The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

1 คู่มือปฏิบัติราชการของตุลาการ 2562 ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง เล่มที่ 1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by aram.du, 2021-10-11 00:13:32

1 คู่มือปฏิบัติราชการของตุลาการ 2562 ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง เล่มที่ 1

1 คู่มือปฏิบัติราชการของตุลาการ 2562 ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง เล่มที่ 1

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๗๓

๑.๒.๖ การเตรียมตวั ของศาลก่อนวนั ช้ีสองสถาน
การช้ีสองสถานเป็ นกระบวนพิจารณาท่ีสาคัญอย่างย่ิงข้ันตอนหน่ึง

ตามระเบียบราชการฝ่ ายตุลาการศาลยุติธรรมว่าด้วยแนวปฏิบตั ิในการนั่งพิจารณาคดีครบ
องคค์ ณะและต่อเนื่อง พ.ศ. ๒๕๔๕ ขอ้ ๘ กาหนดว่า ก่อนการประชุมคดีองค์คณะผูพ้ ิพากษา
ตอ้ งตรวจคาคู่ความให้เขา้ ใจถึงรูปคดี ขอ้ อา้ งและขอ้ เถียงของคู่ความแต่ละฝ่ าย ขอ้ กฎหมายที่
เกี่ยวขอ้ งกบั คดี ตลอดจนควรพิจารณาถึงแนวทางท่ีจะทาให้การพิจารณาคดีเสร็จไปโดยเร็ว
ดงั น้นั เพ่ือใหก้ ารช้ีสองสถานและการพจิ ารณาพพิ ากษาคดีเป็ นไปอยา่ งมีประสิทธิภาพ รอบคอบ
และรวดเร็ว สมควรท่ีศาลจะได้เตรียมตวั หรือเตรียมคดีโดยการศึกษาคาคู่ความและถอ้ ยคา
สานวน ในคดีที่รับผิดชอบให้เขา้ ใจไวโ้ ดยละเอียดต้งั แต่ก่อนวนั ช้ีสองสถาน เพื่อจะไดท้ ราบว่า
คดีมีประเด็นขอ้ พิพาทอยา่ งไร มีช่องทางท่ีจะสอบถามใหค้ ู่ความยอมรับกนั ไดอ้ ยา่ งไร ขอ้ เทจ็ จริง
ใดควรจะสอบถามคู่ความให้กระจ่างข้ึนหรือไม่ รูปคดีควรจะตอ้ งมีการทาแผนท่ีพิพาทหรือไม่
หรือให้คู่ความตรวจสอบเอกสารหรือพยานวตั ถุกนั ก่อนหรือไม่ การเตรียมคดีของศาลเช่นน้ี
จะทาให้สามารถนากระบวนพิจารณาท่ีพึงกระทาก่อนวนั ช้ีสองสถานมาใชไ้ ดอ้ ย่างเหมาะสม
อีกท้งั ยงั ช่วยให้การไกล่เกลี่ยประนีประนอมยอมความเป็ นไปอยา่ งมีประสิทธิภาพ กบั ทาให้การ
กาหนดประเด็นขอ้ พิพาทและหนา้ ที่นาสืบเป็นไปโดยถกู ตอ้ งและเป็นธรรม

๒. กระบวนพจิ ารณาทต่ี ้องกระทาและพงึ กระทาในวันชีส้ องสถาน

๒.๑ การสอบถามคู่ความ

๒.๒ การกาหนดประเด็นขอ้ พิพาท

๒.๓ การกาหนดหนา้ ท่ีนาสืบหรือภาระการพสิ ูจน์

๒.๔ การกาหนดวนั สืบพยาน

การช้ีสองสถาน คือ กระบวนพิจารณาในศาลช้นั ตน้ เพ่ือกาหนดประเด็นขอ้ พิพาทและ
หนา้ ที่นาสืบ โดยคู่ความตกลงกนั หรือศาลเป็ นผูก้ าหนดดว้ ยการตรวจคาคู่ความและฟังคาแถลง
ของคู่ความตามที่เห็นเป็นการจาเป็น ซ่ึงอาจแยกการช้ีสองสถานออกเป็น

๒.๑ การสอบถามคู่ความ
ตามมาตรา ๑๘๓ วรรคสอง บญั ญตั ิให้ศาลสอบถามคู่ความเก่ียวกับขอ้ เท็จจริง

ในขอ้ อา้ ง ขอ้ เถียง และพยานหลกั ฐานที่จะยื่นต่อศาล โดยศาลจะเป็ นผูถ้ ามเองหรือถามตามคาขอ
ของคูค่ วามฝ่ ายอื่น ถา้ คู่ความฝ่ ายที่ศาลถามไมย่ อมตอบคาถามเกี่ยวกบั ขอ้ เทจ็ จริงใด หรือปฏิเสธ
ขอ้ เท็จจริงใดโดยไม่มีเหตุผลอนั สมควร ให้ถือวา่ คู่ความฝ่ ายน้นั ยอมรับขอ้ เท็จจริงน้นั แลว้ เวน้ แต่

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๗๔

ไม่อยใู่ นวิสัยท่ีจะตอบหรือแสดงเหตุผลแห่งการปฏิเสธไดใ้ นขณะน้นั นอกจากน้ี ตามระเบียบ
ราชการฝ่ ายตุลาการศาลยุติธรรม ว่าด้วยแนวปฏิบตั ิในการนั่งพิจารณาคดีครบองค์คณะและ
ต่อเน่ือง พ.ศ. ๒๕๔๕ ขอ้ ๗ กาหนดให้คดีที่จาเลยให้การต่อสู้ ให้ศาลกาหนดนดั ช้ีสองสถานเพื่อ
กาหนดประเด็นในคดี และเพื่อท่ีจะทราบขอ้ มูลเก่ียวกบั พยานหลกั ฐานท้งั หมด ซ่ึงรวมถึงการ
กาหนดจานวนพยาน การกาหนดเวลาท่ีจะใช้ในการสืบพยาน ปัญหาข้อขัดข้องเก่ียวกับ
การนาพยานมาศาล การหาช่องทางให้คู่ความตกลงเก่ียวกบั การพิจารณาคดีโดยวิธีอื่นแทน
การสืบพยาน การหาลู่ทางไกล่เกล่ียหรือให้คู่ความประนีประนอมยอมความกนั และการให้
คูค่ วามรับขอ้ เทจ็ จริงในบางเรื่อง หรือสละประเดน็ ที่ไมส่ าคญั

ข้อสังเกต
๑. การสอบถามขอ้ เท็จจริงน้ีเป็ นการดาเนินกระบวนพิจารณา เพื่อให้การกาหนด
ประเด็นข้อพิพาทเป็ นไปโดยรวบรัดข้ึน และเป็ นการตดั ประเด็นขอ้ พิพาทท่ีฟ่ ุมเฟื อยหรือ
ไมจ่ าเป็นออกไป
๒. เมื่อศาลสอบถามขอ้ เท็จจริงจากคู่ความฝ่ ายใด คู่ความน้ันมีหน้าท่ีต้องตอบ
คาถาม หากไม่ยอมตอบหรือปฏิเสธขอ้ เท็จจริงใดโดยไม่มีเหตุผลอนั สมควร ถือว่าเป็ นการ
ยอมรับขอ้ เทจ็ จริงน้นั ไมจ่ าตอ้ งกาหนดเป็นประเด็นขอ้ พิพาท
๓. การสอบถามขอ้ เท็จจริงดังกล่าวมาน้ีเป็ นเร่ืองท่ีศาลพึงกระทาเพราะอาจตดั
ประเด็นขอ้ พิพาทไดท้ ้งั หมดหรือบางส่วน ซ่ึงจะทาใหก้ ารพิจารณาคดีง่ายข้ึนและทาให้คดีเสร็จ
ไปโดยรวดเร็ว เพราะคู่ความไมจ่ าตอ้ งนาพยานหลกั ฐานมาสืบในขอ้ เทจ็ จริงที่รับกนั แลว้ อีก
๔. การซกั ถามดงั กล่าวน้ี ศาลไม่ควรทาในลกั ษณะรวบรัดหรือทานองบีบบงั คบั
ควรใหโ้ อกาสคูค่ วามตามสมควร เพราะอาจถกู ครหาวา่ แพค้ ดีเน่ืองจากถูกศาลบีบบงั คบั
๕. การที่คู่ความแถลงหรือแถลงตอบคาถามของศาลไมอ่ าจต้งั ประเดน็ ขอ้ พพิ าทข้ึน
ใหม่ใหน้ อกเหนือจากคาฟ้องและคาใหก้ ารที่มีอยไู่ ด้(ฎีกาที่ ๘๖๒/๒๕๑๐,๖๕๒/๒๕๔๑)

๒.๒ การกาหนดประเด็นข้อพพิ าท

๒.๒.๑ การกาหนดประเดน็ ขอ้ พิพาทโดยคูค่ วามตกลงกนั
ตามมาตรา ๑๘๒ วรรคทา้ ย ถ้าคู่ความไดต้ กลงกันกะประเด็นขอ้ พิพาท

ก็อาจยื่นคาแถลงร่วมกนั ต่อศาลกาหนดประเด็นขอ้ พิพาท แลว้ ให้ศาลพิจารณาคดีไปตามน้ัน
ถ้า ศาลเห็ นว่าไม่ ถู กต้องก็ มี อ านาจสั่ งยกค าแถลงน้ ันเสี ยแล้วด าเนิ นการช้ ี สองสถานไปตาม
มาตรา ๑๘๓

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๗๕

๒.๒.๒ การกาหนดประเดน็ ขอ้ พพิ าทโดยศาลเป็นผกู้ าหนด
ตามมาตรา ๑๘๓ วรรคหน่ึง ในการช้ีสองสถานกาหนดประเด็นขอ้ พิพาท

ให้ศาลตรวจคาคู่ความและฟังคาแถลงของคู่ความตามท่ีคู่ความแถลงเอง หรือตอบคาถามของศาล
ท้งั น้ีเพื่อใหไ้ ดค้ วามชดั ในประเด็นขอ้ พพิ าท

การตรวจคาคู่ความก็คือ การตรวจคาฟ้อง คาให้การหรือคาร้องท้งั หลายท่ีย่ืน
ตอ่ ศาล เพอื่ ต้งั ประเด็นระหวา่ งคู่ความ ทางปฏิบตั ิก่อนที่ศาลจะออกช้ีสองสถานยอ่ มจะตอ้ งตรวจ
คาฟ้องและคาให้การอยูแ่ ลว้ มิฉะน้ันก็คงกาหนดประเด็นไม่ถูก แต่เพ่ือตดั ปัญหาว่าไดม้ ีการ
ช้ีสองสถานโดยชอบหรือไม่ ควรจะจดรายงานกระบวนพิจารณาไวเ้ สียให้ชัดว่าศาลไดต้ รวจ
คาคูค่ วามแลว้

การฟังคาแถลงของคู่ความ โดยปกติศาลจะตอ้ งถามใหค้ ูค่ วามตอบ คู่ความ
มกั ไม่แถลงเองเพราะคาแถลงของคู่ความท่ีแถลงเองน้ันอาจไม่ตรงตามประเด็นข้อพิพาท
ท่ีแท้จริง ดังน้ัน ถ้าคู่ความแถลงและศาลเห็นว่าไม่เก่ียวกับประเด็น แห่งคดีก็ไม่ควรจดไว้
เพราะไม่อาจกาหนดเป็นประเดน็ ขอ้ พพิ าทได้

วธิ ีการกาหนดประเด็นข้อพพิ าท
ในการกาหนดประเดน็ ขอ้ พิพาท ควรคานึงในขอ้ ตอ่ ไปน้ี
๑. ประเด็นขอ้ พิพาทเกิดจากคาฟ้อง คาให้การ๒ หากคู่ความไม่สละและ
ไม่รับกนั หรือมิใช่กรณีที่ศาลสอบถามแลว้ คู่ความไม่ยอมตอบหรือปฏิเสธขอ้ เทจ็ จริงใดโดยไม่
มีเหตผุ ลอนั สมควรแลว้ ศาลก็ตอ้ งจดลงไวเ้ ป็นประเด็นขอ้ พิพาทท้งั หมด
๒. ประเด็นขอ้ พิพาทมีท้งั ปัญหาขอ้ เทจ็ จริงและขอ้ กฎหมายตอ้ งกาหนดไว้
ให้ครบถ้วนทุกข้อ ส่วนภาระการพิสูจน์ข้อเท็จจริ งจะตกแก่ฝ่ ายใดหรื อฝ่ ายใดมีหน้าท่ี
นาพยานหลกั ฐานเขา้ สืบก่อนหรือหลงั เป็นอีกปัญหาหน่ึง
๓. ประเด็นข้อพิพาทจะต้องมีผลกระทบกระเทือนถึง ผลแห่ งคดี
ถา้ ขอ้ โตเ้ ถียงใดที่ไม่กระทบกระเทือนถึงผลแห่งคดี ศาลไม่พึงกาหนดเป็ นประเด็นขอ้ พิพาท
(ฎีกาที่ ๕๕๖/๒๕๐๑, ๒๙๔๐/๒๕๒๖, ๓๓๒๘/๒๕๓๐)
๔. ประเด็นข้อพิพาทควรกาหนดเป็ นรูปปัญหา มีข้อความส้ัน ๆ และ
ครอบคลุมปัญหาที่โตเ้ ถียงกนั และใชถ้ อ้ ยคาในกฎหมาย ส่วนการนาสืบของคู่ความก็ตอ้ งอยใู่ น

๒ คาฟ้องและคาให้การ ดังกล่าวหมายความรวมถึง คาร้องขอแก้ไขเพิ่มเติมคาฟ้องท่ีศาลอนุญาตแล้ว
ฟ้ อ ง แ ย้ง ค าร้ องสอด ค าร้ องขอแก้ไขเพ่ิ มเติ มค าให้ การท่ี ศาลอนุ ญาตแล้ว และค าให้ การแก้ฟ้ องแย้ง
ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๑(๓), (๔)

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๗๖

ประเด็นตามคาฟ้องและคาให้การดว้ ย เพราะประเด็นขอ้ พิพาทก็เกิดจากคาฟ้องและคาให้การ
นนั่ เอง

๕. ขอ้ ที่ควรระมดั ระวงั ในการกาหนดประเด็นขอ้ พิพาทอีกประการหน่ึง
ก็คือ จะตอ้ งไม่กาหนดประเด็นขอ้ พิพาทนอกเหนือไปจากคาฟ้องและคาใหก้ าร เช่นกรณีที่พพิ าท
เก่ียวกบั ที่ดินการที่จาเลยต่อสู้ว่าท่ีดินพิพาทเป็ นของจาเลยมาต้งั แต่ตน้ คดีย่อมไม่มีประเด็น
ขอ้ พิพาทในเร่ืองการแย่งการครอบครองตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๗๕ (ฎีกาท่ี ๔๙๓๖/๒๕๓๖,
๑๕๖/๒๕๓๗, ๖๓๑๓/๒๕๓๗, ๓๓๘๗/๒๕๓๘, ๖๖๙๒/๒๕๓๙, ๔๓๖/๒๕๔๔,
๒๖๑/๒๕๔๕) หรือไม่มีประเด็นในเร่ืองการครอบครองปรปักษ์ตามมาตรา ๑๓๘๒ (ฎีกาท่ี
๔๖๐๗/๒๕๔๐ ประชุมใหญ่)

๒.๓ การกาหนดหน้าทนี่ าสืบหรือภาระการพสิ ูจน์
เมื่อมีการกาหนดประเด็นขอ้ พิพาทแล้ว ก็ตอ้ งพิจารณาต่อไปว่ามีขอ้ เท็จจริงใน

ประเด็นขอ้ พพิ าทใดบา้ งที่จะตอ้ งนาสืบ หากมีกต็ อ้ งกาหนดหนา้ ที่นาสืบซ่ึงคู่ความอาจตกลงกนั
ถ้าไม่ตกลงกันศาลก็ต้องกาหนดโดยพิเคราะห์ถึงภาระการพิสูจน์ตามมาตรา ๘๔, ๘๔/๑
หากภาระการพิสูจน์ตกแก่คู่ความฝ่ ายใด ฝ่ ายน้ันก็มีหน้าที่นาสืบ และอีกฝ่ ายมีสิทธินาสืบแก้
มีขอ้ สังเกตดงั น้ี

๒.๓.๑ คู่ความมีหน้าที่นาสืบเฉพาะประเด็นข้อเท็จจริงเท่าน้ัน ส่วนประเด็น
ขอ้ กฎหมายศาลวินิจฉยั ไดเ้ องโดยไมจ่ าตอ้ งสืบพยาน

๒.๓.๒ ในคดีที่มีเฉพาะประเด็นข้อกฎหมาย ศาลก็ไม่ต้องกาหนดหน้าที่นาสืบ
แตจ่ ะสัง่ งดสืบพยาน และพิพากษาคดีไปเสียทีเดียว

๒.๓.๓ หากคู่ความท้ากันและอยู่ภายในขอบเขตแห่งการพิจารณาความ ศาลก็
ไม่ตอ้ งกาหนดหน้าที่นาสืบ เพราะการท้ากนั ก็เท่ากบั คู่ความรับกนั โดยมีเงื่อนไขบงั คบั ก่อน
เมื่อคู่ความปฏิบัติตามคาท้าเป็ นประการใด ศาลก็พิพากษาคดีไปตามท่ีคู่ความท้ากันน้ัน
โดยไมจ่ าตอ้ งวนิ ิจฉยั ตามประเด็นขอ้ พิพาท

๒.๓.๔ แมเ้ ป็นประเด็นขอ้ เท็จจริง หากกรณีตอ้ งดว้ ยบทบญั ญตั ิมาตรา ๘๔ คู่ความ
กไ็ ม่ตอ้ งนาสืบ คือ

๒.๓.๔.๑ ขอ้ เทจ็ จริงซ่ึงเป็นที่รู้กนั อยทู่ ว่ั ไป

 จากคู่มือการช้ีสองสถาน กระทรวงยตุ ิธรรม พ.ศ. ๒๕๓๑ ก่อนแยกจากศาลยตุ ิธรรมโดยมีศาสตราจารยศ์ กั ด์ิ
สนองชาติ อธิบดีผูพ้ ิพากษาศาลแพ่งเป็ นประธานกรรมการในการจดั ทา โดยปรับปรุงมาตราต่าง ๆ ให้ตรงกบั ประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ ๑ ท่ีตรวจชาระใหม่เม่ือ พ.ศ. ๒๕๓๕ พระราชบญั ญตั ิแกไ้ ขเพ่ิมเติมประมวลกฎหมาย

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๗๗

- ถ้อยคาภาษาไทย ท่ีมีความหมายธรรมดา (ฎีกาที่ ๓๒๔/๒๔๙๐)
เวน้ แต่ถอ้ ยคาท่ีมีความหมายเป็นพเิ ศษหรือรู้กนั เฉพาะหมูเ่ หล่า(ฎีกาที่ ๒๑๘/๒๔๗๘,๒๒๙๖/๒๕๑๔)

- ขนบธรรมเนียมประเพณี คือหลกั ท่ีปฏิบตั ิในทอ้ งถิ่นใดทอ้ งถ่ินหน่ึง
(ฎีกาท่ี ๑๐๔/๒๔๖๒) ประเพณีการขนส่งท่ีคู่สัญญาเขา้ ใจกนั ดีวา่ ถา้ การขนส่งเสียเวลา ผจู้ า้ งตอ้ ง
ใชค้ ่าเสียเวลาใหผ้ รู้ ับขน ใชบ้ งั คบั กนั ไดโ้ ดยไม่ตอ้ งระบุในสัญญา เป็ นการตกลงกนั โดยปริยาย
(ฎีกาที่ ๘๔๕/๒๔๙๗) เว้นแต่ประเพณี การค้าของธนาคารที่ให้เรี ยกดอกเบ้ียทบต้น
เป็ นขอ้ เท็จจริงที่ตอ้ งนาสืบ (ฎีกาท่ี ๖๙๔/๒๕๐๖)โจทก์ฟ้องเรียกดอกเบ้ียทบต้นโดยอ้างว่า
จาเลยเป็ นหน้ีโจทก์ตามบญั ชีเดินสะพดั ซ่ึงมีประเพณีการคา้ ขายให้คานวณดอกเบ้ียทบตน้ ได้
ตามบทบญั ญตั ิ ป.พ.พ. มาตรา ๖๕๕ วรรคสอง เมื่อขอ้ เท็จจริงรับกนั ว่า โจทก์จาเลยตกลงเปิ ด
บญั ชีเดินสะพดั ซ่ึงมีขอ้ ความว่าจาเลยยอมรับว่ามีประเพณีการคา้ ให้โจทก์คิดดอกเบ้ียทบตน้
ในกรณีน้ีได้ โจทกไ์ มต่ อ้ งนาสืบถึงประเพณีดงั กล่าวอีก (ฎีกาท่ี ๓๑๓๔/๒๕๒๙)

- ส่ิงธรรมดาธรรมชาติ เช่น พระจนั ทร์จะเร่ิมข้ึนในวนั ไหนเวลาใด
เป็ นหน้าท่ีศาลจะตอ้ งรู้เองเพราะเป็ นสิ่งที่เป็ นไปตามปกติวิสัยธรรมดาของโลกที่รู้กนั ทวั่ ไป
(ฎีกาที่ ๗๗๕/๒๔๙๑, ๘๒/๒๕๑๕,๖๙๑๘/๒๕๔๐) วนั เดือนปี ใดตรงกับวนั อะไร เป็ นขอ้ เท็จจริง
ซ่ึงเป็นที่รู้กนั ทว่ั ไป คู่ความไม่ตอ้ งนาสืบ(ฎีกาท่ี ๕๗๔๒/๒๕๓๘)

- กิจการความเป็ นไปของบา้ นเมือง เช่น วนั ใดเป็ นวนั หยุดราชการหรือไม่
ศาลย่อมรู้ได้เอง (ฎีกาที่ ๒๒๒๒/๒๕๑๘, ๔๖๙/๒๕๒๖, ๓๒๓๐/๒๕๓๒, ๘๘๗๔/๒๕๔๓)
ประกาศกฎอยั การศึก การเปลี่ยนแปลงคณะรัฐมนตรี ใครเป็นรัฐมนตรี ขอ้ เทจ็ จริงไดถ้ ูกนาลงใน
ราชกิจจานุเบกษา คู่ความเพยี งแต่กลา่ วอา้ งไวใ้ นคาคู่ความ หรือแถลงให้ศาลทราบวา่ ประกาศใน
เล่มใด ตอนใด โดยไม่จาตอ้ งนาสืบพยานบุคคลหรือพยานเอกสาร ประกาศกระทรวงเกษตรและ
สหกรณ์ฯกาหนดเวลาห้ามล่าสัตวป์ ่ าคุม้ ครอง ซ่ึงประกาศราชกิจจานุเบกษาแลว้ ย่อมถือไดว้ ่า
เป็ นอนั รู้แก่บุคคลทวั่ ไป โจทก์ไม่ตอ้ งสืบว่าจาเลยทราบประกาศดงั กล่าวอีก (ฎีกาที่ ๒๗๙๑/๒๕๑๖)
ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การแรงงานสัมพนั ธ์ ซ่ึงมีผลใชบ้ งั คบั อยา่ งกฎหมาย ประกาศ
ราชกิจจานุเบกษาแลว้ ถือวา่ เป็นที่ทราบกนั ทว่ั ไป ไม่ตอ้ งนาสืบพยาน (ฎีกาที่ ๗๗๙/๒๕๑๙)

- ประกาศกระแสพระบรมราชโองการใหใ้ ชส้ ญั ญาวา่ ดว้ ยการเดินรถไฟ
ระหว่างพระราชอาณาจักรสยามกับกลนั ตนั ไทรบุรี เปอร์ลิศ และสหรัฐมลายู ลงวนั ท่ี ๒๔
ธนั วาคม พ.ศ. ๒๔๖๗ ของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา้ เจา้ อยูห่ ัว รัชกาลท่ี ๖ เป็ นกฎหมาย

วิธีพิจารณาความแพ่ง (ฉบบั ท่ี ๒๓) พ.ศ. ๒๕๕๐ และเพ่ิมเติมคาพิพากษาศาลฎีกาที่เก่ียวขอ้ งกบั หัวขอ้ ต่าง ๆ จนถึงปี
๒๕๕๕

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๗๘

เมื่อไดป้ ระกาศราชกิจจานุเบกษาแลว้ ถือวา่ เป็ นที่ทราบกนั ทวั่ ไปและเป็ นขอ้ ที่ศาลรู้เอง (ฎีกาท่ี
๓๕๙/๒๕๓๐)

- แต่การท่ีอธิบดีโจทก์ จะเป็ นอธิบดีท่ีมีอานาจกระทาการแทนโจทก์
ในขณะฟ้องคดีหรือไม่ ซ่ึงจาเลยไดใ้ ห้การปฏิเสธไวโ้ ดยชัดแจง้ และศาลช้ันตน้ กาหนดเป็ น
ประเด็นขอ้ พิพาทไวแ้ ลว้ ขอ้ เท็จจริงดงั กล่าวเป็ นขอ้ เท็จจริงท่ีโจทก์จะต้องนาสืบ มิใช่เป็ น
ขอ้ เท็จจริงที่รู้กันอยู่ทั่วไป (ฎีกาที่ ๔๘๒๒/๒๕๓๓) ขอ้ เท็จจริงว่านาย อ. ยงั คงดารงตาแหน่ง
ผวู้ า่ ราชการกรุงเทพมหานครหรือไม่ เป็นขอ้ เทจ็ จริงที่โจทกก์ ลา่ วอา้ ง ไมใ่ ช่ขอ้ เทจ็ จริงซ่ึงเป็ นที่รู้
กนั ทว่ั ไป เม่ือโจทก์ไม่นาสืบ โจทก์จึงไม่มีอานาจฟ้อง (ฎีกาที่ ๒๕๔๘/๒๕๓๔) ขอ้ เทจ็ จริงที่วา่
ใครดารงตาแหน่งอธิบดีกรมอยั การในขณะเกิดเหตุ ไมใ่ ช่ขอ้ เทจ็ จริงซ่ึงเป็นท่ีรู้กนั อยทู่ ว่ั ไป

- การประกาศเปลี่ยนช่ือหน่วยราชการเป็ นขอ้ เท็จจริงที่รู้กนั อยู่ทวั่ ไป
ยอ่ มเป็นเรื่องท่ีศาลรู้เองและหยบิ ยกข้ึนวินิจฉัยได้ (ฎีกาที่ ๔๘๐๖/๒๕๔๐)

- กฎหมายและการตีความกฎหมาย เป็ นเร่ืองที่ศาลรู้ไดเ้ อง เป็ นอานาจ
ของศาลโดยเฉพาะในอนั ที่จะตีความตวั บทกฎหมายไทย (ประมวลกฎหมาย พระราชบญั ญตั ิ
พระราชกาหนด พระราชกฤษฎีกา และกฎกระทรวง) การตีความกฎหมายจึงเป็ นปัญหา
ขอ้ กฎหมาย คู่ความไม่จาต้องนาสืบ เช่น โจทก์เป็ นนิติบุคคล ตาม พ.ร.บ. ธนาคารอาคาร
สงเคราะห์ ฯ จึงไดร้ ับยกเวน้ ไม่ต้องปิ ดอากรแสตมป์ ในเอกสารตามที่กฎหมายบงั คบั ให้ปิ ด
ตาม พ.ร.ฎ ออกตามความใน ป.รัษฎากร ว่าดว้ ยการยกเวน้ รัษฎากรฯ และเป็ นสิ่งที่ศาลรู้เอง
โจทกไ์ ม่ตอ้ งนาสืบ (ฎีกาท่ี ๑๔๓๔/๒๕๔๕)

- ตามมาตรา ๖ แห่ง พ.ร.บ. การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ฯ
มีขอ้ ความกาหนดวตั ถุประสงค์การจดั ต้งั การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยฯ ซ่ึงเห็นได้
อยู่ในตวั ว่าเป็ นการแสวงหากาไรทางเศรษฐกิจ ดงั น้ี ศาลย่อมวินิจฉัยว่าจาเลยมีวตั ถุประสงค์
แสวงหากาไรทางเศรษฐกิจได้ เพราะเป็ นเรื่องการแปลขอ้ กฎหมายมิใช่ขอ้ เท็จจริง(ฎีกาท่ี ๒๕๔๑/
๒๕๓๓)

- แต่ประกาศของเจา้ พนกั งานหรือคณะกรรมการท่ีกฎหมายให้อานาจ
ในการที่จะออกประกาศในเร่ืองใดเรื่องหน่ึง เช่น ประกาศของเจา้ พนักงานตาม พ.ร.บ.ควบคุม
เครื่องอุปโภคบริโภคฯ ไมเ่ ป็นกฎหมาย เป็นเพียงขอ้ เทจ็ จริงที่ผกู้ ล่าวอา้ งตอ้ งนาสืบ

