The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

130024_เพจ-เตรียมสอบ-กกต.64-ชุดที่-2-สงวนลิขสิทธิ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pratheerapong2519, 2021-03-22 22:15:35

130024_เพจ-เตรียมสอบ-กกต.64-ชุดที่-2-สงวนลิขสิทธิ์

130024_เพจ-เตรียมสอบ-กกต.64-ชุดที่-2-สงวนลิขสิทธิ์

เตรยี มสอบพนกั งาน สำนักงานคณะกรรมการการเลอื กตง้ั ชดุ ท่ี 2 98

(ช) เปนผูทำงานหรือเคยทำงานในภาคประชาสังคมมาแลวเปนเวลาไมนอยกวา
ยีส่ ิบปต ามทค่ี ณะกรรมการสรรหากำหนด

(2) ผูมีความรู ความเชี่ยวชาญ และประสบการณดานกฎหมาย และเคยดำรง
ตำแหนงไมต ่ำกวา อธบิ ดีผพู ิพากษา หรือตำแหนงไมต ่ำกวาอธิบดีอัยการมาแลว เปนเวลาไมน อ ยกวาหา
ป ซงึ่ ไดรบั การคัดเลอื กจากทป่ี ระชุมใหญศาลฎีกาจำนวนสองคน

มาตรา 9 นอกจากคุณสมบัตติ ามมาตรา 8 แลว กรรมการตอ งมคี ณุ สมบตั ิ ดงั ตอไปนีด้ ว ย
(1) มีสญั ชาตไิ ทยโดยการเกิด
(2) มอี ายุไมต ่ำกวาสีส่ ิบหาป แตไมเกนิ เจด็ สิบป
(3) สำเรจ็ การศกึ ษาไมต่ำกวา ปริญญาตรีหรือเทยี บเทา
(4) มคี วามซอ่ื สตั ยส ุจรติ เปน ทปี่ ระจักษ
(5) มีสุขภาพที่สามารถปฏิบตั หิ นา ที่ไดอ ยางมปี ระสทิ ธิภาพ
มาตรา 10 กรรมการตองไมม ีลกั ษณะตอ งหาม ดังตอไปนี้
(1) เปนหรือเคยเปน ตุลาการศาลรฐั ธรรมนญู หรือผูดำรงตำแหนง ในองคกรอสิ ระใด
(2) ติดยาเสพติดใหโทษ
(3) เปน บคุ คลลม ละลายหรอื เคยเปนบุคคลลม ละลายทจุ รติ
(4) เปนเจาของหรอื ผถู ือหนุ ในกิจการหนังสอื พมิ พห รอื ส่ือมวลชนใด ๆ
(5) เปน ภกิ ษุ สามเณร นกั พรต หรอื นักบวช
(6) อยูใ นระหวา งถกู เพิกถอนสทิ ธเิ ลอื กตงั้ ไมวาคดนี นั้ จะถึงทส่ี ดุ แลวหรือไม
(7) วิกลจรติ หรือจิตฟนเฟอ นไมสมประกอบ
(8) อยูระหวางถูกระงับการใชสิทธิสมัครรับเลือกต้ังเปนการช่ัวคราวหรือถูกเพิกถอน
สิทธสิ มคั รรับเลือกต้งั
(9) ตองคำพพิ ากษาใหจ ำคกุ และถูกคมุ ขังอยโู ดยหมายของศาล
(10) เคยถูกสั่งใหพนจากราชการ หนวยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจเพราะทุจริตตอ
หนา ที่หรอื ถือวากระทำการทุจรติ หรอื ประพฤตมิ ชิ อบในวงราชการ
(11) เคยตองคำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลอันถึงที่สุดใหทรัพยสินตกเปนของแผนดิน
เพราะร่ำรวยผิดปกติ หรือเคยตองคำพิพากษาอันถึงที่สุดใหลงโทษจำคุกเพราะกระทำความผิดตาม
กฎหมายวา ดวยการปอ งกันและปราบปรามการทุจริต
(12) เคยตองคำพิพากษาอันถึงที่สุดวากระทำความผิดตอตำแหนงหนาท่ีราชการหรือ
ตอตำแหนงหนาที่ในการยุติธรรม หรือกระทำความผิดตามกฎหมายวาดวยความผิดของพนักงานใน
องคการหรือหนวยงานของรัฐ หรือความผิดเก่ียวกับทรัพยท่ีกระทำโดยทุจริตตามประมวลกฎหมาย
อาญาความผิดตามกฎหมายวาดวยการกูยืมเงินท่ีเปนการฉอโกงประชาชน กฎหมายวาดวยยาเสพติดใน
ความผิดฐานเปนผูผลิต นำเขา สงออก หรือผูคา กฎหมายวาดวยการพนันในความผิดฐานเปนเจามือ

เตรียมสอบ กกต

เตรียมสอบพนักงาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลอื กต้งั ชุดท่ี 2 99

หรอื เจาสำนักกฎหมายวาดวยการปองกันและปราบปรามการคามนุษย หรือกฎหมายวาดวยการปองกัน
และปราบปรามการฟอกเงนิ ในความผดิ ฐานฟอกเงนิ

(13) เคยตองคำพพิ ากษาอันถึงทส่ี ดุ วากระทำการอนั เปน การทจุ รติ ในการเลอื กต้งั
(14) อยใู นระหวางตอ งหา มมใิ หด ำรงตำแหนง ทางการเมอื ง
(15) เคยพนจากตำแหนงเพราะศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยวามีการเสนอ การแปรญัตติ
หรือการกระทำดวยประการใด ๆ ที่มีผลใหสมาชิกสภาผูแทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา หรือกรรมาธิการมี
สวนไมวา โดยทางตรงหรือทางออมในการใชงบประมาณรายจาย
(16) เคยพนจากตำแหนงเพราะศาลฎีกาหรือศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผูดำรง
ตำแหนงทางการเมืองมีคำพิพากษาวาเปนผูมีพฤติการณร่ำรวยผิดปกติ หรือกระทำความผิดฐานทุจริต
ตอหนาท่ีหรือจงใจปฏิบัติหนาท่ีหรือใชอำนาจขัดตอบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญหรือกฎหมาย หรือฝาฝน
หรือไมปฏบิ ตั ิตามมาตรฐานทางจริยธรรมอยางรา ยแรง
(17) เคยไดรับโทษจำคุกโดยคำพิพากษาถึงที่สุดใหจำคุก เวนแตในความผิดอันได
กระทำโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ
(18) เปนหรือเคยเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา ขาราชการการเมือง
หรอื สมาชิกสภาทองถนิ่ หรือผบู รหิ ารทอ งถิน่ ในระยะสิบปกอนเขา รบั การคดั เลอื กหรือสรรหา
(19) เปนหรือเคยเปนสมาชิกหรือผูดำรงตำแหนงอื่นของพรรคการเมืองในระยะสิบป
กอ นเขา รับการคัดเลือกหรือสรรหา
(20) เปน ขา ราชการซ่ึงมตี ำแหนง หรือเงินเดอื นประจำ
(21) เปนพนักงานหรือลูกจางของหนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือราชการสวน
ทองถิ่นหรอื กรรมการหรอื ทป่ี รกึ ษาของหนว ยงานของรัฐหรือรฐั วสิ าหกจิ
(22) เปนผูดำรงตำแหนงใดในหางหุนสวนบริษัท หรือองคกรที่ดำเนินธุรกิจโดยมุงหาผล
กำไรหรือรายไดม าแบงปนกนั หรือเปน ลูกจา งของบุคคลใด
(23) เปน ผปู ระกอบวิชาชพี อิสระ
(24) มีพฤติการณอันเปนการฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามมาตรฐานทางจริยธรรมอยาง
รายแรง
มาตรา 11 เม่ือมีกรณีท่ีจะตองสรรหาผูสมควรไดรับการแตงตั้งเปนกรรมการตาม
มาตรา 8 (1) ใหเปนหนา ท่ีและอำนาจของคณะกรรมการสรรหา ซ่งึ ประกอบดวย
(1) ประธานศาลฎีกา เปนประธานกรรมการ
(2) ประธานสภาผแู ทนราษฎร และผนู ำฝายคา นในสภาผูแ ทนราษฎร เปนกรรมการ
(3) ประธานศาลปกครองสงู สดุ เปน กรรมการ
(4) บุคคลซึ่งศาลรัฐธรรมนูญและองคกรอิสระท่ีมิใชคณะกรรมการการเลือกต้ัง แตงต้ัง
จากผมู คี ณุ สมบัติตามมาตรา 8 และมาตรา 9 และไมมลี ักษณะตอ งหามตามมาตรา 10 และไมเคยปฏิบตั ิ
หนาทใี่ ด ๆ ในศาลรัฐธรรมนญู หรือองคก รอสิ ระ องคก รละหนง่ึ คน เปน กรรมการ

เตรียมสอบ กกต

เตรียมสอบพนักงาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลือกต้งั ชุดที่ 2 100

ใหเลขาธิการวุฒิสภาเปนเลขานุการของคณะกรรมการสรรหา และใหสำนักงาน
เลขาธิการวุฒสิ ภาปฏบิ ัติหนา ทีเ่ ปนหนวยธรุ การของคณะกรรมการสรรหา

...

ผูซึ่งไดรับแตงต้ังใหเปนกรรมการสรรหาตาม (4) แลว จะเปนกรรมการสรรหาใน
คณะกรรมการสรรหาสำหรับศาลรฐั ธรรมนูญหรือองคกรอิสระอน่ื ในขณะเดยี วกนั มไิ ด

ใหประธานกรรมการสรรหา และกรรมการสรรหาเปนเจาพนักงานตามประมวล
กฎหมายอาญา

มาตรา 12 ในการสรรหากรรมการ ใหคณะกรรมการสรรหาปรึกษาหารอื เพ่ือคดั สรร
ใหไดบุคคลซึ่งมีความรับผิดชอบสูง มีความกลาหาญในการปฏิบัติหนาที่ มีพฤติกรรมทางจริยธรรมเปน
ตัวอยางที่ดีของสังคม และไมมีพฤติการณยอมตนอยูใตอาณัติของพรรคการเมืองใด ๆ รวมตลอดท้ังมี
ทัศนคติท่ีเหมาะสมในการปฏิบัติหนาท่ีใหเกิดผลสำเร็จ โดยนอกจากการประกาศรับสมัครแลวให
คณะกรรมการสรรหาดำเนินการสรรหาจากบุคคลซ่ึงมีความเหมาะสมท่ัวไปไดดวยแตตองไดรับความ
ยินยอมของบุคคลน้ัน ทั้งนี้ โดยคำนึงถึงความหลากหลายของประสบการณที่แตกตางกันในแตละดาน
ประกอบดวย และเพ่ือประโยชนแหงการน้ี ใหคณะกรรมการสรรหาใชวิธีการสัมภาษณหรือใหแสดง
ความคิดเห็นในเร่ืองที่เก่ียวกับหนาที่และอำนาจของคณะกรรมการ หรือวิธีการอื่นใดท่ีเหมาะสมเพ่ือ
ประกอบการพิจารณาดวย

ใหนำความในวรรคหนึ่งมาใชบังคับแกการคัดเลือกผูสมควรไดรับแตงต้ังเปนกรรมการ
ของท่ีประชมุ ใหญศาลฎีกาดว ยโดยอนโุ ลม

ในการสรรหาหรือคัดเลือก ใหใชวิธีลงคะแนนโดยเปดเผยและใหกรรมการสรรหา
แตละคนบันทกึ เหตผุ ลในการเลอื กไวด วย

ผูซึ่งจะไดรับการสรรหาตองไดรับคะแนนเสียงถึงสองในสามของจำนวนทั้งหมด
เทาท่ีมอี ยขู องคณะกรรมการสรรหา

ผูซ่ึงจะไดรับการคัดเลือกจากที่ประชุมใหญศาลฎีกาตองไดรับคะแนนเสียงเกินกึ่ง
หน่ึงของจำนวนทงั้ หมดเทา ท่มี ีอยขู องผพู ิพากษาในศาลฎีกา

ถาไมม ีบุคคลใดไดร ับคะแนนเสียงตามวรรคสีห่ รอื วรรคหา หรือมีแตยังไมครบจำนวนท่ี
จะตองสรรหาหรือคัดเลือก ใหม ีการลงคะแนนใหมส ำหรับผูไดค ะแนนไมถึงสองในสามหรอื ไมเกินกง่ึ หน่ึง
แลว แตก รณี ถายังไดไมครบตามจำนวนใหม กี ารลงคะแนนอีกครง้ั หนึง่ ในกรณีทก่ี ารลงคะแนนครั้งหลังน้ี
ยงั ไดบุคคลไมค รบตามจำนวนท่ีจะตองสรรหาหรอื คัดเลือก ใหด ำเนนิ การสรรหาหรือคดั เลือกใหมส ำหรับ
จำนวนทยี่ งั ขาดอยู

เมื่อคณะกรรมการสรรหาและท่ีประชุมใหญศาลฎีกาสรรหาหรือคัดเลือกไดบุคคลใด
แลวใหเสนอชื่อไปยังวุฒิสภาเพื่อพิจารณาใหความเห็นชอบ โดยผูไดรับการสรรหาหรือคัดเลือกน้ันตอง
ไดรับความเห็นชอบจากวุฒิสภาดวยคะแนนเสียงไมนอยกวากึ่งหน่ึงของจำนวนสมาชิกท้ังหมดเทาท่ีมีอยู
ของวฒุ ิสภา

เตรียมสอบ กกต

เตรียมสอบพนักงาน สำนักงานคณะกรรมการการเลอื กตั้ง ชุดท่ี 2 101

ใน ก ร ณี ที่ วุ ฒิ ส ภ า ไม ให ค ว า ม เห็ น ช อ บ ผู ได รั บ ก า ร ส ร ร ห า ห รื อ คั ด เลื อ ก ร า ย ใด
ใหดำเนินการสรรหาหรือคัดเลือกบุคคลใหมแทนผูนั้น แลวเสนอตอวุฒิสภาเพื่อใหความเห็นชอบตอไป
โดยผูซ ึง่ ไมไดรบั ความเหน็ ชอบจากวฒุ สิ ภาในครง้ั นจ้ี ะเขารับการสรรหาในคร้งั ใหมน ไ้ี มไ ด

เม่ือมีผูไดรับความเห็นชอบจากวุฒิสภาแลว หากเปนกรณีท่ีประธานกรรมการพนจาก
ตำแหนงดวยใหผูไดรับความเห็นชอบประชุมรวมกับกรรมการซ่ึงยังไมพนจากตำแหนง ถามีเพื่อเลือก
กันเองใหคนหน่ึงเปนประธานกรรมการแลวแจงผลใหประธานวุฒิสภาทราบ ในกรณีท่ีผูซ่ึงวุฒิสภาให
ความเห็นชอบยังไดไมครบจำนวนท่ีตองสรรหาหรือคัดเลอื ก แตเมื่อรวมกับกรรมการซึ่งยังดำรงตำแหนง
อยู ถามีจำนวนถึงหาคนก็ใหดำเนินการประชุมเพื่อเลือกประธานกรรมการได และเมื่อโปรดเกลาโปรด
กระหมอมแตงตั้งแลวใหคณะกรรมการดำเนินการตามหนาท่ีและอำนาจตอไปพลางกอนได โดยใน
ระหวางนั้นใหถือวาคณะกรรมการประกอบดวยกรรมการเทาที่มีอยู และใหดำเนินการสรรหาหรือ
คัดเลอื กเพมิ่ เติมใหครบตามจำนวนที่ตอ งสรรหาหรอื คดั เลือกตอ ไปโดยเร็ว

ในการสรรหาเพิ่มเติมตามวรรคเกา ใหเปนหนาที่และอำนาจของคณะกรรมการสรรหา
ชดุ เดิมเปน ผดู ำเนินการ

ใหประธานวุฒิสภานำความกราบบังคมทูลเพ่ือทรงแตงตั้งประธานกรรมการและ
กรรมการและเปน ผลู งนามรับสนองพระบรมราชโองการ

มาตรา 13 ผูไดรับความเห็นชอบจากวุฒิสภาใหเปนกรรมการโดยท่ียังมิไดพนจาก
ตำแหนงตามมาตรา 10 (20) (21) หรอื (22) หรือยังประกอบวิชาชีพตามมาตรา 10 (23) อยู ตองแสดง
หลักฐานวาไดลาออกหรือเลิกประกอบวิชาชีพดังกลาวแลวนั้นตอประธานวุฒิสภาภายในเวลาที่ประธาน
วุฒิสภากำหนด ซ่ึงตองเปนเวลากอนที่ประธานวุฒิสภาจะนำความกราบบังคมทูลเพื่อทรงแตงตั้ง
กรรมการ ในกรณีท่ีไมไดแสดงหลักฐานภายในกำหนดเวลาดังกลาว ใหถือวาผูนั้นสละสิทธิ และให
ดำเนินการสรรหาหรอื คัดเลือกใหม และใหนำความในมาตรา 12 วรรคสบิ มาใชบังคับโดยอนโุ ลม

มาตรา 14 ในกรณีที่มีปญหาเกี่ยวกับคุณสมบัติหรือลักษณะตองหามของผูสมัคร
ผูไดรับการคัดเลือกหรือไดรับการสรรหา ใหเปนหนาที่และอำนาจของคณะกรรมการสรรหาเปนผูวินิจฉัย
คำวนิ ิจฉัยของคณะกรรมการสรรหาใหเปนท่ีสดุ

การเสนอเรื่องเพ่ือใหคณะกรรมการสรรหาวินิจฉัยตามวรรคหน่ึงใหเปนไปตาม
หลักเกณฑ และวธิ กี ารท่คี ณะกรรมการสรรหากำหนด

การวนิ จิ ฉยั ใหใ ชว ธิ ลี งคะแนนโดยเปด เผย
ใหนำความในวรรคหน่ึง วรรคสอง และวรรคสาม มาใชบังคับแกกรณีท่ีมีปญหา
เกี่ยวกับคุณสมบัติและลักษณะตองหามของกรรมการสรรหาดวยโดยอนุโลม แตกรรมการสรรหาที่ถูก
กลาวหาวา ขาดคุณสมบัติหรือมีลกั ษณะตอ งหามจะอยูใ นท่ปี ระชุมในขณะพิจารณาและวนิ จิ ฉยั มิได
มาตรา 15 กรรมการมีวาระการดำรงตำแหนงเจ็ดปนับแตวันท่ีพระมหากษัตริย
ทรงแตงต้ังและใหดำรงตำแหนงไดเ พียงวาระเดยี ว

เตรียมสอบ กกต

เตรยี มสอบพนักงาน สำนักงานคณะกรรมการการเลอื กตง้ั ชดุ ที่ 2 102

ในกรณีท่ีกรรมการพนจากตำแหนงตามวาระ ใหกรรมการที่พนจากตำแหนงปฏิบัติ
หนา ที่ตอ ไปจนกวา จะมีกรรมการใหมแ ทน

มาตรา 16 นอกจากการพนจากตำแหนง ตามวาระ กรรมการพนจากตำแหนง เมอ่ื
(1) ตาย
(2) ลาออก
(3) ขาดคุณสมบัติตามมาตรา 8 หรอื มาตรา 9 หรือมลี กั ษณะตอ งหา มตามมาตรา 10
เมื่อประธานกรรมการพนจากตำแหนงประธานกรรมการ ใหพ นจากตำแหนงกรรมการดวย
เมื่อมีปญหาวากรรมการผูใดพนจากตำแหนงตาม (2) หรือ (3) หรือไม ใหเปนหนาที่
และอำนาจของคณะกรรมการสรรหาเปน ผวู นิ จิ ฉัย คำวินจิ ฉยั ของคณะกรรมการสรรหาใหเปนที่สดุ
ในกรณีที่ไมมีผูดำรงตำแหนงประธานกรรมการ หรือมีแตไมอาจปฏิบัติหนาท่ีไดให
กรรมการเลอื กกรรมการคนหนึ่งทำหนา ทแี่ ทนประธานกรรมการ
ในระหวางท่ีกรรมการพนจากตำแหนง และยังไมมีการแตงตั้งกรรมการแทนตำแหนงที่
วางใหคณะกรรมการเทาที่เหลืออยูปฏิบัติหนาที่ตอไปได แตถามีกรรมการเหลืออยูไมถึงสี่คน
ใหกระทำไดแ ตเ ฉพาะการท่ีจำเปน อันไมอ าจหลกี เลย่ี งได
ในกรณีที่กรรมการจะพนจากตำแหนงตามวาระ ใหดำเนินการสรรหาหรือคัดเลือก
กรรมการใหมภายในหนึ่งรอยยี่สิบวันกอนวันท่ีกรรมการครบวาระ แตถากรรมการพนจากตำแหนงดวย
เหตุอื่นนอกจากการพนจากตำแหนงตามวาระ ใหดำเนินการสรรหาหรือคัดเลือกกรรมการภายในเกาสิบ
วันนบั แตว ันที่ตำแหนงวา งลง
มาตรา 18 ภายใตบังคับมาตรา 16 วรรคหา การประชุมของคณะกรรมการตองมี
กรรมการมาประชมุ ไมนอ ยกวา หาคน จึงจะเปนองคป ระชุม ในกรณที ก่ี รรมการคนใดไมอาจมาประชุมไดใ ห
จดแจง เหตุน้ันไวในรายงานการประชมุ
การลงมติในการประชุมของคณะกรรมการใหใ ชคะแนนเสียงขา งมาก โดยประธานในท่ี
ประชมุ และกรรมการท่มี าประชุมตอ งลงคะแนนเสียงเพือ่ มมี ติ และใหก รรมการคนหนึ่งมเี สียงหนงึ่ ในการ
ลงคะแนน ในกรณีมีคะแนนเสียงเทากัน ใหประธานในที่ประชุมมีสิทธิออกเสียงเพ่ิมขึ้นอีกเสียงหน่ึงเปน
เสยี งชข้ี าด
การไมเขาประชุมหรือไมอยูในท่ีประชุมตามวรรคสองโดยไมมีเหตุอันสมควร ใหถือวา
เปน การจงใจฝาฝน หรอื ไมป ฏบิ ตั ิตามมาตรฐานทางจรยิ ธรรม
ใหประธานกรรมการเปนประธานในท่ีประชุม ถาประธานกรรมการไมมาประชุม
ใหกรรมการท่ีมาประชุมเลือกกรรมการคนหน่ึงเปนประธานในที่ประชุม ท้ังน้ี หลักเกณฑและวิธีการ
ประชุมของคณะกรรมการใหเ ปนไปตามระเบียบทค่ี ณะกรรมการกำหนด
มาตรา 19 ในกรณีที่คณะกรรมการตอ งมมี ติวินิจฉัยในเรอ่ื งดังตอไปนี้ กรรมการทุกคน
ท่ีอยูในที่ประชุมตองลงมติ การงดออกเสียงหรือการออกเสียงท่ีแตกตางไปจากประเด็นที่จะตองลง
มตจิ ะกระทำมไิ ดแ ตไมเ ปน การตดั สิทธทิ จี่ ะลาออกจากตำแหนงกอ นมีการลงมติ

เตรยี มสอบ กกต

เตรียมสอบพนกั งาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลือกตงั้ ชุดท่ี 2 103

(1) การวินิจฉัยวาการเลือกต้ังใดมิไดเปนไปโดยสุจริตหรือเท่ียงธรรม หรือเปนไปโดยมิ
ชอบดวยกฎหมาย

(2) การใหค วามเห็นชอบคำวินิจฉยั ตามมาตรา 20 วรรคสอง
(3) การแตง ตง้ั ผูตรวจการเลอื กตั้งตามมาตรา 30
(4) การสั่งระงับการดำเนินการอันจะทำใหการเลือกตั้งมิไดเปนไปโดยสุจริตหรือเท่ียง
ธรรมหรอื เปนไปโดยมิชอบดว ยกฎหมายตามมาตรา 33
(5) การสงั่ ระงับสิทธิสมัครรับเลือกต้ังตามมาตรา 26 วรรคสาม หรือมาตรา 41
(6) การย่ืนคำรองตอศาลฎีกาเพื่อส่ังเพิกถอนสิทธิสมัครรับเลือกตั้ง หรือเพิกถอนสิทธิ
เลือกตั้งของผูสมัครรับเลือกต้ังตามกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทน
ราษฎรหรือกฎหมายประกอบรฐั ธรรมนูญวาดว ยการไดมาซ่งึ สมาชิกวุฒิสภา
(7) การส่ังใหคณะกรรมการบริหารพรรคการเมืองพนจากตำแหนงทั้งคณะ และการ
วินิจฉัยวาผูสมัครรับเลือกตั้งผูใดรับเงนิ ทรัพยสิน หรือประโยชนอ่ืนเพ่ือประโยชนในการดำเนินกิจกรรม
ทางการเมือง ทั้งน้ี ตามกฎหมายประกอบรฐั ธรรมนูญวาดวยพรรคการเมือง
(8) เร่ืองอ่ืนใดท่ีคณะกรรมการมีมติกำหนดดวยคะแนนสองในสามของกรรมการทั้งหมด
เทาทีม่ อี ยู
มาตรา 20 ในการลงมติของกรรมการตามมาตรา 19 หรือในเร่ืองอ่ืนใดท่ี
คณะกรรมการกำหนด ใหกรรมการลงมติเปนหนังสือตามแบบท่ีคณะกรรมการกำหนด ซ่ึงอยางนอยตอง
มีชื่อเรื่องและประเด็นที่ลงมติ มติที่ลง และลายมือชื่อของกรรมการที่ลงมติ และใหเลขาธิการเก็บ
รวบรวมไวเปนหลักฐาน
มติที่ไดดำเนินการตามวรรคหนึ่งแลว ใหดำเนินการตอไปไดโดยไมตองรอรับรอง
รายงานการประชุมของคณะกรรมการ และในกรณีท่ีตองทำคำวินิจฉัย เม่ือคณะกรรมการใหความ
เห็นชอบรางคำวินิจฉัยนั้นและประธานกรรมการหรือผูทำหนาที่แทนประธานกรรมการไดลงนามในคำ
วินิจฉัยนั้นแลวใหถอื วาเปน คำวนิ ิจฉัยของคณะกรรมการ
การใหความเห็นชอบตามวรรคสอง คณะกรรมการจะมอบหมายใหกรรมการคนหนึ่ง
หรอื หลายคนเปน ผูพจิ ารณาใหความเหน็ ชอบแทนคณะกรรมการกไ็ ด
คำวนิ จิ ฉยั ตามวรรคสองใหเผยแพรใหประชาชนทราบเปนการท่วั ไป
ในกรณีที่คณะกรรมการพนจากตำแหนงหรือไมอาจปฏิบัติหนาที่ไดท้ังคณะกอนลงนามใน
คำวินิจฉัย ใหเลขาธิการบันทึกเหตุดังกลาวไวในคำวินิจฉัยและใหเลขาธิการเปนผูลงนามในคำวินิจฉัยนั้น
แทน เมอื่ เลขาธิการลงนามในคำวนิ ิจฉยั ดังกลา วแลว ใหค ำวนิ ิจฉัยนนั้ เปน อนั ใชบ ังคับได
มาตรา 21 กรรมการตองปฏิบัติหนาท่ีเต็มเวลา และการปฏิบัติหนาที่และการใช
อำนาจของคณะกรรมการตองเปนไปโดยสจุ รติ เที่ยงธรรม กลาหาญ และปราศจากอคตทิ ้ังปวงในการใช
ดุลพินิจและปฏิบัติตนใหถูกตองตามมาตรฐานทางจริยธรรม ในระหวางการดำรงตำแหนง กรรมการจะ

