The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

130024_เพจ-เตรียมสอบ-กกต.64-ชุดที่-2-สงวนลิขสิทธิ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pratheerapong2519, 2021-03-22 22:15:35

130024_เพจ-เตรียมสอบ-กกต.64-ชุดที่-2-สงวนลิขสิทธิ์

130024_เพจ-เตรียมสอบ-กกต.64-ชุดที่-2-สงวนลิขสิทธิ์

เตรยี มสอบพนกั งาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลอื กต้ังชดุ ที่ 2 398

คณะกรรมการตามมาตรา 13 ใหคณะกรรมการมีอำนาจเขาดำเนินการตรวจสอบขอมูลขาวสารของ
ราชการท่ีเก่ยี วขอ งไดแ ละแจงผลการตรวจสอบใหผ ูรอ งเรียนทราบ

ห น ว ย ง า น ข อ ง รั ฐ ห รื อ เจ า ห น า ท่ี ข อ งรั ฐ ต อ งยิ น ย อ ม ให ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ห รื อ ผู ซ่ึ ง
คณะกรรมการมอบหมายเขาตรวจสอบขอมูลขาวสารที่อยูในความครอบครองของตนไดไมวาจะเปน
ขอ มลู ขาวสารท่เี ปดเผยไดหรอื ไมก ต็ าม

มาตรา 34 คณะกรรมการจะแตงต้ังคณะอนุกรรมการเพื่อพิจารณาหรือปฏิบัติงาน
อยางใดอยางหนึ่งตามท่ีคณะกรรมการมอบหมายก็ได และใหนำความในมาตรา 31 มาใชบังคับโดย
อนุโลม

หมวด 6
คณะกรรมการวินิจฉยั การเปดเผยขอมลู ขา วสาร

มาตรา 35 ใหมีคณะกรรมการวินิจฉัยการเปดเผยขอมูลขาวสารสาขา
ตาง ๆ ตามความเหมาะสม ซ่ึงคณะรัฐมนตรีแตงต้ังตามขอเสนอของคณะกรรมการ (คณะกรรมการ
ขอมูลขาวสารของราชการ) มีอำนาจหนาที่พิจารณาวินิจฉัยอุทธรณคำสั่งมิใหเปดเผยขอมูลขาวสารตาม
มาตรา 14 หรือมาตรา 15 หรือคำส่ังไมรับฟงคำคัดคานตามมาตรา 17 และคำส่ังไมแกไขเปลี่ยนแปลง
หรอื ลบขอมูลขา วสารสวนบคุ คลตามมาตรา 25

การแตงตั้งคณะกรรมการวินิจฉัยการเปดเผยขอมูลขาวสารตามวรรคหนึ่ง ใหแตงต้ัง
ตามสาขาความเชี่ยวชาญเฉพาะดานของขอมูลขาวสารของราชการ เชน ความมั่นคงของประเทศ
เศรษฐกิจและการคลงั ของประเทศ หรอื การบังคบั ใชก ฎหมาย

มาตรา 36 คณะกรรมการวินิจฉัยการเปดเผยขอมูลขาวสารคณะหน่ึง ๆ ประกอบดวย
บุคคลตามความจำเปน แตต องไมนอยกวา 3 คน และใหข า ราชการทีค่ ณะกรรมการแตงต้งั ปฏบิ ตั หิ นาท่ี
เปน เลขานกุ ารและผูชว ยเลขานุการ

ในกรณีพิจารณาเกี่ยวกับขอมูลขาวสารของหนวยงานของรัฐแหงใด กรรมการวินิจฉัย
การเปด เผยขอมลู ขาวสารซึ่งมาจากหนว ยงานของรัฐแหง นน้ั จะเขารวมพจิ ารณาดว ยไมได

กรรมการวินิจฉัยการเปดเผยขอมูลขาวสาร จะเปนเลขานุการหรือผูชวยเลขานุการ
ไมไ ด

มาตรา 37 ใหคณะกรรมการ (คณะกรรมการขอมูลขาวสารของราชการ) พิจารณาสง
คำอุทธรณใหคณะกรรมการวินิจฉัยการเปดเผยขอมูลขาวสาร โดยคำนึงถึงความเชี่ยวชาญเฉพาะดาน
ของคณะกรรมการวินิจฉัยการเปดเผยขอ มูลขาวสารแตละสาขาภายใน 7 วันนับแตวันท่คี ณะกรรมการ
(คณะกรรมการขอมูลขาวสารของราชการ)ไดรับคำอุทธรณ

คำวินิจฉัยของคณะกรรมการวินิจฉัยการเปดเผยขอมูลขาวสารใหเปนที่สุด และในการ
มีคำวินิจฉัยจะมีขอสังเกตเสนอตอคณะกรรมการเพ่ือใหหนวยงานของรัฐที่เกี่ยวของปฏิบัติเก่ียวกับกรณี
ใดตามที่เห็นสมควรก็ได

เตรยี มสอบ กกต

เตรยี มสอบพนกั งาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลอื กต้งั ชุดที่ 2 399

ใหนำความในมาตรา 13 วรรคสอง มาใชบังคับแกการพิจารณาอุทธรณของ
คณะกรรมการวนิ จิ ฉัยการเปดเผยขอ มลู ขาวสารโดยอนโุ ลม

มาตรา 38 อำนาจหนา ที่ของคณะกรรมการวินิจฉัยการเปดเผยขอมูลขาวสารแตละสาขา
วิธพี ิจารณาและวนิ ิจฉัย และองคคณะในการพิจารณาและวินิจฉัยใหเ ปนไปตามระเบียบทคี่ ณะกรรมการ
กำหนดโดยประกาศในราชกจิ จานุเบกษา

มาตรา 39 ใหนำบทบัญญัติมาตรา 29 มาตรา 30 มาตรา 32 และบทกำหนดโทษที่
ประกอบกับบทบัญญัติดังกลาวมาใชบังคับกับคณะกรรมการวินิจฉัยการเปดเผยขอมูลขาวสารโดย
อนุโลม

หมวด 7
บทกำหนดโทษ
มาตรา 40 ผูใดไมปฏิบัติตามคำสั่งของคณะกรรมการท่ีส่ังตามมาตรา 32 ตองระวาง
โทษจำคกุ ไมเกนิ สามเดอื น หรอื ปรับไมเ กินหา พนั บาท หรือทั้งจำทงั้ ปรบั
มาตรา 41 ผูใดฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามขอจำกัดหรือเงื่อนไขท่ีเจาหนาท่ีของรัฐกำหนด
ตามมาตรา 20 ตองระวางโทษจำคกุ ไมเกินหนึ่งป หรอื ปรับไมเกนิ สองหมื่นบาท หรอื ทง้ั จำทัง้ ปรับ

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ ในระบอบประชาธิปไตย การให
ประชาชนมีโอกาสกวางขวางในการไดรับขอมูลขาวสารเก่ียวกับการดำเนินการตาง ๆ ของรัฐเปน
ส่ิงจำเปน เพื่อที่ประชาชนจะสามารถแสดงความคิดเห็นและใชสิทธิทางการเมืองไดโดยถูกตองกับความ
เปนจริง อันเปนการสงเสริมใหมีความเปนรัฐบาลโดยประชาชนมากยิ่งขึ้น สมควรกำหนดใหประชาชนมี
สิทธิไดรูขอมูลขาวสารของราชการ โดยมีขอยกเวนอันไมตองเปดเผยท่ีแจงชัดและจำกัดเฉพาะขอมูล
ข า ว ส า ร ท่ี ห า ก เป ด เผ ย แ ล ว จ ะ เกิ ด ค ว า ม เสี ย ห า ย ต อ ป ร ะ เท ศ ช า ติ ห รื อ ต อ ป ร ะ โย ช น ท่ี ส ำ คั ญ ข อ ง
เอกชน ทั้งน้ี เพื่อพัฒนาระบอบประชาธิปไตยใหม่ันคงและจะยังผลใหประชาชนมีโอกาสรูถึงสิทธิหนาท่ี
ของตนอยางเต็มที่ เพ่ือท่ีจะปกปกรักษาประโยชนของตนไดอีกประการหน่ึงดวย ประกอบกับสมควร
คุมครองสิทธิสวนบุคคลในสวนท่ีเก่ียวของกับขอมูลขาวสารของราชการไปพรอมกัน จึงจำเปนตองตรา
พระราชบัญญตั นิ ี้

เตรยี มสอบ กกต

เตรียมสอบพนักงาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลือกตง้ั ชุดที่ 2 400

สรุป
พระราชกฤษฎีกาว่าดว้ ยหลกั เกณฑ์และวิธกี ารบรหิ ารกิจการบา้ นเมอื งท่ีดี พ.ศ.2546

“ส่วนราชการ” ตาม พ.ร.ฎ.น้ี ไม่รวมถึงองค์กรปกครองสวนทองถ่ิน เวน้ แต่ ตอ้ งทำอยา่ งนอ้ ย
**หมวด 5 “ลดขั้นตอน” และ หมวด 7 “อำนวยความสะดวก + ตอบสนอง”

การบริหารกิจการบ้านเมืองท่ีดี 7 ข้อจำใหแ้ มน่ !!! อย่าจำสลับกันโจทยจ์ ะหลอกทต่ี วั เลอื ก

การบริหารกจิ การบ้านเมอื งท่ีดี ไดแ้ ก่ การบริหารราชการเพอ่ื บรรลุเป้าหมายดงั ตอไปน้ี

1.1 เกดิ ประโยชน์สุขของประชาชน

1.2 เกิดผลสมั ฤทธ์ิตอ่ ภารกจิ ของรฐั

1.3 มีประสทิ ธภิ าพและเกิดความคุ้มค่าในเชงิ ภารกจิ ของรัฐ

1.4 ไมม่ ีขน้ั ตอนการปฏิบตั งิ านเกินความจำเป็น

1.5 มกี ารปรับปรงุ ภารกจิ ของสว่ นราชการให้ทันตอ่ สถานการณ์

1.6 ประชาชนไดร้ บั การอำนวยความสะดวกและไดร้ ับการตอบสนองความต้องการ

1.7 มกี ารประเมนิ ผลการปฏบิ ัตริ าชการอยา่ งสมำ่ เสมอ

หลกั จำง่ายๆ 2. สัมฤทธ์ิ 3. ประสิทธิภาพ + คมุ้ คา่

1. ประโยชนส์ ขุ 5. เนน้ การปรบั ปรุง 6. ม่งุ อำนวยความสะดวก
4. ไมม่ ขี น้ั ตอนเกินจำเป็น
7. ประเมินผล

1. การบริหารราชการเพอื่ ให้เกิดประโยชน์สขุ ของประชาชน
(1) การบริหารราชการเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน หมายถึง การปฏิบัติราชการที่มี

เป้าหมายเพื่อให้เกิดความผาสุกและความเป็นอยู่ที่ดีของประชาชน ความสงบและปลอดภัยของสังคม
สว่ นรวม ตลอดจนประโยชนส์ งู สดุ ของประเทศ

หลักจำงา่ ยๆ สกุ ดี สงบ ภัย สูง
ประโยชน์สุขของประชาชน

เตรียมสอบ กกต. 2564

เตรยี มสอบพนักงาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลอื กตัง้ ชุดที่ 2 401

(2) ในการบริหารราชการเพื่อประโยชน์สขุ ของประชาชน สว่ นราชการจะต้องดำเนนิ การโดย
ถือวา่ ประชาชนเป็นศูนยก์ ลางทีจ่ ะได้รบั การบรกิ ารจากรฐั และให้เป็นหน้าทข่ี องขา้ ราชการในการรบั ฟัง
ความคดิ เห็นจากประชาชนผ้รู บั บรกิ าร

(3) กรณีท่ีเกิดปัญหา 1. ส่วนราชการแก้ไขโดยเร็ว 2. ส่วนราชการแจ้งไปยัง
ส่วนราชการอื่นท่ีมีปัญหาให้แกไ้ ขโดยเร็ว และแจง้ ก.พ.ร. (คณะกรรมการพฒั นาระบบราชการ) ทราบด้วย

2. การบรหิ ารราชการเพ่ือให้เกิดผลสัมฤทธ์ิตอ่ ภารกิจของรัฐ
2.1 การบริหารราชการเพื่อใหเ้ กิดผลสมั ฤทธต์ิ ่อภารกจิ ของรฐั ใหส้ ว่ นราชการปฏิบัติดังต่อไปนี้
(1) จดั ทาแผนปฏิบตั ิราชการไวเ้ ปน็ การล่วงหนา้
(2) การกำหนดแผนปฏิบัติราชการของส่วนราชการต้องมีรายละเอียดของขั้นตอนระยะเวลา

และงบประมาณที่จะต้องใช้ในการดำเนินการของแต่ละข้ันตอนเป้าหมายของภารกิจ ผลสัมฤทธิ์ของ
ภารกิจและตวั ชีว้ ดั ความสำเร็จของภารกจิ

(3) มีระบบการติดตามและประเมินผลการปฏิบตั ติ ามแผน โดยสว่ นราชการ เป็นผ้จู ัด
(4) ถ้าเกิดผลกระทบต่อประชาชนให้เป็นหน้าที่ของส่วนราชการท่ีจะต้องดำเนินการแกไขแผน
ใหเ้ หมาะสม
2.2 การบรหิ ารราชการแบบบรู ณาการ
(1) กรณหี ลายสว่ นราชการมภี ารกิจเกย่ี วข้องสัมพนั ธก์ ัน (เชน่ สาธารณสุข กบั โรงพยาบาล)
ให้ส่วนราชการราชการกำหนดแนวทางเพ่ือให้เกิดการบริหารราชการแบบบูรณาการร่วมกัน
(การวางแผน+การดำเนินการ + การใช้ทรัพยากร)
การบริหารแบบบูรณาการในจังหวัดและต่างประเทศ จึงให้ส่วนราชการทุกแห่งมีหน้าที่
สนับสนนุ การปฏิบัติราชการของผ้วู ่าฯ หรือหวั หนา้ คณะผู้แทน ในต่างประเทศ
(2) ส่วนราชการมีหน้าที่พัฒนาความรู้ในส่วนราชการเพ่ือให้มีลักษณะเป็นองค์การแห่งการ
เรียนรู้อย่างสม่ำเสมอ โดยต้องสามารถประมวลผลความรู้ในด้านต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้อง รวดเร็วและ
เหมาะสมกับสถานการณ์ รวมทั้งต้องส่งเสริมและพัฒนาความรู้ความสามารถ สร้างวิสัยทัศน์และ
ปรับเปล่ียนทัศนคติของข้าราชการในสังกัดให้เป็นบุคลากรท่ีมีประสิทธิภาพและมีการเรียนรู้ร่วมกัน
เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติราชการให้เกิดผลสัมฤทธิ์ ก.พ.ร. อาจเสนอต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อกำหนด
มาตรการกำกับการปฏิบัติราชการ โดยวิธกี ารจัดทำความตกลงเป็นลายลักษณ์อักษรหรือโดยวิธีการอื่น
ใด เพื่อแสดงความรบั ผดิ ชอบในการปฏิบตั ริ าชการ

เตรียมสอบ กกต. 2564

เตรยี มสอบพนักงาน สำนักงานคณะกรรมการการเลอื กตงั้ ชุดที่ 2 402

(3) แผนปฏิบัติราชการ เป็นแผนงานของทุกส่วนราชการจัดทำเป็นแผน 5 ปี สอดคล้องกับ
ยุทธศาสตร์ชาติ+แผนแม่บท+แผนปฏิรูปประเทศ+แผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ+นโยบาย ครม.+แผนที่
เก่ียวข้อง (ปัจจุบันแผนบริหารราชการแผ่นดิน กับ แผนนิติบัญญัติ ยกเลิกแล้ว และในวาระแรก
จากแผนฯ 5ปี ใหท้ ำเปน็ แผนฯ 3 ปี ในห้วงงบประมาณ 63-65)

(4) ความต่อเน่ืองการปฏิบัติราชการ เมื่อมีการเปล่ียนแปลงนายกรัฐมนตรี
(พ้นจากตำแหน่ง) หวั หน้าส่วนราชการ มีหนา้ ทสี่ รุปผล + ให้ข้อมูลตอ่ นายกฯ คนใหม่

3. การบรหิ ารราชการอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพและเกดิ ความคุม้ คา่ ในเชงิ ภารกจิ ของรัฐ
(1) หลักความโปร่งใส เพื่อให้การปฏิบตั ริ าชการภายในส่วนราชการเป็นไปอย่างมีประสทิ ธภิ าพ

ให้ส่วนราชการกำหนดเป้าหมาย แผน เวลา งบประมาณทีใ่ ช้ ระยะเวลาแล้วเสร็จของโครงการและ
งบประมาณ ทีจ่ ะต้องใช้ในแต่ละงานหรือโครงการและต้องเผยแพรให้ข้าราชการ + ประชาชนทราบ
ทั่วกันดว้ ย

(2) หลักความคุ้มค่า ให้สว่ นราชการจัดทำบัญชีต้นทนุ และรายจา่ ยตอ่ หนว่ ยงาน บริการ
สาธารณะแตล่ ะประเภทขนึ้ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กรมบญั ชีกลางกำหนด

ให้สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาตแิ ละสำนักงบประมาณ
ร่วมกน จัดให้มีการประเมินความคุ้มค่าในการปฏิบัตภิ ารกิจของรัฐ เพ่ือรายงาน ครม .ตามระยะเวลา
ท่ี ครม. กำหนด

หลักจำง่ายๆ “พดั + งบ”
ประเมนิ คุ้มค่า

(3) ในการจัดซอื้ หรือจัดจ้างต้องทำโดยเปิดเผย + เที่ยงธรรมโดยปกตกิ ระทำในราคาตำ่
(4) ส่วนราชการให้ความเหน็ ชอบ หรืออนญุ าตระหวา่ งกันตอ้ งดำเนนิ การภายใน 15 วัน**
ถ้าไม่นบั เร่อื งแผนการบริหารราชการแผน่ ดิน 90 วัน ท่ีเหลือล้วน 15 วันทัง้ น้ัน)
(5) กรณีท่ีเป็นการพิจารณาในรูปแบบคณะกรรมการให้มีผลผูกพันส่วนราชการที่ส่งผู้แทน
แมจ้ ะมไิ ด้เขา้ รว่ มประชุม และตอ้ งมกี ารบันทกึ ฝ่ายขา้ งนอ้ ยไวด้ ว้ ย ยกเว้น การวินิจฉยั ปญั หาดา้ นกฎหมาย
(6) การส่งราชการต้องเปน็ ลายลกั ษณอ์ ักษร ถ้าดว้ ยวาจาต้องบันทกึ คำสั่งน้ันไว้

4. การลดขนั้ ตอนการปฏบิ ตั ิงาน
4.1 การกระจายอำนาจตัดสนิ ใจ
(1) ให้ส่วนราชการจัดให้มีการกระจายอำนาจการตัดสินใจลงไปสู่ผู้ดำรงตำแหน่งที่มีหน้าท่ี

รับผิดชอบในการดำเนินการในเร่ืองน้ันโดยตรงเพื่อให้เกิดความรวดเร็วและลดข้ันตอนการปฏิบัติราชการท้ังน้ีใน

เตรยี มสอบ กกต. 2564

เตรียมสอบพนักงาน สำนักงานคณะกรรมการการเลอื กต้ัง ชดุ ที่ 2 403

การกระจายอำนาจการตัดสินใจดงั กล่าวต้องมุ่งผลให้เกิดความสะดวกและรวดเร็วในการบริการประชาชน โดยใช้
แพลตฟอร์มของ ดิจทิ ัลกลางท่ีสำนกั งานพัฒนารฐั บาลดจิ ทิ ลั (มหาชน)กำหนด

(2) ในการปฏิบัติงานการบริการประชาชนหรือการติดต่อประสานงานระหว่างส่วนราชการ
ดว้ ยกันให้ส่วนราชการแตล่ ะแห่งจัดทำแผนภมู ิข้ันตอนและระยะเวลาการดำเนินการรวมทั้งรายละเอียด
อ่ืนๆ ท่ีเกี่ยวข้องในแต่ละขั้นตอนเปิดเผยไว้ ณ ท่ีทำการของส่วนราชการและในระบบเครือข่าย
สารสนเทศของสว่ น ราชการเพื่อให้ประชาชนหรอื ผู้ที่เก่ยี วขอ้ งเข้าตรวจดูได้

4.2 การจัดตงั้ ศูนยบ์ ริการรว่ ม
(1) ในกระทรวงหน่ึงใหเ้ ปน็ หน้าทีข่ องปลดั กระทรวงจะตอ้ งจดั ให้ส่วนราชการภายในกระทรวงที่
รบั ผดชอบปฏิบัตงิ านเก่ยี วกับการบริการประชาชนรว่ มกนั จดั ตง้ั ศูนยบ์ ริการร่วมเพอ่ื อำนวยความสะดวกแก่ประชาชน
(2) ให้ผู้ว่าราชการจังหวัด นายอำเภอ จัดให้ส่วนราชการท่ีรับผิดชอบดำเนินการเกี่ยวกับการ
บริการประชาชนในเรื่องเดียวกันหรือต่อเน่ืองกัน ในจังหวัด อำเภอ ร่วมกันจัดตั้งศูนย์บริการร่วมไว้
ณ ศาลากลางจงั หวดั ท่ีวาการอำเภอหรือสถานที่อืน่ ตามท่เี หน็ สมควร

5. การปรับปรงุ ภารกจิ ของสว่ นราชการ
5.1 การทบทวนภารกจิ
(1) ให้ส่วนราชการจัดให้มีการทบทวนภารกิจของตนว่าภารกิจใดมีความจำเป็นหรือสมควรท่ีจะ

ไดดำเนินการต่อไป โดยคำนึงถึง ยุทธศาสตร์ชาติ+แผนแม่บท+แผนการปฏิรูปประเทศ+แผนพัฒนา
เศรษฐกิจฯ+นโยบาย ครม.+แผนอื่นท่ีเกี่ยวข้อง+งบของประเทศ+ความคุ้มค่าของภารกิจและ
สถานการณ์อนั ประกอบกนั

(2)การยบุ เลกิ โอน หรือรวมส่วนราชการใดทัง้ หมดหรือบางสว่ น หา้ มมใิ ห้จดั ตง้ั ส่วนราชการท่ี
มีภารกิจหรืออำนาจหน้าที่ที่มีลักษณะเดียวกันหรือคล้ายคลึงกันกับ ส่วนราชการดังกล่าวขึ้นอีก เว้นแต่
มีเหตุผลและความจำเป็นเพ่ือรักษาความม่ันคงของรัฐหรือเศรษฐกิจ ของประเทศ หรือรักษา
ผลประโยชนส์ ่วนรวมของประชาชน และโดยได้รับความเห็นชอบจาก ก.พ.ร.

