ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๑๒๓
หากศาลพิจารณาแลว้ เห็นวา่ ฟ้องโจทก์ขาดอายคุ วาม ซ่ึงเป็ นการวินิจฉัยที่เป็ นคุณ
แก่จาเลยผูข้ อให้ช้ีขาดขอ้ กฎหมาย อนั มีผลให้คดีเสร็จไปท้งั เร่ือง จึงเป็ นการวินิจฉัยช้ีขาดขอ้ กฎหมาย
ตามมาตรา ๒๔ ก็ให้ทาเป็ นคาพิพากษาเหมือนคาพิพากษาทว่ั ไป แต่หากวินิจฉัยแลว้ เห็นว่า
คดีโจทก์ไม่ขาดอายุความ ซ่ึงไม่เป็ นคุณแก่จาเลยผูข้ อ ก็ให้ทาเป็ นคาสั่ง(เป็ นคาสั่งระหว่างพิจารณา)
แลว้ ให้ดาเนินกระบวนพิจารณาต่อไปตามปกติ อย่างไรก็ตามไม่ควรวินิจฉัยช้ีขาดขอ้ กฎหมายเบ้ืองตน้
หากไมเ่ ป็นคุณแก่ผขู้ อ เพราะจะทาใหค้ ดีล่าชา้ โดยไมจ่ าเป็นได้
๓. ข้อสังเกตเกยี่ วกบั การวนิ จิ ฉัยชี้ขาดข้อกฎหมายเบือ้ งต้น
๓.๑ คาขอให้ศาลวินิจฉยั ช้ีขาดเบ้ืองตน้ ในปัญหาขอ้ กฎหมาย มิไดบ้ งั คบั ว่าจะตอ้ งทาเป็น
คาร้องหรือเป็ นหนังสือ ศาลจึงมีอานาจท่ีจะยอมรับคาขอท่ีคู่ความเสนอต่อศาลดว้ ยวาจาได้
แต่จะตอ้ งจดขอ้ ความน้ันลงไวใ้ นรายงานกระบวนพิจารณาของศาลหรือจะกาหนดให้คู่ความ
ฝ่ ายน้นั ยนื่ คาขอโดยทาเป็ นคาร้องก็ไดต้ ามมาตรา ๒๑(๑) ในกรณีศาลเห็นสมควรวินิจฉยั ช้ีขาด
เบ้ืองตน้ เพราะจาเลยยกขอ้ ตอ่ สู้วา่ ฟ้องโจทกข์ าดอายคุ วาม ศาลมีอานาจวนิ ิจฉยั ช้ีขาดขอ้ กฎหมาย
เบ้ืองตน้ ไดโ้ ดยไมจ่ าเป็นตอ้ งใหค้ ูค่ วามฝ่ ายใดฝ่ ายหน่ึงร้องขอเสียก่อน (ฎีกาท่ี ๕๓๔/๒๕๓๖)
๓.๒ เม่ือศาลได้รับคาขอแล้ว ศาลต้องให้โอกาสคู่ความอีกฝ่ ายหน่ึงคัดค้านก่อน
จะพิจารณาสั่งเป็ นคุณแก่คู่ความผู้ย่ืนคาขอไปเลยเป็ นการไม่ชอบด้วย ตาม ป.วิ.พ. มาตรา
๒๑ (๒) เวน้ แต่ศาลจะสั่งยกคาขอน้นั เสีย กช็ อบที่จะทาไดโ้ ดยไม่ตอ้ งฟังคูค่ วามอีกฝ่ ายหน่ึง
๓.๓ ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๔ ไม่ไดบ้ งั คบั ให้ศาลจาตอ้ งวินิจฉัยช้ีขาดเบ้ืองตน้ ในปัญหา
ข้อกฎหมายตามที่คู่ความขอทุกเรื่อง ถ้าศาลเห็นว่าการวินิจฉัยช้ีขาดดังกล่าวไม่เป็ นคุณแก่ผูอ้ ้างเลย
หรือเห็นวา่ จาเป็นจะตอ้ งดาเนินการพิจารณาต่อไปก่อน จะสั่งใหร้ อไวว้ นิ ิจฉยั ในคาพิพากษาก็ได้
(ฎีกาที่ ๗๕๕/๒๕๐๕, ๑๒๔๕/๒๕๑๗) คาสั่งเช่นน้ีเป็นคาสั่งระหวา่ งพจิ ารณา(ฎีกาที่ ๓๖๘๐/๒๕๒๕)
๓.๔ ศาลช้ันต้นสั่งงดสืบพยานโจทก์จาเลยแล้วพิพากษายกฟ้องโดยข้อกฎหมาย
มิไดว้ ินิจฉัยพยานหลกั ฐานโดยอาศยั ขอ้ เท็จจริง หรือส่ังว่าตามคาฟ้องและคาให้การ คดีพอ
วินิจฉัยได้แลว้ ให้งดสืบพยานท้ังสองฝ่ ายเสียแล้วพิพากษาคดีไปโดยขอ้ กฎหมาย เป็ นการ
วินิจฉัยช้ีขาดเบ้ืองตน้ ในขอ้ กฎหมายอนั ทาใหค้ ดีเสร็จไปท้งั เรื่องตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๔ ไม่เป็น
คาส่ังระหว่างพิจารณาตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๒๗ แมค้ ู่ความจะมิไดโ้ ตแ้ ยง้ คาส่ังศาลช้นั ตน้ ท่ีส่ัง
งดสืบพยานไว้ ก็ยอ่ มมีสิทธิท่ีจะอุทธรณ์ได้ (ฎีกาที่ ๑๑๙๑/๒๕๐๙, ๑๒๕๔/๒๕๑๗, ๗๘๒/๒๕๓๖)
แต่ถา้ ศาลช้ันต้นสอบถามขอ้ เท็จจริงจากคู่ความแล้วส่ังงดสืบพยานในวนั นัดสืบพยานโจทก์
และพิพากษาคดีโดยอาศยั ขอ้ เทจ็ จริงท่ีไดค้ วาม ถือไมไ่ ดว้ า่ เป็นการวนิ ิจฉยั ช้ีขาดขอ้ กฎหมายตาม
ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๑๒๔
มาตรา ๒๔ เป็นคาสั่งระหวา่ งพจิ ารณา เมื่อโจทกเ์ ห็นวา่ ศาลชอบท่ีจะสืบพยานโจทกต์ ่อไป โจทกต์ อ้ ง
โตแ้ ยง้ คาส่งั มิฉะน้นั ตอ้ งหา้ มอุทธรณ์ตามมาตรา ๒๒๖(๒) (ฎีกาที่ ๒๑๕๘/๒๕๓๗)
๓.๕ หากศาลมิได้วินิจฉัยช้ีขาดให้เป็ นคุณแก่ฝ่ ายที่ยกปัญหาขอ้ กฎหมายข้ึนอา้ งแล้ว
ไม่เรียกว่าเป็ นคาสั่งวินิจฉัยช้ีขาดเบ้ืองตน้ แต่เป็ นคาสั่งระหว่างพิจารณาซ่ึงจะอุทธรณ์ฎีกาทนั ทีไม่ได้
เช่น จาเลยขอให้ศาลช้ีขาดขอ้ กฎหมายเบ้ืองตน้ วา่ ฟ้องโจทกเ์ คลือบคลุมหรือไม่ ถา้ ศาลวินิจฉัยว่า
ฟ้องโจทกไ์ มเ่ คลือบคลมุ เป็นคาสง่ั ระหวา่ งพจิ ารณา (ฎีกาท่ี ๒๒๖/๒๕๐๔) หรือจาเลยขอใหศ้ าล
ช้ีขาดขอ้ กฎหมายเบ้ืองต้นว่า คดีโจทก์ขาดอายุความ ศาลสั่งว่าฟ้องโจทก์ ไม่ขาดอายุความ
เป็นคาสง่ั ระหวา่ งพิจารณา เม่ือไม่ไดโ้ ตแ้ ยง้ จึงไมม่ ีสิทธิอุทธรณ์คาส่ังดงั กล่าว (ฎีกาท่ี ๗๑/๒๕๐๕)
๓.๖ ถา้ ศาลยกคาร้องของโจทก์หรือจาเลยที่ขอให้ช้ีขาดตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๔ หรือสั่ง
ไม่รับวนิ ิจฉยั ช้ีขาดขอ้ กฎหมายเบ้ืองตน้ ตามท่ีคู่ความฝ่ายหน่ึงร้องขอ เป็นคาสั่งระหวา่ งพิจารณา
(ฎีกาที่ ๑๔๘/๒๔๙๑, ๑๐๓๒ - ๑๐๓๓/๒๔๙๔, ๒๒๐๐/๒๕๑๔)
๓.๗ ศาลช้นั ตน้ ส่ังช้ีขาดขอ้ กฎหมายเบ้ืองตน้ ตามป.วิ.พ. มาตรา๒๔แลว้ ศาลอุทธรณ์เห็นวา่
ไม่ควรช้ีขาดเบ้ืองตน้ จึงให้ยกคาสั่งศาลช้นั ตน้ แลว้ ดาเนินกระบวนพิจารณาต่อไป คู่ความฎีกาได้
ไม่เป็นคาส่งั ระหวา่ งพิจารณา (ฎีกาที่ ๒๖๘/๒๕๙๑ ประชุมใหญ่)
๓.๘ การขอใหศ้ าลวนิ ิจฉยั ช้ีขาดขอ้ กฎหมายตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๔ คู่ความตอ้ งยนื่ เฉพาะ
คดีอยใู่ นระหว่างพิจารณาของศาลช้นั ตน้ เท่าน้ัน จะมาขอในช้นั อุทธรณ์ฎีกาไม่ได้ (คาสั่งคาร้อง
ศาลฎีกาท่ี ๑๓๔๖/๒๕๒๘, ๑๘๘/๒๕๓๒)
๓.๙ คู่ความขอใหศ้ าลวินิจฉยั ช้ีขาดขอ้ กฎหมายตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๔ หากศาลยงั ไมไ่ ด้
วินิจฉยั ให้ตามขอ คู่ความมีสิทธิยืน่ คาขอเช่นว่าน้นั ไดอ้ ีก ไม่เป็ นกระบวนพิจารณาซ้า หากศาล
เห็นสมควรย่อมมีคาสั่งใหม่ให้วินิจฉัยตามขอไดโ้ ดยไม่ตอ้ งเพิกถอนคาส่ังเดิม เพราะไม่ใช่
กระบวนพจิ ารณาผดิ ระเบียบ (ฎีกาที่ ๓๕๗๔/๒๕๓๖)
๓.๑๐ ศาลช้นั ตน้ วินิจฉัยช้ีขาดขอ้ กฎหมายตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๔ อนั ทาให้คดีเสร็จไป
ท้งั เร่ือง การท่ีโจทก์อุทธรณ์และจาเลยฎีกาต่อมา จึงเป็ นการอุทธรณ์และฎีกาคาส่ังตาม ป.วิ.พ.
มาตรา ๒๒๗ ตอ้ งเสียค่าข้ึนศาลเพียงช้นั ศาลละ ๒๐๐ บาท ตามตาราง ๑ ขอ้ ๒ ข. ทา้ ย ป.วิ.พ.
มิใช่เสียตามทุนทรัพยท์ ี่พิพาท (ฎีกาที่ ๑๓๔๑/๒๕๓๗, ๓๓๗๐/๒๕๓๘)
อน่ึง แมจ้ ะมีคาขอให้ชนะคดีมาดว้ ยก็ตาม ก็ยงั คงเสียค่าข้ึนศาลเพียง ๒๐๐ บาท
เช่น ศาลช้นั ตน้ วินิจฉัยช้ีขาดเบ้ืองตน้ ในขอ้ กฎหมายแลว้ พิพากษายกฟ้องโจทก์ โจทก์อุทธรณ์
โดยเสียค่าข้ึนศาล ๒๐๐ บาท ต่อมาแมศ้ าลอุทธรณ์พพิ ากษายกคาพพิ ากษาศาลช้นั ตน้ ท่ีใหย้ กฟ้อง
ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๑๒๕
และให้ศาลช้นั ตน้ ดาเนินกระบวนพิจารณาใหม่ การท่ีจาเลยฎีกาขอให้ศาลฎีกาพพิ ากษาให้จาเลย
ชนะคดีตามศาลช้นั ตน้ ก็เป็ นคาขอให้ชนะคดีในประเด็นอนั เป็ นปัญหาขอ้ กฎหมาย จึงตอ้ งเสีย
ค่าข้ึนศาล ๒๐๐ บาท ตามตาราง ๑ ขอ้ ๒ ข. เช่นเดียวกนั ไม่ตอ้ งเสียค่าข้ึนศาลอย่างคดีมีทุนทรัพย์
(ฎีกาท่ี ๑๔๔๐/๒๕๒๐, ๗๐๗๙/๒๕๔๐, ๕๗๗๘/๒๕๔๑)
อยา่ งไรก็ตาม ถา้ ศาลช้นั ตน้ วินิจฉัยช้ีขาดเบ้ืองตน้ ในขอ้ กฎหมายแลว้ พิพากษาให้
โจทกช์ นะคดี โดยใหจ้ าเลยชาระเงินแก่โจทกต์ ามฟ้อง จาเลยอุทธรณ์ขอใหย้ กฟ้อง ถือวา่ เป็นคดี
ที่มีคาขอให้ปลดเปล้ืองทุกข์อนั อาจคานวณเป็ นราคาเงินได้ ซ่ึงจาเลยตอ้ งเสียค่าข้ึนศาลช้นั อุทธรณ์
ตามทุนทรัพย์ หาใช่ว่าในช้ันอุทธรณ์เป็ นคดีไม่มีทุนทรัพยซ์ ่ึงต้องเสียค่าข้ึนศาลช้ันอุทธรณ์
เพียง ๒๐๐ บาท ไม่
ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๑๒๖
บทท่ี ๔
การเพกิ ถอนกระบวนพจิ ารณาทผ่ี ดิ ระเบยี บ
๑. เหตุของการเพกิ ถอนกระบวนพจิ ารณาทีผ่ ดิ ระเบยี บ
กระบวนพิจารณาท่ีศาลไดด้ าเนินไปถา้ เป็นการผิดระเบียบ ศาลน้นั เองอาจส่ังเพิกถอนได้
โดยอาศยั อานาจตามมาตรา ๒๗ ไดแ้ ก่
๑.๑ กรณีมิไดป้ ฏิบตั ิตามบทบญั ญตั ิแห่ง ป.วิ.พ. ในขอ้ ที่มุ่งหมายจะยงั ใหก้ ารเป็ นไปดว้ ย
ความยตุ ิธรรม หรือ
๑.๒ ท่ีเก่ียวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชนในเร่ืองการเขียน และการยื่นหรือ
การส่งคาคูค่ วาม หรือเอกสารอื่น ๆ หรือ
๑.๓ ในการพจิ ารณาคดี การพจิ ารณาพยานหลกั ฐาน หรือการบงั คบั คดี
๒. กระบวนพจิ ารณาทผี่ ิดระเบยี บต้งั แต่ช้ันยื่นคาฟ้องตลอดไปจนถงึ ช้ันบงั คบั คดอี าจ
เพกิ ถอนได้ ดงั ตวั อยา่ งเป็นไปตามลาดบั ต่อไปน้ี
๒.๑ โจทก์เสนอคาฟ้องแต่แรกโดยระบุภูมิลาเนาของจาเลยผิดพลาดเป็ นเหตุให้
ศาลช้ันต้นหลงผิดไปว่าโจทก์มีอานาจเสนอคาฟ้องต่อศาลช้ันต้นได้ แต่เม่ือความจริงเรื่อง
ภูมิลาเนาของจาเลยปรากฏข้ึนว่า การเปล่ียนแปลงภูมิลาเนาของจาเลย เกิดข้ึนก่อนศาลช้นั ตน้
รับคาฟ้องไว้ ศาลช้นั ตน้ จึงมิใช่ศาลท่ีมีเขตอานาจเหนือคดีน้ัน ที่ศาลช้นั ตน้ ส่ังรับคาฟ้องของ
โจทก์ไวจ้ ึงผิดพลาด ถือว่าเป็ นกระบวนพิจารณาท่ีผิดระเบียบศาลช้ันต้นย่อมมีอานาจท่ีจะ
เพิกถอนคาส่ังรับฟ้องแล้วมีคาสั่งใหม่เป็ นไม่รับฟ้องได้ (ฎีกาท่ี ๑๑๔/๒๕๒๑, ๑๘๔๗/๒๕๒๗,
๑๘๔๔/๒๕๓๐)
๒.๒ จาเลยอา้ งในคาร้องว่า บา้ นเลขท่ีตามคาฟ้องไม่มีตวั บา้ นหรืออาคารท่ีพกั อาศยั และ
พนกั งานเดินหมายนาหมายเรียกและสาเนาคาฟ้องกบั หมายเรียกของเจา้ พนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์
ไปปิ ดไว้ ณ หอพกั ระพีพร ซ่ึงไม่ใช่บา้ นเลขที่ตามคาฟ้อง หากเป็ นจริงตามคาร้องของจาเลย
ดงั กล่าว การส่งหมายดงั กล่าวก็เป็ นการไม่ชอบดว้ ย ป.วิ.พ. มาตรา ๗๙ และไม่มีผลตามกฎหมาย
จาเลยจึงยื่นคาร้องขอให้เพิกถอนการพิจารณาท่ีผิดระเบียบไดต้ าม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๗ วรรคหน่ึง
ประกอบดว้ ย พ.ร.บ. จดั ต้งั ศาลลม้ ละลายและวิธีพิจารณาคดีลม้ ละลาย พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๔
ดงั น้นั ศาลช้นั ตน้ ชอบท่ีจะรับคาร้องของจาเลยไวไ้ ต่สวนต่อไปว่า การส่งหมายเรียกและสาเนา
คาฟ้องใหแ้ ก่จาเลยชอบหรือไม่ (ฎีกาที่ ๕๘๑๕/๒๕๓๙)
ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๑๒๗
๒.๓ ในวนั นัดสืบพยานโจทก์ ทนายจาเลยมอบฉันทะให้เสมียนทนายมาย่ืนคาร้องขอ
เล่ือนคดีอา้ งวา่ ทนายจาเลยป่ วยตามใบรับรองแพทยท์ า้ ยคาร้อง ศาลช้นั ตน้ มิไดส้ อบถามโจทกว์ า่
จะคดั คา้ นหรือไม่ กลบั มีคาสั่งไม่อนุญาตให้เล่ือนคดีไปเลย โดยไม่พิเคราะห์ว่ามีเหตุจาเป็ น
จะตอ้ งเลื่อนคดีหรือไม่ คาสั่งของศาลช้นั ตน้ จึงไม่ชอบดว้ ย ป.วิ.พ. มาตรา ๔๐
เม่ือศาลช้นั ตน้ มีคาส่ังไม่อนุญาตให้เล่ือนคดีแลว้ ศาลช้นั ตน้ ใหโ้ จทก์นาพยานเขา้ สืบ
แมศ้ าลช้นั ตน้ จะมีคาส่ังใหเ้ สมียนทนายจาเลยนัง่ ฟังการสืบพยานโจทก์อยดู่ ว้ ย และในนดั ต่อมา
พยานโจทก์ดงั กล่าวจะไดม้ าศาลและให้ทนายจาเลยซักคา้ นแลว้ ก็ตาม ก็ไม่อาจถือไดว้ ่าไม่เสีย
ความเป็ นธรรม เพราะในระหว่างที่ทนายโจทก์ หรือศาลซักถามพยานโจทก์น้ันอาจมีขอ้
ได้เปรียบเสียเปรียบในทางคดีเกิดข้ึน เสมียนทนายผูร้ ับมอบฉันทะจากทนายจาเลยซ่ึงไม่มี
อานาจว่าความอยา่ งทนายความได้ จึงไม่มีสิทธิคดั คา้ นกระบวนพิจารณาที่ไดด้ าเนินไปในช่วงน้นั
นอกจากน้ียงั เป็ นการหลีกเล่ียงบทบญั ญตั ิมาตรา ๓๖ แห่ง ป.วิ.พ. ซ่ึงบงั คบั ว่า การนัง่ พิจารณาคดี
ตอ้ งกระทาต่อหน้าคู่ความท่ีมาศาลและโดยเปิ ดเผย อนั เป็ นกฎหมายที่มุ่งหมายจะยงั ให้การ
เป็นไปดว้ ยความยตุ ิธรรม การดาเนินกระบวนพจิ ารณาดงั กลา่ วจึงไมช่ อบ
แมจ้ าเลยจะมิไดย้ ื่นคาร้องขอให้ศาลช้นั ตน้ เพิกถอนการพิจารณาท่ีผิดระเบียบ แต่ก็
ไดค้ ดั คา้ นคาสั่งศาลช้นั ตน้ ไวแ้ ละใชส้ ิทธิอุทธรณ์ ศาลอุทธรณ์ย่อมมีอานาจตาม ป.วิ.พ. มาตรา
๒๔๓ ยกคาสง่ั ของศาลช้นั ตน้ ที่ผิดระเบียบน้นั เสียได้ (ฎีกาที่ ๓๑๖๓/๒๕๒๖)
๒.๔ โจทก์ฟ้องจาเลยในฐานะผูจ้ ดั การมรดกของ ก. ขณะคดีอยูใ่ นระหว่างการพิจารณา
ของศาลอทุ ธรณ์ จาเลยถึงแก่กรรม จึงเป็นอานาจของศาลอุทธรณ์ท่ีจะมีคาสั่งเก่ียวกบั การเขา้ เป็น
คู่ความแทนจาเลย การท่ีศาลช้ันต้นมีคาสั่งอนุญาตให้ ส. เข้ามาเป็ นคู่ความแทนท่ีจาเลย
จึงเป็ นการไม่ชอบ
ศาลอุทธรณ์มิไดม้ ีคาสั่งในเรื่องท่ีศาลช้นั ตน้ มีคาสั่งอนุญาตให้ ส. เขา้ มาเป็ นคู่ความ
แทนท่ีจาเลยโดยไม่ชอบ แต่เม่ือศาลอุทธรณ์มีคาพิพากษาโดยวินิจฉัยว่าผูเ้ ขา้ เป็ นคู่ความแทน
จาเลยซ่ึงถึงแก่กรรมมีหนา้ ท่ีจะตอ้ งปฏิบตั ิตามพินยั กรรมแทนจาเลยต่อไป ถือไดว้ ่าศาลอุทธรณ์
อนุญาตให้ ส. เขา้ เป็นคู่ความแทนจาเลยแลว้
เม่ือจาเลยถึงแก่กรรม สิทธิและหนา้ ที่ของจาเลยในฐานะผจู้ ดั การมรดกยอ่ มส้ินสุดลง
เพราะเป็ นเรื่องเฉพาะตัวของผูจ้ ัดการมรดก หาได้ตกทอดไปยงั ทายาทของจาเลยไม่ และ
ขอ้ เท็จจริงตามคาร้องของโจทก์และคาแถลงของ ส. คงไดค้ วามแต่เพียงว่า ส. เป็ นทายาทของ
จาเลยเทา่ น้นั ไมป่ รากฏวา่ ส. เป็นผปู้ กครองทรัพยม์ รดก หรือมีอานาจในการจดั การทรัพยม์ รดก
ของ ก. แต่อย่างใด ส. จึงไม่สามารถจะปฏิบตั ิตามคาพิพากษาได้ หากในท่ีสุดจาเลยเป็ นฝ่ าย
ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๑๒๘
แพค้ ดี ส. ยอ่ มไม่อาจเขา้ เป็ นคู่ความแทนจาเลยได้ การท่ีศาลอุทธรณ์พิพากษาคดีไป โดยท่ีไม่มี
ผเู้ ขา้ เป็นคูค่ วามแทนจาเลย จึงเป็นการไม่ชอบ (ฎีกาที่ ๕๗๗๖/๒๕๓๔)
๒.๕ ศาลช้นั ตน้ กาหนดประเด็นขอ้ พิพาทข้ึนใหม่โดยอาศยั อานาจตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๗
ซ่ึงศาลช้ันต้นมีอานาจที่จะสั่งเพิกถอนประเด็นข้อพิพาทที่ศาลช้ันต้นได้กาหนดไวเ้ ดิม และ
ดาเนินการกาหนดประเด็นขอ้ พิพาทใหม่ได้ และศาลช้นั ตน้ ไดก้ าหนดประเด็นขอ้ พิพาทใหม่
ก่อนท่ีจาเลยจะนาสืบพยานของจาเลย จึงไม่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่จาเลย การเพิกถอน
ประเด็นขอ้ พิพาทของศาลช้นั ตน้ ดงั กล่าวจึงเป็ นการดาเนินกระบวนพิจารณาโดยชอบ (ฎีกาที่
๘๔๘๐/๒๕๔๐)
๒.๖ ศาลช้ันต้นสั่งให้โจทก์เสียค่าข้ึนศาลเพ่ิม โจทก์ไม่ได้นามาชาระภายในกาหนด
ศาลช้นั ตน้ จึงมีคาส่ังว่าโจทก์ทิ้งฟ้อง ให้จาหน่ายคดีเสียจากสารบบความ วนั รุ่งข้ึนโจทก์ยื่น
คาร้องอ้างเหตุที่ไม่นาเงินค่าฤชาธรรมเนียมมาชาระตามคาสั่งศาลว่าเนื่องจากฝนตกหนัก
การจราจรติดขดั มาก ไดโ้ ทรศพั ทแ์ จง้ เหตุขดั ขอ้ งใหพ้ นกั งานรับฟ้องทราบเม่ือเวลา ๑๕ นาฬิกา
และเดินทางมาถึงศาลเมื่อเวลา ๑๗ นาฬิกา พนักงานศาลไม่ยอมรับค่าฤชาธรรมเนียม อา้ งว่า
ศาลปิ ดทาการแลว้ โจทก์มิไดจ้ งใจทิ้งฟ้อง เป็ นเหตุสุดวิสัย ขอให้ศาลไต่สวนอนุญาตให้โจทก์
วางเงินค่าธรรมเนียมและดาเนินกระบวนพจิ ารณาต่อไป ดงั น้ี แมศ้ าลช้นั ตน้ จะไดส้ ่ังจาหน่ายคดี
โดยเห็นวา่ โจทก์ทิ้งฟ้องไปแลว้ ก็ตาม แต่เมื่อโจทก์มายน่ื คาร้องแสดงเหตุอนั สมควร ศาลช้นั ตน้
ก็ชอบที่จะทาการไต่สวนคาร้องของโจทกเ์ พื่อทราบขอ้ เท็จจริง และถา้ เห็นว่าโจทก์มีพฤติการณ์
พิเศษและเป็นกรณีที่มีเหตสุ ุดวิสยั ศาลช้นั ตน้ กม็ ีอานาจท่ีจะสัง่ เพิกถอนคาส่งั ท่ีสั่งวา่ โจทกท์ ิ้งฟ้อง
และใหจ้ าหน่ายคดีจากสารบบความน้นั เสียไดต้ าม ป.วิ.พ. มาตรา๒๗และขยายระยะเวลาใหแ้ ก่โจทก์
ตาม ป.ว.ิ พ. มาตรา ๒๓ (ฎีกาที่ ๑๒๘๘/๒๕๓๒, ๗๒๗๙/ ๒๕๔๐)
๒.๗ จาเลยยื่นคาร้องขอให้ศาลช้นั ตน้ เพิกถอนกระบวนพิจารณาที่ผิดระเบียบหลงั จากที่
ศาลช้ันตน้ มีคาพิพากษาแลว้ โดยอ้างว่าไม่มีการส่งหมายเรียกและสาเนาคาฟ้องให้แก่จาเลย
จาเลยไม่เคยทราบว่าถูกโจทก์ฟ้องมาก่อน และจาเลย มิไดม้ อบอานาจให้มารดาดาเนินคดีแทน
ท้งั มารดาจาเลยกไ็ ม่เคยต้งั ทนายความใหด้ าเนินคดี ดงั น้ี หากขอ้ เทจ็ จริงเป็นดงั คาร้องของจาเลย
กระบวนพิจารณาของศาลช้ันต้นย่อมเป็ นการไม่ชอบ เป็ นเหตุให้ศาลช้ันตน้ หลงผิดดาเนิน
กระบวนพิจารณาไปจนกระทง่ั มีคาพิพากษาให้จาเลยแพค้ ดี กระบวนพิจารณาและคาพิพากษา
ของศาลช้นั ตน้ ในส่วนท่ีเกี่ยวกบั จาเลยจึงเป็ นการไม่ชอบ จาเลยจึงยื่นคาร้องขอให้ศาลช้นั ตน้
เพกิ ถอนกระบวนพิจารณาที่ผิดระเบียบน้นั เสียได้ ตาม ป.ว.ิ พ. มาตรา ๒๗ วรรคแรก แตต่ อ้ งไม่
ชา้ กว่า ๘ วนั นับแต่วนั ที่จาเลยไดท้ ราบขอ้ ความหรือพฤติการณ์อนั เป็ นมูลเหตุแห่งขอ้ อา้ งน้ัน
ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๑๒๙
(ฎีกาที่ ๘๐๐/๒๕๕๑, ๕๑๘๖/๒๕๔๘) แมจ้ ะย่ืนคาร้องขอใหเ้ พิกถอนภายหลงั จากท่ีศาลช้นั ตน้
มีคาพิพากษาแล้วก็ไม่ต้องห้ามตามมาตรา ๒๗ วรรคสอง (ฎีกาท่ี ๓๒๐/๒๕๓๖) ตาม ป.วิ.พ.