- ประกาศกระทรวงการคลัง ซ่ึงออกโดยอาศัยอานาจตาม พ.ร.บ.
ดอกเบ้ียเงินใหก้ ูย้ มื ของสถาบนั การเงิน พ.ศ. ๒๕๒๓ หาใช่ขอ้ กฎหมายอนั ถือเป็ นเรื่องท่ีศาลจะ
รับรู้เอง แต่เป็ นขอ้ เท็จจริงที่คู่ความมีหน้าที่ต้องนาสืบ เมื่อโจทก์ไม่นาสืบจึงไม่มีสิทธิคิด
ดอกเบ้ียเกิ นไปจากอัตราปกติตามกฎหมายบัญญัติไว้ (ฎีกาที่ ๖๕๐/๒๕๓๒,๕๖๗/๒๕๓๖

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๗๙

บริษทั เงินทุนหลกั ทรัพยเ์ ป็ นโจทก์, ฎีกาที่ ๓๔๗๙/๒๕๓๕ ธกส. เป็ นโจทก์, ฎีกาท่ี๗๓๐๒/
๒๕๓๘ ธอส. เป็นโจทก)์

- ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ซ่ึงกาหนดให้ธนาคารพาณิชย์
ถือปฏิบตั ิเก่ียวกบั การเรียกดอกเบ้ียหรือส่วนลดไดไ้ ม่เกินอตั ราที่กาหนดไว้ แมจ้ ะออกโดยอาศยั
อานาจตาม พ.ร.บ. การธนาคารพาณิชย์ ฯ และประกาศราชกิจจานุเบกษาแลว้ ก็มิใช่กฎหมาย
ที่ศาลจะรู้เองได้ แต่เป็ นข้อเท็จจริงที่โจทก์จะต้องนาสืบ(ฎีกาที่ ๔๓๕๑/๒๕๓๒,๓๘๓๔/
๒๕๓๕,๔๖๐/๒๕๕๐ ธนาคารเป็นโจทก)์

-โจทกเ์ ป็ นสถาบนั การเงิน(บริษทั เงินทุนหลกั ทรัพย)์ มีสิทธิคิดดอกเบ้ีย
ตามประกาศธนาคารแห่งประเทศไทยซ่ึงออกโดยอาศยั อานาจตาม พ.ร.บ. การประกอบธุรกิจ
เงินทุน ธุรกิจหลกั ทรัพยแ์ ละธุรกิจเครดิตฟองซิเอร์ พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๓๐(๒) ไม่ตกอยู่ใน
บงั คบั ตาม ป.พ.พ.มาตรา ๖๕๔ ขอ้ กฎหมายดงั กล่าวศาลรู้ไดเ้ องโดยโจทกไ์ ม่ตอ้ งนาสืบ (ฎีกาที่
๔๐๗๒/๒๕๔๕)

- สาหรับกฎหมายต่างประเทศ ถือเป็ นขอ้ เท็จจริงที่คู่ความท่ีอา้ งอิงต้อง
นาสืบ (ฎีกาท่ี ๑๒๓/๒๔๙๐) กฎหมายของประเทศสาธารณรัฐสิงคโปร์ ที่เกี่ยวกบั คดีน้ีมีอยู่
อย่างไร เป็ นหน้าท่ีของคู่ความฝ่ ายท่ีกล่าวอา้ งว่าเป็ นกรณีที่ศาลไทยตอ้ งใช้กฎหมายดงั กล่าว
นาพยานผเู้ ชี่ยวชาญของกฎหมายของประเทศน้นั มาสืบประกอบตวั บทกฎหมายที่จะใชบ้ งั คบั แก่
คดีให้เป็ นที่พอใจศาล เม่ือจาเลยท้ังสองเป็ นฝ่ ายกล่าวอ้างมิได้พิสูจน์กฎหมายน้ันให้เป็ นที่
พอใจศาล ศาลจึงตอ้ งใชก้ ฎหมายภายในของประเทศไทยมาบงั คบั แก่คดีตาม พ.ร.บ.ว่าดว้ ยการ
ขดั กนั แห่งกฎหมายฯ มาตรา ๘ (ฎีกาที่ ๓๕๓๗/๒๕๔๖)

- การที่ศาลนาลายมือช่ือในเอกสารพิพาทซ่ึงจาเลยปฏิเสธว่าไม่ใช่
ลายมือของจาเลยไปเปรียบเทียบกบั ลายมือช่ือในเอกสารฉบบั อื่นที่มีอยู่ในสานวนกบั ที่คู่ความ
อ้างเป็ นพยานในคดีน้ี เป็ นข้อเท็จจริ งที่ศาลได้รู้เห็นเองและเป็ นดุลพินิจในการรับฟัง
พยานหลกั ฐาน (ฎีกาที่ ๒๗๐/๒๕๓๘) การวินิจฉัยลายมือชื่อในเอกสารวา่ เป็ นลายมือช่ือปลอม
หรือไม่ ไม่มีกฎหมายบงั คบั ว่าศาลต้องฟังขอ้ พิสูจน์จากผูเ้ ชี่ยวชาญแต่อย่างใด และส่ิงใดท่ี
บุคคลธรรมดาอาจตรวจเห็นไดแ้ ลว้ ศาลกย็ อ่ มตรวจเห็นเองได้ ศาลจึงมีอานาจตรวจสอบ ลายมือ
ช่ือของจาเลยในเอกสารหลายฉบบั ในสานวนเปรียบเทียบกนั เพ่ือวินิจฉัยว่าลายมือช่ือผูก้ ู้ใน
หนงั สือสัญญากูย้ มื ไมใ่ ช่ลายมือชื่อของจาเลยได้ (ฎีกาท่ี ๓๙๙๓ - ๓๙๙๔/๒๕๕๑)

- การกระทาความผิดใดจะเป็ นภัยร้ายแรงต่อสังคมส่วนรวมหรือไม่
เป็ นขอ้ เท็จจริงที่รู้กนั อยู่ทวั่ ไปโดยโจทก์มิตอ้ งนาสืบ ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๘๔(๑) ประกอบดว้ ย

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๘๐

ป.วิ.อ. มาตรา ๑๕ และสภาพความผิดดงั กล่าวศาลอาจหยิบยกข้ึนวินิจฉัยประกอบการพิจารณา
ลงโทษจาเลยได้ (ฎีกาที่ ๔๖๓๖/๒๕๔๓)

๒.๓.๔.๒ขอ้ เทจ็ จริงซ่ึงไม่อาจโตแ้ ยง้ ได้ หมายถึง กรณีท่ีมีบทบญั ญตั ิแห่ง
กฎหมายลายลกั ษณ์อกั ษรบทใดบทหน่ึงบญั ญตั ิถึงขอ้ เท็จจริงใดไวเ้ ป็ นการเด็ดขาด ไม่ว่าจะ
บญั ญตั ิในลกั ษณะเป็ นขอ้ สันนิษฐานเด็ดขาดหรือบทกฎหมายปิ ดปากเด็ดขาดก็ตาม ให้ถือว่า
ขอ้ เท็จจริงน้นั เป็ นขอ้ เทจ็ จริงซ่ึงไม่อาจโตแ้ ยง้ ได้ โดยผลของกฎหมายคู่ความโตแ้ ยง้ เป็ นอย่างอื่น
และขอนาสืบพยานหลกั ฐานเป็ นอยา่ งอื่นไม่ได้ ศาลก็จะวินิจฉัยเป็ นอย่างอ่ืนไม่ได้ เช่น ตาม
ป.วิ.อ. มาตรา ๔๖ บญั ญตั ิวา่ “ในการพิจารณาคดีส่วนแพ่ง ศาลจาต้องถือข้อเทจ็ จริงตามที่ปรากฏ
ในคาพิพากษาคดีส่ วนอาญา” จากบทบญั ญัติดังกล่าวถือว่าเป็ นขอ้ สันนิษฐานเด็ดขาดเป็ น
ขอ้ เทจ็ จริงท่ีคูค่ วามไมอ่ าจโตแ้ ยง้ ได้

- คาพิพากษาที่ผูกพนั คู่ความตามมาตรา ๑๔๕ เช่น เม่ือโจทก์
ตอ้ งถูกผูกพนั ตามคาพิพากษาในคดีก่อนโดยผลของกฎหมายว่าจาเลยที่ ๑ ไม่ไดข้ บั รถยนต์
กระทาละเมิดต่อโจทก์ เท่ากบั จาเลยที่ ๑ รวมท้งั จาเลยอ่ืนซ่ึงเป็ นนายจา้ งและผูร้ ับประกนั ภยั
รถยนตท์ ่ีจาเลยที่ ๑ ขบั ไม่ไดโ้ ตแ้ ยง้ สิทธิสิทธิของโจทก์ตามมาตรา ๕๕ ดว้ ย ศาลก็ชอบยกข้ึน
วินิจฉัยพิพากษายกฟ้องตาม มาตรา ๑๔๒(๕)ได้ (ฎีกาท่ี ๑๔๘๕/๒๕๒๗,๖๓๘๒/๒๕๓๗, ๒๘๕๑/
๒๕๔๑, ๓๐๔๘/๒๕๔๕)

- ขอ้ เท็จจริงในคดีแพ่งเกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา ซ่ึงต้องถือตาม
ขอ้ เทจ็ จริงในคาพิพากษาคดีส่วนอาญาตาม ป.ว.ิ อ. มาตรา ๔๖ (ฎีกาที่ ๔๔๒๒/๒๕๓๖, ๒๖๕๙/
๒๕๓๙)

- คาวินิ จฉัยของศาล รัฐธรรมนูญ ตามรัฐธรรมนู ญแห่ ง
ราชอาณาจกั รไทย พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๒๑๑ เกี่ยวกับกฎหมาย กฎ ขอ้ บงั คบั ตามมาตรา ๖
ท่ีขดั แยง้ กบั รัฐธรรมนูญ มาตรา ๒๑๑ วรรคสาม บญั ญตั ิว่า “คาวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญให้
ใช้ได้ในคดที ั้งปวง แต่ไม่กระทบกระเทือนถึงคาพิพากษาของศาลอันถึงที่สุดแล้ว” 

มาตรา ๒๑๖ วรรคห้า บญั ญตั ิว่า “คาวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ
ใหเ้ ป็นเดด็ ขาด มีผลผกู พนั รัฐสภา คณะรัฐมนตรี ศาล และองคก์ รอื่นของรัฐ”

 มาตรา ๒๑๑ วรรคสาม และมาตรา ๒๑๖ วรรคหา้ (เดิม) บญั ญตั ิอยใู่ นรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พ.ศ.
๒๕๔๐ มาตรา ๒๖๔ วรรคสาม และมาตรา ๒๖๘ ท่ีต่อมาถูกยกเลิกโดยประกาศคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั ริยท์ รงเป็ นประมุข (คปค.) เมื่อวนั ที่ ๑๙ กันยายน ๒๕๔๙ ต่อมาได้บัญญัติไวใ้ น
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พ.ศ. ๒๕๕๐ และสิ้นสุดลงโดยประกาศคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ฉบบั ท่ี ๑๑/
๒๕๕๗ ลงวนั ที่ ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๕๗

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๘๑

ตวั อย่าง
พ.ร.ก. บริษทั บริหารสินทรัพย์ พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๙การโอนสินทรัพย์จาก
สถาบนั การเงินไปยงั บริษทั บริหารสินทรัพย์ . . . ไม่ขดั หรือแยง้ ต่อรัฐธรรมนูญ (คาวินิจฉยั ที่ ๔๐/
๒๕๔๕ วินิจฉยั ตามรัฐธรรมนูญ พ.ศ. ๒๕๔๐)
พ.ร.บ. การธนาคารพาณิชย์ พ.ศ. ๒๕๐๕ มาตรา ๑๔ ที่ว่า ธนาคารแห่ง
ประเทศไทยมีอานาจกาหนดให้ธนาคารพาณิชย์ปฏิบัติในเรื่องดังต่อไปน้ี…(๒) ดอกเบ้ีย
หรือส่วนลดท่ีธนาคารพาณิชยอ์ าจเรียกได้ ไม่ขดั หรือแยง้ ต่อรัฐธรรมนูญ มาตรา ๔, ๕, ๒๖,
๒๗, ๒๘ วรรคสอง, ๒๙, ๕๐, ๕๗, ๖๐, และมาตรา ๘๗ (คาวินิจฉัยที่ ๗/๒๕๔๓, ๑๓/๒๕๔๕,
๔๕/๒๕๔๕, ๔๖/๒๕๔๕ ตามรัฐธรรมนูญ พ.ศ. ๒๕๔๐)
พ.ร.บ. การประกอบธุรกิจเงินทุน ธุรกิจหลักทรัพย์และธุรกิจเครดิต
ฟองซิเอร์ พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๓๐ ท่ีว่า ธนาคารแห่งประเทศไทยด้วยความเห็นชอบของ
รัฐมนตรี มีอานาจกาหนดให้บริษัทเงินทุนปฏิบัติในเร่ืองดอกเบ้ียหรือส่วนลด ค่าบริการ
ผลประโยชน์ และหลกั ประกนั ต้งั แต่ (๑) ถึง (๕) ไม่ขดั หรือแยง้ ต่อรัฐธรรมนูญ มาตรา ๓๐,
๕๐, ๕๗, และ ๘๗ (คาวินิจฉยั ท่ี ๗/๒๕๔๕, ๔๗/๒๕๔๕)
การใช้อานาจของ กกต. เก่ียวกับการสืบสวนสอบสวนหาข้อเท็จจริง
และวินิจฉยั ช้ีขาดปัญหาหรือขอ้ โตแ้ ยง้ ท่ีเกิดข้ึนตามรัฐธรรมนูญ มาตรา ๑๔๔ วรรคสอง, ๑๔๕
วรรคหน่ึง เป็ นลกั ษณะการใชอ้ านาจหน้าที่ตามรัฐธรรมนูญอนั มีผลให้การวินิจฉัยช้ีขาดของ
กกต. ถือเป็ นยุติ มิใช่เป็ นการใชอ้ านาจทางบริหารหรือทางปกครอง จึงไม่อยูใ่ นเขตอานาจของ
ศาลปกครอง (คาวนิ ิจฉยั ที่ ๕๒/๒๕๔๖)
๒.๓.๔.๓ ขอ้ เทจ็ จริงซ่ึงคู่ความอีกฝ่ ายไดร้ ับแลว้ (หรือถือวา่ รับกนั แลว้ )ในศาล

โจทก์ฟ้องว่า โจทก์เช่าตึกแถวจากจาเลยโดยโจทก์ชาระค่าเช่า
ล่วงหนา้ ต่อมาโจทกบ์ อกเลิกสัญญาเช่าและขอรับเงินค่าเช่าล่วงหนา้ คืนจากจาเลย จาเลยใหก้ าร
ว่าโจทก์บอกเลิกสัญญาเช่าก่อนครบกาหนดจึงไม่ตอ้ งคืนค่าเช่าล่วงหนา้ วนั นัดช้ีสองสถาน ศาลจด
รายงานกระบวนพิจารณาว่า โจทก์ย่ืนตน้ ฉบบั เอกสาร ๔ ฉบบั ศาลหมาย จ.๑ ถึง จ.๔ และ
ไดส้ อบถามทนายจาเลยถึงคาใหก้ ารแลว้ ทนายจาเลยแถลงวา่ จาเลยไดท้ าสัญญาเช่าตามเอกสาร
หมาย จ.๑ และจาเลยลงลายมือชื่อส่งมอบตึกที่เช่าคืนและเลิกสัญญาเช่าตามเอกสารหมาย จ.๒จริง
ขอ้ เทจ็ จริงยอ่ มฟังไดว้ า่ จาเลยไดใ้ หโ้ จทกเ์ ช่าตึกแถว และโจทกไ์ ดบ้ อกเลิกสัญญาเช่าโดยส่งมอบ
ตึกแถวที่เช่าคืนใหแ้ ก่จาเลยเป็นที่เรียบร้อยตามฟ้องโจทกจ์ ริง (ฎีกาที่ ๗๖๐/๒๕๓๙)

 คู่มือการช้ีสองสถาน โดยศาสตราจารยศ์ กั ด์ิ สนองชาติ

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๘๒

- ก่อนวนั สืบพยานจาเลยที่ ๑ ขาดนดั ย่นื คาใหก้ าร ทนายโจทกแ์ ละ
ทนายจาเลยท่ี ๒ และที่ ๓ มาศาลร่วมกันแถลงคดีตกลงกันไดเ้ กือบเสร็จส้ินขอเลื่อนคดีเพื่อ
ทายอม และฝ่ ายจาเลยท่ี ๒ และท่ี ๓ ยินดีสละขอ้ ต่อสู้ตามคาให้การท้งั หมด คงเหลือประเด็น
ค่าเสียหาย หากนดั หนา้ ทายอมไม่ไดก้ ็ติดใจสู้ประเด็นน้ีเพยี งประเดน็ เดียว ศาลช้นั ตน้ จดรายงาน
กระบวนพิจารณาไว้อ่านให้คู่ความฟังและลงช่ือไว้ รายงานกระบวนพิจารณาดังกล่าว
เป็ นพยานหลกั ฐานเบ้ืองตน้ ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๔๙ และคาแถลงของทนายจาเลยท่ี ๒ และท่ี ๓
ถือไดว้ ่าเป็ นขอ้ ตกลงในการสละสิทธิในขอ้ ต่อสู้ตามคาให้การของตนท้งั หมดในประเด็นอ่ืน
รวมท้งั ประเด็นที่ว่าจาเลยท่ี ๑ เป็ นลูกจา้ งในทางการที่จา้ งของจาเลยท่ี ๒ ดว้ ย และกรณีย่อมถือ
ไดว้ า่ จาเลยท่ี ๒ และที่ ๓ ไดย้ อมรับขอ้ เทจ็ จริงตามคาฟ้องของโจทกแ์ ลว้ วา่ จาเลยที่ ๑ เป็นลกู จา้ ง
ในทางการที่จา้ งของจาเลยที่ ๒ จริง โจทกไ์ มต่ อ้ งนาสืบขอ้ เทจ็ จริงในประเด็นน้ีอีกต่อไป (ฎีกาที่
๙๘๗/๒๕๔๑)

- คาใหก้ ารรับ คาใหก้ ารท่ีไม่กล่าวถึงในขอ้ ใดท่ีโจทกก์ ล่าวอา้ ง
ย่อมถือว่ารับแลว้ โจทก์ไม่ตอ้ งนาสืบ (ฎีกาท่ี ๒๑๘/๒๔๘๘)การปฏิเสธฟ้องของโจทก์ไม่ว่า
ปฏิเสธท้งั ส้ินหรือบางส่วนจาเลยตอ้ งให้เหตุแห่งการปฏิเสธไว้ เท่ากบั จาเลยจะตอ้ งกล่าวอา้ ง
ขอ้ เท็จจริงไวใ้ นคาให้การเพื่อต้งั เป็ นประเด็นขอ้ พิพาท มิฉะน้ันจาเลยจะไม่มีประเด็นอะไร
ให้นาสืบตามหนา้ ท่ีของจาเลยได้ จาเลยท้งั สองให้การปฏิเสธว่าโจทก์ไม่ใช่ผูท้ รงเช็คโดยชอบ
ด้วยกฎหมาย แต่ไม่ได้ให้เหตุแห่งการปฏิเสธ อีกท้งั ไม่ได้ให้การปฏิเสธฟ้องว่าจาเลยที่ ๑
ไม่ไดอ้ อกเช็ค จาเลยท่ี ๒ ไม่ไดส้ ลกั หลงั เช็ค และธนาคารผูจ้ ่ายไม่ไดป้ ฏิเสธการจ่ายเงินตามเช็ค
ตอ้ งถือว่าจาเลย ท้งั สองยอมรับว่า จาเลยท่ี ๑ ออกเช็ค จาเลยท่ี ๒ สลกั หลงั เช็คเพื่อชาระหน้ีแก่
โจทก์ และธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงินตามเช็ค ไม่จาตอ้ งให้คู่ความนาสืบขอ้ เท็จจริงอ่ืนใดอีก
(ฎีกาที่ ๒๖๔๗/๒๕๓๕) จาเลยมิไดใ้ ห้การปฏิเสธฟ้องโจทก์ท่ีแกไ้ ขเพิ่มเติมใหม่ ถือว่าจาเลยรับ
ขอ้ เทจ็ จริงน้นั แลว้ (ฎีกาที่ ๑๓๑๐/๒๕๒๐) โจทกท์ ้งั สองฟ้องเรียกที่ดินพิพาทคืนจากจาเลยท่ี ๒ และ
ที่ ๓ จาเลยที่ ๒ และที่ ๓ ใหก้ ารต่อสูค้ ดีวา่ ที่ดินพิพาทเป็นของจาเลยท่ี ๒ และท่ี ๓ โดยซ้ือมาจาก
จาเลยที่ ๑ โดยสุจริตและเสียค่าตอบแทน ตามคาให้การดงั กล่าวเป็ นการกล่าวอา้ งว่าจาเลยที่ ๒
และที่ ๓ มีสิทธิครอบครองในที่ดินพิพาทมาแต่ตน้ จึงไม่ก่อให้เกิดประเด็นขอ้ พิพาทเรื่องแยง่
การครอบครองท่ีจะต้องวินิจฉัยเพราะการแย่งการครอบครองตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๗๕
จะเกิดข้ึนไดก้ ็แต่เฉพาะในท่ีดินของผอู้ ื่นมิใช่เป็นท่ีดินของตนเอง (ฎีกาที่ ๔๕๔/๒๕๕๓, ๓๑๘๗/
๒๕๕๓, ๔๖๕๙/๒๕๕๔)

- คาให้การท่ีไม่ชัดแจ้ง ไม่เป็ นการเจาะจงว่าจะปฏิเสธข้อใดหรือ
คลุมเครือ ไม่แน่นอน เช่น “นอกจากที่จาเลยจะให้ การต่อไปนี้ขอให้ ถือว่าปฏิเสธฟ้อง”

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๘๓

เมื่อจาเลยมิไดใ้ หก้ ารถึงฟ้องขอ้ ใดไว้ จึงถือไม่ไดว้ ่าจาเลยปฏิเสธ โจทก์ไม่ตอ้ งนาสืบฟ้องขอ้ น้นั
(ฎีกาที่ ๑๑๙๖/๒๕๑๑) หรือ “จาเลยไม่ทราบ ไม่รับรอง” โดยไม่ไดแ้ สดงเหตุแห่งการปฏิเสธ
ไม่เป็ นประเด็นที่โจทก์จะตอ้ งนาสืบ (ฎีกาท่ี ๑๙๒๘ - ๑๙๓๑/๒๕๒๘, ๑๖๗๖/๒๕๒๙) หรือ
ให้การว่าจะได้ลงช่ือเป็ นผูค้ ้าประกันหรือเปล่า “จาไม่ได้” สัญญากู้และสัญญาค้าประกัน
ทา้ ยฟ้องจาเลย “ไม่รับรองและไม่ยืนยนั ” ถือวา่ มิไดใ้ หก้ ารรับหรือปฏิเสธ จาเลยจึงไม่มีขอ้ ต่อสู้
และประเด็นที่จะนาสืบ (ฎีกาที่ ๕๖๓/๒๕๑๓)

- คาใหก้ ารท่ีขดั กนั เอง คือจาเลยจะตอ้ งยนื ยนั ไปทางใดทางหน่ึง
เพียงทางเดียว เช่น โจทก์ฟ้องเรียกเงินค่าแชร์เปี ยหวยจากจาเลย จาเลยให้การว่ามิไดเ้ ล่นแชร์
กับโจทก์ ถ้าหากปรากฏว่าจาเลยเล่นแชร์กับโจทก์ จาเลยก็ไดจ้ ่ายเงินให้โจทก์ไปหมดแล้ว
ดงั น้ี เป็ นคาให้การท่ีขดั กนั เม่ือจาเลยมิไดแ้ ถลงต่อศาลว่าจะสืบแต่เฉพาะทางใดทางหน่ึงแน่
หากสืบท้งั สองทางไม่มีประโยชน์ท่ีจะให้จาเลยนาสืบ (ฎีกาท่ี ๗๒/๒๕๐๕) แต่โจทก์จะตอ้ งมี
หนา้ ท่ีนาสืบต่อไปหรือไม่ จะตอ้ งดูจากคาใหก้ ารที่ขดั กนั เองน้นั วา่ เป็ นคาให้การรับหรือปฏิเสธ
ฟ้องโจทก์ (ฎีกาที่ ๖๐๙/๒๕๓๐) จาเลยให้การตอนแรกวา่ จาเลยทาสัญญากูเ้ งินโจทกจ์ ริงแต่ทาข้ึน
เพื่อเป็ นประกนั การท่ีโจทก์ให้จาเลยเป็ นตวั แทนนาเงินไปให้ผูอ้ ื่นกู้ จาเลยไม่ไดร้ ับเงินตาม
สัญญากู้ เป็นการปฏิเสธวา่ มิไดก้ เู้ งินจากโจทก์ แต่คาใหก้ ารตอนหลงั จาเลยให้การวา่ หากฟังวา่
จาเลยกู้เงินโจทก์จริง จาเลยได้ชาระเงินแก่โจทก์แล้ว เป็ นการรับว่าจาเลยกู้เงินโจทก์จริง
คาใหก้ ารของจาเลยจึงขดั แยง้ กนั จาเลยมิไดป้ ฏิเสธขอ้ อา้ งของโจทกโ์ ดยชดั แจง้ วา่ จาเลยไม่ไดท้ า
สัญญากูเ้ งินโจทก์ จึงเป็ นคาใหก้ ารท่ีไม่ชอบ ถือวา่ จาเลยไดย้ อมรับตามขอ้ อา้ งของโจทก์ (ฎีกาที่
๒๖๓๑/๒๕๓๖) จาเลยท้ังสามอ้างว่าสัญญากู้และสัญญาค้าประกันท่ีโจทก์นามาฟ้องเป็ น
สัญญาปลอม โดยไม่อา้ งเหตุว่าปลอมอยา่ งไร เป็ นคาให้การท่ีมิไดใ้ ห้เหตุผลแห่งการปฏิเสธโดยชดั แจง้
ไม่ชอบดว้ ย ป.วิ.พ. มาตรา ๑๗๗ วรรคสอง จาเลยท้งั สามไม่มีสิทธินาพยานหลกั ฐานเขา้ สืบตาม
ขอ้ ต่อสู้ (ฎีกาท่ี ๓๔๖๔/๒๕๓๗)หรือไม่มีประเด็นที่จะต้องนาสืบ(ฎีกาที่ ๕๙๓๒/๒๕๓๘)
โจทกฟ์ ้องวา่ ศ. ทาสัญญากูย้ ืมเงินจากโจทก์ ๓๐๐,๐๐๐ บาท ศ.รับเงินไปครบถว้ นแลว้ ไมช่ าระหน้ี
จาเลยซ่ึงเป็นทายาทของ ศ. ใหก้ ารวา่ ศ. ไมเ่ คยทาสญั ญากยู้ มื เงินและรับเงินไปจากโจทก์ สญั ญา
กูย้ มื เงินตามฟ้องเป็ นเอกสารปลอม หากฟังไดว้ า่ ศ. ทาสัญญากยู้ มื เงินกไ็ ม่อาจนามาเป็ นมูลฟ้อง
จาเลยไดเ้ พราะ ศ. ถูกข่มขู่บงั คบั ให้ทาสัญญากูย้ ืมเงินโดยปราศจากมูลหน้ี คาให้การดงั กล่าวตอนแรก
ปฏิเสธว่า ศ. ไม่ได้ทาสัญญา แต่ตอนหลังกลบั ให้การว่า ศ. ทาสัญญาเพราะถูกข่มขู่บงั คบั
จึงเป็นคาใหก้ ารที่ขดั แยง้ กนั ไมแ่ น่นอนวา่ ศ.ทาสญั ญากูยมื เงินหรือไม่ ถือไมไ่ ดว้ า่ เป็นคาใหก้ าร
ที่ชัดแจ้ง ไม่ชอบด้วย ป.วิ.พ. มาตรา ๑๗๗ วรรคสอง จึงไม่มีประเด็นนาสืบตามข้อต่อสู้
แต่คาให้การดังกล่าวเป็ นท่ีเข้าใจได้ว่าจาเลยให้การปฏิเสธฟ้องโจทก์ คดีจึงยังไม่มีประเด็น

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๘๔

ขอ้ พิพาทโจทก์ตอ้ งนาสืบให้ไดค้ วามตามฟ้องจึงจะชนะ (ฎีกาท่ี ๗๗๑๔/๒๕๔๗,๑๐๖๖๒/๒๕๕๑,
๕๘๘/๒๕๕๓, ๑๐๖๙/๒๕๕๔)

