The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

130024_เพจ-เตรียมสอบ-กกต.64-ชุดที่-2-สงวนลิขสิทธิ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pratheerapong2519, 2021-03-22 22:15:35

130024_เพจ-เตรียมสอบ-กกต.64-ชุดที่-2-สงวนลิขสิทธิ์

130024_เพจ-เตรียมสอบ-กกต.64-ชุดที่-2-สงวนลิขสิทธิ์

เตรยี มสอบพนกั งาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลอื กตง้ั ชุดที่ 2 298

(7) เคยไดรับโทษจำคุกโดยไดพนโทษมายังไมถึง 5 ปนับถึงวันเลือกตั้ง เวนแตใน
ความผดิ อนั ไดก ระทำโดยประมาทหรอื ความผิดลหุโทษ

(8) เคยถูกสั่งใหพนจากราชการ หนวยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจเพราะทุจริตตอหนาท่ี
หรือถือวากระทำการทุจริตหรอื ประพฤตมิ ิชอบในวงราชการ

(9) เคยตองคำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลอันถึงท่ีสุดใหทรัพยสินตกเปนของแผนดินเพราะ
ร่ำรวยผิดปกติ หรือเคยตองคำพิพากษาอันถึงที่สุดใหลงโทษจำคุกเพราะกระทำความผิดตามกฎหมายวา
ดวยการปองกนั และปราบปรามการทุจรติ

(10) เคยตองคำพิพากษาอันถึงที่สุดวากระทำความผิดตอตำแหนงหนาที่ราชการหรือตอ
ตำแหนงหนาที่ในการยุติธรรม หรือกระทำความผิดตามกฎหมายวาดวยความผิดของพนักงานในองคการหรือ
หนวยงานของรัฐ หรือความผิดเก่ียวกับทรัพยที่กระทำโดยทุจริตตามประมวลกฎหมายอาญา ความผิดตาม
กฎหมายวาดวยการกูยืมเงินที่เปนการฉอโกงประชาชน กฎหมายวาดวยยาเสพติดในความผิดฐานเปนผูผลิต
นำเขา สงออก หรอื ผคู า กฎหมายวาดวยการพนนั ในความผดิ ฐานเปนเจามือหรือเจาสำนัก กฎหมายวาดวยการปองกัน
และปราบปรามการคามนษุ ย หรือกฎหมายวาดวยการปองกันและปราบปรามการฟอกเงนิ ในความผิดฐานฟอกเงนิ

(11) เคยตองคำพพิ ากษาอันถงึ ทส่ี ุดวา กระทำการอันเปน การทจุ ริตในการเลือกต้ัง
(12) เปน ขา ราชการซงึ่ มตี ำแหนงหรอื เงนิ เดือนประจำ
(13) เปน สมาชกิ สภาผูแ ทนราษฎรสมาชกิ วฒุ สิ ภาสมาชกิ สภาทองถิ่น หรือผูบรหิ ารทอ งถ่นิ
(14) เปนพนักงานหรือลูกจางของหนวยราชการ หนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือ
ราชการสวนทองถิน่ หรอื เปน เจาหนาทีอ่ น่ื ของรฐั
(15) เปนตุลาการศาลรัฐธรรมนญู หรอื ผดู ำรงตำแหนงในองคก รอสิ ระ
(16) อยใู นระหวา งตอ งหา มมิใหด ำรงตำแหนงทางการเมือง
(17) เคยพนจากตำแหนงเพราะศาลฎีกาหรือศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผูดำรงตำแหนงทาง
การเมืองมีคำพิพากษาวาเปนผูมีพฤติการณร่ำรวยผิดปกติ หรือกระทำความผิดฐานทุจริตตอหนาท่ีหรือจงใจ
ปฏิบัติหนาท่ีหรือใชอำนาจขัดตอบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญหรือกฎหมาย หรือฝาฝนหรือไมปฏิบตั ิตามมาตรฐาน
ทางจรยิ ธรรมอยางรา ยแรง
(18) ตองคำพิพากษาถึงที่สุดวากระทำความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ ไมวาจะไดรับโทษหรือไม
โดยไดพน โทษหรอื ตอ งคำพพิ ากษามายังไมถึง 5 ปนับถงึ วนั เลือกตัง้ แลวแตก รณี
(19) เคยถูกถอดถอนออกจากตำแหนงสมาชิกสภาผูแทนราษฎร สมาชกิ วุฒิสภา สมาชิกสภา
ทองถิ่น หรือผูบริหารทองถิ่น ตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย หรือกฎหมายวา ดวยการ
ลงคะแนนเสียงเพื่อถอดถอนสมาชกิ สภาทอ งถิ่นหรอื ผบู รหิ ารทอ งถิ่น แลว แตก รณี มายังไมถึง 5 ปน ับถงึ วันเลอื กตัง้
(20) อยูในระหวางถูกจำกัดสิทธิสมัครรับเลือกต้ังเปนสมาชิกสภาทองถิ่นหรือผูบริหารทองถิ่น
ตามมาตรา 42 หรือตามกฎหมายประกอบรฐั ธรรมนญู วาดว ยการเลือกตั้งสมาชกิ สภาผแู ทนราษฎร
(21) เคยถูกเพิกถอนสิทธิเลือกต้ังและยังไมพน 5 ปนับแตวันท่ีพนจากการถูกเพิกถอนสิทธิ
เลอื กต้ังจนถึงวันเลือกต้ัง

เตรียมสอบ กกต. 2564

เตรียมสอบพนกั งาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลอื กต้งั ชดุ ที่ 2 299

(22) เปนผูสมัครรับเลือกต้ังเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรหรือรับเลือกเปนสมาชิกวุฒิสภา

หรอื เปน ผูสมัครรบั เลือกตง้ั เปนสมาชกิ สภาทองถิ่นหรอื ผบู ริหารทอ งถิ่นขององคกรปกครองสว นทอ งถิน่ เดียวกัน

หรอื องคกรปกครองสวนทองถ่ินอ่ืน

(23) เคยพนจากตำแหนงใด ๆ ในองคกรปกครองสวนทองถ่ิน เพราะเหตุมีสวนไดเสียไมวาโดย

ทางตรงหรือทางออมในสัญญาหรือกิจการที่กระทำหรือจะกระทำกับหรือใหแกองคกรปกครองสวนทองถ่ินน้ัน

หรือมีสวนไดเสียไมวาโดยทางตรงหรือทางออมในสัญญาหรือกิจการที่กระทำกับหรือจะกระทำกับหรือใหแก

องคกรปกครองสว นทองถ่ินอ่ืน โดยมีพฤตกิ ารณแสดงใหเห็นวาเปนการตางตอบแทนหรือเออ้ื ประโยชนสวนตน

ระหวา งกัน และยังไมพน 5 ปนบั แตวันท่ีพนจากตำแหนงจนถึงวันเลือกต้ัง

(24) เคยถูกสั่งใหพนจากตำแหนงใด ๆ ในองคกรปกครองสวนทองถิ่นเพราะจงใจไมปฏิบัติ

ตามกฎหมาย กฎ ระเบียบของทางราชการ หรือมติคณะรัฐมนตรี อันเปนเหตุใหเสียหายแกราชการอยาง

รายแรง และยังไมพ น 5 ปน บั แตว นั ทพี่ น จากตำแหนง จนถงึ วนั เลือกตัง้

(25) เคยถูกส่ังใหพนจากตำแหนงใด ๆ ในองคกรปกครองสวนทองถิ่นเพราะทอดท้ิงหรือ

ละเลยไมปฏิบัติการตามหนาที่และอำนาจ หรือปฏิบัติการไมชอบดวยหนาที่และอำนาจ หรอื ประพฤติตนฝาฝน

ตอความสงบเรียบรอยหรือสวัสดิภาพของประชาชน หรือมีความประพฤติในทางที่จะนำมาซ่ึงความเส่ือมเสียแก

ศักดิ์ตำแหนง หรือแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น หรือแกราชการ และยังไมพน 5 ปนับแตวันที่พนจากตำแหนง

จนถงึ วันเลือกตง้ั

(26) ลกั ษณะอ่ืนตามทีก่ ฎหมายวาดวยการจัดตง้ั องคก รปกครองสว นทองถนิ่ กำหนด

มาตรา 51 ในการสมัครรับเลือกต้ัง ใหผูสมัครย่ืนใบสมัครตอผูอำนวยการการเลือกต้ังประจำ
องคกรปกครองสวนทองถ่ิน พรอ มทั้งหลักฐานการสมัครและคาธรรมเนียมการสมัครตามท่ีคณะกรรมการการ
เลือกตัง้ กำหนด

หลักฐานการสมัครตามวรรคหนึ่ง ผูสมัครตองย่ืนหลักฐานแสดงการเสียภาษีเงินไดบุคคล
ธรรมดาเปนเวลาติดตอกัน 3 ปนับถึงปท่ีสมัครรับเลือกตั้งของผูสมัคร เวนแตเปนผูไมไดเสียภาษีเงินได ให
ทำหนังสือยืนยนั การไมไ ดเสียภาษพี รอมท้งั สาเหตแุ หง การไมไ ดเสียภาษี

คาธรรมเนียมการสมัครตามวรรคหน่ึงในองคกรปกครองสวนทองถ่ินใด ใหตกเปนรายไดของ
องคกรปกครองสวนทองถิ่นน้ัน และไมวาในกรณีใดองคกรปกครองสวนทองถิ่นน้ัน ไมมีหนาที่ตองคืน
คา ธรรมเนียมดงั กลาวใหแ กผ ใู ด

มาตรา 52 เม่ือผูอำนวยการการเลือกต้ังประจำองคกรปกครองสวนทองถ่ินไดรับใบสมัครแลว

ใหตรวจสอบใบสมัคร เอกสาร หลักฐาน และคาธรรมเนียมวาครบถวนหรือไม ถาเห็นวาไมครบถวนใหคืน

เอกสาร หลกั ฐาน และคาธรรมเนยี มทั้งหมดใหผ ูสมัครนนั้ ในทันที

ในกรณีท่ีผูอำนวยการการเลือกตั้งประจำองคกรปกครองสวนทองถ่ินไดตรวจสอบแลว
ปรากฏวาผูสมัครไดสงใบสมัคร เอกสาร หลักฐาน และคาธรรมเนียมครบถวนแลว ใหออกหลักฐานการรับ
สมัครรับเลือกต้ังใหแกผูสมัครนั้นเรียงตามลำดับการยื่นสมัคร และใหทำสำเนาคูฉบับไวเปน หลักฐาน

เตรยี มสอบ กกต. 2564

เตรียมสอบพนกั งาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกต้งั ชดุ ท่ี 2 300

ใหผูอำนวยการการเลือกต้ังประจำองคกรปกครองสวนทองถ่ินตรวจสอบความถูกตองของ
การสมัครของผูสมัครตามวรรคสอง และตรวจสอบวาผูนั้นมีสิทธิสมัครรับเลือกต้ังหรือไม เม่ือเห็นวาถูกตอง
และผูน ั้นมีสทิ ธสิ มัครรบั เลือกต้ัง ใหประกาศรายชื่อผูสมัครภายใน 7 วันนับแตว ันปดรับสมคั รไวโดยเปด เผย
ณ ท่เี ลอื กต้งั หรือบริเวณใกลเ คยี งกบั ท่ีเลอื กต้งั หรอื สถานทอ่ี ื่นท่ีเหน็ สมควร

ประกาศรายช่ือผูสมัครตามวรรคสาม ใหมีช่ือตัว ชื่อสกุล รูปถาย และหมายเลขประจำตัวของ

ผูสมัครท่ีจะใชในการลงคะแนนเลือกต้ัง ตามระเบียบที่คณะกรรมการการเลือกตั้งกำหนด ทั้งน้ี ใหปดประกาศ

คุณสมบตั ิและลักษณะตอ งหา มตามมาตรา 49 และมาตรา 50 ไว ณ ทปี่ ดประกาศดงั กลาวดว ย

การประกาศรายชื่อผูสมัครตามวรรคสาม ไมเปนการตัดอำนาจคณะกรรมการการเลือกต้ังท่ีจะ

ดำเนนิ การตามมาตรา 56
มาตรา 53 เม่ือผูอำนวยการการเลือกต้ังประจำองคกรปกครองสวนทองถ่ินไดออกหลักฐานการรับ

สมคั รรบั เลือกตัง้ ใหแ กผสู มัครตามมาตรา 52 วรรคสองแลว ผสู มคั รจะถอนการสมคั รมไิ ด
มาตรา 54 หามมิใหผูใดเรียก รับ หรือยอมจะรับเงิน ทรัพยสิน หรือประโยชนอื่นใดอันอาจ

คำนวณเปนเงินไดส ำหรับตนเองหรือผอู ื่น เพือ่ ใหต นสมัครรบั เลอื กตัง้

หามมิใหผูใดให เสนอให สัญญาวาจะให หรือจัดเตรียมเพื่อจะใหทรัพยสิน หรือ

ผลประโยชนอื่นใดอันอาจคำนวณเปน เงนิ ไดแ กผ ใู ดเพ่ือใหผูนัน้ หรอื ผอู ื่นสมคั รรับเลอื กต้งั
มาตรา 55 ผูสมัครผูใดไมมีช่ือในประกาศตามมาตรา 52 ใหมีสิทธิยื่นคำรองตอ

คณะกรรมการการเลือกต้ังภายใน 3 วันนับแตวันที่ประกาศรายชื่อผูสมัคร ในการน้ี ใหคณะกรรมการการ
เลอื กต้ังมคี ำวินจิ ฉัยโดยเรว็ และใหผูอำนวยการการเลอื กตั้งประจำองคกรปกครองสวนทองถิ่น องคก รปกครอง

สวนทองถิ่น และหนวยงานทเี่ กยี่ วขอ งดำเนินการตามคำวินิจฉัยนน้ั

เพื่ อประโยชน และความสะดวกรวดเร็ วในการรั บคำร องและวิ นิ จฉั ยกรณี ตามวรรคหน่ึ ง

ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ก า ร เลื อ ก ตั้ งอ า จ ม อ บ อ ำ น า จ ให ค ณ ะ บุ ค ค ล พิ จ า ร ณ า แ ล ะ วิ นิ จ ฉั ย เบื้ อ ง ต น เพ่ื อ เส น อ ต อ

คณะกรรมการการเลือกต้ังตามระเบียบท่คี ณะกรรมการการเลอื กตั้งกำหนดก็ได

มาตรา 56 เมื่อความปรากฏตอคณะกรรมการการเลือกต้ังหรือผูอำนวยการการเลือกตั้งประจำ

องคกรปกครองสวนทองถิ่นหรือไดรับแจงจากบุคคลใดวา ผูสมัครผูใดไมมีสิทธิสมัครรับเลือกต้ัง ให
คณะกรรมการการเลือกต้ังวินิจฉัยโดยเร็ว ถาความปรากฏหรือไดรับแจงกอนวันเลือกต้ังไมนอยกวา
20 วัน ใหคณะกรรมการการเลือกต้ังวินิจฉัยใหแลวเสร็จกอนวันเลือกต้ังไมนอยกวา 10 วัน และถามี
หลักฐานตามสมควรวา ผสู มคั รผนู ัน้ ไมมีสทิ ธิสมคั รรับเลอื กตง้ั ใหส ัง่ ถอนชื่อผูนั้นออกจากบัญชีรายชื่อผูสมัคร

ใหนำความในมาตรา 55 วรรคสองมาใชบังคบั กบั การดำเนินการตามวรรคหนึ่งดวยโดยอนุโลม

การอุทธรณคำวินิจฉัยของคณะกรรมการการเลือกตั้งตามวรรคหนึ่ง ใหอุทธรณตอศาล

อุทธรณหรือศาลอุทธรณภาคที่มีเขตอำนาจ คำวินิจฉัยของศาลอุทธรณหรือศาลอุทธรณภาคใหเปนที่สุด

การอุทธรณดังกลาวไมเปนเหตุใหระงับหรือชะลอการเลือกตั้ง และใหศาลอุทธรณหรือศาลอุทธรณภาค

พิจารณาวนิ จิ ฉยั ใหแ ลวเสร็จกอนวนั เลือกตง้ั

เตรยี มสอบ กกต. 2564

เตรยี มสอบพนักงาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลือกตง้ั ชุดที่ 2 301

มาตรา 57 ใหกำหนดหมายเลขประจำตัวผูสมัครเรียงตามลำดับกอนหลังในการมาย่ืนใบสมัคร ถา
มีผูส มคั รมาพรอ มกันหลายคนและไมอาจตกลงกันไดใหใ ชว ิธีจับสลากระหวา งผูสมคั รที่มาพรอมกนั

เมื่อไดกำหนดหมายเลขประจำตัวผูสมัครตามวรรคหนึ่งแลวจะเปล่ียนแปลงหมายเลข
ประจำตัวผูส มคั รไมไ ดไ มวาดวยประการใด ๆ

การกำหนดหมายเลขประจำตวั ผูส มัครและการจบั สลากใหเปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการท่ี
คณะกรรมการการเลือกต้งั กำหนด

มาตรา 58 ผูสมัครผูใดประสงคจะสงตัวแทนไปประจำอยู ณ ท่ีเลือกตั้ง ใหยื่นหนังสือแตงตั้ง
ตวั แทนของตนตอผอู ำนวยการการเลือกต้ังประจำองคกรปกครองสว นทองถน่ิ กอนวันเลือกตงั้ ไมน อยกวา 7
วนั โดยใหแ ตง ตงั้ ไดแ หงละ 1 คน

มาตรา 59 ตัวแทนผูสมัครตองอยูในที่ซึ่งจัดไว ณ ที่เลือกตั้งซึ่งสามารถมองเห็นการ
ปฏิบัติงานได และหามมิใหปฏิบัติหนาที่เปนกรรมการประจำหนวยเลือกต้ังหรือจับตองบัตรเลือกตั้ง หรือกลาว
โตตอบกบั กรรมการประจำหนว ยเลอื กตัง้ หรอื ระหวางกนั เองโดยประการทีจ่ ะเปน อุปสรรคแกก ารเลอื กตงั้

ตัวแทนผูสมัครอาจรองทักทวงไดเม่ือเห็นวากรรมการประจำหนวยเลือกต้ังปฏิบัติการไมถูกตอง
ตามกฎหมาย ในกรณเี ชนนใี้ หก รรมการประจำหนวยเลือกตั้งจดบนั ทึกคำทักทวงนั้นไว

ถาตัวแทนผูสมัครกระทำการอันจะเปนอุปสรรคแกการเลือกตั้ง และกรรมการประจำหนวย
เลือกตั้งไดตักเตือนแลวแตยังขัดขืน คณะกรรมการประจำหนวยเลือกตั้งมีอำนาจส่ังใหตัวแทนผูสมัครออกไป
จากทีเ่ ลือกตง้ั

หมวด 6
คาใชจ ายในการเลอื กตงั้ และวิธีการหาเสียงเลือกต้ังของผสู มคั รรับเลอื กตงั้

มาตรา 60 ใหผูอำนวยการการเลือกต้ังประจำจังหวัดประกาศกำหนดจำนวนเงินคาใชจาย
ในการเลือกตั้งของผูสมคั ร ตามหลักเกณฑ วิธกี าร และระยะเวลาท่ีคณะกรรมการการเลือกตง้ั กำหนด

คาใชจา ยท่กี ำหนดตามวรรคหนงึ่ ใหมีผลใชไดตลอดไปจนกวาจะมกี ารกำหนดใหม และในกรณี
ท่ีคณะกรรมการการเลือกตั้งเห็นวาคาใชจายดังกลาวไมเหมาะสม คณะกรรมการการเลือกต้ังมีอำนาจสั่งให
ผูอำนวยการการเลือกต้ังประจำจังหวัดประกาศกำหนดใหมใหเหมาะสมตอไป คาใชจายที่กำหนดใหมมิใหใช
บังคับกับการเลือกตั้งที่อยูในระหวางดำเนินการหรือที่จะมีขึ้นภายใน 180 วันนับแตวันประกาศกำหนด
คาใชจา ยใหม

หามมิใหผูสมัครใชจายในการเลือกต้ังเกินจำนวนเงินคาใชจายท่ีกำหนดตามวรรคหน่ึงหรือวรรค
สอง แลวแตกรณี จำนวนเงินคาใชจายดังกลาวใหรวมถึงบรรดาเงินท่ีบุคคลอ่ืนไดจายหรือรับวาจะจายแทน และ
ทรัพยสินที่บุคคลอ่ืนไดนำมาใหใชหรือยกใหโดยไมคิดคาตอบแทน ทั้งน้ี เพื่อประโยชนในการหาเสียงเลือกต้ังของ
ผูสมัครโดยผูสมัครรับรูหรือยินยอม ในกรณีที่นำทรัพยสินมาใหใช ใหคำนวณตามอัตราคาเชาหรือคาตอบแทน
ตามปกติในทองทน่ี ั้น

เตรยี มสอบ กกต. 2564

เตรยี มสอบพนกั งาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลอื กตัง้ ชดุ ท่ี 2 302

บรรดาเงินที่บุคคลอื่นไดใชจายในการโฆษณาหาเสียงเลือกต้ังใหผูสมัครและผูสมัครไดรับ
ทราบถึงการกระทำดังกลาวแลว ใหถือวาเปนจำนวนเงินคาใชจายที่ผูสมัครรับรูหรือยินยอมตามวรรคสาม
เวนแตผูสมัครจะไดแจงตอผูอำนวยการการเลือกตั้งประจำจังหวัดวาไมยินยอมใหมีการกระทำเชนวานั้น
ภายใน 3 วันนับแตวันท่ีไดรับทราบถึงการกระทำดังกลาว ในการน้ี ใหผูอำนวยการการเลือกต้ังประจำจังหวัด
ดำเนนิ การตามที่เหน็ สมควรเพ่อื มใิ หม ีการโฆษณาหาเสยี งเลอื กตัง้ โดยบคุ คลดงั กลา วอีกตอไป