5.2 การทบทวนกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ
(1) ส่วนราชการมีหน้าทส่ี ำรวจ ตรวจสอบและทบทวนกฎหมายกฎระเบยี บขอ้ บังคบั และ
ประกาศที่อยู่ในความรับผิดชอบเพื่อดำเนินการยกเลิก ปรับปรุง หรอื จดั ให้มีกฎหมาย กฎ ระเบียบ
ขอ้ บังคับหรือประกาศขึ้นใหม่ให้ทันสมัย โดยคำนึงถงึ ความสะดวกรวดเร็วและลดภาระของ
ประชาชนเปน็ สำคญั

เตรยี มสอบ กกต. 2564

เตรียมสอบพนกั งาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลือกตง้ั ชดุ ท่ี 2 404

(2) ในกรณที ่ีสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา มีหน้าที่ตรวจสอบว่ากฎหมายกฎระเบียบ
ข้อบังคับหรือ ประกาศที่อยู่ในความรับผิดชอบของส่วนราชการใดไม่สอดคลองให้สำนักงาน
คณะกรรมการกฤษฎีกา เสนอแนะตอ่ สว่ นราชการน้ันเพือ่ ดำเนินการแก้ไขปรับปรงุ หรอื ยกเลกโดยเรว็
ต่อไปและในกรณีท่ี ส่วนราชการที่ได้รับการเสนอแนะไมเ่ ห็นชอบด้วยกับคำเสนอแนะของ
สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ใหเ้ สนอเรอื่ งต่อ ครม. เพอ่ื พจิ ารณาวินจิ ฉยั

6. การอำนวยความสะดวกและการตอบสนองความตอ้ งการของประชาชน
6.1 ในการปฏิบตั ิราชการทีเ่ กี่ยวข้องกับการบริการประชาชนหรือติดต่อประสานงานระหว่าง

ส่วนราชการด้วยกันให้ส่วนราชการกำหนดระยะเวลาแล้วเสร็จของงานแต่ละงานและประกาศให้
ประชาชนและขา้ ราชการทราบเป็นการทั่วไป

6.2 เมื่อส่วนราชการใดได้รับการติดต่อสอบถามเป็นหนังสือจากประชาชนหรอื จากสว่ นราชการ
ให้เปน็ หน้าท่ีของส่วนราชการน้ันทจี่ ะต้องตอบคาถามหรือแจ้งการดำเนินการให้ทราบภายใน 15 วัน
(มาอกี แล้ว!!!!!) หรือภายในกำหนดเวลาท่ี ก.พ.ร.กำหนดไว้

6.3 การจดั ระบบสารสนเทศ
(1) ให้ส่วนราชการจัดให้มีระบบเครือข่ายสารสนเทศของส่วนราชการเพ่ืออำนวยความสะดวก
ให้แกป่ ระชาชนที่จะสามารถตดิ ตอ่ สอบถามในระบบเดียวกับที่กระทรวงดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม
จดั ให้มีขนึ้
(2) เพื่ออำนวยความสะดวกและความรวดเร็วแก่ประชาชนในการติดต่อกับส่วนราชการ
ทุกแห่ง ให้กระทรวงดิจทิ ลั เพื่อเศรษฐกจิ และสังคมจัดให้มีระบบเครอื ข่ายระบบสารสนเทศกลางขึ้น
(ฉบับที่ 2 แต่ในวาระแรก ให้ สนง.พัฒนารฐั บาลดิจทิ ัลกลาง (องค์การมหาชน) จดั ใหม้ แี พลตฟอร์ม
ดิจิทัลกลาง เพ่ือให้ส่วนราชการใช้ในการบริการประชาชนและติดต่อราชการการระหว่างกันภายใน
90 วัน และหัวหน้าส่วนราชการจะต้องดำเนินการบริการประชาชนและติดต่อราชการระหว่างกัน
โดยใช้แพลตฟอรม์ ดิจทิ ลั กลางภาย ใน 2 ป)ี

7. การประเมนิ ผลการปฏิบัติราชการ
7.1 นอกจากการจัดให้มีการประเมินผลแล้วให้ส่วนราชการจัดให้มีคณะผู้ประเมินอิสระ…

ดำเนินการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการเกี่ยวกับผลสัมฤทธิ์ของภารกิจ คุณภาพการ

เตรียมสอบ กกต. 2564

เตรยี มสอบพนักงาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลือกตงั้ ชุดท่ี 2 405
ให้บริการความพึงพอใจของประชาชนผู้รับบริการ ความคุ้มค่าในภารกิจ ทั้งน้ีตามหลักเกณฑ์ วิธีการท่ี
ก.พ.ร. กำหนด

7.2 ส่วนราชการอาจจัดให้มีการประเมินภาพรวมของผู้บงั คับบัญชาแตล่ ะระดับหรือหน่วยงานใน
ส่วนราชการก็ได้ ท้ังน้ีการประเมินดังกล่าวต้องกระทำเป็นความลับและเป็นไปเพ่ือ ประโยชน์แห่งความ
สามัคคขี องข้าราชการ

7.3 ในการประเมินผลการปฏบิ ัตงิ านของข้าราชการเพ่อื ประโยชน์ในการบริหารงานบุคคลให้ส่วน
ราชการประเมินโดยคำนึงถึงผลการปฏิบัติงานเฉพาะตัวของข้าราชการผู้น้ันในตำแหน่งที่ปฏิบัติ
(เพอ่ื จะได้รวู้ ่าข้าราชการเหมาะสมกับตำแหนง่ ใดกันแน!่ !!!!)

7.4 หากผลการประเมนิ ออกมาดี!!!!!!
(1) ให้มีการจัดสรรเงิน เป็นเงินเพ่ิมพิเศษเป็นบำเหน็จความชอบ กรณีดำเนินงานมีคุณภาพ +
เป็นท่พี อใจของ ประชาชน
(2) ให้มีการจัดสรรเงิน เป็นเงินรางวัลการเพิ่มประสิทธิภาพ กรณีดำเนินงานเป็นไปตามเป้า
สามารถเพม่ิ ผลงาน โดยไมเ่ พมิ่ ค่าใช้จ่าย ระวงั !!! แยกความแตกต่างระหว่าง เงนิ รางวัล 2 กรณีน้ใี หด้ ี

ขอ้ สอบหลอกประจำ

เตรยี มสอบ กกต. 2564

เตรียมสอบพนักงาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลอื กตัง้ ชุดท่ี 2 406

พระราชกฤษฎีกา
วา่ ดว้ ยหลักเกณฑ์และวิธีการบรหิ ารกิจการบา้ นเมืองท่ีดี

พ.ศ. 2546

ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร.
ให้ไว้ ณ วนั ที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2546

เปน็ ปีที่ 58 ในรชั กาลปัจจบุ ัน
มาตรา 1 พระราชกฤษฎกี าน้ีเรียกว่า “พระราชกฤษฎีกาวา่ ดว้ ยหลักเกณฑ์และวิธีการ
บริหารกิจการบ้านเมอื งทีด่ ี พ.ศ. 2546”
มาตรา 2 พระราชกฤษฎีกานี้ให้ใช้บังคับต้ังแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจา
นุเบกษาเปน็ ต้นไป (มีผลใช้บังคับ 10 ต.ค. 46) วันประกาศในราชกจิ จาฯ 9 ต.ค. 46)
มาตรา 3 การปฏิบัติตามพระราชกฤษฎีกานี้ในเร่ืองใดสมควรท่ีส่วนราชการใดจะ
ปฏิบัติเมื่อใด และจะต้องมีเง่ือนไขอย่างใด ให้เป็นไปตามที่คณะรัฐมนตรีกำหนดตามข้อเสนอแนะของ
ก.พ.ร. (จำภาพบันได 3 ขน้ั )

ให้ ครม. กำหนด

ก.พ.ร. เสนอ ข้อสังเกต 3 หนว่ ยงาน

ทีม่ ีเกอื บทุกมาตรา
สว่ นราชการปฏบิ ตั ิ
มาตรา 4 ในพระราชกฤษฎกี านี้
“สว่ นราชการ” หมายความวา่ ส่วนราชการตามกฎหมายวา่ ด้วยการปรับปรุงกระทรวง
ทบวง กรม และหน่วยงานอน่ื ของรัฐท่ีอยู่ในกำกับของราชการฝ่ายบริหาร แต่ไม่รวมถงึ องค์กรปกครอง
ส่วนทอ้ งถิน่
“รัฐวสิ าหกิจ” หมายความว่า รัฐวสิ าหกิจท่ีจดั ต้งั ขึ้นโดยพระราชบัญญตั ิหรือพระราชกฤษฎกี า
“ขา้ ราชการ” หมายความรวมถึงพนักงาน ลูกจ้าง หรอื ผูป้ ฏบิ ตั งิ านในส่วนราชการ
มาตรา 5 ให้นายกรัฐมนตรีรักษาการตามพระราชกฤษฎีกาน้ี (ระวังคำตอบจะลวง
คือมตี ัวเลือกช่ือบคุ คลด้วย ใหต้ อบตำแหน่งอย่าตอบช่ือบคุ คล)

หมวด 1
การบรหิ ารกจิ การบา้ นเมอื งทด่ี ี
มาตรา 6 การบริหารกิจการบ้านเมืองท่ีดี ได้แก่ การบริหารราชการเพื่อบรรลุ
เป้าหมาย ดงั ต่อไปนี้ ( 7 เปา้ หมาย)
(1) เกดิ ประโยชน์สุขของประชาชน ประโยชนส์ ุข

เตรยี มสอบ กกต

เตรยี มสอบพนักงาน สำนักงานคณะกรรมการการเลอื กต้งั ชุดที่ 2 407

(2) เกดิ ผลสมั ฤทธ์ิตอ่ ภารกจิ ของรฐั สัมฤทธิ์
(3) มีประสทิ ธภิ าพและเกดิ ความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรฐั ประสทิ ธภิ าพ + ค้มุ ค่า
(4) ไม่มีขน้ั ตอนการปฏบิ ัตงิ านเกนิ ความจำเป็น ไมม่ ขี นั้ ตอนเกนิ จำเป็น
(5) มกี ารปรบั ปรงุ ภารกจิ ของส่วนราชการให้ทนั ต่อสถานการณ์ เนน้ การปรับปรงุ
(6) ประชาชนได้รบั การอำนวยความสะดวกและไดร้ ับการตอบสนองความต้องการ
มงุ่ อำนวยความสะดวก
(7) มกี ารประเมนิ ผลการปฏิบัตริ าชการอยา่ งสมำ่ เสมอ + ประเมินผล

หมวด 2
การบริหารราชการเพ่อื ให้เกิดประโยชน์สขุ ของประชาชน
มาตรา 7 การบริหารราชการเพ่ือประโยชน์สุขของประชาชน หมายถึง การปฏิบัติ
ราชการที่มีเป้าหมายเพื่อให้เกิดความผาสุกและความเป็นอยู่ท่ีดีของประชาชน ความสงบและปลอดภัย
ของสังคมส่วนรวม ตลอดจนประโยชน์สูงสุดของประเทศ (ประชาชน คู่กับ ความเป็นอยู่ท่ีดี สังคม
คกู่ ับ ความสงบและปลอดภยั ประเทศ คู่กบั ประโยชน์สงู สดุ )
มาตรา 8 ในการบริหารราชการเพ่ือประโยชน์สุขของประชาชน ส่วนราชการจะต้อง
ดำเนินการโดยถือว่าประชาชนเป็นศูนย์กลางท่ีจะได้รับการบริการจากรัฐ และจะต้องมีแนวทางการ
บริหารราชการ ดังตอ่ ไปน้ี ( 5 แนวทาง)
(1) การกำหนดภารกิจของรัฐและส่วนราชการตอ้ งเป็นไปเพ่ือวัตถุประสงค์ตามมาตรา
7 และสอดคลอ้ งกับแนวนโยบายแหง่ รฐั และนโยบายของคณะรฐั มนตรีทแ่ี ถลงต่อรฐั สภา
(2) การปฏิบัติภารกิจของส่วนราชการต้องเป็นไปโดยซ่ือสัตย์สุจริต สามารถตรวจสอบได้
และมุ่งให้เกิดประโยชนส์ ุขแกป่ ระชาชนทัง้ ในระดับประเทศและทอ้ งถิ่น
(3) ก่อนเร่ิมดำเนินการ ส่วนราชการต้องจัดให้มีการศึกษาวิเคราะห์ผลดีและผลเสีย
ให้ครบถ้วนทุกด้าน กำหนดขั้นตอนการดำเนินการท่ีโปร่งใส มีกลไกตรวจสอบการดำเนินการในแต่ละ
ขั้นตอน ในกรณีที่ภารกิจใดจะมีผลกระทบต่อประชาชน ส่วนราชการต้องดำเนินการรับฟังความ
คิดเห็นของประชาชนหรือช้ีแจงทำความเข้าใจเพื่อให้ประชาชนได้ตระหนักถึงประโยชน์ท่ีส่วนรวม
จะไดร้ ับจากภารกจิ นัน้
(4) ให้เป็นหน้าท่ขี องข้าราชการท่จี ะตอ้ งคอยรบั ฟังความคดิ เห็นและความพึงพอใจของ
สังคมโดยรวมและประชาชนผู้รับบริการ เพื่อปรับปรุงหรือเสนอแนะต่อผู้บังคับบัญชา เพ่ือให้มีการ
ปรับปรุงวธิ ีปฏบิ ัตริ าชการให้เหมาะสม
(5) ในกรณีท่ีเกิดปัญหาและอุปสรรคจากการดำเนินการ ให้ส่วนราชการดำเนินการ
แก้ไขปัญหาและอุปสรรคน้ันโดยเร็ว ในกรณีที่ปัญหาหรืออุปสรรคน้ันเกิดข้ึนจากส่วนราชการอ่ืนหรือ
ระเบียบข้อบังคับท่ีออกโดยส่วนราชการอ่ืน ให้ส่วนราชการแจ้งให้ส่วนราชการที่เก่ียวข้องทราบเพ่ือ
ดำเนนิ การแกไ้ ขปรบั ปรุงโดยเร็วตอ่ ไป และให้แจง้ ก.พ.ร. ทราบดว้ ย

เตรียมสอบ กกต

เตรยี มสอบพนกั งาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลอื กตงั้ ชุดท่ี 2 408

การดำเนินการตามวรรคหนึ่ง ให้ส่วนราชการกำหนดวิธีปฏิบัติให้เหมาะสมกับภารกิจ
แต่ละเรื่อง ท้ังนี้ ก.พ.ร. จะกำหนดแนวทางการดำเนินการทั่วไปให้ส่วนราชการปฏิบัติให้เป็นไปตาม
มาตรานด้ี ว้ ยก็ได้

หมวด 3
การบริหารราชการเพอื่ ให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ
มาตรา 9 การบริหารราชการเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธ์ิต่อภารกิจของรัฐ ให้ส่วนราชการ
ปฏบิ ตั ิ ดงั ตอ่ ไปน้ี (4 ข้อ)
(1) ก่อนจะดำเนินการตามภารกิจใด ส่วนราชการต้องจัดทำแผนปฏิบัติราชการไว้
เป็นการลว่ งหนา้
(2) การกำหนดแผนปฏิบัติราชการของส่วนราชการตาม (1) ต้องมีรายละเอียดของ
ข้ันตอน ระยะเวลาและงบประมาณท่ีจะต้องใช้ในการดำเนินการของแต่ละข้ันตอน เป้าหมายของ
ภารกิจ ผลสัมฤทธ์ิของภารกิจ และตวั ชวี้ ัดความสำเรจ็ ของภารกจิ
(3) ส่วนราชการต้องจัดให้มีการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติตามแผนปฏิบัติ
ราชการตามหลักเกณฑ์และวิธีการท่ีส่วนราชการกำหนดข้ึน ซึ่งต้องสอดคล้องกับมาตรฐานที่
ก.พ.ร. กำหนด
(4) ในกรณีที่การปฏิบัติภารกิจ หรือการปฏิบัติตามแผนปฏิบัติราชการเกิดผลกระทบ
ต่อประชาชน ให้เปน็ หน้าที่ของส่วนราชการที่จะต้องดำเนินการแก้ไขหรือบรรเทาผลกระทบนั้น หรือ
เปลีย่ นแผนปฏิบัติราชการใหเ้ หมาะสม
มาตรา 10 ในกรณที ี่ภารกจิ ใดมีความเกีย่ วข้องกับหลายสว่ นราชการหรือเป็นภารกิจที่
ใกล้เคียงหรือต่อเน่ืองกัน ให้ส่วนราชการท่ีเก่ียวข้องน้ันกำหนดแนวทางการปฏิบัติราชการเพื่อให้เกิด
การบรหิ ารราชการแบบบรู ณาการรว่ มกัน โดยมงุ่ ให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกจิ ของรัฐ
ใหส้ ่วนราชการมหี น้าทส่ี นบั สนนุ การปฏบิ ัติราชการของผวู้ า่ ราชการจังหวดั หรือหวั หน้า
คณะผู้แทนในต่างประเทศ เพื่อให้การบริหารราชการแบบบูรณาการในจังหวัดหรือในต่างประเทศ
แล้วแต่กรณี สามารถใช้อำนาจตามกฎหมายได้ครบถ้วนตามความจำเป็นและบริหารราชการได้อย่างมี
ประสิทธภิ าพ
มาตรา 11 สว่ นราชการมหี น้าทีพ่ ัฒนาความรใู้ นส่วนราชการ เพอ่ื ให้มีลักษณะเป็น
องค์การแห่งการเรียนรู้อย่างสม่ำเสมอ โดยต้องรับรู้ข้อมูลข่าวสารและสามารถประมวลผลความรู้ใน
ด้านต่าง ๆ เพื่อนำมาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติราชการได้อย่างถูกต้อง รวดเร็วและเหมาะสมกับ
สถานการณ์ รวมทั้งต้องส่งเสริมและพัฒนาความรู้ความสามารถ สร้างวิสัยทัศน์และปรับเปลี่ยนทัศนคติ
ของข้าราชการในสังกัดให้เป็นบุคลากรที่มีประสิทธิภาพและมีการเรียนรู้ร่วมกัน ท้ังนี้ เพ่ือประโยชน์ใน
การปฏิบัติราชการของส่วนราชการให้สอดคล้องกับการบริหารราชการให้เกิดผลสัมฤทธิ์ตาม
พระราชกฤษฎกี าน้ี

เตรยี มสอบ กกต

เตรียมสอบพนกั งาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกต้ัง ชุดที่ 2 409

มาตรา 12 เพื่อประโยชนใ์ นการปฏิบัตริ าชการให้เกิดผลสัมฤทธิ์ ก.พ.ร. อาจเสนอต่อ
คณะรัฐมนตรีเพ่ือกำหนดมาตรการกำกับการปฏิบัติราชการ โดยวิธีการจัดทำความตกลงเป็น
ลายลักษณอ์ ักษรหรือโดยวิธกี ารอืน่ ใด เพอ่ื แสดงความรบั ผิดชอบในการปฏิบัตริ าชการ

มาตรา 13 ให้คณะรัฐมนตรีจัดให้มีแผนการบริหารราชการแผ่นดินตลอดระยะเวลา
การบริหารราชการของคณะรัฐมนตรี

เม่ื อค ณ ะรัฐมน ต รีได้แถล งน โยบ ายต่อรัฐส ภ าแล้ ว ให้ (4 ห น่ วยงาน )
สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการ
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และสำนักงบประมาณ ร่วมกันจัดทำแผนการบริหารราชการแผ่นดิน
เสนอคณะรัฐมนตรีพจิ ารณาภายในเกา้ สบิ วัน(90วนั )นับแตว่ นั ทค่ี ณะรัฐมนตรีแถลงนโยบายต่อรฐั สภา

เมื่อคณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบในแผนการบริหารราชการแผ่นดินตามวรรคหน่ึงแล้ว
ให้มีผลผูกพนั คณะรัฐมนตรี รัฐมนตรี และสว่ นราชการ ที่จะตอ้ งดำเนนิ การจดั ทำภารกิจให้เป็นไปตาม
แผนการบรหิ ารราชการแผน่ ดินนัน้

มาตรา 14 ในการจัดทำแผนการบริหารราชการแผ่นดนิ ตามมาตรา 13 ให้จัดทำเป็น
แผนส่ีปี ( 4 ปี) โดยนำนโยบายของรัฐบาลท่ีแถลงต่อรัฐสภามาพิจารณาดำเนินการให้สอดคล้องกับ
แนวนโยบายพ้ืนฐานแห่งรัฐตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย และแผนพัฒนา
ประเทศดา้ นตา่ ง ๆ ทเี่ ก่ียวข้อง ทัง้ น้ี อย่างน้อยจะตอ้ งมีสาระสำคัญเกี่ยวกบั การกำหนดเป้าหมายและ
ผลสัมฤทธิ์ของงาน ส่วนราชการหรือบุคคลที่จะรับผิดชอบในแต่ละภารกิจ ประมาณการรายได้และ
รายจ่ายและทรพั ยากรต่าง ๆ ที่จะต้องใช้ ระยะเวลาการดำเนินการ และการตดิ ตามประเมินผล

มาตรา 15 เมื่อมีการประกาศใช้บังคับแผนการบริหารราชการแผ่นดินแล้ว
ให้ (2 หน่วยงาน) สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาและสำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรีร่วมกัน
พิจารณาจัดทำแผนนิติบัญญัติ โดยมีรายละเอียดเก่ียวกับกฎหมายท่ีจะต้องจัดให้มีข้ึนใหม่หรือ
กฎหมายท่ีต้องมีการแก้ไขเพิ่มเติมหรือยกเลิกให้สอดคล้องกับแผนการบริหารราชการแผ่นดิน
สว่ นราชการผู้รบั ผิดชอบ และระยะเวลาที่ต้องดำเนินการ

แผนนิติบัญญัติน้ันเม่ือคณะรัฐมนตรีเห็นชอบตามท่ีสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา
และสำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรีเสนอแล้ว ให้มีผลผูกพันส่วนราชการท่ีเก่ียวข้องท่ีจะต้องปฏิบัติให้
เป็นไปตามนั้น

ในกรณีที่เห็นสมควร สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎกี าอาจเสนอต่อคณะรัฐมนตรีเพ่ือ
กำหนดหลกั เกณฑ์การจดั ทำแผนนติ บิ ญั ญตั ิเพอื่ ใหเ้ กดิ ความรว่ มมอื ในการปฏิบตั ิงานก็ได้

มาตรา 16 ให้ส่วนราชการจัดทำแผนปฏิบัติราชการของส่วนราชการน้ันโดยจัดทำ
เป็นแผนห้าปีซึ่งต้องสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บท แผนการปฏิรูปประเทศ แผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ นโยบายของคณะรฐั มนตรีท่ีแถลงต่อรัฐสภา และแผนอนื่ ที่เก่ยี วขอ้ ง

ในแต่ละปีงบประมาณ ให้ส่วนราชการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปี โดยให้ระบุ
สาระสำคัญเก่ียวกับนโยบายการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ เป้าหมายและผลสัมฤทธ์ิของงาน

เตรียมสอบ กกต

เตรียมสอบพนักงาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลอื กตง้ั ชุดท่ี 2 410

รวมทั้งประมาณการรายได้และรายจ่ายและทรัพยากรอื่นที่จะต้องใช้ เสนอต่อรัฐมนตรีเพ่ือให้ความ
เห็นชอบ

เม่ือรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบแผนปฏิบัติราชการของส่วนราชการใดตามวรรคสอง
แล้ว ให้สำนักงบประมาณดำเนินการจัดสรรงบประมาณเพ่ือปฏิบัติงานให้บรรลุผลสำเร็จในแต่ละ
ภารกจิ ตามแผนปฏบิ ตั ิราชการดังกล่าว

ในกรณีที่ส่วนราชการมิได้เสนอแผนปฏิบัติราชการในภารกิจใดหรือภารกิจใดไม่ได้
รบั ความเห็นชอบจากรัฐมนตรี มใิ หส้ ำนกั งบประมาณจดั สรรงบประมาณสำหรับภารกิจนน้ั

เม่ือสิ้นปีงบประมาณให้ส่วนราชการจัดทำรายงานแสดงผลสัมฤทธ์ิของแผนปฏิบัติ
ราชการประจำปีเสนอต่อคณะรฐั มนตรี

มาตรา 17 ในกรณีท่ีกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณกำหนดให้ส่วนราชการต้อง
จัดทำแผนปฏิบัติราชการเพื่อขอรับงบประมาณ ให้ (2 หน่วยงาน) สำนักงบประมาณและ
ก.พ.ร. ร่วมกันกำหนดแนวทางการจัดทำแผนปฏิบัติราชการตามมาตรา 16 ให้สามารถใช้ได้กับ
แผนปฏิบัติราชการท่ีต้องจัดทำตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ ทั้งน้ี เพื่อมิให้เพิ่มภาระงาน
ในการจัดทำแผนจนเกนิ สมควร