มาตรา ๒๗ วรรคสอง ที่ให้คู่ความฝ่ ายที่เสียหายยกข้อค้านเรื่องผิดระเบียบข้ึนกล่าวได้ในเวลาใด ๆ
ก่อนมีคาพิพากษาแต่ตอ้ งไม่ชา้ กว่าแปดวนั นบั แต่วนั ท่ีคู่ความฝ่ ายน้ันไดท้ ราบขอ้ ความหรือพฤติการณ์
อนั เป็นมูลแห่งขอ้ อา้ งน้นั จะใชก้ บั กรณีที่คู่ความฝ่ ายท่ีเสียหายเพิ่งทราบขอ้ ความหรือพฤติการณ์
อันเป็ นมูลแห่งข้ออ้างของการผิดระเบียบน้ันภายหลังที่ศาลช้ันต้นพิพากษาแล้วหาได้ไม่
เพราะเป็ นการฝ่ าฝื นธรรมชาติที่จะบังคับให้คู่ความฝ่ ายที่เสียหายจากกระบวนพิจารณา
ท่ีผิดระเบียบยื่นคาร้อง ขอให้เพิกถอนกระบวนพิจารณาเสียก่อนที่ศาลช้นั ตน้ จะมีคาพิพากษา
โดยท่ีตนยงั ไม่ทราบขอ้ ความหรือพฤติการณ์อนั เป็ นมูลแห่งขอ้ อา้ งน้ัน จาเลยย่ืนคาร้องอา้ งว่า
ไม่มีการส่งหมายเรียกและสาเนาคาฟ้องแก่จาเลย จาเลยไม่ไดม้ อบอานาจให้นาง ร. ดาเนินคดี
แทนท้ังนาง ร. ไม่ได้ต้งั ให้นาย ม. เป็ นทนายความ แต่นาย ม. ได้ดาเนินกระบวนพิจารณา
ในฐานะทนายความตลอดมาเป็ นเหตุให้ศาลช้ันต้นหลงผิดดาเนินกระบวนพิจารณาไปจนมี
คาพิพากษาให้จาเลยแพ้คดี ดังน้ี ย่อมเห็นได้ชัดว่ากระบวนพิจารณาและคาพิพากษาของ
ศาลช้นั ตน้ เป็ นการไม่ชอบ จาเลยซ่ึงไดร้ ับความเสียหายจึงชอบที่จะย่ืนคาร้องต่อศาลช้ันต้น
ใหเ้ พกิ ถอนการพจิ ารณาท่ีศาลช้นั ตน้ ดาเนินไปโดยผิดระเบียบน้นั เสียไดต้ าม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๗
(๓๒๑/๒๕๓๖)
๒.๘ ทนายจาเลยไดย้ า้ ยสานกั งานไปจากท่ีเดิมก่อนวนั ที่พนกั งานเดินหมาย นาหมายนดั
ฟังคาพิพากษาศาลอุทธรณ์ไปปิ ด การปิ ดหมายนดั ฟังคาพิพากษาศาลอุทธรณ์ดงั กล่าวยอ่ มเป็ น
การไม่ชอบดว้ ยบทบญั ญตั ิแห่ง ป.วิ.พ. มาตรา ๗๙ ดังน้ัน กระบวนพิจารณาของศาลช้ันตน้
ในการส่งหมายนัดฟังคาพิพากษาศาลอุทธรณ์ให้แก่ทนายจาเลย ตลอดจนการจดรายงาน
การอ่านคาพิพากษาศาลอุทธรณ์ ย่อมเป็ นการพิจารณาที่ผิดระเบียบ ชอบท่ีศาลจะเพิกถอน
เสียไดต้ าม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๗ วรรคแรก (ฎีกาท่ี ๓๓๕๒/๒๕๓๘)
๒.๙ การที่ศาลช้ันต้นสั่งไม่รับอุทธรณ์ของโจทก์เพราะเขา้ ใจโดยผิดหลง ศาลช้ันต้น
ย่อมมีอานาจที่จะเเก้ไขให้ถูกตอ้ งได้ ส่วนที่ ป.วิ.พ. มาตรา ๒๓๔ บญั ญตั ิให้ผูอ้ ุทธรณ์อาจอุทธรณ์
คาสั่งของศาลช้ันต้นซ่ึงไม่รับอุทธรณ์ไปยงั ศาลอุทธรณ์น้ัน เป็ นเพียงบทบญั ญัติที่กาหนด
วิธีการที่ผูอ้ ุทธรณ์จะปฏิบตั ิไดอ้ ีกทางหน่ึงเท่าน้ัน หาใช่เป็ นบทบญั ญตั ิท่ีห้ามมิให้ศาลช้นั ตน้
ส่ังแกไ้ ขคาส่งั ที่สัง่ ไปโดยผดิ หลงเช่นน้นั ไม่ (ฎีกาที่ ๓๕๘๙/๒๕๒๕, ๓๓๖๙/๒๕๓๘)
ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๑๓๐
๓. ผ้มู ีอานาจเพกิ ถอนกระบวนพจิ ารณาทผ่ี ดิ ระเบยี บ
การเพิกถอนกระบวนพิจารณาท่ีผิดระเบียบน้ันหากเกิดข้ึนในระหวา่ งการพิจารณาของศาลใด
ศาลน้ันเพิกถอนได้ ถ้าล่วงเลยไปช้ันศาลอุทธรณ์หรือศาลฎีกา ศาลอุทธรณ์และศาลฎีกาก็ใช้อานาจ
ตามมาตรา๒๗ เพิกถอนกระบวนพิจารณาที่ผิดระเบียบของศาลช้นั ตน้ ได(้ ฎีกาที่ ๕๓๒๙/๒๕๓๗,
๖๙๒๘/๒๕๓๗)
๔. กาหนดเวลาในการเพกิ ถอนกระบวนพจิ ารณาทผ่ี ดิ ระเบียบ
๔.๑ ในกรณีศาลเห็นเอง
เม่ือศาลเห็นสมควรก็สั่งเพิกถอนกระบวนพิจารณาที่ผิดระเบียบได้ โดยไม่มีขอ้ จากดั
เร่ืองเวลา
หากคู่ความย่ืนคาร้องเกินกาหนด ก็ไม่ตดั อานาจศาลที่จะสั่งเพิกถอนเอง (ฎีกาที่
๖๑๕/๒๕๒๔, ๖๙๑๖/๒๕๓๘)
๔.๒ ในกรณีคูค่ วามร้องขอ
คู่ความจะตอ้ งย่ืนคาร้องต่อศาลภายใน ๘ วนั นบั แต่วนั ท่ีคู่ความฝ่ ายน้ันไดท้ ราบถึง
การผดิ ระเบียบ เช่น
จาเลยย่ืนคาร้องขอให้เพิกถอนกระบวนพิจารณาท่ีผิดระเบียบ อา้ งว่าจาเลยไม่เคย
แต่งต้งั ให้ ว. เป็ นทนายความ การท่ี ว. อา้ งว่าเป็ นทนายความของจาเลย ขอรับสาเนาคาฟ้องแทน
และแถลงว่าโจทก์จาเลยตกลงกันได้เป็ นความเท็จ เป็ นเหตุให้ศาลหลงเช่ือทาสัญญา
ประนีประนอมยอมความและพิพากษาตามยอม เป็ นเหตุให้จาเลยได้รับความเสียหาย
หากความจริงเป็ นดงั ท่ีจาเลยอา้ ง ย่อมถือไดว้ ่าเป็ นกระบวนพิจารณาที่ผิดระเบียบตาม ป.วิ.พ.
มาตรา ๒๗ วรรคหน่ึง แต่จาเลยต้องยกขอ้ คา้ นเร่ืองผิดระเบียบน้ันไม่ช้ากว่าแปดวนั นับแต่
วนั ท่ีจาเลยทราบพฤติการณ์อนั เป็นมลู แห่งขอ้ อา้ งตามวรรคสอง
การท่ีจาเลยได้ยื่นคาร้องกล่าวหาว่า โจทก์และ ว. ละเมิดอานาจศาล เน่ืองจาก
พฤติการณ์ของ ว. ท่ีอ้างว่าเป็ นทนายความของจาเลยขอรับสาเนาคาฟ้อง และขอทาสัญญา
ประนีประนอมยอมความกบั โจทก์ ลายมือชื่อจาเลยในใบแต่งให้ ว. เป็นทนายความเป็นลายมือ
ชื่อปลอม ซ่ึงโจทกร์ ู้เห็นดว้ ย แสดงวา่ จาเลยทราบพฤติการณ์อนั เป็นมูลแห่งขอ้ อา้ งวา่ ผดิ ระเบียบ
ต้งั แต่วนั ที่ย่ืนคาร้องดังกล่าวเป็ นอย่างช้า ดงั น้ี เมื่อจาเลยเพิ่งมาย่ืนคาร้องยกขอ้ คา้ นเร่ืองผิด
ระเบียบน้ันเม่ือเกินกว่าแปดวัน จึงไม่ชอบตามมาตรา ๒๗ วรรคสอง ชอบที่ศาลจะสั่ง
ไม่รับคาร้องดงั กล่าวไวพ้ ิจารณา แมไ้ ม่เป็ นประเด็นในช้นั ฎีกา เม่ือคาร้องของจาเลยตอ้ งห้าม
ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๑๓๑
ตามบทกฎหมายดงั กล่าว ถือว่าเป็ นปัญหาเก่ียวกบั ความสงบเรียบร้อยของประชาชน ศาลฎีกา
ยกข้ึนวนิ ิจฉยั ได้ (ฎีกาท่ี ๕๖๑๒/๒๕๔๐)
กาหนด ๘ วนั นับแต่วนั ทราบ ไม่ใช่นบั แต่วนั ที่เกิดการกระทาท่ีผิดระเบียบ (ฎีกาท่ี
๒๑๙๑/๒๕๒๓)
แต่จะย่ืนคาร้องภายหลงั จากศาลมีคาพิพากษาแลว้ ไม่ได้ เวน้ แต่จะทราบภายหลงั จากที่
ศาลพิพากษาแลว้ (ฎีกาท่ี ๓๒๐/๒๕๓๖, ๓๒๑/๒๕๓๖, ๓๔๗๖/๒๕๓๘, ๗๖๒๗/๒๕๓๘,
๗๙๙๑/๒๕๔๔)
๕. กรณีคู่ความไม่มีสิทธิร้องขอเพิกถอนกระบวนพิจารณาที่ผิดระเบียบ ถ้ามีเหตุ
ต่อไปนี้
๕.๑ ดาเนินการอนั ใดข้ึนใหม่หลงั จากท่ีไดท้ ราบเรื่องท่ีผดิ ระเบียบแลว้
- แตไ่ มต่ ดั อานาจศาลที่จะเพิกถอนเองได้ (ฎีกาท่ี ๕๘๙๘/๒๕๓๑)
๕.๒ ใหส้ ัตยาบนั ต่อการที่ผิดระเบียบ
- ยื่นฟ้องผิดศาล จาเลยไม่คา้ นปล่อยให้ศาลพิจารณาคดีไปถือว่าเป็ นการใหส้ ัตยาบนั
จะยกข้ึนในช้นั อุทธรณ์หรือฎีกาไม่ได้ (ฎีกาท่ี ๒๖๔๒/๒๕๑๙,๓๔๑๓/๒๕๒๔)
การท่ีจาเลยที่ ๒ ยน่ื คาร้องอา้ งว่าไม่มีการส่งหมายเรียก สาเนาคาฟ้อง และคาบงั คบั
ณ ภูมิลาเนาของจาเลยท่ี ๒ กระบวนพิจารณาของศาลช้ันตน้ ต้งั แต่น้ันมา จึงเป็ นการไม่ชอบ
ไม่มีผลตามกฎหมาย เป็ นกรณีที่จาเลยที่ ๒ ขอใหเ้ พิกถอนการพิจารณาท่ีผิดระเบียบตาม ป.วิ.พ.
มาตรา ๒๗ แตก่ ารเพกิ ถอนการพจิ ารณาที่ผิดระเบียบน้นั ป.วิ.พ. มาตรา ๒๗ วรรคสอง บงั คบั อยู่
ในตวั ว่าคู่ความฝ่ ายน้ันตอ้ งมิไดด้ าเนินการอนั ใดข้ึนใหม่หลงั จากไดท้ ราบเรื่องผิดระเบียบแลว้
หรือต้องมิได้ให้สัตยาบันแก่การผิดระเบียบน้ัน ๆ ปรากฏว่าหลงั จากท่ีศาลช้ันต้นพิพากษา
ใหจ้ าเลยท้งั สองใชค้ ่าเสียหายแก่โจทกแ์ ลว้ จาเลยท่ี ๒ กลบั ยินยอมชาระหน้ีตามคาพิพากษาน้นั
ใหโ้ จทก์ ท้งั ยงั ไดย้ น่ื คาแถลงต่อเจา้ พนกั งานบงั คบั คดีวา่ ตนไดช้ าระหน้ีตามคาพิพากษาให้โจทก์
ครบถ้วนแลว้ ขอให้ถอนการยึดและจาเลยที่ ๒ ยินดีชาระค่าธรรมเนียมตามระเบียบ แต่เม่ือ
จาเลยที่ ๒ ทราบจากเจา้ พนักงานบงั คบั คดีว่าค่าธรรมเนียมดงั กล่าวมากกว่าหน้ีท่ีจะตอ้ งรับผิด
ตามคาพิพากษา จาเลยท่ี ๒ จึงย่ืนคาแถลงน้ี ถือไดว้ า่ ก่อนย่นื คาแถลงจาเลยที่ ๒ ไดใ้ หส้ ัตยาบนั
แก่การผิดระเบียบหลังจากได้ทราบเร่ืองผิดระเบียบน้ันแล้ว จาเลยที่ ๒ จะขอให้เพิกถอน
การยดึ ทรัพยห์ าไดไ้ ม่
ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๑๓๒
คาร้องขอของจาเลยท่ี ๒ ที่ยื่นต่อศาลช้นั ตน้ เป็ นกรณีท่ีขอให้เพิกถอนการพิจารณา
ท่ีผิดระเบียบและขอให้ยกเลิกค่าธรรมเนียมในการยึดทรัพย์ท้ังหมดเท่าน้ัน หากศาลฟังว่า
จาเลยท่ี ๒ ไม่มีสิทธิยื่นคาร้องขอให้เพิกถอนดงั กล่าวก็ชอบท่ีจะยกคาร้องของจาเลยท่ี ๒ เสีย
กรณีไม่มีประเดน็ ที่จะตอ้ งวินิจฉัยวา่ ผใู้ ดจะตอ้ งรับผดิ ในค่าธรรมเนียมยดึ ทรัพยแ์ ลว้ ไม่มีการขาย
หรือจาหน่ายแต่อย่างใด ที่ศาลล่างท้งั สองพิพากษาให้โจทก์รับผิดในค่าธรรมเนียมดงั กล่าว
จึงเป็นเรื่องนอกประเด็นจากคาร้องของจาเลยที่ ๒ เป็ นการไม่ชอบ และปัญหาน้ีเป็ นขอ้ กฎหมาย
อันเกี่ยวด้วยความสงบเรี ยบร้อยของประชาชน ศาลฎีกามีอานาจยกข้ึนวินิจฉัยเองได้ตาม
ป.ว.ิ พ. มาตรา ๑๔๒ (๕) ประกอบมาตรา ๒๔๖, ๒๔๗ (ฎีกาท่ี ๖๕๒/๒๕๔๐)
๖. การสั่งเพกิ ถอนกระบวนพจิ ารณาทีผ่ ดิ ระเบียบ
๖.๑ เพกิ ถอนท้งั หมด
๖.๒ เพิกถอนบางส่วน
๖.๓ ส่ังแกไ้ ขในกรณีที่ไม่ใช่เร่ืองร้ายแรงมากนกั เช่น ศาลช้นั ตน้ มีคาส่ังให้รับฟ้องโจทก์
ซ่ึงโจทกไ์ มไ่ ดล้ งลายมือช่ือในคาฟ้อง (ฎีกาที่ ๖๐๑/๒๕๓๗)
ข้อสังเกต
คาพิพากษาศาลฎีกาที่ ๖๐๑/๒๕๓๗ เป็นเรื่องที่ศาลไม่ไดส้ ั่งให้แกไ้ ขคาฟ้อง เม่ือคดีมาถึง
ช้ันอุทธรณ์ได้มีการส่ังให้แก้ไข ซ่ึงการที่ศาลอุทธรณ์สั่งให้แก้ไขน้ันถือเป็ นการสั่งตาม
ป.วิ.พ. มาตรา ๒๗ เพราะตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๑๘ เม่ือไม่มีการลงลายมือช่ือศาลจะตอ้ งสั่งให้
แกไ้ ข เม่ือศาลช้นั ตน้ ไม่ไดส้ ั่งใหแ้ กไ้ ขและพิพากษา จึงกลายเป็นกระบวนพิจารณาท่ีผิดระเบียบ
ศาลอุทธรณ์จึงมีอานาจส่งั ใหแ้ กไ้ ขตามมาตรา ๒๗ ได้
๖.๔ มีคาสง่ั อยา่ งหน่ึงอยา่ งใดตามที่ศาลเห็นสมควร เช่น กรณีคูค่ วามไมไ่ ดร้ ับความเสียหาย
หรือล่วงเลยเวลามานานแลว้ หากเพิกถอนจะทาใหเ้ สียความยตุ ิธรรม กไ็ ม่จาเป็นตอ้ งสั่งเพกิ ถอน
(ฎีกาที่ ๑๐๓๕/๒๔๙๖, ๑๑๒๙/๒๔๙๖, ๑๗๙๓/๒๕๑๑, ๒๑/๒๕๒๓)
๗. ผลของการเพกิ ถอนกระบวนพจิ ารณาทผ่ี ดิ ระเบียบ
๗.๑ เม่ือศาลส่ังเพิกถอนกระบวนพิจารณาผิดระเบียบแลว้ กระบวนพิจารณาเดิมเป็ นอนั
ส้ินผลไป ศาลตอ้ งดาเนินกระบวนพจิ ารณาใหม่ใหถ้ ูกตอ้ ง (ฎีกาท่ี ๒๙๐๘ - ๒๙๐๙/๒๕๓๗)
แต่ถา้ เป็ นเร่ืองไม่ไดป้ ฏิบัติตามกาหนดระยะเวลาและพน้ กาหนดระยะเวลาแล้ว
เมื่อศาลส่งั เพิกถอนแลว้ ศาลควรสั่งใหข้ ยายเวลาตามมาตรา ๒๓ (ฎีกาท่ี ๑๗๙/๒๕๑๘)
ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๑๓๓
๗.๒ กรณีอาจไม่ตอ้ งดาเนินกระบวนพิจารณาใหม่ก็ได้ ถา้ เป็ นความบกพร่องเร่ืองการ
แต่งทนายความ เมื่อแต่งทนายความแล้ว กระบวนพิจารณาก่อนน้ันเป็ นอนั ไม่เสีย (ฎีกาท่ี
๑๓๒๖/๒๕๒๒)
๗.๓ คาส่ังศาลท่ีเพิกถอนหรือไม่เพิกถอนกระบวนพิจารณาที่ผิดระเบียบเป็ นคาส่ัง
ระหว่างพิจารณาไม่อาจอุทธรณ์ฎีกาทนั ที ตอ้ งโตแ้ ยง้ คดั คา้ นไวก้ ่อน (ฎีกาที่ ๑๖๐๒/๒๕๑๔)
เวน้ แต่ เป็ นกรณีเพิกถอนคาส่ังรับคาคู่ความเป็ นไม่รับ เพราะผลของคาสั่งศาลที่เพิกถอนเท่ากบั
เป็ นการสั่งไม่รับคาคู่ความ จึงไม่เป็ นคาส่ังระหว่างพิจารณา คู่ความย่อมอุทธรณ์ไดท้ นั ทีตาม
มาตรา ๑๘ วรรคทา้ ย ประกอบมาตรา ๒๒๗ หรือ ๒๒๘
๗.๔ กรณีคู่ความหลายคน หากเป็ นการดาเนินกระบวนพิจารณาผิดระเบียบเฉพาะ
ท่ีเกี่ยวกบั คูค่ วามคนใด เมื่อศาลเพกิ ถอนกระบวนพจิ ารณาท่ีผิดระเบียบแลว้ ก็ใหด้ าเนินกระบวน
พิจารณาใหมเ่ ฉพาะท่ีเก่ียวกบั คูค่ วามดงั กลา่ วเพียงคนเดียว (ฎีกาที่ ๒๐๑๗/๒๕๓๗)
ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๑๓๔
บทท่ี ๕
กรณไี ม่สามารถดาเนินกระบวนพจิ ารณาต่อศาลที่มเี ขตอานาจ
๑. กรณีคู่ความไม่อาจดาเนนิ กระบวนพจิ ารณาต่อศาลท่ีมีเขตอานาจได้
ในกรณีคู่ความไม่อาจดาเนินกระบวนพิจารณาในศาลช้นั ตน้ ที่มีเขตศาลเหนือคดีน้นั ได้
โดยเหตุสุดวิสัย คู่ความฝ่ ายที่เสียหายหรืออาจเสียหายเพราะการน้นั จะยน่ื คาขอฝ่ ายเดียวโดยทา
เป็ นคาร้องต่อศาลช้นั ตน้ ซ่ึงตนมีภูมิลาเนาหรืออยู่ในเขตศาลในขณะน้ันก็ได้ และให้ศาลน้นั
มีอานาจทาคาส่งั อยา่ งใดอยา่ งหน่ึงตามที่เห็นสมควรเพ่อื ประโยชนแ์ ห่งความยตุ ิธรรม
เหตุสุดวิสัย ตามมาตรา ๑๐ น้นั คือ พฤติการณ์นอกเหนือไม่อาจบงั คบั ไดแ้ ละไม่สามารถ
หลีกเล่ียงไดอ้ นั เป็ นเหตุขดั ขวางมิให้คู่ความดาเนินกระบวนพิจารณาอย่างใดอย่างหน่ึง เช่น
รถยนต์ประสบอุบตั ิเหตุและไม่สามารถเดินทางโดยรถยนตค์ นั อื่นได้ (ฎีกาที่ ๕๗๒๐/๒๕๔๔)
เหตุสุดวิสัย จึงไม่จาตอ้ งเป็ นเหตุอนั เกิดจากภยั ธรรมชาติซ่ึงไม่มีใครอาจป้องกนั ได้ ตาม ป.พ.พ.