** สำคญั ** มาตรา 61 ในการคำนวณคาใชจายของผูสมัครสำหรับการเลือกตั้งแตละครั้ง ให
คำนวณตามคาใชจา ยท่ีใชจายจริงในการเลือกต้งั ในระหวา งระยะเวลา ดงั ตอ ไปนี้

(1) ในกรณีที่เปนการเลือกตั้งอันเนื่องมาจากการครบวาระ ใหคำนวณคาใชจายที่ใช
จา ยไปตง้ั แต 180 วันกอ นวันท่คี รบวาระจนถงึ วันเลือกตั้ง

(2) ในกรณีท่ีเปนการเลือกต้ังแทนตำแหนงท่ีวาง ใหคำนวณคาใชจายที่ใชจายไปต้ังแต
วันท่ีตำแหนงวา งลงจนถึงวันเลอื กตง้ั

ในกรณีที่มีเหตุอันสมควรเพื่อประโยชนในการดำเนินการหรือการจัดการเลือกตั้งใหเปนไป
โดยสจุ รติ และเทย่ี งธรรม คณะกรรมการการเลือกตงั้ จะขยายระยะเวลาตามวรรคหน่ึงออกไปกไ็ ด

ใหคณะกรรมการการเลือกตั้งประกาศประเภทของคาใชจายในการเลือกตั้งไวเปนตัวอยางให
ผสู มัคร และประชาชนทราบเปน การท่วั ไป ประกาศดงั กลา วใหมกี ารปรับปรุงใหเ ปนปจจบุ นั

มาตรา 62 ภายใน 90 วันนับจากวันเลือกตั้งผูสมัครตองยื่นบัญชีรายรับและรายจายใน
การเลือกต้ัง พรอมทั้งหลักฐานที่เก่ียวของใหถูกตองครบถวนตามความจริงตอผูอำนวยการการเลือกตั้ง
ประจำจงั หวดั

ใหผูอำนวยการการเลือกตั้งประจำจังหวัดปดประกาศบัญชีรายรับและรายจายตามวรรค
หนึ่งไว ณ สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้งประจำจังหวัด ที่ทำการองคกรปกครองสวนทองถ่ินน้ัน และ
สถานทอ่ี นื่ ท่เี หน็ สมควร

รายละเอียดและวิธีการจัดทำบัญชีรายรับและรายจายตามวรรคหนึ่งใหเปนไปตามหลักเกณฑ
และวธิ กี ารทคี่ ณะกรรมการการเลือกตั้งกำหนด โดยประกาศในราชกจิ จานุเบกษา

มาตรา 63 ผูสมัครผูใดยื่นบัญชีรายรับและรายจายในการเลือกต้ังโดยไมถูกตองครบถวน
หรอื เมอื่ ผูอำนวยการการเลอื กตงั้ ประจำจังหวัดมีเหตุอนั ควรสงสยั หรอื ไดรับแจง โดยมีหลักฐานอันสมควรวา
ผูสมัครผูใดใชจายในการเลือกต้ังเกินจำนวนเงินคาใชจายท่ีผูอำนวยการการเลือกตั้งประจำจังหวัดประกาศ
กำหนด ใหผูอำนวยการการเลือกตั้งประจำจังหวัดทำการสอบหาขอเท็จจริงใหแลวเสร็จภายใน 120 วัน
นับแตวันที่ครบกำหนดยื่นบัญชีรายรับและรายจายในการเลือกตั้ง หรือภายใน180 วันนับแตวันท่ีมีเหตุอัน
ควรสงสัยหรือไดรับแจง แลวแตกรณี ถาผูอำนวยการการเลือกตั้งประจำจังหวัดเห็นวาผูสมัครผูน้ันมีการกระทำ
ดงั กลา ว ใหแจงพนกั งานสอบสวนเพอ่ื ดำเนนิ คดีตามกฎหมายตอไปโดยเร็ว

ใหผูอำนวยการการเลือกตั้งประจำจังหวัดรายงานการดำเนินการตามวรรคหนึ่งตอ
คณะกรรมการการเลอื กตง้ั ภายใน 7 วนั นบั แตวนั ท่รี ผู ลการสอบหาขอ เทจ็ จรงิ

เตรยี มสอบ กกต. 2564

เตรียมสอบพนกั งาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตัง้ ชุดท่ี 2 303

ในการดำเนินการตามวรรคหนึ่ง ถาเปนกรณีที่ผูสมัครผูนั้นเปนผูไดรับเลือกตั้ง
ถาคณะกรรมการการเลือกตั้งเห็นวาผูนั้นกระทำการตามที่ถูกกลาวหา ใหคณะกรรมการการเลือกต้ังย่ืนคำรอง
ตอศาลอุทธรณหรือศาลอุทธรณภาคเพ่ือใหมีคำส่ังเพิกถอนสิทธิเลือกต้ังของผูน้ันและส่ังใหมีการเลือกตั้งใหม
แทนสำหรับตำแหนงที่วาง แตทั้งนี้ ไมกระทบกับกิจการที่ผูน้ันไดกระทำไปในหนาท่ีกอนวันที่ศาลอุทธรณหรือ
ศาลอุทธรณภาคมีคำส่ัง ในการนี้ใหศาลอุทธรณหรือศาลอุทธรณภาคพิจารณาและมีคำสั่งภายในหนึ่งรอย
แปดสิบวันนับแตวันที่ไดรับคำรอง คำสั่งของศาลอุทธรณหรอื ศาลอทุ ธรณภาคใหเปน ทสี่ ดุ

กรณีที่ผูวาราชการจังหวัดหรือนายอำเภอมีเหตุอันควรสงสัยและมีหลักฐานที่นาเชื่อไดวาผูสมัคร
ผูใดใชจายในการเลือกต้ังเกินจำนวนเงินคาใชจายที่ผูอำนวยการการเลือกตั้งประจำจังหวัดประกาศกำหนด ให
แจงผอู ำนวยการการเลือกต้งั ประจำจังหวดั เพอื่ ดำเนินการตามวรรคหนึง่ ตอไป

** สำคญั ** มาตรา 64 เพื่อประโยชนแหงความเที่ยงธรรมและความเปนระเบียบเรียบรอย
ใหผสู มัครหาเสียงเลอื กตัง้ ไดภายในกำหนดเวลา ดังตอไปนี้

(1) ในกรณีที่เปนการเลือกตั้งอันเนื่องมาจากครบวาระหรือครบอายุ ใหกระทำไดต้ังแต
180 วัน กอนวนั ครบวาระหรือครบอายจุ นถึงเวลา 18.00 นาิกาของวันกอ นวนั เลอื กตั้ง

(2) ในกรณีท่ีเปนการเลือกต้ังอันเนื่องมาจากมีการยุบสภาหรือถือวามีการยุบสภา
ใหกระทำไดตั้งแตวันยุบสภาหรือวันที่ถือวามีการยุบสภาจนถึงเวลา 18.00 นาิกาของวันกอนวัน
เลอื กตั้ง

(3) ในกรณีท่ีเปนการเลือกต้ังอันเน่ืองมาจากตำแหนงวางอันมิใชเพราะเหตุครบวาระหรือ
ครบอายุ ใหก ระทำไดต งั้ แตว ันท่ตี ำแหนงวา งลงจนถึงเวลา 18.00 นาิกาของวนั กอ นวนั เลอื กตั้ง

(4) ในกรณีมีการสั่งใหมีการเลือกตั้งใหม ใหกระทำไดตั้งแตวันที่มีคำสั่งใหมีการ
เลือกต้งั ใหมจ นถึงเวลา 18.00 นากิ าของวนั กอนวันเลอื กตง้ั

(5) ในกรณีมีการส่ังใหมีการออกเสียงลงคะแนนใหม ผูใดจะหาเสียงเลือกตั้งมิได เวนแต
คณะกรรมการการเลอื กตั้งจะมีมติเปนอยา งอื่นโดยคำนงึ ถึงความสจุ รติ และเที่ยงธรรม

มาตรา 65 หามมิใหผูสมัครหรือผูใดกระทำการอยางหนึ่งอยางใดเพื่อจูงใจใหผูมีสิทธิเลือกตั้ง
ลงคะแนนใหแกตนเองหรือผูสมัครอ่ืน ใหงดเวนการลงคะแนนใหแกผูสมัคร หรือการชักชวนใหไปลงคะแนนไม
เลอื กผใู ดเปนสมาชิกสภาทอ งถ่ินหรอื ผบู ริหารทองถนิ่ ดว ยวธิ กี าร ดงั ตอไปน้ี

(1) จัดทำ ให เสนอให สัญญาวาจะให หรือจัดเตรียมเพื่อจะให ทรัพยสิน หรือผลประโยชน
อื่นใดอนั อาจคำนวณเปนเงนิ ไดแกผ ใู ด

(2) ให เสนอให หรือสัญญาวาจะใหเงิน ทรัพยสิน หรือประโยชนอื่นใดไมวาจะโดยตรงหรือโดย
ออ มแกช มุ ชน สมาคม มลู นิธิ วดั หรือศาสนสถานอื่น สถานศกึ ษา สถานสงเคราะห หรอื สถาบนั อ่ืนใด

(3) ทำการโฆษณาหาเสยี งดว ยการจัดใหม ีมหรสพหรอื การร่นื เรงิ ตา ง ๆ
(4) เล้ยี งหรอื รบั จะจัดเลย้ี งผใู ด

เตรียมสอบ กกต. 2564

เตรยี มสอบพนกั งาน สำนักงานคณะกรรมการการเลอื กตง้ั ชดุ ที่ 2 304

(5) หลอกลวง บังคับ ขูเข็ญ ใชอิทธิพลคุกคาม ใสรายดวยความเท็จ หรือจูงใจใหเขาใจผิดใน
คะแนนนยิ มของผูสมัครใด

หามมิใหสมาชิกสภาทองถิ่นและผูบริหารทองถ่ินผูใดกระทำการตามวรรคหน่ึง เวนแตเปนการ
กระทำตามหนา ท่แี ละอำนาจที่มีกฎหมายบัญญตั ิไว ในกรณีท่ีองคกรปกครองสว นทอ งถ่นิ ผูบรหิ ารทองถน่ิ หรือ
ปลัดองคกรปกครองสวนทองถิ่น อนุมัติโครงการหรือกิจกรรมใหมที่มีลักษณะตามวรรคหน่ึงภายในเกาสิบวัน
กอนวันครบวาระการดำรงตำแหนงหรอื กอนการลาออกจากตำแหนง ของผูบริหารทองถ่ิน แลวแตกรณี ใหถ อื วา
องคกรปกครองสวนทองถ่ิน ผูบริหารทองถน่ิ หรอื ปลัดองคกรปกครองสวนทอ งถิ่นนัน้ กระทำการอันเปนการฝา
ฝนขอหามตามวรรคหน่ึง เวนแตโครงการหรือกิจกรรมดังกลาวมีลักษณะเปนการบรรเทาทุกขจากภัยธรรมชาติ
หรือภัยพิบัติสาธารณะ หรือเปนโครงการหรือกิจกรรมตอเนื่องท่ีกระทำเปนปกติอยูแลว หรือเปนโครงการท่ี
ดำเนนิ การตามมติคณะรฐั มนตรี

การประกาศนโยบายหรือการดำเนินการตามแนวทางในการแกไขปญหาตามหนาที่และ
อำนาจขององคกรปกครองสวนทองถิ่นดวยวิธกี ารใชจายจากเงินงบประมาณขององคกรปกครองสวนทองถิ่นมิ
ใหถือวาเปนกรณีตาม (1) หรือ (2) เวนแตเปนการโฆษณาหาเสียงเก่ียวกับนโยบายท่ีไมสอดคลองกับหนาท่ี
และอำนาจขององคกรปกครองสว นทอ งถ่นิ

ในกรณีท่ีคณะกรรมการการเลือกต้ังมีเหตุอันควรสงสัยวาองคกรปกครองสวนทองถ่ินใด
ดำเนินการใดอันมีลักษณะตองหามตามวรรคหนึ่งหรือวรรคสอง ใหคณะกรรมการการเลือกตั้งพิจารณาและวินิจฉัย
เมื่อคณะกรรมการการเลือกต้ังวินิจฉัยวาการดำเนินการน้ันมีลักษณะเปนการตองหามดังกลาว ใหคณะกรรมการ
การเลอื กตั้งสงั่ ใหอ งคกรปกครองสว นทองถน่ิ น้นั ดำเนนิ การตามควรแกกรณตี อไป

ความผิดตาม (1) หรือ (2) ใหถือวาเปนความผิดมูลฐานตามกฎหมายวาดวยการปองกันและ
ปราบปรามการฟอกเงนิ และใหค ณะกรรมการการเลอื กต้ังมีอำนาจสงเร่ืองใหสำนักงานปองกันและปราบปราม
การฟอกเงินดำเนินการตามหนาท่แี ละอำนาจได

มาตรา 66 เพื่อใหการหาเสียงเลือกตั้งเปนไปดวยความเรียบรอย สุจริต และเที่ยงธรรม
คณะกรรมการการเลอื กตั้งจะกำหนดลักษณะตอ งหา มในการหาเสยี งเลือกต้ังของผสู มคั รก็ได

เม่ือคณะกรรมการการเลือกต้ังกำหนดลักษณะตองหามตามวรรคหน่ึงแลว หามผูสมัคร
ดำเนินการหรือยินยอมใหมกี ารดำเนินการหาเสยี งเลือกตง้ั ท่ีมลี ักษณะดังกลา ว

ผูสมัครผูใดมีผูชวยหาเสียงจำนวนเทาใด ใหแจงสำนักงานคณะกรรมการการเลือกต้ังประจำ
จังหวัดทราบรายละเอียดเก่ียวกับผูชวยหาเสียง หนาที่ และคาตอบแทนผูชวยหาเสียง ทั้งน้ี ตามวิธีการท่ี
คณะกรรมการการเลือกต้ังกำหนด

คาตอบแทนตามวรรคสามตอ งนำไปรวมเปน คาใชจ า ยในการเลอื กต้งั ดว ย
มาตรา 67 หามมิใหผูสมัครจัดยานพาหนะนำผูมีสิทธิเลือกตั้งไปยังที่เลือกตั้งเพ่ือการ
เลือกตั้งหรือนำกลับจากท่ีเลือกตั้ง หรือจัดใหผูมีสิทธิเลือกต้ังไปหรือกลับเพ่ือการออกเสียงลงคะแนน โดย
ไมต อ งเสียคาโดยสารหรอื คาจา งซง่ึ ตองเสียตามปกติ

เตรียมสอบ กกต. 2564

เตรียมสอบพนกั งาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลือกตั้ง ชุดท่ี 2 305

หามมิใหผูใดกระทำการตามวรรคหนึ่ง เพื่อจูงใจหรือควบคุมใหผูมีสิทธิเลือกตั้งไปลงคะแนน
เลือกหรือลงคะแนนไมเ ลอื กผสู มคั รผใู ด

บทบญั ญตั ิในมาตรานม้ี ใิ หใชบังคบั แกการที่หนวยงานของรฐั จดั ยานพาหนะเพื่ออำนวยความ
สะดวกแกผ ูมีสิทธเิ ลอื กต้ัง ทงั้ นี้ ตามทค่ี ณะกรรมการการเลือกต้ังกำหนด

มาตรา 68 หามมิใหผูใดซึ่งมิไดมีสัญชาติไทยเขามีสวนชวยเหลือในการเลือกตั้ง หรือกระทำ
การใด ๆ เพ่ือประโยชนแกการเลือกต้ังโดยประการท่ีอาจเปนคุณหรือเปนโทษแกผูสมัคร ทั้งน้ี เวนแตการ
กระทำนัน้ เปน การชว ยราชการตามที่ทางราชการรอ งขอ หรอื เปน การประกอบอาชีพตามปกติโดยสจุ ริตของผนู น้ั

มาตรา 69 หามมิใหเจาหนาที่ของรัฐใชตำแหนงหนาท่ีกระทำการใด ๆ อันเปนคุณหรือเปน
โทษแกผ สู มัคร เวนแตเ ปน การกระทำตามหนาทแ่ี ละอำนาจ

ในกรณีมีหลักฐานอันควรเช่ือไดวามีการฝาฝนบทบัญญัติตามวรรคหน่ึง ใหคณะกรรมการการ
เลือกตั้งมีอำนาจสั่งใหเจาหนาที่ของรัฐยุติ ระงับ หรือเปลี่ยนแปลงแกไขการกระทำดังกลาว ในกรณีจำเปน
ใหคณะกรรมการการเลอื กตั้งแจงใหผูบังคับบญั ชาส่ังใหเ จาหนาทีข่ องรัฐผูนั้นพนจากหนาที่เปนการชั่วคราว หรือสั่ง
ใหประจำกระทรวง ทบวง กรม ศาลากลางจังหวัด หรือที่วาการอำเภอ หรือหามเขาเขตเลือกตั้งจนกวาจะมีการ
ประกาศผลการนับคะแนนได

** สำคัญ** มาตรา 70 หา มมิใหผูใดทำการโฆษณาหาเสียงเลอื กต้งั โดยวิธีการใด ๆ อันเปนคุณหรือเปน
โทษแกผูสมัคร นับต้ังแตเวลา 18.00 นาิกาของวันกอนวันเลือกต้ังหน่ึงวันจนส้ินสุดวัน

เลือกตั้ง
มาตรา 71 การปดประกาศหรือติดแผนปายเก่ียวกับการหาเสียงเลือกต้ังจะกระทำไดเฉพาะใน

สถานที่ รวมท้ังมีขนาดและจำนวนไมเกินท่ีคณะกรรมการการเลือกต้ังหรือผูซ่ึงคณะกรรมการการเลือกต้ัง
มอบหมายกำหนด

มาตรา 72 ใหคณะกรรมการการเลือกต้ังมีหนาที่สงเสริม สนับสนุนและเผยแพรให
ประชาชนผูม สี ทิ ธิเลอื กตง้ั ทราบขอ มูลเกย่ี วกบั การเลือกต้ังและมาใชส ทิ ธเิ ลือกต้งั อยางกวา งขวาง

มาตรา 73 ในกรณีท่ีมีการหาเสียงเลือกต้ังโดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส และความปรากฏตอ
คณะกรรมการการเลือกตั้งไมวาโดยทางใดวา การหาเสียงเลือกตั้งนั้นฝาฝนหรือไมถูกตองตามพระราชบัญญัตินี้
หรือคำสั่ง ระเบียบ หรือขอบังคับของคณะกรรมการการเลือกต้ัง ใหคณะกรรมการการเลือกตั้งมีหนาที่แจง
ขอเท็จจริงใหประชาชนทราบเปนการทั่วไปโดยพลัน และมีอำนาจสั่งใหผูท่ีเก่ียวของดำเนินการแกไข
เปล่ียนแปลง หรอื ลบขอมูลโดยทนั ที

มาตรา 74 เมื่อไดมีประกาศกำหนดที่เลือกตั้งตามมาตรา 23 แลว หามมิใหผูใดนำส่ิงพิมพ
แผนประกาศ หรือส่ิงอ่ืนใด มาปดหรือแสดงไวภายในท่ีเลือกต้ัง เวนแตเปนการดำเนินการตามคำสั่งของ
ผูอำนวยการการเลือกตั้งประจำองคกรปกครองสวนทองถ่ิน เพื่อประโยชนในการอำนวยความสะดวกแกผูใชสิทธิ
เลอื กตงั้ ตามระเบยี บที่คณะกรรมการการเลือกตงั้ กำหนด

เตรยี มสอบ กกต. 2564

เตรยี มสอบพนักงาน สำนักงานคณะกรรมการการเลอื กต้ัง ชุดท่ี 2 306

ในกรณีที่มีส่ิงพิมพ แผนประกาศ หรือส่ิงอ่ืนใด ปดหรือแสดงไวภายในท่ีเลือกตั้งอยูกอนหรือใน

วันเลือกตั้งอันเปนการฝาฝนวรรคหนึ่ง ใหคณะกรรมการประจำหนวยเลือกตั้งทำลาย ปกปด หรือนำออกไปไว

นอกทีเ่ ลอื กตง้ั

หมวด 7

การออกเสยี งลงคะแนน

มาตรา 75 ในกรณีท่ีคณะกรรมการการเลือกต้ังกำหนดใหมีการออกเสียงลงคะแนนโดยวิธี

อื่นทมี่ ิใชการใชบ ัตรเลือกตั้งสำหรับการเลือกตงั้ คา ใชจายในการจัดหาหรือจัดใหมีอปุ กรณหรือเคร่ืองมือใน

การออกเสยี งลงคะแนนดังกลาวใหอยใู นความรับผิดชอบของคณะกรรมการการเลือกตัง้ โดยคณะกรรมการ

การเลือกต้ังจะกำหนดคาใชอุปกรณหรือเคร่ืองมือดังกลาวจากองคกรปกครองสวนทองถ่ินท่ีนำไปใชในการ

เลือกต้งั ตามอัตราทก่ี ำหนดดวยกไ็ ด

การออกเสียงลงคะแนนโดยวิธีอ่ืนตามวรรคหนึ่ง ใหเปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการท่ี

