เลข ที่ ชื่อ - สกุล รายการประเมิน การออกเสียง ความ คล่องแคล่ว ความถูกต้อง รวม (15) ผลการ ประเมิน 5 4 3 2 1 5 4 3 2 1 5 4 3 2 1 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 ลงชื่อ…………………………………………..ผู้สอน (นางสาวสุชาวดี จันทะผล) ครูผู้สอน วันที่.........เดือน......................พ.ศ..............
ตารางเกณฑ์การให้คะแนนการสนทนา(P) ที่ รายการประเมิน ระดับุณภาพ ดีมาก (5) ดี (4) ปานกลาง (3) พอใช้ (2) ปรับปรุง (1) 1 การออกเสียง ออกเสียง คำศัพท์และ ประโยคได้ ถูกต้อง ฟัง ชัด ออกเสียง คำศัพท์และ ประโยค ค่อนข้าง เข้าใจได้ดี ออกเสียง คำศัพท์และ ประโยคผิดบ้าง แต่เข้าใจได้ ออกเสียง คำศัพท์และ ประโยคถูกเพียง เล็กน้อย ออกเสียง คำศัพท์และ ประโยคไม่ ถูกต้องเลย 2 ความ คล่องแคล่ว พูดได้อย่าง ต่อเนื่องไม่ ติดขัด พูดได้อย่าง ต่อเนื่องเป็น ส่วนใหญ่ มี การติดขัด เล็กน้อย พูดติดขัด สลับ ตำแหน่งคำศัพท์ แต่เข้าใจได้ พูดเป็นคำ ๆ และหยุดพูดเป็น ระยะ ๆ พูดไม่ได้เลย 3 ความถูกต้อง สื่อสารได้ ถูกต้องตาม หลักการออก เสียง สื่อสารได้ ถูกต้องตาม หลักการ เป็นส่วน ใหญ่ สื่อสารได้ถูกต้อง ตามหลักการ ออกเสียง บางส่วน สื่อได้ถูกต้อง ตามหลักการ ออกเสียงเพียง เล็กน้อย สื่อสารไม่ ถูกต้องตาม หลักการออก เสียง เกณฑ์ตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 13 – 15 ระดับดีมาก 10 – 12 ระดับดี 7 – 9 ระดับปานกลาง 4 - 6 ระดับพอใช้ 1 – 3 ระดับปรับปรุง เกณฑ์ผ่าน ตั้งแต่ระดับคุณภาพปานกลางขึ้นไป
แบบประเมินทักษะการเขียน คำชี้แจง : ครูสังเกตพฤติกรรมการสนทนาของนักเรียนแล้วให้คะแนนตามรายการที่กำหนดแล้วขีด √ ลงในช่องที่ตรงกันระดับ คะแนน เลขที่ ชื่อ – สกุล รายการประเมิน ความถูกต้อง ความสวยงาม รวม (10) ผลการ ประเมิน 5 4 3 2 1 5 4 3 2 1 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19
เลขที่ ชื่อ – สกุล รายการประเมิน ความถูกต้อง ความสวยงาม รวม (10) ผลการ ประเมิน 5 4 3 2 1 5 4 3 2 1 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 ลงชื่อ…………………………………………..ผู้สอน (นางสาวสุชาวดี จันทะผล) ครูผู้สอน วันที่.........เดือน......................พ.ศ..............
ตารางเกณฑ์การประเมินการเขียน ที่ เกณฑ์การ ประเมิน ระดับคุณภาพ ดีมาก (5) ดี (4) ปานกลาง (3) พอใช้ (2) ปรับปรุง (1) 1 ความถูกต้อง เขียน ตัวอักษรจีน ถูกต้อง ครบถ้วน เขียนตัวอักษร จีนผิด 1-2 ขีด เขียนตัวอักษร จีนไม่ครบ องค์ประกอบ ผิด 3-5ขีด เขียน ตัวอักษรจีน ไม่ครบ เขียน ตัวอักษรไม่ ถูกต้อง 2 ความสวยงาม เขียน สวยงาม อยู่ ในบรรทัด สามารถอ่าน ได้ เขียนสวยงาม อยู่ในบรรทัด มีคำ ผิด 2 คำ เขียนอยู่ใน บรรทัด สามารถอ่าน ออกได้ ผิด 5 คำ เขียนอยู่ นอก บรรทัด และเขียน ผิดเกินครึ่ง ของ ตัวอักษรจีน ไม่มีความ สวยงาม ไม่สามารถ อ่านได้ เกณฑ์การตัดสิน ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 8– 10 ระดับดีมาก 7 – 8 ระดับดี 5 - 6 ระดับปานกลาง 2 – 4 ระดับพอใช้ 0 - 1 ระดับปรับปรุง เกณฑ์ผ่าน ตั้งแต่ระดับคุณภาพปานกลางใช้ขึ้นไป
แบบสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คำชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียนแล้วใส่คะแนนคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ นักเรียนได้ลงในช่องว่าง เลขที่ ชื่อ-สกุล พฤติกรรมการประเมิน รวม (9) ผลการประเมิน มีวินัย (3) ใฝ่เรียนรู้ (3) มุ่งมั่นในการ ทำงาน (3) 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18
เลขที่ ชื่อ-สกุล พฤติกรรมการประเมิน รวม (9) ผลการประเมิน มีวินัย (3) ใฝ่เรียนรู้ (3) มุ่งมั่นในการ ทำงาน (3) 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 ลงชื่อ…………………………………………..ผู้สอน (นางสาวสุชาวดี จันทะผล) ครูผู้สอน วันที่.........เดือน......................พ.ศ.............