เตรียมสอบ กกต

เตรยี มสอบพนกั งาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลอื กต้ัง ชุดที่ 2 104

เขารับการศึกษาหรืออบรมในหลักสูตรหรือโครงการใด ๆ มิได เวนแตเปนหลักสูตรหรือโครงการท่ี
คณะกรรมการเปน ผจู ดั ข้ึนโดยเฉพาะสำหรบั กรรมการ

มาตรา 22 นอกจากหนาท่ีและอำนาจตามที่บัญญัติไวในรัฐธรรมนูญแลว
ใหคณะกรรมการมหี นา ที่และอำนาจ ดังตอไปน้ีดว ย

(1) หนาท่ีและอำนาจท่ีกำหนดไวในพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนี้และ
กฎหมายอื่น

(2) ออกขอกำหนด ระเบียบ หรือประกาศตามท่ีกำหนดไวในพระราชบัญญัติประกอบ
รฐั ธรรมนญู นแี้ ละกฎหมายอืน่

(3) วินิจฉัยชี้ขาดปญหาหรือขอโตแยงเก่ียวกับขอกำหนด ระเบียบ หรือประกาศของ
คณะกรรมการ

(4) วางระเบียบเก่ียวกับการปฏิบัติหนาท่ีของผูปฏิบัติงานของสำนักงาน ขาราชการ
พนักงานหรือลูกจางของหนวยงานของรัฐ หรือเจาหนาท่ีอ่ืนของรัฐ ในการปฏิบัติหนาที่เก่ียวกับการ
เลือกต้ังการสืบสวนและไตสวน และการอื่นใดท่ีจำเปน เพื่อใหเปนไปตามกฎหมายเก่ียวกับการเลือกต้ัง
และพรรคการเมือง

(5) สง เสริม สนับสนนุ ใหหนวยงานของรัฐ สถาบนั การศึกษา และองคกรเอกชน ในการ
สรางความรู ความเขาใจท่ีถูกตองใหแกประชาชนเก่ียวกับการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษัตริยท รงเปนประมขุ การมีสว นรวมทางการเมอื งของประชาชน หรือใหป ระชาชนมสี วนรว มใน
การตรวจสอบการเลือกต้ัง และความรูที่ถูกตองเก่ียวกับรัฐธรรมนูญ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ วิธีการ และ
เง่ือนไขทีค่ ณะกรรมการกำหนด

(6) วางระเบียบเกี่ยวกับการชำระคาเสียหายและคาใชจายสำหรับการจัดการเลือกตั้ง
และดอกเบยี้ หรือเบี้ยปรบั รวมตลอดทัง้ วธิ ีการและเงอ่ื นไขในการลดหรอื ยกเวนดอกเบย้ี หรอื เบ้ียปรับ

(7) กำกับและติดตามการใชจายเงินอุดหนุนท่ีพรรคการเมืองไดรับการจัดสรรตาม
กฎหมายประกอบรฐั ธรรมนญู วา ดว ยพรรคการเมอื งเพื่อใหเ ปนไปโดยถูกตองตามกฎหมายดงั กลาว

(8) รายงานผลการปฏิบัติงานประจำปและขอสังเกตตอรัฐสภา และเผยแพรให
ประชาชนทราบเปนการทวั่ ไป

(9) จัดใหมีการศึกษา วิเคราะห หรือวิจัย เพื่อกำหนดวิธีการหรือมาตรการใหการ
เลือกตงั้ เปนไปโดยสจุ ริตและเทยี่ งธรรม หรอื เปน ไปโดยชอบดว ยกฎหมาย

(10) ออกระเบียบกำหนดหลักเกณฑ วิธีการ และเง่ือนไขในการเปดเผยขอมูลเก่ียวกับ
การปฏิบตั ิหนาท่ขี องคณะกรรมการและสำนกั งาน

ในการควบคุม กำกับ ดูแลการเลือกตั้งใหเปนไปโดยสุจริตและเที่ยงธรรม หรือเปนไป
โดยชอบดวยกฎหมาย ใหถือเปนหนาที่และอำนาจของคณะกรรมการที่จะตองดำเนินการสอดสอง
สืบสวน หรือไตสวนเพื่อปองกันและขจัดการกระทำหรือการงดเวนการกระทำใดอันจะกอใหเกิดความไม

เตรียมสอบ กกต

เตรยี มสอบพนกั งาน สำนักงานคณะกรรมการการเลอื กตง้ั ชุดที่ 2 105

สุจริตหรือไมเที่ยงธรรมในการเลือกต้ังได ไมวาจะเปนเวลาในระหวางประกาศใชพระราชกฤษฎีกาใหมี
การเลอื กตง้ั หรือไมก็ตาม

การกำหนดตาม (10) ตองไมขัดหรือแยงกับพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญน้ี
และตองคำนึงถึงผลกระทบตอบุคคลที่เกี่ยวของ ประโยชนท่ีสาธารณชนจะพึงไดรับ หลักธรรมาภิบาล
และความเปน ธรรมประกอบกนั

มาตรา 23 ในกรณีที่พรรคการเมืองหรือผูสมัครผูใดสอบถามเกี่ยวกับการปฏิบัติให
ถูกตองตามกฎหมายเก่ียวกับการเลือกตั้งและพรรคการเมือง หรือขอกำหนด ระเบียบ หรือประกาศของ
คณะกรรมการ ใหค ณะกรรมการตอบขอสอบถามใหแลวเสร็จโดยเรว็ แตต องไมช ากวาสามสิบวนั นบั แต
วันไดรับการสอบถาม ในการน้ี คณะกรรมการจะมอบหมายใหกรรมการคนใดคนหน่ึงหรือเลขาธิการ
เปนผูต อบขอสอบถามแทนคณะกรรมการกไ็ ด และเมอ่ื ไดตอบแลวใหเผยแพรใ หป ระชาชนทราบเปนการ
ทวั่ ไป

ในกรณีที่คณะกรรมการหรือผูซ่ึงไดรับมอบหมายตอบขอสอบถามไมทันภายในเวลาที่
กำหนดตามวรรคหนึ่ง ใหถ อื วา เปนการจงใจฝา ฝนหรือไมปฏบิ ตั ิตามมาตรฐานทางจรยิ ธรรม

วิธีการสอบถามและวิธีการตอบขอสอบถามใหเปนไปตามระเบียบที่คณะกรรมการ
กำหนด

มาตรา 24 ในการปฏิบัติหนาท่ีตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนี้
ใหคณะกรรมการมีอำนาจ ดงั ตอไปน้ี

(1) ใหหนวยงานของรัฐมีหนังสือชี้แจงขอเท็จจริง หรือใหความเห็นในการปฏิบัติงาน
หรือสง เอกสารหลักฐาน หรือพยานหลักฐานอน่ื ท่เี กยี่ วของเพื่อประกอบการพจิ ารณา

(2) ใหเจาหนาท่ีของหนว ยงานตาม (1) พนักงานอัยการ พนักงานสอบสวน หรือบุคคล
ใดมีหนังสือชี้แจงขอเท็จจริง หรือมาใหถอยคำ หรือสงเอกสารหลักฐาน หรือพยานหลักฐานที่เก่ียวของ
ภายในระยะเวลาท่คี ณะกรรมการกำหนดเพอื่ ประกอบการพิจารณา

(3) ขอความรวมมือใหศาลสงเอกสาร หลักฐาน หรือพยานหลักฐานอื่นที่เกี่ยวของเพื่อ
ประกอบการพิจารณา

(4) เขาไปหรือแตงต้ังใหบุคคลเขาไปในท่ีเลือกตั้ง ท่ีออกเสียงประชามติ หรือสถานที่
นับคะแนนเลือกตั้งหรอื นบั คะแนนการออกเสยี งประชามติ

ใหผูตรวจการเลือกต้ังมีอำนาจตาม (4) ตามหลักเกณฑและเง่ือนไขท่ีคณะกรรมการ
กำหนดดว ย

มาตรา 25 ในการปฏิบัติหนาที่ตามมาตรา 22 มาตรา 23 และมาตรา 24
ใหคณะกรรมการมีหนาที่รับผิดชอบรวมกันเพ่ือใหบรรลุเปาหมายใหการเลือกต้ังเปนไปดวยความ
เรียบรอย โดยสุจริตและเที่ยงธรรม และเปนไปโดยชอบดวยกฎหมาย ทั้งนี้ โดยคำนึงถึง
ประสิทธภิ าพและความรวดเรว็ ในการทำงาน

เตรียมสอบ กกต

เตรียมสอบพนักงาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลือกตงั้ ชุดที่ 2 106

มาตรา 26 ในระหวา งการเลือกตง้ั ใหก รรมการแตล ะคนมหี นาทแี่ ละอำนาจ ดงั ตอไปน้ี
(1) กำกับและตรวจสอบการดำเนินการที่เก่ียวกับการเลือกตั้งใหเปนไปโดยสุจริตและ
เท่ยี งธรรมและเปนไปโดยชอบดวยกฎหมาย
(2) มีคำส่ังใหดำเนินการสืบสวนหรือไตสวนเม่ือพบเห็นการกระทำใดท่ีมีเหตุอันควร
สงสยั วา การเลอื กตงั้ มิไดเปนไปโดยสจุ รติ หรอื เท่ียงธรรม หรือเปน ไปโดยมชิ อบดว ยกฎหมาย
(3) เม่ือพบการกระทำหรือการงดเวนการกระทำใดอันอาจเปนเหตุใหการเลือกต้ังมิได
เปนไปโดยสุจริตหรือเท่ียงธรรม หรือเปนไปโดยมิชอบดวยกฎหมาย ถาการนั้นเปนการกระทำหรือการ
งดเวนการกระทำของเจาหนาที่ของรัฐ ใหมีอำนาจสั่งใหระงับ ยับยั้ง แกไขเปลี่ยนแปลง หรือสั่งให
กระทำการอยางใดอยางหน่ึงไดตามท่ีเห็นสมควร ถาเปนการกระทำของบุคคลซ่ึงมิใชเปนเจาหนาที่ของ
รัฐ ใหมีอำนาจสั่งใหเจาพนักงานฝายปกครองหรือตำรวจและเจาพนักงานฝายปกครองหรือตำรวจช้ัน
ผูใหญดำเนินการตามหนาที่และอำนาจ หรือสั่งใหผูอำนวยการการเลือกต้ังประจำจังหวัด บันทึก
พฤติกรรมแหงการกระทำและรวบรวมพยานหลักฐานไวเพ่ือดำเนินการตอไปไดตามท่ีจำเปน หรือใน
กรณีจำเปนอันไมอาจหลีกเล่ียงไดจะสั่งใหระงับหรือยับยั้งการดำเนินการเลือกตั้งในหนวยเลือกตั้งบาง
หนวยหรือทกุ หนว ยในเขตเลอื กต้งั ท่พี บเหน็ การกระทำหรอื การงดเวน การกระทำน้ันก็ได
ในกรณีท่ีกรรมการส่ังใหผูอำนวยการการเลือกต้ังประจำจังหวัดบันทึกพฤติกรรมแหง
การกระทำและรวบรวมพยานหลักฐานตาม (3) ใหถือวาการดำเนินการตามคำส่ังดังกลาวของ
ผูอำนวยการการเลือกต้ังประจำจังหวัดเปนการดำเนินการสอบสวนของพนักงานสอบสวนตามประมวล
กฎหมายวธิ ีพจิ ารณาความอาญา
ในกรณีที่ผลการสืบสวนหรือไตสวนตาม (2) จะตองมีคำสั่งระงับสิทธิสมัครรับเลือกตั้ง
ของผสู มัครผใู ดไวเปน การชวั่ คราว หรือดำเนนิ การอน่ื ใด ใหเ สนอตอ คณะกรรมการเพื่อวินจิ ฉัย
เม่ือกรรมการผูใดออกคำสั่งตาม (2) หรือ (3) แลว ใหรายงานตอคณะกรรมการเพื่อ
ทราบโดยเร็ว ในการนี้ ถาคณะกรรมการเห็นสมควรจะมีมติใหแกไขเพิ่มเติม ยกเลิกคำส่ัง หรือมีมติให
ดำเนินการอยา งใดตามท่ีเหมาะสมกไ็ ด
มาตรา 27 การเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎร การเลือกสมาชิกวุฒิสภา และ
การออกเสยี งประชามติ ใหเ ปน หนาทแ่ี ละอำนาจของคณะกรรมการในการจดั การเลอื กตั้ง หรือเลือก
หรอื ออกเสียงประชามติ
การเลือกต้ังสมาชิกสภาทองถิ่นหรือผูบริหารทองถ่ิน ใหคณะกรรมการมีอำนาจ
ดำเนินการใหองคกรปกครองสวนทองถ่ินหรือหนวยงานอ่ืนของรัฐเปนผูรับผิดชอบในการจัดการ
เลือกตั้งภายใตการควบคุมดูแลของคณะกรรมการ กับใหมีอำนาจแตงตั้งบุคคลหรือคณะบุคคลซ่ึง
รับผิดชอบในการจัดการเลือกตั้ง แตงตั้งเจาหนาที่ผูปฏิบัติงาน และกำหนดหลักเกณฑและวิธีการ
ปฏบิ ัติงานในการเลอื กตั้ง

เตรยี มสอบ กกต

เตรียมสอบพนักงาน สำนักงานคณะกรรมการการเลอื กตั้ง ชดุ ที่ 2 107

ในการดำเนินการตามวรรคหน่ึงและวรรคสอง ใหคณะกรรมการมีหนาท่ีและอำนาจ
ควบคุมดูแลการจัดการเลือกตั้งใหเปนไปโดยสุจริตและเที่ยงธรรม และเปนไปโดยชอบดวยกฎหมาย
ตามหนา ทแ่ี ละอำนาจท่บี ญั ญัติไวใ นรฐั ธรรมนูญ พระราชบญั ญตั ิประกอบรฐั ธรรมนญู น้ี และกฎหมายอนื่

มาตรา 28 ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรหรือการเลือกสมาชิกวุฒิสภา
แตละครั้งใหคณะกรรมการจัดใหมีผูตรวจการเลือกตั้งซึ่งคณะกรรมการแตงต้ังขึ้น เพ่ือปฏิบัติหนาท่ี
ในแตละจังหวัดในระหวางเวลาท่ีมีการดำเนินการเลือกตั้ง เพ่ือทำหนาท่ีตรวจสอบการปฏิบัติงาน
ของเจาหนาท่ีท่ีดำเนินการเลือกต้ัง และการกระทำความผิดกฎหมายเก่ียวกับการเลือกต้ังและพรรค
การเมือง หรือการกระทำใดที่จะเปนเหตุทำใหการเลือกต้ังมิไดเปนไปโดยสุจริตหรือเที่ยงธรรม หรือ
เปนไปโดยมิชอบดวยกฎหมายแลวรายงานใหคณะกรรมการหรือกรรมการทราบเพื่อดำเนินการตาม
หนาที่และอำนาจตอไป ในกรณีที่เก่ียวกับการปฏิบัติงานของเจาหนาท่ี ใหผูตรวจการเลือกตั้งมี
อำนาจแจงเตือนใหปฏิบัติใหถูกตองได ถาไมมีการดำเนินการแกไขใหถูกตองใหรายงานให
คณะกรรมการหรือกรรมการทราบโดยเร็ว ในการนี้ ใหสำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้งประจำ
จงั หวดั มหี นาที่สนับสนนุ และอำนวยความสะดวกในการปฏบิ ัตงิ านของผตู รวจการเลอื กต้ังดวย

คณะกรรมการจะมอบหมายใหผูตรวจการเลือกต้ังปฏิบัติหนาท่ีอื่นตามท่ีเห็นสมควรก็ได
แตจ ะมอบอำนาจของคณะกรรมการหรอื กรรมการท่มี ตี ามบทบญั ญตั ิของรฐั ธรรมนญู มไิ ด

ระหวางเวลาท่ีมีการดำเนินการเลือกตั้งตามวรรคหนึ่ง หมายความถึงเวลาต้ังแตมีพระ
ราชกฤษฎีกาใหมีการเลือกต้ังจนถึงวันที่มีการประกาศผลการเลือกตั้งหรือภายหลังจากนั้นอีกไมเกินหกสิบ
วนั ตามทค่ี ณะกรรมการกำหนด

มาตรา 29 ใหคณะกรรมการดำเนินการคัดเลือกบุคคลซ่ึงมีภูมิลำเนาในแตละ
จังหวัดจังหวัดละไมนอยกวาหาคนแตไมเกินแปดคน เพ่ือแตงต้ังเปนผูตรวจการเลือกต้ังตามจำนวนท่ี
เพียงพอแกการปฏิบัติหนาที่ครบทุกจังหวัด โดยจัดทำเปนบัญชีรายช่ือขึ้นไว บัญชีรายชื่อดังกลาวให
ใชไ ดเปน เวลาตามทค่ี ณะกรรมการกำหนดแตตอ งไมเ กนิ หาป

เม่ือคัดเลือกบุคคลตามวรรคหนึ่งแลว กอนดำเนินการแตงต้ัง ใหคณะกรรมการ
ประกาศรายชื่อผูไดรับการคัดเลือกใหประชาชนทราบเปนเวลาไมนอยกวาสิบหาวัน และใหนำขอมูลที่
ไดร ับจากประชาชนมาประกอบการพิจารณาแตงตัง้ ดว ย

จังหวัดใดไมอาจแตงตั้งบุคคลซึ่งมภี ูมิลำเนาในจังหวัดครบตามจำนวนตามวรรคหนึ่งไม
วาดวยเหตุใดคณะกรรมการจะไมแตง ต้ังผูมีภูมิลำเนาจากจังหวัดนั้นเลยหรือจะแตงต้ังนอยกวาท่ีกำหนด
ไวในวรรคหน่ึงก็ไดในกรณีเชนน้ัน คณะกรรมการจะแตงตั้งบุคคลซึ่งมีภูมิลำเนาจากจังหวัดอ่ืนแทนให
ครบจำนวนกไ็ ด

ผูตรวจการเลือกต้ังตองไมเปนขาราชการซึ่งมีตำแหนงหรือเงินเดือนประจำ พนักงาน
หรือลูกจางของหนวยงานของรัฐ หรือกรรมการหรือที่ปรึกษาของหนวยงานของรัฐ ไมเปนสมาชิกพรรค
การเมืองใดในเวลาหาปท่ีผานมากอนการแตงต้ัง เปนบุคคลซ่ึงเชื่อไดวามีความซ่ือสัตยสุจริต ไมมีความ
ประพฤติเสื่อมเสียและตองมีคุณสมบัติอ่ืนตามที่คณะกรรมการกำหนดและไมมีลักษณะตองหามที่

เตรียมสอบ กกต

เตรียมสอบพนักงาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกต้ัง ชดุ ท่ี 2 108

กำหนดไวสำหรับผสู มัครรับเลือกตั้งเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎร ทั้งตองไมเ ปนผูมีบุพการี คูสมรส หรือ
บุตรเปนหรือสมัครรับเลือกตั้งหรือรับเลือกเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา หรือสมาชิก
สภาทองถนิ่ หรอื ผูบ ริหารทองถิน่

มาตรา 30 เมื่อมีกรณีท่ีผูตรวจการเลือกต้ังจะตองปฏิบัติหนาที่ ใหคณะกรรมการ
ดำเนนิ การแตงต้ังบคุ คลจากบญั ชีรายช่ือตามมาตรา 29 มจี ำนวนไมน อยกวาหาคนแตไมเ กินแปดคน
โดยคำนึงถึงพื้นท่ีของจังหวัดหรือพ้ืนท่ีท่ีจะตองปฏิบัติหนาที่ เพื่อแตงต้ังใหเปนผูตรวจการเลือกต้ัง
ประจำจังหวัดทกุ จังหวดั

ใหผูตรวจการเลือกตั้งปฏิบัติหนาที่ไดนับแตวันที่มีคำสั่งแตงตั้ง แมจะยังมีจำนวนไม
ครบตามวรรคหนึ่งกต็ าม

การแตงต้ังผูตรวจการเลือกตั้งประจำจังหวัดแตละจังหวดั ตามวรรคหน่ึง ใหแตงต้ังจาก
บคุ คลซงึ่ กรรมการทคี่ ณะกรรมการมอบหมาย จบั สลากจาก

(1) รายชื่อตามบัญชีรายช่ือตามมาตรา 29 วรรคหน่ึง ท่ีมีภูมิลำเนาอยูในจังหวัดท่ีจะ
แตง ตัง้ จำนวนสองคน

(2) รายชื่อตามบัญชีรายชื่อตามมาตรา 29 วรรคหนึ่ง ท่ีมิไดมีภูมิลำเนาในจังหวัดท่ีจะ
แตง ต้งั ใหค รบตามจำนวนที่กำหนดสำหรบั จงั หวัดนัน้

ในกรณีที่ไมอาจแตงตั้งผูตรวจการเลือกต้ังประจำจังหวัดตาม (1) ได ไมวาดวยเหตุใด
คณะกรรมการจะแตงต้ังผูตรวจการเลือกต้ังประจำจังหวัดตาม (2) แทนผูตรวจการเลือกตั้งประจำ
จงั หวัดตาม (1) ก็ได

ใหคณะกรรมการดำเนินการแตงต้ังตามวรรคหน่ึงใหแลวเสร็จไมชากวาสิบวันนับแต
วันที่พระราชกฤษฎีกาใหมีการเลือกต้ังมีผลใชบังคับ แตตองไมเร็วกวาสามสิบวันกอนวันท่ีพระราช
กฤษฎกี าใหมกี ารเลือกตั้งมผี ลใชบังคบั

เม่ือพนเวลาระหวางเวลาที่มีการดำเนินการเลือกตั้งตามมาตรา 28 แลว ใหคำสั่ง
แตงตั้งผูตรวจการเลือกตั้งเปนอันสิ้นผล เวนแตในกรณีที่ผูตรวจการเลือกตั้งประจำจังหวัดใดยังมี
ความจำเปนจะตองดำเนนิ การตอไป คณะกรรมการจะประกาศใหป ฏิบัตหิ นาที่ตอไปตามเวลาท่ีกำหนดก็ได

มาตรา 32 เพ่ือประโยชนในการดำเนินการตามหนาท่ีและอำนาจในการ
ควบคุมดูแลการเลือกตั้งใหเปนไปโดยสุจริตและเท่ียงธรรม และเปนไปโดยชอบดวยกฎหมาย
คณะกรรมการอาจขอใหม ีการดำเนินการ ดังตอ ไปน้ี

(1) ใหสำนักงานการตรวจเงินแผนดิน หรือผูสอบบัญชีรับอนุญาต สอบบัญชีของ
พรรคการเมืองโดยอาจขอใหต รวจสอบอยา งเรง ดวนในชวงเวลาท่มี ีการเลือกตง้ั ดวยก็ได

(2) เมื่อปรากฏหลักฐานอันควรเชื่อหรือมีเหตุอันควรสงสัยวามีการกระทำความผิด
หรือฝาฝนกฎหมายเก่ียวกับการเลือกตั้งและพรรคการเมือง ใหสำนักงานปองกันและปราบปรามการ
ฟอกเงินแจงรายงานการทำธุรกรรมของพรรคการเมือง ผูดำรงตำแหนงในพรรคการเมือง หรือผูสมัคร
ตามท่ีคณะกรรมการแจงใหทราบ หรือใหธนาคารแหงประเทศไทย หรือสถาบันการเงินตามกฎหมาย

เตรียมสอบ กกต

เตรียมสอบพนกั งาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลอื กต้งั ชดุ ที่ 2 109

วาดวยธุรกิจสถาบันการเงินแจงใหทราบถึงการโอนหรือการเบิกจายเงินในกรณีดังกลาวตามท่ี
คณะกรรมการรองขอ…

(3) ใหหนวยงานของรัฐทุกหนวยที่เก่ียวกับการขาว แจงขอมูลเบาะแสตามที่
คณะกรรมการรองขอ แตเม่ือไดรับแจงขอมูลใดแลวใหคณะกรรมการใชขอมูลน้ันเพื่อประโยชนในการ
สืบสวนหาตัวผูกระทำความผิดหรือวางมาตรการปองกันการกระทำความผิดในสวนท่ีเปนหนาท่ีและ
อำนาจของคณะกรรมการ แตคณะกรรมการจะเปดเผยขอมูลและแหลงขอมูลมิได และเพื่อประโยชนใน
การดำเนินงานของหนวยงานที่เก่ียวของ ใหคณะกรรมการมีอำนาจจัดสรรเงินงบประมาณท่ีสำนักงาน
ไดรับจัดสรรมาใหแกห นว ยงานนน้ั เปนเงินอุดหนุนทวั่ ไปของหนว ยงานนั้นได

