The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

130024_เพจ-เตรียมสอบ-กกต.64-ชุดที่-2-สงวนลิขสิทธิ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pratheerapong2519, 2021-03-22 22:15:35

130024_เพจ-เตรียมสอบ-กกต.64-ชุดที่-2-สงวนลิขสิทธิ์

130024_เพจ-เตรียมสอบ-กกต.64-ชุดที่-2-สงวนลิขสิทธิ์

เตรียมสอบพนกั งาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกต้งั ชดุ ท่ี 2 448

(5) แต่งต้ังคณะอนุกรรมการหรือคณะทำงานเพื่อพิจารณาหรือปฏิบัติการอย่างหนึ่ง
อยา่ งใดตามท่ี กรช. มอบหมาย

(6) เชิญเจ้าหน้าท่ีของรัฐหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานเก่ียวกับนโยบายและ
มาตรการการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติมาชี้แจง หรือเรียกเอกสารจากหน่วยงานของรัฐหรือบุคคลท่ี
เกยี่ วขอ้ งเพ่ือประกอบการพจิ ารณาได้ตามความจำเป็น

(7) ออกประกาศเพอ่ื ปฏิบตั กิ ารตามระเบยี บนี้
(8) ดำเนินการเก่ียวกับการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติตามที่คณะรัฐมนตรีหรือ
นายกรัฐมนตรีมอบหมาย
ขอ้ 21 ในการประชุม กรช. ถ้าประธานกรรมการไม่มาประชมุ หรือไมอ่ าจปฏิบัติหนา้ ที่
ได้ให้รองประธานกรรมการคนที่หนึ่งเป็นประธานในท่ีประชุม ถ้าประธานกรรมการและรองประธาน
กรรมการคนท่ีหนึ่งไม่มาประชุมหรือไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้รองประธานกรรมการคนที่สองเป็น
ประธานในท่ีประชุม ถ้าประธานกรรมการและรองประธานกรรมการท้ังสองคนไม่มาประชุมหรือไม่อาจ
ปฏบิ ตั ิหนา้ ทไี่ ด้ ใหก้ รรมการที่มาประชุมเลือกกรรมการคนหนงึ่ เปน็ ประธานในทีป่ ระชุม
ข้อ 22 การประชุม กรช. ต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหน่ึงของจำนวน
กรรมการทั้งหมด จึงจะเปน็ องค์ประชุม
การวินิจฉัยชี้ขาดของที่ประชุมให้ถือเสียงข้างมาก กรรมการคนหนึ่งให้มีเสียงหนึ่ง
ในการลงคะแนน ถ้าคะแนนเสียงเท่ากัน ให้ประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกเสียงหนึ่งเป็น
เสียงช้ีขาด
ข้อ 23 ใหส้ ำนกั งานสภาความมัน่ คงแหง่ ชาติ สำนกั นายกรัฐมนตรี ทำหน้าทเี่ ป็น
สำนักงานเลขานุการของ กรช. และให้มีอำนาจหนา้ ท่ดี งั ต่อไปน้ี
(1) ศกึ ษาวจิ ยั เชิงนโยบาย พรอ้ มท้ังวิเคราะหแ์ ละสนธิขอ้ มูล ตดิ ตาม และประเมนิ ผล
เกย่ี วกบั การรกั ษาความปลอดภัยแหง่ ชาติ
(2) สนับสนนุ และประสานงานกับหน่วยงานของรฐั ท้งั ในประเทศและตา่ งประเทศ เพือ่
ประโยชนใ์ นการรักษาความปลอดภัยแหง่ ชาติ
(3) พิจารณาเสนอความเห็นตอ่ กรช. เกี่ยวกบั การให้มีกฎหมาย หรือแกไ้ ขปรับปรุง
กฎหมาย กลไก และมาตรการต่าง ๆ เพอื่ ให้การรกั ษาความปลอดภัยเป็นไปอย่างมีประสทิ ธภิ าพ
(4) ปฏบิ ัตงิ านอ่ืนตามที่ กรช. มอบหมาย

หมวด 4
การรักษาความปลอดภยั เกยี่ วกับบุคคล
ข้อ 24 ให้หัวหน้าหน่วยงานของรัฐดำเนินการรักษาความปลอดภัยเก่ียวกับบุคคล
โดยกำหนดมาตรการสำหรับใชป้ ฏิบัตกิ ับผู้ท่ีอยู่ระหวา่ งรอว่าจา้ ง บรรจุ หรือแตง่ ตั้งเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐ
หรือเจ้าหน้าท่ีของรัฐหรือผู้ท่ีจะได้รับความไว้วางใจให้เข้าถึงส่ิงท่ีเป็นความลับของทางราชการหรือให้

เตรียมสอบ กกต. 2564

เตรยี มสอบพนกั งาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตัง้ ชดุ ที่ 2 449

ปฏิบัติหน้าท่ีเกี่ยวข้องกับภารกิจท่ีสำคัญหรือทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน เพ่ือเลือกเฟ้นและตรวจสอบให้
ได้ผู้ที่มีคุณสมบัติเหมาะสมเป็นที่เชอ่ื แน่วา่ ตอ้ งเป็นผู้ท่ีไม่เป็นภยั และไม่ก่อให้เกิดความเสยี หายตอ่ ความ
มั่นคงและผลประโยชนแ์ หง่ รฐั

ในกรณีที่ว่าจ้างบุคคลภายนอก ให้หัวหน้าหน่วยงานของรัฐกำหนดหลักเกณฑ์และ
เงื่อนไขในสัญญาว่าจ้างเกี่ยวกับการกำหนดมาตรการสำหรับใช้ปฏิบัติกับบุคคลภายนอกดังกล่าว เพื่อ
ไมใ่ ห้เกดิ ความเสียหายตอ่ ความมน่ั คงและผลประโยชน์แหง่ รัฐ

ข้อ 25 การรักษาความปลอดภัยเก่ียวกับบุคคล ให้หน่วยงานของรัฐปฏิบัติ
ดงั ต่อไปน้ี

(1) ตรวจสอบประวัติและพฤตกิ ารณบ์ คุ คล
(2) รับรองความไว้วางใจบุคคลเพอื่ ให้เข้าถึงสิ่งทีเ่ ป็นความลับของทางราชการ
ข้อ 26 การตรวจสอบประวตั ิและพฤติการณบ์ ุคคล ให้ใชก้ บั บุคคลดงั ตอ่ ไปนี้
(1) ผ้ทู ี่อยรู่ ะหวา่ งรอวา่ จา้ ง บรรจุ หรือแต่งตั้งเป็นเจ้าหน้าท่ขี องรฐั
(2) ผทู้ เี่ ป็นลกู จา้ งทดลองปฏบิ ัติงาน หรือฝึกงานก่อนบรรจเุ ข้าปฏบิ ัตงิ าน
(3) เจ้าหน้าท่ีของรัฐที่ยังมิได้รับการตรวจสอบประวัติและพฤติการณ์ และผู้ท่ีขอกลับ
เขา้ รบั ราชการใหม่
(4) เจ้าหน้าท่ีของรัฐหรือบุคคลท่ีไดร้ ับมอบหมายให้ปฏิบตั ิหน้าท่ีเกี่ยวข้องกับภารกิจท่ี
สำคัญหรือตำแหน่งท่ีสำคัญของทางราชการ หรือที่เก่ียวข้องกับสิ่งที่เป็นความลับของทางราชการหรือ
ทรพั ยส์ ินมคี ่าของแผ่นดนิ
(5) ผู้ไดร้ บั ทุนการศึกษาทั้งในประเทศหรือต่างประเทศของหน่วยงานของรัฐเมื่อสำเร็จ
การศกึ ษาแลว้ มขี ้อผูกพนั ให้เขา้ ปฏิบตั งิ านใหแ้ กห่ น่วยงานของรฐั
กรณีตาม (1) และ (2) ในระหว่างท่ีต้องรอฟังผลการตรวจสอบประวัติและพฤติการณ์
บุคคลถ้าจำเป็นต้องรีบบรรจุหรือจ้างบุคคลเข้าปฏิบัติงาน ก็ให้บรรจุหรือจ้างก่อนได้โดยมีเงื่อนไขว่าถ้า
ผลการตรวจสอบปรากฏว่าผู้นั้นมีความประพฤติหรือมีประวัติและพฤติการณ์ไม่เหมาะสม ให้หน่วยงาน
ของรัฐดำเนนิ การเพ่อื ใหบ้ คุ คลนั้นพน้ จากการปฏบิ ตั หิ นา้ ที่ และให้ดำเนินการตามกฎหมายที่เก่ยี วข้องตอ่ ไป
หากผลการตรวจสอบปรากฏว่า เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้ใดมีพฤติการณ์ที่น่าสงสัยหรือมี
การกระทำอันก่อให้เกิดความไม่น่าไว้วางใจซึ่งอาจเป็นภัยต่อความมั่นคงและผลประโยชน์แห่งรัฐ ให้
ย้ายผู้น้ันออกจากตำแหน่งหน้าที่น้ันโดยเร็วและพจิ ารณาดำเนินการต่อไป โดยให้รายงานองคก์ ารรักษา
ความปลอดภัยทราบดว้ ย
การตรวจสอบประวัติและพฤติการณ์บุคคล ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่
กำหนดในประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี
ข้อ 26/1 หัวหน้าหน่วยงานของรัฐต้องจัดให้มีมาตรการรักษาความปลอดภัยเกี่ยวกับ
บุคคลในกรณีผู้ซ่งึ ไมใ่ ชเ่ จา้ หนา้ ท่ีของรัฐเข้ามาปฏบิ ตั ิงานในหนว่ ยงานของรัฐ

เตรยี มสอบ กกต. 2564

เตรยี มสอบพนักงาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลอื กต้งั ชุดที่ 2 450

ข้อ 27 หน่วยงานของรัฐต้องจัดให้มีการตรวจสอบประวัติและพฤติการณ์บุคคลโดย
ละเอยี ด สำหรับบคุ คลดังต่อไปน้ี

(1) บคุ คลที่จะเข้าถงึ สง่ิ ท่ีเปน็ ความลับของทางราชการชัน้ ลับที่สุด หรือลบั มากหรอื การรหสั
(2) บุคคลท่ีมีพฤติการณ์ หรือปรากฏข่าวสาร หรือติดต่อกับบุคคล หรือองค์การท้ัง
ภายในและภายนอกประเทศ ทจี่ ะเป็นภยั ต่อความมัน่ คงและผลประโยชน์แหง่ รัฐ
(3) บุคคลที่จะได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติหน้าท่ีเก่ียวข้องกับภารกิจที่สำคัญหรือแต่งตั้ง
ให้ดำรงตำแหน่งท่ีสำคัญในหน่วยงานของรัฐ รวมถึงบุคคลที่ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติงานเกี่ยวข้องกับ
ทรัพยส์ ินมคี า่ ของแผ่นดิน
ให้นำความในวรรคสามและวรรคส่ีของข้อ 26 มาใช้บังคับกับการตรวจสอบประวัติ
และพฤตกิ ารณ์บุคคลโดยละเอียดดว้ ย
ข้อ 28 ให้หัวหน้าหน่วยงานของรัฐมีหน้าท่ีรับรองความไว้วางใจบุคคลเพื่อให้เข้าถึงสิ่ง
ท่ีเป็นความลับของทางราชการตามชั้นความลับท่ีจะได้มอบหมายให้ปฏิบัติโดยยึดถือผลการตรวจสอบ
ประวัตแิ ละพฤติการณ์บุคคลน้นั
บุคคลใดจะไดร้ ับการรับรองความไว้วางใจ จะต้องผ่านการอบรมหรือช้ีแจงในเรื่องการ
รักษาความปลอดภัยตามระเบียบนี้เสียก่อน และลงนามในบันทึกรับรองการรักษาความลับเมื่อเข้ารับ
การปฏบิ ตั ิหนา้ ทใี่ นภารกจิ หรอื ตำแหนง่ หนา้ ที่
ในกรณีจำเป็นเร่งด่วน หัวหน้าหน่วยงานของรัฐอาจรับรองความไว้วางใจบุคคลโดยไม่
ตอ้ งรอฟงั ผลการตรวจสอบประวตั แิ ละพฤตกิ ารณ์บคุ คลไดต้ ามเง่อื นไข ดังตอ่ ไปน้ี
(1) ในกรณีอยู่ระหว่างรอฟังผลการตรวจสอบประวัติและพฤติการณ์บุคคลเพ่ือว่าจ้าง
บรรจหุ รอื แตง่ ต้งั บุคคลเปน็ เจ้าหนา้ ทข่ี องรฐั ตำแหน่งใด ถ้าจำเป็นตอ้ งรีบว่าจา้ ง บรรจุ หรือแตง่ ตง้ั บุคคล
เข้าปฏิบัติหน้าท่ีในตำแหน่งน้ันโดยด่วน ก็ให้วา่ จ้าง บรรจุ หรือแต่งตั้งก่อนได้ โดยมีเง่ือนไขว่าถ้าผลการ
ตรวจสอบปรากฏว่าผู้นั้นมีความประพฤติหรือมีประวัติและพฤติการณ์ไม่เหมาะสมให้ดำเนินการเพื่อให้
บคุ คลนนั้ พน้ จากการปฏิบตั หิ นา้ ที่ และให้ดำเนนิ การตามกฎหมายท่เี กย่ี วขอ้ งตอ่ ไป
(2) ในกรณีท่ีเป็นการมอบหมายความไว้วางใจให้บุคคลปฏิบัติหน้าท่ีในภารกิจหรือ
ตำแหนง่ หน้าท่ีเป็นการชั่วคราวทเ่ี กย่ี วข้องกบั สง่ิ ทเ่ี ป็นความลับของทางราชการ
แบบบันทึกรับรองการรักษาความลับเม่ือเข้ารับการปฏิบัติหน้าที่ในภารกิจหรือ
ตำแหนง่ หนา้ ที่ให้เปน็ ไปตามที่กำหนดในประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี
ข้อ 29 ให้หน่วยงานของรัฐจัดให้มีทะเบียนความไว้วางใจของเจ้าหน้าที่ของรัฐทุกคน
ตามระดับความไว้วางใจที่แต่ละคนได้รับอนุมัติ และต้องแก้ไขทะเบียนความไว้วางใจให้ตรงตาม
ใบรับรองความไว้วางใจ ตามตำแหน่งหน้าท่ีของบุคคล เม่ือมีการเปล่ียนแปลงเก่ียวกับบุคคลหรือมี
พฤติการณ์ท่ีสงสัยว่าบุคคลนั้นจะไม่เหมาะสมกับความไว้วางใจที่ได้รับอยู่ จะต้องตรวจสอบประวัติและ
พฤติการณบ์ คุ คลใหมแ่ ละแกไ้ ขทะเบยี นความไวว้ างใจทนั ที