ข้อสังเกต
คาพิพากษาศาลฎีกาที่ ๖๙๔๙/๒๕๔๑ จาเลยให้การตอนแรกว่าจาเลย
ไม่เคยกูเ้ งินและรับเงินจากโจทก์ สัญญากูเ้ ป็ นเอกสารปลอม ลายมือช่ือช่องผูก้ ูม้ ิใช่ลายมือช่ือ
ของจาเลย โจทก์ทาข้ึนเอง เป็ นคาให้การที่แสดงการปฏิเสธโดยชัดแจ้งว่าจาเลยมิได้กู้เงิน
และรับเงินกู้จากโจทก์รวมท้งั อา้ งเหตุแห่งการน้ันว่าสัญญากู้ท่ีโจทก์อ้างเป็ นเอกสารปลอม
ส่วนท่ีจาเลยให้การตอนหลงั ว่า หากศาลฟังว่าสัญญากูเ้ ป็ นเอกสารแทจ้ ริง โจทก์ก็คิดดอกเบ้ียไม่ถูกตอ้ ง
ตามกฎหมายน้นั ก็มิใช่เป็ นคาใหก้ ารท่ียอมรับหรือถือวา่ จาเลยไดก้ ูเ้ งินจากโจทกจ์ ริงจึงมิไดข้ ดั แยง้
กนั เองหรือไม่ชดั แจง้ ว่ายอมรับหรือปฏิเสธขอ้ อา้ งในคาฟ้องโจทก์ จาเลยย่อมมีสิทธินาพยานเขา้ สืบ
ตามคาใหก้ าร
๒.๓.๔.๔ มีขอ้ สันนิษฐานของกฎหมายหรือขอ้ สันนิษฐานท่ีควรจะเป็ น
ซ่ึงปรากฏจากสภาพปกติธรรมดาของเหตุการณ์เป็ นคุณแก่ฝ่ ายใด ฝ่ ายน้ันก็นาสืบแต่เพียงว่า
ตนไดป้ ฏิบตั ิตามเง่ือนไขแห่งการท่ีจะไดร้ ับประโยชน์จากขอ้ สันนิษฐานน้นั แลว้ (มาตรา ๘๔/๑)
ขอ้ สันนิษฐานท่ีกฎหมายบญั ญตั ิข้ึน อนั เป็ นผลให้คู่ความฝ่ ายท่ีไดร้ ับประโยชน์จากขอ้ สันนิษฐาน
นาสืบเป็ นเบ้ืองต้นแต่เพียงว่าได้ปฏิบัติตนตามเงื่อนไขแห่งข้อสันนิษฐานน้ันคือพิสูจน์
ขอ้ เทจ็ จริงท่ีเป็นเงื่อนไขแห่งการสันนิษฐาน

ข้อสันนิษฐานแบ่งเป็ น ๒ ประเภท
ก. ขอ้ สันนิษฐานเด็ดขาด คือขอ้ สันนิษฐานท่ีกฎหมายไม่เปิ ดโอกาสให้มี
การนาสืบโตแ้ ยง้ หรือหักลา้ งได้ ขอ้ สันนิษฐานน้ีมกั จะใชค้ าว่า “ให้ถือว่า” หรือ “ต้องถือว่า”
เช่น ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๐, ๑๒, ๑๔, ๑๖, ๑๗, ๓๘, ๓๙, ๔๐, ๔๒, ๖๒
ข. ขอ้ สันนิษฐานไม่เด็ดขาดคือขอ้ สันนิษฐานท่ีกฎหมายเปิ ดโอกาสให้มีการนา
สืบโต้แยง้ หรือหักล้างได้ เช่น ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๖, ๑๙๒, ๒๐๓ วรรคสอง, ๓๒๑ วรรคสอง,
๓๖๓ วรรคสาม, ๔๐๓ วรรคสอง, ๔๒๒, ๕๖๑, ๕๖๕, ๕๘๑, ๖๗๒ วรรคหน่ึง, ๘๐๒,๘๐๔,
๘๔๙, ๘๕๕ วรรคสอง, ๘๗๗ วรรคสอง,๑๐๒๔, ๑๐๒๗, ๑๑๔๑, ๑๒๐๗ วรรคหน่ึง, ๑๓๔๔,
๑๓๔๖ วรรคหน่ึง, ๑๓๔๘, ๑๓๕๗, ๑๓๕๘ วรรคหน่ึง, ๑๓๖๐ วรรคสอง, ๑๓๖๙, ๑๓๗๐,
๑๓๗๑, ๑๓๗๒, ๑๓๗๓, ๑๔๑๘ วรรคสอง, ๑๔๓๐ วรรคสอง, ๑๖๕๑ วรรคสอง, ๑๖๘๓,
๑๗๑๕ วรรคสอง, ๑๗๔๖

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๘๕

ตวั อย่าง
- ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๑๒๗ ท่ีใหส้ ันนิษฐานไวก้ ่อนวา่ เป็ นของแทจ้ ริงและ
ถูกต้อง ได้แก่ เอกสารมหาชนซ่ึงพนักงานเจา้ หน้าท่ีไดท้ าข้ึนหรือรับรอง หรือสาเนาอนั รับรอง
ถูกตอ้ ง และเอกสารเอกชนท่ีมีคาพิพากษาแสดงว่าเป็ นของแทจ้ ริงและถูกตอ้ ง เป็ นหนา้ ที่ของ
คู่ความฝ่ ายที่ถูกอา้ งเอกสารน้นั มายนั ตอ้ งนาสืบความไม่บริสุทธ์ิหรือความไม่ถกู ตอ้ งแห่งเอกสาร
เช่น บญั ชีรายชื่อผถู้ ือหุน้ ของบริษทั ซ่ึงพนกั งานเจา้ หนา้ ท่ีรับรองเป็นเอกสารมหาชนตอ้ งสันนิษฐาน
ไว้ก่อนว่าเป็ นของแท้จริ งและถูกต้องตามป.วิ.พ. มาตรา ๑๒๗ เมื่อผูร้ ้องอา้ งว่า บญั ชีรายชื่อ
ผูถ้ ือหุ้นไม่ถูกตอ้ งเพราะมีการชาระค่าหุน้ พิพาทเต็มมูลค่าแลว้ ผรู้ ้องจึงมีหนา้ ที่นาสืบใหไ้ ดค้ วาม
(ฎีกาที่ ๘๔๘/๒๕๓๔) หนังสือรับรองการจดทะเบียนนิติบุคคลท่ีระบุว่าจาเลยท่ี ๑ เป็ นห้าง
หุน้ ส่วนจากดั มีจาเลยท่ี ๒ เป็ นหุ้นส่วนผจู้ ดั การ เป็ นเอกสารมหาชน ใหส้ ันนิษฐานไวก้ ่อนว่า
เป็นของแทจ้ ริงและถกู ตอ้ ง จาเลยท่ี ๒ อา้ งวา่ มิไดเ้ ป็นหุน้ ส่วนผจู้ ดั การของจาเลยท่ี ๑ จาเลยที่ ๒
ตอ้ งนาสืบถึงความไมถ่ ูกตอ้ งแทจ้ ริงแห่งเอกสาร (ฎีกาท่ี ๓๓๖๙/๒๕๔๑) โฉนดท่ีดินเป็นเอกสาร
มหาชนให้สันนิษฐานไวก้ ่อนว่าถูกตอ้ ง โจทก์และจาเลยมีชื่อในโฉนดที่ดิน จาเลยกล่าวอา้ งวา่
โจทก์มีชื่อเป็ นผถู้ ือกรรมสิทธ์ิแทนจาเลย จาเลยมีภาระการพิสูจน์ (ฎีกาท่ี ๑๘๑/๒๕๓๖, ๒๗๘๑/๒๕๓๖,
๔๓๔๕/๒๕๓๖)สาเนาทะเบียนบา้ นเป็ นเอกสารมหาชน (ฎีกาที่ ๗๑๑๕/๒๕๔๒)สาเนาหนังสือสัญญา
ขายฝากท่ีดินพิพาทเป็ นสาเนาอนั รับรองถูกตอ้ งแห่งเอกสารมหาชนซ่ึงพนักงานเจา้ หน้าที่ได้
ทาข้ึน ซ่ึงตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๑๒๗ บญั ญตั ิให้สันนิษฐานไวก้ ่อนว่าเป็ นของแทจ้ ริงและถูกตอ้ ง
จาเลยซ่ึงเป็ นฝ่ ายที่ถูกอา้ งเอกสารน้ันมายนั ต้องนาสืบความไม่บริสุทธ์ิหรือความไม่ถูกตอ้ ง
แห่งเอกสาร (ฎีกาที่ ๑๕๐๑/๒๕๕๔)
- ป.พ.พ. มาตรา ๔๒๘ บญั ญตั ิว่า “ผู้ว่าจ้างทาของไม่ต้องรับผิดเพื่อความ
เสียหายอันผู้รับจ้างได้ก่อให้เกิดขึน้ แก่บุคคลภายนอกในระหว่างทาการงานท่ีว่าจ้ าง เว้นแต่
ผู้ว่าจ้างจะเป็ นผู้ผิดในส่วนการงานที่สั่งให้ทาหรือในคาส่ังท่ีตนให้ไว้หรือในการเลือกหาผู้รับจ้าง”
โจทก์จึงมีหน้าที่จะต้องนาสืบให้ได้ความว่าจาเลยเป็ นผู้ผิดตามมาตรา ๔๒๘ ดังกล่าว
แต่ขอ้ เท็จจริงตามทางนาสืบของโจทก์ไม่ปรากฏว่าจาเลยเป็ นผูผ้ ิดในส่วนส่ังใหท้ าหรือในคาสั่ง
ที่ตนให้ไวแ้ ก่ผูร้ ับจา้ งอย่างไรและในการเลือกผูร้ ับจา้ งคือบริษทั ฟ. ซ่ึงเป็ นผูต้ อกเสาเข็มและ
ก่อสร้างฐานรากก็ปรากฏวา่ เป็นผมู้ ีความรู้ความสามารถเป็นพิเศษในการก่อสร้างอาคารสูง การที่
จาเลยว่าจา้ งบริษทั ป. เป็ นผูค้ วบคุมการก่อสร้างให้เป็ นไปตามแบบ ยอ่ มหมายความว่า จาเลย
ไม่ไดเ้ ขา้ ไปเก่ียวขอ้ งหรือส่ังการในการทางานแต่อยา่ งใด เพราะเป็ นหนา้ ท่ีของบริษทั ท้งั สอง
เม่ือความเสียหายเกิดข้ึนโจทก์จะตอ้ งไปเรียกร้องค่าเสียหายเอาจากผูก้ ่อสร้างคือบริษทั ฟ.ซ่ึงเป็ น
ผูท้ าละเมิด จาเลยไม่ได้กระทาการอย่างหน่ึงอย่างใดอันทาให้จาเลยต้องรับผิดตาม ป.พ.พ.

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๘๖

มาตรา๔๒๘(ฎีกาท่ี ๑๖๒/๒๕๔๔) แมว้ า่ ป.พ.พ. มาตรา ๕ จะบญั ญตั ิไวว้ า่ “ในการใช้สิทธิแห่งตน
ก็ดี ในการชาระหนีก้ ็ดีบุคคลทุกคนต้องกระทาการโดยสุจริต” แต่มาตรา ๖ ก็ไดบ้ ญั ญตั ิต่อไปว่า
“ให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่า บุคคลทุกคนกระทาการโดยสุจริ ต” โจทก์จึงได้รับประโยชน์จาก
ขอ้ สันนิษฐานในกฎหมายดงั กล่าวว่าโจทกใ์ ชส้ ิทธิฟ้องคดีโดยสุจริต จาเลยท้งั สองจะตอ้ งให้การ
โดยชัดแจ้งว่าโจทก์ฟ้องคดีโดยไม่สุจริตอย่างไร เพื่อให้เป็ นประเด็นขอ้ พิพาทในคาให้การ
จึงจะนาสืบหรือยกข้ึน ว่ากล่าวในช้นั อุทธรณ์ฎีกาเพ่ือหักลา้ งขอ้ สันนิษฐานในกฎหมายดงั กล่าวได้
เม่ือจาเลยท้งั สองมิไดใ้ ห้การต่อสู้ในเร่ืองโจทก์ใช้สิทธิฟ้องคดีโดยไม่สุจริตไวใ้ นคาให้การ
แมจ้ าเลยท้งั สองจะไดก้ ล่าวอา้ งไวใ้ นคาร้องขอพิจารณาคดีใหม่ แต่ไม่ใช่คาให้การ จึงไม่ก่อให้เกิด
ประเดน็ ขอ้ พพิ าท(ฎีกาท่ี ๒๑๒๙/๒๕๕๔)

๒.๓.๕ แมศ้ าลจะกาหนดให้โจทก์มีหน้าท่ีนาสืบตามประเด็นขอ้ พิพาทแต่จาเลย
อาจไม่มีสิทธินาสืบแก้ หากจาเลยให้การต่อสู้ไม่ชดั แจง้ หรือให้การปฏิเสธลอย จาเลยจึงไม่มี
ประเดน็ ที่จะสืบแก้

๒.๓.๖ เม่ือศาลกาหนดหนา้ ที่นาสืบหรือภาระการพิสูจน์ครบทุกประเด็นแลว้ ก็จะ
กาหนดต่อไปให้คู่ความฝ่ ายใดนาสืบในประเด็นขอ้ ใดก่อนหรือหลงั แต่ถา้ คดีมีประเด็นหลาย
ประเดน็ และหนา้ ที่นาสืบกลบั ไปกลบั มา เพือ่ ความสะดวกศาลอาจใชด้ ุลพนิ ิจกาหนดใหค้ ู่ความ
ฝ่ ายใดนาสืบก่อนท้งั หมดทุกประเด็นก็ได้ ถา้ จะไม่ทาให้เกิดการไดเ้ ปรียบเสียเปรียบกนั ในเชิง
คดีจนเสียความยตุ ิธรรม

๒.๓.๗ หลกั ที่วา่ ผใู้ ดกลา่ วอา้ งขอ้ เทจ็ จริงใด ผนู้ ้นั มีภาระการพสิ ูจนข์ อ้ เทจ็ จริงน้นั
- อายุความ การท่ีโจทก์นาคดีมาฟ้องย่อมเป็ นการแสดงอยู่ในตัวว่า

คดีโจทกย์ งั ไมข่ าดอายคุ วาม การท่ีจาเลยต่อสูว้ า่ คดีขาดอายคุ วามแลว้ โจทกจ์ ึงตอ้ งมีหนา้ ที่นาสืบ
(ฎีกาท่ี ๑๓๗๘/๒๕๒๔, ๑๙๕๕/๒๕๓๑, ๓๐๔๒/๒๕๔๘) โจทก์ฟ้องเรียกเงินตามเช็คเมื่อพน้
กาหนด ๑ ปี นับแต่วนั ครบกาหนดชาระเงินตามเช็ค จาเลยให้การว่าคดีโจทก์ขาดอายุความ
ภาระการพสิ ูจนจ์ ึงตกแก่โจทกท์ ่ีจะตอ้ งนาสืบใหไ้ ดค้ วามวา่ คดีโจทก์ไมข่ าดอายคุ วาม หากโจทก์
ไม่นาสืบหรือนาสืบไม่ไดก้ ็ตอ้ งถือว่าคดีของโจทก์ขาดอายคุ วามแลว้ โดยไม่ตอ้ งให้จาเลยนา
พยานหลกั ฐานเขา้ สืบหกั ลา้ งหรือตอ้ งรับฟังพยานหลกั ฐานฝ่ ายจาเลยเม่ือพยานหลกั ฐานท่ีโจทก์
นาสืบรับฟังไม่ไดว้ ่าคดีของโจทก์ไม่ขาดอายุความ การที่ศาลช้นั ตน้ มีคาสั่งงดสืบพยานจาเลย
หลงั จากโจทก์นาพยานเขา้ สืบเสร็จแลว้ และพิพากษายกฟ้องจึงชอบแลว้ (ฎีกาท่ี ๔๖๑๐/๒๕๔๗)
โจทก์ฟ้องขอให้จาเลยชาระหน้ีตามสัญญากูเ้ งินรวม ๔ ฉบบั จาเลยให้การต่อสู้ว่า สัญญากูเ้ งิน
ตามฟ้องไม่มีกาหนดเวลาชาระหน้ี โจทก์อาจบงั คบั สิทธิเรียกร้องไดน้ บั แต่วนั ทาสัญญากู้เงิน
แตล่ ะฉบบั โจทกน์ าคดีมาฟ้องเกินกวา่ ๑๐ ปี ฟ้องโจทกจ์ ึงขาดอายคุ วาม คดีจึงมีประเดน็ ขอ้ พพิ าท

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๘๗

วา่ ฟ้องโจทกข์ าดอายคุ วามหรือไม่ ซ่ึงภาระการพสิ ูจนใ์ นประเด็นขอ้ น้ีตกแก่โจทก์ท่ีจะตอ้ งนาสืบ
ให้ไดค้ วามว่าฟ้องโจทก์ไม่ขาดอายคุ วาม โจทก์จึงมีสิทธินาสืบถึงเหตุท่ีทาให้อายุความสะดุด
หยุดลงได้ ไม่เป็ นการนาสืบนอกฟ้องนอกประเด็น (ฎีกาท่ี ๘๑๗๒/๒๕๕๑) ถา้ เป็ นเร่ืองระยะเวลา
เช่น ระยะเวลาบอกลา้ งโมฆียกรรมตามป.พ.พ.มาตรา๑๔๓(ตามกฎหมายเดิมกฎหมายใหม่มาตรา๑๘๑)
จาเลยผูย้ กข้ึนต่อสู้มีหนา้ ที่นาสืบ (ฎีกาท่ี ๕๖๐/๒๔๙๓) จาเลยมีหนา้ ที่นาสืบวา่ ครอบครองที่ดิน
พพิ าทก่อนโจทกฟ์ ้องเกิน ๑ ปี ตามมาตรา ๑๓๗๕ แลว้ (ฎีกาที่ ๑๙๙๑/๒๕๒๔)

- ฟ้องเรียกเงินหรือเรียกให้ชาระหน้ีตามสัญญาซ่ึงทาไวเ้ ป็ นลายลกั ษณ์
อกั ษร จาเลยปฏิเสธว่าไม่เคยทาสัญญาและสัญญาเป็ นเอกสารปลอม โจทก์มีหนา้ ที่นาสืบ เช่น
โจทกฟ์ ้องว่าผตู้ ายทาพินยั กรรมยกทรัพยม์ รดกให้โจทก์ จาเลยต่อสู้ว่าพินยั กรรมปลอม โจทก์ตอ้ ง
นาสืบใหไ้ ดค้ วามว่าพินยั กรรมที่อา้ งไม่ปลอม (ฎีกาท่ี ๘๑/๒๕๐๓) โจทกฟ์ ้องว่าจาเลยกูเ้ งิน ๙,๕๐๐
บาท จาเลยต่อสู้ว่ากูจ้ ริงเพียง ๕๐๐ บาท จานวนเงินตามสัญญากูโ้ จทก์ปลอมข้ึน ขอให้ยกฟ้อง
หรือถา้ จะใหจ้ าเลยรับผิดก็เพยี งในจานวนเงิน ๕๐๐ บาท แมโ้ จทกจ์ ะนาสืบไดไ้ ม่สมฟ้อง จาเลยก็
ยงั คงตอ้ งรับผิดใช้เงินเท่าที่ให้การรับ (ฎีกาท่ี ๗๔๓/๒๕๐๖) จาเลยทาสัญญากู้เงินไว้ จานวน
หน่ึง ตอ่ มาโจทกล์ อบเติมเลข ๑ หนา้ จานวนเงิน ทาใหจ้ านวนเงินกมู้ ากข้ึน แลว้ นาเอกสารน้นั มา
ฟ้องเรียกเงินจากจาเลย ศาลให้จาเลยชาระเงินจานวนเดิม การเติมเลข ๑ ไม่ทาให้หลกั ฐานการ
กู้ยืมเงินเป็ นหนังสือเดิมเสียไป (ฎีกาท่ี ๗๖๑/๒๕๐๙)ฟ้องให้จาเลยรับผิดตามสัญญากู้ยืมเงิน
จาเลยให้การปฏิเสธว่าสัญญากูย้ ืมเป็ นเอกสารปลอม เนื่องจากโจทก์นาสัญญากูย้ ืมท่ีจาเลยลง
ลายมือชื่อไวม้ ากรอกขอ้ ความโดยไม่มีมูลหน้ีต่อกัน ภาระการพิสูจน์ตกอยู่แก่โจทก์ (ฎีกาท่ี
๑๐๖๒๙/๒๕๕๑) โจทก์ฟ้องอา้ งวา่ จาเลยกูย้ มื เงินโจทก์ ๑๑๐,๐๐๐ บาท แต่จาเลยอา้ งวา่ กูย้ ืมเงิน
โจทกเ์ พียง ๔๐,๐๐๐ บาท สัญญากยู้ มื เงินเป็นเอกสารปลอม โจทกม์ ีหนา้ ที่นาสืบใหเ้ ห็นวา่ สัญญา
กูย้ มื เงินเป็ นเอกสารแทจ้ ริง เมื่อพยานหลกั ฐานโจทก์และจาเลยนาสืบรับฟังไดว้ า่ สัญญากูย้ ืมเงิน
เป็ นเอกสารปลอมโดยโจทก์กรอกข้อความภายหลงั โจทก์จึงเป็ นฝ่ ายแพค้ ดี (ฎีกาท่ี ๑๘๐๖/
๒๕๔๖)

- ฟ้องให้รับผิดตามสัญญาที่ทาไว้เป็ นลายลักษณ์อักษร จาเลยรับว่า
ทาเอกสารน้ันไวจ้ ริง แต่ต่อสู้ว่าหน้ีตามเอกสารน้ันไม่สมบูรณ์ หรือทาสัญญาโดยสาคญั ผิด
ถูกกลฉอ้ ฉล หรือสัญญาไม่สมบูรณ์เพราะเหตุต่าง ๆ จาเลยจะตอ้ งมีหนา้ ท่ีนาสืบ เช่น ฟ้องเรียก
เงินกู้ จาเลยต่อสู้ว่า บุตรจาเลยลักพาบุตรโจทก์ไป เจ้าพนักงานเปรียบเทียบให้บุตรจาเลย
เสียสินสอด โจทกจ์ าเลยตกลง จาเลยมอบเงินและทองจานวนหน่ึงแก่โจทก์ ส่วนที่เหลือทาเป็ น
สัญญากูเ้ งินให้โจทก์ไว้คือฉบบั ท่ีฟ้อง แตโ่ จทกไ์ ม่ยอมให้บุตรโจทกไ์ ปอยกู่ ินกบั บตุ รจาเลย การกูเ้ งิน
ดงั กล่าวมีมูลหน้ี ที่จาเลยอา้ งขอ้ เทจ็ จริงวา่ โจทก์ไมย่ อมใหบ้ ุตรจาเลยอยกู่ ินกบั บุตรโจทก์ จาเลย

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๘๘

ตอ้ งมีหนา้ ที่นาสืบ (ฎีกาที่ ๑๓๑๘/๒๕๐๕) จาเลยให้การรับว่า จาเลยทาหนังสือสัญญากูย้ ืมเงิน
ตามฟ้องจริง แตป่ ฏิเสธวา่ จาเลยไม่ไดร้ ับเงินกู้ เน่ืองจากจาเลยและ ท.มารดาโจทกไ์ ม่มีเจตนาท่ีจะ
ให้มีผลผูกพนั กนั เป็ นการต่อสู้ว่าสัญญากูเ้ งินไม่สมบูรณ์ จาเลยมีภาระการพิสูจน์ (ฎีกาท่ี ๗๓๓๔/
๒๕๕๐) (หมายเหตุ จาเลยไม่ได้อ้างเหตุว่าเป็ นเพราะเหตุใด ไม่แสดงเหตุแห่งการปฏิเสธ
ไม่มีประเด็นนาสืบ) โจทก์ฟ้องว่า จาเลยขายฝากที่ดินกับเรือนกับโจทก์ พน้ กาหนดไถ่คืน
และตกเป็ นของโจทก์แลว้ ขอให้ขบั ไล่ จาเลยรับว่าผูร้ ับมอบอานาจจาเลยทาสัญญาขายฝาก
กับโจทก์จริ ง แต่การขายฝากไม่ชอบเพราะผูร้ ับมอบอานาจมิได้รับมอบอานาจให้ไปทาสัญญา
ขายฝากกบั โจทก์ จาเลยตอ้ งมีหนา้ ท่ีนาสืบ (ฎีกาที่ ๙๔๔/๒๕๑๕)

- ฟ้องให้รับผิดตามสัญญาท่ีทาเป็ นลายลักษณ์อักษร จาเลยรับว่า
ทาเอกสารน้นั จริง แต่โตเ้ ถียงวา่ ขอ้ ความในเอกสารไมถ่ ูกตอ้ ง หรือความจริงไม่ไดเ้ ป็ นไปอยา่ งท่ี
ในเอกสารกล่าวไว้ จาเลยมีหน้าที่นาสืบ แต่ท้ังน้ีต้องไม่เป็ นกรณีที่ต้องห้ามมิให้นาสืบ
เปลี่ยนแปลงแกไ้ ขเอกสารตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๙๔ ฟ้องเรียกให้ชาระเงินกูต้ ามสาเนาสัญญากู้
ทา้ ยฟ้อง จาเลยให้การว่าไม่ไดท้ าสัญญากูเ้ งินตามสาเนาทา้ ยฟ้อง ความจริงเป็ นเรื่องซ้ือขายนา
โจทก์วางมดั จาและทาหนังสือสัญญาไวใ้ นลกั ษณะกู้ยืมเงินกนั เงินที่จาเลยรับไวใ้ นลักษณะ
ค่าเช่านา จาเลยมิไดป้ ฏิเสธวา่ สัญญากูท้ า้ ยฟ้องปลอมแปลงหรือปฏิเสธรายละเอียดตามสัญญาว่า
ไม่ถูกตอ้ ง ถือไม่ไดว้ ่าจาเลยปฏิเสธความถูกตอ้ งแทจ้ ริงของเอกสาร เม่ือจาเลยรับว่าทาหนังสือ
สัญญากูเ้ งินไว้ แต่มิใช่เป็ นเร่ืองกูเ้ งินกนั จริง จาเลยกล่าวอา้ งขอ้ เท็จจริงข้ึนมาใหม่ว่าเป็ นเร่ืองที่
โจทก์ซ้ือที่นาจากจาเลย หน้าท่ีนาสืบจึงตกแก่จาเลย(ฎีกาที่ ๑๕๒๑/๒๕๐๘) สัญญากู้เงิน
มีขอ้ ความว่า จาเลยกู้เงินไปจากโจทก์ และไดร้ ับเงินครบถว้ นแล้ว การท่ีจาเลยให้การรับว่า
ทาสัญญากู้เงินจริง แต่ไม่ไดร้ ับเงินกู้ มูลหน้ีตามฟ้องไม่ชอบดว้ ยกฎหมาย เป็ นการยกขอ้ เท็จจริง
ข้ึนใหม่ จาเลยจึงมีภาระการพิสูจน์ตามขอ้ ต่อสู้ (ฎีกาท่ี ๘๙๑๗/๒๕๕๐) ฟ้องวา่ จาเลยท่ี ๑ กูเ้ งิน
๑๖,๐๐๐ บาท มีจาเลยท่ี ๒ เป็ นผูค้ ้าประกนั จาเลยท้งั สองให้การรับวา่ ไดท้ าสัญญาตามฟ้องจริง
แต่จาเลยท่ี ๑ ได้รับเงินเพียง ๑๐,๐๐๐ บาท เหตุท่ีเงินจานวน ๑๖,๐๐๐ บาท เพราะโจทก์นา
ดอกเบ้ียเกินอตั ราที่กฎหมายกาหนดจานวน ๖,๐๐๐ บาท รวมดว้ ย ดังน้ี จาเลยกล่าวอ้างว่า
หน้ีตามสัญญาบางส่วนไม่สมบูรณ์ มิใช่กล่าวอา้ งว่าสัญญาปลอม จาเลยท้งั สองมีหนา้ ท่ีนาสืบ
(ฎีกาที่ ๒๐๐๔/๒๕๒๓)

- นาสืบเร่ืองการชาระหน้ี โจทกฟ์ ้องขอใหช้ าระหน้ีตามสัญญาจาเลยรับว่า
มีนิติสัมพนั ธ์ตามสัญญาน้นั จริง แต่ต่อสู้วา่ หน้ีระงบั แลว้ ดว้ ยการชาระหน้ี จาเลยมีหนา้ ที่นาสืบ
(ฎีกาท่ี ๑๒๓๗/๒๕๐๑, ๔๔๑/๒๕๐๖, ๓๖๒๕/๒๕๕๒)

