The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

130024_เพจ-เตรียมสอบ-กกต.64-ชุดที่-2-สงวนลิขสิทธิ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pratheerapong2519, 2021-03-22 22:15:35

130024_เพจ-เตรียมสอบ-กกต.64-ชุดที่-2-สงวนลิขสิทธิ์

130024_เพจ-เตรียมสอบ-กกต.64-ชุดที่-2-สงวนลิขสิทธิ์

เตรียมสอบพนกั งาน สำนักงานคณะกรรมการการเลอื กต้งั ชุดท่ี 2 348

หมวด 1
คณะกรรมการวิธปี ฏิบัตริ าชการทางปกครอง
มาตรา 7 ใหมีคณะกรรมการคณะหน่ึงเรียกวา “คณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการ
ทางปกครอง” ประกอบดวยประธานกรรมการคนหน่ึง ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี ปลัดกระทรวง
มหาดไทย เลขาธิการคณะรัฐมนตรี เลขาธิการคณะกรรมการขาราชการพลเรือน เลขาธิการ
คณะกรรมการกฤษฎกี าและผูทรงคณุ วุฒอิ กี ไมนอ ยกวา หา คนแตไมเ กินเกาคนเปนกรรมการ
ใหคณะรัฐมนตรีแตงตั้งประธานกรรมการและกรรมการผูทรงคุณวุฒิ โดยแตงตั้ง
จากผูซึ่งมีความเช่ียวชาญในทางนิติศาสตร รัฐประศาสนศาสตร รัฐศาสตร สังคมศาสตร หรือการ
บรหิ ารราชการแผน ดิน แตผนู น้ั ตอ งไมเปนผดู ำรงตำแหนง ทางการเมอื ง
ใหเ ลขาธกิ ารคณะกรรมการกฤษฎกี าแตง ตั้งขาราชการของสำนกั งานคณะกรรมการ
กฤษฎีกาเปนเลขานุการและผชู ว ยเลขานกุ าร
มาตรา 8 ใหกรรมการซึ่งคณะรัฐมนตรีแตงตั้งมีวาระดำรงตำแหนงคราวละสามป
กรรมการซึง่ พน จากตำแหนงอาจไดรับแตงตัง้ อีกได
ในกรณีที่กรรมการพนจากตำแหนงตามวาระ แตยังมิไดแตงตั้งกรรมการใหม
ใหกรรมการน้ันปฏิบตั ิหนาท่ไี ปพลางกอนจนกวา จะไดแ ตง ตั้งกรรมการใหม
มาตรา 9 นอกจากการพนจากตำแหนงตามวาระตามมาตรา 8 กรรมการ
ซึ่งคณะรัฐมนตรีแตงตั้งพนจากตำแหนงเม่ือคณะรัฐมนตรีมีมติใหออกหรือเมื่อมีเหตุหนึ่งเหตุใดตาม
มาตรา 76
มาตรา 10 ใหสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาทำหนาท่ีเปนสำนักงานเลขานุการ
ของคณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง รับผิดชอบงานธุรการ งานประชุม การศึกษาหา
ขอ มูลและกจิ การตา ง ๆ ทีเ่ กีย่ วกบั งานของคณะกรรมการวิธปี ฏบิ ตั ิราชการทางปกครอง
มาตรา 11 คณะกรรมการวธิ ีปฏบิ ัตริ าชการทางปกครองมอี ำนาจหนาที่ ดังตอไปน้ี
(1) สอดสองดูแลและใหคำแนะนำเกี่ยวกับการดำเนินงานของเจาหนาท่ีในการปฏิบัติ
ตามพระราชบญั ญัติน้ี
(2) ใหคำปรึกษาแกเจาหนาที่เก่ียวกับการปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ ตามท่ีบุคคล
ดังกลาวรอ งขอ ทั้งนี้ ตามหลกั เกณฑท่ีคณะกรรมการวธิ ปี ฏบิ ตั ริ าชการทางปกครองกำหนด
(3) มีหนังสือเรียกใหเจาหนาที่หรือบุคคลอ่ืนใดมาช้ีแจงหรือแสดงความเห็น
ประกอบการพจิ ารณาได
(4) เสนอแนะในการตราพระราชกฤษฎีกาและการออกกฎกระทรวงหรือประกาศตาม
พระราชบัญญตั ิน้ี
(5) จัดทำรายงานเกี่ยวกับการปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้เสนอคณะรัฐมนตรีเปน
คร้ังคราวตามความเหมาะสมแตอยางนอยปละหนึ่งคร้ัง เพื่อพัฒนาและปรับปรุงการปฏิบัติราชการทาง
ปกครองใหเปนไปโดยมคี วามเปน ธรรมและมีประสิทธภิ าพย่ิงข้นึ

เตรียมสอบ กกต

เตรยี มสอบพนักงาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลือกต้งั ชดุ ที่ 2 349

(6) เรอ่ื งอื่นตามที่คณะรัฐมนตรหี รอื นายกรฐั มนตรมี อบหมาย

หมวด 2
คำสง่ั ทางปกครอง

สว นที่ 1
เจาหนา ที่
มาตรา 12 คำส่งั ทางปกครองจะตอ งกระทำโดยเจาหนา ทซ่ี ่งึ มีอำนาจหนา ที่ในเรอื่ งนัน้
มาตรา 13 เจาหนา ทด่ี งั ตอ ไปน้ีจะทำการพจิ ารณาทางปกครองไมได
(1) เปนคกู รณีเอง
(2) เปน คหู มน้ั หรือคสู มรสของคกู รณี
(3) เปนญาติของคูกรณี คือ เปนบุพการีหรือผูสืบสันดานไมวาชั้นใด ๆ หรือเปนพ่ีนอง
หรอื ลกู พล่ี กู นอ งนบั ไดเพียงภายในสามชัน้ หรอื เปนญาติเกย่ี วพนั ทางแตงงานนบั ไดเพียงสองชน้ั
(4) เปน หรือเคยเปนผูแทนโดยชอบธรรมหรอื ผูพ ิทกั ษห รือผแู ทนหรอื ตัวแทนของคูกรณี
(5) เปนเจา หน้หี รือลูกหน้ี หรอื เปน นายจางของคกู รณี
(6) กรณีอน่ื ตามท่ีกำหนดในกฎกระทรวง
มาตรา 14 เม่ือมีกรณีตามมาตรา 13 หรือคูกรณีคัดคานวาเจาหนาที่ผูใดเปนบุคคล
ตามมาตรา 13 ใหเจาหนาที่ผูนั้นหยุดการพิจารณาเรื่องไวกอน และแจงใหผูบังคับบัญชาเหนือตนข้ึน
ไปชน้ั หนงึ่ ทราบ เพื่อท่ีผูบงั คบั บญั ชาดงั กลา วจะไดม คี ำสง่ั ตอไป
การยื่นคำคัดคาน การพิจารณาคำคัดคาน และการส่ังใหเจาหนาที่อ่ืนเขาปฏิบัติหนาท่ี
แทนผูทถ่ี กู คัดคา นใหเ ปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการที่กำหนดในกฎกระทรวง
มาตรา 15 เมื่อมีกรณี ตามมาตรา 13 หรือคูกรณี คัดคานวากรรมการใน
คณะกรรมการที่มีอำนาจพิจารณาทางปกครองคณะใดมีลักษณะดังกลาว ใหประธานกรรมการเรียก
ประชุมคณะกรรมการเพื่อพิจารณาเหตุคัดคานนั้น ในการประชุมดังกลาวกรรมการผูถูกคัดคานเมื่อได
ช้แี จงขอ เทจ็ จริงและตอบขอซกั ถามแลว ตอ งออกจากท่ีประชมุ
ถาคณะกรรมการท่ีมีอำนาจพิจารณาทางปกครองคณะใดมีผูถูกคัดคานในระหวางท่ี
กรรมการผูถูกคัดคานตองออกจากที่ประชุม ใหถือวาคณะกรรมการคณะนั้นประกอบดวยกรรมการทุก
คนทไี่ มถูกคดั คา น
ถาท่ีประชุมมีมติใหกรรมการผูถูกคัดคานปฏิบัติหนาท่ีตอไปดวยคะแนนเสียงไมนอย
กวาสองในสามของกรรมการท่ีไมถูกคัดคาน ก็ใหกรรมการผูน้ันปฏิบัติหนาท่ีตอไปได มติดังกลาวให
กระทำโดยวธิ ลี งคะแนนลบั และใหเ ปน ทสี่ ดุ
การยื่นคำคัดคานและการพิจารณาคำคัดคานใหเปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการที่
กำหนดในกฎกระทรวง

เตรียมสอบ กกต

เตรียมสอบพนกั งาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลือกต้ังชุดท่ี 2 350

มาตรา 16 ในกรณีมีเหตุอื่นใดนอกจากที่บัญญัติไวในมาตรา 13 เก่ียวกับ
เจาหนาท่ีหรือกรรมการในคณะกรรมการที่มีอำนาจพิจารณาทางปกครองซึ่งมีสภาพรายแรงอันอาจ
ทำใหการพิจารณาทางปกครองไมเปนกลาง เจาหนาท่ีหรือกรรมการผูนั้นจะทำการพิจารณาทาง
ปกครองในเรือ่ งนน้ั ไมได

ในกรณีตามวรรคหน่งึ ใหด ำเนนิ การดงั น้ี
(1) ถาผูน้ันเห็นเองวาตนมีกรณีดังกลาว ใหผูนั้นหยุดการพิจารณาเร่ืองไวกอนและแจง
ใหผบู งั คับบญั ชาเหนอื ตนขึน้ ไปช้ันหน่ึงหรอื ประธานกรรมการทราบ แลวแตกรณี
(2) ถามีคูกรณีคัดคานวาผูนั้นมีเหตุดังกลาว หากผูนั้นเห็นวาตนไมมีเหตุตามที่คัดคาน
นั้น ผูน้ันจะทำการพิจารณาเร่ืองตอไปก็ไดแตตองแจงใหผูบังคับบัญชาเหนือตนขึ้นไปชั้นหนึ่งหรือ
ประธานกรรมการทราบ แลวแตก รณี
(3) ใหผูบังคับบัญชาของผูน้ันหรือคณะกรรมการที่มีอำนาจพิจารณาทางปกครองซ่ึงผู
นั้นเปนกรรมการอยูมีคำสั่งหรือมีมติโดยไมชักชา แลวแตกรณี วาผูนั้นมีอำนาจในการพิจารณาทาง
ปกครองในเรอ่ื งนัน้ หรอื ไม
ใหนำบทบัญญัตมิ าตรา 14 วรรคสอง และมาตรา 15 วรรคสอง วรรคสาม และวรรคสี่
มาใชบ งั คบั โดยอนุโลม
มาตรา 17 การกระทำใด ๆ ของเจาหนาท่ีหรือกรรมการในคณะกรรมการท่ีมี
อำนาจพิจารณาทางปกครองท่ีไดกระทำไปกอนหยุดการพิจารณาตามมาตรา 14 และมาตรา 16
ยอมไมเ สยี ไป เวน แตเจาหนาท่ีผูเ ขา ปฏบิ ตั ิหนา ทแ่ี ทนผูถกู คัดคานหรือคณะกรรมการที่มอี ำนาจพิจารณา
ทางปกครอง แลว แตก รณี จะเห็นสมควรดำเนินการสวนหน่ึงสวนใดเสียใหมก็ได
มาตรา 18 บทบัญญัติมาตรา 13 ถงึ มาตรา 16 ไมใหนำมาใชบงั คบั กับกรณีที่มคี วาม
จำเปนเรงดวน หากปลอยใหลาชาไปจะเสียหายตอประโยชนสาธารณะหรือสิทธิของบุคคลจะเสียหาย
โดยไมม ที างแกไขได หรอื ไมมเี จาหนาที่อน่ื ปฏิบัติหนา ทแ่ี ทนผูนนั้ ได
มาตรา 19 ถาปรากฏภายหลังวาเจาหนาท่ีหรือกรรมการในคณะกรรมการท่ีมีอำนาจ
พิจารณาทางปกครองใดขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะตองหามหรือการแตงต้ังไมชอบดวยกฎหมาย อัน
เปนเหตุใหผูน้ันตองพนจากตำแหนง การพนจากตำแหนงเชนวาน้ีไมกระทบกระเทือนถึงการใดที่ผูนั้นได
ปฏิบตั ิไปตามอำนาจหนาท่ี
มาตรา 20 ผูบังคับบัญชาเหนือตนขึ้นไปชั้นหน่ึงตามมาตรา 14 และมาตรา 16 ให
หมายความรวมถึง ผูซ่ึงกฎหมายกำหนดใหมีอำนาจกำกับหรือควบคุมดูแลสำหรับกรณีของเจาหนาท่ีท่ี
ไมมีผบู งั คบั บัญชาโดยตรง และนายกรัฐมนตรสี ำหรับกรณที เี่ จาหนา ท่ีผนู น้ั เปนรฐั มนตรี

เตรยี มสอบ กกต

เตรียมสอบพนกั งาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลือกต้ังชดุ ท่ี 2 351

สว นที่ 2
คกู รณี
มาตรา 21 บุคคลธรรมดา คณะบุคคล หรือนิติบุคคล อาจเปนคูกรณีในการ
พิจารณาทางปกครองไดตามขอบเขตที่สิทธิของตนถูกกระทบกระเทือนหรืออาจถูกกระทบกระเทือน
โดยมิอาจหลีกเล่ยี งได
มาตรา 22 ผูมีความสามารถกระทำการในกระบวนการพิจารณาทางปกครองได
จะตอ งเปน
(1) ผูซ ึง่ บรรลุนิติภาวะ
(2) ผูซ่ึงมีบทกฎหมายเฉพาะกำหนดใหมีความสามารถกระทำการในเรื่องท่ีกำหนด
ได แมผนู นั้ จะยังไมบ รรลุนิตภิ าวะหรือความสามารถถกู จำกดั ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
(3) นติ ิบคุ คลหรือคณะบุคคลตามมาตรา 21 โดยผแู ทนหรือตัวแทน แลวแตก รณี
(4) ผูซึ่งมีประกาศของนายกรัฐมนตรีหรือผูซึ่งนายกรัฐมนตรีมอบหมายในราชกิจจา
นุเบกษากำหนดใหมีความสามารถกระทำการในเรื่องท่ีกำหนดได แมผูน้ันจะยังไมบรรลุนิติภาวะหรือ
ความสามารถถูกจำกดั ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณชิ ย
มาตรา 23 ในการพิจารณาทางปกครองท่ีคูกรณีตองมาปรากฏตัวตอหนา
เจา หนาท่ี คกู รณมี ีสิทธินำทนายความหรือทปี่ รกึ ษาของตนเขามาในการพิจารณาทางปกครองได
การใดทที่ นายความหรอื ทีป่ รึกษาไดท ำลงตอหนา คกู รณใี หถือวาเปน การกระทำของ
คูกรณี เวน แตค กู รณีจะไดคัดคานเสียแตใ นขณะน้นั
มาตรา 24 คูกรณีอาจมีหนังสือแตงต้ังใหบุคคลหนึ่งบุคคลใดซ่ึงบรรลุนิติภาวะกระทำ
การอยางหนึ่งอยางใดตามที่กำหนดแทนตนในกระบวนการพิจารณาทางปกครองใด ๆ ได ในการ
นี้ เจาหนาท่ีจะดำเนินกระบวนพิจารณาทางปกครองกับตัวคูกรณีไดเฉพาะเม่ือเปนเรื่องท่ีผูน้ันมีหนาท่ี
โดยตรงทีจ่ ะตอ งทำการนนั้ ดวยตนเองและตอ งแจงใหผไู ดร บั การแตงตงั้ ใหก ระทำการแทนทราบดว ย
หากปรากฏวาผูไดรับการแตงต้ังใหกระทำการแทนผูใดไมทราบขอเท็จจริงในเรื่องน้ัน
เพยี งพอหรอื มีเหตุไมค วรไววางใจในความสามารถของบุคคลดังกลาวใหเ จาหนาท่ีแจงใหค ูก รณที ราบโดย
ไมชักชา
การแตงตั้งใหกระทำการแทนไมถือวาส้ินสุดลงเพราะความตายของคูกรณีหรือการท่ี
ความสามารถหรือความเปนผูแทนของคูกรณีเปลี่ยนแปลงไป เวนแตผูสืบสิทธิตามกฎหมายของคูกรณี
หรอื คกู รณีจะถอนการแตงต้งั ดงั กลา ว
มาตรา 25 ในกรณีที่มีการย่ืนคำขอโดยมีผูลงชื่อรวมกันเกินหาสิบคนหรือมีคูกรณีเกิน
หาสิบคนย่ืนคำขอที่มีขอความอยางเดียวกันหรือทำนองเดียวกัน ถาในคำขอมีการระบุใหบุคคลใดเปน
ตัวแทนของบุคคลดังกลาวหรือมีขอความเปนปริยายใหเขาใจไดเชนน้ัน ใหถือวาผูท่ีถูกระบุช่ือดังกลาว
เปน ตวั แทนรวมของคกู รณีเหลาน้นั

เตรยี มสอบ กกต

เตรยี มสอบพนักงาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตง้ั ชดุ ที่ 2 352

ในกรณีทม่ี ีคกู รณีเกนิ หา สิบคนยื่นคำขอใหมคี ำส่งั ทางปกครองในเรื่องเดียวกนั โดยไมม ี
การกำหนดใหบุคคลใดเปนตัวแทนรวมของตนตามวรรคหนึ่ง ใหเจาหนาท่ีในเรื่องน้ันแตงตั้งบุคคลที่
คกู รณีฝา ยขา งมากเห็นชอบเปน ตวั แทนรวมของบคุ คลดงั กลาว ในกรณีน้ีใหนำมาตรา 24 วรรคสอง และ
วรรคสาม มาใชบ ังคับโดยอนุโลม

ตวั แทนรว มตามวรรคหนง่ึ หรือวรรคสองตอ งเปน บุคคลธรรมดา
คกู รณีจะบอกเลิกการใหตัวแทนรวมดำเนินการแทนตนเมอ่ื ใดก็ไดแตตองมีหนังสือแจง
ใหเจาหนา ที่ทราบและดำเนินการใด ๆ ในกระบวนการพิจารณาทางปกครองตอไปดว ยตนเอง
ตัวแทนรวมจะบอกเลิกการเปนตัวแทนเมื่อใดก็ได แตตองมีหนังสือแจงใหเจาหนาท่ี
ทราบกบั ตอ งแจง ใหคูก รณีทุกรายทราบดว ย

สวนที่ 3
การพิจารณา
มาตรา 26 เอกสารท่ีย่ืนตอเจาหนาที่ใหจัดทำเปนภาษาไทย ถาเปนเอกสารท่ีทำข้ึน
เปนภาษาตางประเทศ ใหคูกรณีจัดทำคำแปลเปนภาษาไทยที่มีการรับรองความถูกตองมาใหภายใน
ระยะเวลาท่ีเจาหนาท่ีกำหนด ในกรณีน้ีใหถือวาเอกสารดังกลาวไดย่ืนตอเจาหนาท่ีในวันท่ีเจาหนาที่
ไดรับคำแปลนัน้ เวนแตเจา หนา ท่จี ะยอมรับเอกสารทที่ ำขึ้นเปนภาษาตา งประเทศ และในกรณีน้ีใหถอื วา
วันทไี่ ดย น่ื เอกสารฉบับท่ีทำขนึ้ เปนภาษาตา งประเทศเปน วันท่ีเจาหนาที่ไดรับเอกสารดงั กลา ว
การรับรองความถูกตองของคำแปลเปนภาษาไทยหรือการยอมรับเอกสารท่ีทำข้ึนเปน
ภาษาตางประเทศ ใหเปน ไปตามหลักเกณฑแ ละวธิ ีการทก่ี ำหนดในกฎกระทรวง
มาตรา 27 ใหเจาหนาท่ีแจงสิทธิและหนาที่ในกระบวนการพิจารณาทางปกครองให
คกู รณที ราบตามความจำเปนแกกรณี
เมื่อมีผูยื่นคำขอเพื่อใหเจาหนาที่มีคำสั่งทางปกครอง ใหเปนหนาที่ของเจาหนาที่ผู
รับคำขอท่ีจะตองดำเนินการตรวจสอบความถูกตองของคำขอและความครบถวนของเอกสาร บรรดาที่มี
กฎหมายหรือกฎกำหนดใหตองย่ืนมาพรอมกับคำขอ หากคำขอไมถูกตอง ใหเจาหนาที่ดังกลาวแนะนำ
ใหผูยื่นคำขอดำเนินการแกไขเพิ่มเติมเสียใหถูกตอง และหากมีเอกสารใดไมครบถวนใหแจงใหผูยื่นคำ
ขอทราบทันทีหรือภายในไมเกินเจ็ดวันนับแตวันที่ไดรับคำขอ ในการแจงดังกลาวใหเจาหนาท่ีทำเปน
หนงั สือลงลายมือช่ือของผูรับคำขอและระบุรายการเอกสารท่ีไมถูกตองหรือยังไมครบถวนใหผูยื่นคำขอ
ทราบพรอมทั้งบันทึกการแจงดังกลาวไวในกระบวนพิจารณาจัดทำคำส่ังทางปกครองนัน้ ดวย
เม่ือผูย่ืนคำขอไดแกไขคำขอหรือจัดสงเอกสารตามที่ระบุในการแจงตามวรรคสอง
ครบถวนแลวเจาหนาที่จะปฏิเสธไมดำเนินการตามคำขอเพราะเหตุยังขาดเอกสารอีกมิได เวนแตมี
ความจำเปนเพื่อปฏิบัติใหถูกตองตามกฎหมายหรือกฎและไดรับความเห็นชอบจากผูบังคับบัญชาเหนือ
ตนขึ้นไปช้ันหนึ่งตามมาตรา 20 ในกรณีเชนน้ันใหผูบ ังคับบัญชาดังกลา วดำเนินการตรวจสอบขอเทจ็ จริง
โดยพลนั หากเห็นวา เปน ความบกพรองของเจา หนา ทใี่ หด ำเนนิ การทางวนิ ยั ตอไป

เตรยี มสอบ กกต

เตรียมสอบพนักงาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลือกตัง้ ชุดท่ี 2 353

ผูยื่นคำขอตองดำเนินการแกไขหรือสงเอกสารเพ่ิมเติมตอเจาหนาที่ภายในเวลาที่
เจาหนาที่กำหนดหรือภายในเวลาที่เจาหนาท่ีอนุญาตใหขยายออกไป เม่ือพนกำหนดเวลาดังกลาวแลว
หากผูย่ืนคำขอไมแกไขหรือสงเอกสารเพ่ิมเติมใหครบถวน ใหถือวาผูย่ืนคำขอไมประสงคที่จะให
เจา หนาท่ีดำเนินการตามคำขอตอไป ในกรณเี ชน นั้นใหเ จาหนาท่ีสงเอกสารคืนใหผยู น่ื คำขอพรอ มท้ังแจง
สิทธิในการอุทธรณใ หผยู น่ื คำขอทราบ และบันทกึ การดำเนินการดังกลา วไว

มาตรา 28 ในการพิจารณาทางปกครอง เจาหนาท่ีอาจตรวจสอบขอเท็จจริงได
ตามความเหมาะสมในเรื่องน้ัน ๆ โดยไมตอ งผกู พันอยกู ับคำขอหรอื พยานหลกั ฐานของคกู รณี

มาตรา 29 เจาหนาที่ตองพิจารณาพยานหลักฐานที่ตนเห็นวาจำเปนแกการพิสูจน
ขอ เท็จจริง ในการน้ใี หร วมถงึ การดำเนินการดงั ตอ ไปนี้

(1) แสวงหาพยานหลกั ฐานทุกอยางทเ่ี กย่ี วขอ ง
(2) รับฟงพยานหลักฐาน คำชี้แจง หรือความเห็นของคูกรณีหรือของพยานบุคคล
หรือพยานผูเชี่ยวชาญที่คูกรณีกลาวอาง เวนแตเจาหนาท่ีเห็นวาเปนการกลาวอางที่ไมจำเปน
ฟุมเฟอยหรอื เพือ่ ประวงิ เวลา
(3) ขอขอเท็จจรงิ หรือความเห็นจากคูกรณี พยานบคุ คล หรือพยานผเู ชีย่ วชาญ
(4) ขอใหผ คู รอบครองเอกสารสง เอกสารท่เี กี่ยวขอ ง
(5) ออกไปตรวจสถานที่
คูกรณีตองใหความรวมมือกับเจาหนาท่ีในการพิสูจนขอเท็จจริง และมีหนาท่ีแจง
พยานหลักฐานท่ีตนทราบแกเจาหนา ที่
พยานหรือพยานผูเชี่ยวชาญท่ีเจาหนาท่ีเรียกมาใหถอยคำหรอื ทำความเห็นมีสิทธิไดรับ
คาปวยการตามหลกั เกณฑแ ละวธิ ีการท่ีกำหนดในกฎกระทรวง
มาตรา 30 ในกรณีท่ีคำสั่งทางปกครองอาจกระทบถึงสิทธิของคูกรณี เจาหนาที่
ตองใหคูกรณีมีโอกาสท่ีจะไดทราบขอเท็จจริงอยางเพียงพอและมีโอกาสไดโตแยงและแสดง
พยานหลักฐานของตน
ความในวรรคหนึ่งมิใหนำมาใชบังคับในกรณีดังตอไปน้ี เวนแตเจาหนาที่จะ
เห็นสมควรปฏิบตั เิ ปน อยางอ่นื
(1) เม่ือมีความจำเปนรีบดวนหากปลอยใหเน่ินชาไปจะกอใหเกิดความเสียหายอยาง
รา ยแรงแกผหู นึง่ ผใู ดหรือจะกระทบตอประโยชนสาธารณะ
(2) เมื่อจะมีผลทำใหระยะเวลาท่ีกฎหมายหรือกฎกำหนดไวในการทำคำสั่งทาง
ปกครองตองลาชา ออกไป
(3) เมอื่ เปนขอ เท็จจรงิ ทคี่ กู รณนี ้นั เองไดใหไ วในคำขอ คำใหก ารหรอื คำแถลง
(4) เม่อื โดยสภาพเห็นไดช ดั ในตัววา การใหโ อกาสดังกลา วไมอาจกระทำได
(5) เมือ่ เปนมาตรการบงั คับทางปกครอง
(6) กรณอี ่ืนตามท่ีกำหนดในกฎกระทรวง