มาตรา 18 เม่ือมีการกำหนดงบประมาณรายจา่ ยประจำปีตามแผนปฏิบัตริ าชการของ
ส่วนราชการใดแล้ว การโอนงบประมาณจากภารกิจหนึ่งตามท่ีกำหนดในแผนปฏิบัติราชการไป
ดำเนินการอย่างอ่ืน ซ่ึงมีผลทำให้ภารกิจเดิมไม่บรรลุเป้าหมายหรือนำไปใช้ในภารกิจใหม่ที่มิได้กำหนด
ในแผนปฏิบตั ิราชการ จะกระทำได้ต่อเม่ือได้รับอนุมตั ิจากคณะรัฐมนตรีให้ปรับแผนปฏิบัติราชการให้
สอดคลอ้ งกนั แล้ว

การปรับแผนปฏิบัติราชการตามวรรคหน่ึงจะกระทำได้เฉพาะในกรณีที่งานหรือ
ภารกิจใดไม่อาจดำเนินการตามวัตถุประสงค์ต่อไปได้ หรือหมดความจำเป็นหรือไม่เป็นประโยชน์
หรอื หากดำเนินการตอ่ ไปจะต้องเสยี ค่าใชจ้ ่ายเกนิ ความจำเป็น หรอื มคี วามจำเป็นอยา่ งอื่นอันไม่อาจ
หลกี เล่ียงได้ ทจี่ ะตอ้ งเปลี่ยนแปลงสาระสำคัญของแผนปฏบิ ัตริ าชการ

เม่ือคณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติให้ปรับแผนปฏิบัติราชการแล้ว ให้ดำเนินการแก้ไข
แผนการบรหิ ารราชการแผ่นดนิ ให้สอดคล้องกนั ด้วย

มาตรา 19 เมื่อนายกรัฐมนตรีพ้นจากตำแหน่ง ให้หัวหน้าส่วนราชการมีหน้าที่
สรุปผลการปฏิบัติราชการและให้ข้อมูลต่อนายกรัฐมนตรีคนใหม่ ตามท่ีนายกรัฐมนตรีคนใหม่
สั่งการ ทั้งนี้ เพ่ือนายกรัฐมนตรีคนใหม่จะได้ใช้เป็นข้อมูลในการพิจารณากำหนดนโยบายการบริหาร
ราชการแผ่นดนิ ต่อไป

เตรียมสอบ กกต

เตรยี มสอบพนักงาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตงั้ ชดุ ที่ 2 411

หมวด 4
การบรหิ ารราชการอยา่ งมีประสิทธิภาพ
และเกดิ ความคมุ้ ค่าในเชงิ ภารกิจของรฐั
มาตรา 20 เพื่อให้การปฏิบัติราชการภายในส่วนราชการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
ให้ส่วนราชการกำหนดเป้าหมาย แผนการทำงาน ระยะเวลาแล้วเสร็จของงานหรือโครงการ และ
งบประมาณที่จะต้องใช้ในแต่ละงานหรือโครงการ และต้องเผยแพร่ให้ข้าราชการและประชาชน
ทราบท่วั กนั ดว้ ย
มาตรา 21 ให้ส่วนราชการจัดทำบัญชีต้นทุนในงานบริการสาธารณะแต่ละประเภทข้ึน
ตามหลกั เกณฑแ์ ละวิธกี ารทีก่ รมบัญชีกลางกำหนด
ให้ส่วนราชการคำนวณรายจ่ายต่อหน่วยของงานบริการสาธารณะที่อยู่ในความ
รับผิดชอบของส่วนราชการนั้นตามระยะเวลาที่กรมบัญชีกลางกำหนด และรายงานให้สำนัก
งบประมาณ กรมบัญชกี ลาง และ ก.พ.ร. ทราบ
ในกรณีที่รายจ่ายต่อหน่วยของงานบริการสาธารณะใดของส่วนราชการใดสูงกว่า
รายจ่ายต่อหน่วยของงานบริการสาธารณะประเภทและคุณภาพเดียวกันหรือคล้ายคลึงกันของส่วน
ราชการอื่น ให้ส่วนราชการน้ันจัดทำแผนการลดรายจ่ายต่อหน่วยของงานบริการสาธารณะดังกล่าว
เสนอสำนกั งบประมาณ กรมบัญชกี ลาง และ ก.พ.ร. ทราบ และถา้ มิไดม้ ีขอ้ ทักท้วงประการใดภายใน
สบิ ห้าวนั (15 วนั ) กใ็ หส้ ว่ นราชการดงั กลา่ วถือปฏบิ ตั ติ ามแผนการลดรายจ่ายน้ันต่อไปได้
มาตรา 22 ให้ (2 หน่วยงาน) สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและ
สังคมแหง่ ชาติ และสำนักงบประมาณรว่ มกันจดั ให้มีการประเมินความคุ้มค่าในการปฏิบัติภารกิจของ
รัฐท่ีส่วนราชการดำเนินการอยู่ เพ่ือรายงานคณะรัฐมนตรีสำหรับเป็นแนวทางในการพิจารณาว่า
ภารกิจใดสมควรจะไดด้ ำเนินการต่อไปหรอื ยุบเลิก และเพ่ือประโยชนใ์ นการจดั ต้งั งบประมาณของส่วน
ราชการในปตี อ่ ไป ท้ังนี้ ตามระยะเวลาท่ีคณะรฐั มนตรีกำหนด
ในการประเมินความคุ้มค่าตามวรรคหน่ึง ให้คำนึงถึงประเภทและสภาพของแต่ละ
ภารกิจ ความเป็นไปได้ของภารกิจหรือโครงการที่ดำเนินการ ประโยชน์ท่ีรัฐและประชาชนจะพึงได้และ
รายจา่ ยทีต่ ้องเสียไปกอ่ นและหลังที่สว่ นราชการดำเนินการด้วย
ความคุ้มค่าตามมาตราน้ี ให้หมายความถึงประโยชน์หรือผลเสียทางสังคม
และประโยชนห์ รือผลเสยี อ่นื ซึง่ ไมอ่ าจคำนวณเปน็ ตัวเงนิ ไดด้ ว้ ย
มาตรา 23 ในการจัดซ้ือหรือจัดจ้าง ให้ส่วนราชการดำเนินการโดยเปิดเผยและเที่ยง
ธรรม โดยพิจารณาถึงประโยชน์และผลเสียทางสังคม ภาระต่อประชาชน คุณภาพ วัตถุประสงค์ท่ีจะใช้
ราคา และประโยชน์ระยะยาวของส่วนราชการทจ่ี ะไดร้ ับประกอบกนั
ในกรณีที่วัตถุประสงค์ในการใช้เป็นเหตุให้ต้องคำนึงถึงคุณภาพและการดูแลรักษา
เป็นสำคัญ ใหส้ ามารถกระทำไดโ้ ดยไม่ตอ้ งถอื ราคาต่ำสุดในการเสนอซ้อื หรือจา้ งเสมอไป

เตรยี มสอบ กกต

เตรียมสอบพนักงาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตง้ั ชุดที่ 2 412

ให้ส่วนราชการที่มีหน้าท่ีดูแลระเบียบเกี่ยวกับการพัสดุปรับปรุงระเบียบท่ีเก่ียวข้อง
เพื่อใหส้ ่วนราชการดำเนินการตามวรรคหนึง่ และวรรคสองไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ

มาตรา 24 ในการปฏิบัติภารกิจใด หากส่วนราชการจำเป็นต้องได้รับอนุญาต อนุมัติ
หรือความเห็นชอบจากส่วนราชการอื่นตามท่ีมีกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ หรือมติ
คณะรัฐมนตรีกำหนด ให้ส่วนราชการท่ีมีอำนาจอนุญาต อนุมัติ หรือให้ความเห็นชอบดังกล่าว แจ้งผล
การพจิ ารณาใหส้ ว่ นราชการทย่ี นื่ คำขอทราบภายในสบิ ห้าวนั (15 วนั ) นบั แตว่ นั ทไี่ ดร้ บั คำขอ

ในกรณีท่ีเรื่องใดมีกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ หรือมติคณะรัฐมนตรี
กำหนดข้ันตอนการปฏิบัติไว้ และข้ันตอนการปฏิบัติน้ันต้องใช้ระยะเวลาเกินสิบห้าวัน (15 วัน)
ให้ส่วนราชการที่มีอำนาจอนุญาต อนุมัติ หรอื ให้ความเห็นชอบ ประกาศกำหนดระยะเวลาการพิจารณา
ไว้ใหส้ ่วนราชการอืน่ ทราบ

ส่วนราชการใดท่ีมีอำนาจอนุญาต อนุมัติ หรือให้ความเห็นชอบ มิได้ดำเนินการ
ให้แล้วเสร็จตามวรรคหน่ึงหรือวรรคสอง หากเกิดความเสียหายใดขึ้น ให้ถือว่าข้าราชการซึ่งมีหน้าท่ี
เกี่ยวข้องและหัวหน้าส่วนราชการน้ันประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง เว้นแตจ่ ะพิสูจน์ได้ว่าความล่าช้า
นน้ั มไิ ดเ้ กดิ ขน้ึ จากความผดิ ของตน

มาตรา 25 ในการพิจารณาวินิจฉัยช้ีขาดปัญหาใด ๆ ให้เป็นหน้าที่ของส่วนราชการที่
รบั ผดิ ชอบในปญั หาน้นั ๆ จะต้องพจิ ารณาวินิจฉัยชีข้ าดโดยเรว็ (ระวงั คำตอบ เพราะไม่ได้กำหนดกี่วนั )
การต้ังคณะกรรมการขน้ึ พิจารณาวินิจฉัย ให้ดำเนินการไดเ้ ทา่ ท่ีจำเป็นอนั ไมอ่ าจหลีกเลี่ยงได้

ในการพิจารณาเรื่องใด ๆ โดยคณะกรรมการ เม่ือคณะกรรมการมีมติเป็นประการใด
แล้ว ให้มติของคณะกรรมการผูกพันส่วนราชการซึ่งมีผู้แทนร่วมเป็นกรรมการอยู่ด้วย แม้ว่าในการ
พิจารณาวินิจฉัยเร่ืองน้ันผู้แทนของส่วนราชการที่เป็นกรรมการจะมิได้เข้าร่วมพิจารณาวินิจฉัยก็
ตาม ถ้ามีความเห็นแตกต่างกันสองฝ่าย ให้บันทึกความเห็นของกรรมการฝ่ายข้างน้อยไว้ให้ปรากฏ
ในเรอื่ งน้นั ดว้ ย

ความผูกพันท่ีกำหนดไว้ในวรรคสอง มิให้ใช้บังคับกับการวินิจฉัยในปัญหาด้าน
กฎหมาย (ระวัง ไม่มผี ลผกู พันการวนิ ิจฉยั ปญั หาดา้ นกฎหมาย)

มาตรา 26 การสั่งราชการโดยปกติให้กระทำเป็นลายลักษณ์อักษร เว้นแต่ในกรณีที่
ผู้บังคับบัญชามีความจำเป็นที่ไม่อาจส่ังเป็นลายลักษณ์อักษรในขณะนั้น จะส่ังราชการด้วยวาจาก็ได้
แต่ให้ผู้รับคำส่ังน้ันบันทึกคำสั่งด้วยวาจาไว้เป็นลายลักษณ์อักษรและเม่ือได้ปฏิบัติราชการตามคำส่ัง
ดังกล่าวแล้ว ให้บันทึกรายงานให้ผู้ส่ังราชการทราบ ในบันทึกให้อ้างอิงคำสั่งด้วยวาจาไว้ด้วย (กรณีส่ัง
ราชการดว้ ยวาจา ให้ผรู้ บั คำส่งั ไม่ใช่ผู้สัง่ บันทกึ คำสงั่ ดว้ ยวาจาไว้เปน็ ลายลกั ษณอ์ ักษร ไม่ใชท่ ำเป็นหนังสือ)

เตรยี มสอบ กกต

เตรียมสอบพนักงาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลือกตัง้ ชุดที่ 2 413

หมวด 5
การลดข้ันตอนการปฏบิ ัตงิ าน
มาตรา 27 ให้ส่วนราชการจัดให้มีการกระจายอำนาจการตัดสินใจเกี่ยวกับการสั่ง
การอนุญาต การอนุมัติ การปฏิบัติราชการ หรือการดำเนินการอ่ืนใดของผู้ดำรงตำแหน่งใดให้แก่ผู้ดำรง
ตำแหน่งท่ีมีหน้าท่ีรับผิดชอบในการดำเนินการในเร่ืองน้ันโดยตรง เพ่ือให้เกิดความรวดเร็วและ
ลดข้ันตอนการปฏิบัติราชการ ท้ังนี้ ในการกระจายอำนาจการตัดสินใจดังกล่าวต้องมุ่งผลให้เกิด
ความสะดวกและรวดเร็วในการบริการประชาชน
เม่ือได้มีการกระจายอำนาจการตัดสินใจตามวรรคหน่ึงแล้ว ให้ส่วนราชการกำหนด
หลักเกณฑ์การควบคุม ติดตาม และกำกับดูแลการใช้อำนาจและความรับผิดชอบของผู้รับมอบอำนาจ
และผู้มอบอำนาจไว้ด้วย หลักเกณฑ์ดังกล่าวต้องไม่สร้างขั้นตอนหรือการกลั่นกรองงานท่ีไม่จำเป็นใน
การปฏิบัติงานของข้าราชการ ในการน้ี หากสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศหรอื โทรคมนาคมแล้วจะ
เป็นการลดข้ันตอน เพิ่มประสิทธิภาพและประหยัดค่าใช้จ่าย รวมท้ังไม่เกิดผลเสียหายแก่ราชการ
ให้ส่วนราชการดำเนินการให้ข้าราชการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศหรือโทรคมนาคมตา มความ
เหมาะสมและกำลงั เงินงบประมาณ
เมื่อส่วนราชการใดได้มีการกระจายอำนาจการตัดสินใจตามวรรคหน่ึง หรือได้มีการใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศหรือโทรคมนาคมตามวรรคสองแล้ว ให้ส่วนราชการนั้นเผยแพร่ให้ประชาชน
ทราบเปน็ การทั่วไป
มาตรา 28 เพ่ือประโยชน์ในการกระจายอำนาจการตัดสินใจตามมาตรา 27
ก.พ.ร. ดว้ ยความเห็นชอบของคณะรฐั มนตรจี ะกำหนดหลักเกณฑแ์ ละวิธีการหรือแนวทางในการกระจาย
อำนาจการตัดสินใจ ความรับผิดชอบระหว่างผู้มอบอำนาจและผู้รับมอบอำนาจ และการลดข้ันตอนใน
การปฏิบัติราชการให้ส่วนราชการถือปฏิบตั ิก็ได้ (ก.พ.ร. กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการลดข้ันตอนการ
ปฏิบัติงานให้ ครม.เห็นชอบ)
มาตรา 29 ในการปฏิบัติงานท่ีเก่ียวข้องกับการบริการประชาชนหรือการติดต่อ
ประสานงานระหว่างส่วนราชการด้วยกัน ให้ส่วนราชการแต่ละแห่งจัดทำแผนภูมิขั้นตอนและ
ระยะเวลา การดำเนินการ รวมท้ังรายละเอียดอ่ืน ๆ ที่เกี่ยวข้องในแต่ละข้ันตอนเปิดเผยไว้ ณ ที่ทำ
การของส่วนราชการและในระบบเครือข่ายสารสนเทศของส่วนราชการ เพ่ือให้ประชาชนหรือผู้ที่
เก่ียวข้องเข้าตรวจดไู ด้
การบริการประชาชนและการติดต่อประสานงานระหว่างส่วนราชการด้วยกัน
ต้องกระทำโดยใช้ แพลตฟอร์มดิจิทัลกลางที่สำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องค์การมหาชน)
กำหนดดว้ ย
มาตรา 30 ในกระทรวงหนึ่ง ให้เป็นหน้าท่ีของปลัดกระทรวงท่ีจะต้องจัดให้ส่วน
ราชการภายในกระทรวงที่รับผิดชอบปฏิบตั ิงานเก่ียวกับการบริการประชาชนร่วมกันจัดตั้งศูนย์บริการร่วม
เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ประชาชนในการท่ีจะต้องปฏิบัติตามกฎหมายหรือกฎอ่ืนใด ทั้งน้ี เพื่อให้

เตรยี มสอบ กกต

เตรียมสอบพนกั งาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง ชดุ ที่ 2 414

ประชาชนสามารถติดต่อสอบถาม ขอทราบข้อมูล ขออนุญาต หรือขออนุมัติในเร่ืองใด ๆ ที่เป็นอำนาจ
หน้าท่ีของสว่ นราชการในกระทรวงเดียวกัน โดยติดต่อเจา้ หน้าที่ ณ ศูนย์บรกิ ารรว่ มเพยี งแหง่ เดยี ว

มาตรา 31 ในศูนย์บริการร่วมตามมาตรา 30 ให้จัดให้มีเจ้าหน้าท่ีรับเรื่องราวต่าง
ๆ และดำเนินการสง่ ต่อให้เจา้ หนา้ ทข่ี องส่วนราชการที่เกย่ี วขอ้ งเพื่อดำเนนิ การตอ่ ไป โดยให้มขี อ้ มูลและ
เอกสารท่ีเก่ียวข้องกับอำนาจหน้าท่ีของทุกส่วนราชการในกระทรวง รวมทั้งแบบคำขอต่าง ๆ ไว้ให้
พรอ้ มที่จะบรกิ ารประชาชนได้ ณ ศูนยบ์ ริการรว่ ม

ใหเ้ ป็นหนา้ ที่ส่วนราชการทเี่ ก่ียวข้องทจ่ี ะต้องจัดพมิ พร์ ายละเอียดของเอกสารหลกั ฐาน
ที่ประชาชนจะต้องจัดหามาในการขออนุมัติหรือขออนุญาตในแต่ละเร่ืองมอบให้แก่เจ้าหน้าที่ของ
ศูนย์บริการร่วม และให้เป็นหน้าท่ีของเจ้าหน้าที่ศูนย์บริการร่วมท่ีจะต้องแจ้งให้ประชาชนที่มาติดต่อ
ไดท้ ราบในคร้ังแรกที่มาตดิ ต่อและตรวจสอบว่าเอกสารหลักฐานทจี่ ำเป็นดังกลา่ วนัน้ ประชาชนได้ย่ืน
มาครบถ้วนหรือไม่ พร้อมท้ังแจ้งให้ทราบถึงระยะเวลาท่ีจะต้องใช้ดำเนินการในเร่ืองน้ัน
(สว่ นราชการจัดพมิ พร์ ายละเอียดของเอกสารมอบใหเ้ จา้ หนา้ หน้าทศ่ี นู ยบ์ รกิ ารรว่ ม

ในการยื่นคำร้องหรือคำขอต่อศูนย์บริการร่วมตามมาตรา 30 ให้ถือว่าเป็นการยื่นต่อ
ส่วนราชการท่ีเกีย่ วข้องท้งั หมดตามท่รี ะบไุ ว้ในกฎหมายหรือกฎแลว้

ในการดำเนินการตามวรรคหน่ึง หากมีปัญหาหรืออุปสรรคในการปฏิบัติราชการให้
เป็นไปตามหลักเกณฑแ์ ละวิธีการท่ีกำหนดในกฎหมายหรือกฎในเร่ืองใด ให้สว่ นราชการท่ีเกย่ี วขอ้ งแจง้
ให้ ก.พ.ร. ทราบ เพื่อดำเนินการเสนอคณะรัฐมนตรีให้มีการปรับปรุงหลักเกณฑ์และวิธีการ
ตามกฎหมายหรอื กฎน้นั ตอ่ ไป

มาตรา 32 ให้ผู้วา่ ราชการจังหวดั นายอำเภอ และปลัดอำเภอผู้เป็นหัวหน้าประจำกิ่ง
อำเภอ (ปัจจุบันไม่มีกิ่ง อ. จึงไม่มีตำแหน่ง ป. ผู้เป็นหัวหน้าประจำก่ิงแล้ว) จัดให้ส่วนราชการที่
รับผิดชอบดำเนินการเกี่ยวกับการบริการประชาชนในเรื่องเดียวกันหรือต่อเนื่องกันในจังหวัด อำเภอ
หรือกิ่งอำเภอน้ัน ร่วมกันจัดต้ังศูนย์บริการร่วมไว้ ณ ศาลากลางจังหวัด ท่ีว่าการอำเภอ หรือท่ีว่าการก่ิงอำเภอ
หรือสถานท่ีอื่นตามที่เห็นสมควร (ข้อสังเกต เหลือเฉพาะผู้ว่าราชการจังหวัด ศาลากลางจังหวัด
นายอำเภอ ที่ว่าการอำเภอ เท่านั้น) โดยประกาศให้ประชาชนทราบ และให้นำความในมาตรา
30 และมาตรา 31 มาใช้บังคับด้วยโดยอนุโลม

หมวด 6
การปรบั ปรงุ ภารกจิ ของสว่ นราชการ
มาตรา 33 ให้ส่วนราชการจัดให้มีการทบทวนภารกิจของตนว่าภารกิจใดมีความ
จำเป็น หรือสมควรที่จะยกเลิก ปรับปรุง หรือเปล่ียนแปลงการดำเนินการต่อไปหรือไม่ โดยคำนึงถึง
ยุทธศาสตร์ชาติแผนแม่บท แผนการปฏิรูปประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
นโยบายของคณะรัฐมนตรีที่แถลงต่อรัฐสภา และแผนอ่ืนท่ีเก่ียวข้อง รวมถึงก าลังเงินงบประมาณ
ของประเทศ ความคุ้มค่าของภารกิจและสถานการณ์อื่นประกอบกัน

เตรยี มสอบ กกต

เตรียมสอบพนักงาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลอื กตงั้ ชุดที่ 2 415

