แผนการจัดการเรียนรู้ วิชา ภาษาจีน (เพิ่มเติม) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๒ โรงเรียนปทุมเทพวิทยาคาร นางสาวสุชาวดี จันทะผล ๖๒๑๐๐๑๐๖๑๓๘ สาขาวิชาการสอนภาษาจีน การฝึกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา ๑ รหัสวิชา ED ๑๘๕๐๑ (INTERNSHIP IN SCHOOL ๑) คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๖
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชา ภาษาจีน (เพิ่มเติม) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๒ โรงเรียนปทุมเทพวิทยาคาร นางสาวสุชาวดี จันทะผล ๖๒๑๐๐๑๐๖๑๓๘ สาขาวิชาการสอนภาษาจีน การฝึกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา ๑ รหัสวิชา ED ๑๘๕๐๑ (INTERNSHIP IN SCHOOL ๑) คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๖
คำอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม รหัสวิชา จ20201 ชื่อวิชา ภาษาจีนเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 ภาคเรียนที่ 1-2 เวลา 60 ชั่วโมง จำนวน 1.5 หน่วยกิต ศึกษาสัทอักษร (pinyin) การอ่าน ออกเสียง กลุ่มคำ คำสั่ง คำขอร้อง ไวยากรณ์และรูปประโยค ง่ายๆ ข้อความสั้นๆ ภาษาท่าทาง บทสนทนา เรื่องสั้น เรื่องเล่า การเขียนคำ ขนมธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรมในครอบครัว ความแตกต่างของภาษาจีนกับภาษาไทย เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ สามารถพูด อ่าน เขียน ใช้ภาษาจีนสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในห้องเรียน ในครอบครัวแสดงความ ต้องการความรู้สึกของตัวเอง ให้ข้อมูลเกี่ยวกับตนเองและสิ่งใกล้ตัว เพื่อใช้ในการสื่อสารขั้นพื้นฐานได้ ผลการเรียนรู้ 1. ปฏิบัติตามคำสั่ง คำข้อร้อง คำชี้แจง คำแนะนำ และอธิบายที่ฟังและอ่านง่ายๆ 2. ระบุสัทอักษรพินอิน (pinyin) อ่านออกเสียงและประสมตามหลักการออกเสียง 3. การตอบโต้สื่อสารระหว่างบุคคล ทักทาย แนะนำ และแลกเปลี่ยนข้อมูลส่วนตัว เกี่ยวกับตนเอง และบุคคลใกล้ตัว 4. บอกความหมาย คำ กลุ่มคำ ประโยค หรือข้อความสั้นๆ ตามที่ฟังและอ่านจากสื่อที่เป็นความ เรียงและไม่ใช่ความเรียงในรูปแบบต่างๆ 5. พูดและเขียนแสดงความต้องการขอและให้ความช่วยเหลือ ตอบรับและปฏิเสธในสถานการณ์ต่างๆ 6. บอกความรู้สึกของตัวเองเกี่ยวกับเรื่องใกล้ตัว พร้อมกิจกรรมต่างๆ พร้อมให้เหตุผลสั้น 7. พูดและเขียน ให้ข้อมูลเกี่ยวกับตัวเอง เพื่อน สิ่งแวดล้อม และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องใกล้ ตัวพร้อมให้เหตุผลสั้นๆ ประกอบ 8. เลือกใช้ภาษา น้ำเสียง กิริยาท่าทาง รูปแบบพฤติกรรมการใช้ถ้อยคำให้เหมาะสมกับบุคคลโอกาส และสถานที่ ตามมารยาทสังคม และวัฒนธรรมจีน 9. บอกชื่อ คำศัพท์ และตอบคำถามเกี่ยวกับเทศกาล วันสำคัญ งานฉลองและชีวิตความเป็นอยู่ของ จีน เข้าร่วมกิจกรรมทางภาษาตามความสนใจ 10. บอกความแตกต่างระหว่างการออกเสียงตักอักษร คำ วลี การใช้ เครื่องหมายวรรคตอน และลำดับ คำตามโครงสร้างประโยคของภาษาจีนกับภาษาไทย 11. ค้นคว้า รวบรวมข้อมูลหรือข้อเท็จจริงที่เกี่ยวกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น จากแหล่งเรียนรู้ด้วยการ พูดหรือเขียน 12. ใช้ภาษาสื่อสารในสถานการณ์จำลองที่เกิดขึ้นในห้องเรียน และสถานศึกษา
โครงสร้างรายวิชาเพิ่มเติม รหัสวิชา จ20201 ชื่อวิชา ภาษาจีนเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 60 ชั่วโมง จำนวน 1.5 หน่วยกิต หน่วย การ เรียนรู้ ชื่อหน่วย การเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ สาระสำคัญ เวลา (ชั่วโมง) น้ำหนักคะแนน คะแนน เก็บ (50) กลาง ภาค (20) ปลาย ภาค (30) 1. 学发音和 学汉字. เรียนรู้การ ออกเสียงและ อักษรจีน 1 , 2 -ประสมเสียงวรรณยุกต์ สระ และพยัญชนะ -เขียนลำดับขีดของ อักษรจีน -อ่านและเขียนคำศัพท์ ด้วย pinyin -นับเลขเป็นภาษาจีน 6 2. 你好! สวัสดี 3, 4, 12 -ทักทายและกล่าวลา - แนะนำตนเอง -อ่านและเขียนคำศัพท์ ด้วย pinyin 6 20 3. 你真好! คุณดีจริงๆ 3, 4, 7 -พูดแสดงความชื่นชม และแสดงขอบคุณ 4 5 4. 五个香蕉 กล้วย 5 ผล 5, 6, 7 -พูดและเขียนแสดง ความต้องการและ แสดงความคิดเห็น -นับและใช้ตัวเลข 4 5 5. 我喜欢大 象. ฉันชอบช้าง 4, 7, 8 -บอกความหมายจาก การฟังและอ่าน -ใช้ถ้อยคำเหมาะสมกับ โอกาส -พูดและเขียนเกี่ยวกับ ตนเอง 8 สอบกลางภาค 1 20
หน่วย การ เรียนรู้ ชื่อหน่วย การเรียนรู้ ผลการ เรียนรู้ สาระสำคัญ เวลา (ชั่วโมง) น้ำหนักคะแนน คะแนน เก็บ (60) กลาง ภาค (20) ปลาย ภาค (30) 6 我的眼睛 很大 ตาของฉันใหญ่ มาก 8, 11, 12 -ใช้ภาษา ถ้อยคำเหมาะสม กับบุคคลและโอกาส สถานที่ -บอกคำศัพท์ได้ตรงกับภาพ หรือของจริง -ค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติม -พูดสื่อสารตามสถานการณ์ 6 5 7 这是我妈 妈 นี่คือแม่ของฉัน 2,3,4,7 -แลกเปลี่ยนข้อมูล -พูดและเขียนเกี่ยวกับ ครอบครัวตนเอง 6 5 8 看,我的电 脑. ดู... คอมพิวเตอร์ ของฉัน 5, 8, 12 -พูดและเขียนเกี่ยวกับ ข้อมูล ตำแหน่งสิ่งของที่ กำหนด -สื่อสารในสถานการณ์ที่ กำหนด 6 9. 这不是你 的书包. นี่ไม่ใช่กระเป๋า ของฉัน 5, 6,7 -พูดและเขียนแสดงการ ตอบรับและปฏิเสธ 6 5 10 文华 วัฒนธรรม 8, 11 -เรียนรู้วัฒนธรรมจีน 6 5 สอบปลายภาค 1 30 รวมตลอดภาค เรียน 60 50 20 30