เตรยี มสอบ กกต. 2564

เตรียมสอบพนกั งาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกต้งั ชดุ ที่ 2 451

แบบทะเบียนความไว้วางใจ และแบบใบรับรองความไว้วางใจ ให้เป็นไปตามที่กำหนด
ในประกาศสำนักนายกรฐั มนตรี

ข้อ 30 ในกรณีท่ีหน่วยงานของรัฐจะมอบหมายให้บุคคลใดปฏิบัติหน้าที่เกี่ยวกับส่ิงที่
เป็นความลับของทางราชการ บุคคลน้ันต้องผ่านการตรวจสอบประวัติและพฤติการณ์บุคคล และให้
หน่วยงานของรฐั ดำเนนิ การ ดงั ต่อไปน้ี

(1) มีคำสั่งเป็นลายลักษณ์อักษรแต่งตั้งบุคคลซ่ึงได้รับความไว้วางใจให้ปฏิบัติหน้าท่ี
เกยี่ วกบั สงิ่ ทีเ่ ปน็ ความลบั ของทางราชการ โดยบันทกึ ชื่อบคุ คลดังกลา่ วลงในทะเบียนความไวว้ างใจ

(2) มีหนังสือหรือใบรับรองความไว้วางใจให้เป็นหลักฐาน เม่ือต้องส่งบุคคลไปประชุม
หรือเข้าร่วมในกิจการอ่ืนใดท่ีเกี่ยวกับส่ิงที่เป็นความลับของทางราชการช้ันลับที่สุด หรือลับมากนอก
หน่วยงานต้นสงั กัด

ข้อ 31 ในกรณีที่บุคคลใดจะพ้นจากภารกิจหรือตำแหน่งหน้าที่ท่ีเก่ียวกับสิ่งที่เป็น
ความลับของทางราชการใหด้ ำเนินการดงั ต่อไปนี้

(1) ใหห้ นว่ ยงานของรัฐคัดชอ่ื ออกจากทะเบยี นความไว้วางใจ
(2) ให้บุคคลนั้นคืนข้อมูลข่าวสารกับหลักฐานต่าง ๆ ให้กับหัวหน้าหน่วยงานของรัฐ
หรือผ้ทู ี่ไดร้ บั มอบหมาย หรอื เจ้าหนา้ ท่ีควบคุมการรกั ษาความปลอดภัย
(3) ให้หัวหน้าหน่วยงานของรัฐ หรือผู้ท่ีได้รับมอบหมาย หรือเจ้าหน้าที่ควบคุมการ
รักษาความปลอดภัย ชแ้ี จงให้บคุ คลน้ันไดท้ ราบถึงความเสียหายต่อความมั่นคงและผลประโยชน์แห่งรัฐ
ในการเปิดเผยความลับของทางราชการ และให้บุคคลนั้นลงช่ือในบันทึกรับรองการรักษาความลับเมื่อ
พน้ จากภารกิจหรือตำแหนง่ หนา้ ที่ไวเ้ ป็นหลกั ฐาน
แบบบัน ทึกรับรองการรักษ าความลับเมื่อพ้น จากการปฏิบัติ ห น้าท่ี ในภารกิจหรือ
ตำแหน่งหนา้ ทใ่ี หเ้ ปน็ ไปตามท่กี ำหนดในประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี
ขอ้ 32 บุคคลท่ีพ้นจากภารกิจหรอื ตำแหน่งหนา้ ทไ่ี ปแลว้ เม่ือกลับเข้าทำงานในภารกิจ
หรือตำแหน่งหน้าที่ท่ีเกี่ยวกับสิ่งท่ีเป็นความลับของทางราชการ ต้องตรวจสอบประวัติและพฤติการณ์
บุคคลใหมต่ ามระเบียบน้ี

หมวด 5
การรกั ษาความปลอดภัยเกย่ี วกบั สถานที่
ข้อ 33 ให้หัวหน้าหน่วยงานของรัฐดำเนินการรักษาความปลอดภัยเกยี่ วกับสถานที่
โดยกำหนดมาตรการเพ่ือพิทักษ์รักษาให้ความปลอดภัยแก่ที่สงวน อาคาร และสถานท่ีของหน่วยงาน
ของรัฐตลอดจนข้อมูลข่าวสาร วัสดุอุปกรณ์ ศูนย์ข้อมูลสารสนเทศ ระบบสาธารณูปโภค เจ้าหน้าท่ีของ
รัฐและสิ่งอื่นท่ีหัวหน้าหน่วยงานของรัฐกำหนด ที่อยู่ในอาคารและสถานท่ีดังกล่าว ให้พ้นจากการ
โจรกรรม การบุกรุก การจารกรรม การก่อวินาศกรรม การก่อการร้าย หรือเหตุอื่นใดอันอาจทำให้เสีย
ความสามารถในการปฏบิ ตั ิภารกิจของหนว่ ยงานของรฐั ได้

เตรยี มสอบ กกต. 2564

เตรียมสอบพนักงาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกต้ังชุดที่ 2 452

ให้นำความในวรรคหนึง่ มาใชบ้ ังคับกับข้อมูลข่าวสาร ศนู ย์ข้อมูลสารสนเทศ และสงิ่ อ่ืน
ซึ่งมิได้อยู่ภายในอาคารและสถานท่ีตามวรรคหน่ึงด้วย ท้ังน้ี ตามท่ีหัวหน้าหน่วยงานของรัฐกำหนดโดย
คำนงึ ถึงความจำเป็นแกก่ ารปฏิบตั ิภารกิจของหนว่ ยงานของรัฐ

ให้หัวหน้าหน่วยงานของรัฐกำหนดมาตรการเพื่อพิทักษ์รักษาบุคคลสำคัญ เจ้าหน้าที่
ของรัฐและทรัพย์สินของรัฐ เป็นส่วนหนึ่งในการรักษาความปลอดภัยเกี่ยวกับสถานท่ีตามวรรคหน่ึงเพ่ือ
ป้องกันมิให้ผู้ไม่มีอำนาจหน้าที่กระทำการอ่ืนใดท่ีจะทำให้เกิดความเสียหายต่อบุคคลสำคัญเจ้าหน้าท่ี
ของรัฐ และทรัพย์สนิ ของรัฐ

ข้อ 34 ในการพิจารณาเกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัยเก่ียวกับสถานที่ให้หน่วยงาน
ของรฐั คำนงึ ถงึ ภยันตรายดงั ต่อไปน้ี

(1) ภยันตรายท่ีเกดิ จากปรากฏการณ์ธรรมชาติ อุปทั วเหตุ และปฏิกิรยิ าเคมี เช่น พายุ
น้ำทว่ ม ฟา้ ผา่ แผน่ ดนิ ไหว ดนิ ถลม่ ระเบิดและเพลิงไหม้

(2) ภยันตรายที่เกิดจากการกระทำของมนุษย์ ได้แก่ การกระทำโดยเปิดเผย เช่น การ
จลาจล การก่อความไม่สงบ และการโจมตีของฝ่ายตรงข้าม และการกระทำโดยไม่เปิดเผย เช่น การ
โจรกรรม การจารกรรม การกอ่ วนิ าศกรรม และการก่อการร้าย

ข้อ 35 การรกั ษาความปลอดภัยเกี่ยวกับสถานทต่ี อ้ งปฏบิ ัติ ดงั ตอ่ ไปนี้
(1) จัดทำแผนการรกั ษาความปลอดภยั เกยี่ วกบั สถานท่ี
(2) กำหนดมาตรการการรกั ษาความปลอดภยั เก่ยี วกับสถานท่ี
(3) ดำเนินการสำรวจและตรวจสอบการรักษาความปลอดภัยเกีย่ วกบั สถานที่
ข้อ 36 แผนการรักษาความปลอดภัยเกี่ยวกับสถานท่ี ให้จัดทำขึ้นโดยพิจารณาถึงสิ่ง
ดงั ต่อไปนี้
(1) ระดับความสำคัญของหน้าท่ีและภารกิจของแต่ละหน่วยงานของรัฐซึ่งมีความ
แตกต่างกนั
(2) สถานการณ์และสภาพแวดล้อมโดยรอบพ้ืนท่ี ได้แก่ ลักษณะภูมิศาสตร์และทำเล
ท่ีตั้งของหน่วยงานของรัฐ อุดมการณ์หรือทัศนคติของประชาชนในพื้นท่ีน้ัน ตลอดจนพฤติการณ์ท่ีอาจ
เปน็ ภยั ของฝา่ ยตรงขา้ ม
(3) ข่าวสาร สิ่งบอกเหตุ และการเตือนภัย ตลอดจนการสนับสนุนช่วยเหลือท่ีอาจ
ขอรับจากหน่วยงานของรฐั อ่นื ๆ
(4) จำนวนเจ้าหน้าท่ีที่ปฏิบัติงานและเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย ซ่ึงข้ึนอยู่กับ
ขนาดของอาคาร สถานที่ และพ้ืนทท่ี ่ีตอ้ งควบคมุ ดูแล
(5) งบประมาณทีจ่ ะใชใ้ นการวางมาตรการการรกั ษาความปลอดภยั เก่ยี วกบั สถานที่
(6) การออกแบบก่อสร้างท่ีสงวน อาคารและสถานที่ หรือเคร่ืองกีดขวางของทาง
ราชการท่ีมีความสำคัญ หรือความลับที่ต้องพิทักษ์รักษา ให้คำนึงถึงด้านการรักษาความปลอดภัย ทั้งน้ี
ใหอ้ ยูใ่ นความรบั ผดิ ชอบของหวั หน้าหนว่ ยงานของรฐั

เตรยี มสอบ กกต. 2564

เตรยี มสอบพนักงาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้งชุดที่ 2 453

(7) การตดิ ต่อส่ือสารภายในหน่วยงานของรัฐนั้น และกบั หน่วยงานของรัฐอน่ื ๆ
(8) การรายงานผลการสำรวจหรือการตรวจสอบการรักษาความปลอดภัยต่อ
ผบู้ งั คับบญั ชา
หน่วยงานของรัฐต้องจัดให้มีการทบทวนและซักซ้อมแผนการรักษาความปลอดภัย
เกี่ยวกบั สถานทีต่ ามวรรคหนง่ึ อย่างน้อยปีละหน่ึงคร้ัง
ข้อ 37 มาตรการการรักษาความปลอดภัยเกี่ยวกับสถานท่ี ให้หน่วยงานของรัฐ
พจิ ารณาดำเนินการดงั ต่อไปนี้
(1) กำหนดพ้ืนที่ที่มีการรักษาความปลอดภัย โดยกำหนดขอบเขตที่แน่ชัดในการ
ควบคุมการเข้าและออก
(2) ใชเ้ ครือ่ งกดี ขวาง เพอ่ื ป้องกัน ขดั ขวางหรอื หนว่ งเหนี่ยวบุคคลและยานพาหนะที่ไม่
มสี ิทธเิ ข้าไปในพื้นท่ีที่มกี ารรักษาความปลอดภยั
(3) ให้แสงสว่างเพ่ือปกป้องพ้ืนที่ที่มีความสำคัญ และเพิ่มประสิทธิภาพในการ
ตรวจสอบพืน้ ท่ี
(4) จัดให้มีระบบสัญญาณเตือนภัยสำหรับตรวจและเตือนให้ทราบ เม่ือมีการเข้าใกล้
หรอื การล่วงลำ้ เขา้ มาในพ้ืนท่ีทีม่ กี ารรักษาความปลอดภัย
(5) ควบคุมบคุ คลเพื่อตรวจสอบให้ทราบว่าเปน็ บคุ คลที่ได้รับอนุญาตให้ผ่านเข้าพืน้ ท่ีท่ี
มีการรักษาความปลอดภยั พื้นท่ีควบคมุ หรือพ้นื ท่ีหวงหา้ ม
(6) ควบคุมยานพาหนะ เพ่ือให้ทราบว่ายานพาหนะใดได้รับอนุญาตให้ผ่านเข้าในพน้ื ที่
ทีม่ ีการควบคมุ และมบี ันทกึ เปน็ หลกั ฐานการเข้าและออก
(7) จัดให้มีเจ้าหน้าท่ีรักษาความปลอดภัยสถานท่ี ประกอบด้วย เจ้าหน้าที่เวรรักษา
ความปลอดภัยประจำวนั นายตรวจเวรรกั ษาความปลอดภยั ประจำวัน ยามรกั ษาการณแ์ ละเจ้าหนา้ ทีอ่ ื่น
ๆ เพ่ือให้การรกั ษาความปลอดภัยมปี ระสิทธิภาพย่ิงขน้ึ
(8) ป้องกันอัคคีภัย โดยต้องวางแผนและกำกับดูแลให้เป็นไปตามกฎหมาย
กฎกระทรวงและมตคิ ณะรฐั มนตรี ตลอดจนคำส่งั ของทางราชการท่ีเก่ียวขอ้ งกับเรอ่ื งนี้
(9) จัดให้มีอุปกรณ์เกี่ยวกับมาตรการรักษาความปลอดภัยตามความจำเป็นในการ
ปฏบิ ตั ิภารกิจของหนว่ ยงานของรัฐ
ข้อ 38 ให้หน่วยงานของรัฐจัดให้มีการสำรวจและการตรวจสอบการรักษาความ
ปลอดภัยเกี่ยวกบั สถานท่ตี ามความเหมาะสม โดยขอคำแนะนำจากองค์การรักษาความปลอดภยั

หมวด 6
การรักษาความปลอดภัยในการประชมุ ลบั
ขอ้ 39 ในหมวดนี้

เตรียมสอบ กกต. 2564

เตรยี มสอบพนักงาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตง้ั ชดุ ท่ี 2 454

“การประชุมลบั ” หมายความวา่ การร่วมปรกึ ษาหารือเรือ่ งท่ีเกี่ยวข้องกับส่ิงทเี่ ป็น
ความลับของทางราชการ และให้หมายความรวมถึงการหาข้อยุติ ข้อพิจารณา ความเห็น การ
อภิปราย การบรรยาย การบรรยายสรปุ และเหตกุ ารณ์ท่ีปรากฏในการประชมุ ลบั นนั้ ดว้ ย