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๘๙

ข้อสังเกต
โจทก์ฟ้องให้จาเลยชาระหน้ีบตั รเครดิต โดยจาเลยชาระเงินแก่โจทก์แลว้
๒,๐๐๐ บาท จาเลยให้การว่าจาเลยไม่เคยชาระเงิน ๒,๐๐๐ บาท แก่โจทก์ ภาระการพิสูจน์ว่า
จาเลยชาระหน้ีให้แก่โจทก์หรือไม่ย่อมตกอยู่แก่โจทก์ซ่ึงเป็ นผูก้ ล่าวอ้าง (ฎีกาท่ี ๔๕๒๗/
๒๕๕๐)โจทก์เป็ นฝ่ ายกล่าวอ้างว่าโจทก์ได้ชาระเงินตามสัญญากู้ให้แก่ ส. แทนจาเลย
ที่ ๑ จาเลยที่ ๑ ใหก้ ารปฏิเสธ ภาระการพสิ ูจนต์ กแก่โจทก์ (ฎีกาท่ี ๕๗๔๐/๒๕๕๐)
- ฟ้องว่าจาเลยซ้ือของเช่ือไปแลว้ ไม่ชาระเงิน จาเลยให้การรับวา่ ไดซ้ ้ือเช่ือ
ไปจริง แต่ต่อสู้ว่าไดช้ าระเงินให้บา้ งแลว้ จาเลยตอ้ งนาสืบ(ฎีกาที่ ๑๑๙/๒๔๗๕) แต่ถา้ ซ้ือขาย
ธรรมดา เช่น โจทกฟ์ ้องวา่ จาเลยซ้ือสินคา้ แลว้ ไมช่ าระราคา จาเลยใหก้ ารวา่ ซ้ือสินคา้ ไปจริงแต่ต่อสู้
วา่ ไดช้ าระแลว้ โจทก์มีหนา้ ท่ีนาสืบเพราะจาเลยไดท้ รัพยไ์ ปจากผูข้ ายแลว้ กรณียอ่ มเป็ นไปตาม
หลกั สัญญาตา่ งตอบแทนตาม ป.พ.พ. มาตรา ๓๖๙ ถา้ ผซู้ ้ือยงั ไม่ชาระเงินผซู้ ้ือกไ็ ม่น่าจะไดร้ ับทรัพย์
ที่ซ้ือไป ตา่ งกบั การซ้ือเช่ือ
- กรณี ผิดสัญญาโจทก์ฟ้องว่าจาเลยกระทาการอย่างใดอย่างหน่ึง
อนั เป็ นการผิดสัญญาหรือจาเลยไม่ปฏิบตั ิตามสัญญาขอ้ ใดขอ้ หน่ึง และเรียกค่าเสียหาย
หากจาเลยใหก้ ารวา่ มิไดผ้ ิดสัญญา โจทกม์ ีหนา้ ท่ีนาสืบ
- หากจาเลยให้การว่า จาเลยได้กระทาการอย่างใดอย่างหน่ึงตามที่
โจทกอ์ า้ งจริง แต่ต้งั ประเด็นขอ้ ต่อสู้ใหม่วา่ จาเลยมีอานาจทาไดโ้ ดยไม่ถือว่าเป็ นการผิดสัญญา
จาเลยตอ้ งมีหนา้ ท่ีนาสืบ
- ฟ้องขับไล่ อ้างว่าจาเลยผิดนัดไม่ชาระค่าเช่า จาเลยต่อสู้ว่านาค่าเช่า
ไปชาระใหโ้ จทก์แลว้ แต่โจทก์ไม่ยอมรับ เท่ากบั จาเลยรับว่าคา้ งชาระค่าเช่าจริง จาเลยมีหนา้ ที่
นาสืบ (ฎีกาท่ี ๖๓๖ - ๖๔๐/๒๕๐๒)
- ฟ้องว่าผิดสัญญาเช่าซ้ือ จาเลยรับว่าผิดจริงแต่สัญญาเช่าซ้ือเป็ นโมฆะ
เพราะจาเลยเป็นคนต่างดา้ ว จาเลยสาคญั ผิดในสาระสาคญั แห่งนิติกรรม จาเลยมีหนา้ ท่ีนาสืบก่อน
(ฎีกาที่ ๖๙๐/๒๕๑๑)
- เรื่องละเมิดโจทก์กล่าวอ้าง โจทก์ต้องนาสืบ เวน้ แต่จะมีข้อสันนิษฐาน
ของกฎหมายเป็นคุณแก่ฝ่ ายโจทก์ เช่น ป.พ.พ. มาตรา ๔๓๓, ๔๓๗
- เร่ืองค่าเสียหาย ไม่ว่าจะเป็ นค่าเสียหายท่ีมีมูลมาจากสัญญาหรือละเมิด
มีหลกั การพิจารณาอยา่ งเดียวกนั เวน้ แต่คาให้การจาเลยมิไดใ้ หก้ ารถึงเรื่องค่าเสียหาย ศาลจะให้
โจทก์ไดร้ ับชดใชค้ ่าเสียหายตามท่ีเสียหายจริง ๆ เท่าน้ัน ไม่ถือว่าจาเลยรับ โจทก์มีหนา้ ท่ีต้อง
นาสืบวา่ ตนไดร้ ับความเสียหายตามจานวนที่ตนขอมาน้นั จริง (ฎีกาท่ี ๔๗/๒๔๘๙) ถา้ คดีฟังไดว้ ่า

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๙๐

โจทก์เสียหาย แต่โจทก์นาสืบใหเ้ ห็นจานวนค่าเสียหายไม่เท่าจานวนที่เรียกมาหรือไม่อาจแสดง
ค่าเสียหายท่ีแน่นอนได้ ศาลก็มีอานาจกาหนดให้ไดต้ ามที่เห็นสมควร (ฎีกาท่ี ๒๕๐/๒๔๘๙)
การฟ้องใหใ้ ชเ้ งินแก่โจทกต์ ามราคาที่ดินขณะฟ้อง ส่วนท่ีเพม่ิ ข้ึนจากราคาที่ดินที่ตกลงทาสัญญา
จะซ้ือขายกนั น้ีเป็ นเงินที่โจทก์ขาดประโยชน์เนื่องจากการที่จาเลยไม่ไดจ้ ดทะเบียนโอนท่ีดิน
ให้เป็ นของโจทก์ตามสัญญาจะซื้อขาย ถือเป็ นการเรียกค่าเสียหายจากการที่จาเลยไม่ปฏิบตั ิ
ตามสัญญา แมจ้ าเลยไม่ไดใ้ หก้ ารโตแ้ ยง้ จานวนเงินค่าเสียหายดงั กล่าว โจทกผ์ ูก้ ล่าวอา้ งก็มีหนา้ ที่
นาสืบถึงจานวนค่าเสียหายของโจทก์ และศาลมีอานาจพิจารณากาหนดค่าเสียหายให้ตามที่
สมควร ดงั น้นั การที่ศาลอุทธรณ์กาหนดค่าเสียหายให้โจทกเ์ ป็ นเงิน ๒๘๐,๐๐๐ บาท จึงไม่เป็น
การวินิจฉัยนอกประเด็นหรือวินิจฉัยขอ้ เท็จจริงที่ไม่ไดว้ ่ากล่าวกันมาโดยชอบในศาลช้ันต้น
(ฎีกาที่ ๒๒๕/๒๕๓๙)

- ค่าเสียหายกรณีผิดสัญญา ในสัญญากาหนดเบ้ียปรับไว้ หากจาเลย
ไม่ต่อสู้เรื่องเบ้ียปรับ โจทก์ไม่ตอ้ งนาสืบ แต่ถา้ เบ้ียปรับสูงเกินส่วน ศาลจะลดลงเป็ นจานวน
พอสมควรก็ได้

- เร่ืองอานาจฟ้อง จาเลยต่อสู้ว่าโจทก์ไม่มีอานาจฟ้อง โจทก์มีหน้าที่นาสืบ
เพราะโจทกต์ อ้ งแสดงใหเ้ ห็นวา่ โจทกม์ ีอานาจฟ้องจาเลยได้

- กรณีบุคคลภายนอกร้องเขา้ มาในคดี เช่น ร้องสอดเป็ นคู่ความฝ่ ายท่ีสาม
ร้องขดั ทรัพย์ หรือร้องขอเฉลี่ยทรัพย์ แมอ้ ีกฝ่ ายคดั คา้ น ผรู้ ้องยอ่ มมีหนา้ ที่นาสืบ

๒.๓.๘ หนา้ ท่ีนาสืบตามหลกั กฎหมายเฉพาะเร่ือง
๒.๓.๘.๑ หลกั กรรมสิทธ์ิและสิทธิครอบครอง
- ถา้ ทรัพยพ์ ิพาทเป็นที่ดินมีทะเบียน ผมู้ ีช่ือในทะเบียนยอ่ มไดร้ ับ

ประโยชน์จากขอ้ สันนิษฐานของกฎหมาย ภาระการพิสูจน์ย่อมตกแก่คู่ความอีกฝ่ าย (ป.พ.พ.
มาตรา ๑๓๗๓)

ตัวอย่าง
-โจทกฟ์ ้องวา่ เป็นเจา้ ของท่ีดินมีโฉนด จาเลยเช่าที่ดินพิพาทจาก

โจทกข์ อใหข้ บั ไล่ จาเลยตอ่ สู้วา่ ครอบครองท่ีดินพิพาทมาอยา่ งเป็นเจา้ ของ โจทกอ์ อกโฉนดที่ดิน
โดยไม่สุจริต ในประเด็นที่ว่าโจทก์เป็ นเจา้ ของกรรมสิทธ์ิในท่ีดินพิพาทหรือไม่ โจทก์มีชื่อ
ในโฉนดที่ดินพิพาท ไดร้ ับประโยชน์จากขอ้ สันนิษฐานของกฎหมายว่าเป็ นเจา้ ของกรรมสิทธ์ิ
เมื่อจาเลยอา้ งว่าเป็ นเจา้ ของท่ีดินพิพาท จาเลยจึงมีหนา้ ท่ีนาสืบหักลา้ งขอ้ สันนิษฐานของกฎหมาย
(ฎีกาท่ี ๑๖๑๖/๒๕๒๒, ๒๕๑๖/๒๕๔๙, ๓๕๕๘/๒๕๕๓, ๗๕๒๙/๒๕๔๔) โจทกท์ ้งั หา้ มีชื่อเป็น

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๙๑

ผูถ้ ือกรรมสิทธ์ิในโฉนดท่ีดิน โจทก์ท้งั ห้าย่อมเป็ นผูไ้ ดร้ ับประโยชน์จากขอ้ สันนิษฐานของ
กฎหมายตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๗๓ มิใช่ว่าจาเลยที่ ๑ เป็นผคู้ รอบครองแลว้ จาเลยที่ ๑ จะไดร้ ับ
ประโยชน์จากขอ้ สันนิษฐานของกฎหมายตามมาตรา ๑๓๖๙ และ ๑๓๗๐ ภาระการพิสูจน์
ในประเด็นขอ้ น้ีจึงตกอยแู่ ก่จาเลยท่ี ๑ (ฎีกาท่ี ๓๔๘๕/๒๕๕๓)โจทกม์ ีชื่อเป็ นเจา้ ของกรรมสิทธ์ิ
ในโฉนดท่ีดินยอ่ มไดร้ ับประโยชน์จากขอ้ สันนิษฐานของกฎหมายตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๗๓
วา่ เป็นของโจทก์ เม่ือจาเลยกลา่ วอา้ งวา่ จาเลยไดก้ รรมสิทธ์ิในท่ีดินพิพาทโดยการครอบครองปรปักษ์
จึงเป็นหนา้ ที่ของจาเลยที่จะตอ้ งนาสืบหักลา้ งข้อสันนิษฐานของกฎหมาย ภาระการพิสูจน์จึงตกแก่
จาเลย (ฎีกาที่ ๓๕๕๘/๒๕๕๓, ๔๘๒๓ - ๔๘๒๔/๒๕๕๔, ๑๗๑๐/๒๕๕๕, ๒๑๕๖/๒๕๕๕)
ที่ดินตาม น.ส.๓ หรือ น.ส. ๓ ก. เป็นที่ดินท่ีไดจ้ ดไวใ้ นทะเบียนท่ีดินของสานกั งานท่ีดินอาเภอ
จึงเป็นอสงั หาริมทรัพยท์ ่ีไดจ้ ดทะเบียนท่ีดิน ดงั น้นั ขอ้ สันนิษฐานตามป.พ.พ. มาตรา ๑๓๗๓ วา่
อสังหาริมทรัพยท์ ่ีไดจ้ ดไวใ้ นทะเบียนน้ัน ให้สันนิษฐานไวก้ ่อนว่าบุคคลผูม้ ีช่ือในทะเบียน
เป็นผมู้ ีสิทธิครอบครอง ยอ่ มรวมถึงท่ีดินท่ีมี น.ส.๓ หรือ น.ส.๓ ก.ดว้ ย (ฎีกาท่ี ๓๕๖๕/๒๕๓๘)
จาเลยให้การรับว่า โจทก์เป็ นเจา้ ของรวมในท่ีดินตามหนังสือรับรองการทาประโยชน์(น.ส.๓)
เลขท่ี ๒๔๑ ดว้ ย โจทก์จึงย่อมไดร้ ับประโยชน์จากขอ้ สันนิษฐานตามบทบญั ญตั ิแห่ง ป.พ.พ.
มาตรา ๑๓๕๗ ที่ให้สันนิษฐานไวก้ ่อนว่าผูเ้ ป็ นเจา้ ของรวมกนั มีส่วนเท่ากนั จาเลยซ่ึงอา้ งว่า
โจทก์มีส่วนในท่ีดินตามหนังสือรับรองการทาประโยชน์ (น.ส.๓) เลขที่ ๒๔๑ เพียง ๓ งาน
จึงมีภาระการพิสูจน์ ท่ีศาลช้นั ตน้ กาหนดให้โจทก์มีภาระการพิสูจน์ ในประเด็นน้ีจึงไม่ถูกตอ้ ง
ปัญหาน้ีเป็ นปัญหาขอ้ กฎหมายอนั เกี่ยวดว้ ยความสงบเรียบร้อยของประชาชน ศาลฎีกามีอานาจ
ยกข้ึนวินิจฉยั และแกไ้ ขใหถ้ กู ตอ้ งได้ (ฎีกาท่ี ๙๓๒๔/๒๕๕๓)

- แม้จาเลยจะมีคาสั่งของศาลช้ันตน้ ถึงท่ีสุดแสดงว่าจาเลยได้
กรรมสิทธ์ิในที่ดินพิพาทโดยการครอบครองปรปักษ์ก็ตาม แต่เมื่อโจทก์ซ่ึงเป็ นบุคคลภายนอกคดี
สามารถพิสูจน์ไดว้ า่ ท่ีพิพาทเป็ นของโจทก์ คาส่ังของศาลช้นั ตน้ ยอ่ มไม่ผกู พนั โจทก์ตาม ป.วิ.พ.
มาตรา ๑๔๕ วรรคสอง (๒) (ฎีกาท่ี ๑๙๕๘/๒๕๓๓)

- ที่ดินมีโฉนดท่ีดินมีผู้คัดค้านเป็ นผู้ถือกรรมสิทธ์ิ ผู้คัดค้าน
จึงไดร้ ับประโยชน์จากขอ้ สันนิษฐานตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๗๓ ว่าเป็ นผูม้ ีสิทธิครอบครอง
ส่วนบา้ นซ่ึงปลูกอยใู่ นที่ดินพิพาทท่ีเป็ นส่วนควบของที่ดินและเป็ นกรรมสิทธ์ิของผคู้ ดั คา้ นตาม
ป.พ.พ. มาตรา ๑๔๔ ดว้ ย หากผูร้ ้องโตแ้ ยง้ ว่าบา้ นเป็ นของบุคคลอื่นซ่ึงเป็ นผูม้ ีสิทธิในที่ดิน
ใช้สิทธิน้ันปลูกสร้างไว้ จึงไม่ถือว่าเป็ นส่วนควบของท่ีดินแล้ว ผูร้ ้องตอ้ งมีภาระการพิสูจน์ (ฎีกาที่
๔๐๘๔/๒๕๔๕) แบบแจ้งการครอบครองท่ีดิน (ส.ค.๑) เป็ นหลักฐานท่ีรับฟังได้แต่เพียงว่า
ขณะแจง้ การครอบครอง ผูแ้ จง้ อา้ งว่าท่ีดินเป็ นของผูแ้ จง้ มิใช่อสังหาริมทรัพยท์ ี่ไดจ้ ดทะเบียนไวใ้ น

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๙๒

ทะเบียนที่ดินตาม ป.พ.พ.มาตรา ๑๓๗๓ อนั จะทาให้โจทก์ไดร้ ับประโยชน์จากขอ้ สันนิษฐานว่า
เป็นผูม้ ีสิทธิครอบครองจาเลยเป็ นฝ่ ายยึดถือครอบครองที่ดินพิพาท จาเลยยอ่ มไดร้ ับประโยชน์
จากขอ้ สันนิษฐานตามมาตรา ๑๓๖๙ ว่าจาเลยยึดถือท่ีดินพิพาทเพื่อตน จึงตกเป็ นหน้าที่ของ
โจทกท์ ี่ตอ้ งนาสืบหกั ลา้ งขอ้ สนั นิษฐานดงั กลา่ ว (ฎีกาที่ ๘๐๙๓/๒๕๕๑)

ข้อสังเกต
ตามแนวคาพิพากษาศาลฎีกา เอกสารสิทธิ เช่น หนังสือรับรอง การทาประโยชน์
โฉนดที่ดิน หรือเอกสารสิทธิตามกฎหมายอ่ืนท่ีไดม้ ีการจดแจง้ ทางทะเบียน เป็ นตน้ ถือเป็ นทะเบียน
ท่ีดินตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๗๓ เช่น ฎีกาท่ี ๒๕๑๖/๒๕๔๙, ๕๒๕๒/๒๕๕๐
- ฟ้องเรี ยกโคคืนจากจาเลย จาเลยต่อสู้ว่าโคเป็ นของจาเลยให้โจทก์
ลงชื่อในตวั๋ พิมพแ์ ทน ดงั น้ี ตอ้ งสนั นิษฐานวา่ โจทกม์ ีกรรมสิทธ์ิตามตว๋ั จาเลยตอ้ งมีหนา้ ที่นาสืบ
(ฎีกาท่ี ๒๗๑/๒๔๗๒)
- ถา้ ทรัพยพ์ ิพาทเป็ นทรัพยไ์ ม่มีทะเบียนกรรมสิทธ์ิ เช่น ท่ีดินมือเปล่า
สังหาริมทรัพยท์ วั่ ๆ ไป ฝ่ ายใดยึดถือไวย้ ่อมไดร้ ับประโยชน์จากขอ้ สันนิษฐานว่ามีสิทธิครอบครอง
ฝ่ ายที่โตแ้ ยง้ มีหนา้ ที่นาสืบ (ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๖๗, ๑๓๖๙)ที่ดินพิพาทเป็ นท่ีดินมือเปล่าไม่มี
หนังสือสาคญั สาหรับที่ดิน จาเลยเป็ นผูค้ รอบครองต้องด้วยขอ้ สันนิษฐานว่าจาเลยเป็ นผูค้ รอบครอง
ตามป.พ.พ.มาตรา ๑๓๖๗ โจทกอ์ า้ งว่าจาเลยครอบครองแทน ส. ภาระการพิสูจน์ตกแก่โจทก์ (ฎีกาท่ี
๑๖๒๒/๒๕๓๙) ที่ดินพิพาทเป็ นส่วนหน่ึงของท่ีดินตามหนังสือรับรองการทาประโยชน์ (น.ส.๓) ซ่ึงมี
เพยี งสิทธิครอบครอง การซ้ือขายยอ่ มกระทาไดโ้ ดยการส่งมอบการครอบครอง เมื่อมีขอ้ โตเ้ ถียง
ว่าการที่จาเลยเขา้ อยใู่ นที่ดินพิพาทโดยอาศยั โจทก์หรือโดยการซ้ือแลว้ เขา้ ครอบครองอยา่ งเป็ น
เจา้ ของ จาเลยยอ่ มไดร้ ับประโยชน์จากขอ้ สันนิษฐานของกฎหมาย ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๖๙
โจทก์จึงมีหน้าท่ีนาสืบหักลา้ งขอ้ สันนิษฐานดงั กล่าว (ฎีกาท่ี ๑๙๙๙/๒๕๓๗, ๔๓๔๓/๒๕๓๙, ๗๖๑๙/
๒๕๔๓) ขอ้ สนั นิษฐานรวมถึง น.ส.๓ ก ดว้ ย (ฎีกาท่ี ๓๕๖๕/๒๕๓๘)
ตัวอย่าง
- ฟ้องเรียกเครื่องเรือนคืนจากจาเลย จาเลยให้การว่าทรัพย์พิพาทเดิม
เป็ นของโจทก์จริง แต่โจทก์ไดข้ ายให้แก่จาเลย จาเลยชาระราคาแก่โจทก์แลว้ คู่ความรับกนั วา่
ทรัพยพ์ พิ าทอยทู่ ่ีจาเลย ดงั น้ี โจทกม์ ีหนา้ ที่ตอ้ งพิสูจน์ตามฟ้อง (ฎีกาท่ี ๓๐๔/๒๔๘๖)
- โจทก์ฟ้องว่าไดท้ ่ีดินพิพาทมาโดยจาเลยตีใชห้ น้ี จาเลยให้การว่า ไม่เคย
ยกที่ดินใช้หน้ีโจทก์ โจทก์เขา้ อยู่อาศยั โดยใช้สิทธิจาเลย เมื่อท่ีดินพิพาทเป็ นท่ีดินที่ยงั ไม่มี
หนงั สือสาคญั สาหรับที่ดิน และโจทกเ์ ป็ นฝ่ ายครอบครองท่ีดินพิพาท จึงตอ้ งดว้ ยขอ้ สันนิษฐาน

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๙๓

ตาม ป.พ.พ.มาตรา ๑๓๖๙ ว่าโจทก์เขา้ ยึดถือที่ดินพิพาทเพื่อตน โจทก์ยอ่ มไดส้ ิทธิครอบครอง
จาเลยมีหนา้ ที่นาสืบ (ฎีกาท่ี ๗๐๓/๒๕๐๘)

- โจทก์ฟ้องขอแบ่งที่ดินจากจาเลยอ้างว่าเป็ นมรดกของมารดาตกได้แก่
โจทก์จาเลยร่วมกนั จาเลยให้การวา่ มารดายกที่ดินพิพาทให้จาเลยเพียงผูเ้ ดียว จาเลยครอบครอง
เพ่ือตนมากวา่ ๑๐ ปี แลว้ ที่ดินพพิ าทมิใช่มรดก เท่ากบั ปฏิเสธวา่ ที่ดินพิพาทมิใช่มรดกของมารดา
เมื่อที่ดินพิพาทเป็ นท่ีดินมือเปล่า จาเลยเป็ นฝ่ ายครอบครอง จาเลยย่อมไดร้ ับประโยชน์จาก
ขอ้ สันนิษฐานตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๖๙, ๑๓๗๒ ว่ามีสิทธิครอบครอง โจทก์มีหน้าที่นาสืบ
(ฎีกาท่ี ๓๐๕๙ - ๓๐๖๐/๒๕๑๖)

ข้อสังเกต
ถ้าเป็ นคดีพิพาทกันระหว่างเจ้าพนักงานกับราษฎร ราษฎรอ้างว่าที่ดินพิพาท
เป็ นของตน แต่เจา้ พนักงานอา้ งว่าเป็ นที่สาธารณะ แมร้ าษฎรจะเป็ นผูค้ รอบครองก็ไม่ไดร้ ับ
ประโยชน์จากข้อสันนิษฐาน เพราะราษฎรจะยกเอาการครอบครองข้ึนยันต่อรัฐไม่ได้
ตอ้ งกลบั ไปใชห้ ลกั ทว่ั ไปท่ีว่า ผูใ้ ดกล่าวอา้ งตอ้ งมีหนา้ ที่นาสืบ(ฎีกาท่ี ๕๙๒/๒๕๑๓)ภาระการพิสูจน์
ยอ่ มตกแก่ผกู้ ลา่ วอา้ ง (ฎีกาที่ ๗/๒๕๓๙)
๒.๓.๘.๒ ข้อสันนิษฐานในเร่ื องละเมิด มีข้อสันนิษฐานเป็ นคุณแก่
ผูเ้ สียหาย ทาให้คู่ความอีกฝ่ ายหน่ึงมีภาระการพิสูจน์ เช่น ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๔๓๓, ๔๓๗
เรือกลไฟของจาเลยโยงเรือของโจทกแ์ ละทาใหเ้ รือที่โยงล่ม กรณีตอ้ งตาม ป.พ.พ. มาตรา ๔๓๗
จาเลยมีหนา้ ท่ีตอ้ งนาสืบ (ฎีกาท่ี ๖๒๗/๒๔๘๖)

- ยานพาหนะที่เดินด้วยกาลังเคร่ื องจักรกลด้วยกันโดนกัน
เสียหายไม่ตกอยูใ่ นบงั คบั แห่ง ป.พ.พ. มาตรา ๔๓๗ หนา้ ท่ีนาสืบตกอยู่ในหลกั ธรรมดา คือ ฝ่ ายใด
กล่าวอา้ ง อีกฝ่ ายหน่ึงทาละเมิดฝ่ ายท่ีกล่าวอา้ งตอ้ งนาสืบก่อน (ฎีกาท่ี ๘๒๘/๒๔๙๐,๒๓๗๙-๒๓๘๐/
๒๕๓๒, ๓๙๖/๒๕๔๔)

- กรณีที่เขา้ ขอ้ สันนิษฐานตาม ป.พ.พ. มาตรา ๔๓๗ จะตอ้ งเป็ น
ความเสียหายท่ีเกิดจากตวั ทรัพย์น้ันโดยตรง แม้กระแสไฟฟ้าจะเป็ นทรัพย์ท่ีเกิดอนั ตราย
โดยสภาพ ตามมาตรา ๔๓๗ วรรคสอง แต่ตามฟ้องโจทก์อ้างว่าเหตุละเมิดเพราะจาเลย
(การไฟฟ้า ฯ)ไม่ตดั กระแสไฟฟ้าทาให้ไม่ปลอดภยั ต่อการดบั เพลิง เป็นเหตุใหเ้ พลิงลุกลามไหม้
บา้ นโจทก์ ซ่ึงเป็ นการกระทาของบุคคล หาใช่เกิดจากตวั ทรัพยค์ ือกระแสไฟฟ้า โจทก์จึงมีภาระ
การพิสูจน์ (ฎีกาที่ ๖๘๙๒/๒๕๓๗) แท่นไฮดรอลิกสาหรับเทน้าตาลดิบออกจากรถยนตบ์ รรทุก
ซ่ึงจอดอยบู่ นแท่นไฮดรอลิกน้นั ลงฉางเก็บ เป็ นทรัพยอ์ นั เป็ นของเกิดอนั ตรายไดโ้ ดยอาการกลไก
ของทรัพยน์ ้ัน ซ่ึงจาเลยที่ ๑ ผูม้ ีไวใ้ นครอบครองจะตอ้ งรับผิดชอบเพื่อความเสียหาย อนั เกิดแต่

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๙๔

ทรัพยน์ ้นั เวน้ แต่จะพิสูจน์ไดว้ ่าความเสียหายน้ันเกิดแต่เหตุสุดวิสัยหรือเกิดเพราะความผิดของ
ผูเ้ สียหายน้ันเอง ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๔๓๗ โจทก์จึงไม่ตอ้ งนาสืบว่าเหตุที่เกิดความเสียหาย
สืบเน่ืองมาจากความประมาทเลินเล่อของลกู จา้ งจาเลยที่ ๑ (ฎีกาท่ี ๔๐๓๗/๒๕๔๕)

- เรื อใบกับเรื อกลไฟชนกัน เจ้าของเรื อใบมาฟ้องเรี ยกค่าเสียหาย
เจา้ ของเรือกลไฟจะตอ้ งนาสืบก่อนในขอ้ ที่ไม่ตอ้ งรับผิด ส่วนจานวนค่าเสียหายเป็นหนา้ ที่ของ
ฝ่ ายเรือใบตอ้ งนาสืบ (ฎีกาท่ี ๒๓๗/๒๔๙๑)

๒.๓.๙ หลักที่เกิดจากการสันนิษฐานในขอ้ เท็จจริงที่ควรจะเป็ นซ่ึงปรากฏจาก
สภาพปกติธรรมดาของเหตุการณ์ ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๘๔/๑ เป็ นหลกั ที่ไดร้ ับแนวความคิดมา
จากหลกั Res ipsa loquitur ของต่างประเทศ และเป็นหลกั ที่ศาลฎีกานาไปใชใ้ นคาพพิ ากษาหลาย
คดีก่อนท่ีจะมีการบญั ญตั ิกฎหมายมาตราน้ี ตวั อยา่ งของคาพิพากษาศาลฎีกาดงั กล่าว ไดแ้ ก่