กำหนดการสอน รายวิชา ภาษาจีนเพิ่มเติม รหัสวิชา จ ๒๐๒๐๑ รายวิชา เพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ จำนวน ๑.๕ หน่วยกิต จำนวน ๖๐ ชั่วโมง หน่วยที่ สัปดาห์ ที่ แผนที่ จำนวน ชั่วโมง สาระการเรียนรู้ รูปแบบ / เทคนิค / วิธีการสอน ๑ ๑-๒ ๑-๓ ๖ เรื่อง 学发音和学汉字. การบรรยาย ๒ ๓-๔ ๔-๖ ๖ เรื่อง 你好! กิจกรรมกลุ่ม ๓ ๕ ๗-๘ ๔ เรื่อง 你真好! กิจกรรมเกม ๔ ๖ ๙-๑๐ ๔ เรื่อง 五个香蕉 กิจกรรมสื่อสารคู่ ๕ ๗-๑๐ ๑๑-๑๔ ๘ เรื่อง 我喜欢大象/สอบกลางภาค กิจกรรมใช้คำถาม เพื่อการเรียนรู้ ๖ ๑๑-๑๒ ๑๕-๑๗ ๖ เรื่อง 我的眼睛很大 บทบาทสมมติ ๗ ๑๓-๑๔ ๑๘-๒๐ ๖ เรื่อง 这是我妈妈 กิจกรรมแนะนำ ครอบครัว ๘ ๑๕-๑๖ ๒๑-๒๓ ๖ เรื่อง 看,我的电脑 กิจกรรมหาอุปกรณ์ ในห้องเรียน ๙ ๑๗-๑๘ ๒๔-๒๖ ๖ เรื่อง 这不是你的书包. สถานการณืจำลอง ๑๐ ๑๙-๒๐ ๒๗-๒๙ ๖ เรื่อง 文华/สอบปลายภาค กิจกรรมถักเชือกจีน
บันทึกข้อความ ส่วนราชการ โรงเรียนปทุมเทพวิทยาคาร ฝ่ายบริหารงานวิชาการ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ที่ ........................................ วันที่ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๖๖ เรื่อง ขออนุมัติใช้แผนการจัดการเรียนรู้ เรียน ผู้อำนวยการโรงเรียนปทุมเทพวิทยาคาร ข้าพเจ้านางสาวสุชาวดี จันทะผล ตำแหน่ง นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู กลุ่มสาระการ เรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติงานสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ รหัสวิชา จ๒๐๒๐๑ รายวิชาภาษาจีนเพิ่มเติม จำนวน ๑.๕ หน่วยกิต ๖๐ ชั่วโมง จำนวน ๑๐ หน่วยการเรียนรู้ ในภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๖ นั้น ข้าพเจ้าได้วิเคราะห์ตัวชี้วัด คำอธิบายรายวิชา โครงสร้างรายวิชา และได้จัดทำแผน การจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนปทุมเทพวิทยาคาร ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เป็นที่เรียบร้อยแล้ว ซึ่งมีทั้งหมด ๒๙ แผนการจัดการเรียนรู้ โดย แบ่งเป็น ๑๐ หน่วยการเรียนรู้ ดังนี้ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ 学发音和学汉字. จำนวน ๖ แผน หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ 你好! จำนวน ๖ แผน หน่วยการเรียนรู้ที่ ๓ 你真好! จำนวน ๔ แผน หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ 五个香蕉 จำนวน ๔ แผน หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕ 我喜欢大象 จำนวน ๘ แผน หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ 我的眼睛很大 จำนวน ๖ แผน หน่วยการเรียนรู้ที่ ๗ 这是我妈妈 จำนวน ๖ แผน หน่วยการเรียนรู้ที่ ๘ 看,我的电脑 จำนวน ๖ แผน หน่วยการเรียนรู้ที่ ๙ 这不是你的书包. จำนวน ๖ แผน หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๐ 文华 จำนวน ๖ แผน จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติให้ใช้แผนการจัดการเรียนรู้ดังกล่าว ลงชื่อ……………………………………………….. (นางสาวสุชาวดี จันทะผล) ตำแหน่งนักศึกษาประสบการณ์วิชาชีพครู
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 รหัสวิชา จ20201 วิชา ภาษาจีน (เพิ่มเติม) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง 学发音和学汉字 เวลา 6 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง เสียงวรรณยุกต์และสระภาษาจีน เวลา 2 ชั่วโมง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 ผู้สอน นางสาวสุชาวดี จันทะผล กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ โรงเรียนปทุมเทพวิทยาคาร 1. มาตรฐานการเรียนรู้ / ผลการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ต 1.1 เข้าใจและตีความเรื่องที่ฟังและอ่านจากสื่อประเภทต่าง ๆ และความคิดเห็นอย่าง มีเหตุผล ผลการเรียนรู้ ม.2/1 ปฏิบัติตามคำสั่ง คำข้อร้อง คำชี้แจง คำแนะนำ และอธิบายที่ฟังและอ่านง่าย ๆ ม.2/2 ระบุสัทอักษรพินอิน (pinyin) อ่านออกเสียงและประสมตามหลักการออกเสียง 2. สาระสำคัญ 声调和韵母 เป็นระบบผันวรรณยุกต์และสระในภาษาจีนประกอบไปด้วย วรรณยุกต์ทั้งหมด 4 เสียง และสระเดี่ยวในภาษาจีนทั้งหมด 6 เสียง สระผสมในภาษาจีนทั้งหมด 30 เสียง โดยนักเรียนสามารถ เข้าใจและอ่านออกเสียงหลักการผันวรรณยุกต์และหลักการผสมเสียงสระในภาษาจีนได้อย่างถูกต้องอีกทั้ง สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 ด้านความรู้ (K) 3.1.1 นักเรียนสามารถจดจำวรรณยุกต์และสระภาษาจีนได้ถูกต้องครบถ้วน 3.2 ด้านทักษะและกระบวนการ (P) 3.1.2 นักเรียนสามารถอ่านออกเสียงวรรณยุกต์และสระภาษาจีนได้ถูกต้อง ชัดเจน 3.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในการเรียนวิชา (A) 3.1.3 นักเรียนมี วินัย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 เสียงวรรณยุกต์ภาษาจีนมีทั้งหมด 4 เสียง ดังนี้ “—” 一声、“/” 二声、“∨” 三声、“\” 四声 4.1.1 ตัวอย่างการประสมเสียงสระเดี่ยวร่วมกกับวรรณยุกต์ภาษาจีน ā á ă à ō ó ǒ ò ē é ě è