เตรยี มสอบ กกต

เตรียมสอบพนักงาน สำนักงานคณะกรรมการการเลอื กตัง้ ชดุ ท่ี 2 354

หามมิใหเจาหนาที่ใหโอกาสตามวรรคหนึ่ง ถาจะกอใหเกิดผลเสียหายอยางรายแรงตอ
ประโยชนส าธารณะ

มาตรา 31 คูกรณีมีสิทธิขอตรวจดูเอกสารที่จำเปนตองรูเพ่ือการโตแยงหรือชี้แจงหรือ
ปองกันสิทธิของตนได แตถายังไมไดทำคำสั่งทางปกครองในเร่ืองน้ัน คูกรณีไมมีสิทธิขอตรวจดูเอกสาร
อนั เปน ตนรา งคำวินจิ ฉัย

การตรวจดูเอกสาร คาใชจายในการตรวจดูเอกสาร หรือการจัดทำสำเนาเอกสารให
เปนไปตามหลกั เกณฑแ ละวธิ กี ารทีก่ ำหนดในกฎกระทรวง

มาตรา 32 เจาหนาที่อาจไมอนุญาตใหตรวจดูเอกสารหรือพยานหลักฐานได
ถาเปนกรณีที่ตอ งรกั ษาไวเ ปนความลับ

มาตรา 33 เพ่ือประโยชนใ นการอำนวยความสะดวกแกประชาชน ความประหยดั และ
ความมีประสิทธิภาพในการดำเนินงานของรฐั ใหคณะรัฐมนตรีวางระเบียบกำหนดหลักเกณฑและวธิ ีการ
เพื่อใหเจาหนาท่ีกำหนดเวลาสำหรับการพิจารณาทางปกครองขึ้นไวตามความเหมาะสมแกกรณี ทั้งนี้
เทาทไี่ มข ัดหรือแยง กบั กฎหมายหรือกฎในเรอื่ งนัน้

ในกรณีที่การดำเนินงานในเร่ืองใดจะตองผานการพิจารณาของเจาหนาที่มากกวาหน่ึง
ราย เจา หนา ท่ที ี่เก่ยี วของมีหนา ที่ตอ งประสานงานกนั ในการกำหนดเวลาเพื่อการดำเนินงานในเรอ่ื งนน้ั

สวนที่ 4
รูปแบบและผลของคำสงั่ ทางปกครอง
มาตรา 34 คำส่ังทางปกครองอาจทำเปนหนังสือหรือวาจาหรือโดยการสื่อ
ความหมายในรูปแบบอื่นกไ็ ด แตตองมีขอ ความหรือความหมายทีช่ ดั เจนเพียงพอท่ีจะเขา ใจได
มาตรา 35 ในกรณีท่ีคำสั่งทางปกครองเปนคำส่ังดวยวาจา ถาผูรับคำส่ังน้ันรองขอ
และการรองขอไดกระทำโดยมีเหตุอันสมควรภายในเจ็ดวันนับแตวันที่มีคำส่ังดังกลาว เจาหนาที่ผูออก
คำส่ังตอ งยืนยันคำสง่ั นนั้ เปน หนงั สือ
มาตรา 36 คำสั่งทางปกครองท่ีทำเปนหนังสืออยางนอยตองระบุ วัน เดือน และป
ท่ที ำคำส่ัง ชอ่ื และตำแหนง ของเจาหนาทผ่ี ูท ำคำสงั่ พรอ มทงั้ มลี ายมือชือ่ ของเจา หนา ทผี่ ทู ำคำสง่ั น้ัน
มาตรา 37 คำสั่งทางปกครองที่ทำเปนหนังสือและการยืนยันคำสั่งทางปกครอง
เปน หนงั สอื ตอ งจัดใหมีเหตผุ ลไวดวย และเหตผุ ลน้ันอยา งนอยตองประกอบดวย
(1) ขอเทจ็ จรงิ อันเปน สาระสำคัญ
(2) ขอกฎหมายทีอ่ า งอิง
(3) ขอ พิจารณาและขอสนับสนนุ ในการใชดลุ พนิ ิจ
นายกรัฐมนตรีหรือผูซ่ึงนายกรัฐมนตรีมอบหมายอาจประกาศในราชกิจจานุเบกษา
กำหนดใหคำส่ังทางปกครองกรณีหน่ึงกรณีใดตองระบุเหตุผลไวในคำส่ังน้ันเองหรือในเอกสารแนบทาย
คำส่ังน้นั กไ็ ด

เตรยี มสอบ กกต

เตรียมสอบพนกั งาน สำนักงานคณะกรรมการการเลอื กต้งั ชุดท่ี 2 355

บทบัญญัติตามวรรคหนึ่งไมใชบงั คับกับกรณีดงั ตอไปน้ี
(1) เปน กรณีทมี่ ผี ลตรงตามคำขอและไมก ระทบสทิ ธิและหนา ท่ีของบคุ คลอนื่
(2) เหตผุ ลนน้ั เปน ท่รี ูก ันอยูแลว โดยไมจ ำตองระบอุ ีก
(3) เปนกรณที ต่ี อ งรกั ษาไวเปนความลับตามมาตรา 32
(4) เปนการออกคำสั่งทางปกครองดวยวาจาหรือเปนกรณีเรงดวน แตตองใหเหตุผล
เปนลายลกั ษณอ กั ษรในเวลาอนั ควรหากผูอยูในบงั คับของคำสง่ั น้ันรอ งขอ
มาตรา 38 บทบัญญัตติ ามมาตรา 36 และมาตรา 37 วรรคหนง่ึ มใิ หใชบงั คับกบั คำสั่ง
ทางปกครองท่ีกำหนดในกฎกระทรวง ท้ังนี้ ตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่กำหนดใน
กฎกระทรวง
มาตรา 39 การออกคำส่ังทางปกครองเจาหนาท่ีอาจกำหนดเงื่อนไขใด ๆ ไดเทาท่ี
จำเปนเพอ่ื ใหบรรลวุ ัตถุประสงคของกฎหมาย เวนแตกฎหมายจะกำหนดขอจำกัดดุลพนิ จิ เปน อยางอ่นื
การกำหนดเงื่อนไขตามวรรคหนึ่ง ใหหมายความรวมถึงการกำหนดเง่ือนไขในกรณี
ดังตอ ไปน้ี ตามความเหมาะสมแกก รณดี วย
(1) การกำหนดใหสิทธิหรือภาระหนา ทีเ่ รมิ่ มผี ลหรือส้ินผล ณ เวลาใดเวลาหนึ่ง
(2) การกำหนดใหการเริ่มมีผลหรือส้ินผลของสิทธิหรือภาระหนาที่ตองข้ึนอยูกับ
เหตกุ ารณใ นอนาคตทไี่ มแนน อน
(3) ขอสงวนสิทธิท่จี ะยกเลิกคำส่ังทางปกครอง
(4) การกำหนดใหผไู ดร ับประโยชนตอ งกระทำหรืองดเวนกระทำหรือตองมภี าระหนาท่ี
หรือยอมรับภาระหนาท่ีหรือความรับผิดชอบบางประการ หรือการกำหนดขอความในการจัดใหมี
เปลีย่ นแปลง หรือเพิม่ ขอ กำหนดดังกลาว
มาตรา 39/1 การออกคำสั่งทางปกครองเปน หนงั สอื ในเร่ืองใด หากมิไดม ีกฎหมายหรือ
กฎกำหนดระยะเวลาในการออกคำส่ังทางปกครองในเร่ืองนั้นไวเปนประการอ่ืน ใหเจาหนาที่ออกคำสั่ง
ทางปกครองน้ันใหแลวเสร็จภายในสามสิบวันนับแตวันท่ีเจาหนาท่ีไดรับคำขอและเอกสารถูกตอง
ครบถว น
ใหเปนหนาท่ีของผูบังคับบัญชาชั้นเหนือข้ึนไปของเจาหนาท่ี ท่ีจะกำกับดูแลให
เจา หนา ทด่ี ำเนนิ การใหเปนไปตามวรรคหนึ่ง
มาตรา 40 คำสั่งทางปกครองท่ีอาจอุทธรณหรือโตแยงตอไปได ใหระบุกรณีที่อาจ
อุทธรณหรือโตแยง การยื่นคำอุทธรณหรือคำโตแยง และระยะเวลาสำหรับการอุทธรณหรือการ
โตแ ยง ดังกลาวไวด ว ย
ในกรณที ่มี ีการฝาฝน บทบญั ญัติตามวรรคหน่งึ ใหร ะยะเวลาสำหรบั การอทุ ธรณห รือ
การโตแยงเริ่มนับใหมตั้งแตวันท่ีไดรับแจงหลักเกณฑตามวรรคหน่ึง แตถาไมมีการแจงใหมและ
ระยะเวลาดังกลา วมรี ะยะเวลาสนั้ กวา หนง่ึ ป ใหข ยายเปนหน่ึงปน บั แตวนั ท่ไี ดรบั คำสัง่ ทางปกครอง

เตรยี มสอบ กกต

เตรียมสอบพนักงาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกต้งั ชดุ ที่ 2 356

มาตรา 41 คำสั่งทางปกครองที่ออกโดยการฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามหลักเกณฑ
ดงั ตอไปนี้ ไมเปนเหตุใหคำส่ังทางปกครองนน้ั ไมสมบรู ณ

(1) การออกคำส่ังทางปกครองโดยยังไมมีผูย่ืนคำขอในกรณีที่เจาหนาที่จะดำเนินการ
เองไมไ ดน อกจากจะมผี ูย ื่นคำขอ ถาตอ มาในภายหลังไดมกี ารยนื่ คำขอเชน นั้นแลว

(2) คำส่ังทางปกครองท่ีตองจัดใหมเี หตุผลตามมาตรา 37 วรรคหนึง่ ถาไดม กี ารจัดใหมี
เหตุผลดังกลา วในภายหลงั

(3) การรับฟงคูกรณีที่จำเปนตองกระทำไดดำเนินการมาโดยไมสมบูรณ ถาไดมีการรับ
ฟง ใหส มบรู ณในภายหลัง

(4) คำส่ังทางปกครองที่ตองใหเจาหนาที่อ่ืนใหความเห็นชอบกอน ถาเจาหนาที่นั้นได
ใหค วามเห็นชอบในภายหลงั

เมื่อมีการดำเนินการตามวรรคหน่ึง (1) (2) (3) หรือ (4) แลว และเจาหนาท่ีผูมีคำสั่ง
ทางปกครองประสงคใหผลเปนไปตามคำส่ังเดิมใหเจาหนาที่ผูน้ันบันทึกขอเท็จจริงและความประสงค
ของตนไวในหรอื แนบไวก ับคำสั่งเดมิ และตองมหี นังสอื แจง ความประสงคของตนใหค ูกรณีทราบดวย

กรณีตาม (2) (3) และ (4) จะตองกระทำกอนสิ้นสุดกระบวนการพิจารณาอุทธรณตาม
สวนที่ 5 ของหมวดน้ี หรือตามกฎหมายเฉพาะวาดวยการนั้น หรือถาเปนกรณีท่ีไมตองมีการอุทธรณ
ดังกลาวก็ตองกอนมีการนำคำส่ังทางปกครองไปสูการพิจารณาของผูมีอำนาจพิจารณาวินิจฉัยความ
ถกู ตอ งของคำสัง่ ทางปกครองนั้น

มาตรา 42 คำสั่งทางปกครองใหมีผลใชยันตอบุคคลตั้งแตขณะที่ผูนั้นไดรับแจง
เปนตนไป

คำสั่งทางปกครองยอมมีผลตราบเทาที่ยังไมมีการเพิกถอนหรือสิ้นผลลงโดย
เง่ือนเวลาหรอื โดยเหตุอนื่

เม่ือคำส่ังทางปกครองส้ินผลลง ใหเจาหนาท่ีมีอำนาจเรยี กผูซ่ึงครอบครองเอกสารหรือ
วัตถุอ่ืนใดท่ีไดจัดทำขึ้นเนื่องในการมีคำสั่งทางปกครองดังกลาว ซ่ึงมีขอความหรือเครื่องหมายแสดงถึง
การมีอยูของคำสั่งทางปกครองน้ัน ใหส งคืนสิง่ น้ันหรือใหนำสิ่งของดังกลาวอนั เปนกรรมสิทธ์ขิ องผนู ั้นมา
ใหเ จาหนาท่จี ดั ทำเคร่ืองหมายแสดงการส้นิ ผลของคำสง่ั ทางปกครองดังกลา วได

มาตรา 43 คำส่ังทางปกครองท่ีมีขอผิดพลาดเล็กนอยหรือผิดหลงเล็กนอยน้ัน
เจาหนา ท่อี าจแกไ ขเพ่มิ เติมไดเสมอ

ในการแกไขเพ่ิมเติมคำสั่งทางปกครองตามวรรคหน่ึงใหแจงใหผูท่ีเก่ียวของทราบตาม
ควรแกกรณี ในการน้ี เจา หนา ท่ีอาจเรียกใหผทู ี่เก่ยี วขอ งจัดสง คำสัง่ ทางปกครอง เอกสารหรอื วัตถุอ่นื ใดที่
ไดจัดทำขนึ้ เน่ืองในการมีคำสัง่ ทางปกครองดงั กลา วมาเพื่อการแกไ ขเพม่ิ เตมิ ได

เตรยี มสอบ กกต

เตรยี มสอบพนกั งาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตงั้ ชุดท่ี 2 357

สวนที่ 5
การอทุ ธรณค ำส่ังทางปกครอง
มาตรา 44 ภายใตบังคับมาตรา 48 ในกรณีท่ีคำสั่งทางปกครองใดไมไดออกโดย
รัฐมนตรี และไมมีกฎหมายกำหนดข้ันตอนอุทธรณภายในฝายปกครองไวเปนการเฉพาะ ใหคูกรณี
อุทธรณคำส่ังทางปกครองน้ันโดยย่ืนตอเจาหนาท่ีผูทำคำส่ังทางปกครองภายในสิบหาวันนับแตวันท่ี
ตนไดรับแจงคำสั่งดงั กลา ว
คำอุทธรณตองทำเปนหนังสือโดยระบุขอโตแยงและขอเท็จจริงหรือขอกฎหมาย
ท่ีอา งอิงประกอบดวย
การอุทธรณไมเปนเหตุใหทุเลาการบังคับตามคำส่ังทางปกครอง เวนแตจะมีการสั่งให
ทเุ ลาการบังคบั ตามมาตรา 63/2 วรรคหนง่ึ
มาตรา 45 ใหเจาหนาที่ตามมาตรา 44 วรรคหนึ่ง พิจารณาคำอุทธรณและแจงผู
อุทธรณโดยไมชักชา แตตองไมเกินสามสิบวันนับแตวนั ท่ีไดร ับอุทธรณ ในกรณีที่เหน็ ดว ยกับคำอุทธรณ
ไมวาทั้งหมดหรือบางสวนก็ใหดำเนินการเปล่ียนแปลงคำส่ังทางปกครองตามความเห็นของตนภายใน
กำหนดเวลาดังกลา วดวย
ถาเจาหนาท่ีตามมาตรา 44 วรรคหนึ่ง ไมเห็นดวยกับคำอุทธรณไมวาทั้งหมดหรือ
บางสวนก็ใหเรงรายงานความเห็นพรอมเหตุผลไปยังผูมีอำนาจพิจารณาคำอุทธรณภายใน
กำหนดเวลาตามวรรคหน่ึง ใหผูมีอำนาจพิจารณาคำอุทธรณพิจารณาใหแลวเสร็จภายในสามสิบวันนับ
แตวันที่ตนไดรับรายงาน ถามีเหตุจำเปนไมอาจพิจารณาใหแลวเสร็จภายในระยะเวลาดังกลาว ใหผูมี
อำนาจพิจารณาอุทธรณม ีหนงั สือแจงใหผอู ุทธรณทราบกอนครบกำหนดเวลาดังกลาว ในการนี้ ใหขยาย
ระยะเวลาพจิ ารณาอทุ ธรณอ อกไปไดไ มเกินสามสบิ วันนบั แตวนั ท่คี รบกำหนดเวลาดังกลา ว
เจาหนาท่ีผูใดจะเปนผูมีอำนาจพิจารณาอุทธรณตามวรรคสองใหเปนไปตามที่กำหนด
ในกฎกระทรวง
บทบัญญัตมิ าตรานี้ไมใ ชกบั กรณีทม่ี ีกฎหมายเฉพาะกำหนดไวเ ปนอยา งอนื่
มาตรา 46 ในการพิจารณาอุทธรณ ใหเจาหนาที่พิจารณาทบทวนคำส่ังทาง
ปกครองไดไมวาจะเปนปญหาขอเท็จจริง ขอกฎหมาย หรือความเหมาะสมของการทำคำสั่งทาง
ปกครอง และอาจมีคำสั่งเพกิ ถอนคำสั่งทางปกครองเดิมหรอื เปล่ียนแปลงคำส่ังนั้นไปในทางใด ท้ังน้ี ไม
วาจะเปนการเพ่ิมภาระหรือลดภาระหรือใชดุลพินิจแทนในเร่ืองความเหมาะสมของการทำคำสั่งทาง
ปกครองหรอื มีขอ กำหนดเปนเง่ือนไขอยา งไรกไ็ ด
ม าต รา 4 7 ก ารใด ท่ี ก ฎ ห ม าย ก ำห น ด ให อุ ท ธรณ ต อ เจ าห น าท่ี ซึ่ งเป น
คณะกรรมการ ขอบเขตการพิจารณาอุทธรณใหเปนไปตามกฎหมายวาดวยการนั้น สำหรับ
กระบวนการพิจารณาใหปฏิบัติตามบทบัญญัติ หมวด 2 น้ี เทาทไ่ี มข ดั หรอื แยง กับกฎหมายดงั กลา ว

เตรยี มสอบ กกต

เตรยี มสอบพนักงาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลือกตงั้ ชุดที่ 2 358

มาตรา 48 คำส่ังทางปกครองของบรรดาคณะกรรมการตาง ๆ ไมวาจะจัดต้ังขึ้นตาม
กฎหมายหรือไม ใหคูกรณีมีสิทธิโตแยงตอคณะกรรมการวินิจฉัยรองทุกขตามกฎหมายวาดวย
คณะกรรมการกฤษฎีกาไดทั้งในปญหาขอเท็จจริงและขอกฎหมาย ภายในเกาสิบวันนบั แตวนั ที่ไดร ับแจง
คำสั่งนั้น แตถาคณะกรรมการดังกลาวเปนคณะกรรมการวินิจฉัยขอพิพาท สิทธิการอุทธรณและ
กำหนดเวลาอทุ ธรณ ใหเปน ไปตามท่ีบญั ญตั ิในกฎหมายวาดว ยคณะกรรมการกฤษฎีกา

สว นที่ 6
การเพกิ ถอนคำสั่งทางปกครอง
มาตรา 49 เจาหนาที่หรือผูบังคับบัญชาของเจาหนาที่อาจเพิกถอนคำส่ังทาง
ปกครองไดตามหลักเกณฑในมาตรา 51 มาตรา 52 และมาตรา 53 ไมวาจะพนขั้นตอนการ
กำหนดใหอทุ ธรณหรอื ใหโตแ ยง ตามกฎหมายนี้หรอื กฎหมายอนื่ มาแลว หรือไม
การเพิกถอนคำสั่งทางปกครองที่มีลักษณะเปนการใหประโยชนตองกระทำภายใน
เกาสิบวันนับแตไดรูถึงเหตุท่ีจะใหเพิกถอนคำสั่งทางปกครองนั้น เวนแตคำส่ังทางปกครองจะไดทำข้ึน
เพราะการแสดงขอความอันเปนเท็จหรือปกปดขอความจริงซึ่งควรบอกใหแจงหรือการขมขูหรือการชัก
จูงใจโดยการใหทรัพยส นิ หรือประโยชนอ ่ืนใดท่ีมิชอบดวยกฎหมาย
มาตรา 50 คำส่ังทางปกครองที่ไมชอบดวยกฎหมายอาจถูกเพิกถอนทั้งหมดหรือ
บางสวน โดยจะใหมีผลยอนหลังหรือไมยอนหลังหรือมีผลในอนาคตไปถึงขณะใดขณะหนึ่งตามที่
กำหนดได แตถาคำสั่งน้ันเปนคำส่ังซึ่งเปนการใหประโยชนแกผูรับ การเพิกถอนตองเปนไปตาม
บทบัญญตั ิมาตรา 51 และมาตรา 52
มาตรา 51 การเพิกถอนคำส่งั ทางปกครองที่ไมชอบดวยกฎหมายซ่ึงเปนการใหเงิน
หรือใหท รัพยส ินหรือใหประโยชนท ่ีอาจแบง แยกได ใหคำนึงถึงความเช่ือโดยสจุ ริตของผรู บั ประโยชน
ในความคงอยขู องคำส่ังทางปกครองนน้ั กับประโยชนส าธารณะประกอบกนั
ความเช่ือโดยสุจริตตามวรรคหน่ึงจะไดรับความคุมครองตอเม่ือผูรับคำสั่งทางปกครอง
ไดใชประโยชนอันเกิดจากคำสั่งทางปกครองหรือไดดำเนินการเกี่ยวกับทรัพยสินไปแลวโดยไมอาจ
แกไขเปลย่ี นแปลงไดห รอื การเปลี่ยนแปลงจะทำใหผ นู ้นั ตอ งเสียหายเกนิ ควรแกกรณี
ในกรณดี งั ตอ ไปนี้ ผูร บั คำส่ังทางปกครองจะอา งความเช่อื โดยสจุ รติ ไมได
(1) ผูน้ันไดแสดงขอความอันเปนเท็จหรือปกปดขอความจริงซึ่งควรบอกใหแจง หรือ
ขมขู หรือชกั จูงใจโดยการใหทรพั ยส นิ หรือใหป ระโยชนอ่นื ใดท่มี ชิ อบดว ยกฎหมาย
(2) ผูน น้ั ไดใหข อความซง่ึ ไมถูกตองหรือไมค รบถวนในสาระสำคญั
(3) ผูนั้นไดรถู ึงความไมชอบดวยกฎหมายของคำสั่งทางปกครองในขณะไดร ับคำสั่งทาง
ปกครองหรือการไมร ูนนั้ เปน ไปโดยความประมาทเลนิ เลอ อยางรา ยแรง
ในกรณีที่เพิกถอนโดยใหมีผลยอ นหลัง การคืนเงนิ ทรัพยสินหรือประโยชนที่ผรู ับคำส่ัง
ทางปกครองไดไป ใหนำบทบัญญัติวาดวยลาภมิควรไดในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมาใช

เตรียมสอบ กกต

เตรยี มสอบพนักงาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้งชดุ ที่ 2 359

บังคับโดยอนุโลม โดยถาเมื่อใดผูรับคำส่ังทางปกครองไดรูถึงความไมชอบดวยกฎหมายของคำส่ังทาง
ปกครองหรือควรไดรูเชนน้ันหากผูนั้นมิไดประมาทเลินเลออยางรายแรงใหถือวาผูนั้นตกอยูในฐานะไม
สุจริตต้ังแตเวลานั้นเปนตนไป และในกรณีตามวรรคสาม ผูน้ันตองรับผิดในการคืนเงิน ทรัพยสินหรือ
ประโยชนที่ไดรับไปเต็มจำนวน

มาตรา 52 คำส่ังทางปกครองที่ไมชอบดวยกฎหมายและไมอยูในบังคับของมาตรา
51 อาจถูกเพิกถอนทั้งหมดหรือบางสวนได แตผูไดรับผลกระทบจากการเพิกถอนคำสั่งทางปกครอง
ดังกลาวมีสิทธิไดรับคาทดแทนความเสียหายเนื่องจากความเชื่อโดยสุจริตในความคงอยูของคำส่ังทาง
ปกครองได และใหน ำความในมาตรา 51 วรรคหน่งึ วรรคสอง และวรรคสาม มาใชบังคับโดยอนุโลม แต
ตอ งรองขอคา ทดแทนภายในหนึง่ รอ ยแปดสิบวันนับแตไดรับแจงใหทราบถงึ การเพกิ ถอนนนั้

คาทดแทนความเสียหายตามมาตรานี้จะตองไมสูงกวาประโยชนที่ผูนั้นอาจไดรับ
หากคำสั่งทางปกครองดงั กลาวไมถูกเพกิ ถอน

มาตรา 53 คำส่ังทางปกครองที่ชอบดวยกฎหมายซึ่งไมเปนการใหประโยชนแกผูรับ
คำส่ังทางปกครองอาจถูกเพิกถอนท้ังหมดหรือบางสวนโดยใหมีผลตั้งแตขณะท่ีเพิกถอนหรือมีผลใน
อนาคตไปถึงขณะใดขณะหนึ่งตามที่กำหนดได เวนแตเปนกรณีท่ีคงตองทำคำส่ังทางปกครองที่มีเนื้อหา
ทำนองเดียวกันนั้นอีก หรือเปนกรณีท่ีการเพิกถอนไมอาจกระทำไดเพราะเหตุอื่น ท้ังนี้ ใหคำนึงถึง
ประโยชนข องบคุ คลภายนอกประกอบดว ย

