uuuuuuuuuuuuuuuuuuuuuuuuuuuuuuuuuuuuuuuuuuuuuuuuuuuuuuuuuuuuuu
ประวัติศาสตร์ร่วมรากอุษาคเนย์
สานเสวนาเพื่อความเขา้ ใจระหวา่ งวฒั นธรรมและสนั ติวัฒนธรรม
Promoting Intercultural Dialogue and a Culture of Peace
in SEA through Shared Histories
uuuuuuuuuuuuuuuuuuuuuuuuuuuuuuuuuuuuuuuuuuuuuuuuuuuuuuuuuuuuuu
สำ�นกั วชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา
ส�ำ นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน
สำ�นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
พมิ พ์ครง้ั แรก กนั ยายน 2562
จ�ำ นวนพิมพ ์ 10,000 เล่ม
เรียบเรียงและบรรณาธิการ เฉลมิ ชยั พันธเ์ ลิศ
ออกแบบปก ศรเี มือง บุญแพทย์ และธรรมรตั น์ บุญแพทย์
ผจู้ ดั พมิ พเ์ ผยแพร่ สำ�นักวชิ าการและมาตรฐานการศึกษา ส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร วงั จนั ทรเกษม ถนนราชด�ำ เนนิ นอก เขตดสุ ติ กรงุ เทพมหานคร 10300
ส�ำ นักพมิ พ ์ โรงพมิ พช์ มุ นมุ สหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย จำ�กดั
79 ถนนงามวงศว์ าน แขวงลาดยาว เขตจตจุ ักร กรงุ เทพมหานคร 10900
โทร. 0-2561-4567 โทรสาร 0-2579-5101 นายโชคดี ออสุวรรณ ผูพ้ มิ พ์ผ้โู ฆษณา
ขอบคุณหน่วยงานและองค์กรต่างๆ ที่สนับสนุนในการจดั ท�ำ เอกสารฉบบั น้ี ประกอบดว้ ย
1. องค์การการศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ และวฒั นธรรมแหง่ สหประชาชาติ กรุงเทพมหานคร
(UNESCO Bangkok)
2. องค์กร Korea-Fund-in-Trust
3. คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย
4. กลุม่ การศกึ ษาเพื่อสร้างพลเมอื งประชาธปิ ไตยของไทย (Thai Civic Education)
คณะผู้เรยี บเรยี งและบรรณาธกิ าร ขออภัยที่มอิ าจแจง้ แหลง่ ท่ีมาของขอ้ มลู ได้อย่างครบถว้ น
และขอขอบคณุ เจา้ ของผลงานในความกรณุ าที่อนญุ าตให้น�ำ มาใชแ้ มจ้ ะมิได้มหี นังสือ
ขออนุญาตเป็นลายลกั ษณ์อกั ษรก็ตาม
ข้อมลู ทางบรรณานกุ รมของหอสมุดแหง่ ชาติ
National Library of Thailand Cataloging in Publication Data
สำ�นกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา.
ประวัตศิ าสตร์รว่ มรากอุษาคเนย์ : สานเสวนาเพ่ือความเข้าใจระหว่างวฒั นธรรมและสันตวิ ัฒนธรรม.
-- กรุงเทพฯ : สำ�นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน, 2562.
1. เอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ -- ประวัตศิ าสตร.์ I. ชื่อเรือ่ ง
959
ISBN 978-616-395-987-4
ครีเอทฟี คอมมอนส์แบบแสดงที่มา-ไมใ่ ชเ้ พื่อการค้า-อนุญาตแบบเดยี วกนั (by-nc-as)
เมอื่ นำ�เนือ้ หาในหนงั สือเล่มนไ้ี ปใช้ ควรอ้างองิ แหลง่ ทมี่ า โดยไม่นำ�ไปใชเ้ พอื่ การค้า
และยินยอมให้ผูอ้ น่ื นำ�เน้ือหาไปใชต้ อ่ ได้ดว้ ยสญั ญาอนญุ าตแบบเดียวกนั นี้
(http://cc.in.th/wiki/meet-the-licenses) ไม่สงวนลิขสิทธ์ิหากนำ�ไปใช้เพ่อื การศกึ ษา
และไมใ่ ช่การค้า
ค�ำ น�ำ
ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรือ “อุษาคเนย์” เป็นภูมิภาคสำ�คัญแห่งหนึ่งของโลก
ตั้งอยู่ในภูมิศาสตร์ที่อุดมสมบูรณ์ มีความหลากหลายทางชีวภาพ ผู้คนมีความแตกต่างหลากหลาย
แตล่ ะประเทศมอี ตั ลกั ษณท์ เ่ี ปน็ ตน้ ทนุ ส�ำ คญั ในการพฒั นาผคู้ นของชาติ ทง้ั ดา้ นเชอ้ื ชาติ ภาษา วฒั นธรรม
ประเพณี การรวมกลุ่มเป็นประชาคมอาเซียนถือเป็นก้าวสำ�คัญของการรวมพลังความแตกต่าง
หลากหลายนัน้ เพื่อกา้ วไปสู่ขา้ งหนา้ รว่ มกันอย่างงดงาม
เมื่อพิจารณาเรื่องการจัดการศึกษาท่ีเป็นกลไกสำ�คัญในการพัฒนาคนให้มีความเข้าใจ
ในความแตกต่าง แต่อยู่ร่วมกันในสังคมพหุวัฒนธรรม ท่ีผ่านมามีการดำ�เนินการเร่ืองการศึกษา
โดยการส่งเสริมการประยุกต์ใช้คู่มือหลักสูตรอาเซียน (ASEAN Curriculum Sourcebook)
ที่ถือเป็นแหล่งข้อมูลการจัดการเรียนรู้สำ�หรับโรงเรียนประถมศึกษาและมัธยมศึกษา เพ่ือส่งเสริม
การเป็นประชาคมอาเซยี นท่ีมคี วามเจริญก้าวหนา้ ความม่ันคง สนั ติสขุ และความม่ังค่งั
ในระยะต่อมา มีการประชุมระดมความคิดเห็นจากผู้เชี่ยวชาญของกลุ่มประเทศอาเซียน
ได้มีข้อสรุปว่าการศึกษามีความสำ�คัญกับการเตรียมพลเมืองของอาเซียน แต่เม่ือพิจารณาใน
รายละเอียดของการจัดการศึกษาของแต่ละประเทศพบว่าเน้ือหาสาระบางประเด็นอาจนำ�ไปสู่
ความเข้าใจที่คลาดเคล่ือน หรือนำ�ไปสู่ความบาดหมางของพลเมืองของแต่ละประเทศได้ ประเด็น
ของการสร้างสมดุลระหว่างการรักและภูมิใจในชาติ กับการเข้าใจและอยู่ร่วมกันกับมิตรประเทศ
ในเอเชยี อาคเนยจ์ งึ เปน็ เรอื่ งส�ำ คญั จงึ ไดร้ ว่ มกนั แสวงหาแนวทางในการจดั การศกึ ษาดา้ นประวตั ศิ าสตร์
ภูมศิ าสตร์ และสังคมศกึ ษา ท่นี ำ�ไปสู่การสร้างพนื้ ทใี่ นการสานเสวนา (Dialogue) เพ่ือการอยรู่ ่วมกนั
อยา่ งสนั ติสุข ทา่ มกลางความแตกตา่ งหลากหลาย
สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน โดยสำ�นักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
ได้ร่วมมือกับองค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ กรุงเทพมหานคร
(UNESCO Bangkok) โดยการสนับสนุนจากองค์กร Korea-Fund-in-Trust ดำ�เนินโครงการ
Promoting Intercultural Dialogue and a Culture of Peace in SEA through Shared
Histories โดยพฒั นาเอกสารแนวทางการจดั การเรยี นรู้ “ประวตั ศิ าสตรร์ ว่ มรากอษุ าคเนย์ : สานเสวนา
เพื่อความเข้าใจระหว่างวัฒนธรรมและสันติวัฒนธรรม” เพื่อให้สถานศึกษาและผู้ท่ีเกี่ยวข้องได้นำ�ไป
ปรับใช้ในการจัดการเรียนรู้เพื่อสร้างความเข้าใจในคุณค่าของสังคมพหุวัฒนธรรม ที่อยู่ร่วมกัน
อย่างเข้าใจ และผดุงความเปน็ ไทยควบคู่กับการเปน็ พลเมอื งอาเซียนอย่างมคี ณุ ภาพ
เป้าประสงค์ของหน่วยและแผนการเรียนรู้เน้นสร้างมุมมองใหม่เกี่ยวกับประวัติศาสตร์
และเสนอวิธีใหม่ในการสอนประวัติศาสตร์ โดยเปิดประเด็นทางประวัติศาสตร์จากมุมมองของ
การด�ำ เนนิ ชวี ติ แทนมมุ มองทางภมู ศิ าสตร์ เพอ่ื หลกี เลยี่ งการเชอื่ มโยงรฐั ประเทศในอดตี กบั รฐั ประเทศ
ในปจั จบุ นั เนน้ ใหเ้ หน็ ความคลา้ ยคลงึ กนั ของผคู้ นตา่ งดนิ แดน เพอ่ื เสรมิ สรา้ งความเคารพซง่ึ กนั และกนั
ระหว่างประเทศเพ่ือนบ้าน
การดำ�เนินการมแี ผนทดลองใช้ในชว่ งปี พ.ศ. 2559-2562 ในโรงเรียนนำ�ร่องของ 7 ประเทศ
ประกอบดว้ ย ประเทศบรไู น กัมพชู า อินโดนเี ซยี มาเลเซีย ฟลิ ปิ ปินส์ ไทย และเวียดนาม และแสวงหา
แนวทางทจี่ ะน�ำ บทเรยี นเหลา่ นเ้ี ขา้ สหู่ ลกั สตู รแหง่ ชาตขิ องประเทศ ส�ำ หรบั ประเทศไทยเอกสารฉบบั นี้
ถือเป็นฉบับร่างท่ีต้องมีการดำ�เนินการศึกษา ทดลองใช้ และนำ�เข้าสู่ระบบการจัดการศึกษาและ
หลักสตู รการศึกษาของชาติต่อไป
เอกสารน้ีประกอบด้วยหน่วยการเรียนรู้ 4 หน่วย 26 แผนการเรียนรู้ ประกอบด้วย
เรื่อง 1) ผู้คนและพื้นที่ 2) ศูนย์กลางอำ�นาจสมัยโบราณ 3) ข้าวและเคร่ืองเทศ และ 4) เอเชีย
ตะวนั ออกเฉยี งใต้กบั โลก
ในแต่ละหน่วยการเรียนรู้ นำ�เสนอข้อมูลท่ีช่วยให้ครูผู้สอนสามารถเรียนรู้และนำ�ไปปรับ
ใชใ้ นการจัดการเรยี นรู้ ประกอบด้วย แผนการเรยี นรู้ รายการส่อื การเรยี นรู้ กิจกรรมส�ำ หรับนกั เรยี น
อภิธานศัพท์ แหล่งค้นคว้าและศึกษาเพ่ิมเติม และท่ีสำ�คัญมากคือการนำ�เสนอข้อมูลต่างๆ ที่ใช้
ในการจัดการเรียนการสอน ได้คัดสรรจากเอกสารและมุมมองท่ีหลากหลาย รวมท้ังมีรายการอ้างอิง
ให้ไปสืบค้นได้ ซึ่งถือเป็นแบบอย่างของการจัดการเรียนรู้ท่ีให้เข้าใจวิธีคิดและวิธีการทำ�งานแบบ
นักประวตั ิศาสตร์ ตลอดจนการขยายความรแู้ บบสหสาขาวชิ าทง้ั ด้านประวัตศิ าสตร์ สงั คม เศรษฐกิจ
วัฒนธรรม การเมือง ศิลปะ กีฬา ดนตรี รวมท้ังสื่อสมัยใหม่อย่างภาพยนตร์และการแสดง ซ่ึงเป็น
การสร้างมิติใหม่ของการเรียนรู้ และตรงตามนิยามความหมายของสังคมศึกษา (Social Studies)
ทีเ่ รยี นรู้โดยการบูรณาการศาสตร์ต่างๆ เข้าดว้ ยกัน
ขอขอบคณุ คณะผูเ้ ขียน ผู้แปล คณะผดู้ �ำ เนินการทดลองใชช้ น้ั เรยี น ประกอบดว้ ยคณาจารย์
และคุณครูที่มีความมุ่งม่ันจะขยายพรมแดนความรู้ของการศึกษาด้านอาเซียนและการเรียนรู้
ประวัติศาสตร์ อันจะนำ�ไปสู่การเตรียมเยาวชนให้เข้าใจในวัฒนธรรมท่ีมีรากฐานร่วมกันของเอเชีย
ตะวนั ออกเฉยี งใต้ ซง่ึ จะเปน็ จดุ ต้ังตน้ สำ�คัญในการรวมพลงั ทีจ่ ะสรา้ งความย่ังยืนให้แกภ่ มู ิภาคอาเซยี น
ตอ่ ไป
ส�ำ นักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
ส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน
สารบญั
หนา้
คำ�นำ�
บทนำ� 1
หน่วยท่ี 1 ผ้คู นและพื้นท่ี 13
แผนการเรียนรูท้ ่ี 1 ลุ่มน้าํ อริ วดี : อาณาจกั รพุกาม 23
แผนการเรียนรทู้ ี่ 2 พนื้ ที่ปลูกข้าวบาหลี : ศาสนากบั ข้าว 32
แผนการเรยี นรูท้ ่ี 3 พ้ืนทภี่ ูเขาทางภาคเหนอื ของไทย : อาณาจักรลา้ นนา 45
แผนการเรียนรทู้ ี่ 4 บ้านเรอื นในพืน้ ที่สงู : โฮนายและตองโกนาน 52
แผนการเรียนรู้ท่ี 5 คาบสมทุ รมลายูฝง่ั ตะวนั ตก : อาณาจกั รมะละกา 61
แผนการเรยี นรทู้ ี่ 6 พื้นทช่ี ายฝง่ั สามเหลย่ี มปะการัง : ซามา/บาเจา 69
หน่วยท่ี 2 ศูนย์กลางอ�ำ นาจสมยั โบราณ 85
แผนการเรียนรู้ที่ 1 นักประวัตศิ าสตรท์ ำ�งานอย่างไร 90
แผนการเรยี นรู้ท่ี 2 คนยุคส�ำ รดิ ในเอเชียมีปฏสิ มั พันธก์ ันอยา่ งไร 99
แผนการเรียนรู้ที่ 3 ระบอบอำ�นาจโบราณมีการจดั โครงสรา้ งอยา่ งไร 109
แผนการเรียนรทู้ ่ี 4 ความสัมพนั ธร์ ะหว่างผู้ปกครองกบั ผอู้ ยใู่ ตป้ กครอง
ในสมัยโบราณเป็นอย่างไร 121
แผนการเรียนรทู้ ่ี 5 ระบอบอ�ำ นาจสมยั โบราณมขี นาดใหญ่โตเพยี งใด 130
แผนการเรยี นรู้ท่ี 6 วฒั นธรรมตา่ งๆ ผสมผสานกนั อยา่ งไร
ในเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใตส้ มยั โบราณ 143
หนว่ ยท่ี 3 ข้าวและเครื่องเทศ 153
แผนการเรยี นรทู้ ี่ 1 แนะน�ำ วัฒนธรรมขา้ ว : ข้าวมคี วามส�ำ คัญเพยี งใดในวัฒนธรรม
ของเอเชียตะวันออกเฉยี งใต้ 178
แผนการเรียนรูท้ ี่ 2 ข้าวและเครื่องเทศ : จติ วิญญาณ เรือ่ งเลา่ ปรมั ปรา
และตำ�นาน 194
แผนการเรียนรทู้ ี่ 3 เครอื่ งเทศ ข้าว และประวตั ศิ าสตร์เศรษฐกิจ
ของเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต ้ 211
แผนการเรยี นรู้ที่ 4 การคา้ เครือ่ งเทศ การควบคมุ ของยโุ รป
และปฏิกิริยาของภมู ิภาค 241
สารบัญ (ตอ่ )
แผนการเรยี นร้ทู ่ี 5 อาหาร สุขภาพ และการรกั ษา หนา้
แผนการเรยี นรทู้ ี่ 6 ทนุ หน้ี และการสูญเสยี ทดี่ ินในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 256
(ศตวรรษที่ 19 - 20) : ชาวเชตตยิ าร์ (Chettiars)
เปน็ ต้นเหตขุ องการสูญเสียท่ดี ินในพม่าหรือไม่ 278
แผนการเรียนรทู้ ่ี 7 ความสำ�คัญของเคร่ืองเทศและผลิตภัณฑป์ ลาหมกั 299
ในการประกอบอาหารของเอเชียตะวันออกเฉียงใต ้ 321
หนว่ ยท่ี 4 เอเชยี ตะวันออกเฉยี งใตก้ บั โลก 328
แผนการเรยี นรู้ท่ี 1 อาเซยี น 329
บทเรียน 1ก แนะน�ำ อาเซียน 333
บทเรียน 1ข อาเซยี นในฐานะองค์กรระดับภมู ิภาค 381
แผนการเรยี นรทู้ ี่ 2 กฬี าซีเกมส์ : ประวัตศิ าสตร์ กีฬาและการสรา้ งประชาคม
ในเอเชียตะวันออกเฉยี งใต ้ 403
แผนการเรยี นรู้ท่ี 3 จากประวตั ศิ าสตร์ที่กระจดั กระจายสปู่ ระวัตศิ าสตร์ร่วม : 434
ฟุตบอล บาสเกตบอล และเซปักตะกรอ้ 440
ในเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ 456
แผนการเรียนรูท้ ี่ 4 มรดกทางวัฒนธรรม/ธรรมชาติของเอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้ 476
ท�ำ ไมมรดกทางวัฒนธรรมจงึ ส�ำ คญั ส�ำ หรับเรา 493
แผนการเรียนรทู้ ี่ 5 ศลิ ปะร่วมสมยั ของเอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต้
แผนการเรยี นรทู้ ่ี 6 ดนตรยี อดนิยมในเอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้ : วฒั นธรรมโลก
กับทอ้ งถ่นิ
แผนการเรยี นรทู้ ่ี 7 เอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ ภาพยนตร์ และจกั รวรรดิ
คณะผ้จู ดั ท�ำ
“
การศกึ ษาประวัตศิ าสตรท์ ดี่ กี วา่
ตอ้ งผลติ และจัดให้มพี ื้นฐานที่ดีเพอื่ ความเข้าใจ
ว่าเรามาจากไหน และแนะทางไปส่อู นาคตทค่ี วรจะไป
ในฐานะที่เปน็ ปจั เจกบุคคล เปน็ ชุมชนท้องถ่นิ เปน็ รฐั ชาติ
และการเปน็ สมาชกิ ของกล่มุ ประเทศ
* ดร.สุรินทร์ พิศสวุ รรณ อดตี เลขาธกิ าร ASEAN *
It is a better history education that will produce
and will provide a strong foundation for
understanding where we have come from and to
guide us into the future where we are going,
as individuals, as local communities,
as nation states, as a greater sub-regional grouping.