เกณฑ์การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ที่ รายการ ประเมิน ระดับคุณภาพ ดีมาก (3) ปานกลาง (2) ปรับปรุง (1) 1 มีวินัย ปฏิบัติตนตามกฎระเบียบใน ห้องเรียนทุกครั้ง ไม่ปฏิบัติตนตาม กฎระเบียบในห้องเรียน บางครั้ง ไม่ปฏิบัติตนตาม กฎระเบียบของ ห้องเรียนเลย 2 มุ่งมั่นในการ ทำงาน ทำงานส่งครบตามกำหนด ชิ้นงานเรียบร้อยสวยงาม ทำงานส่งครบ ชิ้นงาน เรียบร้อยสวยงาม ส่งงาน ช้า ไม่ทำงานส่ง 3 ใฝ่เรียนรู้ มีการจดบันทึกความรู้ ระหว่างเรียนเป็นระบบ สม่ำเสมอ มีการจดบันทึกความรู้ ระหว่างเรียนเป็นระบบ บางครั้ง ไม่มีการจดบันทึก ความรู้ระหว่างเรียน เกณฑ์ตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภภาพ 7 – 9 ระดับดีมาก 4 – 6 ระดับปานกลาง 1 – 3 ระดับปรับปรุง เกณฑ์ผ่าน ตั้งแต่ระดับคุณภาพปานกลางขึ้นไป
ภาคผนวก
สื่อการสอนสไลด์ Power Point เรื่อง รูปประโยคกระเป๋าของฉัน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 27 รหัสวิชา จ20201 วิชา ภาษาจีน (เพิ่มเติม) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 หน่วยการเรียนรู้ที่ 10 เรื่อง 文化 เวลา 6 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง การถักเชือกจีน เวลา 2 ชั่วโมง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 ผู้สอน นางสาวสุชาวดี จันทะผล กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ โรงเรียนปทุมเทพวิทยาคาร 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ผลการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ต 2.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา และนำไปใช้ ได้อย่างเหมาะสมกับกาลเทศะ มาตรฐาน ต 3.1 ใช้ภาษาต่างประเทศในการเชื่อมโยงความรู้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น และ เป็นพื้นฐานในการพัฒนา แสวงหาความรู้ และเปิดโลกทัศน์ของตน ผลการเรียนรู้ ม.1/8 เลือกใช้ภาษา น้ำเสียง กิริยาท่าทาง รูปแบบพฤติกรรมการใช้ถ้อยคำให้เหมาะสมกับ บุคคลโอกาสและสถานที่ ตามมารยาทสังคม และวัฒนธรรมจีน ม.1/11 ค้นคว้า รวบรวมข้อมูลหรือข้อเท็จจริงที่เกี่ยวกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น จากแหล่ง เรียนรู้ด้วยการพูดหรือเขียน 2. สาระสำคัญ นักเรียนรู้จักชื่อเรียกเงื่อนพื้นฐานต่างๆเรื่องถักเชือกจีนได้และสามารถอธิบายวิธีการถักเชือกจีนได้ 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 ด้านความรู้ (K) 3.1.1 นักเรียนสามารถจดจำชื่อเรียกเงื่อนพื้นฐานเรื่องการถักเชือกจีนได้ถูกต้อง 3.2 ด้านทักษะและกระบวนการ (P) 3.2.3 นักเรียนสามารถอธิบายวิธีการผูกเงื่อนพื้นฐานเรื่องการถักเชือกจีนได้ถูกต้อง ชัดเจน 3.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในการเรียนวิชา (A) 3.1.3 นักเรียนมี วินัย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน 4. สาระการเรียนรู้ เนื้อหาความเป็นเรื่องการถักเชือกจีน ชื่อเรียกเงื่อนพื้นฐานเรื่องการถักเชือกจีน วิธีการถักเชือกเงื่อน พื้นฐานเรื่องการถักเชือกพื้นฐาน
5. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 1) ความสามารถในการสื่อสาร 2) ความสามารถในการคิด 3) ความสามารถในการแก้ปัญหา 4) ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1) รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 5) อยู่อย่างพอเพียง 2) ซื่อสัตย์ สุจริต 6) มุ่งมั่นในการทำงาน 3) มีวินัย 7) รักความเป็นไทย 4) ใฝ่เรียนรู้ 8) มีจิตสาธารณะ 7. กิจกรรมการเรียนรู้ 7.1 ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน (Warm Up) 7.1.1 ครูกล่าวทักทายนักเรียนถามนักเรียนว่า 你好吗?(คุณสบายดีไหม)เป็นภาษาจีน จากนั้นครูถามนักเรียนว่าให้นักเรียนรู้จักการถักเชือกจีนหรือไม่ 7.1.2 ครูแจ้งนักเรียนว่าวันนี้จะมีการเรียนการสอนเรื่องการถักเชือกจีน 7.2 ขั้นสอน (Presentation) 7.2.1 ครูนำเสนอสื่อการสอนโดยใช้โปรแกรม Power point เรื่องการถักเชือกจีน 7.2.2 ครูเล่าประวัติความเป็นมาของการถักเชือกจีนและสอนนักเรียนอ่านออกเสียงชื่อเรียก เงื่อนพื้นฐานการถักเชือกจีนและอธิบายวิธีการถักเชือกเงื่อนพื้นฐานให้นักเรียนฟัง 7.3 ขั้นฝึก (Practice) 7.3.1 ให้นักเรียนทำใบงานเรื่องการถักเชือกจีน โดยให้นักเรียนเขียนชื่อเรียกเชือกถักจีนจาก รูปภาพที่กำหนดให้ ถูกต้อง 7.3.2 ให้นักเรียนถักเชือกจีนลายศิริมงคลซึ่งครูสอนการถักเชือกจีนลายสิริมลคลให้นักเรียน ดูก่อนจากนั้นให้นักเรียนลองฝึกทำด้วยตัวเอง 7.4 ขั้นนำเอาไปใช้ (Production) 7.4.1 ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 6 คน โดยให้แต่ละกลุ่มเลือกเงื่อนพื้นฐานมาถักเชือกจีนเมื่อ ถักเชือกเสร็จให้ออกมานำเสนอวิธีการถักเชือกจีนเงื่อนนั้นๆพร้อมอธิบายความหมายและชื่อเรียกเงื่อนนั้นๆ โดยแต่ละกลุ่มจะต้องถักเงื่อนเชือกจีนแตกต่างกัน 7.5 ขั้นสรุป (Wrap Up) 7.5.1 ครูสำรวจความเข้าใจของนักเรียนและถามว่าใครมีอะไรสงสัยไหม 7.5.2 ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเนื้อหาเรื่องการถักเชือก โดยสุ่มนักเรียนออกมาสรุปบทเรียนหน้า ชั้นเรียน
8. สื่อการเรียนรู้และแหล่งการเรียนรู้ 8.1 สื่อการเรียนรู้ 8.1.1 ใบงาน เรื่องการถักเชือกจีน 8.1.2 สื่อการสอน PowerPoint เรื่องการถักเชือกจีน 8.1.3 หนังสือเรียน 体验汉语 1 8.2 แหล่งการเรียนรู้ - 9. การวัดและประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการ เครื่องมือที่ใช้ เกณฑ์ ด้านความรู้ (K) นักเรียนสามารถจดจำชื่อเรียกเงื่อน พื้นฐานเรื่องการถักเชือกจีนได้ถูกต้อง -กิจกรรมเขียนชื่อเรียก เชือกถักจีนจากรูปภาพ ที่กำหนด -ใบงาน -ผ่านเกณฑ์ คะแนน 8 คะแนนขึ้นไป ด้านทักษะและกระบวนการ (P) นักเรียนสามารถอธิบายวิธีการผูกเงื่อน พื้นฐานเรื่องการถักเชือกจีนได้ถูกต้อง ชัดเจน -กิจกรรมเลือกเงื่อน พื้นฐานมาถักเชือกจีน และนำเสนอวิธีการถัก เชือกจีนเงื่อนนั้นๆ พร้อมอธิบาย ความหมายและชื่อ เรียกเงื่อนนั้นๆ -แบบประเมินการ สนทนา -ผ่านเกณฑ์การ ตัดสินคุณภาพใน ระดับปานกลาง ขึ้นไป ด้านคุณลักษณะ (A) นักเรียนมี วินัย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการ ทำงาน -การสังเกตพฤติกรรม การเรียนรู้และตอบ คำถาม -แบบสังเกต คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ -ผ่านเกณฑ์การ ตัดสินคุณภาพใน ระดับปานกลาง ขึ้นไป