มาตรา 33 เม่ือปรากฏหลักฐานอันควรเชื่อไดวามีบุคคลใดดำเนินการดานธุรกรรม
ทางการเงินผลิตหรือเตรียมการผลิตวัสดุอุปกรณท่ีอาจใชในการจัดการเลือกตั้งโดยไมมีอำนาจ
ใชเงินหรือทรัพยสินหรืออิทธิพลคุกคามเพ่ือใหคุณใหโทษแกผูสมัครหรือพรรคการเมือง หรือ
ดำเนนิ การอื่นตามที่คณะกรรมการกำหนดอันจะเปนผลใหการเลือกตัง้ มิไดเปนไปโดยสุจรติ หรือเท่ยี ง
ธรรม หรือเปนไปโดยมิชอบดวยกฎหมาย ใหคณะกรรมการมีอำนาจส่ังใหบุคคลนั้นระงับการ
ดำเนนิ การน้ันไวเ ปนการช่ัวคราวภายในเวลาที่กำหนดแตต องไมเ กนิ หกสิบวนั

ผูไดรับคำสั่งตามวรรคหนึ่งมีสิทธิรองขอตอศาลปกครองสูงสุดใหเพิกถอนคำส่ังนั้นได
และถาศาลปกครองสูงสุดเห็นวาการดำเนินการของบุคคลนั้นมิไดเปนไปเพ่ือใหการเลือกตั้งมิไดเปนไปโดย
สุจริตหรอื เทีย่ งธรรม หรอื เปน ไปโดยมชิ อบดวยกฎหมาย ใหศาลปกครองสูงสุดสั่งเพกิ ถอนคำส่ังน้นั

มาตรา 34 ใหเปนหนาที่ของหนวยงานของรัฐที่จะตองดำเนินการชวยเหลือและ
สนับสนุนการปฏิบัติหนาที่ของคณะกรรมการเก่ียวกับการเลือกต้ัง การสนับสนุนการเลือกต้ัง หรือการ
สบื สวนหรือไตสวนตามที่คณะกรรมการรอ งขอเปน หนังสือ

เพ่ือประโยชนในการดำเนินการใหการเลือกต้ังเปนไปโดยสุจริตและเที่ยงธรรม หรือ
เปนไปโดยชอบดวยกฎหมาย ใหคณะกรรมการมีอำนาจสั่งหรือแตงต้ังขาราชการ พนักงานหรือลูกจาง
ของหนวยงานของรัฐใหปฏิบัติการอันจำเปนเก่ียวกับการเลือกต้ัง การสนับสนุนการเลือกตั้ง หรือการ
สืบสวนหรือไตสวนไดตามที่เห็นสมควร และใหแจงใหหนวยงานของรัฐที่ขาราชการ พนักงาน หรือ
ลูกจางน้นั สงั กดั อยูทราบโดยเร็ว

ขาราชการ พนักงานหรือลูกจางของหนวยงานของรัฐซึ่งมีหนาท่ีตองปฏิบัติตามคำส่ัง
ของคณะกรรมการตามวรรคสองผูใดไมปฏิบัติตามคำสั่งโดยไมมีเหตุอันสมควร ใหถือวาผูน้ันกระทำ
ความผิดทางวินัย และถาเปนผลใหเกิดความเสียหายแกการดำเนินการเลือกต้ัง ใหถือวาเปนการกระทำ
ความผดิ ทางวนิ ัยอยางรายแรง และใหคณะกรรมการสงเร่ืองใหผูมีอำนาจดำเนินการทางวินัยดำเนินการ
ตามหนา ที่และอำนาจแกผ นู ัน้ โดยเร็ว และแจงผลใหค ณะกรรมการทราบดวย

มาตรา 35 เพื่อประโยชนในการดำเนินการเลือกตั้งใหเปนไปโดยสุจริตและเที่ยงธรรม
หรือเปนไปโดยชอบดวยกฎหมาย คณะกรรมการอาจแตงตั้งบุคคล กลุมบุคคล องคกรชุมชน หรือ

เตรียมสอบ กกต

เตรยี มสอบพนักงาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตงั้ ชุดที่ 2 110

สถาบันการศึกษาซึ่งสมัครใจปฏิบัติหนาท่ีเปนผูชวยเหลือการปฏิบัติงานหรือเปนผูสังเกตการณในการ
เลือกต้ังเพือ่ รายงานตอคณะกรรมการหรอื กรรมการทราบไดตามสมควร

มาตรา 36 ใหคณะกรรมการจัดใหมีการทำทะเบียนรายชื่อผูมีสิทธิเลือกต้ังจาก
หลกั ฐานทะเบียนบา นตามกฎหมายวา ดวยการทะเบียนราษฎรและเผยแพรใ หป ระชาชนทราบ

มาตรา 38 ในการปฏิบัติหนาท่ีตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนี้
ใหกรรมการเลขาธิการ ผูตรวจการเลือกตั้ง และบุคคลซึ่งคณะกรรมการแตงตั้งตามมาตรา 37 เปน
เจาพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา

มาตรา 39 เงินเดือน เงินประจำตำแหนง และประโยชนตอบแทนอื่นของประธาน
กรรมการและกรรมการใหเปนไปตามกฎหมายวาดวยการน้ัน และใหไดรับเบี้ยประชุมเปนรายคร้ัง
เทา กบั กรรมการตามพระราชกฤษฎกี าวาดว ยเบย้ี ประชุมกรรมการ

ใหประธานกรรมการและกรรมการไดร ับเงินคา รบั รองเหมาจา ยเปน รายเดอื นตามอัตรา
ทก่ี ระทรวงการคลงั กำหนดซึง่ ตอ งไมน อ ยกวาเงนิ ประจำตำแหนงของประธานกรรมการหรือกรรมการ

มาตรา 40 ประธานกรรมการและกรรมการซ่ึงดำรงตำแหนงไมนอยกวาหน่ึงปมี
สิทธิไดรับบำเหน็จตอบแทนเปนเงินซ่ึงจายครั้งเดียวเม่ือพนจากตำแหนงดวยเหตุอยางใดอยางหนึ่ง
ดังตอ ไปน้ี

(1) ครบวาระ
(2) ตาย
(3) ลาออก
(4) มีอายุครบเจด็ สบิ ป
ในการคำนวณบำเหน็จตอบแทนนั้น ใหนำอัตราเงินเดือนตามมาตรา 39 คูณดวย
จำนวนปท ด่ี ำรงตำแหนง เศษของปใหนับเปนหนง่ึ ป
สิทธิในบำเหน็จตอบแทนนั้น เปนสิทธิเฉพาะตัว จะโอนไมได เวนแตกรณีตาย ใหตก
ไดแกคูสมรสและทายาทท่ีไดแจงไว และถาการตายน้ันเกิดข้ึนเพราะเหตุปฏิบัติหนาที่หรือในการปฏิบัติ
หนา ที่ ใหไดรบั เปน สองเทา ของบำเหน็จตอบแทนทีก่ ำหนดไวต ามวรรคสอง

หมวด 2
การสืบสวน การไตสวน และการดำเนนิ คดี
มาตรา 41 เมือ่ มเี หตอุ นั ควรสงสยั หรือความปรากฏตอคณะกรรมการไมว าโดยทางใด
ไมวาจะมีผูแจงหรือผูกลาวหาหรอื ไม ถามีหลกั ฐานพอสมควรหรือมีขอมูลเพียงพอท่ีจะสืบสวนตอไปวา
มีการกระทำใดอันเปนการฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามกฎหมายเก่ียวกับการเลือกตั้งและพรรคการเมือง
หรือจะมีผลใหการเลือกต้ังมิไดเปนไปโดยสุจริตหรือเที่ยงธรรม หรือเปนไปโดยมิชอบดวยกฎหมาย
คณะกรรมการมีหนาท่ีตองดำเนินการใหมีการสืบสวน หรือไตสวน เพื่อแสวงหาขอเท็จจริงและ
หลักฐานโดยพลันถาผลการสืบสวนหรือไตสวนปรากฏวาไมมีมูลความผิดใหสั่งยุติเร่ือง หากปรากฏ

เตรียมสอบ กกต

เตรียมสอบพนักงาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกต้งั ชดุ ท่ี 2 111

หลักฐานอันควรเช่ือวามีผูกระทำการตามที่มีการสืบสวนหรือไตสวน ใหคณะกรรมการส่ังใหดำเนินคดี
โดยเรว็ หรือในกรณีจำเปน จะสั่งระงบั สทิ ธสิ มคั รรบั เลือกตง้ั ของผกู ระทำการดังกลา วไวเ ปนการชั่วคราวก็ได

การดำเนินการใหมีการสืบสวนหรือไตสวน การสืบสวนและการไตสวน และการส่ัง
ระงับสิทธิสมัครรับเลือกต้ังของผูถูกกลาวหาไวเปนการช่ัวคราวตามวรรคหนึ่ง ใหเปนไปตามหลักเกณฑ
วธิ ีการ และเงื่อนไขทคี่ ณะกรรมการกำหนด

หามมิใหบุคคลใดเปดเผยขอมูลอันทำใหสามารถระบุตัวตนของผูแจง รวมท้ังขอมูล
ขาวสารที่ไดมาเน่ืองจากการดำเนินการตามมาตรานี้ มาตรา 32 (3) หรือมาตรา 47 เวนแตเปนการ
เปด เผยขอ มลู เพือ่ ปฏบิ ตั ิตามหนาท่แี ละอำนาจหรอื ตามกฎหมายหรอื ตามคำสงั่ ศาล

ในการสืบสวนหรือไตสวนตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนี้ ใหบุคคลซึ่ง
คณะกรรมการแตง ตงั้ ใหสืบสวนหรอื ไตส วนตามวรรคหนงึ่ เปนเจาพนกั งานตามประมวลกฎหมายอาญา

มาตรา 42 ใหกรรมการมีอำนาจสืบสวน ไตสวน หรือดำเนินคดีตามมาตรา 41
และเพื่อใหการดำเนินการสืบสวนหรือไตสวน หรือการดำเนินคดีดังกลาวเปนไปโดยรวดเร็วและมี
ประสิทธิภาพใหคณะกรรมการมีอำนาจแตงต้ังเลขาธิการหรือพนักงานของสำนักงานเปนเจาพนักงานมี
อำนาจในการสืบสวน สอบสวน หรือไตสวน หรือดำเนินคดีไดตามระเบียบที่คณะกรรมการกำหนด
ซ่ึงอยางนอยตองกำหนดระยะเวลาในการดำเนินการ และขอบเขตแหงหนาท่ีและอำนาจของผูไดรับแตง
ตงั้ แตล ะระดบั ไวใหช ัดเจนรวมตลอดทง้ั การออกบัตรประจำตัวเจาพนักงานทเ่ี กย่ี วของดว ย

พนักงานของสำนกั งานที่จะไดร บั แตงตง้ั เปน เจา พนักงานตามวรรคหนงึ่ ตอ งเปน ผูมี
ความรู ความสามารถทางกฎหมาย การสืบสวน การไตสวน หรือการดำเนินคดี และผานการ
ฝกอบรมหลกั สตู รทค่ี ณะกรรมการกำหนดแลว

ในกรณีมีความจำเปน คณะกรรมการจะแตงตั้งเจาหนาท่ีของหนวยงานอื่นของรัฐให
เปนเจา พนกั งานตามวรรคหนง่ึ เพอ่ื ปฏบิ ัติหนาท่ีเฉพาะกาลหรอื เฉพาะเร่อื งตามทค่ี ณะกรรมการกำหนดก็ได

ใหเจาพนักงานตามวรรคหนึ่ง เปนพนักงานฝายปกครองหรือตำรวจชั้นผูใหญ ตาม
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา และใหมีอำนาจเชนเดียวกับพนักงานสอบสวนตามประมวล
กฎหมายวิธพี ิจารณาความอาญา

ความในวรรคหน่ึงไมเปนการตัดอำนาจคณะกรรมการท่ีจะดำเนินการใหพนักงาน
สอบสวนและพนกั งานอัยการดำเนินการไปตามประมวลกฎหมายวิธพี จิ ารณาความอาญา

มาตรา 43 ภายใตบงั คับมาตรา 41 วรรคสาม และมาตรา 45 วรรคหน่ึงและวรรคสอง
ในการไตสวน กรรมการหรือเจาพนักงานตองใหโอกาสผูถูกกลาวหาทราบขอกลาวหา ขอเท็จจริงและ
พยานหลักฐานโดยสรุป



มาตรา 44 เมื่อมีกรณีท่ีจะตองดำเนินคดีอาญากับบุคคลใดเพราะเหตุกระทำ
ความผิดตามกฎหมายเกี่ยวกับการเลือกตั้งและพรรคการเมือง ใหคณะกรรมการแจงใหพนักงาน
อัยการท่ีมีเขตอำนาจเพ่ือพิจารณาดำเนินการตอไป ... แตถาพนักงานอัยการเห็นควรส่ังไมฟอง

เตรยี มสอบ กกต

เตรยี มสอบพนกั งาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกต้งั ชดุ ท่ี 2 112

ใหเสนอเร่ืองตอ อัยการสูงสดุ เพ่ือวนิ ิจฉัย เม่อื อัยการสูงสุดวนิ ิจฉัยประการใดใหแจงใหคณะกรรมการทราบ
ในกรณีอัยการสูงสุดสั่งไมฟอง ใหแจงเหตุผลใหคณะกรรมการทราบ และใหคณะกรรมการเผยแพร
เหตผุ ลดังกลาวใหประชาชนทราบเปน การทว่ั ไป

ในการดำเนินการตามวรรคหน่ึง ถาเปนการกระทำความผิดเก่ียวกับกฎหมายวาดวย
การเลือกต้ังสมาชิกสภาทองถิ่นหรือผูบริหารทองถิ่น คณะกรรมการจะมอบอำนาจใหผูวาราชการ
จังหวัดในจังหวดั ท่ีจดั ใหม ีการเลอื กตงั้ เปน ผูดำเนนิ การตามวรรคหน่งึ แทนคณะกรรมการกไ็ ด

เม่อื มีกรณีทจี่ ะตอ งรองขอตอ ศาลฎีกาหรือศาลอุทธรณเพื่อสัง่ เพิกถอนสิทธสิ มัครรับ
เลือกตั้งหรอื เพิกถอนสิทธิเลอื กตง้ั ตามบทบญั ญตั ิแหง รัฐธรรมนูญ ใหคณะกรรมการมอี ำนาจยน่ื คำรอง
ตอศาลฎีกาหรือศาลอุทธรณไดโดยตรง หรือจะมอบหมายใหกรรมการหรือเจาพนักงานตามมาตรา 42
เปนผูดำเนินการแทนคณะกรรมการก็ได และใหศาลฎีกาหรือศาลอุทธรณ แลวแตกรณี นำสำนวนการ
สบื สวนหรอื ไตสวนของคณะกรรมการมาใชเปน หลักในการพิจารณา แตเพ่ือประโยชนแหงความยุตธิ รรม
ใหศาลมอี ำนาจส่งั ไตส วนขอ เท็จจรงิ และพยานหลกั ฐานเพมิ่ เตมิ ได

ในคดีที่ตองย่ืนคำรองตอศาลรัฐธรรมนูญ ใหคณะกรรมการหรือผูซึ่งคณะกรรมการ
มอบหมายเปน ผมู อี ำนาจในการย่ืนคำรอ งตอ ศาลรัฐธรรมนญู

ในการดำเนินคดีแพง คดีอาญา หรือคดีปกครองตามพระราชบัญญัติประกอบ
รฐั ธรรมนูญนี้ใหค ณะกรรมการไดร บั ยกเวน คา ฤชาธรรมเนียมทง้ั ปวง

มาตรา 45 ใหคณะกรรมการกำหนดมาตรการคุมครองพยานมิใหเกิดอันตรายแก
พยานรวมตลอดทั้งมาตรการรักษาความลับใหแกผูเปนพยาน ในมาตรการดังกลาวจะกำหนดใหมีการ
จา ยคา ท่ีอยูหรือคา เดนิ ทางหรือคา ใชจ ายอนื่ ทจ่ี ำเปนดว ยกไ็ ด

การคุมครองพยานตามวรรคหนึ่งใหหมายความรวมถึงผูใหขอมูล หรือผูชี้เบาะแส
ดวย และใหก ระทำไดเมือ่ ไดรับคำรอ งขอจากบคุ คลดงั กลาว

ในกรณีท่ีกรรมการ เจาหนาท่ีของสำนักงาน ผูตรวจการเลือกตั้ง หรืออนุกรรมการ
รวมทั้งเจาหนาท่ีที่ดำเนินการเลือกต้ัง ผูใดถูกดำเนินคดีไมวาเปนคดีแพง คดีอาญา หรือคดีปกครอง
และไมวาจะถูกฟองในขณะดำรงตำแหนงหรือเมื่อพนจากตำแหนงแลว ถาการถูกดำเนินคดีดังกลาว
เปนเพราะเหตุท่ีไดมีมติ คำส่ัง หรือปฏิบัติหนาที่ และมิใชพนักงานอัยการเปนผูฟอง ใหคณะกรรมการ
มีอำนาจใหความชวยเหลือในการตอสูคดีแกบุคคลดังกลาวได และใหพนักงานอัยการเขาแกตางใหแก
บุคคลเหลาน้ันตามท่ีคณะกรรมการรองขอ การใหความชวยเหลือดังกลาวใหรวมถึงคาฤชาธรรมเนียม
และคาทนายความดว ย

มาตรา 46 บุคคลซ่ึงมีสวนเกี่ยวของในการกระทำความผิดตามกฎหมายเกี่ยวกับ
การเลือกตั้งและพรรคการเมือง หากไดใหถอยคำ หรือแจงเบาะแสหรือขอมูลอันเปนสาระสำคัญใน
การที่จะใชเปนพยานหลักฐานในการวินิจฉัยการกระทำความผิด คณะกรรมการอาจจะไมดำเนินคดีก็
ได ตามหลักเกณฑวิธีการ และเงื่อนไขท่ีกำหนดไวในกฎหมายเกี่ยวกับการเลือกต้ังและพรรคการเมือง
และ เม่ือคณะกรรมการมีมตไิ มด ำเนนิ คดกี บั บคุ คลดงั กลา วแลว ใหสทิ ธใิ นการดำเนินคดอี าญาเปนอันระงบั ไป

เตรยี มสอบ กกต

เตรียมสอบพนกั งาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลือกต้ัง ชุดที่ 2 113

มาตรา 48 ในกรณีที่คณะกรรมการไดรับแจงจากผูวาการตรวจเงินแผนดินวา
มีหลักฐานอันควรเช่ือไดวาการใชจายเงินแผนดินมีพฤติการณอันอาจทำใหการเลือกตั้งมิไดเปนไปโดย
สุจริตหรือเที่ยงธรรมและเปนกรณีที่ผูวาการตรวจเงินแผนดินไมมีอำนาจจะดำเนินการใดได
ใหคณะกรรมการดำเนินการสืบสวน ไตสวน หรือดำเนินคดีตามหมวดนี้โดยพลัน โดยใหถือวาเอกสาร
และหลักฐานที่ผูวา การตรวจเงินแผนดินตรวจสอบหรือจดั ทำขึ้นเปนสว นหนึ่งของสำนวนการไตสวนหรือ
สอบสวนของคณะกรรมการ

มาตรา 49 เม่ือความปรากฏตอคณะกรรมการวาหนวยงานของรัฐหรือพนักงาน
สอบสวนไดรับเร่ืองการกระทำความผิดตามกฎหมายเกี่ยวกับการเลือกต้ังและพรรคการเมืองไว
พิจารณา และคณะกรรมการเห็นวาเปนการสมควรท่ีคณะกรรมการจะดำเนินการเองตาม
พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนี้ใหคณะกรรมการมีหนังสือแจงใหหนวยงานของรัฐหรือพนักงาน
สอบสวนน้ันโอนเรื่องหรือสงสำนวนการสอบสวนเก่ียวกับการกระทำความผิดน้ันมาใหคณะกรรมการ
เพ่ือดำเนินการตอไปตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญน้ี ในกรณีเชนน้ีใหหนวยงานของรัฐหรือ
พนักงานสอบสวนโอนเรื่องหรือสงสำนวนการสอบสวนในสวนท่ีเกี่ยวกับการกระทำความผิดตาม
กฎหมายเก่ียวกับการเลือกตั้งและพรรคการเมืองมาใหคณะกรรมการภายในเจ็ดวันนับแตวันท่ีไดรับ
หนังสือแจง ดังกลาว

หมวด 3
สำนกั งานคณะกรรมการการเลือกตั้ง
มาตรา 50 ใหมีสำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้งมีฐานะเปนนิติบุคคลและอยู
ภายใตก ารบงั คบั บัญชา กำกับดูแล และรับผดิ ชอบของคณะกรรมการ
กิจการของสำนักงานไมอยูภายใตบังคับแหงกฎหมายวาดวยการคุมครองแรงงาน
กฎหมายวาดวยแรงงานสัมพันธ กฎหมายวาดวยการประกันสังคม และกฎหมายวาดวยเงินทดแทน
แตพนักงานและลูกจางของสำนักงานตองไดรับประโยชนตอบแทนไมนอยกวาที่กำหนดไวใน
กฎหมายวา ดวยการคุมครองแรงงาน กฎหมายวาดว ยการประกนั สังคม และกฎหมายวา ดว ยเงนิ ทดแทน
มาตรา 51 สำนักงานมหี นา ที่และอำนาจดงั ตอไปนี้
(1) รับผิดชอบงานธรุ การ และดำเนินการเพือ่ ใหคณะกรรมการบรรลุภารกิจและหนาที่
ตามที่กำหนดไวใ นรฐั ธรรมนญู พระราชบญั ญตั ปิ ระกอบรฐั ธรรมนูญนี้ และกฎหมายอ่ืน
(2) อำนวยความสะดวก ชวยเหลือ สงเสริม และสนับสนุน การปฏิบัติงานของ
คณะกรรมการกรรมการ และผตู รวจการเลือกตง้ั
(3) ดำเนินการเพื่อใหพรรคการเมือง เจาหนาที่พรรคการเมือง และผูสมัครรับเลือกต้ัง
มีความรูความเขา ใจหนา ท่ีทีต่ องปฏิบตั ิใหถูกตอ งตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ ขอบังคับ คำส่ัง และมติของ
คณะกรรมการ
(4) ปฏบิ ตั หิ นา ท่อี ่นื ใดตามทม่ี ีกฎหมายกำหนดหรือทคี่ ณะกรรมการมอบหมาย

เตรยี มสอบ กกต

เตรยี มสอบพนักงาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลือกต้งั ชุดที่ 2 114

มาตรา 52 ในการกำกับดูแลสำนักงานใหคณะกรรมการมีอำนาจออกระเบียบหรือ
ประกาศ ในเรื่องดงั ตอไปนี้

(1) การจดั แบง สว นงานของสำนักงาน และขอบเขตหนา ทข่ี องสว นงานดงั กลาว
(2) การกำหนดตำแหนง อัตราเงินเดือน เงินเพ่ิมพิเศษสำหรับตำแหนงและ
คา ตอบแทนหรือสิทธแิ ละประโยชนอ ืน่ ของเลขาธิการ พนกั งานและลกู จา งของสำนักงาน
(3) การคัดเลือก การบรรจุ การแตงตั้ง การถอดถอน การกำหนดมาตรฐานทาง
จริยธรรม สมรรถภาพ การประเมินผลการปฏิบัติงาน วินัยและการลงโทษทางวินัย การออกจาก
ตำแหนง การรองทุกขและการอุทธรณการลงโทษ สำหรับเลขาธิการและพนักงานของสำนักงาน
รวมท้ังวิธีการและเงอ่ื นไขในการจา งลกู จางของสำนักงาน
(4) การบรหิ ารและจดั การการเงนิ และทรพั ยสนิ การงบประมาณ และการพัสดขุ องสำนกั งาน
(5) การจดั สวัสดกิ ารหรือการสงเคราะหอ ื่นซง่ึ รวมถงึ การจัดใหม กี องทุนสำรองเลยี้ ง
ชีพแกเลขาธิการ พนักงานและลูกจางของสำนักงาน และหลักเกณฑและเงื่อนไขการจายเงินชดเชย
ในกรณีเลขาธิการดำรงตำแหนง ครบวาระ
(6) การกำหนดหลักเกณฑแ ละวิธกี ารการไดม าซง่ึ เลขาธกิ าร
(7) การกำหนดเคร่ืองแบบและการแตงเครื่องแบบของคณะกรรมการ เลขาธิการ
พนักงานและลูกจา งของสำนักงาน
(8) การอ่ืนใดอันจำเปนตอการกำกับหรือควบคุมการดำเนินงานของสำนักงานหรือ
การบังคับบัญชาเลขาธิการ พนักงานและลูกจางของสำนักงาน หรือการทำใหบุคคลดังกลาวทำงานได
อยา งมีประสิทธิภาพ
การดำเนนิ การตาม (1) ตอ งคำนงึ ถงึ ความมีประสทิ ธภิ าพ ความคุมคา และความคลองตัว
การกำหนดตาม (2) ตองคำนึงถึงคาครองชีพ และความเพียงพอในการดำรงชีพ
และภาระความรบั ผดิ ชอบท่ีแตกตา งกนั ของพนกั งานและลูกจา งแตล ะสายงานและระดับดว ย
ในการออกระเบียบเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลตามวรรคหนึ่ง ใหคณะกรรมการ
คำนึงถึงความเที่ยงธรรม ขวัญและกำลังใจของบุคลากร โดยจะกำหนดใหมีคณะบุคคลเพื่อกำกับ
ดแู ล หรือพจิ ารณาคำรองทุกขหรอื คำอทุ ธรณทเ่ี ปน อสิ ระดว ยกไ็ ด
มาตรา 53 ใหค ณะกรรมการออกขอ กำหนดทางจริยธรรมข้ึนใชบ ังคับแกพนักงานและ
ลูกจา งของสำนักงาน ท้ังน้ี ขอกำหนดทางจริยธรรมดงั กลาวตองระบุดว ยวาการฝาฝนหรือไมปฏิบัติตาม
จะตองไดรบั โทษอยางใด
ในกรณีที่มีเหตุอันควรสงสัยโดยมีหลักฐานตามสมควรวาพนักงานหรือลูกจางของ
สำนกั งานผใู ดกระทำการใดโดยไมสุจรติ หรอื เอ้ือประโยชนห รือกล่นั แกลง ผใู ดในการปฏบิ ตั หิ นา ท่ีหรอื
ในการดำเนินการเลือกตั้ง ใหดำเนินการทางวินัยโดยเร็ว และในระหวางน้ัน ใหคณะกรรมการยายผู
นัน้ ใหพน จากตำแหนง หนา ทีห่ รือจากทองทที่ ผ่ี ูน้นั ปฏิบัติหนาท่ีอยูทนั ที