4.2 สระภาษาจีนมีทั้งหมด 36 ตัว แบ่งได้ดังนี้ สระเดี่ยวภาษาจีนมีทั้งหมด 6 ตัว ดังนี้ a o e i u ü สระผสมภาษาจีนมีทั้งหมด 30 ตัว ดังนี้ ai ao an ang / ong ou / ei en eng er / ia iao ie iu ian iang in ing iong / ua uo ui uai uan un uang ueng / üe üan ün. 5. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 1) ความสามารถในการสื่อสาร 2) ความสามารถในการคิด 3) ความสามารถในการแก้ปัญหา 4) ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1) รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 5) อยู่อย่างพอเพียง 2) ซื่อสัตย์ สุจริต 6) มุ่งมั่นในการทำงาน 3) มีวินัย 7) รักความเป็นไทย 4) ใฝ่เรียนรู้ 8) มีจิตสาธารณะ 7. กิจกรรมการเรียนรู้ 7.1 ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน (Warm Up) 7.1.1 ครูกล่าวทักทายนักเรียนถามนักเรียนว่า 你好吗?(คุณสบายดีไหม)เป็นภาษาจีน จากนั้นครูถามนักเรียนว่านักเรียนคนไหนรู้จักวรรณยุกต์และสระตัวไหนในภาษาจีนบ้าง 7.1.2 ครูแจ้งนักเรียนว่าวันนี้จะมีการเรียนการสอนเรื่องเสียงวรรณยุกต์และสระภาษาจีน 7.2 ขั้นสอน (Presentation) 7.2.1 ครูนำเสนอสื่อการสอนโดยใช้โปรแกรม PowerPoint เรื่องเสียงวรรณยุกต์และสระ ภาษาจีน 7.2.2 ครูอ่านออกเสียงวรรณยุกต์และสระภาษาจีนให้นักเรียนฟัง 2 รอบ หลังจากนั้นให้ นักเรียนอ่านออกเสียงวรรณยุกต์และสระภาษาจีนตามคุณครู1 รอบ 7.2.3 ครูให้นักเรียนอ่านออกเสียงวรรณยุกต์และสระภาษาจีนพร้อมกัน 1 รอบ 7.3 ขั้นฝึก (Practice) 7.3.1 ให้นักเรียนทำใบงานเรื่อง วรรณยุกต์และสระภาษาจีนโดยคุณครูจะเปิดเทปเสียงให้ นักเรียนฟังจากนั้นให้นักเรียนเลือกวรรณยุกต์และสระภาษาจีนที่ได้ยินจากเทปเสียงมาเติมในช่องว่างของแต่ ละข้อให้ถูกต้อง 7.3.2 ให้นักเรียนจับสลากบัตรคำเสียงสระและวรรณยุกต์ภาษาจีนในกล่องที่ครูได้เตรียมไว้ จากนั้นให้อ่านออกเสียงสระและวรรณยุกต์ภาษาจีนที่ตนเองได้รับให้ถูกต้อง ชัดเจน 7.3.3 ให้นักเรียนเล่นเกมส่งต่อคำพูด โดยมีกติกา ดังนี้ แบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็นสองกลุ่ม กลุ่มละ 15 คนจากนั้นจัดเรียงเป็นแถวตอนสองแถว ครูบอกเสียงสระและวรรณยุกต์ภาษาจีนให้คนแรกฟัง จากนั้นให้คนแรกกระซิบบอกคนถัดไปเรื่อย ๆ จนถึงคนสุดท้ายแล้วคนสุดท้ายจะต้องออกเสียงสระและเสียง
วรรณยุกต์ภาษาจีนที่ได้ยินให้ถูกต้อง ชัดเจน ทีมไหนสามารถอ่านเสียงสระและเสียงวรรณยุกต์ภาษาจีนได้ ถูกต้องและรวดเร็วที่สุดจะเป็นทีมที่ชนะ 7.4 ขั้นนำเอาไปใช้ (Production) 7.4.1 ให้เรียนจับคู่กันจากนั้นให้เลือกสระและวรรณยุกต์ภาษาจีนที่ตนเองต้องการ อย่างละ 5 ตัว แล้วให้ฝ่ายตรงข้ามที่เป็นคู่สนทนาของนักเรียนอ่านออกเสียงวรรณยุกต์และสระภาษาจีนให้ถูกต้อง ชัดเจน 7.5 ขั้นสรุป (Wrap Up) 7.5.1 ครูสำรวจความเข้าใจของนักเรียนและถามว่าใครมีอะไรสงสัยไหม 7.5.2 ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเนื้อหาเรื่องเสียงวรรณยุกต์และสระภาษาจีนโดยสุ่มนักเรียน ออกมาสรุปบทเรียนหน้าชั้นเรียน 8. สื่อการเรียนรู้และแหล่งการเรียนรู้ 8.1 สื่อการเรียนรู้ 8.1.1 ใบงาน เรื่องวรรณยุกต์และสระภาษาจีน 8.1.2 สื่อการสอน PowerPoint เรื่องเสียงวรรณยุกต์และสระภาษาจีน 8.1.3 หนังสือเรียน 体验汉语 1 8.2 แหล่งการเรียนรู้ - 9. การวัดและประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการ เครื่องมือที่ใช้ เกณฑ์ ด้านความรู้ (K) นักเรียนสามารถจดจำวรรณยุกต์และสระ ภาษาจีนได้ถูกต้องครบถ้วน -กิจกรรมฟังแล้วเลือกเสียง สระและวรรณยุกต์ -ใบงาน -ผ่านเกณฑ์คะแนน 8 คะแนนขึ้นไป ด้านทักษะและกระบวนการ (P) นักเรียน สามารถอ่านออกเสียงวรรณยุกต์และสระ ภาษาจีนได้ถูกต้อง ชัดเจน -กิจกรรมการจับสลากอ่าน ออกเสียงสระและวรรณยุกต์ ภาษาจีน -แบบประเมิน ทักษะการอ่าน ออกเสียง -ผ่านเกณฑ์การ ตัดสินคุณภาพใน ระดับปานกลางขึ้น ไป ด้านคุณลักษณะ (A) นักเรียนมี วินัย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการ ทำงาน -การสังเกตพฤติกรรมการ เรียนรู้และตอบคำถาม -แบบสังเกต คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ -ผ่านเกณฑ์การ ตัดสินคุณภาพใน ระดับปานกลางขึ้น ไป
แบบประเมินทักษะการอ่าน คำชี้แจง : ครูสังเกตพฤติกรรมการสนทนาของนักเรียนแล้วให้คะแนนตามรายการที่กำหนดแล้วขีด √ ลงในช่องที่ตรงกันระดับ คะแนน เลขที่ ชื่อ – สกุล รายการประเมิน การอ่าน ออกเสียง ความถูกต้อง รวม (10) ผลการ ประเมิน 5 4 3 2 1 5 4 3 2 1 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15
เลขที่ ชื่อ – สกุล รายการประเมิน การอ่าน ออกเสียง ความถูกต้อง รวม (10) ผลการ ประเมิน 5 4 3 2 1 5 4 3 2 1 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 ลงชื่อ…………………………………………..ผู้สอน (นางสาวสุชาวดี จันทะผล) ครูผู้สอน วันที่.........เดือน......................พ.ศ..............