คณะกรรมการการเลอื กต้งั กำหนด

** สำคัญ** มาตรา 76 การออกเสยี งลงคะแนน ใหก ระทำไดโดยวธิ ีการ ดังตอ ไปน้ี
(1) การลงคะแนนโดยใชบัตรเลอื กตง้ั

(2) การลงคะแนนโดยวธิ อี ่ืนท่ีมใิ ชก ารใชบตั รเลือกตงั้

การออกเสียงลงคะแนนโดยวิธีตาม (2) ใหเปนไปตามหลักเกณฑ วิธีการ และเง่ือนไขท่ี

คณะกรรมการการเลือกตั้งกำหนด โดยวิธีน้ันสามารถปองกันการทุจริตในการเลือกตั้งไดอยางมีประสิทธิภาพ

และสะดวกกวาการออกเสียงลงคะแนนดวยบัตรเลือกตั้งและมีคาใชจายที่คุมคา และตองเปนวิธีการที่ประชาชน

เขา ถึงไดโ ดยสะดวก

ในกรณีที่คณะกรรมการการเลือกตั้งกำหนดใหมีการออกเสียงลงคะแนนตาม (2) มิใหนำ

ความในมาตรา 81 มาตรา 83 มาตรา 85 มาตรา 86 มาตรา 88 และมาตรา 89 มาใชบ ังคับ

มาตรา 77 หีบบัตรเลือกตั้งและบัตรเลือกตั้ง ใหมีลักษณะตามที่คณะกรรมการการเลือกต้ัง

กำหนด ในการกำหนดลักษณะของหีบบัตรเลือกตั้งใหคณะกรรมการการเลือกต้ังคำนึงถึงหีบบัตรเลือกต้ังที่

องคก รปกครองสวนทองถน่ิ มีอยแู ลว เพ่อื ใหสามารถใชห ีบบัตรเลอื กตง้ั ดังกลาวไดตอ ไป

** สำคญั ** มาตรา 78 ในวันเลือกตั้งใหเปดการออกเสียงลงคะแนนต้ังแตเวลา 08.00 นาิกา ถึงเวลา
17.00 นาิกา แตในกรณีท่ีเห็นสมควรเพื่อประโยชนในการจัดการเลือกต้ังใหเรียบรอย

คณะกรรมการการเลือกต้ังจะกำหนดเวลาการออกเสียงลงคะแนนสำหรับองคกรปกครองสวนทองถ่ินใดเปน

อยางอ่ืนกไ็ ด แตตอ งมีเวลาการออกเสยี งลงคะแนนไมนอ ยกวา 7 ชั่วโมง
มาตรา 79 กอนเริ่มเปดใหมีการออกเสียงลงคะแนน ใหคณ ะกรรมการประจำ

หนวยเลอื กตั้ง 1. นบั จำนวนบัตรเลือกต้ังทงั้ หมดของหนวยเลอื กต้ังนัน้

2. และปดประกาศจำนวนบตั รเลอื กต้ังไวใ นที่เปดเผย

เตรยี มสอบ กกต. 2564

เตรียมสอบพนกั งาน สำนักงานคณะกรรมการการเลอื กตั้ง ชดุ ท่ี 2 307

และเมอื่ ถึงเวลาเปดการออกเสียงลงคะแนน ใหค ณะกรรมการประจำหนว ยเลือกตง้ั
1.เปดหีบบัตรเลือกต้ังในท่ีเปดเผย แสดงใหผูมีสิทธิเลือกตั้งซ่ึงอยู ณ ที่เลือกตั้งนั้นเห็นวา
หบี บัตรเลอื กตัง้ เปนหบี บตั รเลอื กตงั้ เปลา
2.และใหปดหีบบัตรเลือกต้ังตามวิธีการที่คณะกรรมการการเลือกตั้งกำหนดแลวใหทำการ
บันทึกการดำเนินการดังกลาว โดยใหผูมีสิทธิเลือกตั้งไมนอยกวา 2 คนซ่ึงอยูในท่ีเลือกต้ังในขณะน้ันลง
ลายมือชื่อในบนั ทึกนน้ั ดว ย เวนแตไ มมผี มู สี ิทธเิ ลือกตงั้ ณ ทเ่ี ลอื กตง้ั
มาตรา 80 ในระหวางเวลาเปดการออกเสียงลงคะแนน ใหผูมีสิทธิเลือกตั้งซ่ึงประสงคจะออก
เสยี งลงคะแนนนำบตั รประจำตวั ประชาชน หรอื บตั รหรือหลกั ฐานอ่นื ใดของทางราชการหรือหนว ยงานของ
รัฐทมี่ ีรปู ถายและมเี ลขประจำตวั ประชาชนของผูถือบัตรไปแสดงตนตอกรรมการประจำหนว ยเลือกตงั้ แลว
ใหกรรมการประจำหนว ยเลือกตัง้ มอบบัตรเลอื กต้งั ใหแกผนู ้ันเพ่ือไปออกเสยี งลงคะแนน
บตั รประจำตวั ประชาชน แมจะหมดอายุแลว ก็ใหสามารถใชในการแสดงตนตามวรรคหนง่ึ ได
ข้ันตอนและวธิ ีการตรวจสอบการแสดงตนใหเ ปน ไปตามที่คณะกรรมการการเลือกตง้ั กำหนด

** สำคญั ** มาตรา 81 การออกเสียงลงคะแนน ใหทำเครื่องหมายกากบาทลงในชองทำเครื่องหมายของ
หมายเลขประจำตัวผูสมัครในบัตรเลือกต้ัง และในกรณีที่ผูมีสิทธิเลือกต้ังประสงคจะ

ลงคะแนนไมเลือกผูสมัครผูใด ใหผูมีสิทธิเลือกตั้งทำเครื่องหมายกากบาทในชองทำเคร่ืองหมาย “ไมเลือก
ผูสมัครผูใด”

มาตรา 82 เพื่ออำนวยความสะดวกแกคนพิการหรือทุพพลภาพ หรือผูสูงอายุ ในการ
ออกเสียงลงคะแนน ใหคณะกรรมการการเลือกต้ังหรอื ผูซึ่งคณะกรรมการการเลอื กต้ังมอบหมายจัดใหมีการ
อำนวยความสะดวกสำหรับการออกเสยี งลงคะแนนของบคุ คลดงั กลา วไวเ ปนพเิ ศษ หรอื จัดใหม ีการชว ยเหลือ
ในการออกเสียงลงคะแนนภายใตการกำกับดูแลของคณะกรรมการประจำหนวยเลือกต้ัง ในการใหความ
ชวยเหลือดังกลาวตองใหบุคคลนั้นไดออกเสียงลงคะแนนดวยตนเองตามเจตนาของบุคคลนั้น เวนแต
ลักษณะทางกายภาพทำใหคนพิการหรือทุพพลภาพ หรือผูสูงอายุไมสามารถทำเคร่ืองหมายลงในบัตร
เลือกตั้งได ใหบุคคลอื่นหรือกรรมการประจำหนวยเลือกต้ังเปนผูกระทำการแทน โดยความยินยอมและ
เปนไปตามเจตนาของคนพิการหรือทุพพลภาพ หรือผูสูงอายุน้ัน ท้ังนี้ ใหถือเปนการออกเสียงลงคะแนน
โดยตรงและลบั

ในกรณีที่คณะกรรมการการเลือกตั้งเห็นสมควร อาจกำหนดใหมีการจัดท่ีเลือกต้ังสำหรับคน

พิการหรือทุพพลภาพ หรือผูสูงอายุ เปนกรณีพิเศษ โดยจัดใหบุคคลนั้นไดลงทะเบียนเพื่อขอใชสิทธิเลือกต้ัง

ณ สถานท่ีดังกลา ว และเม่อื ไดลงทะเบียนแลว ใหห มดสิทธิเลือกตัง้ ในหนว ยเลอื กตั้งที่ตนมชี อ่ื อยูในทะเบยี นบาน

การอำนวยความสะดวกตามวรรคหนึ่ง การจัดที่เลือกตั้งและการลงทะเบียนเพื่อขอใชสิทธิ

ตามวรรคสอง ใหเปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการที่คณะกรรมการการเลือกตั้งกำหนด การลงทะเบียน

ดังกลาวใหเปนไปตามวิธีการที่คณะกรรมการการเลือกตั้งกำหนด ซึ่งตองคำนึงถึงความสะดวกของผูขอ

ลงทะเบยี นดวย

เตรยี มสอบ กกต. 2564

เตรยี มสอบพนกั งาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตง้ั ชุดท่ี 2 308

มาตรา 83 เม่ือผูมีสิทธิเลือกตั้งทำเคร่ืองหมายกากบาทลงในบัตรเลือกตั้งแลว ใหพับบัตร
เลือกตั้งเพื่อมิใหผูอ่ืนทราบวาลงคะแนนเลือกผูสมัครผูใดหรือลงคะแนนไมเลือกผูสมัครผูใด แลวใหนำบัตร
เลือกต้ังใสลงในหีบบตั รเลอื กตง้ั ดวยตนเองตอหนากรรมการประจำหนวยเลือกต้ัง หรือในกรณีตามมาตรา 82
กรรมการประจำหนวยเลือกตงั้ จะชว ยใสลงในหีบบัตรเลอื กตงั้ แทนก็ได แตต องทำตอ หนาผูมีสทิ ธเิ ลอื กต้ังนัน้

มาตรา 84 หามมิใหผูใดซ่ึงรูอยูแลววาตนเปนผูไมมีสิทธิเลือกตั้งพยายามออกเสียงลงคะแนน

หรือออกเสียงลงคะแนน

มาตรา 85 หามมิใหผูมีสิทธิเลือกตั้งผูใดใชบัตรอ่ืนที่มิใชบัตรเลือกต้ังท่ีไดรับจากกรรมการ

ประจำหนว ยเลอื กตั้งเพื่อการออกเสยี งลงคะแนน

หามมใิ หผ ูใดนำบัตรเลอื กตง้ั ออกไปจากท่ีเลอื กตง้ั เวน แตเปน การกระทำตามหนา ทแ่ี ละอำนาจ

มาตรา 86 หามมิใหผูใดจงใจทำเคร่ืองหมายโดยวิธีใดไวท่ีบัตรเลือกตั้งนอกจากเคร่ืองหมายที่

ลงคะแนน

มาตรา 87 ในระหวางการออกเสียงลงคะแนน หามมิใหผูใดใชเครื่องมือหรืออุปกรณใด

ถา ยภาพบัตรเลือกต้งั เพือ่ ใหเห็นเครื่องหมายลงคะแนนในคหู าเลอื กตงั้

มาตรา 88 หามมิใหผูใดนำบัตรเลือกตั้งใสในหีบบัตรเลือกตั้ง โดยไมมีอำนาจโดยชอบดวย

กฎหมาย หรือกระทำการใดในบัญชรี ายช่ือผูม ีสิทธิเลือกตงั้ เพอื่ แสดงวามีผมู าแสดงตนเพอ่ื ออกเสียงลงคะแนนโดย

ผิดไปจากความจรงิ หรือกระทำการใดอันเปนเหตใุ หมีบัตรเลือกต้งั เพม่ิ ขึน้ จากความจริง

มาตรา 89 หามมิใหผูมีสิทธิเลือกตั้งนำบัตรเลือกตั้งที่ออกเสียงลงคะแนนแลวแสดงตอผูอ่ืน

เพ่ือใหผอู ่นื ทราบวาตนไดล งคะแนนเลือกหรือลงคะแนนไมเลอื กผสู มัครผใู ด

มาตรา 90 หามมิใหผูใดกระทำการใดโดยไมมีอำนาจโดยชอบดวยกฎหมาย เพ่ือมิใหผูมีสิทธิ

เลือกต้ังสามารถใชสิทธิได หรือขัดขวางหรือหนวงเหนี่ยวมิใหผูมีสิทธเิ ลือกตั้งไป ณ ที่เลือกต้ัง หรือมิใหไปถึง ณ

ท่ีดังกลา วภายในกำหนดเวลาทจี่ ะออกเสียงลงคะแนนได
มาตรา 91 หามมิใหผูใดจาย แจก หรือใหเงิน ทรัพยสิน หรือประโยชนอ่ืนใดแกผูมีสิทธิ

เลือกตง้ั เพื่อจงู ใจมิใหไปออกเสียงลงคะแนน หรือกระทำการใด ๆ เพอื่ มิใหผ มู ีสทิ ธิเลือกตงั้ ไปออกเสียงลงคะแนน
ผูใดมีบัตรประจำตัวประชาชนของผูมีสิทธิเลือกตั้งผูอื่นตั้งแตสองคนขึ้นไปไวในความ

ครอบครองโดยไมม ีเหตอุ นั สมควรในระหวางวนั ประกาศใหมกี ารเลอื กตัง้ ถึงวนั ถัดจากวันเลือกตั้ง ใหถ ือวาผู
นน้ั กระทำการตามวรรคหน่ึง

มาตรา 92 หามมใิ หผูมสี ิทธิเลือกต้ังผูใดเรยี ก รับ หรือยอมจะรบั เงิน ทรพั ยสิน หรือประโยชน

อ่ืนใดสำหรับตนเองหรือผูอ่ืน เพื่อลงคะแนนเลือกหรือลงคะแนนไมเลือกผูสมัครผูใด หรืองดเวนไมลงคะแนน

ใหแ กผูสมคั รผูใ ด

มาตรา 93 ในกรณีที่การออกเสียงลงคะแนนในหนวยเลือกต้ังแหงใดไมสามารถกระทำได
เน่ืองจากเกิดจลาจล อุทกภัย อัคคีภัย เหตุสุดวิสัย หรือเหตุจำเปนอยางอื่น ถาเหตุดังกลาวเกิดขึ้นกอนวัน
เลอื กตง้ั ใหผอู ำนวยการการเลือกต้งั ประจำองคกรปกครองสวนทองถ่ิน

เตรียมสอบ กกต. 2564

เตรยี มสอบพนกั งาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลือกตั้ง ชุดที่ 2 309

กำหนดท่ีเลือกตั้งใหมทผ่ี ูมีสิทธิเลือกตั้งสามารถไปลงคะแนนเลือกตั้งไดโดยสะดวก แต
ถาไมอาจกำหนดที่เลือกตั้งใหมได ใหประกาศงดการลงคะแนนเลือกตั้งในหนวยเลือกต้ังนั้น แลวรายงาน
ตอ ผูอ ำนวยการการเลอื กตั้งประจำจงั หวัดและคณะกรรมการการเลอื กตงั้ โดยเร็ว

ในกรณีท่ีเหตุตามวรรคหน่ึงเกิดขึ้นในวันเลือกตั้ง ไมวาจะมีการเริ่มลงคะแนนแลวหรือไม ให
คณะกรรมการประจำหนวยเลือกต้ังประกาศงดการลงคะแนนเลือกต้ังในหนวยเลือกต้ังนั้น แลวรายงานตอ
ผูอำนวยการการเลือกต้ังประจำองคกรปกครองสวนทองถิ่น ผูอำนวยการการเลือกต้ังประจำจังหวัด และ
คณะกรรมการการเลอื กตง้ั โดยเร็ว

เม่ือไดมีประกาศงดการลงคะแนนเลือกต้ังตามวรรคหน่ึงหรือวรรคสองแลว ใหผูอำนวยการการ
เลือกต้ังประจำองคกรปกครองสวนทองถิ่นโดยความเห็นชอบของผูอำนวยการการเลือกต้ังประจำจังหวัด
จัดใหมีการลงคะแนนเลือกต้ังใหมสำหรับหนวยเลือกตั้งน้ันภายใน 15 วันนับแตวันที่สามารถจัดใหมีการ
ลงคะแนนเลือกต้ังได ในการนี้ ใหประกาศวันลงคะแนนเลือกต้ังใหมลวงหนาไมนอยกวา 3 วัน และรายงานตอ
คณะกรรมการการเลอื กตง้ั โดยเร็ว ถา จำเปนจะจดั ใหมกี ารเลือกตงั้ ณ ที่เลือกต้งั ที่อยนู อกหนวยเลอื กตัง้ นั้นกไ็ ด

ในการดำเนินการตามวรรคสาม ถาคณะกรรมการการเลือกตง้ั เห็นวาจะไมส ามารถดำเนินการ

เลือกต้ังใหแลวเสร็จภายในเวลาท่ีกำหนดในมาตรา 11 คณะกรรมการการเลือกต้ังจะขยายระยะเวลาออกไป

ตามที่สมควรก็ได

การดำเนินการตามวรรคหนึ่งและวรรคสอง ใหเปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการท่ี

คณะกรรมการการเลอื กต้งั กำหนด

มาตรา 94 ในกรณีที่มีเหตุจำเปนอันมิอาจหลีกเล่ียงได เปนเหตุใหไมสามารถจัดการ
เลือกตั้งตามวันที่ผูอำนวยการการเลือกตั้งประจำจังหวัดกำหนด คณะกรรมการการเลือกตั้งจะกำหนด
วันเลือกตงั้ ใหมกไ็ ด แตตองไมเกิน 30 วันนบั แตว ันทเ่ี หตดุ ังกลา วสิ้นสุดลง

** สำคัญ** มาตรา95เม่อื ถึงเวลาปดการออกเสยี งลงคะแนนแลว ใหคณะกรรมการประจำหนว ยเลอื กตงั้
1. ประกาศปด การออกเสยี งลงคะแนน
2. ปดชอ งใสบัตรเลือกตั้งของหีบบัตรเลือกตงั้
3. และงดจายบัตรเลือกต้ังแลวใหทำเครื่องหมายในบัตรเลือกต้ังที่เหลืออยูใหเปนบัตร

เลือกตั้งทีใ่ ชล งคะแนนไมไ ด
5. และจัดทำรายการเก่ียวกับจำนวนบัตรเลือกต้ังท้ังหมด จำนวนผูมาแสดงตนและรับ

บัตรเลือกตั้ง และจำนวนบัตรเลือกตง้ั ที่เหลอื แลวประกาศใหป ระชาชนท่ีอยู ณ ที่เลือกต้ัง ไดทราบ
ในกรณีที่ถึงเวลาปดการออกเสียงลงคะแนนแลวยังมีผูมีสิทธิเลือกตั้งซึ่งประสงคจะออก

เสียงลงคะแนนไดมาแสดงตัวอยูในที่เลือกตั้งเพ่ือใชสิทธิเลือกตั้งแลวกอนเวลาปดการออกเสียงลงคะแนน
แตยังไมไดแสดงตนหรือรับบัตรเลือกตั้ง ใหคณะกรรมการประจำหนวยเลือกตั้งอนุญาตใหบุคคลเหลาน้ัน
แสดงตนและมอบบัตรเลอื กตั้งเพอ่ื ใชส ทิ ธเิ ลอื กตั้งได และเมอื่ ผูม ีสทิ ธิเลือกตง้ั ออกเสียงลงคะแนนเสร็จสิน้ แลว
จึงดำเนนิ การตามวรรคหนึ่งตอไป

เตรยี มสอบ กกต. 2564

เตรียมสอบพนักงาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลอื กตัง้ ชดุ ที่ 2 310

การดำเนินการตามวรรคหนึ่งและวรรคสอง ใหเปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการท่ี
คณะกรรมการการเลอื กตง้ั กำหนด

มาตรา 96 ตั้งแตเวลาที่เปดการออกเสียงลงคะแนน จนถึงเวลาปดการออกเสียงลงคะแนน
หามมิใหผูใดเปด ทำลาย ทำใหเสียหาย ทำใหเปล่ียนสภาพ หรือทำใหไรประโยชน หรือนำไปซ่ึงหีบบัตรเลือกต้ัง
โดยไมม อี ำนาจโดยชอบดวยกฎหมาย

ความในวรรคหนึ่งใหใชบังคับกับหีบบัตรเลือกตั้งที่เก็บบัตรเลือกตั้งภายหลังจากการนับ
คะแนนแลว รวมตลอดท้ังบตั รเลือกต้ัง เอกสาร และหลกั ฐานที่เก่ียวของกับการเลือกตั้งทค่ี ณะกรรมการประจำ
หนวยเลือกตั้งไดจัดทำขึ้นดวยโดยอนุโลม เวนแตเปนการกระทำตามระเบียบที่คณะกรรมการการเลือกตั้ง
กำหนด

หมวด 8
การนับคะแนนเลือกต้งั และการประกาศผลการเลอื กตงั้

** สำคัญ** มาตรา97เม่ือเสร็จส้นิ การออกเสียงลงคะแนนแลว ใหค ณะกรรมการประจำหนวยเลือกตัง้
1. ดำเนินการนบั คะแนนเลอื กต้งั ของแตละหนว ยเลือกตง้ั โดยใหกระทำ
ณ ทเี่ ลอื กต้งั ของแตละหนว ยเลือกต้งั
2. และใหกระทำโดยเปดเผยและหามมใิ หเ ล่อื นหรอื ประวงิ เวลาการนบั คะแนนเลือกตง้ั
ในการนับคะแนนเลือกตั้งตามวรรคหน่ึง ใหนับคะแนนสำหรับบัตรเลือกตั้งที่ลงคะแนนไม

เลอื กผสู มคั รผใู ดดวย
มาตรา 98 ใหคณะกรรมการการเลือกตั้งออกระเบียบเก่ียวกับหลักเกณฑ และวิธกี ารในการนับ

คะแนนเลอื กต้งั ของคณะกรรมการประจำหนวยเลอื กตง้ั
มาตรา 99 หามมิใหผูใดกระทำการใด ๆ เพ่ือใหบัตรเลือกต้ังที่อยูในสถานท่ีนับคะแนนเลือกต้ังมี

จำนวนผิดจากความจรงิ

** สำคญั ** มาตรา 100 ในการนับคะแนนเลือกต้ัง หากคณะกรรมการประจำหนวยเลือกตั้งวินิจฉัย
ดวยเสียงขางมากวาบัตรเลือกต้ังใดเปนบัตรเสีย ใหแยกบัตรเสียออกไวตางหาก และหามมิใหนับบัตรเสีย
เปน คะแนนเลือกตั้งไมวา กรณีใด