Dr.Surin Pitsuwan
Former Secretary-General of ASEAN
”
ประวัติศาสตร์ร่วมรากอุษาคเนย์ u 1
บทน�ำ
ความเป็นมา
ประเทศในเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใตไ้ ดก้ า้ วไปสกู่ ารรวมตวั กนั โดยเฉพาะดา้ นเกย่ี วกบั เศรษฐกจิ
และวฒั นธรรม ในปี พ.ศ. 2558 เปน็ การเชอ่ื มโยงทางสงั คมและวฒั นธรรมของผคู้ นในภมู ภิ าคเพมิ่ มากขน้ึ
เส้นเขตแดนท่ีเปิดกว้างและผู้คนมีปฏิสัมพันธ์กันมากข้ึน เป็นศักยภาพท้ังการรวมกันของทรัพยากร
และสันติภาพ แต่โชคร้ายท่ีมีความขัดแย้งและความเข้าใจที่คลาดเคล่ือนเพิ่มข้ึนด้วย เหตุการณ์ต่างๆ
ท่ีผ่านมา ชี้ให้เห็นว่าความเข้าใจที่แตกต่างกันในอดีต นำ�ไปสู่ความขัดแย้งที่ส่งผลกระทบกับ
ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งประเทศในภมู ภิ าคนี้ หลายเหตกุ ารณส์ ว่ นหนงึ่ มพี น้ื ฐานมาจากการเรยี นการสอน
ในโรงเรยี นของแต่ละชาติ ท่มี อี ิทธพิ ลต่อความคิดของผคู้ นและพลเมอื ง
ดร.ชาญวิทย์ เกษตรศิริ ให้ความเห็นว่าการศึกษาเร่ืองราวในอดีตหรือประวัติศาสตร์ที่ไม่มี
การปรบั เปลี่ยน จะส่งผลตอ่ ปัจจบุ ันมากขนึ้ โดยเฉพาะการอยู่ร่วมกันของประเทศในเอเชียตะวนั ออก
เฉียงใต้ ที่ต้องสัมพันธ์กันมากขึ้นในยุคโลกไร้พรมแดน “ประวัติศาสตร์ท่ีไม่ดี การศึกษาที่ไม่ดี
ความสัมพนั ธก์ บั เพอื่ นบ้าน (กย็ ่อม) ไม่ดี” (Bad history, bad education, bad neighbor
relation) หากสามารถปรบั เปลย่ี นทศั นคตขิ องคนรนุ่ ใหม่ ปรบั เปลย่ี นแนวทางการเรยี นประวตั ศิ าสตร์
ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยเฉพาะการศึกษาระดับชาติที่ส่งเสริมความเข้าใจร่วมกันและสันติภาพ
ใหม้ ากขน้ึ พฒั นาสอื่ การเรยี นร้ใู นการเรยี นประวัติศาสตร์ เป็นแนวคิดของการดำ�เนนิ การทีจ่ ับต้องได้
เป็นรูปธรรม โดยเริ่มท่ีประวัติศาสตร์ในกลุ่มเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้มากำ�หนดประเด็นร่วมกัน
ที่จะใช้เป็นหัวข้อส�ำ หรบั การจดั การเรยี นรู้
บทน�ำ
2 u ประวัติศาสตร์ร่วมรากอุษาคเนย์
ข้อสรุปจากการประชุมผู้เช่ียวชาญ (The Consultative Expert Meeting) จำ�นวน
2 ครั้ง ในปี พ.ศ. 2556 ที่กรุงเทพมหานคร เปา้ หมายหลักคอื การก�ำ หนดทศิ ทางของโครงการทีจ่ ะชว่ ย
ส่งเสริมการอยู่ร่วมกันอย่างสันติธรรมและย่ังยืนของพลเมืองอาเซียน ผู้เข้าร่วมประชุมประกอบด้วย
ผู้เชี่ยวชาญด้านประวัติศาสตร์ นักมานุษยวิทยา และนักการศึกษาจากประเทศในภูมิภาคเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้ และจากภูมิภาคอ่ืนๆ ต่างเห็นพ้องว่าประวัติศาสตร์ท่ีปราศจากเร่ืองสงคราม
หรือ “Disarm history” เป็นการส่งเสริมให้เกิดพ้ืนที่การเรียนรู้ท่ีเข้าใจกัน เคารพกัน และให้เกิด
การสนทนาระหวา่ งวฒั นธรรม (Inter-cultural Dialogue) รวมทัง้ เสริมสรา้ งใหเ้ กิดการเปลย่ี นแปลง
ทัศนคติของเยาวชนอันเป็นผลมาจากการได้รับการศึกษาสันติวัฒนธรรมที่ย่ังยืน บทบาทของ
การศึกษาประวัติศาสตร์เพ่ือการเปล่ียนแปลงดังกล่าว ควรสนับสนุนให้มีการดำ�เนินการให้มากข้ึน
โดยเป้าหมายหลักของโครงการควรเป็นการพัฒนาสื่อและวัสดุการเรียนการสอนสำ�หรับการจัด
การศึกษาประวัติศาสตร์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้โดยมีมติให้มีการจัดตั้งคณะกรรมการที่ปรึกษา
ด้านเทคนิค (The Technical Advisory Committee : TAC) ในระดับภูมิภาคอาเซียนและ
ประเทศอ่ืนๆ เพ่อื การทดลองน�ำ รอ่ ง และเพ่อื ใหม้ นั่ ใจว่าวธิ กี ารด�ำ เนนิ การจะเกิดความย่ังยืน
หลังจากการประชุมครั้งแรกได้มีการจัดประชุมผู้เชี่ยวชาญคร้ังท่ีสองข้ึนในปี พ.ศ. 2557
นักประวัติศาสตร์ผู้มีชื่อเสียงจากอนุภูมิภาคได้ประชุมร่วมกันพิจารณาประเด็นการเรียนรู้ และ
ประเด็นย่อยท่ีสามารถพัฒนาไปเป็นหน่วยการเรียนรู้ รวมถึงขอบเขตของเนื้อหา โดยตั้งเป้าหมายว่า
หนว่ ยการเรยี นรูด้ งั กลา่ วจะนำ�ไปสกู่ ารหลอมรวมเขา้ กับหลักสูตรการศกึ ษาของแตล่ ะชาติ ผูเ้ ชย่ี วชาญ
เห็นชอบว่าจะเริ่มต้นทำ�งานกับการจัดการเรียนรู้ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นก่อน โดยเปิดโอกาสให้
แตล่ ะประเทศน�ำ หน่วยการเรียนรไู้ ปปรับใหเ้ หมาะสมกับบรบิ ทของตนเอง
โครงการ “สานเสวนาเพ่ือความเข้าใจระหว่างวัฒนธรรมและสันติวัฒนธรรม” ได้รับ
การรับรองอย่างเป็นทางการในที่ประชุมเจ้าหน้าท่ีอาวุโส ครั้งที่ 38 (the 38th SEAMEO High
Officials Meeting) ของ SEAMEO ในปี พ.ศ. 2557 และไดร้ บั การอนมุ ตั ิจากรฐั มนตรวี า่ การกระทรวง
ศึกษาธิการในการประชุมสภา SEAMEO คร้ังท่ี 48 ในปี พ.ศ. 2558 และได้มีการผนวกรวมไว้
ในแผนงานอาเซียนในที่ประชมุ ASEANSOM-ED เมอ่ื วันที่ 23 พฤษภาคม 2559
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและนำ�เสนอเอกสารแนวทางการจัดการเรียนการสอน
ท่เี ป็นนวัตกรรมใหมเ่ ก่ยี วกับประวัติความเปน็ มาของภมู ิภาคเอเชียตะวันออกเฉยี งใต้
บทนำ�
ประวัติศาสตร์ร่วมรากอุษาคเนย์ u 3
ทีมผู้เช่ียวชาญระดับประเทศหลายแห่งจากอนุภูมิภาค ได้พัฒนาหน่วยการเรียนรู้ จำ�นวน
4 หน่วย ภายใต้การกำ�กับดูแลของคณะกรรมการที่ปรึกษาด้านเทคนิคของโครงการ (Technical
Advisory Committee : TAC) ประกอบด้วยผู้เชี่ยวชาญด้านประวัติศาสตร์และการศึกษาใน
ภมู ิภาคย่อย หน่วยการเรยี นรแู้ ตล่ ะหนว่ ย ประกอบไปด้วยบทนำ�ท่ใี หเ้ นอื้ หาสาระทจี่ ำ�เปน็ สำ�หรับครู
และแผนการเรียนรู้ จำ�นวน 6 - 8 แผน รวมทัง้ แหลง่ ข้อมลู สำ�หรบั การค้นคว้าเพม่ิ เตมิ ในระยะแรก
เน้ือหาเหล่าน้ีเขียนเป็นภาษาอังกฤษ โดยใช้เป็นฐานสำ�หรับให้แต่ละประเทศเลือกนำ�ไปปรับใช้ใน
การด�ำ เนินการได้
หนว่ ยการเรยี นรู้ 4 หน่วย ประกอบด้วย
หน่วยที่ 1 ผ้คู นและพื้นท่ี (People and Places) เน้นให้ผู้เรียนได้ศึกษาสภาพแวดล้อม
ท่ีมีอิทธิพลต่อประสบการณ์ชีวิตและมุมมองต่อโลก ในบริบททางประวัติศาสตร์และพหุนิยมของ
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
หนว่ ยท่ี 2 ศูนย์กลางอำ�นาจสมัยโบราณ (Early Center of Power) เน้นให้ผู้เรียน
ได้สืบสอบการก่อตัวทางประวัติศาสตร์ของการเมืองในช่วงแรกเร่ิม รวมทั้งบริบททางวัฒนธรรม
และการเมอื ง
หนว่ ยท่ี 3 ข้าวและเคร่ืองเทศ (Rice and Spices) เน้นให้ผู้เรียนได้ศึกษาเก่ียวกับ
ความส�ำ คัญทางเศรษฐกจิ สังคม วฒั นธรรม และการเมือง ของขา้ วและเครอ่ื งเทศ
หนว่ ยที่ 4 เอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใตก้ บั โลก (South-East Asia and the World) เนน้ ให้
ผู้เรียนได้สำ�รวจการมีส่วนร่วมในระดับภูมิภาคและระดับโลก ตลอดจนพัฒนาการทางประวัติศาสตร์
ผา่ นเรื่องศลิ ปะ ดนตรี และกฬี า
บทนำ�
4 u ประวัติศาสตร์ร่วมรากอุษาคเนย์
ผู้เขียนแต่ละหน่วยมีประมาณ 3 - 4 คน ประกอบด้วยนักประวัติศาสตร์และผู้เช่ียวชาญ
ด้านการศึกษา ยกร่างเน้ือหา และเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ จำ�นวน 6 - 8 แผน โดยจัดทำ�เป็น
ภาษาอังกฤษ และคณะกรรมการที่ปรึกษาทางเทคนิค (The Technical Advisory Committee :
TAC) ได้พิจารณาให้ความเห็นชอบ
หนว่ ยการเรยี นรูแ้ ละแผนการเรยี นร้ทู ั้งหมด มวี ตั ถปุ ระสงค์เพ่ือ
1. เพ่ือสร้างความเข้าใจและความเป็นเจ้าของประวัติศาสตร์ร่วมกันของเอเชียตะวันออก
เฉียงใต้
2. เพื่อปลูกฝังความตระหนัก และความเคารพกันในการสานเสวนาระหว่างวัฒนธรรม
รวมทง้ั ความสัมพันธ์ในอดีต เพือ่ ท่ีจะเข้าใจมมุ มองของวฒั นธรรมในปัจจบุ นั
3. ปลูกฝังความรู้สึกของเอกลักษณ์ร่วมกันประจำ�ภูมิภาค และความซาบซ้ึงในความ
หลากหลายทางวฒั นธรรม
4. เพอื่ สง่ เสรมิ ความคดิ ทางประวตั ศิ าสตร์ และปลกู ฝงั ทกั ษะการสบื สอบทางประวตั ศิ าสตร/์
วิธกี ารทางประวตั ิศาสตร์
ส�ำ นกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร โดยส�ำ นกั ความสมั พนั ธต์ า่ งประเทศ ไดข้ อความรว่ มมอื
สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานให้พิจารณาเข้าร่วมโครงการนำ�ร่อง Promoting
Intercultural Dialogue and a Culture of Peace in SEA through Shared Histories เปน็
โครงการท่ีปลูกฝังให้เยาวชนมีความรู้ความเข้าใจด้านภูมิหลังทางวัฒนธรรม และประวัติศาสตร์ของ
ภมู ิภาค ท่มี สี ว่ นช่วยลดความขดั แย้ง และความสมั พันธอ์ ันดีระหวา่ งประเทศอาเซยี น ท้งั น้ี UNESCO
Bangkok ได้จัดประชุมพัฒนาแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ประวัติศาสตร์และความเข้าใจระหว่าง
วัฒนธรรม โดยได้เชิญ 7 ประเทศอาเซียนเข้าร่วมการประชุมประกอบด้วยประเทศไทย กัมพูชา
เวียดนาม มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และบรูไน ระหว่างวันที่ 13 - 14 กรกฎาคม 2559
ณ กรุงเทพมหานคร การประชุมดังกล่าวประกอบด้วยการนำ�เสนอหลักสูตรวิชาสังคมศึกษาและ
ประวัติศาสตร์ของแต่ละประเทศ การนำ�เสนอหน่วยการเรียนรู้และส่ือการเรียนรู้ 4 หน่วย และ
แนวทางการน�ำ หนว่ ยการเรยี นรไู้ ปปรบั ใชใ้ นหลกั สตู รของแตล่ ะประเทศ ทง้ั นท้ี ปี่ ระชมุ ไดอ้ นญุ าตใหน้ �ำ
ต้นฉบับไปดำ�เนินการแปล และปรับใช้ให้เหมาะสมกับบริบทของแต่ละประเทศ โดย UNESCO
Bangkok และ Korea-fund-in-trust จากรฐั บาลประเทศสาธารณรฐั เกาหลี สนบั สนนุ การงบประมาณ
ในการดำ�เนินการจ�ำ นวนหนึง่
บทน�ำ
ประวัติศาสตร์ร่วมรากอุษาคเนย์ u 5
สาระส�ำ คัญของหน่วยการเรียนรู้
เป้าประสงค์ของหน่วยและแผนการเรียนรู้ เน้นสร้างมุมมองใหม่เก่ียวกับประวัติศาสตร์
และเสนอวิธีใหม่ในการสอนประวัติศาสตร์ โดยเปิดประเด็นทางประวัติศาสตร์จากมุมมองของ
การดาํ เนนิ ชวี ติ แทนมมุ มองทางภมู ศิ าสตร์ เพอื่ หลกี เลย่ี งการเชอื่ มโยงรฐั ประเทศในอดตี กบั รฐั ประเทศ
ในปัจจุบัน เน้นให้เห็นความคล้ายคลึงกันของผู้คนต่างดินแดน เสริมสร้างความเคารพซึ่งกันและกัน
ระหว่างประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมท้ังเพื่อต่อยอดหลักสูตรการศึกษาแห่งชาติและ
มาตรฐานการเรยี นรูข้ องแต่ละประเทศ
การดำ�เนนิ การมแี ผนน�ำ หนว่ ยการเรียนรู้ทดลองใชใ้ นช่วงปี พ.ศ. 2559 - 2562 ในโรงเรียน
นําร่องของ 7 ประเทศ และแสวงหาแนวทางที่จะนําบทเรียนเหล่าน้ีเข้าสู่หลักสูตรแห่งชาติของ
ประเทศ สำ�หรับประเทศไทยเอกสารฉบับนี้ถือเป็นฉบับร่างที่ต้องมีการดำ�เนินการศึกษา ทดลองใช้
บริบทของโรงเรียน/ช้ันเรียน วางแผนนำ�เข้าสู่ระบบการจัดการศึกษาและหลักสูตรการศึกษาของชาติ
ตอ่ ไป
สาระส�ำ คัญของหน่วยการเรยี นรูจ้ �ำ นวน 4 หน่วย แผนการเรียนรู้รวม 26 แผน เป็นดงั นี้
หน่วยที่ 1 ผูค้ นและพ้ืนท่ี
สํารวจความสัมพันธ์ระหว่างผู้คนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้กับสภาพแวดล้อมท้ังในมิติของ
เวลาและพื้นท่ี เงื่อนไขทางภูมิศาสตร์ สภาพแวดล้อม สภาพอากาศ และทรัพยากรท่ีส่งผลต่อผู้คน
ในภูมิภาคต้ังแต่ยุคเร่ิมแรกจนถึงปัจจุบัน จากประวัติศาสตร์ของชุมชนในพ้ืนท่ีสูง ที่ลุ่ม และชายฝั่ง
หน่วยนี้ให้ความสนใจเรื่องการมีชีวิตอยู่ในสภาพแวดล้อมที่แตกต่างกันก่อให้เกิดประสบการณ์ร่วมกัน
อยา่ งไรท้ังที่มคี วามแตกต่างในเร่ืองรฐั ชาติ พรมแดน ภาษา ศาสนา และเชอื้ ชาติ
ผู้เรียนจะตระหนักและเห็นคุณค่าความหลากหลายของภูมิประเทศของเอเชียตะวันออก
เฉียงใตผ้ า่ นประวตั ิศาสตรข์ องผูค้ นท่กี าํ หนดโดยสภาพทางภมู ิศาสตร์ท่ีอาศัยอยู่
บทน�ำ
6 u ประวัติศาสตร์ร่วมรากอุษาคเนย์
หนว่ ยท่ี 1 ประกอบดว้ ยแผนการเรียนรู้ 6 แผน ดงั นี้
แผนท่ี หัวขอ้ เรือ่ ง สาระสำ�คญั กิจกรรมหลัก สื่อการเรียนรู้
1 ลมุ่ นํา้ อริ วดี : อาณาจักร การปลูกขา้ วเปน็ หวั ใจส�ำ คญั - นำ�เสนอความรู้ - แผนทภี่ ูมิประเทศ
พุกาม - ค�ำ แปลจารกึ เกยี่ วกบั
ของการก่อเกิดชุมชนในพ้นื ที่ - อภิปรายและ การบริจาคทาน
2 พน้ื ท่ีปลกู ขา้ วบาหลี :
ศาสนากับข้าว ลมุ่ ของเอเชยี ตะวนั ออก แลกเปลยี่ น - แผนภาพภูเขา
น้ําแขง็ แห่งแนวคดิ
3 พนื้ ท่ีภเู ขาทางภาคเหนอื เฉยี งใต้ ความคดิ เหน็ ทางวฒั นธรรม
ของไทย : อาณาจกั ร - นิทานพ้นื บ้าน
ล้านนา ต�ำ นานความเช่อื พน้ื บา้ น - สังเคราะหข์ อ้ มูล “เทวีแหง่ ข้าว”
4 บ้านเรอื นในพนื้ ท่สี ูง : แสดงถงึ แงม่ มุ ตา่ งๆ จากสื่อทีก่ �ำ หนดให้ - แผนภาพ
โฮนาย (Honai) - แผนทภี่ ูมปิ ระเทศ
และตองโกนาน ของคณุ คา่ ทางศาสนา - วิเคราะห์โครงสรา้ ง - ภาพตัดขวาง
(Tongkonan) - รปู ภาพบา้ นพนื้ เมอื ง
และสง่ อิทธิพลต่อวิถีปฏบิ ัติ วฒั นธรรมจากนิทาน - วีดทิ ศั น์วิถชี วี ิตของ
5 คาบสมทุ รมลายู ชาวปาปัว
ฝ่งั ตะวันตก : ในการเพาะปลูก พน้ื บ้าน
อาณาจักรมะละกา - แผนทภี่ มู ศิ าสตร์
ความคลา้ ยคลึงกันระหวา่ ง - รูปภาพ
ความเชอ่ื เกย่ี วกบั การปลกู ขา้ ว