เกณฑ์การประเมินทักษะการอ่านออกเสียง ที่ รายการ ประเมิน ระดับคุณภาพ ดีมาก (5) ดี (4) ปานกลาง (3) พอใช้ (2) ปรับปรุงใหม่ (1) 1 การออก เสียง อ่านออกเสียง ชัดเจน วรรณยุกต์ ถูกต้องมีความ มั่นใจ อ่านออกเสียง ชัดเจน วรรณยุกต์ผิด 1 เสียงมีความ มั่นใจ อ่านออกเสียง เบา วรรณยุกต์ผิด 3 เสียงไม่มีความ มั่นใจ อ่านออกเสียง เบา วรรณยุกต์ผิด ไม่มีความมั่นใจ อ่านออกเสียง ไม่ได้ 2 ความ ถูกต้อง อ่านถูกต้อง ต้องตาม หลักการออก เสียงทุกเสียง อ่านไม่ถูกต้อง ตามหลักการ ออกเสียงผิด 1 เสียง อ่านไม่ถูกต้อง ตามหลักการ ออกเสียงผิด 3 เสียง อ่านไม่ถูกต้อง ตามหลักการ ออกเสียง อ่านออกเสียง ไม่ได้ เกณฑ์ตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 8 – 10 ระดับดีมาก 6 – 7 ระดับดี 4 – 5 ระดับปานกลาง 2 – 3 ระดับพอใช้ 0 - 1 ระดับปรับปรุง เกณฑ์ผ่าน ตั้งแต่ระดับคุณภาพปานกลางขึ้นไป
แบบสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คำชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียนแล้วใส่คะแนนคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ที่นักเรียนได้ลงในช่องว่าง เลขที่ ชื่อ-สกุล พฤติกรรมการประเมิน รวม (9) ผลการประเมิน มีวินัย (3) ใฝ่เรียนรู้ (3) มุ่งมั่นในการ ทำงาน (3) 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16
เลขที่ ชื่อ-สกุล พฤติกรรมการประเมิน รวม (9) ผลการประเมิน มีวินัย (3) ใฝ่เรียนรู้ (3) มุ่งมั่นในการ ทำงาน (3) 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 ลงชื่อ…………………………………………..ผู้สอน (นางสาวสุชาวดี จันทะผล) ครูผู้สอน วันที่.........เดือน......................พ.ศ.............
เกณฑ์การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ที่ รายการ ประเมิน ระดับคุณภาพ ดีมาก (3) ปานกลาง (2) ปรับปรุง (1) 1 มีวินัย ปฏิบัติตนตามกฎระเบียบใน ห้องเรียนทุกครั้ง ไม่ปฏิบัติตนตาม กฎระเบียบในห้องเรียน บางครั้ง ไม่ปฏิบัติตนตาม กฎระเบียบของ ห้องเรียนเลย 2 มุ่งมั่นในการ ทำงาน ทำงานส่งครบตามกำหนด ชิ้นงานเรียบร้อยสวยงาม ทำงานส่งครบ ชิ้นงาน เรียบร้อยสวยงาม ส่งงาน ช้า ไม่ทำงานส่ง 3 ใฝ่เรียนรู้ มีการจดบันทึกความรู้ ระหว่างเรียนเป็นระบบ สม่ำเสมอ มีการจดบันทึกความรู้ ระหว่างเรียนเป็นระบบ บางครั้ง ไม่มีการจดบันทึก ความรู้ระหว่างเรียน เกณฑ์ตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภภาพ 7 – 9 ระดับดีมาก 4 – 6 ระดับปานกลาง 1 – 3 ระดับปรับปรุง เกณฑ์ผ่าน ตั้งแต่ระดับคุณภาพปานกลางขึ้นไป
ภาคผนวก
ตัวอย่าง PowerPoint ประกอบการสอนเรื่อง วรรณยุกต์และสระในภาษาจีน
ใบงานเรื่อง วรรณยุกต์และสระในภาษาจีน คำชี้แจง : ให้นักเรียนเลือกวรรณยุกต์และสระภาษาจีนที่ได้ยินจากเทปเสียงมาเติมในช่องว่างของแต่ละข้อ ให้ถูกต้อง
เฉลยคำตอบใบงานเรื่อง วรรณยุกต์และสระในภาษาจีน คำชี้แจง : ให้นักเรียนเลือกวรรณยุกต์และสระภาษาจีนที่ได้ยินจากเทปเสียงมาเติมในช่องว่างของแต่ละข้อ ให้ถูกต้อง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 รหัสวิชา จ20201 วิชา ภาษาจีน (เพิ่มเติม) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง 学发音和学汉字 เวลา 6 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง พยัญชนะและพยางค์ในภาษาจีน เวลา 2 ชั่วโมง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 ผู้สอน นางสาวสุชาวดี จันทะผล กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ โรงเรียนปทุมเทพวิทยาคาร _________________________________________________________________________ 1. มาตรฐานการเรียนรู้ / ผลการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ต 1.1 เข้าใจและตีความเรื่องที่ฟังและอ่านจากสื่อประเภทต่าง ๆ และความคิดเห็นอย่าง มีเหตุผล ผลการเรียนรู้ ม.2/1 ปฏิบัติตามคำสั่ง คำข้อร้อง คำชี้แจง คำแนะนำ และอธิบายที่ฟังและอ่านง่าย ๆ ม.2/2 ระบุสัทอักษรพินอิน (pinyin) อ่านออกเสียงและประสมตามหลักการออกเสียง 2. สาระสำคัญ ในปัจจุบันภาษาจีนได้เข้ามามีบทบาทในชีวิตประจำวันมากขึ้น