มาตรา ๘ (ฎีกาที่ ๖๙๕/๒๕๐๙) ปัจจุบนั น้ีความหมายของเหตุสุดวิสัย ตาม ป.พ.พ. ศาลฎีกา
วินิจฉัยทานองเดียวกนั ว่าคือเหตุที่เกิดจากการกระทาของมนุษย์ ซ่ึงบุคคลไดจ้ ดั การระมดั ระวงั
ตามสมควรแลว้ ก็ยงั ไม่อาจป้องกนั ไดด้ ว้ ย (ฎีกาที่ ๑๑๙/๒๕๒๒, ๓๒๖/๒๕๒๒)
(๑) มาตรา ๑๐ ใชก้ บั กรณีการเร่ิมตน้ ยนื่ คาฟ้องตอ่ ศาลช้นั ตน้
(๒) มาตรา ๑๐ ใชก้ รณียน่ื อุทธรณ์ดว้ ยเพราะเป็นกระบวนพิจารณาที่ผอู้ ทุ ธรณ์
จะตอ้ งดาเนินการต่อศาลอยา่ งหน่ึง (ฎีกาท่ี ๙๖๗/๒๔๙๔) แต่ศาลที่รับคาฟ้องอุทธรณ์และคาร้อง
ตามมาตรา ๑๐ ไม่ควรสั่งคาฟ้องอุทธรณ์และคาร้องอื่นที่เก่ียวข้องในเน้ือหาให้ส่ังเพียงว่า
“ส่งให้ศาลเดิมเพ่ือพิจารณาสั่ง” เพราะไม่มีขอ้ เทจ็ จริง หรือรายละเอียดในสานวนที่จะส่ังอุทธรณ์
น้นั ได้
๒. การสั่งและวธิ ีปฏบิ ตั ขิ องศาลทีร่ ับคาร้อง
มาตรา ๑๐ ให้ศาลรับคาร้องมีอานาจทาคาสั่งอย่างใดอย่างหน่ึงตามที่เห็นสมควร
เพ่ือประโยชน์แห่งความยตุ ิธรรม เพราะคู่ความไม่สามารถดาเนินกระบวนพิจารณาในศาลช้นั ตน้
ท่ีมีเขตศาลเหนือคดีได้ แต่ตอ้ งปรากฏขอ้ เทจ็ จริงว่าเป็ นเหตุสุดวิสัย หากตามคาร้องมิไดร้ ะบุว่า
กรณีมีเหตสุ ุดวสิ ัยอยา่ งใดก็ไม่ตอ้ งดว้ ยมาตรา ๑๐ น้ี คู่ความที่ยน่ื คาร้องจึงไมอ่ าจดาเนินกระบวน
พิจารณาต่อศาลน้นั ได้ (ฎีกาท่ี ๗๔๔๓/๒๕๔๔) การวินิจฉัยว่าเป็ นเหตุสุดวิสัยหรือไม่ จึงเป็ น
อานาจของศาลที่รับคาร้องจะพิจารณาสั่ง ดงั น้ัน เมื่อคู่ความย่ืนคาร้องเขา้ มาตามมาตรา ๑๐
ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๑๓๕
กรณีเห็นว่าไม่เป็ นเหตุสุดวิสัย ส่ังว่า “พิเคราะห์ คาร้ องแล้ว เห็นว่า กรณีไม่เป็ นเหตุสุดวิสัย
ให้ ยกคาร้ อง”
ในกรณีศาลรับคาร้องเห็นว่าเป็ นเหตุสุดวิสัยสั่งว่า “พิเคราะห์ คาร้ องแล้ว เห็นว่ากรณี
ถือได้ว่าเป็ นเหตุสุดวิสัย จึงให้รับคาร้ องและรวบรวมส่งศาลจังหวัด . . . .ทางโทรสารโดยเร็ว
ส่วนคาร้องให้ส่งตามไปในภายหลัง ให้ผู้ร้องชาระค่าส่งโทรสารตามระเบียบ” หรืออาจสั่งให้
ส่งทางจดหมายอิเลก็ ทรอนิกส์ ถา้ ศาลท่ีรับ - ส่ง มีความพร้อม
ศาลรับคาร้องไม่ควรสั่งอนุญาตหรือไม่อนุญาตเพราะจะเป็ นการกา้ วล่วงอานาจของศาล
เจ้าของสานวน เวน้ แต่ศาลรับคาร้องเห็นสมควรเพื่อประโยชน์แห่งยุติธรรมเท่าน้ัน ซ่ึงเม่ือ
ศาลส่งั อยา่ งไรแลว้ ใหร้ ีบแจง้ และส่งคาร้องไปยงั ศาลเจา้ ของคดี
กรณีขอเล่ือนคดี อาจอา้ งเหตุสุดวิสัยมาในคาร้องขอเลื่อนคดีก็ไดไ้ ม่จาตอ้ งยืน่ คาร้องตาม
มาตรา ๑๐ แยกเป็นอีกฉบบั หน่ึง
เมื่อศาลที่ผูร้ ้องมีภูมิลาเนาหรืออยู่ในเขตศาลน้ัน พิจารณาแล้วเห็นว่า มีเหตุสุดวิสัย
ไดร้ ับคาร้องและส่งคาร้องให้ศาลช้นั ตน้ ที่มีเขตอานาจเหนือคดีน้นั การที่ศาลรับคาร้องดงั กล่าว
ถือไดว้ า่ คาร้องน้นั ไดย้ น่ื ตอ่ ศาลช้นั ตน้ ท่ีมีเขตอานาจแลว้ (ฎีกาท่ี ๑๓๗๔/๒๕๔๖)
ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๑๓๖
บทท่ี ๖
การย่ืนบญั ชีพยาน
๑. สิทธิของคู่ความในการย่ืนบัญชีพยาน
การยื่นบญั ชีพยานตามมาตรา ๘๘ แบ่งออกไดเ้ ป็ น ๓ ตอน คือ ตอนแรกว่าดว้ ยการระบุ
พยานหลกั ฐานคร้ังแรก ตอนท่ีสองว่าดว้ ยการระบุพยานเพ่ิมเติมให้ระบุเพ่ิมเติม โดยทาเป็ น
คาแถลงภายใน ๑๕ วนั นบั แต่วนั สืบพยาน ตอนท่ีสามว่าดว้ ยการระบุพยานหลกั ฐานเมื่อมีเหตุ
สมควร ซ่ึงหากไม่เขา้ ตอนท่ีหน่ึงและท่ีสองแลว้ ตอ้ งขออนุญาตศาลก่อน ความประสงค์ของ
บทบญั ญตั ิน้ีก็เพ่อื มิใหค้ ูค่ วามจู่โจมกนั ในทางพยานหลกั ฐานโดยมิรู้ตวั ในทางปฏิบตั ิจึงชอบที่จะ
พิจารณาว่าการที่คู่ความฝ่ ายใดไม่ระบุพยานภายในกาหนดน้ัน เป็ นโดยประสงค์จะเอาเปรียบ
ในทางคดีหรือวา่ พลาดพล้งั ไปหาไดป้ ระสงคเ์ อาเปรียบในทางคดีไม่ และการท่ีไม่ระบุพยานน้นั
มีทางพอท่ีจะแก้ไขไม่ให้อีกฝ่ ายหน่ึงเสียหายหรือไม่ หากเป็ นเรื่องไม่ใช่เอาเปรียบและ
มีทางแกไ้ ขไม่ให้อีกฝ่ ายหน่ึงเสียหาย ก็ชอบที่ศาลจะใชอ้ านาจตามตอนท่ีสาม โดยสั่งตามควร
แก่กรณี ท้งั น้ี เพอ่ื ใหค้ วามเป็นธรรมแก่ตวั ความตามสมควร (ฎีกาที่ ๑๐๓๔/๒๕๐๓)
๑.๑ การยื่นบัญชีพยานคร้ังแรก จะต้องย่ืนต่อศาลก่อนวันสืบพยานจริ งๆ นัดแรก
ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๑ (๑๐) ไม่นอ้ ยกว่า ๗ วนั (ฎีกาท่ี ๒๓๑๙/๒๕๔๐) ระยะเวลาท่ีจะยน่ื บญั ชี
ระบุพยานคือระยะเวลาตามกฎหมายที่ใช้อยู่ในขณะที่ย่ืนบญั ชีระบุพยานน้ัน (ฎีกาที่ ๔๔๖/
๒๕๔๐) ต้องมีระยะเวลาระหว่างวันย่ืนบัญชีพยานกับวันนัดสืบพยานอย่างน้อย ๗ วัน
ถา้ วนั สุดทา้ ยท่ีจะย่ืนไดเ้ ป็ นวนั หยุดราชการ และมายื่นในวนั เปิ ดทาการ ถือว่าไม่ครบ ๗ วนั
แต่ศาลอาจรับบญั ชีพยานน้ันไดต้ าม ป.วิ.พ. มาตรา ๘๗ (๒) หากเห็นว่าผูย้ ื่นไม่จงใจฝ่ าฝื น
เพอ่ื ประโยชน์แห่งความยตุ ิธรรมจึงควรรับบญั ชีพยานน้นั (ฎีกาท่ี๑๑๙/๒๕๐๕, ๑๒๓๔/๒๕๐๘)
หากเป็ นการสืบพยานหรือไต่สวนในเรื่องอื่นที่ไม่เกี่ยวกบั ประเด็นขอ้ พิพาท เช่น
ไต่สวนคาร้องขออนุญาตย่ืนคาให้การ หรือไต่สวนคาร้องขอพิจารณาคดีใหม่ พยานหลกั ฐาน
ในช้ันน้ีมิใช่พยานหลักฐานที่สนับสนุนข้ออ้างข้อโต้เถียงในประเด็นแห่งคดีที่พิพาทกัน
จึงไม่ตกอยู่ในบังคับท่ีจะต้องยื่นบญั ชีพยานก่อนวนั นัดไต่สวนไม่น้อยกว่า ๗ วนั ตามมาตรา ๘๘
(ฎีกาที่๘๔๗/ ๒๕๙๓, ๑๙๒/๒๕๑๗, ๙๑๐/๒๕๒๓, ๔๒๗๖/๒๕๓๒)
๑.๒ การยื่นบญั ชีพยานเพ่ิมเติมตามมาตรา ๘๘ วรรคสอง ใหย้ ื่นคาแถลงและบญั ชีพยาน
เพ่ิมเติมต่อศาลภายใน ๑๕ วนั นับแต่วนั สืบพยานคร้ังแรก การยื่นบญั ชีพยานเพ่ิมเติมตาม
มาตรา ๘๘ วรรคสอง เป็ นสิทธิของคู่ความที่จะยื่นเพ่ิมเติมไดเ้ สมอ ศาลจะใชด้ ุลพินิจไม่อนุญาต
ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๑๓๗
ให้ระบุเพิ่มเติมไม่ได้ ศาลอนุญาตได้โดยไม่ต้องสอบถามคู่ความอีกฝ่ ายหน่ึงว่าจะคัดค้าน
ประการใดหรือไม่
๑.๓ การยนื่ บญั ชีพยาน เมื่อมีเหตุสมควรตามมาตรา ๘๘ วรรคสาม เป็นการยนื่ บญั ชีพยาน
ท้งั ในกรณีที่พน้ ระยะเวลายืน่ บญั ชีพยานภายในระยะเวลา ๗ วนั ส้ินสุดลงแลว้ หรือกรณียื่นบญั ชี
พยานเพ่ิมเติมเม่ือพ้นระยะเวลา ๑๕ วนั นับแต่วนั สืบพยาน ซ่ึงการย่ืนบัญชีพยานเพ่ิมเติม
ตามมาตรา ๘๘ วรรคสาม จะตอ้ งทาเป็นคาร้องแสดงเหตุผลและความจาเป็นวา่ เหตใุ ดจึงไมอ่ าจ
ย่ืนภายในกาหนดเวลาตามวรรคหน่ึงและวรรคสองได้ จะขอย่ืนโดยไม่อา้ งเหตุผลตามมาตรา
๘๘ วรรคสามไม่ได้ (ฎีกาที่ ๑๕๘/๒๔๘๐) ขอระบุพยานเพ่ิมเติมตามมาตรา ๘๘ วรรคสาม
โดยอา้ งว่าเขา้ ใจผิดคิดว่าไดร้ ะบุพยานไวแ้ ลว้ ดงั น้ี ถือว่าไม่ไดแ้ สดงเหตุผล ศาลไม่อนุญาต
(ฎีกาท่ี ๑๐๒/ ๒๕๑๐) ขอ้ อา้ งที่ปราศจากเหตุผล เช่น ทนายโจทก์เขา้ ใจวนั นัดผิด (ฎีกาท่ี ๕๓๑๒/
๒๕๓๑) ขอ้ อา้ งที่เป็ นความบกพร่องของตนเอง (ฎีกาที่ ๑๓๗๙/๒๕๔๖) ศาลไม่อนุญาตและศาล
จะอนุญาตต่อเม่ือเห็นว่าจาเป็ นต้องสืบพยานเช่นน้ันเพื่อให้การวินิจฉัยช้ีขาดข้อสาคัญ
แห่งประเด็นเป็นไปโดยเที่ยงธรรมดว้ ย (ฎีกาท่ี ๑๙๘๖/๒๕๒๘)
ผูย้ ่ืนตอ้ งทาคาร้องแสดงเหตุอนั สมควรที่ไม่สามารถยื่นบญั ชีพยานตามระยะเวลา
ปกติได้ โดยยน่ื คาร้องพร้อมกบั บญั ชีระบุพยานและสาเนาท่ีจะส่งใหอ้ ีกฝ่ าย
การย่ืนบญั ชีพยานตามมาตรา ๘๘ วรรคสาม แม้ยื่นตามหลกั เกณฑ์ที่บัญญัติไว้
แต่ศาลก็มีอานาจพิเคราะห์ว่าพยานเก่ียวกบั ประเด็นหรือไม่ เป็ นการประวิงคดีให้ชกั ชา้ หรือไม่
หากเป็นเช่นน้นั ก็ไม่รับบญั ชีพยานได้ (ฎีกาที่ ๖๐๔๑/๒๕๓๙)
๑.๔ คาสั่งอนุญาตหรือไม่อนุญาตให้ย่ืนบญั ชีพยาน เป็ นคาสั่งระหว่างพิจารณา คู่ความ
ผูย้ ื่นจะอุทธรณ์ทนั ทีไม่ได้ ตอ้ งโตแ้ ยง้ คดั คา้ นไวก้ ่อนตามมาตรา ๒๒๖(๑) (ฎีกาที่ ๓๕๗/๒๕๐๘,
๑๕๓๒/๒๕๒๕) และเป็ นปัญหาขอ้ เทจ็ จริง อยภู่ ายใตบ้ ทบญั ญตั ิห้ามมิให้อุทธรณ์หรือฎีกาตาม
ป.ว.ิ พ. มาตรา ๒๒๔ วรรคแรก หรือ ๒๔๘ วรรคแรก (ฎีกาท่ี ๙๖๓/๒๕๓๗, ๖๔๕๕/๒๕๓๘)
๒. การส่ังของศาล
๒.๑ การย่ืนบญั ชีพยานคร้ังแรก ศาลส่ังในบญั ชีพยานว่า “รับรวม . . . อันดับ สาเนาให้
โจทก์หรือจาเลย (คู่ความอีกฝ่ ายหนึ่ง) ”
๒.๑.๑ ถ้าคู่ความย่ืนบญั ชีพยานเม่ือพน้ กาหนดดังกล่าวขา้ งต้น ศาลส่ังไม่รับได้
โดยส่ังวา่ “ไม่ย่ืนภายในกาหนดและไม่แจ้งเหตุขดั ข้องจึงไม่รับ” หรืออาจสั่งวา่ “สาเนาให้ . . .
. .รอไว้ส่ังในวันนัด” ถึงวนั นัดสืบพยานถ้าตอ้ งเลื่อนคดีก็ส่ังรับบญั ชีพยาน ถ้าไม่เล่ือนคดี
ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๑๓๘
ก็สั่งไม่รับบัญชีพยาน (ถ้าศาลส่ังไม่รับบัญชีพยานแล้วเมื่อถึงวนั นัดมีเหตุต้องเล่ือนคดีไป
คู่ความอาจมีสิทธิยน่ื บญั ชีพยานได)้
๒.๑.๒ จาเลยไม่ย่ืนบญั ชีพยาน เมื่อถึงวนั นัดสืบพยานจึงยื่นคาร้องขอเลื่อนคดี
สง่ั คาร้องวา่ “สาเนาให้โจทก์ ส่ังในรายงานกระบวนพิจารณา”
จดรายงานกระบวนพจิ ารณาวา่
“นัดสืบพยานโจทก์วันนี้ ทนายโจทก์และผู้รับมอบฉันทะทนายจาเลย
มาศาล
ทนายจาเลยยื่นคาร้ องขอเล่ือนคดีโดยอ้างว่า ป่ วยเป็ นโรคลาไส้ อักเสบ
รายละเอียดปรากฏตามคาร้องและใบรับรองแพทย์ที่ย่ืนต่อศาลในวนั นี้
ทนายโจทก์ได้รับสาเนาคาร้ องแล้ว แถลงคัดค้านว่า จาเลยไม่ได้ยื่นบัญชี
พยานท่ีขอเล่ือนคดีอาจเพราะเหตุดังกล่าว โจทก์เตรียมพยานมาพร้อมสืบแล้ว จึงไม่ควรอนุญาต
ให้ เลื่อนคดี
พิเคราะห์แล้ว เห็นว่า แม้ว่าจาเลยไม่ได้ยื่นบัญชีพยาน ก็มิใช่เหตุโดยตรง
ที่จะนามาพิจารณาว่าสมควรอนุญาตให้เลื่อนคดีหรือไม่ เมื่อทนายจาเลยย่ืนคาร้ องขอเลื่อนคดี
อ้างว่าไม่สามารถมาว่าความได้เพราะป่ วยเจ็บ และตามคาแถลงคัดค้านของทนายโจทก์ถือได้ว่า
เป็ นการคัดค้านว่าทนายจาเลยไม่ได้ป่ วยจริงด้วย ประกอบกับตามใบรับรองแพทย์ท้ายคาร้ อง
ยงั ไม่ชัดเจนว่า อาการป่ วยของทนายจาเลยร้ายแรงถึงกับจะมาศาลไม่ได้ อาศยั อานาจตาม ป.วิ.พ.
มาตรา ๔๑ จึงมีคาสั่งต้ังผู้อานวยการสานักอานวยการประจาศาลนี้ร่ วมกับแพทย์ประจา
โรงพยาบาล……. ไปตรวจอาการป่ วยเจ็บของทนายจาเลย ณ ท่ีอยู่ของทนายจาเลยในวันนีเ้ วลา
๑๐ นาฬิกา โดยให้ทนายโจทก์และผู้รับมอบฉันทะทนายจาเลยร่วมไปด้วย แล้วกลับมารายงาน
ผลการตรวจต่อศาลโดยเร็ว เพื่อที่ศาลจะได้ดาเนินกระบวนพิจารณาต่อไป
ให้ มีหนังสือถึงผู้อานวยการโรงพยาบาล….. เพื่อมอบหมายให้ แพทย์
ในโรงพยาบาลท่านหนึ่งร่วมไปตรวจอาการป่ วยเจ็บของทนายจาเลยดังกล่าว”
เมื่อตรวจอาการป่ วยเจ็บของทนายจาเลยแล้ว จดรายงานกระบวนพิจารณา
ตามผลการตรวจดงั นี้
ตวั อย่างท่ี ๑
“นัดสืบพยานโจทก์ (ต่อจากเวลา ๙ นาฬิกา ของวันนี)้ ทนายโจทก์ผู้รับมอบ
ฉันทะทนายจาเลย และนาย ….. แพทย์ประจาโรงพยาบาล…….มาศาล
ตาม ป.วิ.พ. แมค้ คู่ วามอีกฝ่ ายไม่คดั คา้ น ศาลกอ็ าจใชด้ ุลพนิ ิจตาม ป.ว.ิ พ. มาตรา ๔๑ ได้
ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๑๓๙
ผู้อานวยการสานักอานวยการประจาศาลนแี้ ละนาย... แพทย์ประจาโรงพยาบาล...
รายงานโดยสาบานตน (หรือกล่าวคาปฏิญาณ) แล้วว่า ได้ร่ วมกันไปตรวจอาการป่ วยเจ็บของ
ทนายจาเลย ผลปรากฏว่า พบทนายจาเลยกาลังน่ังทางานที่เครื่องคอมพิวเตอร์ ในบ้านซึ่งเปิ ด
เป็ นสานักงานทนายความด้วย ทนายจาเลยยินยอมให้ตรวจร่างกาย โดยแจ้งว่า เม่ือ ๓ – ๔ วัน
ก่อนมีอาการแน่นท้อง ปวดท้อง ท้องอืด ท้องเสีย คล่ืนไส้อาเจียน และมีไข้สูง จึงไปให้แพทย์
คลินิคเอกชนตรวจรักษา แพทย์แจ้งว่าเป็ นโรคลาไส้อักเสบ ให้ยามารับประทาน ให้ควบคุม
อาหารและให้พกั ผ่อนเป็นเวลา ๗ วนั ขณะนที้ นายจาเลยยงั มีอาการอ่อนเพลียและวิงเวียนศีรษะ
อยู่บ้าง จากการสังเกตและตรวจร่ างกายทนายจาเลย ไม่พบว่ามีอาการท้ องอืด ท้องเสีย
หรืออาเจียนและไม่มไี ข้ โดยทนายจาเลยสามารถพดู คุยและทากิจวัตรประจาวนั ได้ตามปกติ
พิเคราะห์รายงานของผู้อานวยการฯและแพทย์ดังกล่าวแล้ว เชื่อว่า อาการป่ วย
ของทนายจาเลยดีขึน้ และไม่ร้ ายแรงถึงกับจะมาศาลในวันนีไ้ ม่ได้ กรณีจึงไม่มีเหตุจาเป็ นท่ีจะ
อนุญาตให้เล่ือนคดี ให้ยกคาร้องขอเล่ือนคดีของทนายจาเลย ให้โจทก์จ่ายค่าป่ วยการแก่แพทย์
เป็ นเงิน ๔๐๐ บาท โดยให้จาเลยรับผิดในค่าฤชาธรรมเนียมนีต้ าม ป.วิ.พ. มาตรา ๑๖๖ และ
ให้ โจทก์ นาพยานเข้าสื บ....”
ตัวอย่างท่ี ๒
“นัดสืบพยานโจทก์ (ต่อจากเวลา ๙ นาฬิกา ของวันนี)้ ทนายโจทก์ ผู้รับมอบ
ฉันทะทนายจาเลย และนาย... แพทย์ประจาโรงพยาบาล.....มาศาล
ผู้อานวยการสานักอานวยการประจาศาลนี้และนาย.... .....แพทย์ประจา
โรงพยาบาล.... รายงานโดยสาบานตน (หรือกล่าวคาปฏิญาณ) แล้วว่า ได้ร่วมกันไปตรวจอาการ
ป่ วยเจ็บของทนายจาเลย ผลปรากฏว่า พบทนายจาเลยนอนหลับอยู่ที่บ้านโดยมีภริยาเฝ้าดูแล
และแจ้งว่า เมื่อวานนีท้ นายจาเลยมอี าการแน่นท้อง ปวดท้อง ท้องอืด ท้องเสีย คล่ืนไส้อาเจียน
และมีไข้สูง จึงไปให้แพทย์คลินิกเอกชนตรวจรักษา แพทย์แจ้งว่าเป็ นโรคลาไส้อักเสบ ให้ยามา
รับประทาน ให้ควบคุมอาหารและให้ พักผ่อนเป็ นเวลา ๗ วัน เช้าวันนีท้ นายจาเลยยังมีอาการ
ดังกล่าวอยู่ จึงให้ผู้รับมอบฉันทะจัดทาคาร้องขอเล่ือนคดีมาให้ทนายจาเลยลงลายมือช่ือเพ่ือย่ืน
ต่อศาล แล้วทนายจาเลยกน็ อนพักผ่อน จากการตรวจร่างกายทนายจาเลยพบว่ามีอาการท้องอืด
และมีไข้สูง
พิเคราะห์รายงานของผู้อานวยการฯและแพทย์ดังกล่าวแล้ว เชื่อว่า ทนายจาเลย
มีอาการป่ วยจนถึงกับไม่สามารถมาศาลในวันนี้ กรณีมีเหตุจาเป็ นอันไม่อาจก้าวล่วงเสียได้
เพ่ือประโยชน์แห่งความยตุ ิธรรม จึงอนุญาตให้เล่ือนไปนัดสืบพยานโจทก์ในวันที่...
