The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

1 คู่มือปฏิบัติราชการของตุลาการ 2562 ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง เล่มที่ 1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by aram.du, 2021-10-11 00:13:32

1 คู่มือปฏิบัติราชการของตุลาการ 2562 ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง เล่มที่ 1

1 คู่มือปฏิบัติราชการของตุลาการ 2562 ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง เล่มที่ 1

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๒๗๓

๓.๑๐ คาพพิ ากษาด้วยวาจาคดมี โนสาเร่ หรือคดีไม่มขี ้อยุ่งยาก สาหรับศาลใช้
(๓๑)
บนั ทึกคาพิพากษาดว้ ยวาจา คดีหมายเลขดาที่ ......./........
คดีหมายเลขแดงที่ ..... /........

ในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย์
ศาล . . . . . . . . . . . . . . .

วนั ที่ . . . เดือน . . . . . . . . . . พุทธศกั ราช . . . . . .
ความแพง่

……………………………………………………………………………….โจทก์
ระหวา่ ง

………………………………………………………………………………จาเลย
เรื่อง . . . . . . . . . . . . . . . .

พเิ คราะหแ์ ลว้ เห็นวา่ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
............................................................................
............................................................................

พิพากษาวา่ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
............................................................................
............................................................................

................
................

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๒๗๔

๓.๑๑.๑ คาพิพากษากรณีจาเลยขาดนัดย่ืนคาให้การและไม่มีการสืบพยานตามมาตรา ๑๙๘ ทวิ

วรรคหน่ึง

(๓๑)

คาพิพากษา สาหรับศาลใช้

คดีหมายเลขดาท่ี ....../..........
คดีหมายเลขแดงที่ ..... /........

ในพระปรมาภไิ ธยพระมหากษัตริย์
ศาล . . . . . . . . . . . . . .

วนั ที่ . . . เดือน. . . . . . . . . .พทุ ธศกั ราช . . . . . . .
ความแพง่

…………………………………………………………………………….โจทก์
ระหวา่ ง

……………………………………………………………………………จาเลย
เร่ือง . . . . . . . . . . . . . . . .

โจทกฟ์ ้องวา่ หรือโจทกฟ์ ้องขอใหบ้ งั คบั จาเลย . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

จาเลยขาดนดั ยนื่ คาใหก้ าร และโจทกไ์ ดม้ ีคาขอตอ่ ศาลเพอื่ ใหศ้ าลมีคาพิพากษาหรือ คาส่งั
ช้ีขาดให้ตนเป็ นฝ่ ายชนะคดีโดยขาดนัดตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา
๑๙๘ วรรคหน่ึง แลว้

พิเคราะห์แลว้ เห็นวา่ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
คาฟ้องของโจทก์จึงมีมูลและไม่ขดั ต่อกฎหมาย ศาลจึงพิพากษาให้โจทก์เป็ นฝ่ ายชนะคดี
โดยจาเลยขาดนัดยื่นคาให้การตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา๑๙๘ทวิ วรรคหน่ึง
(ขอ้ ความ ๓ บรรทดั น้ีจะมีหรือไมม่ ีก็ได)้

พพิ ากษา . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
............................................................................

...................
...................

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๒๗๕

๓.๑๑.๒ คาพิพากษากรณีจาเลยขาดนัดยื่นคาให้การและมีการสืบพยานตามมาตรา ๑๙๘ ทวิ

วรรคสอง สาหรับศาลใช้
(๓๑)

คาพพิ ากษา คดีหมายเลขดาที่ ......././..........

คดีหมายเลขแดงที่ .......//..........

ในพระปรมาภิไธยพระมหากษตั ริย์
ศาล . . . . . . . . . . . . . . .

วนั ท่ี . . . เดือน. . . . . . . . . .พทุ ธศกั ราช . . . . . .
ความแพง่

………………………………………………………………………………โจทก์
ระหวา่ ง

………………………………………………………………………………จาเลย
เรื่อง . . . . . . . . . . . . . . . .

โจทกฟ์ ้องวา่ หรือโจทกฟ์ ้องขอใหบ้ งั คบั จาเลย . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

จาเลยขาดนดั ยน่ื คาใหก้ าร แต่ศาลเห็นสมควรสืบพยานตามขอ้ อา้ งของโจทกเ์ พอื่ ประโยชน์
ในการพิพากษาหรือมีคาส่ังช้ีขาดคดี จึงมีคาสง่ั ใหส้ ืบพยานเก่ียวกบั ขอ้ อา้ งของโจทกไ์ ปฝ่ ายเดียว
ตามประมวลกฎหมายวธิ ีพจิ ารณาความแพง่ มาตรา ๑๙๘ ทวิ วรรคสอง

ทางพิจารณาโจทกน์ าสืบวา่ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
...........................................................................

พิเคราะห์คาฟ้องและพยานหลกั ฐานที่โจทก์นาสืบและที่ศาลเรียกมา (ถา้ มี) แลว้ เห็นว่า
............................................................................
............................................................................

พพิ ากษา . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
............................................................................

................
................

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๒๗๖

๓.๑๑.๓ คาพิพากษากรณีจาเลยขาดนัดย่ืนคาให้การและศาลมีคาส่ังให้สืบพยานหลักฐานโจทก์
ไปฝ่ ายเดียวเพราะเป็ นคดีเก่ียวด้วยสิทธิแห่งสภาพบุคคล สิทธิในครอบครัว หรือคดีพิพาท
เกย่ี วด้วยกรรมสิทธ์ิในอสังหาริมทรัพย์ตามมาตรา ๑๙๘ ทวิ วรรคสอง

(๓๑) สาหรับศาลใช้
คาพพิ ากษา คดีหมายเลขดาที่ ......./.........
คดีหมายเลขแดงที่ ......./.........

ในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย์
ศาล . . . . . . . . . . . .

วนั ท่ี . . . เดือน. . . . . . . . . .พุทธศกั ราช . . . . . .
ความแพ่ง

………………………………………………………………………………โจทก์
ระหวา่ ง

.......................................................................................................................จาเลย
เร่ือง . . . . . . . . . . . . . . . . .

โจทกฟ์ ้องวา่ หรือโจทกฟ์ ้องขอใหบ้ งั คบั จาเลย . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

จาเลยขาดนัดย่ืนคาให้การ แต่เป็ นคดีเป็ นคดีเกี่ยวดว้ ยสิทธิแห่งสภาพบุคคล (หรือสิทธิ
ในครอบครัว หรือคดีพิพาทเกี่ยวดว้ ยกรรมสิทธ์ิในอสังหาริมทรัพย)์ จึงให้สืบพยานหลกั ฐาน
โจทกไ์ ปฝ่ายเดียว ตามประมวลกฎหมายวธิ ีพิจารณาความแพ่ง มาตรา ๑๙๘ ทวิ วรรคสอง

พเิ คราะหแ์ ลว้ เห็นวา่ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
.............................................................................
...........................................................................

พพิ ากษา . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
............................................................................

.................
................

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๒๗๗

๓.๑๑.๔ คาพิพากษากรณีจาเลยขาดนัดย่ืนคาให้การและศาลมีคาสั่งให้โจทก์ ส่งพยานเอกสาร

แทนการสืบพยานตามมาตรา ๑๙๘ ทวิ วรรคสาม (๑)

(๓๑) สาหรับศาลใช้
คาพิพากษา

คดีหมายเลขดาท่ี ....../........

คดีหมายเลขแดงที่ ....../........

ในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย์

ศาล . . . . . . . . . . . . . . .

วนั ท่ี . . . เดือน. . . . . . . . . .พุทธศกั ราช . . . . . .

ความแพ่ง

…………………………………………………………………………….โจทก์

ระหวา่ ง

……………………………………………………………………………จาเลย

เรื่อง . . . . . . . . . . . . . . . .

โจทกฟ์ ้องวา่ หรือโจทกฟ์ ้องขอใหบ้ งั คบั จาเลย . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

จาเลยขาดนัดย่ืนคาให้การ แต่เป็ นคดีที่โจทก์มีคาขอบังคบั ให้จาเลยชาระหน้ีเป็ นเงิน
จานวนแน่นอน จึงให้โจทก์ส่งพยานเอกสารตามท่ีศาลเห็นว่าจาเป็ นแทนการสืบพยาน ตามประมวล
กฎหมายวธิ ีพิจารณาความแพง่ มาตรา ๑๙๘ ทวิ วรรคสาม (๑)

พิเคราะห์คาฟ้องและพยานเอกสารท่ีโจทก์ส่งศาลแทนการสืบพยานแลว้ เห็นวา่ . . . . . . . .
............................................................................

พิพากษา . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
............................................................................

....................
....................

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๒๗๘

๓.๑๑.๕ คาพิพากษากรณีจาเลยขาดนัดย่ืนคาให้การและศาลมีคาสั่งให้สืบพยานหลักฐานโจทก์
ไปฝ่ ายเดียวเก่ียวกับการกาหนดจานวนเงินตามคาขอบังคับของโจทก์ที่ขอให้จาเลยชาระหนี้
เป็ นเงนิ อนั ไม่อาจกาหนดจานวนได้โดยแน่นอน ตามมาตรา ๑๙๘ ทวิ วรรคสาม (๒)

(๓๑) สาหรับศาลใช้
คาพพิ ากษา
คดีหมายเลขดาท่ี ......./...........
คดีหมายเลขแดงที่ ....../...........

ในพระปรมาภไิ ธยพระมหากษัตริย์
ศาล . . . . . . . . . . . . . .

วนั ท่ี . . . เดือน. . . . . . . . . .พุทธศกั ราช . . . . . .
ความแพ่ง

………………………………………………………………………………โจทก์
ระหวา่ ง

.......................................................................................................................จาเลย
เร่ือง . . . . . . . . . . . . . . . . .

โจทกฟ์ ้องวา่ หรือโจทกฟ์ ้องขอใหบ้ งั คบั จาเลย . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

จาเลยขาดนัดยื่นคาให้การ แต่เป็ นคดีที่โจทก์มีคาขอบังคบั ให้จาเลยชาระหน้ีเป็ นเงิน
อนั ไม่อาจกาหนดจานวนไดโ้ ดยแน่นอน จึงให้สืบพยานหลกั ฐานโจทก์ไปฝ่ ายเดียวเกี่ยวกบั
การกาหนดจานวนเงินตามคาขอบงั คบั ของโจทก์ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
มาตรา ๑๙๘ ทวิ วรรคสาม (๒)

พิเคราะห์คาฟ้องและพยานเอกสารที่โจทก์ส่งศาลแทนการสืบพยานแลว้ เห็นวา่ . . . . . .
............................................................................

พิพากษา . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
............................................................................

....................
....................

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๒๗๙

๓.๑๒ คาพพิ ากษากรณีโจทก์ขาดนัดพจิ ารณา สาหรับศาลใช้

(๓๑) คดีหมายเลขดาที่ ......./.........
คาพพิ ากษา คดีหมายเลขแดงที่ ......./.........

ในพระปรมาภไิ ธยพระมหากษตั ริย์
ศาล . . . . . . . . . . . . .

วนั ที่ . . . เดือน. . . . . . . . . .พทุ ธศกั ราช . . . . . .
ความแพง่

……………………………………………………………………………….โจทก์
ระหวา่ ง

.........................................................................................................................จาเลย
เร่ือง . . . . . . . . . . . . . . . . .

โจทกฟ์ ้องวา่ หรือโจทกฟ์ ้องขอใหบ้ งั คบั จาเลย . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

จาเลยใหก้ ารวา่ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

ช้นั ช้ีสองสถาน ศาลกาหนดประเด็นขอ้ พิพาทวา่ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

โจทกข์ าดนดั พิจารณา จาเลยแถลงขอใหด้ าเนินการพิจารณาตอ่ ไป

ทางพจิ ารณาจาเลยนาสืบวา่ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
................................................................. ........

พิเคราะห์พยานหลกั ฐานท่ีจาเลยนาสืบและที่ศาลเรียกมา (ถา้ มี) แลว้ เห็นวา่ . . . . . . . . . . . .
.............................................................................

พิพากษา. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
...........................................................................

..................
..................

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๒๘๐

๓.๑๓ คาพพิ ากษากรณจี าเลยขาดนัดพจิ ารณา สาหรับศาลใช้
(๓๑)
คาพิพากษา คดีหมายเลขดาท่ี ......./..........
คดีหมายเลขแดงที่ ......./..........

ในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย์
ศาล . . . . . . . . . . . . . . .

วนั ท่ี . . . เดือน. . . . . . . . . .พทุ ธศกั ราช . . . . . .
ความแพง่

………………………………………………………………………………โจทก์
ระหวา่ ง

........................................................................................................................จาเลย
เรื่อง . . . . . . . . . . . . . . . . .

โจทกฟ์ ้องวา่ หรือโจทกฟ์ ้องขอให้บงั คบั จาเลย . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
จาเลยใหก้ ารวา่ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

ช้นั ช้ีสองสถานศาลกาหนดประเดน็ ขอ้ พพิ าทวา่ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

จาเลยขาดนดั พิจารณา

ทางพจิ ารณาโจทกน์ าสืบวา่ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
...........................................................................

พิเคราะห์พยานหลกั ฐานท่ีโจทกน์ าสืบและท่ีศาลเรียกมา (ถา้ มี) แลว้ เห็นวา่ . . . . . . . . . . .
............................................................................

พพิ ากษา . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
............................................................................

................
................

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๒๘๑

๓.๑๔ คาพพิ ากษากรณีร้องขดั ทรัพย์ สาหรับศาลใช้
(๓๑)
คาพิพากษา คดีหมายเลขดาที่ ....../.......
คดีหมายเลขแดงท่ี...... /.......

ในพระปรมาภิไธยพระมหากษตั ริย์
ศาล . . . . . . . . . . . . .

วนั ท่ี . . . เดือน. . . . . . . . . .พุทธศกั ราช . . . . . . .
ความแพ่ง

……………………………………………………………………………..โจทก์
ระหวา่ ง ……………………………………………………………………………...ผรู้ ้อง

……………………………………………………………………………...จาเลย
เรื่อง ................ (ช้นั ร้องขดั ทรัพย)์

คดีสืบเนื่องมาจากโจทก์ฟ้องเรียกสินจา้ งจากจาเลย ศาลพิพากษาให้จาเลยชาระเงิน . . . . .บาท
แก่โจทกพ์ ร้อมดว้ ยดอกเบ้ีย กบั ให้จาเลยใชค้ ่าฤชาธรรมเนียมแทนโจทก์ดว้ ย แต่จาเลยไม่ชาระ
โจทกจ์ ึงขอหมายบงั คบั คดีและนาเจา้ พนกั งานบงั คบั คดียดึ ที่ดิน ๑ แปลง โฉนดเลขที่ … ซ่ึงอยทู่ ่ี
ตาบล . . . . . . อาเภอ . . . . . . จงั หวดั . . . . . . ตีราคา . . . . . . บาท โดยอา้ งว่าเป็ นทรัพยข์ องจาเลย
เพ่ือบงั คบั ชาระหน้ีตามคาพพิ ากษา

ผูร้ ้องย่ืนคาร้องขอว่า ท่ีพิพาทท่ีโจทก์นายึดน้ันเป็ นของผูร้ ้องได้รับมรดกมาจากบิดา
มิใช่ของจาเลย โจทกไ์ ม่มีสิทธินายดึ ขอใหศ้ าลสง่ั ปลอ่ ยทรัพยท์ ่ียดึ คืนแก่ผรู้ ้อง

โจทก์ให้การว่า ที่พิพาทที่โจทก์นายึดเป็ นของจาเลย ซ่ึงซ้ือมาจากการขายทอดตลาด
ขอใหย้ กคาร้อง

ทางพิจารณาผรู้ ้องนาสืบวา่ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

โจทกน์ าสืบวา่ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

พิเคราะห์แลว้ ประเดน็ มีวา่ ท่ีพิพาทเป็นของจาเลยหรือของผูร้ ้อง เห็นวา่ . . . . . . . . . . . . . . .
พยานผู้ร้อง มีน้าหนักดีกว่าพยานโจทก์ ฟังได้ว่าที่พิพาทเป็ นของผู้ร้อง มิใช่ของจาเลย
โจทกไ์ ม่มีสิทธินายดึ

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๒๘๒

พิพากษาให้ปล่อยที่พิพาทคืนแก่ผูร้ ้อง กับให้โจทก์ใช้ค่าฤชาธรรมเนียมแทนผูร้ ้อง
โดยกาหนดค่าทนายความ . . . . . . . บาท และค่าใชจ้ ่ายในการดาเนินคดี.........................บาท
(หรือคา่ ใชจ้ ่ายในการดาเนินคดีใหเ้ ป็นพบั )...........................

..................
..................

ข้อสังเกต
๑. ถา้ ไม่เช่ือวา่ ท่ีพพิ าทเป็นของผรู้ ้อง ก็พพิ ากษาใหย้ กคาร้อง
๒. มีบางท่านเห็นว่าถา้ ศาลปล่อยทรัพยท์ ี่ยึดให้ช้ีขาดคดีในรูปคาสั่ง ถา้ ยกคาร้อง
จึงทาเป็ นคาพิพากษา (แต่มาตรา ๒๘๘ ให้ศาลพิจารณาและช้ีขาดตดั สินคดีเหมือนอยา่ งคดีธรรมดา
จึงน่าจะตอ้ งทาเป็นคาพพิ ากษาทกุ กรณี)

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๒๘๓

๓.๑๕.๑ คาส่ังคดีฟอกเงินกรณไี ม่มผี ู้คัดค้าน สาหรับศาลใช้

(๓๑) คดีหมายเลขดาท่ี ....../...........
คาสง่ั คดีหมายเลขแดงท่ี ....../...........

ในพระปรมาภิไธยพระมหากษตั ริย์
ศาลแพง่

วนั ที่ . . . เดือน. . . . . . . . . .พทุ ธศกั ราช . . . . . . .
ความแพง่

ระหวา่ ง …………………………………………………………………………..ผรู้ ้อง

เร่ือง .......................................................................................................................................

ผรู้ ้องยน่ื คาร้องขอวา่ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

ศาลนดั ไต่สวนและประกาศโฆษณาแลว้ ไมม่ ีผใู้ ดคดั คา้ น

ทางไตส่ วนไดค้ วามจากพยานหลกั ฐานของผรู้ ้องวา่ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
............................................................................

จึงมีคาสง่ั . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
............................................................................

.....................
.....................

ข้อสังเกต

แมพ้ ระราชบญั ญตั ิป้องกนั และปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๕๙
วรรคสอง จะบญั ญตั ิใหพ้ นกั งานอยั การไดร้ ับการยกเวน้ คา่ ฤชาธรรมเนียมท้งั ปวงก็ตาม แต่คดีน้ี
ถือว่าเป็ นคดีแพ่ง จึงเป็ นหนา้ ท่ีของศาลที่จะตอ้ งส่ังในเรื่องค่าฤชาธรรมเนียมไวใ้ นคาพิพากษา
หรือคาส่ังช้ีขาดคดีก็ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๑๖๗ วรรคหน่ึง แมจ้ ะไม่มีคู่ความฝ่ ายใดขอ (ฎีกาท่ี
๖๖๐๒/๒๕๕๐)

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๒๘๔

๓.๑๕.๒ คาส่ังคดีฟอกเงนิ กรณมี ผี ู้คดั ค้าน

(๓๑) สาหรับศาลใช้
คาสง่ั คดีหมายเลขดาที่ ......./...........

คดีหมายเลขแดงที่ ....../...........

ในพระปรมาภไิ ธยพระมหากษตั ริย์ ผรู้ ้อง
ศาลแพง่

วนั ท่ี . . . เดือน. . . . . . . . . .พทุ ธศกั ราช . . . . . .
ความแพ่ง

พนกั งานอยั การ สานกั งานอยั การสูงสุด

ระหวา่ ง

................................................................................................................ผคู้ ดั คา้ น

เร่ือง พระราชบญั ญตั ิป้องกนั และปราบปรามการฟอกเงิน

ผรู้ ้องยนื่ คาร้องขอวา่ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

ศาลนดั ไต่สวนและประกาศโฆษณาแลว้

ผคู้ ดั คา้ นยนื่ คาคดั คา้ นวา่ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ขอใหย้ กคาร้อง

ทางไต่สวนผรู้ ้องนาสืบวา่ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
............................................................................

ผคู้ ดั คา้ นนาสืบวา่ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

พิเคราะห์แลว้ เห็นวา่ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
............................................................................

จึงมีคาสง่ั . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . คา่ ฤชาธรรมเนียมในส่วนของผคู้ ดั คา้ นใหเ้ ป็นพบั

..............
..............

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๒๘๕

๓.๑๖ ความเห็นแย้ง

ความเห็นแยง้ ในคดีหมายเลขดาที่ . . . . . . . . . . . . . . . . .หมายเลขแดงท่ี . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
ขา้ พเจา้ . . . . . . . . . . ผพู้ ิพากษา . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ไดร้ ่วมนงั่ พิจารณาคดีน้ีแลว้

ในปัญหาขอ้ เทจ็ จริง (ขอ้ กฎหมาย) ของคดีน้ีที่วา่ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
............................................................................
ขา้ พเจา้ มีความเห็นดงั น้ี. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
.............................................................................
...........................................................................

เน่ืองจากเป็ นความเห็นฝ่ ายขา้ งนอ้ ย จึงขอถือเป็ นความเห็นแยง้ ของขา้ พเจา้ โดยขา้ พเจา้
มีความเห็นวา่ สมควรพิพากษาให.้ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
............................................................................

(. . . . . . . . . . . . . . . . . . . .)
ผพู้ พิ ากษา. . . . . . . . . . .

