The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

130024_เพจ-เตรียมสอบ-กกต.64-ชุดที่-2-สงวนลิขสิทธิ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pratheerapong2519, 2021-03-22 22:15:35

130024_เพจ-เตรียมสอบ-กกต.64-ชุดที่-2-สงวนลิขสิทธิ์

130024_เพจ-เตรียมสอบ-กกต.64-ชุดที่-2-สงวนลิขสิทธิ์

เตรียมสอบพนกั งาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลอื กตง้ั ชดุ ที่ 2 48

(5) เปนหรือเคยเปนผูดำรงตำแหนงใดในพรรคการเมือง เวนแตไดพนจากการดำรง
ตำแหนง ในพรรคการเมอื งมาแลว ไมน อยกวา หาปนับถึงวนั สมคั รรับเลือก

(6) เปนหรือเคยเปนรัฐมนตรี เวนแตไดพนจากการเปนรัฐมนตรีมาแลวไมนอยกวา
หา ปนบั ถึงวนั สมคั รรับเลือก

(7) เปนหรือเคยเปนสมาชิกสภาทองถิ่นหรือผูบริหารทองถิ่น เวนแตไดพนจากการเปน
สมาชิกสภาทองถน่ิ หรือผบู รหิ ารทองถนิ่ มาแลวไมน อ ยกวาหา ปน ับถงึ วันสมคั รรับเลอื ก

(8) เปน บุพการี คสู มรส หรือบุตรของผดู ำรงตำแหนงสมาชิกสภาผแู ทนราษฎร สมาชิก
วุฒิสภา ขาราชการการเมือง สมาชิกสภาทองถิ่นหรือผูบริหารทองถิ่น ผูสมัครรับเลือกเปนสมาชิก
วฒุ ิสภาในคราวเดียวกัน หรือผูด ำรงตำแหนง ในศาลรฐั ธรรมนญู หรือในองคก รอิสระ

(9) เคยดำรงตำแหนง สมาชกิ วุฒิสภาตามรัฐธรรมนญู น้ี
มาตรา 109 อายุของวฒุ ิสภามกี ำหนดคราวละหา ปนับแตว นั ประกาศผลการเลือก
สมาชิกภาพของสมาชิกวุฒิสภาเร่ิมต้ังแตวันท่ีคณะกรรมการการเลือกต้ังประกาศผล
การเลอื ก
เม่ืออายุของวุฒิสภาสิ้นสุดลง ใหสมาชิกวุฒิสภาอยูในตำแหนงเพ่ือปฏิบัติหนาท่ีตอไป
จนกวา จะมีสมาชิกวุฒสิ ภาขน้ึ ใหม
มาตรา 110 เม่ืออายุของวุฒิสภาส้ินสุดลง ใหมีการเลือกสมาชิกวุฒิสภาใหมตาม
มาตรา 107 วรรคหา
มาตรา 111 สมาชิกภาพของสมาชิกวฒุ ิสภาสน้ิ สดุ ลง เมอื่
(1) ถงึ คราวออกตามอายขุ องวุฒสิ ภา
(2) ตาย
(3) ลาออก
(4) ขาดคุณสมบัตหิ รือมีลกั ษณะตอ งหา มตามมาตรา 108
(5) ขาดประชุมเกินจำนวนหนึ่งในส่ีของจำนวนวันประชุมในสมัยประชุมท่ีมี
กำหนดเวลาไมน อยกวา หน่งึ รอ ยยส่ี ิบวันโดยไมไ ดรับอนุญาตจากประธานวฒุ ิสภา
(6) ตองคำพิพากษาถึงท่ีสุดใหจำคุก แมจะมีการรอการลงโทษ เวนแตเปนการรอการ
ลงโทษในความผดิ อนั ไดก ระทำโดยประมาท ความผิดลหโุ ทษ หรือความผดิ ฐานหมนิ่ ประมาท
(7) กระทำการอันเปนการฝาฝนมาตรา 113 หรือกระทำการอันตองหามตามมาตรา
184 หรือมาตรา 185
(8) พนจากตำแหนงเพราะเหตุตามมาตรา 144 หรือมาตรา 235 วรรคสาม
มาตรา 112 บุคคลผูเคยดำรงตำแหนงสมาชิกวุฒิสภาและสมาชิกภาพสิ้นสุดลง
มาแลวยังไมเกินสองปจะเปนรัฐมนตรีหรือผูดำรงตำแหนงทางการเมืองมิไดเวนแตเปนสมาชิกสภา
ทอ งถนิ่ หรือผบู รหิ ารทองถิ่น
มาตรา 113 สมาชิกวุฒิสภาตองไมฝ ก ใฝหรอื ยอมตนอยใู ตอาณตั ิของพรรคการเมืองใด ๆ

เตรียมสอบ กกต. 2564

เตรยี มสอบพนกั งาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลือกตง้ั ชดุ ที่ 2 49

สวนที่ 4
บททใี่ ชแ กสภาทัง้ สอง
มาตรา 114 สมาชิกสภาผูแทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภายอมเปนผูแทนปวงชนชาว
ไทย ไมอยูในความผูกมัดแหงอาณัติมอบหมาย หรือความครอบงำใด ๆ และตองปฏิบัติหนาท่ีดวยความ
ซื่อสัตยสุจริตเพื่อประโยชนสวนรวมของประเทศชาติและความผาสุกของประชาชนโดยรวม โดย
ปราศจากการขดั กันแหงผลประโยชน
มาตรา 116 สภาผูแทนราษฎรและวุฒิสภาแตละสภา มีประธานสภาคนหน่ึงและรอง
ประธานสภาคนหน่ึงหรือสองคน ซ่ึงพระมหากษัตริยทรงแตงตั้งจากสมาชิกแหงสภานั้น ๆ ตามมติของ
สภา
ในระหวางการดำรงตำแหนง ประธานและรองประธานสภาผูแทนราษฎรจะเปน
กรรมการบรหิ ารหรอื ดำรงตำแหนงใดในพรรคการเมืองขณะเดียวกนั มิได
มาตรา 117 ประธานและรองประธานสภาผูแทนราษฎรดำรงตำแหนงจนสิ้นอายุของ
สภาผูแทนราษฎรหรอื มีการยบุ สภาผูแ ทนราษฎร
ประธานและรองประธานวุฒิสภาดำรงตำแหนงจนถึงวันสิ้นอายุของวุฒิสภา เวนแตใน
ระหวางเวลาตามมาตรา 109 วรรคสาม ใหประธานและรองประธานวุฒิสภายังคงอยูในตำแหนงเพื่อ
ปฏบิ ัติหนา ท่ตี อ ไป
มาตรา 118 ประธานและรองประธานสภาผูแทนราษฎร และประธานและรอง
ประธานวฒุ ิสภายอ มพน จากตำแหนงกอ นวาระตามมาตรา 117 เมอื่
(1) ขาดจากสมาชกิ ภาพแหง สภาทีต่ นเปน สมาชกิ
(2) ลาออกจากตำแหนง
(3) ดำรงตำแหนง นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี หรอื ขา ราชการการเมอื งอ่ืน
(4) ตองคำพิพากษาใหจำคุก แมคดีน้ันจะยังไมถึงท่ีสุดหรือมีการรอการลงโทษ เวนแต
เปนกรณีท่ีคดียังไมถึงที่สุดหรือมีการรอการลงโทษในความผิดอันไดกระทำโดยประมาท ความผิดลหุ
โทษ หรือความผดิ ฐานหมน่ิ ประมาท
มาตรา 120 การประชุมสภาผูแทนราษฎรและการประชุมวุฒิสภาตองมีสมาชิกมา
ประชุมไมนอยกวาก่ึงหนึ่งของจำนวนสมาชิกท้ังหมดเทาท่ีมีอยูของแตละสภาจึงจะเปนองคประชุม
เวนแตในกรณีการพิจารณาระเบียบวาระกระทู สภาผูแทนราษฎรหรือวุฒิสภาจะกำหนดองคประชุมไว
ในขอบังคบั เปนอยา งอ่ืนกไ็ ด
มาตรา 121 ภายในสิบหาวันนับแตวันประกาศผลการเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทน
ราษฎรอนั เปนการเลือกตั้งทัว่ ไป ใหมกี ารเรียกประชมุ รัฐสภาเพ่ือใหสมาชิกไดมาประชุมเปน ครงั้ แรก
ในปหนึ่งใหมีสมัยประชุมสามัญของรัฐสภาสองสมัย ๆ หนึ่งใหมีกำหนดเวลาหนึ่ง
รอยยี่สบิ วนั แตพ ระมหากษตั รยิ จะโปรดเกลา โปรดกระหมอ มใหขยายเวลาออกไปกไ็ ด

เตรยี มสอบ กกต. 2564

เตรยี มสอบพนักงาน สำนักงานคณะกรรมการการเลอื กต้งั ชุดท่ี 2 50

การปดสมัยประชุมสามัญประจำปกอนครบกำหนดเวลาหนึ่งรอยย่ีสิบวัน จะกระทำได
ก็แตโ ดยความเห็นชอบของรฐั สภา

วันประชุมคร้ังแรกตามวรรคหนึ่ง ใหถือเปนวันเร่ิมสมัยประชุมสามัญประจำปคร้ังที่
หนึ่ง สวนวันเริ่มสมัยประชุมสามัญประจำปคร้ังท่ีสอง ใหเปนไปตามท่ีสภาผูแทนราษฎรกำหนด แตใน
กรณีท่ีการประชุมคร้ังแรกตามวรรคหนึ่งมีเวลาจนถึงสิ้นปปฏิทินไมเพียงพอท่ีจะจัดใหมีการประชุมสมัย
ประชมุ สามัญประจำปคร้ังทสี่ อง จะไมม ีการประชุมสมัยสามัญประจำปครัง้ ที่สองสำหรบั ปนนั้ ก็ได

มาตรา 122 พระมหากษตั รยิ ท รงเรียกประชมุ รฐั สภา ทรงเปดและทรงปดประชุม ...
มาตรา 123 สมาชิกสภาผูแทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภาท้ังสองสภารวมกัน
หรือสมาชิกสภาผูแทนราษฎร มีจำนวนไมนอยกวาหนึ่งในสามของจำนวนสมาชิกท้ังหมดเทาที่มีอยูของ
ท้ังสองสภามีสิทธิเขาชื่อรองขอตอประธานรัฐสภาใหนำความกราบบังคมทูลเพื่อมีพระบรมราชโองการ
ประกาศเรยี กประชมุ รัฐสภาเปนการประชมุ สมยั วสิ ามัญได
มาตรา 124 ในท่ีประชมุ สภาผแู ทนราษฎร ที่ประชุมวฒุ ิสภา หรอื ทปี่ ระชุมรวมกันของ
รัฐสภา สมาชิกผูใ ดจะกลาวถอยคำใดในทางแถลงขอเท็จจริง แสดงความคิดเหน็ หรอื ออกเสียงลงคะแนน
ยอ มเปน เอกสทิ ธิโ์ ดยเดด็ ขาด ผูใ ดจะนำไปเปนเหตุฟอ งรอ งวากลา วสมาชิกผูนั้นในทางใด ๆ มไิ ด
เอกสิทธิ์ตามวรรคหน่ึงไมคุมครองสมาชิกผูกลาวถอยคำในการประชุมที่มีการ
ถายทอดทางวิทยุกระจายเสียงหรือวิทยุโทรทัศนหรือทางอ่ืนใดหากถอยคำที่กลาวในที่ประชุมไป
ปรากฏนอกบริเวณรัฐสภาและการกลาวถอยคำน้ันมีลักษณะเปนความผิดทางอาญาหรือละเมิดสิทธิ
ในทางแพง ตอบคุ คลอ่ืนซ่งึ มใิ ชร ัฐมนตรหี รอื สมาชิกแหง สภาน้นั
ในกรณีตามวรรคสอง ถาสมาชิกกลาวถอยคำใดท่ีอาจเปนเหตุใหบุคคลอ่ืนซ่ึงมิใช
รัฐมนตรีหรือสมาชิกแหงสภานั้นไดรับความเสียหาย ใหประธานแหงสภานั้นจัดใหมีการโฆษณาคำ
ชี้แจงตามท่ีบุคคลนั้นรองขอตามวิธีการและภายในระยะเวลาที่กำหนดในขอบังคับการประชุมของสภา
นัน้ ทง้ั นี้ โดยไมกระทบตอ สทิ ธขิ องบคุ คลในการฟอ งคดีตอศาล
เอกสิทธิ์ที่บัญญัติไวในมาตราน้ี ยอมคุมครองไปถึงผูพิมพและผูโฆษณารายงานการ
ประชุมตามขอบังคับของสภาผูแทนราษฎร วุฒิสภา หรือรัฐสภา แลวแตกรณี และคุมครองไปถึงบุคคล
ซึ่งประธานในท่ีประชุมอนุญาตใหแถลงขอเท็จจริง หรือแสดงความคิดเห็นในท่ีประชุม ตลอดจน
ผูดำเนินการถายทอดการประชุมสภาทางวิทยุกระจายเสียงหรือวิทยุโทรทัศนหรือทางอื่นใดซึ่งไดรับ
อนญุ าตจากประธานแหงสภาน้นั ดวยโดยอนโุ ลม
มาตรา 125 ในระหวางสมัยประชุม หามมิใหจับ คุมขัง หรือหมายเรียกตัว
สมาชิกสภาผูแทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภาไปทำการสอบสวนในฐานะท่ีสมาชิกผูน้ันเปนผูตองหา
ในคดีอาญาเวนแตจ ะไดรบั อนญุ าตจากสภาท่ผี ูน ้นั เปน สมาชกิ หรือเปน การจบั ในขณะกระทำความผดิ
ในกรณีท่ีมีการจับสมาชิกสภาผูแทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภาในขณะกระทำ
ความผิด ใหรายงานไปยังประธานแหงสภาที่ผูนั้นเปนสมาชิกโดยพลัน และเพ่ือประโยชนในการ
ประชมุ สภา ประธานแหง สภาท่ีผูน้นั เปนสมาชกิ อาจสง่ั ใหป ลอ ยผถู ูกจับเพอ่ื ใหมาประชมุ สภาได

เตรียมสอบ กกต. 2564

เตรียมสอบพนักงาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง ชดุ ที่ 2 51

ถาสมาชิกสภาผูแทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภาถูกคุมขังในระหวางสอบสวนหรือ
พิจารณาอยูกอนสมัยประชุม เมื่อถึงสมัยประชุม พนักงานสอบสวนหรือศาล แลวแตกรณี ตองสั่งปลอย
ทันทีถาประธานแหงสภาท่ีผูนั้นเปนสมาชิกไดรองขอ โดยศาลจะส่ังใหมีประกันหรือมีประกันและ
หลกั ประกันดวยหรอื ไมกไ็ ด

ในกรณีท่ีมีการฟองสมาชิกสภาผูแทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภาในคดีอาญา ไมวาจะ
ไดฟองนอกหรือในสมัยประชุม ศาลจะพิจารณาคดีนั้นในระหวางสมัยประชุมก็ได แตตองไมเปนการ
ขดั ขวางตอ การทส่ี มาชิกผูนน้ั จะมาประชุมสภา

มาตรา 126 ในระหวางที่ไมมีสภาผแู ทนราษฎร ไมวาดวยเหตุสภาผูแทนราษฎรส้ิน
อายสุ ภาผูแ ทนราษฎรถูกยบุ หรอื เหตุอืน่ ใด จะมีการประชุมวฒุ สิ ภามิได เวนแต

(1) มีกรณีที่รัฐสภาตองดำเนินการตามมาตรา 17 มาตรา 19 มาตรา 20 มาตรา 21
หรอื มาตรา 177

(2) มีกรณีท่ีวุฒิสภาตองประชุมเพ่ือทำหนาท่ีพิจารณาใหบุคคลดำรงตำแหนงใดตาม
บทบัญญัติแหงรัฐธรรมนญู

เมื่อมีกรณีตามวรรคหนึ่ง ใหวุฒิสภาดำเนินการประชุมได โดยใหประธานวุฒิสภานำ
ความกราบบังคมทูลเพื่อมีพระบรมราชโองการประกาศเรียกประชุมรัฐสภาเปนการประชุมสมัยวิสามัญ
และใหประธานวฒุ สิ ภาเปนผลู งนามรับสนองพระบรมราชโองการ

ในกรณีตาม (1) ใหวุฒิสภาทำหนาที่รัฐสภา แตการใหความเห็นชอบตามมาตรา 177
ตอ งมคี ะแนนเสียงไมนอยกวา สองในสามของจำนวนสมาชิกทัง้ หมดเทา ทม่ี อี ยขู องวุฒิสภา

มาตรา 127 การประชมุ สภาผแู ทนราษฎร การประชุมวฒุ ิสภา และการประชุมรวมกัน
ของรัฐสภา ยอมเปนการเปดเผยตามลักษณะที่กำหนดไวในขอบังคับการประชุมแตละสภา แตถา
คณะรัฐมนตรีหรือสมาชิกของแตละสภา หรือสมาชิกของทั้งสองสภารวมกัน มีจำนวนไมนอยกวาหนึ่ง
ในสขี่ องจำนวนสมาชิกทั้งหมดเทาท่มี ีอยูข องแตละสภา หรือจำนวนสมาชิกทั้งหมดเทาที่มอี ยูของทั้งสอง
สภา แลว แตก รณี รองขอใหประชมุ ลบั ก็ใหประชุมลบั

มาตรา 130 ใหมพี ระราชบัญญัตปิ ระกอบรัฐธรรมนูญ ดงั ตอ ไปนี้
(1) พระราชบัญญตั ิประกอบรฐั ธรรมนญู วา ดวยการเลือกต้ังสมาชิกสภาผแู ทนราษฎร
(2) พระราชบัญญตั ปิ ระกอบรัฐธรรมนญู วา ดวยการไดมาซึ่งสมาชิกวฒุ ิสภา
(3) พระราชบัญญัตปิ ระกอบรัฐธรรมนูญวา ดว ยคณะกรรมการการเลอื กตงั้
(4) พระราชบญั ญตั ิประกอบรัฐธรรมนญู วาดวยพรรคการเมอื ง
(5) พระราชบญั ญตั ิประกอบรัฐธรรมนูญวาดว ยผูตรวจการแผนดิน
(6) พระราชบัญญตั ปิ ระกอบรัฐธรรมนูญวา ดว ยการปอ งกันและปราบปรามการทจุ ริต
(7) พระราชบัญญตั ปิ ระกอบรฐั ธรรมนูญวา ดว ยการตรวจเงนิ แผนดิน
(8) พระราชบญั ญัติประกอบรฐั ธรรมนญู วา ดว ยวิธีพจิ ารณาของศาลรฐั ธรรมนญู

เตรียมสอบ กกต. 2564

เตรียมสอบพนักงาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลอื กต้งั ชุดท่ี 2 52

(9) พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยวิธีพิจารณาคดีอาญาของผูดำรง
ตำแหนง ทางการเมอื ง

(10) พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวา ดวยคณะกรรมการสทิ ธิมนษุ ยชนแหงชาติ
มาตรา 131 รา งพระราชบญั ญตั ปิ ระกอบรัฐธรรมนูญจะเสนอไดก็แตโ ดย
(1) คณะรัฐมนตรีโดยขอเสนอแนะของศาลฎีกา ศาลรัฐธรรมนูญ หรือองคกรอิสระที่
เก่ียวของ
(2) สมาชิกสภาผูแทนราษฎรจำนวนไมนอยกวาหน่ึงในสิบของจำนวนสมาชิกท้ังหมด
เทาทีม่ ีอยขู องสภาผแู ทนราษฎร
มาตรา 132 รา งพระราชบญั ญัตปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู นอกจากทบ่ี ัญญตั ไิ วดังตอไปน้ีให
กระทำเชนเดียวกบั พระราชบัญญัติ
(1) การเสนอรางพระราชบัญญตั ิประกอบรฐั ธรรมนูญใหเ สนอตอรัฐสภา และใหรฐั สภา
ประชุมรวมกันเพื่อพิจารณารางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญใหแลวเสร็จภายในเวลาหน่ึงรอย
แปดสิบวันโดยการออกเสียงลงคะแนนในวาระที่สาม ตองมีคะแนนเสียงเห็นชอบดวยมากกวาก่ึงหน่ึง
ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเทาท่ีมีอยูของรัฐสภา ถาที่ประชุมรวมกันของรัฐสภาพิจารณาไมแลวเสร็จ
ภายในกำหนดเวลาดังกลาว ใหถอื วา รัฐสภาใหค วามเห็นชอบตามรางทเี่ สนอตามมาตรา 131
(2) ภายในสิบหาวันนับแตวันที่รัฐสภาใหความเห็นชอบรางพระราชบัญญัติประกอบ
รฐั ธรรมนูญใหรัฐสภาสง รา งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญน้ันไปยังศาลฎีกา ศาลรัฐธรรมนูญ หรือ
องคกรอิสระที่เกี่ยวของ เพื่อใหความเห็น ในกรณีที่ศาลฎีกา ศาลรัฐธรรมนูญ หรือองคกรอิสระท่ี
เกี่ยวของ ไมม ขี อทักทว งภายในสิบวนั นับแตว ันท่ีไดร ับรา งดงั กลา ว ใหรฐั สภาดำเนินการตอ ไป
(3) ในกรณีที่ศาลฎีกา ศาลรัฐธรรมนูญ หรือองคกรอิสระที่เกี่ยวของ เห็นวาราง
พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญที่รัฐสภาใหความเห็นชอบมีขอความใดขัดหรือแยงตอรัฐธรรมนูญ
หรือทำใหไมสามารถปฏิบัติหนาท่ีใหถูกตองตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญได ใหเสนอความเห็นไปยัง
รัฐสภาและใหรัฐสภาประชมุ รวมกนั เพ่ือพิจารณาใหแลวเสร็จภายในสามสิบวันนบั แตว นั ท่ไี ดรับความเห็น
ดังกลาว ในการน้ี ใหรัฐสภามีอำนาจแกไขเพิ่มเติมตามขอเสนอของศาลฎีกา ศาลรัฐธรรมนูญ หรือองคกร
อิสระตามท่เี ห็นสมควรได และเม่ือดำเนนิ การเสร็จแลว ใหรฐั สภาดำเนินการตอ ไป
มาตรา 133 รา งพระราชบัญญตั ใิ หเสนอตอ สภาผูแทนราษฎรกอ น และจะเสนอไดก็
แตโ ดย
(1) คณะรัฐมนตรี
(2) สมาชกิ สภาผแู ทนราษฎรจำนวนไมน อ ยกวาย่สี บิ คน
(3) ผูมีสิทธิเลือกต้ังจำนวนไมนอยกวาหน่ึงหม่ืนคนเขาชื่อเสนอกฎหมายตามหมวด
3 สิทธิและเสรีภาพของปวงชนชาวไทย หรือหมวด 5 หนาท่ีของรัฐ ท้ังน้ี ตามกฎหมายวาดวยการเขาช่ือ
เสนอกฎหมาย

เตรียมสอบ กกต. 2564

เตรยี มสอบพนกั งาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตัง้ ชดุ ที่ 2 53

ในกรณีที่รางพระราชบัญญัตซิ ่ึงมีผเู สนอตาม (2) หรือ (3) เปนรางพระราชบัญญัติ
เกีย่ วดว ยการเงนิ จะเสนอไดก็ตอ เมอื่ มีคำรบั รองของนายกรฐั มนตรี

มาตรา 134 รางพระราชบัญญัติเกี่ยวดวยการเงิน หมายความถึงรางพระราชบัญญัติวา
ดว ยเรอ่ื งใดเรื่องหน่งึ ดงั ตอไปนี้

(1) การต้ังข้ึน ยกเลิก ลด เปลี่ยนแปลง แกไข ผอน หรือวางระเบียบการบังคับอัน
เก่ยี วกับภาษีหรืออากร

(2) การจัดสรร รับ รักษา หรือจายเงินแผนดิน หรือการโอนงบประมาณรายจายของ
แผน ดนิ

(3) การกูเงิน การค้ำประกนั การใชเ งินกู หรือการดำเนินการทผี่ ูกพนั ทรพั ยส นิ ของรฐั
(4) เงนิ ตรา
ในกรณีท่ีเปนที่สงสัยวารางพระราชบัญญัติใดเปนรางพระราชบัญญัติเก่ียวดวย
ก า ร เงิ น ใ ห เป น อ ำ น า จ ข อ ง ที่ ป ร ะ ชุ ม ร ว ม กั น ข อ ง ป ร ะ ธ า น ส ภ า ผู แ ท น ร า ษ ฎ ร แ ล ะ ป ร ะ ธ า น
คณะกรรมาธกิ ารสามัญของสภาผูแทนราษฎรทุกคณะเปน ผวู ินิจฉัย...
มาตรา 144 ในการพิจารณารางพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจำป
งบประมาณ รางพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายเพิ่มเติม และรางพระราชบัญญัติโอนงบประมาณ
รายจายสมาชิกสภาผูแทนราษฎรจะแปรญัตติเปล่ียนแปลงหรือแกไขเพ่ิมเติมรายการหรือจำนวนใน
รายการมิได แตอาจแปรญัตติในทางลดหรือตัดทอนรายจายซึ่งมิใชรายจายตามขอผูกพันอยางใดอยาง
หนง่ึ ดงั ตอ ไปน้ี
(1) เงินสงใชตน เงนิ กู
(2) ดอกเบ้ียเงนิ กู
(3) เงินทก่ี ำหนดใหจา ยตามกฎหมาย
ในการพิจารณาของสภาผูแทนราษฎร วุฒิสภา หรือคณะกรรมาธิการ การเสนอ
การแปรญัตติหรือการกระทำดวยประการใด ๆ ท่ีมีผลใหสมาชิกสภาผูแทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา
หรอื กรรมาธิการมสี วนไมวา โดยทางตรงหรอื ทางออ มในการใชงบประมาณรายจา ย จะกระทำมไิ ด
ในกรณีที่สมาชิกสภาผูแทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภา มีจำนวนไมนอยกวาหนึ่งใน
สิบของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเทาท่ีมีอยูของแตละสภา เห็นวามีการกระทำท่ีฝาฝนบทบัญญัติตามวรรค
สอง ใหเสนอความเหน็ ตอศาลรัฐธรรมนูญเพ่ือพิจารณา และศาลรฐั ธรรมนูญตอ งพิจารณาวินิจฉัยใหแลว
เสร็จภายในสิบหาวันนับแตวันที่ไดร บั ความเห็นดังกลา ว ในกรณีทศ่ี าลรฐั ธรรมนญู วินจิ ฉัยวา มกี ารกระทำท่ี
ฝาฝนบทบัญญัติตามวรรคสอง ใหการเสนอ การแปรญัตติ หรือการกระทำดังกลาวเปนอันส้ินผล ถา
ผูกระทำการดังกลาวเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภา ใหผูกระทำการนั้นสิ้นสุดสมาชิก
ภาพนับแตวนั ที่ศาลรัฐธรรมนูญมีคำวินิจฉัย และใหเพิกถอนสิทธิสมัครรับเลือกตั้งของผูน้ัน แตในกรณีท่ี
คณะรัฐมนตรีเปนผูกระทำการหรืออนุมัติใหกระทำการหรือรูวามีการกระทำดังกลาวแลวแตมิไดสั่ง
ยับยั้ง ใหคณะรัฐมนตรีพนจากตำแหนงทั้งคณะนับแตวันที่ศาลรัฐธรรมนูญมีคำวินิจฉัย และใหเพิก