อน่ึง ให้โจทก์จ่ายค่าป่ วยการแก่แพทย์เป็นเงิน ๔๐๐ บาท”
ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๑๔๐
หมายเหตุ
ศาลควรประสานงานกับโรงพยาบาลของรัฐหรื อของเอกชนเพ่ือขอความร่ วมมื อ
ในกรณีตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๔๑ไวล้ ่วงหน้า และศาลอาจส่ังให้โจทก์จ่ายค่าป่ วยการของแพทย์
ไม่เกินวนั ละ ๔๐๐ บาท และค่าพาหนะตามสมควร (กรณีท่ีไม่ไดจ้ ดั รถรับส่ง)โดยนา ป.วิ.พ.
มาตรา ๑๕๒ และ ๑๖๖ ประกอบตาราง ๔ ทา้ ย ป.วิ.พ. มาใช้ บงั คบั
๒.๑.๓ ในวนั นดั สืบพยาน ฝ่ ายใดไม่ยื่นบญั ชีพยาน ย่อมไม่มีสิทธินาพยานเขา้ สืบ
และจะอา้ งตนเองเป็นพยานเขา้ สืบก็ไมไ่ ด้ (ฎีกาที่ ๑๔๕/๒๕๒๒, ๓๑๓๐/๒๕๒๓)
๒.๑.๔ การขอยนื่ บญั ชีพยานคร้ังแรกในวนั นดั สืบพยานโจทกต์ อ้ งทาเป็นคาร้องและ
อ้างเหตุตามมาตรา ๘๘ วรรคสาม อย่างไรก็ตาม ปัจจุบันการย่ืนคาร้องคาขอไม่ต้องเสีย
ค่าธรรมเนียมศาลแลว้ หากทาเป็ นคาแถลงมา โดยคาแถลงน้ันมีสาระสาคญั และเหตุผลตามท่ี
ระบุในมาตรา ๘๘ วรรคสาม ครบถว้ น ก็ถือว่าเป็ นขอ้ ผิดระเบียบเล็กน้อย ศาลอาจอนุโลม
รับเป็นคาร้องแลว้ พิจารณาสั่งในเน้ือหาไปได้ แตท่ ้งั น้ี ตอ้ งสาเนาใหค้ ู่ความอีกฝ่ ายหน่ึงมีโอกาส
คดั คา้ นก่อนตาม ป.ว.ิ พ. มาตรา ๒๑ (๒) ดว้ ย
หมายเหตุ
แนวทางปฏิบตั ิน้ี นาไปใชก้ บั กรณีอ่ืนที่กฎหมายกาหนดใหท้ าเป็นคาร้องดว้ ย
๒.๒ การยื่นบญั ชีพยานเพ่ิมเติม เม่ือมีคาแถลงขอระบุพยานเพิ่มเติมโดยชอบส่ังคาแถลงว่า
“สาเนาให้ . . . (คู่ความอีกฝ่ ายหน่ึง) อนุญาต” แลว้ สั่งในบญั ชีพยานเพ่ิมเติมว่า “รับรวม . . .
อันดับ สาเนาให้โจทก์หรือจาเลย (คูค่ วามอีกฝ่ ายหน่ึง)”
๒.๓ การระบุพยานเพ่ิมเติมตามมาตรา ๘๘ วรรคสาม เช่น หลงั จากสืบพยานโจทก์ที่มี
หนา้ ที่นาสืบก่อนเสร็จแลว้ ในวนั นดั สืบพยานจาเลย จาเลยยน่ื คาร้องวา่ เพง่ิ ทราบวา่ มีเอกสารการ
จดทะเบียนโอนกรรมสิทธ์ิท่ีดินบางอยา่ ง ซ่ึงอยใู่ นความครอบครองของบุคคลภายนอก จาเลย
จึงไมส่ ามารถระบุอา้ งเป็นพยานในบญั ชีก่อนสืบพยานโจทกเ์ สร็จได้ จึงขอระบุพยานเพม่ิ เติม
สั่งคาร้องและบญั ชีพยานเพิ่มเติมวา่ “สาเนาให้โจทก์ ส่ังในรายงานฯ”
จดรายงานกระบวนพิจารณาวา่
“นดั สืบพยานจาเลยวนั นี้ ทนายโจทก์และทนายจาเลยมาศาล
จาเลยย่ืนคาร้ องขอระบุพยานเพ่ิมเติม โดยอ้างว่าเพ่ิงทราบว่ามีพยานเอกสารสาคัญ
รายละเอียดปรากฏตามคาร้องและบัญชีพยานเพ่ิมเติมฉบบั ลงวันที่วันนี้
ทนายโจทก์ได้รับสาเนาแล้วแถลงคัดค้านว่า คดีนีส้ ืบพยานโจทก์เสร็จแล้วไม่ควร
อนญุ าตเพราะจะทาให้คดีล่าช้าและโจทก์เสียเปรียบ
ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๑๔๑
พิเคราะห์ แล้ว เห็นว่า กรณีมีเหตุอันสมควร เพื่อให้ การวินิจฉัยชี้ขาดข้อสาคัญ
แห่ งประเด็นเป็ นไปโดยเที่ยงธรรมจาเป็ นจะต้องสื บพยานหลักฐานที่จาเลยอ้าง จึงอนุญาต
ให้จาเลยระบุพยานเพ่ิมเติมได้ และรับบัญชีพยานเพิ่มเติมของจาเลยฉบับลงวันที่วันนี้ รวม . . .
อันดบั . . .”
๓. ข้อสังเกต
๓.๑ การระบุพยานเอกสารในลกั ษณะเอกสารเป็ นชุดว่า เอกสารต่าง ๆ ในแฟ้มเรื่องราว
ของโฉนดท่ีดินเลขที่ . . . . . หรือสรรพเอกสารในสานวนทวงหน้ีลูกหน้ีรายผรู้ ้อง ถือว่ามีความ
ชดั เจนวา่ เป็นเอกสารใดแลว้ เป็นการระบพุ ยานโดยชอบตามมาตรา ๘๘ (ฎีกาที่ ๓๖๔/๒๕๓๖,
๖๐๔๑/๒๕๓๙)
๓.๒ ในส่วนท่ีอยู่ของพยานบุคคลในบญั ชีพยาน หากระบุว่า ท่ีอยู่ของพยานจะเสนอ
ตอ่ ศาลในวนั ขอหมายเรียก เป็นการระบุพยานที่ไมช่ อบ (ฎีกาท่ี ๑๕๙๐/๒๕๔๒)
๓.๓ กรณีมีเหตุให้รับบญั ชีพยานเพียงบางส่วน ส่ังวา่ “รับบัญชีพยานโจทก์เฉพาะพยาน
อันดับท่ี . . .รวม . . . อันดับ ส่วนพยานอันดับที่ . . .ไม่ชัดแจ้งว่าเป็นบุคคลใด จึงไม่รับ สาเนา
ให้จาเลย” หรือ “รับรวม . . . อันดับ ส่วนอันดับท่ี . . .ไม่ระบุท่ีอย่จู ึงไม่รับ สาเนาให้จาเลย”
ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๑๔๒
บทท่ี ๗
การเล่ือนคดี
๑. เหตทุ ศ่ี าลจะเล่ือนคดี
๑.๑ กรณคี ู่ความขอเลื่อนคดี
คู่ความขอเล่ือนคดีโดยอา้ งวา่ ตนมีเหตุจาเป็ นอนั ไม่อาจกา้ วล่วงเสียไดแ้ ละหากศาล
ไม่อนุญาตให้เลื่อนคดีจะทาให้เสียความยุติธรรมตามมาตรา ๔๐ เช่น ทนายความป่ วยเจ็บจน
ไม่สามารถมาศาลได้ หรือทนายความติดว่าความในคดีอื่นซ่ึงนัดไวก้ ่อนแลว้ ท้งั น้ี ศาลต้อง
พจิ ารณาเหตดุ งั กลา่ วทกุ คร้ังที่มีการขอเล่ือนคดี
๑.๑.๑ ผมู้ ีสิทธิขอเลื่อนคดีไดแ้ ก่ ตวั ความหรือทนายความ การขอเลื่อนคดีอาจเสนอ
ต่อหนา้ ศาลโดยการแถลงดว้ ยวาจา หรือทาเป็ นคาร้องย่ืนต่อศาลก่อนหรือในวนั นดั และหาก
ตวั ความหรือทนายความไม่อาจมาศาลได้ ก็ตอ้ งมอบฉันทะใหบ้ ุคคลใดบุคคลหน่ึงนาคาร้องขอ
เล่ือนคดีมายนื่ ตอ่ ศาล
คาขอเล่ือนคดีดว้ ยวาจา จะตอ้ งกระทาโดยตวั ความหรือทนายความเท่าน้ัน
หากตวั ความหรือทนายความไม่อาจมาศาลได้ จะตอ้ งทาคาขอเลื่อนคดีเป็ นลายลกั ษณ์อกั ษร
และมอบฉนั ทะให้บคุ คลใดบคุ คลหน่ึงมายน่ื ต่อศาล ผรู้ ับมอบฉนั ทะจากทนายโจทกไ์ ม่มีอานาจ
แถลงดว้ ยวาจาขอเล่ือนคดีต่อศาล การที่ผูร้ ับมอบฉันทะจากทนายโจทกข์ อเลื่อนคดีต่อศาลดว้ ย
วาจา ถือไม่ไดว้ ่าเป็ นการแจง้ เหตุขดั ขอ้ งให้ศาลทราบ เม่ือโจทก์และทนายโจทก์ไม่ไดข้ อเลื่อน
คดีตามบทบญั ญตั ิแห่งกฎหมาย ท้งั ไม่มาศาลโดยมิไดแ้ จง้ เหตุขดั ข้องให้ศาลทราบ การท่ีศาล
มีคาส่งั ตดั พยานโจทกท์ ่ีเหลือ จึงชอบดว้ ยกระบวนพจิ ารณาแลว้ (ฎีกาที่ ๓๖๑๕/๒๕๓๐)
๑.๑.๒ กรณีขอเลื่อนคดีโดยอา้ งว่าป่ วยเจ็บ ศาลมีดุลพินิจที่จะสั่งต้งั เจา้ พนกั งานศาล
และแพทยไ์ ปทาการตรวจใหไ้ ดค้ วามจริงไดต้ ามมาตรา ๔๑ แมว้ ่าคู่ความอีกฝ่ ายจะมิไดค้ ดั คา้ น
และมิไดข้ อใหศ้ าลมีคาสง่ั ดงั กลา่ ว (โปรดดูตวั อยา่ งการจดรายงานกระบวนพิจารณาในบทท่ี ๖)
๑.๑.๓ ค่าป่ วยการและค่าใชจ้ ่ายในการมาศาล เมื่อมีการร้องขอเล่ือนคดี ศาลอาจสั่ง
ให้ฝ่ ายน้ันจ่ายค่าป่ วยการและค่าใชจ้ ่ายให้แก่อีกฝ่ ายหน่ึงไดต้ ามจานวนที่ศาลเห็นสมควร
โดยอีกฝ่ายไมจ่ าตอ้ งร้องขอ
ค่าป่ วยการ เป็ นค่าตอบแทน ซ่ึงจ่ายให้แก่พยาน ซ่ึงมาศาลตามหมายเรียก
เทา่ น้นั ศาลอาจสง่ั จ่ายคา่ ป่ วยการพยานไดไ้ ม่เกินคนละ ๔๐๐ บาท ตามตาราง ๔ ทา้ ย ป.ว.ิ พ.
ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๑๔๓
ค่าใช้จ่าย เช่น ค่าพาหนะและค่าเช่าท่ีพกั ของตัวความ หรือทนายความ
หรือพยาน กรณีสัง่ จ่ายใหแ้ ก่พยานกไ็ มจ่ าเป็นวา่ จะเป็นพยานหมายหรือพยานนา
ถา้ คู่ความฝ่ ายท่ีขอเลื่อนคดีไม่ยอมชาระค่าป่ วยการหรือค่าใชจ้ ่ายตามท่ีศาล
กาหนด ศาลตอ้ งยกคาขอเล่ือนคดีน้นั เสีย
ค่าป่ วยการหรือค่าใชจ้ ่ายที่สั่งจ่ายดงั กล่าวน้นั ให้ตกเป็ นพบั แก่คู่ความฝ่ ายที่
ขอเลื่อนคดี
๑.๑.๔ หากมีพฤติการณ์ท่ีถือว่าประวิงคดี ศาลไม่ให้เลื่อนคดีและถือว่าไม่ติดใจ
สืบพยาน เช่น จาเลยขอเลื่อนคดี ๓ คร้ังติดต่อกนั นัดแรกอา้ งว่าตวั จาเลยติดธุระต่างจงั หวดั
นดั ที่ ๒ ตวั จาเลยขอเลื่อนคดีอา้ งเหตุวา่ ทนายจาเลยติดธุระและแถลงว่าหากนดั หนา้ ทนายจาเลย
ติดธุระอีกจะแต่งทนายความคนใหม่ และแถลงดว้ ยว่าถา้ นัดหนา้ จาเลยไม่มีทนายความหรือไม่มี
พยานมาศาล ก็จะไม่ขอเลื่อนคดีอีกให้ถือว่าจาเลยไม่ติดใจสืบพยาน คร้ันถึงนัดท่ี ๓ จาเลย
และทนายความไม่มาศาลแต่จาเลยแต่งทนายคนใหม่ในวันน้ัน และทนายความคนใหม่
มอบฉันทะให้เสมียนนาคาร้องมาขอเลื่อนคดีอา้ งว่าทนายความคนใหม่ป่ วยอยู่ท่ีโรงพยาบาล
ต้งั แต่ก่อนถึงวนั นดั ท่ี ๓ น้ีแลว้ ๕ วนั และอีก ๕ วนั จะตอ้ งผา่ ตดั ตามใบรับรองแพทย์ และนดั ที่ ๓ น้ี
ไม่มีพยานมาศาล พฤติการณ์จาเลยดงั กล่าว ถือว่าไม่เอาใจใส่ หรือไม่ให้ความสาคญั กบั คดี
ของจาเลยเท่าท่ีควร ถือไดว้ ่าจาเลยประวิงคดีให้ชกั ช้า ศาลไม่ให้เลื่อนคดีและถือว่าไม่ติดใจ
สืบพยาน (ฎีกาที่ ๑๖๔๔/๒๕๓๐)
การพิจารณาว่าประวิงคดีหรือไม่ ไม่ไดค้ านึงแต่เพียงว่าการสืบพยานในคดี
น้ัน ว่าจะมีการสืบปากเดียวหรือหลายปาก ไม่คานึงว่าทุนทรัพยว์ ่ามากหรือนอ้ ยเพียงใด แต่พิจารณาว่า
คู่ความเอาใจใส่ท่ีจะสืบพยานเพื่อใหค้ ดีเสร็จไปโดยเร็วเพียงใด จาเลยแถลงว่าจะสืบพยานปาก
เดียว แต่ขอเล่ือนคดีหลายคร้ังเป็ นเวลาหลายเดือนจนศาลตอ้ งกาชบั แต่จาเลยก็ขอเล่ือนคดีอีก
พฤติการณ์ของจาเลยเป็นการประวงิ คดี (ฎีกาที่ ๔๔๘/๒๕๔๐
ข้อสังเกต
การที่คู่ความแถลงว่านัดหน้าหากพยานไม่มาก็ให้ถือว่าไม่ติดใจสืบพยาน
ดงั น้ีตอ้ งผกู พนั ตามขอ้ ที่ตนแถลง
จาเลยไม่ไดย้ ื่นบญั ชีระบุพยานจนพน้ กาหนดตามมาตรา ๘๘ ยอ่ มไม่มีสิทธิ
นาพยานเขา้ สืบ ศาลสง่ั งดสืบพยานและนดั ฟังคาพพิ ากษาโดยไม่มีคาสั่งเก่ียวกบั การขอเลื่อนคดี
ของจาเลยเทา่ กบั ไมอ่ นุญาตใหจ้ าเลยเล่ือนคดีแลว้ (ฎีกาท่ี ๓๗๑๗/๒๕๓๘)
ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๑๔๔
๑.๑.๕ พฤติการณ์ท่ีถือวา่ ไมป่ ระวงิ คดี
ศาลเคยอนุญาตใหท้ นายจาเลยเล่ือนคดีคร้ังหน่ึงแลว้ ในนดั ต่อมาทนายจาเลย
คนเดิมขอถอนตัว ศาลอนุญาต และในวนั เดียวกันน้ันจาเลยไดแ้ ต่งต้งั ทนายความคนใหม่
ทนายความคนใหม่มอบฉันทะให้เสมียนทนายมายื่นคาร้องขอเล่ือนคดีอา้ งว่าติดว่าความที่ศาลอ่ืน
ดงั น้ี เป็นกรณีจาเป็ นอนั ไมอ่ าจกา้ วล่วงได้ ศาลอนุญาตให้เล่ือนคดีไดอ้ ีก (ฎีกาที่ ๑๕๘๘/๒๕๓๔)
๑.๑.๖ เม่ือคู่ความฝ่ ายหน่ึงร้องขอเล่ือนคดีอา้ งเหตุว่าป่ วย ถา้ อีกฝ่ ายหน่ึงจะคดั คา้ น
ตอ้ งคดั คา้ นใหต้ รงประเด็นวา่ ไมป่ ่ วย
๑.๑.๗ การขอเลื่อนคดีอา้ งเหตุว่าป่ วยน้นั ถา้ ไม่มีใบรับรองแพทยม์ าแสดง ตอ้ งระบุ
ดว้ ยวา่ ป่ วยเป็นอะไร และอยทู่ ่ีจงั หวดั ไหน จะกลา่ วอา้ งลอย ๆ ไมไ่ ด้ (ฎีกาที่ ๑๓๕๖/๒๕๓๐)
๑.๑.๘ กรณีทนายความขอเล่ือนคดีอา้ งเหตุว่าติดว่าความในคดีอื่นน้ัน ถา้ กาหนด
วนั นดั ดงั กล่าวเป็นวนั ที่ทนายความผนู้ ้นั เป็นผตู้ กลงกบั ศาลดว้ ยแลว้ ถือวา่ ประวิงคดี ศาลไม่ใหเ้ ลื่อน
(ฎีกาท่ี ๑๑๕๘/๒๕๑๕) ถา้ กาหนดวนั นัดดงั กล่าวน้ันเป็ นวนั ท่ีทนายความผูน้ ้ันมิไดต้ กลงดว้ ย
เช่น ศาลเป็นผนู้ ดั เอง ดงั น้ี ศาลอนุญาตใหเ้ ลื่อน (ฎีกาท่ี ๒๒๒๒/ ๒๕๑๔)
๑.๑.๙ การพิจารณาขอเลื่อนคดีน้ันต้องเป็ นไปตามมาตรา ๔๐ เม่ือมีเหตุต้องให้
เลื่อนคดีตามมาตราดงั กล่าวแลว้ จะอา้ งเหตุไม่ใหเ้ ลื่อนคดีเพราะฝ่ ายน้นั ไม่ไดย้ ่ืนบญั ชีระบุพยาน
ลว่ งหนา้ ตามมาตรา ๘๘ ไม่ได้ (ฎีกาที่ ๔๕๖/๒๕๒๑,๘๗/๒๕๓๐)
๑.๒ กรณศี าลมีคาสั่งให้เลื่อนคดี
ศาลอาจมีคาสง่ั ใหเ้ ลื่อนคดีไปไดเ้ อง แมว้ า่ คูค่ วามจะมิไดร้ ้องขอ
๑.๒.๑ เล่ือนคดีเน่ืองจากกิจธุระของศาลตามมาตรา ๓๘ เช่น ศาลยา้ ยท่ีทาการ
แต่กรณีผพู้ ิพากษาป่ วยเจบ็ หรือมีกิจธุระจาเป็นส่วนตวั ผพู้ ิพากษาหวั หนา้ ศาลน่าจะพยายามแกไ้ ข
ปัญหา ไม่ควรถือเป็นเหตเุ ล่ือนคดีตามมาตราน้ี
๑.๒.๒ เล่ือนคดีเน่ืองจากตอ้ งรอฟังขอ้ เท็จจริงหรือคาวินิจฉัยช้ีขาดของศาลในคดี
อ่ืนหรือรอให้เจา้ พนกั งานฝ่ ายธุรการวินิจฉยั ช้ีขาดในขอ้ ที่เกี่ยวขอ้ ง หรือรอคาพิพากษาคดีอาญา
ในคดีแพ่งท่ีเกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา หรื อมีเหตุอ่ืน ๆ ซ่ึงหากเลื่อนคดีไปแล้วจะทาให้
ความยตุ ิธรรมดาเนินไปดว้ ยดีตามมาตรา ๓๙
กรณีเหตอุ ่ืนเช่น ปรากฏขอ้ เทจ็ จริงตอ่ ศาลวา่ ตวั ความและทนายความมีเหตุ
จาเป็นทาใหไ้ มส่ ามารถมาศาลและไมส่ ามารถยน่ื คาร้องขอเลื่อนคดีได้
ในวนั นัดสืบพยานโจทก์ ทนายจาเลยมอบให้เสมียนทนายมาย่ืนคาร้อง
ต่อศาลขอถอนตนจากการเป็ นทนายจาเลยอ้างว่าความคิดเห็นไม่ลงรอยกนั โดยจาเลยท่ีอยู่
ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๑๔๕
ต่างจงั หวดั ยงั ไม่ทราบวา่ ทนายความขอถอนตน ซ่ึงในวนั นดั สืบพยานโจทก์เช่นคดีน้ี ตวั จาเลย
คงจะคาดหมายว่า ทนายความของตนจะเป็ นผูด้ าเนินกระบวนพิจารณาตามกฎหมายต่อไป
ตามปกติ มิไดค้ าดหมายว่า ทนายจาเลยจะขอถอนตน ถา้ จาเลยทราบก็จะตอ้ งแต่งทนายความ
ใหม่เพื่อต่อสู้คดีดงั ที่ไดย้ ่ืนคาให้การไวแ้ ลว้ เพื่อให้ความยุติธรรมดาเนินไปดว้ ยดี ศาลช้นั ตน้
ควรเลื่อนการพจิ ารณาไปตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๓๙ (ฎีกาท่ี ๑๖๒๖/๒๕๒๕)
กรณีคู่ความขอเลื่อนการสืบพยานโดยอ้างว่าขอเวลาเจรจาตกลงกันน้ัน
ศาลอาจอนุญาตให้เลื่อนคดีไดต้ ามมาตรา ๓๙ อย่างไรก็ตาม เนื่องจากการสืบพยานมีบุคคล
ท่ีเก่ียวขอ้ งหลายฝ่ าย ประกอบกบั ศาลช้นั ตน้ บริหารจดั การคดีตามระบบพิจารณาคดีครบองค์คณะ
และต่อเน่ือง เมื่อกาหนดวนั นัดสืบพยานแล้ว ศาลควรพิจารณาเร่ืองการเลื่อนคดีเพราะเหตุ
ดงั กล่าวโดยเคร่งครัดเพื่อมิให้เกิดความเสียหายต่อระบบการพิจารณาคดีของศาลและต่อบุคคล
อ่ืนท่ีเก่ียวขอ้ ง ท้งั ควรจดรายงานกระบวนพจิ ารณาท่ีอนุญาตใหเ้ ลื่อนคดีโดยมีรายละเอียดดว้ ยว่า
คู่ความไดเ้ จรจาตกลงกนั มาเป็ นลาดบั อย่างไรจนกระทงั่ สามารถตกลงกนั ไดใ้ นสาระสาคญั ใดแลว้
คงเหลือเพียงรายละเอียดปลีกยอ่ ยในเร่ืองใด หรือยงั มีขอ้ ขดั ขอ้ งทางดา้ นธุรการเลก็ นอ้ ยอยา่ งไร
และจาเป็นตอ้ งใชร้ ะยะเวลาอีกเท่าใด จึงจะทาสัญญาประนีประนอมยอมความกนั หรือถอนฟ้องได้
ซ่ึงจะแสดงใหเ้ ห็นวา่ การที่ศาลอนุญาตใหเ้ ล่ือนคดีไปยอ่ มจะเป็นประโยชนแ์ ก่ทุกฝ่ ายและทาให้
ความยตุ ิธรรมดาเนินไปดว้ ยดี
๑.๒.๓ เล่ือนคดีเน่ืองจากตวั ความมรณะตามมาตรา ๔๒ หรือตวั ความฝ่ ายหน่ึงตก
เป็ นผูไ้ ร้ความสามารถหรือผูแ้ ทนโดยชอบธรรมของตัวความฝ่ ายที่เป็ นผูไ้ ร้ความสามารถ
ไดม้ รณะหรือหมดอานาจเป็ นผูแ้ ทน และผูแ้ ทนหรือทนายความของคู่ความไดม้ รณะหรือหมด
อานาจเป็นผแู้ ทนตามมาตรา ๔๕
๑.๒.๔ เล่ือนคดีเน่ืองจากตอ้ งรอคาวินิจฉยั วา่ คดีอยใู่ นอานาจพจิ ารณาของศาลอื่น
หรือไม่ เช่น รอคาวินิจฉยั ของประธานศาลฎีกาวา่ คดีอยใู่ นอานาจศาลทรัพยส์ ินทางปัญญาและ
การคา้ ระหว่างประเทศ ศาลภาษีอากร ศาลเยาวชนและครอบครัว และศาลลม้ ละลายหรือไม่
(พ.ร.บ. จดั ต้งั ศาลทรัพยส์ ินทางปัญญาและการคา้ ระหวา่ งประเทศและวิธีพิจารณาคดีทรัพยส์ ิน
ทางปัญญาและการคา้ ระหวา่ งประเทศ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๙ พ.ร.บ. จดั ต้งั ศาลภาษีอากรและ
วธิ ีพิจารณาคดีภาษีอากร พ.ศ. ๒๕๒๘ มาตรา ๑๐ วรรคสอง พ.ร.บ. ศาลเยาวชนและครอบครัว
และวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๓ มาตรา ๑๑ และ พ.ร.บ. จัดต้ัง
ศาลลม้ ละลายและวิธีพิจารณาคดีลม้ ละลาย พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๙ ) รอคาวินิจฉัยของอธิบดี
ผูพ้ ิพากษาศาลแรงงานกลางในกรณีว่า คดีอยใู่ นอานาจศาลแรงงานหรือไม่ (พ.ร.บ. จดั ต้งั ศาล
แรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๙ วรรคสอง) รอความเห็นของ
ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๑๔๖
ศาลปกครองหรือศาลทหาร หรือคาวินิจฉัยของคณะกรรมการวินิจฉัยช้ีขาดอานาจหน้าที่
ระหวา่ งศาลในกรณีวา่ คดีอยใู่ นอานาจศาลปกครองหรือศาลทหารหรือไม่ (พ.ร.บ. วา่ ดว้ ยการวินิจฉยั
ช้ีขาดอานาจหนา้ ท่ีระหวา่ งศาล พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๐)
๑.๒.๕ เล่ือนคดีเน่ืองจากพยานไมม่ าศาลตามมาตรา ๑๑๑
๑.๒.๖ ถ้าคู่ความฝ่ ายใดไม่มาศาลในวนั ที่ศาลเริ่มต้นทาการสืบพยานและศาล
ไม่อนุญาตใหเ้ ล่ือนคดี ใหด้ ูบทบญั ญตั ิเร่ือง การพิจารณาโดยขาดนดั ถา้ คู่ความฝ่ ายใดไม่มาศาล
ในวนั นัดอื่นต่อมาและศาลไม่อนุญาตให้เล่ือนคดี ถือว่าคู่ความฝ่ ายน้ันสละสิทธิในการดาเนิน
กระบวนพิจารณาของตนในนัดน้ัน และทราบกระบวนพิจารณาท่ีศาลไดด้ าเนินไปในนัดน้นั
รวมท้งั วนั นดั ตอ่ ไปดว้ ยแลว้ ตามมาตรา ๒๐๐ วรรคสอง
๒. ตัวอย่างการจดรายงานกระบวนพจิ ารณาเลื่อนคดี
๒.๑ การเลื่อนคดีเพราะความจาเป็ นของศาลตามมาตรา ๓๘
จดรายงานกระบวนพจิ ารณาวา่
“นัดสืบพยานโจทก์ โจทก์ จาเลย และทนายทั้งสองฝ่ ายมาศาล
เน่ืองจากศาลมีกาหนดย้ายไปเปิ ดทาการ ณ ท่ีทาการแห่งใหม่ในวันที่... และจะต้อง
ดาเนินการขนย้ายวสั ดุครุภัณฑ์ตลอดจนสานวนความของศาลไปยังท่ีทาการแห่งใหม่ จึงไม่สามารถ
ทาการพิจารณาคดีในวันนีไ้ ด้ ให้เลื่อนไปนัดสืบพยานโจทก์ในวันท่ี... โดยให้พยานท่ีมาศาล
ตามหมายเรียกทราบวนั นัดไว้”
๒.๒ การเล่ือนคดีเพ่ือรอคดีอาญาตามมาตรา ๓๙
จดรายงานกระบวนพิจารณาวา่
“นัดสืบพยานจาเลย คู่ความมาศาล
ก่อนสืบพยาน โจทก์แถลงว่า โจทก์ได้ฟ้องจาเลยเป็ นคดีอาญาข้อหากระทา
โดยประมาทเป็ นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตายในมูลกรณีเดียวกันนี้อีกคดีหน่ึง ขณะนีค้ ดีดังกล่าว
อย่รู ะหว่างการพิจารณาของศาลอาญา ขอให้รอการพิจารณาคดนี ไี้ ว้เพื่อฟังผลคดีอาญาก่อน
ศาลสอบจาเลย จาเลยแถลงรับว่าเป็นความจริงและไม่คัดค้าน
พิเคราะห์แล้วเห็นว่า คดีนีโ้ จทก์ฟ้องเรียกค่าเสียหายจากจาเลยฐานละเมิด อันเป็ น
มลู กรณีเดียวกบั คดีอาญา จึงเป็นคดีแพ่งเกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา ตามกฎหมายการพิพากษาคดีส่วน
แพ่ง ศาลจาต้องถือข้อเท็จจริงตามที่ปรากฏในคาพิพากษาคดีส่วนอาญา นับว่ามีเหตุสมควรจึงให้
รอการพิจารณาคดีนีไ้ ว้จนกว่าคดีอาญาหมายเลขดาท่ี....ของศาลอาญาจะถึงท่ีสุดเสียก่อน ให้นัด
พร้ อมเพ่ือฟังผลคดีอาญาดังกล่าวในวันท่ี . . . .” (หรืออาจสั่งว่า เน่ืองจากไม่แน่ว่าคดีอาญา
ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๑๔๗
ดงั กล่าวจะถึงที่สุดเม่ือใด จึงใหจ้ าหน่ายคดีชว่ั คราว เม่ือคดีอาญาถึงที่สุดให้โจทก์แถลงต่อศาล
ภายในกาหนด ๑๕ วนั เพ่อื ยกคดีข้ึนพิจารณาตอ่ ไป)
๒.๓ การเล่ือนคดโี ดยคู่ความมเี หตจุ าเป็ นตามมาตรา ๔๐
สั่งในคาร้องขอเลื่อนคดีที่จาเลยหรือเสมียนทนายจาเลยนามายืน่ ว่า “สาเนาให้โจทก์
สั่งในรายงานกระบวนพิจารณา”
จดรายงานกระบวนพิจารณาว่า
“นดั สืบพยานโจทก์ โจทก์ ทนายโจทก์ และเสมยี นทนายจาเลยมาศาล
ทนายจาเลยย่ืนคาร้ องขอเล่ือนคดีอ้างว่าป่ วยเป็ นไข้หวัดใหญ่ ปรากฏตามใบรับรอง
แพทย์
ทนายโจทก์แถลงคัดค้านว่า อาการป่ วยเพียงเล็กน้อย และวันนีโ้ จทก์เตรียมพยาน
มาพร้อมแล้ว พฤติการณ์จาเลยมเี จตนาประวิงคดี ไม่ควรอนญุ าต
พิเคราะห์แล้ว เห็นว่า ทนายจาเลยมีใบรับรองแพทย์มาแสดงว่าป่ วยจริง ยงั ฟังไม่ได้ว่า
จาเลยประวิงคดี กรณีมีเหตุจาเป็ นอันไม่อาจก้าวล่วงเสียได้ เพื่อประโยชน์แห่ งความยุติธรรม
จึงอนญุ าตให้เลื่อนไปนัดสืบพยานโจทก์วันท่ี . . . . .”