บัตรเลือกต้งั ตอไปนีใ้ หถือวาเปน บัตรเสีย
(1) บตั รปลอม
(2) บัตรที่มีการทำเครื่องหมายเพื่อเปนที่สังเกตหรือเขียนขอความใด ๆ ลงในบัตร
เลือกตั้งนอกจากเครื่องหมายในการลงคะแนน เวนแตเปนการกระทำโดยชอบดวยกฎหมายของ
คณะกรรมการประจำหนวยเลือกตง้ั
(3) บตั รท่ีมิไดท ำเครอื่ งหมายลงคะแนน

เตรยี มสอบ กกต. 2564

เตรียมสอบพนักงาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง ชุดที่ 2 311

(4) บัตรที่ทำเครื่องหมายลงคะแนนใหแกผูสมัครเกินจำนวนสมาชิกสภาทองถิ่นหรือ
ผูบรหิ ารทองถนิ่ ทีพ่ ึงมีในเขตเลอื กตัง้ นัน้

(5) บัตรที่ไมอ าจทราบไดวาลงคะแนนใหแกผสู มัครใด เวน แตเ ปน การลงคะแนน “ไมเ ลือก
ผสู มคั รผใู ด”

(6) บัตรที่ไดทำเครื่องหมายลงคะแนนใหแกผูสมัคร แลวทำเครื่องหมายในชองทำ
เครื่องหมาย “ไมเลือกผสู มัครผใู ด”

(7) บตั รทมี่ ลี กั ษณะตามที่คณะกรรมการการเลือกตง้ั กำหนดวาเปนบัตรเสีย
ใหกรรมการประจำหนวยเลือกตั้งสลักหลังในบัตรเสียวา “เสีย” และใหกรรมการประจำ
หนวยเลือกต้งั ลงลายมือช่อื กำกบั ไวไมน อ ยกวา 3 คน
มาตรา 101 หามมิใหกรรมการประจำหนวยเลือกตั้งจงใจนับบัตรเลือกตั้ง อานบัตร

เลอื กต้ัง นับคะแนนเลอื กตั้งหรือรวมคะแนนเลือกต้ังใหผิดจากความจรงิ หรอื กระทำการใดใหบ ตั รเลือกตงั้ ชำรุด

เสียหายหรือใหเปนบัตรเสีย หรือกระทำการใดแกบัตรเสียเพ่ือใหเปนบัตรเลือกต้ังท่ีใชได หรือทำรายงานการ

เลือกตั้งผิดจากความจรงิ

** สำคญั ** มาตรา 102 เมื่อมีการรวมผลการนับคะแนนเลือกตั้ง ณ ที่เลือกตั้งเสร็จสิ้นแลว ให
คณะกรรมการประจำหนว ยเลือกตงั้ ประกาศผลการนบั คะแนนเลอื กตั้งของหนวยเลอื กตั้งนั้น

1.จำนวนบัตรเลือกต้ังที่มีอยูทั้งหมด
2.จำนวนบัตรเลือกตั้งที่ใช
3. และจำนวนบัตรเลือกต้ังท่ีเหลือจากการลงคะแนนเลอื กตง้ั
ท้ังนี้ ใหกระทำโดยเปดเผยและรายงานผลการนับคะแนนเลือกต้ังตอคณะกรรมการการ
เลือกตั้งประจำองคกรปกครองสวนทองถิ่นโดยทันที เพ่ือรวบรวมผลการนับคะแนนของทุกหนวยเลือกตั้ง
ในเขตเลือกตั้งนั้น แลวใหคณะกรรมการการเลือกตั้งประจำองคกรปกครองสวนทองถ่ินประกาศผลการ
นบั คะแนนเลอื กต้ังของเขตเลือกต้งั และรายงานแสดงผลการนับคะแนนเลอื กตัง้ ตอผอู ำนวยการการเลอื กตัง้
ประจำจังหวัดโดยเร็ว
การประกาศผลการนับคะแนนเลือกตั้ง การรายงานผลการนับคะแนนเลือกต้ัง วิธีการและ

ระยะเวลาการเก็บรักษาและทำลายบัตรเลือกต้ังและเอกสารหลักฐานเกี่ยวกับการเลือกตั้ง ใหเปนไปตาม

ระเบยี บท่คี ณะกรรมการการเลือกตงั้ กำหนด

มาตรา 103 ถาการนับคะแนนเลือกต้ัง ณ หนวยเลือกต้ังใดไมสามารถกระทำได เนื่องจาก
เกิดจลาจล อุทกภัย อัคคีภัย เหตุสุดวิสัย หรือเหตุจำเปนอยางอ่ืน ใหคณะกรรมการประจำหนวยเลือกต้ัง
ประกาศงดการนับคะแนนเลือกตั้งสำหรับหนวยเลือกต้ังน้ัน แลวรายงานตอคณะกรรมการการเลือกต้ัง
ประจำองคกรปกครองสวนทองถิ่น ผูอำนวยการการเลือกต้ังประจำจังหวัด และคณะกรรมการการ
เลือกตั้งโดยเร็ว เพื่อใหผูอำนวยการการเลือกตั้งประจำจังหวัดกำหนดวันและสถานท่ีนับคะแนนเลือกต้ัง
ตอไปโดยตองไมเกิน 3 วันนับแตเหตุดังกลาวส้ินสุดลง แตในกรณีท่ีบัตรเลือกตั้งชำรุดหรือสูญหาย หรือการ

เตรียมสอบ กกต. 2564

เตรียมสอบพนกั งาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตัง้ ชุดที่ 2 312

นับคะแนนเลือกตั้งตอไปจะกอใหเกิดความไมสุจริตหรือเที่ยงธรรม คณะกรรมการการเลือกต้ังจะส่ังให
ดำเนินการออกเสยี งลงคะแนนใหมส ำหรบั หนวยเลือกตงั้ น้นั ตามควรแกกรณกี ็ได

มาตรา 104 ในกรณีท่บี ัตรเสียตามมาตรา 100 เปนบัตรปลอม ใหค ณะกรรมการประจำหนวย
เลือกต้ังแยกบัตรปลอมออกไวตางหาก และรายงานตอผูอำนวยการการเลือกต้ังประจำองคกรปกครองสวน
ทองถิ่น และผูอำนวยการการเลือกตั้งประจำจังหวัดเพื่อเสนอเร่ืองใหคณะกรรมการการเลือกตั้งพิจารณา
ดำเนินการ

เมื่อคณะกรรมการการเลือกต้ังไดรับรายงานตามวรรคหน่ึงแลวใหมีหนาท่ีดำเนินการไตสวน
ตรวจสอบโดยพลัน ถามิไดมีหลักฐานอันแสดงไดวาบัตรปลอมท่ีพบน้ันมิใชเปนวิธีการในการทุจริตการเลือกตั้งหรือ
ทำใหการเลือกตั้งไมสุจริตหรือไมเท่ียงธรรม ใหสั่งยกเลิกการเลือกต้ังของหนวยเลือกต้ังนั้น และสั่งใหดำเนินการ
ลงคะแนนใหม ในกรณีที่เห็นสมควรใหคณะกรรมการการเลือกตั้งตรวจสอบบัตรเลือกตั้งของหนวยเลือกต้ัง
อื่นทุกหนวยหรือบางหนวยตามที่เห็นสมควรดวย ในกรณีเชนนั้น ใหคณะกรรมการการเลือกต้ัง หรือ
กรรมการการเลือกต้ังท่ีไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการการเลือกตั้งสั่งใหเปดหีบบัตรเลือกตั้งเพื่อ
ตรวจสอบได แตตองแจงใหผูสมัครทราบวันเวลาและสถานที่ท่ีจะเปดหีบบัตรเลือกตั้ง โดยแจงใหทราบดวยวา
ผูสมัครมีสิทธิเขารวมสังเกตการณดวยตนเองหรือจะสงผูแทนมาแทนตนก็ได ในกรณีท่ีตรวจสอบแลว
คณะกรรมการการเลือกต้ังรับรองวาไมมีการทุจริตหรือไมมีกรณีไมเที่ยงธรรม ใหดำเนินการประกาศผลการนับ
คะแนนเลอื กตัง้ ตอไป

** สำคญั ** มาตรา 105 ในกรณีที่ผลการนับคะแนนเลือกต้ังปรากฏวาจำนวนผูมาใชสิทธิเลือกตั้งไมตรง
กับจำนวนบัตรเลือกตั้งที่ใชออกเสียงลงคะแนน ใหคณะกรรมการประจำหนวยเลือกตั้ง

ดำเนินการตรวจสอบความถูกตอง หากยังไมตรงกันอีกใหรายงานพรอมเหตุผลตอคณะกรรมการการ
เลือกต้ังเพื่อพิจารณาสั่งใหมีการนับคะแนนเลือกตั้งใหมหรือสั่งใหออกเสียงลงคะแนนใหมในหนวยเลือกตั้ง
น้ัน พรอมท้ังแจงใหผูอำนวยการการเลือกตั้งประจำองคกรปกครองสวนทองถิ่นทราบ และนำสงหีบบัตร
เลือกตั้ง พรอมวัสดุอุปกรณการเลือกต้ังแกคณะกรรมการการเลือกตั้งประจำองคกรปกครองสว นทองถ่ิน
หรอื ผซู งึ่ คณะกรรมการการเลอื กตงั้ ประจำองคกรปกครองสว นทองถ่ินมอบหมาย

ในกรณีที่คณะกรรมการการเลือกตั้งสั่งใหมีการนับคะแนนเลือกตั้งใหมตามวรรคหนึ่ง หาก
ปรากฏวาจำนวนผูมาใชสิทธิเลือกตั้งไมตรงกับจำนวนบัตรเลือกตั้งที่ใชออกเสียงลงคะแนน ให
สันนิษฐานวาการเลือกตั้งในหนวยเลือกต้ังนั้นมิไดเปนไปโดยสุจริตหรือเท่ียงธรรม และใหคณะกรรมการการ
เลอื กต้ังตรวจสอบบัตรเลอื กตั้งของหนวยเลือกตงั้ อน่ื ทุกหนวยหรอื บางหนวยตามทเ่ี หน็ สมควรดว ย ทั้งน้ี ให
นำความในมาตรา 104วรรคสอง มาใชบงั คบั แกก ารตรวจสอบบตั รเลือกตง้ั ดังกลา วดวยโดยอนโุ ลม

ในกรณีที่ปรากฏภายหลังประกาศผลการเลือกตั้งวา การนับคะแนนเลือกตั้งในหนวย
เลือกต้ังใดหรือในเขตเลือกต้ังใดมิไดเปนไปโดยสุจริตหรือเที่ยงธรรม ใหคณะกรรมการการเลือกต้ังมีอำนาจสั่ง
ใหเปดหีบบัตรเลือกต้ังและนับคะแนนเลือกตั้งใหมตามหลักเกณฑและวิธีการที่คณะกรรมการการเลือกต้ัง
กำหนด แตท้ังนีต้ องกระทำภายใน 90 วันนับแตว นั ทป่ี ระกาศผลการเลือกตงั้

เตรยี มสอบ กกต. 2564

เตรียมสอบพนักงาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลือกต้งั ชุดท่ี 2 313

ในกรณีที่ผลการนับคะแนนเลือกต้ังใหมตามวรรคสามเปลี่ยนแปลงผูไดรับเลือกตั้ง
ใหผูไดรับเลือกตั้งเดิมพนจากตำแหนงนับแตวันท่ีคณะกรรมการการเลือกตั้งประกาศผลการเลือกตั้งจาก
การนับคะแนนเลือกตั้งใหม และใหผูไดรับเลือกตั้งใหมดำรงตำแหนงเทาวาระที่เหลืออยูของผูไดรับ
เลือกตง้ั เดมิ

มาตรา 106 เม่ือผูอำนวยการการเลือกตั้งประจำจังหวัดไดรับรายงานผลการนับคะแนน
เลือกตั้งตามมาตรา 102 แลวเห็นวาการเลือกตั้งและการนับคะแนนเลือกตงั้ เปนไปโดยสุจริตและเที่ยงธรรม
ใหร ายงานตอคณะกรรมการการเลือกตง้ั เพ่ือประกาศผลการเลอื กตั้ง

ในกรณีท่ีมีผูรอ งเรียนโดยมหี ลกั ฐานตามสมควรวา การนับคะแนนเลือกตง้ั มิไดเปนไปโดยสุจริต

หรือเท่ียงธรรม ใหผูอำนวยการการเลือกตั้งประจำจังหวัดรายงานใหคณะกรรมการการเลือกตั้งพิจารณา ถา

คณะกรรมการการเลือกต้ังเห็นดวยกับรายงานดังกลาว ใหมีคำสั่งใหนับคะแนนเลือกตั้งใหม การนับคะแนนใหม

ใหเปน ไปตามหลกั เกณฑแ ละวิธกี ารท่ีคณะกรรมการการเลอื กต้ังกำหนด

ในกรณีท่ีผอู ำนวยการการเลอื กตงั้ ประจำจังหวัด มเี หตุอันควรสงสยั โดยมหี ลักฐานอันควรเชื่อ

ไดวามีการฝาฝนมาตรา 65 หรือมีกรณีอื่นที่ทำใหการเลือกตั้งมิไดเปนไปโดยสุจริตหรือเท่ียงธรรม ให

รายงานตอ คณะกรรมการการเลือกต้ังโดยพลัน

เมื่อคณะกรรมการการเลือกต้ังไดรับรายงานตามวรรคสาม หรือเม่ือมีกรณีท่ีคณะกรรมการ

การเลือกตั้งมีเหตุอันควรสงสัยโดยมีหลักฐานตามสมควรวามีการฝาฝนมาตรา 65 หรือมีกรณีอื่นที่ทำใหการ

เลือกตั้งมิไดเปนไปโดยสุจริตหรือเท่ียงธรรม ใหคณะกรรมการการเลือกต้ังดำเนินการไตสวนโดยพลันถาผลการ

ไตสวนปรากฏวามีมูล ใหคณะกรรมการการเลือกต้ังมีคำส่ังใหมีการเลือกตั้งใหม เวนแตการฝาฝนหรือความไม

สุจริตหรือไมเที่ยงธรรมดังกลาวมิไดเกี่ยวของกับผูไดคะแนนในลำดับท่ีจะไดรับเลือกต้ัง ในกรณีเชนนี้ใหดำเนินการ

เพื่อใหมีการลงโทษผกู ระทำความผิดตอ ไปโดยเรว็

เพื่อประโยชนในการหาความจริง ใหคณะกรรมการการเลือกตั้งมีหนาที่และอำนาจไตสวน

ครอบคลุมถึงการเลอื กตง้ั ในหนว ยเลือกตั้งท่มี ไิ ดม เี หตุสงสัยดงั กลาวตามท่ีเหน็ สมควรดว ย

มาตรา 107 กอนประกาศผลการเลือกต้ัง ถา คณะกรรมการการเลือกตั้งสืบสวนหรือไตส วน
แลวเห็นวา มีหลักฐานอันควรเชื่อไดวาผูสมัครผูใดกระทำการอันเปนเหตุใหการเลือกต้ังน้ันมิไดเปนไปโดย
สุจริตหรือเที่ยงธรรม หรือมีหลักฐานอันควรเชื่อไดวาผูสมัครผูใดกอใหผูอ่ืนกระทำ สนับสนุน หรือรูเห็นเปน
ใจใหบุคคลอ่ืนกระทำการดังกลา ว หรอื รูวา มีการกระทำดังกลาวแลว ไมด ำเนินการเพื่อระงับการกระทำน้ัน ให
คณะกรรมการการเลือกตั้งสั่งระงับสิทธิสมัครรับเลือกตั้งของผูสมัครที่กระทำการเชนน้ันทุกรายไวเปน
การชัว่ คราวเปนระยะเวลาไมเ กิน 1 ปนับแตว นั ทค่ี ณะกรรมการการเลือกต้งั มคี ำสั่ง

คำสัง่ ของคณะกรรมการการเลอื กตัง้ ตามวรรคหนง่ึ ใหเ ปนท่ีสดุ
ในกรณที ปี่ รากฏตอ คณะกรรมการการเลอื กต้ังวามกี ารกระทำอนั เปนการฝาฝน ความในวรรค

หนึ่ง ไมวาเปนการกระทำของผูใด ถาเห็นวาผูสมัครผูใดจะไดรับประโยชนจากการกระทำนั้น

คณะกรรมการการเลือกตั้งมีอำนาจส่ังใหผูสมัครผูนั้นระงับหรือดำเนินการใดเพ่ือแกไขความไมสุจริตหรือความ

ไมเที่ยงธรรมนั้นภายในเวลาที่กำหนด ในกรณีที่ผูสมัครผูนั้นไมดำเนินการตามคำส่ังของคณะกรรมการการ

เตรยี มสอบ กกต. 2564

เตรยี มสอบพนักงาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกต้ัง ชดุ ท่ี 2 314

เลือกต้ังโดยไมมีเหตุอันสมควร ใหสันนิษฐานวาผูสมัครผูน้ันเปนผูสนับสนุนการกระทำนั้น เวน แตผูสมัครน้ันจะ

พสิ จู นไดว าไมมีสวนรเู ห็นในการกระทำดังกลา ว

ในกรณีที่มีคำสั่งระงับสิทธิสมัครรับเลือกต้ังตามมาตราน้ีภายหลังวันออกเสียงลงคะแนนแต

กอ นวันประกาศผลการเลือกตั้ง และผสู มคั รที่ถูกระงับสิทธสิ มัครรับเลือกต้ังท่ีไดคะแนนเลือกตง้ั ในลำดบั ทไ่ี ดรับ

เลือกต้ังในเขตเลือกตงั้ น้ัน ใหคณะกรรมการการเลือกตัง้ ส่ังใหมีการเลอื กต้ังใหม

มาตรา 108 เมื่อมีการดำเนินการตามมาตรา 107 แลว ใหคณะกรรมการการเลือกตั้งยื่นคำรอง
ตอศาลอุทธรณหรือศาลอุทธรณภาคที่มีเขตอำนาจเพื่อพิจารณา ในกรณีท่ีศาลพิพากษาวาผูน้ันกระทำผิดตาม
มาตรา 107 ใหศาลสัง่ เพกิ ถอนสิทธิสมคั รรบั เลือกต้งั หรอื เพิกถอนสิทธิเลือกต้ังของผูนั้นเปน เวลา 10 ป

เม่ือประกาศผลการเลือกตั้งแลวปรากฏหลักฐานอันควรเช่ือไดวาผลการเลือกต้ังเกิดจากการ
เลือกตั้งท่ีมิไดเปนไปโดยสุจริตหรือเท่ียงธรรม ใหคณะกรรมการการเลือกตั้งยื่นคำรองตอศาลอุทธรณหรือศาล
อทุ ธรณภาคเพื่อพิจารณา ในกรณีทีศ่ าลวินิจฉยั วา ผลการเลอื กตั้งเกิดจากการเลือกตัง้ ที่มิไดเปน ไปโดยสจุ ริต
หรือเท่ียงธรรม ใหศาลสั่งใหม ีการเลอื กต้ังใหมสำหรบั การเลอื กต้ังนั้น และสงั่ เพิกถอนสิทธิสมัครรับเลือกตั้ง
หรือเพิกถอนสิทธิเลือกตั้งของผูท่ีกระทำการอันเปนเหตุใหการเลือกต้ังมิไดเปนไปโดยสุจริตหรือเที่ยงธรรม
เปนเวลา 10 ป

การพิจารณาของศาลอุทธรณหรือศาลอุทธรณภาคตามวรรคหนึ่งและวรรคสองใหนำสำนวน

การสืบสวนหรือไตสวนของคณะกรรมการการเลือกต้ังเปนหลักในการพิจารณา และเพ่ือประโยชนแหงความยุติธรรม

ใหศ าลมอี ำนาจสั่งไตสวนขอ เท็จจรงิ และพยานหลักฐานเพิม่ เติมได

เม่ือศาลอุทธรณหรือศาลอุทธรณภาคมีคำส่ังรับคำรองตามวรรคสองไวพิจารณาแลว ให

ผูบริหารทองถิ่น หรือสมาชิกสภาทองถิ่น แลวแตกรณี หยุดปฏิบัติหนาที่จนกวาศาลจะพิพากษาวาผูน้ันมิได

กระทำผิด

ในกรณีที่ผูบริหารทองถิ่นตองหยุดปฏิบัติหนาที่ตามวรรคส่ี ใหรองผูบริหารทองถิ่น
เลขานุการผบู รหิ ารทอ งถ่นิ ทปี่ รกึ ษาผูบริหารทอ งถ่ินนน้ั หยุดปฏบิ ัติหนา ทีด่ ว ย

คำวนิ จิ ฉยั ของศาลอทุ ธรณหรือศาลอุทธรณภาคใหเ ปน ทสี่ ุด
มาตรา 109 ในกรณีท่ศี าลอทุ ธรณหรอื ศาลอทุ ธรณภาคมีคำส่งั ใหเพิกถอนสิทธิสมัครรับเลอื กต้ัง

หรือเพิกถอนสิทธิเลือกตั้งผูสมัครรับเลือกต้ังหรือสมาชิกสภาทองถิ่นหรือผูบริหารทองถิ่นผูใด และเปนเหตุใหตองมี

การเลือกตั้งใหม ไมวาจะมีคำรองขอหรือไมใหศาลสั่งใหผูน้ันตองรับผิดในคาใชจายสำหรับการเลือกตั้งคร้ังท่ีเปน

เหตุใหศาลมีคำสั่งเชนวานั้น จำนวนคาใชจายดังกลาวใหศาลพิจารณาจากหลักฐานการใชจายที่คณะกรรมการ