กำหนดเวลาในการจดั ใหม้ ีการทบทวนตามวรรคหนึง่ ใหเ้ ป็นไปตามท่ี ก.พ.ร. กำหนด
ในกรณีที่ส่วนราชการเห็นควรยกเลิก ปรับปรุง หรือเปล่ียนแปลงภารกิจ ให้ส่วน
ราชการดำเนินการปรับปรุงอำนาจหน้าที่ โครงสร้าง และอัตรากำลัง ของส่วนราชการให้สอดคล้องกัน
และเสนอคณะรฐั มนตรพี จิ ารณาใหค้ วามเห็นชอบเพอ่ื ดำเนินการตอ่ ไป (สว่ นราชการ เห็นควรปรบั ปรุง)
ในกรณีท่ี ก.พ.ร. พิจารณาแล้วเห็นว่าภารกิจของรัฐที่ส่วนราชการใดรับผิดชอบ
ดำเนินการอยู่สมควรเปล่ียนแปลง ยกเลิก หรือเพิ่มเติม ให้เสนอคณะรัฐมนตรีเพ่ือพิจารณา
เมื่อคณะรัฐมนตรีเห็นชอบแล้ว ให้ส่วนราชการนั้นดำเนินการปรับปรุงภารกิจ อำนาจหน้าที่ โครงสร้าง
และอตั รากำลังของสว่ นราชการนั้นให้สอดคล้องกนั (ก.พ.ร. เหน็ ควรเปลีย่ นแปลง)
มาตรา 34 ในกรณีที่มีการยุบเลิก โอน หรือรวมส่วนราชการใดท้ังหมดหรือบางส่วน
ห้ามมิให้จัดตั้งส่วนราชการท่ีมีภารกิจหรืออำนาจหน้าท่ีที่มีลักษณะเดียวกันหรือคล้ายคลึงกันกับส่วน
ราชการดังกล่าวขึ้นอีก เว้นแต่มีเหตุผลและความจำเป็นเพื่อรักษาความมั่นคงของรัฐหรือเศรษฐกิจ
ของประเทศ หรือรักษาผลประโยชน์สว่ นรวมของประชาชน และโดยได้รบั ความเหน็ ชอบจาก ก.พ.ร.
มาตรา 35 ส่วนราชการมีหน้าท่ีสำรวจ ตรวจสอบ และทบทวนกฎหมาย กฎ ระเบียบ
ข้อบังคับ และประกาศ ท่ีอยู่ในความรับผิดชอบ เพื่อดำเนินการยกเลิก ปรับปรุง หรือจัดให้มีกฎหมาย
กฎ ระเบยี บ ข้อบังคับ หรือประกาศขึ้นใหม่ ให้ทันสมัยและเหมาะสมกับสภาวการณ์ หรือสอดคล้องกับ
ความจำเป็นทางเศรษฐกิจ สังคม และความม่ันคงของประเทศ ท้ังนี้ โดยคำนึงถึงความสะดวกรวดเร็ว
และลดภาระของประชาชนเป็นสำคญั
ในการดำเนินการตามวรรคหน่งึ ให้สว่ นราชการนำความคดิ เหน็ หรือขอ้ เสนอแนะของ
ประชาชนมาประกอบการพิจารณาด้วย (ส่วนราชการมีหน้าที่สำรวจ ตรวจสอบ และทบทวนกฎหมาย
ในความรับผิดชอบเพ่ือยกเลิก ปรับปรุงหรือจัดให้มีกฎหมายใหม่ ให้ทันสมัยกับสภาวการณ์ หรือ
สอดคลอ้ งกับความจำเป็นทางเศรษฐกจิ สังคมและความม่ันคงของประเทศ โดยนำความคิดเห็นหรือ
ขอ้ เสนอแนะของประชาชนประกอบการพจิ ารณา)
มาตรา 36 ในกรณีท่ีสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาเห็นว่ากฎหมาย กฎ ระเบียบ
ข้อบังคับ หรือประกาศ ที่อยู่ในความรับผิดชอบของส่วนราชการใด ไม่สอดคล้องหรือเหมาะสมกับ
สถานการณ์ในปัจจุบัน ไม่เอ้ืออำนวยต่อการพัฒนาประเทศ เป็นอุปสรรคต่อการประกอบกิจการหรือ
การดำรงชีวิตของประชาชน หรือก่อให้เกิดภาระหรือความยุ่งยากตอ่ ประชาชนเกินสมควร ให้สำนักงาน
คณะกรรมการกฤษฎีกาเสนอแนะต่อส่วนราชการน้ันเพ่ือดำเนินการแก้ไข ปรับปรุง หรือยกเลิกโดยเร็ว
ต่อไป (กรณีสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา เห็นว่ากฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ
ท่ีอยู่ในความรับผิดชอบของส่วนราชการ ไม่สอดคล้องกับหรือเหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน
ไม่เอ้ืออำนวยต่อการพัฒนาประเทศ เป็นอุปสรรคต่อการประกอบกิจการหรือการดำรงชีวิตของ
ประชาชน ใหเ้ สนอแนะส่วนราชการแก้ไข ปรับปรงุ หรือยกเลิก)
ในกรณีที่ส่วนราชการที่ได้รับการเสนอแนะไม่เห็นชอบด้วยกับคำเสนอแนะของ
สำนกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า ให้เสนอเรอ่ื งตอ่ คณะรฐั มนตรเี พ่ือพจิ ารณาวินจิ ฉัย (หากสว่ นราชการ
ไมเ่ หน็ ชอบดว้ ยกบั คำเสนอแนะฯ ให้เสนอ ครม. เพื่อพิจารณาวนิ ิจฉยั )

เตรยี มสอบ กกต

เตรยี มสอบพนกั งาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกต้งั ชดุ ที่ 2 416

หมวด 7
การอำนวยความสะดวกและการตอบสนองความต้องการของประชาชน

มาตรา 37 ในการปฏิบัติราชการท่ีเกี่ยวข้องกับการบริการประชาชนหรือติดต่อ
ประสานงานระหว่างส่วนราชการด้วยกัน ให้ส่วนราชการกำหนดระยะเวลาแล้วเสร็จของงานแต่ละ
งาน และประกาศให้ประชาชนและข้าราชการทราบเป็นการท่ัวไป ส่วนราชการใดมิได้กำหนด
ระยะเวลาแล้วเสร็จของงานใด และ ก.พ.ร. พิจารณาเห็นว่างานนั้นมีลักษณะที่สามารถกำหนด
ระยะเวลาแล้วเสร็จได้ หรือส่วนราชการได้กำหนดระยะเวลาแล้วเสร็จไว้ แต่ ก.พ.ร. เห็นว่าเป็น
ระยะเวลาทลี่ ่าชา้ เกนิ สมควร ก.พ.ร. จะกำหนดเวลาแล้วเสร็จใหส้ ่วนราชการนนั้ ตอ้ งปฏิบัตกิ ็ได้

ให้เป็นหน้าที่ของผู้บังคับบัญชาที่จะต้องตรวจสอบให้ข้าราชการปฏิบัติงานให้แล้วเสร็จ
ตามกำหนดเวลาตามวรรคหนงึ่

มาตรา 38 เมื่อส่วนราชการใดได้รับการติดต่อสอบถามเป็นหนังสือจากประชาชน
หรอื จากส่วนราชการดว้ ยกันเกี่ยวกบั งานที่อย่ใู นอำนาจหน้าทีข่ องส่วนราชการนนั้ ให้เป็นหนา้ ที่ของ
สว่ นราชการน้นั ท่ีจะตอ้ งตอบคำถามหรือแจ้งการดำเนินการให้ทราบภายในสิบหา้ วัน (15 วัน) หรือ
ภายในกำหนดเวลาทกี่ ำหนดไว้ตามมาตรา 37

มาตรา 39 ให้ส่วนราชการจัดให้มีระบบเครือข่ายสารสนเทศของส่วนราชการ
เพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนท่ีจะสามารถติดต่อสอบถามหรือขอข้อมูลหรือแสดงความ
คิดเห็นเก่ียวกบั การปฏบิ ตั ริ าชการของส่วนราชการ

ระบบเครือข่ายสารสนเทศตามวรรคหนึ่ง ต้องจัดทำในระบบเดียวกับที่กระทรวง
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ข้อสังเกต ปัจจุบันเปลี่ยนช่ือกระทรวงเป็น กระทรวงดิจิทัล
เพือ่ เศรษฐกิจและสงั คม) จดั ให้มีข้ึนตามมาตรา 40

มาตรา 40 เพ่ืออำนวยความสะดวกและความรวดเร็วแก่ประชาชนในการติดต่อกับ
สว่ นราชการทุกแห่ง ให้กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สารจัดให้มีระบบเครือขา่ ยสารสนเทศกลางข้ึน

ในกรณีท่ีส่วนราชการใดไม่อาจจัดให้มีระบบเครือข่ายสารสนเทศของส่วนราชการได้
อาจรอ้ งขอใหก้ ระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารดำเนนิ การจดั ทำระบบเครอื ข่ายสารสนเทศ
ของส่วนราชการดังกล่าวก็ได้ ในการนี้กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารจะขอให้ส่วน
ราชการให้ความชว่ ยเหลือด้านบุคลากร ค่าใชจ้ ่าย และข้อมูลในการดำเนินการก็ได้ (ให้กระทรวงดิจิทัล
เพื่อเศรษฐกิจและสังคมจัดให้มีระบบเครือข่ายสารสนเทศกลาง ส่วนราชการที่ไม่สามารถจัดให้มี
ระบบเครือข่ายสารสนเทศ อาจร้องขอให้กระทรวงดิจิทัลเศรษฐกิจและสังคมจัดทำระบบเครือข่าย
สารสนเทศของส่วนราชการก็ได้ ซึ่งกระทรวงดิจิทัลเศรษฐกิจและสังคมจะขอให้ช่วยเหลือด้าน
บุคลากร ค่าใช้จ่าย และข้อมลู ดำเนินการกไ็ ด้)

เตรียมสอบ กกต

เตรยี มสอบพนกั งาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลอื กตงั้ ชดุ ที่ 2 417

มาตรา 41 ในกรณีที่ส่วนราชการได้รับคำร้องเรียน เสนอแนะ หรือความคิดเห็น
เกี่ยวกับวิธีปฏิบัติราชการ อุปสรรค ความยุ่งยาก หรือปัญหาอ่ืนใดจากบุคคลใด โดยมีข้อมูลและ
สาระตามสมควร ให้เป็นหน้าที่ของส่วนราชการน้ันท่ีจะต้องพิจารณาดำเนินการให้ลุล่วงไป
และในกรณีที่มีที่อยู่ของบุคคลน้ัน ให้แจ้งให้บุคคลนั้นทราบผลการดำเนินการด้วย ท้ังน้ี อาจแจ้งให้
ทราบผ่านทางระบบเครอื ขา่ ยสารสนเทศของสว่ นราชการดว้ ยกไ็ ด้

ในกรณีการแจ้งผ่านทางระบบเครือข่ายสารสนเทศ มิให้เปิดเผยช่ือหรือที่อยู่
ของผรู้ ้องเรยี น เสนอแนะ หรือแสดงความคดิ เหน็

มาตรา 42 เพื่อให้การปฏิบตั ิราชการเป็นไปอย่างมีประสิทธภิ าพและเกิดความสะดวก
รวดเร็ว ให้ส่วนราชการที่มีอำนาจออกกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ หรือประกาศ เพ่ือใชบ้ ังคับกบั ส่วนราชการ
อ่ืน มีหน้าท่ีตรวจสอบว่ากฎ ระเบียบ ข้อบังคับ หรือประกาศน้ัน เป็นอุปสรรคหรือก่อให้เกิดความ
ย่งุ ยาก ซ้ำซ้อน หรือความล่าชา้ ตอ่ การปฏิบตั ิหน้าที่ของส่วนราชการอ่ืนหรอื ไม่ เพอื่ ดำเนนิ การปรับปรุง
แกไ้ ขให้เหมาะสมโดยเรว็ ต่อไป

ในกรณีท่ีได้รับการร้องเรียนหรือเสนอแนะจากข้าราชการหรือส่วนราชการอื่นในเร่ือง
ใด ให้ส่วนราชการที่ออกกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ หรือประกาศนั้นพิจารณาโดยทันที และในกรณีท่ีเห็นวา่
การร้องเรียนหรือเสนอแนะนั้นเกิดจากความเข้าใจผิดหรือความไม่เข้าใจในกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ หรือ
ประกาศ ใหช้ ีแ้ จงให้ผรู้ อ้ งเรียนหรือเสนอแนะทราบภายในสิบหา้ วัน (15 วนั )

การร้องเรยี นหรอื เสนอแนะตามวรรคสอง จะแจ้งผา่ น ก.พ.ร. ก็ได้
ในกรณีที่ ก.พ.ร. เห็นว่า กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ หรือประกาศใดมีลักษณะตามวรรค
หน่ึง ให้ ก.พ.ร. แจ้งให้ส่วนราชการท่ีออก กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ หรือประกาศน้ันทราบเพ่ือดำเนินการ
ปรบั ปรงุ แก้ไข หรือยกเลกิ ตอ่ ไปโดยเรว็
มาตรา 43 การปฏิบัติราชการในเรื่องใดๆ โดยปกติให้ถือว่าเป็นเรื่องเปิดเผย เว้นแต่
กรณีมีความจำเป็นอยา่ งยงิ่ เพ่อื ประโยชน์ในการรกั ษาความมั่นคงของประเทศ ความมั่นคงทางเศรษฐกิจ
การรักษาความสงบเรียบร้อยของประชาชน หรือการคุ้มครองสิทธสิ ่วนบุคคล จึงให้กำหนดเป็นความลับ
ได้เท่าที่จำเป็น (หลัก การปฏิบัติราชการให้ถือว่าเป็นเร่ืองเปิดเผย ยกเว้น มกี รณีจำเป็นอย่างยิ่งเพื่อ
รกั ษาความม่ันคงประเทศ ความม่นั คงทางเศรษฐกิจ การรักษาความสงบเรียบรอ้ ยของประชาชน หรือการ
คุม้ ครองสิทธสิ ว่ นบุคคล)
มาตรา 44 ส่วนราชการต้องจัดให้มีการเปิดเผยข้อมูลเก่ียวกบั งบประมาณรายจ่าย
แต่ละปี รายการเก่ียวกับการจัดซื้อหรือจัดจ้างที่จะดำเนินการในปีงบประมาณนั้น และสัญญาใด ๆ
ท่ีได้มีการอนุมัติให้จัดซื้อหรือจัดจ้างแล้ว ให้ประชาชนสามารถขอดูหรือตรวจสอบได้ ณ สถานท่ีทำการ
ของส่วนราชการ และระบบเครือข่ายสารสนเทศของส่วนราชการ ท้ังนี้ การเปิดเผยข้อมูลดังกล่าว
ตอ้ งไม่กอ่ ให้เกดิ ความไดเ้ ปรียบหรือเสยี เปรียบหรอื ความเสยี หายแก่บคุ คลใดในการจดั ซอ้ื หรอื จัดจา้ ง
ในการจัดทำสัญญาจัดซ้ือหรือจัดจ้าง ห้ามมิให้มีข้อความหรือข้อตกลงห้ามมิให้
เปิดเผยข้อความหรือข้อตกลงในสัญญาดังกล่าว เว้นแต่ข้อมูลดังกล่าวเป็นข้อมูลที่อยู่ภายใต้บังคับ

เตรียมสอบ กกต

เตรยี มสอบพนักงาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลือกตงั้ ชดุ ที่ 2 418

กฎหมาย กฎ ระเบียบ หรือข้อบังคับที่เกี่ยวกับการคุ้มครองความลับทางราชการ หรือในส่วนที่เป็น
ความลับทางการค้า

หมวด 8
การประเมินผลการปฏบิ ตั ริ าชการ
มาตรา 45 นอกจากการจัดให้มีการประเมินผลตามมาตรา 9 (3) แล้ว ให้ส่วนราชการ
จัดให้มีคณะผู้ประเมินอิสระดำเนินการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการเกี่ยวกับ
ผลสัมฤทธ์ิของภารกิจ คุณภาพการให้บริการ ความพึงพอใจของประชาชนผู้รับบริการ ความคุ้มค่าใน
ภารกิจ ทัง้ น้ี ตามหลกั เกณฑ์ วิธีการ และระยะเวลาท่ี ก.พ.ร.กำหนด
มาตรา 46 ส่วนราชการอาจจัดให้มีการประเมินภาพรวมของผู้บังคับบัญชาแต่ละ
ระดับหรือหน่วยงานในส่วนราชการก็ได้ ทั้งนี้ การประเมินดังกล่าวต้องกระทำเป็นความลับและ
เป็นไปเพ่ือประโยชนแ์ หง่ ความสามัคคขี องขา้ ราชการ
มาตรา 47 ในการประเมินผลการปฏิบัติงานของข้าราชการเพ่ือประโยชน์ในการ
บริหารงานบุคคล ให้ส่วนราชการประเมินโดยคำนึงถึงผลการปฏบิ ัติงานเฉพาะตัวของข้าราชการผู้น้ันใน
ตำแหน่งท่ีปฏิบัติ ประโยชน์และผลสัมฤทธ์ิที่หน่วยงานที่ข้าราชการผู้น้ันสังกัดได้รับจากการปฏิบัติงาน
ของข้าราชการผู้น้ัน (การประเมินผลการปฏิบัติงานของข้าราชการ ให้ส่วนราชการประเมินโดย
คำนึงถึงผลการปฏิบตั ิงานเฉพาะตัวของขา้ ราชการในตำแหนง่ ทปี่ ฏิบัติ)
มาตรา 48 ในกรณีที่ส่วนราชการใดดำเนินการให้บริการท่ีมีคุณภาพและเป็นไป
ตามเป้าหมายที่กำหนด รวมทั้งเป็นท่ีพึงพอใจแก่ประชาชน ให้ ก.พ.ร. เสนอคณะรัฐมนตรีจัดสรร
เงนิ เพ่มิ พเิ ศษเป็นบำเหน็จความชอบแก่ส่วนราชการหรอื ให้ส่วนราชการใช้เงนิ งบประมาณเหลือจ่าย
ของส่วนราชการนั้น เพื่อนำไปใช้ในการปรับปรุงการปฏิบัติงานของส่วนราชการหรือจัดสรรเป็น
รางวัลให้ข้าราชการในสังกัด ท้ังน้ี ตามหลักเกณฑ์และวิธีการท่ี ก.พ.ร. กำหนดโดยความเห็นชอบ
ของคณะรัฐมนตรี
มาตรา 49 เมื่อส่วนราชการใดได้ดำเนินงานไปตามเป้าหมาย สามารถเพ่ิมผลงาน
และผลสัมฤทธิ์โดยไม่เป็นการเพ่ิมค่าใช้จ่ายและคุ้มค่าต่อภารกิจของรัฐหรือสามารถดำเนินการตาม
แผนการลดค่าใช้จ่ายต่อหน่วยได้ตามหลักเกณฑ์ที่ ก.พ.ร. กำหนด ให้ ก.พ.ร. เสนอคณะรัฐมนตรี
จัดสรรเงินรางวัลการเพิ่มประสิทธิภาพให้แก่ส่วนราชการนั้น หรือให้ส่วนราชการใช้เงินงบประมาณ
เหลือจ่ายของส่วนราชการนั้น เพ่ือนำไปใช้ในการปรับปรุงการปฏบิ ตั งิ านของส่วนราชการหรือจัดสรร
เป็นรางวัลให้ข้าราชการในสังกัด ท้ังน้ี ตามหลักเกณฑ์และวิธีการท่ี ก.พ.ร.กำหนดโดยความ
เหน็ ชอบของคณะรัฐมนตรี

เตรยี มสอบ กกต

เตรียมสอบพนักงาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลือกตั้ง ชุดที่ 2 419

หมวด 9
บทเบ็ดเตล็ด
มาตรา 50 เพื่อให้การบริหารราชการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่าในเชิง
ภารกิจของรัฐ ก.พ.ร. โดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี อาจกำหนดให้ส่วนราชการต้องปฏบิ ัติการ
ใดนอกเหนือจากที่กำหนดไว้ในพระราชกฤษฎีกานี้ รวมทั้งกำหนดมาตรการอื่นเพิ่มเติมจากที่บัญญัติไว้
ในมาตรา 48 และมาตรา 49 กไ็ ด้
มาตรา 51 ในกรณีท่ีพระราชกฤษฎีกาน้ีกำหนดให้ส่วนราชการต้องจัดทำแผนงานใน
เร่ืองใดและมีกฎหมายฉบับอ่ืนกำหนดให้ส่วนราชการต้องจัดทำแผนงานในเร่ืองเดียวกันท้ังหมดหรือ
บางส่วน เมื่อส่วนราชการได้จัดทำแผนงานตามกฎหมายฉบบั ใดฉบับหน่ึงแลว้ ให้ถือว่าสว่ นราชการน้ันได้
จดั ทำแผนตามพระราชกฤษฎีกานดี้ ว้ ยแล้ว
มาตรา 52 ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินจัดทำหลักเกณฑ์การบริหารกิจการ
บ้านเมืองที่ดีตามแนวทางของพระราชกฤษฎีกาน้ี โดยอย่างน้อยต้องมีหลักเกณฑ์เก่ียวกับการลด
ข้ันตอนการปฏิบัติงาน และการอำนวยความสะดวกและการตอบสนองความต้องการของประชาชน
ท่ีสอดคลอ้ งกบั บทบญั ญตั ใิ นหมวด 5 และหมวด 7
ให้เป็นหน้าที่ของกระทรวงมหาดไทยดูแลและให้ความช่วยเหลือองค์กรปกครองส่วน
ท้องถ่ินในการจัดทำหลักเกณฑ์ตามวรรคหนึ่ง (ข้อสังเกต คือ กระทรวงที่กำกับดูแลองค์กรปกครอง
สว่ นทอ้ งถ่นิ นนั่ เอง)
มาตรา 53 ให้องค์การมหาชนและรัฐวิสาหกิจ จัดให้มีหลักเกณฑ์การบริหารกิจการ
บ้านเมืองทด่ี ตี ามแนวทางของพระราชกฤษฎีกานี้
ในกรณีท่ี ก.พ.ร. เห็นว่าองค์การมหาชนหรือรัฐวิสาหกิจใดไม่จัดให้มีหลักเกณฑ์ตาม
วรรคหน่ึง หรือมีแต่ไม่สอดคล้องกับพระราชกฤษฎีกาน้ี ให้แจ้งรัฐมนตรีซ่ึงมีหน้าที่กำกับดูแลองค์การ
มหาชนหรือรัฐวิสาหกจิ เพื่อพจิ ารณาสง่ั การให้องคก์ ารมหาชนหรอื รัฐวสิ าหกจิ นั้นดำเนนิ การใหถ้ กู ตอ้ งตอ่ ไป

ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ (ตอบช่อื ผรู้ ับสนองพระบรมราชโองการ ไมใ่ ช่
ตำแหน่ง) พนั ตำรวจโท ทกั ษณิ ชินวัตร นายกรฐั มนตรี

เตรยี มสอบ กกต

เตรียมสอบพนักงาน สำนักงานคณะกรรมการการเลอื กต้งั ชดุ ที่ 2 420
บทเฉพาะกาลของพระราชกฤษฎกี าวา่ ด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบรหิ ารกิจการบา้ นเมืองทด่ี ี
(ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2562

มาตรา 10 ในวาระเริ่มแรก ให้สำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องค์การมหาชน) จัดให้มี
แพลตฟอร์มดิจิทัลกลางเพื่อให้ส่วนราชการใช้ในการบริการประชาชนและการติดต่อประสานง าน
ระหว่างกันได้ภายในเก้าสิบวันนบั แตว่ นั ทพี่ ระราชกฤษฎีกานี้ใช้บังคับ

ให้เป็นหน้าท่ีของหัวหน้าส่วนราชการท่ีจะต้องดำเนินการให้การบริการประชาชนและการ
ติดต่อประสานงานระหว่างส่วนราชการด้วยกัน โดยการใช้แพลตฟอร์มดิจิทัลกลางให้แล้วเสร็จ
ภายในสองปีนบั แต่พน้ กำหนดเวลาตามวรรคหน่งึ

ในกรณีที่ส่วนราชการใดมีเหตผุ ลความจ าเปน็ ท่ีไม่สามารถดำเนินการใช้แพลตฟอร์มดิจิทัล
กลางได้ภายในระยะเวลาทีก่ ำหนดในวรรคสอง ให้หวั หนา้ ส่วนราชการนน้ั เสนอ ก.พ.ร. เพือ่ พิจารณา
ขยายระยะเวลาดังกล่าวได้

เตรยี มสอบ กกต

เตรยี มสอบพนักงาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลอื กต้งั ชดุ ท่ี 2 421

สรปุ ระเบียบสำนักนายกรฐั มนตรีว่าดว้ ยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526
และทแ่ี ก้ไขเพิม่ เตมิ ถึงฉบับที่ 3

1. ระเบียบสำนักนายกรฐั มนตรีว่าดว้ ยงานสารบรรณ ออกโดย มติ ครม.
2. ขอบเขตการใช้บงั คบั ใชบ้ ังคับกบั ส่วนราชการ หมายถึง กระทรวง ทบวง กรม สำนักงาน
หรอื หน่วยงานอน่ื ใดของรฐั และให้หมายความรวมถึง คณะกรรมการด้วย (กกต. ปปช. ฯลฯ)
3. ส่วนราชการมีความจำเป็นจะต้องปฏิบัตินอกเหนือจากระเบียบนี้ให้ขอทำความตกลงกับ
ผูร้ ักษาการ (ปลดั สำนักนายรฐั มนตร)ี

นิยามออกขอ้ สอบบอ่ ยมาก

4. “งานสารบรรณ” หมายถึง งานที่เก่ียวกับการบริหารงานเอกสาร เร่ิมต้ังแต่การจัดทำ
การรับ การส่ง การเก็บรกั ษา การยืม จนถงึ การทำลาย !!! จำสูตร (6 Step = ทํา - รับ - สง - เก็บ -
ยมื - ทาํ ลาย) และอีกอยา่ งถ้าถาม “งานสารบรรณ” ใหห้ าคำวา่ บริหาร

5. “หนงั สือ” หมายความว่า หนังสือราชการ

6.“อิเล็กทรอนิกส์” หมายความว่า การประยุกต์ใช้วิธีการทางอิเล็กตรอน ไฟฟ้า

คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าหรือวิธีอื่นใดในลักษณะคล้ายกัน และให้หมายความรวมถึงการประยุกต์ใช้วิธีการ

ทางแสง วธิ ีการทางแม่เหล็ก หรืออุปกรณ์ท่ีเกย่ี วข้องกบั การประยกุ ตใ์ ช้วธิ ีต่างๆ เช่นว่านัน้

7.“ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์” หมายความว่า การรับส่งข้อมูลข่าวสารหรือหนังสือ

ผ่านระบบส่อื สารด้วยวิธกี ารทางอิเล็กทรอนกิ ส์

8. ประโยชนข์ องงานสารบรรณ มอี ยา่ งไร ????