และกำลังเป็นภาษาที่ 3 ที่ทุกคนบน โลกให้ความสำคัญและนักเรียนให้ความสนใจที่จะศึกษามากขึ้น การเรียนภาษาจีนจำเป็นต้องมีความรู้พื้นฐาน เรื่องสัทอักษรของภาษาจีนและสามารถอ่านสัทอักษรจีนได้ซึ่งการที่จะอ่านภาษาจีนได้นั้น จำเป็นต้องรู้จัก พยัญชนะและพยางค์ในภาษาจีน ซึ่งเป็นเรื่องพื้นฐานที่นักเรียนควรทราบและนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวัน 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 ด้านความรู้ (K) 3.1.1 นักเรียนสามารถจดจำพยัญชนะและพยางค์ภาษาจีนได้ถูกต้องครบถ้วน 3.2 ด้านทักษะและกระบวนการ (P) 3.2.1 นักเรียนสามารถอ่านออกเสียงพยัญชนะและพยางค์ภาษาจีนได้ถูกต้อง ชัดเจน 3.2.2 นักเรียนสามารถเขียนพยัญชนะและพยางค์ภาษาจีนได้ถูกต้อง ชัดเจน 3.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในการเรียนวิชา (A) 3.3.1 นักเรียนมี วินัย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 พยัญชนะในภาษาจีนมีทั้งหมด 23 ตัว ดังนี้ b p m f d t n l g k h j q x zh ch sh r z c s y w 4.2 เพลงร้องพยัญชนะในภาษาจีน 23 个声母儿歌,b p m f 真淘气,找 d d t n 丨做游戏, g k h j q x ,吵 着闹着也要去,zh ch sh 听到了,
背着椅子逭上去,r。"再去叫上 z c s ,还有 y w 两兄弟, 23 个声母来,大家一起做游戏。 4.3 ฝึกออกเสียงคำศัพท์ภาษาจีน jī wō, zhī bù , wūzi, yī fu, yǐzi,wàzi, lù sé, zǐ sè, bái cài , méi huā, shū guì, wū guī, bái tù, chá bēi , wěi ba , bái gē, dài shŭ, fēijī, tiào wŭ, pútao , păo bù, pí qiú , shū bāo , lăo shī , gāo lóu, Shǒupà,yě shù, yè zi, hú dié 5. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 1) ความสามารถในการสื่อสาร 2) ความสามารถในการคิด 3) ความสามารถในการแก้ปัญหา 4) ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1) รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 5) อยู่อย่างพอเพียง 2) ซื่อสัตย์ สุจริต 6) มุ่งมั่นในการทำงาน 3) มีวินัย 7) รักความเป็นไทย 4) ใฝ่เรียนรู้ 8) มีจิตสาธารณะ 7. กิจกรรมการเรียนรู้ 7.1 ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน (Warm Up) 7.1.1 ครูกล่าวทักทายนักเรียนถามนักเรียนว่า 你好吗?(คุณสบายดีไหม)จากนั้นถาม นักเรียนว่าใครรู้จักพยัญชนะในภาษาจีนตัวไหนบ้าง แล้วรู้จักการนับพยางค์คำในภาษาจีนหรือไม่โดย ให้นักเรียนที่รู้จักพยัญชนะและการนับพยางค์คำในภาษาจีนยกมือขึ้นตอบคำถาม 7.1.2 ครูแจ้งนักเรียนว่าวันนี้จะมีการเรียนการสอนเรื่อง 汉语的声母 和汉语的音节 พยัญชนะและพยางค์ในภาษาจีน eeee7.2 ขั้นสอน (Presentation) 7.2.1 ครูนำเสนอสื่อการสอนโดยใช้บัตรคำเรื่องพยัญชนะและพยางค์ในภาษาจีน 7.2.2 ครูยกบัตรคำศัพท์เรื่องพยัญชนะและพยางค์ภาษาจีนขึ้น โดยครูอ่านออกเสียง พยัญชนะและพยางค์ภาษาจีนให้นักเรียนฟัง2รอบจากนั้นให้นักเรียนอ่านออกเสียงพยัญชนะและ พยางค์ภาษาจีนตามคุณครู1รอบ 7.2.3 ครูนำเสนอสื่อสอนเรื่องเนื้อเพลงพยัญชนะภาษาจีนด้วยโปนแกรม Power point โดย ครูสอนนักเรียนร้องเพลงพยัญชนะภาษาจีน1รอบจากนั้นให้นักเรียนร้องเพลงพยัญชนะภาษาจีนตาม พร้อมปรบมือประกอบจังหวะ 1รอบ 7.3 ขั้นฝึก (Practice)
7.3.1 ให้นักเรียนทำใบงานเรื่องพยัญชนะภาษาจีนโดยให้นักเรียนเติมพยัญชนะภาษาจีนลงใน ช่องว่างที่หายไปให้ครบถ้วน ถูกต้อง 7.3.2 ให้นักเรียนอ่านออกเสียงคำศัพท์เรื่องพยัญชนะและพยางค์ในภาษาจีนโดยครูแจกบัตรคำ เรื่องพยัญชนะภาษาจีนและเรื่องพยางค์ภาษาจีนให้นักเรียน จากนั้นให้นักเรียนอ่านออกเสียงบัตรคำที่ ตนเองได้รับให้ถูกต้อง ชัดเจน 7.3.3 ให้นักเรียนเล่นเกมโดยมีชื่อเกมว่า เขียนตามคำบอก โดยมีกติกา ดังนี้ ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม ออกเป็นสองกลุ่มแล้วให้แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมาหน้าชั้นเรียนครั้งละ1 คนต่อกลุ่ม ครูแจกปากกาไวบอร์ด ให้กับตัวแทนนักเรียนแต่ละกลุ่มจากนั้นครูอ่านออกเสียงพยัญชนะภาษาจีนให้นักเรียนที่เป็นตัวแทนของแต่ละ กลุ่มฟังแล้วให้นักเรียนที่เป็นตัวแทนของแต่ละกลุ่มเขียนพยัญชนะภาษาจีนตามที่ตนเองได้ยินลงในกระดานไว