คำส่ังทางปกครองท่ีชอบดวยกฎหมายซึ่งเปนการใหประโยชนแกผูรับคำสั่งทาง
ปกครองอาจถกู เพกิ ถอนท้ังหมดหรือบางสวนโดยใหม ีผลต้ังแตขณะที่เพิกถอน หรือมีผลในอนาคตไป
ถึงขณะใดขณะหนึ่งตามท่กี ำหนดไดเฉพาะเม่อื มกี รณดี งั ตอ ไปนี้

(1) มีกฎหมายกำหนดใหเพิกถอนไดหรือมีขอสงวนสิทธิใหเพิกถอนไดในคำสั่งทาง
ปกครองนัน้ เอง

(2) คำสั่งทางปกครองนั้นมีขอกำหนดใหผูรับประโยชนตองปฏิบัติ แตไมมีการปฏิบัติ
ภายในเวลาทก่ี ำหนด

(3) ขอเท็จจรงิ และพฤตกิ ารณเปลยี่ นแปลงไป ซงึ่ หากมขี อ เทจ็ จริงและพฤติการณเชน นี้
ในขณะทำคำสั่งทางปกครองแลวเจาหนาที่คงจะไมทำคำสั่งทางปกครองน้ัน และหากไมเพิกถอนจะ
กอใหเกิดความเสียหายตอประโยชนสาธารณะได

(4) บทกฎหมายเปล่ียนแปลงไป ซึ่งหากมีบทกฎหมายเชนน้ีในขณะทำคำสั่งทาง
ปกครองแลวเจาหนาที่คงจะไมทำคำสั่งทางปกครองน้ัน แตการเพิกถอนในกรณีนี้ใหกระทำไดเทาท่ีผูรับ
ประโยชนยังไมไดใชประโยชน หรือยังไมไดรับประโยชนตามคำสั่งทางปกครองดังกลาว และหากไมเพิก
ถอนจะกอ ใหเ กิดความเสียหายตอประโยชนสาธารณะได

(5) อาจเกิดความเสียหายอยางรายแรงตอประโยชนสาธารณะหรือตอประชาชนอัน
จำเปน ตอ งปองกันหรอื ขจัดเหตดุ ังกลาว

เตรียมสอบ กกต

เตรียมสอบพนักงาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลอื กตั้งชดุ ท่ี 2 360

ในกรณีท่ีมีการเพิกถอนคำส่ังทางปกครองเพราะเหตุตามวรรคสอง (3) (4) และ (5) ผู
ไดรับประโยชนมีสิทธิไดรับคาทดแทนความเสียหายอันเกิดจากความเชื่อโดยสุจริตในความคงอยูของ
คำสงั่ ทางปกครองได และใหนำมาตรา 52 มาใชบงั คับโดยอนโุ ลม

คำสั่งทางปกครองท่ีชอบดวยกฎหมายซ่ึงเปนการใหเงินหรือใหทรัพยสินหรือให
ประโยชนท่ีอาจแบงแยกได อาจถูกเพิกถอนท้ังหมดหรือบางสวนโดยใหมีผลยอนหลังหรือไมมีผล
ยอ นหลงั หรอื มผี ลในอนาคตไปถงึ ขณะใดขณะหนึง่ ตามทกี่ ำหนดไดในกรณีดังตอ ไปน้ี

(1) มิไดปฏิบัติหรือปฏิบัติลาชาในอันที่จะดำเนินการใหเปนไปตามวัตถุประสงคของ
คำสงั่ ทางปกครอง

(2) ผูไดรับประโยชนมิไดปฏิบัติหรือปฏิบัติลาชาในอันท่ีจะดำเนินการใหเปนไปตาม
เงื่อนไขของคำสงั่ ทางปกครอง

ท้งั น้ี ใหน ำความในมาตรา 51 มาใชบ งั คับโดยอนโุ ลม

สว นที่ 7
การขอใหพ จิ ารณาใหม
มาตรา 54 เมื่อคูกรณีมีคำขอ เจาหนาที่อาจเพิกถอนหรือแกไขเพิ่มเติมคำสั่ง
ทางปกครองที่พนกำหนดอทุ ธรณต ามสวนท่ี 5 ไดใ นกรณดี ังตอ ไปนี้
(1) มีพยานหลกั ฐานใหม อนั อาจทำใหขอ เทจ็ จริงที่ฟง เปน ยตุ แิ ลวนนั้ เปล่ียนแปลงไปใน
สาระสำคัญ
(2) คูกรณีที่แทจริงมิไดเขามาในกระบวนการพิจารณาทางปกครองหรือไดเขามาใน
กระบวนการพิจารณาครั้งกอนแลวแตถูกตัดโอกาสโดยไมเปนธรรมในการมีสวนรวมในกระบวนการ
พิจารณาทางปกครอง
(3) เจาหนาทีไ่ มม อี ำนาจท่จี ะทำคำสั่งทางปกครองในเร่อื งน้ัน
(4) ถาคำสั่งทางปกครองไดออกโดยอาศัยขอเท็จจริงหรือขอกฎหมายใดและตอมา
ขอเทจ็ จรงิ หรือขอ กฎหมายน้ันเปล่ยี นแปลงไปในสาระสำคัญในทางท่ีจะเปนประโยชนแกค กู รณี
การยน่ื คำขอตามวรรคหน่งึ (1) (2) หรือ (3) ใหกระทำไดเ ฉพาะเมอื่ คกู รณไี มอ าจทราบ
ถงึ เหตนุ น้ั ในการพจิ ารณาครั้งทีแ่ ลว มากอนโดยไมใ ชความผิดของผูน้นั
การยื่นคำขอใหพิจารณาใหมตองกระทำภายในเกาสิบวันนับแตผูนั้นไดรูถึงเหตุซึ่ง
อาจขอใหพิจารณาใหมไ ด

เตรยี มสอบ กกต

เตรยี มสอบพนกั งาน สำนักงานคณะกรรมการการเลอื กต้ังชุดที่ 2 361

หมวด 2/1
การบงั คบั ทางปกครอง

สว นท่ี 1
บททวั่ ไป
มาตรา 63/1 การบังคับทางปกครองไมใชบังคับกับหนวยงานของรัฐดวยกัน เวน
แตจะมีกฎหมายกำหนดไวเปนอยางอื่น
มาตรา 63/2 เจาหนาที่ผูทำคำสั่งทางปกครองมีอำนาจที่จะพิจารณาใชมาตรการ
บังคับทางปกครองเพื่อใหเปนไปตามคำส่ังของตนไดตามบทบัญญัติในหมวดนี้ เวนแตจะมีการสั่งให
ทุเลาการบังคับไวกอนโดยเจาหนาท่ีผูทำคำสั่งน้ันเอง ผูมีอำนาจพิจารณาคำอุทธรณ หรือผูมีอำนาจ
พิจารณาวินจิ ฉยั ความถกู ตอ งของคำสงั่ ทางปกครองดังกลาว
เจาหนาท่ีตามวรรคหน่ึงจะมอบอำนาจใหเจาหนาท่ีซึ่งอยูใตบังคับบัญชาหรือเจาหนาที่
อน่ื เปนผดู ำเนินการกไ็ ดต ามหลักเกณฑและวธิ ีการทกี่ ำหนดในกฎกระทรวง
ใหเจาหนาท่ีตามวรรคหน่ึงหรือวรรคสองใชมาตรการบังคับทางปกครองเพียงเทาที่
จำเปนเพื่อใหบรรลุตามวัตถุประสงคของคำส่ังทางปกครอง โดยกระทบกระเทือนผอู ยูในบังคับของคำสั่ง
ทางปกครองนอ ยทสี่ ุด
มาตรา 63/3 ถาบทกฎหมายใดกำหนดมาตรการบังคับทางปกครองไวโดยเฉพาะ
แลว หากเจาหนาที่เห็นวาการใชมาตรการบังคับน้ันจะเกิดผลนอยกวามาตรการบังคับตามหมวดน้ี
เจาหนา ที่จะใชม าตรการบงั คับทางปกครองตามหมวดนีแ้ ทนก็ได
มาตรา 63/4 ในการใชมาตรการบังคับทางปกครองแกบุคคลใด หากบุคคลนั้นถึงแก
ความตาย ใหดำเนินการบังคับทางปกครองตอไปได ถาบุคคลนั้นมีทายาทผูรับมรดกหรือผูจัดการ
มรดก ใหถือวาทายาทผูรับมรดกหรือผูจัดการมรดกเปนผูอยูในบังคับของมาตรการบังคับทางปกครอง
นัน้
ในกรณีที่ผูอยูในบงั คับของมาตรการบังคับทางปกครองตาย ใหแจงมาตรการบังคับทาง
ปกครองไปยังทายาทผูรับมรดกหรือผูจัดการมรดก แลวแตกรณี โดยใหระยะเวลาอุทธรณการใช
มาตรการบังคับทางปกครองเริ่มนับใหมตั้งแตวันที่ทายาทผูรับมรดกหรือผูจัดการมรดกไดรับแจง เมื่อ
ปรากฏวา
(1) ผูอยูในบังคับของมาตรการบังคับทางปกครองตายกอนส้ินสุดระยะเวลาอุทธรณ
การใชม าตรการบงั คบั ทางปกครองและไมไ ดย่ืนอุทธรณก ารใชมาตรการบงั คบั ทางปกครอง
(2) ผูอยูในบังคับของมาตรการบังคับทางปกครองตายหลงั สน้ิ สุดระยะเวลาอทุ ธรณก าร
ใชมาตรการบังคับทางปกครองและไมไดยื่นอุทธรณการใชมาตรการบังคับทางปกครอง เน่ืองจากมี
พฤตกิ ารณท่จี ำเปนอันมิไดเ กดิ จากความผดิ ของผนู ั้น
ในกรณีท่ีเปนการใชมาตรการบังคับทางปกครองแกนิติบุคคลใด หากนิติบุคคลน้ันสิ้น
สภาพ โอนกิจการ หรือควบรวมกิจการ ใหดำเนินการบังคับทางปกครองตอไปได โดยใหแจงมาตรการ

เตรียมสอบ กกต

เตรยี มสอบพนกั งาน สำนักงานคณะกรรมการการเลอื กตง้ั ชุดที่ 2 362

บังคับทางปกครองไปยังผูชำระบัญชี หรือนิติบุคคลที่รับโอนกิจการหรือเกิดจากการควบรวมกิจการ
แลวแตกรณี ท้ังน้ี โดยไมจำตองออกคำส่ังทางปกครองใหมแกบุคคลหรือนิติบุคคลดังกลาวอีก และให
นำหลกั เกณฑเ รือ่ งระยะเวลาในการอทุ ธรณต ามวรรคสองมาใชบ งั คบั ดว ยโดยอนุโลม

มาตรา 63/5 ในกรณีท่ีบทบัญญัติในหมวดนี้หรือกฎหมายอ่ืนมิไดกำหนดเปนอยา งอื่น
ผูอยใู นบังคบั ของมาตรการบังคับทางปกครองอาจอทุ ธรณก ารใชมาตรการบังคับทางปกครองนั้นได

การอุทธรณการใชมาตรการบังคับทางปกครองใหใชหลักเกณฑและวิธกี ารเดียวกับการ
อุทธรณค ำสั่งทางปกครองตามสวนที่ 5 การอุทธรณคำส่งั ทางปกครอง ในหมวด 2 คำสงั่ ทางปกครอง

มาตรา 63/6 บทบัญญัติในหมวดนี้มิใหใชบังคับกับการบังคับตามคำส่ังทางปกครองท่ี
กำหนดใหชำระเงินหรือใหกระทำหรือละเวนกระทำในกรณีที่หนวยงานของรัฐไดฟองคดีตอศาลและ
ศาลไดมีคำพิพากษาใหชำระเงินหรือใหกระทำหรือละเวนกระทำแลว

เมื่อศาลไดรับฟองคดีตามวรรคหน่ึงไวแลว หามมิใหเจาหนาที่ดำเนินการตามสวนที่
2 การบังคับตามคำสั่งทางปกครองที่กำหนดใหชำระเงิน และสวนท่ี 3 การบังคับตามคำสั่งทางปกครอง
ที่กำหนดใหกระทำหรือละเวนกระทำ เวนแตจะไดมีการถอนฟอง หรือศาลมีคำสั่งจำหนายคดีจาก
สารบบความเพราะเหตุอื่น ทั้งนี้ ไมกระทบตอการดำเนินการตามมาตรการบังคับทางปกครองที่
เจาหนาท่ีไดดำเนินการไปกอนท่ีศาลไดรับฟองคดี และใหเจาหนาที่ดำเนินการตามมาตรการบังคับทาง
ปกครองในสวนนนั้ ตอ ไปจนแลว เสร็จ

สว นที่ 2
การบังคบั ตามคำสัง่ ทางปกครองทีก่ ำหนดใหชำระเงนิ
มาตรา 63/7 ในกรณีที่เจาหนาที่มีคำสั่งทางปกครองที่กำหนดใหชำระเงิน ถาถึง
กำหนดแลวไมมีการชำระโดยถูกตองครบถวน ใหเจาหนาที่ผูทำคำสั่งทางปกครองมีหนังสือเตือนใหผูนั้น
ชำระภายในระยะเวลาที่กำหนดแตตองไมนอยกวาเจ็ดวัน ถาไมมีการปฏิบัติตามคำเตือน เจาหนาท่ีมี
อำนาจใชมาตรการบังคับทางปกครองโดยยึดหรืออายัดทรัพยสินของผูน้ันและขายทอดตลาดเพื่อชำระเงิน
ใหค รบถว นได
ในการใชมาตรการบังคับทางปกครองตามวรรคหนึ่ง ใหแตงต้ังเจาพนักงานบังคับทาง
ปกครองเพ่ือดำเนนิ การยดึ หรอื อายัดและขายทอดตลาดทรัพยส ินตอ ไป
เจาหนาท่ีผูออกคำส่ังใชมาตรการบังคับทางปกครอง และการแตงตั้งเจาพนักงาน
บงั คบั ทางปกครอง ใหเ ปน ไปตามท่กี ำหนดในกฎกระทรวง
มาตรา 63/8 หนวยงานของรัฐท่ีออกคำสั่งใหชำระเงินตองดำเนินการยึดหรืออายัด
ทรัพยส นิ ภายในสิบปนบั แตวนั ทีค่ ำสัง่ ทางปกครองท่กี ำหนดใหช ำระเงินเปน ท่สี ุด
คำสัง่ ทางปกครองท่กี ำหนดใหช ำระเงนิ เปนทีส่ ดุ ในกรณีดงั ตอไปนี้
(1) ไมม ีการอุทธรณค ำสงั่ ตอเจาหนา ท่ฝี ายปกครองภายในระยะเวลาอุทธรณ

เตรยี มสอบ กกต

เตรยี มสอบพนักงาน สำนักงานคณะกรรมการการเลอื กตั้งชดุ ที่ 2 363

(2) เจา หนาท่ีผูมอี ำนาจพิจารณาอทุ ธรณมีคำวินิจฉัยยกอุทธรณ และไมมีการฟองคดีตอ
ศาลภายในระยะเวลาการฟองคดี

(3) ศาลมีคำส่ังหรือคำพิพากษายกฟอง หรอื เพิกถอนคำสัง่ บางสว น และคดีถงึ ที่สุดแลว
หากหนวยงานของรัฐที่ออกคำสั่งใหชำระเงินไดยึดหรืออายัดทรัพยสินแลว แตยังไมได
รับชำระเงินครบถวน และลวงพน กำหนดเวลาตามวรรคหนง่ึ จะยดึ หรอื อายัดทรพั ยส นิ เพิ่มเตมิ อกี มิได
การขายทอดตลาดหรือจำหนายโดยวิธีอ่ืนซึ่งทรัพยสินของผูอยูในบังคับของมาตรการ
บังคับทางปกครองที่ถูกยึดหรืออายัดไวภายในกำหนดเวลาตามวรรคหน่ึงเพื่อชำระเงิน รวมท้ัง
คา ธรรมเนียม คา ตอบแทน หรอื คาใชจายอื่นในการบังคบั ทางปกครอง ใหก ระทำไดแมลวงพนระยะเวลา
ดังกลา ว
มาตรา 63/9 กรณีที่มีการอุทธรณการใชมาตรการบังคับทางปกครองและขอทุเลาการ
บังคับตามมาตรการดังกลาว เจาหนาที่ผูออกคำสั่งใชมาตรการบังคับทางปกครอง หรือผูมีอำนาจ
พจิ ารณาคำอทุ ธรณ อาจส่ังใหมีการทุเลาการบังคบั ทางปกครองไวก อนก็ได โดยมีอำนาจกำหนดเง่ือนไข
ใหผูอยูในบังคับของมาตรการบังคับทางปกครองตองปฏิบัติดวยก็ได
มาตรา 63/10 เพื่อประโยชนในการบังคับทางปกครอง ใหเจาหนาท่ีผูออกคำส่ังใช
มาตรการบังคับทางปกครองมีอำนาจ
(1) มีหนงั สือสอบถามสถาบันการเงนิ สหกรณออมทรพั ย สหกรณเครดิตยูเนยี น ตลาด
หลกั ทรพั ยแ หง ประเทศไทย กรมทดี่ นิ กรมการขนสง ทางบก กรมทรัพยส นิ ทางปญญา หรอื หนวยงานอ่ืน
ของรัฐที่มีหนาที่ควบคุมทรัพยสินที่มีทะเบียน เกี่ยวกับทรัพยสินของผูอยูในบังคับของมาตรการบังคับ
ทางปกครอง
(2) มหี นังสอื ขอใหนายทะเบยี น พนกั งานเจาหนาที่ หรือบุคคลอ่นื ผูมอี ำนาจหนาทตี่ าม
กฎหมาย ระงบั การจดทะเบียนหรือแกไขเปล่ียนแปลงทางทะเบียนท่ีเกี่ยวกับทรัพยสินของผูอยูในบังคับ
ของมาตรการบังคับทางปกครองไวเปนการชั่วคราวเทาที่จำเปนเนื่องจากมีเหตุขัดของท่ีทำใหไมอาจยึด
หรืออายัดทรัพยสินไดทันที และเมื่อเหตุขัดของสิ้นสุดลงใหแจงยกเลิกหนังสือดังกลาว ทั้งนี้ ตอง
ปฏิบัติตามหลักเกณฑเก่ียวกับการระงับการจดทะเบียนหรือแกไขเปล่ียนแปลงทางทะเบียนตาม
กฎหมายวาดวยการนน้ั
หนวยงานตาม (1) ที่ใหขอมูลแกเจาหนาท่ีผูออกคำส่ังใชมาตรการบังคับทางปกครอง
ในการดำเนินการตาม (1) ใหถ ือวาไมเ ปน ความผิดตามกฎหมายวาดวยธุรกิจสถาบันการเงิน กฎหมายวา
ดวยหลกั ทรพั ยและตลาดหลักทรัพย และกฎหมายอน่ื
ผูใดไมปฏิบัติตามหนังสือของเจาหนาท่ีผูออกคำส่ังใชมาตรการบังคับทางปกครองตาม
วรรคหนึ่งโดยไมมีเหตุผลอันสมควร ผูน้ันมีความผิดฐานขัดคำส่ังเจาพนักงานตามประมวลกฎหมาย
อาญา

เตรียมสอบ กกต

เตรยี มสอบพนักงาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกต้ังชุดที่ 2 364

มาตรา 63/11 ในการสืบหาทรัพยสินของผูอยูในบังคับของมาตรการบังคับทาง
ปกครอง หนวยงานของรัฐท่ีออกคำสั่งใหชำระเงินอาจรองขอใหสำนักงานอัยการสูงสุดหรือหนวยงานอ่ืน
ดำเนินการสบื หาทรัพยส นิ แทนได โดยใหหนว ยงานดังกลา วมีอำนาจตามมาตรา 63/10 ดวย

ในกรณีที่หนวยงานของรัฐที่ออกคำสั่งใหชำระเงินไมมีเจาหนาที่ในการดำเนินการสืบ
หาทรัพยสิน และหากจำนวนเงินที่ตองชำระตามมาตรการบังคับทางปกครองน้ันมีมูลคาตั้งแตสองลา น
บาทข้ึนไปหรอื ตามมูลคาทก่ี ำหนดเพ่ิมข้ึนโดยกฎกระทรวง หนวยงานของรัฐอาจมอบหมายใหเอกชนสืบ
หาทรพั ยส นิ แทนได

ใหเอกชนที่สืบพบทรัพยสินไดรับคาตอบแทนไมเกินรอยละสองครึ่งจากเงินหรือ
ทรัพยสินท่ีไดมาจากการยึด อายัด หรือขายทอดตลาดทรัพยสินท่ีสืบพบได ทั้งนี้ จำนวนเงิน
คาตอบแทนสูงสุดตองไมเกินหน่ึงลานบาทตอจำนวนเงินที่ตองชำระตามคำส่ังทางปกครองในเรื่องนั้น
หรอื ตามจำนวนทก่ี ำหนดเพิม่ ข้นึ โดยกฎกระทรวง

หลักเกณฑและวิธีการคัดเลือกเอกชนที่สืบหาทรัพยสิน การกำหนดคาตอบแทน และ
วิธีการจายคา ตอบแทนตามวรรคสาม ใหเ ปนไปตามทีก่ ำหนดในกฎกระทรวง

มาตรา 63/12 ขั้นตอนและวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการยึด การอายัด และการขายทอดตลาด
ทรัพยสินใหเปนไปตามที่กำหนดในกฎกระทรวง ในกรณีท่ีกฎกระทรวงไมไดกำหนดเรื่องใดไว ใหนำ
บทบญั ญัติในประมวลกฎหมายวธิ ีพิจารณาความแพงมาใชบ ังคบั โดยอนโุ ลม โดยใหถอื วา

(1) เจาหนตี้ ามคำพพิ ากษา หมายถึง หนว ยงานของรฐั ที่ออกคำสงั่ ใหช ำระเงิน
(2) ลกู หนตี้ ามคำพพิ ากษา หมายถงึ ผูอยูในบังคบั ของมาตรการบงั คับทางปกครอง
(3) อำนาจของศาลในสวนท่ีเกี่ยวกับการบังคับคดี เปนอำนาจของหัวหนาหนวยงาน
ของรฐั ทงั้ น้ี ตามท่ีกำหนดในกฎกระทรวง
(4) เจา พนกั งานบงั คบั คดี หมายถึง เจา พนักงานบงั คบั ทางปกครอง
มาตรา 63/13 การโตแยงหรือการใชสิทธิทางศาลเก่ียวกับการยึด การอายัด และการ
ขายทอดตลาดทรัพยสินโดยผูอยูในบังคับของมาตรการบังคับทางปกครอง รวมท้ังบุคคลภายนอกผูมี
สว นไดเ สยี เกีย่ วกับทรัพยส นิ ทีถ่ ูกยดึ หรอื อายัด ใหเสนอตอ ศาล ดงั ตอ ไปนี้
(1) ศาลแรงงาน ศาลภาษีอากร ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวาง
ประเทศ ศาลเยาวชนและครอบครัว หรือศาลชำนัญพิเศษอ่ืน แลวแตกรณี ซึ่งเปนศาลที่มีเขตอำนาจใน
การพิจารณาพิพากษาคดเี กยี่ วกับคำส่งั ทมี่ ีการบังคบั ทางปกครองนัน้
(2) ศาลปกครอง สำหรบั กรณอี ่ืนท่ีไมอยภู ายใตบังคับ (1)
มาตรา 63/14 กรณีที่เจาหนี้ตามคำพิพากษาในคดีอ่ืนไดมีการยึดทรัพยสินหรืออายัด
สิทธิเรียกรองอื่นใดของผูอยูในบังคับของมาตรการบังคับทางปกครองเพื่อนำเงินมาชำระตามคำ
พิพากษา ใหหนวยงานของรัฐที่ออกคำสั่งใหชำระเงินมีสิทธิขอเขาเฉล่ียไดเชนเดียวกับเจาหน้ีตามคำ
พพิ ากษา