เตรยี มสอบ กกต. 2564

เตรยี มสอบพนักงาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลือกต้ัง ชุดท่ี 2 54

ถอนสิทธิสมคั รรับเลอื กตั้งของรัฐมนตรีทพ่ี นจากตำแหนงน้ัน เวนแตจ ะพิสจู นไ ดวา ตนมิไดอยูในท่ีประชุม
ในขณะทีม่ ีมติ และใหผ กู ระทำการดังกลาวตองรับผิดชดใชเงนิ น้นั คืนพรอ มดวยดอกเบยี้

เจาหนาทข่ี องรฐั ผูใ ดจัดทำโครงการหรอื อนุมัติหรือจัดสรรเงนิ งบประมาณโดยรูวามกี าร
ดำเนินการอันเปนการฝาฝนบทบัญญัติตามวรรคหน่ึงหรือวรรคสอง ถาไดบันทึกขอโตแยงไวเปนหนังสือ
หรือมีหนังสือแจงใหคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติทราบ ใหพนจากความรับ
ผดิ

การเรียกเงินคืนตามวรรคสามหรือวรรคส่ี ใหกระทำไดภายในย่ีสิบปนับแตวันท่ีมีการ
จดั สรรงบประมาณนน้ั

ในกรณีที่คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติไดรับแจงตามวรรค
ส่ี ใหคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติดำเนินการสอบสวนเปนทางลับโดยพลัน
หากเห็นวากรณีมีมูล ใหเสนอความเห็นตอศาลรัฐธรรมนูญเพ่ือดำเนินการตอไปตามวรรคสาม และไมวา
กรณีจะเปนประการใด คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติและศาลรัฐธรรมนูญ
หรือบุคคลใดจะเปด เผยขอ มูลเกยี่ วกบั ผูแจง มไิ ด

มาตรา 150 สมาชิกสภาผูแทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภามีสิทธิต้ังกระทูถามรัฐมนตรี
ในเรื่องใดเกี่ยวกับงานในหนาที่โดยจะถามเปนหนังสือหรือดวยวาจาก็ได ตามขอบังคับการประชุมแหง
สภาน้นั ๆ ซ่งึ อยางนอยตองกำหนดใหมีการต้งั กระทูถามดวยวาจาโดยไมตอ งแจงลว งหนาไวดว ย...

มาตรา 151 สมาชิกสภาผูแทนราษฎรจำนวนไมนอยกวาหน่ึงในหาของจำนวน
สมาชิกท้ังหมดเทาที่มีอยูของสภาผูแทนราษฎรมีสิทธิเขาชื่อเสนอญัตติขอเปดอภิปรายทั่วไปเพ่ือลง
มติไมไวว างใจรฐั มนตรีเปน รายบุคคลหรือท้งั คณะ

เม่ือไดม ีการเสนอญัตติตามวรรคหน่ึงแลว จะมีการยุบสภาผูแทนราษฎรมิได เวนแต
จะมกี ารถอนญตั ติหรือการลงมติน้ันไมไ ดค ะแนนเสียงตามวรรคส่ี

เม่ือการอภิปรายท่ัวไปสิ้นสุดลง โดยมิใชดวยมติใหผานระเบียบวาระเปดอภิปรายน้ัน
ไปใหสภาผแู ทนราษฎรลงมตไิ วว างใจหรอื ไมไวว างใจ การลงมตใิ นกรณีเชน วาน้ีมิใหกระทำในวนั เดยี วกับ
วันทก่ี ารอภิปรายสิ้นสดุ ลง

มติไมไววางใจตองมีคะแนนเสียงมากกวาก่ึงหนึ่งของจำนวนสมาชิกท้ังหมดเทาที่มีอยู
ของสภาผูแ ทนราษฎร

รัฐมนตรีคนใดพนจากตำแหนงเดิมแตยังคงเปนรัฐมนตรีในตำแหนงอื่นภายหลังจาก
วันท่ีสมาชิกสภาผูแทนราษฎรเขาช่ือตามวรรคหน่ึง หรือพนจากตำแหนงเดิมไมเกินเกาสิบวันกอนวันที่
สมาชิกสภาผูแทนราษฎรเขาช่ือตามวรรคหนึ่ง แตยังคงเปนรัฐมนตรีในตำแหนงอื่น ใหรัฐมนตรีคนนั้น
ยงั คงตองถกู อภปิ รายเพ่อื ลงมติไมไววางใจตอไป

มาตรา 152 สมาชิกสภาผูแทนราษฎรจำนวนไมนอยกวาหน่ึงในสิบของจำนวน
สมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยูของสภาผูแทนราษฎรจะเขาช่ือกันเพ่ือเสนอญัตติขอเปดอภิปรายท่ัวไปเพื่อ
ซักถามขอเทจ็ จรงิ หรอื เสนอแนะปญ หาตอคณะรัฐมนตรี โดยไมม ีการลงมติกไ็ ด

เตรยี มสอบ กกต. 2564

เตรียมสอบพนกั งาน สำนักงานคณะกรรมการการเลอื กตงั้ ชดุ ที่ 2 55

มาตรา 153 สมาชิกวุฒิสภาจำนวนไมนอยกวา หน่งึ ในสามของจำนวนสมาชิกทั้งหมด
เทาที่มีอยูของวุฒิสภามีสิทธิเขาชื่อขอเปดอภิปรายทั่วไปในวุฒิสภาเพ่ือใหคณะรัฐมนตรีแถลง
ขอ เท็จจรงิ หรือชี้แจงปญหาสำคัญเกยี่ วกบั การบรหิ ารราชการแผน ดนิ โดยไมมีการลงมติ

มาตรา 154 การเสนอญัตติขอเปดอภิปรายท่ัวไปตามมาตรา 151 มาตรา 152หรือ
มาตรา 153 แลว แตกรณี ใหกระทำไดป ละหนง่ึ ครงั้

ความในวรรคหนึ่งไมใชบังคับแกการเปดอภิปรายทั่วไปตามมาตรา 151 ที่ส้ินสุดลง
ดว ยมตใิ หผ านระเบยี บวาระเปดอภปิ รายนน้ั ไป

มาตรา 155 ในกรณีท่ีมีปญหาสำคัญเกี่ยวกับความม่ันคงปลอดภัยหรือเศรษฐกิจของ
ประเทศสมควรที่จะปรึกษาหารือรวมกันระหวางรัฐสภาและคณะรัฐมนตรี ผูนำฝายคานในสภา
ผูแทนราษฎรจะแจงไปยังประธานรัฐสภาขอใหมีการเปดอภิปรายท่ัวไปในท่ีประชุมรัฐสภาก็ได ใน
กรณีนี้ ประธานรัฐสภาตองดำเนินการใหมีการประชุมภายในสิบหาวันนับแตวันที่ไดรับการแจง แต
รัฐสภาจะลงมตใิ นปญ หาที่อภปิ รายมิได

การประชุมตามวรรคหนึ่งใหประชุมลับ และคณะรัฐมนตรีมีหนาท่ีตองเขารวมประชุม
ดวย

สว นที่ 5
การประชุมรวมกนั ของรฐั สภา
มาตรา 156 ในกรณีตอ ไปน้ี ใหรฐั สภาประชุมรวมกนั
(1) การใหความเห็นชอบในการแตงต้ังผสู ำเรจ็ ราชการแทนพระองคต ามมาตรา 17
(2) การปฏญิ าณตนของผสู ำเรจ็ ราชการแทนพระองคตอ รฐั สภาตามมาตรา 19
(3) การรับทราบการแกไขเพ่ิมเติมกฎมณเฑียรบาลวาดวยการสืบราชสันตติวงศ
พระพทุ ธศกั ราช 2467 ตามมาตรา 20
(4) การรับทราบหรอื ใหความเห็นชอบในการสบื ราชสมบตั ิตามมาตรา 21
(5) การใหค วามเห็นชอบในการปด สมัยประชมุ ตามมาตรา 121
(6) การเปด ประชุมรฐั สภาตามมาตรา 122
(7) การพจิ ารณารางพระราชบัญญัตปิ ระกอบรฐั ธรรมนูญตามมาตรา 132
(8) การปรึกษารางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญหรือรางพระราชบัญญัติ
ใหมตามมาตรา 146
(9) การพิจารณาใหความเหน็ ชอบตามมาตรา 147
(10) การเปด อภิปรายทว่ั ไปตามมาตรา 155 และมาตรา 165
(11) การตราขอบงั คับการประชุมรัฐสภาตามมาตรา 157
(12) การแถลงนโยบายตามมาตรา 162
(13) การใหค วามเหน็ ชอบในการประกาศสงครามตามมาตรา 177

เตรยี มสอบ กกต. 2564

เตรยี มสอบพนกั งาน สำนักงานคณะกรรมการการเลอื กต้งั ชุดท่ี 2 56

(14) การรับฟง คำชี้แจงและการใหค วามเหน็ ชอบหนังสือสญั ญาตามมาตรา 178
(15) การแกไขเพิม่ เตมิ รฐั ธรรมนญู ตามมาตรา 256
(16) กรณีอ่นื ตามที่บญั ญัตไิ วใ นรัฐธรรมนญู

หมวด 8
คณะรัฐมนตรี
มาตรา 158 พระมหากษัตริยทรงแตงต้ังนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีอ่ืนอีกไมเกิน
สามสิบหาคนประกอบเปนคณะรัฐมนตรี มีหนาท่ีบริหารราชการแผนดินตามหลักความรับผิดชอบ
รวมกัน (รวม 36 คน)
นายกรัฐมนตรีตองแตงต้ังจากบุคคลซ่ึงสภาผูแทนราษฎรใหความเห็นชอบตามมาตรา
159
ใหประธานสภาผูแทนราษฎรเปนผูลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแตงต้ัง
นายกรฐั มนตรี
นายกรัฐมนตรีจะดำรงตำแหนงรวมกันแลวเกินแปดปมิได ทั้งนี้ ไมวาจะเปนการ
ดำรงตำแหนงติดตอกันหรือไม แตมิใหนับรวมระยะเวลาในระหวางท่ีอยูปฏิบัติหนาท่ีตอไปหลังพนจาก
ตำแหนง
มาตรา 159 ใหสภาผูแทนราษฎรพิจารณาใหความเห็นชอบบุคคลซ่ึงสมควรไดรับ
แตงตั้งเปนนายกรัฐมนตรีจากบุคคลซึ่งมีคุณสมบัติและไมมีลักษณะตองหามตามมาตรา 160 และ
เปนผูมีชื่ออยูในบัญชีรายช่ือท่ีพรรคการเมืองแจงไวตามมาตรา 88 เฉพาะจากบัญชีรายชื่อของพรรค
การเมืองท่ีมีสมาชิกไดรับเลือกเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรไมนอยกวารอยละหาของจำนวนสมาชิก
ทั้งหมดเทาทม่ี ีอยูข องสภาผูแทนราษฎร
การเสนอช่ือตามวรรคหนึ่งตองมีสมาชิกรับรองไมนอยกวาหนึ่งในสิบของจำนวน
สมาชิกทั้งหมดเทา ทมี่ ีอยขู องสภาผแู ทนราษฎร
มติของสภาผูแทนราษฎรที่เห็นชอบการแตงตั้งบุคคลใดใหเปนนายกรัฐมนตรี ตอง
กระทำโดยการลงคะแนนโดยเปดเผย และมีคะแนนเสียงมากกวากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกทั้งหมด
เทา ที่มอี ยขู องสภาผแู ทนราษฎร
มาตรา 160 รฐั มนตรีตอง
(1) มีสัญชาติไทยโดยการเกดิ
(2) มีอายไุ มต่ำกวาสามสิบหา ป
(3) สำเร็จการศึกษาไมต่ำกวา ปรญิ ญาตรหี รือเทียบเทา
(4) มคี วามซื่อสัตยส จุ รติ เปน ทปี่ ระจักษ
(5) ไมมีพฤติกรรมอันเปนการฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามมาตรฐานทางจริยธรรมอยาง
รา ยแรง

เตรียมสอบ กกต. 2564

เตรียมสอบพนักงาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลอื กต้ัง ชุดท่ี 2 57

(6) ไมมลี กั ษณะตอ งหามตามมาตรา 98
(7) ไมเปนผูตองคำพิพากษาใหจำคุก แมคดีน้ันจะยังไมถึงท่ีสุด หรือมีการรอการ
ลงโทษ เวนแตใ นความผดิ อันไดก ระทำโดยประมาท ความผดิ ลหุโทษ หรอื ความผดิ ฐานหมิ่นประมาท
(8) ไมเปนผูเคยพนจากตำแหนงเพราะเหตุกระทำการอันเปนการตองหามตามมาตรา
186 หรือมาตรา 187 มาแลว ยังไมถงึ สองปนับถึงวนั แตงตั้ง
มาตรา 162 คณะรัฐมนตรีท่ีจะเขาบริหารราชการแผนดินตองแถลงนโยบายตอ
รัฐสภา ซึ่งตองสอดคลองกับหนาท่ีของรัฐ แนวนโยบายแหงรัฐ และยุทธศาสตรชาติ และตองชี้แจง
แหลงที่มาของรายไดที่จะนำมาใชจายในการดำเนินนโยบาย โดยไมมีการลงมติความไววางใจ ทั้งนี้
ภายในสิบหา วนั นับแตวันเขารับหนา ท่ี
กอนแถลงนโยบายตอรัฐสภาตามวรรคหน่ึง หากมีกรณีที่สำคัญและจำเปนเรงดวน ซึ่ง
หากปลอยใหเน่ินชาไปจะกระทบตอประโยชนสำคัญของแผนดิน คณะรัฐมนตรีท่ีเขารับหนาท่ีจะ
ดำเนนิ การไปพลางกอนเพยี งเทาท่ีจำเปนกไ็ ด
มาตรา 163 รัฐมนตรียอมมีสิทธิเขาประชุมและแถลงขอเท็จจริงหรือแสดงความ
คิดเห็นในท่ีประชุมสภาแตไมมีสิทธิออกเสียงลงคะแนน เวนแตเปนการออกเสียงลงคะแนนในสภา
ผูแทนราษฎรในกรณีท่ีรัฐมนตรีผูน้ันเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรดวย และใหนำเอกสิทธิ์ท่ีบัญญัติไวใน
มาตรา 124 มาใชบงั คับโดยอนุโลม
มาตรา 164 ในการบริหารราชการแผนดิน คณะรัฐมนตรีตองดำเนินการตาม
บทบัญญัตแิ หงรัฐธรรมนูญ กฎหมาย และนโยบายท่ีไดแถลงไวตอรฐั สภา และตอ งปฏิบัติตามหลักเกณฑ
ดังตอไปนี้ดวย
(1) ปฏิบัติหนาที่และใชอำนาจดวยความซื่อสัตย สุจริต เสียสละ เปดเผย และมีความ
รอบคอบและระมัดระวังในการดำเนินกิจการตาง ๆ เพ่ือประโยชนสูงสุดของประเทศและประชาชน
สว นรวม
(2) รักษาวินัยในกิจการท่ีเกี่ยวกับเงินแผนดินตามกฎหมายวาดวยวินัยการเงินการคลัง
ของรัฐอยา งเครงครัด
(3) ยดึ ถอื และปฏบิ ัตติ ามหลักการบริหารกจิ การบา นเมืองทีด่ ี
(4) สรางเสริมใหทุกภาคสวนในสังคมอยูรวมกันอยางเปนธรรม ผาสุก และสามัคคี
ปรองดองกัน
รัฐมนตรีตองรับผิดชอบตอสภาผูแทนราษฎรในเรื่องที่อยูในหนาที่และอำนาจของตน
รวมทั้งตองรับผิดชอบรวมกันตอรัฐสภาในการกำหนดนโยบายและการดำเนินการตามนโยบายของ
คณะรัฐมนตรี
มาตรา 165 ในกรณีท่ีมีปญหาสำคัญเก่ียวกับการบริหารราชการแผนดินท่ี
ค ณ ะ รั ฐ ม น ต รี เห็ น ส ม ค ว ร จ ะ ฟ งค ว า ม คิ ด เห็ น ข อ งส ม า ชิ ก ส ภ า ผู แ ท น ร า ษ ฎ ร แ ล ะ ส ม า ชิ ก วุ ฒิ ส ภ า

เตรยี มสอบ กกต. 2564

เตรยี มสอบพนกั งาน สำนักงานคณะกรรมการการเลอื กตง้ั ชุดท่ี 2 58

นายกรัฐมนตรีจะแจงไปยังประธานรฐั สภาขอใหม ีการเปดอภิปรายท่ัวไปในที่ประชุมรว มกนั ของรัฐสภาก็
ได ในกรณเี ชนวา น้ี รฐั สภาจะลงมติในปญ หาทอ่ี ภปิ รายมิได

มาตรา 166 ในกรณีที่มีเหตุอันสมควร คณะรฐั มนตรีจะขอใหมกี ารออกเสียงประชามติ
ในเร่ืองใดอันมิใชเร่ืองท่ีขัดหรือแยงตอรัฐธรรมนูญหรือเรื่องที่เก่ียวกับตัวบุคคลหรือคณะบุคคลใดก็ได
ทง้ั น้ี ตามทกี่ ฎหมายบญั ญัติ

มาตรา 167 รัฐมนตรที ้งั คณะพนจากตำแหนง เมื่อ
(1) ความเปน รัฐมนตรีของนายกรัฐมนตรีสน้ิ สดุ ลงตามมาตรา 170
(2) อายสุ ภาผแู ทนราษฎรสน้ิ สดุ ลงหรือมกี ารยบุ สภาผแู ทนราษฎร
(3) คณะรฐั มนตรลี าออก
(4) พนจากตำแหนงเพราะเหตตุ ามมาตรา 144
เม่ือรัฐมนตรีทั้งคณะพนจากตำแหนงตาม (1) (3) หรือ (4) ใหดำเนินการเพ่ือใหมี
คณะรฐั มนตรขี ้ึนใหมตามมาตรา 158 และมาตรา 159
มาตรา 168 ใหค ณะรฐั มนตรที ี่พนจากตำแหนงอยปู ฏิบัตหิ นาท่ีตอ ไปภายใตเงอื่ นไข
ดังตอไปน้ี
(1) ในกรณีพนจากตำแหนงตามมาตรา 167 (1) (2) หรือ (3) ใหอยูปฏิบัติหนาที่ตอไป
จนกวาคณะรัฐมนตรีท่ีต้ังขึ้นใหมจะเขารับหนาท่ี เวนแตในกรณีที่นายกรัฐมนตรีพนจากตำแหนงตาม
มาตรา 167 (1) เพราะเหตุขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะตองหามตามมาตรา 98 หรือมาตรา 160 (4)
หรอื (5) นายกรัฐมนตรจี ะอยูป ฏบิ ัติหนา ท่ีตอไปมไิ ด
(2) ในกรณีพนจากตำแหนงตามมาตรา 167 (4) คณะรฐั มนตรที ี่พน จากตำแหนงจะอยู
ปฏิบตั หิ นาที่ตอ ไปมิได
ในกรณีท่ีคณะรัฐมนตรีอยูปฏิบัติหนาท่ีตอไปมิไดตาม (2) หรือคณะรัฐมนตรีท่ีอยู
ปฏิบัติหนาที่ตอไปลาออกทั้งคณะ และเปนกรณีที่ไมอาจดำเนินการตามมาตรา 158 และมาตรา 159
ไดไมวาดวยเหตุใดหรือยังดำเนินการตามมาตรา 158 และมาตรา 159 ไมแลวเสร็จ ให
ปลัดกระทรวงปฏิบัติหนา ท่ีแทนรัฐมนตรวี าการกระทรวงนน้ั ๆ เฉพาะเทา ทจ่ี ำเปนไปพลางกอ น โดย
ใหป ลัดกระทรวงคัดเลือกกันเองใหค นหน่ึงปฏิบัตหิ นาที่แทนนายกรฐั มนตรี
มาตรา 169 คณะรัฐมนตรีท่ีพนจากตำแหนงตามมาตรา 167 (2) และตองปฏิบัติ
หนาท่ตี อไปตามมาตรา 168 ตองปฏบิ ตั หิ นาทต่ี ามเงือ่ นไข ดังตอไปน้ี
(1) ไมกระทำการอันมีผลเปนการอนุมัติงานหรือโครงการ หรือมีผลเปนการสรางความ
ผูกพันตอ คณะรัฐมนตรีชุดตอไป เวน แตท ีก่ ำหนดไวแลว ในงบประมาณรายจา ยประจำป
(2) ไมแตงตั้งหรือโยกยายขาราชการซึ่งมีตำแหนงหรือเงินเดือนประจำหรือพนักงาน
ของหนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือกิจการท่ีรัฐถือหุนใหญ หรือใหบุคคลดังกลาวพนจากการปฏิบัติ
หนาที่ หรือพนจากตำแหนง หรือใหผูอื่นมาปฏิบัติหนาที่แทน เวนแตจะไดรับความเห็นชอบจาก
คณะกรรมการการเลือกตัง้ กอ น

เตรียมสอบ กกต. 2564

เตรยี มสอบพนกั งาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตง้ั ชดุ ท่ี 2 59

(3) ไมกระทำการอันมีผลเปนการอนุมัติใหใชจายงบประมาณสำรองจายเพื่อกรณี
ฉกุ เฉนิ หรอื จำเปน เวนแตจ ะไดรับความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการการเลอื กต้ังกอ น

(4) ไมใชทรัพยากรของรัฐหรือบุคลากรของรัฐเพ่ือกระทำการใดอันอาจมีผลตอการ
เลือกต้ัง และไมก ระทำการอันเปน การฝาฝน ขอหามตามระเบยี บทีค่ ณะกรรมการการเลือกตง้ั กำหนด

มาตรา 170 ความเปนรัฐมนตรีสนิ้ สุดลงเฉพาะตวั เมอื่
(1) ตาย
(2) ลาออก
(3) สภาผูแทนราษฎรมมี ตไิ มไวว างใจ
(4) ขาดคณุ สมบัตหิ รือมลี กั ษณะตอ งหา มตามมาตรา 160
(5) กระทำการอนั เปน การตอ งหามตามมาตรา 186 หรือมาตรา 187
(6) มีพระบรมราชโองการใหพน จากความเปนรฐั มนตรตี ามมาตรา 171
นอกจากเหตุที่ทำใหความเปนรัฐมนตรีสิ้นสุดลงเฉพาะตัวตามวรรคหนึ่งแลว
ความเปนรัฐมนตรีของนายกรัฐมนตรสี ้นิ สดุ ลงเมื่อครบกำหนดเวลาตามมาตรา 158 วรรคสี่ ดว ย
ใหนำความในมาตรา 82 มาใชบังคับแกการสิ้นสุดของความเปนรัฐมนตรีตาม (2)
(4) หรือ (5) หรือวรรคสอง โดยอนุโลม เพื่อประโยชนแหงการนี้ ใหคณะกรรมการการเลือกต้ังมี
อำนาจสงเรื่องใหศ าลรัฐธรรมนูญวินิจฉยั ไดดว ย
มาตรา 171 พระมหากษัตริยทรงไวซ่ึงพระราชอำนาจในการใหรัฐมนตรีพนจากความ
เปนรฐั มนตรตี ามทีน่ ายกรัฐมนตรีถวายคำแนะนำ
มาตรา 172 ในกรณีเพ่ือประโยชนในอันที่จะรักษาความปลอดภัยของประเทศ
ความปลอดภัยสาธารณะ ความมั่นคงในทางเศรษฐกิจของประเทศ หรือปองปดภัยพิบัติสาธารณะ
พระมหากษตั รยิ จ ะทรงตราพระราชกำหนดใหใชบังคบั ดังเชนพระราชบัญญตั กิ ไ็ ด
การตราพระราชกำหนดตามวรรคหน่ึงใหกระทำไดเฉพาะเมื่อคณะรัฐมนตรีเห็นวา
เปนกรณีฉกุ เฉินท่ีมีความจำเปน รบี ดวนอนั มิอาจจะหลกี เลยี่ งได
ในการประชุมรัฐสภาคราวตอไป ใหคณะรัฐมนตรีเสนอพระราชกำหนดน้ันตอรัฐสภา
เพ่ือพิจารณาโดยไมชักชา ถาอยูนอกสมัยประชุมและการรอการเปดสมัยประชุมสามัญจะเปนการชักชา
คณะรัฐมนตรีตองดำเนินการใหมีการเรียกประชุมรัฐสภาสมัยวิสามัญเพื่อพิจารณาอนุมัติหรือไมอนุมัติ
พระราชกำหนดโดยเร็วถาสภาผูแทนราษฎรไมอนุมัติหรือสภาผูแทนราษฎรอนุมัติแตวุฒิสภาไมอนุมัติ
และสภาผูแทนราษฎรยืนยันการอนุมัติดวยคะแนนเสียงไมมากกวาก่ึงหน่ึงของจำนวนสมาชิกท้ังหมด
เทาที่มีอยูของสภาผูแทนราษฎรใหพระราชกำหนดนั้นตกไป แตทั้งน้ีไมกระทบตอกิจการที่ไดเปนไปใน
ระหวา งท่ีใชพ ระราชกำหนดนั้น
หากพระราชกำหนดตามวรรคหน่ึงมีผลเปนการแกไขเพิ่มเติมหรือยกเลิกบทบัญญัติ
แหงกฎหมายใดและพระราชกำหนดนั้นตองตกไปตามวรรคสาม ใหบทบัญญัติแหงกฎหมายที่มีอยูกอน
การแกไขเพ่มิ เตมิ หรือยกเลิก มผี ลใชบ ังคับตอไปนบั แตว ันท่กี ารไมอ นมุ ัตพิ ระราชกำหนดนัน้ มีผล