ข้อสังเกต
๑. ผพู้ ิพากษาท่ีทาความเห็นแยง้ ตอ้ งลงช่ือในคาพพิ ากษา
๒. ในคาพิพากษาตอ้ งมีขอ้ ความว่า องค์คณะเสียงขา้ งน้อยไดท้ าความเห็นแยง้ ไวท้ ้าย
คาพพิ ากษาฉบบั น้ีแลว้

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๒๘๖

หมวด ๒

กระบวนพจิ ารณาคดแี พ่งแบบพเิ ศษ

ส่วนท่ี ๑

การยกเว้นค่าธรรมเนียมศาล

๑. การส่ังฟ้องและคาร้องขอยกเว้นค่าธรรมเนยี มศาล

การฟ้องคดีโดยขอยกเวน้ คา่ ธรรมเนียมศาล โจทก์จะย่ืนคาร้องขอยกเวน้ ค่าธรรมเนียมศาล
มาพร้อมคาฟ้อง

ค า ร้ อ ง ข อ ย ก เ ว้น ค่ า ธ ร ร ม เ นี ย ม ศ า ล ต้อ ง แ ส ด ง ว่ า โ จ ท ก์ ไ ม่ มี ท รั พ ย์สิ น พ อ ท่ี จ ะ เ สี ย
ค่าธรรมเนียมศาล หรือหากโจทก์ไม่ไดร้ ับยกเวน้ ค่าธรรมเนียมศาลจะได้รับความเดือดร้อน
เกินสมควรเมื่อพิจารณาถึงสถานะของโจทก์ และคดีโจทก์มีเหตุผลอนั สมควรท่ีจะฟ้องร้อง
(ไม่ถือเคร่งครัด แต่ต้องมีรายละเอียดว่าโจทก์ไม่มีทรัพยส์ ินพอท่ีจะเสียค่าธรรมเนียมศาล
หรื อหากโจทก์ไม่ได้รับยกเว้นค่าธรรมเนียมศาลจะได้รับความเดือดร้อนเกินสมควร
เมื่อพจิ ารณาถึงสถานะของโจทก)์

โจทก์อาจเสนอพยานหลกั ฐานไปพร้อมกับคาร้อง และหากศาลเห็นสมควรไต่สวน
พยานหลกั ฐานเพิ่มเติมก็ให้ดาเนินการไต่สวนโดยเร็วเท่าที่จาเป็ น โดยศาลจะมีคาสั่งให้งดการ
ดาเนินกระบวนพิจารณาคดีน้ันไวท้ ้งั หมดหรือแต่บางส่วนเป็ นการชว่ั คราวจนกว่าการพิจารณา
ส่ังคาร้องขอยกเว้นค่าธรรมเนียมศาลจะถึงท่ีสุดก็ได้ตามท่ีเห็นสมควรตามมาตรา ๑๕๖
วรรคสอง

เม่ือศาลพิจารณาคาร้องขอยกเวน้ ค่าธรรมเนียมศาลเสร็จแล้ว ให้ศาลมีคาสั่งโดยเร็ว
โดยจะมีคาสง่ั อนุญาตท้งั หมดหรือเฉพาะบางส่วนหรือยกคาร้องกไ็ ด้ ตามมาตรา ๑๕๖/๑ วรรคหน่ึง

๑.๑ ส่งั คาร้องขอยกเวน้ ค่าธรรมเนียมศาล ในกรณีที่ไม่ตอ้ งไต่สวน
๑.๑.๑ เมื่อตรวจคาฟ้องแล้วเห็นว่า คดีไม่มีเหตุผลอนั สมควรที่จะฟ้องร้อง สั่งคาร้อง

ขอยกเวน้ ค่าธรรมเนียมศาลวา่ “คดีไม่มีเหตุผลอันสมควรท่ีจะฟ้องร้อง จึงยกคาร้อง หากโจทก์
ประสงค์จะดาเนินคดีต่อไป ให้โจทก์นาค่าธรรมเนยี มมาเสียภายใน . . . วนั ”

( คาว่า มีเหตุผลอันสมควรท่ีจะฟ้องร้อง พอเทียบได้กับคาว่า คดีมีมูล
ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๑๕๖ เดิม ฎีกาท่ี ๗๐๖/๒๕๒๒ ผูร้ ้องในคดีร้องขดั ทรัพยม์ ีฐานะเป็ นโจทก์

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๒๘๗

เมื่อตามคาร้องขอให้ปล่อยทรัพยเ์ พียงกล่าวอา้ งวา่ มีสิทธิตามสัญญาจะซ้ือจะขายมิไดก้ ลา่ วอา้ งว่า
ตนเป็ นเจ้าของทรัพยท์ ี่ยึดคดีจึงไม่มีมูลท่ีจะร้องขอให้ปล่อยทรัพย์ ไม่จาเป็ นจะตอ้ งไต่สวน
คาร้องขออนาถาตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๑๕๕)

โดยมีคาสั่งในคาร้องขอยกเวน้ ค่าธรรมเนียมศาล ส่วนคาฟ้องโจทก์ยงั มิได้
เสียค่าธรรมเนียม จึงส่ังไม่รับฟ้องหรือพิพากษายกฟ้องเสียทนั ทีไม่ได้ (ฎีกาที่ ๒๕๖/ ๒๕๐๗
โจทก์ฟ้อง พร้อมกบั ย่ืนคาขอฟ้องคดีอย่างคนอนาถา ถา้ ศาลช้นั ตน้ เห็นว่าฟ้องโจทก์ตอ้ งห้าม
ก็สั่งไดแ้ ต่ยกคาขอฟ้องคดีอย่างคนอนาถาอย่างเดียว ไม่ควรก้าวล่วงไปส่ังไม่รับคาฟ้องของ
โจทก)์ และจะสั่งจาหน่ายคดีโดยถือวา่ ทิง้ ฟ้องกไ็ ม่ถูกตอ้ ง (ฎีกาที่ ๘๖๖/๒๕๑๘)

๑.๑.๒ หากโจทกย์ นื่ คาร้องขอยกเวน้ ค่าธรรมเนียมศาลโดยไม่ยื่นคาฟ้องเขา้ มาดว้ ย
อนั เป็ นการไม่ปฏิบตั ิตามมาตรา ๑๕๖ วรรคหน่ึง ศาลยกคาร้องไดโ้ ดยไม่ตอ้ งไต่สวน (ฎีกาที่
๑๘๗๗/๒๕๕๐)

๑.๑.๓ หากศาลพิจารณาคาร้องและพยานหลกั ฐานท่ียื่นมาพร้อมคาร้องประกอบ
คาฟ้องแลว้ เห็นว่า โจทก์ไม่มีทรัพยส์ ินพอที่จะเสียค่าธรรมเนียมศาลหรือหากโจทก์ไม่ไดร้ ับ
ยกเวน้ ค่าธรรมเนียมศาลจะไดร้ ับความเดือดร้อนเกินสมควรเมื่อพิจารณาถึงสถานะของโจทก์
และคดีโจทก์มีเหตุผลอันสมควรท่ีจะฟ้องร้อง ก็สามารถสั่งอนุญาตได้โดยไม่ต้องไต่สวน
และไมจ่ าตอ้ งส่งสาเนาใหค้ ู่ความอีกฝ่ ายหน่ึง

ตวั อย่างคาส่ัง
“พิเคราะห์ คาร้ องและพยานหลักฐานท่ีโจทก์ยื่นมาพร้ อมคาร้ องประกอบ
คาฟ้องแล้ว เห็นว่า คดีของโจทก์มีเหตุผลอันสมควรที่จะฟ้องร้ อง และโจทก์เป็ นคนไม่มี
ทรัพย์สินพอที่จะเสียค่าธรรมเนียมศาลจริง (หรือ /และหากโจทก์ไม่ไดร้ ับยกเวน้ ค่าธรรมเนียม
ศาลจะไดร้ ับความเดือดร้อนเกินสมควรเม่ือพิจารณาถึงสถานะของโจทก์) จึงอนุญาตให้โจทก์
ได้รับยกเว้นไม่ต้องเสียค่าธรรมเนียมศาลในศาลช้ันต้น . . .”
ส่ังในคาฟ้องวา่ “รับฟ้อง หมายส่งสาเนาให้จาเลย ให้โจทก์วางเงินค่านาส่ง
ตามข้อบังคับว่าด้วยการส่งคาคู่ความและเอกสารทางคดีอย่างช้าภายในวันทาการถัดไป มิฉะน้ัน
ถือว่าโจทก์ทิง้ ฟ้อง นัด . . .วันที่ . . . เวลา . . .น.” หรือส่ังว่า “รับฟ้อง หมายส่งสาเนาให้จาเลย
ให้โจทก์จัดการนาส่งภายใน ๗ วัน นับแต่วันนี้ หากส่งไม่ได้ให้แถลงภายใน ๑๕ วัน นับแต่
วนั ส่งไม่ได้ หากไม่แถลงถือว่าโจทก์ทิง้ ฟ้อง . . .”
(คาว่า “ไม่มีทรัพย์สินพอท่ีจะเสียค่าธรรมเนียมศาล” มีความหมายกวา้ งกวา่
คาวา่ “ยากจน” ตามมาตรา ๑๕๕ เดิม (ฎีกาท่ี ๑๙๕/๒๕๕๐) กรณีที่ทรัพยส์ ินของผูร้ ้องท้งั หมด

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๒๘๘

ถูกยึดไวต้ ามกฎหมาย ไม่สามารถนามาขายหรือเป็ นหลกั ประกนั เพ่ือหาเงินค่าธรรมเนียมศาล
ถือไดว้ า่ เป็นคนยากจน)

๑.๒ สง่ั คาร้องขอยกเวน้ ค่าธรรมเนียมศาล ในกรณีท่ีศาลเห็นสมควรไตส่ วน
๑.๒.๑ สง่ั คาร้องขอยกเวน้ คา่ ธรรมเนียมศาลวา่ “รับคาร้องนดั ไต่สวนวนั ที่ ...เวลา...น.”
๑.๒.๒ ส่ังในคาฟ้องว่า “รอไว้สั่งเม่ือไต่สวนคาร้ องขอยกเว้นค่าธรรมเนียมศาล

เสร็จแล้ว”
เม่ือโจทกย์ น่ื คาร้องขอยกเวน้ ค่าธรรมเนียมศาลมาพร้อมกบั คาฟ้อง ศาลตอ้ ง

พิจารณาคาร้องดังกล่าวก่อนโดยยงั ไม่สั่งรับฟ้อง ระหว่างการพิจารณาคาร้องโจทก์จาเลยจะตกลงกนั
และศาลจะพิพากษาตามยอมยงั ไม่ได้ เพราะการประนีประนอมยอมความกนั ในศาลและศาล
จะพพิ ากษาตามยอมได้ ศาลตอ้ งมีคาสง่ั รับฟ้องคดีน้นั แลว้ (ฎีกาท่ี ๒๙๙๔/๒๕๔๓)

ข้อสังเกต
๑. คาร้องขอยกเวน้ ค่าธรรมเนียมศาลไม่ตอ้ งเสียค่าธรรมเนียมตามมาตรา ๑๔๙
วรรคทา้ ย (ฎีกาที่ ๖๘๙/๒๕๑๑, ๕๕๙๑/๒๕๔๘)
๒. ผูร้ ้องขอยกเวน้ ค่าธรรมเนียมศาลไม่ต้องสาบานตัวให้คาช้ีแจงว่าตนไม่มี
ทรัพยส์ ินพอจะเสียค่าธรรมเนียมศาลดงั เช่นบทบญั ญตั ิเดิมอีกต่อไป
๓. ผู้แทนโดยชอบธรรมย่ืนคาร้องขอยกเว้นค่าธรรมเนียมศาลแทนผู้เยาว์
ตอ้ งเขียนในคาร้องว่าผูเ้ ยาว์เป็ นผูไ้ ม่มีทรัพยส์ ินพอที่จะเสียค่าธรรมเนียมศาลหรือเป็ นผูท้ ่ีจะ
ไดร้ ับความเดือดร้อนเกินสมควรหากไม่ไดร้ ับยกเวน้ ค่าธรรมเนียมศาลเมื่อพิจารณาถึงสถานะ
ของผเู้ ยาว์
๔. นิติบุคคลก็อาจขอยกเวน้ ค่าธรรมเนียมศาลไดถ้ า้ เขา้ หลกั เกณฑ์
๕. ในกรณีพนักงานอยั การขอดาเนินคดีตามท่ีกฎหมายระบุไวใ้ ห้เป็ นอานาจ
ของพนักงานอยั การ เช่น การฟ้องคดีอุทลุม พนักงานอยั การจะขอดาเนินคดีโดยขอให้ไดร้ ับ
ยกเวน้ คา่ ธรรมเนียมศาลไม่ได้
๖. ในการสง่ั คาร้องขอยกเวน้ ค่าธรรมเนียมศาล ไมต่ อ้ งส่งสาเนาคาร้องและสาเนา
คาฟ้องให้อีกฝ่ ายหน่ึงก่อน เน่ืองจากบทบัญญัติที่แก้ไขใหม่ไม่ได้บัญญัติให้จัดส่งสาเนา
ให้คู่ความอีกฝ่ ายและฟังคู่ความทุกฝ่ ายดงั เช่นกฎหมายเดิม แต่ตามกฎหมายท่ีแก้ไขใหม่น้ัน
บัญญัติให้ผู้ร้องอาจเสนอพยานหลักฐานไปพร้ อมคาร้องและหากศาลเห็นสมควรไต่สวน
พยานหลกั ฐานเพ่มิ เติมกใ็ หไ้ ตส่ วนโดยเร็วเท่าที่จาเป็นและใหม้ ีคาสัง่ โดยเร็ว

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๒๘๙

๗. ในทางปฏิบตั ิของศาลแพ่ง ไดแ้ จง้ แก่คู่ความท่ีประสงคจ์ ะยนื่ คาร้องขอยกเวน้
ค่าธรรมเนียมศาล ให้เตรียมพยานหลกั ฐานมาให้พร้อมในวนั ท่ียื่นคาฟ้อง หากศาลเห็นสมควร
ใหไ้ ต่สวนพยานหลกั ฐานเพม่ิ เติมกส็ ามารถเรียกไต่สวนและมีคาสัง่ ไดท้ นั ที

๒. การส่ังฟ้องและคาร้องขอยกเว้นค่าธรรมเนียมศาล กรณีที่โจทก์ย่ืนคาร้องขอใช้
วิธีการคุ้มครองชั่วคราวก่อนพิพากษา หรือและยื่นคาร้ องขอไต่สวนฉุกเฉินด้วย
แยกพจิ ารณาเป็ น ๒ กรณี

๒.๑ กรณีย่นื คาร้องขอคุม้ ครองชว่ั คราวก่อนพิพากษาตามมาตรา ๒๕๔, ๒๖๔ ให้มีคาสั่ง
คาร้องขอยกเวน้ คา่ ธรรมเนียมศาลก่อน หรือหากศาลเห็นสมควรไต่สวน ก็ใหไ้ ตส่ วนและมีคาสั่ง
คาร้องขอยกเวน้ คา่ ธรรมเนียมศาลก่อน เมื่อส่งั รับฟ้องแลว้ จึงไต่สวนคาร้องขอคุม้ ครองชวั่ คราว
ก่อนพิพากษา

๒.๒ กรณียื่นคาร้องขอคุม้ ครองชวั่ คราวก่อนพิพากษา และยื่นคาร้องขอไต่สวนฉุกเฉิน
ตามมาตรา ๒๖๖ ดว้ ย ให้ไต่สวนและมีคาสั่งคาร้องฉุกเฉินขอคุม้ ครองช่วั คราวก่อนพิพากษา
เสียก่อน แลว้ จึงมีคาสั่งคาร้องขอยกเวน้ ค่าธรรมเนียมศาล หรือไต่สวน และมีคาส่ังคาร้องขอ
ยกเวน้ ค่าธรรมเนียมศาลต่อไป เพราะมาตรา ๒๖๗ กาหนดให้ศาลพิจารณาคาร้องขอไต่สวน
ฉุกเฉินเป็ นการด่วน

ข้อสังเกต
ถา้ ศาลมีคาสั่งอนุญาตตามคาขอคุม้ ครองช่ัวคราวกรณีฉุกเฉิน และกาหนดให้โจทก์
นาเงินวางเป็นประกนั สาหรับคา่ สินไหมทดแทนซ่ึงจาเลยอาจไดร้ ับตามมาตรา ๒๕๗, ๒๖๓ น้นั
โจทก์จะต้องนาเงินส่วนน้ีมาวางตามคาสั่งศาล โจทก์จะขอดาเนินคดีโดยขอยกเวน้ ไม่ตอ้ ง
ชาระเงินในส่วนน้ีไม่ได้ (เทียบฎีกาท่ี ๓๑๕๖/๒๕๒๗ การดาเนินคดีคดีอย่างคนอนาถามีได้
เฉพาะเก่ียวกบั เร่ืองค่าธรรมเนียมศาลเท่าน้ัน แต่กรณีท่ีจะตอ้ งนาหลกั ประกนั มาประกันการ
ชาระหน้ีเพ่ือขอทุเลาการบงั คบั ตามคาพิพากษามิใช่เร่ืองค่าธรรมเนียมศาล จึงจะขอดาเนินคดี
อยา่ งคนอนาถาหาไดไ้ ม่)

๓. การสั่งคาคู่ความท่ีไม่ใช่คาฟ้องและคาร้องขอยกเว้นค่าธรรมเนยี มศาล

ในกรณีที่เป็ นฝ่ ายจาเลยใหพ้ ิจารณาแต่ประเด็นวา่ มีทรัพยส์ ินพอที่จะเสียค่าธรรมเนียมศาล
หรือไม่ หรือหากไม่ไดร้ ับยกเวน้ ค่าธรรมเนียมศาลจะไดร้ ับความเดือดร้อนเกินสมควรหรือไม่
เมื่อพิจารณาถึงสถานะของจาเลยเท่าน้นั และพึงระวงั ว่าอาจเป็ นการยนื่ คาร้องขอเพื่อประวิงคดี

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๒๙๐

แต่ในกรณีท่ีเขา้ มาเป็ นคู่ความฝ่ ายที่สามใหพ้ ิจารณาถึงประเด็นว่ามีเหตุผลอนั สมควรท่ีจะเขา้ มา
เป็นคู่ความฝ่ ายที่สามหรือไมด่ ว้ ย การส่งั คาร้องขอใหส้ ัง่ ตามแนวทางในขอ้ ๑ และ ๒ ขา้ งตน้

๔. การไต่สวนคาร้องขอยกเว้นค่าธรรมเนียมศาล

๔.๑ เมื่อศาลไต่สวนพยานฝ่ ายผูข้ อยกเวน้ ค่าธรรมเนียมศาลเสร็จ เห็นว่ากรณีมีเหตุท่ีจะ
อนุญาตใหไ้ ดร้ ับยกเวน้ คา่ ธรรมเนียมศาล ใหท้ าคาสง่ั ในรายงานกระบวนพจิ ารณา ตวั อยา่ งคาส่งั

“พิเคราะห์พยานหลักฐานของโจทก์แล้ว เห็นว่า คดีของโจทก์มีเหตุผลอันสมควร
ท่ีจะฟ้องร้อง และโจทก์เป็นคนไม่มีทรัพย์สินพอท่ีจะเสียค่าธรรมเนียมศาลจริง (หรือ และหาก
โจทก์ไม่ไดร้ ับยกเวน้ ค่าธรรมเนียมศาลจะไดร้ ับความเดือดร้อนเกินสมควรเม่ือพิจารณาถึงสถานะ
ของโจทก)์ จึงอนุญาตให้โจทก์ได้รับยกเว้นไม่ต้องเสียค่าธรรมเนียมศาลในศาลชั้นต้น . . .”

สั่งในคาฟ้องว่า “รับฟ้อง หมายส่งสาเนาให้จาเลย ให้โจทก์วางเงินค่านาส่งตามข้อบังคับ
ว่ าด้ วยการส่ งคาคู่ความและเอกสารทางคดีอย่ างช้ าภายในวันทาการถัดไป มิฉะน้ันถือว่ าโจทก์ ทิ้งฟ้อง
นดั ...วนั ที่ ...เวลา...น.” หรือสัง่ วา่ “รับฟ้องหมายส่งสาเนาให้จาเลย ให้โจทก์จัดการนาส่ง ภายใน ๗วนั
นับแต่วันนี้ หากส่งไม่ได้ให้แถลงภายใน๑๕วนั นับแต่วนั ส่งไม่ได้ หากไม่แถลงถือว่า โจทก์ทิง้ ฟ้อง...”

๔.๒ เม่ือศาลไต่สวนแลว้ เห็นว่า คดีโจทก์มีเหตุผลอนั สมควรที่จะฟ้องร้อง และกรณี
มีเหตุท่ีจะอนุญาตใหไ้ ดร้ ับยกเวน้ ค่าธรรมเนียมศาลบางส่วน ก็ให้มีคาสั่งยกเวน้ ใหต้ ามดุลพินิจ
และกาหนดวนั ใหโ้ จทกน์ าเงินคา่ ธรรมเนียมท่ีไม่ไดร้ ับยกเวน้ มาชาระ ตวั อยา่ งคาสง่ั

“พิเคราะห์คาร้ องขอยกเว้นค่าธรรมเนียมศาล และพยานหลักฐานของโจทก์แล้ว
ข้อเทจ็ จริงฟังได้ว่า โจทก์มที ี่ดิน ๑ แปลง พร้อมบ้าน ๑ หลัง ซ่ึงติดจานอง แต่โจทก์กย็ งั มีเงินฝาก
ในธนาคารออมสินจานวน ๒๐๐,๐๐๐ บาท เศษ เห็นว่า โจทก์ยงั พอมีทรัพย์สินท่ีจะใช้จ่ายเพ่ือ
ดาเนินคดีอยู่บ้าง มิใช่ถึงกับไม่มีเงินพอที่จะเสียค่าธรรมเนียมศาลทีเดียว จึงมีคาสั่งให้โจทก์
เสียค่าธรรมเนียมศาลเป็ นเงินจานวน ๔๐,๐๐๐ บาท ค่าธรรมเนียมนอกจากนีย้ กเว้นให้โจทก์
ไม่ต้องชาระ ให้โจทก์นาเงินค่าธรรมเนยี มดงั กล่าวมาชาระภายใน . . .วัน นับแต่วันน”ี้ (โดยปกติ
กาหนดเวลาให้ ๑๕ วนั )

๔.๓ เม่ือศาลไต่สวนแลว้ เห็นวา่ คดีโจทกม์ ีเหตุผลอนั สมควรที่จะฟ้องร้อง แตข่ อ้ เทจ็ จริง
ปรากฏวา่ โจทกม์ ีทรัพยส์ ินพอที่จะเสียค่าธรรมเนียมศาล หรือหากไมไ่ ดร้ ับยกเวน้ คา่ ธรรมเนียมศาล
โจทก์ก็ไม่ได้รับความเดือดร้อนเกินสมควรเม่ือพิจารณาถึงสถานะของโจทก์ ให้มีคาสั่ง
ยกคาร้องและกาหนดวนั ให้โจทก์นาเงินมาเสียค่าธรรมเนียม ตวั อย่างคาสั่งแก้จากขอ้ ๔.๒
ตอนทา้ ยเป็นวา่

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๒๙๑

“. . . เห็นว่ า โจทก์ ยังพอมีเงินเสียค่ าธรรมเนียมศาลได้ (หรื อหากโจทก์ไม่ได้รับ
ยกเวน้ ค่าธรรมเนียมศาล โจทก์ก็ไม่ถึงกับได้รับความเดือดร้อนเกินสมควรเม่ือพิจารณา
ถึงสถานะของโจทก)์

จึงให้ ยกคาร้ องของโจทก์ หากโจทก์ประสงค์จะดาเนินคดีต่อไป ให้ นาเงิน
ค่าธรรมเนยี มมาชาระภายใน . . .วนั ”

๔.๔ ถา้ ไต่สวนแลว้ ปรากฏวา่ คดีไม่มีเหตุผลอนั สมควรท่ีจะฟ้องร้องก็วินิจฉยั แต่เพยี งวา่
คดีไม่มีเหตผุ ลอนั สมควรที่จะฟ้องร้อง ไม่อนุญาตใหไ้ ดร้ ับยกเวน้ คา่ ธรรมเนียมศาล ใหย้ กคาร้อง
และกาหนดวนั ให้โจทก์นาค่าธรรมเนียมมาเสียถา้ โจทก์ประสงค์จะดาเนินคดีต่อไป ไม่ต้อง
วินิจฉัยว่าโจทก์มีทรัพยส์ ินพอท่ีจะเสียค่าธรรมเนียมศาลหรือไม่ หรือหากไม่ได้รับยกเวน้
คา่ ธรรมเนียมศาลจะไดร้ ับความเดือดร้อนเกินสมควรหรือไม่ ตวั อยา่ งคาสง่ั

“พิเคราะห์แล้ว . . . เห็นว่า คดีโจทก์ไม่มีเหตุผลอันสมควรท่ีจะฟ้องร้อง จึงให้ยกคาร้อง
หากโจทก์ประสงค์จะดาเนินคดตี ่อไป ให้โจทก์นาค่าธรรมเนียมมาเสียภายใน . . . วนั ”

อน่ึง ในกรณีท่ีโจทก์ผูร้ ้องขอยกเวน้ ค่าธรรมเนียมศาลไม่มาศาลในวนั นัดไต่สวนคาร้อง
ศาลจะสั่งจาหน่ายคดีโดยถือว่าทิ้งฟ้องเป็ นการไม่ถูกต้อง ( เทียบฎีกาท่ี ๘๖๖/๒๕๑๘) กรณีเช่นน้ี
ต้องส่ังยกคาร้องขอยกเว้นค่าธรรมเนียมศาล และให้โจทก์นาเงินค่าธรรมเนียมมาชาระภายในเวลา
ท่ีศาลกาหนดและในกรณีดังกล่าวน้ีถือว่าศาลได้วินิจฉัยแล้วว่า ผู้ร้องมีทรัพย์สินพอที่จะเสีย
ค่าธรรมเนียมศาลหรือหากผูร้ ้องไม่ไดร้ ับยกเวน้ ค่าธรรมเนียมศาลก็ไม่ไดร้ ับความเดือดร้อนเกินสมควร
ดังน้ัน หากผูร้ ้องอุทธรณ์และศาลอุทธรณ์พิพากษายืน คดีย่อมถึงที่สุดตามมาตรา ๑๕๖/๑ วรรคท้าย
(เทียบฎีกาท่ี ๑๖๘๓/๒๕๓๐)

เม่ือครบกาหนดเวลาแลว้ โจทก์ไม่นาเงินค่าธรรมเนียมมาชาระ ส่ังในรายงานของเจา้ หนา้ ท่ี
ศาลว่า “ส่ังในคาฟ้อง” แล้วส่ังในคาฟ้องว่า “โจทก์ไม่นาเงินค่าธรรมเนียมมาเสียภายในกาหนด
ตามคาส่ังศาล จึงไม่รับฟ้องโจทก์ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๑๘”

เมื่อโจทก์นาเงินค่าธรรมเนียมมาชาระ สั่งในคาแถลงของโจทก์ หรือในรายงานเจา้ หน้าท่ีวา่
“ส่ังในคาฟ้อง” และสั่งในคาฟ้องว่า “รับฟ้อง หมายส่งสาเนาให้จาเลย ให้โจทก์วางเงินค่านาส่ง
ตามข้อบังคับว่าด้วยการส่งคาคู่ความและเอกสารทางคดีอย่างช้าภายในวันทาการถัดไป มิฉะนั้นถือว่า
โจทก์ทิ้งฟ้องนัด...วันที่ ...เวลา...น.” หรือสั่งว่า“รับฟ้องหมายส่งสาเนาให้จาเลย ให้โจทก์จัดการ
นาส่งภายใน๗วัน นับแต่วันนี้ หากส่งไม่ได้ให้แถลงภายใน๑๕วัน นับแต่วันส่งไม่ได้ หากไม่แถลง
ถือว่าโจทก์ทิง้ ฟ้อง...”