เตรียมสอบ กกต

เตรยี มสอบพนักงาน สำนักงานคณะกรรมการการเลอื กตงั้ ชดุ ท่ี 2 365

การบงั คบั โดยเจาพนกั งานบงั คบั คดี
มาตรา 63/15 ในกรณีท่ีมีการบังคับใหชำระเงินและคำส่ังทางปกครองท่ีกำหนดให
ชำระเงินเปนที่สุดแลว หากหนวยงานของรัฐที่ออกคำสั่งใหชำระเงินประสงคใหเจาพนักงานบังคับคดีใน
สังกัดกรมบังคับคดีดำเนินการบังคับใหเปนไปตามคำสั่งทางปกครองดังกลาว ใหย่ืนคำขอฝายเดียวตอ
ศาลภายในสิบปนับแตวันที่คำสั่งทางปกครองที่กำหนดใหชำระเงินเปนที่สุด เพื่อใหศาลออกหมาย
บังคับคดเี พ่ือบังคับใหเปนไปตามคำส่ังทางปกครองน้ัน โดยระบุจำนวนเงินทีผ่ ูอยูในบังคับของมาตรการ
บังคับทางปกครองยังมิไดชำระตามคำสั่งทางปกครอง ทั้งนี้ ไมวาหนวยงานของรัฐยังไมไดบังคับทาง
ปกครองหรือไดด ำเนินการบงั คบั ทางปกครองแลว แตยงั ไมไ ดร บั ชำระเงินหรือไดร บั ชำระเงินไมค รบถว น
เม่ือหนวยงานของรัฐย่ืนคำขอตามวรรคหน่ึง ถาศาลเห็นวาคำส่ังทางปกครองที่
กำหนดใหชำระเงินเปนที่สุดแลว ใหศาลออกหมายบังคับคดีตั้งเจาพนักงานบังคับคดีและแจงใหเจา
พนักงานบังคับคดีทราบเพื่อดำเนินการตอไป โดยใหถือวาหนวยงานของรัฐท่ีออกคำสั่งใหชำระเงินเปน
เจาหนี้ตามคำพิพากษา และใหถือวาผูอยูในบังคับของมาตรการบังคับทางปกครองเปนลูกหนี้ตามคำ
พิพากษา
เมื่อศาลออกหมายบังคับคดีแลว ใหหนวยงานของรัฐติดตอกรมบังคับคดี พรอมทั้งมี
หนังสือแจงใหผูอยูในบังคับของมาตรการบังคับทางปกครองทราบวาศาลไดต้ังเจาพนักงานบังคับคดีเพ่ือ
ดำเนินการบังคับคดแี ลว
เพื่อประโยชนในการบังคับคดีตามวรรคหนึ่ง ใหถือวาศาลจังหวัด ศาลแพง ศาลแพง
กรุงเทพใต ศาลแพงธนบุรี หรือศาลแพงอ่ืนในกรุงเทพมหานคร แลวแตกรณี ที่ผูอยูในบังคับของ
มาตรการบังคับทางปกครองมีภูมิลำเนาอยูในเขตศาล หรือที่ทรัพยสินที่ถูกบังคับทางปกครองนั้นตั้งอยู
ในเขตศาลมีอำนาจวินิจฉัยชี้ขาด หรือทำคำส่ังในเร่ืองใด ๆ อันเกี่ยวดวยการบังคับคดี และเปนศาลท่ีมี
อำนาจในการบังคับคดี
กรณีคำขอซึ่งอาจยื่นตอศาลไดมากกวาหนึ่งศาล ไมวาจะเปนเพราะภูมิลำเนาของผู
อยูในบังคับของมาตรการบังคับทางปกครองก็ดี เพราะที่ตั้งของทรัพยสินท่ีถูกบังคับทางปกครองก็
ดี หรือเพราะมีผูอยูในบังคับของมาตรการบังคับทางปกครองหลายคนในมูลหนี้ที่เกี่ยวของกันก็ดี
จะยื่นคำขอตอศาลใดศาลหน่ึงเชนวาน้ันก็ได
หนวยงานของรัฐตามมาตราน้ี หมายความวา กระทรวง ทบวง กรม หรือสวนราชการท่ี
เรยี กชื่ออยางอ่ืนและมีฐานะเปนกรม ราชการสวนภูมิภาค ราชการสวนทอ งถิ่น และหนวยงานอ่นื ของรัฐ
ตามทก่ี ำหนดในกฎกระทรวง
มาตรา 63/16 ในกรณีที่คำสั่งทางปกครองที่กำหนดใหชำระเงินเปนที่สุดแลว และ
ตอมาผูอยูในบังคับของคำสั่งทางปกครองขอใหพิจารณาคำส่ังทางปกครองที่เปนท่ีสุดแลวน้ันใหม หรือ
ฟองคดตี อศาลเพ่ือใหพ ิจารณาเก่ียวกบั คำส่ังทางปกครองทเ่ี ปนท่สี ดุ แลวนน้ั ใหม หรอื ขอใหศาลพิจารณา
คดีใหมและหนวยงานของรัฐที่ออกคำสั่งใหชำระเงินหรือศาลมีคำสั่งใหรับคำขอหรือไดรับคำฟองไว
พิจารณา ผูอยูในบังคับของคำสั่งทางปกครองอาจยื่นคำรองตอศาลที่มีอำนาจในการออกหมายบังคับ

เตรียมสอบ กกต

เตรยี มสอบพนักงาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกต้ังชุดท่ี 2 366

คดีตามมาตรา 63/15 เพื่อขอใหส่ังงดการบังคับคดีไวกอน หากศาลพิจารณาคำรองแลวมีคำสั่งใหงดการ
บังคับคดี ใหศาลสงคำสั่งน้ันไปใหเจาพนักงานบังคับคดีทราบ และใหเจาพนักงานบังคับคดีงดการบังคับ
คดีไวภายในระยะเวลาหรือเงื่อนไขตามที่ศาลกำหนด รวมทั้งสงคำบอกกลาวงดการบังคับคดีให
หนว ยงานของรัฐทีอ่ อกคำสั่งใหชำระเงนิ และบคุ คลภายนอกผมู ีสวนไดเ สยี ทราบโดยไมช ักชา

ถาหนวยงานของรัฐที่ออกคำสั่งใหชำระเงินยื่นคำรองวาอาจไดรับความเสียหายจาก
การย่ืนคำรองตามวรรคหนึ่งและมีพยานหลักฐานเบ้ืองตนแสดงวาคำรองน้ันไมมีมูลและย่ืนเขามาเพื่อ
ประวิงการบังคับคดี ศาลมีอำนาจสั่งใหผูอยูในบังคับของคำสั่งทางปกครองวางเงินหรือหาประกันตามที่
ศาลเห็นสมควรภายในระยะเวลาที่ศาลจะกำหนด เพื่อเปนประกันการชำระคาสินไหมทดแทนแก
หนวยงานของรัฐสำหรับความเสยี หายท่ีอาจไดรับเนอ่ื งจากเหตเุ น่ินชาในการบังคับคดีอันเกิดจากการย่ืน
คำรอ งน้ัน หรือกำหนดวธิ ีการชั่วคราวเพ่อื คุมครองอยางใด ๆ ตามที่เห็นสมควรก็ได ถา ผูอยใู นบังคับของ
คำสั่งทางปกครองไมป ฏบิ ตั ติ ามคำส่ังศาล ใหศาลสั่งใหดำเนินการบงั คับคดีตอไป

ในกรณีตามวรรคหนึ่ง หากหนวยงานของรัฐที่ออกคำสั่งใหชำระเงินหรือศาลที่มีเขต
อำนาจในการพิจารณาพิพากษาคดีเกี่ยวกับคำส่ังทางปกครองท่ีกำหนดใหชำระเงิน ไดมีคำสั่งใหท บทวน
คำสั่งทางปกครองที่เปนที่สุดนั้นใหม ใหหนวยงานของรัฐที่ออกคำสั่งใหชำระเงินยื่นคำรองตอศาลท่ีมี
อำนาจออกหมายบังคับคดีตามมาตรา 63/15 เพ่ือเพิกถอนการบงั คับคดีที่ไดด ำเนนิ การไปแลว ในกรณที ี่
ศาลเห็นวาเปนการพนวิสัยท่ีจะใหคูความกลับสูฐานะเดิม หรือเมื่อศาลเห็นวาไมจำเปนที่จะบังคับให
เปนไปตามหมายบังคับคดีตอไป เพื่อประโยชนแกคูความหรือบุคคลภายนอก ใหศาลมีอำนาจสั่ง
อยางใด ๆ ตามท่ีศาลเห็นสมควร และแจงใหเจาพนักงานบังคับคดีทราบ

มาตรา 63/17 เพ่ือประโยชนในการบังคับคดี ใหนำความในมาตรา 63/10 และมาตรา
63/11 มาใชบ งั คับกับการสืบหาทรพั ยสินของผูอยูใ นบงั คบั ของมาตรการบงั คบั ทางปกครองดวย

มาตรา 63/18 หนวยงานของรัฐท่ีออกคำสั่งใหชำระเงินตองดำเนินการสืบทรัพยแลว
แจงใหเจาพนักงานบังคับคดีทราบพรอมเอกสารหลักฐานที่เก่ียวของเพ่ือใหเจาพนักงานบังคับคดี
ดำเนินการเพ่อื ใหมีการยึดหรืออายัดทรัพยสินภายในสบิ ปนบั แตวนั ท่ีคำสัง่ ทางปกครองที่กำหนดใหชำระ
เงนิ เปน ท่สี ุด และใหน ำความในมาตรา 63/8 วรรคสามและวรรคส่ี มาใชบ งั คับโดยอนุโลม

มิใหนำระยะเวลาระหวางการงดการบังคับคดีตามคำส่ังศาลตามมาตรา 63/16 วรรค
หนึง่ มานับรวมในระยะเวลาสิบปต ามวรรคหนึง่

มาตรา 63/19 เม่ือศาลออกหมายบังคับคดีและแตงต้ังเจาพนักงานบังคับคดีแลว การ
ดำเนินการบังคับใหเปนไปตามคำส่ังทางปกครองท่ีกำหนดใหชำระเงิน ใหเปนไปตามประมวลกฎหมาย
วิธีพจิ ารณาความแพง

เตรียมสอบ กกต

เตรยี มสอบพนกั งาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกต้ังชุดท่ี 2 367

สว นที่ 3
การบังคบั ตามคำส่งั ทางปกครองทก่ี ำหนดใหกระทำหรือละเวน กระทำ
มาตรา 63/20 ในสว นนี้
“คาปรับบังคับการ” หมายความวา คาปรับที่เจาหนาท่ีส่ังใหผูที่ฝาฝนหรือไมปฏิบัติ
ตามคำสั่งทางปกครองท่ีกำหนดใหกระทำหรือละเวนกระทำ ชำระเปนรายวันไปจนกวาจะยุติการฝาฝน
คำส่ังหรือไดมีการปฏิบัติตามคำส่ังแลว ไมวาจะเปนคาปรับท่ีกำหนดโดยพระราชบัญญัตินี้หรือโดย
กฎหมายอน่ื
มาตรา 63/21 คำส่ังทางปกครองท่ีกำหนดใหกระทำหรือละเวนกระทำ ถาผูอยูในบังคับ
ของคำสั่งทางปกครองฝาฝนหรือไมปฏิบัติตาม เจาหนาท่ีอาจใชมาตรการบังคับทางปกครองอยางหนึ่ง
อยางใด ดังตอไปน้ี
(1) เจาหนาที่เขาดำเนินการดวยตนเองหรือมอบหมายใหบุคคลอ่ืนกระทำการ
แทน โดยผูอยูในบังคับของคำสั่งทางปกครองจะตองชดใชคาใชจายและเงินเพิ่มรายวันในอัตรารอยละ
ย่ีสิบหาตอปของคาใชจายดังกลาวแกหนวยงานของรัฐที่เจาหนาท่ีนั้นสังกัด
(2) ใหมีการชำระคาปรับบังคับการตามจำนวนที่สมควรแกเหตุแตตองไมเกินหา
หมื่นบาทตอวัน
เจาหนาท่ีระดับใดมีอำนาจกำหนดคาปรับบังคับการจำนวนเทาใด สำหรับในกรณีใด
ใหเปนไปตามทีก่ ำหนดในกฎกระทรวง
ในกรณีที่มีความจำเปนที่จะตองบังคับการโดยเรงดวนเพื่อปองกันมิใหมีการกระทำที่
ขัดตอกฎหมายท่ีมีโทษทางอาญาหรือมิใหเกิดความเสียหายตอประโยชนสาธารณะ เจาหนาที่อาจใช
มาตรการบังคับทางปกครองโดยไมตองออกคำสง่ั ทางปกครองท่กี ำหนดใหกระทำหรือละเวน กระทำกอน
ก็ไดแ ตท้ังน้ี ตองกระทำโดยสมควรแกเหตุและภายในขอบเขตอำนาจหนาที่ของตน
มาตรา 63/22 กอนใชมาตรการบังคับทางปกครองตามมาตรา 63/21 เจาหนาที่
จะตอ งมีคำเตือนเปนหนังสือใหมกี ารกระทำหรือละเวนกระทำตามคำส่ังทางปกครองภายในระยะเวลาที่
กำหนดตามสมควรแกก รณี คำเตอื นดงั กลาวจะกำหนดไปพรอมกับคำสงั่ ทางปกครองก็ได
คำเตอื นนนั้ จะตองระบุ
(1) มาตรการบังคับทางปกครองท่ีจะใชใหชัดแจง แตจะกำหนดมากกวาหนึ่งมาตรการใน
คราวเดยี วกนั ไมไ ด
(2) คาใชจายและเงินเพิ่มรายวันในการท่ีเจาหนาท่ีเขาดำเนินการดวยตนเองหรือ
มอบหมายใหบุคคลอ่ืนกระทำการแทน หรือจำนวนคา ปรบั บังคบั การ แลว แตก รณี
การกำหนดคาใชจายในคำเตือน ไมเปนการตัดสิทธิที่จะเรียกคาใชจายเพิ่มขึ้น หาก
จะตองเสียคาใชจายจริงมากกวาท่ีไดกำหนดไว

เตรยี มสอบ กกต

เตรยี มสอบพนกั งาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลือกตง้ั ชดุ ที่ 2 368

มาตรา 63/23 เจาหนาที่จะตองใชมาตรการบังคับทางปกครองตามท่ีกำหนดไวในคำ
เตือนตามมาตรา 63/22 การเปล่ียนแปลงมาตรการจะกระทำไดก็ตอเมื่อปรากฏวามาตรการที่กำหนด
ไวไ มบรรลตุ ามวัตถปุ ระสงค

ถาผูอยูในบังคับของคำสั่งทางปกครองตอสูขัดขวางการบังคับทางปกครอง เจาหนาที่
อาจใชกำลังเขาดำเนินการเพ่ือใหเปนไปตามมาตรการบังคับทางปกครองได แตตองกระทำโดยสมควร
แกเ หตุ

ในการใชมาตรการบงั คับทางปกครองตามวรรคหน่ึงหรอื วรรคสอง เจาหนาที่อาจแจงขอ
ความชวยเหลือจากเจา พนกั งานตำรวจได

มาตรา 63/24 ในกรณีไมมีการชำระคาปรับบังคับการ คาใชจาย หรือเงินเพ่ิมรายวัน
โดยถกู ตอ งครบถวน ใหเ จา หนา ท่ีดำเนินการบังคบั ทางปกครองตามสว นท่ี 2 ตอ ไป

มาตรา 63/25 การฟองคดีโตแยงการบังคับทางปกครองตามสวนนี้ ใหเสนอตอ
ศาลที่มเี ขตอำนาจในการพจิ ารณาพพิ ากษาคดีเกยี่ วกับคำสง่ั ท่มี กี ารบังคบั ทางปกครองนน้ั

หมวด 3
ระยะเวลาและอายคุ วาม
มาตรา 64 กำหนดเวลาเปนวัน สัปดาห เดือน หรือปน้ัน มิใหนับวันแรกแหง
ระยะเวลาน้นั รวมเขา ดว ย เวนแตจะไดเ ร่มิ การในวันนน้ั หรือมีการกำหนดไวเ ปนอยางอืน่ โดยเจาหนา ที่
ในกรณีทเ่ี จาหนาท่ีมีหนาท่ีตองกระทำการอยางหนึ่งอยางใดภายในระยะเวลาที่กำหนด
ใหน บั วันสนิ้ สดุ ของระยะเวลานน้ั รวมเขาดว ยแมว าวนั สดุ ทา ยเปนวนั หยดุ ทำการงานสำหรับเจาหนา ท่ี
ในกรณีท่บี คุ คลใดตอ งทำการอยางหน่ึงอยางใดภายในระยะเวลาทีก่ ำหนดโดยกฎหมาย
หรือโดยคำส่ังของเจาหนาที่ ถาวันสุดทายเปนวันหยุดทำการงานสำหรับเจาหนาที่หรือวันหยุดตาม
ประเพณีของบุคคลผูรับคำส่ัง ใหถือวาระยะเวลานั้นส้ินสุดในวันทำงานท่ีถัดจากวันหยุดน้ัน เวนแต
กฎหมายหรอื เจา หนาท่ที ่มี ีคำส่ังจะกำหนดไวเปน อยางอื่น
มาตรา 65 ระยะเวลาที่กำหนดไวในคำสั่งของเจาหนาท่ีอาจมีการขยายอีกได และถา
ระยะเวลานน้ั ไดส้ินสุดลงแลวเจาหนาท่ีอาจขยายโดยกำหนดใหมีผลยอนหลังไดเชนกันถาการส้ินสุดตาม
ระยะเวลาเดมิ จะกอ ใหเกดิ ความไมเปนธรรมท่จี ะใหส น้ิ สุดลงตามนัน้
มาตรา 66 ในกรณีที่ผูใดไมอาจกระทำการอยางหนึ่งอยางใดภายในระยะเวลาที่
กำหนดไวในกฎหมายไดเพราะมีพฤติการณที่จำเปนอันมิไดเกิดขึ้นจากความผิดของผูนั้น ถาผูนั้นมีคำ
ขอเจาหนาที่อาจขยายระยะเวลาและดำเนินการสวนหนึ่งสวนใดที่ลวงมาแลวเสียใหมก็ได ทั้งนี้ ตอง
ย่ืนคำขอภายในสิบหาวันนับแตพ ฤติการณเ ชนวา นัน้ ไดสิน้ สุดลง
มาตรา 67 เมื่อมีการอุทธรณตามบทบัญญัติในสวนท่ี 5 ของหมวด 2 แหง
พระราชบัญญัตินี้ หรือการยื่นคำขอตอคณะกรรมการวินิจฉัยขอพิพาทหรือคณะกรรมการวินิจฉัยรอง
ทกุ ขตามกฎหมายวาดวยคณะกรรมการกฤษฎีกาเพื่อใหวินิจฉยั ช้ีขาดแลวใหอายุความสะดดุ หยดุ อยูไมนับ

เตรียมสอบ กกต

เตรียมสอบพนกั งาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลอื กตง้ั ชุดที่ 2 369

ในระหวา งน้ันจนกวาการพจิ ารณาจะถึงที่สุดหรอื เสร็จไปโดยประการอน่ื แตถ าเสร็จไปเพราะเหตถุ อนคำ
ขอหรอื ท้ิงคำขอใหถ อื วา อายุความเรียกรองของผยู ื่นคำขอไมเคยมกี ารสะดุดหยดุ อยเู ลย

หมวด 4
การแจง
มาตรา 68 บทบัญญัติในหมวดนี้มิใหใชบังคับกับการแจงซ่ึงไมอาจกระทำโดยวาจา
หรือเปน หนังสือไดหรอื มกี ฎหมายกำหนดวธิ ีการแจงไวเปนอยา งอ่นื
ในกรณีคำส่ังทางปกครองท่ีแสดงใหทราบโดยการสื่อความหมายในรูปแบบอื่นตามที่
กำหนดในกฎกระทรวง ใหมผี ลเมื่อไดแจง
มาตรา 69 การแจงคำส่ังทางปกครอง การนัดพิจารณา หรือการอยางอ่ืนท่ีเจาหนาท่ี
ตองแจงใหผูท่ีเก่ียวของทราบอาจกระทำดวยวาจาก็ได แตถาผูน้ันประสงคจะใหกระทำเปนหนังสือก็ให
แจง เปน หนังสอื
การแจงเปนหนังสือใหสงหนังสือแจงตอผูนั้น หรือถาไดสงไปยังภูมิลำเนาของผูนั้นก็
ใหถือวาไดรบั แจงตง้ั แตใ นขณะทไี่ ปถงึ
ในการดำเนินการเร่ืองใดที่มีการใหที่อยูไวกับเจาหนาท่ีไวแลว การแจงไปยังท่ีอยู
ดังกลาวใหถอื วา เปน การแจงไปยงั ภมู ลิ ำเนาของผนู ัน้ แลว
มาตรา 70 การแจงเปนหนังสือโดยวิธีใหบุคคลนำไปสง ถาผูรับไมยอมรับหรือถาขณะ
นำไปสงไมพบผูรับ และหากไดสงใหกับบุคคลใดซ่ึงบรรลุนิติภาวะที่อยูหรือทำงานในสถานท่ีน้ัน หรือใน
กรณีท่ีผูน้ันไมยอมรับ หากไดวางหนังสือนั้นหรือปดหนังสือนั้นไวในที่ซ่ึงเห็นไดงาย ณ สถานที่น้ันตอหนา
เจา พนักงานตามทก่ี ำหนดในกฎกระทรวงทไ่ี ปเปนพยานก็ใหถ อื วา ไดรบั แจงแลว
มาตรา 71 การแจงโดยวิธีสงทางไปรษณียตอบรับใหถือวาไดรับแจงเม่ือครบกำหนด
เจ็ดวันนับแตวันสงสำหรับกรณีภายในประเทศ หรือเมื่อครบกำหนดสิบหาวันนับแตวันสงสำหรับกรณี
สง ไปยงั ตา งประเทศ เวน แตจะมกี ารพสิ จู นไ ดว าไมม กี ารไดร บั หรือไดรบั กอ นหรือหลงั จากวันนัน้
มาตรา 72 ในกรณีที่มีผูรบั เกินหา สิบคนเจาหนาที่จะแจงใหท ราบต้ังแตเริ่มดำเนินการ
ในเร่ืองน้ันวาการแจงตอบุคคลเหลานั้นจะกระทำโดยวิธีปดประกาศไว ณ ที่ทำการของเจาหนาที่และ
ท่ีวาการอำเภอท่ีผูรับมีภูมิลำเนาก็ได ในกรณีนี้ใหถือวาไดรับแจงเมื่อลวงพนระยะเวลาสิบหาวันนับแต
วนั ทไ่ี ดแ จงโดยวิธีดังกลาว
มาตรา 73 ในกรณีที่ไมรูตัวผูรับหรือรูตัวแตไมรูภูมิลำเนาหรือรูตัวและภูมิลำเนาแตมี
ผูรับเกินหนึ่งรอยคน การแจงเปนหนังสือจะกระทำโดยการประกาศในหนังสือพิมพซ่ึงแพรหลายใน
ทองถิ่นน้ันก็ได ในกรณีน้ีใหถือวาไดรับแจงเมื่อลวงพนระยะเวลาสิบหาวันนับแตวันท่ีไดแจงโดยวิธี
ดงั กลาว

เตรียมสอบ กกต

เตรียมสอบพนักงาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลอื กตง้ั ชุดท่ี 2 370
มาตรา 74 ในกรณีมีเหตุจำเปนเรงดวนการแจงคำสั่งทางปกครองจะใชวิธีสงทาง
เครื่องโทรสารก็ได แตตองมีหลักฐานการไดสงจากหนวยงานผูจัดบริการโทรคมนาคมท่ีเปนส่ือในการสง
โทรสารน้ัน และตองจัดสงคำสั่งทางปกครองตัวจริงโดยวิธีใดวิธีหน่ึงตามหมวดนี้ใหแกผูรับในทันทีที่อาจ
กระทำได ในกรณีนี้ใหถือวาผูรับไดรับแจงคำส่ังทางปกครองเปนหนังสือตามวัน เวลา ท่ีปรากฏใน
หลักฐานของหนวยงานผูจัดบริการโทรคมนาคมดังกลาว เวนแตจะมีการพิสูจนไดวาไมมีการไดรับหรือ
ไดร ับกอ นหรือหลงั จากนั้น

เตรียมสอบ กกต

เตรยี มสอบพนกั งาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกต้ัง ชุดท่ี 2 371

สรปุ
พระราชบญั ญัติความรบั ผิดทางละเมิดของเจา หนา ที่ พ.ศ. 2539

1. เหตุผลในการประกาศใช
กอนจะมีการประกาศใชพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาท่ี การทำ

ละเมิดของเจาหนาท่ีจะใชหลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยที่มุงใชบังคับกับเอกชน
ดว ยกัน ทำใหเจาหนาทีต่ องรบั ผิดในทางละเมิดเสมอไปนั้น กอใหเกิดความไมเปน ธรรม เพราะการงานที่
ทำเปนไปเพื่อประโยชนของรัฐ ทำใหเจาหนาที่ซึ่งกระทำละเมิดโดยสุจริตหรือประมาทเลินเลอเพียง
เล็กนอย ตองรับผิดในทางละเมิดเปนการสวนตัว โดยรัฐไมตองรับผิดใดๆ เลย ซ่ึงสงผลกระทบตอการ
ปฏิบตั หิ นาทแ่ี ละการดำเนนิ ภารกิจของรฐั

ตอมาไดมีการประกาศใชพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่
โดยไดแยกหลักเกณฑความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาท่ีตอเอกชนและตอหนวยงานของรัฐออกจาก
หลักเกณฑความรับผิดของผูกระทำละเมิดตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย โดยใหหนวยงานของ
รัฐเปนผูรบั ผิดตอ ผูเ สียหายโดยตรงในผลแหงละเมิดท่ีเจาหนาทีไ่ ดกระทำไปในการปฏบิ ัตหิ นา ที่ และอาจ
ใชสิทธิไลเบี้ยคืนจากเจาหนาท่ีของรัฐได ถาการกระทำละเมิดของเจาหนาท่ีของรัฐกระทำโดยจงใจ
หรือประมาทเลินเลออยางรายแรง โดยการใชสิทธิไลเบี้ยใหคำนึงถึงระดับความรายแรงแหงการ
กระทำและความเปนธรรม ท้ังนี้หากการละเมิดเกิดจากความผิดหรือความบกพรองของหนวยงาน
ของรัฐตองหักสวนแหงความรับผิดออก โดยหนวยงานของรัฐไมจำเปนตองไลเบี้ยเต็มจำนวน
นอกจากน้ีในกรณีท่ีการละเมิดเกิดจากการกระทำของเจาหนาท่ีหลายคน จะไมนำหลักเรื่องลูกหน้ี
รว มมาบงั คบั ใช แตจ ะใหเ จาหนา ที่รบั ผดิ ใชคา สินไหมทดแทนเฉพาะสวนของตนเทา นน้ั

2. ความรบั ผดิ ของเจาหนา ท่รี ัฐ
พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาท่ี ไดกำหนดความรับผิดทางละเมิด

ของเจาหนาท่ีออกเปน 2 กรณี คือ เจาหนาที่กระทำละเมิดตอเอกชน และเจาหนาท่ีกระทำละเมิดตอ
หนวยงานของรฐั