เตรียมสอบ กกต

เตรยี มสอบพนกั งาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง ชดุ ท่ี 2 115

ใหนำความในวรรคสองมาใชบังคับแกเลขาธิการดวยโดยอนุโลม โดยให
คณะกรรมการมอี ำนาจส่งั ใหห ยดุ ปฏบิ ัตหิ นาทไี่ วพ ลางกอนได

มาตรา 54 ใหสำนักงานมีเลขาธิการคนหนึ่งซ่ึงประธานกรรมการแตงตั้งตามมติ
ของคณะกรรมการเปนผูบังคับบัญชาพนักงานและลูกจางของสำนักงาน และรับผิดชอบการ
ปฏิบัติงานของสำนักงานข้ึนตรงตอคณะกรรมการ คณะกรรมการจะกำหนดใหมีรองเลขาธิการเปน
ผูช วยสัง่ และปฏิบตั ิงานรองจากเลขาธิการก็ได

ใหเ ลขาธิการทำหนาทีเ่ ปน เลขานกุ ารของคณะกรรมการ
มาตรา 55 เลขาธิการตองเปนผูมีความเปนกลางทางการเมือง ไมเคยเปนสมาชิก
พรรคการเมืองใดในระยะเวลาสิบปกอนไดรับแตงตั้ง มีความซ่ือสัตยสุจริตเปนที่ประจักษ มีสัญชาติ
ไทยมีอายุไมเกินหกสิบปในวันที่ไดรบั แตงตั้งและมีอายุไมเกินหกสิบหาปในขณะดำรงตำแหนงเลขาธิการ
และมีคุณวุฒิ ประสบการณ และความเช่ียวชาญอันจะเปนประโยชนแกการปฏิบัติงานของสำนักงาน
ตามท่คี ณะกรรมการกำหนด
เลขาธิการมีวาระการดำรงตำแหนงคราวละหาปนับแตวันท่ีไดรับแตงต้ัง และอาจ
ไดรับแตง ตั้งใหมไ ด แตไ มเกนิ สองวาระตดิ ตอกนั
มาตรา 56 นอกจากการพน จากตำแหนง ตามวาระ เลขาธิการพนจากตำแหนงเม่ือ
(1) ตาย
(2) ลาออก
(3) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะตอ งหา มตามมาตรา 55
(4) ไมส ามารถทำงานไดเ ต็มเวลา
(5) คณะกรรมการมีมติใหพนจากตำแหนงดวยคะแนนเสียงเกินก่ึงหนึ่งของจำนวน
กรรมการท้ังหมดเทาที่มีอยู เนื่องจากมีความประพฤติเสื่อมเสีย หรือมีการกระทำหรือมีคุณลักษณะไม
เหมาะสมตอ การปฏิบัติหนา ทีเ่ ลขาธกิ าร
(6) เปนไปตามเงื่อนไขท่กี ำหนดไวใ นสัญญาจาง
มาตรา 57 ภายใตบังคับมาตรา 59 เลขาธกิ ารมีหนาท่ีและอำนาจควบคุมดูแลการ
ปฏิบัติงานโดยท่ัวไปของสำนักงานใหเปนไปตามกฎหมาย ระเบียบ ประกาศ และมติของ
คณะกรรมการและใหมีหนาที่และอำนาจดังตอไปนี้ดวย
(1) บรรจุ แตงตั้ง ถอดถอน เลื่อน ลดเงินเดือนหรือคาจาง ลงโทษทางวินัยพนักงาน
หรือลูกจางของสำนักงาน ตลอดจนใหพนักงานหรือลูกจางของสำนักงานออกจากตำแหนง ทั้งนี้
ตามระเบยี บของคณะกรรมการ
(2) วางระเบียบเกี่ยวกับการปฏิบัติงานของสำนักงานเทาที่ไมขัดกับระเบียบหรือ
ประกาศหรือมตขิ องคณะกรรมการ
(3) หนาที่และอำนาจตามที่กำหนดไวในพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญน้ีหรือ
กฎหมายอ่ืนและตามทค่ี ณะกรรมการกำหนด

เตรียมสอบ กกต

เตรียมสอบพนักงาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลือกต้งั ชดุ ที่ 2 116

มาตรา 58 ในกิจการของสำนักงานท่ีเก่ียวกับบุคคลภายนอก ใหเลขาธิการเปน
ผูแทนของสำนักงาน เพ่ือการนี้ เลขาธิการจะมอบอำนาจใหบคุ คลใดปฏบิ ัติงานแทนก็ได ตามระเบียบท่ี
คณะกรรมการกำหนด

ในการดำเนินการตามวรรคหนึ่ง ถาเปนกิจการสำคัญ เกี่ยวกับการเลือกตั้ง
การงบประมาณของสำนักงาน และกิจการอ่ืนใดที่มีผลตอการปฏิบัติภารกิจของคณะกรรมการตามท่ี
คณะกรรมการกำหนด ใหเ ลขาธิการขอความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการกอน

มาตรา 59 คณะกรรมการมีอำนาจแตงต้ังพนักงานของสำนักงานเปนผูอำนวยการ
การเลือกตั้งประจำจงั หวดั ในแตล ะจงั หวดั เพื่อปฏิบัตหิ นา ทีแ่ ละมีอำนาจตามทค่ี ณะกรรมการกำหนด

มาตรา 60 ใหคณะกรรมการเสนองบประมาณรายจาย เพื่อจัดสรรเปนเงินอุดหนุน
ของคณะกรรมการและสำนักงานไวในรางพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจำปหรือราง
พระราชบญั ญัติงบประมาณรายจายเพ่ิมเติม แลวแตกรณี

ในกรณีที่คณะกรรมการเห็นวางบประมาณรายจายท่ีไดรับการจัดสรรใหไมเพียงพอ
ใหคณะกรรมการเสนอคำขอแปรญัตติตอคณะกรรมาธิการพิจารณางบประมาณของสภาผูแทนราษฎรได
โดยตรง

ในการเสนองบประมาณรายจายตามวรรคหนึ่งและวรรคสอง ใหคณะกรรมการแจง
ใหค ณะรฐั มนตรที ราบถึงรายไดและทรพั ยสินทมี่ ีอยดู ว ย

ในกรณที ี่มคี า ใชจายในการเลอื กตงั้ มากกวา งบประมาณทีส่ ำนักงานไดรบั ใหร ัฐอุดหนุน
คา ใชจายใหเพียงพอกบั การดำเนนิ งานของคณะกรรมการ

มาตรา 62 รายไดแ ละทรพั ยส ินในการดำเนนิ กิจการของสำนกั งาน ประกอบดว ย
(1) เงินอดุ หนนุ ทไี่ ดร ับตามมาตรา 61
(2) รายไดจ ากคา ธรรมเนียมหรอื ทรพั ยสินของสำนักงาน
(3) ทรัพยสินทีม่ ีผอู ทุ ศิ ใหแ กสำนักงาน
(4) ดอกผลหรือผลประโยชนข องเงินหรอื ทรพั ยส ินของสำนักงาน
(5) รายไดอ ่นื ตามท่กี ฎหมายกำหนด
ในการรับทรัพยสินตาม (3) ใหคำนึงถึงความเปนกลางในการปฏิบัติหนาที่ และในกรณี
ท่ีคณะกรรมการเห็นวาการรับทรัพยสินดังกลาวอาจมีผลกระทบตอความเปนกลางในการปฏิบัติหนาที่
ของสำนกั งาน จะสัง่ ใหส ำนกั งานไมรบั ทรัพยสินนัน้ หรือใหคืนทรพั ยส ินนนั้ แกผูอทุ ิศใหกไ็ ด
มาตรา 63 รายไดของสำนักงานไมเปนรายไดที่ตองนำสงคลังตามกฎหมายวาดวย
เงินคงคลงั กฎหมายวา ดว ยวธิ ีการงบประมาณ หรือกฎหมายอ่ืน
ใหสำนกั งานจดั ทำรายงานการรบั และการใชจ ายเงินตามวรรคหนึ่งเสนอตอรัฐสภาและ
คณะรฐั มนตรเี มอ่ื สน้ิ ปง บประมาณทกุ ป
อสังหาริมทรัพยซึ่งสำนักงานไดกรรมสิทธ์ิมาไมวาจากการซื้อ หรือมีผูยกให ใหเปนท่ี
ราชพสั ดุแตส ำนักงานมอี ำนาจในการปกครองดูแล ใช หรือหาประโยชนได

เตรยี มสอบ กกต

เตรียมสอบพนกั งาน สำนักงานคณะกรรมการการเลอื กต้ัง ชดุ ที่ 2 117

มาตรา 64 ทรัพยสินของสำนักงานไมอยูในความรับผิดแหงการบังคับคดี และผูใดจะ
ยกอายุความข้ึนเปน ขอ ตอสูมไิ ด

มาตรา 65 ใหสำนักงานจัดทำงบดุล งบการเงิน และบัญชีทำการ สงผูสอบบัญชี
ภายในเกาสิบวันนับแตว นั สน้ิ ปบญั ชี

ใหสำนักงานการตรวจเงินแผนดินเปนผูสอบบัญชีของสำนักงาน โดยใหทำการ
ตรวจสอบรับรองบัญชีและการเงินทุกประเภทของสำนักงาน รวมท้ังประเมินผลการใชจายเงินและ
ทรัพยสินของสำนักงาน โดยแสดงใหเห็นดวยวาการใชจายดังกลาวเปนไปตามวัตถุประสงค ประหยัด
ไดผลตามเปาหมายมีประสิทธิภาพ เกิดผลสัมฤทธ์ิ และคุมคาเพียงใด แลวทำรายงานเสนอผลการสอบ
บญั ชตี อ รฐั สภาและคณะรัฐมนตรี โดยไมชักชา

หมวด 4
บทกำหนดโทษ
มาตรา 66 ผูใดขัดขวางการปฏิบัติหนาท่ีของคณะกรรมการ กรรมการ เลขาธิการ
ผอู ำนวยการการเลอื กตงั้ ประจำจังหวดั ผูตรวจการเลือกตัง้ กรรมการหรืออนุกรรมการซึ่งคณะกรรมการ
แตงตั้งตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญน้ี ตองระวางโทษจำคุกไมเกินหน่ึงป หรือปรับไมเกิน
สองหมน่ื บาทหรือทัง้ จำท้งั ปรบั
ถาการขัดขวางการปฏิบัติหนาที่ตามวรรคหน่ึง ไดกระทำโดยใชกำลังประทุษรายหรือขู
เข็ญวาจะใชกำลังประทุษราย หรือเพ่ือใหการเลือกต้ังมิไดเปนไปโดยสุจริตหรือเที่ยงธรรม หรือเปนไป
โดยมิชอบดวยกฎหมาย ผูกระทำตองระวางโทษจำคุกไมเกินหาป หรือปรับไมเกินหนึ่งแสนบาท หรือ
ทั้งจำท้ังปรับ
มาตรา 67 ผูใดไมปฏิบัติตามคำสั่งของคณะกรรมการที่สั่งตามมาตรา 24 (2)
ตอ งระวางโทษจำคุกไมเ กนิ หกเดือน หรอื ปรับไมเกินหนึง่ หมนื่ บาท หรอื ทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา 68 ผูใดซง่ึ ไดล ว งรขู อ มูลหรอื แหลง ขอมูลทค่ี ณะกรรมการไดรบั แจง ตามมาตรา
32 (3) แลวเปดเผยขอมูลหรอื แหลง ขอมูลนน้ั ตอ บุคคลอื่นซง่ึ มิใชคณะกรรมการหรอื ผูมีหนาท่ีและอำนาจ
ในการใชขอมูลนั้นตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญน้ี หรือฝาฝนมาตรา 41 วรรคสาม ตองระวาง
โทษจำคกุ ไมเกนิ หาป หรอื ปรับไมเ กินหนง่ึ แสนบาท หรือท้งั จำท้งั ปรับ
ถาผูกระทำความผิดตามวรรคหน่ึงเปนกรรมการ เลขาธิการ ผูตรวจการเลือกตั้งหรือ
เปนพนักงานหรือลกู จางของสำนักงาน ตอ งระวางโทษเปน สองเทา ของโทษท่กี ำหนดไวตามวรรคหน่งึ
มาตรา 69 กรรมการ เลขาธิการ ผูอำนวยการการเลือกต้ังประจำจังหวัด ผูตรวจการ
เลือกตั้งกรรมการหรืออนุกรรมการซ่ึงคณะกรรมการแตงตั้งตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนี้
พนักงาน และลูกจางของสำนักงาน และเจาหนาที่ที่เกี่ยวของกับการเลือกตั้ง ผูใดกระทำการหรือละเวน
การกระทำอันมิชอบดวยหนาท่ี ตองระวางโทษจำคุกไมเกินหาป หรือปรับไมเกินหน่ึงแสนบาท หรือ
ทง้ั จำทง้ั ปรบั และใหศ าลสั่งเพกิ ถอนสิทธิเลือกตงั้ เปนเวลาสบิ ป

เตรียมสอบ กกต

เตรียมสอบพนกั งาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลือกตั้ง ชุดท่ี 2 118
ถา การกระทำตามวรรคหน่งึ ไดกระทำโดยทจุ ริตตองระวางโทษเชน เดียวกบั ที่บัญญตั ิไวใ น
มาตรา 149 แหงประมวลกฎหมายอาญา และใหศ าลสงั่ เพิกถอนสทิ ธิสมัครรับเลอื กตั้งของผูน้ันดว ย

บทเฉพาะกาล
มาตรา 70 ใหประธานกรรมการการเลือกต้ังและกรรมการการเลือกต้ังซึ่งดำรง
ตำแหนงอยูในวันกอนวันที่พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญน้ีใชบังคับ พนจากตำแหนงนับแตวันท่ี
พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญน้ีใชบังคับ แตใหยังคงปฏิบัติหนาท่ีตอไปจนกวาประธานกรรมการ
การเลอื กตั้งและกรรมการการเลอื กตั้งทแี่ ตงตัง้ ข้นึ ใหมจะเขา รับหนาท่ี
ใหผูซึ่งอยูปฏิบัติหนาท่ีตอไปตามวรรคหน่ึง มีสิทธิไดรับเงินเดือน เงินประจำตำแหนง
และประโยชนตอบแทนอ่ืนตามที่ไดรับอยูในวันกอนวันท่ีพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญน้ีใชบังคับ
และใหมีสิทธิไดรับบำเหน็จตอบแทนตามมาตรา 40 โดยใหถือวาเปนการพนจากตำแหนงเพราะลาออก
โดยใหคำนวณระยะเวลาต้ังแตวนั ท่ไี ดร บั โปรดเกลาฯ แตง ตัง้ จนถึงวนั ท่ีหยดุ ปฏิบัตหิ นา ที่
ในกรณีผูซ่ึงอยูปฏิบัติหนาท่ีตอไปตามวรรคหนึ่ง ตาย ลาออก หรือไมอาจปฏิบัติหนาท่ี
ไดไมวาดวยเหตุใดและมีผูซึ่งอยูปฏิบัติหนาที่ตอไปไมถึงก่ึงหน่ึง ใหนำความในมาตรา 17 วรรคสาม มาใช
บังคบั โดยอนุโลม

เตรยี มสอบ กกต

เตรยี มสอบพนักงาน สำนักงานคณะกรรมการการเลอื กตั้ง ชดุ ที่ 2 119

สรปุ
พระราชบญั ญตั ปิ ระกอบรัฐธรรมนูญ วา่ ดว้ ยพรรคการเมอื ง พ.ศ. 2560

1. ท่วั ไป
1. ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมอ่ื วันท่ี 7 ตุลาคม 2560 มี 152 มาตรา 10 หมวด
2. พรรคการเมือง คือ คณะบุคคลท่ีรวมตัวกันจัดต้ังเป็นพรรคการเมืองโดยได้จดทะเบียนตาม

พระราชบญั ญัตปิ ระกอบรฐั ธรรมนูญฉบบั นี้
3. พรรคการเมอื งทีจ่ ดทะเบยี นแล้วหรือสน้ิ สภาพหรือถกู ยุบพรรคต้องประกาศใน ราชกจิ จานเุ บกษา
3. วัตถุประสงค์ของพรรคการเมือง 2 อย่าง คือ 1.ดำเนินกิจกรรมทางการเมืองตามหลักการ

ปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษตั รยิ ท์ รงเปน็ ประมขุ และ 2.สง่ ผสู้ มคั รรับเลือกตั้ง
4. ผ้รู ักษาการ คือ ประธานกรรมการการเลอื กตัง้
5. เลขาธิการคณะกรรมการการเลือกตง้ั เป็น นายทะเบียนพรรคการเมือง อยู่ภายใตก้ ารกำกับ

ดแู ลของ กกต. มหี น้าที่ ตรวจสอบความซ้ำซอ้ นของสมาชิกทกุ พรรคการเมือง
6. สมาชิกพรรคการเมือง เร่ิม ต้ังแต่ชำระค่าบำรุงพรรคการเมือง รายปี ไม่เกิน 100 บาท /

ตลอดชีพ 2,000 บาท และ
สนิ้ สดุ เมอื่ ลาออก/บวช (ยกเวน้ บวชตามประเพณีนิยม )/ไมช่ ำระคา่ บำรุงพรรคฯ 2 ปีติดต่อ
7. คณะกรรมการบรหิ ารพรรคการเมอื ง ประกอบด้วย
- หวั หนา้ พรรคการเมอื ง
- เลขาธิการพรรคการเมอื ง
- เหรญั ญิกพรรคการเมือง
- นายทะเบยี นสมาชกิ
- กรรมการบริหารอืน่ ทก่ี ำหนดในขอ้ บงั คับ

2. การจดั ตั้งพรรคการเมือง มี 2 รูปแบบ
**คณุ สมบัตแิ ละลกั ษณะต้องหา้ มตาม ของผทู้ จ่ี ะยน่ื คำขอจดั ตง้ั พรรคการเมอื ง (มาตรา 9)
คณุ สมบัติ
- อายไุ ม่ต่ำกว่า 20 ปี
- มสี ัญชาตไิ ทยโดยการเกดิ ถา้ แปลงสญั ชาติไทยมาแล้วตอ้ งไดไ้ มน่ อ้ ยกว่า 5 ปี
ลกั ษณะตอ้ งห้าม
- ติดยาเสพติดใหโ้ ทษ
- เป็นบุคคลล้มละลายหรือเคยเปน็ บคุ คลล้มละลายทจุ รติ
- เปน็ ภิกษุ สามเณร นักพรต หรอื นักบวช
- อยใู่ นระหวา่ งถูกเพกิ ถอนสทิ ธเิ ลือกตั้งไม่วา่ คดีนัน้ จะถงึ ท่สี ุดแลว้ หรือไม่

เตรยี มสอบ กกต. 2564

เตรยี มสอบพนักงาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลอื กตัง้ ชุดท่ี 2 120

- วกิ ลจรติ หรือจติ ฟน่ั เฟือนไม่สมประกอบ
- อยู่ระหว่างถูกระงับการใช้สิทธิสมัครรับเลือกตั้งเป็นการช่ัวคราวหรือถูกเพิกถอนสิทธิ
สมคั รรบั เลอื กตั้ง
- ตอ้ งคำพพิ ากษาใหจ้ ำคกุ และถูกคุมขังอยโู่ ดยหมายของศาล
- เคยได้รับโทษจำคุกโดยได้พ้นโทษมายังไม่ถึงสิบปีนับถึงวันเลือกตั้ง เว้นแต่ใน
ความผดิ อนั ไดก้ ระทำโดยประมาทหรอื ความผิดลหโุ ทษ
- เคยถูกส่ังให้พ้นจากราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ เพราะทุจริตต่อ
หน้าที่ หรือถือวา่ กระทำการทจุ ริตหรอื ประพฤติมิชอบในวงราชการ
- เคยต้องคำพิพากษาหรือคำส่ังของศาลอันถึงที่สุดให้ทรัพย์สินตกเป็นของแผ่นดิน
เพราะร่ำรวยผิดปกติ หรอื เคยตอ้ งคำพิพากษาอนั ถึงทีส่ ุดให้ลงโทษจำคุกเพราะกระทำความผิด
ตามกฎหมาย วา่ ด้วยการปอ้ งกันและปราบปรามการทจุ ริต
- เคยต้องคำพิพากษาอันถึงที่สุดว่ากระทำความผิดต่อตำแหน่งหน้าท่ีราชการ หรือ
ต่อตำแหน่งหน้าท่ีในการยุติธรรม หรือกระทำความผิดตามกฎหมายว่าด้วยความผิดของ
พนักงาน ในองค์การหรือหน่วยงานของรัฐ หรือความผิดเก่ียวกับทรัพย์ท่ีกระทำโดยทุจริตตาม
ประมวลกฎหมายอาญา ความผิดตามกฎหมายว่าด้วยการกู้ยืมเงินที่เป็นการฉ้อโกงประชาชน
กฎหมายว่าด้วยยาเสพติดในความผิดฐานเป็นผู้ผลิต นำเข้า ส่งออก หรือผู้ค้า กฎหมายว่าด้วย
การพนันในความผิดฐานเป็นเจ้ามือหรือ เจ้าสำนัก กฎหมายว่าดว้ ยการป้องกันและปราบปราม
การค้ามนุษย์ หรือกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและ ปราบปรามการฟอกเงินในความผิดฐาน
ฟอกเงนิ
- เคยต้องคำพิพากษาอนั ถึงทส่ี ดุ วา่ กระทำการอันเปน็ การทจุ รติ ในการเลอื กต้งั
- เป็นสมาชิกวุฒิสภาหรือเคยเป็นสมาชิกวุฒิสภา และสมาชิกภาพสิ้นสุดลงยังไม่เกิน
สองปี
- เปน็ ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ หรือผดู้ ำรงตำแหนง่ ในองค์กรอิสระ
- อยูใ่ นระหว่างตอ้ งห้ามมิให้ดำรงตำแหนง่ ทางการเมือง
- เคยพ้นจากตำแหน่งเพราะศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่ามีการเสนอ การแปรญัตติ หรือ
การกระทำด้วยประการใด ๆ ที่มีผลให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา หรือ
กรรมาธิการ มสี ่วนไมว่ ่าโดยทางตรงหรอื ทางอ้อมในการใช้งบประมาณรายจา่ ย
- เคยพ้นจากตำแหน่งเพราะศาลฎีกาหรือศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่ง
ทางการเมืองมีคำพิพากษาว่าเป็นผู้มีพฤติการณ์ร่ำรวยผิดปกติ หรือกระทำความผิดฐานทุจริต
ต่อหน้าที่ หรือจงใจปฏิบัติหน้าที่หรือใช้อำนาจขัดต่อบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญหรือกฎหมาย
หรอื ฝ่าฝนื หรอื ไม่ปฏบิ ตั ิตามมาตรฐานทางจรยิ ธรรมอย่างรา้ ยแรง
- อยู่ในระหว่างถูกส่ังห้ามมิให้ดำรงตำแหน่งใดในพรรคการเมืองตามพระราชบัญญัติ
ประกอบรัฐธรรมนญู ว่าดว้ ยพรรคการเมือง

เตรียมสอบ กกต. 2564

เตรยี มสอบพนกั งาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง ชดุ ท่ี 2 121

- ไม่เป็นสมาชิกของพรรคการเมืองอ่ืนหรือผู้ยื่นคำขอจดทะเบียนจัดตั้งพรรคการเมือง
อ่นื หรือผแู้ จง้ การเตรยี มการจัดตัง้ พรรคการเมอื งอ่นื