ถ้าอนุญาตให้ได้รับยกเว้นค่าธรรมเนียมศาลบางส่วน แม้ศาลกาหนดวันให้โจทก์
นาเงินค่าธรรมเนียมมาชาระ แต่โจทก์ไม่ชาระ จะสั่งจาหน่ายคดีโจทก์ย่อมไม่ชอบ ตอ้ งสั่ง

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๒๙๒

ไม่รับฟ้อง เฉพาะทุนทรัพยท์ ่ีไม่อนุญาตและโจทก์ย่อมมีสิทธิขอแกไ้ ขคาฟ้องเพื่อลดทุนทรัพย์
ไดด้ ว้ ย จึงมิใช่เร่ืองโจทกท์ ิ้งฟ้อง (เทียบฎีกาที่ ๓๔/๒๕๑๓)

ถา้ ศาลไม่ไดก้ าหนดเวลาให้ผูข้ อนาค่าธรรมเนียมศาลมาชาระ ผขู้ ออาจย่ืนคาขอให้
ศาลกาหนดเวลาใหต้ นนามาชาระภายหลงั ได้ (ฎีกาท่ี ๒๖๗๗/๒๕๔๘)

ข้อสังเกต
๑.กรณีท่ีศาลอนุญาตให้โจทก์ได้รับยกเวน้ ค่าธรรมเนียมศาล แม้บทบัญญัติ
ท่ีแกไ้ ขใหมไ่ ม่ไดบ้ ญั ญตั ิวา่ ถา้ ศาลอนุญาตตามคาขอ คาสง่ั อนุญาตน้นั ใหเ้ ป็นที่สุด ดงั เช่นมาตรา
๑๕๖ วรรคสาม (เดิม) ก็ตาม แต่เมื่อโจทก์ได้รับยกเวน้ ตามขอก็ไม่มีเหตุที่โจทก์จะอุทธรณ์
และเม่ือการยกเวน้ ค่าธรรมเนียมศาล เป็ นเร่ืองระหวา่ งศาลกบั ผขู้ อไม่เกี่ยวกบั คู่ความอีกฝ่ายหน่ึง
คู่ความที่ไมใ่ ช่ผขู้ อยอ่ มอทุ ธรณ์ไมไ่ ด้ (ฎีกาท่ี ๖๙๔/๒๕๔๖)
๒. เงินค่าธรรมเนียมที่ไดร้ ับยกเวน้ มี

๒. ๑ เงินค่าธรรมเนียมศาลได้แก่ ค่าธรรมเนียมศาลตามตามตาราง ๑
และ ตาราง ๒ ท้าย ป.วิ.พ. ซ่ึงเป็ นค่าธรรมเนียมศาลในการดาเนินกระบวนพิจารณาในศาลน้ัน เช่น
ค่าข้ึนศาล เป็นตน้ ไม่รวมถึงเงินที่ตอ้ งวางตามมาตรา ๒๕๓, ๒๕๗, ๒๖๓

๒.๒ เงินวางศาลในการย่ืนฟ้องอุทธรณ์หรือฎีกา ฎีกาที่ ๔๕/๒๕๔๘
วินิจฉยั วา่ การอทุ ธรณ์คาส่งั ไม่รับฎีกาตาม ป.ว.ิ พ. มาตรา ๒๕๒ ตอ้ งปฏิบตั ิตาม ป.วิ.พ. มาตร ๒๓๔
ประกอบมาตรา ๒๔๗ คือนอกจากเสียค่าธรรมเนียมศาลช้ันฎีกา และนาเงินค่าธรรมเนียม
ท้งั ปวงที่ตอ้ งชดใช้ตามมาตรา ๒๒๙ มาวางศาลแล้ว จะต้องนาเงินมาชาระตามคาพิพากษา
หรือหาประกนั ให้ไวต้ ่อศาลช้นั ตน้ ดว้ ย จาเลยท้งั สองไดร้ ับอนุญาตให้ดาเนินคดีอยา่ งคนอนาถา
ในช้นั ฎีกา แมไ้ ดร้ ับยกเวน้ ค่าธรรมเนียมศาลช้นั ฎีกา และไม่ตอ้ งนาค่าฤชาธรรมเนียมท้งั ปวง
ท่ีตอ้ งชดใช้มาวางศาลตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๑๕๗ แต่บทบญั ญตั ิดงั กล่าวไม่ครอบคลุมถึงเงิน
ที่จะตอ้ งชาระตามคาพิพากษาหรือการหาประกนั ใหไ้ วต้ ่อศาลช้นั ตน้

๒.๓ เมื่อศาลอนุญาตให้โจทก์หรื อจาเลยหรื อผู้ร้องสอดได้รับยกเว้น
ค่าธรรมเนียมศาล จะได้รับยกเว้นเฉพาะค่าธรรมเนียมศาลเท่าน้ัน ส่วนเงินค่าส่งหมาย
ค่าพาหนะ ค่าป่ วยการพยาน ค่าทาแผนท่ีพิพาท ยงั คงตอ้ งเสีย (ฎีกาท่ี ๑๙๑๕/๒๕๓๔, คาส่ัง
คาร้องศาลฎีกาที่ ๔๘๘๖/๒๕๔๖ ) รวมท้งั ค่าสืบพยานหลกั ฐานนอกศาลก็ยงั ตอ้ งเสียเพราะ
ไม่ใช่คา่ ธรรมเนียมศาล

๓. เมื่อคู่ความคนใดไดร้ ับยกเวน้ ค่าธรรมเนียมศาลในการฟ้องหรือต่อสู้คดีในศาล
ช้นั ตน้ แลว้ ยื่นคาร้องเช่นว่าน้ันในช้นั อุทธรณ์หรือฎีกาแลว้ แต่กรณีอีก ให้ถือว่าคู่ความน้ันยงั คง

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๒๙๓

ไม่มีทรัพยส์ ิน พอท่ีจะเสียค่าธรรมเนียมศาลหรือหากไม่ไดร้ ับการยกเวน้ ค่าธรรมเนียมศาลแลว้
จะไดร้ ับความเดือดร้อนเกินสมควรอยู่ เวน้ แต่จะปรากฏต่อศาลเป็ นอย่างอ่ืนตามมาตรา ๑๕๖/๑
วรรคสาม

๔.โจทก์ยอ่ มมีสิทธิแกไ้ ขเพิ่มเติมฟ้องเดิมให้บริบูรณ์ได้ ในระหว่างท่ีศาลไต่สวน
คาร้องขอยกเวน้ ค่าธรรมเนียมศาล เพราะไม่มีกฎหมายหา้ ม (ฎีกาท่ี ๒๓๒๑/๒๕๓๐)

๕. เมื่อศาลส่ังยกคาร้องขอยกเวน้ ค่าธรรมเนียมศาลและกาหนดให้นาเงินค่าธรรมเนียม
มาชาระไม่ใช่เรื่องการขยายระยะเวลาตามมาตรา ๒๓ (ฎีกาที่ ๘๒ - ๘๓/๒๕๐๕ ประชุมใหญ่)
ป.วิ.พ. มาตรา ๒๓ เป็ นเรื่องขยายระยะเวลา ส่วนในกรณีที่ศาลไม่อนุญาตให้ไดร้ ับยกเวน้
ค่าธรรมเนียมศาลและมีคาสั่งกาหนดเวลาให้ผขู้ อยกเวน้ ค่าธรรมเนียมศาลนาเงินค่าธรรมเนียม
มาชาระ การกาหนดเวลาหาใช่อาศยั มาตรา ๒๓ ไม่ แต่เป็ นเร่ืองกาหนดเวลาโดยอาศยั อานาจ
ของศาลที่มีอยู่โดยทั่วไปในการที่จะดาเนินกระบวนพิจารณาใดที่ไม่มีกฎหมายบัญญัติไว้
โดยเฉพาะหรือห้ามไวไ้ ปในทางที่เห็นว่ายุติธรรมและสมควร แต่หากจะขอขยายระยะเวลา
ท่ีศาลได้กาหนดไวอ้ อกไปอีก ศาลต้องใช้อานาจตามมาตรา ๒๓ (ฎีกาท่ี ๓๔๗๐/๒๕๒๖,
๕๓๖/๒๕๓๕)

๕. กระบวนพจิ ารณาอ่ืน (ถ้ามี) หลงั จากศาลสั่งยกคาร้องขอยกเว้นค่าธรรมเนยี มศาล
หรือสั่งอนุญาตบางส่ วน

๕.๑ ผูข้ อไม่สามารถย่ืนคาขอต่อศาลให้พิจารณาคาขอน้ันใหม่ เพ่ืออนุญาตให้ตนนาพยาน
มาแสดงเพ่ิมเติมว่าตนเป็ นคนยากจนตามกฎหมายเก่าได้อีกต่อไป คงมีแต่สิทธิท่ีจะอุทธรณ์คาส่ัง
กรณีศาลมีคาสั่งอนุญาตให้ยกเวน้ ค่าธรรมเนียมศาลแต่เฉพาะบางส่วนหรือศาลมีคาสั่งให้ยกคาร้อง
ตามมาตรา ๑๕๖/๑ วรรคทา้ ย เพยี งอยา่ งเดียวเท่าน้นั

๕.๒ ผู้ขอย่ืนคาร้องอุทธรณ์คาส่ังไปยงั ศาลอุทธรณ์ภายใน ๗ วัน นับแต่วันมีคาส่ังตาม
มาตรา๑๕๖/๑วรรคทา้ ยและไม่ตอ้ งชาระค่าธรรมเนียมในช้นั อุทธรณ์คาส่ังดว้ ย (มาตรา๑๔๙วรรคทา้ ย
และฎีกาท่ี ๕๕๙๑/๒๕๔๘)

ผูข้ อเท่าน้ันท่ีมีสิทธิอุทธรณ์คาสั่งอนุญาตให้ยกเวน้ ค่าธรรมเนียมศาลบางส่วน
หรือยกคาร้องคู่ความอีกฝ่ ายหน่ึงไม่มีสิทธิอุทธรณ์ เนื่องจากมาตรา ๑๕๖/๑ ไม่ไดบ้ ญั ญตั ิให้
คูค่ วามอ่ืนท่ีมิไดย้ ื่นคาร้องขอยกเวน้ คา่ ธรรมเนียมศาลมีสิทธิอุทธรณ์คาสั่งดงั กล่าว (ฎีกาท่ี ๖๙๔/
๒๕๔๖)

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๒๙๔

เมื่อผูข้ อย่ืนคาร้องอุทธรณ์คาสั่ง ส่ังว่า “รับเป็ นอุทธรณ์ของโจทก์ (หรือจาเลย
หรือผรู้ ้องสอด) รวบรวมถ้อยคาสานวนส่งศาลอุทธรณ์” หรือ “วนั ที่ . . . ซ่ึงเป็นวันครบกาหนดอุทธรณ์
ตรงกับวันจันทร์ ซึ่งเป็นวันหยดุ ราชการ (ควรระบุชื่อวนั หยดุ ราชการใหช้ ดั เจน) ศาลหยดุ ทาการ โจทก์
(หรือจาเลยหรือผูร้ ้องสอด) ย่ืนอุทธรณ์วันนีไ้ ด้ รับเป็ นอุทธรณ์ของโจทก์ (หรือจาเลยหรือผู้ร้ องสอด)
รวบรวมถ้อยคาสานวนส่งศาลอุทธรณ์” โดยไม่ตอ้ งส่งสาเนาใหอ้ ีกฝ่ ายแกเ้พราะการยกเวน้ ค่าธรรมเนียมศาล
เป็นเรื่องระหวา่ งศาลกบั ผขู้ อ

คาส่งั ศาลอทุ ธรณ์เป็นที่สุดตามมาตรา ๑๕๖/๑ วรรคทา้ ย
แต่ถา้ ศาลอุทธรณ์มีคาสั่งในเร่ืองท่ีมิใช่เน้ือหาแห่งคาร้องขอยกเวน้ ค่าธรรมเนียมศาล
ยอ่ มไม่ถึงท่ีสุด (เทียบฎีกาที่ ๗๐๖/๒๕๒๒)
การอุทธรณ์คาสั่งอ่ืนที่ไม่ใช่คาสั่งเกี่ยวกับเน้ือหาคาร้องขอยกเว้นค่าธรรมเนียมศาล
ไม่อยู่ภายในบงั คบั ท่ีตอ้ งยื่นอุทธรณ์คาส่ังภายใน ๗วนั นับแต่วนั มีคาสั่งเช่นศาลช้นั ตน้ ส่ังจาหน่ายคดี
เพราะผูร้ ้องทิ้งคาร้อง ไม่ใช่กรณีมาตรา ๑๕๖/๑ วรรคท้าย ย่อมอุทธรณ์ได้ภายใน ๑ เดือน (ฎีกาที่
๓๕๑๕/๒๕๓๓) ศาลส่ังจาหน่ายคาร้องขอยกเวน้ ค่าธรรมเนียมศาลเพราะจาเลยทิ้งคาร้องไม่ใช่คาสั่ง
ยกคาร้อง และยงั มิไดส้ ่ังในเน้ือหาแห่งคาร้องไม่อยู่ในบงั คบั มาตรา๑๕๖/๑วรรคท้ายที่ตอ้ งอุทธรณ์
ภายใน๗วนั แต่มีสิทธิอทุ ธรณ์ไดภ้ ายใน ๑ เดือน ตามมาตรา ๒๒๙ (ฎีกาท่ี ๓๖๖๗/๒๕๕๐)
เมื่อศาลอุทธรณ์ไม่อนุญาตให้ยกเว้นค่าธรรมเนียมศาลและกาหนดเวลาให้ผู้อุทธรณ์
นาค่าธรรมเนียมศาลมาชาระ การท่ีผู้ร้องขอขยายเวลาวางเงินออกไปแต่ศาลช้ันต้นยกคาร้อง
ศาลอุทธรณ์พิพากษายืน คาสั่งดังกล่าวน้ีเป็ นที่สุดเช่นกัน เพราะเป็ นคาสั่งต่อเน่ืองจากคาสั่งเดิม
ท่ีไม่อนุญาตใหย้ กเวน้ คา่ ธรรมเนียมศาล (ฎีกาท่ี ๔๙๕/๒๕๔๙, ๖๗๑/๒๕๕๗)

ข้อสังเกต
๑. อุทธรณ์คาสั่งอาจอุทธรณ์ไดท้ ้ังในประเด็นคดีมีเหตุผลอนั สมควรที่จะ
ฟ้องร้องหรือไม่ และในประเด็นวา่ ผขู้ อไมม่ ีทรัพยส์ ินพอที่จะเสียคา่ ธรรมเนียมศาลหรือหากผขู้ อ
ไม่ไดร้ ับยกเวน้ ค่าธรรมเนียมศาลจะไดร้ ับความเดือดร้อนเกินสมควรเมื่อพิจารณาถึงสถานะของ
ผูข้ อหรือไม่ เวน้ แต่โจทก์จะย่ืนคาร้องขอเพ่ิมเติมฟ้องให้บริบูรณ์โดยถูกตอ้ งตามมาตรา ๑๗๙
และ ๑๘๐ และโจทก์ยนื่ คาร้องขอยกเวน้ ค่าธรรมเนียมศาลใหม่ ศาลพิจารณาคาร้องน้นั ใหม่ได้
(เทียบฎีกาที่ ๒๓๒๑/๒๕๓๐ เมื่อศาลช้ันต้นมีคาสั่งยกคาร้องขอดาเนินคดีอย่างคนอนาถา
โดยอา้ งเหตุว่าคดีของโจทก์ไม่มีมูลที่จะฟ้องร้องและมีคาส่ังต่อไปอีกว่าหากโจทก์ประสงค์
จะดาเนินคดีต่อไปให้นาค่าธรรมเนียมศาลมาชาระภายใน ๗ วนั ศาลช้นั ตน้ เพียงแต่ให้ยกคาร้อง
ขอดาเนินคดีอยา่ งคนอนาถาของโจทก์เท่าน้นั มิไดม้ ีคาสัง่ ยกคาฟ้องหรือไม่รับคาฟ้องของโจทก์

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๒๙๕

ที่ยื่นพร้อมกบั คาร้องขอดาเนินคดีอย่างคนอนาถา คาฟ้องเดิมของโจทก์ยงั คงมีอยู่ เมื่อโจทก์
ย่ืนคาร้องขอเพิ่มเติมฟ้องให้บริ บูรณ์และกรณีเป็ นไปตามมาตรา ๑๗๙ และมาตรา ๑๘๐
โดยถูกตอ้ งก็ชอบที่ศาลจะสั่งให้โจทก์แก้ไขเพ่ิมเติมฟ้องน้ันได้ และชอบท่ีโจทก์จะย่ืนคาร้อง
ขอให้ไต่สวนขอดาเนินคดีอย่างคนอนาถาใหม่ไดต้ ามมาตรา ๑๕๖ ศาลช้นั ตน้ ตอ้ งดาเนินการ
ไต่สวนคาร้องขอฟ้องอยา่ งคนอนาถาใหม่ของโจทก)์

๒. หากมีกรณีเกิดข้ึนทาให้ผูย้ ่ืนคาขอตกเป็ นคนยากจนลงในภายหลงั เช่น
หลงั จากศาลยกคาร้องแลว้ ทรัพยส์ ินซ่ึงวินิจฉัยไวว้ ่าผขู้ อมีอยไู่ ดถ้ ูกไฟไหมห้ มดส้ินลง ผขู้ อกม็ ี
สิทธิยื่นคาร้องขอยกเวน้ ค่าธรรมเนียมศาลไดอ้ ีกตามมาตรา๑๕๖วรรคหน่ึง(ฎีกาท่ี ๑๕๐๓/๒๕๑๑
ประชุมใหญ,่ ๕๖๔๗/๒๕๔๓)

๖. กระบวนพจิ ารณาอื่น (ถ้าม)ี หลงั จากศาลมคี าส่ังอนุญาตให้ได้รับยกเว้นค่าธรรมเนียมศาล

๖.๑ ศาลอาจถอนอนุญาตที่ให้ไดร้ ับยกเวน้ ค่าธรรมเนียมศาลเสียในเวลาใด ๆก็ได้ และผูน้ ้นั
ต้องรับผิดในค่าฤชาธรรมเนียมภายหลังที่ศาลได้ถอนอนุญาตน้ันแล้วตามมาตรา ๑๖๐ แต่ไม่ต้อง
รับผดิ คา่ ฤชาธรรมเนียมก่อนหนา้ น้นั ถา้ ผขู้ อกระทาการดงั ต่อไปน้ี

๖.๑.๑ ประพฤติตนไม่เรียบร้อย เช่น ดาเนินกระบวนพิจารณาในทางก่อความ
ราคาญถึงขนาด เป็นตน้ วา่ กล่าวในคาร้องขอเล่ือนคดีวา่ ศาลไมใ่ หค้ วามเป็นธรรม

๖.๑.๒ กระทาความผดิ ฐานละเมิดอานาจศาล
๖.๑.๓ จงใจประวิงความเร่ืองน้นั

ถา้ ศาลมีคาสั่งถอนอนุญาตท่ีให้ไดร้ ับยกเวน้ ค่าธรรมเนียมศาล ตอ้ งอุทธรณ์
คาสง่ั น้ีภายใน ๗ วนั ตามมาตรา ๑๕๖/๑ วรรคทา้ ย (ฎีกาท่ี ๙๕๖/๒๕๐๔ ประชุมใหญ)่

๖.๒ ศาลมีอานาจสั่งให้ยึดหรืออายดั ทรัพยส์ ินของผูข้ อยกเวน้ ค่าธรรมเนียมศาลท้งั หมด
หรือบางส่วนไวร้ อคาวินิจฉัยช้ีขาดเรื่องค่าฤชาธรรมเนียมตามที่จะพิพากษาในคดีน้นั ถา้ ปรากฏว่า
ผขู้ อมีทรัพยส์ ินพอจะเสียค่าธรรมเนียมศาลได้ โดยมีอยแู่ ลว้ ในเวลาท่ียนื่ คาขอหรือมีข้ึนภายหลงั
ก่อนศาลวินิจฉยั ช้ีขาดคดีตามมาตรา ๑๕๙ และหากขณะทาคาพิพากษาความดงั กล่าวไดป้ รากฏ
ต่อศาลแลว้ ศาลกส็ ัง่ ใหผ้ ไู้ ดร้ ับยกเวน้ คา่ ธรรมเนียมศาลน้นั เสียคา่ ธรรมเนียมส่วนที่ไดร้ ับยกเวน้
ท้งั หมด (ยอ้ นหลงั ) ได้ (ฎีกาท่ี ๑๐๖๗/๒๕๒๗)

ข้อสังเกต
๑. ถา้ มีทรัพยส์ ินข้ึนภายหลงั พิพากษา เช่น ศาลพิพากษาตามสัญญาประนีประนอม
ยอมความ แมผ้ ขู้ อยกเวน้ ค่าธรรมเนียมศาลจะไดร้ ับเงินจากอีกฝ่ ายในวนั ท่ีศาลพิพากษาตามยอมน้นั
กจ็ ะสัง่ ใหใ้ ชค้ ่าฤชาธรรมเนียมท่ีไดร้ ับยกเวน้ ไมไ่ ดเ้ พราะไมต่ อ้ งดว้ ยมาตรา ๑๕๙

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๒๙๖

๒. ถ้าผูไ้ ด้รับยกเวน้ ค่าธรรมเนียมศาลตายลง ผูเ้ ข้าเป็ นคู่ความแทนท่ีผูม้ รณะ
แมจ้ ะมีทรัพยส์ ินพอเสียค่าธรรมเนียมศาล ก็ไดร้ ับยกเวน้ ค่าธรรมเนียมศาลต่อไปได้ ไม่ตอ้ งขอ
คาสง่ั ศาลใหม่ (คาสง่ั คาร้องศาลฎีกาท่ี ๖๐/๒๕๐๓ ประชุมใหญ)่