บอร์ด ทีมไหนเขียนได้ถูกต้องรวดเร็วที่สุดจะได้เป็นทีมที่ชนะ 7.4 ขั้นนำเอาไปใช้ (Production) 7.4.1 ให้นักเรียนจับคู่กันจากนั้นให้นักเรียนหนึ่งคนที่เป็นคู่ของตนเองเขียนพยัญชนะและพยางค์ ในภาษาจีนลงในกระดาษแล้วให้เพื่อนที่เป็นคู่ของตนเองอีกอ่านออกเสียงพยัญชนะและพยางค์ในภาษาจีนให้ ถูกต้อง 7.5 ขั้นสรุป (Wrap Up) 7.5.1 ครูสำรวจความเข้าใจของนักเรียนและถามว่ามีใครสงสัยอะไรไหม 7.5.2 ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเนื้อหาที่เรียนเรื่องพยัญชนะภาษาจีนและพยางค์ภาษาจีนโดย สุ่มนักเรียนออกมาสรุปบทเรียนวันนี้หน้าชั้นเรียน 8. สื่อการเรียนรู้และแหล่งการเรียนรู้ 8.1 สื่อการเรียนรู้ -ใบงานเรื่อง พยัญชนะภาษาจีน -บัตรคำเรื่อง พยัญชนะและพยางค์ในภาษาจีน -หนังสือเรียน 体验汉语 1 8.2 แหล่งการเรียนรู้ -
9. การวัดและประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการ เครื่องมือที่ใช้ เกณฑ์ ด้านความรู้ (K) 1.นักเรียนสามารถจดจำพยัญชนะและ พยางค์ภาษาจีนได้ถูกต้องครบถ้วน -กิจกรรมการเติม พยัญชนะภาษาจีนที่ หายไป -ใบงาน -ผ่านเกณฑ์ คะแนน 8 คะแนนขึ้นไป ด้านทักษะและกระบวนการ (P) 1.นักเรียนสามารถอ่านออกเสียง พยัญชนะและพยางค์ภาษาจีนได้ ถูกต้อง ชัดเจน 2.นักเรียนสามารถเขียนพยัญชนะและ พยางค์ภาษาจีนได้ถูกต้อง ชัดเจน -กิจกรรมบัตรคำ มหาสนุก -กิจกรรมเกมเขียนตาม คำบอก -แบบประเมิน ทักษะการอ่าน -แบบประเมิน ทักษะการเขียน -ผ่านเกณฑ์การ ตัดสินคุณภาพใน ระดับปานกลาง ขึ้นไป ด้านคุณลักษณะ (A) 1.นักเรียนมี วินัย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นใน การทำงาน -การสังเกตพฤติกรรม การเรียนรู้และตอบ คำถาม -การประเมิน คุณลักษณะอังพึง ประสงค์ -ผ่านเกณฑ์การ ตัดสินคุณภาพใน ระดับปานกลาง ขึ้นไป
แบบประเมินทักษะการอ่าน คำชี้แจง : ครูสังเกตพฤติกรรมการสนทนาของนักเรียนแล้วให้คะแนนตามรายการที่กำหนดแล้วขีด √ ลงในช่องที่ตรงกันระดับ คะแนน เลขที่ ชื่อ – สกุล รายการประเมิน การอ่าน ออกเสียง ความถูกต้อง รวม (10) ผลการ ประเมิน 5 4 3 2 1 5 4 3 2 1 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16
เลขที่ ชื่อ – สกุล รายการประเมิน การอ่าน ออกเสียง ความถูกต้อง รวม (10) ผลการ ประเมิน 5 4 3 2 1 5 4 3 2 1 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 ลงชื่อ…………………………………………..ผู้สอน (นางสาวสุชาวดี จันทะผล) ครูผู้สอน วันที่.........เดือน......................พ.ศ..............
เกณฑ์การประเมินทักษะการอ่านออกเสียง ที่ รายการ ประเมิน ระดับคุณภาพ ดีมาก (5) ดี (4) ปานกลาง (3) พอใช้ (2) ปรับปรุงใหม่ (1) 1 การออก เสียง อ่านออกเสียง ชัดเจน วรรณยุกต์ ถูกต้องมีความ มั่นใจ อ่านออกเสียง ชัดเจน วรรณยุกต์ผิด 1 เสียงมีความ มั่นใจ อ่านออกเสียงเบา วรรณยุกต์ผิด 3 เสียงไม่มีความ มั่นใจ อ่านออกเสียงเบา วรรณยุกต์ผิด ไม่มีความมั่นใจ อ่านออกเสียงไม่ได้ 2 ความ ถูกต้อง อ่านถูกต้องต้อง ตามหลักการ ออกเสียงทุก เสียง อ่านไม่ถูกต้อง ตามหลักการ ออกเสียงผิด 1 เสียง อ่านไม่ถูกต้องตาม หลักการออกเสียง ผิด 3 เสียง อ่านไม่ถูกต้องตาม หลักการออกเสียง อ่านออกเสียงไม่ได้ เกณฑ์ตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 8 – 10 ระดับดีมาก 6 – 7 ระดับดี 4 – 5 ระดับปานกลาง 2 – 3 ระดับพอใช้ 0 - 1 ระดับปรับปรุง เกณฑ์ผ่าน ตั้งแต่ระดับคุณภาพปานกลางขึ้นไป
แบบประเมินการเขียน สนทนาของนักเรียนแล้วให้คะแนนตามรายการที่กำหนดแล้วขีด √ ลงในช่องที่ตรงกันระดับคะแนน เลขที่ ชื่อ – สกุล รายการประเมิน ความถูกต้อง ความสวยงาม รวม (10) ผลการ ประเมิน 5 4 3 2 1 5 4 3 2 1 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
เลขที่ ชื่อ – สกุล รายการประเมิน ความถูกต้อง ความสวยงาม รวม (10) ผลการ ประเมิน 5 4 3 2 1 5 4 3 2 1 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 ลงชื่อ…………………………………………..ผู้สอน (นางสาวสุชาวดี จันทะผล) ครูผู้สอน วันที่.........เดือน......................พ.ศ..............