เตรียมสอบ กกต. 2564

เตรียมสอบพนักงาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลอื กตงั้ ชุดที่ 2 60

ถาสภาผูแทนราษฎรและวุฒิสภาอนุมัติพระราชกำหนดน้ัน หรือถาวุฒิสภาไมอนุมัติ
และสภาผูแทนราษฎรยืนยันการอนุมัติดวยคะแนนเสียงมากกวากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกท้ังหมดเทาที่
มีอยูของสภาผูแทนราษฎร ใหพ ระราชกำหนดนนั้ มผี ลใชบ งั คับเปนพระราชบัญญัตติ อ ไป

การอนุมัติหรือไมอนุมัติพระราชกำหนด ใหนายกรัฐมนตรีประกาศในราชกิจจา
นเุ บกษาในกรณีไมอ นมุ ตั ิ ใหม ผี ลตงั้ แตวนั ถัดจากวนั ประกาศในราชกิจจานุเบกษา

การพิจารณาพระราชกำหนดของสภาผูแทนราษฎรและของวุฒิสภา และการยืนยัน
การอนุมัติพระราชกำหนด จะตองกระทำในโอกาสแรกทีม่ ีการประชุมสภาน้ัน ๆ

มาตรา 173 กอนที่สภาผูแทนราษฎรหรือวุฒิสภาจะไดอนุมัติพระราชกำหนดใด
สมาชิกสภาผูแทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภาจำนวนไมนอยกวาหน่ึงในหาของจำนวนสมาชิกท้ังหมด
เทาท่ีมีอยูของแตละสภา มีสิทธิเขาชื่อเสนอความเห็นตอประธานแหงสภาท่ีตนเปนสมาชิกวาพระราช
กำหนดน้ันไมเปนไปตามมาตรา 172 วรรคหนึ่ง และใหประธานแหงสภานั้นสงความเห็นไปยังศาล
รฐั ธรรมนูญภายในสามวันนับแตวันท่ีไดรับความเห็นเพ่ือวินิจฉัย และใหรอการพิจารณาพระราชกำหนด
น้ันไวกอ นจนกวาจะไดรบั แจงคำวนิ จิ ฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ

ใหศาลรัฐธรรมนูญมีคำวินิจฉัยภายในหกสิบวันนับแตวันท่ีไดรับเรื่อง และใหศาล
รัฐธรรมนญู แจงคำวินจิ ฉยั น้นั ไปยงั ประธานแหง สภาทสี่ งความเหน็ นน้ั มา

ในกรณีที่ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยวาพระราชกำหนดใดไมเปนไปตามมาตรา 172
วรรคหน่ึง ใหพ ระราชกำหนดนน้ั ไมม ผี ลใชบ งั คบั มาแตต น

คำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญวาพระราชกำหนดใดไมเปนไปตามมาตรา 172 วรรคหน่ึง
ตองมีคะแนนเสียงไมนอ ยกวา สองในสามของจำนวนตุลาการศาลรัฐธรรมนญู ทัง้ หมดเทา ทมี่ อี ยู

มาตรา 174 ในกรณีท่ีมีความจำเปนตองมีกฎหมายเกี่ยวดวยภาษีอากรหรือเงินตราซ่ึง
จะตองไดรับการพิจารณาโดยดวนและลับเพ่ือรักษาประโยชนของแผนดิน พระมหากษัตริยจะทรงตรา
พระราชกำหนดใหใชบังคบั ดังเชนพระราชบัญญัตกิ ไ็ ด

ใหนำความในมาตรา 172 วรรคสาม วรรคสี่ วรรคหา วรรคหก และวรรคเจ็ด มาใช
บังคับแกพระราชกำหนดที่ไดตราข้ึนตามวรรคหนึ่งโดยอนุโลม แตถาเปนการตราขึ้นในระหวางสมัย
ประชุม จะตองนำเสนอตอสภาผูแทนราษฎรภายในสามวันนับแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจา
นุเบกษา

มาตรา 175 พระมหากษัตริยทรงไวซ่ึงพระราชอำนาจในการตราพระราชกฤษฎีกา
โดยไมข ดั ตอกฎหมาย

มาตรา 176 พระมหากษัตริยทรงไวซ่ึงพระราชอำนาจในการประกาศใชและเลิกใช
กฎอัยการศึก

ในกรณีที่มีความจำเปนตองประกาศใชกฎอัยการศึกเฉพาะแหงเปนการรีบดวน
เจาหนา ที่ฝายทหารยอ มกระทำไดต ามกฎหมายวาดวยกฎอยั การศกึ

เตรียมสอบ กกต. 2564

เตรียมสอบพนกั งาน สำนักงานคณะกรรมการการเลอื กต้งั ชุดที่ 2 61

มาตรา 177 พระมหากษัตริยทรงไวซึ่งพระราชอำนาจในการประกาศสงครามเม่ือ
ไดร ับความเหน็ ชอบของรฐั สภา

มติใหความเห็นชอบของรัฐสภาตองมีคะแนนเสียงไมนอยกวาสองในสามของจำนวน
สมาชกิ ท้งั หมดเทา ท่มี อี ยขู องท้ังสองสภา

มาตรา 178 พระมหากษัตริยทรงไวซ่ึงพระราชอำนาจในการทำหนังสือสัญญา
สนั ตภิ าพสัญญาสงบศึก และสัญญาอื่นกับนานาประเทศหรือกับองคการระหวางประเทศ

หนังสือสัญญาใดมีบทเปล่ียนแปลงอาณาเขตไทย หรือเขตพื้นท่ีนอกอาณาเขตซึ่ง
ประเทศไทยมีสิทธิอธิปไตยหรือมีเขตอำนาจตามหนังสือสัญญาหรือตามกฎหมายระหวางประเทศหรือ
จะตองออกพระราชบัญญตั ิเพ่ือใหก ารเปน ไปตามหนังสือสญั ญา และหนังสือสญั ญาอ่ืนทอ่ี าจมีผลกระทบ
ตอความมั่นคงทางเศรษฐกิจ สังคม หรือการคาหรือการลงทุนของประเทศอยางกวางขวาง ตองไดรับ
ความเห็นชอบของรัฐสภา ในการนี้ รัฐสภาตองพิจารณาใหแลวเสร็จภายในหกสิบวันนับแตวันท่ีไดรับ
เรื่อง หากรัฐสภาพิจารณาไมแ ลว เสร็จภายในกำหนดเวลาดังกลาว ใหถอื วารฐั สภาใหความเห็นชอบ

หนังสือสัญญาอื่นที่อาจมีผลกระทบตอความมั่นคงทางเศรษฐกิจ สังคม หรือการคา
หรือการลงทุนของประเทศอยางกวางขวางตามวรรคสอง ไดแก หนังสือสัญญาเกี่ยวกับการคาเสรี
เขตศุลกากรรวมหรือการใหใชทรัพยากรธรรมชาติ หรือทำใหประเทศตองสูญเสียสิทธิใน
ทรัพยากรธรรมชาตทิ ้ังหมดหรือบางสวน หรือหนงั สือสญั ญาอ่ืนตามท่กี ฎหมายบัญญัติ

ใหมีกฎหมายกำหนดวิธีการที่ประชาชนจะเขามามีสวนรวมในการแสดงความคิดเห็น
และไดร บั การเยยี วยาทจี่ ำเปนอันเกดิ จากผลกระทบของการทำหนังสอื สัญญาตามวรรคสามดวย

เม่ือมีปญหาวาหนังสือสัญญาใดเปนกรณีตามวรรคสองหรือวรรคสามหรือไม
คณะรัฐมนตรีจะขอใหศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยก็ได ท้ังนี้ ศาลรัฐธรรมนูญตองวินิจฉัยใหแลวเสร็จ
ภายในสามสิบวันนบั แตวนั ท่ีไดรับคำขอ

มาตรา 179 พระมหากษตั ริยท รงไวซึ่งพระราชอำนาจในการพระราชทานอภยั โทษ
มาตรา 180 พระมหากษัตริยทรงแตงตั้งขาราชการฝายทหารและฝายพลเรือน
ตำแหนงปลัดกระทรวง อธิบดี และเทียบเทา และทรงใหพนจากตำแหนง เวนแตกรณีท่ีพนจากตำแหนง
เพราะความตาย เกษยี ณอายุ หรอื พน จากราชการเพราะถูกลงโทษ
มาตรา 181 ขาราชการและพนักงานของรัฐซึ่งมีตำแหนงหรือเงินเดือนประจำและมิใช
ขาราชการการเมือง จะเปนขา ราชการการเมอื งหรือผดู ำรงตำแหนง ทางการเมืองอื่นมิได
มาตรา 182 บทกฎหมาย พระราชหัตถเลขา และพระบรมราชโองการอันเก่ียวกับ
ราชการแผนดินตองมีรัฐมนตรีลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ เวนแตที่มีบัญญัติไวเปนอยางอื่นใน
รฐั ธรรมนญู

หมวด 9
การขดั กนั แหง ผลประโยชน
มาตรา 184 สมาชกิ สภาผูแ ทนราษฎรและสมาชกิ วุฒสิ ภาตอ ง

เตรยี มสอบ กกต. 2564

เตรียมสอบพนักงาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตงั้ ชดุ ที่ 2 62

(1) ไมดำรงตำแหนงหรือหนาที่ใดในหนวยราชการ หนวยงานของรัฐหรือรัฐวิสาหกิจ
หรือตำแหนงสมาชกิ สภาทอ งถิ่นหรือผูบรหิ ารทอ งถน่ิ

(2) ไมรับหรือแทรกแซงหรือกาวกายการเขารับสัมปทานจากรัฐ หนวยราชการ
หนวยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ หรือเขาเปนคูสัญญากับรัฐ หนวยราชการ หนวยงานของรัฐ หรือ
รฐั วิสาหกิจอนั มลี ักษณะเปนการผกู ขาดตัดตอน หรอื เปนหุนสวนหรอื ผูถอื หุนในหางหุนสว นหรือบริษัทท่ี
รับสัมปทานหรอื เขาเปนคูสญั ญาในลักษณะดังกลาว ท้ังนี้ ไมวา โดยทางตรงหรอื ทางออ ม

(3) ไมรับเงินหรือประโยชนใด ๆ จากหนวยราชการ หนวยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ
เปนพิเศษ นอกเหนือไปจากที่หนวยราชการ หนวยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจปฏิบัติตอบุคคลอื่น ๆ ใน
ธรุ กิจการงานปกติ

(4) ไมกระทำการใด ๆ ไมวาโดยทางตรงหรือทางออม อันเปนการขัดขวางหรือ
แทรกแซงการใชสิทธิหรือเสรภี าพของหนงั สือพมิ พหรอื สือ่ มวลชนโดยมชิ อบ

มาตราน้ีมิใหใชบังคับในกรณีท่ีสมาชิกสภาผูแทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภารับเบี้ย
หวัด บำเหนจ็ บำนาญ เงนิ ปพ ระบรมวงศานุวงศ หรือเงินอ่ืนใดในลักษณะเดียวกัน และมิใหใชบังคับ
ในกรณีท่ีสมาชิกสภาผูแทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภารับหรือดำรงตำแหนงกรรมาธิการของรัฐสภา
สภาผูแทนราษฎร หรือวุฒิสภา หรือกรรมการท่ีไดรับแตงตั้งในการบริหารราชการแผนดินที่เก่ียวกับ
กิจการของสภา หรอื กรรมการตามทม่ี กี ฎหมายบญั ญตั ิไวเปน การเฉพาะ

ใหนำ (2) และ (3) มาบังคับใชแกคูสมรสและบุตรของสมาชิกสภาผูแทนราษฎรหรือ
สมาชิกวุฒิสภา และบุคคลอื่นซึ่งมิใชคูสมรสและบุตรของสมาชิกสภาผูแทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภาน้ันที่
ดำเนินการในลักษณะผูถูกใช ผูรวมดำเนินการ หรือผูไดรับมอบหมายจากสมาชิกสภาผูแทนราษฎรหรือ
สมาชิกวฒุ สิ ภาใหกระทำการตามมาตรานีด้ ว ย

มาตรา 185 สมาชิกสภาผูแทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภาตองไมใชสถานะหรือ
ตำแหนงการเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภากระทำการใด ๆ อันมีลักษณะที่เปน
การกาวกายหรือแทรกแซงเพ่ือประโยชนของตนเอง ของผูอ่ืน หรือของพรรคการเมือง ไมวาโดย
ทางตรงหรอื ทางออ มในเรอื่ งดงั ตอ ไปน้ี

(1) การปฏิบัติราชการหรือการดำเนินงานในหนาที่ประจำของขาราชการ พนักงาน
หรือลูกจางของหนวยราชการ หนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ กิจการที่รัฐถือหุนใหญ หรือราชการสวน
ทอ งถิ่น

(2) กระทำการในลักษณะท่ีทำใหตนมีสวนรวมในการใชจายเงินงบประมาณหรือให
ความเห็นชอบในการจัดทำโครงการใด ๆ ของหนวยงานของรัฐ เวนแตเปนการดำเนินการในกิจการของ
รัฐสภา

(3) การบรรจุ แตงต้ัง โยกยาย โอน เลื่อนตำแหนง เล่ือนเงินเดือนหรือการใหพนจาก
ตำแหนงของขาราชการซ่ึงมีตำแหนงหรือเงินเดือนประจำและมิใชขาราชการการเมือง พนักงาน หรือ
ลูกจางของหนว ยราชการ หนวยงานของรัฐ รฐั วิสาหกจิ กิจการทีร่ ฐั ถอื หนุ ใหญ หรือราชการสวนทองถ่ิน

เตรยี มสอบ กกต. 2564

เตรียมสอบพนกั งาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตัง้ ชุดที่ 2 63

มาตรา 186 ใหนำความในมาตรา 184 มาใชบังคบั แกร ัฐมนตรดี วยโดยอนุโลม เวน
แตก รณี ดงั ตอไปน้ี

(1) การดำรงตำแหนงหรือการดำเนินการท่ีกฎหมายบัญญัติใหเปนหนาที่หรืออำนาจ
ของรัฐมนตรี

(2) การกระทำตามหนา ท่ีและอำนาจในการบริหารราชการแผนดิน หรอื ตามนโยบายที่
ไดแ ถลงตอ รัฐสภา หรือตามทก่ี ฎหมายบัญญัติ

นอกจากกรณีตามวรรคหนึ่ง รัฐมนตรีตองไมใชสถานะหรือตำแหนงกระทำการใดไมวา
โดยทางตรงหรือทางออม อันเปนการกาวกายหรือแทรกแซงการปฏิบัติหนาท่ีของเจาหนาที่ของรัฐเพ่ือ
ประโยชนของตนเองของผูอื่น หรอื ของพรรคการเมืองโดยมิชอบตามที่กำหนดในมาตรฐานทางจรยิ ธรรม

มาตรา 187 รัฐมนตรีตองไมเปนหุนสวนหรือผูถือหุนในหางหุนสวนหรือบริษัทหรือไม
คงไวซ่ึงความเปนหุนสวนหรือผูถอื หุนในหางหุนสวนหรือบริษัทตอไปตามจำนวนท่ีกฎหมายบัญญัติ และ
ตอ งไมเปนลกู จา งของบคุ คลใด

ในกรณีท่ีรัฐมนตรีผูใดประสงคจะไดรับประโยชนจากกรณีตามวรรคหน่ึงตอไป ใหแจง
ประธานกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติทราบภายในสามสิบวันนับแตวันที่ไดรับ
แตงต้ัง และใหโอนหุนในหางหนุ สวนหรือบรษิ ัทดงั กลาวใหแกนติ ิบุคคลซึง่ จัดการทรัพยส ินเพื่อประโยชน
ของผูอื่น ทัง้ น้ี ตามท่ีกฎหมายบญั ญตั ิ

รัฐมนตรีจะเขาไปเกี่ยวของกับการบริหารจัดการหุนหรือกิจการของหางหุนสวนหรือ
บริษทั ตามวรรคสองไมว าในทางใด ๆ มิได

มาตรานี้เฉพาะในสวนท่ีเก่ียวกับความเปนหุนสวนหรือผูถือหุน ใหใชบังคับแกคูสมรส
และบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะของรัฐมนตรี และการถือหุนของรัฐมนตรีท่ีอยูในความครอบครองหรือ
ดูแลของบคุ คลอืน่ ไมวา โดยทางใด ๆ ดว ย

หมวด 10
ศาล

สวนท่ี 1
บททัว่ ไป
มาตรา 188 การพิจารณาพิพากษาอรรถคดีเปนอำนาจของศาล ซึ่งตองดำเนินการให
เปน ไปตามกฎหมาย และในพระปรมาภไิ ธยพระมหากษตั ริย
ผูพิพากษาและตุลาการยอมมีอิสระในการพิจารณาพิพากษาอรรถคดีตามรัฐธรรมนูญ
และกฎหมายใหเ ปน ไปโดยรวดเรว็ เปนธรรม และปราศจากอคตทิ ั้งปวง
มาตรา 192 ในกรณีที่มีปญหาเกี่ยวกับหนาที่และอำนาจระหวางศาลยุติธรรม
ศาลปกครอง หรือศาลทหารใหพิจารณาวินิจฉัยช้ีขาดโดยคณะกรรมการซ่ึงประกอบดวยประธานศาล

เตรยี มสอบ กกต. 2564

เตรียมสอบพนกั งาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลอื กต้ัง ชุดที่ 2 64

ฎกี าเปนประธาน ประธานศาลปกครองสงู สุด หวั หนาสำนักตุลาการทหาร และผูทรงคณุ วฒุ ิอื่นอกี ไมเ กิน
สีค่ นตามทก่ี ฎหมายบญั ญตั ิเปน กรรมการ

หลักเกณฑและวิธีการชี้ขาดปญหาเก่ียวกับหนาที่และอำนาจระหวางศาลตามวรรคหน่ึง
ใหเปนไปตามทีก่ ฎหมายบญั ญตั ิ

สวนท่ี 2
ศาลยตุ ธิ รรม
มาตรา 194 ศาลยตุ ิธรรมมอี ำนาจพจิ ารณาพพิ ากษาคดที ง้ั ปวง เวนแตคดีทรี่ ฐั ธรรมนญู
หรอื กฎหมายบญั ญตั ใิ หอ ยใู นอำนาจของศาลอื่น...
มาตรา 195 ใหมีแผนกคดีอาญาของผูดำรงตำแหนงทางการเมืองในศาลฎีกา โดยองค
คณะผูพิพากษาประกอบดวยผูพิพากษาในศาลฎีกาซึ่งดำรงตำแหนงไมต่ำกวาผูพิพากษาศาลฎีกาหรือผู
พพิ ากษาอาวุโสซง่ึ เคยดำรงตำแหนงไมตำ่ กวาผพู พิ ากษาศาลฎกี า ซ่งึ ไดรับคดั เลอื กโดยทีป่ ระชมุ ใหญศ าล
ฎีกาจำนวนไมนอยกวาหาคนแตไ มเกนิ เกาคนตามที่บญั ญตั ิไวใ นพระราชบัญญัติประกอบรฐั ธรรมนญู วา
ดว ยวธิ พี จิ ารณาคดอี าญาของผูดำรงตำแหนง ทางการเมอื ง โดยใหเ ลอื กเปน รายคดี
ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผูดำรงตำแหนงทางการเมืองมีอำนาจพิจารณาพิพากษา
คดีตามทบ่ี ญั ญัติไวในรฐั ธรรมนูญ
วิธีพิจารณาคดีอาญาของผูดำรงตำแหนงทางการเมือง ใหเปนไปตามพระราชบัญญัติ
ประกอบรฐั ธรรมนูญวา ดวยวิธีพจิ ารณาคดีอาญาของผูด ำรงตำแหนง ทางการเมอื ง
คำพิพากษาของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผดู ำรงตำแหนง ทางการเมอื ง ใหอ ทุ ธรณต อท่ี
ประชุมใหญศาลฎีกาไดภายในสามสิบวันนับแตวันที่ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผูดำรงตำแหนงทาง
การเมืองมคี ำพพิ ากษา

สว นที่ 3
ศาลปกครอง
มาตรา 197 ศาลปกครองมีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีปกครองอันเนื่องมาจาก
การใชอำนาจทางปกครองตามกฎหมายหรือเน่ืองมาจากการดำเนินกิจการทางปกครอง ท้ังน้ี ตามท่ี
กฎหมายบัญญัติ
ใหม ศี าลปกครองสูงสดุ และศาลปกครองช้ันตน
อำนาจศาลปกครองตามวรรคหน่ึง ไมรวมถึงการวินิจฉัยช้ีขาดขององคกรอิสระซึ่ง
เปนการใชอำนาจโดยตรงตามรัฐธรรมนูญขององคก รอิสระนัน้ ๆ

เตรียมสอบ กกต. 2564

เตรียมสอบพนักงาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลอื กตงั้ ชดุ ท่ี 2 65

สว นที่ 4
ศาลทหาร
มาตรา 199 ศาลทหารมีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีอาญาที่ผูกระทำความผิดเปน
บคุ คลซ่งึ อยูใ นอำนาจศาลทหารและคดอี น่ื ทง้ั น้ี ตามทกี่ ฎหมายบญั ญัติ

หมวด 11
ศาลรฐั ธรรมนญู
มาตรา 200 ศาลรัฐธรรมนูญประกอบดวยตุลาการศาลรัฐธรรมนูญจำนวนเกาคน
ซึง่ พระมหากษัตริยทรงแตงต้ังจากบคุ คล ดังตอไปนี้
(1) ผูพพิ ากษาในศาลฎีกาซ่ึงดำรงตำแหนง ไมต ่ำกวา ผูพิพากษาหัวหนาคณะในศาลฎีกา
มาแลว ไมน อ ยกวา สามป ซง่ึ ไดรบั คดั เลือกโดยทปี่ ระชุมใหญศ าลฎกี า จำนวนสามคน
(2) ตุลาการในศาลปกครองสูงสุดซึ่งดำรงตำแหนงไมต่ำกวา ตุลาการศาลปกครองสงู สุด
มาแลว ไมนอยกวาหาป ซ่งึ ไดรับคัดเลือกโดยที่ประชุมใหญต ุลาการในศาลปกครองสูงสุด จำนวนสองคน
(3) ผูทรงคุณวุฒิสาขานิติศาสตรซึ่งไดรับการสรรหาจากผูดำรงตำแหนงหรือเคยดำรง
ตำแหนงศาสตราจารยของมหาวิทยาลัยในประเทศไทยมาแลวเปนเวลาไมนอยกวาหาป และยังมีผลงาน
ทางวชิ าการเปน ท่ปี ระจักษ จำนวนหนึ่งคน
(4) ผูทรงคุณวุฒิสาขารัฐศาสตรหรือรัฐประศาสนศาสตรซึ่งไดรับการสรรหาจากผู
ดำรงตำแหนงหรือเคยดำรงตำแหนงศาสตราจารยของมหาวิทยาลัยในประเทศไทยมาแลวเปนเวลาไม
นอยกวา หาปแ ละยงั มผี ลงานทางวิชาการเปนท่ีประจกั ษ จำนวนหนึง่ คน
(5) ผูทรงคุณวุฒิซึ่งไดรับการสรรหาจากผูรับหรือเคยรับราชการในตำแหนงไมต่ำกวา
อธิบดี หรือหัวหนาสวนราชการที่เทียบเทา หรอื ตำแหนงไมต่ำกวารองอัยการสูงสุดมาแลวไมน อยกวา หา
ปจำนวนสองคน...
มาตรา 207 ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญมีวาระการดำรงตำแหนงเจ็ดปนับแตวันท่ี
พระมหากษตั รยิ ท รงแตงตงั้ และใหด ำรงตำแหนง ไดเพยี งวาระเดยี ว
มาตรา 210 ศาลรฐั ธรรมนูญมหี นาที่และอำนาจ ดังตอไปน้ี
(1) พิจารณาวนิ ิจฉัยความชอบดว ยรฐั ธรรมนญู ของกฎหมายหรือรางกฎหมาย
(2) พิจารณาวินิจฉัยปญหาเก่ียวกับหนาท่ีและอำนาจของสภาผูแทนราษฎร วุฒิสภา
รฐั สภา คณะรฐั มนตรี หรือองคกรอิสระ
(3) หนาทีแ่ ละอำนาจอ่ืนตามทบ่ี ญั ญตั ิไวในรฐั ธรรมนูญ
มาตรา 211 องคคณะของตุลาการศาลรฐั ธรรมนญู ในการนงั่ พจิ ารณาและในการทำ
คำวินจิ ฉัยตอ งประกอบดวยตุลาการศาลรฐั ธรรมนูญไมนอยกวาเจด็ คน
คำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญใหถือเสียงขางมาก เวนแตรัฐธรรมนูญจะบัญญัติไวเปน
อยา งอื่น

เตรยี มสอบ กกต. 2564

เตรยี มสอบพนักงาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลือกต้ัง ชดุ ท่ี 2 66

เม่ือศาลรัฐธรรมนูญรับเรื่องใดไวพิจารณาแลว ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญผูใดจะปฏิเสธไม
วินิจฉยั โดยอา งวา เรื่องนนั้ ไมอยใู นอำนาจของศาลรัฐธรรมนญู มิได

คำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญใหเปนเด็ดขาด มีผลผูกพันรัฐสภา คณะรัฐมนตรี
ศาล องคก รอสิ ระ และหนวยงานของรฐั

มาตรา 212 ในการท่ีศาลจะใชบทบัญญัติแหงกฎหมายบังคับแกคดีใด ถาศาลเห็นเอง
หรือคูความโตแยงพรอมดวยเหตุผลวาบทบัญญัติแหงกฎหมายนั้นตองดวยมาตรา 5 และยังไม
มีคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญในสวนที่เกี่ยวกับบทบัญญัติน้ันใหศาลสงความเห็นเชนวาน้ันตอศาล
รัฐธรรมนูญเพื่อวินิจฉัย ในระหวางนั้น ใหศาลดำเนินการพิจารณาตอไปไดแตใหรอการพิพากษาคดีไว
ชั่วคราวจนกวาจะมคี ำวนิ จิ ฉยั ของศาลรฐั ธรรมนูญ

ในกรณีที่ศาลรัฐธรรมนูญเห็นวาคำโตแยงของคูความตามวรรคหน่ึง ไมเปนสาระอัน
ควรไดร บั การวนิ ิจฉัย ศาลรัฐธรรมนญู จะไมรบั เร่ืองดังกลา วไวพ ิจารณากไ็ ด

คำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญใหใชไดในคดีทั้งปวง แตไมกระทบตอคำพิพากษาของ
ศาลอันถึงท่ีสุดแลว เวนแตในคดีอาญาใหถือวาผูซ่ึงเคยถูกศาลพิพากษาวากระทำความผิดตาม
บทบัญญัติแหงกฎหมายที่ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยวาไมชอบดวยมาตรา 5 น้ัน เปนผูไมเคยกระทำ
ความผิดดังกลาวหรือถาผูนั้นยังรับโทษอยูก็ใหปลอยตัวไป แตทั้งนี้ไมกอใหเกิดสิทธิท่ีจะเรียกรอง
คา ชดเชยหรอื คา เสียหายใด ๆ

มาตรา 213 บุคคลซึ่งถูกละเมิดสิทธิหรือเสรีภาพท่ีรัฐธรรมนูญคุมครองไวมีสิทธิยื่น
คำรองตอศาลรัฐธรรมนูญเพื่อมีคำวินิจฉัยวาการกระทำน้ันขัดหรือแยงตอรัฐธรรมนูญ...