- ทำใหก้ ารปฏบิ ตั งิ านเป็นระบบ - มีความเป็นระเบยี บ

- เกิดความประหยัด - สะดวกตอ่ การอ้างองิ และคน้ หา

- เกิดความตอ่ เนอ่ื งในการทำงาน - ระบบการทำงานมปี ระสทิ ธิภาพ

9. ผู้รกั ษาการ คือ ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี

10. ชนดิ ของหนังสอื

10.1 หนงั สอื ราชการ คือ เอกสารทเ่ี ปน็ หลักฐานในราชการ ไดแ้ ก่

(1) หนงั สอื ทมี่ ไี ปมาระหว่างสว่ นราชการ

(2) หนงั สือทีส่ ่วนราชการมีมไี ปถึงหน่วยงานอืน่ ใดซงึ่ มใิ ชส่ ว่ นราชการหรือท่ีมีไปถึงบุคคลภายนอก

(3) หนังสอื ที่หน่วยงานอื่นใดซ่ึงมใิ ช่สว่ นราชการ หรือบุคคลภายนอกมีมาถึงส่วนราชการ

(4) เอกสารทที่ างราชการจดั ทำข้ึนเพื่อเป็นหลักฐานในราชการ

(5) เอกสารท่ที างราชการจดั ทำขนึ้ ตามกฎหมาย ระเบยี บ หรือขอ้ บงั คับ

เตรียมสอบ กกต

เตรียมสอบพนกั งาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตัง้ ชดุ ท่ี 2 422

(6) ข้อมูลข่าวสารหรอื หนงั สอื ทไ่ี ด้รบั จากระบบสารบรรณอเิ ล็กทรอนกิ ส์

10.2 ชนิดของหนงั สอื ราชการมี 6 ชนดิ ดงั นี้

(1) หนงั สือภายนอก → ใชต้ ดิ ต่อราชการทัว่ ไป

(2) หนงั สอื ภายใน → ใชต้ ดิ ต่อภายในกระทรวง กรม จงั หวัดเดียวกัน

(3) หนังสอื ประทบั ตรา → ใช้ตดิ ต่อราชการเฉพาะกรณที ไ่ี ม่ใชเ่ รอื่ งสำคญั

(4) หนงั สือส่ังการ → คำสัง่ ระเบยี บ ขอ้ บงั คบั

(5) หนงั สอื ประชาสัมพนั ธ์ → ประกาศ แถลงการณ์ และขา่ ว

(6) หนงั สือทีเ่ จ้าหนา้ ที่ทำขึน้ หรอื รบั ไว้เป็นหลกั ฐานในราชการ → หนังสอื รับรอง

รายงานการประชุม บนั ทกึ และหนังสอื อื่น

ออกขอ้ สอบบอ่ ยมาก!!!
(ต้องจำให้ได)้ ภายนอก ภายใน ประทบั ตรา สงั่ การ ประชาสมั พันธ์ ทำขน้ึ หรือรบั ไว้

เปน็ หลกั ฐาน

10.3 แบบหนงั สือราชการ มี 11 แบบ ดังนี้

(1) หนงั สอื ภายนอก (5) ระเบยี บ (9) ข่าว
(10) หนงั สือรบั รอง
(2) หนงั สอื ภายใน (6) ขอ้ บังคบั (11) รายงานการประชมุ

(3) หนงั สอื ประทับตรา (7) ประกาศ

(4) คำสัง่ (8) แถลงการณ์

 ขอ้ สงั เกต 

 สำหรับ “บันทึก” ตามระเบียบงานสารบรรณไม่ได้กำหนดแบบไว้ “บันทึก”
จงึ ไม่มีแบบ แต่โดยปกตใิ ห้ใช้กระดาษบันทกึ ขอ้ ความในการจัดทำ

 หนังสือทั้ง 11 แบบข้างต้น สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี กำหนดให้ใช้
อกั ษรฟอนต์ Th saraban

 เพราะฉะน้ัน ถ้าเป็นหนังสือ หรือเอกสารอ่ืนท่ีใช้แนบไปกับหนังสือ ไม่ได้อยู่ใน
บังคับว่าต้องเป็น Th saraban แต่เพ่ือความเป็นมาตรฐานเดียวกัน การพิมพ์หนังสือหรือเอกสารต่าง
ๆ ในหนว่ ยงานราชการควรใชอ้ กั ษรฟอนต์ Th saraban ทั้งหมด รวมทงั้ การใชเ้ ลขไทยด้วย

11. ลกั ษณะของหนงั สอื ภายนอก
11.1 เปน็ หนงั สือติดต่อราชการท่เี ป็นแบบพธิ ี ใช้กระดาษตราครฑุ (A4)

ถ้าถาม หนังสอื ภายนอก ใหห้ าคำว่า แบบพธิ ี
11.2 ใช้ติดตอ่ ราชการระหวา่ งกระทรวง กรม จงั หวัดหรือหน่วยงานอ่นื หรือ
บุคคลภายนอก

เตรียมสอบ กกต

เตรยี มสอบพนกั งาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง ชดุ ที่ 2 423
11.3 ส่วนราชการเจ้าของเร่ือง ถ้าส่วนราชการท่ีออกหนังสืออยู่ในระดับกระทรวง
หรือทบวง ให้ลงชื่อส่วนราชการเจ้าของเรื่องทั้งระดับกรมและกอง ถ้าส่วนราชการท่ีออกหนังสืออยู่
ในระดบั กรมลงมา ใหล้ งชื่อสว่ นราชการเจา้ ของเรื่องเพยี งระดับกองหรือหน่วยงานที่รบั ผดิ ชอบ
กระทรวงหรอื ทบวง = กรมและกอง , กรมลงมา = กองหรอื หน่วยงานท่รี ับผดิ ชอบ
แบบหนงั สอื ภายนอก

12. ลักษณะของหนังสอื ภายใน
12.1 เปน็ หนังสอื ตดิ ต่อราชการท่ีเปน็ แบบพธิ ีนอ้ ยกวา่ ใช้กระดาษบนั ทกึ ข้อความ (A4)
ถา้ ถาม หนังสอื ภายใน ให้หาคำวา่ พธิ นี ้อยกวา่
12.2 ใช้ตดิ ต่อราชการในกระทรวง กรม จงั หวัดเดียวกัน
12.3 สว่ นราชการเจา้ ของเร่ือง ถา้ ส่วนราชการที่ออกหนงั สืออยใู่ นระดบั กระทรวง

หรอื ทบวง ใหล้ งช่ือส่วนราชการเจา้ ของเรอื่ งท้งั ระดบั กรมและกอง ถา้ สว่ นราชการท่ีออกหนงั สอื อยู่
ในระดบั กรมลงมา ใหล้ งช่ือสว่ นราชการเจา้ ของเรื่องเพยี งระดับกองหรือหน่วยงานท่ีรบั ผดิ ชอบ

กระทรวงหรอื ทบวง = กรมและกอง , กรมลงมา = กองหรือหน่วยงานทร่ี ับผดิ ชอบ
หนังสือภายนอกมีลกั ษณะการลงชื่อเหมือนกบั หนงั สอื ภายใน

เตรียมสอบ กกต

เตรยี มสอบพนักงาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลือกตัง้ ชดุ ที่ 2 424
แบบหนังสือภายใน

13. ลกั ษณะของหนงั สือประทบั ตรา
13.1 เป็นหนังสอื ประทบั ตราแทนการลงชอ่ื ของหัวหนาสวนราชการระดบั กรมขึ้นไป
โดยให้หัวหน้าส่วนราชการระดับกอง หรือผู้ท่ีไดรับมอบหมายจากหัวหน้าส่วนราชการ

ระดบั กรมข้ึนไป เปน็ ผู้รบั ผิดชอบลงชอ่ื ยอ่ กำกับตรา ใชก้ ระดาษตราครุฑ (A 4)
ถ้าถามหนงั สือประทบั ตรา ให้หาคำว่า ประทับตราแทนการลงช่ือ
ผูล้ งชอื่ ย่อกำกบั ตรา คอื หน. ส่วนราชการระดบั กอง หรอื ผ้ทู ไ่ี ดร้ บั มอบ
13.2 การใชหนงั สอื ประทบั ตรา
หนงั สอื ประทับตราใหใชไดทั้งระหวางสวนราชการกับสวนราชการ และระหวางสวนราชการ

กบั บคุ คลภายนอก เฉพาะกรณีที่ไมใชเร่อื งสาํ คญั ไดแก
เตรียมสอบ กกต

เตรยี มสอบพนักงาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลือกตัง้ ชดุ ท่ี 2 425

(1) การขอรายละเอยี ดเพ่มิ เติม
(2) การสงสาํ เนาหนังสือ ส่ิงของ เอกสาร หรือบรรณสาร
(3) การตอบรบั ทราบท่ีไมเก่ียวกับราชการสาํ คัญ หรือการเงิน
(4) การแจงผลงานทไี่ ดดาํ เนินการไปแลวใหสวนราชการทีเ่ กย่ี วของทราบ
(5) การเตอื นเรอ่ื งท่ีคาง
(6) เร่ืองซึ่งหัวหนาสวนราชการระดบั กรมข้นึ ไปกำหนดโดยทำเปนคำสง่ั ใหใช หนังสอื ประทบั ตรา
ขอ - สง - ตอบรับ - แจง - เตอื น กำหนดใหใช

ขอ - ส่ง - ตอบรบั - แจง้ - เตอื น กำหนดใหใ้ ช้

14. หนงั สือสงั่ การมี 3 ชนดิ ไดแก คําสัง่ ระเบยี บ และขอบังคับ
(1) คำส่งั คือ บรรดาขอความท่ีผบู ังคบั บญั ชาสงั่ การใหปฏบิ ัติโดยชอบดวยกฎหมาย

ใชกระดาษตราครุฑ (A 4)
(2) ระเบียบ คือ บรรดาขอความท่ผี มู อี าํ นาจหนาทไ่ี ดวางไว โดยจะอาศัยอํานาจของ

กฎหมายหรือไมกไ็ ด เพื่อถอื เปนหลกั ปฏิบตั งิ านเปนการประจํา ใชกระดาษตราครุฑ
(3) ขอบงั คับ คือ บรรดาขอความท่ีผมู ีอํานาจหนาทีก่ าํ หนดใหใชโดยอาศัยอํานาจของ

กฎหมายท่ีบญั ญัตใิ หกระทาํ ได ใชกระดาษตราครุฑ (A 4)
จดุ จบั /จุดจํา
ถา้ ถาม คาํ ส่งั ใหห้ าคําว่า สง่ั การให้
ถา้ ถาม ระเบยี บ ใหห้ าคําว่า วางไว้
ถา้ ถาม ขอ้ บังคับ ให้หาคําวา่ กำหนดใหใ้ ช้
*** และทง้ั หมดทงั้ 3 ชนิดใชก้ ระดาษตราครุฑ

15. หนังสอื ประชาสมั พันธ
(1) หนังสือประชาสมั พันธ มี 3 ชนิด ไดแก ประกาศ แถลงการณ และขาว
(2) ประกาศ คือ บรรดาขอความท่ีทางราชการประกาศหรือช้ีแจงให้ทราบ หรือแนะ

แนวทางปฏิบตั ิ ใชกระดาษตราครุฑ
(3) แถลงการณ คือบรรดาขอความท่ที างราชการแถลงเพอ่ื ทําความเขาใจในกจิ การของ

ทางราชการ หรอื เหตกุ ารณหรือกรณใี ด ๆ ใหทราบชดั เจนโดยทั่วกนั ใชกระดาษตราครฑุ

เตรียมสอบ กกต

เตรยี มสอบพนักงาน สำนักงานคณะกรรมการการเลอื กตัง้ ชดุ ท่ี 2 426

(4) ขาว คอื บรรดาขอความทที่ างราชการเห็นสมควรเผยแพรใหทราบ
จุดจบั /จดุ จํา
ถา้ ถาม ประกาศ ใหห้ าคาํ วา่ ประกาศ
ถ้าถาม แถลงการณ ใหห้ าคำว่า แถลง
ถ้าถาม ขา่ ว ใหห้ าคาํ ว่า เผยแพร่

16. หนังสือที่เจ้าหน้าท่ีทำขึ้นหรือรับไว้เป็นหลักฐานในราชการ คือ หนังสือท่ีทางราชการ ทำข้ึน
นอกจาก 4 ชนิด ได้แก (1) หนังสือรบั รอง (2) รายงานการประชุม (3) บนั ทกึ (4) หนังสอื อื่น

16.1 หนังสือรับรอง คือ หนังสือที่สวนราชการออกใหเพื่อรับรองแก บุคคล นิติบุคคล
หรือหนวยงาน เพื่อวัตถุประสงคอยางหน่ึงอยางใดใหปรากฏแกบุคคลโดยทั่วไปไมจำเพาะเจาะจง
ใชก้ ระดาษตราครุฑ

ในกรณีท่ีการรับรองเปนเร่ืองสําคัญที่ออกใหแกบุคคลใหติดรูปถาย ขนาด 4 x 6 ซ.ม.
ประทบั ตราช่ือสวนราชการทีอ่ อกหนังสือบนขอบลางดานขวาของรูปถายคาบตอลงบนแผนกระดาษ

16.2 รายงานการประชุม คือ การบันทึกความคิดเห็นของผูมาประชุม ผู้เขารวม
ประชมุ และมตขิ องท่ปี ระชมุ ไวเปนหลกั ฐาน

16.3 บันทึก คือ ขอความซ่ึงผูใตบังคับบัญชาเสนอตอผูบังคับบัญชา หรือผูบังคับ
บญั ชา ส่ังการแก่ผูใตบังคบั บัญชาหรือขอความที่เจาหนาที่ หรอื หนวยงานระดบั ต่ำกวาสวนราชการ
ระดับกรมตดิ ตอกันในการปฏบิ ตั ิราชการ

16.4 หนังสืออื่น คือ หนังสือหรือเอกสารอื่นใดที่เกิดขึ้นเนื่องจากการปฏิบัติงานของ
เจ้าหน้าที่เพื่อเปน็ หลักฐานในราชการ ซ่ึงรวมถึงภาพถา่ ย ฟิล์ม แถบบันทึกเสียง แถบบันทึกภาพ และ
สื่อกลางบันทึกข้อมูล หมายความถึง สื่อใด ๆ ท่ีอาจใช้บันทึกข้อมูลได้ด้วยอุปกรณ์ทาง
อิเล็กทรอนิกส์ เช่น แผ่นบันทึกข้อมูล เทปแม่เหล็ก จานแม่เหล็ก แผ่นซีดี-อ่านอย่างเดียวหรือแผ่น
ดิจิทัลอเนกประสงค์ด้วย หรือหนังสือของบุคคลภายนอก ท่ีย่ืนต่อเจ้าหน้าที่ และเจ้าหน้าที่ได้รับเข้า
ทะเบียนรับหนังสือของทางราชการแล้ว ซึ่งในระเบียบงานสารบรรณได้กำหนดให้หนังสืออื่น เป็นหนังสือ
ชนิดท่ี 6 เชน่ กนั
ยกเว้นมีแบบตามกฎหมายเฉพาะเรื่องใหทําตามแบบ เชน โฉนด แผนที่ แบบ แผนผัง สัญญา หลักฐาน
การสบื สวนและสอบสวน และคํารอง เปนตน

เตรียมสอบ กกต

เตรียมสอบพนกั งาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลอื กตัง้ ชุดท่ี 2 427

ข้อแตกต่างระหวา่ ง “หนงั สอื ภายใน” กับ “บนั ทกึ ”

หนังสือภายใน บนั ทกึ

• เป็นหนังสือติดต่อราชการท่ีเปน็ • คอื ขอ้ ความซึง่ ผู้ใตบ้ งั คับบญั ชาเสนอต่อ
แบบพิธีน้อยกว่าหนงั สือภายนอก ผบู้ ังคับบัญชาหรือผบู้ งั คบั บัญชาสงั่ การแก่
ผใู้ ต้บงั คับบญั ชา
• เป็นหนังสอื ติดตอ่ ภายในกระทรวง ทบวง
กรม หรือจังหวัดเดยี วกัน • หรือหน่วยงานระดบั ต่ำกว่าส่วนราชการ
ระดับกรม (เชน่ กอง ฝา่ ย) ตดิ ตอ่ กนั ใน
• ใช้กระดาษบนั ทึกข้อความ การปฏิบัตริ าชการ

• จัดทำตามแบบท่ี 2 ท้ายระเบยี บฯ • โดยปกติใหใ้ ชก้ ระดาษบนั ทกึ ขอ้ ความหรอื
• เป็นหนงั สอื ชนดิ ที่ 2 กระดาษอนื่ ก็ได้
• ใหล้ งชื่อสว่ นราชการเจ้าของเร่อื ง
• หรือหนว่ ยงานทอ่ี อกหนังสอื • ไมม่ ีแบบ
• เปน็ หนงั สอื ชนดิ ที่ 6
• มีรายละเอียดพอสมควร • ใหล้ งช่ือหรือตำแหนง่ ทบี่ นั ทกึ ถงึ
• โดยใช้คำขน้ึ ตน้ ตามทก่ี ำหนดไว้ใน
• โดยปกตถิ า้ ส่วนราชการท่ีออกหนังสอื อยู่
ในระดับกรมขนึ้ ไป ให้ลงชอ่ื สว่ นราชการ ภาคผนวก 2
เจา้ ของเรอ่ื งทง้ั ระดับกรม และกอง • สาระสำคัญของเรื่อง ใหล้ งใจความของเร่อื ง

• ถา้ ต่ำกว่ากรมลงมา ให้ลงชอ่ื สว่ นราชการ ท่ีบนั ทกึ ถ้ามีเอกสารประกอบก็ใหร้ ะบุไวด้ ว้ ย
เจ้าของเร่อื งเพียงระดบั กองหรอื สว่ นราชการ • ใหล้ งช่ือและตำแหนง่ ของผบู้ ันทกึ
เจา้ ของเร่อื งพร้อมทัง้ โทรศพั ท์ (ถ้ามี)
• ในกรณีทีไ่ มใ่ ชก้ ระดาษบันทกึ ข้อความให้
ลงวนั เดอื น ปี ทบ่ี ันทกึ ดว้ ย

17. การระบชุ น้ั ความเร็ว
17.1 ด่วนท่สี ุด ให้เจา้ หนา้ ทปี่ ฏิบตั ใิ นทนั ทีทไี่ ด้รบั หนงั สือนั้น
17.2 ดว่ นมาก ให้เจ้าหน้าท่ีปฏบิ ตั โิ ดยเร็ว
17.3 ดว่ น ใหเ้ จ้าหน้าทป่ี ฏบิ ตั เิ รว็ กวา่ ปกติ เทา่ ท่จี ะทำได้
ให้ระบชุ ้ันความเร็วด้วยตวั อักษรสแี ดงขนาดไมเ่ ลก็ กว่าตัวพิมพ์โปง้ 32 พอยท์ ให้

เห็นไดช้ ัดบนหนงั สือและบนซอง
18. การสงหนงั สอื ดวยระบบอิเล็กทรอนกิ ส

เตรียมสอบ กกต

เตรยี มสอบพนักงาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลอื กตง้ั ชุดที่ 2 428

18.1 การติดตอราชการนอกจากการจะดําเนนิ การโดยหนังสือทเี่ ปนเอกสารสามารถ
ดําเนินการดวยระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกสได ในกรณีที่ติดตอราชการดวยระบบสารบรรณ
อิเล็กทรอนิกส ใหผูสงตรวจสอบผลการสงทุกคร้ังและใหผูรับแจงตอบรับ เพื่อยืนยันวาหนังสือ
ไดจดั สงไปยงั ผรู ับเรยี บรอยแลว

18.2 การสงขอความทางเครื่องมือสื่อสาร เชน โทรเลข วิทยุโทรเลข โทรพิมพ
โทรศัพท วิทยุสื่อสาร วิทยุกระจายเสียง หรือวิทยุโทรทัศน เปนตน ใหผูรับปฏิบัติเชนเดียวกับไดรับ
หนงั สือ ในกรณีทีจ่ ําเปน ตองยนื ยนั เปนหนังสอื ใหทาํ หนังสือยืนยนั ตามไปทนั ที

18.3 การสงขอความทางเคร่ืองมือส่ือสารซึ่งไมมหี ลักฐานปรากฏชัดแจง เชน ทางโทรศัพท
วิทยุสือ่ สาร วิทยกุ ระจายเสยี ง หรอื วทิ ยุโทรทัศน เปนตน ใหผสู งและผูรับบันทึกขอความไวเปนหลกั ฐาน

19. การทำสำเนาหนังสือราชการ
ตามระเบียบงานสารบรรณ ได้กำหนดให้หนังสือท่ีจัดทำข้ึนต้องมีสำเนาหนังสือด้วย และ
โดยปกติ ให้มี สำเนาคู่ฉบับ เก็บไว้ท่ีต้นเรื่อง 1 ฉบับ และให้มี สำเนา เก็บไว้ท่ีหน่วยงานสารบรรณกลาง
1 ฉบบั
สำเนาคู่ฉบับ ให้ผู้ลงช่ือในหนังสือ (อธิบดี หรือ ผอ. กอง/สำนัก แล้วแต่กรณี) ลงลายมือชื่อ
หรือลายมือชื่อย่อ และให้ผู้ร่าง ผู้พิมพ์ ผู้ตรวจ ลงลายมือชื่อ หรือลายมือชื่อย่อไว้ที่ข้างท้ายขอบล่าง
ด้านขวาของหนังสือ
หนังสือที่เจ้าของหนังสือเห็นว่ามีส่วนราชการอื่นที่เก่ียวข้องควรได้รับทราบด้วยโดยปกติให้ส่ง
สำเนาไปให้ทราบโดยทำเป็นหนังสือประทบั ตรา
สำเนาหนังสือตามวรรคหน่ึงให้มีคำรับรองว่า สำเนาถูกต้อง โดยให้ข้าราชการพลเรือนหรือ
พนักงานส่วนท้องถ่ินประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ หรือประเภททั่วไป ระดับชำนาญงาน ขึ้นไป หรือ
เจ้าหน้าที่ของรัฐอ่ืนที่เทียบเท่า หรือพนักงานราชการ ซ่ึงเป็นเจ้าของเรื่องที่ทำสำเนาหนังสือนั้น
ลงลายมือชื่อรับรอง พร้อมทั้งลงชื่อตัวบรรจง ตำแหน่ง และวัน เดือน ปีที่รับรอง ไว้ท่ีขอบล่างของ
หนงั สอื (ระวงั !!! ไมไ่ ด้ระบวุ า่ ซ้ายหรือขวา)
20. หนังสือเวียน (ว) คือ หนังสือที่มีถึงผู้รับเป็นจำนวนมาก มีใจความอย่างเดียวกัน ให้เพิ่ม
รหัสตัวพยัญชนะ ว หน้าเลขทะเบียนหนังสือส่ง ซ่ึงกำหนดเป็นเลขท่ีหนังสือเวียนโดยเฉพาะ เร่ิมต้ังแต่
เลข 1 เรียงเป็นลำดับไปจนถึงส้ินปปี ฏิทิน หรือใช้เลขท่ีของหนังสือทั่วไปตามแบบหนังสือภายนอกอย่าง
หนง่ึ อย่างใด
21. หนังสือรบั คือ หนงั สือท่ีไดรบั เขามาจากภายนอก หนงั สอื รบั มขี ้ันตอนการปฏิบตั ิ ดงั น้ี