ข้อ 40 ให้หัวหน้าหน่วยงานของรัฐดำเนินการรักษาความปลอดภัยในการประชุม
ลับ โดยกำหนดมาตรการเพ่ือพิทักษ์รักษาส่ิงที่เป็นความลับของทางราชการที่ปรากฏในการประชุมลับ
ไม่ให้มีการร่ัวไหล รบกวน ขัดขวางการประชุม หรือถูกจารกรรม รวมท้ังคุ้มครองบุคคลและสถานที่ท่ี
เก่ยี วขอ้ งกับการประชมุ ลับนั้นจากการก่อวินาศกรรม

ข้อ 41 ให้หัวหน้าหน่วยงานของรัฐเจ้าของเรื่องท่ีจะมีการประชุมลับเป็นผู้รับผิดชอบ
จัดประชุมและรักษาความปลอดภัยเกี่ยวกับการประชุมนั้น หรืออาจมอบหมายให้บคุ คลท่ีเหมาะสมเป็น
ผู้ดำเนนิ การแทนได้

ให้หัวหนา้ หน่วยงานของรัฐหรือผู้ไดร้ ับมอบหมายให้รักษาความปลอดภยั ในการประชมุ
ลับแต่งต้ังเจ้าหน้าที่ควบคุมการรักษาความปลอดภัยในการประชุมลับ และนายทะเบียนข้อมูลข่าวสาร
ลับรวมทงั้ แจ้งให้ผ้เู ข้ารว่ มการประชมุ และผมู้ หี น้าทีเ่ กยี่ วข้องทกุ ฝา่ ยทราบ

ข้อ 42 ในกรณีท่ีผู้เข้าประชุมแต่ละฝ่ายจำเป็นต้องวางมาตรการการรักษาความ
ปลอดภัยเฉพาะในฝ่ายตนแล้ว การวางมาตรการดังกล่าวต้องสอดคล้องกับมาตรการการรักษาความ
ปลอดภัยในการประชุมลับตามระเบียบนี้ และให้แต่งต้ังเจ้าหน้าท่ีรักษาความปลอดภัยของฝ่ายนั้นข้ึน
เพอ่ื ทำหน้าท่ีประสานงานในเรื่องการรักษาความปลอดภยั กับเจา้ หน้าท่ีควบคุมการรักษาความปลอดภยั
ในการประชุมลับ

ข้อ 43 การรกั ษาความปลอดภัยในการประชมุ ลบั ต้องคำนงึ ถึงหลกั การ ดงั ต่อไปน้ี
(1) บุคคลท่ีเก่ียวข้องกับการประชุมลับ ต้องผ่านการตรวจสอบประวัติและพฤติการณ์
บุคคล พรอ้ มทง้ั ได้รบั ความไวว้ างใจให้เขา้ ถงึ ความลับในการประชมุ นัน้ และการปฏิบัติงานให้อย่ใู นความ
ควบคุมของเจ้าหน้าที่ควบคุมการรักษาความปลอดภัยในการประชุมลับน้ัน สำหรับผู้ท่ีไม่มีอำนาจหน้าท่ี
ต้องไมไ่ ด้รบั ทราบหรือครอบครองสงิ่ ทีเ่ ป็นความลบั ของทางราชการในการประชมุ
(2) ห้ามนำเคร่ืองมือสื่อสาร วัสดุอุปกรณ์ หรือเคร่ืองบันทึกภาพหรือเสียงเข้าไปใน
สถานทป่ี ระชุม และต้องไม่นำเครอ่ื งมอื วสั ดุอุปกรณ์ หรอื ข้อมลู ข่าวสารใด ๆ ออกนอกสถานท่ีประชุมนนั้
ข้อ 44 การรักษาความปลอดภัยในการประชุมลับ ให้หน่วยงานของรัฐพิจารณา
ดำเนินการดงั ต่อไปน้ี
(1) กำหนดพืน้ ท่ีท่ีมกี ารรักษาความปลอดภยั
(2) ดำเนินการรักษาความปลอดภยั
(3) ประสานงานการรักษาความปลอดภัย
(4) กำหนดวธิ ีปฏบิ ตั ิตอ่ ผูม้ าติดตอ่
(5) แถลงขา่ วต่อส่ือมวลชน
(6) บรรยายหรอื บรรยายสรปุ เรอ่ื งทเ่ี ปน็ ความลบั

เตรียมสอบ กกต. 2564

เตรียมสอบพนกั งาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตง้ั ชดุ ที่ 2 455

ข้อ 45 การกำหนดพน้ื ที่ที่มีการรักษาความปลอดภัยในการประชุมลับ ประกอบด้วยสิ่ง
ดงั ตอ่ ไปนี้

(1) กำหนดอาณาเขตที่ใช้ในการประชุมลับ ท่ีทำการของผู้เข้าประชุมลับและสถานที่ท่ี
ใช้เก็บรักษาสิ่งท่ีเป็นความลับของทางราชการ และจัดให้มีมาตรการการรักษาความปลอดภัยตามความ
จำเป็นและเหมาะสมไว้ล่วงหนา้ กอ่ นเปิดการประชมุ ลบั

(2) กำหนดให้มีบัตรผ่านหรือป้ายแสดงตนสำหรับใช้ควบคุมบุคคล หลักเกณฑ์และวิธี
ปฏบิ ัตใิ นการกำหนดพ้ืนที่ทมี่ ีการรกั ษาความปลอดภัยในการประชมุ ลับตามวรรคหนึ่ง ให้ดำเนินการตาม
มาตรการการรกั ษาความปลอดภัยเกย่ี วกับสถานท่ี

ข้อ 46 เจ้าหน้าที่ควบคุมการรักษาความปลอดภัยในการประชุมลับต้องดำเนินการ
ดังตอ่ ไปน้ี

(1) ตรวจตราและตรวจสอบทางเทคนิคตลอดในพ้ืนท่ีที่กำหนดให้มีการรักษาความ
ปลอดภยั ทั้งหมดอย่างละเอยี ดกอ่ นวนั เปิดประชุมลบั และระหวา่ งการประชมุ ลบั

(2) ในกรณีที่การประชุมลับน้ันมีความสำคัญมาก หน่วยงานของรัฐอาจขอความ
ช่วยเหลือจากองค์การรักษาความปลอดภัยได้ หลังจากท่ีองค์การรักษาความปลอดภัยตรวจสอบแล้ว
ใหส้ ่งมอบความรับผิดชอบในพ้ืนท่ีน้นั เป็นลายลักษณ์อกั ษรแก่เจ้าหนา้ ทคี่ วบคมุ การรักษาความปลอดภยั
ในการประชมุ ลบั หรอื ผแู้ ทนหนว่ ยงานนัน้

การปฏิบัติต่อส่ิงท่ีเป็นความลับของทางราชการ การควบคุมดูแลการประชุมลับ
การทำลายข้อมูลข่าวสารลับที่ไม่ใช้แล้ว ให้อยู่ในความดูแลของเจ้าหน้าท่ีควบคุมการรักษาความ
ปลอดภัยในการประชุมลับและนายทะเบยี นขอ้ มลู ขา่ วสารลับ

ข้อ 47 ในกรณีท่ีมีผู้มาติดต่อกับผู้เข้าประชุมในการประชุมลับ ผู้รับผิดชอบจัดประชุม
ต้องจดั ให้มกี ารปฏิบตั ติ ามขอ้ 37 (5) และขอ้ 45 (2) โดยอนโุ ลม

ข้อ 48 กรณีจำเป็นต้องมีการแถลงข่าวเกี่ยวกับการประชุมลับ ให้ผู้รับผิดชอบจัด
ประชมุ ดำเนินการดังต่อไปนี้

(1) จัดสถานที่ท่ีใช้แถลงข่าวข้ึนโดยเฉพาะ และควรอยู่นอกพื้นที่ที่มีการรักษาความ
ปลอดภัยในการประชุมลบั

(2) กำหนดให้ผู้แถลงข่าว หัวข้อที่จะนำแถลง และข้อมูลข่าวสารที่จะเผยแพร่ต้อง
ได้รับอนุมัติจากที่ประชุมลับก่อน หรือในกรณีที่ที่ประชุมลับมอบหมายให้มีผู้แถลงข่าวหลายคน
ผู้แถลงข่าวแต่ละคนตอ้ งแถลงเฉพาะเรือ่ งทต่ี นได้รบั อนมุ ตั จิ ากท่ปี ระชุมลับเท่านั้น

(3) ควบคุมให้การแถลงขา่ วหรือการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร และผู้เข้ารบั ฟังเปน็ ไปด้วย
ความเหมาะสม

ข้อ 49 ในกรณีที่เป็นการบรรยายหรือการบรรยายสรุปเร่ืองที่เป็นความลับนอกจาก
จะต้องปฏิบัติตามมาตรการในการรักษาความปลอดภัยในการประชุมลับแล้วให้ดำเนินการดังต่อไปนี้
ดว้ ย

เตรียมสอบ กกต. 2564

เตรยี มสอบพนักงาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลือกตัง้ ชดุ ท่ี 2 456

(1) กำหนดชั้นความลับของการบรรยายหรือการบรรยายสรุป โดยถือตามชั้นความลับ
ที่สงู สดุ ในขอ้ มลู ข่าวสาร หรือส่งิ ทใ่ี ชป้ ระกอบการบรรยายหรือการบรรยายสรปุ น้นั

(2) กำหนดให้ผู้เข้ารับฟังทุกคนต้องได้รับความไว้วางใจให้เข้าถึงช้ันความลับของการ
บรรยายหรือการบรรยายสรุปนน้ั

(3) เมื่อเริ่มและส้ินสุดการบรรยายหรือการบรรยายสรุป ผู้บรรยายต้องแจ้งให้ผู้เข้ารับ
ฟังรับทราบช้ันความลับของการบรรยาย และเน้นย้ำให้ดำเนินการรักษาความปลอดภัยต่อส่ิงที่ได้รับฟัง
จากการบรรยายหรือการบรรยายสรปุ นน้ั

หมวด 7
การละเมดิ การรักษาความปลอดภัย
ข้อ 50 ให้หัวหน้าหน่วยงานของรัฐกำหนดมาตรการเพื่อป้องกันการละเมิด
ฝ่าฝืน หรือละเลยไม่ปฏิบัติตามมาตรการการรักษาความปลอดภัยท่ีกำหนดไว้ จะโดยเจตนาหรือไม่ก็
ตาม อันเป็นเหตุให้สิ่งที่เป็นความลบั ของทางราชการร่ัวไหล หรือเปน็ เหตใุ ห้เจ้าหน้าท่ีของรัฐ หรือวัสดุ
อปุ กรณห์ รอื ทรพั ยส์ นิ ของรฐั ไดร้ บั ความเสียหาย
ข้อ 51 ให้เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้พบเห็นหรือทราบ หรือสงสัยว่าจะมีหรือมีการละเมิด
มาตรการการรักษาความปลอดภัย รีบดำเนินการเบ้ืองต้นเพ่ือลดความเสียหายให้เหลือน้อยท่ีสุดและ
รายงานผู้บังคับบัญชา หรือเจ้าหน้าที่ควบคุมการรักษาความปลอดภัย หรือเจ้าหน้าท่ีผู้รับผิดชอบ
หรือแจง้ เจา้ ของเร่อื งเดิมทราบโดยเร็วทส่ี ุด
ให้นำความในวรรคหนึ่งมาใช้บังคับกับการรักษาความปลอดภัยทางระบบเครือข่าย
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศด้วย และให้แจ้งเจ้าหน้าที่ควบคุมการรักษาความปลอดภัย หรือ
เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบ เพื่อให้ประสานหน่วยงานของรัฐท่ีรับผิดชอบโดยตรง หรือหน่วยงานเอกชนท่ี
ได้รบั มอบหมายหรือเปน็ ค่สู ญั ญากบั หน่วยงานของรัฐดำเนนิ การในทนั ทีทีเ่ ผชญิ เหตุ
ข้อ 52 ให้เจ้าหน้าท่ีควบคุมการรักษาความปลอดภัยหรือเจ้าหน้าท่ีผู้รับผิดชอบ
ดำเนินการดงั ต่อไปน้ี
(1) สำรวจและตรวจสอบความเสียหายอนั เกิดจากการละเมดิ มาตรการการรักษาความ
ปลอดภยั
(2) ดำเนนิ การเพือ่ ป้องกันหรอื ลดความเสียหายใหเ้ หลอื นอ้ ยทส่ี ดุ
(3) สำรวจตรวจสอบและค้นหาสาเหตุแห่งการละเมิดมาตรการการรักษาความ
ปลอดภยั ตลอดจนจดุ ออ่ นและขอ้ บกพร่องต่าง ๆ
(4) ดำเนินการแก้ไขมาตรการการรักษาความปลอดภัยให้รัดกุมยิ่งข้ึน เพ่ือป้องกันมิให้
มกี ารละเมดิ มาตรการการรักษาความปลอดภัยเกิดขนึ้ อกี
(5) รายงานรายละเอียดเกี่ยวกับการละเมิดมาตรการการรักษาความปลอดภัยต่อ
ผู้บังคับบัญชาตามลำดับชั้น หากมีข้อมูลข่าวสารลับสูญหายให้รายงานและบันทึกลงในทะเบียนควบคุม
ข้อมลู ข่าวสารลับด้วย

เตรยี มสอบ กกต. 2564

เตรียมสอบพนักงาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตัง้ ชุดท่ี 2 457

(6) หากปรากฏหลักฐานหรือข้อสงสัยว่าเกดิ การจารกรรม การก่อวนิ าศกรรม หรือการ
ร่ัวไหลซ่ึงสิ่งที่เป็นความลับของทางราชการ ให้รายงานและขออนุมัติผู้บังคับบัญชาตามลำดับชั้น เพ่ือ
แจ้งเรื่องให้เจา้ หนา้ ทผี่ ู้มอี ำนาจหนา้ ทใี่ นดา้ นการสบื สวนดำเนินการต่อไป

ข้อ 53 เมื่อได้ดำเนินการตามข้อ 52 แล้ว ให้หัวหน้าหน่วยงานของรัฐ ดำเนินการ
ดงั ต่อไปน้ี

(1) แจ้งให้หน่วยงานของรัฐซ่ึงเป็นเจ้าของเร่ืองเดิมหรือเจ้าของสถานที่หรือผู้ท่ี
เกยี่ วข้องทราบทันที