หมวด 12
องคก รอิสระ

สว นที่ 1
บททวั่ ไป
มาตรา 215 องคกรอิสระเปนองคกรที่จัดตั้งขึ้นใหมีความอิสระในการปฏิบัติหนาท่ี ให
เปนไปตามรฐั ธรรมนูญและกฎหมาย
การปฏิบัติหนาท่ีและการใชอำนาจขององคกรอิสระตองเปนไปโดยสุจริตเท่ียงธรรม
กลาหาญและปราศจากอคติท้ังปวงในการใชดุลพินิจ
มาตรา 216 นอกจากคุณสมบัตแิ ละลักษณะตองหา มตามท่ีบัญญัติไวเปนการเฉพาะใน
สวนที่วาดวยองคกรอิสระแตละองคกรแลว ผูดำรงตำแหนงในองคกรอิสระตองมีคุณสมบัติและไมมี
ลกั ษณะตองหา มทว่ั ไปดังตอไปนด้ี ว ย
(1) มีอายุไมต ่ำกวา ส่ีสิบหาป แตไ มเ กนิ เจด็ สิบป
(2) มีคุณสมบตั ิตามมาตรา 201 (1) (3) (4) และ (5)

เตรียมสอบ กกต. 2564

เตรียมสอบพนกั งาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลอื กตงั้ ชดุ ท่ี 2 67

(3) ไมม ีลักษณะตองหา มตามมาตรา 202
มาตรา 217 เม่ือมีกรณีที่จะตองสรรหาผูสมควรไดรับการแตงตงั้ เปนผูดำรงตำแหนง ใน
องคกรอิสระนอกจากคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ใหเปนหนาท่ีและอำนาจของ
คณะกรรมการสรรหาตามมาตรา 203 ที่จะดำเนินการสรรหาเวนแตกรรมการสรรหาตามมาตรา 203
(4) ใหประกอบดวยบุคคลซึ่งแตงต้ังโดยศาลรัฐธรรมนูญและองคกรอิสระที่มิใชองคกรอิสระท่ีตองมีการ
สรรหา
ใหนำความในมาตรา 203 มาตรา 204 มาตรา 205 และมาตรา 206 มาใชบังคับแก
การสรรหาตามวรรคหน่ึงโดยอนุโลม
มาตรา 218 นอกจากการพนจากตำแหนงตามวาระ ผดู ำรงตำแหนงในองคก รอสิ ระพน
จากตำแหนง เม่ือ
(1) ตาย
(2) ลาออก
(3) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะตองหามท่ัวไปตามมาตรา 216 หรือขาดคุณสมบัติ
หรือมีลักษณะตองหามเฉพาะตามมาตรา 222 มาตรา 228 มาตรา 232 มาตรา 238 หรือตามมาตรา
246 วรรคสอง และตามกฎหมายที่ตราข้นึ ตามมาตรา 246 วรรคส่ี แลว แตกรณี
ใหนำความในมาตรา 208 วรรคสอง วรรคสาม วรรคส่ี และวรรคหา และมาตรา 209
มาใชบังคบั แกก ารพน จากตำแหนง ของผูดำรงตำแหนงในองคกรอิสระโดยอนโุ ลม
ในกรณีท่ีผูดำรงตำแหนงในองคกรอิสระตองหยุดปฏิบัติหนาที่ตามมาตรา 235 วรรค
สาม ถา มีจำนวนเหลอื อยูไมถงึ กง่ึ หน่ึง ใหน ำความในมาตรา 214 มาใชบงั คบั โดยอนโุ ลม
มาตรา 219 ใหศาลรัฐธรรมนูญและองคกรอิสระรวมกันกำหนดมาตรฐานทาง
จริยธรรมขึ้นใชบังคับแกตุลาการศาลรัฐธรรมนูญและผูดำรงตำแหนงในองคกรอิสระ รวมทั้งผูวาการ
ตรวจเงินแผนดินและหัวหนาหนวยงานธุรการของศาลรัฐธรรมนูญและองคกรอิสระ และเมื่อประกาศใน
ราชกิจจานุเบกษาแลวใหใชบังคับได ท้ังน้ี มาตรฐานทางจริยธรรมดังกลาวตองครอบคลุมถึงการรักษา
เกียรติภูมิและผลประโยชนของชาติ และตองระบุใหชัดแจง ดวยวาการฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามมาตรฐาน
ทางจริยธรรมใดมลี กั ษณะรายแรง
ในการจัดทำมาตรฐานทางจริยธรรมตามวรรคหน่ึง ใหรับฟงความคิดเห็นของสภา
ผูแทนราษฎร วุฒิสภา และคณะรัฐมนตรี ประกอบดวย และเมื่อประกาศใชบังคับแลวใหใชบังคับแก
สมาชิกสภาผูแทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา และคณะรัฐมนตรีดวย แตไมหามสภาผูแทนราษฎร วุฒิสภา
หรือคณะรัฐมนตรีท่ีจะกำหนดจริยธรรมเพ่ิมข้ึนใหเหมาะสมกับการปฏิบัติหนาท่ีของตน แตตองไมขัด
หรือแยง กบั มาตรฐานทางจริยธรรมตามวรรคหนงึ่ และใหประกาศในราชกจิ จานุเบกษา
มาตรา 220 ใหองคกรอิสระแตละแหง นอกจากคณะกรรมการตรวจเงินแผนดิน มี
หนวยงานท่ีรับผิดชอบงานธรุ การ ดำเนินการ และอำนวยความสะดวก เพ่ือใหองคกรอิสระบรรลุภารกิจ
และหนาที่ตามที่กำหนดไวในรัฐธรรมนูญ กฎหมาย และเปนไปตามมติหรือแนวทางท่ีองคกรอิสระ

เตรียมสอบ กกต. 2564

เตรยี มสอบพนักงาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง ชุดที่ 2 68

กำหนด โดยใหมีหัวหนา หนว ยงานคนหน่ึงซึ่งแตงตั้งโดยความเหน็ ชอบขององคก รอิสระแตละองคกรเปน
ผูรับผิดชอบการบริหารงานของหนวยงานน้ัน รับผิดชอบขึ้นตรงตอองคกรอิสระ ท้ังนี้ ตามท่ีกฎหมาย
บญั ญัติ

มาตรา 221 ในการปฏิบัติหนาท่ี ใหองคกรอิสระรวมมือและชวยเหลือกันเพื่อใหบรรลุ
เปาหมายในการปฏิบัติหนาท่ีของแตละองคกร และถาองคกรอิสระใดเห็นวามีผูกระทำการอันไมชอบ
ดวยกฎหมายแตอยใู นหนาที่และอำนาจขององคกรอสิ ระอื่น ใหแ จงองคกรอสิ ระนั้นทราบเพื่อดำเนนิ การ
ตามหนาที่และอำนาจตอ ไป

สว นท่ี 2
คณะกรรมการการเลือกต้งั
มาตรา 222 คณะกรรมการการเลือกต้ังประกอบดวยกรรมการจำนวนเจ็ดคนซ่ึง
พระมหากษตั ริยท รงแตง ตง้ั ตามคำแนะนำของวุฒสิ ภา จากบุคคลดังตอไปนี้
(1) ผูมีความรูความเชี่ยวชาญในสาขาวิชาการตาง ๆ ที่จะยังประโยชนแกการบริหาร
และจัดการการเลือกตั้งใหเปนไปโดยสุจริตและเที่ยงธรรม และมีความซื่อสัตยสุจริตเปนที่ประจักษ
ซึ่งไดรับการสรรหาจากคณะกรรมการสรรหา จำนวนหา คน
(2) ผูมีความรู ความเช่ียวชาญ และประสบการณดานกฎหมาย มีความซื่อสัตยสุจริต
เปนที่ประจักษและเคยดำรงตำแหนงไมต่ำกวาอธิบดีผูพิพากษา หรือตำแหนงไมต่ำกวาอธิบดีอัยการ
มาแลวเปน เวลาไมนอยกวาหา ป ซ่งึ ไดรับการคัดเลือกจากทป่ี ระชมุ ใหญศ าลฎีกา จำนวนสองคน
ผูซ่ึงจะไดรับการสรรหาเปนกรรมการการเลือกต้ังตาม (1) ตองมีคุณสมบัติตามมาตรา
232 (2) (3) (4) (5) (6) หรือ (7) หรือเปนผูทำงานหรือเคยทำงานในภาคประชาสังคมมาแลว เปน เวลาไม
นอ ยกวายส่ี ิบป ท้ังนี้ ตามทีค่ ณะกรรมการสรรหาประกาศกำหนด
มาตรา 223 กรรมการการเลือกตั้งมีวาระการดำรงตำแหนงเจ็ดปนับแตวันท่ี
พระมหากษัตรยิ ท รงแตงต้ัง และใหดำรงตำแหนง ไดเพียงวาระเดยี ว
ในระหวางที่กรรมการการเลือกตั้งพนจากตำแหนงกอนวาระ และยังไมมีการแตงต้ัง
กรรมการการเลือกตั้งแทนตำแหนงท่ีวาง ใหคณะกรรมการการเลือกต้ังเทาท่ีเหลืออยูปฏิบัติหนาท่ีตอไป
ได แตถามีกรรมการการเลือกต้ังเหลืออยูไมถึงส่ีคนใหกระทำไดแตเฉพาะการที่จำเปนอันไมอาจ
หลีกเล่ยี งได
มาตรา 224 ใหคณะกรรมการการเลอื กตัง้ มหี นา ที่และอำนาจ ดงั ตอ ไปน้ี
(1) จัดหรือดำเนินการใหมีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎร การเลือก
สมาชิกวฒุ ิสภา การเลือกตงั้ สมาชิกสภาทองถิน่ และผูบ รหิ ารทอ งถ่นิ และการออกเสยี งประชามติ

เตรยี มสอบ กกต. 2564

เตรียมสอบพนกั งาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง ชุดที่ 2 69

(2) ควบคมุ ดแู ลการเลอื กต้งั และการเลือกตาม (1) ใหเปน ไปโดยสจุ รติ และเทย่ี งธรรมและ
ควบคุมดูแลการออกเสียงประชามติใหเปนไปโดยชอบดวยกฎหมาย เพื่อการนี้ ใหมีอำนาจสืบสวนหรือ
ไตสวนไดต ามท่ีจำเปน หรือที่เหน็ สมควร

(3) เม่ือผลการสืบสวนหรือไตสวนตาม (2) หรือเมื่อพบเห็นการกระทำที่มีเหตุอันควร
สงสัยวาการเลือกต้ังหรือการเลือกตาม (1) มิไดเปนไปโดยสุจริตหรือเที่ยงธรรม หรือการออกเสียง
ประชามติเปนไปโดยมิชอบดวยกฎหมาย ใหมีอำนาจสั่งระงับ ยับยั้ง แกไขเปล่ียนแปลงหรือยกเลิกการ
เลือกต้ังหรือการเลือก หรือการออกเสียงประชามติ และสั่งใหดำเนินการเลือกตั้ง เลือก หรือออกเสียง
ประชามติใหมใ นหนวยเลอื กต้ังบางหนวย หรือทุกหนวย

(4) ส่ังระงบั การใชสิทธสิ มัครรบั เลือกตัง้ ของผสู มัครรบั เลือกต้ังหรอื ผูสมัครรบั เลือกตาม
(1) ไวเปน การชัว่ คราวเปนระยะเวลาไมเกนิ หนึ่งป เมื่อมหี ลักฐานอันควรเช่ือไดว าผูน ้ันกระทำการหรอื รเู ห็น
กับการกระทำของบุคคลอื่น ท่ีมีลักษณะเปนการทุจริต หรือทำใหการเลือกตั้งหรือการเลือกมิไดเปนไป
โดยสจุ ริตหรอื เทยี่ งธรรม

(5) ดูแลการดำเนินงานของพรรคการเมอื งใหเ ปนไปตามกฎหมาย
(6) หนา ทแ่ี ละอำนาจอื่นตามรฐั ธรรมนญู หรอื กฎหมาย
ในการสืบสวนหรือไตสวนตาม (2) คณะกรรมการการเลือกตั้งจะมอบหมายให
กรรมการการเลือกตั้งแตละคนดำเนินการ หรือมอบหมายใหคณะบุคคลดำเนินการภายใตการกำกับของ
กรรมการการเลอื กตัง้ ตามหลักเกณฑแ ละวิธีการท่ีคณะกรรมการการเลือกตั้งกำหนดกไ็ ด
การใชอำนาจตาม (3) ใหกรรมการการเลือกต้ังแตละคนซึ่งพบเห็นการกระทำ
ความผิดมีอำนาจกระทำไดสำหรับหนวยเลือกตั้งหรือเขตเลือกตั้งที่พบเห็นการกระทำความผิด ท้ังน้ี
ตามหลกั เกณฑ วธิ ีการ และเงอื่ นไขที่คณะกรรมการการเลือกตั้งกำหนด
มาตรา 225 กอนประกาศผลการเลือกตั้งหรือการเลือก ถามีหลักฐานอันควรเช่ือได
วาการเลือกต้ังหรือการเลือกน้ันมิไดเปนไปโดยสุจริตหรือเท่ียงธรรม ใหคณะกรรมการการเลือกตั้งมี
อำนาจส่งั ใหมีการเลอื กต้ังหรือการเลอื กใหมใ นหนวยเลอื กตั้งหรือเขตเลือกตั้งน้ัน ถา ผูกระทำการนั้น
เปนผูสมัครรับเลือกตั้งหรือผูสมัครรับเลือก แลวแตกรณี หรือรูเห็นกับการกระทำของบุคคล
อื่น ใหคณะกรรมการการเลือกตั้งส่ังระงับสิทธิสมัครรับเลือกต้ังของผูน้ันไวเปนการชั่วคราวตามมาตรา
224 (4)
คำส่ังตามวรรคหนึ่ง ใหเ ปนทีส่ ดุ
มาตรา 226 เม่อื มีการดำเนินการตามมาตรา 225 หรอื ภายหลังการประกาศผลการ
เลือกต้ังหรือการเลือกแลว มีหลักฐานอันควรเชื่อไดวาผูสมัครรับเลือกตั้งหรือผูสมัครรับเลือกผูใด
กระทำการทุจริตในการเลือกตั้งหรือการเลือกหรือรูเห็นกับการกระทำของบุคคลอ่ืน ให
คณะกรรมการการเลือกต้ังย่ืนคำรองตอศาลฎีกาเพ่ือสั่งเพิกถอนสิทธิสมัครรับเลือกต้ัง หรือเพิกถอน
สิทธเิ ลือกตง้ั ของผูน น้ั

เตรยี มสอบ กกต. 2564

เตรียมสอบพนักงาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตงั้ ชดุ ท่ี 2 70

การพิจารณาของศาลฎีกาตามวรรคหน่ึง ใหนำสำนวนการสืบสวนหรือไตสวนของ
คณะกรรมการการเลือกตั้งเปนหลักในการพิจารณา และเพ่ือประโยชนแหงความยุติธรรม ใหศาลมี
อำนาจส่งั ไตสวนขอเทจ็ จรงิ และพยานหลกั ฐานเพมิ่ เตมิ ได

ในกรณีที่ศาลฎีกาพิพากษาวาบุคคลตามวรรคหนึ่งกระทำความผิดตามที่ถูกรอง
ใหศาลฎีกาส่ังเพิกถอนสิทธิสมัครรับเลือกต้ัง หรือเพิกถอนสิทธิเลือกต้ังของผูนั้นเปนเวลาสิบปท้ังน้ี
ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรหรือ
พระราชบญั ญัตปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู วา ดว ยการไดมาซึ่งสมาชกิ วุฒสิ ภา แลวแตกรณี

เมื่อศาลฎีกามีคำสั่งรับคำรองไวพิจารณาแลว ถาผูถูกกลาวหาเปนสมาชิกสภาผูแทน
ราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภา ใหผูน้ันหยุดปฏิบัติหนาที่จนกวาศาลฎีกาจะพิพากษาวาผูน้ันมิไดกระทำ
ความผิด และเมื่อศาลฎีกามีคำพิพากษาวาผูนั้นกระทำความผิด ใหสมาชิกภาพของสมาชิกสภาผูแทน
ราษฎรหรอื สมาชิกวุฒสิ ภาผูน ้นั สนิ้ สุดลงนับแตวนั ทห่ี ยดุ ปฏบิ ตั หิ นาที่

มิใหนับสมาชิกสภาผูแทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภาซ่ึงหยุดปฏิบัติหนาที่ตามวรรคสี่
เปน จำนวนสมาชิกทงั้ หมดเทาท่ีมอี ยูของสภาผแู ทนราษฎรหรอื วุฒสิ ภา แลว แตก รณี

ใหนำมาตราน้ีไปใชบังคับแกการเลือกตั้งสมาชิกสภาทองถิ่นหรือผูบริหารทองถิ่นดวย
โดยอนุโลม แตใหอำนาจของศาลฎีกาเปนอำนาจของศาลอุทธรณ และใหคำสั่งหรือคำพิพากษาของศาล
อุทธรณเปนท่ีสุด

การพิจารณาพิพากษาของศาลฎีกาหรือศาลอุทธรณตามมาตรานี้ ใหเปนไปตาม
ระเบยี บของที่ประชมุ ใหญของศาลฎกี าซง่ึ ตอ งกำหนดใหใชระบบไตส วนและใหด ำเนินการโดยรวดเร็ว

มาตรา 227 ในระหวางท่ีพระราชกฤษฎีกาใหมีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทน
ราษฎรหรอื การเลือกสมาชิกวฒุ ิสภา หรือเมื่อประกาศใหมกี ารออกเสยี งประชามติ มีผลใชบังคับหา ม
มิใหจับ คุมขัง หรือหมายเรียกตัวกรรมการการเลือกต้ังไปสอบสวน เวนแตไดรับอนุญาตจาก
คณะกรรมการการเลือกตั้ง หรอื ในกรณีทีจ่ ับในขณะกระทำความผดิ

ในกรณีที่มีการจับกรรมการการเลือกตั้งในขณะกระทำความผิด หรือจับหรือคุมขัง
กรรมการการเลือกต้ังในกรณีอื่น ใหรายงานตอประธานกรรมการการเลือกต้ังโดยดวน และให
ประธานกรรมการการเลือกต้ังมีอำนาจสั่งใหปลอยผูถูกจบั ไดแ ตถาประธานกรรมการการเลือกตั้งเปนผู
ถกู จับหรือคุมขงั ใหเ ปนอำนาจของคณะกรรมการการเลือกต้ังเทาทม่ี อี ยเู ปนผดู ำเนินการ

สวนที่ 3
ผูตรวจการแผน ดิน
มาตรา 228 ผตู รวจการแผน ดนิ มีจำนวนสามคนซ่ึงพระมหากษัตริยท รงแตง ต้ังตาม
คำแนะนำของวุฒสิ ภา จากผซู ่งึ ไดรบั การสรรหาโดยคณะกรรมการสรรหา

สว นที่ 4

เตรยี มสอบ กกต. 2564

เตรียมสอบพนักงาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง ชดุ ท่ี 2 71

คณะกรรมการปอ งกนั และปราบปรามการทุจริตแหงชาติ
มาตรา 232 คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทจุ ริตแหงชาตปิ ระกอบดวย
กรรมการจำนวนเกาคน ซึ่งพระมหากษัตริยทรงแตงตั้งตามคำแนะนำของวุฒิสภาจากผูซึ่งไดรับ
การสรรหาโดยคณะกรรมการสรรหา

สวนที่ 5
คณะกรรมการตรวจเงนิ แผน ดนิ
มาตรา 238 คณะกรรมการตรวจเงินแผนดินประกอบดวยกรรมการจำนวนเจ็ดคน
ซึ่งพระมหากษัตริยทรงแตงตั้งตามคำแนะนำของวุฒิสภา จากผูซ่ึงไดรับการสรรหาโดย
คณะกรรมการสรรหา

สว นที่ 6
คณะกรรมการสิทธมิ นษุ ยชนแหงชาติ
มาตรา 246 คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติประกอบดวยกรรมการจำนวน
เจ็ดคนซงึ่ พระมหากษัตริยทรงแตง ตั้งตามคำแนะนำของวฒุ สิ ภาจากผซู ึ่งไดร ับการสรรหา

หมวด 13
องคกรอัยการ
มาตรา 248 องคกรอัยการมีหนาท่ีและอำนาจตามที่บัญญัติไวในรัฐธรรมนูญและ
กฎหมาย
พนักงานอัยการมีอิสระในการพิจารณาสั่งคดีและการปฏิบัติหนาที่ใหเปนไปโดย
รวดเร็ว เทีย่ งธรรม และปราศจากอคตทิ ั้งปวง และไมใ หถอื วาเปน คำส่ังทางปกครอง

หมวด 14
การปกครองสว นทองถิ่น
มาตรา 249 ภายใตบังคับมาตรา 1 ใหมีการจัดการปกครองสวนทองถิ่นตามหลัก
แหงการปกครองตนเองตามเจตนารมณของประชาชนในทองถิ่น ทั้งน้ี ตามวิธีการและรูปแบบองคกร
ปกครองสวนทอ งถ่นิ ท่ีกฎหมายบญั ญตั ิ
ก า ร จั ด ต้ั งอ งค ก ร ป ก ค ร อ งส ว น ท อ งถ่ิ น ใน รู ป แ บ บ ใด ให ค ำ นึ ง ถึ งเจ ต น า ร ม ณ ข อ ง
ประชาชนในทองถิ่นและความสามารถในการปกครองตนเองในดานรายได จำนวนและความหนาแนน
ของประชากร และพ้นื ทีท่ ีต่ อ งรับผดิ ชอบ ประกอบกัน

เตรียมสอบ กกต. 2564

เตรียมสอบพนกั งาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตง้ั ชดุ ท่ี 2 72

มาตรา 250 องคกรปกครองสวนทองถิ่นมีหนาท่ีและอำนาจดูแลและจัดทำบริการ
สาธารณะและกิจกรรมสาธารณะเพื่อประโยชนของประชาชนในทองถิ่นตามหลักการพัฒนาอยางยั่งยืน
รวมทัง้ สง เสรมิ และสนับสนุนการจัดการศึกษาใหแกประชาชนในทองถนิ่ ท้งั น้ี ตามท่ีกฎหมายบญั ญัติ