พรรคการเมืองต้องมีทุนประเดิม ไม่น้อยกว่า 1,000,000 บาท และผู้ร่วมกันจัดต้ัง
ต้องจา่ ยทุกคนไม่น้อยกวา่ 1,000 พันบาท แต่ไมเ่ กิน 50,000 บาท
2.1 รปู แบบท่ี 1 ขนั้ ตอนการเตรียมการจดั ตัง้ พรรคการเมอื ง มีข้ันตอนดงั น้ี
(1) ผู้ยื่นคำขอแจ้งจัดตัง้ ต้องมจี ำนวนไมน่ อ้ ยกวา่ 15 คน
(2) ผูย้ น่ื คำขอแจ้งการจดั ต้ังพรรคการเมืองตอ้ งมคี ณุ สมบตั แิ ละไมม่ ลี ักษณะตอ้ งหา้ มตามมาตรา 9
(3) ย่ืนคำขอแจง้ การจดั ต้ังตอ่ นายทะเบียนพรรคการเมอื ง
(4) ย่ืนจดทะเบียนโดยลงนามผู้จัดตั้งพรรคการเมือง จำนวนไม่น้อยกว่า 500 คน และต้องยื่น
คำขอจดทะเบียนจัดต้งั พรรคการเมอื ง ภายใน 180 วันนบั แตว่ ันท่ีนายทะเบยี นรบั แจ้ง
(5) ต้องย่ืนคำขอจดทะเบยี นจดั ต้ังพรรคการเมืองภายใน 180 วนั ถ้าไมย่ นื่ ให้คำขอเป็นอนั สิน้
ผลไป
(6) คำขอแจ้งการจัดต้ังอยา่ งนอ้ ยต้องประกอบดว้ ยชื่อ ช่ือย่อ ภาพเคร่ืองหมายของพรรคการเมอื ง
ต้องไม่มีลกั ษณะต้องห้าม และไมซ่ ำ้ พอ้ ง หรือคล้ายคลึงกบั ชอ่ื ชือ่ ย่อ และภาพเครือ่ งหมายของพรรคการเมอื งที่
มผี แู้ จ้งไว้แล้ว หรือทีม่ ีผู้ย่ืนจดทะเบยี นไว้กอ่ นแล้ว
2.2 รปู แบบที่ 2 ขน้ั ตอนการขอดำเนนิ การจัดตงั้ พรรคการเมือง มีขนั้ ตอนดังนี้
(1) มีผู้มีอุดมการณ์ทางการเมืองในแนวทางเดียวกัน และมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม
ตามมาตรา 9 จำนวนไม่นอ้ ยกว่า 500 คน
(2) ผู้ร่วมกันจัดตั้งพรรคการเมืองประชุมร่วมกัน โดยมีองค์ประชุมไม่น้อยกว่า 250 คน เพ่ือ
ดำเนินการตาม ม. 10 และการประชุมต้องมีการบันทึกการประชุมเป็นลายลักษณ์อักษร และมติที่
ประชุมให้เป็นไปตามเสียงข้างมากของผู้เข้าร่วมประชมุ หากนายทะเบียนพรรคการเมืองรับจดทะเบียน
ใหถ้ ือวา่ การประชุมน้เี ป็นการประชมุ ใหญ่สามัญครง้ั ท่ี 1
(3) ให้ผู้ซ่ึงได้รับเลือกเป็น หัวหน้าพรรคการเมือง ย่ืนคำขอจดทะเบียนต่อนายทะเบียนพรรค
การเมือง ดงั น้ี - คำขอจดทะเบียนตาม ม. 12

- เอกสารหลกั ฐานตอ้ งเปน็ ไปตาม ม. 13
- ขอ้ บังคับต้องไมม่ ลี กั ษณะตาม ม. 14
- ขอ้ บังคับอย่างนอ้ ยต้องมีรายการ ตาม ม.15
(4) มีทุนประเดิมไม่น้อยกว่า 1 ล้านบาท โดยผู้ร่วมจัดตั้งพรรคการเมืองทุกคนต้องร่วมกันจ่าย
คนละไมน่ อ้ ยกวา่ 1,000 บาท แตไ่ ม่เกินคนละ 50,000 บาท

3. การดำเนนิ กจิ กรรมทางการเมอื ง
ภายใน 1 ปี หลงั จากนายทะเบียนรับจดทะเบยี น ต้องดำเนินการดังนี้

เตรียมสอบ กกต. 2564

เตรยี มสอบพนกั งาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง ชุดที่ 2 122

(1) จัดให้มีสมาชิกไม่น้อยกว่า 5,000 คน และเพิ่มให้ได้ไม่น้อยกว่า 10,000 คน ภายใน 4 ปี
ถ้าจำนวนสมาชิกไม่เหลือถึงท่กี ำหนดไวต้ ดิ ต่อกนั เกิน 90 วนั พรรคการเมอื งนัน้ สน้ิ สภาพ

(2) จัดให้มีสาขาพรรคการเมือง อย่างน้อยภาคละ 1 สาขา แต่ละสาขาต้องมีสมาชิกที่มี
ภมู ิลำเนาอยใู่ นเขตพ้ืนท่ีรบี ผิดชอบ ต้งั แต่ 500 คน ถ้ามจี ำนวนสาขาพรรคการเมอื งเหลือถ้าไมถ่ งึ ภาคละ
1 สาขาตดิ ตอ่ กนั 1 ปี พรรคการเมืองนนั้ สิ้นสภาพ

(3) ตัวแทนพรรคการเมืองประจำจังหวัด จะมีได้ต่อเม่ือไม่อยู่ในพื้นที่ตั้งสำนักงานใหญ่หรือ
สาขาพรรคการเมือง /สมาชิกมีภูมิลำเนาอยู่ในเขตเลือกต้งั ในจังหวดั นั้นและเกิน 100 คน/สมาชิกพรรค
การเมอื งเปน็ คนเลอื กตวั แทนพรรคการเมืองประจำจงั หวัด และพรรคการเมอื งเปน็ คนแต่งต้งั

4. องคป์ ระชุม/คณะกรรมการ ต่างๆ โดยพรรคการเมอื งตอ้ งจดั ใหม้ กี ารประชุมใหญ่อยา่ งนอ้ ยปี 1 ครงั้
4.1 องค์ประชุมใหญ่
(1) กรรมการบริหารพรรคการเมืองไม่น้อยกว่าก่ึงหนึ่งของจำนวนกรรมการบริหารพรรค

การเมืองท้งั หมด
(2) ผู้แทนสาขาพรรคการเมอื งไม่น้อยกว่ากงึ่ หนึ่งของจำนวนสาขาพรรค โดยต้องประกอบดว้ ย
- ผู้แทนสาขาพรรคไมน่ ้อยกว่า2 สาขามาจากภาคทตี่ ่างกัน
- ตัวแทนพรรคการเมืองประจำจังหวัดไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของตัวแทนพรรคการเมือง
ประจำจังหวดั
- สมาชกิ รวมกันแลว้ ต้องไม่น้อยกว่า 250 คน
4.2 องค์ประชมุ ของท่ีประชมุ ใหญส่ าขาพรรคการเมอื ง
(1) กรรมการสาขาพรรคการเมืองไม่น้อยกว่าก่ึงหน่ึงของกรรมการสาขาพรรคการเมืองท้ังหมด
(2) สมาชกิ สภาสาขาพรรคการเมือง รวมกนั ไมน่ อ้ ยกวา่ 100 คน
4.3 การเขา้ ช่ือยื่นคำรอ้ งขอให้จัดการประชุมใหญว่ สิ ามัญ
(1) สมาชิกซึ่งเปน็ ส.ส. ไมน่ อ้ ยกวา่ 1 ใน 4 ของจำนวนสมาชกิ ซ่งึ เป็น ส.ส. หรอื
(2) กรรมการบรหิ ารพรรคการเมอื งจำนวนไม่น้อยกว่า 1 ใน 3 ของจำนวนกรรมการบรหิ าร

พรรคการเมือง หรอื
(3) สมาชิกพรรคการเมืองไม่น้อยกว่า 1 ใน 10 ของจำนวนสมาชิกท้ังหมดท่ีมีอยู่ของพรรค

การเมือง หรอื ไม่น้อยกวา่ 250 คน แลว้ แต่จำนนวนใดจะน้อยกว่า
4.3 คณะกรรมการสรรหาผ้สู มคั รรบั เลอื กต้งั
(1) กรรมการบริหารพรรคการเมืองไม่เกินกึ่งหน่ึงของคณะกรรมการสรรหาผู้สมัครรับเลือกตั้ง
(2) หัวหน้าสาขาพรรคการเมืองไม่น้อยกว่า 4 สาขาภาคต่างกัน)และตัวแทนพรรคการเมือง

ประจำจังหวัด
มีหน้าที่และอำนาจ ตรวจสอบคุณสมบัติ/ลักษณะต้องห้าม ผู้สมัคร ส.ส. แบบแบ่งเขตเลือกต้ัง

และแบบบญั ชรี ายช่ือ

เตรียมสอบ กกต. 2564

เตรยี มสอบพนักงาน สำนักงานคณะกรรมการการเลอื กตง้ั ชดุ ที่ 2 123

5. คณะกรรมการกองทนุ เพือ่ การพฒั นาพรรคการเมือง
มี 7 คน แตง่ ต้งั โดย คณะกรรมการการเลือกต้งั
(1) ประธาน กกต. เป็น ประธานกรรมการ
(2) กรรมการการเลอื กต้ัง ซึ่ง คณะกรรมการการเลือกตงั้ มอบหมาย 1 คน
(3) ผู้แทนกระทรวงการคลัง 1 คน
(4) ผ้แู ทนสำนักงบประมาณ 1 คน
(5) ผทู้ รงคุณวฒุ ิจำนวน 2 คน เปน็ กรรมการ
(6) นายทะเบยี นพรรคการเมืองเป็นกรรมการและเลขานกุ าร

6. การส่งผสู้ มัครรบั เลอื กต้งั

เงื่อนไข จะต้องมสี าขาพรรคการเมอื งหรอื ตัวแทนพรรคการเมอื งประจำจงั หวดั

แบบแบ่งเขตเลือกต้ัง รายละเอียดตาม ม.50

หลกั การ

- คณะกรรมการสรรหากำหนดวนั /เวลา/สถานท่ีรบั สมคั รและ

ตรวจสอบคณุ สมบตั ิ

- หวั หน้าสาขาหรือตัวแทนพรรคการเมอื งจดั ให้มกี ารประชมุ

เป็นหนา้ ทขี่ องหวั หน้าพรรคการเมอื ง สมาชกิ เพือ่ ลงคะแนน สมาชกิ มีสิทธิลงคะแนนได้ 1 คน
และกรรมการบรหิ ารพรรคการเมืองท่ี - การประชมุ สาขาต้องมสี มาชกิ มาประชุมไมน่ อ้ ยกวา่ 100 คน
จะดำเนนิ การให้มกี ารไพรมารีโ่ หวต หรอื การประชมุ ตัวแทน ต้องมสี มาชกิ ไมน่ อ้ ยกวา่ 50 คน
แบบบัญชรี ายช่ือ รายละเอียดตาม ม.51

หลักการ

- คณะกรรมการสรรหากำหนดวัน/เวลา/สถานท่ีเสนอชอื่ บุคคล

ผ้รู ับสมัครเลอื กตัง้

- คณะกรรมการสรรหาเปน็ ผูจ้ ดั ทำบญั ชรี ายชอื่ ไม่เกนิ 150 คน

และเปน็ ผ้ตู รวจสอบคณุ สมบัติ

- หวั หน้าสาขาหรือตัวแทนพรรคการเมืองจัดใหม้ ีการประชมุ

สมาชิกเพื่อลงคะแนน สมาชิกเลือกได้คนละไมเ่ กนิ 15 ชอื่

- การประชมุ สาขาต้องมสี มาชิกมาประชมุ ไม่นอ้ ยกว่า100คน

หรอื การประชุมตัวแทน ตอ้ งมสี มาชิกไมน่ ้อยกวา่ 50 คน

เตรยี มสอบ กกต. 2564

เตรียมสอบพนกั งาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลอื กตง้ั ชดุ ที่ 2 124

7. รายได้พรรคการเมอื ง
รายได้และทรพั ยส์ นิ พรรคการเมอื งไดร้ บั ยกเวน้ ไมต่ อ้ งเสยี ภาษี

บคุ คลธรรมดา บรจิ าค ภาษเี งินได้ใหพ้ รรค การบรจิ าค เงนิ ทรพั ยส์ นิ หักลดหย่อน
นิตบิ คุ คล การเมอื ง ฯลฯ ภาษี

500 บาท (นายทะเบยี นโอนเงิน ไมเ่ กนิ 10 ลา้ นบาท/ปี 10,000 บาท
ดังกลา่ วใหก้ องทุนฯ ภายใน
กันยายนทกุ ปี) เกนิ 5 ล้านบาท /ปี ตอ้ งแจ้ง 50,000 บาท
- ต่อท่ีประชุมใหญ่ผ้ถู อื ห้นุ หลงั

บริจาค

8.การส้ินสุดพรรคการเมอื ง/การควบรวม
พรรคการเมืองสิ้นสุดลง ดงั น้ี
8.1 ส้ินสภาพความเป็นพรรคการเมอื ง
(ไมเ่ หน็ ด้วยให้ยน่ื ต่อศาล รธน. ภายใน 30 วนั นับแต่วนั ประกาศในราชกิจจานเุ บกษา)
(1) ไม่แกไ้ ขขอ้ บังคบั ใหถ้ ูกตอ้ ง/จำนวนสมาชิกหรอื จำนวนสาขาเหลือไม่ถึงตามที่กฎหมาย

กำหนด
(2) ไม่มกี ารประชมุ ใหญ่พรรค/การดำเนินกิจกรรมทางการเมอื ง ติดต่อกันเกิน 1 ปี
(3) ไม่ส่งสมาชกิ สมคั ร ส.ส. ในการเลอื กตั้งท่ัวไป 2 คร้ังตดิ ตอ่ กนั หรอื 8 ปี ติดตอ่ กัน
(4) มีหนส้ี นิ ล้นพน้ ตวั /เลิกตามข้อบงั คับ
8.2.ศาลรัฐธรรมนูญส่ังยุบพรรคและเพิกถอนสิทธิผู้สมัครรับเลือกต้ังของคณะกรรมการ

บริหารพรรค 10 ปี
(1) กระทำการล้มล้าง/ปฏิปักษ์ ต่อการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น

ประมุข
(2) การกระทำการฝา่ ฝนื ตามกฎหมาย (รายละเอยี ดเพมิ่ เติมตาม ม.92)
(3) มเี หตุอันควรยุบพรรค
8.3. ควบรวมพรรคการเมอื ง
(1) ทำได้ - เฉพาะเป็นการรวมกนั เพ่อื จดั ต้ังพรรคการเมืองใหม่
(2)ทำไม่ได้ - ในระหว่างอายุของ สภาผู้แทนราษฎร จะควบรวมพรรคการเมืองท่ีมีสมาชิก

เปน็ สส. ไมไ่ ด้

เตรียมสอบ กกต. 2564

เตรียมสอบพนกั งาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลอื กตั้ง ชดุ ที่ 2 125

9. ตวั เลขจำนวนวัน

การดำเนนิ การ วัน แจ้งต่อ/คัดคา้ น
ตอ่
แจ้งหมายเลขบญั ชีเงนิ ฝากและจำนวนเงนิ ท่ีเปิดบัญชี 7 วนั นบั แตว่ ันทีเ่ ปิดบัญชี
นายทะเบียน
จัดตั้งสาขาพรรคการเมือง/เปลี่ยนท่ีต้ังสาขา/เปล่ียน 15 วันนบั แตง่ วนั ทไี่ ดจ้ ดั ตงั้ สาขา/เปลี่ยน นายทะเบียน
คณะกรรมการสาขา นายทะเบียน
นายทะเบียน
แตง่ ตัง้ /เปล่ยี น ตวั แทนพรรคการเมอื งประจำจงั หวัด 15 วนั นบั แตง่ วนั ท่ไี ด้ตง้ั /เปลีย่ น นายทะเบียน
นายทะเบียน
แก้ไขคำประกาศอุดมการณ์ /ข้อบังคับ/เลือก 15 วันนบั แตว่ ันทไ่ี ดร้ ับความเห็นชอบจากท่ี นายทะเบียน

คณะกรรมการบริหารพรรค ประชมุ ใหญ่ของพรรคการเมือง -
นายทะเบียน
กรรมการบรหิ ารพรรคการเมอื งตาย/ลาออก/เปล่ยี นช่ือ-สกลุ 15 วนั นับแตง่ วนั ท่มี เี หตุ
ศาล รธน.
ส่งรายงานการดำเนนิ กจิ การของพรรคการเมือง 15 วนั นับแตว่ ันทีป่ ระชมุ ใหญอ่ นมุ ตั แิ ล้ว
ศาล รธน.
ร า ย ง า น ง บ ก า ร เงิ น ซึ่ ง ที่ ป ร ะ ชุ ม ให ญ่ อ นุ มั ติ แ ล้ ว 30 วนั นบั แตว่ ันทปี่ ระชมุ ใหญอ่ นมุ ัติแล้ว
หน.พรรค รบั รองร่วมกบั เหรญั ญิก

กกต.กำหนดวงเงนิ จัดสรรเงินอุดหนุนแก่พรรคการเมอื ง 30 วันนับแต่วันสนิ้ ปงี บประมาณ

พรรคส้ินสภาพ/ถูกยุบต้องส่งงบแสดงฐานะทาง 30 วันนับแต่วนั ทพ่ี รรคการเมืองสิน้ สภาพหรือ

การเงิน+เอกสารทเ่ี กีย่ วข้อง ถูกยุบ

กกต.ไม่รับจดทะเบียนพรรคการเมือง/ไม่แก้ไข คดั ค้าน 30 วันนับแตว่ นั ท่ไี ดร้ ับหนงั สือแจง้ มติ
ขอ้ บงั คับพรรคการเมอื ง

กรรมการบริหารพรรคพ้นจากตำแหน่ง+ ตัดสิทธิทางการเมือง คดั คา้ น 30 วันนับแต่วนั ท่ไี ด้รบั หนังสือแจ้ง
20ปี เพราะไมค่ วบคมุ ดูแลสมาชิกพรรคฝา่ ฝืนกฎหมายฯลฯ

10. จำนวนเดอื น

การดำเนินการ ภายในเดือน สง่ ตอ่

ทำแผนหรือโครงการที่จะดำเนินกิจกรรมทาง เมษายน นายทะเบียน

การเมอื งตามหลักการปกครองฯ

เสน องบ การเงิน ท่ี ผู้สอบ บั ญ ชีรับ อนุ ญ าต เมษายน นายทะเบียน

ตรวจสอบและรับรองตอ่ ท่ปี ระชมุ ใหญ่พรรค

กรมสรรพากร โอนเงิน ภงด. ให้นายทะเบียน กันยายน พรรคการเมอื ง

สง่ ต่อให้ กองทุนเพ่ือการพฒั นาพรรคการเมอื ง

พรรคการเมืองปิดบญั ชีครง้ั แรก ภ า ย ใ น สิ้ น ปี ป ฏิ ทิ น ท่ี ไ ด้ รั บ ก า ร จ ด ท ะ เบี ย น จั ด ต้ั ง

และคร้งั ต่อไปเปน็ ประจำทกุ ปใี นวนั ส้นิ ปีปฏิทิน

เตรยี มสอบ กกต. 2564

เตรยี มสอบพนกั งาน สำนักงานคณะกรรมการการเลอื กตัง้ ชดุ ที่ 2 126

11. บททวั่ ไป VS บทเฉพาะกาล

หลักการ .พรรค/คณะกรรมการบรหิ ารพรรค/สมาชกิ ทีม่ ีอยกู่ ่อน พรป.นี้บังคับใชถ้ ือว่า
ยงั เป็นพรรคการเมือง/กบห.(ต้องไมม่ ีลักษณะตอ้ งห้าม)/สมาชิก(ต้องไม่มลี ักษณะต้องห้าม)
เหมอื นเดมิ แตต่ อ้ งยื่นหนงั สือตอ่ หัวหน้าพรรคการเมอื ง+หลักฐานไมม่ ลี ักษณะตอ้ งหา้ ม+ชำระ
ค่าบำรงุ ฯ **ภายใน 1 เม.ย. 61**

ท่วั ไป เฉพาะกาล

หลักการ คณะกรรมการสรรหาผ้สู มคั รรบั ยกเวน้ คณะกรรมการสรรหาผู้สมัครรบั เลอื กตง้ั

เลือกตัง้ 1.กรรมการบรหิ ารพรรคการเมือง 4 คน

1.กรรมการบรหิ ารพรรคการเมอื งไมเ่ กนิ กง่ึ หนึ่ง 2.หัวหน้าสาขาพรรคการเมือง+ตัวแทนพรรค

ของคณะกรรมการสรรหาผูส้ มัครรับเลอื กตง้ั เลือกต้ังเองจนครบ 7 คน (ถ้ารวม หน.สาขา/

2.หัวหน้าสาขาพรรคการเมอื ง(ไมน่ ้อยกว่า 4 ตัวแทนไม่ได้จำนวน 7 คน พรรคการเมืองเลือก

สาขาภาคต่างกัน)และตัวแทนพรรคการเมือง ตวั แทนสมาชิกทข่ี าดใหค้ รบ 7 คน )

ประจำจังหวดั

หลักการ ยกเว้น ถ้ามีสาขา/ตัวแทน บ้างแล้วอย่างน้อย 1

1.ไม่ส่งผู้สมัคร ส.ส. พรรคนั้นต้องมีอย่างน้อย แห่ง สามารถส่งได้ทุกเขตในการเลอื กต้ังครั้งแรก

ภาคล่ะ 1 สาขา เพ่ือดำเนินกิจกรรมทาง

การเมือง

2.ถ้าส่งผู้สมัคร ต้องมีทุกสาขาหรือตัวแทนในทุก

เขตเลอื กตง้ั จึงจะส่งผู้สมัคร ส.ส. ได้

ขอ้ สังเกต ตวั แทนพรรคฯ ไม่มีกำหนดกคี่ น

หัวหน้าและกรรมการสาขา ไมน่ ้อยกวา่ 7 คน

หลักการ ค่าบำรงุ ไม่นอ้ ยกว่า 100 บาท/ปี ยกเวน้ คา่ บำรงุ ไม่นอ้ ยกว่า 50 บาท/ปี

เตรยี มสอบ กกต. 2564

เตรียมสอบพนกั งาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลือกตัง้ ชดุ ที่ 2 127

แผนผงั ประกอบ 1 กรณีไม่ถูกต้อง ตาม (ม.18)
ขน้ั ตอนการเตรยี มการจดั ต้ังพรรคการเมือง

ยื่นคำขอต่อนายทะเบียน

บุคคลซึ่งมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะ นายทะเบียนตรวจสอบ (ม.18 ว. 3) นายทะเบียนมีหนังสือแจ้งให้แก้ไขภายในเวลาที่
ต้องห้ามตามมาตรา ๙ จำนวนไม่น้อย -ชอื่ ชื่อยอ่ ภาพ เครอื่ งหมาย ไม่ซำ้ ไม่พ้อง ฯลฯ นายทะเบียนกำหนดหรอื ที่ขยายให้ (ม.19)
กว่า 15 คน (ม. 18) -คุณสมบตั ลิ ักษณะต้องห้าม (ม. 9)

ตรวจสอบแล้วถูกต้อง ไม่มีการแก้ไข
ออกหนังสือรับแจ้ง คำขอนั้นเป็นอันส้ินผลไป

แก้ไขถูกต้อง

ผู้เตรียมไม่น้อยกว่า 15 คน ต้องดำเนินการ ไม่ครบถ้วน/ไม่ยื่น ใน
-หาผู้รว่ มจัดต้งั พรรคไมน่ ้อยกวา่ 500 คน (ม.9) 180 วัน
-ประชมุ ผู้รว่ มจดั ต้ังพรรคไมน่ อ้ ยกวา่ 250 คนเพอื่ ดำเนินการตาม (ม.10)
-รว่ มจดั ต้งั ทกุ คนตอ้ งจา่ ยคนละไมน่ ้อยกว่า 1,000 ไม่เกนิ 50,000 (ม.9 ว.2) คำขอนั้นเป็นอันสิ้นผลไป
-ยื่นคำขอจดทะเบียนภายใน 180 วันนบั แตว่ ันที่รับแจง้ (ม.18)

กรณีครบถ้วน ย่ืนคำขอจัดต้ังพรรคฯ (ม.11) ต่อนายทะเบยี น โดยผู้ซึง่ ได้รบั เลือกเป็นหัวหนา้ พรรคการเมือง(ม.10)

เตรยี มสอบ กกต. 2564

เตรียมสอบพนักงาน สำนักงานคณะกรรมการการเลอื กตั้ง ชดุ ท่ี 2 128
แผนผงั ประกอบ 1 ขั้นตอนจัดตั้งพรรคการเมอื ง
ยื่นคำขอจัดตั้งพรรคฯ+เอกสาร (ม.11)
บุคคลซ่งึ มีอุดมการณ์ทางการเมืองในแนวทางเดยี วกัน และ 1.ประชุมผู้รว่ มจดั ตง้ั พรรคไมน่ อ้ ยกวา่ 250 คน เพื่อ ต่อนายทะเบียน โดยผู้ซง่ึ ไดร้ ับเลือกเป็น
มคี ณุ สมบตั แิ ละไม่มลี กั ษณะตอ้ งห้าม จำนวนไมน่ ้อยกว่า ดำเนินการตาม ม.10
500 คน ( ดูคณุ สมบัติ ม.9 ประกอบ) 2.ทุนประเดมิ ไม่น้อยกว่า 1 ลา้ นบาท ผรู้ ว่ มจดั ตั้งทุกคนตอ้ ง หวั หน้าพรรคการเมือง (ม.10)
จ่ายคนละไม่นอ้ ยกว่า 1,000 ไมเ่ กนิ 50,000 (ม.9 ว.2)
นายทะเบยี นตอ้ งตรวจสอบ คำขอฯ+เอกสาร
นายทะเบียนเห็นวา่ ถกู ต้อง (ม.17 ว.2) ตรวจสอบตามมาตรา วา่ ถูกตอ้ งครบถ้วนหรอื ไม่ (ม.17)
นายทะเบียนเสนอ กกต.เห็นชอบจดทะเบียน ม.9 คณุ สมบตั ิ/ลกั ษณะต้องหา้ ม
ม.12 คำขอจดทะเบียนจดั ตง้ั พรรคฯ นายทะเบียนเห็นวา่ ไมถ่ ูกต้อง (ม.17 ว.2)
ม.13 เอกสารหลกั ฐาน
ม.14 ขอ้ บังคบั ตอ้ งไมม่ ีลกั ษณะตอ้ งหา้ ม
ม.15 ข้อบงั คับอย่างนอ้ ยตอ้ งมรี ายการ
ม.16 คณะกรรมการบรหิ ารพรรค