(2) สอบสวนเพ่อื ใหท้ ราบว่าผู้ใดเปน็ ผ้ลู ะเมดิ และผู้ใดเป็นผรู้ ับผดิ ชอบต่อการละเมดิ นั้น
(3) พจิ ารณาแกไ้ ขข้อบกพร่องและปอ้ งกนั มิให้เหตกุ ารณ์เช่นนั้นเกิดขึน้ ซ้ำอกี
(4) พิจารณาดำเนินการลงโทษตามกฎหมายต่อผู้ละเมิดมาตรการการรักษาความ
ปลอดภัยหรอื ผู้จะละเมดิ และผ้รู บั ผิดชอบต่อการละเมิดน้ัน
ข้อ 54 ให้หน่วยงานของรัฐซึ่งเป็นเจ้าของเรื่องเดิมหรือผู้ท่ีเก่ียวข้อง ดำเนินการ
ดังตอ่ ไปนี้
(1) พจิ ารณาวา่ สมควรลดหรือยกเลิกชนั้ ความลบั ของสิ่งที่เป็นความลบั ของทางราชการ
นน้ั หรอื ไม่
(2) ขจัดความเสียหายอันเกิดจากการละเมิดมาตรการการรักษาความปลอดภัยที่จะมี
ตอ่ ความม่ันคงและผลประโยชน์แห่งรัฐ ในการน้ี อาจต้องเปลี่ยนนโยบายและแผนพร้อมทั้งปัจจัยต่าง ๆ
ที่เกีย่ วข้องตามท่เี หน็ สมควร

บทเฉพาะกาล
ข้อ 55 ให้ส่ิงท่ีเป็นความลับของทางราชการที่มีอยู่ก่อนตามระเบียบว่าด้วยการรักษา
ความปลอดภยั แหง่ ชาติ พ.ศ. 2517 เปน็ ส่งิ ที่เปน็ ความลบั ของทางราชการตามระเบียบนี้
บรรดาหลักเกณฑ์ วิธีการ และมาตรการท่ีเกี่ยวข้องกับการรักษาความปลอดภัยที่ได้
กำหนดไว้ก่อนระเบียบนี้ใช้บังคับ ให้คงมีผลใช้บังคับต่อไป จนกว่าจะได้มีการกำหนดข้ึนใหม่ตาม
ระเบยี บนี้
แบบเอกสารต่าง ๆ ตามระเบียบว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2517
ซ่งึ มอี ยกู่ ่อนระเบยี บน้ีใชบ้ งั คบั ให้ใชไ้ ดต้ ่อไปจนกว่าจะมกี ารกำหนดแบบตามระเบยี บน้ี

เตรยี มสอบ กกต. 2564

เตรยี มสอบพนกั งาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลอื กตัง้ ชุดที่ 2 458

สรุป
ระเบียบวา ดว ยการรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ. 2544

1. บททว่ั ไป
2. หัวหนา หนว ยงานของรฐั
3. องคก ารรกั ษาความปลอดภยั
4. ประเภทช้ันความลบั
5. การกำหนดชนั้ ความลบั
6. การทะเบียน
7. การดำเนนิ การเกยี่ วกบั ขอ มลู ขาวสารลบั

1. บททัว่ ไป
1.1 ระเบียบวาดวยการรกั ษาความลับของทางราชการ พ.ศ. 2544 ใหไว ณ วนั ที่ 5 กุมภาพันธ

2544 / ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เม่ือวันที่ 23 กุมภาพันธ 2544 / ใหใชบังคับเมื่อพนกำหนด 120
วันนับแตวนั ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาเปน ตนไป

1.2 ไดมีการแกไขเพิ่มเติมโดย ระเบียบวาดวยการรักษาความลับของทางราชการ (ฉบับท่ี 2)
พ.ศ. 2561 ประกาศ ณ วันที่ 30 พฤษภาคม 2561 / ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เม่ือวันที่ 26
มถิ ุนายน 2561 / ใหใ ชบังคับเมอ่ื พนกำหนด 120 วนั นบั แตว ันประกาศในราชกิจจานเุ บกษาเปน ตนไป

1.3 ระเบียบวาดวยการรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ. 2544 ออกโดยอาศัยอำนาจตาม
พระราชบัญญตั ิขอมลู ขาวสารของราชการ พ.ศ. 2540

1.4 นายกรัฐมนตรีรักษาการตามระเบียบวาดวยการรักษาความลบั ของทางราชการ พ.ศ. 2544
(ระเบยี บฯ ขอ 4)

1.5 ทกุ 5 ปเ ปน อยางนอย ใหนายกรฐั มนตรจี ัดใหม ีการทบทวนการปฏิบตั กิ ารตามระเบียบและ
พิจารณาแกไ ขเพิ่มเติมระเบยี บใหเ หมาะสม (ระเบยี บฯ ขอ 6)
2. หัวหนา หนวยงานของรัฐ

2.1 “หวั หนา หนวยงานของรัฐ” หมายความวา
(1) หัวหนาสว นราชการทีม่ ฐี านะเปนนิตบิ คุ คล

เตรยี มสอบ กกต. 2564

เตรียมสอบพนกั งาน สำนักงานคณะกรรมการการเลอื กตงั้ ชดุ ท่ี 2 459

สำหรับกระทรวงกลาโหม ใหหมายความรวมถึงหัวหนาสวนราชการท่ีขึ้นตรงตอสวนราชการในสังกัด
กระทรวงกลาโหมท่ีมีฐานะเปนนิติบคุ คลดวย

(2) ผูว าราชการจงั หวดั สำหรับราชการสวนภูมิภาค
(3) ผูวาราชการกรุงเทพมหานคร นายกองคการบริหารสวนจังหวัด นายกเทศมนตรี นายก
องคการบริหารสวนตำบล นายกเมืองพัทยา หรือหัวหนาผูบริหารองคกรปกครองสวนทองถ่ินอื่นท่ีมี
กฎหมายจัดตงั้ แลวแตก รณี สำหรับราชการสวนทองถิ่น
(4) ผูวาการ ผูอำนวยการ กรรมการผูจัดการ ผูจัดการ หรือบุคคลซึ่งดำรงตำแหนงผูบริหาร
สูงสุดที่มอี ำนาจหนาทคี่ ลายคลึงกนั ในรฐั วิสาหกิจนนั้ สำหรับงานของรฐั วสิ าหกจิ
(5) ผูบริหารสูงสุดของหนวยงานอ่ืนของรัฐ เชน อัยการสูงสุด เลขาธิการสำนักงานศาลยุติธรรม
เลขาธิการสภาผูแทนราษฎร เลขาธิการคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ
ผูอำนวยการองคก ารมหาชน นายกสภาทนายความ (ระเบยี บฯ ขอ 5)
2.2 หัวหนาหนวยงานของรัฐมีหนาที่รักษาขอมูลขาวสารลับในหนวยงานของตน และอาจ
มอบหมายหนา ที่ไดตามความจำเปนใหผ ูใตบังคับบัญชาหรือใหแกราชการสว นภมู ิภาค ในกรณีท่ีสามารถ
มอบอำนาจไดต ามกฎหมาย
ผูมีหนาที่รักษาขอมูลขาวสารลับในหนวยงานตองรักษาขอมูลขาวสารลับใหปลอดภัย การให
บุคคลใดเขาถึงขอมูลขาวสารลับหรือการเปดเผยขอมูลขาวสารลับแกผูใดตองกระทำโดยระมัดระวัง ใน
กรณีจำเปนใหกำหนดเงื่อนไขในการปฏิบัติใหเหมาะสมแกกรณี โดยคำนึงถึงการรักษาความลับและ
ประสิทธิภาพในการดำเนินการตามระเบยี บ (ระเบียบฯ ขอ 7)
บุคคลที่จะเขาถึงขอมูลขาวสารลับในชั้นความลับใด จะตองเปนบุคคลที่ผูบังคับบัญชา
มอบหมายความไววางใจ และใหเขาถึงขอมูลขาวสารลับไดเฉพาะเร่ืองท่ีไดรับมอบหมายเทานั้น
(ระเบียบฯ ขอ 8)
2.3 กรณีท่ีเห็นเปนการสมควร หัวหนาหนวยงานของรัฐอาจขอใหองคการรักษาความปลอดภัย
ชวยตรวจสอบประวัติและพฤตกิ ารณของเจา หนาท่ขี องตนทีเ่ กี่ยวของกับชนั้ ความลับได (ระเบียบฯ ขอ 9)
3. องคก ารรกั ษาความปลอดภยั
องคก ารรักษาความปลอดภัยตามระเบยี บ ไดแ ก
(1) สำนกั ขาวกรองแหงชาติ สำนกั นายกรฐั มนตรี เปน องคก ารรกั ษาความปลอดภัยฝา ยพลเรือน
(2) ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย กองทัพไทย กระทรวงกลาโหม เปน
องคก ารรกั ษาความปลอดภยั ฝา ยทหาร

เตรยี มสอบ กกต. 2564

เตรยี มสอบพนักงาน สำนักงานคณะกรรมการการเลอื กต้ัง ชุดที่ 2 460

(3) กองบัญชาการตำรวจสันติบาล สำนักงานตำรวจแหงชาติ เปนองคการรักษาความปลอดภัย
ฝา ยตำรวจ
4. ประเภทชน้ั ความลับ

ชน้ั ความลบั ของขอมูลขา วสารลบั
“ขอมูลขาวสารลับ” หมายความวา ขอมูลขาวสารตามมาตรา 14 หรือมาตรา 15 (ขอมูล
ขาวสารของราชการท่ีอาจกอใหเกิดความเสียหายตอสถาบันพระมหากษัตริยตามมาตรา 14 หรือขอมูล
ขาวสารของราชการท่ีมีลักษณะที่หนวยงานของรัฐหรือเจาหนาที่ของรัฐอาจมีคำสั่งมิใหเปดเผยก็ไดตาม
มาตรา 15 อยูดว ย) ท่ีมคี ำส่ังไมใ หเ ปดเผยและอยูใ นความครอบครองหรือควบคมุ ดูแลของหนว ยงานของ
รัฐ ไมวาจะเปนเร่ืองที่เก่ียวกับการดำเนินงานของรัฐหรือที่เก่ียวกับเอกชนซ่ึงมีการกำหนดใหมีชั้น
ความลับเปน ช้ันลับ ชั้นลับมาก หรือชั้นลับท่ีสุด ตามระเบียบนี้โดยคำนึงถึงการปฏิบัติหนาที่ของ
หนวยงานของรฐั และประโยชนแ หง รัฐประกอบกัน
ชนั้ ความลบั ของขอ มูลขาวสารลบั แบง ออกเปน ๓ ชั้น คอื (ระเบียบฯ ขอ 12)
4.1 ลับทสี่ ดุ (TOP SECRET)
หมายความถึง ขอมูลขาวสารลับซึ่งหากเปดเผยท้ังหมดหรือเพียงบางสวนจะกอใหเกิดความ
เสียหายแกป ระโยชนแ หงรฐั อยางรายแรงท่ีสดุ
4.2 ลับมาก (SECRET)
หมายความถงึ ขอ มูลขา วสารลับซึง่ หากเปดเผยทั้งหมดหรอื เพียงบางสวนจะกอใหเกิดความ
เสยี หายแกประโยชนแหงรัฐอยา งรา ยแรง
4.3 ลับ (CONFIDENTIAL)
หมายความถึง ขอมูลขาวสารลบั ซ่งึ หากเปดเผยทัง้ หมดหรอื เพยี งบางสวนจะกอใหเกดิ ความ
เสยี หายแกประโยชนแ หงรัฐ
โดยคำวา “ประโยชนแหงรัฐ” หมายความวา การดำเนนิ งานของรฐั ที่เก่ยี วกบั ประโยชน
สาธารณะหรือประโยชนข องเอกชนประกอบกนั ไมวา จะเปนเร่ืองความม่นั คงของรัฐทเ่ี กยี่ วกับการเมือง
ภายในประเทศหรือระหวา งประเทศ การปองกันประเทศ เศรษฐกิจ สังคม วิทยาศาสตร เทคโนโลยี
การพลงั งาน และสง่ิ แวดลอ ม

5. การกำหนดชั้นความลบั
5.1 หัวหนาหนวยงานของรัฐมีหนาท่ีรับผิดชอบในการกำหนดชั้นความลับ และใหเหตุผล

ประกอบการกำหนดช้ันความลับของขอมูลขาวสารลับวาเปนขอมูลขาวสารประเภทใดและเพราะเหตุใด

เตรยี มสอบ กกต. 2564

เตรยี มสอบพนักงาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลือกต้ัง ชุดท่ี 2 461

โดยอาจมอบหมายหนาท่ีดังกลาวไดตามความจำเปนใหผูใตบังคับบัญชาหรือใหแกราชการสวนภูมิภาค
ในกรณีท่สี ามารถมอบอำนาจไดต ามกฎหมาย (ระเบียบฯ ขอ 16)

5.2 กรณีท่ีมีความจำเปนเรงดวน เจาหนาท่ีที่เกี่ยวของมีอำนาจกำหนดชั้นความลับเปนการ
ชั่วคราวไดและใหรีบเสนอตอผูมีอำนาจกำหนดชั้นความลับเพื่อส่ังการเก่ียวกับการกำหนดช้ันความลับ
ตอไปทนั ที (ระเบยี บฯ ขอ 17)

5.3 นายทะเบียนตองจดแจงเหตุผลประกอบการกำหนดชั้นความลับของขอมูลขาวสารลับไวใน
ทะเบียนควบคุมขอมูลขาวสารลับ แตถาเหตุผลมีรายละเอียดมากหรือเหตุผลนั้นบางสวนมีชั้นความลับ
สูงกวา ใหบันทึกเหตุผลยอไวในทะเบียนควบคุมและบันทึกเหตุผลละเอียดหรือเหตุผลสวนที่มีช้ัน
ความลับสูงกวาดังกลาวแยกออกมาโดยเก็บไวระหวางใบปกขอมูลขาวสารลับกับขอมูลขาวสารลับน้ัน
(ระเบยี บฯ ขอ 18)

5.4 หัวหนาหนวยงานของรัฐกำหนดระเบียบปฏิบัติเพ่ิมเติมไดและถาเห็นวาการปฏิบัติตาม
ระเบียบเร่ืองใดจะกอใหเกิดความยุงยากโดยไมเหมาะสม จะกำหนดวิธกี ารรักษาความลบั ในเร่อื งน้ันดวย
วธิ ีการอื่นทีม่ ีประสิทธภิ าพเทา กันหรือดกี วา แทนได (ระเบียบฯ ขอ 20)