(1) จัดลาํ ดบั ความสําคญั และความเรงดวน
(2) ประทบั ตรารบั หนงั สอื
(3) ลงทะเบยี นรบั หนงั สือในทะเบียนหนงั สือรับ
(4) จดั แยกหนังสอื ทล่ี งทะเบยี นรบั แลวสงใหสวนราชการท่เี กีย่ วของ
22. หนังสอื สง คอื หนังสอื ท่ีสงออกไปภายนอก หนังสอื สงมีขัน้ ตอนการปฏบิ ตั ดิ ังน้ี

เตรยี มสอบ กกต

เตรียมสอบพนักงาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลือกตัง้ ชุดที่ 2 429

(1) ตรวจสอบความเรียบรอย แลวสงเรื่องใหหนวยงานสารบรรณกลาง
(2) เจา้ หน้าทห่ี นวยงานสารบรรณกลาง ตรวจความเรียบรอยอีกคร้งั แลวปดผนึก
หนังสือท่ีไมมีความสาํ คัญมากนัก อาจสงไปโดยวธิ ีพับยึดติดดวยแถบกาว กาว เย็บดวยลวดหรอื วิธอี ื่น
แทนการบรรจซุ อง
การสงหนังสือโดยทางไปรษณีย ใหถือปฏิบัติตามระเบียบ หรือวิธีการที่การสื่อสารแหง
ประเทศไทยกาํ หนด
การสงหนังสือซ่ึงมิใชเปนการสงโดยทางไปรษณีย เมื่อสงหนังสือใหผูรับแลว ผูสงต
องใหผูรับ ลงชื่อรับในสมุดสงหนังสือ หรือใบรับ แลวแตกรณี ถาเปนใบรับใหนําใบรับน้ันมาผนึกติดไวที่
สําเนาคูฉบับ
23. การเกบ็ รกั ษา การเก็บหนงั สอื แบงออกได 3 ประเภท คอื
(1) การเก็บระหวางปฏิบัติ คือ การเก็บหนังสือท่ีปฏิบัติยังไมเสร็จใหอยูใน
ความรบั ผิดชอบของเจาของเรอ่ื งโดยใหกำหนดวิธกี ารเกบ็ ใหเหมาะสมตามขน้ั ตอนของการปฏบิ ัติงาน
(2) การเก็บเม่ือปฏิบตั ิเสร็จแลว คือ การเก็บหนงั สอื ที่ปฏิบัตเิ สร็จเรียบรอยแลว และ
ไมมอี ะไรทีจ่ ะตองปฏิบัติตอไปอกี การเก็บเมอ่ื ปฏิบัตเิ สร็จแลว
(3) การเก็บไวเพ่ือใชในการตรวจสอบ คือ การเก็บหนังสอื ท่ปี ฏบิ ัติเสร็จเรยี บรอยแลว
แตจําเปนจะตองใชในการตรวจสอบเปนประจํา ไมสะดวกในการสงไปเกบ็ ยงั หนวยเก็บของสวนราชการ

จดุ จบั /จุดจาํ
การเก็บระหวา่ งปฏบิ ตั ิ = ปฏบิ ตั ิยงั ไมเสร็จ
การเกบ็ เมอ่ื ปฏบิ ัติเสร็จแลว = ปฏบิ ัตเิ สร็จเรยี บร้อยแล้ว + ไม่มอี ะไรต้องปฏบิ ตั อิ ีก
การเกบ็ ไวเพือ่ ใช้ ในการตรวจสอบ= ปฏบิ ตั ิเสรจ็ เรียบรอ้ ยแลว + ใชป้ ระจํา

24. ตรากาํ หนดเกบ็ หนังสอื
24.1 เก็บไวตลอดไป หนังสือที่ตองเก็บไวตลอดไป ใหประทับตราคําวา หามทําลาย

ดวยหมกึ สแี ดง
24.2 เก็บโดยมีกำหนดเวลา หนังสือท่ีเก็บโดยมีกำหนดเวลา ให้ประทับตราคำวา

เกบ็ ถึง พ.ศ. ... ดวย หมึกสีนำ้ เงิน
การเก็บระหวางปฏิบัติ = ปฏบิ ัตยิ งั ไมเสร็จ
การเก็บเมื่อปฏิบตั ิเสร็จแลว = ปฏบิ ตั เิ สรจ็ เรียบรอยแลว+ ไมมอี ะไรตองปฏิบตั ิอกี

25. อายุในการเกบ็ หนงั สอื อายกุ ารเก็บหนงั สอื โดยปกติใหเกบ็ ไวไมนอยกวา10 ป เวนแต
(1) หนงั สอื ที่ตองสงวนเปนความลบั
(2) หนงั สอื ที่เปนหลกั ฐานทางอรรถคดี สํานวนของศาล หรอื ของพนักงานสอบสวน
(3) หนงั สือที่มคี ุณคาทางประวตั ิศาสตรทุกสาขาวิชา ใหเกบ็ ไวตลอดไป
(4) หนงั สือที่ไดปฏบิ ตั ิงานเสรจ็ สิน้ แลว และเปนคสู ําเนาเก็บไวไมนอยกวา5 ป

เตรยี มสอบ กกต

เตรยี มสอบพนักงาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกต้งั ชุดท่ี 2 430

(5) หนังสือที่เปนเรื่องธรรมดาสามัญซ่ึงไมมีความสําคัญและเปนเร่ืองท่ีเกิดขึ้นเป
นประจําเกบ็ ไวไมนอยกวา1 ป

(6) หนังสือหรือเอกสารเกี่ยวกับการรับเงิน การจายเงิน หรือการกอหน้ีผูกพัน
ทางการเงินที่ไมเปนหลักฐานแหงการกอ เปล่ียนแปลง โอน สงวน หรือระงับซ่ึงสิทธิในทางการเงิน
เมือ่ สํานกั งาน

(7) การตรวจเงนิ แผนดินตรวจสอบแลวไมมีปญหา ใหเก็บไวไมนอยกวา 5 ป หนังสือ
เก่ียวกับการเงิน ซึ่งเห็นวาไมมีความจําเปนตองเก็บไวถึง10 ป หรือ5 ป แลวแตกรณี ใหทําความตกลง
กบั กระทรวงการคลงั

26. หนงั สือทคี่ รบกําหนดสง
ทุกปปฏทิ ินใหสวนราชการจดั สงหนังสอื ท่มี ีอายคุ รบ20 ป ใหสาํ นักหอจดหมายเหตุแหงชาติ
กรมศิลปากร ภายในวันท่ี 31 มกราคมของปถดั ไป
27. บัญชหี นงั สอื สงมอบและบญั ชีหนงั สอื
บัญชสี งมอบหนังสอื ครบ20 ป และบัญชหี นังสือครบ20 ปท่ีขอเก็บเอง อยางนอย ใหมีตนฉบับ
และสําเนาคูฉบับ เพื่อใหสวนราชการผูมอบและสํานักหอจดหมายเหตุแหงชาติ กรมศิลปากรผูรับมอบ
ยึดถือไวเปนหลักฐานฝายละฉบับ
28. การเก็บรกั ษาหนงั สือ
การรกั ษาหนังสือ ใหเจาหนาทรี่ ะมัดระวังรกั ษาหนังสอื ใหอยใู นสภาพใชราชการ ไดทกุ โอกาส

(1) หากชาํ รดุ เสยี หายตองรบี ซอมใหใชราชการไดเหมอื นเดมิ
(2) หากสญู หายตองหาสำเนามาแทน
(3) ถาชำรุดเสียหายจนไมสามารถซอมแซมใหคงสภาพเดิมได ให้รายงานผูบังคับ
บัญชาทราบ
29. การยืม
(1) การยืมหนังสือระหวางสวนราชการ ผูยืมและผูอนุญาตใหยืมตองเปนหัวหนา
สวนราชการระดบั กองขน้ึ ไป หรอื ผูท่ไี ดรับมอบหมาย
(2) การยืมหนังสือภายในสวนราชการเดียวกัน ผูยืมและผูอนุญาตใหยืมตองเปนหัว
หนา สวนราชการระดบั แผนกข้ึนไป หรอื ผูท่ีไดรับมอบหมาย
(3) การใหบุคคลภายนอกยืมหนังสือจะกระทํามิได เวนแตจะใหดูหรอื คัดลอกหนังสือ
ทั้งนจี้ ะตอ้ งไดรับอนุญาตจากหวั หนาสวนราชการระดับกองข้นึ ไป
30. การทำลาย
(1) ภายใน 60 วันหลังจากวันส้ินปปฏิทิน ใหสํารวจหนังสือท่ีครบกําหนดแลวจัดทําบัญชี
หนงั สอื ขอทําลายเสนอหัวหนาสวนราชการระดบั กรม
(2) หัวหนาสวนราชการระดับกรม แตงต้ังคณะกรรมการทําลายหนังสือ ประกอบดวย
ประธานกรรมการ 1 คนกรรมการอย่างน้อย 2 คนโดยปกติให้แต่งตั้งจากข้าราชการพลเรือนหรือ

เตรยี มสอบ กกต

เตรยี มสอบพนกั งาน สำนักงานคณะกรรมการการเลอื กต้ัง ชุดที่ 2 431

พนักงานส่วนท้องถิ่น ประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ หรือประเภททั่วไป ระดับชํานาญงาน ข้ึนไป
หรือเจ้าหน้าที่ของรฐั อืน่ ทีเ่ ทียบเทา่ ”

(3) ถาคณะกรรมการเห็นวาหนังสือควรใหทําลายใหกรอกเครื่องหมายกากบาท (x)
ลงในชอง การพจิ ารณาแลวรายงานผลตอหวั หนาสวนราชการระดบั กรม

(4) ความเห็นของหัวหนาสวนราชการระดับกรม ไมควรทําลายใหเก็บหนังสือน้ันไว
จนกวาจะถึงเวลาทําลายงวดตอไป กรณีควรทําลาย ให้สงบัญชหี นังสือขอทําลายใหกองจดหมายเหตแุ ห
งชาติ กรมศิลปากร กรณีความเห็นของกองจดหมายเหตุแหงชาติ ไมควรทําลายหรือขยายเวลาในการ
เก็บใหแจงสวนราชการทราบ และใหสวนราชการดาํ เนินการตามท่ีไดรับแจง

กรณีความเห็นของกองจดหมายเหตุแห่งชาติ ควรทําลาย ใหแจงสวนราชการทราบ/
ถาไมแจงภายใน 60 วนั ถือวากองจดหมายเหตุแหงชาติ เหน็ ชอบ

31. ตราครุฑ
31.1 ตราครฑุ สําหรบั แบบพิมพ มี 2 ขนาด คือ
(1) ขนาดตวั ครฑุ สูง 3 เซนตเิ มตร
(2) ขนาดตัวครุฑสงู 1.5 เซนตเิ มตร

32. ตราช่ือสวนราชการ
32.1 ตราชอ่ื สวนราชการใหใช มลี กั ษณะเปนรปู วงกลมสองวง ซอนกนั เสนผาศนู ยกลางวง

นอก 4.5 เซนติเมตร วงใน 3.5 เซนติเมตร ลอมครุฑครุฑสูง3 เซนติเมตร ระหวางวงนอกและวงใน
มีอักษรไทยช่ือกระทรวงทบวง กรม หรือสวนราชการที่เรียกช่ืออยางอื่น ที่มีฐานะเปนกรมหรือจังหวัด
อยขู อบลางของตรา

32.2 สวนราชการใดท่ีมีการติดตอกับตางประเทศ จะใหมีช่ือภาษาตางประเทศ
เพม่ิ ข้ึนดวยก็ได โดยใหอ้ ักษรไทยอยขู่ อบบน และอกั ษรโรมันอยู่ขอบล่างของตรา

สรรพนามท่ีใช้ในหนังสือ ให้ใช้ตามฐานะแห่งความสัมพนั ธร์ ะหว่างเจ้าของหนังสือและ
ผรู้ ับหนงั สอื

เตรยี มสอบ กกต

เตรียมสอบพนกั งาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกต้งั ชุดท่ี 2 432

1. พระราชวงศ์ คำขนึ้ ตน้ คำลงท้าย คำที่ใชใ้ นการจา่
ผ้รู บั หนงั สือ หน้าซอง
ขอเดชะฝ่าละอองธลุ พี ระ ควรมคิ วรแลว้ แต่จะทรง
1.1 พระบาทสมเดจ็ บาท พระกรณุ า ขอพระราชทาน
พระเจ้าอยหู่ ัว ปกเกลา้ ปกกระหมอ่ ม โปรดเกลา้ โปรด ทลู เกล้า
ขา้ พระพทุ ธเจา้ กระหม่อมขอเดชะ ทลู กระหม่อมถวาย
(ออกชือ่ เจ้าของหนังสอื ) ข้าพระพุทธเจ้า ขอเดชะ
ขอพระราชทานพระบรม …. (ลงช่อื )
ราชวโรกาสกราบบังคมทูล
พระกรุณาทราบฝา่ ละออง
ธุลีพระบาท

2. พระภกิ ษุ คำขนึ้ ต้น คำลงท้าย คำท่ีใช้ในการจา่ หนา้
ผ้รู บั หนงั สือ ซอง
ควรมิควรแลว้ แต่จะ
2.1 สมเดจ็ พระสงั ฆราช กราบทลู … โปรด กราบทูล…
2.2 พระภกิ ษสุ งฆท์ ั่วไป (ออกพระนาม)… ขอนมัสการดว้ ยความ (ระบพุ ระนาม)…
นมสั การ … เคารพ นมสั การ …
(ออกนาม)… (ระบุพระนาม)

เตรียมสอบ กกต

เตรียมสอบพนกั งาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกต้ัง ชุดท่ี 2 433

3. บคุ คลธรรมดา ไดแ้ ก่ คำขนึ้ ต้น คำลงทา้ ย คำท่ใี ช้ในการจา่ หนา้ ซอง
กราบเรียน
ผ้รู บั หนงั สอื ขอแสดงความนับถือ กราบเรยี น
3.1 ประธานองคมนตรี เรียน อยา่ งย่ิง

นายกรฐั มนตรี ขอแสดงความนบั ถอื เรียน
ประธานรัฐสภา
ประธานสภาผแู้ ทนราษฎร
ประธานวฒุ สิ ภา
ประธานศาลฎกี า
ประธานศาล-
รฐั ธรรมนญู
ประธานศาลปกครองสูงสดุ
ประธานกรรมการการเลอื กต้งั
ประธานกรรมกา-
สิทธมิ นษุ ยชน
แหง่ ชาติ
ประธานกรรมการ-
ปอ้ งกันและ
ปราบปรามการ
ทจุ รติ แหง่ ชาติ
ประธานกรรมการ-
ตรวจเงินแผน่ ดิน
ผตู้ รวจการแผ่นดิน
อัยการสูงสดุ
รฐั บุรุษ
3.2 บคุ คลธรรมดา
(นอกจากข้อ 3.1)

ระวงั คำวา่ “ฯพณฯ” ไดย้ กเลิกการใชแ้ ลว้ ตามหนังสือเวยี นปี 2548

เตรยี มสอบ กกต

เตรยี มสอบพนักงาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลือกตัง้ ชุดท่ี 2 434

สรปุ
ระเบยี บสำนกั นายกรัฐมนตรี วา่ ดว้ ยการรกั ษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2552

1. บททั่วไป
2. องคก์ ารรกั ษาความปลอดภยั
3. หนา้ ท่ใี นการรกั ษาความปลอดภัย
4. ประเภทช้นั ความลับ
5. คณะกรรมการนโยบายรกั ษาความปลอดภยั แห่งชาติ
6. การรักษาความปลอดภยั เกย่ี วกับบุคคล
7. การรักษาความปลอดภัยเกย่ี วกับสถานที่
8. การรักษาความปลอดภัยในการประชุมลับ
9. การละเมิดการรกั ษาความปลอดภยั

1. บทท่วั ไป
1.1 ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2552

ประกาศ ณ วนั ที่ 3 กุมภาพันธ์ 2552 / ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 13 มีนาคม 2552 / ให้
ใช้บงั คบั เม่ือพ้นกำหนดเก้าสบิ วนั นบั แตว่ ันประกาศในราชกจิ จานุเบกษาเปน็ ตน้ ไป

1.2 แก้ไขเพ่ิมเติมโดย ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ
(ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2554 ประกาศ ณ วันที่ 23 พฤษภาคม 2554 / ประกาศในราชกจิ จานุเบกษา เมอ่ื วันที่
17 มิถนุ ายน 2554 / ใชบ้ ังคบั ตัง้ แต่วนั ถดั จากวันประกาศในราชกิจจานเุ บกษาเปน็ ต้นไป

1.3 แก้ไขเพิ่มเติมโดย ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ
(ฉบบั ที่ 3) พ.ศ. 2560 ประกาศ ณ วันที่ 31 ตุลาคม 2560 / ประกาศในราชกจิ จานุเบกษา เม่ือวันท่ี 22
พฤศจิกายน 2560 / ให้ใชบ้ ังคบั ตงั้ แต่วันถัดจากวนั ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาเป็นตน้ ไป

1.4 ระเบียบสำนักนายกรฐั มนตรี วา่ ด้วยการรกั ษาความปลอดภยั แห่งชาติ พ.ศ. 2552 ออกโดย
อาศัยอำนาจตามพระราชบัญญตั ิระเบยี บบรหิ ารราชการแผ่นดนิ พ.ศ. 2534

1.5 นายกรัฐมนตรีรักษาการตามระเบยี บสำนักนายกรัฐมนตรี วา่ ด้วยการรักษาความปลอดภัย
แห่งชาติ พ.ศ. 2552 (ระเบยี บฯ ขอ้ 6)

เตรยี มสอบ กกต. 2564

เตรียมสอบพนกั งาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลือกต้งั ชุดที่ 2 435

1.6 กรณีท่ีเห็นเป็นการสมควรหรืออย่างน้อยทุก 5 ปี ให้นายกรัฐมนตรีจัดให้มีการทบทวนการ
ปฏิบัตติ ามระเบยี บ และพิจารณาแก้ไขเพ่มิ เติมใหเ้ หมาะสม (ระเบียบฯ ขอ้ 13)

1.7 เพอ่ื ประโยชน์ในการรักษาความปลอดภยั ของประเทศ องคก์ รตามรัฐธรรมนูญ สว่ นราชการ
สังกัดรัฐสภา องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และหน่วยงานอ่ืนใดของรัฐ อาจนำระเบียบนี้ไปใช้บังคับโดย
อนโุ ลม (ระเบยี บฯ ข้อ 14)
2. องคก์ ารรกั ษาความปลอดภยั

“องค์การรักษาความปลอดภัย” หมายความว่า สำนักข่าวกรองแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี
หรือศูนย์รักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย กองทัพไทย กระทรวงกลาโหม หรือ
กองบญั ชาการตำรวจสนั ตบิ าล สำนักงานตำรวจแห่งชาติ แล้วแตก่ รณี

(1) สำนักข่าวกรองแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี เป็นองค์การรักษาความปลอดภัยฝ่ายพล
เรือน มีหน้าที่ให้คำแนะนำ ช่วยเหลือในเร่ืองการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติแก่หน่วยงานของรัฐฝ่าย
พลเรือน และกำกับดูแล ตรวจสอบ พร้อมทั้งพิจารณาแก้ไขข้อบกพร่องเพื่อให้ระบบการรักษาความ
ปลอดภัยนั้นได้ผลสมบูรณ์อยู่เสมอ ยกเว้นในส่วนที่เก่ียวข้องกับการรักษาความปลอดภัยแก่หน่วยงาน
ของรฐั ฝ่ายตำรวจ

(2) ศูนย์รักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย กองทัพไทย กระทรวงกลาโหมเป็น
องค์การรักษาความปลอดภยั ฝ่ายทหาร มีหน้าท่ีให้คำแนะนำ ชว่ ยเหลือในเร่ืองการรักษาความปลอดภัย
แห่งชาติแก่หน่วยงานของรัฐฝ่ายทหาร และกำกับดูแล ตรวจสอบ พร้อมท้ังพิจารณาแก้ไขข้อบกพร่อง
เพื่อใหร้ ะบบการรกั ษาความปลอดภยั น้ันไดผ้ ลสมบูรณอ์ ยเู่ สมอ

(3) กองบญั ชาการตำรวจสันติบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติ เปน็ องค์การรักษาความปลอดภัย
ฝ่ายตำรวจ มีหน้าทใ่ี หค้ ำแนะนำ ช่วยเหลือในเร่อื งการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติแกห่ น่วยงานของรัฐ
ฝ่ายตำรวจ และกำกับดูแล ตรวจสอบ พร้อมท้ังพิจารณาแก้ไขข้อบกพร่องเพ่ือให้ระบบการรักษาความ
ปลอดภยั น้นั ไดผ้ ลสมบรู ณอ์ ย่เู สมอ (ระเบียบฯ ข้อ 7)
3. หนา้ ที่ในการรกั ษาความปลอดภยั

3.1 หัวหน้าหน่วยงานของรัฐมีหน้าท่ีในการรักษาความปลอดภัยในหน่วยงาน กรณีที่หน่วยงาน
ของรัฐได้มอบหมายหรือทำสัญญาว่าจ้างให้บุคคลภายนอกดำเนินการอย่างหนึ่งอย่างใด ให้หัวหน้า
หน่วยงานของรัฐกำกับดูแลผู้ได้รับมอบหมายหรือผู้เป็นคู่สัญญาซึ่งเป็นบุคคลภายนอกดังกล่าวให้ต้อง
ปฏบิ ตั ใิ นการรกั ษาความปลอดภยั แห่งชาติตามระเบยี บ (ระเบยี บฯ ข้อ 8)

เตรียมสอบ กกต. 2564

เตรียมสอบพนักงาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง ชุดที่ 2 436

(“หน่วยงานของรัฐ” หมายความว่า ส่วนราชการตามกฎหมายว่าด้วยการปรับปรุงกระทรวง
ทบวง กรม และกฎหมายว่าดว้ ยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน รัฐวสิ าหกิจ และหน่วยงานอื่นของรัฐท่ี
อย่ใู นกำกับของฝา่ ยบรหิ ารแต่ไม่รวมถงึ องค์กรปกครองสว่ นท้องถ่นิ )

3.2 การมอบหมายให้เจ้าหน้าที่ของรัฐปฏิบัตงิ านเกย่ี วข้องกับส่ิงที่เป็นความลับของทางราชการ
ให้ยึดถือหลกั การจำกัดให้ทราบเท่าที่จำเป็น เพือ่ ปฏบิ ัติภารกิจท่ีไดร้ บั มอบหมายให้ลุล่วงไปดว้ ยดี ห้าม
ผู้ไม่มีหน้าท่ีหรือไม่ได้รับคำสั่งหรือไม่ได้รับการมอบหมายอย่างถูกต้องอ้างยศ ตำแหน่งหรืออิทธิพลใด
เพอื่ เขา้ ถึงสิ่งที่เปน็ ความลบั ของทางราชการ (ระเบียบฯ ขอ้ 11)
4. ประเภทช้ันความลับ