การเลือกตั้งเสนอตอ ศาล

คาใชจายที่ไดรับตามวรรคหน่ึง เม่ือหักคาใชจายของสำนักงานคณะกรรมการการเลือกต้ัง

แลว ที่เหลือจากนั้นใหสำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้งโอนใหแกองคกรปกครองสวนทองถ่ินที่เปน

ผูด ำเนนิ การจัดการเลือกต้ัง

เตรียมสอบ กกต. 2564

เตรยี มสอบพนักงาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตง้ั ชุดท่ี 2 315

** สำคัญ** มาตรา 110 ภายใตบังคับมาตรา 111
- การเลือกตั้งผูบริหารทองถิ่น ใหผูสมัครซ่ึงไดรับคะแนนเสียงเลือกต้ังมากที่สุดและ

มากกวา คะแนนเสยี งท่ไี มเ ลอื กผใู ด เปนผไู ดรับเลอื กตัง้
- การเลือกตั้งสมาชิกสภาทองถิ่นในเขตเลือกตั้งที่มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาทองถิ่นได 1

คน ใหผูสมคั รซงึ่ ไดร บั คะแนนเสียงเลือกต้งั มากทสี่ ุดและมากกวาคะแนนเสยี งท่ีไมเลือกผใู ดเปนผูไ ดรบั เลือกตั้ง
-ในเขตเลือกตั้งที่มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาทองถิ่นไดมากกวา 1 คน ใหผูสมัครซึ่งไดคะแนน

เลอื กตง้ั มากทส่ี ุดเรยี งตามลำดบั ลงมาในเขตเลอื กตงั้ นน้ั และไดรบั คะแนนมากกวา คะแนนเสียงที่ไมเ ลือกผใู ด
เปน ผไู ดร ับเลอื กตั้งตามจำนวนสมาชิกสภาทองถิ่นทจ่ี ะพึงมใี นเขตเลอื กตงั้ นั้น

ในกรณีตามวรรคหนึ่ง หากมีผูสมัครไดคะแนนเลือกตั้งเทากันอันเปนเหตุใหไมสามารถ
เรียงลำดับผูไดรับเลือกตั้งไดตามวรรคหนึ่ง ใหผูสมัครที่ไดคะแนนเลือกตั้งเทากันจับสลากเพื่อใหไดผู
ไดรบั เลือกตัง้ ครบจำนวนท่ีจะพึงมีในเขตเลอื กต้ังนั้น ซึ่งตองกระทำตอหนา ผูอำนวยการการเลือกตั้งประจำ
องคก รปกครองสว นทอ งถิ่นนั้น ตามวธิ กี ารท่คี ณะกรรมการการเลือกตง้ั ประกาศกำหนด

ในกรณีตามวรรคหน่ึง หากไมมีผูสมัครผูใดไดรับเลือกต้ังเพราะเหตุท่ีไมไดคะแนนมากกวา
คะแนนเสียงท่ีไมเลือกผูใด ใหผูอำนวยการการเลือกต้ังประจำจังหวัดประกาศใหมีการเลือกต้ังใหม และ
ดำเนินการใหมีการรับสมัครผูสมัครรับเลือกตั้งใหม โดยผูสมัครรับเลือกตั้งรายเดิมทุกรายไมมีสิทธิสมัคร
รบั เลอื กต้งั ในการเลือกตงั้ ท่ีจะจดั ขนึ้ ใหม

** สำคัญ** มาตรา 111
- กรณีท่ีมีผูสมัครรับเลือกตั้งเปนผูบริหารทองถิ่นเทากับจำนวนผูบริหารทองถ่ินที่จะพึงมีใน

เขตเลอื กตัง้ นนั้
- กรณีท่ีมีผูสมัครรับเลือกต้ังเปนสมาชิกสภาทองถ่ินเทากับหรือนอยกวาจำนวนสมาชิกสภา

ทอ งถิ่นทีจ่ ะพงึ มใี นเขตเลอื กตง้ั นน้ั
(ท้ัง 2 กรณี) ผูสมัครรับเลือกต้ังจะไดรับเลือกต้ังตอเม่ือไดรับคะแนนเสียงเลือกต้ังไมนอย

กวารอยละ 10 ของจำนวนผูมีสทิ ธเิ ลือกต้ังในเขตเลือกตั้งนัน้ และมากกวาคะแนนเสียงท่ีไมเ ลือกผใู ด
กรณีท่ีไมมีผูไดรับเลือกตั้งตามวรรคหน่ึง ใหผูอำนวยการการเลือกตั้งประจำจังหวัดประกาศ

ใหมีการเลือกตั้งใหม และดำเนินการใหมีการรับสมัครผูสมัครรับเลือกตั้งใหม โดยผูสมัครรับเลือกต้ังราย
เดิมทุกรายซ่ึงไมไดคะแนนมากกวาคะแนนเสียงที่ไมเลือกผูใด ไมมีสิทธิสมัครรับเลือกต้ังในการเลือกตั้งที่จะ
จัดขึน้ ใหม

มาตรา 112 ในการดำเนินการจัดใหมีการเลือกต้ังใหมตามมาตรา 110 หรือมาตรา 111
สำหรับผบู รหิ ารทอ งถ่นิ ใหดำเนินการจนกวาจะมีผูไดร บั เลือกตั้ง

ในการดำเนินการจัดใหมีการเลือกตั้งใหมตามมาตรา 110 หรือมาตรา 111 สำหรับสมาชิก
สภาทองถิ่น หากไดจัดใหมีการเลือกตั้งใหมอีกครั้งหนึ่งแลว ยังไมมีผูไดรับเลือกตั้ง ใหงดการจัดใหมีการ

เตรียมสอบ กกต. 2564

เตรียมสอบพนกั งาน สำนักงานคณะกรรมการการเลอื กตงั้ ชุดท่ี 2 316

เลือกตั้งตอไป และใหถอื วาสภาทอ งถน่ิ นน้ั มสี มาชกิ เทาท่ีมีอยจู นกวา สภาทองถ่นิ นนั้ จะครบวาระ เวน แตกฎหมาย
วา ดวยการจัดตั้งองคก รปกครองสวนทองถิ่นจะกำหนดจำนวนสมาชกิ สภาทอ งถน่ิ ไวเปนอยา งอ่ืน

หมวด 10
การดำเนนิ การตรวจสอบการเลือกตงั้

** สำคัญ** มาตรา 113 ผูมีสิทธิเลือกตั้ง หรือผูสมัคร มีสิทธิยื่นคัดคานตอคณะกรรมการการเลือกตั้ง
วาการเลือกต้ังในเขตเลือกตั้งท่ีตนมีสิทธิเลือกตั้ง หรือท่ีตนสมัครรับเลือกต้ัง แลวแตกรณี มิไดเปนไปโดย
สจุ รติ หรือเท่ียงธรรม หรอื ไมชอบดว ยกฎหมาย

ผูมีสิทธิยื่นคัดคานการเลือกตั้งตามวรรคหนึ่งอาจยื่นคัดคานไดตั้งแตวันที่ประกาศใหมีการ
เลือกต้งั จนถงึ 30 วนั นับแตว ันประกาศผลการเลอื กต้งั เวน แต

(1) การคัดคานเพราะเหตุตามมาตรา 60 หรือมาตรา 62 ใหย่ืนไดตั้งแตวันเลือกต้ังจนถึง
180 วนั นบั แตว ันประกาศผลการเลือกต้งั

(2) การคัดคานเกี่ยวกับการนับคะแนนใหคัดคานในระหวางเวลาที่ยังนับคะแนนไมแลว
เสรจ็ หรอื ในกรณคี ัดคานการรวมคะแนน ใหค ัดคา นกอ นประกาศผลการนบั คะแนนทหี่ นว ยเลอื กตั้ง

เมื่อคณะกรรมการการเลือกตั้งไดรับคำคัดคานการเลือกตั้งใหดำเนินการสืบสวนหรือไต
สวนเพ่ือหาขอเท็จจรงิ โดยพลัน และพิจารณาดำเนินการตามหมวดน้ี แลวแตกรณีตอไป ทั้งนี้ การยน่ื คำคดั คาน
การเลือกตั้งและการพิจารณาใหเปนไปตามวิธีการท่คี ณะกรรมการการเลอื กต้ังกำหนด

มาตรา 114 ในกรณีท่ีผูอำนวยการการเลือกต้ังประจำจังหวัดเห็นวา คณะกรรมการการ
เลือกต้ังประจำองคกรปกครองสวนทองถิ่นหรอื ผูอำนวยการการเลือกตั้งประจำองคกรปกครองสวนทองถ่ิน
กระทำการไปในทางที่อาจเกิดความเสียหายแกการจัดการเลือกต้ัง หรืออาจทำใหการเลือกตั้งมิไดเปนไปโดย
สุจริตหรือเท่ียงธรรม หรือไมปฏิบัติตามคำแนะนำตักเตือน ใหรายงานตอคณะกรรมการการเลือกตั้งหรือ
กรรมการการเลือกต้ัง และคณะกรรมการการเลือกต้ังหรือกรรมการการเลือกต้ังอาจมีคำสั่งใหระงับ ยับยั้ง
แกไขเปล่ยี นแปลง หรือสงั่ ใหก ระทำการอยา งใดอยา งหน่งึ ไดต ามท่ีเหน็ สมควร

เมื่อคณะกรรมการการเลือกตั้งมีคำสั่งตามวรรคหนึ่งแลว ใหคณะกรรมการการเลือกตั้งมี
อำนาจสง่ั ใหคณะกรรมการการเลอื กตั้งประจำองคก รปกครองสว นทอ งถ่ินหรือผอู ำนวยการการเลือกตัง้ ประจำ
องคกรปกครองสวนทองถ่ินผูนั้นพนจากหนาท่ีความรับผิดชอบและแตงตั้งบุคคลอื่นใหปฏิบัติหนาท่ีแทน
ผูอำนวยการการเลือกตั้งประจำองคกรปกครองสวนทองถิ่น ใหคณะกรรมการการเลือกตั้งประจำองคกร
ปกครองสวนทองถ่ินหรือผูอำนวยการการเลือกตั้งประจำองคกรปกครองสวนทองถิ่นที่พนจากหนาท่ี สงมอบ
เอกสารหลักฐานเกี่ยวกับการเลือกต้ังและอำนวยความสะดวกแกคณะกรรมการการเลือกต้ังประจำองคกร
ปกครองสวนทองถิ่นหรือผูอำนวยการการเลือกตั้งประจำองคกรปกครองสวนทองถ่ินบุคคลซ่ึงไดรับแตงตั้งขึ้น
ใหม

เตรียมสอบ กกต. 2564

เตรียมสอบพนักงาน สำนักงานคณะกรรมการการเลอื กตงั้ ชุดท่ี 2 317

มาตรา 115 ในกรณีที่คณะกรรมการการเลือกต้ังมีคำส่ังใหคณะกรรมการการเลือกตั้งประจำ
องคกรปกครองสวนทองถิ่นหรือผูอำนวยการการเลือกตั้งประจำองคกรปกครองสวนทองถิ่นพนจากหนาท่ี
ความรับผิดชอบตามมาตรา 114 วรรคสอง ถาคณะกรรมการการเลือกตั้งเห็นสมควรใหมีการดำเนินการทาง
วินัยดวย ใหแจงตอผูบังคับบัญชาของคณะกรรมการการเลือกตั้งประจำองคกรปกครองสวนทองถิ่นหรือ
ผูอำนวยการการเลือกตั้งประจำองคกรปกครองสวนทองถิ่นน้ันเพ่อื ดำเนนิ การทางวินยั ตอไป

หมวด 10
บทกำหนดโทษ

มาตรา 116 ผูซ่ึงกระทำความผิดตามมาตรา 126 วรรคหน่ึง ใหถือวากระทำการอันเปนการ
ทุจรติ ในการเลอื กต้งั แตไ มรวมถึงกรณีทไ่ี ดรับยกเวนโทษตามมาตรา 126 วรรคสาม

มาตรา 117 ผูบังคับบัญชาหรือนายจางผูใดขัดขวาง หนวงเหนี่ยว หรือไมใหความสะดวก
โดยไมมีเหตุอันสมควรในการไปใชสิทธิเลือกตั้งของผูใตบังคับบัญชาหรือลูกจาง แลวแตกรณี ตองระวางโทษจำคุก
ไมเกนิ 2 ป หรือปรบั ไมเกิน 40,000 บาท หรือท้งั จำทง้ั ปรบั

มาตรา 118 ผูใดกระทำการอันเปนเท็จ เพื่อใหผูอ่ืนเขาใจผิดวาผูสมัครผูใดกระทำการฝาฝน
หรือไมปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ ตองระวางโทษจำคุกไมเกิน 2 ปหรือปรับไมเกิน 40,000 บาท และใหศาล
ส่งั เพกิ ถอนสทิ ธิเลือกตัง้ ของผูน น้ั มีกำหนด 5 ป

ถาการกระทำตามวรรคหน่ึงเปนการเพ่ือจะแกลงใหผูสมัครนั้นถูกเพิกถอนสิทธิเลือกต้ังหรือสิทธิ
สมัครรับเลือกตั้ง หรือเพ่ือไมใหมีการประกาศผลการเลือกต้ัง ตองระวางโทษจำคุกต้ังแต 5 ปถึง 10 ป และ
ปรับต้ังแตหนึ่งแสนบาทถึงสองแสนบาท และใหศาลส่ังเพิกถอนสิทธิเลือกต้ังของผูน้ันมกี ำหนด 20 ป

ถาการกระทำตามวรรคหน่ึงเปนการแจงหรือใหถอยคำตอคณะกรรมการการเลือกตั้งหรือผูซึ่ง
คณะกรรมการการเลือกตั้งมอบหมาย ตองระวางโทษจำคุกต้ังแต 7 ปถึง 10 ป และปรับต้ังแต 140,000 บาท
ถงึ 200,000 บาท และใหศาลสัง่ เพกิ ถอนสิทธเิ ลือกตง้ั ของผนู ้นั มกี ำหนด 20 ป

ถาการกระทำตามวรรคสองหรือวรรคสาม เปนการกระทำหรือกอใหผูอ่ืนกระทำ สนับสนุน
หรอื รูเห็นเปนใจของหัวหนาพรรคการเมือง ใหถือวา พรรคการเมืองนน้ั กระทำการอันอาจเปนภัยตอความมั่นคงของ
รัฐตามกฎหมายประกอบรฐั ธรรมนูญวาดว ยพรรคการเมอื ง

มาตรา 119 กรรมการการเลือกตั้ง เลขาธิการคณะกรรมการการเลือกต้ัง ผูอำนวยการการ
เลือกตั้งประจำจังหวัด ผูตรวจการเลือกตั้ง กรรมการการเลือกตั้งประจำองคกรปกครองสวนทองถิ่น ผูอำนวยการ
การเลือกตั้งประจำองคกรปกครองสวนทองถิ่น หรือผูซึ่งไดรับแตงตั้งหรือมอบหมายใหดำเนินการเกี่ยวกับ
การเลือกตั้งตามพระราชบัญญัตินี้ จงใจไมปฏิบัติตามหนาที่หรือกระทำการอันมิชอบดวยหนาท่ีเพื่อเปนคุณ
หรือเปนโทษแกผูสมัคร หรือกระทำการหรือละเวนกระทำการโดยทุจริตหรือประพฤติมิชอบในการปฏิบัติหนาท่ี
ตองระวางโทษจำคุกต้ังแต 3 ปถึง 20 ป และปรับต้ังแต 20,000 บาทถึง 200,000 บาท และใหศาลสั่งเพิกถอน
สทิ ธสิ มัครรับเลอื กต้ัง

เตรยี มสอบ กกต. 2564

เตรยี มสอบพนักงาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลือกตั้ง ชุดท่ี 2 318

มาตรา 120 ผูใดลงสมัครรับเลือกตั้งโดยรูอยูแลววาตนเปนผูขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะ
ตองหามในการสมัครรับเลือกตั้ง ตองระวางโทษจำคุกต้ังแต 1 ปถึง 10 ป และปรับตั้งแต20,000 บาทถึง
200,000 บาท และใหศ าลสงั่ เพิกถอนสทิ ธเิ ลอื กต้งั ของผนู ัน้ มีกำหนด 20 ป

มาตรา 121 ผูใดจงใจกระทำดวยประการใด ๆ ใหบัตรเลือกต้ังท่ีตนไดรับมอบจากกรรมการ
ประจำหนวยเลือกต้ัง ชำรุดหรือเสียหาย ตองระวางโทษปรับไมเกิน 5,000 บาท และมิใหถือวาเปนความผิดฐาน
ทำใหเ สียทรพั ย

ผูใดจงใจกระทำดวยประการใด ๆ ใหบัตรเลือกตั้งชำรุดหรือเสียหายหรือใหเปนบัตรเสียอันมิใช
เปนการกระทำตามวรรคหนึ่ง และเปนการกระทำโดยมีเจตนาเพื่อใหการเลือกตั้งไมเปนไปโดยสุจริตหรือ
เท่ียงธรรม หรอื กระทำดวยประการใด ๆ แกบ ตั รเสยี เพ่ือใหเปนบัตรเลือกตงั้ ทีใ่ ชได หรอื ทำหรอื ใชบ ัตรปลอมเพ่ือ
ใชในการออกเสียงลงคะแนน ตองระวางโทษจำคุกไมเกิน 5 ป และปรับไมเกิน 100,000 บาท และใหศาลส่ังเพิก
ถอนสิทธิเลือกตัง้ ของผูนั้นมกี ำหนด 10 ป

ถาผูกระทำความผิดตามวรรคหน่ึงหรือวรรคสองเปนเจาพนักงานผูดำเนินการเลือกตั้งตองระวาง
โทษจำคุกตั้งแต 1 ปถึง 10 ป และปรับต้ังแต 20,000 บาทถึง 200,000 บาท และใหศาลส่ังเพิกถอนสิทธิ
เลือกต้งั ของผนู ้นั มีกำหนด 20 ป

มาตรา 122 ในระหวางเวลาเปดการออกเสียงลงคะแนนจนถึงเวลาปดการออกเสียงลงคะแนน
ถากรรมการประจำหนวยเลือกต้ังเปดเผยใหแกผูใดทราบวา ผูมีสิทธิเลือกตั้งผูใดมาลงคะแนนหรือยังไมมา
ลงคะแนนเพื่อเปนคุณหรือเปนโทษแกผูสมัคร ตองระวางโทษจำคุกไมเกิน 1 ป หรือปรับไมเกิน 20,000
บาท หรือทงั้ จำทั้งปรับ

** สำคญั ** มาตรา 123 ผูใดขาย จำหนาย จายแจก หรือจัดเลี้ยงสุราทุกชนิด ในเขตเลือกตั้ง
ในระหวางเวลา 18.00 นาิกาของวันกอนวันเลือกต้ังหนึ่งวัน จนถึงเวลา 18.00 นาิกาของวันเลือกต้ัง ตอง
ระวางโทษจำคุกไมเกนิ 6 เดอื น หรือปรับไมเกนิ 10,000 บาท หรือทง้ั จำทงั้ ปรบั

มาตรา 124 ผูใดเลนหรือจัดใหมีการเลนการพนันขันตอใด ๆ เกี่ยวกับผลของการเลือกตั้ง
ตองระวางโทษจำคุกต้ังแต 1 ปถึง 5 ป หรือปรับต้ังแตสอง 20,000 บาทถึง 100,000 บาท หรือท้ังจำทั้งปรับ
และใหศาลสั่งเพิกถอนสิทธิเลือกต้ังของผูเลนมีกำหนด 10 ป และเพิกถอนสิทธิสมัครรับเลือกตั้งของผูจัดใหมี
การเลน

ถาการกระทำตามวรรคหน่ึงเปนการกระทำของผูสมัคร ตองระวางโทษจำคุกตั้งแต
1ปถึง 10 ป หรือปรับตั้งแต 20,000 บาทถึง 200,000 บาท หรือทั้งจำท้ังปรับ และใหศาลสั่งเพิกถอนสิทธิ
สมัครรับเลือกตงั้ ของผสู มัครผนู ้นั

มาตรา 125 ผูใดฝาฝนมาตรา 45 ตองระวางโทษจำคุกไมเกิน 2 ป หรือปรับไมเกิน40,000
บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ และใหศาลส่ังเพิกถอนสทิ ธเิ ลอื กตงั้ ของผนู น้ั มกี ำหนด 5 ป

มาตรา 126 ผูใดฝาฝนมาตรา 54 มาตรา 65 (1) หรือ (2) มาตรา 67 วรรคหนึ่ง มาตรา 84
มาตรา 85 วรรคหนึ่ง มาตรา 88 มาตรา 92 มาตรา 99 หรือมาตรา 101 ตองระวางโทษจำคุกตั้งแต

เตรียมสอบ กกต. 2564

เตรียมสอบพนกั งาน สำนักงานคณะกรรมการการเลอื กตงั้ ชดุ ท่ี 2 319

1 ป ถึง 10 ป หรือปรับต้ังแต 20,000 บาทถึง 200,000 บาท หรือทั้งจำท้ังปรับ และใหศาลส่ังเพิกถอนสิทธิ
เลอื กต้งั ของผนู ั้นมีกำหนด 20 ป

ผูใดฝาฝนมาตรา 65 (3) (4) หรือ (5) หรือมาตรา 69 ตองระวางโทษจำคุกตั้งแต 1 ปถึง 10
ป หรือปรับตั้งแต 20,000 บาทถึง 200,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ และใหศาลส่ังเพิกถอนสิทธิเลือกตั้งของผู
นัน้ มกี ำหนด 20 ป