ประกาศจัดตั้งใน แจง้ พรรคฯทราบ ปรากฏภายหลังวา่ ขอ้ บงั คับไม่เปน็ ไปตาม นายทะเบียนเสนอ กกต.เหน็ ชอบแจ้งผยู้ น่ื ฯให้
ราชกจิ จานเุ บกษา ม.14/15 นายทะเบยี นรายงาน กกต. เพ่ือมี แก้ไขภายใน 60 วัน
มติเพิกถอนขอ้ บังคับ และแจ้งมตใิ ห้
คณะกรรมการบริหารพรรคทราบ ภายใน 7 วัน แก้ไขถกู ตอ้ ง แก้ไขไมถ่ ูกตอ้ ง/ไม่แก้ไข
เพอื่ ใหแ้ ก้ไขภายใน 60 วัน ม.17 ว 3

แก้ไขถูกตอ้ ง แกไ้ ขไมถ่ ูกต้อง/ไม่แกไ้ ข นายทะเบียนรายงาน
กกต. มีมตไิ มร่ ับจด
พรรคการเมืองน้ันสิ้นสภาพ และหัวหน้าพรรคฯมีสิทธิย่ืนคำ ทะเบียน และแจ้มติให้ผู้
รอ้ งตอ่ ศาล รธน.ภายใน 30 วัน ย่ืนทราบภายใน 7 วัน

เตรียมสอบ กกต. 2564

เตรยี มสอบพนักงาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกต้ัง ชดุ ท่ี 2 129

ข้นั ตอนไพรมารีโ่ หวตเลอื กผสู้ มคั รรบั เลือกตงั้ แบบแบ่งเขตเลือกตง้ั

คณะกรรมการสรรหา กำหนด วัน/เวลา/สถานท่ีรับสมัครและ ดำเนินการใหม่
ประกาศให้สมาชิกพรรคการเมืองทราบ เมื่อพ้นเวลารับสมัครต้อง
ตรวจสอบคุณสมบัตแิ ละลกั ษณะต้องห้ามผู้สมคั รในแตล่ ะเขตเลือกตงั้

ส่งรายชื่อผู้สมัครให้ สาขาพรรค/ตัวแทนพรรคฯ

สาขาพรรค/ตัวแทนพรรคฯ จัดประชุมเพอื่ ลงคะแนน สมาชิก 1 คน/1คะแนน
- สาขาพรรค (ตอ้ งมสี มาชิกประชมุ ไมน่ ้อยกว่า 100 คน)
- หรอื ตัวแทนพรรค (ต้องมสี มาชิกประชมุ ไมน่ ้อยกว่า 50 คน)

ส่งรายชอ่ื ผไู้ ดค้ ะแนนสูงสุด 2 ลำดบั แรก ให้ คณะกรรมการสรรหา

คณะกรรมการสรรหา จะส่งรายชอื่ ให้ คณะกรรมการบริหารพรรค
เพอ่ื พจิ ารณา

เหน็ ชอบ ไมเ่ ห็นชอบ

หวั หน้าพรรคออก บางคน=แสดงเหตผุ ล+เลอื กคนลำดบั ถดั ไป
หนังสอื รับรอง การส่ง
ทุกคน= คณ ะกรรมการสรรหาต้องประชุม
ผู้ได้รับการสรรหา ร่วมกับคณะกรรมการบริหารพรรคพิจารณา
รายช่อื

เหน็ ชอบ ไม่เห็นชอบ

เตรียมสอบ กกต. 2564

เตรียมสอบพนกั งาน สำนักงานคณะกรรมการการเลอื กตั้ง ชดุ ที่ 2 130

ขน้ั ตอนไพรมารโ่ี หวตเลือกผูส้ มัครรบั เลอื กตง้ั แบบบญั ชีรายชอ่ื

คณะกรรมการสรรหา กำหนด วัน/เวลา/สถานท่ี เสนอรายชื่อ ดำเนินการใหม่
บุคคลเป็นผู้สมัคร และแจ้งคณะกรรมการบริหารพรรค/หน.สาขา
พรรค/ตัวแทนพรรค และประกาศใหส้ มาชิกพรรคทราบท่ัวไป

เม่อื พน้ เวลาเสนอรายช่ือ คณะกรรมการสรรหาตรวจสอบคณุ สมบัตแิ ละทำ
บัญชีรายช่ือไม่เกนิ 150 คน โดยคำนึง ภูมิภาคตา่ งๆ+ความเทา่ เทียมชายหญงิ

สง่ รายชอ่ื ให้สาขาพรรค/ตัวแทนพรรค เพื่อจดั ประชมุ ลงคะแนน สมาชกิ 1 คน/ไม่
เกิน15 รายช่อื - สาขาพรรค (ต้องมีสมาชกิ ประชุมไมน่ ้อยกว่า 100 คน)
- หรือตัวแทนพรรคฯ (ต้องมีสมาชกิ ประชุมไม่นอ้ ยกวา่ 50 คน)

รายงาน ให้ คณะกรรมการสรรหา เพ่ือจดั ทำบญั ชรี ายชือ่ ผูส้ มัครรบั เลอื กต้งั
โดยเรยี งลำดบั ตามผลรวมของคะแนน

ถ้า หน.พรรค ประสงค์จะเป็น
ผู้สมัคร ส.ส. แบบบัญชีรายช่ือ
ให้อยู่ในลำดับที่ 1 ในบัญชี
รายชื่อ และเรียงลำดับรายชื่อ
ตามผลคะแนนถัดไปจนครบจำนวน

คณะกรรมการสรรหา ส่งรายชอื่ ให้ คณะกรรมการบรหิ ารพรรคพจิ ารณา

เหน็ ชอบ ไม่เหน็ ชอบ
หัวหน้าพรรคสง่ บญั ชรี ายชอื่ ผสู้ มัครแบบบัญชรี ายช่อื

เตรียมสอบ กกต. 2564

เตรยี มสอบพนกั งาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตัง้ ชุดที่ 2 131

เปรียบเทยี บคณุ สมบัติ

ผูจ้ ัดตง้ั พรรคการเมือง คณะกรรมการบริหารพรรคการเมอื ง สมาชกิ พรรคการเมอื ง กรรมการสาขาพรรคการเมือง ตัวแทนพรรคการเมอื งประจำจังหวัด ม.
ม.9 ม.16+24 34+35
ม.24 ม.34

สัญชาติไทยโดยการเกิด ถ้าแปลงต้องได้ สัญชาติไทยโดยการเกิด ถ้าแปลงต้อง สัญชาติไทยโดยการเกิด ถ้าแปลง สัญชาติไทยโดยการเกิด ถ้าแปลง สัญชาติไทยโดยการเกิด ถ้าแปลงต้องได้

สญั ชาตไิ ทยไม่น้อยกวา่ 5 ปี ได้สญั ชาติไทยไม่น้อยกว่า 5 ปี ต้องไดส้ ัญชาตไิ ทยไมน่ อ้ ยกวา่ 5 ปี ต้องได้สญั ชาตไิ ทยไมน่ อ้ ยกว่า 5 ปี สญั ชาติไทยไม่นอ้ ยกว่า 5 ปี

อายไุ ม่ตำ่ กว่า 20 ปี อายุไม่ต่ำกวา่ 20 ปี/วาระไม่เกนิ 4 ปี อายไุ มต่ ่ำกว่า 18 ปี อายไุ มต่ ่ำกว่า 20 ปี อายไุ มต่ ำ่ กว่า 20 ปี

ไมเ่ ปน็ บคุ คลต้องห้ามตาม รธน. ม.98 ไม่เป็นบุคคลต้องห้ามตาม รธน. ไม่เป็นบุคคลต้องห้ามตาม รธน. ไม่ เป็ น บุ ค ค ล ต้ อ ง ห้ า ม ต า ม ไม่เปน็ บุคคลต้องห้ามตาม รธน. ม.98

ม.98 ม.98 รธน. ม.98

ไม่อยู่ระห ว่างถูกส่ังห้ามมิให้ ดำรง - เสียเงินค่าบำรุงพรรค 100 บาท/ปี - -
ตำแหนง่ ใดในพรรคการเมืองตาม พรป.น้ี ตลอดชพี 2000 บาท

ไม่เปน็ สมาชิกพรรคการเมอื งอื่น/ผู้ยื่นคำ ไม่เป็นสมาชิกพรรคการเมืองอื่น/ผู้ย่ืน ไม่เป็นสมาชิกพรรคการเมืองอื่น/ ไม่เป็นสมาชิกพรรคการเมืองอ่ืน/ ไม่เป็นสมาชิกพรรคการเมืองอื่น/ผู้ยื่นคำ

ข อ จั ด ต้ั ง พ ร ร ค ก า ร เมื อ ง /ผู้ แ จ้ ง คำขอจัดตั้งพรรคการเมือง/ผู้แจ้ง ผู้ย่ืนคำขอจัดต้ังพรรคการเมือง/ ผู้ยื่นคำขอจัดต้ังพรรคการเมือง/ ขอจัดต้ังพรรคการเมือง/ผู้แจ้งเตรียมการ

เตรยี มการจดั ต้งั เตรียมการจัดตั้ง ผ้แู จง้ เตรียมการจัดตง้ั ผแู้ จง้ เตรยี มการจดั ต้งั จดั ตั้ง

ต้องเป็นสมาชิกพรรคการเมอื ง พ้ น จ า ก ต ำ แ ห น่ งเม่ื อ ต าย / ต้องเปน็ สมาชิกพรรคการเมอื ง ตอ้ งเปน็ สมาชิกพรรคการเมือง

ลาออก/ไม่ชำระค่าบำรุงพรรค 2 ปี

ตดิ ตอ่ กนั /บวชถาวร

หมายเหตุ รธน. ม.98 ให้ดเู ฉพาะอนทุ ่ี ม.9 แห่ง พรป.พรรคการเมอื งระบไุ ว้เทา่ น้นั

เตรียมสอบ กกต. 2564

เตรยี มสอบพนกั งาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลอื กตงั้ ชุดท่ี 2 132

พระราชบญั ญัตปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู
วา ดวยพรรคการเมือง
พ.ศ. 2560

สมเดจ็ พระเจา อยูหัวมหาวชริ าลงกรณ บดนิ ทรเทพยวรางกูร
ใหไว ณ วนั ที่ 30 กันยายน พ.ศ.2560
เปน ปท ่ี 2 ในรชั กาลปจ จบุ นั

สมเด็จพระเจาอยูหัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร มีพระราชโองการ
โปรดเกลาฯ ใหประกาศวา โดยทเี่ ปน การสมควรมีกฎหมายประกอบรฐั ธรรมนญู วาดว ยพรรคการเมอื ง

พระราชบัญญัตปิ ระกอบรฐั ธรรมนูญนมี้ ีบทบญั ญัติบางประการเก่ียวกบั การจำกดั สิทธิ
และเสรภี าพของบคุ คล ซง่ึ มาตรา 26 ประกอบกบั มาตรา 34 และมาตรา 37 ของรัฐธรรมนญู แหง
ราชอาณาจกั รไทย บัญญตั ิใหก ระทำไดโดยอาศัยอำนาจตามบทบญั ญตั ิแหง กฎหมาย

เหตุผลและความจำเปนในการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลตาม พรป.น้ี
1. เพ่ือใหการจัดต้ัง การบริหารงาน และการดำเนินกิจกรรมของพรรคการเมืองเปนไปโดย
เปด เผยและตรวจสอบได

2. เปดโอกาสใหสมาชิกมีสวนรวมอยางกวางขวางในการกำหนดนโยบายและการ
สง ผูส มัครรบั เลอื กตง้ั

3. รวมท้ังมีมาตรการกำกับใหพรรคการเมืองสามารถดำเนินการโดยอิสระไมถูก
ครอบงำหรือชี้นำโดยบุคคลซ่ึงมิใชสมาชิกของพรรคการเมือง ซึ่งการตรา พรป.นี้สอดคลองกับ
เง่ือนไขท่บี ญั ญตั ไิ วใ นมาตรา 26 ของรฐั ธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทยแลว

จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหตราพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญขึ้นไว
โดยคำแนะนำและยินยอมของสภานิติบัญญัติแหงชาติทำหนาท่ีรัฐสภา ดังตอไปน้ี

มาตรา 1 พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนี้เรียกวา “พระราชบัญญัติประกอบ
รฐั ธรรมนญู วา ดว ยพรรคการเมอื ง พ.ศ. 2560”

มาตรา 2 พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวัน
ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป

มาตรา 3 ใหยกเลิก
(1) พระราชบญั ญตั ปิ ระกอบรฐั ธรรมนูญวาดวยพรรคการเมอื ง พ.ศ. 2550
(2) พระราชบญั ญัติประกอบรฐั ธรรมนูญวาดว ยพรรคการเมือง (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2554
มาตรา 4 ในพระราชบญั ญตั ปิ ระกอบรฐั ธรรมนูญนี้
“พรรคการเมอื ง” หมายความวา คณะบคุ คลทร่ี วมตัวกันจดั ตั้งเปน พรรคการเมอื ง
โดยไดจดทะเบยี นตามพระราชบญั ญตั ปิ ระกอบรัฐธรรมนูญน้ี
“สมาชิก” หมายความวา สมาชกิ พรรคการเมือง

เตรียมสอบ กกต

เตรียมสอบพนักงาน สำนักงานคณะกรรมการการเลอื กตั้งชุดที่ 2 133

“นายทะเบยี นสมาชกิ ” หมายความวา ผดู ำรงตำแหนง นายทะเบียนในพรรคการเมือง
“ขอ บังคับ” หมายความวา ขอ บงั คบั พรรคการเมือง
“บรจิ าค” หมายความวา
1. การใหเงนิ หรือทรพั ยส นิ แกพ รรคการเมือง
(นอกจากคาธรรมเนียมและคาบำรุงพรรคการเมือง)

2. และใหหมายความรวมถึงการใหประโยชนอื่นใดแกพรรคการเมือง
บรรดาที่สามารถคำนวณเปน เงนิ ไดต ามทีค่ ณะกรรมการกำหนดดวย
“ประโยชนอ น่ื ใด” หมายความรวมถึง
1. การใหใชทรัพยส นิ

2. การใหบ ริการ
3. การใหส วนลดโดยไมมีคาตอบแทนหรอื มีคา ตอบแทนท่ีไมเ ปน ไปตามปกติทางการคา
4. การทำใหหนท้ี ีพ่ รรคการเมอื งเปน ลกู หน้ีลดลงหรือระงับสน้ิ ไปดวย
“กองทนุ ” หมายความวา กองทุนเพอ่ื การพฒั นาพรรคการเมอื ง
“คณะกรรมการ” หมายความวา คณะกรรมการการเลอื กต้ัง
“นายทะเบยี น” หมายความวา นายทะเบยี นพรรคการเมือง (คอื เลขาธิการ กกต.)
“สำนกั งาน” หมายความวา สำนกั งานคณะกรรมการการเลือกต้งั
“จงั หวัด” หมายความรวมถึง กรุงเทพมหานครดว ย
“เขตเลือกต้งั ” หมายความวา ทองทีท่ ีก่ ำหนดเปน เขตเลือกตงั้ สมาชิกสภาผูแ ทนราษฎร
แบบแบงเขตเลือกตัง้ หรือเขตเลอื กสมาชกิ วฒุ สิ ภา แลวแตก รณี

*ขอสังเกต*
ในสวนนี้ ขอสอบอาจจะออก ความหมาย เชน ใครคือ นายทะเบียนพรรคการเมือง หรือ
ความหมายการบรจิ าค หรือประโยชนอน่ื ใด เปน ตน ดังน้ัน ทานควรจำความหมายใหดคี รับ

มาตรา 5 ใหป ระธานกรรมการการเลอื กต้งั รกั ษาการ ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญน้ี
** Trick กฎหมายของ กกต.ทุกฉบับ ประธาน.กกต. รกั ษาการหมด **

มาตรา 6 เลขาธิการคณะกรรมการการเลือกตั้ง เปน นายทะเบียนและมีหนาท่ีและ
อำนาจตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญน้ี ท้ังนี้ ภายใตการกำกับและควบคุมของ
คณะกรรมการ

มาตรา 7 ในการปฏิบัติหนาที่ของนายทะเบียนตามพระราชบัญญัติประกอบ
รัฐธรรมนูญนี้ใหนายทะเบียนมีอำนาจ เรียก บุคคลท่ีเก่ียวของมาใหคำช้ีแจงหรือใหสงเอกสารหรือ
หลักฐานท่ีเกีย่ วขอ งมาเพือ่ ประกอบการพิจารณาได

เตรียมสอบ กกต

เตรยี มสอบพนักงาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตัง้ ชดุ ที่ 2 134

มาตรา 8 ในกรณีทพี่ ระราชบญั ญัตปิ ระกอบรัฐธรรมนูญนมี้ ไิ ดกำหนดไวเปน ประการ
อ่ืน การใดที่กำหนดใหแจง ยนื่ หรอื สงหนงั สอื หรอื เอกสารใหบ ุคคลใดเปนการเฉพาะ ถา ไดแจง ยน่ื หรือ
สง หนงั สือหรอื เอกสารใหบ ุคคลนนั้ ณ ภูมลิ ำเนาหรอื ท่ีอยทู ี่ปรากฏตามหลกั ฐานทางทะเบียนตาม
กฎหมายวา ดวยการทะเบยี นราษฎร ใหถือวา ไดแ จง ย่ืน หรือสงโดยชอบดวยพระราชบัญญตั ิประกอบ
รฐั ธรรมนญู นี้แลว และในกรณที ่พี ระราชบญั ญัตปิ ระกอบรัฐธรรมนญู นกี้ ำหนดใหป ระกาศ หรือเผยแพร
ใหป ระชาชนทราบเปน การทั่วไปใหถ ือวาการประกาศหรอื เผยแพรในระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ หรอื
ระบบหรือวธิ กี ารอน่ื ใดท่ีประชาชนทว่ั ไปสามารถเขา ถงึ ไดโดยสะดวก เปนการดำเนินการโดยชอบดว ย
พระราชบญั ญตั ิประกอบรัฐธรรมนูญนแี้ ลว

ในกรณีท่พี ระราชบญั ญัติประกอบรฐั ธรรมนญู นีก้ ำหนดใหค ณะกรรมการหรอื นาย
ทะเบยี นมีอำนาจกำหนดหรือมคี ำส่งั เรอ่ื งใด ถามิไดก ำหนดวิธีการไวเปนการเฉพาะ ใหค ณะกรรมการ
หรือนายทะเบียนกำหนดโดยทำเปนประกาศ ระเบยี บ หรอื คำส่ัง แลว แตก รณี และถา ประกาศ ระเบียบ
หรือคำสั่งนนั้ ใชบงั คับแกบุคคลทว่ั ไปใหป ระกาศในราชกิจจานเุ บกษา และใหดำเนินการประกาศตาม
วรรคหนึง่ ดว ย ทั้งน้ี ถาประกาศ ระเบยี บ หรอื คำส่ังใดมีการกำหนดขัน้ ตอนการดำเนินงานไว
คณะกรรมการหรือนายทะเบยี นตองกำหนดระยะเวลาการดำเนินงานในแตละข้ันตอนใหช ัดเจนดว ย

หมวด 1
การจัดตง้ั พรรคการเมอื ง
มาตรา 9 บุคคลซึ่งมีอดุ มการณท างการเมืองในแนวทางเดียวกนั และมคี ุณสมบตั ิและไม
มลี ักษณะตองหา มดงั ตอ ไปน้ี จำนวนไมนอยกวา 500 คน อาจรวมกนั ดำเนินการเพอ่ื จดั ตงั้ พรรค
การเมอื งตามพระราชบญั ญัติประกอบรฐั ธรรมนญู น้ีได
(1) มสี ัญชาติไทยโดยการเกิด ถา ไดส ญั ชาตไิ ทยโดยการแปลงตอ งไดไมน อ ยกวา 5 ป
(2) มีอายุไมต ่ำกวา 20 ป
(3) ไมเ ปน บคุ คลตองหามมใิ หใ ชสทิ ธสิ มคั รรับเลือกตง้ั ตามมาตรา 98 (1) (2) (4)
(5) (6) (7) (8) (9) (10) (11) (14) (16) (17) หรือ (18) ของรฐั ธรรมนูญ
(4) อยูใ นระหวา งถูกสัง่ หา มมิใหดำรงตำแหนงใดในพรรคการเมืองตาม พรป.น้ี
(5) ไมเปนสมาชิกของพรรคการเมืองอ่ืนหรือผูยื่นคำขอจดทะเบียนจัดตั้งพรรค
การเมอื งอน่ื หรอื ผูแ จงการเตรียมการจัดต้ังพรรคการเมอื งอื่น
เพื่อประโยชนในการดำเนินการของพรรคการเมือง พรรคการเมืองตองมีทุนประเดิม
ไมนอยกวา 1,000,000 บาท โดยผูรวมกันจัดตั้งพรรคการเมืองทุกคนตองรวมกันจายเงินเพื่อเปน
ทนุ ประเดมิ คนละไมน อยกวา 1,000 แตไ มเกนิ คนละ 50,000 บาท

เตรียมสอบ กกต

เตรียมสอบพนกั งาน สำนักงานคณะกรรมการการเลอื กตง้ั ชดุ ที่ 2 135

ความในมาตรา 98 บคุ คลผมู ลี ักษณะดงั ตอไปน้ี เปนบุคคลตองหา มมใิ หใชสิทธสิ มัครรบั เลือกต้ังเปน ส.ส
(1) ตดิ ยาเสพตดิ ใหโ ทษ
(2) เปน บุคคลลมละลายหรอื เคยเปน บุคคลลมละลายทุจริต
(4) เปนบุคคลผูมีลักษณะตองหามมิใหใชสิทธิเลือกต้ังตามมาตรา 96 คือ เปนภิกษุ เณร นักพรต นักบวช อยูใน

ระหวางถูกเพกิ ถอนสทิ ธเิ ลอื กตง้ั ไมวาคดีน้นั จะถงึ ที่สดุ หรือไม หรือ วกิ ลจริตจติ ฟน เฟอ นไมส มประกอบ
(5) อยูระหวางถกู ระงับการใชสิทธสิ มัครรับเลอื กต้ังเปน การชวั่ คราวหรอื ถูกเพกิ ถอนสิทธสิ มัครรบั เลอื กตงั้
(6) ตอ งคำพพิ ากษาใหจ ำคกุ และถูกคุมขงั อยูโดยหมายของศาล
(7) เคยไดรับโทษจำคุกโดยไดพนโทษมายังไมถึงสิบปนับถึงวันเลือกต้ัง เวนแตในความผิดอันไดกระทำโดยประมาท

หรอื ความผิดลหโุ ทษ
(8) เคยถูกสั่งใหพนจากราชการ หนวยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจเพราะทุจริตตอหนาท่ีหรือถือวากระทำการทุจริต

หรือประพฤติมิชอบในวงราชการ
(9) เคยตองคำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลอันถงึ ท่ีสุดใหท รัพยสนิ ตกเปนของแผน ดินเพราะร่ำรวยผิดปกติ หรอื เคยตอ ง

คำพิพากษาอนั ถึงท่สี ดุ ใหล งโทษจำคกุ เพราะกระทำความผดิ ตามกฎหมายวาดวยการปองกนั และปราบปรามการทุจริต
(10) เคยตอ งคำพพิ ากษาอนั ถงึ ท่สี ดุ วา กระทำความผดิ ตอตำแหนง หนา ที่ราชการหรอื ตอตำแหนง หนาทใ่ี นการยตุ ิธรรม

หรือกระทำความผิดตามกฎหมายวาดวยความผิดของพนักงานในองคการหรือหนวยงานของรัฐ หรือความผิดเกี่ยวกับทรัพยท่ี
กระทำโดยทุจริตตามประมวลกฎหมายอาญา ความผิดตามกฎหมายวาดวยการกูยืมเงินท่ีเปนการฉอโกงประชาชน กฎหมายวา
ดวยยาเสพติดในความผิดฐานเปนผูผลิต นำเขา สงออกหรือผูคา กฎหมายวาดวยการพนันในความผิดฐานเปนเจามือหรือเจา
สำนักกฎหมายวาดวยการปองกันและปราบปรามการคามนุษย หรือกฎหมายวาดวยการปองกันและปราบปรามการฟอกเงินใน
ความผิดฐานฟอกเงนิ

(11) เคยตองคำพิพากษาอนั ถงึ ที่สุดวากระทำการอันเปนการทุจรติ ในการเลอื กต้ัง
(14) เปนสมาชิกวุฒิสภาหรอื เคยเปนสมาชิกวุฒิสภาและสมาชิกภาพสนิ้ สดุ ลงยงั ไมเกนิ สองป
(16) เปนตุลาการศาลรัฐธรรมนญู หรอื ผดู ำรงตำแหนง ในองคก รอสิ ระ
(17) อยใู นระหวา งตองหามมิใหดำรงตำแหนง ทางการเมอื ง
(18) เคยพนจากตำแหนง เพราะเหตตุ ามมาตรา 144 หรือมาตรา 235 วรรคสาม

เตรียมสอบ กกต

เตรยี มสอบพนกั งาน สำนักงานคณะกรรมการการเลอื กตง้ั ชุดท่ี 2 136

การจดั ต้งั พรรคการเมือง มี 2 แบบดงั นี้

1. การเตรียมการจดั ตง้ั พรรคการเมอื ง (เหมือนเราไปจองชือ่ พรรคไวก อ นอยางอื่นเดยี วทำ)
2. การจดั ต้ังพรรคการเมอื ง (ทุกอยางพรอ มหมดแลว )

มาตรา 10 กอ นยื่นคำขอจดทะเบียนจัดตง้ั พรรคการเมอื ง ผรู วมกนั จดั ตั้งพรรค
การเมอื งตามมาตรา 9 ตอ งประชุมรวมกันโดยมผี เู ขารว มประชุม ไมน อยกวา 250 คน

(1) กำหนดช่ือ ชื่อยอ และภาพเครื่องหมายของพรรคการเมือง คำประกาศ
อุดมการณทางการเมืองของพรรคการเมอื ง นโยบายของพรรคการเมอื ง และขอ บังคับ