แบบประเมินการสนทนา คำชี้แจง : ครูสังเกตพฤติกรรมการสนทนาของนักเรียนแล้วให้คะแนนตามรายการที่กำหนดแล้วขีด √ ลงในช่อง ที่ตรงกันระดับคะแนน เลข ที่ ชื่อ - สกุล รายการประเมิน การออกเสียง ความ คล่องแคล่ว ความถูกต้อง รวม (15) ผลการ ประเมิน 5 4 3 2 1 5 4 3 2 1 5 4 3 2 1 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
เลข ที่ ชื่อ - สกุล รายการประเมิน การออกเสียง ความ คล่องแคล่ว ความถูกต้อง รวม (15) ผลการ ประเมิน 5 4 3 2 1 5 4 3 2 1 5 4 3 2 1 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 ลงชื่อ…………………………………………..ผู้สอน (นางสาวสุชาวดี จันทะผล) ครูผู้สอน วันที่.........เดือน......................พ.ศ..............
ตารางเกณฑ์การให้คะแนนการสนทนา(P) ที่ รายการประเมิน ระดับุณภาพ ดีมาก (5) ดี (4) ปานกลาง (3) พอใช้ (2) ปรับปรุง (1) 1 การออกเสียง ออกเสียง คำศัพท์และ ประโยคได้ ถูกต้อง ฟัง ชัด ออกเสียง คำศัพท์และ ประโยค ค่อนข้าง เข้าใจได้ดี ออกเสียง คำศัพท์และ ประโยคผิดบ้าง แต่เข้าใจได้ ออกเสียง คำศัพท์และ ประโยคถูกเพียง เล็กน้อย ออกเสียง คำศัพท์และ ประโยคไม่ ถูกต้องเลย 2 ความ คล่องแคล่ว พูดได้อย่าง ต่อเนื่องไม่ ติดขัด พูดได้อย่าง ต่อเนื่องเป็น ส่วนใหญ่ มี การติดขัด เล็กน้อย พูดติดขัด สลับ ตำแหน่งคำศัพท์ แต่เข้าใจได้ พูดเป็นคำ ๆ และหยุดพูดเป็น ระยะ ๆ พูดไม่ได้เลย 3 ความถูกต้อง สื่อสารได้ ถูกต้องตาม หลักการออก เสียง สื่อสารได้ ถูกต้องตาม หลักการ เป็นส่วน ใหญ่ สื่อสารได้ถูกต้อง ตามหลักการ ออกเสียง บางส่วน สื่อได้ถูกต้อง ตามหลักการ ออกเสียงเพียง เล็กน้อย สื่อสารไม่ ถูกต้องตาม หลักการออก เสียง เกณฑ์ตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 13 – 15 ระดับดีมาก 10 – 12 ระดับดี 7 – 9 ระดับปานกลาง 4 - 6 ระดับพอใช้ 1 – 3 ระดับปรับปรุง เกณฑ์ผ่าน ตั้งแต่ระดับคุณภาพปานกลางขึ้นไป
ภาคผนวก
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 28 รหัสวิชา จ20201 วิชา ภาษาจีน (เพิ่มเติม) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 หน่วยการเรียนรู้ที่ 10 เรื่อง 文化 เวลา 6 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง เทศกาลของประเทศจีน เวลา 2 ชั่วโมง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 ผู้สอน นางสาวสุชาวดี จันทะผล กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ โรงเรียนปทุมเทพวิทยาคาร 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ผลการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ต 2.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา และนำไปใช้ ได้อย่างเหมาะสมกับกาลเทศะ มาตรฐาน ต 3.1 ใช้ภาษาต่างประเทศในการเชื่อมโยงความรู้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น และ เป็นพื้นฐานในการพัฒนา แสวงหาความรู้ และเปิดโลกทัศน์ของตน ผลการเรียนรู้ ม.1/8 เลือกใช้ภาษา น้ำเสียง กิริยาท่าทาง รูปแบบพฤติกรรมการใช้ถ้อยคำให้เหมาะสมกับ บุคคลโอกาสและสถานที่ ตามมารยาทสังคม และวัฒนธรรมจีน ม.1/11 ค้นคว้า รวบรวมข้อมูลหรือข้อเท็จจริงที่เกี่ยวกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น จากแหล่ง เรียนรู้ด้วยการพูดหรือเขียน 2. สาระสำคัญ นักเรียนเข้าใจและจดจำคำศัพท์เทศกาลต่างๆในประเทศจีนได้และสามารถอธิบายความเป็นมาของ เทศกาลต่างของประเทศจีนได้ 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 ด้านความรู้ (K) 3.1.1 นักเรียนสามารถจดจำคำศัพท์ภาษาจีนเรื่องเทศกาลของประเทศจีนได้ถูกต้อง 3.2 ด้านทักษะและกระบวนการ (P) 3.2.3 นักเรียนสามารถพูดอธิบายความเป็นมาเรื่องเทศกาลของประเทศจีนได้ถูกต้อง ชัดเจน 3.