5.5 เครื่องหมายแสดงช้ันความลับใหใชตัวอักษรตามช้ันความลับท่ีขนาดใหญกวาตัวอักษร
ธรรมดา โดยใชส แี ดงหรอื สีอ่ืนท่ีสามารถมองเห็นไดเ ดน และชัดเจน (ระเบยี บฯ ขอ 21)

5.6 การแสดงชั้นความลับของขอ มูลขา วสาร (ระเบยี บฯ ขอ 22)
- เอกสารใหแสดงชั้นความลับที่กลางหนากระดาษทั้งดานบนและดานลางของทุกหนา

ถา เขาปกใหแ สดงไวท่ดี านนอกของปกหนา ปกหลังดว ย
- ภาพเขียน ภาพถาย แผนที่ แผนภูมิ แผนผังและสำเนาส่ิงของดังกลาว ใหแสดงชั้น

ความลับท่ีกลางหนากระดาษท้ังดานบนและดานลางของทุกหนา ถาเขาปกใหแสดงไวที่ดานนอกของปก
หนา ปกหลังดวย ถาเอกสารน้ันมวนหรือพับไดใหแสดงช้ันความลับไวใหปรากฏเห็นไดขณะท่ีมวนหรือ
พบั อยดู วย

- จานบันทึก แถบบันทึก ฟลมบันทึกภาพทุกประเภทหรือสิ่งบันทึกท่ีสามารถแสดงผล
หรือสื่อความหมายโดยกรรมวิธีใด ๆ ใหแสดงชั้นความลับไวที่ตนและปลายมวนฟลมหรือตนและปลาย
ของขอมูลขาวสารหรือบนวัสดุหรือบนภาชนะที่บรรจุ ถาไมสามารถแสดงช้ันความลับไวในที่ดังกลาวได
ใหเ กบ็ ในกลองหรือหีบหอ ซง่ึ มเี ครื่องหมายแสดงชัน้ ความลบั นน้ั

5.7 การปรับช้ันความลับ ตองกระทำโดยผูมีอำนาจกำหนดชั้นความลับของหนวยงานเจาของ
เร่อื ง (ระเบียบฯ ขอ 23)

เตรยี มสอบ กกต. 2564

เตรียมสอบพนกั งาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลอื กต้ัง ชดุ ที่ 2 462

5.8 ขอมูลขาวสารที่คณะกรรมการวินิจฉัยการเปดเผยขอมูลขาวสารมีคำวินิจฉัยใหเปดเผยโดย
ไมมขี อจำกัดหรือเงอ่ื นไขใด ใหถอื วาขอมลู ขาวสารนัน้ ถูกยกเลิกชน้ั ความลับแลว เวนแตมกี ารฟองคดีตอ
ศาลและศาลมีคำสัง่ หรอื คำพิพากษาเปน อยางอ่นื (ระเบยี บฯ ขอ 24)
6. การทะเบียน

6.1 ใหหัวหนาหนวยงานของรัฐแตงต้ังเจาหนาที่ควบคุมและรับผิดชอบการดำเนินการเก่ียวกับ
ขอ มลู ขา วสารลับขึ้นภายในหนว ยงาน เรียกวา “นายทะเบียนขอ มูลขาวสารลบั ” (ระเบียบฯ ขอ 25)

6.2 นายทะเบียนขอมูลขา วสารลบั อยา งนอยตองจัดใหมีทะเบียนขอมูลขาวสารลบั ประกอบดว ย
ทะเบียนรับ ทะเบียนสง และทะเบียนควบคุมขอมูลขาวสารลับแยกตางหากจากทะเบียนงานสารบรรณ
ตามปกติ (ระเบยี บฯ ขอ 27)

6.3 หัวหนาหนวยงานของรัฐตองแตงตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ ทำการตรวจสอบความ
ถูกตองในการปฏิบัติตามระเบียบและการมีอยูของขอมูลขาวสารลับท่ีมีอยูในทะเบียนขอมูลขาวสารลับ
อยางนอยทุก 6 เดือนและเสนอรายงานการตรวจสอบใหหัวหนาหนวยงานของรัฐน้ันทราบและสั่งการ
ตอ ไป (ระเบยี บฯ ขอ 29)

6.4 หนวยงานของรัฐตองรายงานผลการปฏิบัติเก่ียวกับขอมูลขาวสารลับตามระเบียบภายใน
เดือนมีนาคมของทกุ ป ตอ คณะกรรมการขอ มูลขาวสารของราชการ (ระเบยี บฯ ขอ 29/1)
7. การดำเนนิ การเกย่ี วกบั ขอมูลขาวสารลบั

7.1 ขอมูลขาวสารลับท่ีมีสภาพเปนเอกสารใหแสดงช่ือหนวยงานของรัฐเจาของเร่ืองเลขที่ชุด
ของจำนวนชุดทั้งหมด และเลขท่ีหนาของจำนวนหนาทั้งหมดไวทุกหนาของขอมูลขาวสารลับ และจะ
แสดงชอ่ื หนวยงานสวนยอยไวด ว ยกไ็ ด

ขอมูลขาวสารลับท่ีมีสภาพเปนจานบันทึก แถบบันทึก ฟลมบันทึกภาพทุกประเภทหรือสิ่ง
บันทึกท่ีสามารถแสดงผลหรือสื่อความหมายโดยกรรมวิธีใด ๆ ใหแสดงช่ือหนวยงานของรัฐเจาของเรื่อง
และเลขที่ชุดของจำนวนชุดทั้งหมดไวที่กลองหรือหีบหอของขอมูลขาวสารลับนั้น และจะแสดงช่ือ
หนว ยงานสว นยอ ยไวดวยก็ได (ระเบยี บฯ ขอ 32)

7.2 การสำเนา การแปลเอกสาร การเขารหัส หรือการถอดรหัสขอมูลขาวสารลับตองบันทึก
(ผูด ำเนินการจะจดั ทำโดยใชร หสั ลับก็ได) จำนวนชุด ยศ ช่อื ตำแหนงของผูดำเนินการ และช่อื หนว ยงาน
ของรฐั ทีจ่ ัดทำไวท ี่ขอมูลขาวสารลบั ฉบับตนทีต่ นครอบครองและทีฉ่ บับสำเนา ฉบับคำแปล ฉบับเขารหัส
หรือฉบับถอดรหัส แลวแตก รณี ดว ย (ระเบียบฯ ขอ 33)

7.3 การโอนขอมูลขาวสารลับระหวางหนวยงานของรัฐ หรือการโอนภายในหนวยงานเดียวกัน
ใหเจาหนาท่ีผูโอนและเจาหนาท่ีผูรับโอนจัดทำบันทึกการโอนและการรับโอนขอมูลขาวสารลับตามแบบ

เตรียมสอบ กกต. 2564

เตรียมสอบพนักงาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลือกต้ัง ชุดที่ 2 463

ท่ีนายกรัฐมนตรีกำหนด และใหนายทะเบียนขอมูลขาวสารลับจดแจงการโอนขอมูลขาวสารลับดังกลาว
ไวใ นทะเบียนควบคมุ ขอ มูลขา วสารลบั (ระเบยี บฯ ขอ 34)

7.4 การสงขอมูลขาวสารลับภายในบริเวณหนวยงานเดียวกันทุกชั้นความลับตองใชใบปกขอมูล
ขา วสารลบั ปดทับขอมูลขาวสารลบั (ระเบยี บฯ ขอ 35)

7.5 การสงขอมูลขาวสารลับออกนอกบริเวณหนวยงาน ตองบรรจุซองหรือภาชนะทึบแสงสอง
ช้ันอยา งม่ันคง (ระเบียบฯ ขอ 36)

7.6 การสงขอมูลขาวสารลับออกนอกบริเวณหนวยงานภายในประเทศโดยเจาหนาท่ีนำสาร ให
หัวหนาหนวยงานของรัฐหรือผูซ่ึงหัวหนาหนวยงานของรัฐมอบหมายมีอำนาจอนุญาตใหกระทำได และ
ใหนายทะเบียนขอมูลขาวสารลับลงทะเบียนกอนสงออก การสงขอมูลขาวสารลับดังกลาวจะจัดใหมีผู
อารกั ขาการนำสารดวยก็ได (ระเบยี บฯ ขอ 37)

7.7 การสงขอมูลขาวสารลับออกนอกประเทศ ใหปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงการตางประเทศ
วาดวยถุงเมลการทูตโดยอนุโลม หรือใหเจาหนาที่ซ่ึงมีฐานะทางการทูตถือไปดวยตนเอง (ระเบียบฯ ขอ
39)

7.8 การเก็บรักษาขอมูลขาวสารลับ ใหหนวยงานของรัฐเก็บรักษาไวในที่ปลอดภัยและให
กำหนดระเบียบการเก็บรักษาขอมูลขาวสารลับไวเปนการเฉพาะตามคำแนะนำขององคการรักษาความ
ปลอดภยั (ระเบียบฯ ขอ 44)

7.9 การใหยืมขอมูลขาวสารลับ ใหหัวหนาหนวยงานของรัฐหรือผูซึ่งหัวหนาหนวยงานของรัฐ
มอบหมายพิจารณาดวยวาผูยืมมีหนาที่ดำเนินการในเรื่องท่ียืมและสามารถปฏิบัติตามระเบียบน้ีได
หรือไม (ระเบียบฯ ขอ 45)

7.10 กรณีที่การเก็บรักษาขอมูลขาวสารลับชั้นลับที่สุดจะเส่ียงตอการร่ัวไหลอันจะกอใหเกิด
อนั ตรายแกประโยชนแหงรฐั หัวหนาหนวยงานของรัฐจะพิจารณาส่ังทำลายขอมูลขา วสารลับช้ันลับที่สุด
นั้นได หากพิจารณาเห็นวามีความจำเปนอยางยิ่งท่ีจะตองทำลาย นอกจากกรณีที่กลาวมาจะส่ังทำลาย
ไดตอเม่ือไดสงขอมูลขาวสารลับใหหอจดหมายเหตุแหงชาติ พิจารณากอนวาไมมีคุณคาในการเก็บรักษา
การส่ังทำลายขอมูลขาวสารลับ ใหหัวหนาหนวยงานของรัฐแตงต้ังคณะกรรมการทำลายขอมูลขาวสาร
ลบั ขึน้ คณะหนึ่ง เมอ่ื คณะกรรมการดังกลาวไดทำลายขอมูลขาวสารลับเสร็จแลว ใหจดแจง การทำลายไว
ในทะเบียนควบคุมขอมูลขาวสารลับและจัดทำใบรับรองการทำลายขอมูลขาวสารลับดวย ใบรับรองการ
ทำลายใหเ กบ็ รักษาไวเ ปนหลกั ฐานไมน อยกวา 1 ป (ระเบยี บฯ ขอ 46)

เตรยี มสอบ กกต. 2564

เตรียมสอบพนักงาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลอื กต้ัง ชุดที่ 2 464
7.11 กรณีที่ขอมูลขาวสารลับสูญหาย ใหผูทราบขอเท็จจริงรายงานขอเท็จจริงที่เก่ียวของให
หัวหนาหนวยงานของรัฐที่ตนสังกัดทราบเพื่อดำเนินการตอไปและใหนายทะเบียนขอมูลขาวสารลับ
บนั ทึกการทข่ี อ มูลขา วสารลบั สูญหายไวในทะเบยี นควบคมุ ขอมลู ขาวสารลบั (ระเบยี บฯ ขอ 48)
7.12 กรณีที่ขอมูลขาวสารลับใดไมมีเครื่องหมายแสดงช้ันความลับไวใหเจาหนาท่ีของรัฐที่
เกี่ยวของสามารถเปดเผยขอมูลขาวสารน้ันได เวนแตเจาหนาท่ีนั้นไดรูหรือควรจะรูขอเท็จจริงวาขอมูล
ขาวสารนนั้ ไดมกี ารกำหนดชัน้ ความลับไวแลว (ระเบียบฯ ขอ 50)

เตรียมสอบ กกต. 2564

เตรียมสอบพนกั งาน สำนักงานคณะกรรมการการเลอื กตัง้ ชดุ ที่ 2 465

ระเบยี บ
วา ดวยการรกั ษาความลบั ของทางราชการ

พ.ศ. 2544

โดยท่เี ปน การสมควรใหม ีระเบยี บวาดวยการรกั ษาความลบั ของทางราชการ
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 16 และมาตรา 26 วรรคหา แหงพระราชบัญญัติ
ขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ. 2540 อันเปนพระราชบัญญัติที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการ
จำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลในการรับรูขอมูลขาวสารของราชการ ซึ่งมาตรา 58 และมาตรา
29 ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยบัญญัติใหกระทำไดโดยอาศัยอำนาจของกฎหมาย
คณะรัฐมนตรจี ึงมีมติใหว างระเบยี บไว ดงั ตอ ไปน้ี
ขอ 1 ระเบยี บน้เี รยี กวา “ระเบยี บวาดว ยการรกั ษาความลับของทางราชการ พ.ศ. 2544”
ขอ 2 ระเบียบนี้ใหใชบังคับเม่ือพนกำหนดหนึ่งรอยย่ีสิบวันนับแตวันประกาศในราช
กิจจานุเบกษาเปน ตนไป ใหไว ณ วนั ที่ 5 กุมภาพนั ธ 2544 / ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวนั ท่ี 23 กมุ ภาพันธ 2544

ขอ 3 บรรดาระเบียบ ขอบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และคำส่ังอื่นใด ในสวนท่ีกำหนดไว
แลว ในระเบยี บน้ี หรอื ซ่ึงขัดหรอื แยงกับระเบยี บนี้ ใหใ ชระเบียบน้ีแทน

ขอ 4 ใหน ายกรัฐมนตรรี กั ษาการตามระเบียบนี้

หมวด 1
บททั่วไป
ขอ 5 ในระเบียบนี้
“ขอมูลขาวสารลับ” หมายความวา ขอมูลขาวสารตามมาตรา 14 หรือมาตรา 15 ท่ี
มคี ำส่งั ไมใหเ ปดเผยและอยูในความครอบครองหรอื ควบคุมดแู ลของหนว ยงานของรฐั ไมวา จะเปน เรอ่ื งท่ี
เกี่ยวกับการดำเนินงานของรัฐหรือท่ีเกี่ยวกับเอกชนซ่ึงมีการกำหนดใหมีชั้นความลับเปน ช้ันลับ ช้ันลับ
มาก หรือชั้นลับท่ีสุด ตามระเบียบนี้โดยคำนึงถึงการปฏิบัติหนาท่ีของหนวยงานของรัฐและประโยชน
แหงรฐั ประกอบกัน
“ประโยชนแหงรัฐ” หมายความวา การดำเนินงานของรัฐที่เกี่ยวกับประโยชน
สาธารณะหรือประโยชนของเอกชนประกอบกัน ไมวาจะเปนเรื่องความมั่นคงของรัฐที่เก่ียวกับการเมือง
ภายในประเทศหรือระหวางประเทศ การปองกันประเทศ เศรษฐกิจ สังคม วิทยาศาสตร เทคโนโลยี
การพลงั งาน และสง่ิ แวดลอ ม
“หัวหนาหนว ยงานของรัฐ” หมายความวา
(1) หัวหนาสว นราชการทม่ี ฐี านะเปนนติ ิบุคคล