- ครอบครองทรัพยข์ องผอู้ ื่นโดยสัญญาหรือความยนิ ยอมแลว้ ปรากฏว่าเกิด
ความเสียหายแก่ทรัพยน์ ้ัน โดยปกติผูค้ รอบครองต้องรับผิด เวน้ แต่จะพิสูจน์หักลา้ งได้ เช่น
จาเลยรับเคร่ืองคิดเลขของโจทก์ไวท้ ดลองใชเ้ พ่ือพิจารณาว่าจะซ้ือหรือไม่ ปรากฏว่าเครื่องคิดเลข
เสียหายระหวา่ งอยใู่ นความครอบครองของจาเลย จาเลยตอ้ งรับผิด เวน้ แต่จะแกต้ วั ไดว้ ่าเหตุใด
จึงไม่ตอ้ งรับผิด (ฎีกาที่ ๑๒๑๕/๒๔๙๖) โจทก์ฟ้องว่าจาเลยเช่าบา้ นโจทก์อยู่อาศยั แลว้ เกิด
ไฟไหมบ้ ้านเสียหายหมด จาเลยมีหน้าที่แสดงข้อแก้ตัวให้พน้ ความรับผิด เพราะจาเลยเป็ น
ผูค้ รอบครองทรัพยท์ ่ีเช่าในฐานะผูเ้ ช่า เม่ือจาเลยสืบไม่ได้ จาเลยก็ตอ้ งรับผิด (ฎีกาที่ ๘๔๙/๒๔๙๐)
จาเลยยมื รถยนตข์ องโจทกไ์ ปทอดผา้ ป่ า แลว้ รถชนกนั เสียหาย เมื่อขอ้ เทจ็ จริงฟังไดว้ ่าจาเลย เป็น
ผูย้ ืมรถยนต์ จาเลยตอ้ งมีหน้าท่ีนาสืบว่าจาเลยไม่ต้องรับผิดเพราะเหตุใด (ฎีกาท่ี ๑๔๕๑/๒๕๒๒)
แพไมซ้ ุงของจาเลยขาดลอยไปปะทะเสาเรือนแพของโจทก์ในแม่น้า แมโ้ จทก์จะไม่มีพยานนา
สืบถึงสาเหตุท่ีทาให้แพซุงของจาเลยหลุดลอยตามกระแสน้าว่าเป็ นเพราะอะไร จะใช่ความ
ประมาทเลินเล่อของจาเลยหรือไม่ เป็ นหนา้ ที่ของจาเลยซ่ึงเป็ นเจา้ ของแพซุงจะตอ้ งระมดั ระวงั
ดูแลรักษาแพซุงของตน (ฎีกาท่ี ๑๒๐๖/๒๕๐๐)

- ผู้ใดกล่าวอ้างสิ่งที่ผิดไปจากธรรมดา ผู้น้ันต้องมีหน้าท่ีนาสืบ เช่น
ฝาก้นั ห้องตามสภาพหาใช่สาระสาคญั ของอาคารไม่ เม่ือโจทก์อา้ งว่าเป็ นส่วนควบเพราะจารีต
ประเพณีแห่งท้องถ่ิน โจทก์จึงต้องมีหน้าที่นาสืบ (ฎีกาท่ี ๓๗๒/๒๕๐๐)ท่ีดินมีโฉนดมีช่ือ
ผูค้ ดั คา้ นถือกรรมสิทธ์ิ ผูค้ ดั คา้ นไดร้ ับประโยชน์จากขอ้ สันนิษฐานตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๗๓
ส่วนบา้ นซ่ึงปลูกอยใู่ นท่ีดินที่เป็ นส่วนควบของที่ดินและเป็ นกรรมสิทธ์ิของผคู้ ดั คา้ นตามมาตรา
๑๔๔ ผูร้ ้องโตแ้ ยง้ ว่าบา้ นเป็ นของบุคคลซ่ึงเป็ นผูม้ ีสิทธิในที่ดินใช้สิทธิปลูกสร้างไว้ ไม่ถือว่า
เป็ นส่วนควบ ผูร้ ้องตอ้ งมีภาระการพิสูจน์ (ฎีกาท่ี ๔๐๘๔/๒๕๔๕) มีการโอนเงินจากฮ่องกง

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๙๕

มาเขา้ บญั ชีของจาเลยท่ี ๑ ถา้ ไม่มีหลกั ฐานเป็ นอยา่ งอื่น ในเบ้ืองตน้ ตอ้ งฟังวา่ เงินจานวนดงั กล่าว
เป็ นของจาเลยที่ ๑ ผูเ้ ป็ นเจ้าของบัญชี เมื่อผูค้ ดั คา้ นอ้างว่าเงินจานวนดังกล่าวมิใช่เป็ นของ
จาเลยท่ี ๑ ผคู้ ดั คา้ นจึงมีภาระการพิสูจน์ใหฟ้ ังไดต้ ามขอ้ อา้ งของตน (ฎีกาท่ี ๔๑๗๑/๒๕๓๒)

- ถ้าข้อเท็จจริงอย่างหน่ึงอย่างใดอยู่ในความรู้เห็นของคู่ความฝ่ ายใด
โดยเฉพาะคู่ความฝ่ ายน้ันมีหนา้ ที่นาสืบ เช่น จาเลยที่ ๑ เป็ นลูกจา้ งและมีหนา้ ท่ีขบั รถยนตข์ อง
จาเลยท่ี ๒ และไดข้ บั รถโดยประมาทชนโจทก์ไดร้ ับความเสียหาย เช่นน้ี ถือไดว้ ่าจาเลยท่ี ๑
ทาละเมิดในทางการที่จ้าง เม่ือจาเลยที่ ๒ ต่อสู้ว่าจาเลยท่ี ๑ ลอบเอารถยนต์ไปใช้ในกิจธุระ
ส่วนตวั ของจาเลยที่ ๑ เอง จาเลยท่ี ๒ ตอ้ งมีหนา้ ท่ีนาสืบ (ฎีกาท่ี ๔๕๕/๒๕๑๒) โจทกเ์ ป็นผผู้ ลิต
และระบุองคป์ ระกอบรวมท้งั แสดงขอ้ บ่งใชไ้ วใ้ นฉลาก ยอ่ มตอ้ งมีภาระที่จะตอ้ งพิสูจน์ใหเ้ ห็นว่า
ยาฆ่าเช้ืออลั - ไบโอไซด์ ๒๕ มีส่วนประกอบตามท่ีระบไุ วจ้ ริง การท่ีศาลช้นั ตน้ กาหนดให้จาเลย
มีภาระการพิสูจนจ์ ึงไม่ถูกตอ้ ง และเป็นขอ้ กฎหมายอนั เกี่ยวดว้ ยความสงบเรียบร้อยของประชาชนศาลฎีกา
มีอานาจแกไ้ ขและวินิจฉัยไปตามภาระการพิสูจน์ที่ถูกตอ้ งได(้ ฎีกาที่ ๖๐๓๔/๒๕๕๔) แมพ้ ยาน
โจทก์ท้ังสองไม่สามารถนาสืบให้เห็นว่า จาเลยที่ ๒ ประมาทเลินเล่อในการผ่าตัดและ
รักษาพยาบาลโจทก์อยา่ งไร จาเลยท่ี ๒ เป็ นแพทยผ์ ูเ้ ชี่ยวชาญดา้ นศลั ยกรรมดา้ นเลเซอร์ผ่าตดั
จาเลยท่ี ๒ มีหนา้ ท่ีตอ้ งใชค้ วามระมดั ระวงั ตามวิสยั และพฤติการณ์เป็นพิเศษ แตก่ ารที่จาเลยที่ ๒
ผ่าตดั โจทก์เป็ นเหตุให้ต้องผ่าตดั เพื่อแก้ไขถึง ๓ คร้ัง แสดงว่าจาเลยท่ี ๒ ไม่ใชค้ วามระมดั ระวงั
นบั วา่ เป็นความประมาทเลินเลอ่ ของจาเลยที่ ๒ (ฎีกาที่ ๒๙๒/๒๕๔๒)

๒.๓.๑๐ หลักที่เกิดจากข้อสันนิษฐานของกฎหมายอื่น ตามบทบัญญัติของ
กฎหมายอ่ืน

- พ.ร.บ. ป้องกนั และปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๕๑
วรรคสาม ที่ว่า หากผูอ้ า้ งว่าเป็ นเจา้ ของหรือผูร้ ับโอนทรัพยส์ ินที่เก่ียวกบั การกระทาความผิด
ตามมาตรา ๕๐ วรรคหน่ึง เป็นผซู้ ่ึงเกี่ยวขอ้ งหรือเคยเกี่ยวขอ้ งสมั พนั ธ์กบั ผกู้ ระทาผดิ มูลฐานหรือ
ความผิดฐานฟอกเงินมาก่อน ให้สันนิษฐานไวก้ ่อนว่าบรรดาทรัพยส์ ินดงั กล่าว เป็ นทรัพยส์ ินท่ี
เก่ียวกับการกระทาความผิดหรือได้รับโอนมาโดยไม่สุจริต เป็ นหน้าท่ีของผูอ้ า้ งหรือผูร้ ับโอน
ดงั กล่าวที่จะตอ้ งนาสืบเพ่ือหักลา้ งขอ้ สันนิษฐานของกฎหมายดงั กล่าว (ฎีกาท่ี ๔๔๒๘/๒๕๕๐)

หมายเหตุ
เป็ นการฟ้องตามมาตรา ๕๙ วรรคหน่ึง ต้องฟ้องต่อศาลแพ่งและนา
ป.ว.ิ พ. มาใชบ้ งั คบั

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๙๖

- ภาระการพิสูจน์ว่าคู่สัญญาอนุญาโตตุลาการฝ่ ายใดฝ่ ายหน่ึงเป็ น
ผูบ้ กพร่องในเร่ืองความสามารถหรือไม่ และผูค้ ดั คา้ นซ่ึงเป็ นผูจ้ ะถูกบงั คบั ไดท้ ราบล่วงหน้า
โดยชอบถึงการแต่งต้ังอนุญาโตตุลาการหรือการพิจารณาหรือไม่ สามารถเข้าต่อสู้ในช้ัน
อนุญาโตตุลาการเพราะเหตุประการอ่ืนหรือไม่ พ.ร.บ. อนุญาโตตุลาการฯ มาตรา ๓๔ (๑) และ (๓)
กาหนดให้ผูค้ ดั คา้ นซ่ึงเป็ นผูจ้ ะถูกบงั คบั ตามคาช้ีขาดของอนุญาโตตุลาการเป็ นผูพ้ ิสูจน์ไม่ใช่
ผรู้ ้อง (ฎีกาที่ ๑๕๐๕/๒๕๔๗)

- การร้องขอให้ทรัพย์สินตกเป็ นของแผ่นดินของผูท้ ่ีถูกกล่าวหาว่าร่ารวย
ผิดปกติตาม พ.ร.บ. ประกอบรัฐธรรมนูญว่าดว้ ยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ.
๒๕๔๒ ท่ีคณะกรรมการ ป.ป.ช. ยนื่ ตอ่ ศาลซ่ึงมีเขตอานาจพจิ ารณาพพิ ากษาคดีตาม มาตรา ๘๐
ซ่ึงตามมาตรา ๘๑ วรรคสอง บญั ญตั ิใหผ้ ถู้ กู กล่าวหามีภาระการพิสูจน์ท่ีตอ้ งแสดง ใหศ้ าลเห็นวา่
ทรัพยส์ ินดงั กลา่ วมิไดเ้ กิดจากการร่ารวยผิดปกติ

๒.๓.๑๑ ประเด็นท่ีเป็นขอ้ กฎหมาย
ประเด็นขอ้ กฎหมายศาลวนิ ิจฉยั ไดเ้ อง คูค่ วามไม่ตอ้ งนาสืบ เช่น
- ประเด็นท่ีวา่ ฟ้องโจทกเ์ คลือบคลุมหรือไม่ เป็นปัญหาขอ้ กฎหมาย

เรื่องฟ้องเคลือบคลุมเป็ นปัญหาขอ้ กฎหมาย แต่จาเลยมิไดย้ ่ืนคาให้การต่อสู้คดีไว้ จึงไม่มีประเด็น
ในเร่ืองดงั กล่าว ท้งั มิใช่ขอ้ ท่ีไดย้ กข้ึนว่ากันมาแล้วโดยชอบในศาลช้ันต้น และเร่ืองฟ้องเคลือบคลุม
หรือไม่ในคดีแพ่ง มิใช่ปัญหาอนั เกี่ยวดว้ ยความสงบเรียบร้อยของประชาชน ศาลฎีกาจึงไม่อาจหยิบยกข้ึน
วินิจฉยั เองได้(ฎีกาท่ี ๓๔๙๘/๒๕๔๖, ๔๐๓๗/๒๕๔๗, ๑๐๘๘๑/๒๕๔๖, ๓๑๑๕-๓๑๑๖/๒๕๕๐)

- ประเด็นที่ว่าฟ้องโจทก์คดีน้ีเป็ นฟ้องซอ้ นฟ้องซ้าการดาเนินกระบวนพิจารณาซ้า
หรือไม่ เป็ นขอ้ กฎหมายอนั เกี่ยวกบั ความสงบเรียบร้อยของประชาชน หากในศาลช้นั ตน้ จาเลยมิได้
ต่อสู้และต้งั เป็ นประเด็นไว้ เมื่อปรากฏในช้นั อุทธรณ์ ฎีกา ศาลอุทธรณ์ ฎีกา ก็ยกข้ึนวินิจฉัย
เองได้ (ฎีกาที่ ๑๐๓๘/๒๕๑๒, ๕๖- ๕๗/๒๕๑๖,๒๒๕๙/๒๕๒๖, ๔๗๑/๒๕๔๑, ๗๗๒๐/๒๕๔๒,
๓๙๖๒/๒๕๔๗, ๗๔๒๙/๒๕๕๑)

- จาเลยไม่ไดย้ กอายคุ วามเร่ืองลาภมิควรไดข้ ้ึนต่อสู้ไวใ้ นคาให้การ จึงเป็ น
ขอ้ ท่ีไม่ไดย้ กข้ึนว่ากล่าวกนั มาแลว้ โดยชอบในศาลล่างท้งั สอง ท้งั มิใช่ขอ้ กฎหมายอนั เก่ียวดว้ ย
ความสงบเรียบร้อยของประชาชน ศาลฎีกาไมร่ ับวนิ ิจฉยั (๑๐๖๖๙/๒๕๔๖, ๑๗๑๑ - ๑๗๑๒/๒๕๔๗,
๑๖๔๖/๒๕๔๘)

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๙๗

ข้อสังเกตเกย่ี วกบั คาสั่งศาลช้ันต้นในการชี้สองสถาน
๑. คาส่งั ศาลช้นั ตน้ ในการช้ีสองสถานเป็นกระบวนพจิ ารณาอยา่ งหน่ึง ถา้ หากศาลกาหนด

ประเด็นขอ้ พิพาทหรือหน้าที่นาสืบผิดพลาด ถือไดว้ ่าเป็ นการดาเนินกระบวนพิจารณาท่ีผิดระเบียบ
ศาลอาจมีคาส่ังเพิกถอนหรือแกไ้ ขไดเ้ อง ตามมาตรา ๒๗ ศาลย่อมมีอานาจที่จะพิพากษาคดีไป
ตามภาระการพสิ ูจนท์ ี่ถกู ตอ้ งได้ (ฎีกาท่ี ๑๖๕๖/๒๕๔๕) หรือถา้ คู่ความจะคดั คา้ นก็แถลงต่อศาล
ในขณะน้นั ได้ หากคู่ความมิไดค้ ดั คา้ นในวนั ช้ีสองสถาน แต่ถา้ คูค่ วามมาทราบขอ้ ผิดพลาดภายหลงั
ก็มีสิทธิย่ืนคาร้องคดั ค้านต่อศาลภายใน ๗ วนั นับแต่วนั ที่ศาลสั่งกาหนดประเด็นข้อพิพาท
หรือหนา้ ท่ีนาสืบ และใหศ้ าลช้ีขาดคาคดั คา้ นน้นั ก่อนวนั สืบพยาน ตามมาตรา ๑๘๓ วรรคทา้ ย

๒. คาส่งั ช้ีขาดของศาลช้นั ตน้ ในการช้ีสองสถานก็ดี คาส่งั เพกิ ถอนหรือแกไ้ ขคาส่งั เดิมก็ดี
หรือคาส่ังไม่ยอมเพิกถอนหรือแกไ้ ขคาส่ังเดิมตามท่ีคู่ความร้องขอก็ดี ถือว่าเป็ นคาส่ังระหว่างพิจารณา
ซ่ึงตอ้ งห้ามมิให้อุทธรณ์ในระหว่างพิจารณาตามมาตรา ๒๒๖ คู่ความที่ไม่เห็นดว้ ยจะตอ้ งโตแ้ ยง้ ไว้
เพ่ือใชส้ ิทธิอุทธรณ์เมื่อศาลไดม้ ีคาพพิ ากษาแลว้

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๙๘

ตวั อย่างการกาหนดประเดน็ ข้อพพิ าทและหน้าท่นี าสืบ

สัญญา
โจทกฟ์ ้องวา่ จาเลยผดิ สญั ญาซ้ือขายไม่ส่งมอบสินคา้ ตามกาหนดเป็ นเหตใุ หโ้ จทก์ไดร้ ับ
ความเสียหาย จาเลยใหก้ ารวา่ โจทกเ์ ป็นฝ่ ายผิดสัญญาไม่ยอมรับสินคา้ เอง จาเลยมิไดผ้ ดิ สัญญา
วนั ช้ีสองสถานจาเลยรับวา่ จาเลยผิดสัญญา แตแ่ ถลงต่อไปวา่ โจทกไ์ มเ่ สียหาย
ประเดน็ ข้อพพิ าท โจทกไ์ ดร้ ับความเสียหายเพยี งใดหรือไม่
หน้าทีน่ าสืบ ใหโ้ จทกเ์ ป็นฝ่ ายนาสืบก่อน
เหตุผล โจทกฟ์ ้องว่าจาเลยผิดสัญญา จาเลยปฏิเสธ แต่ในวนั ช้ีสองสถานจาเลยรับว่าจาเลยผิด
สัญญา จึงไม่ตอ้ งกาหนดประเด็นขอ้ พิพาทวา่ จาเลยผิดสัญญาหรือไม่ ส่วนค่าเสียหายแมจ้ าเลย
มิไดใ้ ห้การต่อสู้ไว้ โจทก์ก็มีหน้าที่นาสืบให้ฟังไดว้ ่าโจทก์ไดร้ ับความเสียหายเพียงใดเพราะ
โจทก์จะมีสิ ทธิ เรี ยกค่าเสี ยหายก็ต่อเมื่อโจทก์ได้รับความเสี ยหายจริ งและเรี ยกค่าเสี ยหายได้
จึงตอ้ งกาหนดเป็ นประเด็นขอ้ พิพาทและภาระการพิสูจน์ตกแก่โจทก์ โจทก์จึงมีหนา้ ที่นาสืบก่อน
(ฎีกาที่ ๔๗/๒๔๘๙)

ละเมิด
๑. โจทก์ฟ้องว่า จาเลยขบั รถยนต์โดยประมาทชนรถจกั รยานที่โจทก์ขบั มาทาให้โจทก์ไดร้ ับ
บาดเจ็บขอให้ชาระค่าเสียหาย จาเลยให้การว่าเหตุเกิดเพราะความผิดของฝ่ ายโจทก์ที่ขับ
รถจกั รยานตดั หนา้ รถยนตท์ ่ีจาเลยขบั และโจทกม์ ิไดเ้ สียหายตามฟ้อง
ประเด็นข้อพพิ าท

๑. เหตทุ ่ีรถชนกนั เป็นเพราะความผิดของโจทกห์ รือไม่
๒. คา่ เสียหายของโจทกม์ ีเพียงใด
หน้าที่นาสืบ
ประเดน็ ขอ้ แรก จาเลยเป็นฝ่ ายนาสืบก่อน
ส่วนประเดน็ ขอ้ หลงั โจทกเ์ ป็นฝ่ ายนาสืบ
เหตุผล ประเด็นขอ้ แรกจาเลยรับว่าขบั รถยนต์ชนรถจักรยานท่ีโจทก์ขบั มาจริง จาเลยเป็ น
ผูค้ รอบครองยานพาหนะอนั เดินดว้ ยกาลงั เคร่ืองจกั รกล จะตอ้ งรับผิดชอบเพ่ือความเสียหาย
อนั เกิดแต่ยานพาหนะน้นั เวน้ แต่จะพิสูจน์ไดว้ า่ ความเสียหายเกิดแต่เหตุสุดวิสัย หรือเกิดเพราะ
ความผิดของผตู้ อ้ งเสียหายเองตาม ป.พ.พ. มาตรา ๔๓๗ ดงั น้นั ภาระการพสิ ูจน์ในประเด็นขอ้ แรก
จึงตกแก่จาเลย (ฎีกาที่ ๕๕๙/๒๕๐๐) ส่วนประเด็นขอ้ สองเรื่องค่าเสียหายน้นั ภาระการพิสูจน์ยอ่ มตก
แก่โจทก์

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๙๙

๒. โจทกฟ์ ้องวา่ จาเลยประมาทเลินเล่อในการใชไ้ ฟฟ้า เป็นเหตุใหเ้ กิดเพลิงไหมห้ อ้ งของจาเลย
แลว้ ลุกลามไหม้ห้องของโจทก์ซ่ึงอยู่ติดกนั ไดร้ ับความเสียหาย จาเลยให้การว่า จาเลยมิได้
ประมาทเลินเลอ่ แต่เกิดจากกระแสไฟฟ้าลดั วงจรโดยมิใช่ความผิดของจาเลย
ประเด็นข้อพพิ าท

๑. จาเลยประมาทเลินเล่อในการใชไ้ ฟฟ้าเป็ นเหตุให้เกิดเพลิงไหมห้ ้องโจทกเ์ สียหาย หรือ
เหตุเกิดเพราะกระแสไฟฟ้าลดั วงจรอนั เป็นเหตุสุดวิสัย

๒. คา่ เสียหายของโจทกม์ ีเพียงใด
หน้าที่นาสืบ ให้จาเลยเป็ นฝ่ ายนาสืบก่อนในประเด็นขอ้ แรก แลว้ ใหโ้ จทก์สืบแกพ้ ร้อมกบั นาสืบ
ในประเดน็ ขอ้ สอง แลว้ ใหจ้ าเลยสืบแก้
เหตุผล จาเลยรับว่าเพลิงไหมห้ ้องของโจทก์เสียหายเพราะไฟฟ้าซ่ึงอยู่ในความครอบครอง
ของจาเลย ไฟฟ้าเป็ นทรัพยอ์ นั เป็ นของเกิดอนั ตรายไดโ้ ดยสภาพ โจทก์จึงไดร้ ับประโยชน์จาก
ขอ้ สันนิษฐาน ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๔๓๗ ว่าจาเลยจะตอ้ งรับผิดชอบเพ่ือความเสียหายที่เกิดข้ึน
เวน้ แต่จะพิสูจน์ได้ว่าการเสียหายเกิดแต่เหตุสุดวิสัยหรือเกิดเพราะความผิดของโจทก์ผูต้ อ้ ง
เสียหาย คดีน้ีจาเลยต่อสู้ว่ากระแสไฟฟ้าลดั วงจรโดยมิใช่ความผิดของจาเลยอนั เป็ นเหตุสุดวิสัย
ภาระการพิสูจน์ย่อมตกแก่จาเลย จาเลยมีหน้าท่ีนาสืบก่อนในประเด็นขอ้ แรก ส่วนประเด็น
ขอ้ สองภาระการพสิ ูจน์ตกแก่โจทก์ โจทกจ์ ึงมีหนา้ ที่นาสืบก่อน (ฎีกาท่ี ๗๖๒/๒๕๑๗)

๓. โจทก์ฟ้องว่า จาเลยประมาทเลินเล่อโดยหุงขา้ วแลว้ ไม่ดบั ถ่าน เป็ นเหตุให้เกิดเพลิงไหม้ห้อง
ของจาเลยแลว้ ลกุ ลามไหมห้ อ้ งของโจทกซ์ ่ึงอยตู่ ิดกนั ไดร้ ับความเสียหาย จาเลยใหก้ ารวา่ จาเลย
มิไดป้ ระมาทเลินเล่อ แตเ่ พลิงไหมเ้ พราะมีคนลอบวางเพลิง
ประเดน็ ข้อพพิ าท

๑. จาเลยประมาทเลินเล่อหุงข้าวแล้วไม่ดับถ่านเป็ นเหตุให้เพลิงไหม้ห้องของโจทก์
เสียหายหรือไม่

๒. คา่ เสียหายของโจทกม์ ีเพียงใด
หน้าทีน่ าสืบ ใหโ้ จทกเ์ ป็นฝ่ ายนาสืบก่อน
เหตุผล โจทกก์ ล่าวอา้ งว่าจาเลยประมาทเลินเล่อหุงขา้ วแลว้ ไม่ดบั ถ่าน จาเลยปฏิเสธ แมจ้ าเลย
จะรับว่าเพลิงลุกลามจากห้องของจาเลย จาเลยก็ต่อสู้ว่าเหตุเกิดเพราะคนลอบวางเพลิง ไม่มี
กฎหมายสันนิษฐานให้เจา้ ของห้องต้นเพลิงต้องรับผิด ภาระการพิสูจน์ในประเด็นขอ้ แรก
ยอ่ มตกแก่โจทก์ผูก้ ล่าวอา้ ง ส่วนประเด็นขอ้ สองเรื่องค่าเสียหาย ภาระการพิสูจน์ตกแก่โจทก์
โจทกจ์ ึงมีหนา้ ท่ีนาสืบก่อนท้งั สองประเด็น (ฎีกาที่ ๓๐๗/๒๕๐๑)

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๑๐๐

ซื้อขาย
๑.โจทก์ฟ้องว่า จาเลยซ้ือเชื่อสินคา้ จากโจทก์ไปโดยมีกาหนดชาระราคาภายใน ๓เดือน ถึงกาหนดแล้ว
ไมย่ อมชาระ จาเลยใหก้ ารวา่ จาเลยซ้ือจริงแต่ชาระราคาแลว้
ประเด็นข้อพพิ าท จาเลยชาระราคาสินคา่ ที่ซ้ือจากโจทกใ์ หโ้ จทกแ์ ลว้ หรือไม่
หน้าท่ีนาสืบ ใหจ้ าเลยเป็นฝ่ ายนาสืบก่อน
เหตผุ ล เมื่อจาเลยรับวา่ ซ้ือสินคา้ จากโจทก์ จาเลยจึงมีหนา้ ท่ีหรือหน้ีที่จะตอ้ งชาระราคาแก่โจทก์
ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๔๘๖ หน้ีรายน้ีเป็ นหน้ีตามสัญญาต่างตอบแทนซ่ึงมีกาหนดเวลาชาระหน้ี
ภายใน ๓ เดือน โจทก์ส่งมอบสินค้าอันเป็ นการชาระหน้ีของโจทก์แล้ว จาเลยมีหน้ีท่ีจะต้องชาระ
ตอบแทนภายในกาหนดเงื่อนเวลา ภาระการพสิ ูจน์ยอ่ มตกแก่จาเลย จาเลยจึงมีหนา้ ท่ีนาสืบก่อน
(ฎีกาที่ ๑๑๙/๒๔๗๕, ๒๒๘๙/๒๕๑๖, ๖๔๔๓/๒๕๔๔)

๒. โจทกฟ์ ้องวา่ จาเลยยมื แหวนของโจทกไ์ ปแลว้ ไมส่ ่งคืน จาเลยใหก้ ารวา่ โจทกข์ ายใหจ้ าเลย
และไดร้ ับเงินไปเรียบร้อยแลว้
ประเด็นข้อพพิ าท จาเลยยมื แหวนเพชรของโจทกไ์ ปหรือไม่
หน้าทนี่ าสืบ ใหโ้ จทกเ์ ป็นฝ่ ายนาสืบก่อน
เหตผุ ล โจทกก์ ลา่ วอา้ งวา่ จาเลยยมื แหวนเพชรของโจทก์ จาเลยปฏิเสธ แมจ้ าเลยจะอา้ งวา่ โจทก์
ขายให้ก็เป็ นการโตเ้ ถียงกรรมสิทธ์ิในทรัพยท์ ่ีจาเลยครอบครองอยู่ จาเลยยอ่ มไดร้ ับประโยชน์
จากข้อสันนิษฐานว่าจาเลยยึดถือเพ่ือตนและไดส้ ิทธิครอบครองตามป.พ.พ.มาตรา๑๓๖๗,๑๓๖๙
ภาระการพิสูจน์ตกแก่โจทก์ โจทกจ์ ึงมีหนา้ ท่ีนาสืบก่อน (ฎีกาท่ี ๓๐๔/๒๔๘๖, ๙๗๑/๒๔๙๒)