๒.๔ การเลื่อนคดเี พื่อสืบพยานต่อไป
จดรายงานกระบวนพจิ ารณาวา่
“นัดสืบพยานโจทก์ โจทก์ ทนายโจทก์ และทนายจาเลยมาศาล
สืบพยานโจทก์ได้ ๔ ปาก โจทก์อ้างส่งเอกสารเป็นพยาน ๓ ฉบับ ศาลหมาย จ. ๑ ถึง
จ.๓ จาเลยอ้างส่งเอกสารเป็นพยาน ๒ ฉบับ ศาลหมาย ล.๑ และ ล.๒ เอกสารให้แยกเกบ็
โจทก์แถลงว่าโจทก์เหลือพยานอีก ๑ ปาก ขอเล่ือนไปสืบในนัดหน้า จาเลยไม่ค้าน
และแถลงขอสืบพยานจาเลยต่อนดั หน้าด้วย
อนญุ าตให้เลื่อนไปนดั สืบพยานโจทก์ และพยานจาเลยวนั ที่ . . . . .”
๒.๕ การเลื่อนคดีโดยกาชับเพื่อตดั พยาน
จดรายงานกระบวนพิจารณาวา่
“นดั สืบพยานจาเลยวนั นี้ ทนายโจทก์ และทนายจาเลยมาศาล
ทนายจาเลยแถลงขอเล่ือนคดเี นื่องจากพยานติดธุระสาคัญไม่สามารถมาเบิกความได้
ทนายโจทก์แถลงว่า จาเลยขอเลื่อนคดีมาหลายนัดแล้ว ขอให้ศาลกาชับให้จาเลย
นาพยานมาสืบนัดหน้า นัดนไี้ ม่ค้านท่ีขอเลื่อนคดี
ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๑๔๘
ศาลสอบถามทนายจาเลยแล้ว แถลงว่าติดใจสืบพยานอีก ๓ ปาก เห็นว่า จาเลย
ขอเล่ือนคดีหลายนัดอ้างว่าจาเลยป่ วย ทนายจาเลยป่ วย พยานติดธุระสาคัญ แต่เมื่อโจทก์ไม่ค้าน
ท่ีขอเล่ือนคดี จึงอนญุ าตให้เล่ือนไปนัดสืบพยานจาเลยวันท่ี . . . .ในนดั หน้าให้จาเลยเตรียมพยานมา
ให้พร้อมสืบ ศาลจะไม่อนุญาตให้เลื่อนคดีอีก และถ้ามีพยานเท่าใดกถ็ ือว่าจาเลยติดใจสืบพยาน
เพียงเท่าน้นั ”
๒.๖ กรณไี ม่อนุญาตให้เล่ือนคดี
จดรายงานกระบวนพิจารณาวา่
“นัดสืบพยานจาเลย ทนายโจทก์มาศาล ส่วนทนายจาเลยไม่มา แต่มอบฉันทะ
ให้เสมียนทนายนาคาร้องขอเล่ือนคดีมายื่นต่อศาล อ้างว่าป่ วยเป็นไข้หวัดไม่สามารถมาศาลได้
รายละเอียดปรากฏตามคาร้องฉบับลงวนั ที่วันนี้
ทนายโจทก์ได้รับสาเนาคาร้ องแล้วแถลงคัดค้านว่า ทนายจาเลยประวิงคดี โดยขอ
เล่ือนคดมี าหลายนดั แล้ว
พิเคราะห์แล้ว เห็นว่า ทนายจาเลยขอเล่ือนคดีด้วยเหตุเดียวกันมาหลายคร้ังแล้ว
ในนัดก่อนศาลกาชับทนายจาเลยว่า ให้เตรียมพยานมาให้พร้ อมสืบ ถ้ามีพยานมาศาลเพียงใด
ถือว่าจาเลยติดใจสืบพยานเพียงนั้น นัดนีจ้ าเลยไม่มีพยานมาศาลและทนายจาเลยขอเลื่อนคดีอีก
โดยอ้างว่าป่ วย แต่ไม่มใี บรับรองแพทย์มาแสดง ทั้งอาการป่ วยตามคาร้องกไ็ ม่ปรากฏว่ามีอาการ
ร้ายแรงถึงกับจะมาศาลไม่ได้ ตามพฤติการณ์มีเหตุอันควรให้เชื่อว่าทนายจาเลยประวิงคดี กรณี
ไม่มเี หตุจาเป็นที่ศาลจะอนุญาตให้เล่ือนคดีอีก ให้ยกคาร้องและให้งดสืบพยานจาเลย
คดีเสร็จการพิจารณา
ให้นดั ฟังคาพิพากษาในวันที่...”
๒.๗ การสั่งให้ผู้ขอเล่ือนคดีเสียค่าป่ วยการและค่าใช้จ่ายตามมาตรา ๔๐
จดรายงานกระบวนพจิ ารณาวา่
ตวั อย่างท่ี ๑
“นัดสืบพยานโจทก์ ทนายโจทก์และจาเลยมาศาล
จาเลยยื่นคาร้ องขอเลื่อนคดี อ้างว่าทนายจาเลยป่ วยมีไข้สูงต้องไปโรงพยาบาลเป็ น
การด่วน ไม่สามารถมาว่าความในวนั นีไ้ ด้ ความละเอียดปรากฏตามคาร้องท่ียื่นต่อศาลในวนั นี้
ทนายโจทก์ได้รับสาเนาคาร้ องแล้ว แถลงขอให้อย่ใู นดุลพินิจของศาลท่ีจะพิจารณาส่ัง
โดยโจทก์ขอหมายเรียกพยานมาเบิกความในวันนี้ ๑ ปาก หากศาลจะอนุญาตให้เล่ือนคดี กข็ อให้
จาเลยจ่ายค่าป่ วยการและค่าใช้จ่ายในการเดินทางมาศาลให้ แก่พยานและทนายโจทก์ด้วย
ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๑๔๙
โดยทนายโจทก์ต้องเดินทางมาจากจังหวัด... โดยรถยนต์ส่วนตัว และเช่าห้องพักโรงแรม....
๑ คืน เสียค่าเช่า ๑,๕๐๐ บาท
สอบนาย.... พยานโจทก์ซึ่งมาศาลตามหมายเรียกแล้ว แถลงว่า พยานรับราชการ
ตาแหน่ง... อยู่ท่ี.... และเดินทางมาศาลโดยรถรับจ้าง เสียค่าโดยสารเท่ียวละ ๓๐๐ บาท การที่
พยานมาศาลทาให้ การให้ บริ การประชาชนของหน่วยงานที่พยานปฏิบัติราชการอยู่ติดขัด
จึงขอให้ศาลทาการสืบพยานไปในวนั นี้
สอบจาเลยแล้ว แถลงไม่ขดั ข้องที่จะจ่ายค่าป่ วยการและค่าใช้จ่ายให้แก่พยานและ
ทนายโจทก์ตามจานวนที่ศาลกาหนด
พิเคราะห์แล้ว เห็นว่า นาย... เป็ นพยานสาคัญในประเดน็ แห่งคดี เม่ือทนายจาเลย
ไม่สามารถมาว่าความในวันนี้ได้เพราะเหตุป่ วยเจ็บ ประกอบกับจาเลยยินยอมจ่ายค่าป่ วยการ
และค่าใช้จ่ายในการมาศาลให้แก่พยานและทนายโจทก์ กรณีมีเหตุจาเป็ นอันไม่อาจก้าวล่วง
เสียได้ เพ่ือประโยชน์แห่งความยุติธรรม จึงอนุญาตให้เล่ือนไปนัดสืบพยานโจทก์ในวันท่ี....
โดยให้พยานโจทก์ทราบวันนดั ไว้
ให้จาเลยจ่ายค่าป่ วยการและค่าพาหนะให้แก่นาย... พยานโจทก์เป็นเงินรวม ๑,๐๐๐ บาท
กับจ่ายค่าพาหนะและค่าเช่าที่พักให้ แก่ทนายโจทก์เป็ นเงินรวม ๒,๕๐๐ บาท โดยพยาน
และทนายโจทก์ได้ลงลายมือชื่อรับเงินไว้ท้ายรายงานกระบวนพิจารณานี้แล้ว ค่าป่ วยการ
และค่าใช้จ่ายดงั กล่าวให้ตกเป็นพับแก่จาเลย”
หมายเหตุ
การกาหนดค่าป่ วยการ ค่าพาหนะเดินทาง ค่าเช่าที่พกั และค่าใช้จ่ายในการที่คู่ความ
ฝ่ ายอื่นมาศาลให้ศาลคานึงถึงความเป็ นจริงและความเหมาะสมตามตาราง ๔ และ ตาราง ๗
ทา้ ย ป.วิ.พ.
ตวั อย่างที่ ๒
“นดั สืบพยานโจทก์ ผ้รู ับมอบฉันทะทนายโจทก์ จาเลย และทนายจาเลยมาศาล
ผู้รับมอบฉันทะทนายโจทก์นาคาร้ องขอเลื่อนคดีของทนายโจทก์มาย่ืนต่อศาลมีใจความว่า
ทนายโจทก์ต้องเดินทางไปจัดงานศพญาติผู้ใหญ่ท่ีจังหวัด.... ไม่สามารถมาว่าความในวันนีไ้ ด้
ความละเอียดปรากฏตามคาร้ องฉบับลงวันที่วันนี้
ทนายจาเลยได้รับสาเนาคาร้ องแล้ว แถลงคัดค้านว่า ทนายโจทก์ขอเลื่อนคดีติดต่อกัน
๒ นัด แล้ว ฝ่ ายจาเลยต้องเสียค่าใช้จ่ายในการมาศาลแต่ละครั้งเป็ นจานวนมาก โดยจาเลย
และทนายจาเลยมีภูมิลาเนาอยู่ที่จังหวัด... ต้องเดินทางมาศาลโดยทางเคร่ืองบิน และเสียค่า
โดยสารไปกลบั เป็นเงินรวม.... บาท ตามตัว๋ โดยสารเครื่องบินท่ีทนายจาเลยให้ศาลดู
ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๑๕๐
พิเคราะห์แล้ว เห็นว่า ข้ออ้างของทนายโจทก์อย่ใู นเกณฑ์ท่ีศาลอาจอนุญาตให้เลื่อนคดี
ได้ แต่เพ่ือไม่ให้ฝ่ ายจาเลยได้รับความเสียหายจากการขอเล่ือนคดีของทนายโจทก์เกินสมควร
จึงให้ทนายโจทก์เสียค่าใช้จ่ายในการที่ฝ่ ายจาเลยมาศาลเฉพาะค่าโดยสารเครื่องบินเป็ นเงิน...
บาท ก่อน
ผู้รับมอบฉันทะทนายโจทก์แถลงว่า ได้โทรศัพท์ติดต่อโจทก์และทนายโจทก์แล้ว
แต่โจทก์และทนายโจทก์ไม่ประสงค์จะชาระ
พิเคราะห์แล้ว เม่ือฝ่ ายโจทก์ที่ขอเล่ือนคดีไม่ชาระค่าใช้จ่ายดังกล่าวให้แก่ฝ่ ายจาเลย
จึงให้ยกคาร้ องขอเลื่อนคดีของทนายโจทก์ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๔๐ วรรคสอง และให้งดสืบ
พยานโจทก์
ทนายจาเลยแถลงไม่ติดใจสืบพยานจาเลย
คดเี สร็จการพิจารณา
ให้รอฟังคาพิพากษาวันนี้ (หรือให้นดั ฟังคาพิพากษาในวนั ท่ี....)”
ตวั อย่างท่ี ๓
ตามตวั อย่างที่ ๒ หากผูร้ ับมอบฉันทะทนายโจทก์ไม่สามารถติดต่อแจ้งคาส่ังศาล
ให้ทนายโจทก์ทราบ และไม่สามารถชาระเงินให้ฝ่ ายจาเลยแทนทนายโจทก์ จดรายงาน
กระบวนพิจารณาตอ่ จากศาลสั่งใหจ้ ่ายคา่ พาหนะเดินทางวา่
“ศาลสอบถาม ผู้รับมอบฉันทะทนายโจทก์แถลงว่า ได้พยายามโทรศัพท์ติดต่อโจทก์
และทนายโจทก์แล้ว แต่ไม่สามารถติดต่อได้ จึงขอเวลาดาเนินการเรื่องนีใ้ นช่วงส้ันๆ
สอบทนายจาเลยแล้วแถลงไม่ค้าน หากศาลจะกาหนดระยะเวลาให้ทนายโจทก์ชาระเงิน
ดังกล่าว
พิเคราะห์ แล้ว เพ่ือประโยชน์แห่ งความยุติธรรม เห็นควรให้ โอกาสทนายโจทก์
สักคร้ังหน่ึง จึงให้ นัดฟังคาสั่งคาร้ องขอเลื่อนคดีและดาเนินคดีต่อไปและสืบพยานโจทก์
ในวันท่ี... โดยให้ฝ่ ายโจทก์ชาระเงินค่าใช่จ่ายตามคาสั่งศาลข้างต้นแก่ฝ่ ายจาเลยภายในวันเวลานัด”
ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๑๕๑
บทท่ี ๘
การอ้างเอกสารเป็ นพยาน
๑. การส่งสาเนาเอกสาร
คูค่ วามฝ่ ายอา้ งเอกสารตอ้ งระบุไวใ้ นบญั ชีพยานตามมาตรา ๘๘ และจะตอ้ งส่งสาเนาเอกสาร
ต่อศาล และส่งใหค้ ู่ความอีกฝ่ าย ก่อนวนั สืบพยานคร้ังแรกซ่ึงมีการสืบพยานจริง ๆ ไม่นอ้ ยกว่า
๗ วนั (ฎีกาที่ ๒๓๑๙/๒๕๔๐)
กรณีคู่ความยนื่ คาแถลงขอระบุพยานเพ่ิมเติม หรือคาร้องขออนุญาตระบุพยานตามมาตรา
๘๘ วรรคสองหรือวรรคสาม ให้ยื่นสาเนาเอกสารต่อศาลและส่งให้คู่ความอีกฝ่ ายพร้อมกบั
คาแถลงหรือคาร้องแลว้ แต่กรณี เวน้ แต่ศาลจะอนุญาตให้ยื่นสาเนาเอกสารภายหลงั เมื่อมีเหตุ
อนั สมควร
ข้อยกเว้นไม่ต้องส่งสาเนาเอกสาร
๑.๑ เอกสารที่อา้ งอิงเป็ นชุดซ่ึงคู่ความอีกฝ่ ายทราบดีอยู่แลว้ หรือสามารถตรวจสอบถึง
ความมีอยแู่ ละแทจ้ ริงได้ คู่ความฝ่ ายท่ีอา้ งเอกสารน้นั ตอ้ งยืน่ คาร้องขอฝ่ ายเดียว ตามมาตรา ๒๑ (๓)
ของดส่งสาเนาโดยยน่ื ตน้ ฉบบั ตอ่ ศาลแทน
เม่ือคูค่ วามยน่ื คาร้องขอ จะสัง่ คาร้องวา่
“สาเนาให้อีกฝ่ าย พิเคราะห์แล้ว อนุญาตให้งดส่งสาเนา รับต้นฉบับให้อีกฝ่ าย
ตรวจดู เอกสารให้แยกเกบ็ ”
๑.๒ เอกสารอยใู่ นความครอบครองของคู่ความอีกฝ่ ายหน่ึงหรือบุคคลภายนอก คู่ความ
ฝ่ ายท่ีอา้ งเอกสารน้ันตอ้ งทาคาร้องขอให้ศาลมีคาสั่งเรียกเอกสารน้ันมาจากผูค้ รอบครองตาม
มาตรา ๑๒๓ แทนการที่ตนจะตอ้ งส่งสาเนาเอกสาร
กรณีคาร้องขอให้ศาลมีคาส่ังเรียกเอกสารจากคู่ความอีกฝ่ ายหน่ึงตามมาตรา ๑๒๓
วรรคหน่ึง ตอ้ งใหค้ ูค่ วามฝ่ ายน้นั มีโอกาสคดั คา้ นก่อนตามมาตรา ๒๑(๒) โดยส่ังคาร้องวา่
“คาส่ังเรียกให้ (โจทก์หรือจาเลย) ผู้ครอบครอง ส่งต้นฉบับเอกสารภายใน ๑๕ วัน
หากจะคัดค้านประการใด ให้คัดค้านภายใน ๗ วัน นับแต่วันได้รับคาส่ัง มิฉะน้ันถือว่ายอมรับ
ข้อความในเอกสารนัน้ ”
กรณีคาร้องขอให้ศาลมีคาสั่งเรี ยกเอกสารจากบุคคลภายนอก สั่งคาร้องว่า
“คาสั่งเรียก”
ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๑๕๒
หมายเหตุ
เป็นหนา้ ที่ของผอู้ า้ งเอกสารที่จะตอ้ งติดตามใหไ้ ดเ้ อกสารน้นั มา (มาตรา ๙๐ วรรคหา้ )
๑.๓ การคดั สาเนาเอกสารจะทาให้กระบวนพิจารณาล่าช้า หรือมีเหตุที่ทาให้ไม่สามารถ
คดั สาเนาเอกสารไดภ้ ายในกาหนดเวลาท่ีให้ย่ืนสาเนาเอกสาร ให้ผูอ้ า้ งเอกสารทาคาร้องขอ
ฝ่ายเดียว ตามมาตรา ๒๑(๓) ขอส่งตน้ ฉบบั เอกสารแทน เม่ือมีคาร้องขอ จะสง่ั คาร้องวา่
“สาเนาให้อีกฝ่ าย พิเคราะห์แล้ว อนุญาตให้งดส่งสาเนา รับต้นฉบับให้อีกฝ่ าย
ตรวจดู เอกสารให้แยกเกบ็ ”
๒. วธิ ีส่งสาเนาเอกสารให้คู่ความอกี ฝ่ ายทาได้ ๓ วธิ ี คือ
๒.๑ โดยคูค่ วามฝ่ ายท่ีอา้ งส่งใหแ้ ก่คู่ความอีกฝ่ ายหน่ึงเอง ตามมาตรา ๗๒ วรรคสาม (๑)
๒.๒ โดยนาสาเนาเอกสารยืน่ ต่อศาล แลว้ ขอให้เจา้ พนกั งานศาลเป็ นผูน้ าส่งโดยผูข้ อเป็ น
ผนู้ าเจา้ พนกั งานศาลไปส่งตามมาตรา ๗๒ วรรคสาม (๒)
๒.๓ โดยแนบสาเนามาพร้อมคาฟ้องหรือคาใหก้ าร และสั่งคาร้องขอถือเอาสาเนาเอกสาร
ทา้ ยคาฟ้องท่ีส่งใหจ้ าเลยพร้อมสาเนาคาฟ้องเป็นการส่งสาเนาเอกสารตามมาตรา ๙๐ วา่ “อนุญาต”
๓. การคดั ค้านกรณีไม่ส่งสาเนาเอกสารก่อนวนั สืบพยาน
เม่ือมีการยืน่ เอกสารที่ไม่ส่งสาเนาให้คู่ความอีกฝ่ ายหน่ึงเป็ นพยานต่อศาลและคู่ความฝ่ าย
ตรงกนั ขา้ มคดั คา้ น จดรายงานกระบวนพจิ ารณาวา่
“ . . . โจทก์ส่งเอกสาร . . . รวม . . . ฉบับ ศาลหมาย จ . . . จาเลยคัดค้านว่าโจทก์ไม่ได้ส่ง
สาเนาเอกสารหมาย จ . . . ให้จาเลยก่อนวันสืบพยานตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๙๐ ศาลไม่ควรรับฟัง
เอกสารหมาย จ . . .