ในกรณีทผ่ี ฝู า ฝน ตามวรรคหน่งึ เปน การฝา ฝนมาตรา 92 ถา ผูน้นั ไดแ จง ถึงการกระทำอันเปนการ
ฝาฝนนั้นตอคณะกรรมการการเลือกตั้งหรือผูซึ่งคณะกรรมการการเลือกตั้งมอบหมายกอนถูกจับกุม ผูน้ันไม
ตองรับโทษและไมต องถูกเพกิ ถอนสทิ ธเิ ลือกตัง้ หรือสทิ ธิสมัครรบั เลอื กต้งั

ในกรณีท่ีศาลมีคำพิพากษาถึงท่ีสุดใหลงโทษผูกระทำความผิดตามมาตรา 65 (1) หรือ (2) ให
ศาลสง่ั จา ยเงินสนิ บนนำจบั ไมเกินก่ึงหนงึ่ จากจำนวนเงนิ คาปรับแกผ ูแจง ความนำจับ

มาตรา 127 ผูสมัครผูใดฝาฝนมาตรา 60 วรรคสาม ตองระวางโทษจำคุกต้ังแต 1 ปถึง
5 ป หรือปรับตั้งแต 20,000 บาทถึง 100,000 บาท หรือปรับเปนจำนวนสามเทาของจำนวนเงินท่ีเกินจำนวน
คาใชจายในการเลือกตั้งท่ีผูอำนวยการการเลือกตั้งประจำจังหวัดประกาศกำหนด แลวแตจำนวนใดจะมากกวากัน
หรอื ทงั้ จำทง้ั ปรบั และใหศาลส่งั เพิกถอนสิทธเิ ลือกตัง้ ของผนู ั้นมกี ำหนด 10 ป

มาตรา 128 ผูสมัครผูใดไมยื่นบัญชีรายรับและรายจายตอคณะกรรมการการเลือกตั้งภายใน
ระยะเวลาที่กำหนด หรือจงใจยื่นเอกสารหรือหลักฐานไมถูกตองครบถวนตามมาตรา 62 ตองระวางโทษ
จำคุกไมเกิน 2 ป หรือปรับไมเกิน 40,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ และใหศาลสั่งเพิกถอนสิทธิเลือกตั้งของผูน้ันมี
กำหนด 5 ป

ถาบัญชีรายรับและรายจายที่ยื่นตามมาตรา 62 เปนเท็จ ผูสมัครตองระวางโทษจำคุกต้ังแต 1 ป
ถึง 5 ป และปรับต้ังแต 20,000 บาทถึง 100,000 บาท และใหศาลสั่งเพิกถอนสิทธิเลือกต้ังของผูน้ันมีกำหนด
10 ป

มาตรา 129 ผูใด
(1) ไมปฏิบัติตามมาตรา 64 หรือไมปฏิบัติตามคำสั่งคณะกรรมการการเลือกตั้งตามมาตรา
73 หรือ
(2) ฝา ฝน มาตรา 66 วรรคสอง มาตรา 70 หรือมาตรา 74 วรรคหนง่ึ
ผูน้ันตองระวางโทษจำคุกไมเ กนิ หกเดือน หรอื ปรับไมเ กิน 10,000 บาท หรือทงั้ จำท้ังปรับ
มาตรา 130 ผูใดฝาฝนมาตรา 67 วรรคสอง ตองระวางโทษจำคุกไมเกิน 5 ป หรือปรับไมเกิน
100,000 บาท หรือท้งั จำท้งั ปรบั และใหศาลสง่ั เพิกถอนสิทธเิ ลอื กต้ังของผูนนั้ มกี ำหนด 5 ป
มาตรา 131 ผูซ่ึงมิไดมีสัญชาติไทยผูใดฝาฝนมาตรา 68 ตองระวางโทษจำคุกต้ังแต
1 ปถ ึง 10 ป และปรบั ตงั้ แต 20,000 บาทถึง 200,000 บาท

เตรยี มสอบ กกต. 2564

เตรียมสอบพนกั งาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตง้ั ชุดท่ี 2 320

มาตรา 132 ผูใดปดประกาศหรือติดแผนปายเกี่ยวกับการเลือกตั้งโดยไมเปนไปตามที่
คณะกรรมการการเลือกต้ังหรือผูซึ่งคณะกรรมการการเลือกตั้งมอบหมายกำหนดตามมาตรา 71 ตองระวางโทษ
จำคุกไมเ กิน 6 เดอื น หรอื ปรับไมเกนิ 10,000 บาท หรือทั้งจำท้ังปรับ

คาปรับตามวรรคหนึ่ง ใหนำสง เปน รายไดข ององคก รปกครองสวนทองถน่ิ ทค่ี วามผิดไดเ กิดขึน้
มาตรา 133 ผูใดฝาฝนมาตรา 96 หรือจงใจขัดขวางการขนสงหีบบัตรเลือกต้ัง หรือกระทำ
ดวยประการใด ๆ เพื่อใหการขนสงหีบบัตรเลือกต้ังลาชา ตองระวางโทษจำคุกตั้งแต 1 ปถึง 10 ป และปรับต้ัง
แต 20,000 บาทถึง 200,000 บาท และใหศาลสั่งเพิกถอนสิทธิเลือกต้ังของผูน้ันมีกำหนด 20 ป
มาตรา 134 ผูใดฝาฝนมาตรา 85 วรรคสอง มาตรา 86 หรือมาตรา 90 ตองระวางโทษ
จำคุกไมเกิน 5 ป หรอื ปรับไมเ กนิ 100,000 บาท หรือทง้ั จำทั้งปรับ และใหศาลสั่งเพกิ ถอนสิทธเิ ลือกตั้งของผูน้ันมี
กำหนด 10 ป
มาตรา 135 ผูใดฝาฝนมาตรา 87 หรือมาตรา 89 ตองระวางโทษจำคุกไมเกิน 1 ป หรือปรับไม
เกนิ 20,000 บาท หรือทง้ั จำทัง้ ปรับ
มาตรา 136 ผูใดฝาฝนมาตรา 91 วรรคหนึ่ง ตองระวางโทษจำคุกไมเกิน 10 ป หรือปรับไม
เกนิ 200,000 บาท หรอื ทง้ั จำท้ังปรับ และใหศาลส่งั เพิกถอนสิทธิเลอื กต้ังของผนู ้นั มกี ำหนด 10 ป
มาตรา 137 คณ ะกรรมการการเลือกตั้งประจำองคกรปกครองสวนทองถิ่นหรือ
ผูอำนวยการการเลือกตั้งประจำองคกรปกครองสวนทองถ่ินผูใด ไมปฏิบัติตามคำส่ังของคณะกรรมการการ
เลือกต้ังหรือกรรมการการเลอื กตั้งท่สี ั่งตามมาตรา 114 วรรคหนึ่ง ตอ งระวางโทษจำคุกไมเกิน 2 ป หรือปรับไม
เกนิ 40,000 บาท หรอื ทั้งจำท้งั ปรบั
มาตรา 138 ในการสืบสวนหรือไตสวน หากปรากฏวาการใหขอมูล การช้ีเบาะแส หรือ
คำใหการของบุคคลซึ่งมีสวนเก่ียวของหรือมีสวนรวมในการกระทำความผิดตามพระราชบัญญัตินี้รายใดจะเปน
ประโยชนในการพิสูจนการกระทำความผิดของผูกระทำความผิดคนอื่นท่ีเปนตัวการสำคัญ และสามารถใชเปน
พยานหลักฐานในการวินิจฉัยการกระทำความผิดของผูกระทำความผิดน้ัน คณะกรรมการการเลือกตั้งจะกัน
บุคคลนนั้ ไวเปนพยานโดยไมด ำเนินคดกี ็ได
เมื่อคณะกรรมการการเลือกต้ังมีมติไมดำเนินคดีกับบุคคลใดแลว ใหสิทธิในการดำเนินคดีอาญา
เปน อนั ระงับไป เวนแตปรากฏในภายหลังวา ผูถกู กนั ไวเ ปน พยานไดใ หถ อ ยคำอนั เปน เท็จ หรอื ไมไ ปเบกิ ความ หรือ
ไปเบิกความแตไมเปนไปตามที่ใหการหรือใหถอยคำไว ใหการกันบุคคลไวเปนพยานน้ันส้ินสุดลง และ
คณะกรรมการการเลอื กตั้งอาจดำเนินการตามกฎหมายกบั บุคคลนั้นตอไปได
มาตรการในการกันบุคคลไวเปนพยานตามวรรคหนึ่ง และการเพิกถอนการกันไวเปนพยาน
ตามวรรคสอง ใหเ ปนไปตามหลกั เกณฑ วิธีการ และเงอื่ นไขท่คี ณะกรรมการการเลือกตงั้ กำหนด
มาตรา 139 ในกรณีที่พระราชบัญญัตินี้บัญญัติใหศาลสั่งเพิกถอนสิทธิเลือกตั้งโดยมีกำหนด
ระยะเวลาหรือส่ังเพิกถอนสิทธิสมัครรับเลือกตัง้ ใหการเพิกถอนสิทธิดงั กลาวมีผลในทันทีและเร่มิ นับระยะเวลา
นับแตวันที่ศาลมีคำสั่งหรือคำพิพากษา เวนแตศาลอุทธรณหรือศาลอุทธรณภาคจะมีคำสั่งหรือคำพิพากษาเปน
อยา งอืน่

เตรยี มสอบ กกต. 2564

เตรยี มสอบพนกั งาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลอื กตง้ั ชุดที่ 2 321

มาตรา 140 ในกรณีท่ีปรากฏวามีการกระทำความผิดตามพระราชบัญญัติน้ีเกิดข้ึนในเขต
เลือกตั้งใด ใหถือวาคณะกรรมการการเลือกตั้งหรือผูสมัครในเขตเลือกตั้งนั้นเปนผูเสียหายตามประมวล
กฎหมายวธิ พี จิ ารณาความอาญา

มาตรา 141 ผูใดกระทำความผิดตามพระราชบัญญัตินี้นอกราชอาณาจักร จะตองรับโทษ
ในราชอาณาจักร และการกระทำของผูเปนตัวการดวยกัน ผูสนับสนุน หรือผูใชใหกระทำความผิดนั้น แม
จะกระทำนอกราชอาณาจักร ใหถือวาตัวการ ผูสนับสนุน หรือผูใชใหกระทำความผิดนั้นไดกระทำใน
ราชอาณาจักร

บทเฉพาะกาล

มาตรา 142 ในการเลือกตั้งครั้งแรกภายหลังจากที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ เม่ือคณะ
รักษาความสงบแหงชาติเห็นสมควรใหมีการเลือกต้ังสมาชิกสภาทองถิ่นหรือผูบริหารทองถิ่นขององคกร
ปกครองสวนทองถิ่นใด ใหแจงใหคณะกรรมการการเลือกตั้งทราบ และเม่ือคณะกรรมการการเลือกตั้ง
ประกาศกำหนดใหมีการเลือกตั้งสมาชิกสภาทองถิ่นหรือผูบริหารทองถิ่นขององคกรปกครองสวนทองถิ่นนั้นแลว
ใหประกาศคณะรักษาความสงบแหง ชาตแิ ละคำสั่งหวั หนา คณะรกั ษาความสงบแหง ชาติดงั ตอ ไปน้ีเฉพาะในสว น
ท่ีเก่ียวกับการงดการจัดใหมีการเลือกต้ังสมาชิกสภาทองถิ่นหรือผูบริหารทองถ่ิน และกำหนดวิธีการไดมาซ่ึง
สมาชิกสภาทองถ่ินหรอื ผบู ริหารทองถ่นิ สน้ิ ผลบังคบั สำหรบั องคก รปกครองสว นทองถนิ่ น้นั ...

ในกรณีท่ีไมมีคณะรักษาความสงบแหงชาติ ใหอำนาจของคณะรักษาความสงบแหงชาติตาม
วรรคหนึ่งเปน อำนาจของคณะรัฐมนตรี

เตรยี มสอบ กกต. 2564

เตรยี มสอบพนักงาน สำนักงานคณะกรรมการการเลอื กตั้ง ชดุ ท่ี 2 322

สรุป
พระราชบญั ญตั วิ ิธปี ฏิบตั ิราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539

บทที่ 1
หลกั การพน้ื ฐานของกฎหมายปกครอง

1. การกระทำทางปกครองและการกระทำทางรฐั บาล

1.1 ความหมายของการกระทำทางปกครอง
การกระทำทางปกครอง (Administive Act) เปนการกระทำทางบริหารประเภทหน่ึงที่ใช
อำนาจตามกฎหมายระดับ พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ หรือพระราชบัญญัติ อยูภายใตการ
ควบคมุ ตรวจสอบความชอบดว ยกฎหมาย
1.2 การกระทำทางรฐั บาล
การกระทำทางรัฐบาล (Act of State) เปนการกระทำทางบรหิ ารประเภทหนึ่งเชน เดียวกับการ
กระทำทางปกครองท่ีใชอำนาจทางการเมืองตามกฎหมายระดับรัฐธรรมนูญ เชน การเสนอราง
พระราชบัญญัติ การตราพระราชกฤษฎีกา เปด ปดประชุมรัฐสภา ยุบสภา ไมอยูภายใตการควบคุม
ตรวจสอบความชอบดวยกฎหมายโดยองคก รตุลาการ
1.3 ความแตกตางระหวา งการกระทำทางปกครองและการกระทำทางรฐั บาล
(1) ลักษณะของการกระทำ การกระทำทางรัฐบาลเปนการกระทางการเมืองหรือทางนโยบาย
เกี่ยวกับความสัมพันธระหวางรัฐบาลกับรัฐสภาและความสัมพันธระหวางประเทศ แตการกระทำทาง
ปกครองเปนการกระทำในลกั ษณะทเี่ ปน การประจำเกีย่ วกบั การจดั ทำบรกิ ารสาธารณะ
(2) แหลงที่มาของอำนาจ การกระทำทางรัฐบาลเปนการกระทำโดยอาศัยอำนาจตาม
รัฐธรรมนูญ แตการกระทางปกครองกระทำโดยอาศัยอำนาจตามกฎหมายระดับพระราชบัญญัติ
ประกอบรฐั ธรรมนญู หรอื พระราชบญั ญตั ิ
(3) ขอบเขตการตรวจสอบความชอบดว ยรัฐธรรมนญู การกระทำทางรัฐบาลเปน การกระทำของ
รัฐโดยทวั่ ไปแลวไมอยูภ ายใตก ารควบคมุ ตรวจสอบความชอบดวยกฎหมายโดยองคกรตลุ าการ เวน แตจ ะ
กำหนดไวชัดเจนเปนเร่ืองๆ และใหเปนอำนาจของศาลรัฐธรรมนูญ แตการกระทำทางปกตรองเปนการ
กระทำของรัฐท่ีอยูภายใตการควบคุมตรวจสอบความชอบดวยกฎหมายโดยองคกรตุลาการ ซ่ึงก็คือศาล
ปกครอง เปนองคกรหลกั ในการตรวจสอบ

เตรยี มสอบ กกต

เตรียมสอบพนกั งาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลอื กตง้ั ชุดท่ี 2 323

2. ประเภทการกระทำทางปกครอง
2.1 การกระทำทางขอเทจ็ จริง
การกระทำในขอเท็จจริงเปนการกระทำทางปกครองท่ีฝายปกครองไมไดมีการแสดงเจตนา

เพ่ือใหเกิดนิติสัมพันธตามกฎหมาย เปนการกระทำท่ีฝายปกครองไมตองการใหเกิดการเคลื่อนไหมใน
สิทธิตามกฎหมาย แตเปนการปฏิบัติใหภารกิจทางปกครองสำเร็จลุลวงไปในทางขอเท็จจริง ซึ่งก็คือ
ปฏิบัติการทางปกครอง เชน การออกประกาศเตือนใหระวังอันตรายจากสารเคมี การยกรถยนตใน
พ้ืนท่ีหา มจอด การร้ือถอนอาคาร การขบั ไลบ คุ คลจากพ้นื ทีป่ าสงวน การสลายการชุมนุม

2.2 การกระทำท่มี งุ ตอ ผลในทางกฎหมาย
การกระทำทางปกครองที่มุงตอผลในทางกฎหมายแบงไดเปน 2 ประเภท คือ (1) การกระทำ
ฝา ยเดียว ไดแก กฎ และคำสัง่ ทางปกครอง (2) การกระทำสองฝา ย ไดแ กส ญั ญาทางปกครอง

บทท่ี 2
กฎหมายวา ดว ยวิธปี ฏบิ ัติราชการทางปกครอง

บททั่วไป
1 การบังคบั ใช
วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง จะหมายความถึงกฎดวย แตตามพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติ

ราชการทางปกครอง ไมมาตราหรือสวนใดกำหนดเกี่ยวกับกระบวนการหรือขั้นตอนการออกกฎไวเลย
ดังนัน้ พระราชบัญญตั นิ จี้ งึ ใชบ งั คับเกีย่ วกบั การออกคำสั่งทางปกครอง เทาน้นั

ในกรณีที่เปนการออกกฎ ระเบียบภายในฝายปกครอง หรือการทำสัญญาทางปกครองก็ไมตอง
ปฏิบตั ติ ามพระราชบัญญตั นิ ี้

ความเหน็ คณะกรรมการวธิ ปี ฏบิ ตั ริ าชการทางปกครอง เรื่องเสรจ็ ท่ี 465/2546
หนังสือแจงใหมารับเงินคาทดแทนการเวนคืนอสังหาริมทรัพยตามมาตรา 25 แหง พ.ร.บ.วา
ดวยเวนคืนอสังหารมิ ทรัพย พ.ศ.2530 เปนเพยี งข้นั ตอนหนึง่ ของการดำเนินการตามสัญญาทางปกครอง
ทเ่ี กิดจากความตกลงกันระหวางเจาหนาท่ีเวนคืนกบั เจา ของอสังหารมิ ทรัพย แมเ จา ของอสังหาริมทรัพย
ซึ่งไมพอใจคาทดแทนจะมีสิทธิอุทธรณตอรัฐมนตรีไดภายใน 60 วัน นับแตวันท่ีไดรับหนังสือแจงใหมา
รับเงินคาทดแทนน้ัน แตมิไดหมายความวาสิทธิอุทธรณตอรัฐมนตรีเกิดข้ึน ณ วันท่ีเจาของ
อสังหาริมทรัพยไดรับหนังสือแจงดังกลาวสิทธิอุทธรณตอรัฐมนตรีเกิดขึ้นเมื่อเจาของอสังหาริมทรัพยไม
พอใจคาทดแทนทคี่ ณะกรรมการกำหนดราคาเบอ้ื งตนของอสงั หารมิ ทรัพยท่ีจะตอ งเวนคืนกำหนด จงึ ทำ

เตรียมสอบ กกต

เตรียมสอบพนักงาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลือกตง้ั ชุดที่ 2 324

สัญญาสงวนสิทธิอุทธรณตามมาตรา 10 ไว ดังนั้นสิทธิอุทธรณจึงเกิดข้ึน ณ วันท่ีไดตกลงทำสัญญาซ้ือ
ขายอสังหาริมทรัพย โดยระยะเวลาอุทธรณตอรัฐมนตรีภายใน 60 วันเปนระยะเวลาส้ินสุดของการใช
สิทธิอุทธรณ หนังสือแจงใหมารับเงินคาทดแทนการเวนคืนอสังหาริมทรัพยจึงมิไดกอเปลี่ยนแปลงโอน
สงวนระงับหรือมีผลกระทบตอสถานภาพของสิทธิหรือหนาที่ของบุคคลดังน้ัน หนังสือแจงดังกลาวจึงไม
เปน คำสง่ั ทางปกครอง

มาตรา 3 วิธีปฏิบัติราชการทางปกครองตามกฎหมายตาง ๆ ใหเปนไปตามที่กำหนดในพระราชบัญญัติน้ี
เวนแตในกรณีที่กฎหมายใดกำหนดวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองเร่ืองใดไวโดยเฉพาะและมีหลักเกณฑที่
ป ร ะ กั น ค ว า ม เป น ธ ร ร ม ห รื อ มี ม า ต ร ฐ า น ใน ก า ร ป ฏิ บั ติ ร า ช ก า ร ไม ต่ ำ ก ว า ห ลั ก เก ณ ฑ ที่ ก ำ ห น ด ใน
พระราชบญั ญัตนิ ี้
ความในวรรคหน่ึงมิใหใชบังคับกับขั้นตอนและระยะเวลาอุทธรณหรือโตแยงที่กำหนดในกฎหมาย

2. การบังคับใชใ นฐานะเปนกฎหมายกลาง
2.1 หลกั ประกันความเปนธรรม
หลักเกณฑที่ทำใหบุคคลซึ่งอยูในบังคับของคำส่ังทางปกครองมีโอกาสในการตอสู

ปองกันสทิ ธิของตนหรือเรยี กรอ งใหมีการบังคบั ตามสิทธิของตน โดยแบง ออกเปน 2 สวน
(1) สว นท่ีเก่ียวกบั การพิจารณา เชน มาตรา 23 30 31
(2) สว นทเ่ี กีย่ วกับคุณลักษณะของเจาหนา ทีผ่ ูทำคำส่ังทางปกครอง เชน มาตรา 13 16
2.2 มีมาตรฐานในการปฏิบัติราชการ
หลักเกณฑท่ีทำใหการปฏิบัติราชการของเจาหนาที่มีคุณภาพและประสิทธิภาพสูงกวา

ท่เี ปนอยโู ดยทว่ั ไป เชน การใหเ หตผุ ลในคำส่ังทางปกครอง ตามมาตรา 37
3. ขอยกเวน เกีย่ วกับขั้นตอนและระยะเวลาอุทธรณ
ในกรณีที่กฎหมายเฉพาะกำหนดข้ันตอนและระยะเวลาอุทธรณหรือโตแยงไวโดยเฉพาะแลว