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในการเรียนวิชา (A) 3.1.3 นักเรียนมี วินัย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน 4. สาระการเรียนรู้ ประวัติความเป็นมาเทศกาลของประเทศเทศจีน ดังนี้春节,元宵节,清明节,端午 节,中秋节,重阳节,七夕节,腊八节
5. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 1) ความสามารถในการสื่อสาร 2) ความสามารถในการคิด 3) ความสามารถในการแก้ปัญหา 4) ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1) รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 5) อยู่อย่างพอเพียง 2) ซื่อสัตย์ สุจริต 6) มุ่งมั่นในการทำงาน 3) มีวินัย 7) รักความเป็นไทย 4) ใฝ่เรียนรู้ 8) มีจิตสาธารณะ 7. กิจกรรมการเรียนรู้ 7.1 ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน (Warm Up) 7.1.1 ครูกล่าวทักทายนักเรียนถามนักเรียนว่า 你好吗?(คุณสบายดีไหม)เป็นภาษาจีน จากนั้นครูถามนักเรียนว่ารู้จักเทศกาลของประเทศจีนเทศกาลใดบ้าง 7.1.2 ครูแจ้งนักเรียนว่าวันนี้จะมีการเรียนการสอนเรื่องเทศกาลของประเทศจีน 7.2 ขั้นสอน (Presentation) 7.2.1 ครูนำเสนอสื่อการสอนโดยใช้โปรแกรม PowerPoint เรื่องเทศกาลของประเทศจีน 7.2.2 ครูเล่าประวัติความเป็นมาของแต่ละเทศกาลในประเทศจีนให้นักเรียนฟัง 7.3 ขั้นฝึก (Practice) 7.3.1 ให้นักเรียนทำใบงานเรื่องเทศกาลของประเทศจีน โดยให้นักเรียนเขียนชื่อเทศกาลเป็น ภาษาจีนจากรูปภาพที่กำหนดให้ ถูกต้อง 7.4 ขั้นนำเอาไปใช้ (Production) 7.4.1 ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 6 คน โดยให้แต่ละกลุ่มเลือกเทศกาลของประเทศจีนมากลุ่ม ละหนึ่งเทศกาลจากนั้นให้แต่ละกลุ่มจำลองสถานการณ์เทศกาลของประเทศจีนที่กลุ่มของตนเองเลือกมาว่าใน เทศกาลนั้นเขาทำอะไรกันบ้างจากนั้นให้ออกมาแสดงสถานการณ์จำลองทีละกลุ่มหน้าชั้นเรียน 7.5 ขั้นสรุป (Wrap Up) 7.5.1 ครูสำรวจความเข้าใจของนักเรียนและถามว่าใครมีอะไรสงสัยไหม 7.5.2 ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเนื้อหาเรื่องเทศกาลของประเทศจีนโดยสุ่มนักเรียนออกมาสรุป บทเรียนหน้าชั้นเรียน 8. สื่อการเรียนรู้และแหล่งการเรียนรู้ 8.1 สื่อการเรียนรู้ 8.1.1 ใบงาน เรื่องเทศกาลของประเทศจีน 8.1.2 สื่อการสอน PowerPoint เรื่องเทศกาลของประเทศจีน 8.1.3 หนังสือเรียน 体验汉语 1