เช่าทรัพย์
๑.โจทกฟ์ ้องวา่ จาเลยเช่ารถยนตข์ องโจทกไ์ ป แต่ประมาทเลินเลอ่ ทารถยนตห์ าย ขอใหจ้ าเลยใช้
คา่ เสียหาย จาเลยใหก้ ารวา่ เช่าจริงแต่รถยนตห์ ายเพราะถกู คนร้ายลกั โดยมิใช่ความผิดของจาเลย
ประเด็นข้อพพิ าท

๑. จาเลยทารถยนตข์ องโจทกห์ ายโดยประมาทเลินเลอ่ หรือไม่
๒. ค่าเสียหายของโจทกม์ ีเพยี งใด
หน้าที่นาสืบ จาเลยมีหน้าที่นาสืบในประเด็นขอ้ แรก ส่วนโจทก์มีหน้าท่ีนาสืบในประเด็นขอ้ สอง
เพ่อื ความสะดวกใหจ้ าเลยนาสืบก่อนท้งั สองประเดน็ แลว้ จึงใหโ้ จทกน์ าพยานเขา้ สืบ
เหตุผล ขอ้ เท็จจริงฟังไดต้ ามที่จาเลยรับหรือถือว่ารับว่า จาเลยเช่ารถยนต์ของโจทก์ไปแลว้
รถยนตข์ องโจทก์หายตาม ป.พ.พ. มาตรา ๕๕๓ ผูเ้ ช่าจาตอ้ งสงวนทรัพยส์ ินที่เช่าน้ันเสมอกบั

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๑๐๑

วิญญูชนจะพึงสงวนทรัพยส์ ินของตน เมื่อจาเลยอา้ งว่ารถยนต์ที่เช่าหายเพราะถูกคนร้ายลกั
โดยมิใช่ความผดิ ของจาเลย จาเลยยอ่ มมีภาระที่จะตอ้ งพิสูจนว์ า่ จาเลยไดใ้ ชค้ วามระมดั ระวงั ดูแล
รักษารถยนต์ท่ีเช่าเสมอกบั วิญญูชนแลว้ จาเลยจึงมีหนา้ ที่นาสืบก่อนในประเด็นขอ้ แรก (ฎีกาที่
๖๐๓/๒๔๙๐) ส่วนประเด็นขอ้ สองภาระการพิสูจน์ตกแก่โจทก์ โจทกจ์ ึงมีหนา้ ท่ีนาสืบก่อน

๒. โจทก์ฟ้องว่า จาเลยผิดสัญญาเช่า โจทกบ์ อกเลิกสัญญาแลว้ ขอใหจ้ าเลยส่งที่ดินคืน จาเลย
ใหก้ ารวา่ “นอกจากท่ีให้การต่อไปนี้ ขอให้ถือว่าปฏิเสธฟ้องโจทก์ท้ังสิ้น” แลว้ ใหก้ ารต่อไปวา่
จาเลยมิไดผ้ ิดสัญญา ขอให้ยกฟ้อง วนั ช้ีสองสถานจาเลยแถลงวา่ จาเลยผิดสัญญาจริง แต่โจทก์
ยงั มิไดบ้ อกเลิกสัญญา ไม่มีอานาจฟ้องเรียกท่ีดินคืน
ประเด็นข้อพพิ าท ไม่ตอ้ งกาหนด
หน้าทน่ี าสืบ งดสืบพยานท้งั สองฝ่ าย
เหตุผล โจทก์ฟ้องว่าจาเลยผิดสัญญาเช่า โจทก์บอกเลิกสัญญาแล้ว จาเลยต่อสู้ว่าจาเลยมิได้
ผิดสัญญา แต่ในวนั ช้ีสองสถานจาเลยรับว่าจาเลยผิดสัญญาจริง ขอ้ เท็จจริงจึงฟังไดว้ ่าจาเลย
ผิดสัญญา ศาลไม่จาต้องกาหนดเป็ นประเด็นขอ้ พิพาท ท่ีจาเลยแถลงต่อไปว่าโจทก์ยงั มิได้
บอกเลิกสัญญาไม่มีอานาจฟ้องเรียกที่ดินคืนน้ัน ไม่ก่อให้เกิดประเด็นขอ้ พิพาท เพราะจาเลย
มิไดใ้ ห้การต่อสู้ไว้ จาเลยจะแถลงใหเ้ กิดประเด็นขอ้ พิพาทนอกเหนือคาให้การของตนหาไดไ้ ม่
แม้จาเลยจะให้การว่านอกจากท่ีให้การต่อไปน้ี ขอให้ถือว่าปฏิเสธฟ้องโจทก์ท้งั ส้ิน ก็เป็ น
คาให้การที่ไม่ชดั แจง้ ไม่ชอบดว้ ย ป.วิ.พ. มาตรา ๑๗๗ ถือไม่ไดว้ า่ จาเลยปฏิเสธฟ้องของโจทก์
ในเรื่องการบอกเลิกสัญญา เม่ือจาเลยไม่ปฏิเสธถือว่าจาเลยรับโจทก์ไม่ตอ้ งนาสืบ ศาลส่ังงด
สืบพยานท้งั สองฝ่ ายแลว้ พิพากษาคดีไปได้ (ฎีกาที่ ๑๑๙๖/๒๕๑๑, ๘๔๕/๒๕๑๓)

๓. โจทก์ฟ้องขบั ไล่จาเลยออกจากห้องเช่า อา้ งว่าผิดนดั ไม่ชาระค่าเช่า จาเลยให้การว่าจาเลย
มิไดผ้ ิดนดั เพราะจาเลยนาคา่ เช่าไปชาระแก่โจทกแ์ ลว้ แต่โจทกไ์ ม่ยอมรับ
ประเด็นข้อพพิ าท จาเลยผิดนดั ชาระคา่ เช่าหรือไม่
หน้าที่นาสืบ ใหจ้ าเลยเป็นฝ่ ายนาสืบก่อน
เหตุผล คาให้การของจาเลยดงั กล่าวเท่ากับจาเลยยอมรับว่ายงั มิได้ชาระค่าเช่าให้แก่โจทก์
โดยจาเลยกล่าวอ้างว่าโจทก์ไม่ยอมรับจาเลยจึงมิได้ผิดนัด ภาระการพิสูจน์จึงตกแก่จาเลย
จาเลยมีหนา้ ที่นาสืบใหส้ มขอ้ ตอ่ สู้ (ฎีกาท่ี ๖๓๖ - ๖๔๐/๒๕๐๒)

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๑๐๒

รับขน
โจทก์ฟ้องว่า จาเลยรับขนสินคา้ ของโจทก์แต่ประมาทเลินเล่อทาสินคา้ สูญหายไปท้ังหมด
ขอให้จาเลยใชค้ ่าเสียหาย จาเลยให้การวา่ สินคา้ ที่รับขนถูกคนร้ายปลน้ เอาไปโดยมิใช่ความผดิ
ของจาเลย
ประเดน็ ข้อพพิ าท
๑. จาเลยตอ้ งรับผิดในการที่สินคา้ ของโจทกส์ ูญหายไปหรือไม่
๒. ค่าเสียหายของโจทกม์ ีเพยี งใด
หน้าท่ีนาสืบ จาเลยมีภาระการพิสูจน์ในประเด็นขอ้ แรก ส่วนโจทกม์ ีภาระการพิสูจน์ในประเด็น
ขอ้ สอง เพือ่ ความสะดวกใหจ้ าเลยนาสืบก่อนท้งั สองประเด็น แลว้ จึงใหโ้ จทกน์ าพยานเขา้ สืบ
เหตุผล จาเลยรับว่าจาเลยรับขนสินค่าของโจทก์และสินคา้ ของโจทก์สูญหายไป แต่ต่อสู้ว่า
สินคา้ สูญหายเพราะถูกคนร้ายปลน้ เอาไปโดยมิใช่ความผิดของจาเลยตาม ป.พ.พ. มาตรา ๖๑๖
ผูข้ นส่งจะต้องรับผิดในการท่ีของที่รับขนสูญหาย เวน้ แต่จะพิสูจน์ไดว้ ่าการสูญหายน้ันเกิด
แต่เหตุสุดวิสัย ขอ้ ต่อสู้ของจาเลยเป็ นการอา้ งเหตุสุดวิสัย ภาระการพิสูจน์ย่อมตกแก่จาเลย
แมโ้ จทกจ์ ะอา้ งวา่ จาเลยประมาทเลินเล่อ กไ็ ม่ทาใหค้ วามรับผดิ ของจาเลยเปล่ียนแปลงไป จาเลย
จึงมีหนา้ ที่นาสืบก่อนในประเด็นขอ้ แรก(ฎีกาที่ ๔๕๖/๒๕๓๔) ส่วนประเด็นขอ้ สอง ภาระการ
พสิ ูจน์ตกแก่โจทก์ โจทกจ์ ึงมีหนา้ ที่นาสืบก่อน (ฎีกาท่ี ๘๒๘/๒๔๙๘)

กู้ยืม
๑.โจทก์ฟ้องเรียกเงินตามสัญญากูเ้ งิน จาเลยให้การต่อสู้ว่าสัญญากูเ้ งินเป็ นนิติกรรมอาพราง
สัญญาจา้ งแรงงาน ความจริงจาเลยไมไ่ ดร้ ับเงินเลย
ประเด็นข้อพพิ าท จาเลยกูเ้ งินโจทกต์ ามฟ้องหรือไม่
หน้าทน่ี าสืบ ใหจ้ าเลยเป็นฝ่ ายนาสืบก่อน
เหตุผล จาเลยมิได้ปฏิเสธว่ามิได้ทาสัญญากู้เงินตามฟ้อง ถือว่าจาเลยรับว่าทาสัญญากู้เงิน
เม่ือจาเลยกล่าวอา้ งขอ้ เท็จจริงข้ึนใหม่วา่ สัญญากูเ้ งินก็เป็ นนิติกรรมอาพราง อนั เป็ นการต่อสู้วา่
สัญญากูเ้ งินไม่สมบูรณ์ ภาระการพิสูจน์ย่อมตกแก่จาเลย จาเลยจึงมีหน้าท่ีนาสืบก่อน (ฎีกาที่
๕๐๗/๒๔๙๗)

๒.โจทก์ฟ้องเรียกเงินตามสัญญากู้เงิน จาเลยให้การต่อสู้ว่า สัญญากู้เงินปลอม โจทก์หลอก
ใหจ้ าเลยลงชื่อในกระดาษแบบพมิ พเ์ ปลา่ แลว้ ไปกรอกขอ้ ความเอาเองโดยจาเลยไมไ่ ดร้ ับเงิน
ประเด็นข้อพพิ าท จาเลยกูเ้ งินโจทกต์ ามฟ้องหรือไม่
หน้าทน่ี าสืบ ใหโ้ จทกเ์ ป็นฝ่ ายนาสืบก่อน

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๑๐๓

เหตุผล โจทก์กล่าวอา้ งว่าจาเลยกูเ้ งินโจทก์ จาเลยปฏิเสธโดยต่อสู้ว่าสัญญากูเ้ งินเป็ นเอกสารปลอม
แมจ้ าเลยไม่ปฏิเสธลายมือชื่อผูก้ ูเ้ งิน จาเลยก็ไม่รับวา่ ทาสัญญากู้ ภาระการพิสูจน์ยอ่ มตกแก่โจทก์
โจทกจ์ ึงมีหนา้ ท่ีนาสืบก่อน (ฎีกาที่ ๖๑/๒๕๓๐)

๓. โจทกฟ์ ้องเรียกเงินตามสัญญากเู้ งิน จาเลยใหก้ ารวา่ จาเลยตกลงขายสวนใหโ้ จทก์ โจทกก์ ลบั
หลอกลวงใหจ้ าเลยทาสัญญากูเ้ งินโดยจาเลยไมไ่ ดร้ ับเงินเลย
ประเดน็ ข้อพพิ าท จาเลยกูเ้ งินโจทกต์ ามฟ้องหรือไม่
หน้าทนี่ าสืบ ใหจ้ าเลยเป็นฝ่ ายนาสืบก่อน
เหตุผล จาเลยรับวา่ ทาสัญญากูเ้ งินตามฟ้อง แต่ต่อสู้ว่าโจทกห์ ลอกลวงให้จาเลยทาสัญญากูเ้ งิน
โดยจาเลยไม่ไดร้ ับเงิน อนั เป็ นการต่อสู้ว่าโจทก์ทากลฉ้อฉลและจาเลยสาคญั ผิดในสิ่งซ่ึงเป็ น
สาระสาคญั แห่งนิติกรรม จาเลยมีสิทธินาสืบไดว้ ่าสัญญากูเ้ งินไม่สมบูรณ์ มิใช่เป็ นการสืบเปลี่ยนแปลง
แกไ้ ขขอ้ ความในเอกสาร ไม่ตอ้ งห้ามตามป.วิ.พ.มาตรา ๙๔แต่จาเลยเป็ นฝ่ ายกล่าวอา้ งขอ้ เทจ็ จริงข้ึนใหม่
ภาระการพสิ ูจนย์ อ่ มตกแก่จาเลย จาเลยจึงมีหนา้ ที่นาสืบก่อน (ฎีกาที่ ๘๙๕/๒๕๑๗)

๔.โจทก์ฟ้องว่า จาเลยกู้เงินโจทก์ตามสาเนาสัญญากู้เงินท้ายฟ้องถึงกาหนดแล้วไม่ชาระ
จาเลยใหก้ ารวา่ จาเลยทาสัญญากเู้ งินโดยไม่ไดก้ ูแ้ ละไม่ไดร้ ับเงินจากโจทก์
ประเด็นข้อพพิ าท ไม่ตอ้ งกาหนด
หน้าที่นาสืบ งดสืบพยานท้งั สองฝ่ าย
เหตุผล จาเลยรับว่าทาสัญญากูเ้ งินตามฟ้อง แมจ้ าเลยปฏิเสธวา่ ไม่ไดก้ ูเ้ งินและไมไ่ ดร้ ับเงินจากโจทก์
จาเลยก็มิไดอ้ า้ งเหตุโดยชดั แจง้ ในคาให้การว่าไม่ไดก้ ูเ้ งินและไม่ไดร้ ับเงินเพราะเหตุใด คาใหก้ าร
จาเลยจึงไม่มีเหตุแห่งการปฏิเสธไม่ชอบด้วย ป.วิ.พ. มาตรา ๑๗๗ ไม่มีประเด็นที่จะนาสืบ
เมื่อจาเลยรับวา่ ทาสญั ญากูเ้ งินและไม่มีสิทธินาสืบหักลา้ งเอกสารสญั ญากูเ้ งิน จาเลยกต็ อ้ งรับผิด
ตามสัญญากูเ้ งินโดยโจทกไ์ มต่ อ้ งนาสืบ จึงงดสืบพยานท้งั สองฝ่ าย (ฎีกาท่ี ๓๒๘๓/๒๕๒๔)

ทรัพย์สิน
๑.โจทก์ฟ้องว่า เคร่ืองตดั หญา้ ของโจทก์ถูกคนร้ายลกั ไปและจาเลยรับไวโ้ ดยรู้อยู่แลว้ ว่าเป็ น
ของร้ายที่ไดม้ าจากการกระทาผดิ ขอใหส้ ่งคืน จาเลยใหก้ ารวา่ จาเลยซ้ือเคร่ืองตดั หญา้ ของโจทก์
จากทอ้ งตลาดโดยสุจริต ไมจ่ าตอ้ งคืนเวน้ แต่จะไดร้ ับชดใชร้ าคาที่ซ้ือมา
ประเดน็ ข้อพพิ าท จาเลยซ้ือเคร่ืองตดั หญา้ รายพพิ าทจากทอ้ งตลาดโดยสุจริตหรือไม่
หน้าท่ีนาสืบ ใหจ้ าเลยเป็นฝ่ ายนาสืบก่อน
เหตุผล โจทกฟ์ ้องวา่ เครื่องตดั หญา้ รายพิพาทเป็ นของโจทกซ์ ่ึงถกู คนร้ายลกั ไป จาเลยไม่ปฏิเสธ
ถือว่าจาเลยรับ โจทก์ในฐานะเจา้ ของกรรมสิทธ์ิยอ่ มมีสิทธิติดตามเอาคืนไดแ้ ละมีสิทธิจาหน่าย

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๑๐๔

แต่ผูเ้ ดียวตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๓๖ ผูท้ ่ีรับซ้ือไวจ้ ากผูท้ ่ีไม่มีสิทธิยอ่ มไม่มีสิทธิอย่างใด ตาม
หลกั ทว่ั ไปที่ว่าผูร้ ับโอนไม่มีสิทธิดีกว่าผูโ้ อน แต่จาเลยต่อสู้ว่าจาเลยซ้ือเคร่ืองตดั หญา้ รายพิพาท
จากทอ้ งตลาดโดยสุจริต ไม่จาตอ้ งคืนแก่เจา้ ของเวน้ แต่จะไดร้ ับชดใชร้ าคาที่ซ้ือมาตาม ป.พ.พ.
มาตรา ๑๓๓๒ เป็ นการกล่าวอ้างว่า จาเลยผู้รับโอนมีสิทธิดีกว่าผู้โอนอันเป็ นข้อยกเว้น
หลกั ทว่ั ไป ภาระการพสิ ูจนย์ อ่ มตกแก่จาเลย จาเลยจึงมีหนา้ ท่ีนาสืบก่อน (ฎีกาท่ี ๙๐๗/๒๔๙๐)

๒. โจทก์ฟ้องว่า ไดท้ ่ีพิพาทซ่ึงเป็ นท่ีดินมือเปล่ามาโดยจาเลยตีราคาชาระหน้ี จาเลยให้การว่า
ไม่เคยตีราคาชาระหน้ี แต่โจทกเ์ ขา้ ไปอยใู่ นที่พิพาทโดยอาศยั จาเลย
ประเด็นข้อพิพาท โจทกไ์ ดส้ ิทธิครอบครองที่ดินรายพิพาทโดยจาเลยตีใชห้ น้ีหรือโจทก์อาศยั
จาเลย
หน้าที่นาสืบ ใหจ้ าเลยเป็นฝ่ ายนาสืบก่อน
เหตุผล ที่ดินรายพิพาทเป็ นที่ดินมือเปล่าซ่ึงมีเพียงสิทธิครอบครอง โจทก์เป็ นฝ่ ายยึดถือ
ครอบครองอยู่จึงไดร้ ับประโยชน์จากขอ้ สันนิษฐานตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๖๗ และ ๑๓๖๙
ว่าโจทก์ยึดถือเพ่ือตนและได้สิทธิครอบครอง จาเลยกล่าวอา้ งว่าโจทก์เขา้ ไปอยู่ในท่ีดินราย
พิพาทโดยอาศยั จาเลย เท่ากบั อา้ งว่าโจทก์ยึดถือครอบครองที่ดินแทนจาเลย ภาระการพิสูจน์
หกั ลา้ งขอ้ สันนิษฐานดงั กลา่ วยอ่ มตกแก่จาเลย จาเลยจึงมีหนา้ ที่นาสืบก่อน (ฎีกาที่ ๙๑๓/๒๔๙๕)

๓.โจทก์ฟ้องว่า ที่พิพาทเป็ นของโจทก์ มี น.ส.๓ เป็ นหลักฐาน จาเลยให้การว่าท่ีพิพาท
เป็นทางสาธารณะ และ น.ส. ๓ ตามสาเนาทา้ ยฟ้องยงั ไมถ่ กู ตอ้ ง
ประเดน็ ข้อพพิ าท ที่ดินรายพพิ าทเป็นของโจทกห์ รือไม่
หน้าท่นี าสืบ ใหจ้ าเลยเป็นฝ่ ายนาสืบก่อน
เหตุผล ตามคาฟ้องและคาใหก้ ารไม่ปรากฏว่าฝ่ ายใดยึดถือครอบครองท่ีดินรายพิพาท แต่โจทก์
มี น.ส. ๓ เป็นหลกั ฐาน โจทกเ์ ป็นผมู้ ีช่ือในทะเบียนตอ้ งดว้ ยขอ้ สันนิษฐานตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๗๓
ว่าผมู้ ีช่ือในทะเบียนเป็ นผมู้ ีสิทธิครอบครอง (ฎีกาที่ ๓๑๙๖/๒๕๓๗,๓๒๔๐/๒๕๓๗, ๓๕๖๕/๒๕๓๘,
๕๔๗๙/๒๕๔๓ประชุมใหญ่, ๓๗๖๐/๒๕๔๕) แมจ้ าเลยไม่รับรองความถูกตอ้ งของ น.ส.๓ ซ่ึงมีช่ือ
โจทก์ แต่ น.ส. ๓ เป็ นเอกสารมหาชน กฎหมายให้สันนิษฐานไวก้ ่อนว่าเป็ นของแท้จริงถูกต้อง
จาเลยจึงตอ้ งมีหนา้ ที่นาสืบถึงความไมถ่ กู ตอ้ งของ น.ส. ๓ น้ีดว้ ย

๔. โจทก์ฟ้องว่า จาเลยบุกรุกเขา้ มาแย่งที่ดินซ่ึงมี น.ส. ๓ ของโจทก์เม่ือ ๗ เดือนก่อนฟ้อง
จาเลยใหก้ ารวา่ จาเลยบุกรุกแยง่ การครอบครองมาเกิน ๑ ปี แลว้ โจทกไ์ ม่มีสิทธิฟ้องเรียกคืน
ประเดน็ ข้อพพิ าท จาเลยแยง่ การครอบครองท่ีดินรายพพิ าทมาเกิน ๑ ปี แลว้ หรือไม่
หน้าท่ีนาสืบ ใหจ้ าเลยเป็นฝ่ ายนาสืบก่อน

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๑๐๕

เหตุผล ที่ดินรายพพิ าทเป็นท่ีดินมี น.ส. ๓ ซ่ึงมีเพียงสิทธิครอบครอง จาเลยมิไดป้ ฏิเสธวา่ โจทก์
ไม่ใช่เจา้ ของผมู้ ีสิทธิครอบครอง ถือว่าจาเลยรับ โจทกม์ ีสิทธิฟ้องเอาคืนซ่ึงการครอบครองภายใน ๑ ปี
นบั แต่ถูกแยง่ การครอบครอง ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๗๕ จาเลยกล่าวอา้ งขอ้ เท็จจริงข้ึนใหม่ว่า
จาเลยแยง่ การครอบครองท่ีดินรายพิพาทมาเกิน ๑ปี แลว้ (ตามฟ้องอา้ งวา่ จาเลยแยง่ การครอบครอง
เพยี ง ๗ เดือน) ภาระการพิสูจนย์ อ่ มตกแก่จาเลย จาเลยจึงมีหนา้ ท่ีนาสืบก่อน (ฎีกาที่ ๑๙๙๑/๒๕๒๔)

๕.โจทกฟ์ ้องวา่ โจทกม์ อบท่ีดินมือเปล่าซ่ึงไม่มีเอกสารสิทธิ ใหจ้ าเลยทากินต่างดอกเบ้ียเงินกูม้ า
๑๐ ปี ขอใหจ้ าเลยส่งที่ดินคืนและรับชาระหน้ี จาเลยใหก้ ารวา่ โจทกข์ ายใหจ้ าเลย
ประเด็นข้อพพิ าท โจทกม์ อบท่ีดินรายพพิ าทใหจ้ าเลยทากินตา่ งดอกเบ้ียเงินกหู้ รือไม่
หน้าที่นาสืบ ใหโ้ จทกเ์ ป็นฝ่ ายนาสืบก่อน
เหตุผล ที่ดินรายพิพาทเป็ นที่ดินมือเปล่าซ่ึงมีเพียงสิทธิครอบครอง จาเลยเป็ นฝ่ ายยึดถือ
ครอบครองอยู่ จึงไดร้ ับประโยชน์จากขอ้ สนั นิษฐานตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๖๗ และ ๑๓๖๙ วา่
จาเลยยึดถือเพ่ือตนและไดส้ ิทธิครอบครอง โจทก์ฟ้องว่า มอบท่ีดินรายพิพาทให้จาเลยทากิน
ต่างดอกเบ้ียเงินกู้อนั เป็ นการกล่าวอา้ งว่า โจทก์มีสิทธิครอบครองโดยจาเลยยึดถือไวแ้ ทนตาม
มาตรา ๑๓๖๘ แต่จาเลยปฏิเสธ ภาระการพิสูจน์ยอ่ มตกแก่โจทก์ โจทก์จึงมีหนา้ ท่ีนาสืบก่อน
(ฎีกาท่ี ๒๐๑/๒๔๙๐)

๖.โจทก์ฟ้องว่า จาเลยขายท่ีดินมีโฉนดให้โจทก์โดยมิได้จดทะเบียนและโจทก์ครอบครอง
อยา่ งเป็นเจา้ ของดว้ ยความสงบและเปิ ดเผยมาเกิน ๑๐ ปี จนไดก้ รรมสิทธ์ิแลว้ จาเลยให้การว่า
มอบท่ีดินใหโ้ จทกท์ ากินต่างดอกเบ้ีย
ประเดน็ ข้อพพิ าท โจทกไ์ ดก้ รรมสิทธ์ิที่ดินรายพพิ าทโดยการครอบครองปรปักษห์ รือไม่
หน้าท่ีนาสืบ ใหโ้ จทกเ์ ป็นฝ่ ายนาสืบก่อน
เหตุผล ท่ีดินรายพิพาทเป็ นที่ดินมีโฉนดซ่ึงมีกรรมสิทธ์ิ จาเลยมีช่ือเป็ นเจา้ ของกรรมสิทธ์ิใน
โฉนดซ่ึงเป็ นทะเบียนที่ดิน และ ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๗๓ บญั ญตั ิสันนิษฐานไวว้ ่าจาเลย ผูม้ ีช่ือ
ในทะเบียนเป็ นผมู้ ีสิทธิครอบครอง แมโ้ จทก์จะเป็ นผูย้ ดึ ถือที่ดินรายพพิ าทและไดร้ ับประโยชน์
จากข้อสันนิษฐานตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๖๗, ๑๓๖๙ ว่า โจทก์ยึดถือเพื่อตนและได้สิทธิ
ครอบครอง แต่การที่จะไดก้ รรมสิทธ์ิในที่ดินของผูอ้ ่ืนจะตอ้ งมีการครอบครองโดยความสงบ
และโดยเปิ ดเผยดว้ ยเจตนาเป็ นเจา้ ของติดต่อกันเป็ นเวลาสิบปี ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๘๒
โจทก์ย่อมมีภาระท่ีจะต้องพิสูจน์ว่าการครอบครองของโจทก์เป็ นไปโดยความสงบและ
โดยเปิ ดเผยดว้ ยเจตนาเป็นเจา้ ของ โจทกจ์ ึงมีหนา้ ท่ีนาสืบก่อน (ฎีกาที่ ๕๒๑/๒๔๙๓)

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๑๐๖

มรดก
โจทก์ฟ้องขอแบ่งมรดกจากจาเลยซ่ึงต่างเป็ นบุตรของเจา้ มรดก โดยฟ้องเมื่อพน้ ๑ ปี
นับแต่เจ้ามรดกตาย อ้างว่าครอบครองมรดกร่วมกบั จาเลย จาเลยให้การว่า เจ้ามรดกทาพินัยกรรม
ยกมรดกใหจ้ าเลยคนเดียว จาเลยครอบครองมรดกฝ่ ายเดียว คดีโจทกข์ าดอายคุ วาม วนั ช้ีสองสถาน
จาเลยรับวา่ เจา้ มรดกไม่ไดท้ าพินยั กรรม
ประเด็นข้อพพิ าท คดีโจทกข์ าดอายคุ วามแลว้ หรือไม่
หน้าที่นาสืบ ใหโ้ จทกเ์ ป็นฝ่ ายนาสืบก่อน
เหตุผล โจทก์และจาเลยต่างเป็ นทายาทโดยเป็ นบุตรของเจา้ มรดก จาเลยต่อสู้ว่าเจา้ มรดกทา
พินัยกรรมยกมรดกให้จาเลยคนเดียว แต่ในวันช้ีสองสถานจาเลยรับว่าเจ้ามรดกไม่ได้ทา
พินยั กรรม จึงไม่ตอ้ งกาหนดเป็ นประเด็นขอ้ พิพาท คงมีประเด็นขอ้ พิพาทเพียงขอ้ เดียวว่าคดี
โจทกข์ าดอายคุ วามแลว้ หรือไม่ ปรากฏว่าโจทก์ฟ้องขอแบ่งมรดกเม่ือพน้ ๑ ปี นบั แต่เจา้ มรดกตาย
ถา้ หากโจทก์มิไดค้ รอบครองทรัพยม์ รดก ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๗๔๘ คดีโจทก์ย่อมขาดอายุความ
ตามมาตรา ๑๗๕๔ ดงั ท่ีจาเลยให้การต่อสู้ โจทก์กล่าวอา้ งว่าโจทก์ครอบครองมรดกร่วมกบั
จาเลย จาเลยปฏิเสธ ภาระการพิสูจน์ตกแก่โจทก์ โจทก์จึงมีหนา้ ท่ีนาสืบก่อน (ฎีกาท่ี ๑๔๕๓/
๒๔๘๒, ๘๒๖/๒๔๘๔, ๑๗๗๕/๒๔๙๓)