เจาหนาที่ตองนำหลักเกณฑเกี่ยวกับข้ันตอนและระยะเวลาอุทธรณที่กำหนดไวในกฎหมายเฉพาะมาใช
บงั คบั เสมอ โดยไมจำตองพิจารณาวาข้ันตอนและระยะเวลาอทุ ธรณจ ะมีหลักประกนั ความเปนธรรมหรือ
มีมาตรฐานตำ่ กวาทกี่ ำหนดไวใ นพระราชบญั ญตั นิ ้หี รือไม

ความเห็นคณะกรรมการวิธปี ฏบิ ัตริ าชการทางปกครอง เรอื่ งเสร็จที่ 638/2545
มาตรา 44 แหง พ.ร.บ.วิธีปฏิบัติฯ กำหนดใหอุทธรณคำส่ังทางปกครองภายใน 15 วันนับแต
วันที่ไดรับแจงคำส่ังดังกลาว ทั้งน้ี มาตรา 42 กำหนดใหคำสั่งทางปกครองมีผลใชยันตอบุคคลต้ังแต
ขณะท่ไี ดรับแจงเปนตนไป ซ่ึงแตกตางจากมาตรา 96 แหง พ.ร.ป.วา ดวยการปองกันและปราบปรามการ

เตรยี มสอบ กกต

เตรยี มสอบพนักงาน สำนักงานคณะกรรมการการเลอื กต้ัง ชดุ ท่ี 2 325

ทุจริต พ.ศ. 2542 ที่กำหนดใหใชสิทธิอุทธรณภายใน 30 วันนับแตวันท่ีมีคำส่ังลงโทษ จะเห็นไดวา
การเร่ิมนับระยะเวลาในการใชสิทธิอุทธรณคำสั่งทางปกครองตาม พ.ร.บ.วิธีปฏิบัติฯ มีหลักเกณฑท่ี
ประกันความเปนธรรมหรือมีมาตรฐานในการปฏิบัติราชการที่สูงกวาอยางชัดเจน ดังนั้นการเริ่มนับ
ระยะเวลาในการใชสิทธิอุทธรณคำส่ังทางปกครองจึงตองนับแตวันท่ีไดรับแจงคำสั่งดังกลาวตาม
มาตรา 44 ประกอบมาตรา 3 วรรคหน่งึ แหง พ.ร.บ. วธิ ีปฏบิ ตั ิฯ

สวนระยะเวลาในการใชสิทธิอุทธรณคำสั่งทางปกครองตองนำมาตรา 96 แหง พ.ร.ป.วาดวย
การปองกันและปราบปรามการทุจริตฯ ประกอบมาตรา 3 วรรคสอง แหงพ.ร.บ. วิธีปฏิบัติฯมาบังคับใช
โดยคูกรณีตองใชสิทธิอุทธรณคำสั่งทางปกครองภายใน 30 วัน ในกรณีน้ีคูกรณีจึงตองใชสิทธิอุทธรณ
คำส่งั ทางปกครองภายใน 30 วนั นบั แตวนั ท่ีไดร บั แจงคำส่ังไมใชว นั ที่มคี ำสัง่ ลงโทษ

4. ขอยกเวนเกี่ยวกับมาตรการบงั คบั ทางปกครอง
มาตรา 63/3 ถาบทกฎหมายใดกำหนดมาตรการบังคับทางปกครองไวโดยเฉพาะแลว หาก
เจาหนาทเี่ หน็ วาการใชมาตรการบงั คับน้ันจะเกิดผลนอยกวามาตรการบังคบั ตามหมวดนี้ เจาหนาท่ีจะใช
มาตรการบงั คับทางปกครองตามหมวดนแ้ี ทนก็ได
5. ขอยกเวนเกีย่ วกบั องคกร

มาตรา 4 พระราชบญั ญตั นิ ม้ี ิใหใชบงั คับแก
(1) รฐั สภาและคณะรัฐมนตรี
(2) องคก รท่ีใชอำนาจตามรัฐธรรมนูญโดยเฉพาะ

5.1 รัฐสภา
รัฐสภาประกอบดวยสภาผูแทนราษฎรและวุฒิสภา ซึ่งเปนองคกรที่ใชอำนาจนิติ
บัญญัติและอำนาจทางการเมืองตามรัฐธรรมนูญ ไมใชเปนองคกรท่ีใชอำนาจปกครอง แมไมมีการ
กำหนดยกเวน ไว กไ็ มสามารถนำ พ.ร.บ.วิธปี ฏบิ ัติฯ มาใชบ ังคบั ไดโดยสภาพ
5.2 คณะรฐั มนตรี (ไมร วมถงึ นายกรฐั มนตรี,รฐั มนตร)ี
(1) คณะรัฐมนตรีในฐานะท่ีเปนองคกรใชอำนาจทางการเมือง ซ่ึงเปนการกระทำทาง
รฐั บาล ไมต กอยภู ายใตบ งั คับของ พ.ร.บ.วธิ ปี ฏิบตั ฯิ โดยสภาพอยแู ลว
(2) คณะรัฐมนตรีในฐานะท่ีเปนองคกรใชอำนาจปกครอง ไดรับยกเวนไมอยูภายใต
บงั คับของ พ.ร.บ.วิธีปฏิบัติฯ ตามมาตรา 4 วรรคหน่งึ (1) ดงั นนั้ คณะรัฐมนตรอี อกคำสั่งทางปกครอง จึง
ไมอยใู นบงั คบั ท่ีตองปฏิบัตติ าม พ.ร.บ.วิธีปฏิบัตฯิ

เตรยี มสอบ กกต

เตรียมสอบพนักงาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตัง้ ชดุ ที่ 2 326

ท้ังน้ีไมรวมถึงกรณี นายกรัฐมนตรี หรือรัฐมนตรีแตละคนใชอำนาจตามกฎหมายระดับ
พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ หรือพระราชบญั ญัตใิ นการออกคำสัง่ ทางปกครอง

ความเหน็ คณะกรรมการวธิ ปี ฏบิ ัติราชการทางปกครอง เร่อื งเสร็จที่ 538/2541
แมการพิจารณาใหความเห็นชอบรายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอมตาม
พ.ร.บ. สงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมของคณะรัฐมนตรีจะเปนคำส่ังทางปกครองตามมาตรา 5
แตไมอ ยูในบังคับของพระราชบญั ญตั ิวิธปี ฏิบัติฯ ตามมาตรา 4 วรรคหนงึ่ (1)
6. ขอ ยกเวน ในแงก ารปฏิบตั ิ
6.1 การปฏบิ ตั ิงานท่ีมิใชก ารกระทำทางปกครอง
(1) การพิจารณาของนายกรฐั มนตรหี รอื รัฐมนตรใี นงานทางนโยบายโดยตรง
กรณีน้ีแมไมมีบัญญัติในมาตรา 4 วรรคหน่ึง (3) ก็ไมอาจนำ พ.ร.บ.วิธีปฏิบัติฯ มาใช
บังคับไดโ ดยสภาพอยูแลว เชน นโยบายหวยบนดนิ 30 บาทรักษาทุกโรค
(2) การดำเนนิ งานเกย่ี วกบั นโยบายการตางประเทศ
มาตรา 4 วรรคหนึ่ง (6) เปนการกระทำทางรัฐบาลซ่ึงเปนการกระทางการเมือง แมไม
มบี ญั ญัติในมาตรา 4 วรรคหน่งึ (6) ก็ไมอ าจนำ พ.ร.บ.วธิ ีปฏบิ ตั ฯิ มาใชบังคับไดโดยสภาพอยแู ลว
(3) องคกรใชอ ำนาจตามรัฐธรรมนูญ
มาตรา 4 วรรค 1 (2) เปนการใชอำนาจตามรัฐธรรมนูญ แมไมมีบัญญัติในมาตรา 4
วรรคหน่ึง (3) กไ็ มอาจนำ พ.ร.บ.วธิ ีปฏบิ ตั ิฯ มาใชบ ังคับไดโ ดยสภาพอยูแลว ทง้ั น้ไี มร วมถึงการใชอ ำนาจ
ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ เพราะ มาตรา 4 วรรค 1 (2) เปนการยกเวนในแงการ
ปฏบิ ตั งิ านไมใ ชใ นแงองคกร
(4) การพจิ ารณาพพิ ากษาคดขี องศาล
มาตรา 4 วรรคหนึ่ง (4) เฉพาะการพิจารณาและพิพากษาคดีของศาลทุกศาล ซึ่งเปน
การใชอำนาจตุลาการไมใชอำนาจทางปกครอง แตไมรวมถึงการใชอำนาจปกครองในการออกคำสั่งทาง
ปกครองตางๆ โดยอาศัยอำนาจตาม พ.ร.บ.
6.2 การปฏิบตั งิ านทีเ่ ปน การกระทำทางปกครองแตม ีลักษณะพเิ ศษ
(1) การดำเนินงานของเจา หนา ทใี่ นกระบวนพจิ ารณา การบังคบั คดแี ละการวางทรพั ย
มาตรา 4 วรรคหนงึ่ (4) เปน การกระทำโดยอาศัยอำนาจตาม ป.ว.ิ แพง
(2) การดำเนนิ งานตามกระบวนการยตุ ธิ รรมทางอาญา
มาตรา 4 วรรคหนง่ึ (8) เปนการกระทำโดยอาศยั อำนาจตาม ป.ว.ิ อ

เตรยี มสอบ กกต

เตรียมสอบพนกั งาน สำนักงานคณะกรรมการการเลอื กต้งั ชุดที่ 2 327

(3) การดำเนินงานเก่ียวกับราชการทหารหรือเจาหนาท่ีซ่ึงปฏิบัติหนาที่ทางยุทธการ
รวมกับทหารในการปองกันและรักษาความม่ันคงของราชอาณาจักรจากภัยคุกคามท้ังภายนอกและ
ภายในประเทศ

มาตรา 4 วรรคหนง่ึ (7)
(4) การดำเนินกิจการขององคก รศาสนา
มาตรา 4 วรรคหน่ึง (9) ไมวาจะเปนมหาเถรสมาคม หรือคณะกรรมการกลางอิสลาม
แหงประเทศไทย แมจะมีลักษณะเปนคำส่ังทางปกครอง แตเหตุแหงการใชคำส่ังทางปกครองเปนเร่ือง
ในทางศาสนจกั ร ซึ่งมีความมงุ เฉพาะตามความเชื่อของแตศ าสนา

ความหมายและองคประกอบของคำส่ังทางปกครอง
1. ความหมายของคำสั่งทางปกครอง
1.1 การใชอำนาจตามกฎหมายของเจาหนาท่ีที่มีผลเปนการสรางนิติสัมพันธข้ึน

ระหวา งบคุ คลในอันท่ีจะกอ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน ระงับ หรือมีผลกระทบตอ สถานภาพของสิทธิหรือ
หนา ที่ของบุคคล ไมว า จะเปนการถาวรหรือชวั่ คราว เชน การสงั่ การ การอนญุ าต การอนมุ ัติ การวินิจฉัย
อุทธรณ การรับรอง และการรับจดทะเบียน แตไมหมายความรวมถึงการออกกฎ

1.2 การอนื่ ทก่ี ำหนดในกฎกระทรวง
การดำเนินการเกีย่ วกับการจัดหาหรอื ใหส ิทธปิ ระโยชนในกรณี ดังตอ ไปน้ี
(1) การส่ังรับหรือไมร ับคำเสนอขาย รับจาง แลกเปลี่ยน ใหเชา ซ้ือ เชา หรือใหสิทธิ
ประโยชน
(2) การอนุมัติสั่งซอื้ จาง แลกเปลีย่ น เชา ขาย ใหเ ชา หรอื ใหส ทิ ธปิ ระโยชน
(3) การสั่งยกเลิกกระบวนการพิจารณาคำเสนอหรือการดำเนินการอื่นใดในลักษณะ
เดยี วกนั
(4) การสง่ั ใหเปน ผูท งิ้ งาน
(5) การใหห รอื ไมใ หท นุ การศึกษา
2. องคประกอบของคำสัง่ ทางปกครอง
2.1 คำสง่ั นน้ั ตอ งเปน การกระทำโดยเจาหนาท่ี
โดยหลักแลวเอกชนไมใชเจาหนาท่ี การกระทำตางๆ ของเอกชนที่เปน การแสดงเจตนา
ใหบุคคลอ่ืนกระทำการบางอยางแทนรัฐ การกระทำของเอกชนท่ีไดรับมอบหมายใหทำคำสั่งทาง

เตรียมสอบ กกต

เตรยี มสอบพนกั งาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลือกตงั้ ชดุ ท่ี 2 328

ปกครอง จึงเปนคำส่ังทางปกครองได เชน มหาวิทยาลัยอนุมัติปริญญา สภาทนายความลบช่ือออกจาก
ทะเบยี นทนายความ

คำสั่งศาลปกครองสูงสุดที่ 137/2545 ศาลยุติธรรมมิใชหนวยงานทางปกครองท่ีไดรับ
มอบหมายใชอำนาจทางปกครอง ไมอยูในความหมายของคำวาเจาหนาที่รัฐ ทั้งน้ีเนื่องจากผูพิพากษาใช
อำนาจทางตลุ าการ

2.2 คำสง่ั น้นั ตองเปน การใชอำนาจปกครองตามกฎหมายฝายเดียว
เปนการใชอำนาจทางปกครองเทาน้ัน โดยเอกชนไมจำเปนตองยินยอมดวย การ
กระทำโดยใชอำนาจนิติบัญญัติ ตลุ าการ อำนาจทางการเมือง หรอื ใชอำนาจตามสัญญาไมเปนคำสั่งทาง
ปกครอง เชน การทผ่ี ูวาการธนาคารแหง ประเทศไทยมคี ำสงั่ ปลดพนกั งานโดยใชอ ำนาจตามขอบังคบั ซ่ึง
ออกตาม พ.ร.บ. ธนาคารแหง ประเทศไทย
กรณีดังตอไปน้ี ไมเปนคำส่ังทางปกครอง การใชสิทธิในฐานะคูสัญญา บอกเลิกสัญญา
ไมอนญุ าตใหขยายระยะเวลา การออกหนงั สอื แจง ใหข าราชการคนื เงินคาเชา บาน
คำส่ังศาลปกครองสงู สดุ ท่ี คบ.167/2560
ผูถูกฟองคดี (คณะกรรมการพนักงานสวนตำบล) ที่แจงใหผูฟองคดี (องคการบริหาร
สวนตำบล) ดำเนินการแกไขการสอบแขงขันเพื่อบรรจุแตงตั้ง เปนกรณีท่ีผูถูกฟองคดีในฐานะองคกรทำ
หนาที่เกย่ี วกับงานบริหารงานบุคคลของผูฟอ งคดี อันเปนความสมั พันธฐานะผกู ำกบั ดูแลที่มตี อผูฟ องคดี
มตดิ ังกลาวไมใชคำสงั่ ทางปกครอง

2.3 คำสง่ั น้ันตอ งเปนการสรางนติ ิสมั พันธข น้ึ ระหวางบุคคล
2.4 คำสง่ั น้ันตอ งมีผลโดยตรงออกไปนอกฝา ยปกครอง
แตถาคำส่ังนั้นมีผลใหเจาหนาท่ีตองปฏิบัติราชการตามหนาท่ีในฐานะท่ีเปนสวนหนึ่ง
ขององคกรฝายปกครอง คำสั่งนั้นยอมไมใชคำส่ังทางปกครอง แตเปนคำสั่งภายในฝายปกครอง เชน
คำสั่งแตงต้ังคณะกรรมการสอบขอเท็จจริง วินัยรายแรง คำสั่งโยกยายขาราชการใหไปชวยราชการโดย
ไมม ผี ลเปนการเปล่ยี นแปลงลักษณะงานอยา งส้นิ เชงิ
3. คำสั่งทางปกครองทว่ั ไป
คำสั่งทางปกครองท่ัวไปเปนคำสั่งทางปกครองประเภทหนึ่งที่มีลักษณะเปนรูปธรรม โดยไมไดมี
ผลใชบังคับกับบุคคลใดบุคคลหนึ่งเปนการเฉพาะ แตเปนคำสั่งที่มีผลใชกับบุคคลโดยทั่วไป จึงตกอยู
ภายใตบังคับ พ.ร.บ. วิธีปฏิบัติฯ เชน เดียวกัน เวนแตขัดกับลกั กษณะของคำสั่งทางปกครองทั่วไป (คำส่ัง
ท่ี 44/2556)

เตรียมสอบ กกต

เตรยี มสอบพนกั งาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกต้งั ชุดท่ี 2 329

ตวั อยางคำสงั่ ทางปกครองทั่วไป เชน ประกาศรับสมัครคัดเลือกเพื่อบรรจุแตงต้ังเปนขาราชการ
ประกาศเทศบาลประมูลจางเหมากอสราง ประกาศเทศบาลหลักเกณฑเงื่อนไขการจัดระเบียบการ
จำหนายสินคาในพื้นทผ่ี อ นผันบนทางเทา บรเิ วณ... มติคณะรฐั มนตรี กำหนดพ้ืนทห่ี อยดกึ ดำบรรพ

ตวั การในการพิจารณาทาปกครอง
1. เจา หนาทีผ่ ูมอี ำนาจทางพจิ ารณาทางปกครอง
1.1 ลักษณะของเจาหนา ที่
เอกชนไมใชเจาหนาที่ตามความหมายท่ีจะทำใหมีอำนาจพิจารณาทางปกครองเพื่อจัด

ใหมีคำส่ังทางปกครองได เวนแตเอกชนจะไดรบั มอบหมายใหใชอำนาจทางปกครองกระทำการบางอยาง
แทนรัฐ

เจาหนาที่ผูมีอำนาจพิจารณาทางปกครองไดรับการแตงตั้งโดยไมชอบดวยกฎหมาย
และไดปรากฏเหตุดังกลาวภายหลังอันทำใหเจาหนาท่ีผูน้ันตองพนจากตำแหนง ไมกระทบกระเทือนถึง
ความสมบรู ณ

ความเห็นคณะกรรมการกฤษฎีกาเร่ืองเสรจ็ ที่ 295/2549
การออกจากตำแหนงเพราะเหตุขาดคุณสมบัติมาตั้งแตแรกยอมไมกระทบถึงการใดๆ
ที่นาย น ไดกระทำไปตามอำนาจหนาที่ สวนคาตอบถาเปนการปฏิบัติหนาที่โดยสุจริตแลว ก็ยอมมีสิทธิ
ไดร ับคาตอบแทนระหวางนนั้
ความเห็นคณะกรรมการกฤษฎีกาเรื่องเสร็จท่ี 706/2548
นาย ธ พนจากวาระการดำรงตำแหนงแลว แตยังคงปฏิบัติหนาท่ีตอไป และผูท่ี
เก่ียวของไมไดมีการทักทวงวาเปนการดำรงตำแหนงโดยไมชอบ จึงเปนกรณีใชอำนาจทางปกครองใน
ขณะท่มี ีเหตบุ กพรอ ง จึงมาสามารถนำมาตรา 19 มาใชโดยเทยี บเคียงไดโดยอนุโลม

1.2 เจาหนา ท่ีตองดำเนินการประชุมโดยชอบ
(1) การนัดประชุมตองทำเปนหนังสือและแจงใหกรรมการทุกคนทรายลวงหนาไมนอย
กวา 3 วันตามมาตรา 80 วรรค 2 แหง พ.ร.บ.วธิ ปี ฏบิ ัติ
(2) องคประชุม อยางนอยตองกึ่งหนึ่งตามมาตรา 79 ของกรรมการทั้งหมดจึงเปนองค
ประชุมได และการลงมติของคณะกรรมการใหถือเสียงขางมากขององคประชุมตามมาตรา 82 และจะ
นับกรรมการท่งี ดออกเสียงไมไ ด

เตรยี มสอบ กกต

เตรยี มสอบพนักงาน สำนักงานคณะกรรมการการเลอื กตงั้ ชดุ ท่ี 2 330

1.3 เจาหนา ที่ตองมีความเปนกลาง
บัญญัตริ ับรองไวใน พรบ.วธิ ปี ฏิบตั ิฯ มาตรา 13-18
(1) ความไมเปน กลางจากสภาพภายนอก มาตรา 13
กรณีมาตรา 13 (5) เจาหนาที่ท่ีเปนเจาหนี้หรือลูกหน้ี หรือเปนนายจางของคูกรณีจะทำ
การพิจารณาทางปกครองไมไดนั้น มุงใชบังคับกับเจาหนี้ ลูกหนี้ นายจางที่เปนบุคคลธรรมดาในฐานะ
สวนตัวเทานั้น ไมไดใชถึงนิติบุคคลดวย ธนาคารอาคารสงเคราะหจึงสามารถดำเนินการสอบสวนวินัยแก
พนกั งานของธนาคารได
(2) ความไมเปน กลางจากสภาพภายใน
มาตรา 16 ในกรณีมีเหตุอื่นใดนอกจากท่ีบัญญัติไวในมาตรา 13 เก่ียวกับเจาหนาท่ีหรือ
กรรมการในคณะกรรมการทมี่ ีอำนาจพิจารณาทางปกครองซึง่ มสี ภาพรายแรงอันอาจทำใหก ารพจิ ารณาทาง
ปกครองไมเปนกลาง เจา หนา ทหี่ รอื กรรมการผูนั้นจะทำการพิจารณาทางปกครองในเรอื่ งนั้นไมได
ความเห็นคณะกรรมการวธิ ีปฏบิ ัตริ าชการทางปกครองเร่อื งเสรจ็ ที่ 335/2546
การท่ีผูบริการการทางพิเศษ เปนผูถือหุนในบริษัท ถือวามีเหตุซึ่งมีสภาพรายแรงตาม
มาตรา 16 จึงไมสามารถอนุมัติใหบริษัทน้ันทำสัญญากอสรางกับการทางพิเศษได คำส่ังทางปกครอง
ดงั กลาวไมช อบดว ยกฎหมาย แตต ราบใดที่ยงั ไมม ีการเพิกถอน คำสั่งนัน้ ยอมมีผลตามกฎหมาย
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสดุ ท่ี ฟ.5/2549
ในขณะท่ี อ. ไดรับแตงต้ังเปนกรรมการผูทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการชุดนี้ นาย อ. เปน
กรรมการในบริษัทชินคอรปและบริษัท ปตท. ซ่ึงเปนคูสัญญากับ กฟผ. นาย อ. เปนผูมีสวนไดเสียอันมี
ลักษณะตอ งหาม ไมช อบดว ยกฎหมาย แตกรรมการผูทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการดังกลาวนม้ี อี งคประกอบ
พิเศษ และไมอาจนำมาตรา 19 แหง พรบ.วิธีฯ มาใชกับกรณีนี้ได การกระทำใดๆของกรรมการจึงเสียไป
ท้ังหมด
คำพพิ ากษาศาลปกครองสูงสดุ ท่ี อ.71/2550
ผูถูกฟองคดที ี่ 1 ยกคำสัง่ ขอออกโฉนดของผูฟอ งคดี ผูฟองคดอี ุทธรณตอผูถูกฟองคดีท่ี 2
ผฟู องคดียกอทุ ธรณ โดยมีคูสมรสของผูถูกฟองคดที ่ี 1 เปน ผูเสนอความเห็น ไมตองหามตามมาตรา 13 (2)
เน่ืองจากไมใชคูสมรสของคูกรณี ประกอบกับความเห็นดังกลาวไมผูกพันผูถูกฟองคดีที่ 2 ตองมีคำวินิจฉัย
ตาม