การจัดทำบริการสาธารณะและกิจกรรมสาธารณะใดที่สมควรใหเปนหนาที่และ
อำนาจโดยเฉพาะขององคกรปกครองสวนทองถ่ินแตละรูปแบบ หรือใหองคกรปกครองสวนทองถ่ิน
เปน หนว ยงานหลกั ในการดำเนินการใด ใหเ ปน ไปตามที่กฎหมายบญั ญัติซึง่ ตองสอดคลองกบั รายไดของ
องคกรปกครองสวนทองถิ่นตามวรรคส่ี และกฎหมายดังกลาวอยางนอยตองมีบทบัญญัติเก่ียวกับกลไก
และขั้นตอนในการกระจายหนาท่ีและอำนาจ ตลอดจนงบประมาณและบุคลากรท่ีเก่ียวกับหนาที่และ
อำนาจดงั กลา วของสวนราชการใหแกอ งคกรปกครองสวนทอ งถนิ่ ดวย

ในการจัดทำบริการสาธารณะหรือกิจกรรมสาธารณะใดท่ีเปนหนาท่ีและอำนาจของ
องคกรปกครองสวนทองถ่ินถาการรวมดำเนนิ การกับเอกชนหรอื หนวยงานของรัฐหรือการมอบหมายให
เอกชนหรือหนวยงานของรัฐดำเนินการ จะเปนประโยชนแกประชาชนในทองถิ่นมากกวาการท่ีองคกร
ปกครองสวนทองถิ่นจะดำเนินการเอง องคกรปกครองสวนทองถ่ินจะรวมหรือมอบหมายใหเอกชนหรือ
หนว ยงานของรฐั ดำเนินการนนั้ กไ็ ด

รัฐตองดำเนินการใหองคกรปกครองสวนทองถ่ินมีรายไดของตนเองโดยจัดระบบ
ภาษีหรือการจัดสรรภาษีที่เหมาะสม รวมท้ังสงเสริมและพัฒนาการหารายไดขององคกรปกครอง
สวนทองถิ่น ท้ังน้ี เพ่ือใหสามารถดำเนินการตามวรรคหน่ึงไดอยางเพียงพอ ในระหวางท่ียังไมอาจ
ดำเนินการได ใหร ัฐจดั สรรงบประมาณเพื่อสนบั สนุนองคกรปกครองสวนทอ งถิน่ ไปพลางกอ น

กฎหมายตามวรรคหนึ่งและกฎหมายที่เกี่ยวกับการบริหารราชการสวนทองถิ่น ตอง
ใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นมีอิสระในการบริหาร การจัดทำบริการสาธารณะ การสงเสริมและ
สนับสนุนการจัดการศึกษา การเงินและการคลัง และการกำกับดูแลองคกรปกครองสวนทองถ่ินซ่ึงตอง
ทำเพียงเทาที่จำเปนเพ่ือการคุมครองประโยชนของประชาชนในทองถิ่นหรือประโยชนของประเทศเปน
สวนรวม การปองกันการทุจริต และการใชจา ยเงนิ อยางมีประสิทธิภาพ โดยคำนึงถึงความเหมาะสมและ
ความแตกตางขององคกรปกครองสวนทองถ่ินแตละรูปแบบ และตองมีบทบัญญัติเกี่ยวกับการปองกัน
การขัดกันแหงผลประโยชน และการปองกันการกาวกายการปฏิบัติหนาท่ีของขาราชการสวนทองถิ่น
ดว ย

มาตรา 251 การบริหารงานบุคคลขององคกรปกครองสวนทองถิ่นใหเปนไปตามท่ี
กฎหมายบัญญัติซ่ึงตองใชระบบคุณธรรมและตองคำนึงถึงความเหมาะสมและความจำเปนของแตละ
ทองถิ่นและองคกรปกครองสวนทองถิ่นแตละรูปแบบ การจัดใหมีมาตรฐานท่ีสอดคลองกันเพ่ือให
สามารถพฒั นารวมกันหรือการสบั เปล่ียนบุคลากรระหวา งองคกรปกครองสว นทอ งถิ่นดวยกันได

เตรยี มสอบ กกต. 2564

เตรยี มสอบพนกั งาน สำนักงานคณะกรรมการการเลอื กตัง้ ชุดที่ 2 73

มาตรา 252 สมาชิกสภาทองถิน่ ตองมาจากการเลือกตงั้
ผูบริหารทองถิ่นใหมาจากการเลือกต้ังหรือมาจากความเห็นชอบของสภาทองถ่ินหรือ
ในกรณีองคกรปกครองสวนทองถ่ินรูปแบบพิเศษ จะใหมาโดยวิธีอ่ืนก็ได แตตองคำนึงถึงการมีสวนรวม
ของประชาชนดว ย ทัง้ นี้ ตามทก่ี ฎหมายบัญญัติ
คุณสมบัติของผูมีสิทธิเลือกตั้งและผูมีสิทธิสมัครรับเลือกตั้ง และหลักเกณฑและวิธีการ
เลือกตั้งสมาชิกสภาทองถิ่นและผูบริหารทองถ่ิน ใหเปนไปตามท่ีกฎหมายบัญญัติ ซึ่งตองคำนึงถึง
เจตนารมณใ นการปอ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ ตามแนวทางทีบ่ ัญญตั ิไวในรฐั ธรรมนูญดว ย
มาตรา 253 ในการดำเนินงาน ใหองคกรปกครองสวนทองถิ่น สภาทองถิ่น และ
ผูบริหารทองถ่ินเปดเผยขอมูลและรายงานผลการดำเนินงานใหประชาชนทราบ รวมตลอดท้ังมีกลไกให
ประชาชนในทอ งถนิ่ มสี วนรวมดวย ท้งั นี้ ตามหลักเกณฑแ ละวิธีการทีก่ ฎหมายบัญญัติ
มาตรา 254 ประชาชนผูมีสิทธิเลือกต้ังในองคกรปกครองสวนทองถ่ินมีสิทธิเขาชื่อกัน
เพื่อเสนอขอบัญญัติหรือเพื่อถอดถอนสมาชิกสภาทองถิ่นหรือผูบริหารทองถ่ินไดตามหลักเกณฑ วิธีการ
และเงือ่ นไขท่ีกฎหมายบญั ญัติ

หมวด 15
การแกไ ขเพม่ิ เติมรฐั ธรรมนญู
มาตรา255การแกไขเพ่ิมเติมรัฐธรรมนูญทเ่ี ปนการเปล่ียนแปลงการปกครองระบอบ
ประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษตั ริยท รงเปนประมุข หรอื เปลย่ี นแปลงรปู แบบของรฐั จะกระทำมไิ ด
มาตรา 256 ภายใตบังคับมาตรา 255 การแกไขเพ่ิมเติมรัฐธรรมนูญ ใหกระทำได
ตามหลักเกณฑแ ละวธิ กี าร ดังตอ ไปน้ี
(1) ญัตติขอแกไขเพ่ิมเติมตองมาจากคณะรัฐมนตรี หรือจากสมาชิกสภาผูแทนราษฎร
จำนวนไมนอยกวาหนึ่งในหาของจำนวนสมาชิกท้ังหมดเทาที่มีอยูของสภาผูแทนราษฎร หรือจาก
สมาชิกสภาผูแทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภาจำนวนไมนอยกวาหนึ่งในหาของจำนวนสมาชิกท้ังหมด
เทาท่ีมีอยูของท้ังสองสภาหรือจากประชาชนผูมีสิทธิเลือกต้ังจำนวนไมนอยกวาหาหม่ืนคนตามกฎหมาย
วาดวยการเขา ชือ่ เสนอกฎหมาย
(2) ญัตติขอแกไขเพิ่มเติมตองเสนอเปนรางรัฐธรรมนูญแกไขเพ่ิมเติมตอรัฐสภาและให
รัฐสภาพิจารณาเปนสามวาระ
(3) การออกเสียงลงคะแนนในวาระท่ีหนึ่งข้ันรับหลักการ ใหใชวิธีเรียกชื่อและ
ลงคะแนนโดยเปดเผยและตองมีคะแนนเสียงเห็นชอบดวยในการแกไขเพิ่มเติมน้ัน ไมนอยกวากึ่งหนึ่ง
ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเทาท่ีมีอยูของท้ังสองสภา ซึ่งในจำนวนน้ีตองมีสมาชิกวุฒิสภาเห็นชอบดวยไม
นอ ยกวา หน่ึงในสามของจำนวนสมาชิกท้งั หมดเทาทมี่ ีอยขู องวุฒสิ ภา

เตรยี มสอบ กกต. 2564

เตรียมสอบพนักงาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลือกตัง้ ชดุ ที่ 2 74

(4) การพิจารณาในวาระท่ีสองขั้นพิจารณาเรยี งลำดบั มาตรา โดยการออกเสยี งในวาระ
ท่ีสองนี้ ใหถ ือเสียงขา งมากเปนประมาณ แตในกรณีท่เี ปนรางรัฐธรรมนูญแกไขเพิม่ เติมทปี่ ระชาชนเปนผู
เสนอตอ งเปด โอกาสใหผ ูแ ทนของประชาชนท่เี ขา ชอ่ื กนั ไดแ สดงความคิดเห็นดวย

(5) เมื่อการพจิ ารณาวาระที่สองเสรจ็ ส้ินแลว ใหรอไวส ิบหา วนั เมื่อพนกำหนดนี้แลวให
รฐั สภาพจิ ารณาในวาระทีส่ ามตอ ไป

(6) การออกเสียงลงคะแนนในวาระท่ีสามข้ันสุดทาย ใหใชวิธีเรียกช่ือและลงคะแนน
โดยเปดเผยและตอ งมคี ะแนนเสียงเห็นชอบดวยในการท่ีจะใหออกใชเปน รฐั ธรรมนูญมากกวาก่ึงหน่งึ ของ
จำนวนสมาชิกทั้งหมดเทาท่ีมีอยูของท้ังสองสภา โดยในจำนวนน้ีตองมีสมาชิกสภาผูแทนราษฎรจาก
พรรคการเมืองท่ีสมาชิกมิไดดำรงตำแหนงรัฐมนตรี ประธานสภาผูแทนราษฎรหรือรองประธานสภา
ผูแทนราษฎร เห็นชอบดวยไมนอยกวารอยละย่ีสิบของทุกพรรคการเมืองดังกลาวรวมกัน และมีสมาชิก
วุฒิสภาเหน็ ชอบดว ยไมนอ ยกวา หน่ึงในสามของจำนวนสมาชิกทัง้ หมดเทา ทีม่ ีอยขู องวุฒสิ ภา

(7) เม่ือมีการลงมติเห็นชอบตาม (6) แลว ใหรอไวสิบหาวัน แลวจึงนำรางรัฐธรรมนูญ
แกไ ขเพิม่ เติมขน้ึ ทลู เกลาทูลกระหมอ มถวาย และใหน ำความในมาตรา 81 มาใชบ งั คับโดยอนโุ ลม

(8) ในกรณีรางรัฐธรรมนูญแกไขเพ่ิมเติมเปนการแกไขเพิ่มเติมหมวด 1 บทท่ัวไป
หมวด 2 พระมหากษัตริย หรือหมวด 15 การแกไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ หรือเร่ืองท่ีเก่ียวกับคุณสมบัติ
หรือลักษณะตองหามของผูดำรงตำแหนงตาง ๆ ตามรัฐธรรมนูญ หรือเรื่องท่ีเกี่ยวกับหนาท่ีหรืออำนาจ
ของศาล หรือองคกรอิสระ หรือเรื่องท่ีทำใหศาลหรือองคกรอิสระไมอาจปฏิบัติตามหนาท่ีหรืออำนาจได
กอนดำเนินการตาม (7) ใหจัดใหมีการออกเสียงประชามติตามกฎหมายวาดวยการออกเสียงประชามติ
ถาผลการออกเสียงประชามติเห็นชอบดวยกับรางรัฐธรรมนูญแกไขเพ่ิมเติม จึงใหดำเนินการตาม (7)
ตอ ไป

(9) กอนนายกรัฐมนตรีนำความกราบบังคมทูลเพ่ือทรงลงพระปรมาภิไธยตาม (7)
สมาชิกสภาผูแทนราษฎร หรือสมาชิกวุฒิสภา หรือสมาชิกท้ังสองสภารวมกัน มีจำนวนไมนอยกวาหนึ่ง
ในสิบของสมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยูของแตละสภา หรือของทั้งสองสภารวมกัน แลวแตกรณี มีสิทธิ
เขาชื่อกันเสนอความเห็นตอประธานแหงสภาที่ตนเปนสมาชิกหรือประธานรัฐสภา แลวแตกรณี วาราง
รัฐธรรมนูญตาม (7) ขัดตอมาตรา 255 หรือมีลักษณะตาม (8) และใหประธานแหงสภาที่ไดรับเร่ือง
ดังกลาวสงความเห็นไปยังศาลรัฐธรรมนูญ และใหศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยใหแลวเสร็จภายในสามสิบวัน
นับแตวันที่ไดรับเรื่อง ในระหวางการพิจารณาวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ นายกรัฐมนตรีจะนำราง
รัฐธรรมนูญแกไขเพิ่มเติมดังกลาวขึ้นทูลเกลาทูลกระหมอมถวายเพื่อพระมหากษัตริยทรงลงพระ
ปรมาภไิ ธยมไิ ด

เตรยี มสอบ กกต. 2564

เตรยี มสอบพนักงาน สำนักงานคณะกรรมการการเลอื กตัง้ ชุดที่ 2 75

หมวด 16
การปฏริ ูปประเทศ
มาตรา 257 การปฏิรูปประเทศตามหมวดนี้ตองดำเนินการเพ่ือบรรลุเปาหมาย
ดังตอไปน้ี
(1) ประเทศชาติมีความสงบเรียบรอย มีความสามัคคีปรองดอง มีการพัฒนาอยาง
ยั่งยืนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีความสมดุลระหวางการพัฒนาดานวัตถุกับการ
พัฒนาดา นจิตใจ
(2) สงั คมมคี วามสงบสุข เปน ธรรม และมโี อกาสอันทดั เทยี มกนั เพอื่ ขจดั ความเหลือ่ มล้ำ
(3) ประชาชนมีความสุข มีคุณภาพชีวิตท่ีดี และมีสวนรวมในการพัฒนาประเทศและ
การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษตั รยิ ทรงเปน ประมุข
มาตรา 258 ใหดำเนินการปฏิรูปประเทศอยางนอยในดานตาง ๆ ใหเกิดผล
ดงั ตอไปนี้
ก. ดานการเมอื ง
(1) ใหประชาชนมีความรูความเขาใจท่ีถูกตองเก่ียวกับการปกครองในระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข มีสวนรวมในการดำเนินกิจกรรมทางการเมือง
รวมตลอดท้ังการตรวจสอบการใชอำนาจรัฐ รูจักยอมรับในความเห็นทางการเมืองโดยสุจริตท่ีแตกตาง
กัน และใหประชาชนใชสิทธิเลือกตั้งและออกเสียงประชามติโดยอิสระปราศจากการครอบงำไมวาดวยทาง
ใด
(2) ใหการดำเนินกิจกรรมของพรรคการเมืองเปนไปโดยเปดเผยและตรวจสอบได
เพ่ือใหพรรคการเมืองพัฒนาเปนสถาบันทางการเมืองของประชาชนซ่ึงมีอุดมการณทางการเมืองรวมกัน
มีกระบวนการใหสมาชิกพรรคการเมืองมีสวนรวมและมีความรับผิดชอบอยางแทจริงในการดำเนิน
กิจกรรมทางการเมืองและการคัดเลือกผูมีความรูความสามารถ ซ่ือสัตยสุจริต และมีคุณธรรมจริยธรรม
เขามาเปน ผดู ำรงตำแหนง ทางการเมอื งที่ชดั เจนและเปนรปู ธรรม
(3) มีกลไกที่กำหนดความรับผิดชอบของพรรคการเมืองในการประกาศโฆษณา
นโยบายทม่ี ิไดวเิ คราะหผ ลกระทบ ความคุมคา และความเสย่ี งอยา งรอบดา น
(4) มีกลไกท่ีกำหนดใหผูดำรงตำแหนงทางการเมืองตองปฏิบัติหนาที่ดวยความ
ซอ่ื สัตยส จุ รติ และรับผิดชอบตอประชาชนในการปฏบิ ตั หิ นาทีข่ องตน
(5) มีกลไกแกไขปญหาความขัดแยงทางการเมืองโดยสันติวิธีภายใตการปกครอง
ระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษัตริยท รงเปน ประมขุ
ข. ดานการบรหิ ารราชการแผนดิน
(1) ใหมีการนำเทคโนโลยีท่ีเหมาะสมมาประยุกตใชในการบริหารราชการแผนดิน
และการจัดทำบริการสาธารณะ เพื่อประโยชนในการบริหารราชการแผนดิน และเพ่ืออำนวยความ
สะดวกใหแกป ระชาชน

เตรยี มสอบ กกต. 2564

เตรียมสอบพนกั งาน สำนักงานคณะกรรมการการเลอื กต้งั ชดุ ท่ี 2 76

(2) ใหมีการบูรณาการฐานขอมูลของหนวยงานของรัฐทุกหนวยงานเขาดวยกัน
เพอื่ ใหเ ปนระบบขอ มลู เพื่อการบรหิ ารราชการแผนดินและการบริการประชาชน

(3) ใหม ีการปรับปรุงและพฒั นาโครงสรางและระบบการบริหารงานของรัฐและแผน
กำลังคนภาครัฐใหทันตอการเปลี่ยนแปลงและความทาทายใหม ๆ โดยตองดำเนินการใหเหมาะสมกับ
ภารกจิ ของหนวยงานของรัฐแตละหนว ยงานท่ีแตกตางกัน

(4) ใหมีการปรับปรุงและพัฒนาการบริหารงานบุคคลภาครัฐเพื่อจูงใจใหผูมีความรู
ความสามารถอยางแทจริงเขามาทำงานในหนวยงานของรัฐ และสามารถเจริญกาวหนาไดตาม
ความสามารถและผลสัมฤทธ์ิของงานของแตละบุคคล มีความซื่อสัตยสุจริต กลาตัดสินใจและกระทำใน
ส่ิงที่ถูกตองโดยคิดถึงประโยชนสวนรวมมากกวาประโยชนสวนตัว มีความคิดสรางสรรคและคิดคน
นวัตกรรมใหม ๆ เพ่ือใหการปฏิบัติราชการและการบริหารราชการแผนดินเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ
และมีมาตรการคมุ ครองปอ งกนั บุคลากรภาครัฐจากการใชอ ำนาจโดยไมเ ปนธรรมของผูบ ังคบั บัญชา

(5) ใหมีการปรับปรุงระบบการจัดซ้ือจัดจางภาครัฐใหมีความคลองตัว เปดเผย
ตรวจสอบได และมีกลไกในการปองกันการทจุ ริตทุกขน้ั ตอน

ค. ดา นกฎหมาย
(1) มีกลไกใหดำเนินการปรับปรุงกฎหมาย กฎ ระเบียบ หรือขอบังคับตาง ๆ ท่ีใช

บังคับอยูกอนวันประกาศใชรัฐธรรมนูญน้ีใหสอดคลองกับหลักการตามมาตรา 77 และพัฒนาให
สอดคลองกับหลักสากล โดยใหมีการใชระบบอนุญาตและระบบการดำเนินการโดยคณะกรรมการเพียง
เทาที่จำเปนเพื่อใหการทำงานเกิดความคลองตัว โดยมีผูรับผิดชอบที่ชัดเจน และไมสรางภาระแก
ประชาชนเกินความจำเปน เพ่ิมความสามารถในการแขงขันของประเทศ และปองกันการทุจริตและ
ประพฤติมชิ อบ

(2) ปฏิรูประบบการเรียนการสอนและการศึกษาอบรมวิชากฎหมายเพ่ือพัฒนาผู
ประกอบวิชาชีพกฎหมายใหเปนผูมีความรอบรู มีนิติทัศนะ และยึดมั่นในคุณธรรมและจริยธรรมของนัก
กฎหมาย

(3) พัฒนาระบบฐานขอมูลกฎหมายของรัฐโดยใชเทคโนโลยีตาง ๆ เพ่ือให
ประชาชนเขา ถึงขอ มลู กฎหมายไดสะดวก และสามารถเขาใจเนอื้ หาสาระของกฎหมายไดง า ย

(4) จัดใหม กี ลไกชวยเหลือประชาชนในการจัดทำและเสนอรางกฎหมาย
ง. ดานกระบวนการยุตธิ รรม

(1) ใหมีการกำหนดระยะเวลาดำเนินงานในทุกข้ันตอนของกระบวนการยุติธรรมที่
ชัดเจนเพ่ือใหประชาชนไดรับความยุติธรรมโดยไมลาชา และมีกลไกชวยเหลือประชาชนผูขาดแคลนทุน
ทรัพยใหเขาถึงกระบวนการยุติธรรมได รวมตลอดท้ังการสรางกลไกเพ่ือใหมีการบังคับการตามกฎหมาย
อยา งเครง ครัดเพอื่ ลดความเหล่อื มล้ำและความไมเ ปน ธรรมในสงั คม

(2) ปรับปรุงระบบการสอบสวนคดีอาญาใหมีการตรวจสอบและถวงดุลระหวาง
พนักงานสอบสวนกับพนักงานอัยการอยางเหมาะสม กำหนดระยะเวลาในการปฏิบัติหนาท่ีของ

เตรียมสอบ กกต. 2564

เตรียมสอบพนักงาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลือกตัง้ ชุดที่ 2 77

เจาหนาที่ที่เกี่ยวของทุกฝายใหชัดเจนเพื่อมิใหคดีขาดอายุความ และสรางความเช่ือม่ันในการปฏิบัติ
หนาที่ของพนักงานสอบสวนและพนักงานอัยการในการสอบสวนคดีอาญา รวมท้ังกำหนดใหการ
สอบสวนตองใชประโยชนจากนิติวิทยาศาสตร และจัดใหมีบริการทางดานนิติวิทยาศาสตรมากกวาหน่ึง
หนว ยงานท่ีมีอิสระจากกนั เพื่อใหป ระชาชนไดร ับบรกิ ารในการพิสจู นข อ เท็จจริงอยา งมีทางเลือก

(3) เสริมสรางและพัฒนาวัฒนธรรมองคกรขององคกรตาง ๆ ท่ีเกี่ยวของใน
กระบวนการยตุ ิธรรมใหมงุ อำนวยความยุตธิ รรมแกป ระชาชนโดยสะดวกและรวดเรว็

(4) ดำเนินการบังคับใชกฎหมายอยางมีประสิทธิภาพ โดยแกไขปรับปรุงกฎหมาย
เกี่ยวกับหนาที่ อำนาจ และภารกิจของตำรวจใหเหมาะสม และแกไขปรับปรุงกฎหมายเกี่ยวกับการ
บริหารงานบุคคลของขาราชการตำรวจใหเกิดประสิทธิภาพ มีหลักประกันวาขาราชการตำรวจจะไดรับ
คาตอบแทนท่ีเหมาะสมไดรับความเปนธรรมในการแตงต้ัง และโยกยาย และการพิจารณาบำเหน็จ
ความชอบตามระบบคุณธรรมท่ีชัดเจน ซ่ึงในการพิจารณาแตงตั้งและโยกยายตองคำนึงถึงอาวุโสและ
ความรูความสามารถประกอบกันเพ่ือใหขาราชการตำรวจสามารถปฏิบัติหนาท่ีไดอยางมีอิสระ ไมตกอยู
ใตอ าณตั ิของบุคคลใด มีประสิทธภิ าพและภาคภูมิใจในการปฏิบัตหิ นาท่ขี องตน

จ. ดานการศึกษา
(1) ใหสามารถเริ่มดำเนินการใหเด็กเล็กไดรับการดูแลและพัฒนากอนเขารับ

การศึกษาตามมาตรา 54 วรรคสอง เพ่ือใหเด็กเล็กไดรับการพัฒนารางกาย จิตใจ วินัย อารมณ สังคม
และสตปิ ญญาใหสมกับวัยโดยไมเ ก็บคาใชจาย

(2) ใหดำเนินการตรากฎหมายเพื่อจัดตั้งกองทุนตามมาตรา 54 วรรคหก ใหแลวเสร็จ
ภายในหน่ึงปน ับแตวนั ประกาศใชรฐั ธรรมนญู น้ี

(3) ใหมีกลไกและระบบการผลิต คัดกรองและพัฒนาผูประกอบวิชาชีพครูและ
อาจารยใหไดผูมีจิตวิญญาณของความเปนครู มีความรูความสามารถอยางแทจริง ไดรับคาตอบแทนที่
เหมาะสมกับความสามารถและประสิทธิภาพในการสอน รวมท้ังมีกลไกสรางระบบคุณธรรมในการ
บรหิ ารงานบคุ คลของผูประกอบวิชาชพี ครู

(4) ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนทุกระดับเพ่ือใหผูเรียนสามารถเรียนไดตาม
ความถนัดและปรับปรุงโครงสรางของหนวยงานที่เกี่ยวของเพื่อบรรลุเปาหมายดังกลาว โดยสอดคลอง
กันท้ังในระดบั ชาติและระดับพ้ืนท่ี

ฉ. ดานเศรษฐกจิ
(1) ขจัดอุปสรรคและเสริมสรางความสามารถในการแขงขันของประเทศเพ่ือให

ประเทศชาติและประชาชนไดรับประโยชนจากการเขารวมกลุมเศรษฐกิจตาง ๆ อยางยั่งยืน โดยมี
ภมู คิ ุม กันทีด่ ี

(2) สรา งกลไกเพ่ือสงเสริมและสนบั สนนุ การนำความคดิ สรางสรรคและเทคโนโลยีที่
ทนั สมัยมาใชในการพฒั นาเศรษฐกจิ ของประเทศ