2.1 กรณีเจา หนาทกี่ ระทำละเมดิ ตอเอกชน
ตามมาตรา 5 หนวยงานของรัฐตองรับผิดตอผูเสียหายในผลแหงละเมดิ ท่ีเจาหนาทีข่ อง
ตนไดกระทำในการปฏิบัติหนาท่ี ในกรณีน้ีผูเสียหายอาจฟองหนวยงานของรัฐดังกลาวไดโดยตรง แตจะ
ฟองเจาหนาท่ไี มไ ด
ในกรณีน้ี คือการท่ีเจาหนาที่ไดกระทำละเมิดตอเอกชนในการปฏิบัติหนาท่ีใหสำเร็จ
ลุลวงไป ไมวาจะเปนการปฏิบัติหนาที่โดยใชอำนาจตามกฎหมายจากกฎ คำส่ังทางปกครอง การละเลย
ตอหนาท่ีท่ีกฎหมายกำหนด หรือการกระทำทางกายภาพ ผูเสียหายจากการกระทำละเมิดดังกลาวตอง
ฟองหนวยงานของรัฐเทาน้ัน จะฟองเจาหนาท่ีไมได ไมวาการะทำละเมิดดังกลาว จะเปนการกระทำโดย

เตรียมสอบ กกต

เตรียมสอบพนักงาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลอื กตงั้ ชุดที่ 2 372

จงใจ ประมาทเลินเลอ หรือประมาทเลินเลออยางรายแรงก็ตาม แตในกรณีที่เปนการละเมิดซึ่งไมใชเกิด
จากกระในการปฏิบัติหนาท่ี ก็ตองเปนไปตามหลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
เจาหนาท่ีตองรับผิดเปนการเฉพาะตัว ผูเสียหายอาจฟองเจาหนาท่ีไดโดยตรง แตจะฟองหนวยงานของ
รฐั ไมได

เมื่อหนวยงานของรัฐไดใชคาสินไหมทดแทนใหแกผูเสียหายอันเกิดจากการกระทำ
ละเมิดในการปฏิบัตหิ นา ที่แลว

มาตรา 8 ในกรณีที่หนวยงานของรัฐตองรับผิดใชคาสินไหมทดแทนแกผูเสียหายเพ่ือ
การละเมิดของเจาหนาท่ี ใหหนวยงานของรัฐมีสิทธิเรียกใหเ จาหนาท่ีผูทำละเมิดชดใชคาสินไหมทดแทน
ดังกลาวแกหนวยงานของรัฐได ถาเจาหนาท่ีไดกระทำไปดวยความจงใจหรือประมาทเลินเลออยาง
รา ยแรง

จากบัญญัติดังกลาวกำหนดใหหนวยงานของรัฐมีสิทธิเรียกใหเจาหนาที่ผูทำละเมิด
ชดใชคาสินไหมทดแทนไดเฉพาะกรณีท่ีการกระทำละเมิดเกิดขึ้นดวยความจงใจหรือความประมาท
เลินเลอ อยางรา ยแรงเทานั้น หากกระทำละเมิดเกิดข้ึนดว ยความประมาทเลนิ เลอ ธรรมดา หนวยงานของ
รฐั จะไลเ บีย้ กับเจา หนา ที่ผูกระทำละเมดิ ไมไ ด

การกระทำโดยจงใจ คือ การกระทำโดยรูสำนึกถึงการทำของตนวาจะกอใหเกิดความ
เสียหายแกบุคคลอ่ืน ไมวาความเสียหายน้ันจะเกิดขึ้นมากนอยเพียงใดก็ตามหรือเสียหายมากกวาท่ี
คาดคิดไว ซ่ึงจะมีความหมายแตกตางจากคำวาเจตนาตามประมวลกฎหมายอาญา เพราะการกระทำ
โดยจงใจไมไดห มายความถงึ กับวาตอ งเจาะจงใหเกดิ ความเสยี หายอยา งใดอยางหนึ่งข้ึนโดยเฉพาะ ดงั นั้น
การกระทำโดยจงใจจึงไมใชการกระทำโดยเจตนาตามประมวลกฎหมายอาญาเสมอไป แตการกระทำ
โดยเจตนาตามประมวลกฎหมายอาญาเปน การกระทำโดยจงใจเสมอ

การกระทำโดยประมาทเลินเลอธรรมดา คือ การกระทำโดยไมจงใจ แตกระทำโดยขาด
ความระมัดระวังซึ่งบุคคลในภาวะเชนน้ันจะตองมีตามวิสัยและพฤติการณ และผูกระทำอาจใชความ
ระมัดระวังเชนวานั้นไดแตไมไดใชใหเพียงพอ กลาวคือเปนการกระทำโดยขาดความระมัดระวังตาม
สมควรนั้นเอง ซ่ึงแตกตางจากการกระทำโดยประมาทเลินเลออยางรายแรง แตตามพระราชบัญญัติ
ความรับผดิ ทางละเมดิ ของเจา หนา ที่ไมไ ดก ำหนดบทนิยามไว แตจ ะมบี คุ คลตา งๆ ใหความหมายไวด ังน้ี

ศ.ดร. วรเจตน ภาคีรัตน ประมาทเลินเลออยางรายแรงเปนการกระทำท่ีเกือบจะเปน
เจตนาโดยเล็งเห็นผล แมผูกระทำจะไมไดเจตนาแตก็ไมใชความระมัดระวังแมแตนิดเดียว เปนการ
กระทำท่ีผกู ระทำเสย่ี งทำลงไปทั้งทรี่ ูอยวู าอาจจะเกิดความเสียหาย

ศ.ศักดิ์ สนองชาติ ประมาทเลินเลออยางรายแรงจะมีลักษณะไปในทางท่ีบุคคลน้ันได
กระทำไปโดยปราศจากความระมัดระวังที่เบ่ียงเบนไปจากเกณฑมาตรฐานอยางมาก เชน คาดเห็นไดวา
ความเสียหายอาจเกิดข้ึนไดหรือหากระมัดระวังสักเล็กนอยก็คงไดคาดเห็นการอาจเกิดความเสียหาย
เชน นนั้

เตรยี มสอบ กกต

เตรยี มสอบพนักงาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลือกตั้ง ชดุ ที่ 2 373

คำพิพากษาศาลปกครองที่ อ.10/2552 ประมาทเลินเลออยางรายแรง คือ การกระทำ
โดยมิไดเจตนาแตเปนการกระทำซึ่งบุคคลพึงคาดหมายไดวาอาจกอใหเกิดความเสียหายข้ึน และหากใช
ความระมัดระวังแมเพียงเล็กนอยก็อาจปองกันมิใหเกิดความเสียหายได แตกลับไมใชความระมัดระวัง
เชน วานน้ั เลย

ดังนั้น ประมาทเลินเลออยางรายแรง คือ การกระทำท่ีไมใชการจงใจ แตเปนการ
กระทำโดยปราศจากความระมัดระวังตามภาวะ วิสัย และพฤติการณ ซ่ึงหากไดใชความระมัดระวัง
แมเพียงเล็กนอยจะไมเกิดความเสียหายขึ้น หรือพึ่งคาดหมายไดวาการกระทำดังกลาวจะกอใหเกิด
ความเสียหายข้นึ

เม่อื เจาหนา ทีต่ องรับผิดชดใชคาสนิ ไหมทดแทนได กรณีท่ีการกระทำละเมิดเกิดข้ึนดวย
ความจงใจหรือความประมาทเลินเลออยางรายแรงแลว หนวยงานของรัฐตองคำนึงถึงระดับความ
รายแรงแหง การกระทำและความเปนธรรมในแตล ะกรณดี ว ย ตามมาตรา 8 วรรค 2 แหงพระราชบญั ญตั ิ
ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ กลาวคือหนวยงานของรัฐอาจจะไมเรียกรองใหเจาหนาที่ชดใชคา
สินไหมทดแทนเต็มจำนวนกไ็ ด

และหากการกระทำละเมิดของเจาหนาท่ีที่ตองรับผิดใชคาสินไหมทดแทน เกิดจาก
ความบกพรองของหนวยงานหรือระบบดำเนินงานสวนรวม จะเรียกรองใหเจาหนาที่ชดใชคาสินไหม
ทดแทนเต็มจำนวนไมไ ด ตองหักสวนของความบกพรองของหนวยงานออก เจาหนา ที่ตองรับผิดชดใชคา
สินไหมทดแทนเฉพาะความเสียหายที่เกิดจากการกระทำของตนเองเทาน้ัน ตามมาตรา 8 วรรค 3 แหง
พระราชบัญญัติความรบั ผดิ ทางละเมิด

และในกรณีที่เปน การกระทำละเมดิ ของเจา หนาท่ีหลายคนรวมกันกระทำในการปฏิบัติ
หนาท่ี หนวยงานของรัฐจะใชสิทธิเรียกรองใหเจาหนาที่เหลานั้นรับผิดอยางลูกหน้ีรวม กลาวคือ
หนวยงานจะเรียกใหเจาหนาที่คนใดชดใชคาสินไหมทดแทนเทาไร เพียงไรก็ได จนกวาจะไดรับชดใชคา
สินไหมทดแทนทั้งหมดไมได เพราะมาตรา 8 วรรค 4 แหงพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิด ไมให
นำหลักลูกหน้ีรวมมาใชบังคับ หนวยงานของรัฐใชสิทธิเรียกรองใหเจาหนาท่ีแตละคนชดใชคาสินไหม
ทดแทนไดเฉพาะความเสียหายทีเ่ กดิ จากการกระทำของเจาหนา ทแ่ี ตละคนเทา นัน้

2.2. กรณีทเ่ี จาหนา ท่ีกระทำละเมิดตอหนวยงานของรฐั
ถาเปนกรณีที่เจาหนาท่ีละเมิดตอหนวยงานของรัฐเปนการกระทำในการปฏิบัติหนาท่ี
ใหนำบทบัญญัติที่เก่ียวกับการใชสิทธิเรียกใหเจาหนาที่ผูทำละเมิดตอเอกชนชดใชคาสินไหมทดแทน
กลาวคือเจาหนาท่ีท่ีกระละเมิดตอหนวยงานรัฐ จะตองรับผิดทางละเมิดตอเม่ือกระทำโดยจง หรือ
ประมาทเลินเลออยางรายแรง และการใชคาสินไหมทดแทนตองคำนึงถึงระดับความรายแรงแหงการ
กระทำและความเปนธรรม ตองหักสวนบกพรองของหนวยงานหรือระบบดำเนินงานสวนรวม และไมนำ
หลักลูกหน้ีรวมมาใชบังคับ สวนกรณีเจาหนาที่ละเมิดตอหนวยงานของรัฐ ซ่ึงไมใชการกระทำในการ

เตรยี มสอบ กกต

เตรียมสอบพนักงาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง ชดุ ท่ี 2 374
ปฏิบัติหนาที่ ก็ตองเปนไปตามหลกั กฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ท้ังนี้ตามมาตรา 10
แหงพระราชบัญญตั ิความรับผิดทางละเมดิ ของเจา หนาที่

ดังนั้น ตามพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ กำหนดความรับ
ผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ออกเปน 2 กรณี คือ เจาหนาท่ีกระทำละเมิดตอเอกชน และเจาหนาท่ี
กระทำละเมิดตอหนวยงานของรัฐ ซึ่งเจาหนาที่จะตองรับผิดใชคาสินไหมทดแทนใหหนวยงานของ
รัฐ เฉพาะเมื่อไดกระทำโดยจงใจ หรือประมาทเลินเลออยางรายแรง และการใชคาสินไหมทดแทน
ตองคำนึงถึงระดับความรายแรงแหงการกระทำและความเปนธรรม ตองหักสวนบกพรองของ
หนว ยงานหรอื ระบบดำเนนิ งานสวนรวม และไมน ำหลักลูกหน้ีรวมมาใชบ งั คับ

เตรยี มสอบ กกต

เตรียมสอบพนกั งาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกต้งั ชุดท่ี 2 375

พระราชบญั ญัติ
ความรับผดิ ทางละเมดิ ของเจา หนา ท่ี

พ.ศ. 2539

ภมู พิ ลอดุลยเดช ป.ร.
ใหไ ว ณ วนั ที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2539

เปนปท ี่ 51 ในรชั กาลปจจุบนั
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกลาฯ
ใหป ระกาศวา
โดยทสี่ มควรมีกฎหมายวา ดว ยความรบั ผิดทางละเมิดของเจา หนาท่ี
จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหตราพระราชบัญญัติขึ้นไวโดยคำแนะนำและยินยอม
ของรัฐสภา ดงั ตอ ไปนี้
มาตรา 1 พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของ
เจา หนา ท่ี พ.ศ. 2539”
มาตรา 2 พระราชบัญญั ติน้ีใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจ
จานเุ บกษาเปนตนไป
มาตรา 3 บรรดากฎหมาย กฎ และขอบังคับใด ๆ ในสวนที่มีบัญญัติไวแลวใน
พระราชบญั ญัติน้หี รอื ซงึ่ ขดั หรือแยงกับบทแหง พระราชบัญญัตินี้ ใหใ ชพ ระราชบญั ญตั นิ ้แี ทน
มาตรา 4 ในพระราชบญั ญตั ินี้
“เจาหนาท่ี” หมายความวา ขาราชการ พนักงาน ลูกจาง หรือผูปฏิบัติงานประเภท
อืน่ ไมว าจะเปน การแตงต้ังในฐานะเปนกรรมการหรือฐานะอ่นื ใด
“หนวยงานของรัฐ” หมายความวา กระทรวง ทบวง กรม หรือสวนราชการที่
เรียกชื่ออยางอื่นและมีฐานะเปนกรม ราชการสวนภูมิภาค ราชการสวนทองถิ่น และรัฐวิสาหกิจที่
ต้ังขึ้นโดยพระราชบัญญัติหรือพระราชกฤษฎีกา และใหหมายความรวมถึงหนวยงานอื่นของรัฐที่มี
พระราชกฤษฎีกากำหนดใหเปนหนวยงานของรัฐตามพระราชบัญญัติน้ีดวย
มาตรา 5 หนวยงานของรัฐตองรับผิดตอผูเสียหายในผลแหงละเมิดที่เจาหนาที่
ของตนไดกระทำในการปฏิบัติหนาที่ ในกรณีนี้ผูเสียหายอาจฟองหนวยงานของรัฐดังกลาวได
โดยตรง แตจะฟองเจาหนาท่ีไมได
ถาการละเมิดเกิดจากเจาหนาท่ีซึ่งไมไดสังกัดหนวยงานของรัฐแหงใดใหถือวา
กระทรวงการคลงั เปนหนวยงานของรัฐทต่ี อ งรบั ผิดตามวรรคหน่งึ

เตรียมสอบ กกต

เตรียมสอบพนักงาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกต้ังชุดท่ี 2 376

มาตรา 6 ถาการกระทำละเมิดของเจาหนาที่มิใชการกระทำในการปฏิบัติหนาที่
เจาหนาที่ตองรับผิดในการนั้นเปนการเฉพาะตัว ในกรณีนี้ผูเสียหายอาจฟองเจาหนาที่ไดโดยตรง
แตจะฟองหนวยงานของรัฐไมได

มาตรา 7 ในคดีท่ีผูเสียหายฟองหนวยงานของรัฐ ถาหนวยงานของรฐั เห็นวาเปนเร่ืองท่ี
เจาหนาที่ตองรับผิดหรือตองรวมรับผิด หรือในคดีท่ีผูเสียหายฟองเจาหนาที่ถาเจาหนาท่ีเห็นวาเปนเรื่อง
ที่หนว ยงานของรัฐตองรับผิดหรอื ตองรวมรับผิด หนวยงานของรฐั หรือเจา หนาท่ีดังกลาวมีสิทธขิ อใหศาล
ท่พี ิจารณาคดีนัน้ อยูเรียกเจา หนาทหี่ รอื หนว ยงานของรฐั แลวแตกรณี เขามาเปนคคู วามในคดี

ถาศาลพิพากษายกฟองเพราะเหตุที่หนวยงานของรัฐหรือเจาหนาที่ท่ีถูกฟองมิใช
ผูตองรับผิด ใหขยายอายุความฟองรองผูที่ตองรับผิดซึ่งมิไดถูกเรียกเขามาในคดีออกไปถึง
หกเดือนนับแตวันที่คำพิพากษานั้นถึงที่สุด

มาตรา 8 ในกรณีท่ีหนวยงานของรฐั ตองรับผิดใชคาสินไหมทดแทนแกผูเสียหายเพ่ือ
การละเมิดของเจาหนาที่ ใหหนวยงานของรัฐมีสิทธิเรียกใหเจาหนาท่ีผูทำละเมิดชดใชคาสินไหม
ทดแทนดังกลาวแกหนวยงานของรัฐได ถาเจาหนาที่ไดกระทำการนั้นไปดวยความจงใจหรือประมาท
เลนิ เลอ อยางรายแรง

สิทธิเรียกใหชดใชคาสินไหมทดแทนตามวรรคหน่ึงจะมีไดเพียงใดใหคำนึงถึงระดับ
ความรายแรงแหงการกระทำและความเปนธรรมในแตละกรณีเปนเกณฑโดยมิตองใหใชเต็มจำนวน
ของความเสียหายก็ได

ถาการละเมิดเกิดจากความผิดหรือความบกพรองของหนวยงานของรัฐหรือระบบการ
ดำเนนิ งานสวนรวม ใหหักสว นแหง ความรับผิดดงั กลา วออกดว ย

ในกรณีท่ีการละเมิดเกิดจากเจาหนาที่หลายคน มิใหนำหลักเรื่องลูกหนี้รวมมาใช
บังคับและเจา หนาทีแ่ ตละคนตอ งรับผิดใชค า สินไหมทดแทนเฉพาะสวนของตนเทา นัน้

มาตรา 9 ถาหนวยงานของรัฐหรือเจาหนาที่ไดใชคาสินไหมทดแทนแกผูเสียหาย
สิทธิท่ีจะเรียกใหอีกฝายหน่ึงชดใชคาสินไหมทดแทนแกตนใหมีกำหนดอายุความหน่ึงปนับแตวันที่
หนว ยงานของรัฐหรอื เจาหนา ทไี่ ดใ ชค า สนิ ไหมทดแทนนั้นแกผเู สยี หาย

มาตรา 10 ในกรณีที่เจาหนาที่เปนผูกระทำละเมิดตอหนวยงานของรัฐไมวาจะเปน
หนวยงานของรัฐที่ผูนั้นอยูในสังกัดหรือไม ถาเปนการกระทำในการปฏิบัติหนาที่การเรียกรองคาสินไหม
ทดแทนจากเจาหนาที่ใหนำบทบัญญัติมาตรา 8 มาใชบังคับโดยอนุโลม แตถามิใชการกระทำในการ
ปฏิบตั หิ นา ท่ใี หบ ังคับตามบทบญั ญตั แิ หง ประมวลกฎหมายแพง และพาณิชย

เตรยี มสอบ กกต

เตรยี มสอบพนกั งาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลอื กต้งั ชดุ ท่ี 2 377

สรปุ
พระราชบญั ญตั ขิ อมูลขา วสารของราชการ พ.ศ. 2540

1. สทิ ธิรบั ทราบขอมลู ขาวสารตามรฐั ธรรมนญู
2. บทท่วั ไป
3. ประเภทของขอมูลขาวสาร
4. สิทธขิ องประชาชนเกีย่ วกับขอ มลู ขาวสาร
5. หนา ท่ีหนวยงานของรฐั และเจา หนาท่รี ฐั
6. คณะกรรมการขอ มูลขา วสารของราชการ
7. คณะกรรมการวินิจฉัยการเปดเผยขอมูลขาวสาร
8. การพจิ ารณาเก่ยี วกับขอ มูลขาวสารท่มี ีคำส่ังมิใหเปด เผย

1. สทิ ธริ ับทราบขอ มลู ขาวสารตามรฐั ธรรมนูญ
รัฐธรรมนญู ไดม กี ารรับรองสทิ ธิรับทราบขอ มูลขา วสารของประชาชนไว โดยเฉพาะรัฐธรรมนญู

2540 เปนทม่ี าของการตราพระราชบัญญัติขอ มลู ขาวสารของราชการ พ.ศ. 2540
1.1 รฐั ธรรมนญู 2540
มาตรา 58 บคุ คลยอ มมสี ทิ ธไิ ดรบั ทราบขอ มลู หรอื ขาวสารสาธารณะในครอบครองของหนวย

ราชการ หนวยงานของรฐั รฐั วสิ าหกิจ หรอื ราชการสว นทอ งถ่นิ เวน แตการเปด เผยขอ มลู นัน้ จะกระทบ
ตอ ความม่นั คงของรัฐ ความปลอดภัยของประชาชน หรอื สว นไดเสยี อนั พึงไดร ับความคุมครองของบุคคล
อืน่ ทั้งนี้ ตามท่ีกฎหมายบัญญัติ

1.2 รัฐธรรมนญู 2550
มาตรา 56 บคุ คลยอ มมสี ิทธิไดรับทราบและเขาถึงขอมูลหรือขา วสารสาธารณะในครอบครอง
ของหนวยราชการ หนว ยงานของรฐั รัฐวสิ าหกจิ หรอื ราชการสว นทอ งถนิ่ เวนแตก ารเปด เผยขอมลู หรือ
ขาวสารน้นั จะกระทบตอความมัน่ คงของรฐั ความปลอดภัยของประชาชน หรือสว นไดเสยี อันพงึ ไดรบั
ความคุมครองของบคุ คลอ่ืน หรือเปน ขอมลู สวนบคุ คล ทงั้ นี้ ตามท่ีกฎหมายบัญญตั ิ
1.3 รัฐธรรมนญู 2560
มาตรา 41 บคุ คลและชมุ ชนยอมมีสทิ ธิ

เตรียมสอบ กกต. 2564

เตรียมสอบพนักงาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลือกตง้ั ชดุ ท่ี 2 378

(1) ไดรับทราบและเขา ถึงขอ มลู หรอื ขาวสารสาธารณะในครอบครองของหนวยงานของรัฐตามท่ี
กฎหมายบญั ญตั ิ

(2) เสนอเรอ่ื งราวรอ งทุกขตอหนวยงานของรฐั และไดร ับแจงผลการพจิ ารณาโดยรวดเร็ว
(3) ฟองหนว ยงานของรฐั ใหร ับผดิ เนือ่ งจากการกระทำหรอื การละเวน การกระทำของขาราชการ
พนักงาน หรือลูกจางของหนว ยงานของรฐั
นอกจากรัฐธรรมนญู ไดร ับรองสิทธิและเสรภี าพของปวงชนชาวไทยเก่ยี วกบั สทิ ธใิ นการรบั ทราบ
และเขา ถงึ ขอมูลขา วสารแลว ยงั ไดบัญญตั ิเรอ่ื งเกี่ยวกับขอมลู ขาวสารไวในหมวดวา ดวยหนา ท่ขี องรฐั
มาตรา 59 รฐั ตอ งเปดเผยขอ มลู หรอื ขา วสารสาธารณะในครอบครองของหนวยงานของรฐั ที่
มใิ ชขอ มูลเก่ยี วกบั ความมน่ั คงของรฐั หรอื เปน ความลับของทางราชการตามท่กี ฎหมายบญั ญตั ิ และตอง
จดั ใหป ระชาชนเขาถงึ ขอ มลู หรือขาวสารดังกลา วไดโดยสะดวก
2. บทท่วั ไป
2.1 พระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ. 2540 ใหไว ณ วันที่ 2 กันยายน พ.ศ.
2540
2.2 พระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ. 2540 ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อ
วนั ที่ 10 กนั ยายน 2540
2.3 พระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ. 2540 ใชบังคับเมื่อพนกำหนด 90 วันนับ
แตวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปน ตน ไป
2.4 นายกรัฐมนตรเี ปน ผูรักษาการตามพระราชบญั ญัตขิ อ มลู ขา วสารของราชการ พ.ศ. 2540
2.5 เหตุผลในการประกาศใชพ ระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ. 2540
ในระบอบประชาธปิ ไตย การใหประชาชนมโี อกาสกวางขวางในการไดรับขอ มูลขาวสารเกี่ยวกับ
การดำเนินการตาง ๆ ของรัฐเปนสิ่งจำเปน เพื่อท่ีประชาชนจะสามารถแสดงความคิดเห็นและใชสิทธิ
ทางการเมืองไดโดยถูกตองกับความเปนจริง อันเปนการสงเสริมใหมีความเปนรัฐบาลโดยประชาชนมาก
ยงิ่ ขนึ้ สมควรกำหนดใหประชาชนมีสทิ ธิไดร ขู อมูลขาวสารของราชการ โดยมขี อ ยกเวน อันไมต องเปด เผย
ท่ีแจงชัดและจำกัดเฉพาะขอมูลขาวสารท่ีหากเปดเผยแลวจะเกิดความเสียหายตอประเทศชาติหรือตอ
ประโยชนทส่ี ำคัญของเอกชน ทง้ั นี้ เพือ่ พัฒนาระบอบประชาธปิ ไตยใหม นั่ คงและจะยังผลใหประชาชนมี
โอกาสรูถึงสิทธิหนาที่ของตนอยางเต็มที่ เพื่อท่ีจะปกปกรักษาประโยชนของตนไดอีกประการหนึ่งดวย
ประกอบกับสมควรคุมครองสิทธิสวนบุคคลในสวนท่ีเกี่ยวของกับขอมูลขาวสารของราชการไปพรอมกัน
จงึ จำเปน ตอ งตราพระราชบญั ญัติน้ี

เตรยี มสอบ กกต. 2564

เตรียมสอบพนักงาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลอื กตง้ั ชุดท่ี 2 379

3. ประเภทของขอ มูลขา วสาร
3.1 บทนิยาม
“ขอมูลขาวสาร” หมายความวา สิ่งที่ส่ือความหมายใหรูเร่ืองราวขอเทจ็ จริง ขอมูล หรือสิ่งใด ๆ