๓. ศาลอนุญาตให้ฟ้องโดยไดร้ ับยกเวน้ ค่าธรรมเนียมศาลแลว้ โจทก์ขอเพ่ิมเติม
ฟ้องแกท้ นุ ทรัพยเ์ พ่มิ ข้ึนกไ็ มต่ อ้ งไตส่ วนอีก (ฎีกาที่ ๑๗๓๐/๒๕๑๒)

๗. แบบคาพพิ ากษาที่คู่ความได้รับอนุญาตให้ดาเนินคดีโดยได้รับยกเว้นค่าธรรมเนยี มศาล

๗.๑ ถา้ ศาลพิพากษาให้โจทก์ผูข้ อยกเวน้ ค่าธรรมเนียมศาลชนะคดี ศาลสั่งให้จาเลยใช้
ค่าฤชาธรรมเนียมแทนโจทก์ว่า “ . . . ให้จาเลยใช้ค่าฤชาธรรมเนียมแทนโจทก์โดยกาหนด
ค่าทนายความให้ . . . . .. . บาท และค่าใช้จ่ายในการดาเนินคด.ี ......บาท สาหรับค่าธรรมเนยี มศาล
ที่โจทก์ได้รับอนุญาตให้ดาเนินคดีโดยได้รับยกเว้นน้ัน ให้จาเลยนามาชาระต่อศาล ในนามของ
โจทก์ (เฉพาะค่าข้ึนศาลเท่าที่โจทก์ชนะคดี)” (ฎีกาท่ี ๑๑๙ - ๑๒๐/๒๕๐๗, ๓๙๕/๒๕๓๒,
๑๖๐๙/๒๕๓๖, ๑๒๕๐/๒๕๓๘)

๗.๒ ถ้าศาลพิพากษาให้โจทก์ผู้ขอยกเว้นค่าธรรมเนียมศาลแพ้คดี ศาลส่ังให้โจทก์ใช้
ค่าฤชาธรรมเนียมแทนจาเลยได้ เพราะการไดร้ ับอนุญาตให้ไดร้ ับยกเวน้ ค่าธรรมเนียมศาลเป็ นคนละเรื่อง
กับความรับผิดของคู่ความฝ่ ายแพ้คดีท่ีจะต้องชาระค่าฤชาธรรมเนียมแทนคู่ความอีกฝ่ ายหน่ึง
(ฎีกาที่ ๒๖/๒๕๓๓, ๔๒๔๐/๒๕๓๐, ๑๔๑๔/๒๕๓๙)

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๒๙๗

ส่วนท่ี ๒

วธิ ีการชั่วคราวก่อนพพิ ากษา

๑. คาขอให้ใช้วธิ ีการช่ัวคราวตามมาตรา ๒๕๓

๑.๑ จาเลยมีคาขอใหโ้ จทกว์ างเงินหรือหาประกนั แบ่งออกเป็น ๒ กรณี
(๑) โจทกฟ์ ้องคดี จาเลยยน่ื คาร้องก่อนศาลช้นั ตน้ พิพากษาตามมาตรา ๒๕๓
(๒) โจทกอ์ ทุ ธรณ์หรือฎีกาคดั คา้ นคาพพิ ากษา ตามมาตรา ๒๕๓ ทวิ

๑.๒ คาร้องของจาเลยท้งั ๒ กรณีตอ้ งประกอบดว้ ยหลกั เกณฑข์ อ้ ใดขอ้ หน่ึง ดงั ตอ่ ไปน้ี
(๑) โจทก์มิไดม้ ีภูมิลาเนาหรือสานักทาการงานอยูใ่ นราชอาณาจกั ร และไม่มีทรัพยส์ ิน

ท่ีอาจถูกบงั คบั คดีไดอ้ ยใู่ นราชอาณาจกั ร
(๒) เช่ือไดว้ า่ เม่ือโจทกแ์ พค้ ดีแลว้ จะหลีกเลี่ยงไม่ชาระคา่ ฤชาธรรมเนียมและค่าใชจ้ ่าย

๑.๓ กรณีจาเลยย่ืนคาร้อง ก่อนศาลช้นั ตน้ พพิ ากษาตามมาตรา ๒๕๓ ส่งั คาร้องวา่ “สาเนา
ให้โจทก์ นัดไต่สวน” แต่หากขอ้ เทจ็ จริงตามคาร้องและคาคดั คา้ นของโจทกเ์ พียงพอที่จะวินิจฉยั
คาร้องของจาเลยตามมาตรา ๒๕๓ ศาลอาจงดไต่สวนแลว้ มีคาสั่งอยา่ งใดอยา่ งหน่ึงต่อไปได้

๑.๓.๑ เมื่อศาลไต่สวน หากขอ้ เท็จจริงฟังไม่ไดต้ ามคาร้อง ให้ส่ังยกคาร้อง แต่ถา้
ขอ้ เท็จจริงฟังไดต้ ามคาร้อง ก็ใหม้ ีคาสั่งให้โจทกว์ างเงินประกนั หรือหาประกนั โดยจะกาหนด
เงื่อนไขใด ๆ กไ็ ดต้ ามท่ีเห็นสมควร (มาตรา ๒๕๓ วรรคสอง)

๑.๓.๒ ถ้าโจทก์มิได้ปฏิบตั ิตามคาสั่งศาล ให้ศาลมีคาส่ังจาหน่ายคดีออกจาก
สารบบความ เวน้ แต่

จาเลยจะขอใหด้ าเนินคดีตอ่ ไป หรือ
โจทกย์ น่ื อทุ ธรณ์คาสง่ั ศาล

๑.๔ กรณีท่ีโจทก์อุทธรณ์หรือฎีกาคดั คา้ นคาพิพากษา จาเลยยื่นคาร้องก่อนศาลอุทธรณ์
หรือศาลฎีกาพพิ ากษาตามมาตรา ๒๕๓ ทวิ

๑.๔.๑ ถา้ ศาลช้นั ตน้ ยงั มิไดส้ ่งสานวนความไปยงั ศาลอุทธรณ์หรือศาลฎีกา ให้ยื่น
คาร้องต่อศาลช้ันต้นและให้ศาลช้ันต้นทาการไต่สวน เสร็จแล้วให้ส่งคาร้องน้ันไปให้ศาลอุทธรณ์
หรือศาลฎีกา แลว้ แตก่ รณี

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๒๙๘

๑.๔.๒ ถา้ ศาลช้ันตน้ ส่งสานวนความไปยงั ศาลอุทธรณ์หรือศาลฎีกาแล้วให้ย่ืน
คาร้องตอ่ ศาลอทุ ธรณ์หรือศาลฎีกา โดยยน่ื ต่อศาลช้นั ตน้ เหมือนขอ้ ๑.๔.๑ ใหศ้ าลช้นั ตน้ ทาการ
ไต่สวนแลว้ ส่งคาร้องไปยงั ศาลอทุ ธรณ์หรือศาลฎีกาแลว้ แต่กรณี

๑.๔.๓ อานาจในการสั่งยกคาร้องหรือส่ังให้โจทก์วางเงินประกัน ฯลฯ ตามขอ้
๑.๔.๑ หรือ ๑.๔.๒ เป็นอานาจของศาลอทุ ธรณ์หรือศาลฎีกา แลว้ แต่กรณี

๑.๕ กรณีเป็ นคาสั่งของศาลช้นั ตน้ หรือศาลอุทธรณ์ คู่ความย่อมมีสิทธิอุทธรณ์หรือฎีกา
ไดต้ ามมาตรา ๒๒๘ (๒)

๑.๕.๑ ศาลฎีกาพิพากษาให้โจทก์วางเงินประกนั ค่าฤชาธรรมเนียมและค่าใชจ้ ่าย
ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๕๓ ย่อมมีผลอยู่จนคดีถึงที่สุด แมต้ ่อมาศาลช้นั ตน้ จะมีคาพิพากษาให้
จาเลยชาระหน้ีแก่โจทก์ก็ตาม แต่เม่ือคดียงั ไม่ถึงที่สุด โจทก์ก็ตอ้ งวางเงินตามท่ีศาลกาหนด
(ฎีกาที่ ๑๔๘๗/๒๕๒๙)

๑.๕.๒ คาส่งั ศาลใหโ้ จทกว์ างเงินประกนั ค่าฤชาธรรมเนียมและค่าใชจ้ ่ายตาม ป.ว.ิ พ.
มาตรา ๒๕๓ เป็ นคาส่ังอนั เกี่ยวดว้ ยคาขอเพ่ือคุม้ ครองประโยชน์ของคู่ความในระหว่างการ
พิจารณาตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๒๘ (๒) ยอ่ มอุทธรณ์ฎีกาไดโ้ ดยไม่จาตอ้ งโตแ้ ยง้ คาส่ังไวก้ ่อน
(ฎีกาท่ี ๑๑๐๖/๒๕๓๐)

ข้อสังเกต

๑. คดีท่ีจาเลยฟ้องแยง้ โจทกม์ ีฐานะเป็นจาเลยฟ้องแยง้ จึงมีสิทธิขอคุม้ ครองตาม
มาตรา ๒๕๓ ได้ (ฎีกาที่ ๖๖๐๕/๒๕๔๘) แตค่ ดีท่ีมีผรู้ ้องขดั ทรัพย์ ซ่ึงโจทกม์ ีฐานะเสมือนจาเลย
ผูร้ ้องขดั ทรัพยม์ ีฐานะเสมือนโจทก์จึงไม่มีสิทธิขอให้โจทก์วางเงินตามมาตรา ๒๕๓ (ฎีกาท่ี
๕๐๐/๒๕๐๔)

๒. ในกรณีที่ผูร้ ้องสอดเข้ามาเป็ นโจทก์ร่วมตามมาตรา ๕๗ (๒) ผูร้ ้องสอด
ดังกล่าวมีสิทธิเสมือนหน่ึงว่าตนถูกฟ้องเป็ นคดีเร่ืองใหม่และอาจได้รับหรือถูกบงั คบั ให้ใช้
ค่าฤชาธรรมเนียมตามมาตรา ๕๘ วรรคหน่ึง ดงั น้ี จาเลยจึงมีสิทธิขอให้ศาลกาหนดวิธีการ
ชว่ั คราวตามมาตรา ๒๕๓ แก่ผรู้ ้องสอดได้

๓. การบรรยายคาร้องตามมาตรา ๒๕๓ จาเลยตอ้ งมีคาขอใหศ้ าลมีคาส่ังให้โจทก์
วางเงินต่อศาล หรือหาประกันมาให้เพื่อการชาระค่าฤชาธรรมเนียมและค่าใช้จ่ายในส่วน
คาขอทา้ ยคาร้องดว้ ย

๔. ค่าฤชาธรรมเนียมและค่าใชจ้ ่ายตามมาตรา ๒๕๓ มีความหมายรวมท้งั ค่าฤชา
ธรรมเนียมในศาลตามมาตรา ๑๔๙ และในการบงั คบั คดีตามมาตรา ๑๕๓

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๒๙๙

๒. คาขอให้ใช้วธิ ีการชั่วคราวตามมาตรา ๒๕๔

๒.๑ ถา้ กรณีตามคาร้องของโจทก์ไม่เขา้ หลกั เกณฑต์ ามมาตรา ๒๕๔ กล่าวคือ คดีโจทก์
เป็นคดีมโนสาเร่ หรือเมื่อพิจารณาถึงคาขอทา้ ยฟ้องโจทกแ์ ลว้ หากโจทก์ชนะคดีแลว้ จะบงั คบั
ตามคาขอคุม้ ครองชวั่ คราวที่ขอน้ัน ๆ ไดห้ รือไม่ ถา้ บงั คบั ไม่ได้ ย่อมนาวิธีการชวั่ คราวน้ัน ๆ
มาใชบ้ งั คบั ไม่ได้ เช่น ฟ้องขอให้บงั คบั ห้ามจาเลยก่อสร้างอาคารรุกล้าโดยไม่มีคาขอเรียกเอา
ค่าเสียหาย แต่ร้องขอคุม้ ครอง ฯ ให้ยึดทรัพยจ์ าเลยตามมาตรา ๒๕๔(๑) ก็ดี หรือฟ้องมีคาขอบงั คบั
เรียกเงินตามเชค็ พิพาท แตร่ ้องขอคุม้ ครอง ฯ ตามมาตรา ๒๕๔(๓) เกี่ยวกบั ทรัพยส์ ินของจาเลย
กด็ ี ส่งั “ยกคาร้อง” (โดยไมต่ อ้ งทาการไตส่ วน)

๒.๒ ถา้ กรณีตามคาร้องของโจทก์เขา้ หลกั เกณฑ์ตามมาตรา ๒๕๔ (๑) หรือ (๔) ส่ังว่า
“นัดไต่สวน” (ไม่ตอ้ งส่งสาเนาให้จาเลยและไม่ตอ้ งแจง้ วนั นัดให้จาเลยทราบ เพราะมาตรา
๒๑ (๓) ยกเวน้ ไวไ้ ม่ให้ศาลฟังจาเลย ) แต่ถา้ โจทก์ยื่นคาร้องขอเป็ นกรณีมีเหตุฉุกเฉินตาม
มาตรา ๒๖๖ รวมกบั คาขอดว้ ย ดูวธิ ีส่งั ในขอ้ ๓.

๒.๓ ถา้ กรณีตามคาร้องของโจทก์เขา้ หลกั เกณฑต์ ามมาตรา ๒๕๔ (๒) หรือ (๓) และ
มาตรา ๒๕๖ สง่ั วา่ “นดั ไต่สวน ส่งสาเนาและแจ้งวันนดั ให้จาเลยทราบ . . .” เวน้ แตก่ รณีโจทก์
ยน่ื คาร้องขอเป็นกรณีฉุกเฉิน สั่งเหมือนกรณีตามมาตรา ๒๕๔ (๑) หรือ (๔)

๒.๔ ตวั อยา่ งคาสัง่ ใหย้ ดึ ทรัพยก์ ่อนพิพากษาตามมาตรา๒๕๔ (๑) ท่ีไดค้ วามตามมาตรา ๒๕๕ (๑)
“ได้ความตามทางไต่สวนว่า จาเลยซื้อสินค้าไปจากโจทก์เป็ นจานวนเงิน ๒๐๐,๐๐๐ บาท

โดยยงั ไม่ได้ชาระราคาให้โจทก์ จาเลยกาลังขนย้ายทรัพย์ในร้าน ส.สุดใจ ของจาเลยออกไปเสีย
ให้ พ้ นจากอานาจศาล

พิเคราะห์ แล้ว เห็นว่า คาฟ้องของโจทก์มีมูลและมีเหตุเพียงพอท่ีจะนาวิธีการช่ัวคราว
ก่อนพิพากษามาใช้ได้

จึงมีคาสั่งให้ ยึดทรัพย์สินในร้ าน ส.สุดใจ ของจาเลยไว้ชั่วคราวก่อนมีคาพิพากษา
โดยให้โจทก์วางเงินประกัน ๒๐,๐๐๐ บาท ก่อนออกหมายดังกล่าว”

(เงินประกนั ท่ีใหว้ างน้ีเพือ่ เป็นประกนั คา่ สินไหมทดแทนตามมาตรา ๒๕๗, ๒๖๓)

๒.๕ ตวั อยา่ งคาสั่งหา้ มจาเลยกระทาต่อไปตามมาตรา ๒๕๔(๒)ที่ไดค้ วามตามมาตรา๒๕๕(๒)
ส่ังว่า “พิเคราะห์แล้ว เห็นว่า คาร้ องของโจทก์มีเหตุผลเพียงพอและจาเป็ นท่ีจะ

คุ้มครองประโยชน์ของโจทก์ไว้ช่ัวคราวก่อนพิพากษา

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๐๐

จึงมีคาส่ังห้ ามมิให้ จาเลยกระทาการกรีดยางในสวนยางท่ีพิพาทตาม ป.วิ.พ.
มาตรา ๒๕๔” (ฎีกาที่ ๑๐๕๖/๒๕๐๐)

๒.๖ ตวั อยา่ งคาสง่ั ตามมาตรา ๒๕๔ (๓) ท่ีไดค้ วามตามมาตรา ๒๕๕(๓)
ส่ังว่า “พิเคราะห์ แล้ว เห็นสมควรสั่งห้ ามมิให้ จาเลยกระทาการจาหน่ ายจ่ ายโอน

หรื อทานิติกรรมใด ๆ เก่ียวกับท่ีดินโฉนดเลขท่ี ๒๖๘ ทรั พย์สิ นที่พิพาทในระหว่างพิจารณา
แจ้งคาส่ังนใี้ ห้เจ้าพนักงานที่ดินทราบ”

๒.๗ ตวั อยา่ งคาส่งั ใหจ้ บั กมุ หรือกกั ขงั ตามมาตรา ๒๕๔ (๔) ที่ไดค้ วามตามมาตรา ๒๕๕(๔)
ส่ังว่า “พิเคราะห์แล้ว เห็นว่า จาเลยได้หลบหนีโดยนาพินัยกรรมซึ่งโจทก์เป็ นผู้รับ

ทรัพย์ตามพินัยกรรมไปซุกซ่ อนเพ่ือให้ พ้ นจากอานาจศาล สมควรนาวิธีการชั่วคราวก่อน
พิพากษามาใช้ บังคับ จึงมีคาสั่งให้ จับจาเลยมาขังไว้ไม่เกิน ๖ เดือน” (หมายจับใช้ได้
ทว่ั ราชอาณาจกั ร ไม่ตอ้ งขอใหศ้ าลอ่ืนสลกั หลงั หมาย)

๒.๘ ตวั อยา่ งคาสง่ั เมื่อไต่สวนแลว้ ยกคาร้อง
“ทางไต่สวนคดียังไม่พอฟังว่า จาเลยได้โอนขายทรัพย์สินเพ่ือขัดขวางการบังคับ

ตามคาบังคับ ยงั ไม่สมควรนาวิธีการคุ้มครองช่ัวคราวก่อนพิพากษามาใช้
จึงให้ยกคาร้องของโจทก์ ค่าฤชาธรรมเนยี มช้ันนใี้ ห้เป็นพับ”
หมายเหตุ
แมต้ ามพระราชบญั ญตั ิแกไ้ ขเพ่มิ เติมประมวลกฎหมายวิธีพจิ ารณาความแพ่ง ฉบบั ที่ ๒๓

พ.ศ. ๒๕๕๐ จะยกเลิกการเรียกเก็บค่าคาร้อง คาขอ แลว้ ก็ตาม แต่คดีน้ีระหว่างไต่สวนคาร้อง
คู่ความมีการชาระค่าฤชาธรรมเนียมอ่ืน ๆ จึงตอ้ งมีคาสั่งความรับผิดในช้ันที่สุดของค่าฤชา
ธรรมเนียมตามมาตรา ๑๖๗ ประกอบมาตรา ๑๖๑

ข้อสังเกต
๑. การขอคุม้ ครองชัว่ คราวขอไดท้ ุกคดี เวน้ แต่คดีมโนสาเร่ และคดีซ่ึงตามสภาพ
ไม่อาจขอได้ เช่น ฟ้องหยา่ ฟ้องขอให้เพิกถอนการสมรส ฟ้องขอให้รับรองบุตร ฟ้องขอให้
เพกิ ถอนผชู้ าระบญั ชี
๒. คดีอยใู่ นระหวา่ งพจิ ารณาศาลใดยนื่ คาขอตอ่ ศาลน้นั

ในกรณีโจทก์ยื่นคาร้องพร้อมอุทธรณ์หรือฎีกา แม้ศาลช้ันต้นจะมีคาส่ังรับอุทธรณ์
หรือฎีกาแลว้ แตส่ านวนยงั ไมไ่ ดส้ ่งไปยงั ศาลอุทธรณ์หรือฎีกา ก็เป็นอานาจของศาลช้นั ตน้ ท่ีจะ
ไตส่ วนคาร้องและมีคาสัง่ (ฎีกาท่ี ๕๖๒/๒๔๙๐ ประชุมใหญ่)

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๐๑

หากโจทก์ย่ืนคาร้องภายหลงั จากศาลช้นั ตน้ ส่งสานวนไปศาลอุทธรณ์ หรือศาลฎีกาแลว้
ศาลช้นั ตน้ มีอานาจไต่สวนได้ แต่ไม่มีอานาจสั่งตอ้ งส่งสานวนไปให้ศาลอุทธรณ์หรือศาลฎีกาส่ัง
(คาส่งั คาร้องศาลฎีกาที่ ๓๖๓/๒๕๑๒)

๓. คาขอทาเป็ นคาร้องฝ่ ายเดียว และกรณีโจทก์มีคาขอตามมาตรา ๒๕๔ (๒) (๓)
ศาลมีอานาจฟังคู่ความอีกฝ่ ายหน่ึงก่อนก็ได้ ตามมาตรา ๒๑ (๓) และมาตรา ๒๕๖ เวน้ แต่ขอให้ยึด
หรือ อายดั ทรัพย์สินก่อนพิพากษา หรือจับหรือจาขังจาเลยตามมาตรา ๒๑ (๓) และกรณีตามมาตรา
๒๖๖-๒๖๗ไมต่ อ้ งฟังอีกฝ่ าย ใหท้ าไดแ้ ต่ฝ่ ายเดียว

๔. ตวั อยา่ งคาขอที่ศาลให้นาวิธีคุม้ ครองชวั่ คราวมาใชไ้ ด้ เช่น ห้ามปิ ดก้นั ทางเดิน
ให้นารถยนตโ์ ดยสารเขา้ ไปจอดได้ หรือห้ามขุดกาแพง หรือขอให้บรรเทาความเดือนร้อนโดย
ขอใหร้ ้ือถอนกาแพงที่จาเลยก่อสร้างปิ ดทางภาระจายอม ถือวา่ มีเหตุสมควรและเพียงพอที่จะนา
วิธีชวั่ คราวตามมาตรา ๒๕๔ (๒) ท่ีโจทก์ขอมาใชบ้ งั คบั แต่คงให้ร้ือถอนเฉพาะบริเวณติดกบั
ที่ดินโจทก์เท่าน้ัน (ฎีกาที่ ๗๒๒๑/๒๕๔๔) หรือขอให้ห้ามจาเลยซ่ึงเป็ นผูเ้ ช่านาที่ดินและ
ส่ิงปลูกสร้างของโจทก์ ซ่ึงเป็ นผใู้ หเ้ ช่าไปให้ผอู้ ่ืนเช่าช่วงในคดีท่ีโจทกฟ์ ้องขบั ไล่จาเลย (ฎีกาที่
๑๘๖๘/๒๕๔๘)

อยา่ งไรก็ดี หากโจทกแ์ ละจาเลยยงั คงอา้ งว่า ท่ีดินพิพาทเป็นของตน ศาลคงมีคาสั่ง
ห้ามช่วั คราวมิให้จาเลยก้นั ร้ัวลวดหนามเพ่ิมเติม และห้ามมิให้จาเลยเปล่ียนแปลงสภาพที่ดิน
พิพาทต่อไปจนกว่าคดีจะถึงท่ีสุดเท่าน้นั จะส่ังใหจ้ าเลยร้ือถอนร้ัวลวดหนามและเสาปูนซิเมนต์
ให้กลบั คืนสภาพเดิมน้ันในระหว่างการพิจารณาคดีของศาลยงั ไม่ได้ เพราะโจทก์และจาเลย
ต่างยงั ไม่สมควรเข้าไปทาส่ิงใดในที่ดินพิพาทเนื่องจากอาจเป็ นเหตุให้อีกฝ่ ายเดือดร้อน
เสียหายไดห้ ากศาลพิพากษาใหฝ้ ่ ายน้นั ชนะคดี (ฎีกาที่ ๗๘๑๘/๒๕๔๒)