คดีร้องขดั ทรัพย์
ผูร้ ้องย่ืนคาร้องขอให้ปล่อยทรัพยท์ ่ียึดอา้ งว่าเป็ นของผูร้ ้อง โจทก์ให้การว่าทรัพยท์ ่ียึด
เป็ นของจาเลย
ประเด็นข้อพพิ าท ทรัพยท์ ่ียดึ เป็นของผรู้ ้องหรือไม่
หน้าทน่ี าสืบ ใหผ้ รู้ ้องเป็นฝ่ ายนาสืบก่อน
เหตุผล ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๘๘ บุคคลใดกล่าวอา้ งว่าจาเลยหรือลูกหน้ีตามคาพิพากษาไมใ่ ช่
เจา้ ของทรัพยส์ ินที่เจา้ พนกั งานบงั คบั คดีไดย้ ึดไว้ บุคคลน้นั อาจยืน่ คาร้องขอต่อศาลที่ออกหมาย
บงั คบั คดีใหป้ ลอ่ ยทรัพยส์ ินเช่นวา่ น้นั คาร้องขอดงั กลา่ วจึงเป็นเสมือนคาฟ้องที่โจทกเ์ สนอขอ้ หา
ต่อศาล ตามป.วิ.พ. มาตรา๑ (๓)ดังน้ัน ผูร้ ้องจึงมีฐานะเสมือนเป็ นโจทก์ ส่วนโจทก์มีฐานะเสมือน
เป็นจาเลย เมื่อผูร้ ้องกล่าวอา้ งว่าทรัพยท์ ่ียดึ เป็ นของตน แต่โจทกย์ ืนยนั ว่าเป็ นของจาเลยซ่ึงเป็ น
ลูกหน้ีตามคาพิพากษา เมื่อไม่มีขอ้ สันนิษฐานของกฎหมายเป็ นคุณแก่ผูร้ ้อง ภาระการพิสูจน์
ย่อม ต ก แ ก่ ผู้ร้ อ ง ท่ี จ ะ ต้อ ง นาสื บให้สมข้อกล่าวอ้างน้ัน ผู้ร้องจึงมีหน้าท่ีนาสื บ ก่ อ น
(ฎีกาที่ ๗๐๕/๒๔๙๗, ๖๐๙/๒๕๐๒, ๕๔๐/๒๕๒๖)

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๑๐๗

คดีร้องขดั ทรัพยโ์ ดยทวั่ ไปศาลจะไม่ช้ีสองสถาน แต่จะสั่งให้ผูร้ ้องนาสืบก่อนและนดั สืบพยาน
ผรู้ ้องไปทนั ที

๒.๔ การกาหนดวนั สืบพยาน

๒.๔.๑ เม่ือมีการช้ีสองสถานแลว้ ใหศ้ าลกาหนดวนั สืบพยานซ่ึงจะตอ้ งมีระยะเวลา
ไมน่ อ้ ยกวา่ ๑๐ วนั นบั แต่วนั ช้ีสองสถานตามมาตรา ๑๘๔ วรรคหน่ึง

โดยผลของมาตรา ๑๘๓ ทวิ บญั ญตั ิให้คู่ความท่ีไม่มาศาลในวนั ช้ีสองสถาน
ทราบกระบวนพิจารณาของศาลในวนั ช้ีสองสถานแลว้ ดงั น้ี เมื่อศาลกาหนดวนั สืบพยานก็ไม่
จาตอ้ งหมายนดั แจง้ วนั สืบพยานใหค้ ู่ความทราบอีก เพราะถือว่าคู่ความที่ไม่มาศาลทราบวนั นดั
ของศาลแลว้ (ฎีกาท่ี ๑๗๙/๒๕๓๐, ๔๑๙๙/๒๕๓๐, ๔๖๓/๒๕๓๑)

๒.๔.๒ กรณีที่ไม่มีการช้ีสองสถาน ศาลจะต้องออกหมายกาหนดวันนัดสืบพยาน
ส่งใหแ้ ก่คูค่ วามทราบลว่ งหนา้ ไม่นอ้ ยกวา่ ๑๐ วนั ตามมาตรา ๑๘๔ วรรคสอง

๒.๔.๓ การกาหนดวนั สืบพยานของศาล ควรปฏิบตั ิตาม
๒.๔.๓.๑ คาแนะนาของประธานศาลฎีกาเกี่ยวกบั การนงั่ พิจารณาต่อเน่ือง

และครบองคค์ ณะ ลงวนั ที่ ๑๙ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๔๔ โดยใหน้ ดั พิจารณาคดีทีละคดีติดต่อกนั
ไปจนเสร็จการพจิ ารณาคดีน้นั ๆ

๒.๔.๓.๒ ระเบียบราชการฝ่ ายตุลาการศาลยุติธรรม ว่าด้วยแนวปฏิบตั ิ
ในการนงั่ พิจารณาคดีครบองคค์ ณะและต่อเนื่อง พ.ศ. ๒๕๔๕ ขอ้ ๖ ที่กาหนดให้ศาลสืบพยาน
อยา่ งตอ่ เนื่องติดต่อกนั ไปจนกวา่ จะเสร็จการพิจารณา

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๑๐๘

บทท่ี ๓
ผลของการชี้สองสถาน

๑. การแก้ไขคาฟ้องหรือคาให้การ

๑.๑ เมื่อศาลช้ีสองสถานแลว้ คู่ความย่ืนคาร้องขอแกไ้ ขคาฟ้องหรือคาให้การอีกไม่ได้
เน่ืองจากตามมาตรา ๑๘๐ คู่ความตอ้ งยนื่ คาร้องดงั กล่าวก่อนวนั ช้ีสองสถาน

๑.๒ ขอ้ ยกเวน้ ให้คู่ความย่ืนคาร้องขอแก้ไขคาฟ้องหรือคาให้การได้ภายหลังส้ินเวลา
ตามขอ้ ๑.๑ ไดแ้ ก่ กรณีมีเหตุอนั สมควรท่ีไม่อาจยื่นคาร้องไดก้ ่อนน้ัน หรือเป็ นการขอแกไ้ ข
ในเรื่องเก่ียวกับความสงบเรียบร้อยของประชาชน หรือเป็ นการแก้ไขขอ้ ผิดพลาดเล็กน้อย
หรือขอ้ ผดิ หลงเลก็ นอ้ ย

โปรดดูรายละเอียดในเร่ืองการแกไ้ ขคาฟ้องหรือคาใหก้ าร

๒. การพจิ ารณาพพิ ากษาตามประเดน็ ข้อพพิ าทที่กาหนดไว้

๒.๑ คู่ความตอ้ งนาสืบตามประเด็นขอ้ พิพาท หากนาสืบนอกฟ้องนอกประเด็น ศาลยอ่ ม
ไม่รับฟังและคูค่ วามอีกฝ่ ายหน่ึงมีสิทธิคดั คา้ นได้

การท่ีศาลไม่รับฟังพยานหลกั ฐานที่คู่ความนาสืบต่างกบั การที่ศาลไม่เชื่อพยานหลกั ฐาน
ตามท่ีนาสืบ ตวั อยา่ งเช่น โจทก์ฟ้องว่าจาเลยเป็ นหน้ีจานองตน้ เงิน ๒๐๐,๐๐๐ บาท ดอกเบ้ียคา้ ง
ชาระ ๑๕๐,๐๐๐ บาท จาเลยต่อสู้วา่ ไดผ้ อ่ นชาระตน้ เงินไปบา้ งแลว้ คงเหลือตน้ เงิน ๑๒๕,๔๐๐บาท
และค้างดอกเบ้ีย ๘๓,๖๒๖ บาท ช้ันพิจารณา จาเลยนาสืบว่าผ่อนชาระต้นเงินบ้างแล้ว
คงค้างต้นเงิน ๙๕,๔๐๐ บาท และดอกเบ้ีย ๖๑,๑๒๖ บาท โจทก์ไม่ได้นาสืบหักล้างดังน้ี
ศาลจะตอ้ งฟังตามขอ้ ต่อสูข้ องจาเลยวา่ คา้ งชาระตน้ เงิน ๑๒๕,๔๐๐ บาท ดอกเบ้ีย ๘๓,๖๒๖ บาท
จะฟังว่าจาเลยเป็ นหน้ีตน้ เงิน ๙๕,๔๐๐ บาท ดอกเบ้ีย ๖๑,๑๒๖ บาท ตามท่ีจาเลยนาสืบไม่ได้
แมโ้ จทกจ์ ะไม่ไดส้ ืบพยานหกั ลา้ งคาพยานของจาเลย (ฎีกาที่ ๑๔๙๗/๒๕๐๖)

๒.๒ ศาลตอ้ งช้ีขาดตดั สินคดีตามประเด็นขอ้ พิพาทที่กาหนดไวใ้ นการช้ีสองสถานเท่าน้นั
การช้ีขาดตดั สินคดีในประเด็นท่ีคู่ความมิได้ยกข้ึนเป็ นสภาพแห่งข้อหาและข้ออ้างท่ีอาศัย
เป็ นหลักแห่งข้อหาท่ีปรากฏตามคาฟ้องและคาให้การย่อมทาไม่ได้เพราะเป็ นการวินิจฉัย
นอกประเด็น เวน้ แต่ในขณะท่ีศาลจะพิพากษาคดี ปรากฏว่าประเด็นขอ้ พิพาทท่ีกาหนดไวอ้ าจ
ไม่ครอบคลุมถึงปัญหาท่ีคู่ความโตเ้ ถียงกัน ทาให้ไม่สามารถวินิจฉัยตดั สินคดีได้ ศาลอาจ
กาหนดประเด็นขอ้ พิพาทเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลงถอ้ ยคาในประเด็นขอ้ พิพาทเดิมให้มีเน้ือหา

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๑๐๙

หรือขอ้ ความที่ครอบคลุมกวา้ งขวางข้ึนได้ แต่ประเด็นขอ้ พิพาทท่ีกาหนดเพิ่มเติมน้ีจะตอ้ ง
รวมอยใู่ นประเด็นขอ้ พิพาทเดิม หรือมีความหมายรวมอยใู่ นประเด็นเดิม (ฎีกาที่ ๒๕๙๑/๒๕๒๙,
๔๔๗๖/๒๕๒๙, ๓๔๒๐-๓๔๒๑/๒๕๓๕,๒๔๘/๒๕๔๑)

แต่ประเด็นท่ีเก่ียวกบั ความสงบเรียบร้อยของประชาชน แมค้ ู่ความจะไม่ไดย้ กข้ึนอา้ ง
หรือตอ่ สู้ หากศาลเห็นสมควรก็ยกข้ึนวนิ ิจฉยั ได้ ตามมาตรา ๑๔๒ (๕)

โปรดดูรายละเอียดในเร่ืองการพิจารณา

๓. คู่ความไม่มาศาลในวนั ชีส้ องสถาน

๓.๑ เม่ือคู่ความทุกฝ่ ายทราบนดั ช้ีสองสถานโดยชอบแลว้ หากคู่ความทุกฝ่ ายหรือฝ่ ายใด
ฝ่ายหน่ึงไมม่ าศาลในวนั ช้ีสองสถาน ใหศ้ าลทาการช้ีสองสถานไปไดต้ ามมาตรา ๑๘๓ทวิ วรรคหน่ึง

๓.๒ กรณีตามขอ้ ๓.๑ ถือวา่ คู่ความท่ีไม่มาศาลไดท้ ราบกระบวนพิจารณาในวนั น้นั แลว้
ตามมาตรา ๑๘๓ ทวิ วรรคหน่ึง ซ่ึงหมายความรวมถึงคาสั่งนัดสืบพยานในกรณีท่ีตอ้ งทาการ
สืบพยานต่อไป และการอ่านคาพิพากษาในกรณีท่ีศาลเห็นว่าไม่จาเป็ นต้องสืบพยานและ
มีคาพิพากษาในวนั เดียวกนั น้นั

๓.๓ คู่ความที่ไม่มาศาลไมม่ ีสิทธิคดั คา้ นประเด็นขอ้ พพิ าทและหนา้ ที่นาสืบที่ศาลกาหนด
เวน้ แต่เป็นกรณีไม่อาจมาศาลในวนั ช้ีสองสถาน เพราะเหตุจาเป็ นอนั มิอาจกา้ วล่วงได้ หรือเป็น
การคดั คา้ นในเร่ืองเก่ียวกบั ความสงบเรียบร้อยของประชาชนตามมาตรา ๑๘๓ ทวิ วรรคสอง

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๑๑๐

บทท่ี ๔
การจดรายงานกระบวนพจิ ารณาในการชี้สองสถาน

๑. ตัวอย่างการจดรายงานกระบวนพิจารณาในกรณีสั่งเรียกค่าขึ้นศาลเพ่ิมก่ อนชี้สองสถาน
(มาตรา ๑๕๐ วรรคสาม)

๑.๑ “นัดชีส้ องสถานวนั นี้ โจทก์ จาเลย และทนายของท้ังสองฝ่ ายมาศาล
คดีนีโ้ จทก์ฟ้องขับไล่เป็นคดีไม่มีทุนทรัพย์ จาเลยให้การต่อสู้กรรมสิทธ์ิ จึงเป็นคดี

มีทนุ ทรัพย์ ต้องเรียกค่าขึน้ ศาลเพ่ิมตามราคาที่พิพาท
โจทก์แถลงว่า ท่ีพิพาทมรี าคาประมาณ ๑๐๐,๐๐๐ บาท
จาเลยไม่ค้าน
ศาลเห็นชอบด้วย จึงให้ถือราคาท่ีพิพาท ๑๐๐,๐๐๐ บาท เป็ นจานวนทุนทรัพย์

และให้โจทก์จัดการชาระค่าขึน้ ศาลเพ่ิมเสียให้ครบถ้วนภายในกาหนด ๗ วนั นบั แต่วันนี้
เพ่ือความรวดเร็ว เห็นสมควรดาเนินการชีส้ องสถานไปโดยไม่ต้องรอ”
(ตอ่ จากน้ี จดรายงานกระบวนพจิ ารณาต่อไปตามขอ้ ๒ )

๑.๒ “นัดชีส้ องสถานวันนี้ โจทก์ จาเลย และทนายของท้ังสองฝ่ ายมาศาล
เนื่องจากจาเลยให้การต่อสู้ว่า โจทก์ตรี าคาทรัพย์สินท่ีพิพาทตา่ ไป
ศาลสอบจาเลย จาเลยแถลงว่า ทรัพย์สินท่ีพิพาทมรี าคาอย่างตา่ ประมาณ ๑,๐๐๐,๐๐๐

บาท แต่โจทก์ตีราคาเพียง ๑๐๐,๐๐๐ บาท เพื่อหลีกเลีย่ งค่าขึน้ ศาล
โจทก์แถลงว่า โจทก์ตีราคาทรัพย์สินที่พิพาทตามท่ีโจทก์ซื้อมาเม่ือ ๕ ปี ก่อน

ถึงราคาจะเพิ่มขึน้ บ้างกไ็ ม่สูงเท่าท่ีจาเลยอ้าง
ศาลพิเคราะห์แล้ว เห็นสมควรกาหนดราคาทรัพย์สินที่พิพาทเป็ นเงิน ๕๐๐,๐๐๐ บาท

ถือเป็นจานวนทุนทรัพย์ โจทก์และจาเลยเห็นชอบด้วย
ให้โจทก์จัดการชาระค่าขึน้ ศาลเพิ่มเสียให้ครบถ้วนภายในกาหนด ๗ วัน นับแต่วนั นี้

และเพื่อความรวดเร็ว เห็นสมควรดาเนินการชีส้ องสถานไปโดยไม่ต้องรอ”
(ต่อจากน้ี จดรายงานกระบวนพิจารณาตอ่ ไปตามขอ้ ๒ )

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๑๑๑

๒. ตัวอย่างรายงานกระบวนพจิ ารณาในวันนัดชีส้ องสถาน
นัดชีส้ องสถานวนั นี้ โจทก์ จาเลย และทนายท้ังสองฝ่ ายมาศาล
ศาลไกล่เกลย่ี แล้ว คู่ความตกลงกันไม่ได้ จึงดาเนินการชีส้ องสถานไป
โจทก์/จาเลย แถลงรับข้อเทจ็ จริงเกยี่ วกับ………………………………………และขอสละ

ประเดน็ เก่ยี วกบั ……………………………………………………
ศาลตรวจคาฟ้อง คาให้การ และคารับของคู่ความแล้ว คดมี ีประเดน็ พิพาท ดงั นี้
๑……………………………………………………………………………………………
๒…………………………………………………………………………………………….
๓…………………………………………………………………………………………….
ประเดน็ ข้อแรกเป็นปัญหาข้อกฎหมาย ศาลวินิจฉัยได้เอง ประเดน็ ข้อ ๒. และ ๓. โจทก์

เป็นฝ่ ายกล่าวอ้าง จาเลยปฏิเสธ ภาระการพิสูจน์ตกแก่โจทก์ ให้โจทก์นาพยานหลักฐานเข้าสืบ
ก่อนแล้วจาเลยสืบแก้

โจทก์แถลงว่าประสงค์จะนาพยานเข้าสืบ…..ปาก พยานอันดับ………..เป็ นพยานหมาย
ส่วนพยานที่เหลือโจทก์จะนามาสืบเอง ใช้เวลาสืบให้แล้วเสร็จไม่เกิน…….นัด โดยพยาน
อันดับ….เก่ียวข้องเป็น……………………… อันดับ…………………เกี่ยวข้องเป็น…………. และ
อันดบั ……………….เก่ียวข้องเป็น…………………………..

จาเลยแถลงว่าประสงค์จะนาพยานเข้าสืบ……………………….ปาก จาเลยจะนาสืบเอง
ทั้งหมด ใช้ เวลาสืบให้ แล้วเสร็จไม่เกิน……….นัด โดยพยานอันดับ…………เก่ียว ข้อง
เป็น……………… อันดับ………..เกยี่ วข้องเป็น………………….. และอันดบั …………….เก่ยี วข้อง
เป็ น……………………………………

คู่ความทั้งสองฝ่ ายแถลงว่าพยานบุคคลที่อ้างมีภูมิลาเนาอยู่ในเขตศาลนี้ทุกปาก
ไม่มพี ยานผ้เู ชี่ยวชาญและไม่มพี ยานที่ต้องใช้ล่าม

ให้นัดสืบพยานโจทก์…………..นดั และนัดสืบพยานจาเลย……………….นัด
ให้ คู่ความกาหนดวันและเวลานัดท่ีศูนย์นัดความ และปฏิบัติตามคาสั่งศาลในการ
เตรียมคดที ี่แนบมาพร้อมรายงานน.ี้

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๑๑๒

ส่วนที่ ๔
ช้ันพจิ ารณา

บทท่ี ๑
การพจิ ารณาคดีรวมกนั

การพิจารณาคดีรวมกนั น้นั ตามมาตรา ๒๘ จะเป็นโดยศาลเห็นสมควรส่ังรวมเองโดยไม่มี
คู่ความฝ่ายใดร้องขอ (ฎีกาท่ี ๑๕๒๓ - ๑๕๒๔/๒๕๒๘) หรือคู่ความฝ่ ายหน่ึงฝ่ ายใดหรือท้งั สอง
ฝ่ ายเป็ นผู้ขอก็ได้ แต่ต้องเป็ นเวลาก่อนศาลมีคาพิพากษา การยื่นคาขอจะทาเป็ นคาร้องก็ได้
หากจาเลยเป็ นฝ่ ายขอจะแถลงมาในคาใหก้ ารก็ได้ หรือผูข้ อจะแถลงต่อศาลดว้ ยวาจาขณะที่ศาล
ออกนงั่ พิจารณาก็ได้ ศาลจะตอ้ งสอบถามและฟังคู่ความทุกฝ่ ายเสียก่อนว่าจะคดั คา้ นประการใด
หรือไม่ การสั่งอนุญาตหรือไม่เป็ นดุลพินิจของศาล แม้คู่ความคดั คา้ นหากศาลเห็นสมควร
เพราะกรณีตอ้ งดว้ ยมาตรา ๒๘ ศาลมีอานาจสั่งอนุญาตให้รวมพิจารณาคดีได้ หรือแมค้ ู่ความ
ไม่คดั คา้ น แต่ศาลอาจเห็นว่าไม่สมควรอนุญาตให้รวมพิจารณาก็ได้ เช่น คดีมีการสืบพยาน
ไปบา้ งแลว้

ขอ้ สาคญั เมื่อรวมแลว้ จะตอ้ งเป็ นการสะดวกในการพิจารณา (ฎีกาท่ี ๑๐๔๘/๒๕๒๓)
ในทางปฏิบตั ิจะนาคดีหมายเลขมากมารวมพิจารณากบั คดีหมายเลขน้อย โดยถือสานวนคดี
หมายเลขน้อยเป็ นหลกั เวน้ แต่กรณีองค์คณะหมายเลขน้อยไม่ครบองค์คณะต่อการพิจารณา
พพิ ากษาคดีหมายเลขมาก

การรวมพจิ ารณาคดีมี ๒ กรณี

๑. คดีหลายเร่ืองคา้ งพจิ ารณาอยใู่ นศาลเดียวกนั
๒. คดีหลายเร่ืองคา้ งพจิ ารณาอยใู่ นศาลหลายศาล

๑. การรวมพจิ ารณาคดีท่อี ย่ใู นศาลเดยี วกนั

๑.๑ ศาลเหน็ สมควรสั่งรวมเอง
จดรายงานกระบวนพิจารณาวา่
“พิเคราะห์สานวนคดีนีก้ ับคดีหมายเลขดาท่ี . . . . แล้ว เห็นว่า คู่ความทุกฝ่ าย

เป็นคู่ความรายเดียวกัน (คู่ความส่วนใหญ่เป็นคู่ความเดียวกัน) และคดีทั้งสองคดีนเี้ กี่ยวเน่ืองกัน

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๑๑๓

ทั้งพยานหลักฐานส่วนใหญ่ก็เป็นชุดเดียวกัน ถ้ารวมการพิจารณาเข้าด้วยกันจะเป็นการสะดวก
แก่การพิจารณาคดีของศาล

สอบโจทก์จาเลยแล้วไม่คัดค้าน
จึงให้รวมพิจารณาคดีหมายเลขดาที่ . . . . เข้ากับคดีนี้ ถ้อยคาสานวนต่อไป
ให้รวมไว้ในสานวนคดีนี”้ (อน่ึง ให้จดรายงานกระบวนพิจารณาระบุเรียกชื่อโจทก์จาเลยไว้
ใหช้ ดั เจนเพอื่ ความสะดวกในการพิจารณาพพิ ากษาคดีของศาล)
ใหจ้ ดรายงานกระบวนพิจารณาในอีกสานวนหน่ึงวา่
“เนื่องจากศาลได้มคี าส่ังให้รวมการพิจารณาคดนี เี้ ข้ากบั คดีหมายเลขดาที่ . . . .
แล้ว ถ้อยคาสานวนต่อไปให้รวมไว้ในสานวนคดีหมายเลขดาท่ี . . . .”
ถ้ามีการช้ีสองสถานหรื อกาหนดให้ฝ่ ายใดนาพยานหลักฐานมาสืบก่อน
หรือหลงั ไวแ้ ลว้ ก็อาจสั่งเปล่ียนแปลงใหมไ่ ดต้ ามรูปคดี

๑.๒ คู่ความขอให้ศาลสั่งรวม
การยน่ื คาร้องขอต่อศาล จะตอ้ งอา้ งเหตุตามมาตรา ๒๘ ในกรณียนื่ คาร้องก่อน

วนั นัด ส่ังคาร้องว่า “สาเนาให้ . . . . (โจทก์หรือจาเลย) รอสั่งในวันนัด” ในกรณีที่ย่ืนในวนั นดั
ส่ังคาร้องวา่ “สาเนาให้ . . . . (โจทก์หรือจาเลย) ส่ังในรายงานกระบวนพิจารณา”

เม่ือถึงวนั นดั ศาลสอบถามคู่ความทุกฝ่ ายและเห็นวา่ ควรรวมการพิจารณาคดี
เขา้ ดว้ ยกนั จดรายงานกระบวนพิจารณาวา่

“นดั . . . .โจทก์จาเลยมาศาล
(โจทก์หรือจาเลย) ยื่นคาร้องขอให้นาคดีหมายเลขดาที่ . . . .ของศาลนี้ มารวม
พิจารณาคดีกบั คดนี ี้ รายละเอียดปรากฏตามคาร้องฉบับลงวนั ท่ีวนั นี้ (วันท่ี . . .)
สอบ (โจทก์หรือจาเลย)ไม่คัดค้าน
พิเคราะห์ แล้วเห็นว่า คดีทั้งสองคดีนี้เกี่ยวเน่ืองกัน คู่ความเดียวกัน (หรื อ
คู่ความบางฝ่ ายเป็ นคู่ความรายเดียวกัน) และพยานชุดเดียวกัน หากรวมการพิจารณาเข้าด้วยกัน
จะเป็นการสะดวกแก่การพิจารณาคดี จึงอนุญาตให้นาคดีหมายเลขดาท่ี . . . . มารวมพิจารณากับ
คดนี ี้ ถ้อยคาสานวนต่อไปให้รวมไว้ในสานวนคดนี ี”้
แลว้ จดรายงานกระบวนพจิ ารณาในอีกสานวนหน่ึงวา่
“เน่ืองจากศาลได้มีคาสั่งให้รวมการพิจารณาคดีนีเ้ ข้ากับคดีหมายเลขดาที่ . . .
แล้ว ถ้อยคาสานวนต่อไปให้รวมไว้ในสานวนคดหี มายเลขดาที่ . . . .”