8.2 แหล่งการเรียนรู้ - 9. การวัดและประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการ เครื่องมือที่ใช้ เกณฑ์ ด้านความรู้ (K) นักเรียนสามารถจดจำคำศัพท์ภาษาจีน เรื่องเทศกาลของประเทศจีนได้ถูกต้อง -กิจกรรมเขียนชื่อ เทศกาลเป็นภาษาจีน จากรูปภาพที่กำหนด -ใบงาน -ผ่านเกณฑ์ คะแนน 8 คะแนนขึ้นไป ด้านทักษะและกระบวนการ (P) นักเรียนสามารถพูดอธิบายความ เป็นมาเรื่องเทศกาลของประเทศจีนได้ ถูกต้อง ชัดเจน -กิจกรรมจำลอง สถานการณ์เทศกาล ของประเทศจีนที่กลุ่ม ของตนเองเลือก -แบบประเมินการ สนทนา -ผ่านเกณฑ์การ ตัดสินคุณภาพใน ระดับปานกลาง ขึ้นไป ด้านคุณลักษณะ (A) นักเรียนมี วินัย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการ ทำงาน -การสังเกตพฤติกรรม การเรียนรู้และตอบ คำถาม -แบบสังเกต คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ -ผ่านเกณฑ์การ ตัดสินคุณภาพใน ระดับปานกลาง ขึ้นไป
แบบประเมินการสนทนา คำชี้แจง : ครูสังเกตพฤติกรรมการสนทนาของนักเรียนแล้วให้คะแนนตามรายการที่กำหนดแล้วขีด √ ลงในช่อง ที่ตรงกันระดับคะแนน เลข ที่ ชื่อ - สกุล รายการประเมิน การออกเสียง ความ คล่องแคล่ว ความถูกต้อง รวม (15) ผลการ ประเมิน 5 4 3 2 1 5 4 3 2 1 5 4 3 2 1 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
เลข ที่ ชื่อ - สกุล รายการประเมิน การออกเสียง ความ คล่องแคล่ว ความถูกต้อง รวม (15) ผลการ ประเมิน 5 4 3 2 1 5 4 3 2 1 5 4 3 2 1 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 ลงชื่อ…………………………………………..ผู้สอน (นางสาวสุชาวดี จันทะผล) ครูผู้สอน วันที่.........เดือน......................พ.ศ..............
ตารางเกณฑ์การให้คะแนนการสนทนา(P) ที่ รายการประเมิน ระดับุณภาพ ดีมาก (5) ดี (4) ปานกลาง (3) พอใช้ (2) ปรับปรุง (1) 1 การออกเสียง ออกเสียง คำศัพท์และ ประโยคได้ ถูกต้อง ฟัง ชัด ออกเสียง คำศัพท์และ ประโยค ค่อนข้าง เข้าใจได้ดี ออกเสียง คำศัพท์และ ประโยคผิดบ้าง แต่เข้าใจได้ ออกเสียง คำศัพท์และ ประโยคถูกเพียง เล็กน้อย ออกเสียง คำศัพท์และ ประโยคไม่ ถูกต้องเลย 2 ความ คล่องแคล่ว พูดได้อย่าง ต่อเนื่องไม่ ติดขัด พูดได้อย่าง ต่อเนื่องเป็น ส่วนใหญ่ มี การติดขัด เล็กน้อย พูดติดขัด สลับ ตำแหน่งคำศัพท์ แต่เข้าใจได้ พูดเป็นคำ ๆ และหยุดพูดเป็น ระยะ ๆ พูดไม่ได้เลย 3 ความถูกต้อง สื่อสารได้ ถูกต้องตาม หลักการออก เสียง สื่อสารได้ ถูกต้องตาม หลักการ เป็นส่วน ใหญ่ สื่อสารได้ถูกต้อง ตามหลักการ ออกเสียง บางส่วน สื่อได้ถูกต้อง ตามหลักการ ออกเสียงเพียง เล็กน้อย สื่อสารไม่ ถูกต้องตาม หลักการออก เสียง เกณฑ์ตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 13 – 15 ระดับดีมาก 10 – 12 ระดับดี 7 – 9 ระดับปานกลาง 4 - 6 ระดับพอใช้ 1 – 3 ระดับปรับปรุง เกณฑ์ผ่าน ตั้งแต่ระดับคุณภาพปานกลางขึ้นไป
ภาคผนวก
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 29 รหัสวิชา จ20201 วิชา ภาษาจีน (เพิ่มเติม) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 หน่วยการเรียนรู้ที่ 10 เรื่อง 文化 เวลา 6 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง สี่สุดยอดวรรณคดีจีน เวลา 2 ชั่วโมง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 ผู้สอน นางสาวสุชาวดี จันทะผล กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ โรงเรียนปทุมเทพวิทยาคาร 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ผลการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ต 2.