ไมวาการสื่อความหมายน้ันจะทำไดโดยสภาพของสิ่งน้ันเองหรือโดยผานวิธีการใด ๆ และไมวาจะได
จัดทำไวในรูปของเอกสาร แฟม รายงาน หนังสือ แผนผัง แผนท่ี ภาพวาด ภาพถาย ฟลม การ
บันทกึ ภาพหรอื เสยี ง การบนั ทึกโดยเครือ่ งคอมพิวเตอร หรอื วิธอี นื่ ใดทท่ี ำใหส งิ่ ท่ีบันทึกไวปรากฏได

“ขอมูลขาวสารของราชการ” หมายความวา ขอมูลขาวสารท่ีอยูในความครอบครองหรือ
ควบคุมดูแลของหนวยงานของรัฐ ไมวาจะเปนขอมูลขาวสารเกี่ยวกับการดำเนินงานของรัฐหรือขอมูล
ขาวสารเกีย่ วกับเอกชน

“ขอมูลขาวสารสวนบุคคล” หมายความวา ขอมูลขาวสารเกี่ยวกับสิ่งเฉพาะตัวของบุคคล เชน
การศกึ ษา ฐานะการเงนิ ประวตั สิ ุขภาพ ประวัติอาชญากรรม หรือประวัติการทำงาน บรรดาท่ีมชี อื่ ของผู
นั้นหรือมีเลขหมาย รหัส หรือสิ่งบอกลักษณะอื่นที่ทำใหรูตัวผูน้ันได เชน ลายพิมพน้ิวมือ แผนบันทึก
ลักษณะเสียงของคนหรือรูปถาย และใหหมายความรวมถึงขอมูลขาวสารเก่ียวกับส่ิงเฉพาะตัวของผูที่ถึง
แกก รรมแลวดว ย

3.2 ขอ มูลขา วสารของราชการท่ตี องลงพิมพใ นราชกจิ จานเุ บกษา
(1) โครงสรา งและการจดั องคกรในการดำเนินงาน
(2) สรปุ อำนาจหนาทท่ี ่สี ำคญั และวิธีการดำเนินงาน
(3) สถานที่ติดตอ เพ่ือขอรับขอ มลู ขา วสารหรอื คำแนะนำในการติดตอ กบั หนวยงานของรฐั
(4) กฎ มติคณะรัฐมนตรี ขอบังคับ คำส่ัง หนังสือเวียน ระเบียบ แบบแผน นโยบาย หรือการ
ตีความ ท้งั นี้ เฉพาะทจี่ ัดใหมขี นึ้ โดยมสี ภาพอยา งกฎ เพอ่ื ใหม ีผลเปน การทัว่ ไปตอเอกชนท่เี กย่ี วของ
(5) ขอมูลขาวสารอนื่ ตามทค่ี ณะกรรมการกำหนด
ขอมูลขาวสารใดท่ไี ดมกี ารจัดพิมพเพอ่ื ใหแพรหลายตามจำนวนพอสมควรแลว ถา มีการลงพิมพ
ในราชกิจจานุเบกษาโดยอางอิงถึงส่ิงพิมพนั้นก็ใหถือวาไดปฏิบัติการใหมีการลงพิมพในราชกิจจา
นเุ บกษาแลว (มาตรา 7)
กฎ มติคณะรัฐมนตรี ขอบังคับ คำสั่ง หนังสือเวียน ระเบียบ แบบแผน นโยบาย หรือการ
ตีความ ท้ังน้ี เฉพาะท่ีจัดใหมีข้ึนโดยมีสภาพอยางกฎ เพ่ือใหมีผลเปนการทั่วไปตอเอกชนที่เกี่ยวของ
ถายังไมไดลงพิมพในราชกิจจานุเบกษา จะนำมาใชบังคับในทางที่ไมเปนคุณแกผูใดไมได เวนแตผูนั้นจะ
ไดรถู ึงขอมูลขา วสารนนั้ ตามความเปน จรงิ มากอ นแลวเปน เวลาพอสมควร (มาตรา 8)
3.3 ขอมูลขา วสารของราชการที่ตองจัดไวใหประชาชนเขา ตรวจดไู ด

เตรียมสอบ กกต. 2564

เตรยี มสอบพนกั งาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลอื กตัง้ ชดุ ที่ 2 380

(1) ผลการพิจารณาหรือคำวินิจฉัยท่ีมีผลโดยตรงตอเอกชน รวมท้ังความเห็นแยงและคำสั่งที่
เก่ียวขอ งในการพจิ ารณาวนิ ิจฉยั ดงั กลา ว

(2) นโยบายหรือการตีความทีไ่ มเ ขาขายตอ งลงพมิ พในราชกิจจานเุ บกษา
(3) แผนงาน โครงการ และงบประมาณรายจายประจำปข องปท่ีกำลังดำเนินการ
(4) คูมือหรือคำส่ังเก่ียวกับวิธีปฏิบัติงานของเจาหนาที่ของรัฐซึ่งมีผลกระทบถึงสิทธิหนาท่ีของ
เอกชน
(5) ส่ิงพิมพท่ีการลงพิมพใ นราชกิจจานเุ บกษาไดมกี ารอางอิงถึงตามมาตรา 7 วรรคสอง
(6) สัญญาสัมปทาน สัญญาที่มีลักษณะเปนการผูกขาดตัดตอนหรือสัญญารวมทุนกับเอกชนใน
การจดั ทำบรกิ ารสาธารณะ
(7) มติคณะรัฐมนตรี หรือมติคณะกรรมการที่แตงตั้งโดยกฎหมาย หรือโดยมติคณะรัฐมนตรี
ท้ังน้ี ใหร ะบุรายชอื่ รายงานทางวิชาการ รายงานขอเทจ็ จรงิ หรอื ขอมลู ขาวสารท่ีนำมาใชใ นการพจิ ารณา
ไวดวย
(8) ขอ มลู ขา วสารอนื่ ตามท่คี ณะกรรมการกำหนด
ขอมูลขาวสารที่จัดใหประชาชนเขาตรวจดู ถามีสวนที่ตองหามมิใหเปดเผยเพราะเปนขอมูล
ขาวสารของราชการท่ีอาจกอใหเกิดความเสียหายตอสถาบันพระมหากษัตริยตามมาตรา 14 หรือขอมูล
ขาวสารของราชการที่มีลักษณะท่ีหนวยงานของรัฐหรือเจาหนาท่ีของรัฐอาจมีคำส่ังมิใหเปดเผยก็ไดตาม
มาตรา 15 อยูดวย ใหลบหรือตัดทอนหรือทำโดยประการอื่นใดท่ีไมเปนการเปดเผยขอมูลขาวสารสวน
นนั้ (มาตรา 9)
3.4 ขอ มูลขาวสารทไี่ มต อ งเปดเผย
(1) ขอมลู ขาวสารทจี่ ะเปด เผยไมได
ขอมลู ขา วสารของราชการที่อาจกอใหเ กิดความเสยี หายตอ สถาบันพระมหากษตั รยิ  (มาตรา 14)
(2) ขอมูลขาวสารของราชการท่ีมีลักษณะที่หนวยงานของรัฐหรือเจาหนาที่ของรัฐอาจมี
คำสั่งมิใหเปดเผยก็ได โดยคำนึงถึงการปฏิบัติหนาท่ีตามกฎหมายของหนวยงานของรัฐ ประโยชน
สาธารณะ และประโยชนของเอกชนท่เี กย่ี วของประกอบกนั ไดแ ก

(2.1) การเปดเผยจะกอใหเกิดความเสียหายตอความม่ันคงของประเทศ ความสัมพันธ
ระหวางประเทศ หรือความม่ันคงในทางเศรษฐกจิ หรอื การคลงั ของประเทศ

(2.2) การเปดเผยจะทำใหการบังคับใชกฎหมายเสื่อมประสิทธิภาพ หรือไมอาจสำเร็จ
ตามวัตถุประสงคได ไมวาจะเก่ียวกับการฟองคดี การปองกัน การปราบปราม การทดสอบ การ
ตรวจสอบ หรอื การรูแหลง ท่มี าของขอมูลขาวสารหรอื ไมก ็ตาม

เตรยี มสอบ กกต. 2564

เตรยี มสอบพนกั งาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตัง้ ชุดที่ 2 381

(2.3) ความเห็นหรือคำแนะนำภายในหนวยงานของรัฐในการดำเนินการเรื่องหน่ึงเร่ือง
ใด แตทั้งน้ี ไมรวมถึงรายงานทางวิชาการ รายงานขอเท็จจริง หรือขอมูลขาวสารท่ีนำมาใชในการทำ
ความเหน็ หรอื คำแนะนำภายในดังกลา ว

(2.4) การเปดเผยจะกอใหเกิดอันตรายตอชีวิตหรือความปลอดภัยของบุคคลหน่ึง
บุคคลใด

(2.5) รายงานการแพทยหรือขอมูลขาวสารสวนบุคคลซ่ึงการเปดเผยจะเปนการรุกล้ำ
สิทธสิ วนบุคคลโดยไมสมควร

(2.6) ขอมูลขาวสารของราชการท่ีมีกฎหมายคมุ ครองมใิ หเ ปด เผย หรือขอมูลขาวสารท่ี
มีผใู หมาโดยไมประสงคใ หท างราชการนำไปเปด เผยตอ ผอู ่นื

(2.7) กรณอี ่ืนตามที่กำหนดในพระราชกฤษฎีกา (มาตรา 15)
3.5 ขอมูลขาวสารสวนบคุ คล

“ขอมูลขาวสารสวนบุคคล” คือ ขอมูลขาวสารเก่ียวกับส่ิงเฉพาะตัวของบุคคล เชน
การศกึ ษา ฐานะการเงนิ ประวตั สิ ุขภาพ ประวตั ิอาชญากรรม หรือประวตั ิการทำงาน บรรดาทม่ี ชี ื่อของผู
นั้นหรือมีเลขหมาย รหัส หรือส่ิงบอกลักษณะอื่นท่ีทำใหรูตัวผูน้ันได เชน ลายพิมพนิ้วมือ แผนบันทึก
ลักษณะเสียงของคนหรือรูปถาย และใหหมายความรวมถึงขอมูลขาวสารเก่ียวกับสิ่งเฉพาะตัวของผูท่ีถึง
แกก รรมแลวดว ย

คำวา “บุคคล” หมายความวา บุคคลธรรมดาท่ีมีสัญชาติไทยและบุคคลธรรมดาที่ไมมี
สัญชาติไทยแตม ีถน่ิ ทีอ่ ยใู นประเทศไทย (มาตรา 21)

3.6 เอกสารประวัตศิ าสตร
เปนขอมูลที่คัดเลือกไวใหประชาชนไดศึกษาคนควา ไดแก ขอมูลขาวสารของราชการที่
หนวยงานของรัฐไมประสงคจะเก็บรักษาไว หรือขอมูลขาวสารของราชการตามมาตรา 14 (ขอมูล
ขาวสารของราชการที่อาจกอใหเกิดความเสียหายตอสถาบันพระมหากษัตริย) เมื่อครบ 75 ป ขอมูล
ขาวสารของราชการตามมาตรา 15 (ขอมูลขาวสารของราชการที่มีลักษณะที่หนวยงานของรัฐหรือ
เจาหนาที่ของรัฐอาจมีคำส่ังมิใหเปดเผย) เมื่อครบ 20 ป นับแตวันท่ีเสร็จสิ้นการจัดใหมีขอมูลขาวสาร
นนั้ ซ่งึ ตอ งใหห นว ยงานของรัฐสงมอบใหแ กหอจดหมายเหตแุ หง ชาติ กรมศลิ ปากรหรอื หนว ยงานอืน่ ของ
รฐั ตามทกี่ ำหนดในพระราชกฤษฎกี า เพอื่ คัดเลือกไวใ หประชาชนไดศึกษาคน ควา (มาตรา 26)

เตรยี มสอบ กกต. 2564

เตรยี มสอบพนักงาน สำนักงานคณะกรรมการการเลอื กตั้ง ชดุ ท่ี 2 382

4. สทิ ธขิ องประชาชนเกย่ี วกบั ขอมูลขาวสาร
4.1 สิทธิเขา ตรวจดูขอมูลขา วสารของราชการ
บคุ คลไมวาจะมีสวนไดเ สียเกีย่ วของหรือไมก็ตาม ยอมมีสิทธเิ ขาตรวจดู ขอสำเนาหรือขอสำเนา

ท่ีมีคำรับรองถูกตองของขอมูลขาวสารของราชการที่หนวยงานของรัฐจัดใหประชาชนเขาตรวจดูได ใน
กรณีที่สมควรหนวยงานของรัฐโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ จะวางหลักเกณฑเรียก
คาธรรมเนียมในการน้ันก็ได ในการน้ีใหคำนึงถึงการชวยเหลือผูมีรายไดนอยประกอบดวย ท้ังน้ี เวนแต
จะมีกฎหมายเฉพาะบัญญัติไวเปนอยางอ่ืน คนตางดาวก็มีสิทธิแตคนตางดาวจะมีสิทธิตามมาตราน้ี
เพียงใดใหเ ปนไปตามทก่ี ำหนดโดยกฎกระทรวง (มาตรา 9)

“คนตางดาว” หมายความวา บุคคลธรรมดาที่ไมมีสัญชาติไทยและไมมีถ่ินที่อยูในประเทศไทย
และนิติบุคคลดังตอไปนี้

(1) บริษัทหรือหางหุนสวนท่ีมีทุนเกินก่ึงหนึ่งเปนของคนตางดาว ใบหุนชนิดออกใหแกผูถือ ให
ถอื วาใบหุนนัน้ คนตางดาวเปนผถู ือ

(2) สมาคมทมี่ ีสมาชกิ เกนิ ก่ึงหนึง่ เปน คนตา งดาว
(3) สมาคมหรอื มูลนิธิท่มี วี ตั ถปุ ระสงคเ พ่อื ประโยชนข องคนตางดาว
(4) นิติบุคคลตาม (1) (2) (3) หรือนิติบุคคลอ่ืนใดท่ีมีผูจัดการหรือกรรมการเกินกึ่งหนึ่งเปนคน
ตา งดาว
นิติบุคคลขางตน ถาเขาไปเปนผูจัดการหรือกรรมการ สมาชิก หรือมีทุนในนิติบุคคลอื่น ใหถือ
วา ผูจ ดั การหรอื กรรมการ หรือสมาชกิ หรอื เจาของทุนดังกลาวเปน คนตา งดา ว
4.3 สิทธริ องเรยี นตอ คณะกรรมการขอ มูลขา วสารของราชการ
ผูใดเห็นวาหนวยงานของรัฐไมจัดพิมพขอมูลขาวสารในราชกิจจานุเบกษาตามมาตรา 7 หรือไม
จัดขอมูลขาวสารไวใหประชาชนตรวจดูไดตามมาตรา 9 หรือไมจัดหาขอมูลขาวสารใหแกตนตามมาตรา
11 หรือฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ หรือปฏิบัติหนาท่ีลาชา หรือเห็นวาตนไมไดรับความ
สะดวกโดยไมมีเหตุอันสมควร ผูนั้นมีสิทธิรองเรียนตอคณะกรรมการขอมูลขาวสารของราชการ เวนแต
เปนเรื่องเกี่ยวกับการมีคำส่ังมิใหเปดเผยขอมูลขาวสารตามมาตรา 15 หรือคำส่ังไมรับฟงคำคัดคานตาม
มาตรา 17 หรอื คำส่งั ไมแ กไ ขเปลีย่ นแปลงหรือลบขอมลู ขาวสารสว นบุคคลตามมาตรา 25
4.4 สทิ ธิทจี่ ะไดร ถู ึงขอมลู ขาวสารสวนบุคคลทเ่ี กยี่ วกับตน
บุคคลยอมมีสิทธิที่จะไดรูถึงขอมูลขาวสารสวนบุคคลท่ีเก่ียวกับตน และเม่ือบุคคลนั้นมีคำขอ
เปนหนังสือ หนวยงานของรัฐท่ีควบคุมดูแลขอมูลขาวสารนั้นจะตองใหบุคคลนั้นหรือผูกระทำการแทน
บุคคลนั้นไดตรวจดูหรือไดรับสำเนาขอมูลขาวสารสวนบุคคลสวนที่เก่ียวกับบุคคลน้ัน การเปดเผย

เตรยี มสอบ กกต. 2564

เตรยี มสอบพนกั งาน สำนักงานคณะกรรมการการเลอื กตง้ั ชดุ ท่ี 2 383

รายงานการแพทยที่เกี่ยวกับบุคคลใด ถากรณีมเี หตุอันควรเจาหนาท่ีของรัฐจะเปดเผยตอเฉพาะแพทยท่ี
บุคคลนนั้ มอบหมายก็ได ถาบคุ คลใดเหน็ วาขอมูลขาวสารสวนบุคคลท่ีเก่ยี วกบั ตนสว นใดไมถ กู ตอ งตามท่ี
เปนจริง ใหมีสิทธิยื่นคำขอเปนหนังสือใหหนวยงานของรฐั ท่ีควบคมุ ดแู ลขอมลู ขาวสารแกไขเปล่ียนแปลง
หรือลบขอ มูลขาวสารสวนนน้ั ได ซ่ึงหนวยงานของรฐั จะตองพจิ ารณาคำขอดงั กลา ว และแจงใหบุคคลน้ัน
ทราบโดยไมชักชา ในกรณีท่ีหนวยงานของรัฐไมแกไขเปลี่ยนแปลงหรือลบขอมูลขาวสารใหตรงตามที่มี
คำขอ ใหผูนั้นมีสิทธิอุทธรณตอคณะกรรมการวินิจฉัยการเปดเผยขอมูลขาวสารภายใน 30 วันนับแตวัน
ไดรับแจงคำสั่งไมยินยอมแกไขเปล่ียนแปลงหรือลบขอมูลขาวสาร โดยยื่นคำอุทธรณตอคณะกรรมการ
ขอมูลขาวสารของราชการ และไมวากรณีใด ๆ ใหเจาของขอมูลมีสิทธิรองขอใหหนวยงานของรัฐหมาย
เหตคุ ำขอของตนแนบไวก บั ขอมลู ขาวสารสวนที่เกี่ยวขอ งได (มาตรา 25)
5. หนา ทีห่ นวยงานของรฐั และเจา หนาท่ีรัฐ

5.1 บทนิยาม
“หนวยงานของรัฐ” หมายความวา ราชการสว นกลาง ราชการสวนภูมภิ าค ราชการสวนทองถ่ิน
รัฐวิสาหกิจ สวนราชการสังกัดรัฐสภา ศาลเฉพาะในสวนที่ไมเก่ียวกับการพิจารณาพิพากษาคดี องคกร
ควบคุมการประกอบวิชาชพี หนว ยงานอสิ ระของรฐั และหนวยงานอืน่ ตามท่ีกำหนดในกฎกระทรวง
“เจา หนา ท่ขี องรัฐ” หมายความวา ผซู ึ่งปฏิบัติงานใหแ กห นวยงานของรัฐ
5.2 หนวยงานของรัฐตองสงขอมูลขาวสารของราชการอยางนอยที่กำหนดไวในมาตรา 7 ลง
พมิ พในราชกจิ จานุเบกษา
5.3 หนวยงานของรฐั ตองจดั ใหมขี อมลู ขาวสารของราชการอยา งนอยท่ีกำหนดไวใ นมาตรา 9 ไว
ใหป ระชาชนเขาตรวจดูได
5.4 นอกจากขอมูลขาวสารของราชการที่ลงพิมพในราชกิจจานุเบกษาแลวหรือท่ีจัดไวให
ประชาชนเขาตรวจดูไดแลวหรือที่มีการจัดใหประชาชนไดคนควาแลว ถาบุคคลใดขอขอมูลขาวสารอื่น
ใดของราชการและคำขอของผูนั้นระบุขอมูลขาวสารท่ีตองการในลักษณะที่อาจเขาใจไดตามควร ให
หนวยงานของรัฐผูรับผิดชอบจัดหาขอมูลขาวสารน้ันใหแกผูขอภายในเวลาอันสมควร เวนแตผูนั้นขอ
จำนวนมากหรือบอยคร้ังโดยไมมีเหตุผลอันสมควร และแมวาขอมูลขาวสารที่ขอจะอยูในความ
ควบคมุ ดูแลของหนวยงานสวนกลางหรือสว นสาขาของหนว ยงานแหง นน้ั หรอื จะอยูใ นความควบคุมดแู ล
ของหนวยงานของรัฐแหงอื่นก็ตาม ใหหนวยงานของรัฐท่ีรับคำขอใหคำแนะนำเพ่ือไปย่ืนคำขอตอ
หนวยงานของรัฐท่ีควบคมุ ดูแลขอมูลขาวสารน้นั โดยไมชกั ชา ถา หนวยงานของรฐั ผรู ับคำขอเห็นวาขอมูล
ขาวสารท่ีมีคำขอเปนขอมูลขาวสารท่ีจัดทำโดยหนวยงานของรัฐแหงอ่ืน และไดระบุหามการเปดเผยไว

เตรียมสอบ กกต. 2564

เตรยี มสอบพนกั งาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง ชดุ ที่ 2 384

ตามระเบียบที่กำหนดตามมาตรา 16 ใหสงคำขอนั้นใหหนวยงานของรัฐผูจัดทำขอมูลขาวสารน้ัน
พิจารณาเพื่อมคี ำส่ังตอ ไป (มาตรา 11 และ มาตรา 12)

5.5 หนวยงานของรัฐตองปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดระบบขอมูลขาวสารสวนบุคคลตามที่กำหนด
(มาตรา 23)

5.6 หนวยงานของรัฐจะเปดเผยขอมูลขาวสารสวนบุคคลที่อยูในความควบคุมดูแลของตนตอ
หนวยงานของรัฐแหงอื่นหรือผูอื่น โดยปราศจากความยินยอมเปนหนังสือของเจาของขอมูลท่ีใหไว
ลว งหนาหรอื ในขณะนน้ั มิได เวน แตเปนการเปด เผยจะเขาขอ ยกเวน ตามที่กำหนด (มาตรา 24)

5.7 ขอมูลขาวสารของราชการที่หนวยงานของรัฐไมประสงคจะเก็บรักษาหรือมีอายุครบ
กำหนดนับแตวันที่เสร็จส้ินการจัดใหมีขอมูลขาวสารน้ัน ใหหนวยงานของรัฐสงมอบใหแกหอจดหมาย
เหตุแหงชาติ กรมศิลปากรหรือหนวยงานอ่ืนของรัฐตามที่กำหนดในพระราชกฤษฎีกา เพ่ือคัดเลือกไวให
ประชาชนไดศึกษาคน ควา (มาตรา 26)
6. คณะกรรมการขอ มลู ขาวสารของราชการ

6.1 องคประกอบของคณะกรรมการขอ มูลขาวสารของราชการ
ประกอบดวยรัฐมนตรี ซึ่งนายกรัฐมนตรีมอบหมายเปนประธาน ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี
ปลัดกระทรวงกลาโหม ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ ปลัดกระทรวงการคลัง ปลัดกระทรวงการ
ตางประเทศ ปลัดกระทรวงมหาดไทย ปลัดกระทรวงพาณิชย เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา
เลขาธิการคณะกรรมการขาราชการพลเรือน เลขาธิการสภาความมั่นคงแหงชาติ เลขาธิการสภา
ผแู ทนราษฎร ผูอำนวยการสำนกั ขาวกรองแหงชาติ ผูอำนวยการสำนักงบประมาณ และผูทรงคณุ วุฒิอ่ืน
จากภาครัฐและภาคเอกชน ซง่ึ คณะรัฐมนตรแี ตงตงั้ อกี 9 คนเปน กรรมการ
ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีแตงตั้งขาราชการของสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี 1 คนเปน
เลขานุการ และอีก 2 คนเปนผูช ว ยเลขานุการ (มาตรา 27)
6.2 อำนาจหนาท่ี
(1) สอดสองดูแลและใหคำแนะนำเก่ียวกับการดำเนินงานของเจาหนาที่ของรัฐและหนวยงาน
ของรัฐในการปฏบิ ตั ิตามพระราชบัญญัตนิ ี้
(2) ใหคำปรึกษาแกเจาหนาท่ีของรัฐหรือหนวยงานของรัฐเกี่ยวกับการปฏิบัติตาม
พระราชบญั ญตั ิน้ี ตามท่ไี ดรบั คำขอ
(3) เสนอแนะในการตราพระราชกฤษฎีกาและการออกกฎกระทรวงหรือระเบียบของ
คณะรฐั มนตรตี ามพระราชบญั ญตั ินี้
(4) พิจารณาและใหความเห็นเร่ืองรอ งเรยี นตามมาตรา 13

เตรยี มสอบ กกต. 2564

เตรยี มสอบพนักงาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลือกตัง้ ชุดท่ี 2 385

(5) จัดทำรายงานเกยี่ วกบั การปฏิบัติตามพระราชบัญญัตนิ เ้ี สนอคณะรัฐมนตรีเปนครั้งคราวตาม
ความเหมาะสม แตอ ยา งนอยปละ 1 คร้งั