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๑๑๔

๒. การรวมพจิ ารณาคดีที่อย่ใู นศาลช้ันต้นสองศาลต่างกนั

โดยศาลเห็นสมควรสั่งรวมเอง หรือคู่ความขอให้ศาลสั่งรวม แต่ศาลจะมีคาสั่งก่อนท่ีจะ
ไดร้ ับความยนิ ยอมของอีกศาลหน่ึงไมไ่ ด้

ตัวอย่าง
ศาลแพ่งกรุงเทพใตจ้ ดรายงานกระบวนพิจารณาคดีหมายเลขดาท่ี ๑/๒๕๔๑ วา่ “นดั ชีส้ องสถาน
วันนี้ ทนายโจทก์และทนายจาเลยทั้งสองมาศาล
ทนายโจทก์ยื่นคาร้องขอให้โอนคดนี ไี้ ปรวมพิจารณากับคดหี มายเลขดาที่ ๒/๒๕๔๑ ของ
ศาลจังหวัดสงขลา เน่ืองจากมูลละเมิดรถชนรายเดียวกันซ่ึงจาเลยทั้งสองกับนาย ก. ได้ฟ้องเรียก
ค่าเสียหายจากโจทก์ หากโอนคดีนีไ้ ปรวมพิจารณากับคดีของศาลจังหวัดสงขลาดังกล่าว
กจ็ ะเป็นการสะดวกแก่การพิจารณารายละเอียดปรากฏตามคาร้องฉบับลงวนั ที่วันนี้
ทนายจาเลยท้ังสองได้รั บสาเนาคาร้ องแล้วแถลงไม่คัดค้าน
พิเคราะห์ แล้ว เห็นว่า คู่ความส่ วนใหญ่เป็ นคู่ความเดียวกันทั้งมูลคดีละเมิดเป็ นเร่ื อง
เดียวกัน หากพิจารณาคดีรวมกันจะเป็ นการสะดวกแก่การพิจารณา จึงให้มีหนังสือสอบถาม
ศาลจังหวัดสงขลาว่าจะยินยอมรับโอนคดีนไี้ ปรวมพิจารณากับคดขี องศาลจังหวดั สงขลาหรื อไม่
โดยให้ถ่ายสาเนาคาฟ้อง คาให้การ และรายงานกระบวนพิจารณาฉบับนีส้ ่งไปด้วย ให้เล่ือนไป
นัดพร้อม เพื่อรอฟังผลการสอบถามดังกล่าวในวันท่ี . . . . .”
เม่ือศาลจงั หวดั สงขลาไดร้ ับหนงั สือสอบถามของศาลแพง่ กรุงเทพใตแ้ ลว้ สั่งในหนงั สือวา่
“นัดพร้อมเพ่ือสอบถาม” หรือ“รอไว้ส่ังในวนั นัด”
ในวนั นดั พร้อม คดีหมายเลขดาท่ี ๒/๒๕๔๑ ของศาลจงั หวดั สงขลา จดรายงานกระบวน
พจิ ารณาวา่
“นดั พร้อมเพ่ือสอบถามการขอโอนคดวี ันนี้ ทนายโจทก์ท้ังสามและทนายจาเลยมาศาล
สอบทนายโจทก์และทนายจาเลยแล้วไม่ขัดข้องในการโอนคดีหมายเลขดาท่ี ๑/๒๕๔๑
ของศาลแพ่งกรุงเทพใต้ มารวมพิจารณากบั คดีนี้
พิเคราะห์แล้วเห็นว่า เม่ือคู่ความไม่ขดั ข้องและการรวมพิจารณาจะเป็นการสะดวก จึงให้
มหี นังสือแจ้งศาลแพ่งกรุงเทพใต้ไม่ขดั ข้องในการรับโอนคดี
ให้เล่ือนไปนดั พร้อม เพื่อรอสานวนของศาลแพ่งกรุงเทพใต้ในวนั ที่ . . . . .”
เมื่อศาลแพ่งกรุงเทพใตไ้ ดร้ ับหนงั สือของศาลจงั หวดั สงขลาตอบไม่ขดั ขอ้ งการรับโอนคดี
แลว้ ส่ัง “รอไว้ส่ังในวันนัด” ซ่ึงจะเป็ นวนั ท่ีศาลนดั พร้อมรอฟังผลการขอโอนคดีที่นดั ไวแ้ ลว้
นนั่ เอง

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๑๑๕

เม่ือถึงวนั นดั ดงั กล่าว ศาลแพ่งกรุงเทพใตจ้ ดรายงานกระบวนพจิ ารณาวา่
“นดั พร้อมเพ่ือรอฟังผลการสอบถามโอนคดวี ันนี้ ทนายโจทก์ และทนายจาเลยท้ังสองมาศาล
ศาลแจ้งให้คู่ความทราบว่า ศาลจังหวัดสงขลาแจ้งไม่ขัดข้องในการรับโอนคดีจากศาล
นแี้ ล้ว
จึงให้โอนคดีนีไ้ ปรวมพิจารณากับคดีหมายเลขดาท่ี ๒/๒๕๔๑ ของศาลจังหวัดสงขลา
และให้จาหน่ายคดีจากสารบบความ” (ตอ้ งส่ังจาหน่ายคดีที่หน้าสานวนดว้ ย) ทางปฏิบตั ิเจา้ หน้าท่ีศาล
จะมีหนังสือส่งสานวนและเช็คค่าข้ึนศาลไปให้ศาลจงั หวดั สงขลา โดยจะเก็บหน้าสานวน
สาเนาหนงั สือส่งสานวนและสาเนารายงานกระบวนพจิ ารณาโอนคดีไวเ้ ป็นกากสานวน
เม่ือศาลจงั หวดั สงขลาไดร้ ับหนังสือนาส่งและสานวนคดีหมายเลขดาที่ ๑/๒๕๔๑ แลว้
ให้ส่ังในหนงั สือนาส่งของศาลแพ่งกรุงเทพใตว้ ่า “นัดพร้ อม” หรือ “รับโอนคดี รอไว้สั่งเรื่อง
รวมพิจารณาในวันนัด” ซ่ึงจะเป็ นวนั ท่ีศาลจงั หวดั สงขลานัดพร้อมในคดีหมายเลขดาท่ี ๒/๒๕๔๑
นั่นเอง (ศาลจงั หวดั สงขลาต้องทาปกสานวนและหน้าสานวนใหม่ ปิ ดหน้าปกสานวนเดิม
ลงสารบบและเลขคดีดาของศาลจงั หวดั สงขลาใหม)่
เม่ือถึงวนั นัดพร้อม เจ้าหน้าที่ศาลจะนาสานวนท้งั สองมาผูกติดกัน ให้จดรายงานใน
สานวนคดีของศาลแพ่งกรุงเทพใต้ (ไดห้ มายเลขคดีใหม่เป็ นคดีหมายเลขดาที่ ๑๐๐/๒๕๔๑
ของศาลจงั หวดั สงขลา)
“นัดพร้อมวนั นี้ ทนายโจทก์และทนายจาเลยท้ังสองมาศาล
เน่ืองจากศาลมีคาส่ังให้รวมการพิจารณาคดีนีเ้ ข้ากับคดีหมายเลขดาที่ ๒/๒๕๔๑แล้ว ถ้อยคา
สานวนต่อไปให้รวมไว้ในสานวนคดีหมายเลขดาที่ ๒/๒๕๔๑” ใหจ้ ดรายงานกระบวนพิจารณา
คดีหมายเลขดาที่ ๒/๒๕๔๑ วา่
“นัดพร้ อมเพ่ือรอสานวนของศาลแพ่งกรุงเทพใต้วันนี้ ทนายโจทก์ทั้งสามและทนายจาเลย
มาศาล
ศาลแจ้งให้คู่ความทราบว่า ศาลได้รับโอนคดีหมายเลขดาท่ี ๑/๒๕๔๑ ของศาลแพ่ง
กรุงเทพใต้และได้ลงสารบบความของศาลจังหวัดสงขลา เป็ นคดีหมายเลขดาท่ี ๑๐๐/๒๕๔๑
แล้ว เมื่อคดีท้ังสองคดีนีเ้ กี่ยวเน่ืองกัน จึงให้นาคดีหมายเลขดาท่ี ๑๐๐/๒๕๔๑ มารวมพิจารณา
กับคดีนี้และเพื่อความสะดวกแก่การพิจารณาให้ เรียกโจทก์ท้ังสามในคดีนี้ว่าโจทก์ที่ ๑,
ที่ ๒ และท่ี ๓ ตามลาดับ และให้เรียกโจทก์ในคดีหมายเลขดาท่ี ๑๐๐/๒๕๔๑ ว่าจาเลยถ้อยคา
สานวนต่ อไปให้ รวมไว้ ในสานวนคดีนี้

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๑๑๖

พิเคราะห์ แล้ว คดีมีประเด็นข้อพิพาทยุ่งยาก เห็นควรชี้สองสถาน สอบคู่ความแล้ว
แถลงไม่ค้าน

พิเคราะห์คาฟ้องและคาให้การแล้ว คดีมีประเดน็ ข้อพิพาทดังนี้ . . . . .” (กาหนดหนา้ ท่ี
นาสืบและนดั สืบพยานตอ่ ไป แตห่ ากเห็นวา่ คดีมีประเดน็ ขอ้ พพิ าทไม่ยงุ่ ยากก็ส่ังงดช้ีสองสถาน
แลว้ นดั สืบพยานตอ่ ไปตามรูปคดี)

ในกรณีศาลจังหวัดสงขลาไม่ยินยอมรับโอนคดี ให้ศาลแพ่งกรุงเทพใต้ส่งเร่ื องให้
ประธานศาลอุทธรณ์ช้ีขาด ไม่ว่าศาลช้นั ตน้ ที่มีคดีขอรวมการพิจารณาหรือศาลท่ีรับโอนจะอยู่
ในเขตอานาจของศาลอุทธรณ์หรือศาลอุทธรณ์ภาค คาส่ังช้ีขาดดงั กล่าวเป็ นที่สุดตามมาตรา
๒๘ วรรคสอง

๓. ผลการรวมพจิ ารณาคดี

๓.๑ การยน่ื บญั ชีพยานในคดีท่ีรวมการพิจารณา ให้ยนื่ ไวใ้ นสานวนหลกั โดยระบุเลขคดี
ที่ผยู้ นื่ เป็นคูค่ วามในสานวนน้นั

คดีที่ศาลรวมการพิจารณา เมื่อโจทก์ซ่ึงเป็ นบุคคลเดียวกนั ทุกสานวนไดย้ ่ืนบญั ชี
พยานไวใ้ นสานวนคดีหน่ึง โดยระบุเลขคดีเพียงคดีเดียวเท่าน้ัน แต่ช่ือคู่ความก็ลงช่ือโจทก์
กบั พวกและชื่อจาเลยกบั พวก ช่ือพยานก็ระบุช่ือโจทก์ทุกสานวนอา้ งตนเองเป็ นพยาน พยาน
เอกสารก็อา้ งเอกสารของโจทก์ทุกคน ดงั น้ี ถือไดว้ ่าเป็ นการยื่นบญั ชีพยานรวมกนั ทุกสานวน
แมจ้ ะมิไดใ้ ส่เลขคดีให้ครบถว้ นก็เป็ นความบกพร่องเล็กน้อย โจทก์จึงมีสิทธินาพยานเขา้ สืบ
ตามบญั ชีพยานท่ีระบุไวน้ ้นั ไดท้ ุกสานวน (ฎีกาท่ี ๑๓๙๑ - ๑๓๙๘/๒๕๐๙)

๓.๒ การพิจารณาคดีที่รวมการพิจารณา ศาลยอ่ มพิพากษาคดีเหล่าน้นั ไปในคาพิพากษา
ฉบบั เดียวกนั เพราะเป็ นการสะดวกแก่ศาลท่ีไม่ตอ้ งทาคาพิพากษาหลายฉบบั แต่บางคดีที่รวม
การพิจารณาดว้ ยกนั อาจไม่สะดวกในการที่จะพิพากษารวมกนั หรือมีขอ้ หาใดไม่เกี่ยวขอ้ งในคดี
(มาตรา ๒๙) ศาลอาจแยกพิจารณาก็ได้โดยพิพากษาคดีเหล่าน้ันเรื่องใดเร่ืองหน่ึงก่อนแลว้
จึงพิพากษาเรื่ องอื่น ๆ ต่อไปภายหลังก็ได้ (มาตรา ๑๓๙) และศาลท่ีรับโอนคดีที่สั่งแยก
ยอ่ มพพิ ากษาไปได้

๓.๓ แมศ้ าลจะอนุญาตให้รวมพิจารณาคดีสองสานวนเขา้ ด้วยกัน แต่การพิจารณาว่าจะ
อุทธรณ์ฎีกาไดห้ รือไม่ ตอ้ งพิจารณาทุนทรัพยท์ ี่พิพาทเป็ นรายคดี (คาสั่งคาร้องศาลฎีกาที่ ๔๐๒/๒๕๒๒)
และในช้นั ตรวจรับอุทธรณ์ฎีกา ใหต้ รวจสอบใหแ้ น่ชดั วา่ อุทธรณ์ฎีกาในสานวนใดหรือทกุ สานวน

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๑๑๗

๓.๔ คาสั่งของศาลท่ีไม่อนุญาตใหร้ วมพิจารณาคดีเป็ นคาส่ังระหวา่ งพิจารณาแต่ในกรณี
การขอรวมพิจารณาในศาลช้ันต้นสองศาลต่างกัน ศาลจะมีคาสั่งก่อนที่ไดร้ ับความยินยอม
ของอีกศาลหน่ึงไม่ได้ หากศาลดังกล่าวไม่ให้ความยินยอมก็ให้ศาลท่ีจะโอนคดีส่งเรื่องให้
ประธานศาลอุทธรณ์ช้ีขาด คาส่งั ของประธานศาลอทุ ธรณ์ใหเ้ ป็นท่ีสุด (มาตรา ๒๘ วรรคสอง)

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๑๑๘

บทที่ ๒
การแยกคดี

๑. การแยกคดีหลายข้อหา

๑.๑ การฟ้องคดีหลายขอ้ หาซ่ึงไมเ่ ก่ียวขอ้ งกนั เลย
ส่วนใหญ่จะเป็ นปัญหาช้นั รับฟ้อง หากศาลพิจารณาแลว้ เห็นว่าขอ้ หาไม่เก่ียวขอ้ งกนั

ศาลควรสง่ั แยกคดีเสียต้งั แต่ช้นั รับฟ้อง ตามมาตรา ๒๙ วรรคสอง
ตัวอย่าง
โจทก์ฟ้องให้จาเลยท่ี ๑ รับผิดตามสัญญาเล่นแชร์ ๒ วง แต่ละวงมีรายละเอียด

แตกต่างกนั หากจาเลยที่ ๑ ผิดสัญญาวงใดวงหน่ึงก็ไม่เป็ นเหตุให้ต้องผิดสัญญาอีกวงหน่ึง
การท่ีโจทก์ฟ้องจาเลยที่ ๑ ผิดสัญญาเล่นแชร์วงแรก จึงไม่เก่ียวขอ้ งกบั ขอ้ หาผิดสัญญาเล่นแชร์
วงท่ีสอง ในกรณีเช่นน้ี ศาลมีคาสั่งแยกคดีได้ แต่หากศาลไม่ไดส้ ั่งให้แยกการพิจารณาทุนทรัพย์
ในการอุทธรณ์ ศาลต้องแยกคานวณตามทุนทรัพยข์ องการผิดสัญญาแต่ละวง (ฎีกาท่ี ๕๔๙๕/
๒๕๓๘)

๑.๒ การฟ้องคดีหลายขอ้ หา ซ่ึงแต่ละขอ้ หาเก่ียวขอ้ งกนั โจทกห์ รือจาเลยอาจย่ืนคาขอให้
แยกขอ้ หาหรือศาลเห็นสมควรสั่งให้แยก ศาลมีอานาจสั่งแยกขอ้ หาเหล่าน้ันออกจากกนั ได้
ถา้ ศาลเห็นว่าการแยกขอ้ หาเหล่าน้นั ออกจากกนั จะทาใหก้ ารพิจารณาสะดวก แต่ตอ้ งฟังคู่ความ
ทุกฝ่ ายก่อน อย่างไรก็ตาม ศาลไม่สมควรสั่งให้โจทก์แยกฟ้องเป็ นรายขอ้ หาในกรณีที่แต่ละ
ขอ้ หาเกี่ยวขอ้ งกนั พอที่จะรวมพิจารณาเขา้ ดว้ ยกนั ไดแ้ ละการแยกฟ้องมีผลทาใหโ้ จทก์ตอ้ งเสีย
คา่ ข้ึนศาลเพ่มิ ข้ึนโดยโจทกไ์ ม่ควรจะตอ้ งเสีย (ฎีกาที่ ๖๙๙/๒๕๔๙)

๑.๓ การสั่งแยกคดีจะกระทาไดต้ ่อเม่ือแต่ละขอ้ หาน้นั ไม่เก่ียวขอ้ งกนั แต่ถา้ เป็ นสิทธิของ
คู่ความท่ีจะฟ้องคดีรวมกนั มาจะสั่งแยกไม่ได้

ตวั อย่าง
โจทก์ฟ้องจาเลย ๑๖ คนว่าคดั คา้ นการที่โจทก์ขอออก น.ส. ๓ จาเลยให้การว่า
ไดค้ รอบครองที่ดินเป็ นส่วนสัด ดงั น้ี เป็ นคดีมีขอ้ หาเดียวจะสั่งแยกคดีให้ฟ้องจาเลยแต่ละคน
ไม่ได้ (ฎีกาที่ ๒๓๓๗/๒๕๒๑)

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๑๑๙

ข้อสังเกต
การแยกคดีน้ัน วิธีดาเนินการคือ ศาลจะมีคาสั่งให้ถ่ายสาเนาคาฟ้องและคาให้การ
แลว้ ต้งั สานวนและเลขคดีใหม่

๒. การแยกคดที ีม่ กี ารร้องสอด

ในกรณีมีการร้องสอด ต้องพิจารณาว่าร้องสอดเข้ามาตามมาตรา ๕๗(๑) หรื อ (๒)
หากร้องสอดตามมาตรา ๕๗ (๑) ผูร้ ้องก็มีสิทธิเขา้ มาเป็ นคู่ความในคดีโดยศาลไม่สั่งแยกคดี
แต่ถ้าร้องสอดตามมาตรา ๕๗ (๒) จึงให้พิจารณาว่าต้องห้ามตามมาตรา ๕๘ วรรคสอง หรือไม่
หากตอ้ งหา้ มกใ็ หศ้ าลส่ังแยกคดี กรณีร้องสอดตามมาตรา ๕๗(๑) ไม่อยใู่ นบงั คบั ของมาตรา ๕๘
วรรคสอง จึงส่งั แยกคดีไมไ่ ด้

ตวั อย่าง
โจทกฟ์ ้องขอใหบ้ งั คบั จาเลยทานิติกรรมขายที่ดินใหโ้ จทกต์ ามสญั ญา ถา้ ไมส่ ามารถขายได้
ขอใหค้ ืนเงินท่ีจาเลยรับไปและใชค้ ่าเสียหาย
ในระหว่างท่ียงั ส่งหมายให้จาเลยไม่ได้ ผูร้ ้องสอดยื่นคาร้องว่า ที่ดินรายพิพาทเป็ นของ
ผูร้ ้อง ผูร้ ้องจึงขอเขา้ เป็ นจาเลยต่อสู้คดีกบั โจทก์และไดท้ าคาให้การย่ืนมาดว้ ยใจความว่าที่ดิน
เป็นของผรู้ ้องไม่ใช่ของจาเลย จาเลยไมม่ ีสิทธิเอาไปขายใหโ้ จทก์
โจทกค์ ดั คา้ น ไมย่ อมใหผ้ รู้ ้องสอดเขา้ มาเป็นจาเลย
ศาลช้นั ตน้ เห็นว่า หากไดแ้ ยกพิจารณาขอ้ หาตามฟ้องเดิมและตามคาร้องแลว้ จะสะดวก
แก่การพิจารณา อาศยั ตามมาตรา ๒๙ วรรคทา้ ย จึงส่ังไม่อนุญาตให้ผูร้ ้องสอดเขา้ มาในคดีน้ี
หากผรู้ ้องจะคุม้ ครองสิทธิของผรู้ ้องก็ใหฟ้ ้องเป็นคดีอีกสานวนหน่ึง
ผรู้ ้องสอดอุทธรณ์
ศาลอทุ ธรณ์พพิ ากษายนื
ผรู้ ้องสอดฎีกา
ศาลฎีกาวนิ ิจฉยั วา่ คดีน้ีผรู้ ้องไดร้ ้องสอดเขา้ มาวา่ ที่ดินท่ีโจทกก์ ลา่ วหารายน้ีเป็นของผูร้ ้อง
ไม่ใช่ของจาเลยดงั โจทก์ฟ้อง เป็ นการโตแ้ ยง้ คดั คา้ นขอ้ กล่าวหาของโจทก์อนั เป็ นคดีที่พิพาท
ถึงท่ีดินรายเดียวกนั ศาลฎีกาเห็นว่าผูร้ ้องมีสิทธิท่ีจะเขา้ มาเป็ นคู่ความไดด้ ว้ ยการร้องสอดตาม
มาตรา ๕๗ (๑) ไม่ใช่มาตรา ๕๗ (๒) ฉะน้ันขอ้ ห้ามตามมาตรา ๕๘ วรรคสอง ท่ีว่า ห้ามมิให้

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๑๒๐

ผูร้ ้องสอดท่ีไดเ้ ขา้ มาเป็ นคูค่ วามตามมาตรา ๕๗ (๒) ใชส้ ิทธิในทางท่ีขดั กบั สิทธิของโจทก์ หรือ
จาเลยเดิมน้นั จึงไมเ่ ก่ียวกบั ผรู้ ้องสอดในคดีน้ี

ตามท่ีศาลอุทธรณ์พิพากษายืนตามศาลช้ันต้นว่า ให้ผูร้ ้องฟ้องเป็ นคดีอีกสานวนหน่ึง
โดยอาศัยมาตรา ๒๙ วรรคท้ายน้ัน ศาลฎีกาไม่เห็นพอ้ งด้วย เพราะเหตุว่าคดีน้ีเป็ นคดีท่ีมี
การร้องสอดเขา้ มาเป็ นคู่ความตามมาตรา ๕๗ (๑) ซ่ึงผูร้ ้องสอดมีสิทธิจะร้องได้ พิพากษายก
คาพิพากษาศาลอุทธรณ์และอนุญาตใหผ้ ูร้ ้องสอดเป็ นคู่ความในคดีน้ีได้ ใหศ้ าลช้นั ตน้ ดาเนินคดี
ต่อไปตามกระบวนความ (ฎีกาที่ ๙๑๗/๒๔๙๓)

๓. การแยกคดที ม่ี ีการฟ้องแย้ง

ในกรณีท่ีจาเลยฟ้องแยง้ มาในคาให้การ แต่ฟ้องแยง้ น้นั ไม่เก่ียวกบั ฟ้องเดิมหรือเป็ นคนละ
เร่ืองกบั ฟ้องเดิม ไม่อาจจะรวมพิจารณาเขา้ ดว้ ยกันได้ หากศาลจะมีคาส่ังไม่รับฟ้องแยง้ แลว้
ก็เป็ นช่องทางให้จาเลยอุทธรณ์และฎีกาคาส่ังน้ีต่อไปเพราะเป็ นคาสั่งไม่รับคาคู่ความ ทาให้มี
เหตุที่จะขอให้ศาลรอการพิจารณาคดีไว้ตามมาตรา ๒๒๘ (๓) วรรคสาม กรณีน้ีศาลช้ันตน้
ควรจะมีคาสัง่ แยกฟ้องแยง้ เป็นคดีใหม่อีกคดีหน่ึงตามมาตรา ๒๙ น้ี

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๑๒๑

บทที่ ๓
กระบวนพจิ ารณาชีข้ าดข้อกฎหมายเบือ้ งต้น

ในกรณีมีคู่ความย่ืนคาร้องขอให้ศาลวินิจฉัยช้ีขาดขอ้ กฎหมายตามมาตรา ๒๔ การท่ีศาล
จะส่ังให้ช้ีขาดขอ้ กฎหมายดงั กล่าวหรือไม่น้ัน ศาลควรจะพิจารณาข้อกฎหมายดังกล่าวให้
ละเอียดรอบคอบ ท้งั ขอ้ เท็จจริงในคาฟ้องคาให้การตอ้ งมีเพียงพอ แน่ชดั เสียก่อน หากเห็นว่า
วินิจฉัยไปแลว้ จะทาให้คดีเสร็จไปท้งั เรื่อง เช่น คดีโจทก์ขาดอายุความแน่นอน ซ่ึงศาลตอ้ ง
พิพากษายกฟ้อง เช่นน้ี ศาลควรสั่งวินิจฉัยช้ีขาดขอ้ กฎหมายดงั กล่าว เพราะคดีเสร็จไปรวดเร็ว
แต่หากยงั ไม่แน่ใจก็ไม่ควรจะด่วนวินิจฉัยช้ีขาดขอ้ กฎหมาย เพราะหากศาลสูงไม่เห็นดว้ ยกบั
ขอ้ ช้ีขาดน้ัน คดีจะตอ้ งยอ้ นกลบั มาพิจารณากนั ใหม่ทาให้คดีล่าชา้ เสียเวลาโดยใช่เหตุ หรือถา้
ศาลพิจารณาแลว้ ไม่เป็ นคุณแก่คู่ความฝ่ ายท่ีขอใหว้ ินิจฉยั เช่น ฟังไดว้ ่าคดีโจทกไ์ มข่ าดอายคุ วาม
อย่างแน่นอน ศาลก็ไม่ควรส่ังวินิจฉัยช้ีขาดขอ้ กฎหมาย ศาลควรรอไวส้ ่ังพร้อมคาพิพากษา
ซ่ึงจะทาใหค้ ดีเสร็จรวดเร็วข้ึน

๑. การวนิ จิ ฉัยชี้ขาดข้อกฎหมายเกดิ ขนึ้ ได้ ๒ กรณีคือ

๑.๑ ค่คู วามร้องขอให้ศาลวนิ จิ ฉัยชีข้ าดข้อกฎหมาย
๑.๑.๑ กรณีย่ืนก่อนวนั นดั หลายวนั สั่งวา่ “สาเนาให้โจทก์ หากจะคดั คา้ นประการใด

ใหย้ นื่ คาแถลงภายใน…….วนั ” (แลว้ แต่ดุลพนิ ิจ)
๑.๑.๒ กรณีย่ืนใกลถ้ ึงวนั วนั นดั สั่งว่า “สาเนาให้โจทก์ รอไวส้ ั่งในวนั นัด” เม่ือถึง

วนั นดั ใหส้ อบโจทกว์ า่ จะคดั คา้ นหรือไมแ่ ลว้ พจิ ารณาสั่งตามรูปคดี

๑.๒ ศาลเห็นสมควรวนิ จิ ฉัยชีข้ าดข้อกฎหมายเอง
จดในรายงานกระบวนพิจารณาวา่
“พิเคราะห์คาฟ้องคาให้การแล้ว เห็นว่าข้อกฎหมายท่ีว่า . . . (คดีโจทก์ขาดอายคุ วาม

หรือไม่) เป็ นข้อกฎหมายท่ีสมควรได้รับการวินิจฉัยชีข้ าดข้อกฎหมายตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๔
จึงให้งดสืบพยานโจทก์และพยานจาเลย ให้นดั ฟังคาพิพากษาในวันที่ . . .”

๒. การสั่งคาร้องขอวนิ จิ ฉัยข้อกฎหมายตามมาตรา ๒๔

๒.๑ กรณีศาลไม่อนุญาตให้วินิจฉัยชีข้ าดข้อกฎหมาย

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๑๒๒

ตัวอย่าง
๒.๑.๑ สั่งในรายงานกระบวนพิจารณาว่า“นัดชีส้ องสถาน ทนายโจทก์ ทนายจาเลย
มาศาล จาเลยได้ร้ องขอให้ศาลชี้ขาดเบื้องต้น ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๔ ในข้ออายุความฟ้อง
ศาลเห็นว่ายงั เป็นปัญหาที่โต้เถียงกันอย่สู มควรจะได้ฟังข้อเทจ็ จริงต่อไปก่อน แล้วจะได้วินิจฉัย
พร้ อมคาพิพากษา”
๒.๑.๒ ส่ังในรายงานกระบวนพิจารณาว่า “ตามที่จาเลยท่ี ๑ ย่ืนคาร้ องลงวันท่ี . . .
ขอให้ศาลชี้ขาดเบื้องต้นนั้น ศาลได้ฟังคาแถลงของคู่ความท้ังสองฝ่ ายแล้ว เห็นว่าชั้นนีค้ วร
ดาเนินการพิจารณาไปก่อน ข้อกฎหมายท่ีจาเลยท่ี ๑ อ้างนน้ั ศาลจะได้วินิจฉัยในคาพิพากษา”
๒.๑.๓ สั่งคาร้องว่า “สาเนาให้โจทก์ ตามที่จาเลยยกข้อกฎหมายขึ้นสู้ว่า โจทก์
ไม่มีอานาจบังคับให้จาเลยไปทาการจานองน้ัน ศาลเห็นว่า รูปคดีนีค้ วรฟังข้อเท็จจริงต่อไป
ให้สิ้นกระแสความก่อน จึงให้ดาเนินการพิจารณาต่อไป ให้ยกคาร้ อง” หรือส่ังว่า “สาเนาให้โจทก์
รอไว้วินิจฉัยในคาพิพากษา”
๒.๑.๔ สั่งคาร้องว่า“พิเคราะห์คาร้องแล้วเห็นว่า กรณีเป็นข้อเท็จจริงไม่ใช่ข้อกฎหมาย
ให้ยกคาร้ อง”

๒.๒ กรณศี าลอนุญาตให้วินิจฉัยชีข้ าดข้อกฎหมาย

ตัวอย่าง
ก่อนถึงวนั นดั สืบพยานโจทก์ จาเลยยืน่ คาร้องขอให้ศาลวินิจฉยั ช้ีขาดขอ้ กฎหมาย
เบ้ืองตน้ วา่ ฟ้องโจทกข์ าดอายคุ วาม หากศาลวินิจฉยั จะทาใหค้ ดีเสร็จไปท้งั เรื่อง
สงั่ ในคาร้องวา่ “สาเนาให้โจทก์ รอสั่งในวันนดั ”
เมื่อถึงวนั นดั สืบพยานโจทก์ จดรายงานกระบวนพิจารณาวา่
“นัดสืบพยานโจทก์วันนี้ ทนายโจทก์ ทนายจาเลย มาศาล ทนายจาเลยย่ืนคาร้ อง
ขอให้ศาลวินิจฉัยชี้ขาดข้อกฎหมายเบื้องต้นว่า คดีโจทก์ขาดอายคุ วาม ปรากฏรายละเอียด
ตามคาร้องลงวนั ที่ . . . . .
ทนายโจทก์แถลงคัดค้านและขอให้ ศาลสืบพยานไปก่อน โดยให้ วินิจฉัยพร้ อม
คาพิพากษา
พิเคราะห์คาฟ้องและคาให้การแล้ว เห็นว่าข้อกฎหมายที่จาเลยขอให้วินิจฉัยชี้ขาด
เบือ้ งต้นว่าฟ้องโจทก์ขาดอายคุ วาม เป็นข้อกฎหมายที่สมควรวินิจฉัยชีข้ าดเบือ้ งต้นตาม ป.วิ.พ.
มาตรา ๒๔ เสียก่อน จึงให้วินิจฉัยชีข้ าดข้อกฎหมายข้อดังกล่าว โดยนดั ฟังคาส่ังหรือคาพิพากษา
ในวนั ที่ . . . . .”


Click to View FlipBook Version