เตรยี มสอบ กกต. 2564

เตรยี มสอบพนักงาน สำนักงานคณะกรรมการการเลอื กตง้ั ชดุ ที่ 2 78

(3) ปรับปรุงระบบภาษีอากรใหมีความเปนธรรม ลดความเหลื่อมล้ำ เพิ่มพูนรายได
ของรัฐดานตาง ๆ อยางมีประสิทธิภาพ และปรับปรุงระบบการจัดทำและการใชจายงบประมาณใหมี
ประสิทธิภาพและสัมฤทธผิ ล

(4) สรางกลไกเพ่ือสง เสรมิ สหกรณแ ละผูประกอบการแตละขนาดใหมีความสามารถ
ในการแขงขันอยางเหมาะสม และสงเสริมการประกอบวิสาหกิจเพื่อสังคมและวิสาหกิจท่ีเปนมิตรตอ
สงิ่ แวดลอ ม รวมท้ังสรางกลไกเพิม่ โอกาสในการทำงานและการประกอบอาชพี ของประชาชน

ช. ดานอ่ืน ๆ
(1) ใหมีระบบบริหารจัดการทรัพยากรน้ำท่ีมีประสิทธิภาพ เปนธรรมและย่ังยืนโดย

คำนึงถึงความตองการใชน้ำในทุกมิติ รวมท้ังความเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดลอมและสภาพภูมิอากาศ
ประกอบกนั

(2) จัดใหมีการกระจายการถือครองที่ดินอยางเปนธรรม รวมท้ังการตรวจสอบ
กรรมสทิ ธิแ์ ละการถอื ครองท่ีดินทง้ั ประเทศเพ่ือแกไขปญ หากรรมสิทธ์แิ ละสิทธคิ รอบครองท่ีดนิ อยางเปน
ระบบ

(3) จัดใหมีระบบจัดการและกำจัดขยะมูลฝอยท่ีมีประสิทธิภาพ เปนมิตรตอ
สิง่ แวดลอม และสามารถนำไปใชใหเ กิดประโยชนด านอน่ื ๆ ได

(4) ปรับระบบหลักประกันสุขภาพใหประชาชนไดรับสิทธิและประโยชนจากการ
บริหารจดั การและการเขา ถึงบริการทมี่ คี ณุ ภาพและสะดวกทดั เทียมกนั

(5) ใหมีระบบการแพทยปฐมภูมิที่มีแพทยเวชศาสตรครอบครัวดูแลประชาชนใน
สดั สว นทเี่ หมาะสม

มาตรา 259 ภายใตบ งั คบั มาตรา 260 และมาตรา 261 การปฏริ ูปประเทศตามหมวดน้ี
ใหเปนไปตามกฎหมายวาดวยแผนและขั้นตอนการดำเนินการปฏิรูปประเทศซึ่งอยางนอยตองมีวิธีการ
จัดทำแผน การมีสวนรวมของประชาชนและหนวยงานท่ีเก่ียวของ ขั้นตอนในการดำเนินการปฏิรูป
ประเทศ การวัดผลการดำเนินการ และระยะเวลาดำเนินการปฏิรูปประเทศทุกดาน ซึ่งตองกำหนดให
เร่ิมดำเนินการปฏริ ูปในแตละดา นภายในหนึง่ ปนบั แตวนั ประกาศใชร ัฐธรรมนญู นรี้ วมตลอดทง้ั ผลสัมฤทธิ์
ทีค่ าดหวงั วา จะบรรลใุ นระยะเวลาหาป

ใหดำเนินการตรากฎหมายตามวรรคหน่งึ และประกาศใชบงั คับภายในหน่งึ รอยย่สี บิ วัน
นับแตว นั ประกาศใชรฐั ธรรมนญู น้ี

ในระหวางท่ีกฎหมายตามวรรคหน่ึงยังไมมีผลใชบังคับ ใหหนวยงานของรัฐดำเนินการ
ปฏริ ปู โดยอาศัยหนา ท่ีและอำนาจทมี่ อี ยแู ลว ไปพลางกอน

มาตรา 260 ในการแกไขปรับปรุงกฎหมายตามมาตรา 258 ง. ดานกระบวนการ
ยุติธรรม (4) ใหมีคณะกรรมการคณะหน่งึ ซึ่งคณะรัฐมนตรีแตงตัง้ ประกอบดวย

(1) ผูทรงคุณวุฒิซึ่งมีความรูความซื่อสัตยสุจริตและเที่ยงธรรมเปนท่ีประจักษและไมเคย
เปนขาราชการตำรวจมากอน เปนประธาน

เตรียมสอบ กกต. 2564

เตรยี มสอบพนกั งาน สำนักงานคณะกรรมการการเลอื กตง้ั ชดุ ที่ 2 79

(2) ผูเปนหรือเคยเปนขาราชการตำรวจซ่ึงอยางนอยตองมีผูบัญชาการตำรวจแหงชาติ
รวมอยดู ว ยมีจำนวนตามท่ีคณะรฐั มนตรกี ำหนด เปนกรรมการ

(3) ผูทรงคุณวุฒิซึ่งมีความรูความซ่ือสัตยสุจริตและเที่ยงธรรมเปนท่ีประจักษและไมเคย
เปนขา ราชการตำรวจมากอ น มจี ำนวนเทากับกรรมการตาม (2) เปน กรรมการ

(4) ปลัดกระทรวงการคลังปลัดกระทรวงมหาดไทยปลัดกระทรวงยุติธรรมเลขาธิการ
สำนกั งานศาลยุตธิ รรมและอัยการสูงสุด เปนกรรมการ

ให ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ต า ม ว ร ร ค ห น่ึ งด ำ เนิ น ก า ร ให แ ล ว เส ร็ จ ภ า ย ใน ห นึ่ งป นั บ แ ต วั น
ประกาศใชรฐั ธรรมนญู นี้

เมื่อครบกำหนดเวลาตามวรรคสองแลว ถาการแกไขปรับปรุงกฎหมายดังกลาวยัง
ไมแลวเสร็จ ใหการแตงต้ังโยกยายขาราชการตำรวจดำเนินการตามหลักอาวุโสตามหลักเกณฑที่
คณะรฐั มนตรกี ำหนดโดยประกาศในราชกิจจานเุ บกษา

มาตรา 261 ในการปฏิรูปตามมาตรา 258 จ. ดา นการศกึ ษา ใหม คี ณะกรรมการที่มี
ความเปนอิสระคณะหนึ่งที่คณะรัฐมนตรีแตงตั้งดำเนินการศึกษาและจัดทำขอเสนอแนะและราง
กฎหมายทีเ่ กีย่ วขอ งในการดำเนนิ การใหบ รรลุเปาหมายเพ่อื เสนอคณะรฐั มนตรีดำเนินการตอ ไป

ใหคณะรัฐมนตรีแตงต้ังคณะกรรมการตามวรรคหน่ึงใหแลวเสร็จภายในหกสิบวันนับ
แตวันประกาศใชรัฐธรรมนูญนี้ และใหคณะกรรมการดำเนินการศึกษาและจัดทำขอเสนอแนะและ
รางกฎหมายใหแ ลวเสรจ็ และเสนอตอ คณะรฐั มนตรีภายในสองปน ับแตวนั ท่ไี ดรับการแตงตั้ง

บทเฉพาะกาล
มาตรา 267 ใหคณะกรรมการรางรัฐธรรมนูญที่ต้ังข้ึนตามรัฐธรรมนูญแหง
ราชอาณาจกั รไทย (ฉบับชัว่ คราว) พุทธศักราช 2557 ซงึ่ แกไ ขเพมิ่ เติมโดยรฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจักร
ไทย (ฉบับช่ัวคราว) พุทธศักราช 2557 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 1) พุทธศักราช 2558 และรัฐธรรมนูญ
แหงราชอาณาจักรไทย (ฉบับช่ัวคราว) พุทธศักราช 2557 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2559
อยูปฏิบัติหนาท่ีตอไปเพื่อจัดทำรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญดังตอไปนี้ใหแลวเสร็จ และ
เสนอตอ สภานิตบิ ญั ญตั ิแหงชาติเพื่อพิจารณาใหความเห็นชอบตอ ไป
(1) พระราชบญั ญัตปิ ระกอบรัฐธรรมนูญวา ดวยการเลือกต้งั สมาชกิ สภาผูแทนราษฎร
(2) พระราชบญั ญัตปิ ระกอบรัฐธรรมนูญวา ดวยการไดม าซึง่ สมาชิกวุฒิสภา
(3) พระราชบญั ญตั ิประกอบรฐั ธรรมนูญวาดว ยคณะกรรมการการเลือกตัง้
(4) พระราชบัญญัตปิ ระกอบรัฐธรรมนญู วาดวยพรรคการเมือง
(5) พระราชบญั ญตั ิประกอบรฐั ธรรมนญู วาดวยวิธีพิจารณาของศาลรฐั ธรรมนูญ
(6) พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยวิธีพิจารณาคดีอาญาของผูดำรง
ตำแหนงทางการเมอื ง
(7) พระราชบัญญัตปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู วา ดวยผตู รวจการแผน ดนิ

เตรียมสอบ กกต. 2564

เตรยี มสอบพนกั งาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลือกต้ัง ชุดท่ี 2 80

(8) พระราชบญั ญตั ิประกอบรฐั ธรรมนญู วาดวยการปอ งกันและปราบปรามการทจุ รติ
(9) พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวา ดวยการตรวจเงนิ แผน ดนิ
(10) พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
...
เพื่อประโยชนแหงการขจัดสวนไดเสีย หามมิใหกรรมการรางรัฐธรรมนูญดำรง
ตำแหนง ทางการเมอื งภายในสองปน บั แตว นั ทีพ่ น จากตำแหนง ตามวรรคสอง
มาตรา 268 ใหดำเนินการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรตามรัฐธรรมนูญนี้ใหแลว
เสร็จภายในหน่ึงรอยหาสิบวันนับแตวันท่ีพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญตามมาตรา 267 (1) (2)
(3) และ (4) มีผลใชบ งั คบั แลว
มาตรา 269 ในวาระเริ่มแรกใหวุฒิสภาประกอบดวยสมาชิกจำนวนสองรอ ยหาสิบคนซึ่ง
พระมหากษัตริยทรงแตงต้ังตามท่ีคณะรักษาความสงบแหงชาติถวายคำแนะนำ โดยในการสรรหา
และแตงตง้ั ใหดำเนนิ การตามหลกั เกณฑแ ละวิธกี าร ดงั ตอ ไปนี้
(1) ใหมีคณะกรรมการสรรหาสมาชิกวุฒิสภาคณะหนึ่งซึ่งคณะรักษาความสงบ
แหงชาติแตงต้ังจากผูทรงคุณวุฒิซ่ึงมีความรูและประสบการณในดานตาง ๆ และมีความเปนกลาง
ทางการเมืองจำนวนไมนอยกวาเกาคนแตไมเกินสิบสองคน มีหนาที่ดำเนินการสรรหาบุคคลซ่ึง
สมควรเปน สมาชิกวุฒสิ ภาตามหลักเกณฑและวธิ กี าร ดงั ตอไปนี้

(ก) ใหคณะกรรมการการเลือกตั้งดำเนินการจัดใหมีการเลือกสมาชิกวุฒิสภาตาม
มาตรา 107 จำนวนสองรอยคนตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการไดมาซ่ึงสมาชิก
วุฒิสภา โดยใหดำเนินการใหแลวเสร็จกอนวันท่ีมีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรตามมาตรา 268
ไมนอ ยกวา สบิ หาวันแลวนำรายช่อื เสนอตอ คณะรักษาความสงบแหง ชาติ

(ข) ใหคณ ะกรรมการสรรหาสมาชิกวุฒิ สภา คัดเลือกบุคคลผูมีความรู
ความสามารถที่เหมาะสมในอันจะเปนประโยชนแกการปฏิบัติหนาที่ของวุฒิสภาและการปฏิรูปประเทศ
มีจำนวนไมเกินส่ีรอยคน ตามวิธีการท่ีคณะกรรมการสรรหาสมาชิกวุฒิสภากำหนดแลวนำรายช่ือเสนอ
ตอ คณะรกั ษาความสงบแหง ชาติ ทัง้ นี้ ตอ งดำเนินการใหแ ลวเสรจ็ ไมช า กวา ระยะเวลาที่กำหนดตาม (ก)

(ค) ใหคณะรักษาความสงบแหง ชาติคัดเลือกผูไดรบั เลือกตาม (ก) จากบญั ชีรายชื่อ
ทไ่ี ดรับจากคณะกรรมการการเลอื กต้ังใหไดจำนวนหาสบิ คนและคัดเลือกรายช่อื สำรองจำนวนหาสิบคน
โดยการคัดเลือกดังกลาวใหคำนึงถึงบุคคลจากกลุมตาง ๆ อยางท่ัวถึง และใหคัดเลือกบุคคลจากบัญชี
รายช่ือที่ไดรับการสรรหาตาม (ข) ใหไดจำนวนหน่ึงรอยเกาสิบสี่คนรวมกับผูดำรงตำแหนง
ปลัดกระทรวงกลาโหมผูบัญชาการทหารสูงสุดผูบัญชาการทหารบกผูบัญชาการทหารเรือผูบัญชาการ
ทหารอากาศและผูบัญชาการตำรวจแหงชาติเปนสองรอยหาสิบคนและคัดเลือกรายช่ือสำรองจาก
บัญชีรายช่ือที่ไดรับการสรรหาตาม (ข) จำนวนหาสิบคน ทั้งนี้ ใหแลวเสร็จภายในสามวันนับแตวัน
ประกาศผลการเลือกตงั้ สมาชิกสภาผแู ทนราษฎรตามมาตรา 268(รวม 250 คน)

เตรยี มสอบ กกต. 2564

เตรยี มสอบพนกั งาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลือกตัง้ ชดุ ที่ 2 81

มาตรา 270 นอกจากจะมีหนาที่และอำนาจตามที่บัญญัติไวในรัฐธรรมนูญแลว ให
วุฒิสภาตามมาตรา 269 มีหนาท่ีและอำนาจติดตาม เสนอแนะ และเรงรัดการปฏิรูปประเทศ เพ่ือให
บรรลุเปาหมายตามหมวด 16 การปฏิรูปประเทศ และการจัดทำและดำเนินการตามยุทธศาสตรชาติ ใน
การนี้ ใหคณะรัฐมนตรีแจงความคืบหนาในการดำเนินการตามแผนการปฏิรูปประเทศตอรัฐสภาเพื่อ
ทราบทุกสามเดือน

รางพระราชบัญญัติที่จะตราขึ้นเพื่อดำเนินการตามหมวด 16 การปฏิรูปประเทศ
ใหเสนอและพจิ ารณาในท่ีประชมุ รว มกันของรฐั สภา

มาตรา 271 ในวาระเร่ิมแรกภายในอายุของวุฒิสภาตามมาตรา 269 การพิจารณาราง
พระราชบัญญัติท่ีวุฒิสภาหรือสภาผูแทนราษฎรยับย้ังไวตามมาตรา 137 (2) หรือ (3) ใหกระทำโดยท่ี
ประชุมรว มกนั ของรฐั สภา ถารางพระราชบญั ญตั ินนั้ เกีย่ วกบั

(1) การแกไขเพ่ิมเติมโทษหรือองคประกอบความผิดตอตำแหนงหนาท่ีราชการหรือตอ
ตำแหนงหนาท่ีในการยุติธรรม หรือความผิดของพนักงานในองคการหรือหนวยงานของรัฐ เฉพาะเมื่อ
การแกไ ขเพิ่มเติมนนั้ มผี ลใหผกู ระทำความผดิ พนจากความผดิ หรอื ไมต อ งรับโทษ

(2) รางพระราชบัญญัติท่ีวุฒิสภามีมติดวยคะแนนเสียงไมนอยกวาสองในสามของ
จำนวนสมาชิกวฒุ สิ ภาทงั้ หมดเทาทม่ี อี ยูวา มีผลกระทบตอ การดำเนินกระบวนการยุติธรรมอยา งรา ยแรง

มติของที่ประชุมรวมกันของรัฐสภาที่ใหความเห็นชอบรางพระราชบัญญัติตามวรรค
หน่ึง ตอ งมีคะแนนเสยี งไมน อยกวาสองในสามของจำนวนสมาชิกท้งั หมดเทา ที่มอี ยูของรฐั สภา

มาตรา 272 ในระหวางหาปแรกนับแตวันที่มีรัฐสภาชุดแรกตามรัฐธรรมนูญนี้
การใหความเห็นชอบบุคคลซ่ึงสมควรไดรับแตงต้ังเปนนายกรัฐมนตรีใหดำเนินการตามมาตรา 159เวน
แตการพิจารณาใหความเห็นชอบตามมาตรา 159 วรรคหนึ่ง ใหกระทำในท่ีประชุมรวมกันของ
รัฐสภา และมติท่ีเห็นชอบการแตงตั้งบุคคลใดใหเปนนายกรัฐมนตรีตามมาตรา 159 วรรคสาม ตอง
มคี ะแนนเสยี งมากกวาก่งึ หนง่ึ ของจำนวนสมาชกิ ท้งั หมดเทา ท่ีมอี ยูของทงั้ สองสภา

ในระหวางเวลาตามวรรคหน่ึง หากมีกรณีที่ไมอาจแตงตั้งนายกรัฐมนตรีจากผูมีช่ืออยู
ในบัญชีรายชื่อที่พรรคการเมืองแจงไวตามมาตรา 88 ไมวาดวยเหตุใดและสมาชิกของทั้งสองสภา
รวมกันจำนวนไมนอยกวาก่ึงหน่ึงของจำนวนสมาชิกท้ังหมดเทาท่ีมีอยูของท้ังสองสภาเขาช่ือเสนอ
ตอประธานรัฐสภาขอใหรัฐสภามีมติยกเวนเพื่อไมตองเสนอช่ือนายกรัฐมนตรีจากผูมีชื่ออยูในบัญชี
รายช่ือท่ีพรรคการเมืองแจงไวตามมาตรา 88 ในกรณีเชนนั้น ใหประธานรัฐสภาจัดใหมีการประชุม
รว มกนั ของรฐั สภาโดยพลนั และในกรณีทีร่ ัฐสภามมี ตดิ ว ยคะแนนเสยี งไมนอ ยกวาสองในสามของจำนวน
สมาชกิ ทัง้ หมดเทาทีม่ อี ยูของทัง้ สองสภาใหยกเวนได ใหด ำเนนิ การตามวรรคหน่ึงตอไป โดยจะเสนอชื่อผู
อยใู นบัญชรี ายชอ่ื ท่พี รรคการเมอื งแจง ไวต ามมาตรา 88 หรือไมกไ็ ด

มาตรา 276 ใหศาลรัฐธรรมนูญและองคกรอิสระดำเนินการใหมีมาตรฐานทาง
จริยธรรมตามมาตรา 219 ภายในหน่ึงปนับแตวันประกาศใชรัฐธรรมนญู น้ี หากดำเนินการไมแลวเสร็จ

เตรยี มสอบ กกต. 2564

เตรยี มสอบพนักงาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง ชุดท่ี 2 82

ภายในระยะเวลาดังกลาว ใหตุลาการศาลรัฐธรรมนูญและผูดำรงตำแหนงในองคกรอิสระพนจาก
ตำแหนง...

มาตรา 277 นอกจากท่ีบัญญัตไิ วเ ปนการเฉพาะในรัฐธรรมนญู น้ี ใหค ณะรัฐมนตรีเสนอ
กฎหมายเพื่อใหเปนไปตามมาตรา 196 มาตรา 198 และมาตรา 248 วรรคสาม ตอสภานิติบัญญัติ
แหงชาติภายในหนงึ่ ปนบั แตวนั ประกาศใชรัฐธรรมนูญนี้

ในระหวางที่ยังไมมีการปรับปรุงหรือแกไขกฎหมายใหเปนไปตามมาตรา 196 มาตรา
198 และมาตรา 248 วรรคสาม ใหคณะกรรมการตุลาการศาลยุติธรรม คณะกรรมการตุลาการศาล
ปกครอง และคณะกรรมการอัยการ ที่มีอยูในวันกอนวันประกาศใชรัฐธรรมนูญน้ี ทำหนาท่ี
คณะกรรมการตุลาการศาลยุตธิ รรม คณะกรรมการตุลาการศาลปกครอง และคณะกรรมการอัยการตาม
มาตรา 196 มาตรา 198 และมาตรา 248 วรรคสาม แลว แตก รณี ไปพลางกอ น

ในระหวางท่ียังไมมีการปรับปรุงหรือแกไขกฎหมายเพ่ือใหเปนไปตามมาตรา 248
วรรคสี่ หามมิใหพนักงานอัยการดำรงตำแหนงกรรมการในรัฐวิสาหกิจ หรือกิจการอื่นของรัฐในทำนอง
เดียวกันหรือดำรงตำแหนงใดในหางหุนสวนบริษัทหรือกิจการอื่นใดที่มีวัตถุประสงคมุงหาผลกำไร
หรือรายไดมาแบงปนกัน หรือเปนท่ีปรึกษาของผูดำรงตำแหนงทางการเมือง หรือดำรงตำแหนงอ่ืนใดใน
ลกั ษณะเดยี วกัน

มาตรา 278 ใหคณะรัฐมนตรีดำเนินการใหหนวยงานของรัฐท่ีคณะรัฐมนตรีกำหนด
ดำเนินการใหจัดทำรางกฎหมายที่จำเปนตามมาตรา 58 มาตรา 62 และมาตรา 63 ใหแลวเสร็จ
และเสนอตอสภานิติบัญญัติแหงชาติภายในสองรอยสี่สิบวันนับแตวันประกาศใชรัฐธรรมนูญน้ี และ
ใหส ภานิติบัญญตั ิแหง ชาติพจิ ารณาใหแลว เสร็จภายในหกสบิ วนั นับแตวนั ทีไ่ ดรับรา งพระราชบญั ญัติ
นั้น


ในกรณีที่หนวยงานของรัฐตามวรรคหนึ่งไมอาจดำเนินการไดภายในกำหนดเวลาตาม
วรรคสอง ใหคณะรฐั มนตรีสงั่ ใหหัวหนาหนวยงานของรัฐนั้นพนจากตำแหนง
มาตรา 279 บรรดาประกาศ คำสั่ง และการกระทำของคณะรักษาความสงบแหงชาติ
หรอื ของหัวหนาคณะรักษาความสงบแหงชาติที่ใชบังคับอยูในวันกอนวันประกาศใชรัฐธรรมนูญนี้ หรือที่
จะออกใชบังคับตอไปตามมาตรา 265 วรรคสอง ไมวาเปนประกาศ คำส่ัง หรือการกระทำท่ีมีผลใช
บังคับในทางรัฐธรรมนูญ ทางนิติบัญญัติ ทางบริหาร หรือทางตุลาการ ใหประกาศ คำสั่ง การกระทำ
ตลอดจนการปฏิบัติตามประกาศ คำสั่ง หรือการกระทำนั้น เปนประกาศ คำสั่ง การกระทำ หรือการ
ปฏิบัติที่ชอบดวยรัฐธรรมนูญน้ีและกฎหมาย และมีผลใชบังคับโดยชอบดวยรัฐธรรมนูญนี้ตอไป การ
ยกเลิกหรือแกไขเพิ่มเติมประกาศหรือคำสั่งดังกลาว ใหกระทำเปนพระราชบัญญัติ เวนแตประกาศหรือ
คำส่ังท่ีมีลักษณะเปนการใชอำนาจทางบริหาร การยกเลิกหรือแกไขเพ่ิมเติมใหกระทำโดยคำส่ัง
นายกรฐั มนตรหี รือมติคณะรัฐมนตรี แลวแตก รณี

เตรยี มสอบ กกต. 2564

เตรยี มสอบพนกั งาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตง้ั ชดุ ท่ี 2 83

สรุป
พระราชบญั ญัตปิ ระกอบรัฐธรรมนญู วาดวยคณะกรรมการการเลอื กต้ัง พ.ศ. 2560

1. บททว่ั ไป
2. คณะกรรมการการเลือกตงั้
3. การประชมุ ของคณะกรรมการการเลือกตงั้
4. หนาทีแ่ ละอำนาจของคณะกรรมการการเลือกต้งั
5. ผูตรวจการเลือกตัง้
6. การสืบสวน การไตสวน และการดำเนนิ คดี
7. สำนกั งานคณะกรรมการการเลอื กต้งั

1. บททว่ั ไป
1.1 วนั ทก่ี ฎหมายมผี ลบังคบั ใช (มาตรา 2)
14 กันยายน 2560 (วนั ถดั จากวนั ประกาศในราชกิจจานุเบกษา)
1.2 ผูรักษาการตามกฎหมาย (มาตรา 7)
ประธานกรรมการการเลอื กตง้ั
1.3 กฎหมายเกย่ี วกับการเลอื กตั้งและพรรคการเมอื ง
(1) กฎหมายวาดวยการเลอื กต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎร
(2) กฎหมายวาดว ยการไดมาซึง่ สมาชกิ วุฒสิ ภา
(3) กฎหมายวา ดวยคณะกรรมการการเลือกตง้ั
(4) กฎหมายวา ดวยพรรคการเมือง
(5) กฎหมายวาดวยการเลือกตั้งสมาชิกสภาทองถิน่ หรือผบู ริหารทอ งถ่ิน
(6) กฎหมายวาดว ยการออกเสยี งประชามติดวย
1.4 หลักการเก่ียวกับการแจง ยนื่ หรือสง เอกสาร (มาตรา 5)
(1) การแจง ยื่น หรือสงหนังสือหรือเอกสารใหบุคคล ณ ภูมิลำเนาหรือที่อยูที่ปรากฏตาม