เตรียมสอบ กกต. 2564

เตรียมสอบพนกั งาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกต้ังชุดที่ 2 466

สำหรับกระทรวงกลาโหม ใหหมายความรวมถึงหัวหนาสวนราชการท่ีข้ึนตรงตอ
สว นราชการในสงั กัดกระทรวงกลาโหมทม่ี ฐี านะเปนนติ บิ คุ คลดวย

(2) ผวู า ราชการจังหวดั สำหรับราชการสวนภูมภิ าค
(3) ผูวาราชการกรุงเทพมหานคร นายกองคการบริหารสวนจังหวัด นายกเทศมนตรี
นายกองคการบริหารสวนตำบล นายกเมืองพัทยา หรือหัวหนาผูบริหารองคกรปกครองสวนทองถ่ินอื่นที่
มีกฎหมายจัดตั้ง แลวแตกรณี สำหรบั ราชการสวนทอ งถิ่น
(4) ผูวาการ ผูอำนวยการ กรรมการผูจัดการ ผูจัดการ หรือบุคคลซ่ึงดำรงตำแหนง
ผบู ริหารสูงสดุ ทม่ี ีอำนาจหนา ท่คี ลา ยคลงึ กันในรัฐวิสาหกจิ น้ัน สำหรับงานของรฐั วสิ าหกจิ
(5) ผบู ริหารสูงสุดของหนวยงานอื่นของรัฐ เชน อัยการสูงสดุ เลขาธิการสำนักงานศาล
ยุติธรรม เลขาธิการสภาผูแทนราษฎร เลขาธิการคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริต
แหง ชาติ ผูอ ำนวยการองคก ารมหาชน นายกสภาทนายความ
“การปรับชั้นความลับ” หมายความวา การลดหรือเพิ่มช้ันความลับของขอมูลขาวสาร
ลบั และใหหมายความรวมถึงการยกเลกิ ชั้นความลบั ของขอ มลู ขาวสารลบั น้ันดว ย
ขอ 6 ทุก 5 ปเปนอยางนอย ใหนายกรัฐมนตรีจัดใหมีการทบทวนการปฏิบัติการตาม
ระเบียบนแ้ี ละพจิ ารณาแกไขเพม่ิ เติมระเบียบนใี้ หเหมาะสม
ขอ 7 ใหหัวหนาหนวยงานของรัฐมีหนาที่รักษาขอมูลขาวสารลับในหนวยงานของตน
และอาจมอบหมายหนาท่ีดังกลาวไดตามความจำเปนใหผูใตบังคับบัญชาหรือใหแกราชการสวนภูมิภาค
ในกรณที สี่ ามารถมอบอำนาจไดต ามกฎหมาย
ผมู ีหนาท่ีตามวรรคหน่ึง ตอ งรกั ษาขอมูลขาวสารลับใหปลอดภัย การใหบุคคลใดเขาถึง
ขอมูลขาวสารลับหรือการเปดเผยขอมูลขาวสารลับแกผูใดตองกระทำโดยระมัดระวัง ในกรณีจำเปนให
กำหนดเง่ือนไขในการปฏิบัติใหเหมาะสมแกกรณี โดยคำนึงถึงการรักษาความลับและประสิทธิภาพใน
การดำเนินการตามระเบยี บน้ี
ขอ 8 บุคคลที่จะเขาถึงขอมูลขาวสารลับในช้ันความลับใด จะตองเปนบุคคลที่
ผูบังคับบัญชามอบหมายความไววางใจ และใหเขาถึงขอมูลขาวสารลับไดเฉพาะเร่ืองที่ไดรับมอบหมาย
เทาน้นั
ขอ 9 ในกรณีท่ีเห็นเปนการสมควร หัวหนาหนวยงานของรัฐอาจขอใหองคการรักษา
ความปลอดภยั ชวยตรวจสอบประวัติและพฤติการณของเจา หนาทขี่ องตนท่เี ก่ียวขอ งกบั ชัน้ ความลับได
ขอ 10 ในการดำเนินงานของคณะกรรมการใด ๆ ถาคณะกรรมการมีมติกำหนดชั้น
ความลับไวเชนใด ใหเลขานุการดำเนินการตามนั้นและใหหัวหนาหนวยงานของรัฐเจาสังกัดของ
เลขานกุ ารดำเนินการตอไปใหถกู ตองตามระเบียบนีด้ ว ย
ถาคณะกรรมการคณะใดมีฝายเลขานุการซึ่งมิไดเปนเจาหนาที่ในหนวยงานของรัฐให
ประธานกรรมการทำหนา ที่เปนหวั หนาหนว ยงานของรฐั และใหน ำระเบียบน้ีมาใชบงั คบั โดยอนโุ ลม

เตรยี มสอบ กกต. 2564

เตรยี มสอบพนักงาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกต้งั ชดุ ที่ 2 467

สว นท่ี 1
องคการรกั ษาความปลอดภัย
ขอ 11 องคก ารรกั ษาความปลอดภัยตามระเบียบน้ี ไดแ ก
(1) สำนักขาวกรองแหงชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี เปนองคการรักษาความปลอดภัย
ฝายพลเรือน
(2) ศู น ย รัก ษ าค วาม ป ล อด ภั ย ก องบั ญ ช าก ารก อ งทั พ ไท ย ก องทั พ ไท ย
กระทรวงกลาโหม เปนองคการรักษาความปลอดภัยฝา ยทหาร
(3) กองบัญชาการตำรวจสันติบาล สำนักงานตำรวจแหงชาติ เปนองคการรักษาความ
ปลอดภยั ฝา ยตำรวจ

สว นที่ 2
ประเภทชัน้ ความลับ
ขอ 12 ชนั้ ความลบั ของขอ มูลขาวสารลับ แบงออกเปน 3 ชนั้ คอื
(1) ลบั ท่ีสุด (TOP SECRET)
(2) ลับมาก (SECRET)
(3) ลับ (CONFIDENTIAL)
ขอ 13 ลับท่ีสุด หมายความถึง ขอมูลขาวสารลับซ่ึงหากเปดเผยท้ังหมดหรือเพียง
บางสว นจะกอใหเกิดความเสียหายแกป ระโยชนแหง รัฐอยา งรายแรงทสี่ ุด
ขอ 14 ลับมาก หมายความถึง ขอมูลขาวสารลับซึ่งหากเปดเผยทั้งหมดหรือเพียง
บางสวนจะกอ ใหเ กดิ ความเสียหายแกป ระโยชนแหงรฐั อยางรา ยแรง
ขอ 15 ลับ หมายความถึง ขอมูลขาวสารลับซึ่งหากเปดเผยทั้งหมดหรือเพียงบางสวน
จะกอ ใหเ กิดความเสียหายแกป ระโยชนแ หง รัฐ

หมวด 2
การกำหนดชนั้ ความลบั

สวนที่ 1
ผมู อี ำนาจกำหนดชน้ั ความลับ
ขอ 16 ใหห ัวหนาหนวยงานของรัฐมีหนาทรี่ บั ผดิ ชอบในการกำหนดชั้นความลับ พรอม
ทง้ั ใหเหตุผลประกอบการกำหนดชั้นความลับของขอมูลขาวสารลับน้ันดวยวาเปนขอมูลขาวสารประเภท
ใดและเพราะเหตุใด ในการนี้ อาจมอบหมายหนาท่ีดังกลาวไดตามความจำเปนใหผูใตบังคับบัญชาหรือ
ใหแ กราชการสวนภมู ภิ าค ในกรณที ่ีสามารถมอบอำนาจไดตามกฎหมาย
ขอ 17 ในกรณีที่มีความจำเปนเรงดวน เจาหนาที่ที่เก่ียวของมีอำนาจกำหนดชั้น
ความลับเปนการชั่วคราวไดและใหรีบเสนอตอผูมีอำนาจกำหนดชั้นความลับเพ่ือสั่งการเกี่ยวกับการ
กำหนดชั้นความลับตอไปทนั ที

เตรียมสอบ กกต. 2564

เตรียมสอบพนกั งาน สำนักงานคณะกรรมการการเลอื กตัง้ ชุดที่ 2 468

การกำหนดช้ันความลับของขอมูลขาวสารลับท่ีมีชั้นความลับหลายชั้นในเรื่องเดียวกัน
ใหก ำหนดชนั้ ความลับเทากบั ช้นั ความลับสงู สุดทม่ี ีอยใู นขอ มลู ขา วสารลับน้นั

ในกรณีท่ีกำหนดใหขอมูลขาวสารลับท่ีมีช้ันความลับต่ำ แตจำเปนตองอางอิงขอความ
จากขอมูลขาวสารท่ีมีช้ันความลับสูงกวา ตองพิจารณาถึงเนื้อหาท่ีอางถึงน้ันวาจะไมทำใหขอมูลขาวสาร
ที่ชั้นความลบั สูงกวาร่วั ไหล

ขอ 18 ใหนายทะเบียนจดแจงเหตุผลประกอบการกำหนดชั้นความลับของขอมูล
ขาวสารลับไวในทะเบียนควบคุมขอมูลขาวสารลับ แตถาเหตุผลน้ันมีรายละเอียดมากหรือเหตุผลน้ัน
บางสวนมีชั้นความลับสูงกวาช้ันความลับของทะเบียนขอมูลขาวสารลับ ใหบันทึกเหตุผลยอไวใน
ทะเบียนควบคุมขอมูลขาวสารลับและบันทึกเหตุผลละเอียดหรือเหตุผลสวนท่ีมีชั้นความลับสูงกวา
ดังกลาวแยกออกมาโดยเกบ็ ไวร ะหวา งใบปกขอมูลขาวสารลบั กับขอมลู ขาวสารลบั น้ัน

ขอ 19 การกำหนดใหขอมูลขาวสารอยูในชั้นความลับใด ใหพิจารณ าถึง
องคประกอบอยางนอย ดังตอไปนี้

(1) ความสำคัญของเนื้อหา
(2) แหลงท่ีมาของขอมลู ขาวสาร
(3) วธิ ีการนำไปใชประโยชน
(4) จำนวนบุคคลท่ีควรรบั ทราบ
(5) ผลกระทบหากมกี ารเปดเผย
(6) หนว ยงานของรฐั ท่รี บั ผิดชอบในฐานะเจา ของเรอื่ งหรอื ผูอนมุ ัติ
ขอ 20 ในกรณีเปนการสมควร หัวหนาหนวยงานของรัฐจะกำหนดระเบียบการใดเพ่ือ
ปฏิบัติเพ่ิมเติมจากระเบียบน้ีก็ไดและถาหัวหนาหนวยงานของรัฐเห็นวาการปฏิบัติตามระเบียบน้ีในเรื่อง
ใดจะกอใหเกิดความยุงยากโดยไมเหมาะสม หัวหนาหนวยงานของรัฐจะกำหนดวิธีการรักษาความลับใน
เร่ืองนัน้ ดว ยวิธกี ารอนื่ ทม่ี ีประสิทธภิ าพเทากนั หรือดีกวาแทนได

สว นที่ 2
การแสดงชนั้ ความลบั
ขอ 21 เคร่ืองหมายแสดงชั้นความลับใหใชตัวอักษรตามชั้นความลับท่ีขนาดใหญกวา
ตัวอักษรธรรมดา โดยใชสีแดงหรอื สอี น่ื ที่สามารถมองเหน็ ไดเดนและชดั เจน
ขอ 22 การแสดงช้นั ความลับใหป ฏิบัตดิ งั น้ี
(1) ขอมูลขาวสารท่ีมีสภาพเปนเอกสารใหแสดงช้ันความลับที่กลางหนากระดาษทั้ง
ดานบนและดานลางของทุกหนาเอกสารนั้น ถาเอกสารเขาปกใหแสดงไวที่ดานนอกของปกหนา ปก
หลงั ดวย

เตรยี มสอบ กกต. 2564

เตรยี มสอบพนักงาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตง้ั ชดุ ท่ี 2 469

(2) ขอมูลขาวสารทม่ี ีสภาพเปนภาพเขียน ภาพถาย แผนท่ี แผนภูมิ แผนผังและสำเนา
สงิ่ ของดังกลา วนั้น ใหแสดงช้ันความลับในลักษณะเดียวกับ (1) ถาเอกสารน้ันมวนหรือพับไดใหแสดงช้ัน
ความลบั ไวใหปรากฏเห็นไดขณะทเี่ อกสารนัน้ มวนหรอื พับอยูดว ย

(3) ขอมูลขาวสารท่ีมีสภาพเปนจานบันทึก แถบบันทึก ฟลมบันทึกภาพทุกประเภท
หรือสิ่งบันทึกที่สามารถแสดงผลหรือส่ือความหมายโดยกรรมวิธีใด ๆ ใหแสดงชั้นความลับไวที่ตนและ
ปลายมวนฟลมหรือตนและปลายของขอมูลขาวสารหรือบนวัสดุหรือบนภาชนะท่ีบรรจุ ถาไมสามารถ
แสดงช้ันความลบั ไวในท่ดี งั กลาวได ใหเกบ็ ในกลองหรอื หีบหอ ซึ่งมเี ครอ่ื งหมายแสดงชั้นความลบั น้ัน