๕. โจทกต์ อ้ งนาสืบใหไ้ ดค้ วามมาตรา ๒๕๕ ถา้ นาสืบแต่เพยี งวา่ จาเลยมีหน้ีมากกวา่
ทรัพยส์ ินในร้านจาเลย ไม่ไดค้ วามว่าจาเลยต้งั ใจจะโอนขายหรือจาหน่ายทรัพยส์ ินของจาเลย
ท้งั หมดหรือบางส่วน หรือยกั ยา้ ยไปเสียให้พน้ จากอานาจศาลยงั ไม่มีเหตุอนุญาตตามคาขอ
(ฎีกาท่ี ๙๒๐/๒๕๒๔)

๖. จาเลยไม่มีสิทธิขอคุ้มครองชั่วคราวตามมาตรา ๒๕๔ (คาส่ังคาร้องศาลฎีกาที่
๕๘๗/๒๕๑๓ประชุมใหญ่) แต่คาขอของจาเลยเช่นว่าน้ีอาจถือว่าเป็ นคาขอให้คุม้ ครองประโยชน์
ในระหวา่ งพจิ ารณาตามมาตรา ๒๖๔ กไ็ ด้

คาพพิ ากษาศาลฎีกาท่ี ๑๓๖๐/๒๕๕๐ โจทกย์ น่ื คาร้องขอใหศ้ าลมีคาสั่งอายดั เงิน
ของจาเลยท่ีมีอยแู่ ละท่ีจะไดร้ ับจากการประกอบกิจการ โดยใหจ้ าเลยส่งเงินท้งั หมดมาเก็บรักษา
ไวท้ ี่ศาลจนกวา่ ศาลจะมีคาพิพากษาถึงท่ีสุด มีผลเท่ากบั บงั คบั ให้จาเลยนาเงินมาวางศาลเพื่อเอา

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๐๒

ชาระหน้ีใหโ้ จทก์ เป็ นการร้องขอใหศ้ าลมีคาสั่งกาหนดวิธีการเพอ่ื คุม้ ครองประโยชน์ของโจทก์
ในระหว่างการพิจารณาตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๔๖ แต่โจทก์ฟ้องให้จาเลยชาระเงินซ่ึงเป็ นค่า
ขาดประโยชน์ มิใช่พิพาทกันด้วยทรัพยส์ ินหรือสิทธิหรือประโยชน์ โจทก์จะขอให้จาเลย
นาทรัพยส์ ินหรือเงินมาวางตามมาตราน้ีไม่ได้

๗. ขอให้ยึดที่ดินตามมาตรา ๒๕๔ (๑) ศาลอาจใชด้ ุลพินิจเพียงสั่งห้ามทานิติกรรม
ใด ๆ เกี่ยวกบั ที่ดินน้ันก็ไดต้ ามมาตรา ๒๕๔ (๓) โดยไม่ตอ้ งออกหมายยึด เพียงแต่ออกหมายห้าม
กรณีเช่นน้ี เม่ือยกเลิกคาสั่งไม่ตอ้ งเสียค่าธรรมเนียมเจา้ พนกั งานบงั คบั คดี ศาลจะสั่งอายดั ที่ดิน
โดยใชห้ มายอายดั ไมไ่ ด้ แมโ้ จทกจ์ ะขอใหอ้ ายดั กต็ าม

๘. มาตรา ๒๕๔ มิใช่บทบญั ญตั ิให้ใชเ้ ฉพาะเกี่ยวกบั ทรัพยเ์ ท่าน้ัน โจทกข์ อให้ศาล
ส่ังให้จาเลยส่งบุตรให้โจทก์ก่อนศาลพิพากษาไดใ้ นกรณีที่จาเลยผิดสัญญาให้บุตรอย่ใู นความ
อปุ การะของโจทก์ (ฎีกาท่ี ๑๕๐๙/๒๕๑๔)

๙. การยดึ ทรัพยใ์ นวิธีการชว่ั คราวตามมาตรา ๒๕๔ (๑) กบั การยดึ ทรัพยใ์ นช้นั บงั คบั
คดีตามมาตรา ๓๐๓ (๒) น้ัน กฎหมายบญั ญตั ิขอ้ ความไวแ้ ตกต่างกันในเรื่องว่าให้บุคคลใด
เป็นผรู้ ักษาทรัพยท์ ่ียดึ น้นั

๑๐. ในกรณีร้องขอเพิกถอนการเป็ นผูจ้ ัดการมรดก ถ้ามีคาร้องขอให้ระงับการ
เบิกถอนเงินจากธนาคารของผูจ้ ดั การมรดกก็ให้สั่งคุม้ ครองชวั่ คราวตามมาตรา ๒๕๔ (คาส่ัง
คาร้องศาลฎีกาที่ ๕๑๗/๒๕๔๑)

๑๑. ในการส่ังคาร้องขอคุม้ ครองช่วั คราวพึงจะไม่กา้ วล่วงไปส่ังในเน้ือหาของคดี
อนั จะทาใหเ้ ห็นขอ้ แพช้ นะ

๑๒. คาสั่งศาลที่อนุญาตตามมาตรา ๒๕๔(๑) (๒) และ(๓) บางประการใช้บงั คบั
แก่จาเลยไดท้ นั ทีตามมาตรา ๒๕๘ วรรคหน่ึง วรรคสองและวรรคสาม

๑๓. การยดึ ทรัพยช์ วั่ คราวก่อนพิพากษามิใช่เรื่องการบงั คบั คดีหลงั พิพากษา ดงั น้นั
ผูร้ ้องซ่ึงมีบุริมสิทธิเหนือทรัพยส์ ินท่ียึดยงั ไม่มีสิทธิอา้ งบุริมสิทธิตามคาร้องเพอ่ื ร้องขอใหบ้ งั คบั
เหนือทรัพยท์ ่ียดึ ตามมาตรา ๒๘๗ ในช้นั น้ีได้ (ฎีกาท่ี ๙๗๔/๒๕๒๙)

๑๔. คาร้องขอของโจทก์ตามมาตรา ๒๕๔ (๒) ศาลจะมีคาส่ังคุม้ ครองสิทธิให้กระทบ
กระเทือนถึงบคุ คลภายนอกและไม่มีโอกาสตอ่ สู้คดีไม่ได้ (ฎีกาที่ ๓๗๔๐/๒๕๔๙)

๑๕. คาสั่งห้ามชั่วคราวมิให้จาเลยทานิติกรรมใด ๆ เกี่ยวกบั ทรัพยส์ ินก่อนพิพากษา
ไมต่ อ้ งหา้ มมิใหเ้ จา้ หน้ีตามคาพิพากษาอ่ืนท่ีจะบงั คบั คดีแก่ทรัพยส์ ินพพิ าทน้นั (ฎีกาที่ ๖๙๒/๒๕๔๔)

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๐๓

๑๖. แม้คาขอคุ้มครองชั่วคราวของโจทก์จะมีมูลและมีเหตุเพียงพอที่จะนาวิธี
ชว่ั คราวตามท่ีขอมาใชไ้ ด้ แต่หากโจทก์ย่ืนคาขอดงั กล่าวล่าชา้ ล่วงเลยเวลาอนั สมควร ศาลใช้
ดุลพนิ ิจไม่อนุญาตใหใ้ ชว้ ธิ ีการชว่ั คราวก็ได้ (ฎีกาที่ ๒๔/๒๕๔๐)

๑๗. โจทก์ขอให้ศาลมีคาสั่งคุม้ ครองช่ัวคราวก่อนพิพากษาตามมาตรา ๒๕๔ (๓)
แต่เน้ือหาที่บรรยายในคาร้องเป็ นการขอคุม้ ครองประโยชน์ตามมาตรา ๒๖๔ ศาลยอ่ มมีอานาจ
ส่งั คุม้ ครองประโยชนข์ องโจทกต์ ามเน้ือหาแห่งคาร้องได้ (ฎีกาท่ี ๕๕๐๙/๒๕๔๕)

๑๘. โจทก์ฟ้องจาเลยท้งั สองขอให้ศาลพิพากษาว่า ทางพิพาทในที่ดินของจาเลย
ท้งั สอง เป็ นทางภารจายอมหรือทางจาเป็ น และยืน่ คาร้องใหห้ ้ามจาเลยท้งั สองปิ ดก้นั หรือทาลาย
ทางพิพาท เพื่อให้โจทก์ท้งั สองได้ใช้ทางพิพาทเขา้ สู่ท่ีดินของโจทก์ท้งั สองดว้ ย ศาลช้ันต้น
อนุญาตใหใ้ ชว้ ิธีชว่ั คราวดงั กล่าว หากจาเลยท้งั สองจะอทุ ธรณ์ขอใหก้ ลบั คาสัง่ ศาลช้นั ตน้ เป็นให้
ยกคาร้องของโจทก์ จาเลยท้งั สองจะตอ้ งโตเ้ ถียงว่า วิธีการท่ีศาลช้นั ตน้ กาหนดไวต้ าม ป.วิ.พ.
มาตรา ๒๕๔ (๒) น้ัน ไม่มีเหตุเพียงพอที่จะนาวิธีคุม้ ครองช่ัวคราวดงั กล่าวมาใชห้ รือมีเหตุ
อนั สมควรประการอ่ืนที่ศาลจะมีคาส่ังต่อไปเท่าน้นั จะโตเ้ ถียงว่า ทางพิพาทไม่เคยมีมาก่อนก็ดี
หรือทางพิพาทกวา้ งประมาณ ๓ วา และยาวประมาณ ๑๕ วา เท่าน้ันไม่ได้ เพราะปัญหาว่า
ทางพิพาทกว้างยาวเพียงใด และมีทางพิพาทหรือไม่ เป็ นเรื่องที่จะต้องว่ากล่าวกันต่อไป
ในช้ันพิจารณา ไม่ใช่ประเด็นที่ศาลจะต้องช้ีขาดในช้ันขอคุ้มครองชั่วคราวก่อนพิพากษา
แตอ่ ยา่ งใด (ฎีกาที่ ๗๐๒๔/๒๕๔๖)

๑๙. โจทก์ฟ้องขอให้จาเลยส่งมอบทรัพยส์ ินท่ีจาเลยครอบครองอยู่เขา้ กองมรดก
เพ่ือแบ่งปันให้ทายาท คาฟ้องดงั กล่าวย่อมครอบคลุมรวมท้งั ทรัพยม์ รดกที่มีชื่อและไม่มีชื่อ
เจา้ มรดกดว้ ย มิใช่จากดั เฉพาะทรัพยท์ ่ีมีช่ือเจา้ มรดกปรากฏอยู่โจทกข์ ออายดั เงินฝากท่ีธนาคาร
ไวช้ ว่ั คราวก่อนพิพากษา แมไ้ ม่มีช่ือเจา้ มรดกในบญั ชีเงินฝาก แต่หากมีเหตุน่าเชื่อวา่ เป็ นทรัพยม์ รดก
ของเจา้ มรดกและเขา้ หลกั เกณฑต์ ามป.วิ.พ. มาตรา ๒๕๕ โจทก์ย่อมมีสิทธิขออายดั ได้ (ฎีกาที่
๗๕๓/๒๕๔๑)

๓. คาขอในเหตุฉุกเฉินตามมาตรา ๒๖๖

๓.๑ โจทก์จะต้องย่ืนคาร้องขอให้ศาลไต่สวนโดยฉุกเฉิน ตามมาตรา๒๖๖ ฉบบั หน่ึงและต้อง
ยน่ื คาร้องขอคุม้ ครองชวั่ คราวก่อนคาพพิ ากษาตามมาตรา ๒๕๔ อีกฉบบั หน่ึงดว้ ย

๓.๒ หากคาร้องไม่เขา้ เหตุฉุกเฉิน ให้ศาลยกคาร้องขอให้ศาลไต่สวนโดยฉุกเฉินโดยไม่ต้อง
ไต่สวนว่า “เหตุที่โจทก์อ้างในคาร้ องไม่เข้าลักษณะฉุกเฉิน ยกคาร้ อง” หรือ “กรณีตามคาร้ อง
ไม่มเี หตฉุ ุกเฉิน ยกคาร้อง”

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๐๔

สาหรับคาร้องขอคุม้ ครองชว่ั คราวก่อนพพิ ากษาที่ยน่ื มาดว้ ยใหส้ ่ังวา่ “ศาลส่ังยกคาร้อง
ขอฉุกเฉินของโจทก์แล้ว คาร้องนจี้ ึงตกไปในตัว ”

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ ๗๑๔๐/๒๕๔๗ เดิมโจทก์ย่ืนคาขอในเหตุฉุกเฉินพร้อมกับ
คาร้องขอคุม้ ครองชว่ั คราวก่อนพิพากษา ศาลช้นั ตน้ ยกคาขอในเหตุฉุกเฉินน้ัน ทาให้คาร้องขอ
คุม้ ครองชัว่ คราวฉบบั ท่ียื่นมาพร้อมกนั น้ันตกไปดว้ ย ซ่ึงตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๖๗ วรรคสาม
การที่ศาลยกคาขอในเหตุฉุกเฉินยอ่ มไม่ตดั สิทธิโจทกท์ ่ีจะเสนอคาขอตามมาตรา ๒๕๔ น้นั ใหม่
โจทก์จึงมีสิทธิยื่นคาขอคุม้ ครองชัว่ คราวก่อนพิพากษาฉบบั ใหม่ลงวนั ที่ ๙ เมษายน ๒๕๔๔
เขา้ มาไดอ้ ีกแมต้ ่อมาศาลช้นั ตน้ ไต่สวนและมีคาสั่งตามคาร้องฉบบั ดงั กล่าว โจทกจ์ ะไดย้ ่ืนคาขอ
ในเหตุฉุกเฉินพร้อมกับคาร้องขอคุ้มครองชั่วคราวก่อนพิพากษาฉบับลงวนั ที่ ๑๑ เมษายน
๒๕๔๔ เขา้ มาอีก และศาลช้นั ตน้ มีคาส่ังยกคาร้องในวนั เดียวกนั น้ันเอง ก็มีผลเป็ นการยกคาขอ
ในเหตุฉุกเฉินและทาใหค้ าร้องขอคุม้ ครองชวั่ คราวก่อนพิพากษาท่ีย่นื มาพร้อมกนั น้นั ตกไปดว้ ย
เท่าน้ันจึงไม่ตดั สิทธิโจทก์ท่ีจะย่ืนคาร้องขอคุม้ ครองชว่ั คราวก่อนพิพากษาเช่นเดียวกนั น้ันอีก
ศาลช้นั ตน้ จึงมีอานาจไต่สวนและมีคาสั่งตามคาร้องขอคุม้ ครองชวั่ คราวก่อนพิพากษาฉบบั ลง
วนั ท่ี ๙ เมษายน ๒๕๔๔ ท่ีโจทก์ยื่นไวก้ ่อนได้ กรณีไม่เป็ นการดาเนินกระบวนพิจารณาซ้า
ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๑๔๔

อน่ึง จาเลยผู้ให้เช่าซ้ือซ่ึงเป็ นคู่ความในคดีน้ีกระทาการยึดรถยนต์ท่ีให้เช่าซ้ือ
ซ่ึงโจทก์ผูเ้ ช่าซ้ืออา้ งว่าเป็ นการกระทาที่ผิดสัญญาเช่าซ้ือและทาให้โจทก์เสียหาย เม่ือคดีของ
โจทก์มีมูลและมีเหตุผลเพียงพอ โจทก์ย่อมมีสิทธิขอคุม้ ครองชวั่ คราวก่อนพิพากษาในคดีน้ีได้
ตาม ป.ว.ิ พ. มาตรา ๒๕๔ (๒) หาจาตอ้ งไปฟ้องเป็นคดีใหมไ่ ม่

อยา่ งไรก็ตาม การที่โจทก์ย่นื คาร้องขอคุม้ ครองชว่ั คราวก่อนพิพากษาและยน่ื คาร้อง
ขอในเหตุฉุกเฉิน การท่ีศาลช้นั ตน้ มิไดท้ าการไต่สวนคาร้องท้งั สองฉบบั ของโจทกใ์ นวนั ดงั กล่าว
แต่ให้นัดไต่สวนคาร้องของโจทก์หลงั วนั ยื่นคาร้อง จึงมิใช่เป็ นการพิจารณาเป็ นการด่วนตาม
มาตรา ๒๖๗ ถือว่าศาลช้ันต้นดาเนินการไต่สวนคาร้องโจทก์อย่างวิธีธรรมดา (ฎีกาที่
๑๕๐๙/๒๕๑๔, ๖๐๙๑/๒๕๓๔, ๔๕๕๔/๒๕๓๖) ดงั น้ัน คาสั่งศาลท่ียกคาร้องขอหรือยกเลิก
คาสง่ั เดิมตามคาขอจึงไมเ่ ป็นท่ีสุดตามมาตรา ๒๖๗ วรรคสอง

หากคาร้องเขา้ เหตุฉุกเฉิน ส่งั ในคาร้องขอใหศ้ าลไต่สวนโดยฉุกเฉินวา่ “เรียกไต่สวน”

๓.๓ เมื่อศาลไตส่ วนเสร็จแลว้ จดรายงานกระบวนพิจารณาวา่
ไต่สวนฉุกเฉิน โจทก์และทนายโจทก์มาศาล
ไต่สวนพยานโจทก์ได้ ๒ ปาก โจทก์แถลงติดใจสืบพยานเพยี งเท่านี้

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๐๕

เอกสารที่โจทก์อ้างหมายจ.๑ถึงจ.๕รวมไว้ในสานวนและให้เสียค่าอ้าง คดีเป็ นอันเสร็จ
การไต่สวนฉุกเฉิน รอฟังคาสั่งวันนี้ เวลา . . . น.

๓.๔ คาสง่ั หา้ มในเหตุฉุกเฉิน
ตวั อย่าง “ทางไต่สวน ปรากฏว่า ฟ้องของโจทก์มี เหตุผลเพียงพอ พฤติการณ์ที่

จาเลยที่ ๑ นารถไปจานาไว้กับจาเลยที่ ๒ และจาเลยที่ ๒ ได้ยกั ย้ายรถหลบหนีไปจากอู่ซ่อมรถนั้น
ส่อความไม่สุจริตขดั ขวางการบงั คับคดี กรณีมีเหตุฉุกเฉิน

จึงมีคาสั่งห้ามมิให้จาเลยท้ังสองโอนขาย จาหน่าย หรือยักย้ายรถยนต์เก๋งคันหมายเลข
ทะเบียน . . . จนกว่าศาลจะมีคาส่ังเปลย่ี นแปลงเป็นอย่างอื่น”

หรือ“ศาลได้เดินเผชิญสืบตรวจสถานท่ีและสืบพยานบุคคลแล้ว เห็นว่า คาขอของโจทก์
มีเหตุสมควรและกรณีมีเหตุฉุกเฉิน โดยจาเลยใช้ลวดหนามทารั้วปิ ดก้ันทางเดินเข้าออกโรงเรียนของโจทก์
จนโจทก์และเดก็ นักเรียนไม่มที างออกสู่ทางสาธารณะได้

จึงมีคาส่ังให้จาเลยรื้อรั้วลวดหนามท่ีก้ันออกช่ัวคราวจนกว่าศาลจะมีคาสั่งเป็ นอย่างอื่น
ให้โจทก์วางเงินประกนั ค่าเสียหาย ๑๐,๐๐๐ บาท ก่อนออกหมาย”

เสร็จแลว้ ศาลจึงออกหมายหา้ มชวั่ คราว แบบ (๒๗)

ข้อสังเกต
๑. โดยนัยมาตรา๒๖๖น้ี ประกอบมาตรา๒๕๔วรรคทา้ ย ถา้ คดีอยู่ระหว่างการพิจารณา

ของศาลอุทธรณ์หรือศาลฎีกาโจทก์อาจย่ืนคาร้องขอในเหตุฉุกเฉินตามมาตรา ๒๖๖ น้ีได้
หากศาลช้ันต้นยงั ไม่ได้ส่งสานวนไปท่ีศาลอุทธรณ์หรือศาลฎีกา อานาจในการสั่งยงั เป็ นของ
ศาลช้นั ตน้ และปฏิบตั ิอยา่ งเดียวกบั ขา้ งตน้

๒. คาสง่ั อนุญาตตามคาขอในเหตุฉุกเฉินไม่เป็นที่สุด จาเลยมีสิทธิอุทธรณ์หรือฎีกา
ไดต้ ามมาตรา ๒๒๘ (๒) ประกอบมาตรา ๒๔๗ แต่คาสั่งใหย้ กเลิกคาส่ังขอคุม้ ครองชว่ั คราวใน
เหตุฉุกเฉินน้นั ยอ่ มเป็ นท่ีสุดตามมาตรา ๒๖๗ วรรคสอง ท้งั น้ีไม่วา่ จะเป็ นคาส่ังของศาลช้นั ตน้
หรือศาลอุทธรณ์ (ฎีกาท่ี ๑๑๑๒/๒๕๓๖)

๓. มาตรา ๒๘๘ วรรคหน่ึง บญั ญตั ิว่า คาสั่งอนั เก่ียวดว้ ยคาขอคุม้ ครองประโยชน์
ของคู่ความในระหว่างการพิจารณา คู่ความย่อมอุทธรณ์ไดภ้ ายในหน่ึงเดือนนับแต่วนั ที่มีคาสั่ง
เป็นตน้ ไป และวรรคสาม บญั ญตั ิวา่ แมถ้ ึงวา่ จะมีอุทธรณ์ในระหว่างพิจารณา ให้ศาลดาเนินคดี
ต่อไปและมีคาพพิ ากษาหรือคาส่ังช้ีขาดตดั สินคดีน้นั ดงั น้นั หากมีการอุทธรณ์คาส่ังอนั เก่ียวดว้ ย
คาขอคุม้ ครองช่ัวคราวของคู่ความในระหว่างการพิจารณา ศาลช้ันต้นควรถ่ายสาเนาคาฟ้อง
คาให้การ คาร้องขอคุม้ ครองชว่ั คราว และสรรพเอกสารที่เกี่ยวขอ้ งเก่ียวกบั การไต่สวนและการ

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๐๖

มีคาส่ังส่งไปยังศาลอุทธรณ์เพื่อพิจารณาเท่าน้ัน และควรดาเนินคดีแล้วมีคาพิพากษา
หรือคาสง่ั ช้ีขาดตดั สินคดีน้นั ตอ่ ไป โดยไมจ่ าตอ้ งส่งสานวนคดีท้งั สานวนไปยงั ศาลอุทธรณ์

๔. หากศาลช้นั ตน้ มีคาสั่งตามมาตรา ๒๒๘ และคู่ความใชส้ ิทธิอุทธรณ์ตาม ป.วิ.พ.
มาตรา ๒๘๘ วรรคสองแลว้ แมศ้ าลช้นั ตน้ มีคาสั่งไม่รับอุทธรณ์เพราะยื่นเกินกาหนด คู่ความ
กไ็ ม่มีสิทธิอทุ ธรณ์คาสง่ั เดียวกนั น้ีภายหลงั ศาลช้นั ตน้ พิพากษาคดีตามมาตรา ๒๘๘ วรรคทา้ ย อีก