โจทก์แถลงว่า . . .
จึงบันทึกไว้”
การบันทึกจะทาในคาให้การพยานขณะเบิกความเก่ียวกับเอกสารนั้น หรือในรายงาน
กระบวนพิจารณากไ็ ด้
การฝ่ าฝื น ป.วิ.พ. มาตรา ๙๐ คือ ไม่ส่งสาเนาเอกสารให้แก่คู่ความอีกฝ่ ายหน่ึง ตามปกติศาล
ไม่รับฟังเอกสารน้ัน (ฎีกาท่ี ๒๕๔/๒๕๒๐) แต่ถ้าศาลเห็นว่าเพ่ือประโยชน์แห่งความยุติธรรม
จาเป็ นต้องสืบพยานเอกสารน้ัน ศาลก็รับฟังพยานเอกสารนั้นได้ ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๘๗(๒)
(ฎีกาที่ ๒๐๕๔/๒๕๒๖, ๑๙๖๔/๒๕๒๙, ๖๓๖๒/๒๕๓๙) โดยจะวินิจฉัยเรื่องการรับฟังพยาน
เอกสารดงั กล่าวในคาพิพากษา
ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๑๕๓
การฟ้องล้มละลาย พ.ร.บ. ล้มละลายเป็ นกฎหมายพิเศษเกี่ยวกับความสงบเรียบร้ อยของ
ประชาชน กาหนดให้ศาลมีหน้าที่พิจารณาเอาความจริงให้ได้ว่าจาเลยเป็ นผู้มีหนีส้ ินล้นพ้นตัว
หรือไม่ การที่จาเลยเสนอหลักฐานต่อศาลเพ่ือให้ปรากฏความจริงดังกล่าว แม้ไม่ได้ส่งสาเนา
ให้โจทก์ ศาลก็รับฟังเอกสารนั้นได้ (ฎีกาที่ ๒๘๓๙/๒๕๓๙) ถ้าเอกสารท่ีอ้างเป็ นเอกสาร
ท่ีคู่ความอีกฝ่ ายทราบดีอย่แู ล้ว และไม่ได้คัดค้านปฏิเสธความมีอย่ขู องเอกสารนั้นไว้ ศาลย่อม
รับฟังเอกสารดังกล่าวได้ แม้ไม่ได้ส่งสาเนาให้อีกฝ่ าย (ฎีกาที่ ๔๑/๒๕๔๐)
๔. เอกสารทมี่ ขี ้อความเป็ นภาษาต่างประเทศ
ถ้าคู่ความฝ่ ายใดส่งหรื อถือว่าได้ส่งเอกสารที่ทาข้ึนเป็ นภาษาต่างประเทศต่อศาล
ศาลควรส่ังคู่ความฝ่ ายน้นั ให้ทาคาแปลในส่วนที่เกี่ยวขอ้ ง (ซ่ึงอาจเป็ นท้งั ฉบบั หรือแต่บางส่วน)
พร้อมคารับรองมายน่ื ต่อศาลเพื่อแนบไวก้ บั ตน้ ฉบบั และเพื่อความสมบูรณ์ในการปฏิบตั ิหนา้ ที่
ของศาลตามมาตรา ๔๖ วรรคสาม ในการจดรายงานกระบวนพิจารณาที่ส่ังคร้ังแรกควรให้
ครอบคลุมไปถึงกรณีท่ีจะส่งคร้ังต่อ ๆ ไปด้วย และถา้ มีการส่งเอกสารเช่นน้ันมาก่อนแล้ว
แต่ยงั ไม่มีการสั่งก็ตอ้ งสั่งไวด้ ว้ ย อีกท้งั ควรส่ังไปตลอดถึงคู่ความท่ียงั ไม่ไดย้ ่ืนส่งในวนั น้นั ดว้ ย
โดยจดรายงานดงั น้ี
“นดั สืบพยานโจทกต์ อ่ วนั น้ี ทนายโจทกแ์ ละทนายจาเลยมาศาล
สืบพยานโจทก์ได้อีก ๑ ปาก . . .
อน่ึง สาหรับเอกสารท่ีคู่ความได้ส่ งหรื อถือว่าได้ส่ งต่อศาลในวันนี้ หรื อที่ได้ส่ งมา
ก่อนแล้ว หรือท่ีจะส่งต่อไป ซ่ึงได้ทาขึน้ เป็นภาษาต่างประเทศ ให้คู่ความฝ่ ายที่ส่ง หรือถือว่าได้
ส่งทาคาแปลในส่วนท่ีเกย่ี วข้อง พร้อมคารับรองมาย่ืนเพื่อแนบไว้กบั ต้นฉบบั โดยให้ดาเนินการ
ให้ เสร็ จภายใน ๗ วัน นับแต่ วันนี้ท่ีส่ งหรื อถือว่ าได้ ส่ งเอกสารนั้นต่ อศาล แต่ ต้ อง
ก่อนเสร็จสิ้นการสืบพยานของฝ่ ายท่ีอ้างเอกสารนนั้ ”
๕. เอกสารมจี านวนมากและไม่ลาดับเลขหน้า
เม่ือคู่ความฝ่ ายใดส่งหรือถือว่าไดส้ ่งพยานเอกสารที่มีมากกว่า ๑ แผ่นต่อศาลโดยไม่ได้
ลาดบั เลขหนา้ ศาลควรสง่ั ใหค้ ูค่ วามฝ่ ายน้นั ลงหมายเลขหนา้ ตามลาดบั ในพยานเอกสารดงั กล่าว
ให้ครบถว้ น โดยให้ดาเนินการให้เสร็จก่อนสืบพยานเอกสารดงั กล่าว ท้งั น้ีเพ่ือความสะดวก
ในการสืบพยานและการทาคาพิพากษาของศาล และควรใชห้ ลกั การสั่งแบบครอบคลุมทวั่ ไป
เช่นเดียวกบั การส่งั ในเรื่องเอกสารที่ทาข้ึนเป็นภาษาต่างประเทศ
ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๑๕๔
๖. การส่ังเกบ็ พยานเอกสารทคี่ ู่ความอ้าง
เอกสารที่คู่ความอา้ งเป็นพยาน อาจอา้ งโดยวิธีท่ีคูค่ วามส่งต่อศาลเองหรือบุคคลอ่ืนส่งตรง
มายงั ศาลตามคาขอของคู่ความ หรืออา้ งเอกสารที่มีอย่แู ลว้ ในสานวนความที่กาลงั พิจารณาอยู่
หรือสานวนความที่ขอยืมมาเพื่อพ่วงไว้ ศาลควรใช้ดุลพินิจในการสั่งเก็บเอกสารดังกล่าว
ใหเ้ หมาะสม และควรจดรายงานให้ละเอียดพอสมควร เพ่ือความสะดวกแก่การอา้ งอิงคร้ังต่อไป
การทาคาพิพากษาของศาล และเพ่อื ใหเ้ จา้ หนา้ ที่ธุรการดาเนินการไดถ้ ูกตอ้ งดว้ ย
เอกสารที่คู่ความอา้ งส่งเองหรือบุคคลอื่นส่งมาตามคาขอของคู่ความ ศาลควรสั่งให้รวม
สานวนหรือแยกเก็บแลว้ แต่ความเหมาะสมของแต่ละคดี ส่วนเอกสารที่คู่ความอา้ งซ่ึงอยู่ใน
สานวนความอยแู่ ลว้ ศาลจะสั่งใหค้ งไวใ้ นสานวนความน้นั หรือปลดจากสานวนมาแยกเก็บก็ได้
แต่ควรจดรายละเอียดอ้างอิงชื่อและตาแหน่งที่อยู่ของเอกสารดังกล่าวตามสมควรเพ่ือง่าย
แก่การค้นหา หากพยานเอกสารมีจานวนมากหรือมีขนาดใหญ่หรือเป็ นเอกสารสาคญั เช่น
ตน้ ฉบบั โฉนดที่ดิน แผนที่พิพาท หรือเป็ นภาพถ่ายส่วนบุคคลที่ไม่เหมาะสมท่ีจะรวมไวใ้ นสานวน
ควรสัง่ ใหแ้ ยกเกบ็
ตัวอย่าง
“นดั สืบพยานโจทก์วนั นี้ ทนายโจทก์และทนายจาเลยมาศาล
สืบพยานโจทก์ได้ ๑ ปาก . . . .
ระหว่างสืบพยานโจทก์ โจทก์อ้างส่งเอกสารเป็ นพยานรวม ๔ ฉบับ ศาลหมาย จ. ๑
ถึง จ. ๔ กรมเจ้าท่าส่งเอกสารตามท่ีโจทก์อ้างมา ๒ ฉบบั ศาลหมาย จ. ๕ และจ. ๖ และโจทก์อ้าง
สาเนาทะเบียนบ้านของจาเลยท้ ายคาแถลงขอปิ ดหมายของโจทก์ ลงวันที่ ๖ กันยายน
๒๕๓๙ เป็นพยาน ๑ ฉบับ ศาลหมาย จ. ๗ เอกสารหมาย จ. ๑ ถึง จ. ๖ ให้แยกเกบ็ ส่วนเอกสาร
หมาย จ. ๗ ให้คงไว้ในสานวน ”
หมายเหตุ
คดีท่ีมีขอ้ เท็จจริงซบั ซอ้ นและยงุ่ ยาก ควรบริหารจดั การเกี่ยวกบั พยานเอกสารซ่ึงมีจานวน
มากให้เป็ นระบบระเบียบและอยูใ่ นท่ีเดียวกนั เพื่อสะดวกต่อการสืบพยานและการทาคาพิพากษา
ท้งั ของศาลช้นั ตน้ และศาลสูง โดยประสานงานขอใหค้ ูค่ วามทุกฝ่ ายส่งพยานเอกสารที่ตนมีอยทู่ ้งั หมด
ต่อศาลในวันช้ีสองสถานหรือวนั นัดพร้อมเพื่อตรวจความพร้อมของพยานหลักฐานก่อน
สืบพยานรวมท้งั ให้คู่ความขอให้ศาลมีคาสั่งเรียกพยานเอกสารจากบุคคลภายนอกและติดตาม
บุคคลภายนอกส่งพยานเอกสารท้งั หมดมายงั ศาลก่อนวนั ดงั กล่าวดว้ ย และในวนั นดั ดงั กล่าว ศาลควร
ตรวจพยานเอกสารท้งั หมดของคู่ความและหมายเอกสารของแต่ละฝ่ ายไวล้ ่วงหนา้ ก่อนสืบพยาน เช่น
เอกสารฝ่ ายโจทก์หมาย จ. เอกสารฝ่ ายจาเลย หมาย ล. โดยเรียงลาดับเลขหมายเอกสาร
ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๑๕๕
ไปตามลาดบั เรื่อง ระมดั ระวงั การหมายเอกสารซ้า หากคู่ความท้งั สองฝ่ ายอา้ งส่งเอกสารที่มี
ขอ้ ความเดียวกนั ควรรับเอกสารจากฝ่ ายที่มีหนา้ ที่นาสืบในประเด็นท่ีเก่ียวกบั เอกสารน้นั แต่เพียง
ฉบบั เดียว แลว้ จดรายงานกระบวนพิจารณาว่าเป็ นเอกสารท่ีโจทก์และจาเลยอา้ งร่วมกนั และ
หมายเป็น จล.
กรณีมีเอกสารหลายเร่ืองท่ีแยกต่างหากจากกนั ได้ แต่ส่งมาในคราวเดียวกนั ควรหมาย
เอกสารแยกกัน และควรส่ังให้แยกเก็บพยานเอกสารท้ังหมด รวมท้ังพยานเอกสารที่อยู่
ในสานวน เช่น เอกสารที่คู่ความขอคาสั่งเรียกจากบุคคลภายนอกมาเป็ นพยานหลกั ฐานเพ่ิมเติม
ในระหว่างพิจารณา โดยดูแลตรวจสอบให้เจ้าหน้าท่ีบันทึกหมายเหตุการณ์ปลดเอกสาร
ในสารบาญและทาบญั ชีรายการเอกสารแยกเกบ็ ใหค้ รบถว้ นถูกตอ้ ง
ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๑๕๖
บทท่ี ๙
การขอให้เรียกเอกสารมาเป็ นพยาน
๑. เอกสารซ่ึงอยู่ในความครอบครองของคู่ความอกี ฝ่ ายหน่ึงหรือของบุคคลภายนอก
ผู้อ้างเอกสารต้องยื่นคาร้องขอให้ศาลมีคาสั่งเรี ยกเอกสารน้ันมาจากผู้ครอบครอง
ตามมาตรา ๑๒๓ ก่อนวนั สืบพยานไม่นอ้ ยกวา่ ๗ วนั ตามมาตรา ๙๐ วรรคหา้
สาหรับคดีที่นัดช้ีสองสถาน ในวันช้ีสองสถาน ศาลควรสอบถามคู่ความเก่ียวกับ
พยานหลกั ฐาน หากคู่ความประสงค์จะอา้ งเอกสารท่ีอยูใ่ นความครอบครองของคู่ความอีกฝ่ าย
หน่ึงหรือของบุคคลภายนอก ศาลควรสอบถามถึงข้อเท็จจริ งท่ีจะนาสืบโดยเอกสารน้ัน
หากเป็ นขอ้ เท็จจริงที่คู่ความสามารถรับกนั ได้ หรือขอ้ เท็จจริงที่ไม่เก่ียวกบั ประเด็นแห่งคดี
ก็ไม่จาเป็ นตอ้ งเรียกเอกสารน้นั มาให้สิ้นเปลืองเวลาและค่าใชจ้ ่ายของผูเ้ กี่ยวขอ้ งและเป็ นภาระ
ของศาลในการจดั เก็บเอกสารท่ีไม่เป็ นสาระแก่คดี เมื่อไดข้ อ้ ยุติเก่ียวกบั เอกสารดงั กล่าวแลว้
ให้ศาลกาชับคู่ความดาเนินการยื่นคาร้องขอเรียกเอกสารที่จาเป็ นโดยเร็วและติดตามให้ได้
เอกสารมาก่อนวนั สืบพยาน เพื่อจะไดไ้ ม่ตอ้ งเลื่อนการสืบพยานเพราะเหตุขดั ขอ้ งเก่ียวกับ
พยานเอกสาร
๑.๑ เม่ือคู่ความย่ืนคาร้องขอให้ศาลมีคาสั่งเรียกตน้ ฉบบั เอกสารจากคู่ความอีกฝ่ ายหน่ึง
ตามมาตรา ๑๒๓ วรรคหน่ึง ส่ังคาร้องว่า “คาสั่งเรียก หากจะคัดค้านประการใด ให้คัดค้าน
ภายใน ๗ วัน นับแต่วันได้รับคาส่ัง ให้ผู้ขอนาส่งและรายงานผลการส่งหมายภายใน ๑๕ วัน
นบั แต่วนั นี้ ให้ผู้ครอบครองส่งต้นฉบบั เอกสารภายใน ๓๐ วัน นบั แต่วันนี้ มิฉะนั้นถือว่ายอมรับ
ข้อความในเอกสารนัน้ ให้ผู้ขอมาตรวจเอกสารภายใน ๔๕ วัน นับแต่วนั น”ี้
๑.๒ เม่ือคู่ความยื่นคาร้องขอให้ศาลมีคาส่ังเรียกเอกสารจากบุคคลภายนอกหรือจากทาง
ราชการตามมาตรา ๑๒๓ วรรคสอง ส่ังคาร้องวา่ “คาส่ังเรียก ให้ผู้ขอนาส่งและรายงานผลการ
ส่งหมายภายใน ๑๕ วัน นับแต่วันนี้ ให้ผู้ครอบครองเอกสารนาส่งภายใน ๓๐ วัน นับแต่วันนี้
ให้ผู้ขอมาตรวจเอกสารภายใน ๔๕ วัน นับแต่วันน”ี้ ท้งั น้ี ผขู้ อตอ้ งส่งคาสั่งศาลแก่ผคู้ รอบครอง
เอกสารน้ันล่วงหน้าอย่างน้อย ๗ วนั และหากผูค้ รอบครองไม่ส่งตน้ ฉบบั เอกสาร ศาลอาจ
อนุญาตใหน้ าสาเนาเอกสารหรือพยานบคุ คลมาสืบแทนตน้ ฉบบั เอกสารไดต้ ามมาตรา ๙๓ (๒)
ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๑๕๗
ข้อสังเกต
๑. ในคดีท่ียุง่ ยากซบั ซ้อนและมีการเรียกพยานเอกสารจากบุคคลภายนอกจานวนมาก
ศาลอาจกาหนดวนั นัดตรวจความพร้อมของพยานหลกั ฐานก่อนสืบพยานเพื่อพิจารณาแก้ไข
เหตุขดั ขอ้ งต่าง ๆ เก่ียวกบั พยานเอกสารใหเ้ สร็จสิ้น อนั จะทาใหส้ ามารถสืบพยานตามกาหนดนดั
ในระบบการนง่ั พจิ ารณาคดีครบองคค์ ณะและตอ่ เน่ืองได้
๒. เอกสารซ่ึงอยู่ในความครอบครองของทางราชการ ถา้ หน่วยงานของรัฐหรือ
เจา้ หนา้ ที่ส่งสาเนาเอกสารโดยรับรองความถูกตอ้ ง ก็ใชเ้ ป็ นพยานหลกั ฐานไดเ้ หมือนตน้ ฉบบั
เอกสาร (มาตรา ๙๓ (๓) )
๓. การอนุญาตให้คู่ความอา้ งเอกสารใดเป็ นพยานและจะมีคาสั่งเรียกมาหรือไม่
เป็นอานาจศาล ผคู้ รอบครองเอกสารจะโตแ้ ยง้ วา่ ไม่ควรเรียกมาไม่ได้ (ฎีกาที่ ๑๘๑๓/๒๕๑๑)
๒. คาสั่งเรียก
คาส่งั เรียกใชแ้ บบพิมพแ์ บบ ๑๘ คาส่งั เรียกพยานเอกสารหรือพยานวตั ถุ (คดีแพ่ง)
ข้อสังเกต
การอา้ งสานวนคดีท่ีอยใู่ นศาลเดียวกนั เป็ นพยาน ฝ่ ายท่ีอา้ งทาเป็นคาแถลง สัง่ ในคาแถลง
ว่า “ให้นาสานวนท่ีอ้างมาผูกติดไว้” ถา้ เป็ นสานวนของศาลอ่ืน ฝ่ ายที่อา้ งตอ้ งทาเป็ นคาร้อง
ส่ังในคาร้องวา่ “มีหนังสือขอยืมมา” ไม่ควรมีคาสั่งเรียกสานวนจากศาลอ่ืน นอกจากน้ีอาจสั่ง
ใหฝ้ ่ายที่อา้ งไปขอถ่ายสาเนาเอกสารในสานวนที่ตอ้ งการมาอา้ งส่งศาลแทนการยมื สานวนกไ็ ด้
๓. การขอให้เรียกเอกสารท่ีอยู่นอกเขตอานาจศาล
เช่น ในกรณีที่โจทก์ยื่นคาร้องขอให้ศาลแพ่งเรี ยกเอกสารที่อยู่ในเขตอานาจของ
ศาลจงั หวดั สมุทรปราการโดยขอให้ศาลแพ่งส่งคาส่ังไปให้ศาลจงั หวดั สมุทรปราการ จดั การส่ง
คาส่ังให้แก่ผู้ครอบครองเอกสาร โดยโจทก์จะเป็ นผู้นาไปส่งเอง และขอให้ศาลจังหวัด
สมทุ รปราการสลกั หลงั คาสง่ั ดว้ ย
ศาลแพ่งสั่งคาร้องวา่ “คาสั่งเรียก โดยขอให้ศาลจังหวัดสมุทรปราการส่งและสลักหลังให้”
เมื่อศาลจงั หวดั สมุทรปราการไดร้ ับหนงั สือนาส่งคาส่ังเรียกจะส่ังในหนงั สือนาส่งวา่ “จัดการให้”
และสั่งสลักหลังในคาส่ังเรียกว่า “ให้ ผู้ครอบครองเอกสารปฏิบัติตามคาสั่งเรียกนี”้ ลงชื่อ
ผพู้ พิ ากษาและประทบั ตราศาลจงั หวดั สมุทรปราการ
กรณีส่งประเด็น ชอบท่ีจะไปขอคาส่ังเรียกที่ศาลรับประเด็น เพื่อใหผ้ คู้ รอบครองเอกสาร
ส่งเอกสารต่อศาลน้นั โดยตรง
ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๑๕๘
๔. เม่ือผู้ครอบครองเอกสารส่งเอกสารมาให้ตามคาสั่งเรียก
ส่ังที่หนังสือนาส่งว่า “รับไว้ให้ผู้อ้างตรวจดูว่าใช่ที่อ้างหรือไม่ เอกสารให้แยกเก็บ(หรือรวม
สานวนไว)้ ” และใหผ้ อู้ า้ งบนั ทึกไวใ้ นหนงั สือนาส่งดว้ ยวา่ ใช่หรือไมใ่ ช่ที่อา้ ง ถา้ คูค่ วามอีกฝ่ ายหน่ึง
นาเอกสารมาส่งเอง ควรสอบฝ่ ายที่อา้ งและให้ปรากฏในรายงานกระบวนพิจารณาว่าใช่ที่อา้ งหรือไม่
ก่อนหมายเอกสาร
ถ้ายงั มิได้กาหนดวนั นัดพิจารณาไวเ้ พราะรอเอกสาร ศาลต้องหมายนัดไปยงั คู่ความ
เพ่ือให้มาตรวจดูเอกสาร แลว้ กาหนดวนั นัดพิจารณาต่อไป (หากเอกสารน้อยก็นัดมาตรวจดู
ในวนั พิจารณาเลยได)้
ถา้ ผูค้ รอบครองเอกสารไม่ส่งเอกสารและแจ้งเหตุขดั ขอ้ งมา ส่ังว่า “ให้ผู้อ้างทราบ”
และตอ้ งใหผ้ อู้ า้ งบนั ทึกในหนงั สือน้นั วา่ “ทราบแล้ว . . . .”