สวนที่ 3
การปรบั ช้ันความลบั
ขอ 23 การปรับชั้นความลับ ตองกระทำโดยผูมีอำนาจกำหนดชั้นความลับของ
หนวยงานเจาของเรื่อง
ในกรณีท่ีหนวยงานเจาของเรื่องเห็นควรใหทำการปรับช้ันความลับของขอมูลขาวสาร
ลับใดใหหนวยงานเจาของเรื่องทำการปรับช้ันความลับและแจงใหหนวยงานของรัฐอ่ืนท่ีไดรับการ
แจกจา ยทราบเพื่อใหมกี ารแกไ ขชั้นความลบั โดยท่ัวกนั ดวย
ผูบังคับบัญชาตามสายงานมีอำนาจปรับช้ันความลับไดเมื่อพิจารณาเห็นวาการกำหนด
ชัน้ ความลับไมเหมาะสม แตต อ งแจง ใหผ ูกำหนดช้นั ความลบั เดิมทราบ
ถาสามารถกำหนดระยะเวลาในการปรับชั้นความลับลวงหนาได ใหหนวยงานเจาของ
เร่ืองเดิมแสดงขอความการปรับช้ันความลับไวบนปกหนาหรือหนาแรกของขอมูลขาวสารแตละฉบับ โดย
แสดงไวใกลกับเคร่ืองหมายแสดงชั้นความลับเดิมเพื่อใหทราบวาเม่ือถึงกำหนดเวลาที่ระบุไวลวงหนาน้ัน
จะปรับช้นั ความลับไดโ ดยไมตอ งยนื ยันใหท ราบอีก
การแกไขชั้นความลับ ใหขีดฆาเคร่ืองหมายแสดงชั้นความลับเดิมแลวแสดง
เครื่องหมายช้ันความลับที่กำหนดใหม (ถามี) ไวใกลกับเครื่องหมายแสดงช้ันความลับเดิมบนขอมูล
ขาวสารดังกลาวและใหจดแจงการปรับชั้นความลับนั้นไวในทะเบียนขอมูลขาวสารลับดวย ในกรณีท่ี
เห็นสมควร หัวหนาหนวยงานของรัฐจะกำหนดใหจดแจงการปรับช้ันความลับไวที่หนาแรกของเอกสาร
หรือทีแ่ สดงช้ันความลบั ตามขอ 22 (3) แลว แตกรณี
ขอ 24 ขอมูลขาวสารลับที่คณะกรรมการวินิจฉัยการเปดเผยขอมูลขาวสารมีคำ
วินิจฉัยใหเปดเผยโดยไมมีขอจำกัดหรือเงื่อนไขใด ใหถือวาขอมูลขาวสารน้ันถูกยกเลิกชั้นความลับแลว
เวนแตมกี ารฟองคดตี อศาลและศาลมคี ำสัง่ หรอื คำพิพากษาเปน อยางอ่ืน

เตรยี มสอบ กกต. 2564

เตรยี มสอบพนกั งาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกต้งั ชดุ ที่ 2 470

หมวด 3
การทะเบียน

สว นท่ี 1
นายทะเบยี น
ขอ 25 ใหหัวหนาหนวยงานของรัฐแตงตั้งเจาหนาท่ีควบคุมและรับผิดชอบการ
ดำเนินการเกี่ยวกับขอมูลขาวสารลับข้ึนภายในหนวยงานท่ีตนรับผิดชอบเรียกวา “นายทะเบียนขอมูล
ขาวสารลบั ” และจะแตง ตง้ั ผูชว ยนายทะเบียนขอ มูลขาวสารลับตามความเหมาะสมดวยก็ได
ใหผูชวยนายทะเบียนขอมูลขาวสารลับมีอำนาจหนาที่ปฏิบัติการแทนนายทะเบียน
ขอมูลขา วสารลบั ตามทไี่ ดร บั มอบหมาย
ขอ 26 นายทะเบยี นขอ มลู ขาวสารลับ มหี นา ทดี่ ังนี้
(1) ดำเนินการทางทะเบยี นขอ มูลขาวสารลับใหเ ปนไปตามระเบียบน้ี
(2) เก็บรักษาแบบเอกสารตาง ๆ ซึ่งกรอกขอความแลวตามระเบียบน้ี และบรรดา
ขอ มลู ขาวสารลับท่ีอยใู นความควบคุมดแู ลไวในทป่ี ลอดภยั
(3) เก็บรักษาบัญชีลายมือช่ือนายทะเบียนขอมูลขาวสารลับและผูชวยนายทะเบียน
ขอ มลู ขา วสารลับของหนวยงานของรัฐอนื่ ๆ ทตี่ ดิ ตอเก่ียวขอ งกนั เปนประจำ
(4) ประสานงานกับผูควบคุมทะเบียนความไววางใจตามที่กำหนดในระเบียบวาดวย
การรักษาความปลอดภัยแหงชาติเพื่อกำหนดตัวบุคคลที่จะเขาถึงชั้นความลับตามความเหมาะสมและ
ความรบั ผดิ ชอบ
(5) ปฏิบัติงานอ่ืนท่ีเก่ียวของกับขอมูลขาวสารลับตามที่กำหนดไวในระเบียบนี้หรือ
ตามทีไ่ ดรับมอบหมายจากหัวหนา หนว ยงานของรฐั
ขอ 27 นายทะเบยี นขอ มลู ขาวสารลับอยางนอยตอ งจัดใหม ีทะเบียนขอมูลขา วสารลับ
ประกอบดวย ทะเบียนรับ ทะเบียนสง และทะเบียนควบคุมขอมูลขาวสารลับแยกตางหากจากทะเบียน
งานสารบรรณตามปกติของหนวยงานของรัฐ
ทะเบียนรับ ใชสำหรบั บนั ทึกรายละเอยี ดของขอ มลู ขา วสารลบั ทหี่ นว ยงานไดรับไว
ทะเบียนสง ใชสำหรับบันทึกรายละเอียดของขอมูลขาวสารลับท่ีสงออกนอกบริเวณ
หนว ยงาน
ทะเบียนควบคุมขอมูลขาวสารลบั ใชสำหรับบันทึกทางทะเบียนเกี่ยวกับขอมูลขาวสาร
ลับท่ีหนวยงานจดั ทำขึ้นใชงานหรือไดส งออกหรือไดร บั มา รวมท้ังบนั ทกึ การปฏิบตั ิตา ง ๆ เกี่ยวกับขอมูล
ขาวสารลบั นนั้
ทะเบยี นขอมลู ขา วสารลับใหถ อื วาเปน ขอ มูลขาวสารลบั ดว ย
แบบทะเบียนรับ ทะเบียนสงและทะเบียนควบคุมขอมูลขาวสารลับใหเปนไปตามที่
นายกรฐั มนตรีกำหนดโดยประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา

เตรียมสอบ กกต. 2564

เตรียมสอบพนกั งาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลือกตงั้ ชดุ ท่ี 2 471

ขอ 28 ในกรณีท่ีเห็นสมควร หัวหนาหนวยงานของรัฐจะจัดใหมีระบบทะเบียนขอมูล
ขาวสารลับขึ้นในหนวยงานสวนยอยดวยก็ได และใหนำความในขอ 25 ขอ 26 และขอ 27 มาใช
บังคับโดยอนุโลม

สว นที่ 2
การตรวจสอบ
ขอ 29 ใหหัวหนาหนวยงานของรัฐแตงต้ังคณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบดวย
นายทะเบียนขอมูลขาวสารลับเปนประธานกรรมการและเจาหนาท่ีอ่ืนอีกไมนอยกวาสองคนเปน
กรรมการ ทำการตรวจสอบความถูกตอ งในการปฏิบัตติ ามระเบยี บน้ีและการมีอยูของขอ มูลขาวสารลบั ที่มี
อยูในทะเบียนขอมูลขาวสารลับอยางนอยทุกหกเดือนและเสนอรายงานการตรวจสอบใหหัวหนา
หนว ยงานของรฐั น้ันทราบและสง่ั การตอ ไป
แบบรายงานการตรวจสอบขอมูลขาวสารลับใหเปนไปตามท่ีนายกรัฐมนตรกี ำหนดโดย
ประกาศในราชกจิ จานุเบกษา
ขอ 29/1 ใหหนวยงานของรัฐรายงานผลการปฏิบัติเกี่ยวกับขอมูลขาวสารลับตาม
ระเบียบน้ีภายในเดือนมีนาคมของทุกป ตอคณะกรรมการขอมูลขาวสารของราชการตามแบบที่
นายกรฐั มนตรกี ำหนด โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา
เมอ่ื คณะกรรมการขอมูลขาวสารของราชการไดรบั รายงานผลการปฏิบัติเกี่ยวกับขอมูล
ขาวสารลับตามวรรคหนึ่งแลว ใหตรวจสอบการปฏิบัติตามรายงานดังกลาว และรายงานผลการ
ตรวจสอบตอ นายกรฐั มนตรี โดยจะมีขอ คดิ เหน็ และขอเสนอแนะดวยก็ได
ขอ 30 เม่ือสงสัยวาบุคคลท่ีไมมีอำนาจหนาท่ีเกี่ยวกับขอมูลขาวสารลับไดรูหรืออาจรู
ถึงขอมูลขาวสารลับหรือเม่ือสงสัยวามีการละเมิดการรักษาความลับของขอมูลขาวสารของราชการ ให
หัวหนา หนว ยงานของรัฐแตงตั้งคณะกรรมการสอบสวนโดยไมช ักชา
คณะกรรมการสอบสวนตามวรรคหนึ่ง ตองเปนผูซ่ึงมิไดเปนคณะกรรมการตรวจสอบ
ตามขอ 29

หมวด 4
การดำเนินการ

สว นที่ 1
การจดั ทำ
ขอ 31 การดำเนินการใด ๆ เก่ียวกับขอมูลขาวสารลับในทุกขั้นตอน ใหหัวหนา
หนวยงานของรัฐกำหนดจำนวนเจาหนาที่ที่เกี่ยวของเพียงเทาที่จำเปนตอภารกิจ และจำกัดใหทราบ
เทาทจ่ี ำเปนเทานน้ั
ขอ 32 ขอมูลขาวสารตามขอ 22 (1) ใหแสดงช่อื หนวยงานของรฐั เจาของเร่ืองเลขท่ีชุด
ของจำนวนชุดท้ังหมด และเลขท่ีหนาของจำนวนหนาท้ังหมดไวทุกหนาของขอมูลขาวสารลับ ท้ังนี้ จะ
แสดงชื่อหนวยงานสวนยอ ยไวดวยก็ได

เตรียมสอบ กกต. 2564

เตรยี มสอบพนักงาน สำนักงานคณะกรรมการการเลอื กตง้ั ชุดท่ี 2 472

ขอมูลขาวสารตามขอ 22 (3) ใหแสดงชื่อหนวยงานของรัฐเจาของเรื่องและเลขท่ีชุด
ของจำนวนชุดท้งั หมดไวท ก่ี ลองหรือหีบหอของขอ มูลขาวสารลับน้นั ทงั้ น้ี จะแสดงชื่อหนว ยงานสว นยอ ย
ไวดว ยกไ็ ด

สวนที่ 2
การสำเนาและการแปล
ขอ 33 การสำเนา การแปลเอกสาร การเขารหัส หรือการถอดรหัสขอมูลขาวสารลับตอง
บันทึกจำนวนชุด ยศ ช่ือ ตำแหนงของผูดำเนินการ และชื่อหนวยงานของรัฐที่จัดทำไวท่ีขอมูลขาวสาร
ลบั ฉบบั ตนท่ีตนครอบครองและทฉี่ บบั สำเนา ฉบบั คำแปล ฉบับเขารหัส หรือฉบบั ถอดรหัส แลว แตกรณี
ดว ย
การบนั ทกึ ตามวรรคหน่งึ ผูดำเนนิ การจะจัดทำโดยใชรหัสลบั ก็ได

สวนท่ี 3
การโอน
ขอ 34 การโอนขอมูลขาวสารลับระหวางหนวยงานของรัฐ หรือการโอนภายใน
หนวยงานเดียวกัน ใหเจาหนาที่ผูโอนและเจาหนาที่ผูรับโอนจัดทำบันทึกการโอนและการรับโอนขอมูล
ขาวสารลับตามแบบที่นายกรัฐมนตรีกำหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษาไวเปนหลักฐาน และให
นายทะเบียนขอมูลขาวสารลับจดแจงการโอนขอมูลขาวสารลับดังกลาวไวในทะเบียนควบคุมขอมูล
ขา วสารลบั ดวย
สว นท่ี 4
การสงและการรบั
ขอ 35 การสงขอมลู ขาวสารลบั ภายในบรเิ วณหนวยงานเดียวกนั ทกุ ช้นั ความลบั ตอง
ใชใบปกขอ มูลขา วสารลับปด ทบั ขอมูลขาวสารลับ
แบบใบปกขอมูลขาวสารลับใหเปนไปตามท่ีนายกรัฐมนตรีกำหนดโดยประกาศในราช
กจิ จานุเบกษา
ขอ 36 การสงขอมูลขาวสารลับออกนอกบริเวณหนวยงาน ตองบรรจุซองหรือ
ภาชนะทึบแสงสองชน้ั อยา งมน่ั คง
บนซองหรือภาชนะชั้นใน ใหจาหนาระบุเลขท่ีหนังสือนำสง ช่ือหรือตำแหนงผูรับ และ
หนวยงานผูส ง พรอมท้งั ทำเครอื่ งหมายแสดงช้นั ความลบั ทง้ั ดานหนาและดา นหลงั
บนซองหรือภาชนะช้ันนอกใหจาหนาระบุขอความเชนเดียวกับบนซองหรือภาชนะ
ชนั้ ในแตไ มตอ งมเี คร่อื งหมายแสดงชน้ั ความลับใด ๆ
หามระบุชั้นความลับและชื่อเร่ืองไวในใบตอบรับ แตใหระบุเลขท่ีหนังสือสง วัน เดือน
ป จำนวนหนาและหมายเลขฉบับไวในใบตอบรับดังกลาว และเก็บรักษาใบตอบรับนั้นไวจนกวาจะไดรับ
คืนหรือยกเลิกช้ันความลับหรือทำลายขอมลู ขาวสารลบั น้ันแลว

เตรียมสอบ กกต. 2564

เตรยี มสอบพนักงาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลือกตั้งชดุ ท่ี 2 473