คาพิพากษาศาลฎีกาท่ี ๑๖๗๙/๒๕๔๐ (ประชุมใหญ่) หลงั จากศาลช้นั ตน้ มีคาส่ัง
ไม่รับคาให้การของจาเลยเมื่อวนั ที่ ๒๗ เมษายน ๒๕๓๗ แลว้ จาเลยไดอ้ ุทธรณ์คาสั่งดงั กล่าว
ในวนั ที่ ๑๗ มิถุนายน ๒๕๓๗ แต่ศาลช้นั ตน้ มีคาส่ังไม่รับอุทธรณ์เนื่องจากมิไดอ้ ุทธรณ์ภายใน
กาหนดหน่ึงเดือนนบั แต่วนั ท่ีศาลช้นั ตน้ มีคาสั่ง ดงั น้ี กรณีจึงตอ้ งถือว่าจาเลยไดใ้ ชส้ ิทธิอุทธรณ์
คาส่งั ของศาลช้นั ตน้ ที่ไมร่ ับคาใหก้ ารของจาเลยตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๒๘ วรรคสอง แลว้ ฉะน้นั
จ า เ ล ย จึ ง ไ ม่ มี สิ ท ธิ อุ ท ธ ร ณ์ ค าส่ั ง เดี ย ว กัน ภ าย ห ลัง ศ าล ช้ ัน ต้น พิพา ก ษา คดี ต าม วร ร ค สุ ด ท้าย
แห่งบทบญั ญตั ิมาตราดงั กลา่ วอีก

๔. คาขอคุ้มครองประโยชน์ตามมาตรา ๒๖๔

๔.๑ การขอคุม้ ครองประโยชน์ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๖๔ คู่ความทุกฝ่ ายมีสิทธิขอได้ มิได้
ใหส้ ิทธิเฉพาะโจทกด์ งั เช่นมาตรา ๒๕๔ แต่บุคคลภายนอก หรือเจา้ หน้ีหรือโจทกใ์ นคดีอื่นไม่มี
สิทธิขอตามมาตราน้ี ถา้ ขอมาศาลตอ้ งยกคาร้อง (ฎีกาที่ ๓๒๒/๒๕๐๒)

๔.๒ กรณีโจทก์ยื่นคาร้องขอให้ห้ามจาเลยทานาและให้เรียกจาเลยมาประมูลค่าเช่านา
สั่งวา่ “จาเลยไม่ยอมประมูลค่าเช่านา ศาลบังคับจาเลยให้ประมูลไม่ได้ให้ยกคาร้องของโจทก์”
(ฎีกาท่ี ๗๓๓/๒๔๙๒)

๔.๓ แต่ถา้ เป็ นกรณีจาเลยเช่าทรัพยข์ องโจทก์ โจทกบ์ อกเลิกสัญญาขอให้ขบั ไล่จาเลยวา่
สัญญา ยังไม่เลิกกัน ไม่ได้ผิดนัดชาระค่าเช่า โจทก์ยื่นคาร้องว่าจาเลย ไม่มีหลักทรัพย์
คงประกอบแต่ธุรกิจ ขอให้จาเลยวางค่าเช่าและค่าเสียหาย ศาลน่าจะส่ังให้จาเลยวางเงินได้
ตามที่เห็นสมควร เพราะเห็นไดช้ ดั วา่ จาเลยใชท้ รัพยข์ องโจทกอ์ ยู่

อย่างไรก็ตาม กรณีท่ีโจทก์ฟ้องขอให้ขบั ไล่จาเลยและเรียกค่าเสียหาย หากโจทก์
ชนะคดี โจทกจ์ ะไดเ้ งินค่าเสียหายจากการกระทาละเมิดของจาเลย ไม่ไดฟ้ ้องเรียกเอาเงินค่าเช่า
อาคาร ส่ิงปลูกสร้าง หาบเร่ แผงลอย บนท่ีดินพิพาทแต่อย่างใด จึงไม่มีประเด็นขอ้ พิพาทว่า
ค่าเช่าอาคาร ส่ิงปลูกสร้าง หาบเร่ แผงลอยบนท่ีดินควรจะเป็ นของโจทก์หรือของจาเลย

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๐๗

จึงไม่ตอ้ งด้วย ป.วิ.พ. มาตรา ๒๖๔ ท่ีโจทก์จะขอให้ห้ามจาเลยเก็บค่าเช่าและขอให้ศาลต้ัง
บุคคลอื่นไปเก็บคา่ เช่าและดูแลกิจการแทน (ฎีกาท่ี ๖๑๐/๒๕๔๓)

๔.๔ กรณีโจทก์ยื่นคาร้องขอให้ต้งั ผูจ้ ัดการทรัพยท์ ่ีพิพาท และนาเงินท่ีไดม้ าวางศาล
หากเห็น สมควรอนุญาต ส่ังวา่ “โจทก์ จาเลย เป็นสามีภรรยากันโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย และ
อยู่อาศัยท่ีโรงแรมและบ้านเช่าอันเป็ นส่ วนหนึ่งของทรัพย์ที่พิพาท ทรัพย์ท่ีพิ พาทปลูกอยู่
บนที่ดินท่ีโจทก์ถือกรรมสิทธ์ิสมควรนาวิธีการค้มุ ครองประโยชน์ของโจทก์ในระหว่างพิจารณา
มาใช้เกี่ยวกบั รายได้ในกิจการโรงแรมและบ้านเช่า

จึงมีคาสั่งต้ังนาย ก. เป็ นผู้จัดการทรัพย์พิพาท ให้นาเงินที่ได้จากกิจการดังกล่าว
มาวางศาลทกุ เดือน”

หากเห็นสมควรยกคาร้อง สั่งวา่ “ตามคาร้องของโจทก์และคาคัดค้านของผู้คัดค้าน
มีประเดน็ ที่ศาลจะต้องชีข้ าดว่า ผู้คัดค้านเป็ นบริวารจาเลยหรือไม่ หากโจทก์ชนะคดี โจทก์ก็มี
สิทธิให้ บังคับผู้คัดค้านออกไปจากทรัพย์ท่ีพิพาท หามีสิทธิบังคับให้ ผู้คัดค้านชาระค่าเช่าหรือ
ค่าเสียหายแก่โจทก์ไม่ โจทก์ไม่มีสิทธิที่จะขอให้ ศาลใช้วิธีการคุ้มครองโจทก์ตาม ป.วิ.พ.
มาตรา ๒๖๔ จึงให้ยกคาร้องของโจทก์ ” (ฎีกาท่ี ๑๑๗๗/๒๕๒๔)

๔.๕ ในคดีร้องขอต้งั ผูจ้ ดั การมรดก ซ่ึงมีประเด็นขอ้ พิพาทเพียงว่า ผูร้ ้องหรือผูค้ ดั คา้ น
สมควรเป็นผจู้ ดั การมรดก ไม่เป็ นคดีที่จะร้องขอคุม้ ครองประโยชน์ระหวา่ งพิจารณาหรือบงั คบั
ตามคาพพิ ากษาตามมาตรา ๒๖๔ (คาส่งั คาร้องศาลฎีกาท่ี ๗๐๒/ ๒๕๒๙, ๖๐๙/๒๕๓๑)

๔.๖ มาตรา ๒๖๔ มิไดบ้ ญั ญตั ิใหน้ ามาตรา ๒๕๔ วรรคสอง มาใชบ้ งั คบั ดงั น้นั เมื่อศาล
ช้นั ตน้ สั่งรับอุทธรณ์หรือฎีกาแลว้ คดีย่อมอยู่ในอานาจของศาลอุทธรณ์หรือฎีกาแลว้ แต่กรณี
อานาจในการพิจารณาส่ังคาขอตามมาตรา ๒๖๔ จึงเป็ นอานาจของศาลอุทธรณ์หรือศาลฎีกา
โดยไม่ตอ้ งคานึงวา่ ศาลช้นั ตน้ จะไดส้ ่งสานวนไปยงั ศาลอุทธรณ์หรือศาลฎีกาแลว้ หรือไม่ ท้งั น้ี
ศาลช้ันตน้ จะทาหน้าท่ีเพียงไต่สวนเท่าน้ัน แลว้ ส่งคาขอไปยงั ศาลอุทธรณ์หรือศาลฎีกาพิจารณาส่ัง
(เทียบฎีกาท่ี ๑๕๗๘/๒๕๑๔, ๓๗๔๙/๒๕๓๓, ๒๕๗๓/๒๕๓๖)

ข้อสังเกต
๑. ตอ้ งดูคาขอทา้ ยฟ้องของโจทก์ดว้ ยว่าเม่ือโจทก์ชนะคดีแลว้ จะบงั คบั ตามคาขอ

คุม้ ครองประโยชน์น้ันไดห้ รือไม่ ถา้ บงั คบั ไม่ไดก้ ็ไม่สมควรจะนาวิธีการช่ัวคราวมาใช้บงั คบั
(ฎีกาที่ ๔๖๑/๒๕๐๗, ๑๒๒/๒๕๑๒, ๑๒๘๗/๒๕๑๓, ๑๖๗๘/๒๕๒๕)

๒. การขอทุเลาการบงั คบั ตามมาตรา ๒๓๑ น้ัน ถ้าศาลเห็นว่าเขา้ มาตรา ๒๖๔
ก็คุม้ ครองประโยชน์ระหว่างพิจารณาได้ เช่น ในคดีที่ศาลอุทธรณ์พิพากษายืนให้ขบั ไล่จาเลย

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๐๘

และบริวารออกจากบา้ นพิพาท ห้ามเก่ียวขอ้ งอีกต่อไป และให้ใชค้ ่าเสียหายแก่โจทก์เดือนละ
๗๐๐ บาท นับแต่วนั ฟ้องจนกว่าจะมอบบา้ นพิพาทให้โจทก์ จาเลยฎีกาและขอทุเลาการบงั คบั
ศาลฎีกาสั่งอนุญาต ต่อมาโจทก์ยนื่ คาร้องอา้ งเหตผุ ลวา่ ถา้ โจทกช์ นะคดีจาเลยจะไม่มีทรัพยส์ ิน
ชาระหน้ี ขอให้ศาลมีคาสั่งกาหนดวิธีคุม้ ครองประโยชน์ ศาลฎีกาสั่งว่า แมศ้ าลฎีกาจะเคยส่ัง
อนุญาตให้จาเลยทุเลาการบงั คบั ได้ก็ไม่ตดั สิทธิคู่ความอ่ืนที่จะขอคุม้ ครองประโยชน์ของผูข้ อ
ในระหว่างพิจารณาตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๖๔ คดีน้ีเมื่อพิจารณาถึงพฤติการณ์ในคดีสมควร
คุม้ ครองประโยชน์ของโจทก์ในระหว่างพิจารณา จึงให้จาเลยนาค่าเสียหายเดือนละ ๗๐๐ บาท
นบั แต่วนั ฟ้องมาวางศาลช้นั ตน้ จนกวา่ คดีจะถึงที่สุด หรือมีหลกั ประกนั ต่อศาลตามที่ศาลช้นั ตน้
เห็นสมควรกาหนด (คาส่งั คาร้องศาลฎีกาที่ ๗๓๑/๒๕๑๕)

๓. การจาหน่ายคดีช่วั คราว เช่น เพื่อรอฟังผลคดีอ่ืนตามมาตรา ๓๙ อนั เป็ นการเล่ือน
การพิจารณาออกไป กรณีน้ีจึงไม่ใช่เป็ นการส่ังจาหน่ายคดีเสียจากสารบบความตามมาตรา ๑๓๒
คดีจึงยงั อยู่ในระหว่างการพิจารณาของศาลช้ันต้น คู่ความย่อมมีสิทธิขอคุม้ ครองประโยชน์
ตามมาตรา ๒๖๔ หรือโจทกจ์ ะขอคุม้ ครองชวั่ คราวตามมาตรา ๒๕๔ ก็ได้

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ ๔๒๑/๒๕๒๔ คาว่า “การพิจารณา” ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๑
(๘) หมายความว่า กระบวนการพิจารณาท้งั หมดในศาลใดศาลหน่ึงก่อนศาลน้ันช้ีขาดตดั สิน
หรือจาหน่ายคดีโดยคาพิพากษาหรือคาส่ัง และการจาหน่ายคดีน้ันหมายถึง การท่ีศาลมีคาส่ัง
ใหจ้ าหน่ายคดีเสียจากสารบบความตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๑๓๒ ซ่ึงมีผลให้คดีเสร็จเด็ดขาดไปจาก
ศาลท่ีมีคาสั่งใหจ้ าหน่ายคดีน้นั การท่ีคู่ความร้องขอใหศ้ าลช้นั ตน้ รอฟังผลของคาพพิ ากษาในคดี
อื่นเพ่ืออาศยั เป็ นหลกั ในการช้ีขาดตัดสินคดีน้ี เป็ นการร้องขอให้ศาลเล่ือนการนั่งพิจารณา
ไปตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๓๙ ที่ศาลช้นั ตน้ มีคาสั่งให้จาหน่ายคดีน้ีช่วั คราวจึงมีผลเท่ากบั มีคาส่ัง
ให้เล่ือนการน่ังพิจารณาไปนั่นเอง หาใช่เป็ นการสั่งจาหน่ายคดีเสียจากสารบบความตาม
ป.วิ.พ. มาตรา ๑๓๒ ไม่ คดีจึงยงั อยู่ในระหว่างการพิจารณาของศาลช้ันต้น ซ่ึงศาลช้ันต้น
จะมีคาส่งั ใหเ้ ริ่มการนงั่ พจิ ารณาต่อไปในวนั ใด ๆ ตามที่เห็นสมควรกไ็ ด้ ดงั น้นั โจทกย์ อ่ มมีสิทธิ
ร้องขอในเวลาใด ๆ ก่อนมีคาพิพากษาเพื่อให้ศาลมีคาส่ังคุม้ ครองอย่างใด ๆ ตาม ป.วิ.พ.
มาตรา ๒๕๔ และมีสิทธิร้องขอให้ศาลมีคาสั่งกาหนดวิธีการเพื่อคุม้ ครองประโยชน์ตาม
ป.ว.ิ พ. มาตรา ๒๖๔ ไดด้ ว้ ย

๔. คดีท่ีคู่ความฟ้องขอใหบ้ งั คบั ชาระหน้ีเป็ นเงิน คูค่ วามยอ่ มไมอ่ าจมีคาขอคุม้ ครอง
ประโยชน์ให้อีกฝ่ ายนาเงินหรือหาหลกั ประกันมาวางต่อศาลได้ เพราะมิใช่เรื่องท่ีพิพาทกนั
ดว้ ยทรัพยส์ ิน สิทธิหรือประโยชน์อย่างใดอย่างหน่ึงที่จะร้องขอให้ไดร้ ับความคุม้ ครองตาม
มาตรา ๒๖๔ (ฎีกาที่ ๒๕๘๐/๒๕๒๗, ๑๓๖๐/๒๕๕๐)

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๐๙

๕. การขอคุม้ ครองประโยชน์อาจตกลงให้มีการคุม้ ครองจนกว่าคดีจะถึงที่สุดก็ได้
อนั เป็นขอ้ ตกลงของคูค่ วามท่ีตกลงยกเวน้ ไม่นามาตรา ๒๖๐ มาใชบ้ งั คบั (ฎีกาท่ี ๑๖๘/๒๕๑๓)

๖. การทุเลาการบังคบั เป็ นอานาจเฉพาะของศาลอุทธรณ์ คู่ความไม่มีสิทธิฎีกา
แต่การขอคุม้ ครองประโยชน์ตามมาตรา ๒๖๔ คู่ความยอ่ มมีสิทธิฎีกาได้ ดงั น้นั จึงตอ้ งดูเน้ือหา
แห่งคาขอของคู่ความว่าเป็ นเรื่องใด เพ่ือพิจารณาสิทธิในการฎีกาคาสั่งต่อไป (ฎีกาท่ี ๒๑๖๘/
๒๕๓๒, ๓๗๙๖/๒๕๓๖, ๔๐๘๕/๒๕๔๖)

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๑๐

ส่วนที่ ๓

การขอให้ถอนการยดึ อายดั ห้ามช่ัวคราว

๑. จาเลยย่ืนคาร้องขอให้ถอนหมายยึดหรืออายัดหรือคาสั่งห้ามชั่วคราวตามมาตรา๒๖๑

๑.๑ คาร้องของจาเลยบงั คบั ตามมาตรา ๒๑(๒) กล่าวคือ เป็ นคาขอที่ไม่อาจทาได้ฝ่ ายเดียว
ต้องสาเนาให้อีกฝ่ ายและให้โอกาสคัดค้าน (เว้นแต่จาเลยย่ืนคาขอโดยพลันให้ศาลยกเลิกคาส่ัง
หรือหมายน้นั เสีย ตามมาตรา ๒๖๗ วรรคสอง)

คาร้องของจาเลย ส่ังว่า “รับคาร้ อง นัดไต่สวน สาเนาให้ โจทก์ ถ้าจะคัดค้านให้ ยื่น
ภายใน. . . วัน มิฉะน้ันถือว่าไม่คัดค้านให้จาเลยวางเงินค่านาส่งตามข้อบังคับว่าด้วยการส่งคาคู่ความ
และเอกสารทางคดีอย่างช้าภายในวันทาการถัดไป หากไม่ดาเนินการถือว่าทิ้งคาร้ อง นัดไต่สวนวันท่ี ...
เวลา...น.” หรืออาจสั่งว่า““รับคาร้ อง นัดไต่สวน สาเนาให้โจทก์ ถ้าจะคัดค้านให้ยื่นภายใน...วัน
มิฉะนั้นถือว่าไม่คัดค้าน ให้ จาเลยนาส่ งภายใน ๕ วัน หากส่ งไม่ได้ให้ แถลงภายใน ๗ วัน นับแต่
วนั ส่งไม่ได้ หากไม่ดาเนินการถือว่าทิง้ คาร้อง...” และเมื่อศาลไต่สวนแลว้ มีคาสั่งวา่

ตวั อย่าง
“พิเคราะห์แล้ว เห็นว่า จาเลยเป็นผู้มีฐานะดี มีหลักทรัพย์เกินทุนทรัพย์ที่โจทก์ฟ้อง

จาเลย มิได้จาหน่ายขายทรัพย์ของจาเลยเพื่อมิให้บงั คับตามคาบังคับของศาล จึงให้ถอนหมายยึด
ชั่วคราวก่อนคาพิพากษา (หรือถอนคาส่ังห้ามช่วั คราว) เสีย โดยให้โจทก์เสียค่าธรรมเนียม
ยึดแล้วไม่มกี ารขาย”

หรื อส่ังว่า “พิเคราะห์ แล้ว เห็นว่า จาเลยได้นาเงินสดมาวางศาลเป็ นจานวน
๒๐๐,๐๐๐ บาท เกินทุนทรัพย์ของโจทก์และค่าฤชาธรรมเนียมศาลแล้ว จึงให้ถอนการอายดั เงิน
ค่าก่อสร้างตามหมายอายดั ทรัพย์ช่ัวคราวเสีย”

หรือส่ังวา่ “พิเคราะห์แล้ว เห็นว่า จาเลยนาหนังสือคา้ ประกันของธนาคาร กรุงไทย
จากัด (มหาชน) สาขาสาเพ็ง มาเป็ นหลักประกันการชาระหนีต้ ามหมายอายัดเงินค่าก่อสร้ าง
ให้ รั บหลักประกันและให้ เสียค่ าธรรมเนียมค่ าหนังสื อประกันแล้ วจึงให้ ถอนการอายัดช่ัวคราวเสีย
ให้โจทก์เสียค่าธรรมเนยี มร้อยละ ๑”

๑.๒ โจทกข์ อรับเงินประกนั ค่าเสียหายตามมาตรา ๒๕๗ คืน สง่ั วา่
“นดั สอบถามจาเลย ถ้าจะคัดค้านให้คัดค้านก่อนหรือในวันนดั ”
ถึงวนั นดั สอบถาม ถา้ จาเลยไม่คา้ น หรือเม่ือมีคาแถลงของจาเลยเขา้ มาว่าไม่คดั คา้ น

ส่งั วา่

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๑๑

“อนุญาตให้ คืนเงินประกันให้ โจทก์” หรือส่ังว่า “สอบจาเลยก่อนว่าจะคัดค้าน
หรื อไม่”

ถา้ จาเลยคดั คา้ น สง่ั อิงมาตรา ๒๖๓ โดยสัง่ วา่
“พิเคราะห์แล้ว เห็นว่า คดีนีศ้ าลยกฟ้องโจทก์ โดยยังไม่ได้วินิจฉัยชีข้ าดข้อพิพาท
และศาลได้ มีคาส่ังให้ ยึดทรั พย์จาเลยไว้ ชั่วคราวก่ อนคาพิพากษาโดยมิได้ หลงผิด และมีเหตุผลเพียงพอ
จึงอนุญาตให้คืนเงินประกันไป ”

ข้อสังเกต
๑. การยื่นคาขอให้ถอนหมายห้ามชั่วคราวต้องย่ืนในคดีเดิมไม่ใช่ฟ้องเป็ นคดีใหม่
ขอใหห้ มายหา้ มชว่ั คราวดงั กลา่ วไมม่ ีผลบงั คบั (ฎีกาที่ ๒๖๒๔/๒๕๔๓)
๒. คาสั่งอายดั ทรัพยส์ ินตามมาตรา ๒๕๔(๑) ของจาเลยคนใด คงมีผลบงั คบั เฉพาะ
จาเลยคนน้นั จาเลยอ่ืนไมม่ ีสิทธิอุทธรณ์ฎีกาคาส่งั ดงั กล่าว (ฎีกาที่ ๖๙๒/๒๕๔๔)
๓. การกาหนดเง่ือนไขในวิธีการชวั่ คราวก่อนพิพากษา ไม่มีกฎหมายจากดั ให้ศาล
กาหนดเงื่อนไขไดเ้ ฉพาะตามท่ีคู่ความร้องขอ เม่ือศาลเห็นว่าวิธีการชวั่ คราวเดิมก่อใหเ้ กิดปัญหา
แก่คู่ความในการปฏิบตั ิตามคาส่ังของศาล รวมท้งั มีการโตแ้ ยง้ กันเก่ียวกบั วิธีการชั่วคราวจน
ทาให้เป็ นปัญหาในการพิจารณาเน้ือหาแห่งคดี ศาลชอบที่จะแกไ้ ขโดยกาหนดวิธีการชวั่ คราว
ใหม่ได้ตามเห็นสมควร เพ่ือประโยชน์แก่คู่ความฝ่ ายท่ีจะชนะคดีต่อไป โดยไม่จาต้องรอ
ใหค้ ูค่ วามยน่ื คาร้องขอเขา้ มาอีกหรือตอ้ งทาการไต่สวนใหม่ (ฎีกาท่ี ๓๙๘๓ - ๓๙๘๕/๒๕๔๘)
๔. การขอรับเงินประกนั ค่าเสียหายของโจทกค์ ืนตามมาตรา ๒๖๓

๔.๑ จะตอ้ งอยภู่ ายใตบ้ งั คบั ของระยะเวลา ๓๐วนั นบั แต่วนั ที่มีคาพิพากษาของ
ศาลที่มีคาสั่งตามวิธีการชว่ั คราวน้นั ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๖๓ วรรคหน่ึง ซ่ึงจาเลยอาจมีสิทธิ
ไดร้ ับตามมาตรา ๒๕๗ วรรคทา้ ย

๔.๒ จะตอ้ งอย่ภู ายใตบ้ งั คบั ผลของคาพิพากษาตามมาตรา ๒๖๐ ท่ีทาให้คาสั่ง
คุม้ ครองชวั่ คราวยงั ไมส่ ้ินผลลง

๔.๓ และจะต้องไม่ใช่กรณีท่ีศาลมีคาสั่งให้คุม้ ครองชั่วคราวไวจ้ นกว่าคดี
จะถึงท่ีสุดตามมาตรา ๒๕๔ (๒) (๓)

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๑๒

๒. บุคคลภายนอกท่ีได้รับหมายยึด อายัด หรือคาสั่งห้ามตามมาตรา ๒๕๔ มีสิทธิขอ
เพิกถอนคาสั่งน้ันได้เช่ นเดียวกับจาเลย แต่ถ้าบุคคลภายนอกขอให้ปล่อยทรัพย์
ท่ียึด หรือคดั ค้านคาส่ังอายัดให้นามาตรา ๒๘๘ หรือ ๓๑๒ มาใช้บังคบั โดยอนุโลม