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา และนำไปใช้ ได้อย่างเหมาะสมกับกาลเทศะ มาตรฐาน ต 3.1 ใช้ภาษาต่างประเทศในการเชื่อมโยงความรู้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น และ เป็นพื้นฐานในการพัฒนา แสวงหาความรู้ และเปิดโลกทัศน์ของตน ผลการเรียนรู้ ม.1/8 เลือกใช้ภาษา น้ำเสียง กิริยาท่าทาง รูปแบบพฤติกรรมการใช้ถ้อยคำให้เหมาะสมกับ บุคคลโอกาสและสถานที่ ตามมารยาทสังคม และวัฒนธรรมจีน ม.1/11 ค้นคว้า รวบรวมข้อมูลหรือข้อเท็จจริงที่เกี่ยวกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น จากแหล่ง เรียนรู้ด้วยการพูดหรือเขียน 2. สาระสำคัญ นักเรียนเข้าใจและจดจำคำศัพท์เรื่องสี่สุดยอดวรรณคดีจีนได้และสามารถอธิบายความเป็นมาของสี่ สุดยอดวรรณคดีได้ 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 ด้านความรู้ (K) 3.1.1 นักเรียนสามารถจดจำคำศัพท์ภาษาจีนเรื่อง สี่สุดยอดวรรณคดีจีนได้ถูกต้อง 3.2 ด้านทักษะและกระบวนการ (P) 3.2.3 นักเรียนสามารถอธิบายความเป็นมาเรื่องเรื่อง สี่สุดยอดวรรณคดีจีนได้ถูกต้อง ชัดเจน 3.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในการเรียนวิชา (A) 3.1.3 นักเรียนมี วินัย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน 4. สาระการเรียนรู้ ประวัติความเป็นมาและตัวละครที่สำคัญเรื่องสี่สุดยอดวรรณคดีจีน ได้แก่ 红楼梦,三国演 义,西游记,水浒传。
5. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 1) ความสามารถในการสื่อสาร 2) ความสามารถในการคิด 3) ความสามารถในการแก้ปัญหา 4) ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1) รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 5) อยู่อย่างพอเพียง 2) ซื่อสัตย์ สุจริต 6) มุ่งมั่นในการทำงาน 3) มีวินัย 7) รักความเป็นไทย 4) ใฝ่เรียนรู้ 8) มีจิตสาธารณะ 7. กิจกรรมการเรียนรู้ 7.1 ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน (Warm Up) 7.1.1 ครูกล่าวทักทายนักเรียนถามนักเรียนว่า 你好吗?(คุณสบายดีไหม)เป็นภาษาจีน จากนั้นครูถามนักเรียนว่าให้นักเรียนรู้จักวรรณคดีจีนเรื่องใดกันบ้าง 7.1.2 ครูแจ้งนักเรียนว่าวันนี้จะมีการเรียนการสอนเรื่อง สี่สุดยอดวรรณคดีจีน 7.2 ขั้นสอน (Presentation) 7.2.1 ครูนำเสนอสื่อการสอนโดยใช้โปรแกรม PowerPoint เรื่อง สี่สุดยอดวรรณคดีจีน 7.2.2 ครูเล่าประวัติความเป็นมาของแต่เรื่องของวรรณคดีจีนให้นักเรียนฟัง 7.3 ขั้นฝึก (Practice) 7.3.1 ให้นักเรียนทำใบงานเรื่อง สี่สุดยอดวรรณคดีจีน โดยให้นักเรียนพิจารณารูปภาพตัว ละครที่กำหนดให้จากนั้นให้เติมชื่อเรื่องของวรรณคดีให้ถูกต้อง 7.4 ขั้นนำเอาไปใช้ (Production) 7.4.1 ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 7 คน โดยให้แต่ละกลุ่มเลือกสี่สุดยอดวรรณคดีจีนมากลุ่มละ หนึ่งเรื่องจากนั้นให้แต่ละกลุ่มแสดงละครโดยต้องมีตัวละครที่สำคัญๆในเรื่องนั้นๆในการแสดงของ กลุ่มของตนเองเลือกโดยในการแสดงนักเรียนจะต้องมีความคิดสร้างสรรค์และทำให้ผู้ชมรับแล้วเข้าใจ เนื้อเรื่องของวรรณคดีนั้นพร้อมทั้งเป็นการแสดงที่มีความสนุกสนาน น่าสนใจ 7.5 ขั้นสรุป (Wrap Up) 7.5.1 ครูสำรวจความเข้าใจของนักเรียนและถามว่าใครมีอะไรสงสัยไหม 7.5.2 ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเรื่อง สี่สุดยอดวรรณคดีจีนโดยสุ่มนักเรียนออกมาสรุปบทเรียน หน้าชั้นเรียน