หลักฐานทางทะเบียนราษฎร และในกรณีทกี่ ฎหมายกำหนดใหประกาศ หรอื เผยแพรใหประชาชนทราบ
ท่ัวไป ใหถือวาการประกาศหรือเผยแพรในระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือวิธีอื่นที่ประชาชนเขาถึงได
สะดวก ใหถอื วาดำเนินการโดยชอบแลว

เตรียมสอบ กกต

เตรยี มสอบพนกั งาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลอื กต้ัง ชดุ ท่ี 2 84

(2) คณะกรรมการการเลือกตั้ง เลขาธิการคณะกรรมการการเลือกตั้ง จะกำหนดหรือมีคำสั่ง
เรื่องใด ใหกำหนดเปน ประกาศ ระเบียบ หรอื คำส่งั และในกรณีที่จะใชบงั คบั แกบคุ คลทั่วไปใหประกาศ
ในราชกิจจานุเบกษา

ในกรณีที่มกี ารกำหนดข้ันตอนการดำเนินงานงานไว จะตองกำหนดระยะเวลาการดำเนนิ งานใน
แตล ะขัน้ ตอนใหชดั เจนดว ย

(3) ใหสำนักงานมีหนาที่เปดเผยขอมูลเกี่ยวกับการเลือกตั้ง ท่ีไมไดมีผลเปนการเปดเผยถึงตัว
บุคคล ผูลงคะแนนเลือกต้ังเปนการเฉพาะ เพื่อใหประชาชนสามารถเขาถึงขอมูลทางระบบเทคโนโลยี
สารสนเทศ
2. คณะกรรมการการเลอื กตง้ั (มาตรา 8)

2.1 คณะกรรมการการเลือกต้ังมีทั้งหมด 7 คน ซึ่งพระมหากษัตริยแตงตั้งตามคำแนะนำของ
วฒุ สิ ภา

(1) จำนวน 5 คน ซึง่ ไดร บั การสรรหาจากคณะกรรมการสรรหา จากผูท รงคณุ วฒุ ิดา นตา งๆ
(2) จำนวน 2 คน ซ่ึงไดรับกาคัดเลือกจากท่ีประชุมใหญศาลฎีกา จากผูมีความรู ความเช่ียวชาญ
และประสบการณดานกฎหมาย และดำรงตำแหนงไมต่ำกวาอธิบดีผูพิพากษา หรือเปนอัยการมาแลวไม
นอยกวา 5 ป
2.2 คณะกรรมการสรรหา จำนวน 9 คน (มาตรา 11)
1. ประธานศาลฎีกา 2. ประธานสภาผูแทนราษฎร 3. ผูนำฝายคาน 4. ประธานศาลปกครอง
สูงสุด 5. ผูแทนจากศาลรัฐธรรมนูญ 6. ผูแทนจากคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริต
แหงชาติ 7. ผูแทนจากคณะกรรมการตรวจเงินแผนดิน 8. ผูแทนจากผูตรวจการแผนดิน 9.ผูแทนจาก
กรรมการสิทธมิ นุษยชนแหงชาติ
เลขาธิการวฒุ สิ ภาเปน เลขานุการของคณะกรรมการสรรหา

เตรยี มสอบ กกต

เตรยี มสอบพนักงาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตัง้ ชุดท่ี 2 85

2.3 วาระการดำรงตำแหนง
7 ป นบั แตวนั ที่พระมหากษตั รยิ ท รงแตงต้งั วาระเดียว (มาตรา 15)

คณะกรรมการสรรหา ใชวธิ ลี งคะแนนโดยเปดเผย ทป่ี ระชุมใหญศ าลฎีกา

5 คน 2 คน

คะแนนเสยี ง 2 ใน 3 คะแนนเสยี งมากกวา
กึ่งหน่ึง
7 คน/ 1วาระ/ 7 ป

3. การประชมุ ของคณะกรรมการการเลอื กตงั้ (มาตรา 18)
3.1 องคประชุม ไมนอยกวา 5 คน (เวนแตกรรมการพนจากตำแหนง และเหลืออยูไมถึง 4 คน

ใหก ระทำไดแ ตเฉพาะการทจี่ ำเปน อันไมอาจหลกี เลยี่ งได (มาตรา 16 วรรค 5))
3.2 มติ ใชเ สยี งขา งมาก
3.3 การไมเขาประชุมหรือไมอยูในท่ีประชุมโดยไมมีเหตุอันสมควร ถือวาจงใจฝาฝนหรือไม

ปฏิบตั ิตามมาตรฐานทางจรยิ ธรรม
3.4 รูปแบบและเน้ือหาของการลงมติ เปนหนังสือและมีช่ือเรื่องและประเด็นที่ลงมติ

มติท่ลี ง และลายมอื ชือ่ ของกรรมการทล่ี งมติ และไมต องรอรบั รองรายงานการประชมุ
3.5 การลงมติวินิจฉัยในเร่ืองสำคัญ กรรมการทุกคนท่ีอยูในที่ประชุมตองลงมติ จะงดออก

เสียงหรืออกเสียงท่ีแตกตางไปจากกประเด็นที่จะตองลงมติไมได เชน การส่ังระงับสิทธิสมัครรับเลือกต้ัง
ประเด็นท่ีตองลงมติ มีวา จะสั่งระงับ หรือ ไมระงับ เทานั้น คณะกรรมการจะลงมติวาใหดำเนินไตสวน
พยานเพิม่ เตมิ ไมได

กรณกี ารลงมตใิ นเรอื่ งสำคัญ (มาตรา 19)
(1) การวินิจฉัยวาการเลือกตั้งใดมิไดเปนไปโดยสุจริตหรือเท่ียงธรรม หรือเปนไปโดยมิชอบดวย
กฎหมาย
(2) การใหความเห็นชอบคำวินจิ ฉยั
(3) การแตง ต้ังผูตรวจการเลอื กตัง้

เตรียมสอบ กกต

เตรยี มสอบพนกั งาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลอื กต้ัง ชดุ ท่ี 2 86

(4) การสั่งระงับการดำเนินการอันจะทำใหการเลือกตั้งมิไดเปนไปโดยสุจริตหรือเที่ยงธรรมหรือ
เปน ไปโดยมชิ อบดวยกฎหมาย

(5) การส่ังระงบั สทิ ธิสมัครรบั เลอื กตงั้
(6) การย่ืนคำรองตอศาลฎีกาเพื่อสั่งเพิกถอนสิทธิสมัครรับเลือกต้ัง หรือเพิกถอนสิทธิเลือกตั้ง
ของผูสมัครรับเลือกตั้งตามกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎร
หรือกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญวา ดวยการไดมาซึ่งสมาชิกวฒุ ิสภา
(7) การส่ังใหคณะกรรมการบริหารพรรคการเมืองพนจากตำแหนงท้ังคณะ และการวินิจฉัยวา
ผูสมัครรับเลือกต้ังผูใดรับเงิน ทรัพยสิน หรือประโยชนอ่ืนเพื่อประโยชนในการดำเนินกิจกรรมทาง
การเมือง ทั้งน้ี ตามกฎหมายประกอบรฐั ธรรมนูญวา ดวยพรรคการเมือง
(8) เรือ่ งอนื่ ใดที่คณะกรรมการมีมตกิ ำหนดดวยคะแนนสองในสามของกรรมการท้ังหมดเทาทีม่ อี ยู

4. หนาทแี่ ละอำนาจของคณะกรรมการการเลือกตงั้

หลักในการปฏิบัติหนาทีข่ องคณะกรรมกรรมการ (มาตรา 21)
กรรมการการเลือกต้ังตองปฏิบัติหนาที่เต็มเวลา และการปฏิบัติหนาที่และการใชอำนาจตอง
เปนไปโดยสุจริต เท่ียงธรรม กลาหาญ และปราศจากอคติท้ังปวงในการใชดุลพินิจและปฏิบัติตนให
ถูกตองตามมาตรฐานทางจริยธรรม และจะเขารับการศึกษาหรืออบรมในหลักสูตรหรือโครงการใดๆ
ไมไดเวนแตเปนหลักสูตรหรือโครงการท่ีคณะกรรมการการเลือกตั้งเปนผูจัดข้ึนโดยเฉพาะสำหรับ
กรรมการการเลอื กตั้ง

4.1 หนาท่ีและอำนาจของคณะกรรมการการเลอื กตัง้ ท้ังคณะ
(1) การตอบขอสอบถามเก่ียวกับการปฏิบัติใหถูกตองตามกฎหมายเกี่ยวกับการเลือกต้ังและ
พรรคการเมอื ง บทลงโทษทส่ี ำคัญ คอื ในกรณที ี่ตอบขอสอบถามไมทนั ภายในเวลาท่ีกำหนดใหถ ือวา เปน
การจงใจฝาฝน หรอื ไมป ฏิบัตติ ามมาตรฐานจรยิ ธรรม (มาตรา 23)
หากเปนกรณีฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามมาตรฐานจริยธรรมรายแรง ปปช. ใหเสนอเร่ืองตอศาล
รัฐธรรมนูญเพื่อวนิ ิจฉัย (รธน. มาตรา 226 235)
(2) หนาท่ีและอำนาจในการจัดการเลือกต้งั การเลอื ก และการออกเสียงประชามติ (มาตรา 27)

เตรียมสอบ กกต

เตรียมสอบพนักงาน สำนักงานคณะกรรมการการเลอื กตั้ง ชุดท่ี 2 87

1. การเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎร การเลือกสมาชิกวุฒิสภา และการออกเสียง
ประชามติ ใหเปนหนาที่และอำนาจของคณะกรรมการการเลือกตั้งในการจัดการเลือกต้ัง การเลือก และ
การออกเสยี งประชามติ (มาตรา 27 ว.หนึ่ง)

2. การเลอื กต้งั สมาชกิ สภาทอ งถิ่นหรอื ผูบรหิ ารทอ งถ่ิน ใหค ณะกรรมการการเลอื กต้ังมี
อำนาจดำเนินการใหองคกรปกครองสวนทองถ่ินหรือหนวยงานอ่ืนของรัฐเปนผูรับผิดชอบในการจัดการ
เลือกตั้ง ภายใตการควบคุมดูแลของคณะกรรมการการเลือกต้ัง กับใหมีอำนาจแตงตั้งบุคคลหรือคณะ
บุคคลซ่งึ รับผิดชอบในการจดั การเลือกตั้ง แตงตง้ั เจาหนาท่ีปฏิบัตงิ าน และกำหนดหลกั เกณฑและวธิ ีการ
ปฏบิ ตั ิงานในการเลือกตั้ง (มาตรา 27 ว.สอง)

(3) การควบคุม กำกับ ดูแลการเลือกต้ังใหเปนไปโดยสุจริตและเที่ยงธรรม หรือเปนไปโดยชอบ
ดวยกฎหมาย

(4) คณะกรรมการการเลือกตั้งมีอำนาจแตงต้ังคณะกรรมการอ่ืน คณะอนุกรรมการ บุคคลหรือ
คณะบุคคล เพอ่ื ปฏบิ ตั ิหนาทตี่ ามท่คี ณะกรรมการการเลือกตั้งมอบหมายได (มาตรา 37)

ใหกรรมการการเลือกตั้ง เลขาธิการคณะกรรมการการเลือกต้ัง ผูตรวจการเลือกต้ัง และบุคคล
ซง่ึ คณะกรรมการแตงต้งั เปน เจาพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา (มาตรา 38)

(5) ส่ังหรือแตงตั้งขาราชการ พนักงานหรือลูกจางของหนวยงานของรัฐใหปฏิบัติการอันจำเปน
เกย่ี วกบั การเลอื กตง้ั การสนบั สนุนการเลอื กตั้ง หรือการสบื สวนหรอื ไตสวนได

หากไมป ฏิบัติตามคำส่งั คณะกรรมการการเลือกตงั้ ดงั กลา ว ใหถ อื วาเปน การกระทำความผดิ ทาง
วนิ ยั อยา งรายแรง (มาตรา 34 วรรค 2,3)

(6) ใหเจาหนาท่ี พนักงานอัยการ พนักงานสอบสวน หรือบุคคลใดมีหนังสือช้ีแจงขอเท็จจริง
หรือมาใหถอยคำ หรือสงเอกสารหลักฐาน หรือพยานหลักฐานที่เก่ียวของภายในระยะเวลาที่
คณะกรรมการกำหนดเพือ่ ประกอบการพิจารณา (มาตรา 24 (2))

(7) ใหคณะกรรมการการเลือกต้ังจัดใหมีการทำทะเบียนรายชื่อผูมีสิทธิเลือกตั้งจากหลักฐาน
ทะเบียนบานตามกฎหมายวาดวยการทะเบียนราษฎรและเผยแพรใหประชาชนทราบ และอาจขอ
เชื่อมโยงฐานขอมูลทะเบียนราษฎรเพื่อนำมาดำเนินการจัดทำทะเบียนรายชื่อผูมีสิทธิเลือกตั้งได
(มาตรา 36)

(8) อำนาจส่ังใหบุคคลนั้นระงับการดำเนินการเก่ียวกับธุรกรรมทางการเงินไวเปนการช่ัวคราว
ภายในเวลาท่ีกำหนดแตตองไมเกิน 60 วัน (ผูไดรับคำสั่งมีสิทธิรองขอตอศาลปกครองสูงสุดใหเพิกถอน
คำส่งั น้ันได) (มาตรา 33)

เตรียมสอบ กกต

เตรยี มสอบพนักงาน สำนักงานคณะกรรมการการเลอื กต้ัง ชุดท่ี 2 88

(9) วางระเบียบเกี่ยวกับการปฏิบัติหนาที่ของผูปฏิบัติงานของสำนักงานคณะกรรมการการ
เลอื กตัง้ ในการปฏิบตั หิ นาที่เก่ยี วกบั การเลอื กตงั้ การสบื สวนและไตสวน (มาตรา 22 (4))

(10) หนาท่ีและอำนาจตามที่บญั ญัติไวในรฐั ธรรมนูญ (มาตรา 22)
(11) หนาที่และอำนาจที่กำหนดไวในพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนี้และกฎหมายอ่ืน
(มาตรา 22 (1))
(12) การออกขอกำหนด ระเบียบ หรือประกาศตามท่ีกำหนดไวในพระราชบัญญัติประกอบ
รัฐธรรมนญู นีแ้ ละกฎหมายอ่นื (มาตรา 22 (2))
(13) วินิจฉัยชี้ขาดปญหาหรือขอโตแยงเก่ียวกับขอกำหนด ระเบียบ หรือประกาศของ
คณะกรรมการการเลือกตัง้ (มาตรา 22 (3))
(14) สงเสริม สนับสนุนใหหนวยงานของรัฐ สถาบันการศึกษา และองคกรเอกชน ในการสราง
ความรูความเขาใจที่ถูกตองใหแกประชาชนเก่ียวกับการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษัตริยทรงเปนประมุข การมีสวนรวมทางการเมืองของประชาชน หรือใหประชาชนมีสวนรวม
ในการตรวจสอบการเลอื กต้งั (มาตรา 22 (5))
(15) วางระเบียบเก่ียวกับการชำระคาเสียหายและคาใชจายสำหรับการจัดการเลือกต้ังและ
ดอกเบี้ยหรือ เบ้ียปรับ รวมตลอดท้ังวิธีการและเงื่อนไขในการลดหรือยกเวนดอกเบ้ียหรือเบี้ยปรับ
(มาตรา 22 (6))
(16) กำกับและติดตามการใชจายเงินอุดหนุนท่ีพรรคการเมืองไดรับการจัดสรรตามกฎหมาย
ประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยพรรคการเมืองเพื่อใหเปนไปโดยถูกตองตามกฎหมายดังกลาว (มาตรา 22
(7))
(17) รายงานผลการปฏิบัติงานประจำปและขอสังเกตตอรัฐสภา และเผยแพรใหประชาชน
ทราบเปนการท่ัวไป (มาตรา 22 (8))
(18) จัดใหมีการศึกษา วิเคราะห หรือวิจัย เพื่อกำหนดวิธีการหรือมาตรการใหการเลือกต้ัง
เปนไปโดยสุจริตและเทีย่ งธรรม หรอื เปน ไปโดยชอบดว ยกฎหมาย (มาตรา 22 (9))
(19) ออกระเบียบกำหนดหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขในการเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับการ
ปฏบิ ัติหนา ท่ขี องคณะกรรมการการเลอื กต้ังและสำนักงานคณะกรรมการการเลอื กตง้ั (มาตรา 22 (10))
(20) ใหหนวยงานของรัฐมีหนังสือช้ีแจงขอเท็จจริง หรือใหความเห็นในการปฏิบัติงาน หรือสง
เอกสารหลกั ฐาน หรอื พยานหลกั ฐานอน่ื ท่ีเกี่ยวขอ งเพื่อประกอบการพิจารณา (มาตรา 24 (1))
(21) ขอความรวมมือใหศาลสงเอกสาร หลักฐาน หรือพยานหลักฐานอื่นท่ีเกี่ยวของเพื่อ
ประกอบการพิจารณา (มาตรา 24 (3))

เตรยี มสอบ กกต

เตรยี มสอบพนักงาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลือกตัง้ ชดุ ท่ี 2 89

(22) เขาไปหรือแตงต้ังใหบุคคลเขาไปในท่ีเลือกตั้ง ท่ีออกเสียงประชามติ หรือสถานท่ีนับ
คะแนนเลือกตัง้ หรอื นับคะแนนการออกเสียงประชามติ (มาตรา 24 (4))

(23) ใหสำนักงานการตรวจเงินแผนดิน หรือผูสอบบัญชีรับอนุญาต สอบบัญชีของพรรค
การเมือง (มาตรา 32 (1))

(24) ใหสำนักงานปองกันและปราบปรามการฟอกเงินแจงรายงานการทำธุรกรรมของพรรค
การเมือง ผูดำรงตำแหนงในพรรคการเมือง หรือผูสมัคร หรือใหธนาคารแหงประเทศไทย หรือสถาบัน
การเงินตามกฎหมายวาดวยธุรกิจสถาบันการเงินแจงใหทราบถึงการโอนหรือการเบิกจายเงินในกรณี
ดงั กลาวตามท่คี ณะกรรมการการเลือกตั้งรองขอ (มาตรา 32 (2))

(25) ใหหนวยงานของรัฐทุกหนวยที่เก่ียวกับการขาว แจงขอมูลเบาะแสตามท่ีคณะกรรมการ
รองขอ (มาตรา 32 (3))

(26) การแตงต้ังบคุ คล กลุมบุคคล องคกรชุมชน หรือสถาบันการศึกษาซึ่งสมัครใจปฏบิ ัติหนาที่
เปน ผูชวยเหลือการปฏิบตั ิงานหรอื เปนผสู งั เกตการณในการเลือกตง้ั (มาตรา 35)

4.2 หนาที่และอำนาจของคณะกรรมการการเลือกตง้ั คนใดคนหน่ึง (มาตรา 26)
ในระหวางเลือกต้ังคณะกรรมการการเลือกตง้ั แตละคนมีอำนาจหนาที่ดังนี้
(1) กำกบั และตรวจสอบการดำเนินการท่เี กี่ยวกับการเลือกตั้งใหเ ปนไปโดยสุจรติ และเที่ยงธรรม
และเปนไปโดยชอบดวยกฎหมาย (มาตรา 26 (1))
(2) มีคำสั่งใหดำเนินการสืบสวนหรือไตส วนเม่ือพบเห็นการกระทำใดท่ีมเี หตอุ ันควรสงสัยวาการ
เลอื กตั้งมไิ ดเปนไปโดยสุจริตหรอื เทย่ี งธรรม หรอื เปน ไปโดยมชิ อบดว ยกฎหมาย (มาตรา 26 (2))
(3) เม่ือพบการกระทำหรือการงดเวนการกระทำใดอันอาจเปนเหตุใหการเลือกตั้งมิไดเปนไป
โดยสุจริตหรือเท่ียงธรรม หรือเปนไปโดยมิชอบดวยกฎหมาย ถาการนั้นเปนการกระทำหรือการงดเวน
การกระทำของเจาหนาท่ีของรัฐ ใหมีอำนาจส่ังใหระงับ ยับย้ัง แกไขเปลี่ยนแปลง หรือสั่งใหกระทำการ
อยางใดอยา งหน่ึงไดต ามท่ีเห็นสมควร
ถาเปนการกระทำของบุคคลซึ่งมิใชเปนเจาหนาที่ของรัฐ ใหมีอำนาจสั่งใหเจาพนักงานฝาย
ปกครองหรอื ตำรวจดำเนินการตามหนา ทแ่ี ละอำนาจ
สั่งใหผูอำนวยการการเลือกตั้งประจำจังหวัด บันทึกพฤติกรรมแหงการกระทำและรวบรวม
พยานหลกั ฐานไวเพ่ือดำเนนิ การตอไปไดตามทีจ่ ำเปน หรือในกรณจี ำเปนอันไมอาจหลกี เลี่ยงได จะสัง่ ให
ระงับหรือยับยั้งการดำเนินการเลือกตั้งในหนวยเลือกตั้งบางหนวยหรือทุกหนวยในเขตเลือกตั้งที่พบเห็น
การกระทำหรือการงดเวนการกระทำน้นั ก็ได (มาตรา 26 (3))

เตรยี มสอบ กกต

เตรียมสอบพนกั งาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลอื กตงั้ ชดุ ท่ี 2 90

5. ผตู รวจการเลอื กตัง้ (มาตรา 28 - 30)
หลักการใหมตามรัฐธรรมนูญกำหนดใหมีผูตรวจการเลือกตั้งจำนวน 5-8 คน ข้ึนมาแทนคณะ

กรรมการการเลือกต้ังประจำจังหวัด โดยใหผูตรวจการเลือกต้ังปฏิบัติหนาที่ในแตละจังหวัดในระหวาง
เวลาท่ีมีการดำเนินการเลือกตั้งเทาน้ัน คือ ตั้งแตมีพระราชกฤษฎีกาใหมีการเลือกต้ังจนถึงวันที่มีการ
ประกาศผลการเลือกต้ังหรือภายหลังจากน้ันอีกไมเกิน 60 วันตามที่คณะกรรมการการเลือกต้ังกำหนด
(มาตรา 28 วรรค 3)

5.1 หนาท่ี
ตรวจสอบการปฏิบัติงานเจาหนาท่ีท่ีดำเนินการเลือกต้ัง และการกระทำความผิดกฎหมายเกี่ยวกับ
การเลอื กตั้งและพรรคการเมอื ง หรือการกระทำใดทจี่ ะเปนเหตทุ ำใหการเลือกตง้ั มไิ ดเปนไปโดยสุจริตหรือเทย่ี ง
ธรรม หรือเปนไปโดยมิชอบดวยกฎหมาย และรายงานใหคณะกรรมการการเลือกตั้งทราบเพ่ือดำเนินการตาม
หนา ทแ่ี ละอำนาจตอ ไป
5.2 การคดั เลอื กและแตงตง้ั
คณะกรรมการการเลือกตั้งคัดเลือกบุคคลซึ่งมีภูมิลำเนาในแตละจังหวัด จังหวัดละไมนอยกวา 5
คน แตไมเกิน 8 คน โดยจัดทำเปนบัญชีรายชื่อไว บัญชีรายชื่อดังกลาวใหใชไดเปนเวลาตามท่ีคณะกรรมการ
การเลอื กตง้ั กำหนด แตต องไมเ กนิ 5 ป (มาตรา 29)
การแตงต้ังผูตรวจการเลือกต้ัง ใหคณะกรรมการการเลือกต้ังแตงตั้งบุคคลจากบัญชีรายชื่อ จำนวนไม
นอยกวา 5 คน แตไมเ กนิ 8 คน ใหเปนผตู รวจการเลือกตง้ั ประจำจังหวัดทุกจงั หวดั
การแตงต้ังแตละจังหวัดใหแตงต้ังโดยจับสลากจากรายช่ือผูท่ีมีภูมิลำเนาในจังหวัดนั้น จำนวน 2
คน และทีเ่ หลอื ใหมาจากผทู ่ไี มไดมภี มู ิลำเนาในจังหวัดน้นั อกี 3 – 6 คน

6. การสืบสวน การไตส วน และการดำเนนิ คดี (มาตรา 41 - 49)
กรณีที่มีเหตุอันควรสงสัยหรือความปรากฏตอคณะกรรมการการเลือกต้ังไมว า โดยทางใด ไมวา

จะมีผูแจงหรือผูกลาวหาหรือไม ถามีหลักฐานพอสมควรหรือมีขอมูลเพียงพอท่ีจะสืบสวนตอไปวามีการ
กระทำใดอันเปนการฝาฝนหรือไมป ฏิบัติตามกฎหมายเก่ียวกับการเลือกต้ังและพรรคการเมือง หรือจะมี
ผลใหการเลือกต้ังมิไดเ ปนไปโดยสุจริตหรือเท่ียงธรรม หรือเปนไปโดยมิชอบดวยกฎหมาย
คณะกรรมการการเลือกต้ังมีหนาที่ตองดำเนินการใหมีการสืบสวน หรือไตสวน เพ่ือแสวงหาขอเท็จจริง
และหลักฐาน

6.1 เจาพนักงานผูมีอำนาจสืบสวน ไตส วน หรอื ดำเนนิ คดตี ามมาตรา 41 (มาตรา 42)
(1) กรรมการการเลือกตัง้
(2) เลขาธิการคณะกรรมการการเลือกต้ังหรือพนักงานของสำนักงานคณะกรรมการ

การเลือกตงั้ ทคี่ ณะกรรมการการเลอื กตง้ั แตง ต้ัง

เตรยี มสอบ กกต

เตรียมสอบพนกั งาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลือกตง้ั ชดุ ท่ี 2 91