ชั้นความลับของสิ่งท่ีเปน็ ความลับของทางราชการ แบ่งออกเปน็ 3 ชั้น คอื
(1) ลบั ที่สดุ (TOP SECRET)
หมายความว่า ความลับที่มีความสำคัญที่สุดเกี่ยวกับบุคคลข้อมูลข่าวสาร วัตถุ สถานท่ี และ
ทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน ซึ่งหากความลับดังกล่าวท้ังหมดหรือเพียงบางส่วนรั่วไหลไปถึงบุคคลผู้ไม่มี
หน้าทไี่ ด้ทราบ จะทำใหเ้ กิดความเสยี หายตอ่ ความมน่ั คงและผลประโยชนแ์ หง่ รัฐอยา่ งรา้ ยแรงท่สี ุด
(2) ลบั มาก (SECRET)
หมายความว่า ความลับที่มีความสำคัญมากเก่ียวกับบุคคลข้อมูลข่าวสาร วัตถุ สถานท่ี และ
ทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน ซ่ึงหากความลับดังกล่าวท้ังหมดหรือเพียงบางส่วนรั่วไหลไปถึงบุคคลผู้ไม่มี
หน้าที่ได้ทราบ จะทำให้เกดิ ความเสยี หายตอ่ ความมนั่ คงและผลประโยชน์แห่งรฐั อยา่ งร้ายแรง
(3) ลับ (CONFIDENTIAL)
หมายความว่า ความลับที่มีความสำคัญเก่ียวกับบุคคลข้อมูลข่าวสาร วัตถุ สถานท่ี และ
ทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน ซึ่งหากความลับดังกล่าวทั้งหมดหรือเพียงบางส่วนรั่วไหลไปถึงบุคคลผู้ไม่มี
หนา้ ทไ่ี ดท้ ราบ จะทำใหเ้ กดิ ความเสยี หายต่อความมน่ั คงและผลประโยชนแ์ หง่ รัฐ
5. คณะกรรมการนโยบายรักษาความปลอดภยั แหง่ ชาติ
5.1 คณะกรรมการนโยบายรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ เรียกโดยย่อว่า “กรช” มี รัฐมนตรีท่ี
นายกรฐั มนตรมี อบหมาย เปน็ ประธานกรรมการ เลขาธกิ ารสภาความมัน่ คงแห่งชาติ เป็นกรรมการและ
เลขานกุ าร (ระเบียบฯ ข้อ 19)
5.2 มอี ำนาจหน้าท่ีดังต่อไปนี้

(1) กำหนดนโยบายและมาตรการการรักษาความปลอดภยั แหง่ ชาติ
(2) กำหนดแนวทางปฏิบัติและอำนวยการตามนโยบายและมาตรการการรักษาความ
ปลอดภยั แหง่ ชาติ

เตรยี มสอบ กกต. 2564

เตรยี มสอบพนกั งาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลือกต้ัง ชุดท่ี 2 437

(3) วนิ จิ ฉัยปญั หาท่ีเกี่ยวขอ้ งกับการปฏบิ ัติตามระเบยี บน้ี
(4) เสนอแนะการแก้ไขปรับปรุงระเบียบนี้ให้มีประสิทธิภาพและเหมาะสมกับ
สถานการณ์
(5) แต่งต้ังคณะอนุกรรมการหรือคณะทำงานเพื่อพิจารณาหรือปฏิบัติการอย่างหนึ่ง
อย่างใดตามท่ี กรช. มอบหมาย
(6) เชิญเจ้าหน้าท่ีของรัฐหรือบุคคลท่ีเกี่ยวข้องกับการดำเนินงานเก่ียวกับนโยบายและ
มาตรการการรักษาความปลอดภยั แห่งชาติมาช้ีแจง หรือเรียกเอกสารจากหน่วยงานของรัฐหรือบุคคลท่ี
เกยี่ วขอ้ งเพอื่ ประกอบการพิจารณาได้ตามความจำเปน็
(7) ออกประกาศเพอื่ ปฏิบัตกิ ารตามระเบียบน้ี
(8) ดำเนินการเก่ียวกับการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติตามท่ีคณะรัฐมนตรีหรือ
นายกรฐั มนตรีมอบหมาย (ระเบยี บฯ ขอ้ 20)
5.3 สำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี ทำหนา้ ที่เปน็ สำนักงานเลขานุการ
ของ กรช. (ระเบียบฯ ขอ้ 23)
6. การรกั ษาความปลอดภยั เก่ียวกับบคุ คล
6.1 หัวหน้าหน่วยงานของรัฐต้องกำหนดมาตรการสำหรับใช้ปฏิบัติกับผู้ที่อยู่ระหว่างรอว่าจ้าง
บรรจุ หรือแต่งต้ังเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐหรือเจ้าหน้าท่ีของรัฐหรือผู้ท่ีจะได้รับความไว้วางใจให้เข้าถึงส่ิงที่
เป็นความลับของทางราชการหรือให้ปฏิบัติหน้าที่เกี่ยวข้องกับภารกิจท่ีสำคัญหรือทรัพย์สินมีค่าของ
แผ่นดิน เพื่อเลือกเฟ้นและตรวจสอบให้ได้ผู้ท่ีมีคุณสมบัตเิ หมาะสมเป็นท่ีเชื่อแน่ว่าต้องเป็นผู้ที่ไม่เป็นภัย
และไม่ก่อให้เกิดความเสียหายต่อความม่ันคงและผลประโยชน์แห่งรัฐ กรณีที่ว่าจ้างบุคคลภายนอกต้อง
กำหนดหลักเกณฑ์และเงื่อนไขในสัญญาว่าจ้างเก่ียวกับการกำหนดมาตรการสำหรับใช้ปฏิบัติกับ
บุคคลภายนอกดังกล่าว เพ่ือไม่ให้เกิดความเสียหายต่อความม่ันคงและผลประโยชน์แห่งรัฐ (ระเบียบฯ
ข้อ 24)
6.2 การรักษาความปลอดภัยเกี่ยวกับบุคคล หน่วยงานของรัฐต้องตรวจสอบประวัติและ
พฤติการณ์บุคคล และรับรองความไว้วางใจบุคคลเพื่อให้เข้าถึงสิ่งที่เป็นความลับของทางราชการ
(ระเบยี บฯ ขอ้ 25)
6.3 หน่วยงานของรัฐต้องจัดให้มีการตรวจสอบประวัติและพฤติการณ์บุคคลโดยละเอียด
สำหรับบุคคลดงั ตอ่ ไปน้ี
(1) บุคคลทจี่ ะเขา้ ถงึ สง่ิ ท่ีเปน็ ความลบั ของทางราชการชัน้ ลบั ท่สี ุด หรือลบั มากหรอื การรหัส

เตรียมสอบ กกต. 2564

เตรยี มสอบพนักงาน สำนักงานคณะกรรมการการเลอื กตั้ง ชดุ ท่ี 2 438

(2) บุคคลที่มีพฤติการณ์ หรือปรากฏข่าวสาร หรือติดต่อกับบุคคล หรือองค์การท้ังภายในและ
ภายนอกประเทศ ท่จี ะเปน็ ภัยตอ่ ความม่นั คงและผลประโยชนแ์ ห่งรฐั

(3) บุคคลท่ีจะได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติหน้าท่ีเกี่ยวข้องกับภารกิจท่ีสำคัญหรือแต่งตั้งให้ดำรง
ตำแหน่งท่ีสำคัญในหน่วยงานของรัฐ รวมถึงบุคคลท่ีได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติงานเก่ียวข้องกับทรัพย์สิน
มีคา่ ของแผ่นดนิ (ระเบียบฯขอ้ 27)

6.4 หัวหน้าหน่วยงานของรัฐมีหน้าท่ีรับรองความไว้วางใจบุคคลเพื่อให้เข้าถึงส่ิงท่ีเป็นความลับ
ของทางราชการตามชั้นความลับที่จะได้มอบหมายให้ปฏิบัติโดยยึดถือผลการตรวจสอบประวัติและ
พฤตกิ ารณ์บคุ คลนนั้ (ระเบยี บฯ ขอ้ 28)

6.5 กรณีที่บุคคลใดจะพ้นจากภารกิจหรือตำแหน่งหน้าที่ท่ีเก่ียวกับสิ่งที่เป็นความลับของทาง
ราชการให้ดำเนนิ การดงั ตอ่ ไปน้ี

(1) ให้หนว่ ยงานของรัฐคดั ชื่อออกจากทะเบยี นความไวว้ างใจ
(2) ให้บุคคลน้ันคืนข้อมูลข่าวสารกับหลักฐานต่าง ๆ ให้กับหัวหน้าหน่วยงานของรัฐหรือผู้ท่ี
ได้รับมอบหมาย หรือเจ้าหน้าทีค่ วบคมุ การรักษาความปลอดภยั
(3) ให้หัวหน้าหน่วยงานของรัฐ หรือผู้ท่ีได้รับมอบหมาย หรือเจ้าหน้าที่ควบคุมการรักษาความ
ปลอดภัย ชี้แจงให้บุคคลนั้นได้ทราบถึงความเสียหายต่อความม่ันคงและผลประโยชน์แห่งรัฐในการ
เปิดเผยความลับของทางราชการ และให้บุคคลน้ันลงช่ือในบันทึกรับรองการรักษาความลับเม่ือพ้นจาก
ภารกิจหรือตำแหนง่ หนา้ ทีไ่ วเ้ ปน็ หลักฐาน (ระเบียบฯ ขอ้ 31)
7. การรักษาความปลอดภัยเก่ียวกับสถานที่
7.1 หัวหน้าหน่วยงานของรัฐต้องดำเนินการรักษาความปลอดภัยเกี่ยวกับสถานท่ีโดยกำหนด
มาตรการเพ่ือพิทักษ์รักษาให้ความปลอดภัยแก่ที่สงวน อาคาร และสถานท่ีของหน่วยงานของรัฐ
ตลอดจนข้อมูลข่าวสาร วัสดุอุปกรณ์ ศูนย์ข้อมูลสารสนเทศ ระบบสาธารณูปโภค เจ้าหน้าท่ีของรัฐและ
สง่ิ อน่ื ที่หัวหนา้ หน่วยงานของรฐั กำหนด ท่ีอยใู่ นอาคารและสถานทด่ี งั กลา่ ว ให้พน้ จากการโจรกรรม การ
บกุ รุก การจารกรรม การก่อวินาศกรรม การก่อการร้าย หรอื เหตุอื่นใดอนั อาจทำใหเ้ สยี ความสามารถใน
การปฏบิ ัตภิ ารกิจของหน่วยงานของรัฐได้ และใช้บงั คับกับข้อมูลข่าวสาร ศูนย์ข้อมูลสารสนเทศ และส่ิง
อน่ื ซงึ่ มไิ ดอ้ ยภู่ ายในอาคารและสถานที่น้ันดว้ ย
หัวหน้าหน่วยงานของรัฐต้องกำหนดมาตรการเพ่ือพิทักษ์รักษาบุคคลสำคัญ เจ้าหน้าท่ีของรัฐ
และทรัพย์สินของรัฐ เป็นส่วนหน่ึงในการรักษาความปลอดภัยเกี่ยวกับสถานที่ เพ่ือป้องกันมิให้ผู้ไม่มี
อำนาจหน้าที่กระทำการอื่นใดที่จะทำให้เกิดความเสียหายต่อบุคคลสำคัญเจ้าหน้าที่ของรัฐ และ
ทรพั ย์สนิ ของรัฐ (ระเบียบฯ ข้อ 33)

เตรยี มสอบ กกต. 2564

เตรียมสอบพนกั งาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลือกต้ัง ชุดที่ 2 439

7.2 การรักษาความปลอดภยั เกี่ยวกับสถานที่ต้องปฏิบัติ ดงั ตอ่ ไปนี้
(1) จัดทำแผนการรกั ษาความปลอดภยั เกีย่ วกบั สถานที่
(2) กำหนดมาตรการการรกั ษาความปลอดภยั เกี่ยวกับสถานที่
(3) ดำเนินการสำรวจและตรวจสอบการรักษาความปลอดภัยเก่ียวกับสถานท่ี (ระเบียบฯ ข้อ
35)
7.3 หน่วยงานของรัฐต้องจัดให้มีการสำรวจและการตรวจสอบการรักษาความปลอดภยั เกยี่ วกับ
สถานที่ตามความเหมาะสม โดยขอคำแนะนำจากองค์การรกั ษาความปลอดภัย (ระเบยี บฯ ขอ้ 38)
8. การรกั ษาความปลอดภยั ในการประชมุ ลบั
8.1 “การประชุมลับ” หมายความวา่ การร่วมปรกึ ษาหารือเรื่องที่เก่ยี วข้องกับส่งิ ทเ่ี ป็นความลับ
ของทางราชการ และให้หมายความรวมถึงการหาข้อยุติ ข้อพิจารณา ความเห็น การอภิปราย การ
บรรยาย การบรรยายสรปุ และเหตกุ ารณท์ ่ีปรากฏในการประชมุ ลับน้ันด้วย (ระเบียบฯ ขอ้ 39)
8.2 หัวหน้าหน่วยงานของรัฐต้องดำเนินการรักษาความปลอดภัยในการประชุมลับ โดยกำหนด
มาตรการเพอื่ พทิ ักษ์รักษาส่ิงที่เปน็ ความลับของทางราชการที่ปรากฏในการประชุมลับไม่ให้มีการร่ัวไหล
รบกวน ขัดขวางการประชุม หรือถูกจารกรรม รวมทั้งคุ้มครองบุคคลและสถานท่ีท่ีเก่ียวข้องกับการ
ประชมุ ลบั น้นั จากการกอ่ วนิ าศกรรม (ระเบยี บฯ ข้อ 40)
8.3 หัวหน้าหน่วยงานของรัฐเจ้าของเร่ืองที่จะมีการประชุมลับต้องเป็นผู้รับผิดชอบจัดประชุม
และรักษาความปลอดภัยเกี่ยวกับการประชุมนั้น หรืออาจมอบหมายให้บุคคลที่เหมาะสมเป็น
ผู้ดำเนินการแทนได้ ให้หัวหน้าหน่วยงานของรัฐหรือผู้ได้รับมอบหมายให้รักษาความปลอดภัยในการ
ประชุมลับแต่งตั้งเจ้าหน้าท่ีควบคุมการรักษาความปลอดภัยในการประชุมลับ และนายทะเบียนข้อมูล
ขา่ วสารลับรวมทั้งแจง้ ใหผ้ ู้เขา้ รว่ มการประชุมและผมู้ หี น้าท่เี กีย่ วขอ้ งทกุ ฝ่ายทราบ (ระเบยี บฯ ขอ้ 41)
8.4 กรณีท่ีผู้เข้าประชุมแต่ละฝ่ายจำเป็นต้องวางมาตรการการรักษาความปลอดภัยเฉพาะใน
ฝา่ ยตนแลว้ การวางมาตรการดงั กล่าวตอ้ งสอดคล้องกบั มาตรการการรักษาความปลอดภัยในการประชมุ
ลับตามระเบียบนี้ และให้แตง่ ต้ังเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภยั ของฝ่ายน้ันข้ึนเพื่อทำหน้าที่ประสานงาน
ในเร่ืองการรักษาความปลอดภัยกับเจ้าหน้าที่ควบคุมการรักษาความปลอดภัยในการประชุมลับ
(ระเบียบฯ ขอ้ 42)
8.5 การรักษาความปลอดภัยในการประชุมลับ ให้หน่วยงานของรัฐพิจารณาดำเนินการ
ดงั ต่อไปน้ี
(1) กำหนดพืน้ ที่ท่มี กี ารรกั ษาความปลอดภัย
(2) ดำเนินการรักษาความปลอดภัย

เตรียมสอบ กกต. 2564

เตรยี มสอบพนักงาน สำนักงานคณะกรรมการการเลอื กตั้ง ชุดท่ี 2 440

(3) ประสานงานการรักษาความปลอดภยั
(4) กำหนดวิธีปฏิบตั ิตอ่ ผู้มาติดตอ่
(5) แถลงข่าวตอ่ ส่ือมวลชน
(6) บรรยายหรือบรรยายสรปุ เรอ่ื งที่เป็นความลับ
9. การละเมดิ การรักษาความปลอดภัย
9.1 หัวหน้าหน่วยงานของรัฐต้องกำหนดมาตรการเพ่ือป้องกันการละเมิด ฝ่าฝืน หรือละเลยไม่
ปฏิบัติตามมาตรการการรักษาความปลอดภัยท่ีกำหนดไว้ จะโดยเจตนาหรือไม่ก็ตาม อนั เป็นเหตใุ ห้สิ่งที่
เป็นความลบั ของทางราชการรั่วไหล หรือเป็นเหตุให้เจ้าหน้าที่ของรฐั หรือวัสดุอุปกรณ์หรอื ทรพั ยส์ นิ ของ
รฐั ได้รับความเสยี หาย (ระเบียบฯ ข้อ 50)
9.2 เจ้าหน้าท่ีของรัฐผู้พบเห็นหรือทราบ หรือสงสัยวา่ จะมีหรือมีการละเมิดมาตรการการรักษา
ความปลอดภัย ต้องรีบดำเนินการเบื้องต้นเพ่ือลดความเสียหายให้เหลือน้อยที่สุดและรายงาน
ผู้บังคับบัญชา หรือเจ้าหน้าท่ีควบคุมการรักษาความปลอดภัย หรือเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบ หรือแจ้ง
เจ้าของเรื่องเดิมทราบโดยเร็วที่สุด และใช้บังคับกับการรักษาความปลอดภัยทางระบบเครือข่าย
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศด้วย และให้แจ้งเจ้าหน้าที่ควบคุมการรักษาความปลอดภัย หรือ
เจ้าหน้าท่ีผู้รับผิดชอบ เพ่ือให้ประสานหน่วยงานของรัฐท่ีรับผิดชอบโดยตรง หรือหน่วยงานเอกชนที่
ไดร้ บั มอบหมายหรอื เป็นคู่สัญญากบั หนว่ ยงานของรฐั ดำเนินการในทนั ทที เ่ี ผชิญเหตุ (ระเบยี บฯ ขอ้ 51)
9.3 เจา้ หนา้ ทีค่ วบคุมการรกั ษาความปลอดภยั หรอื เจา้ หน้าท่ีผู้รับผิดชอบ ดำเนินการดงั ต่อไปน้ี
(1) สำรวจและตรวจสอบความเสียหายอนั เกดิ จากการละเมิดมาตรการการรักษาความปลอดภัย
(2) ดำเนนิ การเพ่ือปอ้ งกนั หรอื ลดความเสียหายใหเ้ หลอื น้อยทส่ี ดุ
(3) สำรวจตรวจสอบและค้นหาสาเหตุแห่งการละเมิดมาตรการการรักษาความปลอดภัย
ตลอดจนจุดอ่อนและขอ้ บกพรอ่ งตา่ ง ๆ
(4) ดำเนินการแก้ไขมาตรการการรักษาความปลอดภัยให้รัดกุมย่ิงขึ้น เพื่อป้องกันมิให้มีการ
ละเมดิ มาตรการการรกั ษาความปลอดภัยเกิดขึ้นอีก
(5) รายงานรายละเอยี ดเกี่ยวกับการละเมิดมาตรการการรักษาความปลอดภยั ตอ่ ผู้บังคับบัญชา
ตามลำดับช้ัน หากมีข้อมูลข่าวสารลับสูญหายให้รายงานและบนั ทึกลงในทะเบียนควบคุมข้อมูลข่าวสาร
ลบั ดว้ ย
(6) หากปรากฏหลักฐานหรือข้อสงสัยว่าเกิดการจารกรรม การก่อวินาศกรรม หรือการรั่วไหล
ซ่ึงสิ่งท่ีเป็นความลับของทางราชการ ให้รายงานและขออนุมัติผู้บังคับบัญชาตามลำดับช้ัน เพ่ือแจ้งเรื่อง
ใหเ้ จ้าหนา้ ที่ผมู้ ีอำนาจหน้าท่ีในด้านการสืบสวนดำเนินการตอ่ ไป (ระเบียบฯ ขอ้ 52)

เตรยี มสอบ กกต. 2564

เตรียมสอบพนักงาน สำนักงานคณะกรรมการการเลอื กตัง้ ชดุ ที่ 2 441
9.4 เม่ือมีการดำเนินการของเจ้าหน้าท่ีควบคุมการรักษาความปลอดภัยหรือเจ้าหน้าท่ี
ผู้รบั ผิดชอบแลว้ ใหห้ ัวหนา้ หน่วยงานของรัฐ ดำเนินการดงั ต่อไปนี้
(1) แจ้งให้หน่วยงานของรัฐซ่ึงเป็นเจ้าของเร่ืองเดิมหรือเจ้าของสถานที่หรือผู้ที่เกี่ยวข้องทราบ
ทนั ที
(2) สอบสวนเพ่ือใหท้ ราบว่าผใู้ ดเป็นผู้ละเมิดและผู้ใดเปน็ ผรู้ บั ผิดชอบต่อการละเมดิ นน้ั
(3) พจิ ารณาแก้ไขข้อบกพร่องและปอ้ งกันมใิ ห้เหตกุ ารณเ์ ชน่ นนั้ เกดิ ขึน้ ซำ้ อีก
(4) พิจารณาดำเนินการลงโทษตามกฎหมายต่อผู้ละเมิดมาตรการการรักษาความปลอดภัยหรือ
ผู้จะละเมิด และผ้รู ับผิดชอบตอ่ การละเมิดนัน้ (ระเบียบฯ ข้อ 53)

เตรียมสอบ กกต. 2564

เตรียมสอบพนักงาน สำนักงานคณะกรรมการการเลอื กต้ังชดุ ท่ี 2 442

ระเบยี บสำนกั นายกรัฐมนตรี
วา่ ด้วยการรกั ษาความปลอดภัยแหง่ ชาติ

พ.ศ. 2552

โดยท่ีระเบียบว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2517 ซ่ึงเป็นระเบียบท่ี
วางแนวทางปฏิบัติในการรักษาความปลอดภัยเก่ียวกับบุคคล เอกสาร และสถานที่ได้ใช้บังคับมาเป็น
เวลานานแล้ว และมีบทบัญญัตหิ ลายประการที่ไม่เหมาะสมกับกาลปจั จุบนั นำรายละเอยี ดในทางปฏิบัติ
มากำหนดไว้เกินความจำเป็น รวมทั้งระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ. 2544 ซ่ึง
เป็นแนวทางปฏิบัติในการรักษาข้อมูลข่าวสารของราชการท่ีเป็นเอกสารมิให้ร่ัวไหลมีผลใช้บังคับแล้ว
สมควรปรับปรุงระเบียบว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2517 เพ่ือให้การรักษาความ
ปลอดภัยแหง่ ชาติเป็นไปอย่างเหมาะสมและมีประสิทธภิ าพยง่ิ ขึ้น

อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 11 (8) แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ
แผ่นดนิ พ.ศ. 2534 นายกรัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของคณะรฐั มนตรี จงึ วางระเบยี บไว้ ดงั ตอ่ ไปน้ี

ข้อ 1 ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการรักษาความ
ปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2552”

ข้อ 2 ระเบียบน้ีให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนด 90 วันนับแต่วันประกาศในราชกิจจา
นเุ บกษาเป็นต้นไป ประกาศในราชกจิ จานุเบกษา เม่อื วนั ที่ 13 มีนาคม 2552