ตารางเกณฑ์การประเมินการเขียน ที่ เกณฑ์การ ประเมิน ระดับคุณภาพ ดีมาก (5) ดี (4) ปานกลาง (3) พอใช้ (2) ปรับปรุง (1) 1 ความถูกต้อง เขียนตัวอักษร จีนถูกต้อง ครบถ้วน เขียนตัวอักษร จีนผิด 1-2 ขีด เขียนตัวอักษร จีนไม่ครบ องค์ประกอบ ผิด 3-5ขีด เขียน ตัวอักษรจีน ไม่ครบ เขียนตัวอักษร ไม่ถูกต้อง 2 ความสวยงาม เขียนสวยงาม อยู่ในบรรทัด สามารถอ่าน ได้ เขียนสวยงาม อยู่ในบรรทัด มีคำ ผิด 2 คำ เขียนอยู่ใน บรรทัด สามารถอ่าน ออกได้ ผิด 5 คำ เขียนอยู่นอก บรรทัด และ เขียนผิดเกิน ครึ่งของ ตัวอักษรจีน ไม่มีความ สวยงาม ไม่สามารถ อ่านได้ เกณฑ์การตัดสิน ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 8– 10 ระดับดีมาก 7 – 8 ระดับดี 5 - 6 ระดับปานกลาง 2 – 4 ระดับพอใช้ 0 - 1 ระดับปรับปรุง เกณฑ์ผ่าน ตั้งแต่ระดับคุณภาพปานกลางใช้ขึ้นไป
แบบสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คำชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียนแล้วใส่คะแนนคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ นักเรียนได้ลงในช่องว่าง เลขที่ ชื่อ-สกุล พฤติกรรมการประเมิน รวม (9) ผลการประเมิน มีวินัย (3) ใฝ่เรียนรู้ (3) มุ่งมั่นในการ ทำงาน (3) 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16
เลขที่ ชื่อ-สกุล พฤติกรรมการประเมิน รวม (9) ผลการประเมิน มีวินัย (3) ใฝ่เรียนรู้ (3) มุ่งมั่นในการ ทำงาน (3) 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 ลงชื่อ…………………………………………..ผู้สอน (นางสาวสุชาวดี จันทะผล) ครูผู้สอน วันที่.........เดือน......................พ.ศ.............
เกณฑ์การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ที่ รายการประเมิน ระดับคุณภาพ ดีมาก (3) ปานกลาง (2) ปรับปรุง (1) 1 มีวินัย ปฏิบัติตนตามกฎระเบียบใน ห้องเรียนทุกครั้ง ไม่ปฏิบัติตนตามกฎระเบียบใน ห้องเรียนบางครั้ง ไม่ปฏิบัติตนตาม กฎระเบียบของห้องเรียน เลย 2 มุ่งมั่นในการ ทำงาน ทำงานส่งครบตามกำหนด ชิ้นงานเรียบร้อยสวยงาม ทำงานส่งครบ ชิ้นงานเรียบร้อย สวยงาม ส่งงานช้า ไม่ทำงานส่ง 3 ใฝ่เรียนรู้ มีการจดบันทึกความรู้ระหว่าง เรียนเป็นระบบ สม่ำเสมอ มีการจดบันทึกความรู้ระหว่าง เรียนเป็นระบบ บางครั้ง ไม่มีการจดบันทึกความรู้ ระหว่างเรียน เกณฑ์ตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภภาพ 7 – 9 ระดับดีมาก 4 – 6 ระดับปานกลาง 1 – 3 ระดับปรับปรุง เกณฑ์ผ่าน ตั้งแต่ระดับคุณภาพปานกลางขึ้นไป
ภาคผนวก
ใบงานเรื่อง พยัญชนะภาษาจีน คำชี้แจง : จงเติมพยัญชนะภาษาจีนที่หายไปลงในช่องว่างให้ถูกต้อง
เฉลยใบงานเรื่อง พยัญชนะภาษาจีน คำชี้แจง : จงเติมพยัญชนะภาษาจีนที่หายไปลงในช่องว่างให้ถูกต้อง b m t l g j x zh sh c y
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 รหัสวิชา จ20201 วิชา ภาษาจีนเพิ่มเติม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง 学发音和学汉字 เวลา 6 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง เส้นขีด โครงสร้างและลำดับขีดของตัวอักษรจีน เวลา 2 ชั่วโมง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 ผู้สอน นางสาวสุชาวดี จันทะผล กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ โรงเรียนปทุมเทพวิทยาคาร _________________________________________________________________________ 1. มาตรฐานการเรียนรู้ / ผลการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ต 1.1 เข้าใจและตีความเรื่องที่ฟังและอ่านจากสื่อประเภทต่าง ๆ และความคิดเห็นอย่าง มีเหตุผล ผลการเรียนรู้ ม.2/1 ปฏิบัติตามคำสั่ง คำข้อร้อง คำชี้แจง คำแนะนำ และอธิบายที่ฟังและอ่านง่าย ๆ ม.2/2 ระบุสัทอักษรพินอิน (pinyin) อ่านออกเสียงและประสมตามหลักการออกเสียง 2. สาระสำคัญ เส้นขีด 笔画 คือหน่วยที่เล็กที่สุดของการเขียนลักษณะต่างๆของอักษรจีนนักเรียนควรทราบและ สามารถเขียนเส้นขีดที่มีส่วนประกอบพื้นฐานของตัวอักษรจีน อีกทั้งควรรู้จักโครงสร้างและลำดับการเขียนของ อักษรจีนซึ่งเป็นส่วนเล็กๆที่มีความสำคัญและเป็นหัวใจของการเขียนอักษรจีนที่ถูกต้อง 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 ด้านความรู้ (K) 3.1.1 นักเรียนสามารถจดจำลำดับเส้นขีด โครงสร้างและลำดับขีดของอักษรจีนได้ถูกต้อง ครบถ้วน 3.2 ด้านทักษะและกระบวนการ (P) 3.1.2 นักเรียนสามารถเขียนเส้นขีด โครงสร้างและลำดับขีดของอักษรจีนได้ถูกต้อง 3.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในการเรียนวิชา (A) 3.1.3 นักเรียนมี วินัย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 เส้นขีดตัวอักษรจีนที่ควรรู้จัก มีทั้งหมด 22 เส้นขีด ดังนี้ ㄱ,㇖,㇇,㇆,㇊,㇈,㇙,ㄑ,㇚,㇁,㇂,㇄,㇟,ㄥ,㇗, ㇌,㇋,㇉,乙,㇟,ㄣ,㇡ 4.2 โครงสร้างในภาษาจีน มี 2 ประเภท ดังนี้ 4.2.1 โครงสร้างอักษรเดี่ยว 我 头 天