ในพนื้ ทตี่ า่ งๆ และความส�ำ คญั
เปน็ มาของการเพาะปลูก
ในจักรวาลวทิ ยาของเอเชีย
ตะวันออกเฉยี งใต้
พฒั นาการทางประวัติศาสตร์ - บรรยายและให้
ในภมู ภิ าคท่ีหลากหลายทาง ข้อมลู
วฒั นธรรมและสภาพแวดลอ้ ม - บทบาทสมมติ
สภาพแวดลอ้ มและคา่ นยิ ม - บรรยาย
ของผ้คู นก�ำ หนดลกั ษณะ - วิเคราะห์ลกั ษณะ
บา้ นเรอื นของตนอยา่ งไร ที่อย่อู าศัย
- ชมวีดิทศั น์
- สร้างบ้านจ�ำ ลอง
ความสมั พันธ์ระหวา่ ง - บรรยาย
วฒั นธรรมและสภาพแวดลอ้ ม - แสดงความคดิ เห็น
ท่เี ปน็ บรบิ ทของอาณาจักร เกยี่ วกับการประมง
การคา้ โบราณ ผิดกฎหมาย
- วเิ คราะห์ขอ้ มลู จาก
สารคดี
บทน�ำ
ประวัติศาสตร์ร่วมรากอุษาคเนย์ u 7
แผนท่ี หวั ข้อเรอื่ ง สาระสำ�คัญ กิจกรรมหลกั สอ่ื การเรียนรู้
6 พนื้ ท่ีชายฝั่งสามเหล่ียม - พน้ื ที่ทางภูมิศาสตร์ - ชมวดี ิทศั น์ - วดี ิทศั น์
ปะการงั : ซามา/บาเจา - แผนที่
ท่เี รยี กว่าสามเหลย่ี มปะการงั - อ่านแผนที่
มี “ชาวทะเล” อยู่หลายกลมุ่ - แสดงความคดิ เห็น
- สภาพแวดลอ้ มสง่ ผลต่อชีวิต
ความเปน็ อย่แู ละวถิ ีปฏิบตั ิ
ทางวฒั นธรรม
หน่วยที่ 2 ศนู ยก์ ลางอ�ำ นาจสมยั โบราณ
เมอ่ื พจิ ารณาเรอื่ งอาณาเขตประเทศ หรอื ระบอบการปกครอง จะเหน็ ไดว้ า่ ประเทศในปจั จบุ นั นนั้
แตกต่างอย่างยิ่งจากอาณาจักรในอดีต หากย้อนไปในประวัติศาสตร์ของรัฐชาติต่างๆ ในเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้ อาณาจักรโบราณเหล่านั้นประกอบด้วย ผู้ปกครองและเหตุการณ์สําคัญ
ได้แก่ สงครามต่างๆ ท่ีเป็นจุดเน้นในการศึกษาอดีต และเป็นแหล่งที่มาของความภาคภูมิใจในชาติ
อย่างไรก็ตาม จะเห็นว่าอาณาจักรโบราณหลายอาณาจักรมีขอบเขตกว้างขวาง ซึ่งในปัจจุบันอยู่ใน
พ้ืนท่ีของหลายประเทศ ท้ังบางอาณาจักรยังเป็นที่รู้จักดี บางอาณาจักรก็ไม่เป็นท่ีรู้จักแล้ว เช่นน้ี
เราจะรไู้ ดอ้ ยา่ งไรวา่ แทจ้ รงิ แลว้ ชนชาตขิ องเรามตี น้ กาํ เนดิ มาจากอาณาจกั รใดกนั แน่ แลว้ เปน็ ไปไดจ้ รงิ
หรอื ไมท่ ี่เราจะสืบเช้อื สายโดยตรงจากอาณาจักรโบราณเพยี งแหง่ ใดแหง่ หน่ึง
หัวข้อเร่ือง ศูนย์กลางอํานาจสมัยโบราณ นําเสนอแนวทางท่ีแตกต่างออกไปในการศึกษา
อาณาจักรโบราณเหล่าน้ี โดยไม่ได้ศึกษาแยกเป็นแต่ละอาณาจักร แต่เรียกรวมไปว่า “ระบอบของ
อํานาจสมัยโบราณ” ซ่ึงเป็นการบอกเล่าประวัติศาสตร์ของภูมิภาคท่ีมีพลวัตภายในของตนเอง
ทั้งการเกดิ ข้ึน ดำ�รงอยู่ และเส่อื มถอยลงไป โดยพลวตั น้ันไม่ได้แยกขาดจากสว่ นอนื่ ของโลก
หน่วยท่ี 2 ประกอบดว้ ยแผนการเรยี นรู้ 6 แผน ดงั น้ี
แผนที่ หัวข้อเรือ่ ง สาระสำ�คัญ กจิ กรรมหลกั ส่ือการเรยี นรู้
1 นักประวัติศาสตร์ท�ำ งาน กระบวนการและวธิ ีการ - บรรยายแบบ - รปู ภาพ
มกี ารโต้ตอบ - เอกสารอา่ น
อย่างไร ทางประวตั ิศาสตร์ - อภิปรายกล่มุ กอ่ นเรยี น
- ใบกิจกรรม
บทนำ�
8 u ประวัติศาสตร์ร่วมรากอุษาคเนย์
แผนที่ หวั ขอ้ เรอ่ื ง สาระส�ำ คญั กิจกรรมหลกั สอ่ื การเรียนรู้
2 คนยุคส�ำ ริดในเอเชยี พธิ ีกรรมเก่ียวกบั ฝังศพของ - วาดภาพ - แผนท่ี
- รูปภาพ
มปี ฏิสัมพันธก์ ันอย่างไร คนโบราณ ทสี่ ะทอ้ นใหเ้ หน็ ถงึ - บรรยาย
- การ์ดประกอบ
การตดิ ตอ่ สมั พนั ธก์ นั ของผคู้ น - วเิ คราะหภ์ าพวาด บทบาทสมมติ
- เอกสาร
ในอดตี ทางโบราณคดี
- เอกสารส�ำ หรบั อ่าน
3 ระบอบอำ�นาจโบราณ การจดั โครงสร้างของ - แลกเปลี่ยน
- เอกสารส�ำ หรับอ่าน
มีการจัดโครงสร้าง อาณาจักรแบบมณฑล ความคดิ เห็น - แผนที่
- รูปภาพ
อยา่ งไร (mandala) - บรรยายสน้ั แบบ
- รปู ภาพ
มีการโต้ตอบ - แผนที่
- กจิ กรรมบทบาท
สมมติ
4 ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง การจัดระเบียบและโครงสร้าง - กิจกรรมค้มุ ครอง
ผปู้ กครองกบั ผอู้ ยใู่ ตป้ กครอง ทางสงั คมผา่ นระบบไพร่ หรือลงโทษ
ในสมยั โบราณเปน็ อยา่ งไร - เรยี นรคู้ ำ�ศพั ท์
5 ระบอบอ�ำ นาจ - ความรเู้ กีย่ วกบั หลักฐาน - อภิปรายกลมุ่
สมยั โบราณมีขนาด โบราณคดีประเภทศิลปะ
ใหญโ่ ตเพียงใด และสถาปัตยกรรม
- การให้เหตุผลแบบ
นักประวตั ศิ าสตร์
6 วัฒนธรรมตา่ งๆ การแพรก่ ระจายทาง - เกมโทรศัพท์
ผสมผสานกันอย่างไร วฒั นธรรมผ่านวรรณกรรม - บรรยาย
ในเอเชยี ตะวันออก รามายณะ - งานกลมุ่
เฉยี งใตส้ มัยโบราณ - การสนทนา
แลกเปล่ียนแบบ
ตปู้ ลา (Fish Bowl)
- วาดภาพ
บทน�ำ
ประวัติศาสตร์ร่วมรากอุษาคเนย์ u 9
หนว่ ยท่ี 3 ขา้ วและเคร่อื งเทศ
ข้าวและเครื่องเทศเป็นส่วนหน่ึงของชีวิตของทุกคนในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ด้วยเหตทุ ่เี ป็นอาหารหลักของทุกบ้าน แตค่ วามจริงแล้วมีคุณค่ามากไปกวา่ น้ันอกี
หัวข้อเร่ือง ข้าวและเครื่องเทศ สํารวจความสําคัญทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และ
การเมือง ตลอดเวลาหลายศตวรรษที่ผ่านมา นักเรียนจะได้ค้นพบวิถีชีวิต ธรรมเนียมปฏิบัติและ
ประเพณีของแต่ละชุมชนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ลักษณะท่ีชุมชนให้ความหมายกับโลก
ของตน และถ่ายทอดความทรงจําทางประวัติศาสตร์และขนบธรรมเนียมประเพณี รวมท้ังยังจะได้
เรยี นรวู้ า่ ขนบธรรมเนยี มประเพณเี หลา่ นเี้ ดนิ ทางและมวี วิ ฒั นาการผา่ นหว้ งเวลาและสถานทม่ี าอยา่ งไร
นักเรียนจะได้เรียนรู้ว่าอาหารเป็นมากกว่าแหล่งโภชนาการ และปัจจัยเพ่ือความอยู่รอด วัฒนธรรม
อาหารมีความเชื่อมโยงกับจิตวิญญาณ โครงสร้างชนชั้นและการอยู่ร่วมกันในสังคม กําหนดสํานึก
ของผู้คนเก่ยี วกับสถานท่ี ประวตั ศิ าสตร์ วฒั นธรรม อัตลักษณ์และความเชือ่ มโยงสัมพันธก์ นั
หน่วยท่ี 3 ประกอบดว้ ยแผนการเรยี นรู้ 7 แผน ดงั นี้
แผนท่ี หวั ข้อเรอื่ ง สาระส�ำ คญั กจิ กรรมหลกั สื่อการเรยี นรู้
1 แนะน�ำ วัฒนธรรมขา้ ว : - สภาพเงือ่ นไขส�ำ คญั ส�ำ หรับ - ท�ำ ความเขา้ ใจ - เอกสารสุภาษิต
- วีดทิ ัศน์
ขา้ วมคี วามส�ำ คัญเพยี งใด การปลกู ข้าว สำ�นวน สุภาษติ
- เอกสารบทความ
ในวัฒนธรรมของ - ความสัมพันธ์ระหว่าง ทีเ่ กี่ยวกบั ขา้ ว - รปู ภาพ
- ใบงาน
เอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ การเพาะปลูกกบั วัฒนธรรม - ชมวีดทิ ัศน์
- แผนท่ี
- บรรยาย - สอ่ื ประเภทขอ้ ความ
2 ขา้ วและเคร่ืองเทศ : - พิธีกรรมและศาสนา - บรรยาย - แผนท่ี
- ส่ือประเภทขอ้ ความ
จิตวิญญาณ เรอื่ งเล่า ทเ่ี กีย่ วขอ้ งกับการเพาะปลกู - จับคู่แลกเปล่ยี น
ปรมั ปรา และต�ำ นาน - ความสมั พนั ธท์ างสงั คม ความคิดเหน็
ในหม่เู ครอื ญาตแิ ละชมุ ชน - กิจกรรม
อภิปรายกล่มุ
3 เคร่อื งเทศ ข้าว และ การค้าเคร่ืองเทศและ - อภิปรายกลุม่
ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจ เครือข่ายการค้าระหวา่ ง - บรรยาย
ของเอเชยี ตะวันออก สว่ นอ่นื ๆ ของโลกกับ - งานกลุ่ม
เฉียงใต้ เอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้
4 การคา้ เคร่ืองเทศ อ�ำ นาจและบทบาทของยโุ รป - บรรยาย
การควบคุมของยุโรป ท่ีมีตอ่ การคา้ เคร่อื งเทศ - กิจกรรมจก๊ิ ซอว์
และปฏกิ ิริยาของภมู ิภาค ในศตวรรษที่ 14 - 16 - แลกเปลี่ยน
ข้อค้นพบ
บทน�ำ
10 u ประวัติศาสตร์ร่วมรากอุษาคเนย์
แผนที่ หวั ขอ้ เร่อื ง สาระสำ�คญั กิจกรรมหลกั สือ่ การเรียนรู้
5 อาหาร สขุ ภาพ ความเชอ่ื เร่ืองการแพทย์ - บรรยาย - ใบความรู้
- รปู ภาพ
และการรักษา สมยั โบราณของเอเชีย - จบั คอู่ ภปิ ราย - อภิธานศัพท์
- สอ่ื ข้อความ
ตะวันออกเฉยี งใต้ - วทิ ยากรบรรยาย - บตั รแสดงบทบาท
สมมติ
6 ทนุ หนี้ และการสญู เสยี การสญู เสยี ที่ดินทีเ่ กดิ ขนึ้ - บรรยาย - อภิธานศพั ท์
ทดี่ นิ ในเอเชียตะวนั ออก ในพมา่ และการทช่ี าวนาพมา่ - คร่นุ คิด - รูปภาพ
- สื่อข้อความ
เฉียงใต้ (ศตวรรษที่ 19 - พงุ่ ความโกรธแคน้ จาก - บทบาทสมมติ
20) : ชาวเชตติยาร์ การสญู เสยี ทีด่ นิ ไปที่
(Chettiars) เปน็ ตน้ เหตุ คนปลอ่ ยเงนิ กู้ (ชาวเชตตยิ าร)์
ของการสูญเสยี ทีด่ นิ
ในพม่าหรือไม่
7 ความส�ำ คัญของ กระบวนการถนอมอาหาร - บรรยาย
เครือ่ งเทศและผลิตภณั ฑ์ ของเอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้ - แสดงนิทรรศการ
ปลาหมักในการประกอบ
อาหารของเอเชยี
ตะวันออกเฉียงใต้
หน่วยท่ี 4 เอเชียตะวันออกเฉยี งใตก้ ับโลก
จากอดีตถึงปัจจุบัน ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ไม่เคยแยกขาดจากภูมิภาคอื่นๆ
ในโลก เอเชียตะวันออกเฉียงใต้กับโลก จึงเป็นการศึกษาความเปล่ียนแปลงและความต่อเน่ืองท่ี
นําไปสู่การรวมตัวกันท้ังภายในและระหว่างภูมิภาค โดยสร้างความเข้าใจพ้ืนฐานทางประวัติศาสตร์
ของปรากฏการณใ์ นสมัยใหม่ เช่น การกอ่ ตัง้ และพัฒนาอาเซียนข้ึน วัฒนธรรมสมัยนิยม เชน่ ดนตรี
ภาพยนตร์ กีฬา ศิลปะและมรดก คาดว่านักเรียนจะสามารถเข้าถึงเนื้อหาในหัวข้อนี้ได้ง่าย และ
เกิดความเข้าใจประเด็นทางประวัติศาสตร์ที่ซับซ้อนได้ดีขึ้น อีกมุมมองท่ีน่าสนใจของหัวข้อนี้คือ
แม้ว่าเราจะต้องมองย้อนสู่อดีตเพ่ือค้นหาประวัติศาสตร์ท่ีรวมรากเหง้าของเราไว้ ประวัติศาสตร์และ
ประสบการณร์ ว่ มน้ยี ังคงดําเนนิ เพ่ิมเติมขึ้นอย่างตอ่ เนอ่ื งในปัจจุบนั
บทน�ำ
ประวัติศาสตร์ร่วมรากอุษาคเนย์ u 11
หน่วยท่ี 4 ประกอบด้วยแผนการเรยี นรู้ 7 แผน ดังนี้
แผนท่ี หัวข้อเร่ือง สาระส�ำ คญั กิจกรรมหลัก สือ่ การเรียนรู้
1 อาเซียน การรวมตัวเปน็ องค์กรระดบั - บรรยาย - แผนที่
1ก แนะน�ำ อาเซียน ภมู ิภาค และความเปน็ มาของ - ระดมความคิดเห็น - เอกสารประกอบ
1ข อาเซียนในฐานะ การด�ำ เนินการของอาเซียน - ระบชุ ่ือบนแผนที่ - ใบงาน
องคก์ รระดับภูมิภาค - จัดแสดงนทิ รรศการ
- ชมวีดิทศั น์
- แลกเปลยี่ น
ความคดิ เห็น
2 กฬี าซีเกมส์ : พฒั นาการของมหกรรม - ชมวีดิทศั น์ - เอกสารประกอบ
ประวตั ิศาสตร์ กีฬาและ กฬี าซีเกมส์ - บรรยาย - ใบกจิ กรรม
การสร้างประชาคม - กิจกรรมกลุ่ม - อภธิ านศัพท์
ในเอเชยี ตะวันออก - น�ำ เสนอขอ้ ค้นพบ - วดี ิทศั น์
เฉียงใต้
3 จากประวตั ิศาสตร์ - ความเป็นมาทาง - ชมวีดิทัศน/์ ภาพ - แผนท่ี
ทก่ี ระจดั กระจายสู่ ประวตั ิศาสตรข์ อง - สนทนาแลกเปลย่ี น - เอกสารประกอบ
ประวัติศาสตรร์ ่วม : เซปกั ตะกรอ้ บาสเกตบอล ความคิดเห็น - ใบงาน
ฟุตบอล บาสเกตบอล และฟตุ บอล
และเซปกั ตะกร้อ - บทบาทของอาณานคิ ม
ในเอเชียตะวนั ออก ในการเผยแพรแ่ ละพฒั นา
เฉยี งใต้ ฟุตบอลและบาสเกตบอล
ในภูมิภาค
4 มรดกทางวัฒนธรรม/ มรดก วัฒนธรรม - บรรยาย - วีดทิ ัศน์
ธรรมชาติของเอเชยี และมรดกวัฒนธรรม - น�ำ เสนอ
ตะวันออกเฉียงใต้
ท�ำ ไมมรดกทางวฒั นธรรม
จงึ ส�ำ คญั ส�ำ หรับเรา
5 ศลิ ปะรว่ มสมยั ของ - แนวทางและรปู แบบของ - บรรยาย - ภาพวาด
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ศลิ ปะรว่ มสมัย - แสดงความคิดเห็น - วีดิทศั น์
- ชอ่ื และผลงานของศลิ ปิน - กิจกรรมกลุ่ม-เดย่ี ว - โปรแกรมน�ำ เสนอ
รว่ มสมัย - การบา้ น/โครงงาน - เอกสารประกอบ
บทน�ำ
12 u ประวัติศาสตร์ร่วมรากอุษาคเนย์
แผนที่ หวั ขอ้ เรือ่ ง สาระส�ำ คัญ กจิ กรรมหลกั ส่ือการเรยี นรู้
6 ดนตรียอดนิยมใน ประวตั ศิ าสตร์ของวัฒนธรรม - บรรยาย - วีดทิ ัศน์
เอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ : ยอดนยิ มของมวลชนใน - การเรียนรู้ - เอกสารประกอบ
วัฒนธรรมโลกกบั ท้องถิน่ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แบบรว่ มมอื - ใบงาน
- นำ�เสนอแลกเปลยี่ น - อภิธานศัพท์
ข้อค้นพบ
7 เอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ ประวัติศาสตร์ของจักรวรรดิ - บรรยาย - คลปิ ภาพยนตร์
ภาพยนตร์ และจักรวรรดิ ผา่ นส่อื ภาพยนตร์ - การเรยี นรู้ - แผนที่
แบบรว่ มมอื - โปสเตอร์ภาพยนตร์
- ชมคลิปภาพยนตร์ - ใบงาน
- แลกเปลี่ยน
ความคิดเห็น
สญั ลักษณ์ท่ีใชใ้ นแต่ละหนว่ ย
หน่วยการเรียนรู้ท่ีพัฒนาขึ้น มีรายละเอียดค่อนข้างมาก เพ่ือให้ครูนำ�หน่วยและ
แผนการเรยี นรู้ไปใชเ้ กิดความสะดวกมากข้ึน จงึ ได้ออกแบบสัญลกั ษณก์ �ำ กับไว้ ดังน้ี
หนว่ ยท่ี 1 ผูค้ นและพื้นท่ี หนว่ ยท่ี 2 ศูนย์กลางอ�ำ นาจสมัยโบราณ
หนว่ ยท่ี 3 ข้าวและเครื่องเทศ หนว่ ยท่ี 4 เอเชียตะวันออกเฉียงใต้กับโลก
แผนการเรียนรู้ แต่ละแผนประกอบดว้ ยสว่ นสำ�คัญ 2 สว่ น คอื
1. ส่วนที่เป็นรายละเอียดแผนและลำ�ดับขั้นตอนการจัดกิจกรรมการสอนแสดงโดยใช้
สัญลกั ษณ์ประจ�ำ หน่วยก�ำ กบั ไว้
2. ส่วนท่ีเป็นรายการส่ือการเรียนรู้ ความรู้สำ�หรับครู และแบบฝึกหัดสำ�หรับนักเรียน
แสดงโดยใช้สัญลักษณค์ ู่กับสญั ลกั ษณ์ประจำ�หน่วย ดงั ตวั อย่าง
บทน�ำ
1หหนนว่ ยว่ ยทที่ ่ี ผู้คนและพนื้ ท่ี
ผ้เู รยี นไดช้ ืน่ ชมในความหลากหลายของพ้นื ทใี่ นเอเชียตะวันอกเฉยี งใต้
ศึกษาสภาพแวดลอ้ มที่มีอทิ ธพิ ลต่อการปรับวิถชี ีวติ ความเป็นอย่ขู องผคู้ น