“พิเคราะห์ แล้ว เห็นว่า จาเลยโอนสิทธิเรี ยกร้ องของจาเลยท่ีมีต่อองค์การบริ หาร
ส่วนท้องถิ่นให้แก่ธนาคารทหารไทย จากัด (มหาชน) ก่ อนโจทก์ฟ้องคดี โดยไม่ปรากฏว่า
จาเลยกระทาการโอนโดยฉ้ อฉล

จึงให้ ถอนหมายอายัดเงินชั่วคราวก่อนคาพิพากษาต่อองค์การบริ หารส่ วนท้องถ่ิน
ให้โจทก์เสียค่าธรรมเนยี มถอนอายดั ร้อยละ ๑”

๓. จาเลยหรือบุคคลภายนอกตามมาตรา ๒๖๑ ยื่นคาร้องขอให้ศาลสั่งแก้ไขหรือยกเลกิ
เพราะข้อเทจ็ จริงหรือพฤติการณ์เปลย่ี นแปลงไปตามมาตรา ๒๖๒

สัง่ วา่ “รับคาร้องสาเนาให้โจทก์ นัดไต่สวน”
ไตส่ วนแลว้ สั่งวา่
ตวั อยา่ ง “พิเคราะห์แล้ว เห็นว่า สิทธิเรียกร้องของจาเลยและลูกหนีข้ องจาเลยได้หักกลบ
ลบหนกี้ ับจาเลยหมดแล้ว จึงให้ถอนหมายอายดั เสีย”
อน่ึง ถา้ ศาลเห็นว่าพฤติการณ์เปลี่ยนไป ศาลก็ส่ังตามมาตรา ๒๖๒ ไดเ้ องเช่นเดียวกนั
โดยจาเลยไม่ตอ้ งขอ

๔. จาเลยย่ืนคาขอให้ยกเลกิ คาส่ังในเหตฉุ ุกเฉินตามมาตรา ๒๖๗ วรรคสอง

คาขอตามมาตราน้ีเป็ นคาขอฝ่ ายเดียว ไม่ตอ้ งส่งสาเนาให้อีกฝ่ าย ใหไ้ ต่สวนเป็ นการด่วน
เมื่อไตส่ วนเสร็จแลว้ มีคาสั่ง

ตวั อย่าง “ตามคาร้ องของจาเลยและพยานที่จาเลยนาสืบมา ปรากฏว่าโจทก์มีทางออก
ทางด้านหลังโรงเรี ยนซ่ึงเป็ นถนนสาธารณะรถยนต์เข้าออกได้

จึงมคี าสั่งให้ยกเลิกคาสั่งห้ามจาเลยก้ันร้ัว (รื้อรั้ว) เสีย”

ข้อสังเกต
๑. คาสั่งตามมาตรา ๒๖๗ วรรคแรก ท่ีศาลส่ังยกคาขอของโจทก์ถึงที่สุด
จะอทุ ธรณ์ฎีกาไม่ได้ (ฎีกาท่ี ๔๐๗/๒๕๑๙, ๒๗๒๘/๒๕๒๖)
๒. คาส่งั ตามมาตรา ๒๖๗ วรรคสอง ซ่ึงสง่ั อนุญาตตามคาขอจาเลย คือยกเลิก
คาสง่ั ที่อนุญาตตามคาขอโจทกใ์ นมาตรา ๒๖๗ วรรคแรก น้นั ถึงที่สุด (ฎีกาที่ ๔๐๗/๒๕๑๙)

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๑๓

๓. กรณีศาลมีคาสั่งยกเลิกคาขอในเหตุฉุกเฉินแล้ว โจทก์จะขอคุ้มครอง
ชว่ั คราวใหม่ตามมาตรา ๒๕๔ โดยวิธีธรรมดาอีกได้ แต่จะขอฉุกเฉินอีกในมูลเหตุเดิมไม่ได้
เวน้ แต่มีมลู เหตเุ กิดข้ึนใหมจ่ ึงขอคุม้ ครองชวั่ คราวโดยวธิ ีฉุกเฉินอีกได้

๔. คาสั่งยกเลิกคาส่ังเดิมตามคาขอในเหตุฉุกเฉินเป็ นที่สุดเฉพาะกรณีท่ีมีการ
ยกเลิกคาสง่ั เดิมท้งั หมด หากยกเลิกเพยี งบางส่วนยอ่ มไม่เป็นท่ีสุด (ฎีกาที่ ๒๒๐๑/๒๕๒๒)

๕. การที่จาเลยยื่นคาขอให้ศาลยกเลิกคาสั่งในเหตุฉุกเฉิน หากศาลช้ันต้น
พิจารณาแลว้ มีคาสั่งยกเลิกคาสัง่ เดิมตามคาขอของจาเลย คาสั่งยอ่ มเป็ นที่สุด ท้งั น้ีโดยไม่ตอ้ ง
คานึงว่าศาลช้ันต้นได้พิจารณาคาขอของจาเลยในกรณีมีเหตุฉุกเฉินหรือพิจารณาฝ่ ายเดียว
หรือสองฝ่ ายหรือไม่ (ฎีกาที่ ๑๑๔๒/๒๕๒๕)

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๑๔

ส่วนท่ี ๔

คดมี โนสาเร่และคดีไม่มีข้อย่งุ ยาก

การดาเนินกระบวนพิจารณาคดีประเภทน้ีอยู่ในลักษณะ ๒ วิธีพิจารณาวิสามัญ
ในศาลช้นั ตน้ หมวด ๑ ซ่ึงมีหลกั การสาคญั ท่ีพงึ ตระหนกั ๓ ประการ ไดแ้ ก่

(๑) ในนดั แรกท่ีคูค่ วามมาพร้อมกนั ศาลตอ้ งทาการไกล่เกลี่ยเสมอ
(๒) ในการพิจารณาสืบพยาน ใหต้ ระหนกั ว่าเป็ นระบบไต่สวนหาความเป็นจริง
โดยศาลเป็ นผูซ้ ักถามพยานก่อน เสร็จแลว้ จึงให้ตวั ความหรือทนายความ ซักถามเพิ่มเติมได้
(มาตรา ๑๙๓ จตั วา วรรคสอง)
(๓) การดาเนินกระบวนพิจารณาตอ้ งเป็ นไปโดยมิชกั ชา้ และพิพากษาโดยเร็ว
เทา่ ท่ีพึงกระทาได้ โดยเลื่อนคดีไดค้ ร้ังละไม่เกิน ๗ วนั (มาตรา ๑๙๓ เบญจ)

๑. คดมี โนสาเร่มลี กั ษณะตามท่ีบญั ญัตไิ ว้ในมาตรา ๑๘๙

มีเพยี ง ๒ ประเภท คือ
- คดีท่ีมีคาขอให้ปลดเปล้ืองทุกข์อนั อาจคานวณเป็ นราคาเงินได้ไม่เกิน ๓๐๐,๐๐๐บาท
หรือไม่เกินจานวนที่กาหนดในพระราชกฤษฎีกา
- คดีฟ้องขบั ไล่ออกจากอสังหาริมทรัพย์อันมีค่าเช่าหรืออาจให้เช่าได้ในขณะยื่นฟ้องไม่เกิน
เดือนละ ๓๐,๐๐๐ บาท หรือไม่เกินจานวนท่ีกาหนดในพระราชกฤษฎีกา

๑.๑ การรับฟ้องคดมี โนสาเร่
๑.๑.๑ กรณีโจทก์ยื่นคาฟ้องเป็ นหนังสือ สั่งว่า “รับฟ้อง พิจารณาอย่างคดี

มโนสาเร่ สาเนาให้จาเลย หมายเรียกจาเลยมาศาลเพื่อการไกล่เกลี่ย ให้การและสืบพยาน
โจทก์จาเลยในวันเดียวกัน ให้โจทก์วางเงินค่านาส่งตามข้อบังคับว่าด้วยการส่งคาคู่ความและ
เอกสารทางคดีอย่างช้าภายในวันทาการถัดไป มิฉะนั้นถือว่าโจทก์ทิง้ ฟ้อง นัดพิจารณาวันที่ . . .
เวลา . . . น.” หรือส่ังว่า “รับฟ้อง พิจารณาอย่างคดีมโนสาเร่ สาเนาให้จาเลย หมายเรียกจาเลย
มาศาลเพ่ือการไกล่เกล่ีย ให้การและสืบพยานโจทก์จาเลยในวันเดียวกัน ให้โจทก์นาส่งภายใน ๕ วนั
ส่งไม่ได้ให้โจทก์แถลงภายใน ๗ วัน นับแต่วันส่งไม่ได้ มิฉะน้นั จะถือว่าโจทก์ทิง้ ฟ้อง . . .”

ในหมายเรียกตอ้ งจดแจง้ ประเด็นและจานวนทุนทรัพย์ (โดยแนบสาเนา
คาฟ้องส่งไปดว้ ย) พร้อมกาหนดวนั นดั พิจารณา นัดจาเลยมาศาลเพ่ือการไกล่เกล่ีย ให้การและ
สืบพยานในวนั เดียวกนั ตามมาตรา ๑๙๓

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๑๕

๑.๑.๒ กรณีโจทกแ์ ถลงขอ้ หาดว้ ยวาจา
มาตรา ๑๙๑ วรรคสาม บญั ญตั ิให้ศาลบนั ทึกรายการแห่งขอ้ หาเหล่าน้นั ไว้

อา่ นใหโ้ จทกฟ์ ัง แลว้ ใหโ้ จทกล์ งลายมือช่ือไวเ้ ป็นสาคญั เช่น
“เม่ือวันท่ี ๑๒ มกราคม ๒๕๕๘ จาเลยได้เช่าห้องแถวเลขที่ ๗ ถนนตากสิน

แขวงธนบุรี เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร ของโจทก์โดยทาสัญญากันเป็นหนังสือ โจทก์คิดค่าเช่า
เดือนละ ๔,๐๐๐ บาท ต่อมาวันที่ ๑๒ เมษายน ๒๕๕๘ จาเลยผิดนัดไม่ชาระค่าเช่าเดือนมีนาคม
๒๕๕๘ ขอให้บังคับจาเลยชาระค่าเช่า ๔,๐๐๐ บาทแก่โจทก์ ให้จาเลยเสียค่าฤชาธรรมเนียม
แทนโจทก์” อ่านใหโ้ จทกฟ์ ังแลว้ ใหโ้ จทกล์ งลายมือช่ือไว้

ถา้ ฟ้องขบั ไล่ผูอ้ าศยั หรือผูบ้ ุกรุก (ฎีกาท่ี ๑๕๘๓/๒๕๐๖, ๗๖๙/๒๕๑๑)
ตอ้ งจดรายงานกระบวนพิจารณาดว้ ยว่าโจทก์อาจให้เช่าที่ดินไดไ้ ม่เกินเดือนละ ๓๐,๐๐๐บาท
(ถา้ เกินไม่ใช่คดีมโนสาเร่)

เม่ือรับฟ้องแลว้ ใหป้ ฏิบตั ิต่อไปเช่นเดียวกบั ขอ้ ๑.๑.๑
ข้อสังเกต

๑. คดีมโนสาเร่ หากเป็ นคดีที่มีทุนทรัพยไ์ ม่เกิน ๓๐๐,๐๐๐ บาท และในทอ้ งที่น้ัน
มีศาลแขวง ตอ้ งยนื่ ฟ้องต่อศาลแขวง แตถ่ า้ ในทอ้ งท่ีน้นั ไม่มีศาลแขวง ตอ้ งยน่ื ฟ้องต่อศาลจงั หวดั

๒. คดีฟ้องขบั ไล่ออกจากอสังหาริมทรัพยซ์ ่ึงเป็ นคดีมโนสาเร่ตามมาตรา ๑๘๙ (๒)
ต้องยื่นฟ้องต่อศาลจังหวัด แม้จาเลยจะให้การแก้ข้อพิพาทด้วยกรรมสิทธ์ิ กลายเป็ นคดี
มีทุนทรัพยห์ ากทุนทรัพยไ์ ม่เกิน ๓๐๐,๐๐๐ บาท ก็เป็ นคดีมโนสาเร่ (ฎีกาที่ ๑๖๖๕/๒๕๔๘,
๔๘๖๒/๒๕๔๘, ๑๙๖๕/๒๕๕๐)

๓. ในคดีมโนสาเร่ ให้โจทก์เสียค่าข้ึนศาลในศาลช้ันต้นตามตาราง ๑ ท้ายป.วิ.พ.
แต่คา่ ข้ึนศาลรวมกนั แลว้ ไม่เกินหน่ึงพนั บาทตามมาตรา ๑๙๐ จตั วา วรรคหน่ึง

แต่ค่าข้ึนศาลในช้นั อุทธรณ์ฎีกา ใหผ้ ูอ้ ุทธรณ์หรือฎีกาเสียตามจานวนทุนทรัพย์
หรือราคาทรัพยส์ ินท่ีพิพาทกนั ในช้นั อุทธรณ์หรือฎีกา แลว้ แต่กรณี (มาตรา ๑๙๐ จตั วา วรรคสอง)

๔. คดีท่ีผูป้ ระกอบธุรกิจยื่นฟ้องเป็ นคดีผูบ้ ริโภคและคดีน้ันต้องด้วยลกั ษณะคดี
มโนสาเร่ดว้ ย ให้เรียกเก็บค่าข้ึนศาลอยา่ งคดีมโนสาเร่ ส่วนกระบวนพิจารณาความยงั คงดาเนิน
ไปตามพ.ร.บ. วธิ ีพิจารณาคดีผบู้ ริโภค พ.ศ. ๒๕๕๑ และขอ้ กาหนดของประธานศาลฎีกาต่อไป

๕. ถา้ ศาลเห็นว่าคดีที่ฟ้องไม่ใช่คดีมโนสาเร่ และศาลน้นั มีอานาจก็ให้พิจารณาอยา่ ง
คดีสามญั ถา้ คดีน้นั ฟ้องโดยแถลงดว้ ยวาจา ศาลสัง่ ใหโ้ จทกย์ น่ื คาฟ้องเป็ นหนงั สือแต่ถา้ ศาลน้นั
ไม่มีอานาจ ก็ใหค้ ืนคาฟ้องไปยนื่ ต่อศาลที่มีเขตอานาจ

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๑๖

๖. คดีมโนสาเร่จะนาวิธีคุม้ ครองชวั่ คราวก่อนพพิ ากษาตามมาตรา ๒๕๔ มาใชบ้ งั คบั
ไม่ได้

๑.๒ การสั่งคาให้การคดีมโนสาเร่
๑.๒.๑ จาเลยใหก้ ารเป็นหนงั สือ สั่งวา่ “รับคาให้การจาเลย สาเนาให้โจทก์”
๑.๒.๒ จาเลยให้การด้วยวาจา ให้ศาลหรือเจ้าพนักงานจดบันทึกรายละเอียด

คาใหก้ ารลงในแบบพิมพบ์ นั ทึกคาให้การดว้ ยวาจาคดีมโนสาเร่ (แบบ ม. ๒) แลว้ อ่านใหจ้ าเลย
ฟังและใหจ้ าเลยลงลายมือช่ือไว้

คาพิพากษาศาลฎีกาท่ี ๘๑๖๗/๒๕๕๑ ศาลช้ันต้นรับฟ้องเป็ นคดีไม่มี
ขอ้ ยุ่งยาก คดีน้ีจาเลยแสดงความจานงท่ีจะให้การดว้ ยวาจา ตามท่ีบญั ญตั ิไวใ้ น ป.วิ.พ. มาตรา
๑๙๖ วรรคสอง(เดิม) ประกอบมาตรา ๑๙๓วรรคสาม ศาลช้นั ตน้ ยอ่ มมีหนา้ ที่ตอ้ งจดั ใหเ้ จา้ พนกั งานศาล
จดบนั ทึกรายละเอียดของคาให้การลงในแบบพิมพ์บันทึกคาให้การด้วยวาจาคดีมโนสาเร่
(แบบ ม.๒ ) แล้วอ่านให้จาเลยฟังและให้จาเลยลงลายมือช่ือไว้ ท้ังน้ีเป็ นไปตามท่ีกาหนด
ไวใ้ นกฎกระทรวงฉบบั ท่ี ๙ (พ.ศ. ๒๕๓๕ ) ออกตามความในพระราชบญั ญตั ิให้ใชป้ ระมวล
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง พุทธศกั ราช ๒๔๗๗ ขอ้ ๒ การที่ศาลช้นั ตน้ เพยี งแต่จดคาใหก้ าร
ดว้ ยวาจาของจาเลยลงในรายงานกระบวนพิจารณาซ่ึงเป็นเอกสารที่บนั ทึกขอ้ ความเก่ียวดว้ ยเร่ือง
ที่ไดก้ ระทาในการนง่ั พจิ ารณาหรือในการดาเนินกระบวนพิจารณาอ่ืนของศาลตามที่บญั ญตั ิไวใ้ น
ป.วิ.พ. มาตรา ๔๘ โดยไม่ไดจ้ ดั ให้เจา้ พนักงานศาลจดบนั ทึกรายละเอียดคาให้การของจาเลย
ลงในแบบพิมพ์ ม.๒ จึงเป็ นการดาเนินกระบวนพิจารณาท่ีไม่ชอบ ปัญหาดงั กล่าวเป็ นปัญหา
ขอ้ กฎหมายอนั เก่ียวดว้ ยความสงบเรียบร้อยของประชาชน แมจ้ ะไม่มีคู่ความฝ่ ายใดยกข้ึนฎีกา
ศาลฎีกาก็มีอานาจยกข้ึนวินิจฉัยไดเ้ องตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๑๔๒ (๕) ประกอบมาตรา ๒๔๖
และ ๒๔๗ เมื่อปรากฏเหตุท่ีศาลช้ันต้นมิได้ปฏิบัติตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมาย
วิธีพิจารณาความแพง่ วา่ ดว้ ยการพิจารณา ศาลฎีกาจาตอ้ งส่งสานวนคืนไปใหศ้ าลช้นั ตน้ พิจารณา
และพพิ ากษาใหมต่ าม ป.ว.ิ พ. มาตรา ๒๔๓ (๒) ประกอบมาตรา ๒๔๗

๑.๒.๓ จาเลยยื่นคาให้การและฟ้องแยง้ สั่งวา่ “รับคาให้การและฟ้องแย้ง สาเนา
ให้โจทก์แก้คดีภายใน ๑๕ วัน”

๑.๒.๔ โจทก์ย่ืนคาให้การแกฟ้ ้องแยง้ ส่ังว่า “รับคาให้การแก้ฟ้องแย้งของโจทก์
สาเนาให้ จาเลย”

ค่มู ือปฏิบตั ิราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๑๗

ข้อสังเกต
ในศาลแขวง หากจาเลยฟ้องแยง้ และฟ้องแยง้ มีทุนทรัพย์เกิน ๓๐๐,๐๐๐ บาท
ยอ่ มเกินอานาจพิจารณาพิพากษาของศาลแขวง ใหส้ ง่ั รับไวแ้ ตค่ าใหก้ าร ส่วนฟ้องแยง้ ไม่รับหรือ
คืนฟ้องแยง้ ให้ไปย่ืนต่อศาลท่ีมีเขตอานาจ (ฎีกาท่ี ๕๖๑/๒๔๙๑, ๒๔๘๓/๒๕๑๖) ยกเวน้ กรณี
ร้องขดั ทรัพยต์ าม ป.วิ.พ.มาตรา ๒๘๘ แมท้ ุนทรัพยจ์ ะเกิน ๓๐๐,๐๐๐ บาท ถือเป็ นการพิจารณา
ในคดีเดิม ศาลแขวงมีอานาจพจิ ารณาพิพากษาได้ (ฎีกาท่ี ๙๐๑/๒๕๑๑)

๑.๓ กระบวนพจิ ารณาวันนดั พจิ ารณา
๑.๓.๑ ในนดั แรกท่ีคูค่ วามมาพร้อมกนั ศาลตอ้ งทาการไกล่เกล่ียก่อน
๑.๓.๒ ถา้ จาเลยมาศาลและไม่ให้การ ท้งั ศาลใชด้ ุลพินิจมีคาส่ังไม่ยอมให้เลื่อนเวลา

ใหจ้ าเลยย่นื คาให้การ และให้จดปรากฏในรายงานกระบวนพิจารณาดว้ ยวา่ “จาเลยมาศาลและ
ไม่ให้การ ท้ังศาลไม่อนุญาตให้เล่ือนเวลาย่ืนคาให้การ โดยศาลจึงให้ดาเนินการพิจารณาต่อไป
โดยถือว่าจาเลยขาดนดั ย่ืนคาให้การ” และดาเนินการพิจารณาต่อไป

๑.๓.๓ ถ้าศาลเห็นว่าจาเลยไดร้ ับหมายเรียกแล้ว จาเลยไม่มาศาล และไม่ไดร้ ับ
อนุญาตจากศาลให้เลื่อนคดี และถ้าจาเลยไม่ได้ยื่นคาให้การไว้ ให้ถือว่าจาเลยขาดนัดย่ืน
คาให้การและให้ศาลมีคาพิพากษาหรือคาสั่งช้ีขาดโดยนา ป.วิ.พ. มาตรา ๑๙๘ ทวิ มาใชบ้ งั คบั
โดยอนุโลม โดยไมถ่ ือวา่ จาเลยท่ีไม่มาศาลขาดนดั พิจารณา

กรณีที่ศาลเห็นสมควรสืบพยานโจทก์ จดรายงานกระบวนพิจารณาวา่
“นัดพิจารณาวันนี้ ฝ่ ายโจทก์มาศาล ส่ วนจาเลยทราบนัดโดยชอบแล้ วไม่ยื่น
คาให้ การและไม่มาศาลโดยไม่ได้รับอนุญาตจากศาลให้ เล่ือนคดี จึงถือว่าจาเลยขาดนัด
ยื่นคาให้การและขาดนัดพิจารณา ให้พิจารณาและชีข้ าดตัดสินคดไี ปฝ่ ายเดียว
สืบพยานโจทก์ได้ . . . ปาก ระหว่างสืบพยานโจทก์อ้างส่งเอกสารศาลหมาย จ.๑
ถึง จ . . . ให้รวมสานวน(หรือแยกเกบ็ )และให้แถลงหมดพยาน
คดีเป็นอันเสร็จการพิจารณา ให้รอฟังคาพิพากษาวนั น”ี้
กรณีโจทก์แถลงขอให้ศาลมีคาพิพากษาโดยขออา้ งส่งเอกสารแทนการสืบพยาน
จดรายงานกระบวนพิจารณาวา่
“นัดพิจารณาวันนี้ ฝ่ ายโจทก์มาศาล ส่ วนจาเลยทราบนัดโดยชอบแล้วไม่ยื่นคาให้การ
และไม่มาศาลโดยไม่ได้รับอนุญาตจากศาลให้เลื่อนคดี ถือว่าจาเลยขาดนดั ย่ืนคาให้การ
ทนายโจทก์แถลงขออ้างส่งเอกสารแทนการสืบพยาน ศาลหมาย จ.๑ ถึง จ . . .
ให้รวมสานวน คดเี สร็จการพิจารณา
พิพากษาด้วยวาจาแล้ว

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๑๘

ออกคาบังคับให้จาเลยปฏิบัติตามคาพิพากษาภายใน ๑๕ วัน โดยให้โจทก์นาส่ง
การส่งหากไม่มผี ู้รับโดยชอบให้ปิ ดหมาย กรณีจาเลยมีภูมิลาเนาในเขตศาลอ่ืน การส่งหมายข้าม
เขตจัดการให้ ”