(2) เลือกหวั หนาพรรคการเมอื ง เลขาธกิ ารพรรคการเมือง เหรญั ญกิ พรรคการเมือง
นายทะเบียนสมาชิกและกรรมการบริหารอนื่ ของพรรคการเมือง (นค่ี ือคณะกรรมการบรหิ ารพรรค)

(3) ดำเนินการอื่นอันจำเปนตอการจัดตั้งพรรคการเมืองตามที่คณะกรรมการ
กำหนด

ชื่อ ชื่อยอ และภาพเครื่องหมายของพรรคการเมืองตาม (1) ตองไมมีลักษณะตาม
มาตรา 14 และตองไมซ้ำ พอง หรือคลายคลึงกับชื่อ ช่ือยอ หรือภาพเครื่องหมายของพรรคการเมืองที่
จดทะเบียนหรอื ทีย่ ื่นขอจดทะเบียนตามมาตรา 9 อยูกอ นแลว หรือของพรรคการเมืองท่ีถูกยบุ และยังไม
พน 20 ปนับแตวันที่พรรคการเมืองนั้นถูกยุบ หรือของพรรคการเมืองที่มีผูแจงไวแลวตาม
มาตรา 18 และตองไมซ้ำพอง หรือคลายคลึงกับพระปรมาภิไธยของพระมหากษัตริยหรือพระนามของ
พระราชวงศ หรอื ท่ีมงุ หมายใหหมายถงึ พระมหากษัตรยิ ห รอื พระราชวงศ

การประชุมตามวรรคหน่ึงตองมีบันทึกการประชุมเปนลายลักษณอักษร และมติของท่ี
ประชุมใหเปนไปตามเสียงขางมากของผูเขารวมประชุม โดยผูเขารวมประชุมคนหนึ่งมีเสียงหนึ่งในการ
ลงคะแนนซึง่ ตองทำโดยเปดเผย และการมอบหมายใหล งคะแนนแทนกนั จะกระทำมไิ ด

ในกรณีท่ีนายทะเบียนรับจดทะเบียนจัดต้ังพรรคการเมืองตามมาตรา 17 ใหถือวา
การประชมุ ตามวรรคหนง่ึ เปน การประชุมใหญสามัญครง้ั ที่ 1 ของพรรคการเมอื ง

มาตรา 11 ในการยืน่ คำขอจดทะเบยี นจดั ตงั้ พรรคการเมอื ง ใหผูซ ึ่งไดรบั เลอื กเปน
หัวหนา พรรคการเมืองตามมาตรา 10 (2)เปนผูย นื่ คำขอตอนายทะเบยี นพรอ มดว ยเอกสารและ
หลกั ฐานทเี่ กย่ี วของตามทคี่ ณะกรรมการกำหนด และใหน ายทะเบียนออกใบรบั คำขอใหแ กผยู ่นื คำขอไว
เปน หลักฐาน

คำขอจดทะเบียน การยืน่ คำขอจดทะเบยี น และการออกใบรบั คำขอตามวรรคหนงึ่ ให
เปน ไปตามแบบหลักเกณฑ และวิธีการท่คี ณะกรรมการกำหนด

มาตรา 12 คำขอจดทะเบียนจดั ตัง้ พรรคการเมืองตามมาตรา 11 วรรคสอง อยางนอย
ตอ งมรี ายการ ดังตอ ไปน้ี

(1) ชอื่ และชือ่ ยอของพรรคการเมอื ง
(2) ภาพเครือ่ งหมายของพรรคการเมอื ง

เตรียมสอบ กกต

เตรียมสอบพนกั งาน สำนักงานคณะกรรมการการเลอื กตง้ั ชุดที่ 2 137

(3) ที่ตง้ั สำนักงานใหญพรรคการเมือง
(4) ชอ่ื ทีอ่ ยู เลขประจำตวั ประชาชนและลายมอื ชอ่ื ของหัวหนา พรรคการเมือง
เลขาธกิ ารพรรคการเมือง เหรญั ญกิ พรรคการเมอื ง นายทะเบยี นสมาชิก และกรรมการบริหารอืน่ ของ
พรรคการเมือง
มาตรา 13 เอกสารและหลักฐานท่ีตองยื่นไปพรอมกับคำขอจดทะเบียนจัดตั้ง
พรรคการเมอื งตามมาตรา 11 วรรคหนึง่ อยา งนอยตองประกอบดวย
(1) ชื่อ ที่อยู เลขประจำตัวประชาชน และลายมือชอื่ ของผรู ว มกนั จัดต้ังพรรคการเมอื งทกุ คน
(2) หลกั ฐานการชำระเงินทนุ ประเดิมของผรู ว มกันจัดต้ังพรรคการเมอื งทุกคน
(3) ขอบังคับ
(4) บันทึกการประชุมตามมาตรา 10 วรรคสาม ซึ่งผูไดรับเลือกเปนหัวหนาพรรค
การเมืองรับรองความถูกตอ ง
(5) หนังสือรับแจงของนายทะเบียนในกรณีท่ีมีการแจงการเตรียมการจัดตั้งพรรค
การเมอื งตามมาตรา 18
มาตรา 14 ขอบังคับตองไมม ีลักษณะ ดังตอ ไปนี้
(1) เปนปฏิปกษตอการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรง
เปนประมขุ และตองไมเปลี่ยนแปลงรปู แบบของรฐั
(2) ขัดตอ ความสงบเรียบรอยหรือศลี ธรรมอนั ดขี องประชาชน
(3) อาจกอใหเ กดิ ความแตกแยกระหวางชนในชาติ
(4) ครอบงำหรือเปนอุปสรรคตอ การปฏบิ ตั ิหนาทโี่ ดยอิสระของ ส.ส. ตามรฐั ธรรมนญู
มาตรา 15 ขอบงั คับอยา งนอ ยตองมีรายการ ดังตอไปน้ี
(1) ช่ือและชือ่ ยอ ของพรรคการเมือง
(2) ภาพเครื่องหมายของพรรคการเมือง
(3) คำประกาศอดุ มการณทางการเมอื งของพรรคการเมืองและนโยบายของพรรคการเมือง
(4) ทตี่ ง้ั สำนกั งานใหญข องพรรคการเมืองซ่งึ ตองตงั้ อยูในราชอาณาจักร
(5) โครงสรางการบริหารพรรคการเมือง และตำแหนง ตา ง ๆ ในพรรคการเมอื ง
(6) หลักเกณฑและวิธีการเลือกหรือการใหความเห็นชอบใหดำรงตำแหนง การดำรง
ตำแหนง การพนจากตำแหนง และหนาที่และอำนาจของหัวหนาพรรคการเมือง เลขาธิการพรรค
การเมือง เหรัญญิกพรรคการเมือง นายทะเบียนสมาชิก กรรมการบริหารอ่ืนของพรรคการเมือง
คณะกรรมการบริหารพรรคการเมือง หัวหนาและกรรมการสาขาพรรคการเมือง และตัวแทนพรรค
การเมืองประจำจงั หวัด
(7) การบริหารจดั การสาขาพรรคการเมือง และของตัวแทนพรรคการเมอื งประจำจงั หวัด
(8) การประชุมใหญข องพรรคการเมอื งและการประชุมใหญของสาขาพรรคการเมอื ง

เตรียมสอบ กกต

เตรยี มสอบพนักงาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลือกตั้งชุดที่ 2 138

(9) คุณสมบัติและลักษณะตองหามของสมาชกิ การรับเขาเปนสมาชิก และการพนจาก
การเปน สมาชิก

(10) สิทธิและหนาที่ของสมาชิก ความรับผิดชอบของสมาชิกตอพรรคการเมือง
และความรบั ผิดชอบของพรรคการเมืองตอ สมาชิก

(11) มาตรฐานทางจริยธรรมของกรรมการบริหารพรรคการเมืองและสมาชิก
โดยมาตรฐานทางจริยธรรมของกรรมการบรหิ ารพรรคการเมืองอยา งนอยตองเทียบเคียงไดกับมาตรฐาน
ทางจริยธรรมทใ่ี ชบงั คับแกส มาชิกสภาผูแทนราษฎร

(12) หลักเกณฑและวิธีการคัดเลือกสมาชิกเพื่อสงเขาสมัครรับเลือกตั้งเปน
สมาชิกสภาผูแทนราษฎรแบบแบงเขตเลือกตั้งและแบบบัญชีรายชื่อ และการคัดเลือกบุคคลซ่ึงพรรค
การเมืองเห็นสมควรจะเสนอใหไดรับการพิจารณาแตงตั้งเปนนายกรัฐมนตรีตามมาตรา 88
ของรฐั ธรรมนญู ซึ่งตอ งกำหนดใหส มาชกิ มีสวนรว มในการคดั เลือกดว ยอยา งกวา งขวาง

(13) หลกั เกณฑและวิธีการคัดเลือกบุคคลดำรงตำแหนงทางการเมืองซึง่ ตองกำหนดให
สมาชกิ มีสว นรวมในการคัดเลือกดว ยอยางกวา งขวาง

(14) วิธีการบริหารการเงินและทรัพยสิน และการจัดทำบัญชีของพรรคการเมือง สาขา
พรรคการเมือง และตัวแทนพรรคการเมืองประจำจังหวัด ซึ่งตองกำหนดใหเปนไปโดยเปดเผยและให
สมาชิกตรวจสอบไดโดยสะดวก

(15) รายไดข องพรรคการเมอื ง และอตั ราคา ธรรมเนยี มและคา บำรงุ พรรคการเมือง
ซึง่ ตองเรยี กเกบ็ จากสมาชกิ ไมน อ ยกวา ปละ 100 บาท

(16) การเลิกพรรคการเมอื ง สาขาพรรคการเมือง และตัวแทนพรรคการเมอื งประจำจงั หวดั
การพิจารณาเพ่ือออกขอ บังคับตาม (6) (8) (10) (11) (12) (13) (14) (15) และ (16)
ตอ งใหสมาชิกมสี วนรวมพจิ ารณาอยางกวา งขวาง
การกำหนดขอบังคับในลักษณะที่เปนการใหบุคคลอื่นซ่ึงมิใชสมาชิกกระทำการอัน
เปน การควบคมุ ครอบงำ หรอื ชีน้ ำ กิจกรรมของพรรคการเมอื งในลกั ษณะทีท่ ำใหพ รรคการเมอื งหรอื
สมาชิกขาดความอสิ ระไมวาโดยตรงหรอื โดยออ มจะกระทำมิได
พรรคการเมืองอาจกำหนดใหเรียกเก็บคาบำรุงพรรคการเมืองจากสมาชิกแบบ
ตลอดชีพตามอัตราที่กำหนดในขอ บงั คบั กไ็ ด แตต องไมน อยกวา 2,000 บาท

** คา สมาชกิ พรรค 100/ป ถาตลอดชีพ 2,000 **

เพ่อื ประโยชนในการอำนวยความสะดวกในการจดั เกบ็ คา บำรงุ พรรคการเมอื งตาม
(15) ใหสำนักงานประสานกับธนาคาร ทง้ั นี้ ตามหลักเกณฑแ ละวิธกี ารที่คณะกรรมการกำหนด

เตรยี มสอบ กกต

เตรยี มสอบพนกั งาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลอื กต้ังชดุ ท่ี 2 139

มาตรา 16 หัวหนาพรรคการเมือง เลขาธิการพรรคการเมือง เหรัญญิกพรรค
การเมอื ง นายทะเบยี นสมาชิก และกรรมการบรหิ ารอนื่ ของพรรคการเมอื งตอ งเปนสมาชิกที่มอี ายไุ มต ่ำ
กวา 20 ป และมีวาระการดำรงตำแหนงตามทีก่ ำหนดในขอบงั คบั แตตอ งไมเ กนิ คราวละ 4 ป

มาตรา 17 ในกรณีท่ีคำขอจดทะเบียนจัดต้ังพรรคการเมืองและเอกสารและหลักฐานท่ี
ยื่นพรอมกับคำขอจดทะเบียนจัดต้ังพรรคการเมืองถูกตองและครบถวน ตามมาตรา 12 มาตรา 13
มาตรา 14 มาตรา 15 และมาตรา 16 ใหนายทะเบียนโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการรับจด
ทะเบียนจัดต้ังพรรคการเมืองและใหประกาศการจัดต้ังพรรคการเมืองน้ันในราชกจิ จานุเบกษา

หากนายทะเบียนเห็นวาคำขอจดทะเบียนจัดตั้งพรรคการเมือง หรือเอกสารหรือ
หลักฐานที่ยื่นพรอมกับคำขอจดทะเบียนจัดต้ังพรรคการเมืองในเรื่องใดไมถูกตองหรือไมครบถวนตาม
มาตรา 12 มาตรา 13 มาตรา 14 มาตรา 15 หรือมาตรา 16 ใหนายทะเบียนโดยความเห็นชอบของ
คณะกรรมการมีหนังสือแจงใหผูย่ืนคำขอจดทะเบียนทราบพรอมดวยเหตุผลเพื่อแกไขใหแลวเสร็จ
ภายใน 60 วันนับแตวันที่ไดรับหนังสือนั้นเมื่อพนระยะเวลาดังกลาวแลวไมมีการแกไขหรือยังแกไขไม
ถูกตองหรือไมครบถวน ใหนายทะเบียนรายงานคณะกรรมการเพ่ือพิจารณาและมีมติไมรับจด
ทะเบียนจัดตั้งพรรคการเมือง และใหนายทะเบียนแจงมติของคณะกรรมการใหผูยื่นคำขอจัดตั้ง
พรรคการเมืองทราบภายใน7วันนับแตวันท่คี ณะกรรมการมมี ติ

ในกรณีทีป่ รากฏในภายหลงั วาขอบังคับของพรรคการเมืองท่ีไดยน่ื ไมเปนไปตามมาตรา
14 หรือมาตรา 15 ใหนายทะเบียนรายงานคณะกรรมการเพื่อพจิ ารณาและมีมติใหเพิกถอนขอบังคับ
น้ัน และใหแจงมติของคณะกรรมการใหคณะกรรมการบริหารพรรคการเมืองทราบภายใน 7 วันนับ
แตวันท่ีคณะกรรมการมีมติ ในการน้ี คณะกรรมการบริหารพรรคการเมืองตองดำเนินการแกไข
ขอบังคับใหถูกตองหรือครบถวนภายใน 60 วันนับแตวันที่ไดรับหนังสือน้ันเมื่อพนระยะเวลาดังกลาว
แลวหากไมมีการแกไข หรือยังแกไขไมถูกตองหรือไมครบถวน ใหพรรคการเมืองน้ันสิ้นสภาพความเปน
พรรคการเมอื ง

ผูยื่นคำขอจดทะเบียนจัดต้ังพรรคการเมืองหรือหัวหนาพรรคการเมืองมีสิทธิยื่นคำ
รองคัดคานมติของคณะกรรมการตามวรรคสองหรือวรรคสามตอศาลรัฐธรรมนูญไดภายใน 30 วันนับ
แตว นั ท่ไี ดรับหนังสอื แจงมตขิ องคณะกรรมการ

มาตรา 18 บุคคลซึ่งมีคุณสมบัติและไมมีลักษณะตองหามตามมาตรา 9 จำนวนไม
นอยกวา 15 คน จะยื่นคำขอแจงการเตรียมการจัดตั้งพรรคการเมืองตอนายทะเบียนไวกอน
แลวดำเนินการรวบรวมผูจัดตั้งพรรคการเมืองใหไดครบจำนวนตามมาตรา 9 ก็ได แตตองยื่นคำ
ขอจดทะเบียนจัดตั้งพรรคการเมืองตามมาตรา 11 ภายใน 180 วันนับแตวันท่ีนายทะเบียนรับแจง
ถามิไดยื่นคำขอจดทะเบียนจัดตั้งพรรคการเมืองภายในระยะเวลาดังกลาว ใหคำขอน้ันเปนอันสิ้นผล

คำขอแจง การยื่นคำขอแจง และการรับแจง ใหเปนไปตามแบบ หลักเกณฑ และวิธีการท่ี
คณะกรรมการกำหนด ท้ังน้ี คำขอแจงนั้นอยางนอยตองประกอบดวยช่ือ ชื่อยอ ภาพเคร่ืองหมายของ
พรรคการเมือง

เตรียมสอบ กกต

เตรียมสอบพนักงาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลือกต้ังชุดท่ี 2 140

ชื่อ ชื่อยอ และภาพเคร่ืองหมายของพรรคการเมืองท่ีแจงตามวรรคสอง ตองไมมี
ลกั ษณะตามมาตรา 14 และตองไมซ้ำ พอง หรือคลา ยคลึงกับชื่อ ช่ือยอ และภาพเคร่ืองหมายของพรรค
การเมืองที่มีผูแจงตามวรรคหนึ่งไวแลวหรือของพรรคการเมืองที่จดทะเบียนจัดต้ังไวแลวหรือท่ีย่ืนขอจด
ทะเบียนตามมาตรา 9 อยูกอ นแลว

มาตรา 19 หากนายทะเบียนเห็นวาการแจงการเตรียมการจัดต้ังพรรคการเมืองไม
เปน ไปตามมาตรา 18 ใหม หี นงั สือแจง ใหผแู จง ทราบพรอมดวยเหตุผลเพื่อแกไขใหแ ลว เสรจ็ ภายในเวลา
ทน่ี ายทะเบียนกำหนดหรือท่ีขยายให เมอ่ื พน ระยะเวลาดงั กลา วแลวไมมกี ารแกไขใหถกู ตองครบถวน ให
คำขอนน้ั เปน อันส้ินผล

*คำแนะนำ*
ขอใหผูอานจำหลักเกณฑ ข้ันตอนการเตรียมการจัดต้ังพรรคการเมืองและขั้นตอนการ
จัดต้ังพรรคการเมืองใหดี เพราะสวนนี้ถือวาเปนสวนท่ีสำคัญ และขอสอบในสวนนี้
สามารถนำมาถามทานไดท ง้ั เรื่องคณุ สมบัติ ระยะเวลา จำนวนตัวเลข เปนตน

หมวด 2
การดำเนนิ กิจกรรมของพรรคการเมือง
มาตรา 20 ใหพ รรคการเมืองที่นายทะเบียนรับจดทะเบยี นจดั ตัง้ พรรคการเมืองแลวเปน
นติ บิ คุ คล มีวตั ถปุ ระสงคส ำคญั เพื่อ
1. ดำเนนิ กิจกรรมทางการเมืองตามหลักการปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอันมี
พระมหากษตั รยิ ทรงเปน ประมขุ
2. เพื่อสง ผสู มคั รลงรบั เลอื กต้ัง
พรรคการเมืองตองไมดำเนนิ กจิ การอันมลี กั ษณะเปน การแสวงหากำไรมาแบง ปน กัน
มาตรา 21 พรรคการเมืองตองมีคณะกรรมการบริหารพรรคการเมืองเปน
ผูรับผิดชอบดำเนินกิจกรรมของพรรคการเมือง ใหเปนไปตามรัฐธรรมนูญ กฎหมาย นโยบาย และ
ขอบังคับของพรรคการเมืองมติของที่ประชุมใหญของพรรคการเมือง รวมตลอดท้ังระเบียบ
ประกาศ และคำสั่งของคณะกรรมการซึ่งตองกระทำดวยความรอบคอบ ระมัดระวัง และซื่อสัตย
สุจริต เพื่อประโยชนของประเทศชาติและประชาชน และตองใหสมาชิกมีสวนรวมและรับผิดชอบอยาง
แทจริงในการดำเนินกิจกรรมทางการเมือง และการคัดเลือกสมาชิกหรือบุคคลซ่ึงมีความรูความสามารถ
ซอ่ื สัตยสุจริต และมีคุณธรรม จริยธรรม เขาสมัครรับเลือกตั้งเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรหรือตำแหนง
อืน่ หรอื เพื่อแตง ตงั้ เปนผดู ำรงตำแหนง ทางการเมือง
คณะกรรมการบรหิ ารพรรคการเมอื งประกอบดว ย
1.หวั หนา พรรคการเมือง
2.เลขาธกิ ารพรรคการเมือง
3.เหรญั ญกิ พรรคการเมือง

เตรียมสอบ กกต

เตรยี มสอบพนกั งาน สำนักงานคณะกรรมการการเลอื กตงั้ ชดุ ที่ 2 141

4. นายทะเบียนสมาชิก
5. และกรรมการบริหารอน่ื ตามท่กี ำหนดในขอ บงั คบั
ก ร ร ม ก า ร บ ริ ห า ร พ ร ร ค ก า ร เมื อ งต อ งรั บ ผิ ด ช อ บ ร ว ม กั น ใน บ ร ร ด า ม ติ ข อ ง ค ณ ะ
กรรมการบริหารพรรคการเมืองและในการดำเนินการตามหนาที่และอำนาจของคณะกรรมการบริหาร
พรรคการเมืองตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนี้ กฎหมาย และขอบังคับ รวมตลอดท้ังระเบียบ
ประกาศ และคำส่ังของคณะกรรมการเวนแตจะพิสูจนไดวาตนไดคัดคานในท่ีประชุมคณะกรรมการ
บริหารพรรคการเมืองโดยปรากฏหลักฐานการคัดคานนั้นในรายงานการประชุมหรือไดทำหนังสือ
คดั คา นยน่ื ตอประธานในทปี่ ระชุมภายใน 7 วันนับแตว นั ที่การประชุมน้ันสิ้นสุดลง
ให หัวหนาพรรคการเมืองเปนผูแทนของพรรคการเมืองในกิจการอันเกี่ยวกับ
บุคคลภายนอก เพื่อการนี้ หัวหนาพรรคการเมืองจะมอบหมายเปนหนังสือใหเลขาธิการพรรคการเมือง
เหรัญญิกพรรคการเมือง นายทะเบียนสมาชิก หรือกรรมการบริหารอื่นของพรรคการเมืองคนหนึ่งหรือ
หลายคนเปนผูท ำการแทนก็ได
มาตรา 22 คณะกรรมการบริหารพรรคการเมอื งและกรรมการบริหารพรรคการเมอื ง
มีหนาท่ีควบคุมและกำกับดูแลมิใหสมาชิกกระทำการอันเปนการฝาฝนรัฐธรรมนูญ กฎหมาย
ขอบังคับรวมตลอดท้ังระเบียบ ประกาศ และคำส่ังของคณะกรรมการ
เม่ือมีพระราชกฤษฎีกาใหมีการเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรหรือใหมีการเลือก
สมาชกิ วฒุ สิ ภา แลว แตกรณี คณะกรรมการบริหารพรรคการเมอื งและกรรมการบริหารพรรคการเมือง
มีหนาที่ควบคุมและกำกับดูแลมิใหสมาชิกหรือผูดำรงตำแหนงในพรรคการเมืองกระทำการใน
ลักษณะท่ีอาจทำใหการเลือกต้ังหรือการเลือกมิไดเปนไปโดยสุจริตหรือเที่ยงธรรม ไมชอบดวย
กฎหมาย หรืออาจเปนคุณหรือเปนโทษแกบุคคลใดซ่ึงสมัครเขารับเลือกเปนสมาชิกวุฒิสภา ไมวา
โดยทางตรงหรอื ทางออม
เมื่อความปรากฏตอคณะกรรมการบริหารพรรคการเมืองหรือกรรมการบริหาร
พรรคการเมือง หรือเม่ือคณะกรรมการบริหารพรรคการเมืองไดรับแจงจากนายทะเบียนวาสมาชิก
กระทำการอันอาจมีลักษณะเปนการฝาฝนวรรคหนึ่งหรือวรรคสอง ใหคณะกรรมการบริหารพรรค
การเมืองมีมติหรือส่ังการใหสมาชิกยุติการกระทำนั้นโดยพลัน และกำหนดมาตรการหรือวิธีการท่ี
จำเปนเพ่ือมิใหสมาชิกผูใดกระทำการอันอาจมีลักษณะดังกลาวอีก แลวแจงใหนายทะเบียนทราบ
ภายใน 7 วนั นบั แตวนั ทมี่ ีมติ
ในกรณีท่ีความปรากฏตอนายทะเบียนวาคณะกรรมการบริหารพรรคการเมืองไมปฏิบัติ
ตามวรรคสาม ใหนายทะเบียนเสนอเร่ืองตอคณะกรรมการเพ่ือพิจารณามีคำส่ังใหคณะกรรมการ
บริหารพรรคการเมืองน้ันพนจากตำแหนงท้ังคณะ คำสั่งดังกลาวใหประกาศในราชกิจจานุเบกษา
และหามมิใหกรรมการบริหารพรรคการเมืองซึ่งพนจากตำแหนงเพราะเหตุดังกลาวดำรงตำแหนงใด
ในพรรคการเมืองจนกวาจะพนเวลายี่สบิ ปน บั แตวนั ท่ีพน จากตำแหนง

เตรยี มสอบ กกต

เตรียมสอบพนกั งาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลือกตัง้ ชดุ ท่ี 2 142

กรรมการบริหารพรรคการเมืองซ่ึงพนจากตำแหนงตามวรรคส่ีมีสิทธิยื่นคำรองคัดคาน
คำส่ังของคณะกรรมการตอศาลรัฐธรรมนูญไดภายใน 30 วนั นับแตว ันทไี่ ดร ับหนงั สอื แจงคำสง่ั ดังกลาว

หามมิใหกรรมการบรหิ ารพรรคการเมืองซึง่ พนจากตำแหนงตามวรรคส่ีกระทำการอนั มี
ลักษณะเปนการกาวกายหรือแทรกแซงการดำเนินกิจกรรมของพรรคการเมืองนั้น เวนแตจะเปนการ
ดำเนินการตามสิทธิและหนาที่ของสมาชิกตามที่กำหนดไวในขอบังคับ และหามมิใหมีสวนรวมในการ
สรรหาผูสมัครรับเลือกตั้งเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรหรือตำแหนงอื่นหรือการสรรหาบุคคลเพื่อ
แตง ตง้ั เปนผูดำรงตำแหนง ทางการเมอื ง