ในขณะเดียวผคู้ นกป็ รบั สภาพแวดลอ้ มใหเ้ อ้อื ต่อการดำ�รงชีวติ ของตนและชมุ ชนด้วย
แผนการเรียนรู้ที่ 1 แผนการเรียนรทู้ ี่ 2 แผนการเรียนรทู้ ่ี 3
ลมุ่ น้�ำอิรวดี: อาณาจักรพกุ าม พื้นทปี่ ลูกขา้ วบาหลี: พนื้ ที่ภูเขาทางภาคเหนอื ของไทย:
ศาสนากับขา้ ว อาณาจักรลา้ นนา
แผนการเรยี นรู้ท่ี 4 แผนการเรยี นรู้ที่ 5 แผนการเรยี นรู้ที่ 6
บา้ นเรอื นในพ้ืนท่ีสงู : คาบสมทุ รมลายฝู ่ังตะวนั ตก: พ้ืนทช่ี ายฝั่งสามเหลีย่ มปะการงั :
โฮนายและตองโกนาน อาณาจักรมะละกา ซามา/บาเจา
14 u ประวัติศาสตร์ร่วมรากอุษาคเนย์
เกริน่ นำ�
ผู้คนและพ้ืนที่ พิจารณาความสำ�คัญของสภาพแวดล้อมท้องถิ่นและบทบาทที่มีต่อ
การก่อเกิดชุมชนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หน่วยนี้จะให้บริบทสำ�หรับการทำ�ความเข้าใจความ
หลากหลายและลักษณะร่วมท่ีมีอยู่ในภูมิภาคด้วยการยอมรับลักษณะท่ีหลากหลายแต่มีลักษณะ
ร่วมกันของสภาพแวดล้อมของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ กรณีศึกษาที่นำ�มาจากตัวอย่างท้ังโบราณ
และร่วมสมัย นำ�พาความสนใจสู่ประวัติศาสตร์และประสบการณ์ท่ีเช่ือมโยงกันของชุมชนท่ีอยู่อาศัย
ในพ้ืนที่ต่างๆ ทั่วท้ังภูมิภาค แต่ละแผนการเรียนรู้ชี้ให้เห็นว่าลักษณะสภาพแวดล้อมแบบหนึ่งๆ
มีส่วนสำ�คัญท่ีกำ�หนดสถานท่ีในอดีตของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และ/หรือผู้คนในปัจจุบันของ
เอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้
เมื่อรวมเน้ือหาท้ังหมดแล้ว หน่วยการเรียนรู้น้ีแสดงถึงประเภทของชุมชนที่ได้เกิดขึ้น
และมปี ฏสิ มั พนั ธใ์ นสภาพภมู ศิ าสตรต์ า่ งๆ ในการส�ำ รวจวา่ ผคู้ นตลอดทว่ั ทง้ั ภมู ภิ าค มวี ถิ ชี วี ติ และการมองโลก
รว่ มกนั อยา่ งไร นกั เรยี นไดร้ บั การสง่ เสรมิ ใหค้ ดิ เกยี่ วกบั ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งพฒั นาการของลกั ษณะรว่ ม
เหล่าน้ีกับบริบททางสิ่งแวดล้อม กล่าวโดยสรุป นักเรียนจะได้ขยายโลกทัศน์ไปกว้างไกลกว่าชีวิต
พ้นื ท่แี ละความสัมพันธท์ อี่ ยูใ่ กล้ตวั
ลกั ษณะทางภมู ศิ าสตรท์ กี่ �ำ หนดโครงสรา้ งเนอ้ื หาของหนว่ ยการเรยี นรนู้ ี้ (ทล่ี มุ่ /ทส่ี งู /ชายฝงั่ )
เป็นจดุ อา้ งอิงสำ�หรบั การคดิ เชิงเปรียบเทยี บเก่ยี วกับกล่มุ ทางสงั คมอ่นื ๆ ทอ่ี าศยั อยู่ในสภาพแวดลอ้ ม
ท่คี ล้ายกัน บางคร้ังนกั วชิ าการก็แบ่งภมู ภิ าคน้ีออกเป็นสองส่วนใหญๆ่ คือ แผน่ ดนิ ใหญ่ และหมเู่ กาะ
แต่ทั้งสองส่วนต่างก็ประกอบด้วยลักษณะทางภูมิศาสตร์สามแบบนี้ ลักษณะภูมิประเทศที่มีร่วมกันนี้
(ทีล่ ุม่ ทส่ี งู และท่ีราบชายฝ่งั ) สามารถพบได้ในแทบทกุ ส่วนของภูมิภาคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้
คนบนพ้ืนที่สูงในประเทศไทย/สุลาเวสี ชุมชนในลุ่มน้ําอิรวดี/พื้นท่ีปลูกข้าวของบาหลี
และพน้ื ทชี่ ายฝง่ั ตะวนั ตกของคาบสมทุ รมลาย/ู สามเหลย่ี มปะการงั เปน็ จดุ เรมิ่ ตน้ ส�ำ หรบั การคดิ เกยี่ วกบั
ความสัมพันธ์เหล่านี้ ความมุ่งหมายคือการแสดงให้เห็นว่าทั้งที่มีความแตกต่างทางเวลาและพื้นท่ี
คนบนพน้ื ทสี่ งู (หรอื ทลี่ มุ่ หรอื พนื้ ทชี่ ายฝงั่ ) ทวั่ ทง้ั ภมู ภิ าคมวี ถิ ชี วี ติ และประสบการณท์ างประวตั ศิ าสตร์
ที่คล้ายกัน อาจเลือกใช้คนกลุ่มอื่นและสภาพแวดล้อมอื่นก็ได้ เพื่อให้เป็นเรื่องราวที่อยู่ในความสนใจ
สำ�หรบั นักเรยี น
หนว่ ยที่ 1 ผคู้ นและพื้นที่
ประวัติศาสตร์ร่วมรากอุษาคเนย์ u 15
เน้อื หาโดยรวม
ผู้คนและพน้ื ที่ ส�ำ รวจปฏิสมั พนั ธร์ ะหว่างผูค้ นในเอเชียตะวันออกเฉียงใตก้ บั สภาพแวดลอ้ ม
ตลอดท้ังกาลเวลาและพื้นท่ี นักเรียนจะได้สำ�รวจว่าสภาพเงื่อนไขทางภูมิศาสตร์ สภาพแวดล้อม
สภาพอากาศ และเง่ือนไขทางวัตถุส่งผลอย่างไรต่อผู้คนในภูมิภาค ต้ังแต่ยุคเร่ิมแรกมาจนถึงปัจจุบัน
ด้วยการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ของชุมชนในพื้นท่ีสูง ที่ลุ่ม และชายฝั่ง หน่วยน้ีดึงความสนใจไปที่ว่า
การมีชีวิตอยู่ในสภาพแวดล้อมท่ีแตกต่างเหล่าน้ีก่อให้เกิดประสบการณ์ร่วมอย่างไร ท้ังที่มีความ
แตกต่างในเรื่องชาติ พรมแดน ภาษา ศาสนา และเชื้อชาติ นักเรียนจะได้เห็นคุณค่าของความ
หลากหลายของภูมิประเทศของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ผ่านประวัติศาสตร์ของผู้คนท่ีกำ�หนดและ
ถูกกำ�หนดโดยพ้ืนที่ท่พี วกเขาอาศัยอยู่
แผนการเรยี นรู้ 6 แผน จดั แบง่ เปน็ สามสว่ นตามภมู ปิ ระเทศ พน้ื ท่ี และเวลา สภาพภมู ปิ ระเทศ
แต่ละแบบ (ท่ีลุ่ม ที่สูง และชายฝั่ง) มีแผนการเรียนรู้จำ�นวนสองแผนท่ีเน้นเก่ียวกับชุมชนโบราณ
และร่วมสมัย ในแผนการเรียนรู้แต่ละแผนจะมีแบบฝึกหัดที่ออกแบบมาสำ�หรับการพัฒนาทักษะ
ทางประวัติศาสตร์หรือวิเคราะห์เป็นการเฉพาะ แผนการเรียนรู้เหล่านี้สามารถนำ�ไปใช้เดี่ยวๆ หรือ
ใชด้ ว้ ยกนั ก็ได้
แผนการเรยี นรทู้ ่ี 1 ล่มุ น้าํ อริ วดี : อาณาจกั รพกุ าม
แผนการเรียนรู้นี้จะสำ�รวจว่าการปลูกข้าวเป็นหัวใจสำ�คัญในการก่อเกิดชุมชนในพ้ืนที่ลุ่ม
ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้อย่างไร เมื่อจบบทเรียน นักเรียนจะเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่าง
สิ่งแวดล้อมกับวัฒนธรรม (ศาสนา และการเกษตร) ตลอดจนตระหนักว่าการมองโลกของเรา
บางสว่ นถูกกำ�หนดโดยวัฒนธรรมของเราเอง
แผนการเรยี นรู้ที่ 2 พนื้ ที่ปลกู ขา้ วบาหลี : ศาสนากบั ข้าว
แผนการเรียนรู้น้ีกล่าวถึงการคิดค้นของมนุษย์ในการปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อม
ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ นักเรียนจะได้สำ�รวจความเชื่อมโยงระหว่างพิธีกรรมกับวิถีปฏิบัติ
ด้านการเกษตร/สภาพแวดล้อมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เมื่อจบบทเรียน นักเรียนจะเข้าใจว่า
เร่ืองปรัมปราและตำ�นานพื้นบ้านแสดงแง่มุมของคุณค่าทางศาสนาและส่งอิทธิพลต่อวิถีปฏิบัติ
ทางการเกษตรอย่างไร ได้เห็นความคล้ายคลึงกันในความเชื่อเก่ียวกับการปลูกข้าวในพ้ืนท่ีต่างๆ
ของอินโดนีเซีย และความสำ�คัญทางประวัติศาสตร์ของวิถีปฏิบัติทางการเกษตรในจักรวาลวิทยา
ของเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้
หนว่ ยท่ี 1 ผ้คู นและพ้ืนที่
16 u ประวัติศาสตร์ร่วมรากอุษาคเนย์
แผนการเรยี นรทู้ ี่ 3 พนื้ ทภี่ เู ขาทางภาคเหนือของไทย : อาณาจักรลา้ นนา
แผนการเรียนรู้น้ีเน้นสำ�รวจพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ในภูมิภาคที่หลากหลายทาง
วัฒนธรรมและสภาพแวดล้อม นักเรียนจะเข้าใจเกี่ยวกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ของสังคม
หลากวัฒนธรรมในสภาพแวดล้อมที่เป็นพ้ืนท่ีภูเขา เห็นคุณค่าของความหลากหลายทางระบบนิเวศ
ในบริเวณท่ีสูง มีความรู้ความเข้าใจว่าชุมชนท่ีให้ความสำ�คัญต่อส่ิงต่างๆ ไม่เหมือนกัน สามารถ
พฒั นาในสภาพแวดล้อมทีม่ ีร่วมกันไดอ้ ยา่ งไร
แผนการเรยี นรทู้ ี่ 4 บา้ นเรอื นในพน้ื ทสี่ งู : โฮนาย (Honai) และตองโกนาน (Tongkonan)
จดุ ประสงคข์ องแผนการเรยี นนี้ คอื การแสดงใหเ้ หน็ วา่ บา้ นในพนื้ ทสี่ งู ในเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้
เป็นผลจากสภาพแวดล้อมอย่างไร และแสดงถึงลักษณะสำ�คัญทางวัฒนธรรมของโครงสร้าง
ทางสังคมและวัฒนธรรม เม่ือจบบทเรียน นักเรียนควรจะเข้าใจว่าวัฒนธรรมท้ังหมดถูกกำ�หนดโดย
สภาพแวดลอ้ ม และเห็นคุณค่าของวิถชี วี ติ ทแ่ี ตกตา่ งจากของตนเอง
แผนการเรียนรูท้ ่ี 5 คาบสมทุ รมลายูฝง่ั ตะวนั ตก : อาณาจักรมะละกา
แผนการเรียนรู้นี้กล่าวถึงความเป็นอาณาจักรท่ีวางอยู่บนฐานของการค้าไม่ใช่การเกษตร
จากบทเรียนนี้นักเรียนจะได้ความรู้เก่ียวกับพัฒนาการของชุมชนในพ้ืนที่ชายฝั่งและความสัมพันธ์
ระหว่างวัฒนธรรมกับสภาพแวดล้อม นักเรียนจะเข้าใจว่าสภาพพ้ืนท่ีราบชายฝั่งส่งผลต่อวิถีการ
ดำ�รงชีวิตและการมองโลกอย่างไร การอยู่ใกล้กับทะเลก่อให้เกิดปฏิสัมพันธ์ทางการค้า ชักนำ�ให้
คนกล่มุ ต่างๆ มาอยรู่ ว่ มกนั ถึงแม้จะมีความแตกตา่ งกันในเรือ่ งภาษาและศาสนากต็ าม
แผนการเรียนร้ทู ี่ 6 พ้นื ที่ชายฝั่งสามเหลี่ยมปะการงั : ซามา (Sama)/บาเจา (Bajau)
แผนการเรียนรู้น้ีนักเรียนจะทำ�ความรู้จักกับสภาพภูมิศาสตร์ของสามเหลี่ยม
ปะการงั และพน้ื ทข่ี องกลมุ่ “ชนเผา่ ทะเล” ตา่ งๆ ทอ่ี ยอู่ าศยั ตามเกาะตา่ งๆ ในเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้
นักเรียนจะได้รับรู้ว่าการเปล่ียนแปลงในการทำ�ประมงส่งผลกระทบต่อชีวิตความเป็นอยู่
ของผู้คนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้อย่างไร นักเรียนจะได้พิจารณาความซับซ้อนของผลกระทบ
ทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม จากประเด็นการอนุรักษ์ต่างๆ จากมุมมองของชนกลุ่มน้อย
ที่ไม่ค่อยได้ส่งเสยี งใหค้ นในเอเชียตะวนั ออกเฉยี งใตไ้ ด้รบั รู้มากนัก
หลกั การและเหตุผล
• ประวตั ิศาสตร์ของผคู้ น (ชมุ ชน) และพ้นื ท่ี (สภาพแวดล้อม) ในเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้
เป็นกรอบทก่ี ว้างไกลพน้ ไปจากขอบเขตและแนวการเลา่ เร่ืองตามแบบฉบับทั่วไป โดยมกี ารผสมผสาน
แนวทางของประวัตศิ าสตร์สังคมและประวตั ศิ าสตรส์ ภาพแวดลอ้ มเข้าดว้ ยกัน
หน่วยท่ี 1 ผู้คนและพนื้ ที่
ประวัติศาสตร์ร่วมรากอุษาคเนย์ u 17
• การมงุ่ เนน้ ปฏสิ มั พนั ธร์ ะหวา่ งชมุ ชนกบั สภาพแวดลอ้ ม ท�ำ ใหเ้ กดิ พน้ื ทกี่ ารเรยี นการสอน
ทที่ �ำ ให้มีการส�ำ รวจและเปรียบเทยี บประวตั ิศาสตร์ของพนื้ ที่ต่างๆ ท้ังภูมภิ าคและขา้ มพรมแดน
• การเน้นให้เห็นถึงความมีอยู่ของสภาพแวดล้อมที่มีร่วมกัน ทำ�ให้นักเรียนได้พิจารณาว่า
ผู้คนต่างๆ ในภูมิภาคมีชีวิตอยู่และมองโลกในลักษณะที่คล้ายคลึงกันอย่างไร ทั้งที่มีความต่างเรื่อง
ภาษา ชาตพิ นั ธ์ุ หรือศาสนา
• แม้ว่าจะมีความแตกต่างทางการเมือง ภาษา ศาสนา และวัฒนธรรม แต่ทุกประเทศ
ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ต่างมีคนอาศัยอยู่บนพื้นที่ภูเขาและที่ลุ่ม ซ่ึงเป็นฐานสำ�หรับการทำ�ความ
เขา้ ใจภูมิภาคตลอดที่ข้ามพน้ พรมแดน
วัตถุประสงคก์ ารเรียนรู้
• พัฒนาทักษะการวิเคราะห์-นักเรียนและครู จะได้แนวทางใหม่ๆ ในการคิดและสอน
ประวตั ศิ าสตร์ (โดยท่วั ไป) จากแนวทางแบบสหวิทยาการน้ี
• พัฒนาทักษะการวิเคราะห์-นักเรยี นจะได้รับการส่งเสรมิ ใหค้ ิดเกี่ยวกบั
(ก) ความเชอ่ื มโยงระหวา่ งสภาพแวดลอ้ ม ชมุ ชน และพฤตกิ รรมทไี่ ดจ้ ากการเรยี นรู้ และ
(ข) การท่ีผู้คนท่ัวท้ังภูมิภาคมีประสบการณ์คล้ายคลึงกันในการจัดการและปรับตัว
ให้เขา้ กับท่ีทีต่ นอาศยั อยู่
• พฒั นาทกั ษะการประยกุ ต-์ นกั เรยี นจะมโี อกาสไดค้ ดิ เกยี่ วกบั ภมู ภิ าคและชวี ติ ของตนเอง
โดยอาศัยกรอบพื้นที่/สถานท่ี (space/place) ซึ่งเป็นมิติท่ีทำ�ให้วิธีการสอนอัตลักษณ์ของแต่ละคน
และการระบุว่าตนสงั กัดอะไรซับซอ้ นย่งิ ขึ้น
• ได้เนื้อหา-นักเรียนจะได้สัมผัสถึงประวัติศาสตร์และประสบการณ์ของชุมชนและ
สภาพแวดลอ้ มในส่วนอน่ื ๆ ของภมู ิภาคทีอ่ าจไมม่ อี ยใู่ นต�ำ ราเรยี นในประเทศ
• การเรยี นรเู้ ชงิ คณุ คา่ (Value-based learning) - ความคดิ ทว่ี า่ ผคู้ นในเอเชยี ตะวนั ออก
เฉียงใต้อาจจะมีประสบการณ์ทางประวัติศาสตร์ร่วมกันและมีสิ่งแวดล้อมร่วมกัน (แต่หลากหลาย)
อาจจะก้าวข้ามวิธีการทำ�ความเข้าใจอัตลักษณ์และความรู้สึกเป็นส่วนหน่ึงในปัจจุบันน้ีไป หรือทำ�ให้
การทำ�ความเข้าใจน้นั มหี ลายมติ ิมากข้ึน
หนว่ ยที่ 1 ผคู้ นและพ้นื ท่ี
18 u ประวัติศาสตร์ร่วมรากอุษาคเนย์
เนื้อหาของหนว่ ย
แผนการเรยี นรู้ 6 แผน จดั แบง่ เปน็ สามสว่ นตามภมู ปิ ระเทศ พน้ื ท่ี และเวลา สภาพภมู ปิ ระเทศ
แตล่ ะแบบ (ทล่ี มุ่ ทส่ี งู และชายฝงั่ ) มแี ผนการเรยี นรู้ 2 แผน ทเี่ กยี่ วกบั ชมุ ชนโบราณและชมุ ชนรว่ มสมยั
แผนจัดการเรียนรู้แต่ละแผนจะมีแบบฝึกหัดท่ีออกแบบมาสำ�หรับพัฒนาทักษะทางประวัติศาสตร์
หรือทกั ษะการวเิ คราะห์เป็นการเฉพาะ แผนการเรยี นรเู้ หล่านี้สามารถนำ�ไปใช้เด่ียวๆ หรอื ใช้ด้วยกนั
1. ทล่ี ่มุ
แผนการเรียนรู้ที่ 1 ลุ่มน้าํ อิรวดี : อาณาจกั รพุกาม
แผนการเรียนร้ทู ี่ 2 พ้นื ทปี่ ลกู ข้าวบาหลี : ศาสนากับข้าว
2. ทส่ี งู
แผนการเรียนรทู้ ี่ 3 พนื้ ท่ภี ูเขาทางภาคเหนอื ของไทย : อาณาจกั รล้านนา
แผนการเรียนรูท้ ่ี 4 บา้ นเรอื นในพน้ื ทส่ี งู : โฮนาย (Honai) และตองโกนาน (Tongkonan)
3. ชายฝั่ง
แผนการเรยี นรทู้ ี่ 5 คาบสมทุ รมลายูฝ่ังตะวันตก : อาณาจกั รมะละกา
แผนการเรียนรู้ท่ี 6 พืน้ ที่ชายฝัง่ สามเหลย่ี มปะการงั : ซามา (Sama)/บาเจา (Bajau)
ข้อมูลพ้นื ฐาน
สภาพพ้นื ท่ี
เอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใตโ้ ดยทวั่ ไปแลว้ หมายถงึ ดนิ แดนตา่ งๆ ทอ่ี ยตู่ ามแนวชายฝงั่ ตะวนั ออก
ของอ่าวเบงกอล ดินแดนทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของเทือกเขาหิมาลัย และหมู่เกาะที่อยู่ทางเหนือ
ของทวีปออสเตรเลียตามแนวเส้นศูนย์สูตรฝ่ังตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิก ภูมิภาคนี้แบ่งออก
เป็นสองส่วน คอื แผ่นดินใหญ่ และหม่เู กาะ ในสองสว่ นน้ีกิจกรรมมนษุ ยแ์ ละสงั คมต่างๆ พฒั นาขน้ึ มา
ในภมู ปิ ระเทศสามแบบ คอื ทล่ี ุม่ ทส่ี งู และชายฝงั่
ที่ลุ่ม หมายถึง ระบบแม่น้ํา-หุบเขา ที่ราบ พ้ืนที่ชุ่มนํ้า และป่าเขตร้อน พื้นท่ีเหล่านี้เอื้อ
อำ�นวยให้เกิดการวัฒนธรรมร่วม ภาษา บรรทัดฐาน ค่านิยม วิถีชีวิตและโลกทัศน์ต่างๆ อารยธรรม
เกา่ แกแ่ ละอาณาจกั รยคุ แรกๆ เช่น พกุ าม นครวดั ไดเวยี ด สโุ ขทยั และมาตารามในชวากลาง ต้ังอยู่
พ้ืนท่ีลุ่มริมแม่นํ้าท่ีการรวมตัวได้ง่ายกว่าและมีประชากรหนาแน่นกว่า ปัจจุบันเมืองสำ�คัญหลายแห่ง
ของภมู ภิ าคตงั้ อยใู่ นพื้นทล่ี มุ่ รมิ แม่น้าํ เปน็ หลัก
ท่สี ูง หมายถึง สภาพแวดล้อมท่ีอยบู่ นพน้ื ทีส่ ูง เชน่ ท่ีราบสงู ภเู ขา และเทือกเขา พ้ืนทเี่ ช่นนี้
มักมปี ระชากรไมห่ นาแน่น การเคลอื่ นยา้ ยท�ำ ไดจ้ ำ�กดั มีความหลากหลาย (ทางภาษา วฒั นธรรม และ
ชาตพิ นั ธ์)ุ และเหมาะกบั การท�ำ การเกษตรแบบไรห่ มนุ เวียนอยา่ งจำ�กดั ชุมชนทีเ่ กดิ ขนึ้ ในพื้นทีแ่ บบนี้
หนว่ ยท่ี 1 ผู้คนและพื้นที่
ประวัติศาสตร์ร่วมรากอุษาคเนย์ u 19
มกั จะมขี นาดเลก็ พงึ่ พาตนเอง และมคี วามแตกตา่ งทางการเมอื งมากกวา่ ชมุ ชนในพนื้ ทส่ี งู มกั เกยี่ วขอ้ ง
ในการค้าทางบกและมปี ฏิสมั พันธ์กบั ชุมชนในพืน้ ที่ลุ่ม แตร่ ักษาวิถชี ีวติ ท่ีมีลกั ษณะเฉพาะตวั ปจั จบุ นั
ชนกลุ่มน้อยจำ�นวนมากในภูมิภาคมาจากพ้ืนที่สูงเหล่านี้และยังดำ�รงความเป็นกลุ่มก้อนชัดเจน
ในความสัมพนั ธ์กับคนในพื้นที่ลุม่
ชายฝงั่ หมายถงึ สภาพแวดล้อมทีเ่ ก่ยี วขอ้ งกับทะเลและแผ่นดินทีอ่ ย่ตู ดิ กบั ทะเล อย่างเชน่
สามเหล่ียมปากแม่นํ้า พรุ และป่าโกงกาง โดยคำ�นิยามแล้วพื้นที่ชายฝ่ังมีนัยยะถึงการมีน้ํา
เป็นแหล่งอาหารสำ�คัญ การค้าทางทะเล และการเช่ือมสัมพันธ์กับชุมชนชายฝั่งอื่นๆ ผู้คน ความคิด
และเทคโนโลยใี หมๆ่ มกั เดนิ ทางและสง่ ผา่ นมาทางชมุ ชนเหลา่ น้ี ถงึ จะไมไ่ ดเ้ ปน็ ชอ่ งทางเขา้ สภู่ มู ภิ าคน้ี
เพียงช่องทางเดียวกต็ าม ชุมชนเมอื งท่า อย่างเช่น มะละกา (ศตวรรษที่ 15 - 16) เกิดขน้ึ ตรงจุดบรรจบ
ของแม่นํ้าและมหาสมุทร กลายเป็นจุดสำ�คัญในเครือข่ายการค้าทางทะเลที่กว้างขวางทั่วทั้งภูมิภาค
และเชือ่ มโยงกบั ส่วนอื่นที่อย่ลู ึกเขา้ ไปภายในแผน่ ดิน
ภมู ภิ าคนี้มอี ณุ หภมู ิที่ค่อนข้างสมา่ํ เสมอ แตแ่ น่นอนวา่ ย่อมตอ้ งมคี วามผนั แปรอยู่ อณุ หภมู ิ
อยู่ระหว่าง 26 ถึง 30 องศาเซลเซียส ตามแนวชายฝั่ง โดยอุณหภูมิในส่วนท่ีอยู่ลึกเข้าไปในบริเวณ
ท่ีลุ่มและท่ีสูงมีความผันแปรอย่างมากเนื่องจากความสูงและปริมาณฝน ขณะท่ีพ้ืนที่ลุ่มส่วนใหญ่
มีอากาศร้อนช้ืน อุณหภูมิสูงเกิน 30 องศาเซลเซียส พื้นที่สูงมีอากาศเย็นกว่าและมีกระท่ังหิมะ
บริเวณลุ่มน้ําบางพ้ืนที่ (เช่น ลุ่มน้ําอิรวดีตอนเหนือ) และที่ราบสูง (บริเวณเชิงเทือกเขาหิมาลัยทาง
ตะวันออกเฉียงเหนือ) มีสภาพอากาศแห้งแล้ง ทำ�ให้เกิดสภาพเง่ือนไขเฉพาะสำ�หรับชุมชนท่ีอยู่ใน
บรเิ วณน้ี
ลมมรสุมท่ีพัดเปลี่ยนทิศตามฤดูกาลทำ�ให้เกิดฤดูฝนท่ีกำ�หนดจังหวะชีวิตของการเพาะปลูก
วัฒนธรรม และเศรษฐกิจ สภาพอากาศที่ร้อนและแห้งแล้งมาก่อนฤดูฝน ก่อให้เกิดวัฏจักรของ
การเพาะปลกู ทีม่ ภี าพเปรียบ ตดั กันระหว่างทิวทศั น์ทแี่ ห้งแลง้ กับเขยี วชอ่มุ ฤดูกาลเปล่ยี นจากชุ่มชน้ื
เป็นแห้งแล้งอย่างคาดการณ์ได้ และก่อให้เกิดจังหวะชีวิตที่มีการให้ความสำ�คัญและเฉลิมฉลองด้วย
พิธีต่างๆ ของชุมชนในภูมิภาค พิธีกรรมและตำ�นานความเชื่อที่เกี่ยวข้องกับวัฏจักรการเพาะปลูก
เป็นวธิ กี ารท่วั ไปในการแสดงความเชือ่ มโยงของมนษุ ยก์ ับธรรมชาติและกฎของจกั รวาล
ผูค้ นท่ีอาศัยอยู่ในที่สูง ที่ลุม่ และชายฝ่ัง ปรับตัวเข้ากับสภาพภูมิอากาศเหล่านต้ี ่างกันไป
เนอ่ื งจากอณุ หภมู แิ ละสภาพอากาศไมไ่ ดเ้ ปน็ แบบเดยี วกนั แตด่ ว้ ยการส�ำ รวจพจิ ารณาและเปรยี บเทยี บ
ชีวิตของผู้คนท่ีอาศัยอยู่ในสภาพแวดล้อมที่คล้ายกัน แม้ว่าอาจจะถูกแบ่งก้ันด้วยพรมแดนร่วมสมัย
เราจะเร่มิ เหน็ ประสบการณ์ทางประวัติศาสตรแ์ ละชวี ิตที่มรี ่วมกนั ของภูมิภาค
หนว่ ยท่ี 1 ผ้คู นและพน้ื ท่ี
20 u ประวัติศาสตร์ร่วมรากอุษาคเนย์
ถึงแม้ว่าความหลากหลายจะเป็นลักษณะที่โดดเด่นท่ีสุดของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ก็ตาม
แตล่ ะประเทศก็มคี นในพ้นื ทส่ี ูงและคนในพน้ื ทีล่ ุม่ และเกอื บทุกประเทศ (ยกเวน้ ลาว) มีชมุ ชนชายฝ่งั
ทำ�ใหม้ กี รอบในการศึกษาประวัติศาสตรแ์ ละประสบการณร์ ว่ มได้
สงั คม
ภูมิภาคนี้มีลักษณะเด่นเร่ืองความหลากหลายทางด้านภาษา ความเช่ือ และขนบประเพณี
สภาพภูมิประเทศแบบต่างๆ ดังที่บรรยายข้างต้น ก่อให้เกิดสภาพเง่ือนไขที่ส่งเสริมการแลกเปลี่ยน
ความคิด ขณะท่ีในกรณีอ่ืนๆ อาจจะจำ�กัดการมีปฏิสัมพันธ์ ถึงแม้ว่าความแตกต่างภายในภูมิภาค
จะเหน็ ไดช้ ดั แต่ผคู้ นในภูมิภาคกม็ ปี ระสบการณ์ ประวตั ิศาสตร์ และการตอบสนองต่อสภาพแวดล้อม
ร่วมกัน ชุมชนต่างๆ ก่อตัวข้ึนตามลุ่มน้ํา ตามทะเลสาบ/ลำ�ธารบนพ้ืนที่สูง และพ้ืนท่ีชายฝั่ง ซ่ึงเป็น
ช่องทางหลักสำ�หรับการเข้าถึงแหล่งอาหาร การคมนาคม และการดำ�รงชีวิต บางกลุ่มรวมตัวเป็น
กลุ่มก้อนเม่ือเวลาผ่านไป ส่วนบางกลุ่มยังเป็นอิสระจากกลุ่มอื่น โดยคงรักษาวิถีชีวิตของตนไว้
สว่ นหนึ่งเนอื่ งมาจากสภาพแวดลอ้ ม
ในประวตั ิศาสตร์สว่ นใหญ่ของภูมิภาคก่อนศตวรรษท่ี 19 ประชากรของเอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต้
มีค่อนข้างจำ�กัด ทำ�ให้เกิดความต้องการกำ�ลังคนอย่างมาก ในขณะท่ีผืนดินมีมากมาย การมี
คนกลุ่มใหญ่ไว้ใช้สอย เพาะปลูก ผลิตอาหาร ต่อสู้ในสงคราม ให้การศึกษาแก่เด็กๆ บริหารจัดการ
รฐั บาล และคา้ ขายสนิ คา้ คอื มาตรวดั ทางอ�ำ นาจ ดว้ ยการทสี่ ถาบนั ตา่ งๆ ออ่ นแอ ความสมั พนั ธส์ ว่ นตวั
กลายเป็นพื้นฐานสำ�หรับเส้นสายและการบังคับขู่เข็ญ ผู้ปกครองหรือรัฐที่มีอิทธิพลสัญญาท่ีจะให้
ความปลอดภัยและความม่ันคงแก่ผู้ใต้การปกครองโดยตอบแทนด้วยการให้ความสนับสนุนอย่าง
ไม่มีเงื่อนไขในฐานะผู้พึ่งพา พ้ืนฐานความสัมพันธ์ทางสังคมต่างตอบแทนนี้ยังคงเป็นกรอบท่ีผู้คนใช้
ในการนยิ ามตนเองและมปี ฏสิ มั พันธ์ต่อกนั ในปัจจุบัน
การส่ือสาร
ผู้คนในภูมิภาคน้ีในเชิงประวัติศาสตร์สามารถจัดกลุ่มได้ตามตระกูลภาษา ซ่ึงเป็นหน่ึง
ในหลายคุณสมบัติท่ีสามารถใช้กำ�หนดกลุ่มคนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้ กลุ่มภาษาท่ีใหญ่
ท่ีสุดคือภาษาท่ีใช้ในแผ่นดินใหญ่ (มอญ-เขมร ไต-กะได ทิเบต-พม่า) และภาษาท่ีใช้ตามหมู่เกาะ
(ออสโตรนีเซียน) ภาษาเขียนถูกรับและปรับจากเอเชียใต้และตะวันออก ขณะที่ภาษาพูดพ้ืนเมือง
สะท้อนการผสมภาษาท้องถิ่นกับต่างชาติ ตัวอย่างของภาษาโบราณพบได้ในศิลาจารึก หนังสือ
ใบลาน บันทึก พงศาวดารท้องถิ่น แหล่งข้อมูลเหล่านี้ช่วยให้นักประวัติศาสตร์เข้าใจโลกเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้ในอดีต ถึงแม้ว่าเทือกเขาและแม่น้ํามักจะเป็นอุปสรรคต่อการมีจุดร่วมทางภาษา
ก็ตาม แต่การปะทะสังสรรค์ทางวัฒนธรรมร่วมกันก็ทำ�ให้คนในภูมิภาคน้ีได้พัฒนาโลกทัศน์ร่วมกัน
ในชว่ งเวลาตา่ งๆ ตลอดประวตั ศิ าสตรข์ องภมู ภิ าค
หนว่ ยท่ี 1 ผู้คนและพน้ื ที่
ประวัติศาสตร์ร่วมรากอุษาคเนย์ u 21
วัฒนธรรม
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีความเช่ือมโยงทางประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม ประชากร การค้า
และภาษากับเอเชียใต้ (อินเดีย) และเอเชียตะวันออก (จีน) กว่าหน่ึงพันปีของการมีปฏิสัมพันธ์และ
การแลกเปลย่ี นทำ�ใหเ้ กิดวิถชี วี ติ ที่มีลักษณะเฉพาะขนึ้ มา อนั เปน็ ผลจากการเช่อื มโยงดงั กล่าว
แม้ว่าลักษณะเฉพาะทางวัฒนธรรมและสังคมของภูมิภาคน้ีส่วนใหญ่ได้รับแรงบันดาลใจ
จากแหล่งวัฒนธรรมเอเชียใต้และตะวันออก แต่คนท้องถิ่นก็ได้ตีความและดัดแปลงตัวแบบเหล่านี้
ให้เหมาะสมสอดคล้องกับการจัดลำ�ดับความสำ�คัญของสิ่งต่างๆ และโลกทัศน์ของตน ระยะเวลา
หลายศตวรรษที่ภูมิภาคนี้ได้เปิดรับอารยธรรมฮินดู-พราหมณ์ พุทธ ขงจื๊อ อิสลาม และตะวันตก
ได้ก่อให้เกิดแบบแผนของการดัดแปลงและสร้างใหม่โดยความริเร่ิมของผู้คนในท้องถิ่น ที่ทำ�ให้
คนในภูมิภาคสามารถนิยามตนเอง และโลกของตนโดยอาศัยศัพท์แสงของท้ังท้องถิ่นและของโลกได้
นอกจากน้ีการปะทะสังสรรค์ทางประวัติศาสตร์และโลกวัฒนธรรมร่วมท่ีเกิดข้ึนก็เป็นฐานสำ�คัญ
ส�ำ หรับประวัตศิ าสตรร์ ่วมของภูมิภาคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้
โลกทางวตั ถุ
ในประวัติศาสตร์ท่ีผ่านมา ชาวเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในบ้านยกพ้ืนสูง
ซึง่ เปน็ การปรับตัวให้สอดคล้องกบั สภาพอากาศและเงื่อนไขทางสภาพแวดล้อม การยกพนื้ สงู (มกั จะ
สูงจากพื้นหลายฟุต) ทำ�ให้บ้านไม่เปียกแฉะในช่วงหน้าฝน เย็นสบายในหน้าร้อน และกันสัตว์เลี้ยง
และสัตว์ป่าที่อาจมารบกวนในเวลากลางคืน บ้านส่วนใหญ่สร้างจากไม้ไผ่หรือไม้ชนิดอ่ืน หลังคามุง
ด้วยจากหรือไม่ก็สังกะสี ถึงจะมีขนาดและรูปร่างแตกต่างกันไปบ้าง แต่พึงตระหนักว่าบ้านเหล่านี้
พบได้ตลอดท่ัวท้ังภูมิภาค และสะท้อนให้เห็นถึงการปรับตัวต่อสภาพแวดล้อมและประสบการณ์
ของชุมชนทอ้ งถิน่
โลกทางจิตวิญญาณและวิถีปฏิบัติทางพิธีกรรม
ความเชื่อของคนในภูมิภาคนี้ โลกธรรมชาติและชีวิตประจำ�วันถูกกำ�กับควบคุมและจัดการ
โดยสิ่งเหนือธรรมชาติ ทั่วทั้งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีความเช่ือกันว่ามีวิญญาณสิงสู่อยู่ตาม
สิ่งธรรมชาติต่างๆ (แม่นํ้า ภูเขา ต้นไม้) ตลอดจนบ้านเรือนและสถานท่ีต่างๆ ในสังคมด้วย ผู้คน
ในภูมิภาคทำ�การบวงสรวงวิญญาณเหล่านี้ และตลอดหลายศตวรรษท่ีผ่านมาได้พัฒนาเป็นพิธีกรรม
ท่ีโดดเด่นท่ีเป็นการเซ่นไหว้เพ่ือแลกกับความคุ้มครองจากวิญญาณเหล่าน้ัน ไม่ว่าจะเป็นการทำ�พิธี
แรกนาขวัญหรือการเซ่นไหว้เจ้าที่ของหมู่บ้าน พิธีกรรมและความน่าตื่นตาของพิธีกรรมเป็นส่วนหนึ่ง
ของระบบความเชอื่ ในเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้
หนว่ ยท่ี 1 ผคู้ นและพน้ื ท่ี
22 u ประวัติศาสตร์ร่วมรากอุษาคเนย์
สรปุ
แนวคดิ เร่ืองประวัตศิ าสตร์รว่ มของเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้เป็นประเดน็ สำ�คัญในวงวิชาการ
ยุคหลงั สงครามโลกครัง้ ที่สอง ไดแ้ ก่ เอกสารเรอ่ื ง A History of Southeast Asia (ค.ศ. 1955) ของ
ด.ี จี.อ.ี ฮอลล์ (D.G.E. Hall) The Indianized States of Southeast Asia (ค.ศ. 1964) ของยอร์ช
เซเดซ์ (George Coedés) เป็นงานยุคแรกๆ ที่สำ�รวจพลวัตทางประวัติศาสตร์อย่างกว้างๆ ท่ีผูก
ภูมิภาคน้ีเข้าไว้ด้วยกัน ความคิดที่ว่าภูมิภาคนี้เชื่อมโยงและได้รับอิทธิพลจากอารยธรรมเอเชียใต้และ
ตะวันออกมาตลอดมกั ถกู ใชเ้ พื่อแสดงถงึ ประสบการณ์เชงิ ประวตั ิศาสตรร์ ่วมนี้
การเผชิญกับวัฒนธรรมทางศาสนา-ปรัชญาต่างๆ โดยเฉพาะที่เก่ียวกับพราหมณ์/พุทธ
ขงจื๊อ อิสลาม และคริสต์ เป็นส่วนหน่ึงของเรื่องราวการมีปฏิสัมพันธ์ท่ีเกิดข้ึนทั่วท้ังโลก หลายส่วน
ของภมู ภิ าคมปี ระวตั ศิ าสตรร์ ว่ มและเชอ่ื มโยงกนั ในการดดั แปลงและปรบั แตง่ องคป์ ระกอบของโลกทศั น์
เหลา่ นใี้ หเ้ หมาะสมกบั ความตอ้ งการและการใหค้ วามสำ�คญั ของทอ้ งถน่ิ การเผชญิ กบั อารยธรรมยโุ รป/
ตะวนั ตกและโลกทัศนท์ ไี่ ม่องิ ศาสนาเปน็ ประวัตศิ าสตรร์ ่วมบทหลังๆ แต่ก็เปน็ การสืบต่อเรอื่ งราวของ
ภูมิภาคนี้ในฐานะทางแพรง่ ของโลก
บทเรียนต่างๆ ในผู้คนและพ้ืนที่น้ีสอดรับกับประวัติศาสตร์ของการมีปฏิสัมพันธ์ท่ัวท้ังโลก
ด้วยการมุ่งสนใจชุมชนและสภาพแวดล้อมในภูมิภาคนี้เป็นการเฉพาะ นักเรียนจะได้เห็นถึงการที่
พลวัตของโลกและสภาพเง่ือนไขท้องถิ่นมีปฏิสัมพันธ์กัน ซึ่งก่อให้เกิดแบบแผนของประสบการณ์ร่วม
ทั่วทั้งแผ่นดินใหญ่และหมู่เกาะ ไม่ว่าโลกทัศน์ต่างๆ จะได้รับการสื่อสารถ่ายทอดโดยอาศัยศัพท์แสง
และคุณค่าแบบพุทธ ขงจื๊อ อิสลาม คริสต์ หรือที่ไม่ใช่ศาสนาก็ตาม ผู้คนในภูมิภาคนี้ก็มีปฏิกิริยา
ตอบสนองรว่ มกันตอ่ พื้นทที่ ี่พวกเขาอาศยั อย่แู ละสถานทท่ี พ่ี วกเขาไดส้ ร้างข้ึน
เอกสารอ้างองิ :
Robbins Burling. Hill Farms and Paddi Fields : Life in Mainland South-East Asia,
ASU Program for SEAS, 1995.