ข้อสังเกต
เอกสารท่ีผูค้ รอบครองส่งมา ศาลจะส่ังให้รวมสานวน หรือให้แยกเก็บควรส่ังให้
ชดั เจน หากเป็นเอกสารสาคญั ควรส่งั ใหแ้ ยกเก็บ และใหเ้ จา้ หนา้ ที่เบิกมาให้
ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๑๕๙
บทที่ ๑๐
พยานบุคคล
๑. การขอหมายเรียกพยานบุคคลต้องทาเป็ นคาขอ
เมื่อคู่ความฝ่ ายใดยื่นคาขอให้ศาลออกหมายเรี ยกพยานบุคคล ศาลส่งั วา่ “หมาย”
หรือ “หมายเรียก”
หากศาลเห็นสมควรอาจส่ังให้คู่ความฝ่ ายที่ขอให้ออกหมายเรียกแถลงถึงความเกี่ยวพนั
ของพยานกบั ขอ้ เท็จจริงในคดีอนั จาเป็ นที่จะตอ้ งออกหมายเรียกพยานดงั กล่าว ก่อนมีคาสั่งให้
ออกหมายเรียกก็ได้
หมายเรียกพยานบคุ คลตอ้ งส่งใหแ้ ก่ผรู้ ับพร้อมสาเนาคาแถลง (หากมี) มีล่วงหนา้ อยา่ งนอ้ ย
๓ วนั ตามมาตรา ๑๐๖ พยานบุคคลคนเดียวกนั คู่ความเคยยน่ื คาขอให้ออกหมายเรียกคร้ังหน่ึง
แลว้ ตอ่ มาขอใหเ้ รียกซ้าก็ตอ้ งทาเป็นคาขอ
หมายเรียกพยานตอ้ งมีขอ้ ความ ชื่อและตาบลที่อยู่ของพยาน ช่ือคู่ความ ศาลและทนายความ
ฝ่ ายผู้ขอ วนั เวลาและสถานที่ซ่ึงพยานจะต้องไปกาหนดโทษที่จะตอ้ งได้รับถา้ ไม่ไปตามหมายเรียก
หรือเบิกความเท็จ ในหมายเรียกศาลอาจจดแจง้ ขอ้ เท็จจริงที่จะให้พยานไปเบิกความใหพ้ ยานทราบ
ไวใ้ นหมายเรียกกไ็ ด้
ข้อสังเกต
ก่อนออกหมายเรี ยกพยานให้ตรวจดูว่าพยานเป็ นบุคคลต้องห้ามไม่ให้ออก
หมายเรียกตามมาตรา ๑๐๖/๑ หรือไม่
๒. การส่งหมายเรียกพยานบุคคล
ให้ผูอ้ ้างเป็ นผูส้ ่งเอง เวน้ แต่ศาลจะสั่งเป็ นอย่างอื่นหรือพยานปฏิเสธไม่ยอมรับหมาย
ผูอ้ า้ งจะขอใหเ้ จา้ พนักงานศาลเป็ นผสู้ ่งก็ได้(มาตรา ๗๐(๑))ในกรณีให้เจา้ พนกั งานศาลเป็ นผูส้ ่ง ผูอ้ า้ ง
ตอ้ งเสียค่าธรรมเนียมในการส่ง (มาตรา ๗๐ วรรคสอง) และถา้ เห็นว่าพยานมีภูมิลาเนาแน่นอน
ตามหมายควรสง่ั อนุญาตใหป้ ิ ดหมายดว้ ย
๓. วธิ ีการส่งหมายเรียกพยานบุคคล คู่ความตอ้ งปฏิบตั ิตามมาตรา ๘๑ ดงั น้ี
๓.๑ ส่งในเวลากลางวนั ระหวา่ งพระอาทิตยข์ ้ึนและพระอาทิตยต์ ก
๓.๒ ส่งแก่บุคคลซ่ึงระบุไวใ้ นหมายเรียก ณ ภูมิลาเนา หรือสานกั ทาการงานของบุคคล
เช่นวา่ น้นั แต่อยภู่ ายในบงั คบั แห่งมาตรา ๗๖, ๗๗
ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๑๖๐
๔. การขอหมายเรียกบุคคลสาคญั หรือข้าราชการช้ันผู้ใหญ่
ศาลควรสั่งให้คู่ความฝ่ ายที่ขอให้ออกหมายเรียกแถลงว่าจะนาสืบในเร่ืองใดเกี่ยวกบั
ประเด็นสาคญั ในคดีหรือไม่ หากคู่ความอีกฝ่ ายแถลงรับขอ้ เท็จจริง หรือเห็นว่าขอ้ ที่จะนาสืบ
ไมใ่ ช่ประเด็นสาคญั กใ็ หศ้ าลสง่ั งดสืบพยานตามมาตรา ๘๖ วรรคสอง แต่ถา้ ประเด็นท่ีจะสืบเป็น
ประเด็นสาคญั ศาลอาจจะออกเป็ นหนังสือราชการขอให้มาเบิกความเป็ นพยานแทนการออก
หมายเรียกใหม้ าเป็นพยาน
๕. การสืบพยานบุคคลไว้ก่อน
๕.๑ การสืบพยานบุคคลไวก้ ่อนตามมาตรา ๑๐๑ เป็ นกรณีท่ีเกรงว่า พยานหลกั ฐานซ่ึงจะ
อ้างอิงภายหน้าจะสูญหายหรือยากแก่การนามาสืบในภายหลงั ซ่ึงผูร้ ้องขออาจขอสืบพยาน
ก่อนฟ้องคดี (ผูร้ ้องตอ้ งเสียค่าคาร้องขอ ๑๐๐ บาท ตามตาราง ๒ ทา้ ย ป.วิ.พ. ) หรือฟ้องคดี
แลว้ แตย่ งั ไมถ่ ึงกาหนดนดั สืบพยานของตน เม่ือมีคาร้องขอศาลจะมีคาสั่งวา่
“รับคาร้ องหมายเรียกให้นาย....หรือโจทก์หรือจาเลยมาศาล ให้ผู้ร้ องนาส่งภายใน ๕ วัน
ถ้าส่งไม่ได้ให้แถลงเพื่อดาเนินการต่อไปภายในกาหนด ๑๕ วนั นบั แต่วนั ส่งไม่ได้ หากไม่แถลง
ถือว่าทิง้ คาร้อง
นดั สืบพยานผ้รู ้องวนั ท่ี . . . .
หากผู้รับหมายเรียกจะคัดค้านให้คัดค้านก่อนวันนัด มิฉะน้ันถือว่าไม่คัดค้าน”
ถึงวนั นัดหากไม่มีการคดั คา้ น หรือเห็นว่าควรให้มีการสืบพยานไวก้ ่อน ก็ให้ทาการ
สืบพยานแลว้ ทาปกข้ึนสานวนแยกข้ึนเป็ นพิเศษไว้ หรือถา้ มีสานวนเดิมอยแู่ ลว้ ก็ให้รวมสานวน
เดิมไว้ พร้อมจดรายงานไวใ้ หช้ ดั แจง้
กรณีพิจารณาคาร้องและคาคดั คา้ นแลว้ ไม่เห็นควรใหม้ ีการสืบพยานไวก้ ่อนก็ให้สั่ง
ยกคาร้อง คา่ คาร้องขอใหเ้ ป็นพบั
๕.๒ การสืบพยานไวก้ ่อนกรณีมีเหตุฉุกเฉินจาเป็ นตามมาตรา ๑๐๑/๑ เป็ นกรณีท่ีมีการ
ฟ้องคดีตอ่ ศาลแลว้ แต่มีเหตุฉุกเฉิน ซ่ึงจาเป็นตอ้ งสืบพยานเป็นการเร่งด่วน และไมส่ ามารถแจง้
ให้คู่ความฝ่ ายอื่นทราบก่อนได้ คู่ความฝ่ ายที่ขอจะตอ้ งยื่นคาร้องตามมาตรา ๑๐๑ พร้อมกับ
คาฟ้องหรือคาให้การหรือภายหลงั จากน้นั และมีคาขอโดยทาเป็ นคาร้องฝ่ ายเดียวอีกฉบบั หน่ึง
เพื่อขอใหศ้ าลมีคาสง่ั โดยไมช่ กั ชา้
ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๑๖๑
คาร้องที่ขอให้ศาลสืบพยานบุคคลไวก้ ่อนกรณีมีเหตุฉุกเฉิน จาเป็ นตอ้ งบรรยายถึง
ข้อเท็จจริงที่แสดงให้เห็นว่ามีเหตุฉุกเฉินซ่ึงมีความจาเป็ นต้องสืบพยานโดยเร่งด่วนและ
ไม่สามารถแจง้ ให้คู่ความฝ่ ายอ่ืนทราบก่อนได้ รวมท้งั ความเสียหายท่ีจะเกิดข้ึนหากมิไดม้ ีการ
สืบพยานน้นั
หากคาร้องไม่มีเหตุฉุกเฉินและความจาเป็ นตอ้ งสืบพยานโดยเร่งด่วน ใหศ้ าลยกคาร้อง
โดยไม่ตอ้ งไต่สวน โดยสั่งว่า “กรณีตามคาร้ องไม่มีเหตุฉุกเฉินซ่ึงมีความจาเป็ นต้องสืบพยาน
โดยเร่งด่วน ให้ยกคาร้อง”
สาหรับคาร้องขอสืบพยานบุคคลไวก้ ่อนตามมาตรา ๑๐๑ ท่ีย่ืนมาด้วยให้ส่ังว่า
“ศาลส่ังยกคาร้องขอสืบพยานไว้ก่อน กรณีฉุกเฉินจาเป็นแล้ว คาร้องนจี้ ึงตกไปในตวั ”
หากคาร้องเขา้ เหตุฉุกเฉินจาเป็น ให้สั่งในคาร้องขอให้สืบพยานไวก้ ่อนกรณีฉุกเฉิน
จาเป็นวา่ “เรียกไต่สวน”
เมื่อศาลไต่สวนเสร็จแลว้ ไม่เขา้ เหตุฉุกเฉินซ่ึงมีความจาเป็ นตอ้ งสืบพยานโดยเร่งด่วน
ให้ศาลยกคาร้อง แต่หากเขา้ เหตุฉุกเฉินซ่ึงมีความจาเป็ นต้องสืบพยานโดยเร่งด่วนก็ให้ศาล
อนุญาตใหน้ าพยานดงั กลา่ วเขา้ สืบพยานไวก้ ่อนไดโ้ ดยจดรายงานกระบวนพิจารณาวา่
“ไต่สวนคาร้องขอสืบพยานไว้ก่อนกรณีมีเหตุฉุกเฉินจาเป็ น โจทก์และทนายโจทก์
มาศาล
ไต่สวนพยานโจทก์ได้ ๒ ปาก ระหว่างไต่สวนโจทก์อ้างส่งเอกสาร ๕ ฉบับ ศาลหมาย
จ.๑ ถึง จ.๕ รวมสานวนไว้แล้ว โจทก์แถลงติดใจสืบพยานเพยี งเท่าน้ัน
พิเคราะห์แล้ว เห็นว่า กรณีมีเหตุฉุกเฉินซึ่งมีความจาเป็นต้องสืบพยานโดยเร่ งด่วน
จึงให้โจทก์นา นาย ก. เข้าสืบ
สืบพยานโจทก์ได้ ๑ ปาก ระหว่างสืบพยานโจทก์อ้างส่งเอกสาร ๓ ฉบับ ศาลหมาย
จ.๖ ถึง จ.๘ รวมสานวนไว้คดีเป็นอันเสร็จการสืบพยานไว้ก่อน”
หากคู่ความฝ่ ายท่ีขอไม่ไดน้ าพยานที่ประสงค์จะสืบไวก้ ่อนมาในวนั ย่ืนคาร้องขอ
สืบพยานไวก้ ่อนกรณีมีเหตุฉุกเฉินจาเป็ น เมื่อศาลไต่สวนคาร้องแล้วเข้าเหตุฉุกเฉินซ่ึงมี
ความจาเป็นตอ้ งสืบพยานโดยเร่งด่วน ก็ตอ้ งนดั สืบพยานและใหค้ ู่ความฝ่ายที่ขอนาพยานมาศาล
โดยเร็ว รวมท้งั หมายเรียกพยานหากมีดว้ ย โดยส่ังในรายงานกระบวนพิจารณาว่า “หมายเรียก
นาย ก. มาศาล ให้โจทก์นาส่งภายในวันนี้ ส่งไม่ได้ให้แถลงเพ่ือดาเนินการต่อไป ภายในกาหนด
๓ วัน นบั แต่วนั ส่งไม่ได้ หากไม่แถลงถือว่าทิง้ คาร้อง
ให้นัดสืบพยานโจทก์วนั ท่ี . . . . ”
ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๑๖๒
ข้อสังเกต
๑. กรณีท่ีมีการสืบพยาน หากสามารถแจ้งให้คู่ความฝ่ ายอื่นทราบได้โดยชอบ
ย่อมมิใช่เป็ นกรณีฉุกเฉินจาเป็ นตาม มาตรา ๑๐๑/๑ เพราะมาตรา ๑๐๑/๑ ต้องเป็ นกรณีท่ี
ไมส่ ามารถแจง้ ใหค้ ู่ความฝ่ ายอ่ืนทราบก่อนได้
๒. การสืบพยานบุคคลไวก้ ่อนตามมาตรา ๑๐๑/๑ ไม่ตดั สิทธิคู่ความฝ่ ายอ่ืนที่จะ
ขอให้ศาลออกหมายเรียกพยานดงั กล่าวมาศาลเพื่อถามคา้ นและดาเนินการตามมาตรา ๑๑๗
ในภายหลงั และหากไม่อาจดาเนินการดงั กลา่ วได้ ศาลตอ้ งใชค้ วามระมดั ระวงั ในการชง่ั น้าหนกั
พยานหลกั ฐาน
๓. เหตุฉุกเฉินซ่ึงจาเป็ นตอ้ งสืบพยานเป็ นการเร่งด่วน อาจเกิดจากตวั พยานเอง
หรือปัจจยั ภายนอก เช่น พยานใกลเ้ สียชีวิต ต้องเดินทางกลบั ต่างประเทศ ถูกเนรเทศหรือ
ถูกส่งตวั กลบั
ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๑๖๓
บทท่ี ๑๑
การส่งประเดน็ รับประเด็น ฟังประเดน็ กลบั
และส่งประเดน็ ไปต่างประเทศ
๑. การส่งประเดน็ ไปสืบพยานที่ศาลอ่ืน (มาตรา ๑๐๒)
ควรจดรายงานกระบวนพิจารณาใหป้ รากฏสาระสาคญั ดงั น้ี
๑.๑ จะส่งประเดน็ ไปสืบใคร ท่ีศาลไหน
๑.๒ คู่ความจะตามไปว่าความหรือไม่ ถา้ ไม่ไปจะส่งคาถามไปขอให้ศาลรับประเด็น
ช่วยถามใหห้ รือไม่
๑.๓ วนั เวลาท่ีคู่ความขอใหศ้ าลรับประเดน็ นดั พิจารณา
๑.๔ คดีสาคัญหากเกรงว่าสานวนจะสูญหายหรือคดีท่ีมีการเร่งการพิจารณาก็ส่ังให้
คดั สาเนาคาฟ้อง คาใหก้ าร บญั ชีพยานและอ่ืน ๆ ที่จาเป็นส่งไป
ข้อสังเกต
๑. การนั่งพิจารณาคดีครบองค์คณะและต่อเนื่องมีหลักการสาคัญเพื่อให้องค์คณะ
ผู้พิ พ า ก ษ า ไ ด้พิ จ า ร ณ า พ ย า น ห ลัก ฐ า น ใ น ค ดี ที่ รั บ ผิ ด ช อ บ ด้ว ย ต น เ อ ง ต่ อ เ น่ื อ ง ติ ด ต่ อ กัน
จนเสร็จการพิจารณาในเวลาอนั สมควร การส่งประเด็นจึงพึงกระทาต่อเม่ือไม่สามารถใชว้ ิธีการ
สืบพยานโดยใชร้ ะบบการประชุมทางจอภาพตามมาตรา ๑๒๐/๔ ได้
๒. ในการส่งประเด็น ศาลควรสอบถามขอ้ เทจ็ จริงวา่ พยานที่จะส่งประเดน็ ไปสืบเก่ียวขอ้ ง
กบั ประเด็นแห่งคดีหรือไม่ อยา่ งไร ไม่สามารถนาพยานมาสืบท่ีศาลเดิมไดจ้ ริงหรือไม่ การส่ง
ประเด็นมีลกั ษณะประวงิ คดีหรือไม่ โดยศาลมีดุลพินิจท่ีจะไม่อนุญาตใหส้ ่งประเดน็ ได้ เพ่ือมิให้
มีการดาเนินกระบวนพิจารณาท่ีฟ่ ุมเฟื อยและเป็ นภาระแก่อีกฝ่ ายหน่ึงในการตามประเด็นไป
เกินสมควร
๓. หากมีเหตุจาเป็ นต้องส่งประเด็น ไม่ควรส่งประเด็นไปท้ังสานวน แต่ควรแยกส่ง
ประเด็น และดาเนินการต้งั แต่ในช้นั ช้ีสองสถานเพ่ือให้สามารถดาเนินกระบวนพิจารณาและ
นัดสืบพยานที่ศาลเดิมไปในระหว่างที่มีการส่งประเด็นได้ และหากต้องส่งประเด็นไป
หลายศาลก็ให้แยกส่งประเด็นไปทุกศาลในคราวเดียว ไม่ควรส่งประเด็นไปทีละศาลหรือให้มี
การส่งประเดน็ ต่อไปเพราะจะทาใหใ้ ชเ้ วลาในการพิจารณาคดีนานเกินไป
๔. ศาลเดิมอาจกาหนดกรอบการสืบพยานประเด็นเพื่อให้การพิจารณาคดีเป็ นไปโดย
รวดเร็ว เช่น กาหนดจานวนนัดหรื อระยะเวลาการสืบพยานประเด็นและการเล่ือนคดี
ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๑๖๔
ที่เหมาะสม เพื่อให้สืบพยานประเด็นเสร็จและศาลที่รับประเด็นส่งประเด็นกลบั มาทนั วนั นัด
ที่ศาลเดิม
๕. ศาลไม่ควรอนุญาตให้ส่งประเด็นไปสืบตวั ความเอง เพราะตวั ความมีหนา้ ที่ตอ้ งมาศาล
และอ้างตัวเองเป็ นพยาน เว้นแต่คู่ความอีกฝ่ ายคดั คา้ นว่าการสืบตวั ความกับพยานประเด็น
อีกปากหน่ึงคนละคราวทาให้ตนเสียเปรียบ ศาลก็อาจอนุญาตให้ส่งประเด็นไปสืบตวั ความ
พร้อมกบั พยานประเด็นอีกปากหน่ึงได้
๖. การส่งประเด็นไม่ตอ้ งคานึงถึงการท่ีคู่ความสืบพยานก่อนหลงั กนั เช่น อาจส่งประเด็น
ไปสืบท้งั พยานโจทกแ์ ละพยานจาเลยที่ศาลเดียวกนั หรือตา่ งศาลกนั ในคราวเดียวกนั ได้ แมเ้ มื่อส่ง
ประเดน็ คนมาแลว้ ศาลเดิมยงั สืบพยานของฝ่ ายท่ีมีหนา้ ท่ีนาสืบก่อนไมเ่ สร็จ
๒. ตัวอย่างรายงานกระบวนพจิ ารณาการส่งประเด็น
“นัดชีส้ องสถาน ทนายโจทก์และทนายจาเลยมาศาล
............................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
ทนายโจทก์แถลงว่า โจทก์ประสงค์จะสืบพยานรวม ๘ ปาก ได้แก่....... ตามบัญชีพยาน
โจทก์ ฉบับลงวันท่ี.... สาหรับพยานโจทก์อันดับที่ ๕ ถึงอันดับ ๘ มีภูมิลาเนาอยู่ในเขต
ศาลจังหวัดสุพรรณบุรี ศาลจังหวัดเลย ศาลจังหวัดหนองคาย และศาลจังหวัดกระบี่ ตามลาดับ
จึงขอส่ งประเด็นไปสืบพยานโจทก์ที่ศาลดังกล่าว โดยโจทก์ประสงค์จะสืบพยานอันดับ ๕
และ ๗ ในประเด็นเก่ียวกับการผิดสัญญาของจาเลย สืบพยานอันดับ ๖ในประเด็นเกี่ยวกับ
การคานวณค่าเสียหาย และสืบพยานอันดับ ๘ ในประเดน็ เกี่ยวกับการทวงถามให้จาเลยชาระ
ค่าเสียหาย
สอบทนายจาเลยแล้วแถลงไม่ค้านที่โจทก์ขอส่งประเดน็ และแถลงว่าจาเลยประสงค์
จะสืบพยานรวม ๕ ปาก ได้แก่..... และจาเลยจะนาพยานท้ังหมดมาสืบท่ีศาลนี้
พิเคราะห์ แล้ว อนุญาตให้ แยกส่ งประเด็นไปสืบพยานโจทก์อันดับ ๕, ๖ และ ๗
ได้ตามขอ ส่วนพยานโจทก์อันดับ ๘ เม่ือคดีนีไ้ ม่มีประเดน็ ข้อพิพาทเรื่องการทวงถามให้จาเลย
ชาระค่าเสียหาย โดยจาเลยยอมรับว่าได้รับหนังสือทวงถามตามเอกสารหมาย จ. ๒๐ แล้ว จึงไม่
อนุญาตให้ส่งประเดน็ ไปสืบพยานโจทก์ปากนี้ และให้งดสืบพยานโจทก์ดังกล่าว
การว่าความทนายโจทก์และทนายจาเลยแถลงจะตามประเดน็ ไป หากถึงวันนัดทนาย
โจทก์ไม่ไป ให้ส่งประเดน็ คืน หากทนายจาเลยไม่ไป ให้สืบพยานประเดน็ โจทก์ไปได้ โดยถือ
ว่าทนายจาเลยไม่ติดใจถามค้าน
ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๑๖๕
ให้ถ่ายสาเนาคาฟ้อง คาให้การ ใบแต่งทนายโจทก์และทนายจาเลย บัญชีพยานโจทก์
ฉบับลงวันท่ี.... สัญญาจ้าง เอกสารหมาย จ.๓ (ระบุเอกสารต่าง ๆ ท่ีต้องใช้ประกอบการ
สืบพยานประเดน็ ) และรายงานกระบวนพิจารณาฉบับนี้ จานวน ๓ ชุด แยกส่งไปสืบพยาน
ประเดน็ โจทก์แต่ละศาล โดยคู่ความขอให้นัดสืบพยานประเดน็ โจทก์ที่ศาลจังหวดั สุพรรณบุรีใน
วันที่.... ที่ศาลจังหวัดเลยในวันท่ี....และท่ีศาลจังหวัดหนองคายในวันท่ี...หากแต่ละศาลนัดให้
ไม่ได้ และนัดใหม่วันเวลาใด ขอให้แจ้งศาลนีท้ ราบ เพ่ือแจ้งให้คู่ความทราบต่อไป เสร็จแล้ว
ขอให้ส่งประเดน็ คืน โดยนัดฟังประเดน็ กลับให้ด้วย และหากพยานย้ายที่อยู่ กข็ อให้ส่งประเดน็
ต่อไป
สาหรับการสืบพยานที่ศาลนี้ ให้นัดสืบพยานโจทก์ ..... นดั และนัดสืบพยานจาเลย....นัด
......................................................................................................................................................
...........................................”
๓. ศาลทีร่ ับประเด็น
ศา ลที่ รั บประ เด็ น ค วรใ ห้ค วา ม สา คัญ ใ น ค ดี ป ระ เด็ น เ ช่ น เ ดี ยว กับค ดี ใ น ศา ลข อ ง ต น
และควรสืบพยานใหเ้ สร็จส้ินและส่งประเด็นคืนใหท้ นั กาหนดนดั สืบพยานท่ีศาลเดิม
เมื่อศาลอ่ืนส่งประเด็นมาขอใหส้ ืบพยานให้ โดยกาหนดวนั มาดว้ ย ส่ังในหนงั สือนาส่ง
วา่ “นัดให้ตามขอ” หรือ “ลงนัดไว้”หากไม่วา่ งตามวนั เวลาที่ขอหรือไมไ่ ดก้ าหนดวนั นดั มาดว้ ย
ส่ังวา่ “นัดให้ แจ้งศาลเดิม”
ศาลรับประเด็นตอ้ งดูรายงานกระบวนพิจารณาฉบบั ส่งประเด็นของศาลเจา้ ของสานวน
ใหด้ ีวา่ ถึงวนั นดั แลว้ กรณีใดสืบพยานไปไดก้ รณีใดสืบพยานไปไมไ่ ด้ เช่นคู่ความฝ่ ายหน่ึงไม่มาศาล
จะสืบพยานไปไดห้ รือตอ้ งเล่ือนคดีไป
การเล่ือนคดีควรแจง้ ศาลเจา้ ของสานวน พร้อมท้งั เหตผุ ลที่เล่ือนทกุ คร้ังแมค้ ู่ความจะมาศาล
การขอเลื่อนคดีโดยยื่นคาร้องท่ีศาลเจ้าของสานวน ศาลเจ้าของสานวนส่ังคาร้องว่า
“รีบโทรสาร คาร้ องจะส่ งตามไป” ไม่ควรสั่งอนุญาตหรื อไม่อนุญาตให้เลื่อน ควรเป็ นหน้าที่
ของศาลรับประเด็นเป็นผสู้ งั่
ศาลรับประเด็นไดร้ ับโทรสารแลว้ สั่งในโทรสารว่า “ส่ังในรายงานกระบวนพิจารณา”
แลว้ จดรายงานกระบวนพิจารณาอนุญาตหรือไม่อนุญาตให้เลื่อนคดี หรือถา้ ส่ังเล่ือนไปแล้ว
ก่อนไดร้ ับโทรสารก็สั่งว่า “ศาลส่ังเลื่อนคดีแล้ว” เมื่อคาร้องส่งตามมา สั่งว่า “รวม” เวน้ แต่
ศาลจะเห็นเป็นอยา่ งอ่ืน
ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๑๖๖
กรณีท่ีโจทก์ขอถอนฟ้อง เมื่อรับคาร้องและจดรายงานกระบวนพิจารณาแล้วรีบส่ง
สานวนคืนศาลเจ้าของสานวนเพื่อสั่ง หรือโจทก์จาเลยตกลงประนีประนอมยอมความกัน
ใหบ้ นั ทึกขอ้ ตกลงของโจทกจ์ าเลยโดยละเอียดไวใ้ นรายงานกระบวนพจิ ารณา หรือถา้ มีสัญญา
ประนีประนอมยอมความดว้ ยให้คู่ความลงชื่อไวต้ ่อหนา้ ศาล แลว้ ส่งสานวนคืนศาลเจา้ ของสานวน
เพือ่ ดาเนินการตอ่ ไป
การส่งประเดน็ คืน จดรายงานกระบวนพจิ ารณาวา่
“นดั สืบพยานประเดน็ โจทก์ (หรือจาเลย) ทนายโจทก์ ทนายจาเลยมาศาล
สืบพยานประเดน็ โจทก์(หรือจาเลย)ได้ ๓ ปาก (ถา้ ไม่ติดใจสืบพยานท้งั หมดหรือบางส่วน
ตอ่ ไป ใหบ้ นั ทึกไวด้ ว้ ย ) แล้วทนายโจทก์ (หรือทนายจาเลย) แถลงขอให้ส่งประเดน็ คืน
คู่ความขอให้นดั ฟังประเดน็ กลับวันท่ี . . . .