ขอ้ 3 ใหย้ กเลิกระเบียบวา่ ดว้ ยการรกั ษาความปลอดภยั แหง่ ชาติ พ.ศ. 2517
ข้อ 4 ในระเบียบน้ี
“การรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ” หมายความว่า มาตรการและการดำเนินการท่ี
กำหนดขึ้นเพื่อพิทักษ์รักษาและคุ้มครองป้องกันสิ่งที่เป็นความลับของทางราชการ ตลอดจนหน่วยงาน
ของรัฐ เจ้าหน้าที่ของรัฐ และทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน ให้พ้นจากการร่ัวไหลการจารกรรม การก่อ
วนิ าศกรรม การบอ่ นทำลาย การก่อการร้าย การกระทำทเี่ ปน็ ภัยตอ่ ความมั่นคงและผลประโยชนแ์ ห่งรัฐ
และการกระทำอื่นใดที่เป็นการเปดิ เผยสงิ่ ทเ่ี ป็นความลับของทางราชการ
“ส่ิงที่เป็นความลับของทางราชการ” หมายความว่า ข้อมูลข่าวสาร บริภัณฑ์
ยุทธภัณฑ์ท่ีสงวน การรหัส ประมวลลับ และสง่ิ อนื่ ใดบรรดาที่ถอื วา่ เปน็ ความลบั ของทางราชการ
“ขอ้ มูลข่าวสาร” หมายความวา่ ข้อมูลขา่ วสารตามกฎหมายวา่ ด้วยขอ้ มูลขา่ วสารของราชการ
“บริภัณฑ์” หมายความว่า เครื่องจักร เครื่องมือ เคร่ืองกล สิ่งอุปกรณ์ และส่ิงอื่นท่ี
กรช. ประกาศกำหนด
“ยทุ ธภณั ฑ”์ หมายความว่า สง่ิ ของทัง้ หลายทใ่ี ช้ประจำกาย หรอื ประจำหนว่ ยกำลงั ถือ
อาวุธของทางราชการ และส่งิ อ่นื ที่ กรช. ประกาศกำหนด
“ท่สี งวน” หมายความวา่

เตรยี มสอบ กกต. 2564

เตรียมสอบพนกั งาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตงั้ ชุดท่ี 2 443

(1) ส่ิงปลูกสร้างทุกชนิดสำหรับการป้องกันประเทศ ฐานทัพบก ฐานทัพเรือ ฐานทัพ
อากาศ โรงงานทำอาวุธหรือยุทธภัณฑ์ โรงช่างแสงหรือคลังอาวุธยุทธภัณฑ์ อู่เรือรบ ท่าเรืออันใช้เป็น
ฐานทัพเรอื สถานีวทิ ยหุ รอื โทรเลข หรือสถานีส่งและรับอาณัติสญั ญาณ รวมทงั้ สถานทีใ่ ด ๆ ซ่งึ ใช้ในการ
สร้างหรอื ซ่อมแซมเรอื รบ หรืออาวุธยุทธภัณฑ์ หรอื วัตถุใด ๆ สำหรบั ใชใ้ นการสงคราม

(2) ชุมทางการขนส่งทางรางทุกระบบ โรงงาน และสถานที่ผลิตและจ่ายน้ำ หรือ
กระแสไฟฟ้าอนั เปน็ สาธารณปู โภค

(3) ส่ิงอื่นที่ กรช. ประกาศกำหนด
“การรหัส” หมายความว่า การใช้ประมวลลับ หรือรหัสแทนข้อความ หรือการส่ง
ข่าวสารท่เี ป็นความลับ
“ประมวลลับ” หมายความว่า การนำตัวอักษร ตัวเลข คำพูด สัญญาณ สัญลักษณ์มาใช้
แทนความหมายอนั แท้จรงิ ตามที่ตกลงกันไว้ เพ่อื รักษาความลับในการสง่ ขา่ วหรือติดตอ่ สื่อสารระหวา่ งกัน
“การจารกรรม” หมายความว่า การกระทำใด ๆ โดยทางลับเพ่ือให้ได้ล่วงรู้หรือได้ไป
หรอื สง่ สิ่งทเ่ี ปน็ ความลบั ของทางราชการให้แก่ผไู้ มม่ อี ำนาจหนา้ ที่ หรอื ผทู้ ่ีไม่มคี วามจำเป็นต้องทราบโดย
มเี หตุผลท่ีเชอ่ื ได้วา่ การกระทำดงั กล่าวเปน็ ผลร้ายต่อความมัน่ คงแห่งชาติหรือความสงบเรียบรอ้ ยภายใน
หรือระบอบการปกครอง หรือเสถียรภาพของรัฐบาล หรือกระทำเพ่ือประโยชน์แก่รัฐต่างประเทศ หรือ
เพือ่ ประโยชน์สว่ นบคุ คล
“การก่อวินาศกรรม” หมายความวา่ การกระทำใด ๆ เพื่อทำลาย ทำความเสียหายตอ่
ทรัพย์สิน วัสดุ ข้อมูลข่าวสาร อาคาร สถานที่ ยุทธปัจจัย ที่สงวน สาธารณูปโภค และสิ่งอำนวยความ
สะดวก หรือรบกวน ขัดขวาง แก้ไข เปลี่ยนแปลง หน่วงเหนี่ยวระบบการปฏิบัติงานใด ๆ รวมท้ังการ
ประทุษร้ายต่อบุคคล ซึ่งทำให้เกิดความปั่นป่วน หรือความเสียหายทางการเมือง การทหาร การ
เศรษฐกิจ และสังคมจิตวทิ ยา หรือทางหน่ึงทางใด
“การบ่อนทำลาย” หมายความว่า การกระทำใด ๆ ที่มุ่งก่อให้เกิดความแตกแยก
ความป่ันป่วน ความกระด้างกระเดื่อง ซึ่งนำไปสู่การก่อความไม่สงบ หรือความอ่อนแอภายในชาติ
ในทางการเมือง การทหาร การเศรษฐกิจ และสังคมจิตวิทยา หรือทางหน่ึงทางใด ซ่ึงทำให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงระบอบหรือล้มล้างสถาบันการปกครองของประเทศ หรือเพื่อทำลายความจงรักภักดีของ
ประชาชนต่อสถาบนั ชาติ หรอื เพือ่ ประโยชน์แก่รฐั ตา่ งประเทศ
“การก่อการร้าย” หมายความว่า การกระทำใด ๆ ที่สร้างความป่ันป่วนให้ประชาชน
เกิดความหวาดกลวั หรือเพ่ือขเู่ ข็ญหรือบีบบังคับรัฐบาล หรือองค์การระหวา่ งประเทศ ให้กระทำหรือละ
เว้นกระทำการอย่างหน่งึ อยา่ งใด อนั ก่อใหเ้ กิดความเสยี หายตอ่ ชีวิตหรอื ทรพั ยส์ นิ ท่สี ำคญั
“ทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน” หมายความว่า วัตถุ อาคาร สถานที่ หรือสิ่งอื่นใดท่ีมี
คุณค่าตอ่ สภาพจิตวทิ ยาของสังคม ประชาชนมคี วามศรทั ธาและหวงแหน หากสญู หาย หรือถกู กระทำให้
ได้รับความเสียหาย พัง ทลาย หรือทำให้เกิดความเส่ือมเสียต่อชื่อเสียงและเกียรติยศแล้วจะ
กระทบกระเทือนต่อความร้สู กึ ของประชาชน และอาจสง่ ผลบนั่ ทอนความสงบเรียบร้อยของประเทศ

เตรยี มสอบ กกต. 2564

เตรียมสอบพนกั งาน สำนักงานคณะกรรมการการเลอื กตง้ั ชดุ ท่ี 2 444

“เข้าถึง” หมายความว่า การท่ีบุคคลมีอำนาจหน้าที่ หรือได้รับอนุญาตจาก
ผู้บังคับบัญชาให้ได้ทราบ ครอบครอง ดำเนินการ หรือเก็บรักษาส่ิงที่เป็นความลับของทางราชการ รวมทั้งการ
ทไ่ี ด้รบั อนญุ าตให้อยู่ในทีซ่ งึ่ นา่ จะไดท้ ราบเรือ่ งท่ีเกยี่ วกับสิ่งทเ่ี ป็นความลับของทางราชการนัน้ ดว้ ย

“ร่ัวไหล” หมายความว่า ส่ิงท่ีเป็นความลับของทางราชการได้ถูกครอบครองหรือได้
ทราบโดยบคุ คลผูไ้ ม่มีอำนาจหน้าที่

“กรช.” หมายความวา่ คณะกรรมการนโยบายรกั ษาความปลอดภัยแหง่ ชาติ
“หน่วยงานของรัฐ” หมายความว่า ส่วนราชการตามกฎหมายว่าด้วยการปรับปรุง
กระทรวง ทบวง กรม และกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงาน
อ่ืนของรฐั ท่อี ยใู่ นกำกับของฝ่ายบริหารแตไ่ มร่ วมถึงองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน
“เจ้าหน้าท่ีของรัฐ” หมายความว่า ผู้ซึ่งปฏิบัติงานในหน่วยงานของรัฐ และให้
หมายความรวมถึงคณะกรรมการหรือบุคคลซ่ึงมีกฎหมายให้อำนาจดำเนินการท่ีเก่ียวข้องกับสิ่งท่ีเป็น
ความลับของทางราชการ
“เจ้าหน้าที่ควบคุมการรักษาความปลอดภัย” หมายความว่า เจ้าหน้าท่ีท่ีได้รับการ
แต่งตั้งและมอบหมายจากหัวหน้าหน่วยงานของรัฐ เพ่ือทำหน้าที่ดำเนินการ ควบคุม กำกับดูแล
ตลอดจนให้คำปรกึ ษาเกีย่ วกับการรักษาความปลอดภัยของหน่วยงานนน้ั
“องค์การรักษาความปลอดภัย” หมายความว่า สำนักข่าวกรองแห่งชาติ สำนัก
นายกรัฐมนตรีหรือศูนย์รักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย กองทัพไทย กระทรวงกลาโหม
หรือกองบญั ชาการตำรวจสันติบาล สำนกั งานตำรวจแหง่ ชาติ แล้วแต่กรณี
ข้อ 5 การรักษาความปลอดภัยแห่งชาติในส่วนที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลข่าวสาร นอกจาก
ต้องปฏิบัติตามท่ีกำหนดไว้ในระเบียบน้ีแล้ว ให้เป็นไปตามระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับของทาง
ราชการ พ.ศ. 2544 ด้วย
ใน ก ร ณี ก า ร รั ก ษ า ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ร ะ บ บ เค รื อ ข่ า ย ค อ ม พิ ว เต อ ร์ แ ล ะ เท ค โน โล ยี
สารสนเทศ ให้ถือปฏิบัติตามวรรคหนึ่ง และกฎหมาย กฎ ระเบียบ ประกาศ ข้อบังคับ คำส่ัง มติ
คณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวกับหลักเกณฑ์และมาตรการรักษาความปลอดภัยด้านสารสนเทศด้วย
ขอ้ 6 ให้นายกรฐั มนตรีรักษาการตามระเบียบน้ี

หมวด 1
บทท่วั ไป
ข้อ 7 ให้หนว่ ยงานดงั ต่อไปนี้ เป็นองค์การรกั ษาความปลอดภยั
(1) สำนักข่าวกรองแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี เป็นองค์การรักษาความปลอดภัย
ฝ่ายพลเรือน มีหน้าท่ีให้คำแนะนำ ช่วยเหลือในเร่ืองการรักษาความปลอดภัยแห่งชาตแิ ก่หน่วยงานของ
รัฐฝ่ายพลเรือน และกำกับดูแล ตรวจสอบ พร้อมท้ังพิจารณาแก้ไขข้อบกพร่องเพื่อให้ระบบการรักษา

เตรยี มสอบ กกต. 2564

เตรียมสอบพนักงาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกต้งั ชุดท่ี 2 445

ความปลอดภัยนั้นได้ผลสมบูรณ์อยู่เสมอ ยกเว้นในส่วนท่ีเก่ียวข้องกับการรักษาความปลอดภัยแก่
หน่วยงานของรฐั ฝา่ ยตำรวจ

(2) ศู น ย์ รัก ษ าค วาม ป ล อ ด ภั ย ก อ งบั ญ ช าก ารก อ งทั พ ไท ย ก อ งทั พ ไท ย
กระทรวงกลาโหมเป็นองค์การรักษาความปลอดภัยฝ่ายทหาร มีหน้าท่ีให้คำแนะนำ ช่วยเหลือในเรื่อง
การรักษาความปลอดภัยแห่งชาติแก่หน่วยงานของรัฐฝ่ายทหาร และกำกับดูแล ตรวจสอบ พร้อมทั้ง
พิจารณาแกไ้ ขขอ้ บกพร่องเพ่ือให้ระบบการรักษาความปลอดภยั น้ันได้ผลสมบูรณอ์ ยูเ่ สมอ

(3) กองบัญชาการตำรวจสันติบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติ เป็นองค์การรักษาความ
ปลอดภัยฝ่ายตำรวจ มีหน้าที่ให้คำแนะนำ ช่วยเหลือในเร่ืองการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติแก่
หน่วยงานของรัฐฝ่ายตำรวจ และกำกับดแู ล ตรวจสอบ พร้อมทั้งพจิ ารณาแก้ไขข้อบกพร่องเพื่อให้ระบบ
การรักษาความปลอดภัยนนั้ ได้ผลสมบูรณอ์ ย่เู สมอ

ข้อ 8 ให้หวั หน้าหนว่ ยงานของรฐั มีหนา้ ทีใ่ นการรกั ษาความปลอดภัยในหนว่ ยงานของตน
ในกรณีที่หน่วยงานของรัฐได้มอบหมายหรือทำสัญญาว่าจ้างให้บุคคลภายนอก
ดำเนินการอย่างหนึ่งอย่างใด ให้หัวหน้าหน่วยงานของรัฐกำกับดูแลผู้ได้รับมอบหมายหรือผู้เป็นคู่สัญญา
ซง่ึ เป็นบคุ คลภายนอกดงั กลา่ วให้ต้องปฏบิ ัตใิ นการรกั ษาความปลอดภัยแห่งชาติตามระเบยี บน้ีดว้ ย
ข้อ 9 บุคคลที่จะเข้าถึงส่ิงที่เป็นความลับของทางราชการในชั้นใด ต้องเป็นบุคคลท่ี
ผู้บังคับบัญชามอบหมายความไว้วางใจ และให้เข้าถึงส่ิงท่ีเป็นความลับของทางราชการได้เฉพาะเรื่องท่ี
ไดร้ ับมอบหมายเทา่ นน้ั
ข้อ 10 ในกรณีท่ีเห็นเป็นการสมควร หัวหน้าหน่วยงานของรัฐอาจขอให้องค์การรักษา
ความปลอดภัยช่วยตรวจสอบประวัตแิ ละพฤตกิ ารณข์ องเจ้าหนา้ ทข่ี องตนท่เี กยี่ วขอ้ งกบั ชน้ั ความลบั ได้
ขอ้ 11 การมอบหมายให้เจ้าหน้าท่ีของรัฐปฏิบตั ิงานเกี่ยวข้องกับส่ิงท่ีเป็นความลับของ
ทางราชการ ให้ยึดถือหลักการจำกัดให้ทราบเท่าท่ีจำเปน็ เพอ่ื ปฏบิ ัติภารกจิ ที่ได้รับมอบหมายให้ลุล่วงไป
ด้วยดี ห้ามผู้ไม่มีหน้าที่หรือไม่ได้รับคำสั่งหรือไม่ได้รับการมอบหมายอย่างถูกต้องอ้างยศ ตำแหน่งหรือ
อิทธพิ ลใดเพือ่ เขา้ ถึงส่ิงท่ีเปน็ ความลับของทางราชการ
ข้อ 12 เพ่ือให้การรักษาความปลอดภัยเกิดประสิทธิผล ให้องค์การรักษาความ
ปลอดภัยทุกฝ่ายประสานการปฏิบัติและประชุมร่วมกันเพื่อดำเนินการจัดให้มีหลักเกณฑ์ วิธีการ และ
คำแนะนำการปฏบิ ตั ติ ามระเบียบน้ี รวมทงั้ การอบรมบคุ ลากรทเี่ กยี่ วข้องตามความจำเป็น
ให้หน่วยงานของรัฐนำหลักเกณฑ์ วิธีการ และคำแนะนำตามวรรคหนึ่งไปวางแผน
กำหนดวิธีปฏิบัติ โดยประสานมาตรการรักษาความปลอดภัย และมาตรการท่ีเกี่ยวข้องเข้าด้วยกัน
พร้อมทั้งสอดส่อง และตรวจสอบมาตรการที่กำหนดไว้ตามระยะเวลาท่ีระบุไว้ในแผน ทั้งนี้ วิธีปฏิบัติที่
กำหนดนั้นจะต้องไม่เป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัติหน้าท่ีตามปกติ และต้องคำนึงถึงประโยชน์ของทาง
ราชการเปน็ สำคญั
ให้หัวหน้าหน่วยงานของรัฐแต่งต้ังเจ้าหน้าที่ควบคุมการรักษาความปลอดภัย และ
เจา้ หนา้ ทผี่ ู้ชว่ ยไดต้ ามความจำเป็น

เตรียมสอบ กกต. 2564

เตรยี มสอบพนักงาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลือกต้งั ชุดท่ี 2 446

ให้หน่วยงานของรัฐมีหน้าท่ีรับผิดชอบจัดการอบรมให้เจ้าหน้าที่ของรัฐได้ทราบโดย
ละเอียดถึงความจำเป็นและมาตรการของการรักษาความปลอดภัย และต้องจัดให้มีการอบรมเพ่ิมเติม
โดยอยู่ภายใตค้ วามควบคุมของเจ้าหน้าที่ควบคุมการรักษาความปลอดภัยหรือผู้บงั คับบัญชาตามโอกาส
อนั สมควร

ข้อ 13 ในกรณีที่เห็นเป็นการสมควรหรืออย่างน้อยทุกห้าปี ให้นายกรัฐมนตรีจัดให้มี
การทบทวนการปฏิบัติตามระเบียบน้ี และพิจารณาแก้ไขเพม่ิ เติมให้เหมาะสม

ข้อ 14 เพ่ือประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยของประเทศ องค์กรตามรัฐธรรมนูญ
ส่วนราชการสังกัดรัฐสภา องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน และหน่วยงานอื่นใดของรัฐ อาจนำระเบียบน้ีไป
ใชบ้ ังคับโดยอนโุ ลม

หมวด ๒
ประเภทชนั้ ความลับ
ขอ้ 15 ชนั้ ความลบั ของสงิ่ ทีเ่ ป็นความลบั ของทางราชการ แบง่ ออกเปน็ 3 ช้นั คือ
(1) ลบั ทสี่ ุด (TOP SECRET)
(2) ลบั มาก (SECRET)
(3) ลบั (CONFIDENTIAL)
ข้อ 16 ลับที่สุด หมายความว่า ความลับที่มีความสำคัญท่ีสุดเก่ียวกับบุคคลข้อมูล
ขา่ วสาร วัตถุ สถานที่ และทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดนิ ซ่ึงหากความลับดังกล่าวทั้งหมดหรือเพียงบางส่วน
ร่ัวไหลไปถึงบคุ คลผูไ้ ม่มีหนา้ ทไี่ ดท้ ราบ จะทำใหเ้ กดิ ความเสยี หายต่อความมนั่ คงและผลประโยชนแ์ ห่งรัฐ
อย่างร้ายแรงทีส่ ุด
ข้อ 17 ลับมาก หมายความว่า ความลับที่มีความสำคัญมากเกี่ยวกับบุคคลข้อมูล
ขา่ วสาร วัตถุ สถานท่ี และทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน ซ่ึงหากความลับดังกล่าวทั้งหมดหรือเพียงบางส่วน
ร่วั ไหลไปถึงบคุ คลผไู้ มม่ หี น้าทไี่ ด้ทราบ จะทำใหเ้ กดิ ความเสียหายต่อความมัน่ คงและผลประโยชนแ์ หง่ รฐั
อยา่ งร้ายแรง
ข้อ 18 ลับ หมายความว่า ความลับท่ีมีความสำคัญเก่ียวกับบุคคลข้อมูลข่าวสาร วัตถุ
สถานท่ี และทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน ซึ่งหากความลับดังกล่าวท้ังหมดหรือเพียงบางส่วนร่ัวไหลไปถึง
บุคคลผไู้ มม่ ีหนา้ ท่ไี ด้ทราบ จะทำให้เกดิ ความเสียหายต่อความม่นั คงและผลประโยชนแ์ ห่งรัฐ

หมวด 3
คณะกรรมการนโยบายรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ
ข้อ 19 ให้มีคณะกรรมการนโยบายรักษาความปลอดภัยแห่งชาติคณะหนึ่ง
เรียกโดยย่อว่า
“กรช” ประกอบด้วย

เตรียมสอบ กกต. 2564

เตรียมสอบพนกั งาน สำนักงานคณะกรรมการการเลอื กต้งั ชุดที่ 2 447

(1) รัฐมนตรีทีน่ ายกรฐั มนตรมี อบหมาย เปน็ ประธานกรรมการ

(2) เลขาธกิ ารนายกรฐั มนตรี เป็นรองประธานกรรมการคนที่หนึ่ง

(3) เลขาธิการคณะรัฐมนตรี เป็นรองประธานกรรมการคนท่สี อง

(4) ปลัดสำนักนายกรฐั มนตรี เป็นกรรมการ

(5) ปลัดกระทรวงกลาโหม เป็นกรรมการ

(6) ปลดั กระทรวงการคลัง เป็นกรรมการ

(7) ปลัดกระทรวงการตา่ งประเทศ เปน็ กรรมการ

(8) ปลัดกระทรวงคมนาคม เปน็ กรรมการ

(9) ปลดั กระทรวงดิจทิ ัลเพอ่ื เศรษฐกจิ และสงั คม เปน็ กรรมการ

(10) ปลัดกระทรวงมหาดไทย เปน็ กรรมการ

(11) เลขาธกิ ารคณะกรรมการกฤษฎีกา เปน็ กรรมการ

(12) เลขาธกิ ารคณะกรรมการขา้ ราชการพลเรอื น เป็นกรรมการ

(13) ผู้อำนวยการสำนกั งบประมาณ เปน็ กรรมการ

(14) ผบู้ ัญชาการตำรวจแห่งชาติ เปน็ กรรมการ

(15) ผบู้ ญั ชาการทหารบก เป็นกรรมการ

(16) ผบู้ ัญชาการทหารเรือ เป็นกรรมการ

(17) ผบู้ ญั ชาการทหารอากาศ เปน็ กรรมการ

(18) เลขาธิการกองอำนวยการ

รักษาความมน่ั คงภายในราชอาณาจักร เป็นกรรมการ

(19) เจ้ากรมข่าวทหาร เป็นกรรมการ

(20) ผอู้ ำนวยการสำนกั งานคณะกรรมการ

ขอ้ มูลขา่ วสารของราชการ เป็นกรรมการ

(21) เลขาธกิ ารสภาความมั่นคงแห่งชาติ เปน็ กรรมการและเลขานกุ าร

(22) ผู้อำนวยการสำนกั ข่าวกรองแหง่ ชาติ เป็นกรรมการและผชู้ ่วยเลขานกุ าร

(23) ผู้บัญชาการศนู ยร์ กั ษาความปลอดภัย เปน็ กรรมการและผู้ชว่ ยเลขานกุ าร

(24) ผบู้ ัญชาการกองบญั ชาการตำรวจสนั ตบิ าล เปน็ กรรมการและผชู้ ่วยเลขานกุ าร

ขอ้ 20 ให้ กรช. มอี ำนาจหน้าทดี่ งั ต่อไปนี้

(1) กำหนดนโยบายและมาตรการการรกั ษาความปลอดภัยแห่งชาติ

(2) กำหนดแนวทางปฏิบัติและอำนวยการตามนโยบายและมาตรการการรักษาความ

ปลอดภยั แหง่ ชาติ

(3) วินจิ ฉัยปญั หาท่เี กยี่ วข้องกับการปฏบิ ัติตามระเบยี บนี้

(4) เสนอแนะการแก้ไขปรับปรุงระเบียบน้ีให้มีประสิทธิภาพและเหมาะสมกับ

สถานการณ์

เตรยี มสอบ กกต. 2564


Click to View FlipBook Version