Charles Keyes. The Golden Peninsula : Culture and Adaptation in Mainland
South-East Asia, Honolulu : UH Press, 1995.
Anthony Reid. South-East Asia in the Age of Commerce : The Land Below the
Winds Volume I, New Haven : Yale University Press, 1988. [หนังสือแนะนำ�
ท่สี �ำ คญั มากของโครงการน้ี]
หน่วยท่ี 1 ผู้คนและพน้ื ท่ี
ประวัติศาสตร์ร่วมรากอุษาคเนย์ u 23
หน่วยท่ี 1 ผคู้ นและพนื้ ท่ี
แผนการเรยี นรูท้ ี่ 1 ลมุ่ นา้ํ อริ วดี : อาณาจกั รพุกาม
วิชา : ประวตั ิศาสตร/์ สงั คมศกึ ษา
หัวขอ้ : ลมุ่ น้าํ อิรวดี (เมียนมา-ศตวรรษที่ 11 - 13)
ระดบั : มธั ยมศกึ ษาตอนต้น
จำ�นวนคาบ/แผนการเรยี นรู้ : 1 แผนการเรยี นรู้ (1 คาบ : 50 - 55 นาที)
อปุ กรณ์ทจี่ �ำ เป็น :
ความรพู้ ืน้ ฐาน : ไม่จ�ำ เปน็ ต้องมีความรพู้ ้ืนฐานมาก่อน
วตั ถปุ ระสงคก์ ารเรยี นรู้ :
อธบิ ายวา่ การปลกู ขา้ วเปน็ หวั ใจส�ำ คญั ของการกอ่ เกดิ ชมุ ชนในพน้ื ทลี่ มุ่ ของเอเชยี ตะวนั ออก
เฉยี งใต้ เม่ือจบบทเรยี น นักเรียนสามารถ
ความร ู้ ทกั ษะ เจตคติ
1. เข้าใจความสัมพันธ์ 1. ประเมนิ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง 1. ตระหนกั ว่าการมองโลกของเรา
ระหวา่ งสภาพแวดล้อม
กับวัฒนธรรม คือ สภาพแวดล้อมกบั วฒั นธรรมเมอ่ื ถกู ก�ำ หนดโดยวัฒนธรรมของเรา
ศาสนากับการเพาะปลูก
ได้รจู้ ักกับสภาพแวดล้อมทีค่ ล้ายกัน เราถกู กำ�หนดโดยสภาพแวดล้อม
ในส่วนอืน่ ๆ ของเอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้ ทางกายภาพและวัฒนธรรม
2. แสดงความคิดเหน็ ว่าผู้คนมอง
2. พจิ ารณาว่าสภาพแวดลอ้ มและ
พฒั นาการทางวัฒนธรรมมคี วามสัมพันธ์ วัฒนธรรมอนื่ อยา่ งไร โดยเฉพาะ
ใกล้ชิดกบั การมองโลกของเราอยา่ งไร วัฒนธรรมทีพ่ ฒั นามาต่างจากวฒั นธรรม
3. สามารถใช้บทเรียนนี้เปรยี บเทยี บ ของตนเอง เช่น ชมุ ชนในพื้นท่ีลุ่ม
กับเนือ้ หาจากบทเรยี นอนื่ ในหน่วยนี้ กบั พ้ืนทีช่ ายฝัง่ ฯลฯ
3. เข้าใจวา่ ไม่มีส่ิงท่ีเรียกว่าวฒั นธรรม
ทเี่ ก่ยี วกับสภาพแวดลอ้ มตา่ งๆ ได้
ทดี่ อ้ ยกวา่ หรอื เหนือกวา่
หนว่ ยที่ 1 ผู้คนและพ้ืนท่ี u แผนการเรียนรทู้ ่ี 1 ลมุ่ นํา้ อริ วดี : อาณาจักรพุกาม
24 u ประวัติศาสตร์ร่วมรากอุษาคเนย์
ข้นั ตอน การด�ำ เนินการสอน สื่อการเรียนรู้ หลักการและเหตผุ ล
เกริน่ น�ำ บรรยายส้นั ๆ เกย่ี วกับอาณาจกั รพกุ าม • สอ่ื การเรยี นรู้ 1 - 1. วัตถุประสงค์หลกั คอื
1. อาณาจกั รแรกๆ ของเอเชียตะวันออก เขตแหง้ แล้งของ การเข้าใจว่าสภาพแวดลอ้ ม
อยา่ งเขตแหง้ แล้งของเมียนมา
เฉยี งใตก้ ำ�เนิดขึน้ ในเขตแหง้ แล้งของเมยี นมา เมยี นมา สามารถได้รบั การพัฒนา
ให้รองรับการปลูกขา้ ว
ในราวคริสต์ศตวรรษที่ 1 - 5 เมอ่ื ถงึ • สื่อการเรียนรู้ 2 - อยา่ งขนาดใหญ่ด้วย
การปรบั เปลยี่ นสภาพแวดลอ้ ม
ศตวรรษท่ี 11 พกุ ามกป็ รากฏเปน็ อาณาจักร ศาสนสถาน และใช้ประโยชน์จาก
ทรัพยากรธรรมชาติ
ที่เข้มแข็งมากที่สุดในเขตแห้งแลง้ ศาสนาพทุ ธ จากสมยั พกุ าม 2. ความสำ�คัญของ
การปลกู ขา้ วในพัฒนาการ
เป็นศาสนาหลกั ของพกุ าม • สอื่ การเรยี นรู้ 3 - ของศาสนา
2. นกั ประวตั ิศาสตร์และนกั โบราณคดี สภาพแวดล้อมแบบ
ระบวุ ่าวฒั นธรรมของพุกามแพร่ขยาย ก่งึ ทะเลทรายของ
จากเมืองหลวงไปยังพืน้ ทีอ่ ืน่ ๆ ในเขตแหง้ แล้ง เขตแห้งแลง้
3. ศลิ าจารกึ จากสมยั พกุ ามบอกวา่ ความมง่ั คง่ั ในเมยี นมา
ของอาณาจกั รมาจากการปลูกขา้ ว กษัตรยิ ์ • ส่อื การเรยี นรู้ 4 -
แห่งพุกามไดร้ บั ส่วนแบ่งข้าวทผ่ี ลติ ไดใ้ นดนิ แดน แมน่ ํ้าอริ วดี
กษัตริยเ์ หล่าน้ีแสดงความมั่งค่งั และอ�ำ นาจ • สื่อการเรียนรู้ 5 -
ด้วยการสร้างพุทธสถานและศิลปะตา่ งๆ นาข้าวในเขต
และยังแบง่ ปนั ความม่งั คง่ั สว่ นหน่งึ ดว้ ย แห้งแล้ง
การบรจิ าคใหก้ ับวดั พทุ ธตา่ งๆ บรรดา
ผ้รู ่ํารวยกป็ ฏิบัติแบบเดยี วกนั ท้ังนีเ้ น่ืองจาก
ความเชอ่ื แบบพทุ ธว่าการท�ำ บญุ จะเปน็ ผลดี
ตอ่ พัฒนาการทางจติ วิญญาณของบคุ คล
การท�ำ บุญหมายความรวมถึงการบริจาคเงิน
ให้พระกับวัด และสร้างศาสนสถานดว้ ย
4. เขตแหง้ แล้งเปน็ พนื้ ทีท่ ไี่ มส่ ามารถรองรบั
การเพาะปลกู ขนาดใหญ่ได้ แต่อยา่ งไร
กต็ าม ผู้คนท่อี าศยั อยูใ่ นเขตแห้งแล้ง
กส็ ามารถปลูกข้าวได้เปน็ อย่างดีโดยอาศัย
คลองชลประทาน พวกเขาขุดคลองเพ่ือ
ผันน้ําจากแมน่ ้ําตา่ งๆ ในบรเิ วณนัน้ มาใช้
ในการปลูกขา้ ว
5. เขตแห้งแลง้ ของเมยี นมาเป็นพน้ื ที่
ทค่ี ่อนข้างราบเรียบท่นี กั ภูมิศาสตร์เรียกว่า
เป็นกึ่งทะเลทราย มีแมน่ ํ้าหลายสาย
ในบรเิ วณนี้ สายหลกั คือแม่น้าํ อิรวดี ชาวนา
หนว่ ยที่ 1 ผู้คนและพน้ื ท่ี u แผนการเรียนรทู้ ี่ 1 ลุ่มนํ้าอริ วดี : อาณาจกั รพกุ าม
ประวัติศาสตร์ร่วมรากอุษาคเนย์ u 25
ข้นั ตอน การดำ�เนนิ การสอน สอ่ื การเรียนรู ้ หลักการและเหตผุ ล
ขดุ คลองเพื่อดึงน้ํามาท่นี าของตนและขุดบอ่
เพื่อกกั เก็บนํ้าดว้ ย
w ควรกระตนุ้ ใหน้ ักเรียนคิดเกีย่ วกับ
เร่ืองต่อไปน้ี ขณะบทเรียนดำ�เนินไป :
ความสมั พนั ธร์ ะหว่างลกั ษณะทางภมู ศิ าสตร์
ที่ค่อนข้างราบเรยี บของเขตแหง้ แล้งกับ
ความสามารถในการขุดคลองชลประทาน
และท�ำ การเพาะปลกู บนพ้ืนทีก่ ว้างขวาง
พฒั นา 1. แบ่งนักเรียนเปน็ สองกลมุ่ • ส่ือการเรยี นรู้ 3 - 1. กิจกรรมแรกเก่ียวกบั
บทเรียน 2. แจกเอกสารตอ่ ไปนี้
2.1 ส�ำ หรบั กลุม่ ท่ี 1 สภาพแวดลอ้ มแบบ การที่สภาพแวดลอ้ ม
กง่ึ ทะเลทรายของ ท่ีราบเรียบสามารถถูกทำ�ให้
2.1.1 สอ่ื การเรียนรู้ 3 - สภาพ เขตแหง้ แลง้ เออื้ ต่อการปลกู ขา้ วได้
แวดลอ้ มแบบกงึ่ ทะเลทรายของเขตแหง้ แล้ง ในเมียนมา ถึงจะเปน็ พื้นทก่ี ง่ึ ทะเลทราย
ในเมยี นมา เนน้ สภาพพน้ื ทท่ี ค่ี อ่ นขา้ งราบเรยี บ • สอื่ การเรียนรู้ 6 - ก็ตาม
2.1.2 ตัง้ ค�ำ ถามตอ่ ไปนี้ คำ�แปลจารึกเกี่ยวกบั 2. ความสำ�คัญของ
• เก่ยี วกบั ภาพ : ชาวพกุ าม การบรจิ าคทาน การเพาะปลูกตอ่ ความเชอ่ื
สามารถก่อสร้างระบบชลประทาน ทางศาสนา
ท่ีเป็นระบบระเบยี บเชน่ นัน้ ได้อยา่ งไร
(เนน้ สภาพภมู ปิ ระเทศทีร่ าบเรียบ)
• สามารถสรา้ งระบบ
ชลประทานสามารถข้ึนได้ในทกุ ที่ของ
เขตแห้งแล้งหรือไม่
• จะเป็นอย่างไรหากนักเรยี น
อย่อู าศัยในพื้นท่ีภูเขาหรือเทือกเขา
2.2 ส�ำ หรบั กลุ่มท่ี 2
2.2.1 ส่อื การเรียนรู้ 6 - ค�ำ แปล
จารกึ เกี่ยวกบั การบริจาคทาน
2.2.2 ต้งั ค�ำ ถามต่อไปนี้กับนกั เรยี น
เกย่ี วกบั แผนที่ : ชาวพกุ ามสามารถก่อสรา้ ง
ระบบชลประทานที่เป็นระบบระเบยี บเชน่ น้นั
ได้อย่างไร
หน่วยที่ 1 ผคู้ นและพ้นื ที่ u แผนการเรียนรูท้ ี่ 1 ลุ่มนา้ํ อริ วดี : อาณาจักรพุกาม
26 u ประวัติศาสตร์ร่วมรากอุษาคเนย์
ข้ันตอน การด�ำ เนินการสอน สื่อการเรยี นร ู้ หลักการและเหตผุ ล
2.2.3 ตั้งค�ำ ถามตอ่ ไปนเี้ กีย่ วกบั
จารกึ
• ขอ้ ความจารกึ เปน็ เร่ือง
เกี่ยวกบั อะไร นกั เรียนคิดว่าใครเปน็ คนสรา้ ง
จารึก
• จารกึ เก่ยี วขอ้ งกบั
การปลกู ขา้ วอยา่ งไร
สรุป 1. ให้นกั เรียนแต่ละกล่มุ แสดงความคิด กิจกรรมนี้ทำ�ใหน้ ักเรยี น
บทเรียน เกี่ยวกับขอ้ มูลในเอกสาร ได้เห็นความสัมพนั ธร์ ะหวา่ ง
2. ใหน้ ักเรยี นเขียนแสดงความเห็นวา่ พัฒนาการของการปลกู ข้าว
กบั ศาสนาในเขตแหง้ แลง้
ข้าวและศาสนาเป็นส่วนสำ�คญั ในชวี ติ
ของผคู้ นในเขตแห้งแลง้ อย่างไร
หน่วยที่ 1 ผคู้ นและพน้ื ที่ u แผนการเรยี นรทู้ ่ี 1 ลุ่มนา้ํ อิรวดี : อาณาจกั รพุกาม
ประวัติศาสตร์ร่วมรากอุษาคเนย์ u 27
หนว่ ยท่ี 1 ผคู้ นและพ้นื ท่ี
แผนการเรยี นรู้ท่ี 1 ลุ่มนา้ํ อริ วดี : อาณาจักรพุกาม
ส่ือการเรยี นรแู้ ละแบบฝกึ หัด
ส่อื การเรียนรู้ 1 - เขตแห้งแลง้ ของเมยี นมา
(ท่มี า : https://commons.wikimedia.org/wiki/File:Topographic30deg_N0E90.png เพ่มิ เตมิ โดยผ้เู ขยี น)
หนว่ ยที่ 1 ผคู้ นและพน้ื ที่ u แผนการเรียนรู้ที่ 1 ลุ่มนา้ํ อริ วดี : อาณาจกั รพกุ าม
28 u ประวัติศาสตร์ร่วมรากอุษาคเนย์
ส่อื การเรียนรู้ 2 - ศาสนสถานสมัยพกุ าม
(ท่ีมา : https://commons.wikimedia.org/wiki/File:Bagan,_Burma.jpg)
สอ่ื การเรียนรู้ 3 - สภาพแวดล้อมแบบก่งึ ทะเลทรายของเขตแห้งแลง้ ในเมยี นมา
(ท่ีมา : © Geoff Boeing, http://geoffboeing.com/)
หน่วยท่ี 1 ผคู้ นและพื้นที่ u แผนการเรยี นรทู้ ่ี 1 ลมุ่ นํา้ อริ วดี : อาณาจักรพุกาม
ประวัติศาสตร์ร่วมรากอุษาคเนย์ u 29
สื่อการเรยี นรู้ 4 - แม่น้ําอิรวดี
(ท่มี า : https://commons.wikimedia.org/wiki/File:Irrawaddyrivermap.jpg)
หนว่ ยที่ 1 ผู้คนและพนื้ ท่ี u แผนการเรยี นรู้ที่ 1 ล่มุ นํา้ อริ วดี : อาณาจักรพกุ าม
30 u ประวัติศาสตร์ร่วมรากอุษาคเนย์
สอ่ื การเรียนรู้ 5 - นาข้าวในเขตแห้งแล้ง
(ทมี่ า : https://commons.wikimedia.org/wiki/File:Burmarice.JPG)
หน่วยที่ 1 ผูค้ นและพ้นื ที่ u แผนการเรยี นรู้ที่ 1 ล่มุ น้าํ อริ วดี : อาณาจกั รพุกาม
ประวัติศาสตร์ร่วมรากอุษาคเนย์ u 31
ส่อื การเรียนรู้ 6 - คำ�แปลจารึกเก่ียวกบั การบริจาคทาน
จารึกชเวกุยยี (Shwegugyi) จากปี พ.ศ. 1684 จารึกขึ้นเพ่ือรำ�ลึกถึงการก่อสร้างเจดีย์
ชเวกุยยีโดยกษัตริย์อลองสิทธุ (Alaungsithu) (พ.ศ. 1655 - 1730) จารึกมีข้อความยาว
แต่เน้อื หาส�ำ คัญคือเรอ่ื ง :
ก. การทำ�บุญของกษัตริย์
ข. พระองคต์ ้องการให้ผลบญุ ท่ไี ด้จากการบริจาคทานของพระองคเ์ ปน็ ประโยชน์ต่อประชาชน
(ข้อความส่วนที่ 1 ดา้ นล่าง)
ค. พระองคต์ อ้ งการใหป้ ระชาชนภายใตก้ ารปกครองของพระองคป์ ฏบิ ตั ติ ามกฎหมาย (ขอ้ ความ
ส่วนที่ 2 ด้านล่าง)
ด้านล่างคือคำ�แปลเนื้อหาบางส่วนของจารึกที่เดิมเป็นภาษาบาลีและจารึกลงบนหิน บาลี
เป็นภาษาอินเดียใต้ที่ยังคงใช้ในการเขียนคัมภีร์ของศาสนาพุทธในหลายส่วนของเอเชีย
ตะวนั ออกเฉยี งใต้และศรลี งั กา
จารึก ความหมาย
1. 1. ด้วยการบรจิ าคทานนี้ การสรา้ งศาสนสถานแห่งนี้
บุญกศุ ลใดๆ ทีเ่ กดิ ข้ึน ข้ามอบใหก้ บั ทกุ คน
ดว้ ยการบรจิ าคทานอันเหลือล้นน้ี ข้าไมห่ วังบุญกศุ ล
ให้ตกแกต่ วั ข้าเอง
2. 2. ข้าจะสรา้ งสะพานขา้ มแมน่ าํ้ แหง่ วฏั สงสาร
สำ�หรบั ทุกคน (วัฏสงสารเปน็ แนวคิดของพุทธ คอื
การเวียนวา่ ยตายเกิดจนกวา่ จะบรรลุนิพพาน
หรือความไม่มตี ัวตน) ข้าจะชว่ ยผทู้ เี่ ดอื ดรอ้ น
ข้าจะท�ำ ให้คนทไ่ี มป่ ฏบิ ตั ิตามค�ำ สอนของพระพทุ ธเจ้า
ให้ปฏิบัตติ ามคำ�สอน
(ท่มี า : Harry J. Benda and John A. Larkin, (1967), The World of South-east Asia : Selected Readings, New York :
Harper and Row, pp. 34 - 35.)