(6) ปฏบิ ัตหิ นา ทีอ่ ืน่ ตามที่กำหนดในพระราชบญั ญัตนิ ้ี
(7) ดำเนินการเรอื่ งอื่นตามทีค่ ณะรัฐมนตรหี รอื นายกรัฐมนตรมี อบหมาย (มาตรา 28)
6.3 วาระการดำรงตำแหนง
กรรมการผูทรงคุณวุฒิซึ่งไดรับแตงตั้ง มีวาระอยูในตำแหนงคราวละ 3 ปนับแตวันที่ไดรับ
แตงตง้ั ผูทีพ่ น จากตำแหนง แลว อาจไดร บั แตง ต้งั ใหมไ ด (มาตรา 29)
7. คณะกรรมการวนิ จิ ฉยั การเปดเผยขอ มลู ขาวสาร
7.1 การแตงตงั้
ใหมีคณะกรรมการวินิจฉัยการเปดเผยขอมูลขาวสารสาขาตาง ๆ ตามความเหมาะสม ซ่ึง
คณะรัฐมนตรีแตงตั้งตามขอเสนอของคณะกรรมการขอมูลขาวสารของราช มีอำนาจหนาที่พิจารณา
วินิจฉัยอุทธรณคำสั่งมิใหเปดเผยขอมูลขาวสาร คำสั่งไมรบั ฟงคำคัดคาน และคำส่ังไมแกไขเปล่ียนแปลง
หรอื ลบขอมูลขา วสารสวนบุคคล (มาตรา 35)
7.2 องคป ระกอบ
คณะกรรมการวินิจฉัยการเปดเผยขอมูลขาวสารคณะหน่ึง ๆ ประกอบดวยบุคคลตามความ
จำเปน แตตองไมนอยกวา 3 คน และใหขาราชการท่ีคณะกรรมการแตงตั้งปฏิบัติหนาท่ีเปนเลขานุการ
และผูชวยเลขานุการ (มาตรา 36)
8. การพจิ ารณาเก่ยี วกบั ขอ มูลขา วสารทีม่ คี ำสั่งมใิ หเ ปดเผย
8.1 คำสั่งมิใหเปดเผยขอมูลขาวสารของราชการจะกำหนดเงื่อนไขอยางใดก็ได แตตองระบุไว
ดวยวาที่เปดเผยไมไดเพราะเปนขอมูลขาวสารประเภทใดและเพราะเหตุใด และใหถือวาการมีคำสั่ง
เปดเผยขอมูลขาวสารของราชการเปนดุลพินิจ โดยเฉพาะของเจาหนาท่ีของรัฐตามลำดับสายการบังคับ
บญั ชา แตผขู ออาจอทุ ธรณต อ คณะกรรมการวินิจฉัยการเปดเผยขอ มลู ขาวสารได (มาตรา 15)
8.2 กรณีท่ีเจาหนาท่ีของรัฐเห็นวา การเปดเผยขอมูลขาวสารของราชการใดอาจกระทบถึง
ประโยชนไดเสียของผูใด ใหเจาหนาที่ของรัฐแจงใหผูนั้นเสนอคำคัดคานภายในเวลาที่กำหนด แตตองให
เวลาอันสมควรท่ีผูนั้นอาจเสนอคำคัดคานได ซ่ึงตองไมนอยกวา 15 วันนับแตวันท่ีไดรับแจง ผูที่ไดรับ
แจง หรือผูท่ีทราบวาการเปดเผยขอมูลขาวสารของราชการใดอาจกระทบถึงประโยชนไดเสียของตน มี
สิทธิคัดคานการเปดเผยขอมูลขาวสารนั้นไดโดยทำเปนหนังสือถึงเจาหนาที่ของรัฐผูรับผิดชอบ (มาตรา
17)

เตรยี มสอบ กกต. 2564

เตรยี มสอบพนักงาน สำนักงานคณะกรรมการการเลอื กตง้ั ชดุ ที่ 2 386

8.3 กรณีที่มีการคัดคาน เจาหนาท่ีของรัฐผูรับผิดชอบตองพิจารณาคำคัดคานและแจงผลการ
พิจารณาใหผูคัดคานทราบโดยไมชักชา ในกรณีที่มีคำส่ังไมรับฟงคำคัดคาน เจาหนาที่ของรัฐจะเปดเผย
ขอ มูลขาวสารนั้นมไิ ดจนกวาจะลว งพน กำหนดเวลาอุทธรณ (มาตรา 17)

8.4 กรณีที่เจาหนาที่ของรัฐมีคำสั่งมิใหเปดเผยขอมูลขาวสารใดตามมาตรา 14 ( ขอมูลขาวสาร
ของราชการที่อาจกอใหเกิดความเสียหายตอสถาบันพระมหากษัตริย) หรือมาตรา 15 (ขอมูลขาวสาร
ของราชการที่มีลกั ษณะที่หนวยงานของรัฐหรอื เจาหนาที่ของรัฐอาจมีคำสั่งมิใหเปดเผยก็ได) หรือมีคำส่ัง
ไมรับฟงคำคัดคานของผูมีประโยชนไดเสีย ผูนั้นอาจอุทธรณตอคณะกรรมการวินิจฉัยการเปดเผยขอมูล
ขาวสารภายใน 15 วันนับแตวันท่ีไดรับแจงคำสั่งน้ัน โดยยื่นคำอุทธรณตอคณะกรรมการขอมูลขาวสาร
ของราชการ (มาตรา 18)

8.5 คณะกรรมการขอมูลขาวสารของราชการตองพิจารณาสงคำอุทธรณใหคณะกรรมการ
วินิจฉัยการเปดเผยขอมูลขาวสาร โดยคำนึงถึงความเชี่ยวชาญเฉพาะดานของคณะกรรมการวินิจฉัยการ
เปด เผยขอมูลขา วสารแตล ะสาขาภายใน 7 วันนับแตว นั ท่ีไดรบั คำอุทธรณ (มาตรา 37)

8.6 การพิจารณาเก่ียวกับขอมูลขาวสารท่ีมีคำส่ังมิใหเปดเผยน้ันไมวาจะเปนการพิจารณาของ
คณะกรรมการขอมูลขาวสารของราชการ คณะกรรมการวินิจฉัยการเปดเผยขอมูลขาวสารหรือศาลก็
ตาม จะตองดำเนินกระบวนการพิจารณาโดยมิใหขอมูลขาวสารน้ันเปดเผยแกบุคคลอ่ืนใดที่ไมจำเปนแก
การพจิ ารณาและในกรณที ่ีจำเปนจะพจิ ารณาลบั หลงั คูก รณีหรอื คูความฝายใดกไ็ ด (มาตรา 19)

8.7 คณะกรรมการวินิจฉัยการเปดเผยขอ มูลขา วสารตอ งพิจารณาใหแลวเสรจ็ ภายใน 30 วันนับ
แตวันท่ีไดรับคำรองเรียน ในกรณีที่มีเหตุจำเปนใหขยายเวลาออกไปได แตตองแสดงเหตุผลและรวม
เวลาทัง้ หมดแลวตองไมเกิน 60 วนั (มาตรา 37 ประกอบมาตรา 13)

8.7 คำวินิจฉัยของคณะกรรมการวินิจฉัยการเปดเผยขอมูลขาวสารใหเปนที่สุด และในการมีคำ
วินิจฉัยจะมีขอสังเกตเสนอตอคณะกรรมการเพ่ือใหหนวยงานของรัฐท่ีเกี่ยวของปฏิบัติเกี่ยวกับกรณีใด
ตามทเ่ี ห็นสมควรก็ได

เตรียมสอบ กกต. 2564

เตรยี มสอบพนักงาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตง้ั ชดุ ที่ 2 387

พระราชบญั ญตั ิ
ขอมลู ขาวสารของราชการ

พ.ศ. 2540
ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร.
ใหไว ณ วันที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2540

เปนปท ี่ 52 ในรัชกาลปจจบุ ัน

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกลาฯ
ใหประกาศวา

โดยท่ีเปนการสมควรใหมีกฎหมายวา ดว ยขอ มลู ขา วสารของราชการ
จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหตราพระราชบัญญัติข้ึนไวโดยคำแนะนำและยินยอม
ของรัฐสภา ดังตอ ไปน้ี

มาตรา 1 พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ.

2540”

มาตรา 2 พระราชบญั ญัตนิ ี้ใหใชบังคับเมอ่ื พนกำหนด 90 วนั นับแตวันประกาศในราช

กจิ จานุเบกษาเปนตน ไป ประกาศราชกิจจานเุ บกษาเม่อื 10 กนั ยายน 2540

มาตรา 3 บรรดากฎหมาย กฎ ระเบียบ และขอบังคับอ่ืน ในสวนท่ีบัญญัติไวแลวใน

พระราชบญั ญัตนิ ้ี หรอื ซึ่งขดั หรือแยง กบั บทแหง พระราชบญั ญตั นิ ีใ้ หใชพ ระราชบัญญตั นิ ี้แทน

มาตรา 4 ในพระราชบัญญตั นิ ี้

“ขอมูลขาวสาร” หมายความวา สิ่งท่ีสื่อความหมายใหรูเรื่องราวขอเท็จจริง ขอมูล

หรอื สง่ิ ใด ๆ ไมวา การสื่อความหมายนนั้ จะทำไดโ ดยสภาพของสิง่ นั้นเองหรอื โดยผานวิธีการใด ๆ และไม

วาจะไดจัดทำไวในรูปของเอกสาร แฟม รายงาน หนังสือ แผนผัง แผนท่ี ภาพวาด ภาพถาย ฟลม การ

บันทึกภาพหรือเสียง การบนั ทกึ โดยเคร่ืองคอมพวิ เตอร หรือวธิ อี ่ืนใดท่ีทำใหส งิ่ ที่บันทึกไวปรากฏได

“ขอมูลขาวสารของราชการ” หมายความวา ขอมูลขาวสารที่อยูในความ
ครอบครองหรือควบคุมดูแลของหนวยงานของรัฐ ไมวาจะเปนขอ มูลขาวสารเก่ียวกบั การดำเนินงานของ
รฐั หรอื ขอ มลู ขาวสารเกี่ยวกบั เอกชน

“หนวยงานของรัฐ” หมายความวา ราชการสวนกลาง ราชการสวนภูมิภาค ราชการ
สวนทองถ่ิน รฐั วิสาหกิจ สว นราชการสังกัดรัฐสภา ศาลเฉพาะในสวนท่ีไมเกี่ยวกับการพิจารณาพพิ ากษา
คดี องคกรควบคุมการประกอบวิชาชีพ หนวยงานอิสระของรัฐและหนวยงานอื่นตามท่ีกำหนดใน
กฎกระทรวง

“เจาหนาทขี่ องรฐั ” หมายความวา ผูซ ึ่งปฏิบตั ิงานใหแ กห นว ยงานของรฐั

เตรยี มสอบ กกต

เตรียมสอบพนกั งาน สำนักงานคณะกรรมการการเลอื กต้งั ชุดท่ี 2 388

“ขอมูลขาวสารสวนบุคคล” หมายความวา ขอมูลขาวสารเกี่ยวกับสิ่งเฉพาะตัว
ของบุคคล เชน การศึกษา ฐานะการเงิน ประวัติสุขภาพ ประวัติอาชญากรรม หรือประวัติการทำงาน
บรรดาท่ีมชี ื่อของผูน้ันหรอื มีเลขหมาย รหัส หรือส่ิงบอกลักษณะอ่ืนท่ีทำใหรตู ัวผูนน้ั ได เชน ลายพมิ พนิ้ว
มือ แผนบันทึกลักษณะเสียงของคนหรือรูปถาย และใหหมายความรวมถึงขอมูลขาวสารเกี่ยวกับสิ่ง
เฉพาะตัวของผูท่ถี งึ แกกรรมแลวดว ย

“คณะกรรมการ” หมายความวา คณะกรรมการขอมูลขาวสารของราชการ
“คนตางดาว” หมายความวา บุคคลธรรมดาที่ไมมีสัญชาติไทยและไมมีถิ่นที่อยูใน
ประเทศไทยและนติ ิบุคคลดังตอ ไปนี้
(1) บริษัทหรือหางหุนสวนท่ีมีทุนเกินก่ึงหน่ึงเปนของคนตางดาว ใบหุนชนิดออกใหแก
ผถู ือ ใหถือวา ใบหุนน้ันคนตางดา วเปนผูถ ือ
(2) สมาคมทมี่ สี มาชกิ เกนิ กึ่งหนึ่งเปน คนตางดาว
(3) สมาคมหรอื มูลนิธิทมี่ ีวตั ถปุ ระสงคเ พื่อประโยชนข องคนตา งดาว
(4) นิติบุคคลตาม (1) (2) (3) หรือนิติบุคคลอ่ืนใดทีม่ ีผูจัดการหรอื กรรมการเกินกึง่ หน่ึง
เปน คนตา งดา ว
นิติบุคคลตามวรรคหน่ึง ถาเขาไปเปนผูจัดการหรือกรรมการ สมาชิก หรือมีทุนในนิติ
บคุ คลอืน่ ใหถ อื วาผจู ัดการหรอื กรรมการ หรือสมาชิก หรือเจา ของทนุ ดงั กลา วเปนคนตางดา ว
มาตรา 5 ใหนายกรัฐมนตรีรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และมีอำนาจออก
กฎกระทรวงเพอ่ื ปฏิบตั ติ ามพระราชบัญญตั ิน้ี
กฎกระทรวงน้ัน เมอื่ ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาแลวใหใชบ งั คบั ได
มาตรา 6 ใหจัดต้ังสำนักงานคณะกรรมการขอมูลขาวสารของราชการขึ้นใน
สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี มีหนาที่ปฏิบัติงานเก่ียวกับงานวิชาการและธุรการใหแก
คณะกรรมการและคณะกรรมการวินิจฉัยการเปดเผยขอมูลขาวสาร ประสานงานกับหนวยงานของรัฐ
และใหคำปรกึ ษาแกเ อกชนเก่ยี วกับการปฏบิ ัตติ ามพระราชบัญญัติน้ี

หมวด 1
การเปด เผยขอ มูลขาวสาร
มาตรา 7 หนวยงานของรัฐตองสงขอมูลขาวสารของราชการอยางนอย
ดังตอไปนี้ลงพิมพในราชกิจจานุเบกษา
(1) โครงสรา งและการจดั องคก รในการดำเนนิ งาน
(2) สรุปอำนาจหนา ท่ีท่ีสำคัญและวิธีการดำเนินงาน
(3) สถานทีต่ ดิ ตอเพื่อขอรับขอ มลู ขาวสารหรือคำแนะนำในการตดิ ตอ กบั หนวยงานของรฐั

เตรยี มสอบ กกต

เตรียมสอบพนกั งาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้งชุดท่ี 2 389

(4) กฎ มติคณะรัฐมนตรี ขอบังคับ คำส่ัง หนังสือเวียน ระเบียบ แบบแผน นโยบาย
หรือการตีความ ทั้งน้ี เฉพาะที่จัดใหมีข้ึนโดยมีสภาพอยางกฎ เพ่ือใหมีผลเปนการทั่วไปตอเอกชนที่
เกย่ี วขอ ง

(5) ขอ มลู ขา วสารอนื่ ตามที่คณะกรรมการกำหนด
ขอมูลขาวสารใดที่ไดมีการจัดพิมพเพ่ือใหแพรหลายตามจำนวนพอสมควรแลว ถามี
การลงพิมพในราชกิจจานุเบกษาโดยอางอิงถึงส่ิงพิมพน้ันก็ใหถือวาเปนการปฏิบัติตามบทบัญญัติวรรค
หนึง่ แลว
ใหห นวยงานของรัฐรวบรวมและจัดใหมีขอมูลขา วสารตามวรรคหนึง่ ไวเ ผยแพรเ พอื่ ขาย
หรอื จำหนา ยจายแจก ณ ทท่ี ำการของหนว ยงานของรัฐแหงน้นั ตามทเี่ หน็ สมควร
มาตรา 8 ขอมูลขาวสารท่ีตองลงพิมพตามมาตรา 7 (4) ถายังไมไดลงพิมพในราช
กิจจานุเบกษา จะนำมาใชบังคับในทางท่ีไมเปนคุณแกผูใดไมได เวนแตผูน้ันจะไดรูถึงขอมูลขาวสารน้ัน
ตามความเปนจรงิ มากอ นแลว เปนเวลาพอสมควร

มาตรา 9 ภายใตบังคับมาตรา 14 และมาตรา 15 หนวยงานของรัฐ
ตองจัดใหมีขอมูลขาวสารของราชการอยางนอยดังตอไปนี้ไวใหประชาชนเขาตรวจดูได ทั้งนี้ ตาม
หลักเกณฑแ ละวิธกี ารท่ีคณะกรรมการกำหนด

(1) ผลการพิจารณาหรือคำวินิจฉัยที่มีผลโดยตรงตอเอกชน รวมท้ังความเห็นแยงและ
คำส่งั ทเ่ี กย่ี วของในการพจิ ารณาวินิจฉยั ดังกลาว

(2) นโยบายหรอื การตีความท่ีไมเขาขายตองลงพิมพในราชกิจจานุเบกษาตามมาตรา 7
(4)

(3) แผนงาน โครงการ และงบประมาณรายจายประจำปของปท ี่กำลงั ดำเนนิ การ
(4) คูมือหรือคำส่ังเกี่ยวกับวิธีปฏิบัติงานของเจาหนาที่ของรัฐซ่ึงมีผลกระทบถึงสิทธิ
หนาทข่ี องเอกชน
(5) สิง่ พมิ พทไ่ี ดม ีการอา งองิ ถึงตามมาตรา 7 วรรคสอง
(6) สัญญาสัมปทาน สัญญาที่มีลักษณะเปนการผูกขาดตัดตอนหรือสัญญารวมทุนกับ
เอกชนในการจัดทำบรกิ ารสาธารณะ
(7) มติคณะรัฐมนตรี หรือมติคณะกรรมการที่แตงต้ังโดยกฎหมาย หรือโดยมติ
คณะรัฐมนตรี ท้ังนี้ ใหร ะบุรายช่ือรายงานทางวชิ าการ รายงานขอเท็จจรงิ หรือขอมูลขาวสารที่นำมาใช
ในการพจิ ารณาไวดว ย
(8) ขอ มูลขา วสารอ่ืนตามทคี่ ณะกรรมการกำหนด
ขอมูลขาวสารที่จัดใหประชาชนเขาตรวจดูไดตามวรรคหน่ึง ถามีสวนที่ตองหามมิให
เปดเผยตามมาตรา 14 หรือมาตรา 15 อยูดวย ใหลบหรือตัดทอนหรือทำโดยประการอ่ืนใดที่ไมเปนการ
เปด เผยขอมลู ขาวสารสว นน้ัน

เตรยี มสอบ กกต

เตรียมสอบพนักงาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลือกต้งั ชุดที่ 2 390

บุคคลไมวาจะมีสวนไดเสียเก่ียวของหรือไมก็ตาม ยอมมีสิทธิเขาตรวจดู ขอ
สำเนาหรือขอสำเนาท่ีมีคำรับรองถูกตองของขอมูลขาวสารตามวรรคหนึ่งได ในกรณีที่สมควรหนวยงาน
ของรฐั โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ จะวางหลักเกณฑเ รยี กคาธรรมเนียมในการนนั้ ก็ได ในการนี้
ใหคำนึงถึงการชวยเหลือผูมีรายไดนอยประกอบดวย ทั้งน้ี เวนแตจะมีกฎหมายเฉพาะบัญญัติไวเปน
อยา งอืน่

คนตา งดาวจะมสี ทิ ธติ ามมาตราน้เี พียงใดใหเปนไปตามทกี่ ำหนดโดยกฎกระทรวง
มาตรา 10 บทบัญญัติมาตรา 7 และมาตรา 9 ไมกระทบถึงขอมูลขาวสารของราชการ
ท่มี ีกฎหมายเฉพาะกำหนดใหมีการเผยแพรห รือเปด เผย ดว ยวธิ ีการอยา งอนื่
มาตรา 11 นอกจากขอ มูลขา วสารของราชการท่ลี งพิมพใ นราชกิจจานุเบกษาแลวหรือ
ท่ีจัดไวใหประชาชนเขาตรวจดูไดแลวหรือที่มีการจัดใหประชาชนไดคนควาตามมาตรา 26 แลว ถา
บุคคลใดขอขอมูลขาวสารอื่นใดของราชการและคำขอของผูนน้ั ระบุขอมลู ขาวสารที่ตอ งการในลักษณะท่ี
อาจเขาใจไดตามควร ใหหนวยงานของรัฐผูรับผิดชอบจัดหาขอมูลขาวสารน้ันใหแกผูขอภายในเวลาอัน
สมควร เวนแตผ ูนนั้ ขอจำนวนมากหรือบอ ยครงั้ โดยไมมีเหตผุ ลอันสมควร
ขอมูลขาวสารของราชการใดมีสภาพท่ีอาจบุบสลายงาย หนวยงานของรัฐจะขอขยาย
เวลาในการจัดหาใหหรอื จะจัดทำสำเนาใหในสภาพอยางหน่ึงอยางใดเพอ่ื มิใหเกิดความเสียหายแกขอ มูล
ขา วสารน้ันกไ็ ด
ขอมูลขาวสารของราชการท่ีหนวยงานของรัฐจัดหาใหตามวรรคหนึ่งตองเปนขอมูล
ขาวสารท่ีมีอยูแลวในสภาพที่พรอมจะใหได มิใชเปนการตองไปจัดทำ วิเคราะห จำแนก รวบรวม หรือ
จัดใหมีขึ้นใหม เวนแตเปนการแปรสภาพเปนเอกสารจากขอมูลขาวสารท่ีบันทึกไวในระบบการ
บันทึกภาพหรือเสียง ระบบคอมพิวเตอร หรือระบบอ่ืนใด ท้ังนี้ ตามที่คณะกรรมการกำหนด แตถา
หนวยงานของรัฐเห็นวากรณีท่ีขอน้ันมิใชการแสวงหาผลประโยชนทางการคา และเปนเร่ืองที่จำเปนเพื่อ
ปกปอ งสทิ ธิเสรีภาพสำหรับผูนนั้ หรือเปนเรือ่ งที่จะเปน ประโยชนแ กส าธารณะ หนวยงานของรัฐจะจัดหา
ขอมูลขาวสารนั้นใหก ไ็ ด
บทบัญญัติวรรคสามไมเปนการหามหนวยงานของรัฐท่ีจะจัดใหมีขอมูลขาวสารของ
ราชการใดข้ึนใหมใหแกผูรองขอหากเปนการสอดคลองดวยอำนาจหนาท่ีตามปกติของหนวยงานของรัฐ
น้นั อยูแ ลว
ใหนำความในมาตรา 9 วรรคสอง วรรคสาม และวรรคส่ี มาใชบังคับแกการจัดหา
ขอ มูลขา วสารใหต ามมาตราน้ี โดยอนโุ ลม
มาตรา 12 ในกรณีที่มีผูยื่นคำขอขอมูลขาวสารของราชการตามมาตรา 11 แมวา
ขอมูลขาวสารท่ีขอจะอยูในความควบคุมดูแลของหนวยงานสวนกลางหรือสวนสาขาของหนวยงานแหง
น้ัน หรือจะอยูในความควบคุมดูแลของหนวยงานของรัฐแหงอื่นก็ตาม ใหหนวยงานของรัฐท่ีรับคำขอให
คำแนะนำเพอ่ื ไปยืน่ คำขอตอหนวยงานของรฐั ทีค่ วบคุมดแู ลขอมูลขาวสารนนั้ โดยไมชักชา

เตรยี มสอบ กกต

เตรยี มสอบพนกั งาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลือกต้งั ชุดท่ี 2 391

ถาหนวยงานของรัฐผูรับคำขอเห็นวาขอมูลขาวสารที่มีคำขอเปนขอมูลขาวสารท่ีจัดทำ
โดยหนวยงานของรัฐแหงอ่ืน และไดระบุหามการเปดเผยไวตามระเบียบที่กำหนดตามมาตรา 16 ใหสง
คำขอนั้นใหหนวยงานของรฐั ผูจัดทำขอ มลู ขาวสารนัน้ พจิ ารณาเพ่ือมคี ำสง่ั ตอไป

มาตรา 13 ผูใดเห็นวาหนวยงานของรัฐไมจัดพิมพขอมูลขาวสารตามมาตรา 7 หรือไม
จัดขอมูลขาวสารไวใหประชาชนตรวจดูไดตามมาตรา ๙ หรือไมจัดหาขอมูลขาวสารใหแกตนตามมาตรา
11 หรือฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามพระราชบัญญัติน้ี หรือปฏิบัติหนาที่ลาชา หรือเห็นวาตนไมไดรับความ
สะดวกโดยไมมีเหตุอันสมควร ผูน้ันมีสิทธิรองเรียนตอคณะกรรมการ เวนแตเปนเรื่องเกี่ยวกับการมี
คำสงั่ มใิ หเปด เผยขอมูลขาวสารตามมาตรา 15 หรือคำส่ังไมรับฟงคำคัดคา นตามมาตรา 17 หรอื คำสั่งไม
แกไ ขเปลย่ี นแปลงหรอื ลบขอ มลู ขา วสารสวนบคุ คลตามมาตรา 25

ในกรณีท่ีมีการรองเรียนตอคณะกรรมการตามวรรคหนึ่ง คณะกรรมการตองพิจารณา
ใหแลวเสร็จภายในสามสิบวันนับแตวันท่ีไดรับคำรองเรียน ในกรณีที่มีเหตุจำเปนใหขยายเวลาออกไปได
แตตอ งแสดงเหตผุ ลและรวมเวลาท้ังหมดแลวตอ งไมเกนิ หกสิบวนั

หมวด 2
ขอ มลู ขา วสารทไ่ี มตอ งเปดเผย

มาตรา 14 ขอมูลขาวสารของราชการที่อาจกอใหเกิดความเสียหายตอ
สถาบันพระมหากษตั รยิ จ ะเปด เผยมิได

มาตรา 15 ขอมูลขาวสารของราชการท่ีมีลักษณะอยางหน่ึงอยางใด
ดังตอไปน้ี หนวยงานของรัฐหรือเจาหนาที่ของรัฐอาจมีคำสั่งมิใหเปดเผยก็ได โดยคำนึงถึงการปฏิบัติ
หนาที่ตามกฎหมายของหนวยงานของรัฐ ประโยชนสาธารณะ และประโยชนของเอกชนที่เกี่ยวของ
ประกอบกัน

(1) การเปดเผยจะกอใหเกิดความเสียหายตอความมั่นคงของประเทศ ความสัมพันธ
ระหวา งประเทศ หรอื ความมัน่ คงในทางเศรษฐกจิ หรือการคลังของประเทศ