6.2 การดำเนนิ คดีอาญา (มาตรา 44 วรรค 1และ 2)
คณะกรรมการการเลือกตง้ั แจงใหพนกั งานอัยการที่มีเขตอำนาจเพื่อพิจารณาดำเนินการ โดยให
สงสำนวนการไตสวนหรือสำนวนการสอบสวนใหพนักงานอัยการเพ่ือใชเปนสำนวนในการดำเนินคดี
โดยถือวาสำนวนการไตสวนหรือสำนวนการสอบสวนดังกลาวเปนสำนวนการสอบสวนของพนักงาน
สอบสวนตามประมวลกฎหมายวิธีพจิ ารณาความอาญา
ในกรณีท่ีเปนการกระทำความผิดเก่ียวกับกฎหมายวาดวยการเลือกต้ังสมาชิกสภาทองถ่ินหรือ
ผูบริหารทองถิ่น คณะกรรมการการเลือกตั้งจะมอบอำนาจใหผูวาราชการจังหวัดในจังหวัดที่จัดใหมีการ
เลอื กตั้งเปนผูดำเนนิ การแทนก็ได
6.3 การเพกิ ถอนสทิ ธสิ มัครรบั เลือกต้ังหรือเพิกถอนสิทธเิ ลือกตั้ง (มาตรา 43 วรรค 3)
กรณีท่ีตองมีการเพิกถอนสิทธิสมัครรับเลือกต้ังหรือเพิกถอนสิทธิเลือกต้ังตามบทบัญญัติแหง
รัฐธรรมนูญ ใหคณะกรรมการการเลือกต้ังมีอำนาจย่ืนคำรองตอศาลฎีกาหรือศาลอุทธรณ หรือจะ
มอบหมายใหกรรมการการเลือกต้ังหรือเจาพนักงานของสำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง เปน
ผูดำเนนิ การแทนคณะกรรมการการเลอื กตัง้ กไ็ ด
ใหศาลฎีกาหรือศาลอุทธรณแลวแตกรณี นำสำนวนการสืบสวนหรือไตสวนของคณะกรรมการ
การเลือกต้ังมาใชเปนหลักในการพิจารณา แตศาลมีอำนาจสั่งไตสวนขอเท็จจริงและพยานหลักฐาน
เพิ่มเตมิ ได
6.4 คดีทต่ี อ งย่ืนคำรองตอ ศาลรฐั ธรรมนญู (มาตรา 43 วรรค 4)

ใหคณะกรรมการการเลือกตั้งหรือผูซ่ึงคณะกรรมการการเลือกตั้งมอบหมายเปนผูมี
อำนาจในการยนื่ คำรองตอศาลรฐั ธรรมนูญ

6.5 การดำเนินคดีแพง คดีอาญา หรือคดีปกครองตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ
นใี้ หค ณะกรรมการการเลอื กตงั้ ไดรับยกเวน คา ฤชาธรรมเนียมทั้งปวง (มาตรา 43 วรรค 5)

เตรียมสอบ กกต

เตรยี มสอบพนักงาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลือกตง้ั ชดุ ที่ 2 92
7. สำนกั งานคณะกรรมการการเลือกต้งั

คณะกรรมการการเลอื กตงั้
บงั คบั บัญชา กำกบั ดูแล รบั ผิดชอบ

นิติบคุ คล สำนกั งานคณะกรรมการการ ไมอยูภ ายใตบ งั คบั กฎหมายแรงงาน

หนาที่และอำนาจ ประธานกรรมการ แตงต้ังตามมติ กกต. คณ ะกรรมการมีอำนาจออก
(1) รับผิดชอบงานธุรการ และ ระเบียบ
ดำเนินการเพื่อใหคณะกรรมการ เลขาธิการคณะกรรมการการเลือกตัง้ (1) ก ารจัด แ บ งส วน งาน ขอ ง
ก า ร เลื อ ก ตั้ ง บ ร ร ลุ ภ า ร กิ จ แ ล ะ สำนักงาน และขอบเขตหนาท่ีของ
หนาทีต่ ามกฎหมาย พนกั งานและลูกจา ง สว นงานดงั กลา ว
(2) อำน วยค วามสะดวก (2) การกำหนดตำแหนง อัตรา
ชวยเหลือ สงเสริม และสนับสนุน หนาทแี่ ละอำนาจเลขาธิการคณะกรรมการการเลอื กตงั้ เงิน เดื อ น เงิน เพ่ิ ม พิ เศ ษ แ ล ะ
การปฏิบัติงานของคณะกรรมการ (1) บรรจุ แตงต้ัง ถอดถอน เลื่อน ลดเงินเดือนหรือ ค า ต อ บ แ ท น ห รื อ สิ ท ธิ แ ล ะ
การเลือกต้ัง กรรมการ และ คาจาง ลงโทษทางวินัยพนักงานหรือลูกจางของ ประโยชนอ่ืน
ผูต รวจการเลอื กต้ัง สำนักงาน ตลอดจนใหพนักงานหรือลูกจางของ (3) การคัดเลือก การบรรจุ การ
(3) ด ำเนิ น ก ารเพ่ื อ ให พ รรค สำนักงานออกจากตำแหนง แตงต้ัง การถอดถอน การกำหนด
ก า ร เมื อ ง เจ า ห น า ที่ พ ร ร ค (2) วางระเบียบเก่ียวกับการปฏิบัติงานของสำนักงาน มาตรฐานทางจริยธรรม การลงโทษ
การเมอื ง และผสู มคั รรบั เลือกตัง้ มี เทาท่ีไมขัดกับระเบียบหรือประกาศ หรือมติของ ทางวินัย การออกจากตำแหนง
ค ว า ม รู ค ว า ม เข า ใ จ ห น า ที่ ต า ม คณะกรรมการ การรองทุกขและการอุทธรณการ
กฎหมาย (3) ห น า ท่ี แ ล ะ อ ำ น า จ ต า ม ที่ ก ำ ห น ด ไ ว ใ น ลงโทษ
พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนหี้ รือกฎหมายอ่ืน (4) การบริหารและจัดการการเงิน
และตามทคี่ ณะกรรมการกำหนด และทรัพยสิน การงบประมาณ
และการพัสดขุ องสำนกั งาน
(5) การจัดสวัสดิการ การจัดใหมี

กองทนุ สำรองเลี้ยงชพี

(6) การกำหนดเคร่อื งแบบและ

การแตง เคร่อื งแบบ

เตรยี มสอบ กกต

เตรยี มสอบพนักงาน สำนักงานคณะกรรมการการเลอื กตัง้ ชดุ ที่ 2 93

8. เลขาธกิ ารคณะกรรมการการเลือกตั้ง (มาตรา 54 - 55)
ใหสำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง มีเลขาธิการ 1 คน และทำหนาท่ีเปนเลขานุการของ

คณะกรรมการ
เปนผูมีความเปนกลางทางการเมือง ไมเคยเปนสมาชิกพรรคการเมืองใดในระยะเวลาสิบปกอน

ไดรับแตงต้ัง มีความซ่ือสัตยสุจริตเปนท่ีประจักษ มีสัญชาติไทยมีอายุไมเกินหกสิบปในวันที่ไดรับแตงตั้ง
และมีอายุไมเกินหกสิบหาปในขณะดำรงตำแหนงเลขาธิการและมีคุณวุฒิ ประสบการณ และความ
เช่ียวชาญอนั จะเปน ประโยชนแกก ารปฏบิ ตั ิงานของสำนกั งานตามท่ีคณะกรรมการกำหนด

มีวาระการดำรงตำแหนงคราวละหาปนับแตวันที่ไดรับแตงตั้ง และอาจไดรับแตงตั้งใหมได แต
ไมเ กนิ สองวาระติดตอ กัน

*ปจ จบุ ัน พันตำรวจเอกจรงุ วิทย ภมุ มา เปน เลขาธกิ ารคณะกรรมการการเลอื กตั้ง

9. ทรัพยสนิ ของสำนักงานคณะกรรมการการเลอื กตัง้ (มาตรา 62 – 64)
9.1 ท่มี าของรายไดและทรพั ยส นิ
(1) เงินอดุ หนุนจากงบประมาณ
(2) รายไดจ ากคาธรรมเนยี มหรอื ทรัพยสินของสำนกั งาน
(3) ทรพั ยสินท่มี ีผูอุทิศใหแกสำนักงาน
(4) ดอกผลหรือผลประโยชนข องเงนิ หรอื ทรัพยสนิ ของสำนกั งาน
(5) รายไดอ ่ืนตามทกี่ ฎหมายกำหนด
รายไดของสำนักงานไมเปนรายไดที่ตองนำสงคลังตามกฎหมายวาดวยเงินคงคลังกฎหมายวา

ดวยวิธีการงบประมาณ หรอื กฎหมายอนื่
9.2 การจัดการทรพั ยสิน
อสังหาริมทรัพยซึ่งสำนักงานไดกรรมสิทธิ์มาไมวาจากการซ้ือ หรือมีผูยกให ใหเปนที่ราชพัสดุ

แตสำนักงานมอี ำนาจในการปกครองดแู ล ใช หรือหาประโยชนไ ด
ทรัพยสินของสำนักงานไมอยูในความรับผิดแหงการบังคับคดี และผูใดจะยกอายุความขึ้นเปน

ขอตอสูมิได
10. บทกำหนดโทษ

หลักการสำคญั ยกเวน เจา พนกั งานทุจรติ ตามขอ 10.3 วรรค 2
1. อัตราโทษจำคุก จะมตี งั้ แตไมเกนิ 6 เดอื น ถึงไมเ กิน 5 ป
2. โทษปรับไมเ กิน 100,000 ถึง ไมเ กิน 200,000 บาท

เตรียมสอบ กกต

เตรยี มสอบพนักงาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง ชุดที่ 2 94

10.1 ผูใดขัดขวางการปฏิบัติหนาที่ของคณะกรรมการ กรรมการ เลขาธิการผูอำนวยการการ
เลือกตั้งประจำจังหวัด ผูตรวจการเลือกต้ัง กรรมการหรืออนุกรรมการซึ่งคณะกรรมการแตงต้ังตาม
พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญน้ี ตองระวางโทษจำคุกไมเกิน 1 ป หรือปรับไมเกิน 20,000 บาท
หรือท้งั จำทงั้ ปรบั

ถาการขัดขวางการปฏิบัติหนาที่ตามวรรคหน่ึง ไดกระทำโดยใชกำลังประทุษรายหรือขูเข็ญวา
จะใชก ำลงั ประทุษรา ย หรอื เพ่อื ใหการเลือกตง้ั มิไดเ ปน ไปโดยสจุ ริตหรอื เทยี่ งธรรม หรอื เปน ไปโดยมิชอบ
ดวยกฎหมาย ผกู ระทำตอ งระวางโทษจำคกุ ไมเกิน 5 ป หรอื ปรบั ไมเกิน 100,000 บาท หรอื ท้ังจำท้งั ปรับ

ผูใดไมปฏิบัติตามคำสั่งของคณะกรรมการท่ีส่ังตามมาตรา 24 (2) ตองระวางโทษจำคุกไมเกิน
6 เดอื น หรือปรับไมเ กนิ 10,000 บาท หรือทงั้ จำทัง้ ปรับ

10.2 ผูใดซึ่งไดลวงรูขอมูลหรือแหลงขอมูลท่ีคณะกรรมการไดรับแจงตามมาตรา 32 (3)
แลวเปดเผยขอ มูลหรือแหลงขอ มูลน้ันตอบุคคลอ่ืนซ่งึ มิใชคณะกรรมการหรือผูมีหนาที่และอำนาจในการ
ใชขอมูลนั้นตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนี้ หรือฝาฝนมาตรา 41 วรรคสาม ตองระวางโทษ
จำคุกไมเ กิน 5 ป หรอื ปรบั ไมเ กิน 100,000 บาท หรอื ทง้ั จำทั้งปรบั

ถาผูกระทำความผิดตามวรรคหนึ่งเปนกรรมการ เลขาธิการ ผูตรวจการเลือกตั้งหรือเปน
พนกั งานหรือลูกจา งของสำนกั งาน ตองระวางโทษเปน 2 เทา ของโทษทีก่ ำหนดไวตามวรรคหน่ึง

10.3 กรรมการ เลขาธิการ ผูอำนวยการการเลือกต้ังประจำจังหวัด ผูตรวจการเลือกต้ัง
กรรมการหรืออนุกรรมการซ่ึงคณะกรรมการแตงตั้งตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญน้ี พนักงาน
และลูกจางของสำนักงาน และเจาหนาที่ท่ีเกี่ยวของกับการเลือกตั้ง ผูใดกระทำการหรือละเวนการ
กระทำอันมิชอบดวยหนาที่ ตองระวางโทษจำคุกไมเกิน 5 ป หรือปรับไมเกิน 100,000 บาท หรือท้ังจำ
ทง้ั ปรบั และใหศาลสัง่ เพกิ ถอนสิทธเิ ลอื กต้ังเปนเวลา 10 ป

ถาการกระทำตามวรรคหน่ึงไดกระทำโดยทุจริตตอ งระวางโทษเชน เดยี วกบั ท่ีบญั ญตั ไิ วในมาตรา
149 แหงประมวลกฎหมายอาญา (จำคุกต้ังแต 5 ป ถึง 20 ป หรือจำคุกตลอดชีวิต และปรับต้ังแต
2,000 ถึง 40,000 บาท หรือประหารชีวิต) และใหศ าลสัง่ เพิกถอนสทิ ธสิ มัครรับเลือกตงั้ ของผนู ้ันดว ย

เตรยี มสอบ กกต

เตรยี มสอบพนกั งาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลือกตั้ง ชุดท่ี 2 95

พระราชบญั ญตั ปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู
วาดวยคณะกรรมการการเลือกต้งั

พ.ศ. 2560

สมเด็จพระเจาอยูห วั มหาวชิราลงกรณบดนิ ทรเทพยวรางกรู
ใหไว ณ วนั ท่ี 8 กนั ยายน พ.ศ. 2560
เปน ปที่ 2 ในรชั กาลปจ จบุ ัน

มาตรา 1 พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนี้เรียกวา “พระราชบัญญัติประกอบ
รฐั ธรรมนญู วา ดว ยคณะกรรมการการเลือกตัง้ พ.ศ. 2560”

มาตรา 2 พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวัน
ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป

มาตรา 3 ใหยกเลิก
(1) พระราชบัญญัติประกอบรฐั ธรรมนญู วาดวยคณะกรรมการการเลอื กต้ัง พ.ศ. 2550
(2) พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยคณะกรรมการการเลือกตั้ง (ฉบับท่ี 2)
พ.ศ. 2554
(3) ประกาศคณะรักษาความสงบแหงชาติ ฉบับที่ 24/2557 เร่ือง ใหพระราชบัญญัติ
ประกอบรัฐธรรมนูญมีผลบังคับใชตอไป ลงวันท่ี 23 พฤษภาคม 2557 เฉพาะในสวนท่ีเกี่ยวกับ
พระราชบัญญัตปิ ระกอบรัฐธรรมนญู วาดว ยคณะกรรมการการเลอื กตง้ั
(4) คำส่ังหัวหนาคณะรักษาความสงบแหงชาติ ท่ี 23/2560 เรื่อง มาตรการแกไข
ปญหาความตอ เนอ่ื งของผูดำรงตำแหนง ในองคกรอสิ ระตามรัฐธรรมนญู ลงวันที่ 5 เมษายน 2560เฉพาะ
ในสวนทีเ่ กี่ยวกบั คณะกรรมการการเลือกตงั้ และกรรมการการเลือกตง้ั
มาตรา 4 ในพระราชบญั ญตั ิประกอบรัฐธรรมนูญนี้
“คณะกรรมการ” หมายความวา คณะกรรมการการเลอื กตั้ง
“กรรมการ” หมายความวา กรรมการการเลือกต้ัง และใหหมายความรวมถึงประธาน
กรรมการการเลอื กต้ังดวย
“กฎหมายเกี่ยวกับการเลือกตั้งและพรรคการเมือง” หมายความวา กฎหมายวาดวย
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎร กฎหมายวาดวยการไดมาซึ่งสมาชิกวุฒิสภา กฎหมายวาดวย
คณะกรรมการการเลือกต้ัง กฎหมายวาดวยพรรคการเมือง กฎหมายวาดวยการเลือกต้ังสมาชิกสภา
ทองถนิ่ หรือผบู รหิ ารทองถนิ่ และใหห มายความรวมถงึ กฎหมายวา ดว ยการออกเสียงประชามติดวย

เตรียมสอบ กกต

เตรียมสอบพนักงาน สำนักงานคณะกรรมการการเลอื กตงั้ ชุดท่ี 2 96

“เลือกตั้ง” หมายความวา การเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎร สมาชิกสภาทองถิ่น
หรือผูบริหารทองถิ่น และใหหมายความรวมถึงการเลือกสมาชิกวุฒิสภา และการออกเสียงประชามติ
ดวย แลว แตก รณี

“ผูสมคั ร” หมายความวา ผูสมัครรับเลือกต้งั เปน สมาชกิ สภาผแู ทนราษฎร สมาชิกสภา
ทอ งถิ่นหรือผบู รหิ ารทอ งถิน่ และใหห มายความรวมถงึ ผสู มัครรับเลอื กเปนสมาชกิ วุฒสิ ภาดวย แลว แตกรณี

“หนวยเลือกต้ัง” หมายความวา หนวยเลือกต้ังตามกฎหมายวาดวยการเลือกตั้ง
สมาชิกสภาผูแทนราษฎร หนวยเลือกตั้งตามกฎหมายวาดวยการเลือกต้ังสมาชิกสภาทองถิ่นหรือ
ผูบริหารทองถ่ิน และใหหมายความรวมถึงหนวยเลือกตามกฎหมายวาดวยการไดมาซึ่งสมาชิกวุฒิสภา
และหนวยออกเสียงประชามติตามกฎหมายวาดวยการออกเสียงประชามตดิ ว ย แลวแตกรณี

“จงั หวัด” หมายความรวมถงึ กรงุ เทพมหานครดว ย
“หนวยงานของรัฐ” หมายความวา กระทรวง ทบวง กรม ราชการสวนภูมิภาค
ราชการสว นทอ งถนิ่ รัฐวสิ าหกจิ และหนว ยงานอนื่ ของรัฐ
“สำนักงาน” หมายความวา สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง
“เลขาธิการ” หมายความวา เลขาธิการคณะกรรมการการเลอื กตงั้
มาตรา 5 ในกรณีที่พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญน้ีมิไดกำหนดไวเปนประการ
อ่ืนการใดที่กำหนดใหแจง ย่ืน หรือสงหนังสือหรือเอกสารใหบุคคลใดเปนการเฉพาะ ถาไดแจง ยื่น หรือ
สงหนังสือหรือเอกสารใหบุคคลนั้น ณ ภูมิลำเนาหรือท่ีอยูท่ีปรากฏตามหลักฐานทางทะเบียนตาม
กฎหมายวาดวยการทะเบียนราษฎร ใหถือวาไดแจง ย่ืน หรือสงโดยชอบดวยพระราชบัญญัติประกอบ
รัฐธรรมนูญน้ีแลวและในกรณีที่พระราชบัญญัตปิ ระกอบรัฐธรรมนูญนี้กำหนดใหป ระกาศหรอื เผยแพรใ ห
ประชาชนทราบเปนการท่ัวไป ใหถือวาการประกาศหรือเผยแพรในระบบเทคโนโลยีสารสนเทศหรือ
ระบบหรือวิธีการอ่ืนใดที่ประชาชนทั่วไปสามารถเขาถึงไดโดยสะดวก เปนการดำเนินการโดยชอบดวย
พระราชบญั ญัติประกอบรัฐธรรมนูญน้ีแลว
ใน ก ร ณี ที่ พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ ป ร ะ ก อ บ รั ฐ ธ ร ร ม นู ญ น้ี ก ำ ห น ด ให ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ห รื อ
เลขาธิการมีอำนาจกำหนดหรือมีคำส่ังเร่ืองใด ถามิไดกำหนดวิธีการไวเปนการเฉพาะ ใหคณะกรรมการ
หรือเลขาธิการกำหนดโดยทำเปนประกาศ ระเบียบ หรือคำส่ัง แลวแตกรณี และถาประกาศ ระเบียบ
หรอื คำส่ังน้ันใชบ ังคับแกบคุ คลทว่ั ไป ใหประกาศในราชกิจจานุเบกษา และใหดำเนนิ การประกาศตาม
วรรคหน่ึงดวยทั้งนี้ ถาประกาศ ระเบียบ หรือคำสั่งใดมีการกำหนดขั้นตอนการดำเนินงานไว
คณะกรรมการหรือเลขาธกิ ารตองกำหนดระยะเวลาการดำเนนิ งานในแตละข้ันตอนใหชดั เจนดว ย
ใหสำนักงานมีหนาที่เปด เผยขอมูลเกย่ี วกับการเลือกตง้ั ทมี่ ิไดมีผลเปน การเปดเผยถึงตัว
บุคคลผูล งคะแนนเลอื กตง้ั เปนการเฉพาะและมิไดห ามเปดเผยตามพระราชบัญญัตปิ ระกอบรฐั ธรรมนูญน้ี
เพือ่ ใหป ระชาชนสามารถเขา ถึงขอมลู ดงั กลาวทางระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศได
มาตรา 6 ในการปฏิบัติหนาท่ี คณะกรรมการตองใหความรวมมือและความชวยเหลือ
องคกรอสิ ระทุกองคก ร ในกรณีท่คี ณะกรรมการเห็นวามีผูกระทำการอันไมชอบดวยกฎหมายอันอยใู น

เตรียมสอบ กกต

เตรียมสอบพนกั งาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตง้ั ชดุ ที่ 2 97

หนาท่ีและอำนาจขององคกรอิสระอื่น ใหคณะกรรมการมีหนังสือแจงองคกรอิสระท่ีเก่ียวของเพ่ือ
ดำเนนิ การตามหนาทแี่ ละอำนาจตอไปโดยไมช กั ชา

ในกรณีท่ีคณะกรรมการเห็นวาการกระทำที่ทำใหการเลือกต้ังมิไดเปนไปโดยสุจริตหรือ
เท่ียงธรรมหรือมิชอบดวยกฎหมาย อาจเขาลักษณะเปนการกระทำความผิดท่ีอยูในหนาที่และอำนาจ
ขององคกรอิสระอ่ืนดวยใหคณะกรรมการปรึกษาหารือรวมกับองคกรอิสระอ่ืนที่เกี่ยวของเพ่ือกำหนด
แนวทางในการดำเนินงานรวมกันเพ่ือใหการปฏิบัติหนาท่ีของแตละองคกรเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ
และไมซำ้ ซอนกัน

เพื่อประโยชนในการดำเนินการตามวรรคสอง ใหประธานกรรมการการเลือกต้ังมี
อำนาจเชิญประธานองคกรอิสระอ่ืนมารวมประชุมเพ่ือหารือและกำหนดแนวทางรวมกันได และให
องคกรอิสระทุกองคกรปฏบิ ตั ติ ามแนวทางดงั กลาว

มาตรา 7 ใหประธานกรรมการการเลือกต้ังรักษาการตามพระราชบัญญัติประกอบ
รฐั ธรรมนญู น้ี

หมวด 1
คณะกรรมการการเลอื กตั้ง
มาตรา 8 คณะกรรมการการเลือกต้ังประกอบดวยกรรมการจำนวนเจ็ดคนซ่ึง
พระมหากษตั รยิ ทรงแตง ต้ังตามคำแนะนำของวฒุ ิสภาจากบุคคลดังตอไปนี้
(1) ผูมีความรูความเช่ียวชาญในสาขาวิชาการตาง ๆ ท่ีจะยังประโยชนแกการ
บริหารและจดั การการเลอื กตงั้ ใหเปน ไปโดยสจุ ริตและเท่ียงธรรม ซ่ึงไดรบั การสรรหาจากคณะกรรมการ
สรรหาจำนวนหา คน จากผูซึง่ มคี ุณสมบัติอยางหนึง่ อยา งใด ดังตอไปน้ี
(ก) รับราชการหรือเคยรับราชการในตำแหนงไมต่ำกวาอธิบดีหรือหัวหนาสวน
ราชการท่เี ทียบเทา มาแลวไมน อยกวา หา ป
(ข) เปนหรือเคยเปนผูดำรงตำแหนงผูบริหารสูงสุดของรัฐวิสาหกิจหรือหนวยงาน
อื่นของรฐั ทไี่ มเปน สว นราชการหรือรัฐวสิ าหกิจมาแลว ไมนอยกวา หาป
(ค) ดำรงตำแหนงหรอื เคยดำรงตำแหนงศาสตราจารยของมหาวิทยาลัยในประเทศ
ไทยมาแลวไมนอยกวาหา ป และยงั มผี ลงานทางวิชาการเปนท่ปี ระจักษ
(ง) เปนหรือเคยเปนผูประกอบวิชาชีพท่ีมีกฎหมายรับรองการประกอบวิชาชีพโดย
ประกอบวิชาชีพอยางสม่ำเสมอและตอเนื่องมาเปนเวลาไมนอยกวายี่สิบปนับถึงวันท่ีไดรับการเสนอช่ือ
และไดรับการรับรองการประกอบวชิ าชพี จากองคก รวิชาชพี นัน้
(จ) เปนผูมีความรูความชำนาญและประสบการณทางดานการบริหาร การเงิน
การคลัง การบัญชี หรือการบริหารกจิ การวิสาหกิจในระดับไมต่ำกวา ผูบริหารระดับสูงของบริษัทมหาชน
จำกัดมาแลวไมนอยกวาสบิ ป
(ฉ) เคยเปนผดู ำรงตำแหนง ตาม (ก) (ข) (ค) หรือ (จ) รวมกันไมนอ ยกวาสิบป

เตรยี มสอบ กกต


Click to View FlipBook Version