อภธิ านศพั ท์
1. คลองชลประทานและอา่ งเก็บน้ํา : คลองหรอื คูถกู สรา้ งในพนื้ ทท่ี ี่มีปญั หาขาดแคลนนํา้
สำ�หรับการเพาะปลูก คลองชลประทานส่งนํ้าจากอ่างเก็บนํ้าหรือแม่นํ้าไปยังทุ่งนา บางคร้ังชาวนา
ก็ขุดบอ่ เพอื่ เก็บนํา้
2. จารึก : ข้อความที่สลักลงบนหินหรือโลหะ มีได้หลายรูปแบบ บางส่วนเป็นเนื้อหา
ทางศาสนา ค�ำ ประกาศ และการบรจิ าคทานใหก้ บั วัด
หน่วยท่ี 1 ผคู้ นและพ้ืนที่ u แผนการเรียนรทู้ ่ี 1 ลมุ่ นํา้ อิรวดี : อาณาจกั รพุกาม
32 u ประวัติศาสตร์ร่วมรากอุษาคเนย์
หน่วยท่ี 1 ผคู้ นและพืน้ ที่
แผนการเรยี นรทู้ ี่ 2 พนื้ ที่ปลูกข้าวบาหลี : ศาสนากับขา้ ว
วชิ า : ประวัตศิ าสตร์/สงั คมศึกษา
หวั ขอ้ : ศาสนาและการปลกู ข้าวในชวาและบาหลี
ระดับ : มธั ยมศกึ ษาตอนตน้
จำ�นวนคาบ/แผนการเรยี นรู้ : 1 แผนการเรียนรู้ (1 คาบ : 50 - 55 นาที)
อปุ กรณท์ จี่ ำ�เปน็ : ไมต่ ้องใชอ้ ปุ กรณ์
ความรูพ้ ื้นฐาน : ไม่จำ�เปน็ ตอ้ งมคี วามรู้พน้ื ฐานมาก่อน
วตั ถปุ ระสงคก์ ารเรยี นรู้ :
เม่ือจบบทเรียน นักเรียนสามารถทบทวนความคิดว่าตำ�นานความเช่ือพ้ืนบ้าน
แสดงถึงแง่มุมต่างๆ ของคุณค่าทางศาสนาและส่งอิทธิพลต่อวิถีปฏิบัติในการเพาะปลูก
สามารถเห็นความคล้ายคลึงกันระหว่างความเชื่อเร่ืองการปลูกข้าวในพื้นท่ีต่างๆ ของอินโดนีเซีย
และความสำ�คญั ทางประวัตศิ าสตร์ของการเพาะปลูกในจักรวาลวิทยาของเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้
ความร ู้ ทกั ษะ เจตคติ
1. ตระหนักถึงความเชอื่ 1. เรียนรกู้ ารใช้ “แนวคดิ ภูเขาน้ําแข็ง” 1. เขา้ ใจลกึ ซงึ้ วา่ ศาสนาและจกั รวาลวทิ ยา
ทางศาสนาและ สง่ ผลตอ่ พฤติกรรมในชีวิตประจ�ำ วนั
เพ่อื ระบุคา่ นิยมทางวฒั นธรรม
จักรวาลวทิ ยาท่ีเช่อื มโยง ทป่ี รากฏชดั และไม่ปรากฏชัด 2. ตระหนักวา่ วิถีปฏิบัติทางศาสนา
กับการปลูกขา้ ว 2. รว่ มวเิ คราะห์ต�ำ นานความเชือ่ ส่งผลต่อวิถปี ฏบิ ตั ทิ างการเพาะปลูก
2. เข้าใจว่าความเช่อื ในฐานะทเ่ี ป็นการแสดงออกซ่ึงอัตลักษณ์ ของผคู้ นในสงั คมเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ทางศาสนาและวฒั นธรรม และเป็นแนวทางทัศนคติและคา่ นิยม
เชอื่ มโยงกบั ชวี ติ ประจ�ำ วนั ทางวฒั นธรรม
และมอี ิทธพิ ลตอ่
ปฏิสัมพันธ์ของมนษุ ย์
กบั สภาพแวดลอ้ ม
(ที่มา : คัดมาจาก Rice in Myth and Legend. Contributors : Taryo, Obayashi - ผเู้ ขียน. ชอ่ื วารสาร : UNESCO Courier.
วนั ทต่ี ีพมิ พ์ : ธันวาคม 2527. หนา้ : 9+. © UNESCO. COPYRIGHT 1984 Gale Group.)
หน่วยที่ 1 ผคู้ นและพน้ื ที่ u แผนการเรียนรทู้ ี่ 2 พืน้ ที่ปลูกข้าวบาหลี : ศาสนากับข้าว
ประวัติศาสตร์ร่วมรากอุษาคเนย์ u 33
แม้ว่าจะมีประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม และสังคมท่ีแตกต่างกัน ประเทศทั้งหมดในเอเชีย
ตะวันออกและตะวันออกเฉียงใต้ล้วนมีข้าวเป็นจุดร่วม ไม่ใช่เพียงเพราะว่าผู้คนเหล่านี้ปลูกข้าว
แต่เพราะพวกเขาต่างกม็ ขี นบประเพณี พิธกี รรม และตำ�นานความเช่ือเก่ียวกับข้าวท่เี ชอื่ มโยงพวกเขา
เขา้ ไวด้ ว้ ยกัน วฒั นธรรมขา้ วมคี วามสำ�คญั อยา่ งยง่ิ ยวดในฐานะมรดกร่วมของภมู ิภาคเหล่าน้ี
ตำ�นานปรัมปราเกย่ี วกับก�ำ เนิดของข้าวมหี ลายแบบ บางส่วนคล้ายคลึงกับตำ�นานปรมั ปรา
เกี่ยวกับพืชผลชนิดอ่ืน เรื่องหนึ่งท่ีแพร่หลายอยู่ในอินโดนีเซียและมาเลเซียเล่าว่าพืชผลต่างๆ
ถือกำ�เนิดจากร่างของเทพเจ้าหรือมนุษย์ เร่ืองเล่าทำ�นองน้ีมักบอกว่าพืชผลอ่ืนถือกำ�เนิดมา
พร้อมกันกับข้าว เรื่องเล่าฉบับต่างๆ ของชวาบอกว่าไม้ผลเกิดจากซากศพของเด็กสาวคนหนึ่ง
ข้าวที่ปลูกในท่ีแห้งเกิดมาจากสะดือ มะพร้าวเกิดจากศีรษะและอวัยวะเพศ ผลไม้สุกห้อยจากมือ
ทง้ั สองข้าง และผลไมเ้ กิดจากขาและสกุ บนพนื้ ดนิ
ผู้คนที่อาศัยในพ้ืนที่เทือกเขาของแผ่นดินใหญ่และหมู่เกาะของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
จำ�นวนมากบูชายัญสัตว์เล้ียง อย่างเช่น ควาย และหมู ในพิธีกรรมเก่ียวกับการเพาะปลูก
คนในพื้นที่ราบบางส่วน เช่น คนลาวในลาว ก็ทำ�พิธีบูชายัญด้วยควายด้วยเช่นกัน เหตุผลจูงใจ
ในการปฏิบัตินี้มีต่างๆ กันไป เชื่อกันว่าเป็นการเซ่นสรวงเน้ือสัตว์ให้กับเหล่าเทพเพื่อแลกกับ
การประทานใหข้ า้ วมผี ลผลติ อดุ มสมบรู ณ์ บางสว่ นกเ็ ชอื่ วา่ อ�ำ นาจอาคม (mana) ทอี่ ยใู่ นเลอื ดของสตั ว์
ส่งผลใหพ้ ืชเจรญิ งอกงาม
ตำ�นานปรัมปราเก่ียวกับการปลูกข้าวท่ีสำ�คัญอีกเร่ืองหน่ึง กล่าวถึงการขโมยเมล็ดข้าว
จากสวรรค์หรือจากแหล่งอ่ืนๆ เรื่องเล่าเช่นน้ีไม่เพียงแต่พบในเอเชียตะวันออกและตะวันออกเฉียงใต้
เท่านั้น แต่ยังแพร่หลายในกลุ่มคนท่ีทำ�การเพาะปลูกในแอฟริกาและอเมริกาอีกด้วย นอกจากนี้
ตำ�นานปรัมปราเหล่าน้ียังไม่ได้ผูกอยู่กับการปลูกข้าวเพียงอย่างเดียวเท่าน้ัน แต่ยังใช้กับการปลูก
ข้าวฟ่างในแอฟริกาและข้าวโพดในอเมริกา ในซามัว ตำ�นานว่าด้วยต้นกำ�เนิดของเผือกก็ใช้แนวเรื่อง
แบบน้ี ในส่วนต่างๆ ของเอเชียตะวันออก ยกตัวอย่างเช่น ผู้คนที่อาศัยในพ้ืนที่ภูเขาในไต้หวันก็มี
เร่อื งเล่าเกยี่ วกับกำ�เนิดของขา้ วฟา่ งที่เป็นเร่ืองการขโมยเมล็ด
ลักษณะเด่นชัดอย่างหนึ่งของพิธีกรรมเก่ียวกับการปลูกข้าวในเอเชียตะวันออกและ
ตะวันออกเฉียงใต้ คือ แนวคิดเร่ืองวิญญาณข้าว ชาวละเม็ตที่ปลูกข้าวโดยใช้วิธีถางและเผาในลาว
มีพิธีกรรมที่เป็นตัวอย่างของพิธีกรรมเกี่ยวกับการปลูกข้าวแบบโบราณท่ีมีแนวคิดเช่นน้ี พวกเขา
ประกอบพิธีกรรมท่ีมีข้อห้ามเข้มงวดต่างๆ ในแต่ละขั้นของกระบวนการเพาะปลูก และแนวคิด
เรื่องวิญญาณข้าวของพวกเขามีความคล้ายคลึงกับแนวคิดของคนหลายกลุ่มท่ีอยู่ตามหมู่เกาะของ
เอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้
หน่วยที่ 1 ผ้คู นและพน้ื ท่ี u แผนการเรยี นรู้ท่ี 2 พ้นื ท่ปี ลูกขา้ วบาหลี : ศาสนากับข้าว
34 u ประวัติศาสตร์ร่วมรากอุษาคเนย์
ข้นั ตอน การดำ�เนินการสอน สือ่ การเรียนร ู้ หลกั การและเหตุผล
เกริน่ นำ� อา่ นนทิ านเรือ่ ง เทวีแหง่ ขา้ ว (10 นาท)ี สือ่ การเรยี นรู้ 1 - กจิ กรรมนท้ี ำ�ให้นักเรยี น
แจกส่อื การเรยี นรู้ 1 - “เทวแี ห่งข้าว” เทวแี หง่ ข้าว
ได้รจู้ ักบรบิ ททางวัฒนธรรม
ให้นักเรยี นอ่าน นกั เรียนสามารถแลกเปล่ยี น และจักรวาลวทิ ยาของบาหลี
กบั เพอื่ นรอบข้างไดว้ ่าส่งิ ที่ชายหนมุ่ ในเรือ่ ง และชวา และการปลูกขา้ ว
ท�ำ ไปนน้ั ถกู ต้องหรือไม่ ในนาด�ำ ตลอดจนค่านิยม
ทางวัฒนธรรมที่ไมป่ รากฏชดั
อกี หลายอย่าง
พฒั นา 1. กิจกรรม 1 : แนะนำ� “โครงสรา้ ง • ส่ือการเรียนรู้ 2 - กิจกรรม 1 : แนะน�ำ แนวคดิ
บทเรยี น ภเู ขานาํ้ แข็ง” ของวฒั นธรรม (10 นาที) แผนภาพภเู ขานํ้าแข็ง เรอื่ งชั้นของวัฒนธรรม
1.1 แบง่ นักเรยี นออกเป็นกลุ่ม แหง่ แนวคิด
และความแตกตา่ งระหวา่ ง
กลุ่มละ 4 - 6 คนและแจกกระดาษแผ่นใหญ่ ทางวัฒนธรรม องคป์ ระกอบของวัฒนธรรม
พรอ้ มด้วยปากกาสี และสือ่ การเรียนรู้ 2 - • สอ่ื การเรยี นรู้ 3 - ที่ปรากฏชดั และไมป่ รากฏชดั
แผนภาพภเู ขานํ้าแข็งแหง่ แนวคิดทางวฒั นธรรม เทวศี รใี นบาหลี นีเ่ ปน็ สว่ นหน่งึ ของ
1.2 ใหน้ ักเรยี นวาดรูปภเู ขาน้าํ แขง็ เปล่าๆ • กระดาษแผ่นใหญ่ กระบวนการสอนใหน้ ักเรียน
ตามแบบทเี่ ห็นในแบบฝกึ หดั ครแู นะน�ำ และปากกา คาดค�ำ นวณค่านยิ มจาก
แนวคดิ เร่ืองโครงสร้างภเู ขานํา้ แขง็ ของ วิถีปฏบิ ตั แิ ละการแสดงออก
วัฒนธรรม สาธิตวธิ กี ารเติมเนอ้ื หาลงใน ทางวฒั นธรรม อยา่ งเชน่
แผนภาพภเู ขานา้ํ แข็ง ต�ำ นานปรัมปรา นทิ าน
1.3 ครูอธบิ ายวา่ ภเู ขานํา้ แขง็ มสี ามส่วน พืน้ บา้ นต่างๆ
คือ ส่วนท่ีเราสามารถเห็นไดด้ ้วยตาเปลา่ กจิ กรรม 2 : พานักเรยี น
(วัฒนธรรมหรือวิถีปฏิบัติพื้นผวิ ท่ีเราสามารถ วเิ คราะหเ์ รอ่ื งราวทาง
มองเหน็ ได)้ สว่ นทีส่ องที่จมไปและเห็นได้ วัฒนธรรมและวถิ ีปฏบิ ัติ
บางส่วน (วฒั นธรรมแบบตน้ื [Shallow ทางศาสนาเพ่ือระบุชีว้ ่า
culture]) และส่วนท่ีอยู่ใต้น้ําทห่ี มายถึง สะทอ้ นค่านิยมทางวัฒนธรรม
วฒั นธรรมลกึ ([Deep culture] คณุ ค่า แบบไหนออกมา และคา่ นิยม
อุดมคติ และกฎเกณฑท์ างวฒั นธรรมทีอ่ ยู่ เหล่านีส้ ่งผลอย่างไรตอ่ วิธกี าร
ใตส้ ำ�นกึ ทผี่ ลักดันพฤตกิ รรมของผู้คน ทีผ่ ้คู นมีปฏิสมั พันธก์ ับ
และปฏิสมั พนั ธก์ บั โลกรอบตวั ) สภาพแวดล้อมและวิถปี ฏบิ ัติ
2. กจิ กรรม 2 : เตมิ ค�ำ ในแผนภาพภเู ขานาํ้ แขง็ ทางการเพาะปลกู ในชวี ิต
(15 นาท)ี ประจ�ำ วนั
2.1 นกั เรยี นแตล่ ะกล่มุ อา่ น
ส่ือการเรยี นรู้ 3 เกี่ยวกับเทวศี รใี นบาหลี
และเรม่ิ เติมค�ำ ลงในแผนภาพภูเขาน้าํ แขง็
หน่วยที่ 1 ผู้คนและพ้นื ที่ u แผนการเรยี นร้ทู ่ี 2 พนื้ ท่ปี ลกู ขา้ วบาหลี : ศาสนากบั ขา้ ว
ประวัติศาสตร์ร่วมรากอุษาคเนย์ u 35
ข้นั ตอน การดำ�เนนิ การสอน ส่ือการเรียนร้ ู หลกั การและเหตุผล
2.2 กระตนุ้ ใหน้ กั เรยี นคดิ เก่ียวกับ
นทิ านพน้ื บ้านที่ได้อ่านพร้อมด้วยขอ้ มูล
เกยี่ วกับเทวศี รใี นแบบฝึกหัดเสริม และ
พิจารณาว่ามอี ะไรบา้ งท่เี ป็นวฒั นธรรม
พนื้ ผวิ วัฒนธรรมตน้ื และวัฒนธรรมลึก
ที่สรุปไดจ้ ากเรอื่ งราวดังกล่าวและวิถปี ฏบิ ตั ิ
ทางศาสนาของการจัดการทุง่ นา นักเรียน
สามารถแสดงตัวอยา่ งบนแผนภาพ
ภเู ขานํา้ แขง็
สรุป คิดทบทวน (5 นาที) นักเรยี นควรสามารถแปล
บทเรยี น ใหน้ ักเรยี นคิดทบทวนวา่ ความเช่ือของเรา วิถปี ฏิบัติและความเชือ่
อาจมอี ิทธพิ ลต่อการเพาะปลูกและผลิต บางสว่ นที่ไดเ้ รียนรจู้ าก
วีดทิ ัศนแ์ ละนทิ านให้เปน็
อาหารอย่างไร นทิ านพน้ื บา้ นมอี ิทธิพลต่อ แนวคดิ ของคุณค่าและ
ความเชือ่ ทางวฒั นธรรมได้
ประสบการณ์ของเรากับสภาพแวดลอ้ ม กจิ กรรมการครุ่นคดิ ทบทวนน้ี
ยงั สามารถใชใ้ นการประเมนิ วา่
ทางธรรมชาติและทรัพยากร (เชน่ ข้าว) นกั เรียนสามารถมองเหน็ ว่า
ความเช่ือทางวฒั นธรรม