8. สื่อการเรียนรู้และแหล่งการเรียนรู้ 8.1 สื่อการเรียนรู้ 8.1.1 ใบงาน เรื่อง สี่สุดยอดวรรณคดีจีน 8.1.2 สื่อการสอน PowerPoint เรื่อง สี่สุดยอดวรรณคดีจีน 8.1.3 หนังสือเรียน 体验汉语 1 8.2 แหล่งการเรียนรู้ - 9. การวัดและประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการ เครื่องมือที่ใช้ เกณฑ์ ด้านความรู้ (K) นักเรียนสามารถจดจำคำศัพท์ภาษาจีน เรื่อง สี่สุดยอดวรรณคดีจีนได้ถูกต้อง -กิจกรรมพิจารณา รูปภาพตัวละครที่ กำหนดให้จากนั้นให้ เติมชื่อเรื่องของ วรรณคดีให้ถูกต้อง -ใบงาน -ผ่านเกณฑ์ คะแนน 8 คะแนนขึ้นไป ด้านทักษะและกระบวนการ (P) นักเรียนสามารถพูดอธิบายความ เป็นมาเรื่องเรื่อง สี่สุดยอดวรรณคดีจีน ได้ถูกต้อง ชัดเจน -กิจกรรมแสดงละคร เรื่องสี่สุดยอดวรรณคดี ของกลุ่มที่ตนเองเลือก -แบบประเมินการ สนทนา -ผ่านเกณฑ์การ ตัดสินคุณภาพใน ระดับปานกลาง ขึ้นไป ด้านคุณลักษณะ (A) นักเรียนมี วินัย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการ ทำงาน -การสังเกตพฤติกรรม การเรียนรู้และตอบ คำถาม -แบบสังเกต คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ -ผ่านเกณฑ์การ ตัดสินคุณภาพใน ระดับปานกลาง ขึ้นไป
แบบประเมินการสนทนา คำชี้แจง : ครูสังเกตพฤติกรรมการสนทนาของนักเรียนแล้วให้คะแนนตามรายการที่กำหนดแล้วขีด √ ลงในช่อง ที่ตรงกันระดับคะแนน เลข ที่ ชื่อ - สกุล รายการประเมิน การออกเสียง ความ คล่องแคล่ว ความถูกต้อง รวม (15) ผลการ ประเมิน 5 4 3 2 1 5 4 3 2 1 5 4 3 2 1 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
เลข ที่ ชื่อ - สกุล รายการประเมิน การออกเสียง ความ คล่องแคล่ว ความถูกต้อง รวม (15) ผลการ ประเมิน 5 4 3 2 1 5 4 3 2 1 5 4 3 2 1 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 ลงชื่อ…………………………………………..ผู้สอน (นางสาวสุชาวดี จันทะผล) ครูผู้สอน วันที่.........เดือน......................พ.ศ..............
ตารางเกณฑ์การให้คะแนนการสนทนา(P) ที่ รายการประเมิน ระดับุณภาพ ดีมาก (5) ดี (4) ปานกลาง (3) พอใช้ (2) ปรับปรุง (1) 1 การออกเสียง ออกเสียง คำศัพท์และ ประโยคได้ ถูกต้อง ฟัง ชัด ออกเสียง คำศัพท์และ ประโยค ค่อนข้าง เข้าใจได้ดี ออกเสียง คำศัพท์และ ประโยคผิดบ้าง แต่เข้าใจได้ ออกเสียง คำศัพท์และ ประโยคถูกเพียง เล็กน้อย ออกเสียง คำศัพท์และ ประโยคไม่ ถูกต้องเลย 2 ความ คล่องแคล่ว พูดได้อย่าง ต่อเนื่องไม่ ติดขัด พูดได้อย่าง ต่อเนื่องเป็น ส่วนใหญ่ มี การติดขัด เล็กน้อย พูดติดขัด สลับ ตำแหน่งคำศัพท์ แต่เข้าใจได้ พูดเป็นคำ ๆ และหยุดพูดเป็น ระยะ ๆ พูดไม่ได้เลย 3 ความถูกต้อง สื่อสารได้ ถูกต้องตาม หลักการออก เสียง สื่อสารได้ ถูกต้องตาม หลักการ เป็นส่วน ใหญ่ สื่อสารได้ถูกต้อง ตามหลักการ ออกเสียง บางส่วน สื่อได้ถูกต้อง ตามหลักการ ออกเสียงเพียง เล็กน้อย สื่อสารไม่ ถูกต้องตาม หลักการออก เสียง เกณฑ์ตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 13 – 15 ระดับดีมาก 10 – 12 ระดับดี 7 – 9 ระดับปานกลาง 4 - 6 ระดับพอใช้ 1 – 3 ระดับปรับปรุง เกณฑ์ผ่าน ตั้งแต่ระดับคุณภาพปานกลางขึ้นไป
ภาคผนวก