ให้ รวบรวมถ้อยคาสานวนส่ งคืนศาลเดิม”
ข้อสังเกต
๑. ศาลท่ีรับประเด็นมีอานาจออกหมายเรียกพยานบุคคล และคาสั่งเรียกพยาน
เอกสาร
๒. ศาลท่ีรับประเดน็ มีอานาจรับและสง่ั ใบแต่งทนายความได้
๓. ศาลที่รับประเด็นจะรับและอนุญาตให้คู่ความระบุพยานเพ่ิมเติม
ไมไ่ ด้ เพราะไดร้ ับแต่งต้งั เฉพาะใหส้ ืบพยานตามท่ีขอเทา่ น้นั
๔. ศาลท่ีรับประเด็นไม่ควรสั่งงดสืบพยานของฝ่ ายใด เช่น อ้างว่าพยาน
ประเดน็ น้นั ฟ่ ุมเฟื อยหรือไม่เกี่ยวแก่ประเด็น หรือพยานไม่มาศาลในวนั นดั ๓ - ๔ คร้ัง ก็ไม่ควร
งดสืบพยานน้นั ควรจดรายงานกระบวนพจิ ารณาแลว้ ส่งคืนไปใหศ้ าลเดิมสง่ั
๕. ศาลท่ีรับประเด็นจะสั่งคดีประเด็นว่าคู่ความฝ่ ายใดฝ่ ายหน่ึงขาดนัด
พิจารณาไม่ได้ เพราะอานาจในการสั่งว่าคู่ความฝ่ ายใดขาดนัดพิจารณา เป็ นอานาจของศาล
เจา้ ของสานวนเทา่ น้นั (ฎีกาที่ ๘๖๓/๒๕๐๔ ประชุมใหญ)่
๖. ศาลท่ีรับประเด็นส่งประเดน็ ตอ่ ไปอีกไดต้ ามมาตรา ๑๐๒ วรรคสอง
๗. การส่งประเด็นไปสืบจะต้องเป็ นการสืบพยานตามท่ีเก่ียวกับประเด็น
ขอ้ พิพาทเท่าน้นั (ฎีกาที่ ๒๘๐๘/๒๕๓๗)
๘. การที่จะอนุญาตหรือไม่อนุญาตให้ส่งประเด็นไปสืบเป็ นอานาจของศาล
ที่จะส่ังไดว้ า่ สมควรท่ีให้สืบพยานหลกั ฐานใดในศาลหรือนอกศาลตามความจาเป็ นแห่งสภาพ
ของพยานหลกั ฐานหรือจะให้ศาลอื่นสืบพยานหลกั ฐานแทนก็ได้ หากศาลเห็นเป็ นการจาเป็ น
(ฎีกาที่ ๒๖๐๗/๒๕๒๖)
ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๑๖๗
๙. ถา้ คู่ความฝ่ ายท่ีไม่ไดข้ อส่งประเด็นไปสืบ แถลงว่าจะไม่ตามประเด็นไป
คร้ันถึงวนั นัดศาลรับประเด็นเล่ือนคดีไป และกาหนดวนั นดั ใหม่โดยไม่ไดแ้ จง้ วนั นดั ให้ฝ่ ายที่
แถลงไมต่ ามประเดน็ ไปทราบ ไม่เป็นกระบวนพิจารณาที่ขดั ต่อกฎหมาย (ฎีกาท่ี ๑๐๖๖/๒๕๒๖)
๔. การนดั ฟังประเด็นกลับ
เม่ือสานวนท่ีส่งประเด็นไปสืบพยานตามที่คู่ความขอส่งกลับมาศาลเดิมแล้วศาลเดิม
จะสั่งในหนงั สือนาส่งวา่
“นัดฟังประเดน็ กลับ”
การนดั ฟังประเดน็ กลบั ใหอ้ อกหมายนดั ถึงคู่ความ เวน้ แต่คู่ความลงชื่อทราบนดั ไวแ้ ลว้
ในวันนัดฟังประเด็นกลับ ศาลเพียงแต่แจ้งให้คู่ความทราบว่าประเด็นกลับมาแล้ว
ไมจ่ าตอ้ งอ่านใหฟ้ ัง แลว้ ดาเนินกระบวนพจิ ารณาต่อไป โดยจดรายงานกระบวนพจิ ารณาวา่
“นดั ฟังประเดน็ กลับวนั นี้ ทนายโจทก์และทนายจาเลยมาศาล
ศาลแจ้งประเดน็ กลับให้คู่ความทราบแล้ว
ทนายโจทก์แถลงหมดพยานโจทก์
ให้นัดสืบพยานจาเลยในวนั ท่ี . . . . ”
๕. การส่งประเดน็ ไปต่างประเทศ (มาตรา ๓๔)
มีวิธีปฏิบตั ิและควรจดรายงานกระบวนพจิ ารณาใหป้ รากฏสาระสาคญั ดงั น้ี
๕.๑ ถา้ คูค่ วามฝ่ ายที่ประสงคจ์ ะขอใหส้ ่งประเด็นไปสืบพยานฝ่ ายตนซ่ึงอยใู่ นตา่ งประเทศ
ใหย้ น่ื คาขอตอ่ ศาลวา่ จะส่งประเด็นไปสืบผใู้ ด ณ ศาลใด ประเทศใด วนั เวลาใด
๕.๒ ถา้ ศาลเห็นสมควรอนุญาต ใหศ้ าลสอบถามคู่ความแลว้ บนั ทึกลงในรายงานกระบวน
พจิ ารณาถึงเรื่องการตามประเด็นไปวา่ ความ หรือคู่ความจะต้งั ผแู้ ทนในตา่ งประเทศใหว้ ่าความแทน
หรือจะไม่ตามประเด็นไปแต่ขอส่งขอ้ ซักถามหรือขอ้ ซกั คา้ นใหศ้ าลในต่างประเทศช่วยถามให้
หรือขอส่งเอกสารประกอบคดีไปดว้ ย
๕.๓ เรียกค่าธรรมเนียมศาลและค่าใชจ้ ่ายตามจานวนท่ีเห็นสมควรไวล้ ่วงหน้าก่อนส่ง
ประเด็นไป และให้คู่ความฝ่ ายน้ันรับรองว่าถ้าเงินค่าใช้จ่ายที่วางศาลไวน้ ้ันยงั ไม่พอ ตนจะ
ยอมรับชาระส่วนที่ยงั ขาดอยตู่ อ่ ศาลดว้ ย (หนงั สือกระทรวงยตุ ิธรรมที่ น.ว. ๓๑/๒๕๐๒ ลงวนั ที่
๒๖ มีนาคม ๒๕๐๒)
๕.๔ เอกสารที่ตอ้ งส่งไปพร้อมคาแปล และคารับรองคาแปล ไดแ้ ก่ คาฟ้อง เอกสารทา้ ยฟ้อง
คาใหก้ าร ขอ้ ซกั ถาม (ถา้ มี) และเอกสารที่จะส่งไปประกอบการสืบพยาน (คาแปลเป็ นภาษาของ
ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๑๖๘
ประเทศที่จะส่งไปสืบหรือภาษาองั กฤษ) โดยยน่ื ต่อศาลอยา่ งละ ๓ ชุด (ศาลเก็บรวมสานวนไว้
๑ ชุด ส่งไปพร้อมหนงั สือร้องขอ ๒ ชุด)
๕.๕ หนังสือร้องขอ (LETTER OF REQUEST) ศาลจะออกหนังสือร้องขอไปยงั ศาล
หรือผพู้ ิพากษาของศาลต่างประเทศขอให้ช่วยสืบพยานซ่ึงอยใู่ นเขตอานาจของศาลต่างประเทศ
น้นั ให้
๕.๖ วิธีส่งประเด็น โดยทวั่ ๆ ไปใชว้ ิธีทางการทูต (DIPLOMATIC CHANNEL) กล่าวคือ
ศาลส่งหนงั สือร้องขอพร้อมคาแปล คาคู่ความ ขอ้ ซกั ถามหรือซักคา้ นไปยงั สานกั งานศาลยุติธรรม
พร้อมท้งั แจ้งให้ทราบว่า ศาลได้เรียกเงินค่าใช้จ่ายในการสืบพยานน้ีไวล้ ่วงหน้าจากคู่ความ
เป็ นจานวนเงินเท่าใด ซ่ึงศาลจะส่งมาชาระให้เม่ือทราบจานวนแน่นอนท่ีจะต้องเสียแล้ว
สานักงานศาลยุติธรรมจะได้ส่งเร่ืองให้กระทรวงการต่างประเทศติดต่อไปยงั สถานเอกอัครราชทูต
หรือสถานกงสุลไทยในต่างประเทศน้ัน เพ่ือร้องขอให้รัฐบาลของประเทศน้ันติดต่อกับศาล
เพื่อทาการสืบพยานให้เสร็จ แลว้ ส่งประเด็นยอ้ นกลบั คืนมายงั ศาลเจา้ ของสานวนพร้อมท้งั แจง้
คา่ ธรรมเนียมศาลและค่าใชจ้ ่ายในการสืบพยานน้นั มาใหท้ ราบ
๕.๗ การนัดฟังประเด็นกลับ คือ ศาลเจา้ ของสานวนนัดคู่ความฟังรายงานกระบวน
พิจารณา ถา้ คาเบิกความและเอกสารท่ีส่งกลบั มาเป็ นภาษาต่างประเทศให้ศาลสั่งให้คู่ความฝ่ายท่ี
ขอจดั ทาคาแปลเป็ นภาษาไทยพร้อมดว้ ยคารับรองว่าถูกตอ้ ง เพ่ือใช้เป็ นหลกั ฐานในสานวน
ต่อไป (มาตรา ๔๖)
๕.๘ การส่งคา่ ธรรมเนียมและคา่ ใชจ้ ่าย ใหศ้ าลส่งเงินที่คู่ความวางไวล้ ว่ งหนา้ น้นั ไปชาระ
ถา้ ยงั ไม่พอก็สั่งให้คู่ความน้นั ชาระเพ่มิ เติมแลว้ ซ้ือดร๊าฟทส์ ่งั จ่ายใหแ้ ก่สถานเอกอคั รราชทตู ไทย
หรือสถานกงสุลไทย หรือศาลต่างประเทศ (ตามท่ีกระทรวงการต่างประเทศระบุไว)้ โดยผา่ น
สานกั งานศาลยตุ ิธรรม
หมายเหตุ
ทางปฏิบตั ิโดยละเอียดใหด้ ูคู่มือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการส่วนภาคผนวก
ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๑๖๙
บทที่ ๑๒
การเบิกความของพยาน
๑. ก่อนเบกิ ความ พยานทุกคนต้องสาบานตนตามลทั ธิ ศาสนา หรือจารีตประเพณี
แห่ งชาติของตนหรื อกล่ าวคาปฏิญาณว่ าจะให้ การตามความสั ต ย์ จริ งเสี ยก่ อน
เว้นแต่จะได้รับยกเว้นตามกฎหมาย (มาตรา ๑๑๒)
แบบของคาสาบาน มีดงั น้ี
๑.๑ สาหรับผนู้ บั ถือศาสนาพทุ ธ
“ข้าพเจ้าขอสาบานตนต่อพระแก้วมรกต เจ้าพ่อหลักเมือง พระสยามเทวาธิราชและ
ส่ิงศักดิ์สิทธ์ิท้ังหลายว่า ข้าพเจ้าจะเบิกความต่อศาลด้วยความสัตย์จริงทั้งสิน้
หากข้าพเจ้าเอาความเท็จมากล่าวแม้แต่น้อย ขอภยันตรายและความวิบัติทั้งปวง
จงบังเกิดแก่ข้าพเจ้าโดยพลัน
หากข้าพเจ้ากล่าวความจริงต่อศาล ขอให้ข้าพเจ้าจงประสบแต่ความสุขความเจริญ”
๑.๒ สาหรับผนู้ บั ถือศาสนาอิสลาม
“ข้าพเจ้าขอสาบานตนต่อพระอัลเลาะห์ว่า ข้าพเจ้าจะเบิกความต่อศาลด้วยความสัตย์จริ ง
ท้ังสิ้น
หากข้าพเจ้านาความเทจ็ มากล่าว ขอองค์พระอัลเลาะห์ทรงโปรดลงโทษข้าพเจ้า
หากข้าพเจ้ากล่าวความจริ งต่อศาล ขอองค์พระอัลเลาะห์ ทรงโปรดตอบแทนข้ าพเจ้ า
ด้วยความดงี ามทั้งหลายด้วย”
๑.๓ สาหรับผนู้ บั ถือศาสนาคริสต์
๑.๓.๑ สาหรับผเู้ บิกความเป็นภาษาไทยได้
“ข้าพเจ้าขอสาบานตนต่อพระเยซูเจ้าว่า ข้าพเจ้าจะเบิกความต่อศาล
ด้ วยความสัตย์จริ งท้ังสิ ้น
หากข้าพเจ้านาความเท็จมากล่าวแม้แต่น้อย ขอภยันตรายและความวิบัติ
ท้ังปวงจงบงั เกิดแก่ข้าพเจ้าโดยพลนั
หากข้าพเจ้ากล่าวความจริงต่อศาล ขอให้ข้าพเจ้าจงประสบแต่ความสุข
ความเจริ ญ”
ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๑๗๐
๑.๓.๒ สาหรับผเู้ บิกความเป็นภาษาไทยไม่ได้
“ The evidence that I shall give to the Court shall be the truth,
the whole truth, and nothing but the truth. (So help me God)”
ข้อสังเกต
ในกรณีที่พยานไดร้ ับการยกเวน้ ไม่ตอ้ งสาบานตวั ตอ้ งขีดฆ่าคาวา่ สาบานตน
ออกเสียจากแบบพิมพค์ าเบิกความพยานดว้ ย
๑.๔ คาสาบานท่ีใชไ้ ดก้ บั ทุกศาสนา
“ข้าพเจ้าขอสาบานว่าจะให้ การด้วยความสัตย์จริ ง หากนาความเท็จมากล่าว ขอให้
มอี ันเป็นไปภายในสามวนั เจด็ วัน หากข้าพเจ้ากล่าวความจริงขอให้ประสบแต่ความสุขความเจริญ”
๒. การบนั ทกึ คาเบกิ ความของพยาน
๒.๑ ก่อนจะบนั ทึกคาเบิกความ ตอ้ งตรวจสอบเสียก่อนว่าพยานมีช่ือระบุอยใู่ นบญั ชีพยาน
ถูกตอ้ งแลว้ หรือไม่ (พยานบุคคลโดยปกติจะระบชุ ่ือของพยานในบญั ชีระบพุ ยานตามมาตรา ๘๘
แต่เคยมีคาพิพากษาศาลฎีกาวินิจฉัยว่า บญั ชีระบุพยานที่ระบุตาแหน่งในขณะน้ันของพยาน
ถือไดว้ ่าเป็ นบญั ชีระบุพยานท่ีระบุชื่อและท่ีอยขู่ องพยานแลว้ จึงเป็นบญั ชีระบุพยานที่ชอบด้วย
กฎหมาย) (ฎีกาท่ี ๑๖๗/๒๕๒๘)
๒.๒ บนั ทึกรายละเอียดตามแบบพิมพค์ าเบิกความพยาน ใหค้ รบถว้ นต้งั แต่ชื่อ อายุ อาชีพ
ท่ีอยแู่ ละความเก่ียวพนั กบั คูค่ วาม
๒.๓ ตอ้ งบนั ทึกให้ปรากฏวา่ เป็ นพยานโจทกห์ รือพยานจาเลยหรือพยานผรู้ ้อง ฯลฯ และ
เป็ นพยานหมายหรือพยานนา รวมท้งั ว่าเป็ นคาซกั ถาม คาถามคา้ น คาถามติงหรือขออนุญาต
ศาลถาม ถ้าเป็ นพยานในการดาเนินกระบวนพิจารณาช้ันอ่ืน เช่น ช้ันไต่สวนขอคุ้มครอง
ชว่ั คราวฯ ช้นั ขอพจิ ารณาใหม่ เป็นตน้ ก็ควรระบใุ หช้ ดั เจนไวด้ ว้ ย
๒.๔ การบนั ทึกคาเบิกความ ตอ้ งบนั ทึกใหต้ รงกบั คาที่พยานเบิกความเวน้ แต่คาเบิกความ
จะไมเ่ ป็นสาระ
๒.๕ คาศพั ทท์ ี่เป็นคาเฉพาะ หรือเป็นคาในภาษาต่างประเทศตอ้ งบนั ทึกใหถ้ กู ตอ้ ง
๒.๖ ถา้ เป็ นพยานหมาย ตอ้ งส่ังให้คู่ความฝ่ ายที่อา้ งเสียค่าป่ วยการและค่าพาหนะพยาน
ตามท่ีกาหนดไว้ในตาราง ๔ ท้าย ป.วิ.พ. (ค่าป่ วยการคิดคานวณให้ตามรายได้และฐานะของพยาน
แต่ไมเ่ กินวนั ละ ๔๐๐ บาท) โดยสั่งและใหพ้ ยานลงช่ือรับเงินไวท้ ่ีหวั กระดาษแบบพมิ พด์ า้ นซา้ ย
ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๑๗๑
๒.๗ ถา้ พยานพูดภาษาไทยไม่ได้ หรือเป็ นใบต้ อ้ งใชล้ ่ามแปล ตอ้ งบนั ทึกก่อนเบิกความว่า
“พยานเป็ นชาว . . . . เบิกความเป็ นภาษาไทยไม่ได้ต้องใช้ล่าม โดยโจทก์หรือจาเลยหามาเอง
(หรือใชล้ ่ามศาล) นาย . . . . เป็ นล่าม ได้สาบานตัวแล้ว” หรือ “พยานไม่เข้าใจภาษาไทย เบิกความ
ผ่านนาย ก. ล่ามท่ีสาบานตนแลว้ ” (เม่ือพยานเบิกความเสร็จอยา่ ลืมใหล้ ่ามลงช่ือทา้ ยคาเบิกความ)
๒.๘ ช่ือ นามสกุล สถานท่ีหรือช่ือสิ่งที่เก่ียวขอ้ งกับคดี ควรเขียนให้ชัดเจน อ่านง่าย
เพ่ือความสะดวกในการตรวจสานวนของผูอ้ ่ืน เช่น มีการโยกยา้ ยตอ้ งเปลี่ยนเจา้ ของสานวน
หรือในกรณีท่ีมีการอุทธรณ์ฎีกา เป็นตน้
๒.๙ ถา้ พยานขอแก้คาเบิกความเดิมไม่ควรขีดฆ่าคาเบิกความเดิม ให้บนั ทึกต่อไปว่า
“พยานขอ เบิกความใหม่ว่า . . . .” หรือ“พยานขอแก้คาเบิกความว่า . . . . . เพราะไม่เข้าใจ
คาถาม” เป็นตน้
๒.๑๐ การขีดฆ่าคาเบิกความไม่ควรขีดฆ่าจนไม่สามารถอ่านขอ้ ความเดิมไดเ้ พราะจะเป็ นเหตุ
ใหเ้ กิดความสงสยั และสกปรก ควรขีดฆ่าคร้ังเดียวแลว้ ลงช่ือผพู้ ิพากษากากบั ไว้ (มาตรา ๔๖)
ข้อสังเกต
๑. การบนั ทึกคาพยานหรือรายงานกระบวนพิจารณาด้วยเทปบนั ทึกเสียงมีผล
เหมือนกับการบันทึกโดยวิธีเขียน ดังน้ัน เมื่อถอดเทปและพิมพ์เป็ นตวั พิมพ์เรียบร้อยแล้ว
ศาลตอ้ งอ่านให้คู่ความและบุคคลที่เกี่ยวขอ้ งฟังเสมอ แลว้ คู่ความและบุคคลที่เก่ียวขอ้ งตอ้ ง
ลงช่ือไวต้ ามมาตรา ๔๙
๒. หากมีการแก้ไข ตกเติม บันทึกที่พิมพ์ไว้แล้ว ตามข้อ ๑. ห้ามใช้วิธีขูดลบ
แต่ให้ ขีดฆ่าแลว้ เขียนใหม่และผพู้ ิพากษาตอ้ งลงชื่อกากบั ไวท้ ่ีริมกระดาษ ตามมาตรา ๔๖ วรรคสอง
๓. คาถามท่ีไม่เก่ียวกับประเด็นแห่งคดีก็ดี หรื อคาถามที่อาจทาให้พยาน
หรือคู่ความอีกฝ่ ายหน่ึงหรือบุคคลภายนอกตอ้ งรับโทษทางอาญากด็ ี หรือคาถามที่หม่ินประมาท
พยาน ศาลมีอานาจที่จะไม่ให้ถาม (มาตรา ๑๑๘ วรรคสาม ) ถา้ คู่ความท่ีเกี่ยวขอ้ งคดั คา้ น
ก่อนท่ีจะดาเนินคดีต่อไป ให้จดคาถามและขอ้ คดั คา้ นไวใ้ นรายงานกระบวนพิจารณา (ฎีกาที่
๘๘๔/๒๕๑๘, ๗๐๘๓/๒๕๒๗)
๔. ตามแบบพิมพ์บนั ทึกคาพยานบนั ทึกว่าพยานไดส้ าบานตวั แล้ว จาเลยมิได้
โต้แยง้ คัดค้านในขณะท่ีพยานเบิกความว่าพยานไม่ได้สาบานตวั เพิ่งยกข้ึนอ้างในช้ันฎีกา
กรณีจึงตอ้ งฟังวา่ พยานไดส้ าบานตวั ก่อนเขา้ เบิกความแลว้ (ฎีกาที่ ๑๗๓๖/๒๕๒๗)
๕. จดั ใหค้ ู่ความและพยานลงลายมือชื่อในคาเบิกความทุกแผน่
ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๑๗๒
๖. กรณีที่คู่ความฝ่ ายใดขออนุญาตศาลถาม หากศาลพิจารณาอนุญาตตอ้ งให้
คู่ความฝ่ ายอื่นไดถ้ ามคา้ นท่ีเกี่ยวกบั คาถามน้ันดว้ ย หากไม่ติดใจถามคา้ นก็ตอ้ งบนั ทึกไวเ้ ป็ น
หลกั ฐานวา่ ไมถ่ ามเพื่อเป็นหลกั ฐานวา่ ศาลไดใ้ หโ้ อกาสถามคา้ นแลว้
๗. กรณีตอ้ งใชล้ า่ มแปล ทางปฏิบตั ิคู่ความจะเป็ นผจู้ ดั หาลา่ มมาเองแตค่ ูค่ วามอาจ
ขอให้ศาลจดั หาล่ามให้ได้ และศาลตอ้ งส่ังให้คู่ความน้ันจ่ายค่าป่ วยการและค่าพาหนะเดินทาง
ของล่ามท่ีศาลจดั หาให้ตามกฎกระทรวง ฉบบั ที่ ๘ (พ.ศ. ๒๕๐๒) ออกตามความใน พ.ร.บ.
ใหใ้ ชป้ ระมวลกฎหมายวธิ ีพิจารณาความแพง่ พ.ศ. ๒๔๗๗
๓. การเสนอบันทึกถ้อยคาแทนการซักถามพยาน
เมื่อคู่ความฝ่ ายใดฝ่ ายหน่ึงมีคาร้องและคู่ความอีกฝ่ ายไม่คดั คา้ น หากศาลเห็นสมควร
ก็อาจส่ังอนุญาตใหค้ ู่ความฝ่ ายน้นั เสนอบนั ทึกถอ้ ยคายนื ยนั ขอ้ เท็จจริงหรือความเห็นของพยาน
ต่อศาลแทนการซกั ถามพยานต่อหนา้ ศาลได้ ส่วนใหญ่จะใชว้ ิธีการน้ีสาหรับการสืบพยานที่ตอ้ ง
เบิกความในรายละเอียดหรือเบิกความตามเอกสาร เช่น กระบวนการทางเทคนิค การคานวณ
ที่มีผลลพั ธ์เป็ นตวั เลข ทฤษฎีหรือหลกั การทางวิชาการ ข้นั ตอนการปฏิบตั ิทางวิชาชีพ การทา
บนั ทึกถอ้ ยคาทาใหล้ ดระยะเวลาในการพิจารณาคดีไปไดม้ าก คู่ความสามารถเสนอขอ้ เท็จจริง
ต่อศาลไดอ้ ย่างครบถว้ นชัดเจน เป็ นประโยชน์ต่อการพิจารณาพิพากษาคดี อีกท้งั เป็ นการ
ประหยดั เวลาและค่าใชจ้ ่ายในการดาเนินกระบวนพจิ ารณาของทกุ ฝ่าย
ท้งั น้ี ศาลควรมีดุลพินิจท่ีจะไม่อนุญาตใหใ้ ชว้ ิธีการสืบพยานลกั ษณะน้ี หากเห็นว่าจะทา
ให้เกิดความไม่เป็ นธรรม เช่น กรณีท่ีศาลตอ้ งช่ังน้าหนักคาเบิกความของพยานหรือพยานคู่
เพ่ือพิสูจน์การรู้เห็นเหตุการณ์ที่เป็ นประเด็นสาคญั แห่งคดี กรณีท่ีพยานเป็ นประจกั ษ์พยาน
ที่จะยืนยนั ข้อเท็จจริงสาคัญในคดี หรือเมื่อศาลเห็นว่าจะมีการได้เปรี ยบหรือเสียเปรี ยบ
ในทางคดี
๓.๑ ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๑๒๐/๑ ผูข้ อตอ้ งยื่นคาร้องขอเสนอบนั ทึกถอ้ ยคาแทนการ
ซักถามพยานพร้อมเหตุผลต่อศาลก่อนวนั ช้ีสองสถานหรือก่อนวนั สืบพยานในกรณีที่ไม่มีการ
ช้ีสองสถาน
๓.๑.๑ กรณีผูข้ อยื่นคาร้องขอเสนอบนั ทึกถ้อยคาแทนการซักถามพยานภายใน
กาหนดเวลาดังกล่าว เมื่อศาลพิจารณาเหตุผลตามคาร้องแล้วเห็นควรอนุญาต ต้องกาหนด
ระยะเวลาใหผ้ ขู้ อยน่ื บนั ทึกถอ้ ยคาต่อศาล และส่งสาเนาใหอ้ ีกฝ่ ายหน่ึงทราบลว่ งหนา้ ไม่นอ้ ยกว่า
๗ วนั ก่อนสืบพยานคนน้นั โดยส่งั ในคาร้องวา่