ที่มาจากสภาพแวดล้อมนนั้ หรือไม่ และศาสนาเป็นสว่ นหนึ่งของ
ระบบท่กี �ำ กับปฏิสมั พันธ์ของ
มนษุ ย์กับสภาพแวดล้อม
ได้หรือไม่
หน่วยท่ี 1 ผู้คนและพนื้ ที่ u แผนการเรยี นรูท้ ่ี 2 พ้นื ทป่ี ลูกข้าวบาหลี : ศาสนากบั ข้าว
36 u ประวัติศาสตร์ร่วมรากอุษาคเนย์
หนว่ ยท่ี 1 ผูค้ นและพ้ืนท่ี
แผนการเรยี นรู้ที่ 2 พ้นื ทป่ี ลกู ข้าวบาหลี : ศาสนากบั ขา้ ว
สอ่ื การเรยี นรู้และแบบฝึกหัด
ส่อื การเรยี นรู้ 1 - เทวแี ห่งขา้ ว
(ทีม่ า : http://asianfolktales.unescoapceiu.org/folktales/read/indonesia_2.htm)
เทวแี หง่ ขา้ ว (อินโดนเี ซยี )
เมื่อนานมาแล้วบนเกาะชวาไม่มีต้นข้าว มนุษย์บนโลกปลูกแต่มันสำ�ปะหลังเป็นอาหาร
ประจำ�วัน ข้าวจะได้รับอนุญาตให้ปลูกได้เฉพาะแต่บนสวรรค์เท่านั้น ในเวลาน้ัน ข้าวเป็นอาหาร
ของทวยเทพ
ในเวลานั้น มนุษย์ได้รับอนุญาตให้ไปเย่ียมสวรรค์ได้ด้วยการเดินไปบนเมฆ ทวยเทพ
ก็มกั จะลงมายังโลกเพอื่ พดู คุยกบั มนุษย์
อยู่มาวนั หนึง่ มชี ายหนุ่มคนหนง่ึ ไปสวรรค์ เขาได้เห็นทวยเทพเสวยอาหารทเี่ ขาไม่เคยเหน็
บนโลก ชายหนุ่มไมร่ ้วู ่าอาหารทต่ี นเหน็ นั้นคอื ข้าว
กลน่ิ หอมของขา้ วท�ำ ใหช้ ายหน่มุ นา้ํ ลายสอ เขาอยากจะลองลมิ้ ชมิ รสขา้ วน้นั เหลอื เกิน
เขาหาหนทางที่จะได้ลองกนิ ขา้ ว เขาไปหาเทวศี รีผ้เู ปน็ เทวีแห่งขา้ ว เขารวบรวมความกลา้
วิงวอนเทวศี รี ขออนญุ าตให้เขาไดอ้ ยบู่ นสวรรค์และเรยี นรูก้ ารปลูกขา้ ว
เขาพูดว่า “เทวีศรี เทวีแห่งข้าว ข้าขออนุญาตอยู่บนสวรรค์เป็นเวลาช่ัวคราว ได้โปรด
อนุญาตให้ข้าได้ช่วยปลูก เก็บเก่ียว และตำ�ข้าวของท่าน ต่อให้ข้าจะได้ข้าวเพียงหยิบมือหนึ่ง
ข้ากต็ อ้ งการจะช่วย ขา้ ตอ้ งการลองชมิ ขา้ ว แม้เพียงน้อยนดิ ก็ตาม”
เทวีศรีผู้ฉลาดและโอบอ้อมอารียอมตามคำ�ขอ “เจ้ารู้หรือไม่ว่าข้าวมาจากพืชต้นน้ี”
พระนางแสดงตน้ ขา้ วให้เขาดู “เจ้าท�ำ งานอยทู่ ีน่ ไี่ ด้ และเรียนรู้ที่จะเป็นชาวนาและปลูกข้าว”
หนว่ ยที่ 1 ผู้คนและพ้ืนที่ u แผนการเรียนรทู้ ่ี 2 พื้นทปี่ ลูกขา้ วบาหลี : ศาสนากบั ข้าว
ประวัติศาสตร์ร่วมรากอุษาคเนย์ u 37
ชายหนุ่มดีใจเหลือเกินท่ีได้รับอนุญาตให้อยู่บนสวรรค์ เทวีศรีสอนให้ชายหนุ่มรู้วิธีการ
ปลูกข้าว ก่อนอ่ืนพระนางสอนให้เขาไถนาด้วยเคร่ืองมือชนิดหน่ึงเพื่อพลิกหน้าดิน ซึ่งมีชื่อเรียกว่า
วาลกู ู (waluku)
จากนั้น พระนางกส็ อนวธิ ีพรวนดินดว้ ยคราดท่ีเรยี กวา่ การู (garu)
หลังจากพรวนดินเสร็จแล้ว ชายหนุ่มก็เรียนรู้การนำ�น้ําเข้านา เพาะกล้า ปักดำ� และ
เก็บเก่ียวเม่ือรวงข้าวสุก เทวีศรีก็สอนวิธีเกี่ยวต้นข้าวโดยใช้มีดเก่ียวเล็กๆ ในอุ้งมือท่ีเรียกว่า
อาน-ิ อานิ (ani-ani)
การเกยี่ วข้าวโดยใช้อาน-ิ อานิ
เทวีศรยี งั สอนวิธีการต�ำ ข้าวดว้ ยครกท่เี รยี กวา่ เลอซงุ (lesung) เมอ่ื งานทั้งหมดนี้เสร็จสิ้น
ในท่ีสุดชายหนุ่มก็ได้รับอนุญาตให้ลองชิมข้าวหยิบมือเล็กๆ ข้าวอร่อยมาก! เหมือนอย่างท่ีเขา
ไดน้ ึกจินตนาการไว้เลย
ชายหนมุ่ อยบู่ นสวรรคต์ อ่ และเรยี นรกู้ ารท�ำ นาจนช�ำ นาญ เขายงั ไดล้ มิ้ รสขา้ วแสนอรอ่ ยนน้ั
อกี หลายครง้ั
แต่หลังจากทำ�งานหนักเป็นชาวนาบนสวรรค์ได้หลายปี ชายหนุ่มตัดสินใจกลับบ้าน
บนโลกมนษุ ย์ เขาคดิ ถงึ ครอบครัว ญาติ และเพ่อื นบ้าน
วาลูกู
“คนบนเกาะชวาจะมีความสุขแค่ไหนหากได้ลิ้มรสข้าว
แสนอรอ่ ยนี้” เขาคิด “หากได้กนิ ข้าว คนก็จะมสี ขุ ภาพดี
และแขง็ แรงเหมือนเหลา่ เทวดา”
หนว่ ยที่ 1 ผู้คนและพื้นที่ u แผนการเรียนรทู้ ี่ 2 พืน้ ท่ปี ลกู ขา้ วบาหลี : ศาสนากับข้าว
38 u ประวัติศาสตร์ร่วมรากอุษาคเนย์
ชายหนุ่มเข้าไปหาเทวีศรีและขออนุญาตลงไปยังโลกเพ่ือเย่ียมครอบครัวและมิตรสหาย
ที่เขาไม่ได้เจอมานาน เทวีศรีอนุญาต แต่ในยามเช้าตรู่นั้น ชายหนุ่มฉวยต้นข้าวสุกหลายต้น
ลงมายงั โลกดว้ ย โดยเหล่าเทวดาไมร่ ะแคะระคาย
เมอื่ กลบั ถึงโลก ชายหนุ่มกป็ ลูกขา้ วอยา่ งท่ีได้เรยี นรมู้ าจากสวรรค์ ขา้ วเติบโตอย่างรวดเรว็
เขาทำ�งานหนักและตน้ ขา้ วก็งอกงาม
ทันทีท่ีเก็บเกี่ยวได้ เขาก็แจกจ่ายเมล็ดข้าวให้กับเพ่ือนบ้านและสอนให้พวกเขาปลูก
และดแู ลต้นขา้ ว
ในท่ีสุด ทุกหนแห่งบนเกาะชวาก็เต็มไปด้วยต้นข้าว เมื่อข้าวออกรวงสุกพร้อมเก็บเกี่ยว
ทวั่ ท้งั เกาะชวาก็ปกคลุมไปด้วยสเี หลืองทองอร่าม
วันหนึ่ง เหล่าเทพลงมายังโลก แล้วก็ต้องตะลึงเม่ือได้เห็นต้นข้าวสีทองเป็นทุ่งแผ่ขยาย
ไปทุกทศิ ทาง เหลา่ เทพรบี กลับสวรรคแ์ ละรายงานตอ่ เทวศี รี เหล่าเทพโกรธ เพราะขา้ วมีไดเ้ ฉพาะ
บนสวรรคเ์ ทา่ นน้ั
เทวีศรีลงมายังโลก พระนางรู้ว่าต้องเป็นเพราะชายหนุ่มท่ีได้ช่วยปลูกข้าวบนสวรรค์
เขาคงต้องขโมยเมลด็ ขา้ วตอนลงมาจากสวรรค์
ไมน่ านพระนางกไ็ ด้พบชายหนมุ่
ทีแรก พระนางกร้ิว “หนุ่มน้อย ทำ�ไมเจ้าถึงทรยศต่อความไว้วางใจของข้า เจ้าไม่ควร
ขโมยขา้ ว นเ่ี ปน็ อาหารของเทพ”
ครกส�ำ หรบั ต�ำ ข้าว
เลอซุง (Lesung)
หน่วยท่ี 1 ผคู้ นและพืน้ ท่ี u แผนการเรียนร้ทู ี่ 2 พื้นที่ปลกู ข้าวบาหลี : ศาสนากับขา้ ว
ประวัติศาสตร์ร่วมรากอุษาคเนย์ u 39
คราดส�ำ หรบั พรวนดิน
การู (Garu)
“ขอได้โปรดประทานอภัย เทวีศรี” ชายหนุ่มพูด “ข้าได้นำ�เมล็ดข้าวจากสวรรค์มา
โดยไมไ่ ดข้ ออนุญาตจริง ข้าไม่ไดท้ ำ�เพื่อประโยชนข์ องข้าเอง เทวศี รี ข้าน�ำ ขา้ วลงมาเพื่อประโยชน์
ของคนทุกคนบนเกาะชวา คนเหล่านี้มีแต่มันสำ�ปะหลังกิน ข้าสงสารเพื่อนมนุษย์ด้วยกัน จึงแบ่ง
เมล็ดข้าวให้เพ่ือพวกเขาจะได้ล้ิมรสข้าวแสนอร่อยด้วย ข้ารู้ว่าข้าทำ�ให้ท่านกร้ิว เทวีศรี ข้าเต็มใจ
รับการลงโทษสำ�หรับสิ่งทไ่ี ดท้ ำ�ลงไป”
ความโกรธของเทวีศรีบรรเทาลง ชายหนุ่มผู้มีจิตใจดีงาม มีเจตนาท่ีจะทำ�ส่ิงท่ีจริงใจ
และสูงสง่ เนอ่ื งจากเขานึกถงึ คนอื่น
“ข้ายกโทษให้เจ้า” เทวีศรีตอบ “แต่เจ้าควรต้องขออนุญาตก่อนและไม่ขโมยของคนอ่ืน
สำ�หรับการลงโทษในเรื่องนี้ ข้าจะไม่อนุญาตให้มนุษย์คนใดไปสวรรค์อันเป็นที่พำ�นักของ
เหลา่ เทพอีก”
“อยา่ งไรกต็ าม” พระนางพดู ตอ่ “เจา้ จะไดร้ บั อนญุ าตใหเ้ พาะปลกู ขา้ ว แตจ่ �ำ ไวว้ า่ ตน้ ขา้ วนี้
เป็นเหมือนลูกของขา้ ดแู ลใหด้ ีเหมือนอย่างที่ข้าสอนเจา้ ”
เทวีศรีมีคำ�ส่ังท่ีชัดเจน “ไขนํ้าเข้านาเป็นประจำ� กำ�จัดวัชพืชท่ีข้ึนรอบต้นข้าว ใส่ปุ๋ย
บำ�รุงดิน เก็บเก่ียวอย่างระมัดระวังด้วยมีดอานิ-อานิ เพ่ือจะได้ไม่สูญเสียหรือทำ�เมล็ดข้าว
เสียหาย ปลอ่ ยให้นกไดเ้ พลิดเพลินกับข้าวแสนอร่อยสักเล็กน้อย อยา่ ฆา่ พวกมนั เพราะนกเปน็ สตั ว์
ทเี่ หลา่ เทพรกั หากเจา้ ไมใ่ สใ่ จกบั ค�ำ สง่ั ของขา้ ขา้ จะบนั ดาลใหเ้ กดิ ภยั พบิ ตั ทิ างธรรมชาตเิ พอื่ ท�ำ ลาย
การลงทุนลงแรงของเจ้าเสยี ” น่นั คือคำ�แนะน�ำ ของเทวศี รี
หน่วยท่ี 1 ผคู้ นและพ้ืนที่ u แผนการเรยี นรู้ที่ 2 พ้ืนทีป่ ลกู ข้าวบาหลี : ศาสนากบั ขา้ ว
40 u ประวัติศาสตร์ร่วมรากอุษาคเนย์
กอ่ นเทวีศรจี ะเหาะกลบั ไปยงั สวรรค์ พระนางพดู อีกคร้ัง “เพอ่ื ให้ขา้ วงอกงามที่สุด ปฏิบตั ิ
ตามกฎธรรมชาติ ปลกู ขา้ วในเวลาท่เี หมาะสม ข้าจะส่งสัญญาณจากสวรรคด์ ้วยการโปรยดอกมะลิ
จากมวยผมของข้า ดอกมะลิเหล่านี้จะกลายเป็นกลุ่มดาววาลูกู (waluku - กลุ่มดาวนายพราน
[Orion]) น่ีจะเป็นสัญญาณว่าฤดกู าลเพาะปลูกมาถึงแลว้ ”
ขอ้ มลู เสริม
• มันสำ�ปะหลังเป็นพืชเขตร้อนท่ีปลูกกันอย่างแพร่หลายเพ่ือเอาหัวเป็นอาหารหลักสำ�หรับคน
ประมาณ 500 ล้านคนทั่วโลก มันสำ�ปะหลังท่ีมีคุณค่าทางโภชนาการสูงใช้ทานเป็นผัก
ขูดท�ำ เป็นเค้ก หรอื บดเป็นแปง้ มนั สำ�ปะหลงั นอกจากนี้ก็มีชื่อเรยี กอืน่ เชน่ ซนิ กง (singkong -
อนิ โดนเี ซยี ) อบู ิ คายู (ubikayu - มาเลเซีย) คาโมเตง คาฮอย (kamoteng kahoy - ฟิลปิ ปินส)์
มนั สำ�ปะหลัง (ไทย) และคู ซาน (cu san) หรอื คาวอิ มิ (khoai mì - เวยี ดนาม)
• เทวีศรคี อื เทวแี ห่งขา้ วและความอุดมสมบูรณ์ของชาวบาหลี ชวา และซนุ ดาของอนิ โดนีเซยี
• กลุ่มดาวไถคือกลุ่มดาวที่มองเห็นได้ง่ายบนท้องฟ้าท่ีเป็นการจัดเรียงของดาวสุกสว่างสามดวง
ท่ีประกอบกันเป็นเข็มขัดของนายพราน (Orion’s belt) คำ�ว่า Orion มีท่ีมาจากนายพราน
ในเทพปกรณัมของกรีก
หนว่ ยท่ี 1 ผู้คนและพ้นื ท่ี u แผนการเรียนรู้ท่ี 2 พื้นท่ีปลกู ข้าวบาหลี : ศาสนากบั ข้าว
The Iceberg Concept of Culture
ภูเขานํา้ แข็งแหง่ แนวคิดทางวฒั นธรรม
ประวัติศาสตร์ร่วมรากอุษาคเนย์ u 41
เปรยี บกับภูเขานํา้ แขง็ วฒั นธรรม อาหาร
สือ่ การเรยี นรู้ 2 - ภูเขาน้าํ แข็งแห่งแนวคดิ ทางวฒั นธรรมเกา้ สว่ นในสิบสว่ นอยูใ่ ตภ้ เู ขาน้ําแขง็การแตง่ กาย ดนตรี ทัศนศลิ ป์
วัฒนธรรมในระดบั พื้นผวิ สงั เกตได้ง่ายทส่ี ดุ ละคร งานฝมี ือ นาฏศลิ ป์ วรรณกรรม
(Source : Indiana State Department of Education, Office of English Learning and Migration Educationระดบั ของอารมณ์ - ตํ่าภาษา การเฉลมิ ฉลอง การละเลน่
http://globalcompetency.wikispaces.com/Iceberg+concept+of+culture.)
วฒั นธรรมเชิงตนื้
หน่วยท่ี 1 ผู้คนและพ้ืนที่ u แผนการเรียนร้ทู ่ี 2 พน้ื ท่ปี ลูกขา้ วบาหลี : ศาสนากบั ข้าวสังเกตเหน็ ได้ยาก
ระดับของอารมณ์ - สูง มายาท แบบแผนการสนทนาตามบรบิ ท แนวคดิ เร่อื งเวลา พ้นื ท่ีส่วนบคุ คล
กฎเกณฑ์การประพฤตปิ ฏบิ ตั ิ การแสดงสหี น้า การสอ่ื สารโดยอวัจนะภาษา
ภาษาท่าทาง การสมั ผสั การสบตา
แบบแผนการจัดการอารมณ์ ความคิดเรื่องการออ่ นน้อมถอ่ มตน
แนวคดิ เรอื่ งความงาม การเกีย้ วพาราสี แนวคดิ เรอื่ งความสะอาด ความคิดเร่อื งการเปน็ วัยรุน่
ผู้นำ� จงั หวะการทำ�งาน แนวคดิ เรื่องอาหาร อุดมคตใิ นการเลีย้ งลูก ทฤษฎีเรื่องโรค
วฒั นธรรมเชิงลกึ - เข้มขน้ อตั ราการปฏสิ ัมพนั ธ์ทางสงั คม แบบแผนการตัดสินใจเป็นกลมุ่ นยิ ามของความวกิ ลจริต
เกดิ ข้ึนโดยไมร่ ้ตู วั
ระดับของอารมณ์ แนวคดิ เรอ่ื งอดีตและอนาคต นยิ ามของความลามกหยาบคาย