๑.๓.๔ ในวนั นดั พิจารณา ถา้ จาเลยไดร้ ับหมายเรียกแลว้ จาเลยไม่มาศาลและจาเลย
ไดย้ ่ืนคาให้การไวก้ ่อนหรือในวนั นัดดังกล่าว ให้ถือว่าจาเลยขาดนัดพิจารณาและให้บังคับ
ตามมาตรา ๒๐๔ มาตรา ๒๐๕ มาตรา ๒๐๖ และมาตรา ๒๐๗ ท้งั น้ีตามมาตรา ๑๙๓ ทวิ วรรคสอง

๑.๓.๕ ไมว่ า่ กรณีใด หากศาลมีคาสง่ั ใหส้ ืบพยาน ก็ตอ้ งดาเนินการต่อไปตามมาตรา
๑๙๓ ตรี มาตรา ๑๙๓ จตั วา และมาตรา ๑๙๓ เบญจ ตามขอ้ ๑.๓.๙ ถึงขอ้ ๑.๓.๑๑

๑.๓.๖ ถ้าโจทก์ไม่มาศาล โดยมิได้รับอนุญาตจากศาลให้เล่ือนคดี ให้ศาลสั่ง
จาหน่ายคดี(มาตรา ๑๙๓ ทวิ วรรคหน่ึง)โดยไม่ตอ้ งคานึงว่าจาเลยประสงคจ์ ะดาเนินคดีต่อไป
หรือไม่ (ฎีกาที่ ๕๒๐๔/๒๕๔๗)

๑.๓.๗ ในวนั นดั พิจารณา เมื่อโจทกจ์ าเลยมาพร้อมแลว้ ให้ศาลไกล่เกลี่ยก่อน การ
ไกล่เกลี่ยใหด้ าเนินการตามมาตรา ๒๐ ทวิ วรรคหน่ึง

๑.๓.๘ ใหศ้ าลดาเนินการพจิ ารณาคดีต่อไปโดยเร็ว โดยจะกาหนดใหค้ ู่ความฝ่ ายใด
นาพยาน มาสืบก่อนหรือหลงั กไ็ ด้ ใหศ้ าลถามคูค่ วามวา่ ประสงคจ์ ะอา้ งอิงพยานหลกั ฐานใดแลว้
บันทึกไว้ หรื อส่ังให้คู่ความจัดทาบัญชีพยานย่ืนต่อศาลภายในกาหนดระยะเวลาตามที่
เห็นสมควร (มาตรา ๑๙๓ ตรี)

๑.๓.๙ ในการพิจารณาสืบพยาน ให้ตระหนกั ว่าเป็ นระบบไต่สวนหาความเป็ นจริง
โดยศาลเป็ นผูซ้ ักถามพยานก่อน เสร็จแล้วจึงให้ตวั ความหรือทนายความซักถามเพิ่มเติมได้
(มาตรา ๑๙๓ จตั วา วรรคสอง) และศาลมีอานาจเรียกพยานหลกั ฐานมาสืบเอง และมีอานาจ
ซกั ถามพยานเอง

๑.๓.๑๐ ใหศ้ าลนงั่ พิจารณาคดีติดต่อกนั ไปโดยไม่ตอ้ งเลื่อนคดี เวน้ แต่มีเหตุจาเป็น
ศาลจะสั่งเล่ือนไดค้ ร้ังละไม่เกิน ๗ วนั (มาตรา ๑๙๓ เบญจ)

๑.๔ คดมี โนสาเร่ ไม่มกี ารชีส้ องสถาน (ดูมาตรา ๑๙๓ วรรคแรก)
ป.วิ.พ. มาตรา ๑๘๒ (๕) บญั ญตั ิยกเวน้ ไวว้ า่ คดีมโนสาเร่ ศาลไมจ่ าตอ้ งช้ีสองสถาน

แต่ถ้าจาเลยให้การต่อสู้คดีมากมายหลายประเด็น ศาลอาจกาหนดประเด็นพิพาทให้ชัดแจ้ง
ก่อนดาเนินการสืบพยานก็ได้

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๑๙

๑.๕ คดีมโนสาเร่กลายเป็ นคดีสามัญ
ในกรณีท่ีจาเลยฟ้องแยง้ เขา้ มาในคดีมโนสาเร่และฟ้องแยง้ น้นั มิใช่คดีมโนสาเร่หรือ

ในกรณีที่ศาลมีคาส่ังให้พิจารณาคดีสามญั รวมกบั คดีมโนสาเร่ ให้ศาลดาเนินการพิจารณาคดี
มโนสาเร่ไปอย่างคดีสามญั แต่เมื่อศาลพิจารณาถึงจานวนทุนทรัพย์ ลกั ษณะคดี สถานะของ
คู่ความหรือเหตุสมควรประการอ่ืนแลว้ เห็นว่า การนาบทบญั ญตั ิในหมวดน้ีไปใช้บงั คบั แก่คดี
ในส่วนของฟ้องแยง้ หรือคดีสามญั เช่นวา่ น้นั จะทาใหก้ ารดาเนินคดีเป็นไปดว้ ยความรวดเร็วและ
เป็นธรรมแก่คู่ความทุกฝ่ าย ก็ให้ศาลมีอานาจพิจารณาคดีในส่วนของฟ้องแยง้ หรือคดีสามญั น้นั
อยา่ งคดีมโนสาเร่ได้

กรณีใหด้ าเนินคดีไปอยา่ งคดีสามญั จดรายงานกระบวนพจิ ารณาวา่
“นดั พิจารณา โจทก์และจาเลยมาศาล ศาลไกล่เกลีย่ แล้วคู่ความไม่อาจตกลงกันได้
จาเลยให้ การต่อสู้คดีว่าโจทก์เป็ นฝ่ ายผิดสัญญา ขอให้ ยกฟ้อง และฟ้องแย้ง
ให้โจทก์ชาระค่าเสียหาย ๓๕๐,๐๐๐ บาท สาเนาให้โจทก์รับไปและให้โจทก์ย่ืนคาให้การภายใน
๑๕ วัน
ฟ้องแย้งของจาเลยไม่ใช่คดีมโนสาเร่ จึงให้ดาเนินการพิจารณาคดนี ีไ้ ปอย่างคดีสามญั
ให้เล่ือนคดไี ปรอฟังโจทก์ย่ืนคาให้การแก้ฟ้องแย้งเสียก่อนจึงจะพิจารณาดาเนินการต่อไป
กรณีใหด้ าเนินคดีไปอยา่ งคดีมโนสาเร่ จดรายงานกระบวนพิจารณาวา่
“นดั พิจารณา โจทก์และจาเลยมาศาล ศาลไกล่เกลยี่ แล้วคู่ความไม่อาจตกลงกนั ได้
จาเลยให้ การต่อสู้คดีว่าโจทก์เป็ นฝ่ ายผิดสัญญา ขอให้ ยกฟ้อง และฟ้องแย้ง
ให้โจทก์ชาระค่าเสียหาย ๓๕๐,๐๐๐ บาท สาเนาให้โจทก์รับไป
แม้ฟ้องแย้งของจาเลยจะไม่ใช่ คดีมโนสาเร่ แต่จานวนทุนทรัพย์เกินคดีมโนสาเร่
ไม่มากนัก อีกทั้งประเดน็ พิพาทมิได้ย่งุ ยากหรือสลับซับซ้อน การนาวิธีพิจารณาคดีมโนสาเร่มาใช้
จะทาให้การดาเนินคดีเป็ นไปด้วยความรวดเร็วและเป็ นธรรมแก่คู่ความทุกฝ่ าย จึงให้ดาเนินการ
พิจารณาคดีนีไ้ ปอย่างคดีมโนสาเร่ ศาลถามโจทก์ว่าจะให้การฟ้องแย้งของจาเลยอย่างไร โจทก์
แถลงขอเลื่อนคดีไปย่ืนคาให้การแก้ฟ้องแย้งเป็นหนังสือ จึงให้เล่ือนวันนดั พิจารณาไปวันท่ี......”

๑.๖ การออกคาบงั คับ
หากคดีน้ันจะต้องมีการบงั คบั คดี มาตรา ๒๗๒ ให้ศาลมีคาบงั คบั กาหนดวิธีที่จะ

ปฏิบตั ิตามคาบงั คบั ในวนั ที่อ่านคาพิพากษาหรือคาส่ัง และให้เจา้ พนกั งานศาลส่งคาบงั คบั น้ันไป
ยงั ลูกหน้ีตามคาพพิ ากษา เวน้ แต่ลูกหน้ีตามคาพิพากษาไดอ้ ยใู่ นศาลในเวลาที่ศาลมีคาบงั คบั น้นั และ
ศาลไดส้ ั่งให้ลงลายมือชื่อไวเ้ ป็ นสาคญั และศาลไม่จาตอ้ งใหเ้ วลาแก่ลูกหน้ีตามคาพิพากษาในคดี
มโนสาเร่เกินกวา่ ๑๕ วนั ในอนั ท่ีจะปฏิบตั ิตามคาพพิ ากษาหรือคาส่ังน้นั (มาตรา ๒๗๓ วรรคหน่ึง)

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๒๐

๑.๗ การไต่สวนลูกหนีเ้ พื่อค้นหาทรัพย์
สาหรับคดีมโนสาเร่ หากศาลเห็นเป็ นการสมควร ศาลจะออกหมายเรียกลูกหน้ีตาม

คาพิพากษาหรือบุคคลอื่นมาไต่สวนเก่ียวกบั ทรัพยส์ ินของลูกหน้ีตามคาพิพากษา ก่อนออกหมาย
บงั คบั คดีไดเ้ อง แมไ้ ม่มีผใู้ ดร้องขอ ตามมาตรา ๒๗๗ วรรคทา้ ย

การไต่สวนใหด้ าเนินการเช่นเดียวกบั การสืบพยาน

๒. คดไี ม่มขี ้อยุ่งยาก

ไดแ้ ก่ คดีสามญั ซ่ึงโจทก์ฟ้องขอให้จาเลยชาระเงินจานวนแน่นอนตามตวั๋ เงิน ซ่ึงตวั๋ น้ัน
ถกู ปฏิเสธการจ่ายเงิน หรือคดีท่ีโจทกฟ์ ้องขอใหจ้ าเลยชาระเงินตามสัญญาเป็นหนงั สือซ่ึงปรากฏ
ในเบ้ืองตน้ วา่ เป็นสญั ญาแทจ้ ริงมีความสมบูรณ์และบงั คบั ไดต้ ามกฎหมาย

๒.๑ การยื่นคาฟ้อง ถ้าโจทก์ย่ืนคาขอให้พิจารณาคดีน้ันโดยรวบรัดเข้ามาพร้อมกับ
คาฟ้องให้สั่งในคาร้องว่า “รวมส่ังในคาฟ้อง” และสั่งในคาฟ้องว่า “รับฟ้องเป็ นคดีไม่มี
ข้อย่งุ ยากพิจารณาอย่างคดีมโนสาเร่ สาเนาให้จาเลย หมายเรียกจาเลยมาศาลเพื่อการไกล่เกลี่ย
ให้การและสืบพยานโจทก์ จาเลยในวันเดียวกัน ให้โจทก์วางเงินค่านาส่งตามข้อบังคับว่าด้วยการ
ส่งคาคู่ความและเอกสารทางคดี อย่างช้าภายในวันทาการถัดไป พิจารณาอย่างคดีมโนสาเร่
สาเนาให้จาเลยหมายเรียกจาเลยมาศาลเพื่อการไกล่เกล่ีย ให้การและสืบพยานโจทก์จาเลยในวัน
เดียวกัน ให้โจทก์นาส่งภายใน ๕ วัน ส่งไม่ได้ให้โจทก์แถลงภายใน ๗ วัน นับแต่วันส่งไม่ได้
มิฉะนัน้ จะถือว่าโจทก์ ทิง้ ฟ้อง . . .”

๒.๒ แมโ้ จทก์ไม่ไดย้ ่ืนคาขอให้พิจารณาคดีโดยรวบรัด แต่ศาลเห็นว่าคดีน้ันปรากฏใน
เบ้ืองต้นว่าเป็ นคดีไม่มีข้อยุ่งยาก ศาลมีอานาจส่ังให้รับฟ้องเป็ นคดีไม่มีข้อยุ่งยากและให้
ใหพ้ จิ ารณาคดีน้นั อยา่ งคดีมโนสาเร่ได้ (มาตรา ๑๙๖ วรรคสอง)

๒.๓ การฟ้องคดีไม่มีขอ้ ยงุ่ ยาก ไมม่ ีขอ้ จากดั ทนุ ทรัพย์ (แต่เป็นไปตามเขตอานาจศาล)

๒.๔ คดีไมม่ ีขอ้ ยงุ่ ยาก ศาลไมต่ อ้ งช้ีสองสถานเช่นเดียวกบั คดีมโนสาเร่ (มาตรา ๑๘๒ (๕))

๒.๕ ใหศ้ าลดาเนินการพิจารณาคดีอยา่ งเดียวกบั คดีมโนสาเร่และดูขอ้ ๑.๓ – ๑.๔ ยกเวน้
เร่ืองค่าข้ึนศาลตามมาตรา ๑๙๐ จตั วา ไม่นามาใชบ้ งั คบั กบั คดีไม่มีขอ้ ยงุ่ ยาก

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๒๑

ส่วนที่ ๕

การร้องสอดเข้าเป็ นคู่ความ

การเขา้ มาเป็ นคู่ความโดยการร้องสอดตามมาตรา ๕๗ ไม่ว่าจะเป็ นการเขา้ มาเองหรือถูก
หมายเรียกเขา้ มา ผูท้ ่ีจะเขา้ มาตอ้ งเป็ นบุคคลภายนอกคดี จาเลยที่ ๑ ซ่ึงจาเลยที่ ๒ ขอให้เรียก
เขา้ มาเป็นคูค่ วามอยใู่ นคดีแลว้ การท่ีจาเลยท่ี ๑ ขาดนดั พจิ ารณา แตโ่ จทกย์ งั คงดาเนินคดีแก่จาเลย
ท่ี ๑ ต่อไป จึงถือไม่ไดว้ ่าจาเลยที่ ๑ เป็ นบุคคลภายนอกท่ีจาเลยที่ ๒ จะเรียกเขา้ มาโดยการร้อง
สอดตามมาตรา ๕๗(๓) ได้ (ฎีกา๕๔๖๓/๒๕๓๔) จาเลยท่ี ๓ เป็ นจาเลยในคดี อยู่แล้ว
แม้จะอ้างว่าเป็ นผูถ้ ือหุ้นในบริษทั จาเลยท่ี ๑ ประสงค์จะเข้ามาเป็ นคู่ความแทนจาเลยท่ี ๑
ซ่ึงขาดนัด จาเลยที่ ๓ ก็ไม่ใช่บุคคลภายนอกไม่อาจร้องสอดเขา้ มาในคดีได้ (ฎีกาท่ี ๗๗๐๙/
๒๕๔๔)

การร้องสอดเขา้ มาเป็นคูค่ วามได้ ตอ้ งมีคาฟ้องเดิมซ่ึงสมบูรณ์ โจทกม์ ิไดฟ้ ้อง ส. ผกู้ ระทา
ละเมิด แต่ฟ้องบริษทั ฮ. จาเลยท่ี ๑ เป็ นนายจา้ ง คร้ันทราบว่า ส. เป็ นลูกจา้ งของห้าง ค. จึงย่ืน
คาร้องขอให้เรียกห้าง ค. เขา้ มาเป็ นจาเลยร่วม เม่ือศาลอนุญาตแลว้ โจทก์ก็ถอนฟ้องจาเลยที่ ๑
ดงั น้ี เป็ นเร่ืองฟ้องผิดตวั โจทก์ชอบท่ีจะย่ืนฟ้องห้าง ค. เป็ นคดีใหม่จะขอให้เรียกเขา้ มาเป็ น
จาเลยร่วมตามมาตรา ๕๗ (๓) ไม่ได้ (ฎีกาท่ี ๑๗๐๒/๒๕๒๕)

๑. การร้องสอดเข้าเป็ นคู่ความฝ่ ายทส่ี าม

(มาตรา ๕๗(๑)) จะตอ้ งเสียค่าข้ึนศาลหรือไม่อยทู่ ่ีสภาพแห่งคาขอ (ฎีกาท่ี ๑๔๖๒/๒๔๙๓
ประชุมใหญ,่ ๔๕๗ - ๔๕๘/๒๕๒๑, ๒๙๒๓/๒๕๒๘, ๗๔๖๒/๒๕๔๖)

๑.๑ การร้องสอดเขา้ มาเป็ นคู่ความตามมาตรา ๕๗ (๑) น้นั เขา้ มาโดยไมเ่ จาะจงวา่ จะเป็น
คู่ความร่วมกบั ฝ่ ายใด และเป็ นการเขา้ มาเป็ นคู่ความฝ่ ายที่สามซ่ึงพิพาทกับโจทก์หรือจาเลย
หรือพพิ าทกบั โจทกแ์ ละจาเลยเดิม (ฎีกาท่ี ๗๙๗/๒๕๑๕, ๒๑๑๗/๒๕๓๐, ๑๙๖๕/๒๕๕๐)

๑.๒ การยนื่ คาร้องสอดตอ้ งยนื่ ต่อศาลช้นั ตน้ ที่คดีน้นั อยใู่ นระหวา่ งพจิ ารณา จะขอเขา้ เป็น
ผูร้ ้องสอดในระหว่างการพิจารณาของศาลอุทธรณ์หรือศาลฎีกาไม่ได้ (ฎีกาท่ี ๙๔๐/๒๕๑๑,
๔๕๑๗/๒๕๔๐, ๘๑๐ – ๘๑๑/๒๕๔๗) แตก่ ารร้องสอดในระหวา่ งการบงั คบั คดีตามคาพิพากษา
ไม่ว่าเป็นคาพิพากษาศาลช้นั ตน้ ศาลอุทธรณ์หรือศาลฎีกายอ่ มสามารถกระทาได้ หากการบงั คบั
คดีมีผลกระทบกระเทือนสิทธิของบุคคลภายนอกก็สามารถร้องสอดเขา้ มาในคดีเพื่อรักษาสิทธิ

ค่มู ือปฏิบัติราชการของตลุ าการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๒๒

ของตนไดต้ ามมาตรา ๕๗ (๑) โดยยื่นคาร้องขอต่อศาลช้นั ตน้ ที่ออกหมายบงั คบั คดีน้นั (ฎีกาที่
๓๗๗๖/๒๕๓๔ ประชุมใหญ่, ๑๐๓๑/๒๕๓๗, ๒๕๙๑/๒๕๔๕)

มาตรา ๕๗ (๑) บญั ญตั ิใหบ้ ุคคลภายนอกร้องขอเขา้ มาเป็ นคู่ความในคดีไดโ้ ดยย่ืนต่อศาล
ที่คดีน้นั อยรู่ ะหว่างพิจารณา เมื่อปรากฏวา่ ในวนั ที่ผูร้ ้องท้งั สอง (ผรู้ ้องสอด) ย่นื คาร้องขอเขา้ มา
เป็นคู่ความน้นั ศาลช้นั ตน้ ไดส้ ่งั ยกคาร้องของผรู้ ้องไปแลว้ จึงไม่มีคดีของผรู้ ้องท้งั สองจะเขา้ มา
เป็นคูค่ วามร่วมได้ ศาลจึงชอบท่ีจะสง่ั ไม่รับคาร้องของผรู้ ้องท้งั สองได้ (ฎีกาที่ ๕๓๘๓/๒๕๓๔)

ศาลช้นั ตน้ พิพากษาและออกคาบงั คบั ให้จาเลยและบริวารร้ือถอนส่ิงปลูกสร้างออกไปจาก
ท่ีดิน และศาลอุทธรณ์ไม่อนุญาตให้จาเลยทุเลาการบงั คบั ในระหว่างอุทธรณ์ จาเลยจะตอ้ ง
ร้ือถอนบา้ นและสิ่งปลูกสร้างออกไปตามคาบงั คบั ซ่ึงจะเป็ นผลเสียหายแก่ผูร้ ้อง หากผูร้ ้อง
เป็ นเจา้ ของบา้ นและสิ่งปลูกสร้างดงั กล่าว ดงั น้ี ผูร้ ้องเป็ นผูม้ ีส่วนไดเ้ สียในการบงั คบั คดีและ
ถูกโต้แยง้ สิทธิจึงชอบท่ีจะต้องขอเข้ามาในช้ันบังคับคดี ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๕๗ (๑) ได้
โดยไม่ตอ้ งรอให้มีการบงั คบั คดีเสียก่อน เน่ืองจากโจทกย์ อ่ มขอให้ศาลต้งั เจา้ พนกั งานบงั คบั คดี
ร้ือถอนบา้ นและสิ่งปลูกสร้างไดท้ นั ทีตามมาตรา ๒๙๖ ทวิ (ฎีกาที่ ๓๗๗๖/๒๕๓๔ ประชุมใหญ่)

๑.๓ สิทธิที่จะขอความรับรอง คุม้ ครอง หรือบงั คบั อนั จะเป็นเหตุให้ร้องสอดไดต้ อ้ งเป็ น
สิทธิท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั คดีน้นั เช่น โจทกฟ์ ้องว่าจาเลยนาเจา้ พนกั งานไปรังวดั ที่ดินรุกล้าเขา้ ไปใน
ท่ีดินโจทก์ และในการทาแผนท่ีพิพาท โจทก์ไดน้ าช้ีที่ดินแปลงอื่นนอกเขตท่ีพิพาทว่าเป็ นของ
โจทกน์ ้นั ดว้ ย ถือไม่ไดว้ า่ เจา้ ของท่ีดินอ่ืนนอกเขตที่พพิ าทมีส่วนเก่ียวขอ้ งกบั ที่ดินพิพาทดว้ ยกนั
ระหวา่ งโจทกจ์ าเลย เจา้ ของที่ดินแปลงอ่ืนนอกเขตท่ีพพิ าทจึงไม่มีสิทธิที่จะร้องสอดเขา้ มาในคดี
ไมว่ า่ ในฐานะเป็นจาเลยร่วมหรือคู่ความฝ่ ายที่สาม (ฎีกาที่ ๔๔๗๗/๒๕๒๙)

๑.๔ คาร้องสอดตามมาตรา ๕๗(๑) ถา้ เป็นการโตแ้ ยง้ สิทธิและหนา้ ท่ีของโจทกแ์ ละจาเลย
เดิมเป็นคาฟ้องตามมาตรา ๑ (๓) จึงตอ้ งเสียค่าข้ึนศาลและตอ้ งบรรยายให้มีลกั ษณะเป็ นคาฟ้อง
ครบถ้วนตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๑๗๒ วรรคสอง คือตอ้ งแสดงโดยชัดแจง้ ซ่ึงสภาพแห่งขอ้ หา
และคาขอบงั คบั ถา้ ไม่มีคาขอบงั คบั โดยชดั แจง้ มาดว้ ยก็เป็ นคาร้องท่ีไม่ชอบเพราะกรณีเช่นน้ี
หากศาลอนุญาตให้ร้องสอดเขา้ มาแล้วก็ต้องให้โจทก์และจาเลยเดิมยื่นคาให้การแก้ข้อหา
ของผรู้ ้องสอดดว้ ย (ฎีกาท่ี ๑๔๔๗/๒๕๓๐)

๑.๕ ส่ังคาร้องสอดว่า “รับคาร้ อง สาเนาให้โจทก์จาเลยแก้คดีภายใน ๑๕ วัน ให้ผู้ร้ อง
นาส่งหมายและสาเนาคาร้องภายใน ๗ วัน ถ้าส่งไม่ได้ให้แถลงเพ่ือดาเนินการต่อไปภายใน ๑๕ วัน
นบั แต่วนั ส่งไม่ได้ ถ้าไม่แถลงถือว่าทิง้ คาร้อง”


Click to View FlipBook Version