที่ ๑ ใช้แทนโจทก์ที่ ๒
จานวน ๒๓,๐๐๐ บาท โดยใหจ้ าเลยที่ ๒ ร่วมใชแ้ ทน ๒,๒๐๔ บาท (ฎีกาท่ี ๖๖๑๗/๒๕๓๙)

************************end of file****************************


Click to View FlipBook Version