มาตรา 23 ในการดำเนินกิจกรรมทางการเมืองตามหลักการปกครองในระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข อยางนอยในแตละปพรรคการเมืองตองมี
กจิ กรรมอยางใดอยา งหน่ึงหรือหลายอยาง ดงั ตอ ไปนี้

(1) สงเสริมใหสมาชิกและประชาชนมีความรูความเขาใจท่ีถูกตองเกี่ยวกับการปกครองใน
ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข การใชสิทธิและเสรีภาพอยางมีเหตุผลและมี
ความรับผดิ ชอบตอสังคม และความรเู กยี่ วกบั หนา ทข่ี องปวงชนชาวไทย

(2) รวมกับประชาชนในการหาแนวทางการพัฒนาประเทศ และการแกไขปญหา
ตาง ๆ ทเ่ี กิดขึ้นในสังคมอยางมีเหตผุ ลโดยคำนงึ ถงึ ความสมดุลระหวางการพฒั นาดานวตั ถุกับการพฒั นา
ดานจิตใจ และความอยเู ยน็ เปน สขุ ของประชาชนประกอบกนั

(3) สงเสริมการมีสวนรวมของประชาชนในการดำเนินกิจกรรมทางการเมือง รวม
ตลอดท้งั การตรวจสอบการใชอ ำนาจรฐั และการดำเนินงานขององคกรอิสระอยางมีเหตผุ ล

(4) สงเสริมใหสมาชิกและประชาชนมีความสามัคคีปรองดอง รูจักยอมรับในความเห็น
ทางการเมืองโดยสุจริตท่ีแตกตาง และแกไขปญหาความขัดแยงทางการเมืองโดยสันติวิธี เพื่อประโยชนสุข
ของประเทศชาติและประชาชน

(5) กิจกรรมอ่ืนอันจะยังประโยชนตอการพัฒนาระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษัตริยทรงเปนประมุข รวมทั้งการพัฒนาพรรคการเมืองใหเปนสถาบันทางการเมืองของ
ประชาชน ทงั้ น้ี ตามที่ไดร บั ความเห็นชอบจากคณะกรรมการ

ใหหัวหนาพรรคการเมืองโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารพรรคการเมือง
จัดทำแผน หรือโครงการทจี่ ะดำเนินกจิ กรรมตามวรรคหน่งึ ในแตล ะปส งใหนายทะเบยี นทราบภายใน
เดือนเมษายนของทุกปและใหนายทะเบียนเผยแพรใหป ระชาชนทราบเปนการท่วั ไป

มาตรา 24 สมาชิกตองมคี ุณสมบตั ิและไมม ลี กั ษณะตองหา มตามที่กำหนดในขอบงั คบั
ซึ่งอยา งนอยตอ งมอี ายไุ มตำ่ กวา 18 ปและมีคุณสมบัตแิ ละไมมลี ักษณะตองหามตามมาตรา 9
(1) (3) และ (5)

มาตรา 25 นายทะเบยี นสมาชิกมหี นา ที่ตรวจสอบคณุ สมบตั ิและลักษณะตอ งหาม
ของผสู มัครเขา เปน สมาชกิ และจัดทำทะเบียนสมาชิกใหต รงตามความเปน จรงิ และตองใหส มาชิก

เตรยี มสอบ กกต

เตรียมสอบพนักงาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลอื กตงั้ ชดุ ท่ี 2 143

ตรวจดูไดโ ดยสะดวก ณ สำนกั งานใหญข องพรรคการเมือง รวมทง้ั ประกาศชอ่ื และนามสกลุ ของสมาชกิ
ใหประชาชนทราบเปน การทั่วไปดว ย เพื่อประโยชนในการตรวจสอบความถกู ตอ ง

ใหหัวหนาพรรคการเมืองแจงรายละเอียดเก่ียวกับสมาชิกใหนายทะเบียนทราบตาม
รายการหลักเกณฑ วธิ ีการ และระยะเวลาท่ีนายทะเบยี นกำหนด

ในกรณีที่พรรคการเมืองใดแอบอางวาผูใดสมัครเปนสมาชิกโดยผูนั้นไมรูเห็น
หรือไมสมัครใจผูที่ถูกแอบอางหรือผูที่ไดรับมอบหมายจากผูถูกแอบอาง อาจแจงตอนายทะเบียนเพื่อ
ตรวจสอบขอเท็จจริงและพิจารณาลบช่ือของผูนั้นออกจากการเปนสมาชิกพรรคการเมืองน้ัน โดยใหถือวาผู
นน้ั ไมเ คยเปน สมาชิกของพรรคการเมอื งดังกลา วมาต้ังแตต น

มาตรา 26 ใหนายทะเบยี นมหี นาท่ีตรวจสอบความซ้ำซอ นของสมาชกิ ของทุกพรรค
การเมอื ง

ในกรณีที่ปรากฏตอนายทะเบียนวาบุคคลใดเปนสมาชิกหลายพรรคการเมือง ให
นายทะเบียนมีหนังสือแจงใหหัวหนาพรรคการเมืองท่ีเกี่ยวของทราบและลบช่ือผูนั้นออกจากการเปน
สมาชกิ ของพรรคการเมอื งนั้น และใหหัวหนาพรรคการเมอื งแจงใหส มาชกิ ผนู ้ันทราบโดยเร็ว แลวแจง ให
นายทะเบียนทราบภายในระยะเวลาที่นายทะเบยี นกำหนด

ใหสำนักงานจัดใหมีระบบฐานขอมูลพรรคการเมือง เพ่ืออำนวยความสะดวกใหแก
พรรคการเมอื งและประชาชนทว่ั ไป ทง้ั นี้ ตามทีค่ ณะกรรมการกำหนด

มาตรา 27 สมาชกิ ภาพของสมาชกิ เรม่ิ ตง้ั แตไ ดช ำระคา บำรุงพรรคการเมืองตาม
จำนวนทกี่ ำหนดในขอบงั คบั แลว โดยจะส้ินสดุ ลงตามทกี่ ำหนดในขอ บังคับ ซึง่ อยา งนอยตอ ง
ประกอบดวยเหตุ ดังตอ ไปน้ี

(1) ลาออก
(2) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะตองหามตามมาตรา 24 เวนแตเปนกรณีมีลักษณะ
ตองหามตามมาตรา 96 (2) ของรัฐธรรมนูญ และเปนการบวชตามประเพณีนิยม แตในระหวางมีลักษณะ
ตองหา มดังกลา วจะใชสทิ ธใิ นฐานะสมาชกิ มิได
(3) ไมช ำระคาบำรุงพรรคการเมอื งเปนเวลา 2 ปต ิดตอ กัน
การลาออกตาม (1) ใหถือวาสมบูรณเมื่อไดย่ืนใบลาออกตอนายทะเบียนสมาชิก หรือ
นายทะเบียน ในกรณที ย่ี ื่นตอ นายทะเบียน ใหน ายทะเบียนแจงใหนายทะเบียนสมาชิกทราบโดยเร็ว
ในกรณี ท่ีขอบังคับกำหนดใหสมาชิกพนจากสมาชิกภาพตามมติของพรรค
การเมือง หากสมาชิกผูนั้นดำรงตำแหนงสมาชิกสภาผูแทนราษฎร ขอบังคับตองกำหนดใหมติของ
พรรคการเมืองดังกลาวมีคะแนนเสียงไมนอยกวา 3 ใน 4 ของท่ีประชุมรวมของคณะกรรมการบริหาร
ของพรรคการเมอื งและสมาชิกสภาผแู ทนราษฎรทสี่ ังกัดพรรคการเมืองนน้ั
มาตรา 28 หามมิใหพรรคการเมืองยินยอมหรือกระทำการใดอันทำใหบุคคลอ่ืนซึ่งมิใช
สมาชิกกระทำการอันเปนการควบคุม ครอบงำ หรือชี้นำ กิจกรรมของพรรคการเมืองในลักษณะที่ทำให
พรรคการเมืองหรอื สมาชิกขาดความอสิ ระ ทั้งน้ี ไมว า โดยทางตรงหรือโดยทางออ ม

เตรยี มสอบ กกต

เตรยี มสอบพนักงาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลอื กตัง้ ชุดท่ี 2 144

มาตรา 29 หามมิใหผูใดซึ่งมิใชสมาชิกกระทำการใดอันเปนการควบคุม ครอบงำ หรือ
ช้ีนำกิจกรรมของพรรคการเมอื งในลกั ษณะที่ทำใหพรรคการเมืองหรอื สมาชิกขาดความอสิ ระ ท้ังน้ี ไมวา
โดยทางตรงหรอื โดยทางออม

มาตรา 30 หามมิใหพรรคการเมืองหรือผูใดให เสนอให หรือสัญญาวาจะใหเงิน
ทรัพยสิน หรือประโยชนอื่นใด ไมวาโดยทางตรงหรือโดยทางออมเพื่อจูงใจใหบุคคลหน่ึงบุคคลใดสมัคร
เขา เปนสมาชิก ทั้งนี้ เวน แตส ิทธหิ รอื ประโยชนซ งึ่ บุคคลจะพึงไดร ับในฐานะทีเ่ ปน สมาชิก

มาตรา 31 หามมใิ หผ ใู ดเรยี ก รับ หรอื ยอมจะรับเงิน ทรัพยส ิน หรือประโยชนอ่นื ใดจาก
พรรคการเมืองหรอื จากผใู ดเพ่ือสมัครเขาเปน สมาชิก

มาตรา 32 หามมใิ หผ ูใดซงึ่ มใิ ชพ รรคการเมืองใชช่อื ช่อื ยอ ภาพเคร่ืองหมายของพรรค
การเมอื ง หรอื ถอยคำในประการทีน่ าจะทำใหประชาชนเขา ใจวาเปนพรรคการเมอื งหรือใชช ื่อที่มอี ักษรไทย
ประกอบวา “พรรคการเมือง” หรอื อกั ษรตา งประเทศซึง่ แปลหรอื อานวา “พรรคการเมือง”

มาตรา 33 ภายใน 1 ปนับแตวันที่นายทะเบียนรับจดทะเบียน พรรคการเมืองตอง
ดำเนินการ ดังตอ ไปนี้

(1) ดำเนินการใหมีจำนวนสมาชิกไมนอยกวา 5,000 คน และตองเพิ่มจำนวน
สมาชกิ ใหม จี ำนวนไมนอยกวา 10,000 คนภายใน 4 ป นับแตวนั ทนี่ ายทะเบยี นรบั จดทะเบียน

(2) จัดใหมีสาขาพรรคการเมืองในแตละภาคตามบัญชีรายช่ือภาคและจังหวัด ที่
คณะกรรมการกำหนดอยางนอยภาคละ 1 สาขา โดยสาขาพรรคการเมืองแตละสาขาตองมี
สมาชิกท่ีมภี ูมลิ ำเนาอยใู นเขตพน้ื ที่ที่รบั ผดิ ชอบของสาขาน้นั ตั้งแต 500 คนขึน้ ไป

เม่ือจัดต้ังสาขาพรรคการเมืองขึ้นในภาคใดแลว ใหหัวหนาพรรคการเมืองมีหนังสือ
แจงการจัดตั้งสาขาตอนายทะเบียนภายใน 15 วันนับแตวันที่จัดตั้งสาขานั้นตามหลักเกณฑและ
วิธีการท่ีนายทะเบียนกำหนดโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ และใหประกาศใหประชาชนทราบ
เปนการทวั่ ไปดวย

หนังสอื แจงการจัดตัง้ สาขาพรรคการเมือง ตองมีรายการตามท่ีนายทะเบียนกำหนด
ซึ่งอยางนอ ยตองมี

1.แผนผังแสดงทตี่ ้ังสาขาพรรคการเมอื ง
2.และช่ือ ท่ีอยู และเลขประจำตัวประชาชนของคณะกรรมการสาขาพรรคการเมือง
ซึ่งประกอบดวยหัวหนาและกรรมการสาขาพรรคการเมืองตามจำนวนที่กำหนดในขอบังคับซ่ึงตองไม
นอ ยกวา 7 คน
ในกรณีท่มี ีการเปลย่ี นแปลงทต่ี ้ังสาขาพรรคการเมืองหรอื คณะกรรมการสาขาพรรค
การเมืองใหหัวหนาพรรคการเมืองมีหนังสือแจงใหนายทะเบียนทราบภายใน 15 วัน นับแตวันที่
มีการเปลยี่ นแปลงนนั้ ตามหลกั เกณฑและวิธกี ารทน่ี ายทะเบยี นกำหนดโดยความเหน็ ชอบของ
คณะกรรมการ และใหป ระกาศใหประชาชนทราบเปนการท่ัวไปดว ย

เตรียมสอบ กกต

เตรียมสอบพนักงาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลอื กต้ังชุดท่ี 2 145

ภายหลังท่ีไดจัดตงั้ สาขาพรรคการเมอื งแลว สาขาพรรคการเมืองใดไมเปนไปตาม (๒) ให
นายทะเบียนมีหนังสือแจงใหพรรคการเมืองนั้นดำเนินการใหถูกตองภายในระยะเวลาท่ีนายทะเบียน
กำหนดหากพรรคการเมืองใดไมดำเนินการหรือดำเนินการแลวไมถูกตองใหสาขาพรรคการเมืองนั้น
ส้ินสภาพไป

มาตรา 34 กรรมการสาขาพรรคการเมืองตองเปนสมาชิกและมีคุณสมบัติและ
ไมมีลักษณะตอ งหา มเชน เดยี วกับกรรมการบริหารพรรคการเมอื ง

การไดมา การดำรงตำแหนง วาระการดำรงตำแหนง การพนจากตำแหนง วิธีการ
บริหาร และหนาท่ีและอำนาจของคณะกรรมการสาขาพรรคการเมือง ใหเปนไปตามท่ีกำหนดใน
ขอบังคับโดยอยา งนอยตองกำหนดใหมีหนาท่ีดำเนินการตามมาตรา 23 ในเขตพื้นทรี่ ับผิดชอบของสาขา
พรรคการเมืองนน้ั ดว ย

มาตรา 35 เขตเลือกตั้งในจังหวัดใดที่มิไดเปนที่ตั้งสำนักงานใหญหรือสาขา
พรรคการเมือง ถา พรรคการเมืองน้ันมีสมาชกิ ซ่ึงมีภูมิลำเนาอยูใ นเขตเลือกตั้งในจังหวัดนั้นเกิน 100
คนใหพรรคการเมืองน้ันแตงตั้งสมาชิกซึ่งมีภูมิลำเนาอยูในเขตเลือกต้ังในจังหวัดน้ันซ่ึงมาจากการ
เลือกของสมาชิกดังกลาวเปนตัวแทนพรรคการเมืองประจำจังหวัดเพื่อดำเนินกิจกรรมของพรรค
การเมืองในเขตพ้ืนที่ท่ีรบั ผิดชอบน้ันและใหนำความในมาตรา 34 มาใชบ งั คับแกตัวแทนพรรคการเมอื ง
ประจำจงั หวดั ดว ยโดยอนโุ ลม

ใหพรรคการเมืองแจงใหน ายทะเบยี นทราบภายใน 15 นับแตวนั ทมี่ กี ารแตงตง้ั หรอื
เปลยี่ นแปลงตวั แทนพรรคการเมืองประจำจงั หวดั ตามหลกั เกณฑและวธิ กี ารทนี่ ายทะเบยี นกำหนดโดย
ความเห็นชอบของคณะกรรมการ

มาตรา 36 สาขาพรรคการเมืองและตวั แทนพรรคการเมอื งประจำจังหวดั จะจัดตง้ั ข้นึ
นอกราชอาณาจักรมิได

มาตรา 37 พรรคการเมืองตอ งจดั ใหม ีการประชมุ ใหญอยา งนอยปล ะหนึ่งครงั้
มาตรา 38 การดำเนินกิจการดงั ตอ ไปน้ี ใหกระทำโดยทีป่ ระชมุ ใหญข องพรรคการเมือง
(1) การแกไขเปล่ียนแปลงคำประกาศอุดมการณทางการเมืองของพรรคการเมืองหรือ
นโยบายของพรรคการเมอื ง
(2) การแกไ ขเปลี่ยนแปลงขอบังคับ
(3) การเลือกตั้งหัวหนาพรรคการเมือง เลขาธิการพรรคการเมือง เหรัญญิกพรรค
การเมือง นายทะเบยี นสมาชกิ และกรรมการบรหิ ารอน่ื ของพรรคการเมอื ง
(4) การเลอื กตัง้ คณะกรรมการสรรหาผสู มัครรบั เลอื กตงั้ ของพรรคการเมอื ง
(5) ใหความเห็นชอบรายงานการเงินและการดำเนินกิจการของพรรคการเมืองท่ีได
ดำเนินการไปในรอบปทผี่ า นมา
(6) กิจการทเี่ สนอโดยคณะกรรมการบรหิ ารพรรคการเมอื งหรือหัวหนาสาขาพรรคการเมอื ง
(7) กิจการอ่นื ตามที่กำหนดไวใ นพระราชบญั ญัติประกอบรฐั ธรรมนูญน้ี กฎหมาย หรอื ขอ บงั คบั

เตรยี มสอบ กกต

เตรยี มสอบพนักงาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลือกต้งั ชุดที่ 2 146

กิจการตาม (1) (2) และ (3) เมื่อไดรับความเห็นชอบจากที่ประชุมใหญของ
พรรคการเมืองแลว ใหพรรคการเมืองมีหนังสือแจงใหนายทะเบียนทราบเพื่อแกไขเปลี่ยนแปลง
การจดทะเบียนภายใน 15 วันนับแตวันท่ีไดรับความเห็นชอบจากที่ประชุมใหญของพรรคการเมือง
และใหน ายทะเบยี นประกาศการแกไขเปลย่ี นแปลงดงั กลา วในราชกิจจานุเบกษา

กรณีที่กรรมการบรหิ ารพรรคการเมืองครบวาระ ตาย ลาออก เปล่ยี นช่ือตัว เปลี่ยน
ชื่อสกุล หรือเปลี่ยนแปลงดวยเหตุใด ๆ ใหหัวหนาพรรคการเมืองแจงใหนายทะเบียนทราบ 15 วัน
นบั แตว นั ทมี่ เี หตดุ ังกลาว และใหนายทะเบียนประกาศเหตุดงั กลาวในราชกจิ จานเุ บกษาดวย

มาตรา 39 องคป ระชุมของทปี่ ระชมุ ใหญ อยา งนอ ยตอ งประกอบดวย
1. กรรมการบริหารพรรคการเมืองไมนอยกวากึ่งหนึ่งของจำนวนกรรมการบริหาร
พรรคการเมืองทงั้ หมด
2. ผูแทนของสาขาพรรคการเมืองไมนอยกวากึ่งหน่ึงของจำนวนสาขาพรรคการเมือง
ซ่งึ ในจำนวนนี้จะตอ งประกอบดว ย
- ผูแทนของสาขาพรรคการเมืองไมนอยกวา2สาขาซึ่งมาจากภาคตางกันที่
คณะกรรมการกำหนดตามมาตรา 33
- ตัวแทนพรรคการเมืองประจำจังหวัดไมนอยกวากึ่งหนึ่งของตัวแทนพรรคการเมือง
ประจำจงั หวดั และสมาชกิ ท้งั นี้ มีจำนวนรวมกันทัง้ หมดไมนอยกวา 250 คน
องคประชุมของท่ปี ระชมุ ใหญส าขาพรรคการเมอื ง อยางนอยตองประกอบดวย
1. กรรมการสาขาพรรคการเมืองไมน อยกวา ก่งึ หนง่ึ ของกรรมการสาขาพรรคการเมืองท้งั หมด
2. และสมาชกิ สาขาพรรคการเมอื ง ทงั้ นี้ มจี ำนวนรวมกันทัง้ หมดไมนอ ยกวา 100 คน
มาตรา 40 การลงมติในทปี่ ระชมุ ใหญใ หก ระทำโดยเปดเผยแตก ารลงมตเิ ลือกบคุ คล
ตามมาตรา 38(3) และ (4) ใหลงคะแนนลับ
มาตรา 41 หลักเกณฑ การเขา ชอ่ื ย่ืนคำรอ งขอใหจัดการประชุมใหญว ิสามัญของ
พรรคการเมืองนน้ั
1.สมาชิกซึ่งเปน ส.ส.ไมนอยกวา1 ใน 4ของจำนวนสมาชิกซึ่งเปน ส.ส.
2. หรือกรรมการบริหารพรรคการเมืองจำนวนไมนอยกวา 1 ใน 3 ของจำนวน
กรรมการบรหิ ารพรรคการเมอื ง
3. หรือสมาชิกจำนวนไมนอยกวา1 ใน 10 ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดท่ีมีอยูของพรรค
การเมอื งหรอื ไมนอ ยกวา 250 คน แลวแตจ ำนวนใดจะนอยกวา
มาตรา 42 ในกรณีสมาชิกซึ่งเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรคนหน่ึงคนใด หรือสมาชิก
จำนวนไมนอยกวา 100 คน เห็นวามติของพรรคการเมืองท่ีตนเปนสมาชิกอยูขัดตอ พรป.น้ีหรือ
กฎหมายอื่น ใหม สี ิทธิรอ งขอตอ คณะกรรมการเพือ่ พิจารณาวินจิ ฉัย

เตรยี มสอบ กกต

เตรียมสอบพนกั งาน สำนักงานคณะกรรมการการเลอื กต้งั ชุดที่ 2 147

ถาคณะกรรมการวินิจฉัยวามติใดของพรรคการเมืองขัดตอพระราชบัญญัติประกอบ
รัฐธรรมนูญน้ีหรอื กฎหมายอ่นื ใหค ณะกรรมการมอี ำนาจสง่ั เพกิ ถอนมติดงั กลาวได

มาตรา 43 ใหหัวหนาพรรคการเมืองจัดทำรายงานการดำเนินกิจการของพรรค
การเมืองในรอบปปฏิทินที่ผานมาเสนอตอที่ประชุมใหญของพรรคการเมืองเพื่ออนุมัติภายใน
เดือนเมษายนของทกุ ป ทัง้ นี้ รายงานดังกลา วอยา งนอยตองมรี ายการตามทคี่ ณะกรรมการกำหนด

พรรคการเมืองใดที่จดทะเบียนยังไมถึง 180 วันนับถึงวันสิ้นปปฏิทิน ใหไดรับ
ยกเวน ไมตอ งดำเนนิ การตามวรรคหนง่ึ สำหรบั ปน ัน้

ใหหัวหนาพรรคการเมืองสงรายงานการดำเนินกิจการของพรรคการเมืองซึ่งท่ีประชุม
ใหญของพรรคการเมืองอนมุ ตั ิแลว ตามวรรคหนง่ึ ตอ นายทะเบยี นภายใน 15 วันนับแตวนั ทที่ ่ปี ระชุม
ใหญของพรรคการเมืองอนมุ ัติ ตามหลักเกณฑและวิธกี ารท่ีนายทะเบียนกำหนดโดยความเห็นชอบของ
คณะกรรมการ และใหป ระกาศใหประชาชนทราบเปน การทว่ั ไปดว ย

มาตรา 44 หามมิใหพรรคการเมือง ผูดำรงตำแหนงในพรรคการเมือง และสมาชิกรับ
บริจาคจากผูใดเพ่ือกระทำการหรือสนับสนุนการกระทำอันเปนการบอนทำลายความม่ันคงของ
ราชอาณาจักร ราชบัลลังก เศรษฐกิจของประเทศ หรอื ราชการแผน ดนิ

มาตรา 45 หามมิใหพรรคการเมืองหรือผูดำรงตำแหนงในพรรคการเมืองกระทำการ
หรือสงเสริม สนับสนุนใหผูใดกระทำการอันเปนการกอกวนหรอื คุกคามความสงบเรียบรอยหรอื ศีลธรรม
อนั ดีของประชาชน หรือกระทำการอนั เปนการทำลายทรัพยากรธรรมชาติของประเทศ

มาตรา 46 หามมิใหพรรคการเมือง สมาชิก หรือผูใด เรียก รับ หรือยอมจะรับเงิน
ทรัพยสิน หรือประโยชนอื่นใดจากผูใด เพ่ือใหผูนั้นหรือบุคคลอ่ืนไดรับแตงตั้ง หรือสัญญาวาจะใหไดรับ
แตงตั้ง หรือเพราะเหตุที่ไดรับการแตงตั้งใหดำรงตำแหนงทางการเมือง หรือตำแหนงใดในการ
บรหิ ารราชการแผนดินหรือในหนวยงานของรัฐ

หามมิใหผูใดให ขอให หรือรับวาจะใหเงิน ทรัพยสิน หรือประโยชนอื่นใดแกพรรค
การเมืองสมาชิก หรือผูใด เพื่อจูงใจใหตนหรือบุคคลอ่ืนไดรับการแตงตั้งใหดำรงตำแหนงทางการเมือง
หรือตำแหนง ใดในการบรหิ ารราชการแผน ดินหรอื ในหนวยงานของรฐั

หมวด 3
การสง ผสู มคั รรบั เลอื กต้งั
มาตรา 47 พรรคการเมืองซ่งึ ประสงคจ ะสง ผสู มัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผแู ทนราษฎร
แบบแบงเขตเลือกต้ังในเขตเลือกตั้งใด ตองมีสาขาพรรคการเมืองหรือตัวแทนพรรคการเมืองประจำ
จังหวัดท่ีมเี ขตพ้ืนทรี่ ับผดิ ชอบในเขตเลอื กต้งั นน้ั
การสงผูสมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรแบบแบงเขตเลือกต้ังในเขตเลือกตั้งใด
ใหพรรคการเมืองสง ผูส มัครรบั เลือกต้ังจากผูซ่ึงไดรับเลือกจากสาขาพรรคการเมอื งหรือตวั แทนพรรค
การเมอื งประจำจังหวดั ทีม่ ีเขตพืน้ ทรี่ บั ผิดชอบในเขตเลอื กต้งั นัน้ เปน ผูสมคั รรบั เลอื กตัง้

เตรียมสอบ กกต


Click to View FlipBook Version