4.2.2 โครงสร้างอักษรประสม 国 帅 是 4.2.3 รูปแบบอักษรประสม เช่น 爸 好 回 4.3 การเขียนลำดับขีดของตัวอักษรจีนมี 7 ขั้นตอน ดังนี้ 4.3.1 先上后下 เขียนจากบนลงล่าง 二= 一 二 4.3.2 先左后右 เขียนจากซ้ายไปขวา 好= 女 好 4.3.3 先撇后捺 เขียนเส้นลากลงซ้ายก่อนเส้นลากลงขวา 人 丿人 4.3.4 先横后竖 เขียนเส้นขวางก่อนเส้นตั้ง 十 一 十 4.3.5 先外后里 เขียนจากนอกเข้าใน 风 几 风 4.3.6 先中间后两边 เขียนตรงกลางก่อนเขียนสองข้าง 小 亅 小 4.3.7 先填中后封口 เขียนข้างในก่อนปิดช่อง 国 冂 国 5. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 1) ความสามารถในการสื่อสาร 2) ความสามารถในการคิด 3) ความสามารถในการแก้ปัญหา 4) ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1) รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 5) อยู่อย่างพอเพียง 2) ซื่อสัตย์ สุจริต 6) มุ่งมั่นในการทำงาน 3) มีวินัย 7) รักความเป็นไทย 4) ใฝ่เรียนรู้ 8) มีจิตสาธารณะ 7. กิจกรรมการเรียนรู้ 7.1 ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน (Warm Up) 7.1.1 ครูกล่าวทักทายนักเรียน 同学们好 พร้อมถามนักเรียนว่ารู้จักเส้นขีดพื้นฐานใน ภาษาจีนตัวไหนบ้างแล้วให้นักเรียนยกมือตอบคำถามจากนั้นครูแจ้งนักเรียนว่าวันนี้จะเรียนการสอน เรื่อง เส้นขีด โครงสร้างและลำดับขีดของตัวอักษรจีน 7.2 ขั้นสอน (Presentation) 7.2.1 ครูเปิดสไลด์สื่อการสอนเรื่องเส้นขีด โครงสร้างและลำดับขีดของตัวอักษรจีน จาก โปรแกรม Power Point ครูสอนชื่อเรียกของเส้นขีดตัวอักษรจีนทั้งหมด 22 เส้นขีดจากนั้นสอนการ เขียนโครงสร้างและลำดับขีดของตัวอักษรจีนและสอนนักเรียนอ่านออกเสียงชื่อเรียกแต่เส้นขีด ตัวอักษรให้นักเรียนฟัง 1 รอบจากนั้นให้นักเรียนอ่านออกเสียงตาม1รอบ 7.2.2 ครูแจกบัตรคำตัวอักษรจีนเรื่องเส้นขีดตัวอักษรจีน ให้นักเรียนทุกคนคนละ 1 ตัวอักษร จากนั้นให้นักเรียนบอกให้เพื่อนๆในห้องฟังว่า มีเส้นขีด โครงสร้างและลำดับการขีดแบบใดบ้าง 7.3 ขั้นฝึก (Practice)
7.3.1 ให้นักเรียนทำใบงานเรื่องเส้นขีดตัวอักษรจีนโดยให้หาว่าเส้นขีดใดหายไปและให้เขียนเส้น ขีดที่หายไปให้ถูกต้อง ครบถ้วน 7.3.2 ให้นักเรียนทำใบงานเรื่องโครงสร้างและลำดับขีดตัวอักษรจีนโดยให้นักเรียนเขียนบอกว่า แต่ละละข้อมีโครงสร้างและลำดับขีดของตัวอักษรจีนแบบใดบ้างให้ถูกต้อง ชัดเจน 7.3.3 ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น 5 กลุ่ม กลุ่มละ 6 คน โดยให้นักเรียนทำกิจกรรมค้นหาและ วงกลมตัวอักษรจีนที่มีโครงสร้างอักษรจีนที่แตกต่างจากพวกจากใบงานที่ครูแจกให้ในแต่ละกลุ่มให้ ถูกต้อง ชัดเจน 7.4 ขั้นนำเอาไปใช้ (Production) 7.4.1 ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มกลุ่มละ 5 คนจากนั้นให้นักเรียนเลือกเขียนอักษรจีนในบทเรียนเรื่อง เส้นขีดตัวอักษรจีน โครงสร้างตัวอักษรจีนและลำดับขีดตัวอักษรจีนที่ตนเองชื่นชอบหนึ่งตัวอักษรจากนั้นให้ อธิบายพูดคุยแลกเปลี่ยนให้เพื่อนในกลุ่มฟังว่ามีเส้นขีด โครงสร้าง ลำดับขีดของตัวอักษรจีนเป็นแบบใดบ้าง 7.5 ขั้นสรุป (Wrap Up) 7.5.1 ครูสำรวจความเข้าใจของนักเรียนและถามว่าใครมีอะไรสงสัยไหม 7.5.2 ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเนื้อหาที่เรียนและสุ่มนักเรียนออกมาสรุปบทเรียนวันนี้หน้าชั้น เรียน 8. สื่อการเรียนรู้และแหล่งการเรียนรู้ 8.1 สื่อการเรียนรู้ -ใบงาน เรื่อง เส้นขีดตัวอักษรจีน โครงสร้างตัวอักษรจีนและลำดับขีดตัวอักษรจีน -สไลด์สื่อการสอนเรื่องเส้นขีด โครงสร้างและลำดับขีดของตัวอักษรจีน จาก Power Point -หนังสือเรียน 体验汉语 1 8.2 แหล่งการเรียนรู้ -
9. การวัดและประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการ เครื่องมือที่ใช้ เกณฑ์ ด้านความรู้ (K) 1. นักเรียนสามารถจดจำลำดับเส้นขีด โครงสร้างและลำดับขีดของอักษรจีนได้ ถูกต้องครบถ้วน -กิจกรรมบอกลำดับขีด และกิจกรรมการหา โครงสร้างอักษรจีน -ใบงาน -ผ่านเกณฑ์ คะแนน 8 คะแนนขึ้นไป ด้านทักษะและกระบวนการ (P) 1.นักเรียนสามารถเขียนเส้นขีด โครงสร้างและลำดับขีดของอักษรจีนได้ ถูกต้อง -กิจกรรมการเขียนเส้น ขีดที่หายไปของ ตัวอักษรจีน -แบบประเมิน ทักษะการเขียน -ผ่านเกณฑ์การ ตัดสินคุณภาพใน ระดับปานกลาง ขึ้นไป ด้านคุณลักษณะ (A) 1.นักเรียนมี วินัย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นใน การทำงาน -การสังเกตพฤติกรรม การเรียนรู้และตอบ คำถาม -การประเมิน คุณลักษณะอังพึง ประสงค์ -ผ่านเกณฑ์การ ตัดสินคุณภาพใน ระดับปานกลาง ขึ้นไป
แบบประเมินทักษะการเขียน คำชี้แจง : ครูสังเกตพฤติกรรมการสนทนาของนักเรียนแล้วให้คะแนนตามรายการที่กำหนดแล้วขีด √ ลงในช่องที่ตรงกันระดับ คะแนน เลขที่ ชื่อ – สกุล รายการประเมิน ความถูกต้อง ความสวยงาม รวม (10) ผลการ ประเมิน 5 4 3 2 1 5 4 3 2 1 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17