(2) การเปดเผยจะทำใหการบังคับใชกฎหมายเส่ือมประสิทธิภาพ หรือไมอาจสำเร็จ
ตามวัตถุประสงคได ไมวาจะเกี่ยวกับการฟองคดี การปองกัน การปราบปราม การทดสอบ
การตรวจสอบ หรือการรูแหลงที่มาของขอมูลขา วสารหรือไมก็ตาม

(3) ความเห็นหรือคำแนะนำภายในหนวยงานของรัฐในการดำเนินการเรื่องหน่ึง
เร่ืองใด แตท้ังน้ี ไมรวมถึงรายงานทางวิชาการ รายงานขอเท็จจริง หรือขอมูลขาวสารท่ีนำมาใชในการ
ทำความเหน็ หรือคำแนะนำภายในดังกลา ว

(4) การเปด เผยจะกอใหเ กดิ อนั ตรายตอชวี ติ หรอื ความปลอดภัยของบุคคลหน่งึ บุคคลใด
(5) รายงานการแพทยหรือขอมูลขาวสารสวนบุคคลซึ่งการเปดเผยจะเปนการรุกล้ำ
สิทธิสว นบคุ คลโดยไมสมควร

เตรียมสอบ กกต

เตรียมสอบพนกั งาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลอื กตง้ั ชุดท่ี 2 392

(6) ขอมูลขาวสารของราชการท่ีมีกฎหมายคุมครองมิใหเปดเผย หรือขอมูลขาวสารที่มี
ผใู หม าโดยไมป ระสงคใ หท างราชการนำไปเปด เผยตอ ผูอ่ืน

(7) กรณอี ืน่ ตามทีก่ ำหนดในพระราชกฤษฎีกา

คำส่ังมิใหเปดเผยขอมูลขาวสารของราชการจะกำหนดเงื่อนไขอยางใดก็ได แต
ตอ งระบุไวด ว ยวา ท่ีเปดเผยไมไดเ พราะเปน ขอ มูลขาวสารประเภทใดและเพราะเหตุใด และใหถ ือวาการมี
คำสั่งเปดเผยขอมูลขาวสารของราชการเปนดุลพินิจ โดยเฉพาะของเจาหนาที่ของรัฐตามลำดับสายการ
บังคับบัญชา แตผูขออาจอุทธรณตอคณะกรรมการวินิจฉัยการเปดเผยขอมูลขาวสารไดตามที่กำหนดใน
พระราชบญั ญัตนิ ี้

มาตรา 16 เพ่ือใหเกิดความชัดเจนในทางปฏิบัติวาขอมูลขาวสารของราชการจะ
เปดเผยตอบุคคลใดไดหรือไมภายใตเง่ือนไขเชนใด และสมควรมีวิธีรักษามิใหร่ัวไหลใหหนวยงานของรัฐ
กำหนดวิธีการคุมครองขอมูลขาวสารนั้น ท้ังนี้ ตามระเบียบท่ีคณะรัฐมนตรีกำหนดวาดวยการรักษา
ความลบั ของทางราชการ

มาตรา 17 ในกรณีที่เจาหนาท่ีของรัฐเห็นวา การเปดเผยขอมูลขาวสารของราชการใด
อาจกระทบถึงประโยชนไดเสียของผูใด ใหเจาหนาท่ีของรัฐแจงใหผูน้ันเสนอคำคัดคานภายในเวลาที่
กำหนด แตตองใหเวลาอันสมควรท่ีผูน้ันอาจเสนอคำคัดคานได ซึ่งตองไมนอยกวา 15 วันนับแตวันท่ี
ไดร บั แจง

ผูที่ไดรับแจงตามวรรคหน่ึง หรือผูท่ีทราบวาการเปดเผยขอมูลขาวสารของราชการใด
อาจกระทบถึงประโยชนไดเสียของตน มีสิทธิคัดคานการเปดเผยขอมูลขาวสารนั้นไดโดยทำเปนหนังสือ
ถงึ เจาหนาท่ีของรัฐผูร ับผิดชอบ

ในกรณีที่มีการคัดคาน เจาหนาท่ีของรัฐผูรับผิดชอบตองพิจารณาคำคัดคานและแจง
ผลการพิจารณาใหผูคัดคานทราบโดยไมชักชา ในกรณีที่มีคำสั่งไมรับฟงคำคัดคาน เจาหนาท่ีของรัฐจะ
เปดเผยขอมูลขาวสารน้ันมิไดจนกวาจะลวงพนกำหนดเวลาอุทธรณตามมาตรา 18 หรือจนกวา
คณะกรรมการวินิจฉัยการเปดเผยขอมูลขาวสารไดมีคำวินิจฉัยใหเปดเผยขอมูลขาวสารน้ันได แลวแต
กรณี

มาตรา 18 ในกรณีที่เจาหนาที่ของรัฐมีคำสั่งมิใหเปดเผยขอมูล
ขาวสารใดตามมาตรา 14 หรือมาตรา 15 หรือมีคำสั่งไมรับฟงคำคัดคานของผูมีประโยชนไดเสีย
ตามมาตรา 17 ผูนั้นอาจอุทธรณตอคณะกรรมการวินิจฉัยการเปดเผยขอมูลขาวสารภายใน 15
วันนับแตวันที่ไดรับแจงคำสั่งนั้น โดยยื่นคำอุทธรณตอคณะกรรมการ (คณะกรรมการขอมูลขาวสาร
ของราชการ)

มาตรา 19 การพิจารณาเกี่ยวกับขอมูลขาวสารที่มีคำสั่งมิใหเปดเผยนั้นไมวาจะเปน
การพิจารณาของคณะกรรมการ คณะกรรมการวินิจฉัยการเปดเผยขอมูลขาวสารหรือศาลก็ตาม จะตอง

เตรียมสอบ กกต

เตรียมสอบพนักงาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลอื กต้ังชุดที่ 2 393

ดำเนินกระบวนการพจิ ารณาโดยมใิ หขอ มูลขา วสารนน้ั เปดเผยแกบุคคลอ่ืนใดทไี่ มจ ำเปน แกก ารพจิ ารณา
และในกรณที จ่ี ำเปน จะพิจารณาลับหลังคกู รณหี รอื คคู วามฝา ยใดกไ็ ด

มาตรา 20 การเปดเผยขอมูลขาวสารใดแมจะเขาขายตองมีความรับผิดตามกฎหมาย
ใด ใหถือวาเจาหนาที่ของรฐั ไมต องรบั ผิดหากเปนการกระทำโดยสจุ รติ ในกรณีดงั ตอไปนี้

(1) ขอมูลขาวสารตามมาตรา 15 ถาเจาหนาท่ีของรัฐไดดำเนินการโดยถูกตองตาม
ระเบียบตามมาตรา 16

(2) ขอมูลขาวสารตามมาตรา 15 ถาเจาหนาท่ีของรัฐในระดับตามที่กำหนดใน
กฎกระทรวง มีคำสั่งใหเปดเผยเปนการท่ัวไปหรือเฉพาะแกบุคคลใดเพ่ือประโยชนอันสำคัญย่ิงกวาที่
เกี่ยวกับประโยชนสาธารณะ หรือชีวิต รางกาย สุขภาพ หรือประโยชนอ่ืนของบุคคล และคำส่ังน้ันได
กระทำโดยสมควรแกเหตุ ในการน้ีจะมีการกำหนดขอจำกัดหรือเงื่อนไขในการใชขอมูลขาวสารน้ันตาม
ความเหมาะสมก็ได

การเปดเผยขอ มูลขาวสารตามวรรคหน่ึงไมเปน เหตุใหหนวยงานของรัฐพนจากความรับ
ผดิ ตามกฎหมายหากจะพงึ มใี นกรณีดังกลา ว

หมวด 3
ขอ มูลขา วสารสวนบคุ คล

มาตรา 21 เพ่ือประโยชนแหงหมวดน้ี “บุคคล” หมายความวา บุคคลธรรมดาที่
มีสญั ชาติไทยและบคุ คลธรรมดาทไ่ี มม ีสญั ชาตไิ ทยแตมถี น่ิ ท่อี ยูในประเทศไทย

มาตรา 22 สำนักขาวกรองแหงชาติ สำนักงานสภาความม่ันคงแหงชาติ และ
หนวยงานของรัฐแหงอื่นตามท่ีกำหนดในกฎกระทรวง อาจออกระเบียบโดยความเห็นชอบของ
คณะกรรมการ กำหนดหลักเกณฑ วิธีการ และเง่ือนไขที่มิใหนำบทบัญญัติวรรคหน่ึง (3) ของมาตรา 23
มาใชบ งั คบั กับขอมูลขาวสารสว นบคุ คลที่อยูในความควบคุมดูแลของหนวยงานดงั กลาวก็ได

หนวยงานของรัฐแหงอ่ืนท่ีจะกำหนดในกฎกระทรวงตามวรรคหน่ึงนั้น ตองเปน
หนวยงานของรัฐ ซึ่งการเปดเผยประเภทขอมูลขาวสารสวนบุคคลตามมาตรา 23 วรรคหน่ึง (3) จะเปน
อปุ สรรครายแรงตอ การดำเนินการของหนวยงานดังกลาว

มาตรา 23 หนวยงานของรัฐตองปฏิบัติเก่ียวกับการจัดระบบขอมูลขาวสารสวนบุคคล
ดังตอ ไปนี้

(1) ตองจัดใหมีระบบขอมูลขาวสารสวนบุคคลเพียงเทาท่ีเก่ียวของและจำเปนเพื่อการ
ดำเนินงานของหนวยงานของรัฐใหสำเร็จตามวัตถุประสงคเทานั้น และยกเลิกการจัดใหมีระบบดังกลาว
เมือ่ หมดความจำเปน

(2) พยายามเก็บขอมูลขาวสารโดยตรงจากเจาของขอมูล โดยเฉพาะอยางยิ่งในกรณีที่
จะกระทบถึงประโยชนไ ดเ สยี โดยตรงของบุคคลน้ัน

เตรยี มสอบ กกต

เตรยี มสอบพนักงาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลือกตัง้ ชุดท่ี 2 394

(3) จัดใหมีการพิมพในราชกิจจานุเบกษาและตรวจสอบแกไขใหถูกตองอยูเสมอ
เกย่ี วกบั สง่ิ ดังตอ ไปนี้

(ก) ประเภทของบคุ คลที่มีการเก็บขอมูลไว
(ข) ประเภทของระบบขอมลู ขาวสารสวนบุคคล
(ค) ลักษณะการใชข อ มูลตามปกติ
(ง) วิธีการขอตรวจดขู อมูลขาวสารของเจา ของขอ มูล
(จ) วิธีการขอใหแ กไ ขเปล่ยี นแปลงขอมูล
(ฉ) แหลง ทม่ี าของขอ มลู
(4) ตรวจสอบแกไขขอ มูลขาวสารสวนบคุ คลในความรับผิดชอบใหถูกตองอยเู สมอ
(5) จัดระบบรักษาความปลอดภัยใหแกระบบขอมูลขาวสารสวนบุคคลตามความ
เหมาะสม เพือ่ ปอ งกนั มใิ หม กี ารนำไปใชโ ดยไมเหมาะสมหรอื เปน ผลรายตอ เจา ของขอ มูล
ในกรณีที่เก็บขอมูลขาวสารโดยตรงจากเจาของขอมูล หนวยงานของรัฐตองแจงให
เจาของขอมูลทราบลวงหนาหรือพรอมกับการขอขอมูลถึงวัตถุประสงคที่จะนำขอมูลมาใช ลักษณะการ
ใชขอมูลตามปกติ และกรณีท่ีขอขอมูลน้ันเปนกรณีท่ีอาจใหขอมูลไดโดยความสมัครใจหรือเปนกรณีมี
กฎหมายบงั คับ
หนวยงานของรัฐตองแจงใหเจาของขอมูลทราบในกรณีมีการใหจัดสงขอมูลขาวสาร
สว นบคุ คลไปยงั ทใ่ี ดซง่ึ จะเปนผลใหบ ุคคลทว่ั ไปทราบขอ มลู ขา วสารนน้ั ได เวน แตเปน ไปตามลักษณะการ
ใชข อ มลู ตามปกติ
มาตรา 24 หนวยงานของรัฐจะเปดเผยขอมูลขาวสารสวนบุคคลที่อยูในความ
ควบคุมดูแลของตนตอหนวยงานของรัฐแหงอ่ืนหรือผูอ่ืน โดยปราศจากความยินยอมเปนหนังสือของ
เจา ของขอมูลทใี่ หไวล วงหนา หรอื ในขณะน้นั มิได เวนแตเปนการเปด เผย ดงั ตอ ไปน้ี
(1) ตอเจาหนาที่ของรัฐในหนวยงานของตนเพ่ือการนำไปใชตามอำนาจหนาที่ของ
หนว ยงานของรัฐแหง นน้ั
(2) เปนการใชขอมูลตามปกติภายในวัตถุประสงคของการจัดใหมีระบบขอมูลขาวสาร
สว นบุคคลน้นั
(3) ตอ หนวยงานของรัฐท่ีทำงานดานการวางแผนหรอื การสถติ ิหรอื สำมะโนตาง ๆ ซึ่งมี
หนา ทตี่ องรักษาขอ มูลขาวสารสวนบุคคลไวไ มใหเ ปด เผยตอไปยังผูอ่ืน
(4) เปนการใหเพ่ือประโยชนในการศึกษาวิจัยโดยไมระบุชื่อหรือสวนท่ีทำใหรูวาเปน
ขอมูลขา วสารสว นบุคคลทีเ่ กีย่ วกับบุคคลใด
(5) ตอหอจดหมายเหตุแหงชาติ กรมศิลปากร หรือหนวยงานอ่ืนของรัฐตามมาตรา 26
วรรคหนึ่ง เพ่ือการตรวจดคู ณุ คา ในการเกบ็ รกั ษา
(6) ตอเจาหนาที่ของรัฐเพ่ือการปองกันการฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามกฎหมาย การ
สืบสวน การสอบสวน หรือการฟอ งคดี ไมวาเปนคดปี ระเภทใดกต็ าม

เตรยี มสอบ กกต

เตรยี มสอบพนักงาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้งชดุ ท่ี 2 395

(7) เปนการใหซึ่งจำเปนเพื่อการปองกันหรือระงับอันตรายตอชีวิตหรือสุขภาพของ
บคุ คล

(8) ตอศาล และเจาหนาที่ของรัฐหรือหนวยงานของรัฐหรือบุคคลที่มีอำนาจตาม
กฎหมายที่จะขอขอ เทจ็ จรงิ ดงั กลา ว

(9) กรณีอื่นตามทกี่ ำหนดในพระราชกฤษฎกี า
การเปดเผยขอมูลขาวสารสวนบุคคลตามวรรคหนึ่ง (3) (4) (5) (6) (7) (8) และ (9) ให
มีการจัดทำบัญชีแสดงการเปดเผยกำกับไวกับขอมูลขาวสารน้ัน ตามหลักเกณฑและวิธีการท่ีกำหนดใน
กฎกระทรวง

มาตรา 25 ภายใตบังคับมาตรา 14 และมาตรา 15 บุคคลยอมมีสิทธิท่ีจะไดรูถึง
ขอมูลขาวสารสวนบุคคลท่ีเกี่ยวกับตน และเม่ือบุคคลนั้นมีคำขอเปนหนังสือ หนวยงานของรัฐที่
ควบคุมดูแลขอมูลขาวสารนั้นจะตองใหบุคคลนั้นหรือผูกระทำการแทนบุคคลนั้นไดตรวจดูหรือไดรับ
สำเนาขอมูลขา วสารสวนบคุ คลสว นที่เก่ียวกับบุคคลน้ัน และใหนำมาตรา 9 วรรคสอง และวรรคสาม มา
ใชบงั คับโดยอนโุ ลม

การเปด เผยรายงานการแพทยที่เก่ียวกับบุคคลใด ถากรณีมีเหตุอันควรเจาหนาท่ีของ
รัฐจะเปดเผยตอ เฉพาะแพทยท บี่ ุคคลนน้ั มอบหมายก็ได

ถาบคุ คลใดเหน็ วาขอมลู ขา วสารสวนบคุ คลทเ่ี ก่ยี วกับตนสว นใดไมถ ูกตองตามทเ่ี ปน
จรงิ ใหม สี ิทธิยนื่ คำขอเปนหนังสือใหห นว ยงานของรัฐทคี่ วบคุมดแู ลขอมูลขา วสารแกไ ขเปล่ยี นแปลงหรือ
ลบขอมูลขาวสารสวนนั้นได ซ่ึงหนวยงานของรัฐจะตองพิจารณาคำขอดังกลาว และแจงใหบุคคลน้ัน
ทราบโดยไมช ักชา

ในกรณีท่ีหนวยงานของรัฐไมแกไขเปล่ียนแปลงหรือลบขอมูลขาวสารใหตรงตามท่ีมีคำ
ขอ ใหผูน้ันมีสิทธิอุทธรณตอคณะกรรมการวินิจฉัยการเปดเผยขอมูลขาวสารภายใน 30 วันนับแตวัน
ไดรับแจงคำส่ังไมยินยอมแกไขเปล่ียนแปลงหรือลบขอมูลขาวสาร โดยยื่นคำอุทธรณตอคณะกรรมการ
(คณะกรรมการขอมูลขาวสารของราชการ)และไมวากรณีใด ๆ ใหเจาของขอมูลมีสิทธิรองขอให
หนว ยงานของรัฐหมายเหตคุ ำขอของตนแนบไวกบั ขอ มูลขาวสารสว นท่ีเกี่ยวของได

ใหบุคคลตามท่ีกำหนดในกฎกระทรวงมสี ทิ ธิดำเนินการตามมาตรา 23 มาตรา 24 และ
มาตรานี้แทนผูเยาว คนไรความสามารถ คนเสมือนไรความสามารถ หรือเจาของขอมูลที่ถึงแกกรรมแลว
ได

หมวด 4
เอกสารประวตั ศิ าสตร

มาตรา 26 ขอมูลขาวสารของราชการท่ีหนวยงานของรัฐไมประสงค
จะเก็บรักษาหรือมีอายุครบกำหนดตามวรรคสองนับแตวันที่เสร็จสิ้นการจัดใหมีขอมูลขาวสารนั้น ให

เตรียมสอบ กกต

เตรยี มสอบพนักงาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลอื กตัง้ ชุดที่ 2 396

หนวยงานของรัฐสงมอบใหแกหอจดหมายเหตุแหงชาติ กรมศิลปากรหรือหนวยงานอื่นของรัฐตามท่ี
กำหนดในพระราชกฤษฎีกา เพือ่ คดั เลือกไวใ หประชาชนไดศกึ ษาคนควา

กำหนดเวลาตองสงขอมลู ขา วสารของราชการตามวรรคหนง่ึ ใหแยกตามประเภท ดังนี้
(1) ขอ มลู ขา วสารของราชการตามมาตรา 14 เมื่อครบ 75 ป
(2) ขอมูลขา วสารของราชการตามมาตรา 15 เม่ือครบ 20 ป
กำหนดเวลาตามวรรคสอง อาจขยายออกไปไดในกรณีดังตอไปนี้
(1) หนวยงานของรัฐยังจำเปนตองเก็บรักษาขอมูลขาวสารของราชการไวเองเพื่อ
ประโยชนในการใชสอย โดยตองจัดเก็บและจัดใหประชาชนไดศึกษาคนควาตามท่ีจะตกลงกับหอ
จดหมายเหตแุ หง ชาติ กรมศลิ ปากร
(2) หนว ยงานของรฐั เหน็ วา ขอ มลู ขา วสารของราชการน้ัน ยังไมค วรเปด เผยโดยมีคำส่ัง
ขยายเวลากำกับไวเปนการเฉพาะราย คำส่ังการขยายเวลาน้ันใหกำหนดระยะเวลาไวดวย แตจะกำหนด
เกินคราวละ 5 ปไ มได
การตรวจสอบหรือทบทวนมิใหมีการขยายระยะเวลาไมเปดเผยจนเกินความจำเปนให
เปนไปตามหลกั เกณฑและวิธกี ารทกี่ ำหนดในกฎกระทรวง
บทบัญญัติตามมาตรานี้มิใหใชบังคับกับขอมูลขาวสารของราชการตามที่คณะรัฐมนตรี
ออกระเบียบกำหนดใหห นว ยงานของรฐั หรือเจาหนาท่ีของรฐั จะตองทำลายหรอื อาจทำลายไดโดยไมตอ ง
เกบ็ รกั ษา

หมวด 5
คณะกรรมการขอ มลู ขา วสารของราชการ

มาตรา 27 ใหมีคณะกรรมการขอมูลขาวสารของราชการ ประกอบดวยรัฐมนตรี
ซ่ึงนายกรัฐมนตรีมอบหมายเปนประธาน ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี ปลัดกระทรวงกลาโหม
ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ ปลัดกระทรวงการคลัง ปลดั กระทรวงการตางประเทศ ปลัดกระทรวง
มหาดไทย ปลัดกระทรวงพาณิชย เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา เลขาธิการคณะกรรมการ
ขา ราชการพลเรือน เลขาธิการสภาความมั่นคงแหงชาติ เลขาธิการสภาผูแ ทนราษฎร ผูอำนวยการสำนัก
ขาวกรองแหงชาติ ผูอำนวยการสำนักงบประมาณ และผูทรงคุณวุฒิอ่ืนจากภาครัฐและภาคเอกชน ซ่ึง
คณะรฐั มนตรแี ตง ตง้ั อกี 9 คนเปนกรรมการ

ใหปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีแตงตั้งขาราชการของสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี
คนหนึ่งเปน เลขานกุ าร และอีกสองคนเปนผูชวยเลขานุการ

มาตรา 28 คณะกรรมการมอี ำนาจหนาที่ ดังตอ ไปนี้
(1) สอดสองดูแลและใหคำแนะนำเกี่ยวกับการดำเนินงานของเจาหนาท่ีของรัฐและ
หนว ยงานของรัฐในการปฏิบตั ติ ามพระราชบัญญตั นิ ี้

เตรียมสอบ กกต

เตรยี มสอบพนกั งาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลอื กต้งั ชุดที่ 2 397

(2) ใหคำปรึกษาแกเจาหนาที่ของรัฐหรือหนวยงานของรัฐเก่ียวกับการปฏิบัติตาม
พระราชบญั ญตั นิ ้ี ตามที่ไดร ับคำขอ

(3) เสนอแนะในการตราพระราชกฤษฎีกาและการออกกฎกระทรวงหรือระเบียบของ
คณะรัฐมนตรีตามพระราชบญั ญัติน้ี

(4) พจิ ารณาและใหค วามเห็นเร่ืองรองเรียนตามมาตรา 13
(5) จัดทำรายงานเก่ียวกับการปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้เสนอคณะรัฐมนตรีเปนครั้ง
คราวตามความเหมาะสม แตอยางนอ ยปล ะหนึง่ ครั้ง
(6) ปฏบิ ัตหิ นา ท่อี ืน่ ตามทก่ี ำหนดในพระราชบัญญตั นิ ้ี
(7) ดำเนนิ การเรอ่ื งอน่ื ตามท่ีคณะรฐั มนตรหี รอื นายกรฐั มนตรมี อบหมาย
มาตรา 29 กรรมการผทู รงคุณวุฒิซง่ึ ไดรับแตง ตั้งตามมาตรา 27 มวี าระอยใู นตำแหนง
คราวละ 3 ปน ับแตวนั ทไี่ ดรบั แตงตง้ั ผูทีพ่ นจากตำแหนงแลวอาจไดร ับแตง ต้งั ใหมได
มาตรา 30 นอกจากการพนจากตำแหนงตามวาระ กรรมการผูทรงคุณวุฒิซึ่งไดรับ
แตง ต้ังตามมาตรา 27 พนจากตำแหนง เม่ือ
(1) ตาย
(2) ลาออก
(3) คณะรัฐมนตรีใหออกเพราะมีความประพฤติเส่ือมเสีย บกพรอง หรือไมสุจริตตอ
หนาทหี่ รือหยอนความสามารถ
(4) เปนบุคคลลม ละลาย
(5) เปนคนไรความสามารถหรอื คนเสมอื นไรค วามสามารถ
(6) ไดรับโทษจำคุกโดยคำพิพากษาถึงท่ีสุดใหจำคุก เวนแตเปนโทษสำหรับความผิดท่ี
ไดกระทำโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ
มาตรา 31 การประชุมของคณะกรรมการตองมีกรรมการมาประชุมไมนอยกวาก่ึงหนึ่งของ
จำนวนกรรมการท้ังหมดจึงจะเปนองคประชุม
ใหประธานกรรมการเปนประธานในท่ีประชุม ถาประธานกรรมการไมมาประชุม
หรือไมอ าจปฏบิ ัติหนา ทีไ่ ด ใหก รรมการท่ีมาประชุมเลือกกรรมการคนหนึ่งเปน ประธานในทีป่ ระชมุ
การวินิจฉัยชี้ขาดของที่ประชุมใหถือเสียงขางมาก กรรมการคนหนึ่งใหมีเสียงหนึ่ง
ในการลงคะแนน ถาคะแนนเสียงเทากัน ใหประธานในท่ีประชุมออกเสียงเพิ่มข้ึนอีกเสียงหนึ่งเปนเสียง
ช้ีขาด
มาตรา 32 ใหคณะกรรมการมีอำนาจเรียกใหบุคคลใดมาใหถอยคำหรือใหสงวัตถุ
เอกสาร หรือพยานหลักฐานมาประกอบการพจิ ารณาได
มาตรา 33 ในกรณีที่หนวยงานของรัฐปฏิเสธวาไมมีขอมูลขาวสารตามท่ีมีคำขอไมวาจะ
เปนกรณีตามมาตรา 11 หรือมาตรา 25 ถาผูมีคำขอไมเช่ือวาเปนความจริงและรองเรียนตอ

เตรยี มสอบ กกต


Click to View FlipBook Version