แบบใบตอบรับใหเปน ไปตามที่นายกรัฐมนตรีกำหนดโดยประกาศในราชกิจจานเุ บกษา
ขอ 37 การสงขอมูลขาวสารลับออกนอกบริเวณหนวยงานภายในประเทศโดย
เจาหนาท่ีนำสาร ใหหัวหนาหนวยงานของรัฐหรือผูซึ่งหัวหนาหนวยงานของรัฐมอบหมายมีอำนาจ
อนุญาตใหก ระทำได และใหนายทะเบียนขอ มูลขา วสารลบั ลงทะเบียนกอนสง ออก
การสงขอมลู ขาวสารลบั ตามวรรคหนึง่ จะจดั ใหมผี อู ารกั ขาการนำสารดว ยก็ได
ขอ 38 เจา หนา ทนี่ ำสารและผอู ารักขาการนำสาร มหี นาที่ดังนี้
(1) รักษาความปลอดภัยของขอมูลขาวสารลับตลอดเวลาท่ีนำออกนอกบริเวณ
หนว ยงานและเก็บรกั ษาขอ มลู ขา วสารลับท่ีอยูในความดแู ลใหปลอดภัย
(2) จัดสงขอมูลขาวสารลับแกนายทะเบียนขอมูลขาวสารลับ ถานายทะเบียนขอมูล
ขาวสารลับหรือผูปฏิบัติการแทนไมอยูหรือไมอาจปฏิบัติหนาท่ีไดใหสงขอมูลขาวสารลับน้ันแกผูรับตาม
จาหนา ถาผูรับตามจาหนาไมอยูหรือไมอาจปฏิบัติหนาที่ได ใหนำขอมูลขาวสารลับกลับมาเก็บรักษาท่ี
หนวยงานของตน และแจงใหนายทะเบียนขอมูลขาวสารลับบันทึกไวในทะเบียนควบคุมขอมูลขาวสาร
ลับ หรือในกรณีที่สถานท่ีนำสงอยูหางจากหนวยงานของรัฐท่ีสงและไมสามารถเดินทางกลับภายในวัน
เดียวกนั ได ใหเก็บรักษาไวในท่ีปลอดภยั จนกวา จะสงมอบแกนายทะเบียนขอ มูลขาวสารลับหรือผรู ับตาม
จา หนา แลวแตกรณี
ในกรณีท่ีเจาหนาท่ีนำสารไมสามารถปฏิบัติหนาท่ีได ใหผูอารักขาการนำสารปฏิบัติ
หนา ที่แทนและใหร ายงานนายทะเบยี นขอมลู ขาวสารลบั ทราบโดยเรว็
ขอ 39 การสงขอมูลขาวสารลับออกนอกประเทศ ใหปฏิบัติตามระเบียบกระทรวง
การตางประเทศวาดวยถุงเมลการทูตโดยอนุโลม หรือใหเจาหนาที่ซึ่งมฐี านะทางการทูตถือไปดวยตนเอง
ก็ได
ขอ 40 การสงขอมูลขาวสารลับท้ังภายในประเทศและสงออกนอกประเทศ จะสงทาง
โทรคมนาคม ไปรษณียลงทะเบียนตอบรับหรือโดยวิธีการอ่ืนใดก็ได แตตองไดรับอนุญาตจากหัวหนา
หนวยงานของรัฐกอน
กรณกี ารสงทางโทรคมนาคมใหปฏิบัตติ ามคำแนะนำขององคการรกั ษาความปลอดภยั
ขอ 41 ในกรณีที่เจาหนาที่สารบรรณทราบวาขอมูลขาวสารที่รับไวเปนขอมูลขาวสาร
ลบั ใหร ีบสงขอ มลู ขาวสารลับดงั กลา วใหแ กนายทะเบยี นขอมูลขาวสารลับ
ขอ 42 ใหนายทะเบียนขอมูลขาวสารลับลงช่ือในใบตอบรับแลวคืนใบตอบรับน้ันแก
ผูนำสง หรือจัดสงใบตอบรับคืนแกหนวยงานของรัฐท่ีเปนผูสง และลงทะเบียนขอมูลขาวสารลับกอนที่
จะดำเนินการอยา งอนื่
ในกรณีที่ผูรับยังไมสามารถดำเนินการเกี่ยวกับขอมูลขาวสารลับตอไปได ใหผูรับนำ
ขอมูลขาวสารลับที่ไดรับไปเก็บรักษาไวในท่ีปลอดภัยตามระเบียบการเก็บรักษาขอมูลขาวสารลับที่
หนวยงานของรฐั นั้นกำหนด

เตรียมสอบ กกต. 2564

เตรียมสอบพนกั งาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลอื กตงั้ ชดุ ท่ี 2 474

ขอ 43 ในกรณีที่เปนการสงแกผรู ับตามจา หนา ใหผรู ับตามจาหนาแจงตอนายทะเบียน
ขอมลู ขา วสารลับเพือ่ ใหล งทะเบยี นในทะเบยี นขอ มลู ขาวสารลับโดยไมชักชา

สว นท่ี 5
การเกบ็ รักษา
ขอ 44 การเกบ็ รักษาขอมูลขา วสารลับ ใหหนวยงานของรัฐเก็บรักษาไวในทปี่ ลอดภัย
และใหกำหนดระเบียบการเกบ็ รักษาขอมูลขาวสารลับไวเปนการเฉพาะตามคำแนะนำขององคการรกั ษา
ความปลอดภยั

สวนที่ 6
การยืม
ขอ 45 การใหยืมขอมูลขาวสารลับ ใหหัวหนาหนวยงานของรัฐหรือผูซ่ึงหัวหนา
หนวยงานของรัฐมอบหมายพิจารณาดวยวาผูยืมมีหนาที่ดำเนินการในเรื่องท่ียืมและสามารถปฏิบัติตาม
ระเบียบนีไ้ ดห รอื ไม
ถาเรื่องท่ีผูประสงคจะขอยืมเปนเรื่องท่ีหนวยงานของรัฐอ่ืนเปนหนวยงานเจาของเรื่อง
การใหยืมตองไดร ับอนุญาตจากหนวยงานเจาของเร่ืองน้ันกอน เวนแตผูยืมจะเปนหนวยงานเจาของเร่ือง
น้ันเอง
ใหนายทะเบียนขอมูลขา วสารลับทำบันทึกการยืมพรอมท้ังจดแจงการยืมไวในทะเบียน
ควบคมุ ขอมลู ขา วสารลบั ดวย
แบบบันทึกการยืมใหเปนไปตามท่ีนายกรัฐมนตรีกำหนดโดยประกาศในราชกิจจา
นุเบกษา
สว นท่ี 7
การทำลาย
ขอ 46 ในกรณีทก่ี ารเก็บรกั ษาขอมลู ขาวสารลับช้ันลับทส่ี ุดจะเสี่ยงตอ การรว่ั ไหลอันจะ
กอใหเกิดอันตรายแกประโยชนแหงรัฐ หัวหนาหนวยงานของรัฐจะพิจารณาสั่งทำลายขอมูลขาวสารลับ
ชนั้ ลับทีส่ ุดน้ันได หากพิจารณาเหน็ วา มีความจำเปนอยา งยิง่ ท่ีจะตองทำลาย
หัวหนาหนวยงานของรัฐจะสั่งทำลายขอมูลขาวสารลับนอกจากกรณีตามวรรคหน่ึง
ได ตอเมอื่ ไดส งขอมูลขาวสารลบั ใหห อจดหมายเหตแุ หง ชาติ พิจารณากอ นวา ไมม คี ุณคาในการเกบ็ รักษา
ในการสั่งทำลายขอมูลขาวสารลับ ใหหัวหนาหนวยงานของรัฐแตงต้ังคณะกรรมการ
ทำลายขอ มลู ขาวสารลับขนึ้ คณะหน่ึง ประกอบดว ยนายทะเบียนขอมูลขาวสารลบั เปน ประธานกรรมการ
และเจาหนาท่ีท่ีเก่ียวของอีกไมนอยกวาสองคนเปนกรรมการและเม่ือคณะกรรมการดังกลาวไดทำลาย
ขอมูลขาวสารลับเสร็จแลว ใหจดแจงการทำลายไวในทะเบียนควบคุมขอมูลขาวสารลับและจัดทำ
ใบรับรองการทำลายขอมูลขาวสารลับดวย ใบรับรองการทำลายใหเก็บรักษาไวเปนหลักฐานไมนอยกวา
หน่ึงป

เตรียมสอบ กกต. 2564

เตรียมสอบพนักงาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกต้งั ชุดท่ี 2 475

ในกรณีที่เห็นสมควร คณะกรรมการขอมูลขาวสารของราชการอาจเสนอตอ
นายกรัฐมนตรีเพ่ือกำหนดหลักเกณฑการใชดุลพินิจของหัวหนาหนวยงานของรัฐหรือกำหนดใหการใช
ดุลพินจิ ของหัวหนา หนวยงานของรัฐตอ งไดรบั ความเห็นชอบจากบคุ คลใดกอนกไ็ ด

แบบใบรับรองการทำลายขอมูลขาวสารลับใหเปนไปตามท่ีนายกรัฐมนตรีกำหนดโดย
ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา

สว นที่ 8
การปฏิบัติในเวลาฉุกเฉนิ
ขอ 47 ใหหนวยงานของรัฐจัดใหมีแผนการปฏิบัติในเวลาฉุกเฉิน โดยมีแผนการ
เคล่ือนยาย แผนการพิทักษรักษา และแผนการทำลายขอมูลขาวสารลับ เพื่อนำมาปฏิบัติเปนลำดับชั้น
ตามความรุนแรงของสถานการณ

สว นที่ 9
กรณสี ูญหาย
ขอ 48 ในกรณีท่ีขอมูลขาวสารลับสูญหาย ใหผูทราบขอเท็จจริงรายงานขอเท็จจริงที่
เก่ียวของใหหัวหนาหนวยงานของรัฐที่ตนสังกัดทราบเพ่ือดำเนินการตอไปและใหนายทะเบียนขอมูล
ขา วสารลับบันทกึ การที่ขอ มูลขา วสารลบั สญู หายไวใ นทะเบยี นควบคุมขอ มูลขา วสารลับดว ย

สว นที่ 10
การเปดเผย
ขอ 49 ในกรณีท่ีหัวหนาหนวยงานของรัฐหรอื เจา หนาที่ของรัฐตามมาตรา 20 (1) แหง
พระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ. 2540 มีคำสั่งใหเปดเผยขอมูลขาวสารลับใดโดยมี
ขอจำกัดหรือเงอื่ นไขเชน ใด ใหเปด เผยขอมลู ขาวสารลบั นน้ั ไดต ามขอ จำกัดหรอื เงอื่ นไขทก่ี ำหนด
ขอ 50 ในกรณีที่ขอมูลขาวสารลับใดไมมีเคร่ืองหมายแสดงชั้นความลับไวใหเจาหนาที่
ของรฐั ที่เกย่ี วของสามารถเปด เผยขอ มูลขาวสารนัน้ ได เวน แตเ จา หนาทนี่ น้ั ไดรหู รือควรจะรขู อเท็จจริงวา
ขอ มลู ขา วสารน้ันไดม กี ารกำหนดชน้ั ความลบั ไวแ ลว

บทเฉพาะกาล
ขอ 51 ใหเอกสารลับตามชั้นความลับที่มีอยูกอน ตามระเบียบวาดวยการรักษาความ
ปลอดภัยแหงชาติ พ.ศ. 2517 เปนขอมูลขาวสารลับตามระเบียบนี้ โดยเอกสารลับชั้นปกปดใหถือวามี
ช้ันความลบั อยูใ นชั้นลบั นบั แตว ันทร่ี ะเบยี บนใ้ี ชบ งั คับ
แบบใบปกของเอกสารลับตามระเบียบวาดวยการรักษาความปลอดภัยแหงชาติพ.ศ.
2517 ใหค งใชไดตอ ไปจนกวาจะหมด
แบบเอกสารตาง ๆ ตามระเบียบวาดวยการรักษาความปลอดภัยแหงชาติ พ.ศ. 2517
ซ่ึงมอี ยกู อ นระเบยี บน้ใี ชบ งั คบั ใหใชไ ดตอไปเทาท่ีไมขดั หรอื แยงกับระเบยี บน้ี

เตรียมสอบ กกต. 2564

เตรียมสอบพนกั งาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลอื กต้ังชุดท่ี 2 476

ใหนายทะเบียนเอกสารลับและผูชวยนายทะเบียนเอกสารลับท่ีมีอยูกอนตามระเบียบ
วาดวยการรักษาความปลอดภัยแหงชาติ พ.ศ. 2517 เปนนายทะเบียนขอมูลขาวสารลับและผูชวยนาย
ทะเบียนขอมลู ขาวสารลับตามระเบียบน้ี

ใหเจาหนาที่นำสารและผูอารักขาการนำสารที่มีอยูกอนตามระเบียบวาดวยการรักษา
ความปลอดภัยแหงชาติ พ.ศ. 2517 เปน เจา หนา ทนี่ ำสารและผอู ารักขาการนำสารตามระเบยี บน้ี

ขอ 52 ภายในหกเดือนนบั แตว ันทร่ี ะเบยี บนีใ้ ชบ งั คบั
(1) ขอมูลขาวสารใดท่ีไดจัดทำมาแลวเกินยี่สิบป และมีการกำหนดชั้นความลับไว ถา
มิไดมีการกำหนดชั้นความลับใหมเปนรายชิ้นและแจงใหเจาหนาท่ีของรัฐหรือหนวยงานของรัฐท่ี
เก่ียวขอ งทราบถึงการกำหนดใหเ ปน ขอมลู ขา วสารลับตอ ไป ใหถ ือวาชัน้ ความลับนัน้ เปน อนั ยกเลิก
(2) ใหห นวยงานของรัฐตรวจสอบและกำหนดชน้ั ความลับของขอ มลู ขาวสารท่ตี นจดั ทำ
ข้ึนภายในยีส่ ิบปก อนวันทีร่ ะเบียบนใ้ี ชบังคบั ใหแ ลว เสรจ็ ทง้ั หมด
หากหนวยงานของรัฐแหงใดมีเหตุจำเปนไมอาจจัดทำไดภายในระยะเวลาท่ีกำหนด
ตามวรรคหน่งึ ใหขอขยายระยะเวลาตอ คณะกรรมการขอมลู ขาวสารของราชการ
ขอ 53 ใหองคการรักษาความปลอดภัยฝายพลเรือน องคการรกั ษาความปลอดภัยฝาย
ทหาร และองคการรักษาความปลอดภัยฝายตำรวจประสานการปฏิบัติในการจัดใหมีหลักเกณฑ วิธีการ
และ คำแนะนำการปฏิบัติตามระเบียบน้ี รวมท้ังการอบรมบุคลากรที่เกี่ยวของตามความจำเปนและ
งบประมาณ

ใหไ ว ณ วนั ท่ี 5 กมุ ภาพนั ธ พ.ศ. 2544
ชวน หลกี ภัย
นายกรฐั มนตรี

เตรยี มสอบ กกต. 2564


Click to View FlipBook Version