เตรียมสอบ กกต

เตรียมสอบพนกั งาน สำนักงานคณะกรรมการการเลอื กต้งั ชุดท่ี 2 331

1.4 การคดั คานความไมเ ปนกลาง
(1) ความไมเ ปน กลางจากสภาพภายนอก
- กรณีเปน เจา หนา ที่
มาตรา 14 เม่ือมีกรณีตามมาตรา 13 หรือคูกรณีคัดคานวาเจาหนาท่ีผูใดเปนบุคคลตาม
มาตรา 13 ใหเ จาหนาที่ผูนั้นหยุดการพจิ ารณาเรื่องไวก อน และแจงใหผูบังคบั บญั ชาเหนือตนข้ึนไปชั้นหน่ึง
ทราบ เพอื่ ทีผ่ บู งั คบั บัญชาดงั กลา วจะไดมีคำสง่ั ตอ ไป
- กรณเี ปน คณะกรรมการ
มาตรา 15 เม่อื มกี รณีตามมาตรา 13 หรอื คกู รณีคดั คา นวากรรมการในคณะกรรมการทมี่ ี
อำนาจพจิ ารณาทางปกครองคณะใดมลี กั ษณะดังกลา ว ใหป ระธานกรรมการเรยี กประชุมคณะกรรมการเพอ่ื
พิจารณาเหตุคัดคานนั้น ในการประชุมดังกลาวกรรมการผูถูกคัดคานเมื่อไดช้ีแจงขอเท็จจริงและตอบขอ
ซกั ถามแลวตองออกจากทีป่ ระชุม
ถาคณะกรรมการที่มีอำนาจพิจารณาทางปกครองคณะใดมีผูถูกคัดคานในระหวางที่
กรรมการ ผถู กู คดั คา นตอ งออกจากทีป่ ระชมุ ใหถ อื วาคณะกรรมการคณะนนั้ ประกอบดวยกรรมการทกุ คน
ทไ่ี มถกู คัดคา น
ถาที่ประชุมมีมติใหกรรมการผูถูกคัดคานปฏิบัติหนาที่ตอไปดวยคะแนนเสียงไมนอยกวา
สองในสามของกรรมการที่ไมถูกคัดคา น ก็ใหกรรมการผูน้ันปฏิบตั ิหนาที่ตอไปได มติดังกลาวใหกระทำโดย
วธิ ลี งคะแนนลับและใหเปน ท่สี ุด
(2) ความไมเ ปน กลางจากสภาพภายใน
มาตรา 16 วรรค 2 ในกรณีตามวรรคหน่งึ ใหด ำเนนิ การดงั นี้
(1) ถาผูนั้นเห็นเองวาตนมีกรณีดังกลาว ใหผูน้ันหยุดการพิจารณาเร่ืองไวกอนและแจง
ใหผ ูบงั คับบัญชาเหนอื ตนข้นึ ไปช้ันหนงึ่ หรือประธานกรรมการทราบ แลวแตกรณี
(2) ถามีคูกรณีคัดคานวา ผูนนั้ มีเหตุดังกลา ว หากผูน้ันเหน็ วาตนไมม ีเหตุตามที่คดั คานน้ัน
ผูน้ันจะทำการพิจารณาเรื่องตอไปก็ไดแตตองแจงใหผูบังคับบัญชาเหนือตนขึ้นไปช้ันหนึ่งหรือประธาน
กรรมการทราบ แลวแตกรณี
(3) ใหผูบังคับบัญชาของผูน้ันหรือคณะกรรมการท่ีมีอำนาจพิจารณาทางปกครองซึ่งผูน้ัน
เปนกรรมการอยูมีคำส่ังหรือมีมติโดยไมชักชา แลวแตกรณี วาผูน้ันมีอำนาจในการพิจารณาทางปกครองใน
เร่ืองน้นั หรือไม

เตรยี มสอบ กกต

เตรยี มสอบพนักงาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลือกตงั้ ชดุ ที่ 2 332

ความเห็นคณะกรรมการวิธีปฏิบัตริ าชการทางปกครองเรื่องเสรจ็ ที่ 366/2550

ผูถูกสอบสวนทางวินัยอยางรายแรง มีสิทธิคัดคานกรรมการในคณะกรรมการสอบสวน

วนิ ัยอยางรายแรงและผูออกคำส่ังลงโทษทางวินัย แตไมมีสิทธิคัดคานผูแตงตั้งคณะกรรมการสอบสวนวินัย

อยางรา ยแรง เนื่องจากๆไมใชผูพ ิจารณาขอเท็จจริงและขอกฎหมายของเรื่อง เปนเพียงผูดำเนินการแตงต้ัง

คณะกรรมการเทา นั้น

คำพิพากษาศาลปกครองสงู สดุ ท่ี อ. 12/2560

การพิจารณาทางปกครองตองกระทำในรูปแบบคณะกรรมการ 7 คน ซึ่งมีกรรมการท่ีมี

ลักษณะตองหามเพียง 1 คน และเม่ือพิจารณาผลการใหคะแนนของกรรมการอื่นที่ไมมีลักษณะตองหาม

แลว เห็นไดวาการใหคะแนนของกรรมการผูมีลักษณะตองหามนั้นไมมีผลทำใหคะแนนรวมของผูที่ไดรับ

คัดเลือกเปลี่ยนแปลง ประกอบกับไมปรากฏวาคูกรณีไดรองคัดคานวากรรมการผูใดมีสวนไดสวนเสียกับ

ผูสมัครและตองหามในการพิจารณาทางปกครอง ดังน้ัน การพิจารณาทางปกครองกรณีน้ีจึงยังไมมีผลถึง

ขนาดทำใหก ารพจิ ารณาทางปกครองในเร่ืองนเี้ สยี ไป

1.5 ขอยกเวนของความไมเ ปนกลาง

กรณีท่ีมีความจำเปน เรงดวน หากปลอ ยใหล าชาไปจะเสยี หายตอประโยชนสาธารณะหรือ

สทิ ธิของบคุ คลจะเสยี หายโดยไมม ที างแกไขได หรือไมม ีเจา หนาท่ีอื่นปฏบิ ตั หิ นาท่ีแทนผนู ้นั ได

คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ.121/2554 คำส่ังแตงต้ัง ช และ ก เปนกรรมการ

ตรวจสอบขอ เท็จจริงความรบั ผิดทางละเมดิ แตเมือ่ ช เปน ผูค วบคมุ งาน และ ก เปนกรรมการตรวจการจาง

เปนกรณีท่ีมีเหตุซ่ึงมีสภาพรา ยแรงอันอาจทำใหกระบวนการพิจารณาทางปกครองไมเปนกลาง ตามมาตรา

16 และการตรวจสอบขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดมิใชเปนกรณีจำเปนเรงดวนและสามารถแตงต้ัง

เจา หนาที่ จากหนว ยงานอนื่ ไดต ามมาตรา 18 ไมเ ขายกเวน

คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ. 245-246/2552 คณะอนุกรรมการ ซ่ึงมี ศ เปน

ประธานมีมติใหปลดผูฟองคดีออกจากราชการ และเสนอความเห็นไปยัง คณะกรรมการ ก.จ.จ เชียงราย

โดย ศ เปนประธานในท่ีประชุม มิใชในฐานะกรรมการเทานั้น แตเปนประธานที่ประชุมซ่ึงมีบทบาทสำคัญ

ในการควบคุมประชุม และเปนการปฏิบัติหนาที่แทนผูวาราชการจังหวัด ซ่ึงเปนผูบังคับบัญชาของ

กรรมการทา นอ่นื ดวย เปนกรณที ี่มเี หตซุ ึ่งมสี ภาพรา ยแรงอนั อาจทำใหก ระบวนการพจิ ารณาทางปกครองไม

เปนกลาง ตามมาตรา 16 และไมเขาขอยกเวนตามมาตรา 18 ทั้งนี้หาก ศ ไมอยูในประชุม กรรมการก็

สามารถเลือกบุคคลอน่ื มาทำหนาทีแ่ ทนได

เตรยี มสอบ กกต

เตรยี มสอบพนกั งาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตง้ั ชดุ ท่ี 2 333

1.6 เจา หนาทีต่ องออกคำส่งั ทางปกครองดวยตนเอง
เจา หนา ที่ผูมีอำนาจออกคำสง่ั ทางปกครองคนใดไดรับการแตงต้ัง เจาหนาที่ผูน น้ั ยอมเปน
ผมู ีอำนาจในการออกคำสงั่ ทางปกครอง และจะมอบอำนาจใหบ คุ คลอ่ืนกระทำแทนไมได เวน แตมีกฎหมาย
ระบุไวหรือโดยสภาพไมใชอำนาจเฉพาะตัว การมอบอำนาจปกครองท่ีชอบดวยกฎหมายตองประกอบดวย
หลกั เกณฑ 3 ประการดังน้ี
การมอบอำนาจท่ไี มช อบ ทำใหผลการประชุมดงั กลาวเสียไป แตกตางจากกรณีมาตรา 13
16 ที่อาจไมเ สยี ไป ถา หากไมใชประธานในประชุมท่ีอำนาจช้นี ำผลการประชมุ
ความเหน็ คณะกรรมการกฤษฎกี าเรือ่ งเสรจ็ ที่ 850/2550
การท่ีผูวาราการจังหวัดมอบอำนาจใหปลัดจังหวัดเปนการไมชอบดวยกฎหมาย เพราะ
กฎหมายกำหนดไวใ หมอบอำนาจใหไดแตเฉพาะรองผูวาราชการจงั หวดั การท่ีไมม ีกรรมการคนใดทักทวงก็
ไมอาจทำใหการทำหนาที่ที่ไมชอบดวยกฎหมายกลับกลายเปนชอบดวยกฎหมายข้ึนมาได ผลการประชุม
ดังกลา วจึงตอ งเสียไป
2. คูก รณี
ความหมายของคกู รณี
คูกรณี หมายความวา ผยู น่ื คำขอหรือผคู ดั คา น ผูอยูในบังคบั หรือจะอยูในบงั คับของคำส่ัง
ทางปกครอง และผูซึ่งไดเขามาในกระบวนการพิจารณาทางปกครอง เนื่องจากถูกกระทบกระเทือนจากผล
ของคำส่งั ทางปกครองตามมาตรา 5 และมาตรา 21 แบง ออกเปน 4 ประเภท
(1) ผูยืน่ คำขอ
(2) ผูคดั คา นคำขอ
บุคคลที่ไดรับผลกระทบกระเทือนจากการย่ืนคำขอ และเขามาคัดคานในกระบวนการ
พิจารณาทางปกครองเพื่อมิใหเจาหนาที่ออกคำส่ังทางปกครองตามที่มีผูยื่นคำไว เชนการคัดคานการออก
โฉนด
(3) ผูอยูใ นบงั คับหรือจะอยใู นบังคบั ของคำสัง่ ทางปกครอง
ผูอยูในบังคับ คือ บุคคลที่ไดรับคำสั่งทางปกครองซ่ึงมุงหมายบังคับบังคับเอากับตนให
ตองกระทำการหรืองดเวน การกระทำการอยางหนง่ึ อยาง เชน ถูกสง่ั ลงโทษทางวนิ ัย เพกิ ถอนใบอนุญาต
ผูจะอยูในบังคับ คือ บุคคลที่เจาหนาที่พิจารณาขอเท็จจริงตางๆ แลว อาจจะออกคำสั่ง
บังคับบคุ คลนัน้ เชน ขา ราชการท่ถี ูกตงั้ กรรมการสอบสวนวินัย
(4) ผูซ่ึงไดเขามาในกระบวนการพิจารณาทางปกครองเน่ืองจากสิทธิของผูนั้นถูก
กระทบกระเทอื นจากผลของคำสง่ั ทางปกครอง

เตรียมสอบ กกต

เตรยี มสอบพนักงาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลอื กตั้ง ชดุ ที่ 2 334

บุคคลทยี่ น่ื คำรองขอเขา มาในกระบวนการดวยตนเองหรอื ถูกเรียกใหเขามาโดยผมู อี ำนาจ
ในการพจิ ารณาทางปกครอง เน่อื งจากหากมกี ารออกคำสง่ั ทางปกครองแลวจะกระทบกระเทือนตอ สทิ ธขิ อง
บุคคลดังกลาว เชน การพิจารณาคำขออนุญาตประกอบกิจการโรงงาน ชาวบานท่ีถูกเจาหนาท่ีเรียกเขามา
สอบถามขอ เทจ็ จริง ชาวบา นเปนคูกรณีแลว

คำสั่งศาลปกครองสงู สุดท่ี 1097/2546
ผูฟองคดีซ่ึงมีบานใกลกับโรงงานอุตสาหกรรมที่ผูถูกฟองคดีที่ 2 (อุตสาหรรมจังหวัด
ปทุมธานี) ไดออกใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงานใหน้ันไมใชผูยื่นคำขอหรือผูคัดคานคำขอใบอนุญาต
ประกอบกิจการโรงงาน ไมใชผูอยูในบังคับหรือจะอยูในบังคับของใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน และ
การที่จะเขามาในกระบวนการพิจารณาทางปกครองเน่ืองจากสิทธิของตนจะถูกกระทบกระเทือนจากผล
ของการออกใบอนุญาต จะตองเปนการย่ืนคำรองขอเขามาเองหรือถูกเรียกเขามาโดยผูมีอำนาจพิจารณา
ออกคำสั่งทางปกครอง การที่ผูฟองคดีเพียงแตเคยมีหนังสือไปถึงผูถูกฟองคดีที่ 1 (ปลัดกระทรวง
อุตสาหกรรม) เพ่ือขอทราบขอมูลขาวสารเก่ียวกับการประกอบกิจการของโรงงานดังกลาว ไมถือวาผูฟอง
คดีรองขอเขาหรอื ถกู เรียกเขามาในกระบวนพิจารณา ไมม ีฐานะเปนคูกรณี

สทิ ธขิ องคูก รณี
1. สทิ ธไิ ดรบั แจงขอเทจ็ จริงและโอกาสโตแ ยง พยานหลักฐาน
มาตรา 30 ในกรณีที่คำสั่งทางปกครองอาจกระทบถึงสิทธิของคูกรณี เจาหนาที่ตองใหคูกรณีมี

โอกาสท่จี ะไดท ราบขอเท็จจรงิ อยางเพยี งพอและมโี อกาสไดโ ตแยง และแสดงพยานหลกั ฐานของตน
การแจง ขอเท็จจรงิ ไมจำเปน ตอ งเรียกมาใหถ อยคำก็ได
คำพพิ ากษาศาลปกครองสูงสดุ ที่ อ.5/2551
บันทึกแจงสรุปพยานหลักฐานระบุเฉพาะขอหาเรียกเงินคุมครอง ไมไดระบุถึงการไมจัดซื้อวิทยุ

มือถือดวยแลวนำเงินไปใชสวนตัวดวยตามที่ระบุในคำสั่งลงโทษใหออกจากราชการ แตเม่อื การเรียกรบั เงิน
คาคุมครองเปนความผิดสำเร็จแลว ฐานทุจริตตอหนาท่ีอันเปนความผิดวินัยรายแรง การแจงหรือไมแจง
การไมจดั ซื้อวิทยุ มอื ถือ ไมมีผลเปล่ียนแปลงฐานความผิดและมาทำใหค วามผดิ ท่ีสำเรจ็ แลว เปนไมส ำเร็จ

ขอ ยกเวนการไดร บั แจงขอเทจ็ จรงิ และโอกาสโตแ ยง พยานหลกั ฐาน ซง่ึ เปนดลุ พนิ ิจ
(1) เมื่อมีความจำเปน รีบดว นหากปลอยใหเนิน่ ชาไปจะกอ ใหเกิดความเสียหายอยางรายแรงแกผู
หนึง่ ผใู ดหรือจะกระทบตอประโยชนส าธารณะ
- การใหผ ใู หญบ านออกจากตำแหนงเพราะเกี่ยวของกับยาเสพตดิ

เตรยี มสอบ กกต

เตรยี มสอบพนกั งาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตัง้ ชุดที่ 2 335

(2) เมอื่ จะมีผลทำใหร ะยะเวลาท่กี ฎหมายหรอื กฎกำหนดไวในการทำคำสั่งทางปกครองตอ งลาชา
ออกไป

คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ.1319/2559 คำสั่งกรมบัญชีที่งดจายบำนาญและเงินชวยคา
ครองชีพเนื่องจากเปนผูไมมีสิทธิไดรับ เปนคำสั่งที่ตองใหมีผลใชบังคับทันที จึงไมตองใหโอกาสคูกรณี
โตแ ยงและแสดงพยานหลกั ฐาน

(3) เมือ่ เปนขอเท็จจริงที่คกู รณีนน้ั เองไดใหไวใ นคำขอ คำใหก ารหรอื คำแถลง
- ทำหนงั สือชีแ้ จงยอมรับ ใหถ อยคำไวเ อง
(4) เมอ่ื โดยสภาพเห็นไดช ดั ในตวั วา การใหโอกาสดงั กลา วไมอ าจกระทำได
- สงไปแลวไปรษณียตกี ลับ
- ไมอยูอาศยั ตามทะเบยี นบา น
(5) เม่ือเปนมาตรการบังคับทางปกครอง ซึ่งบางมาตรการอาจเขาลักษณะเปนคำสั่งทางปกครอง
เชน ปรบั รายวัน
(6) กรณอี ืน่ ตามทีก่ ำหนดในกฎกระทรวง

(1) การบรรจุการแตงต้ัง การเลื่อนขั้นเงินเดือน การสั่งพักงาน หรือสั่งใหออกจากงานไว
กอน หรอื การใหพ น จากตำแหนง

- คำสั่งใหไ ปปฏิบัติราชการ เปนคำสง่ั เกย่ี วกบั การแตง ตงั้
- การสงั่ ใหป ระจำ และขยายระยะเวลา เปน คำสัง่ พกั งาน
- การใหพนจากตำแหนง นา จะหมายถึงการใหบ ุคคลผดู ำรงตำแหนง เจาหนาท่ขี องรัฐออก
จากตำแหนงน้ันไปดำรงตำแหนงอีกตำแหนงหน่ึง ซ่ึงไมทำใหสถานภาพของผูท่ีไดรับคำสั่งตองพนจาก
ตำแหนง เจา หนาทข่ี องรฐั
(2) การแจง ผลการสอบหรือการวัดผลความรหู รือความสามารถของบุคคล
(3) การไมอ อกหนังสือเดินทางสำหรับการเดนิ ทางไปตางประเทศ
(4) การไมต รวจลงตราหนงั สอื เดนิ ทางของคนตา งดาว
(5) การไมออกใบอนุญาตหรอื การไมต ออายุใบอนุญาตทำงานของคนตางดา ว
(6) การสัง่ ใหเ นรเทศ
ขอยกเวน การไดร บั แจง ขอ เทจ็ จริงและโอกาสโตแ ยงพยานหลักฐานเด็ดขาด
มาตรา 30 วรรค 3 หามมิใหเจาหนาท่ีใหโอกาสตามวรรคหน่ึง ถาจะกอใหเกิดผลเสียหาย
อยา งรา ยแรงตอประโยชนสาธารณะ

เตรียมสอบ กกต

เตรยี มสอบพนักงาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกต้งั ชดุ ที่ 2 336

2. สทิ ธินำทนายความหรือที่ปรึกษาเขา มาในการพจิ ารณาทางปกครอง
เฉพาะกรณีท่ีคูกรณีปรากฏตัวตอเจาหนาท่ีเทาน้ัน ทนายความหรือที่ปรึกษาจะเขามาติดตอกับ
เจา หนาทแี่ ทนคูกรณไี มไ ด เวน แตไ ดร ับมอบอำนาจจากคูกรณีแลว
เมื่อคูกรณีนำทนายความหรือที่ปรึกษาเขามาในกระบวนพิจารณาทางปกครองพรอมกับตน การ
ใดๆ ท่ีทนายความหรือท่ีปรึกษาไดกระทำลงตอหนาคูกรณีใหถือวาเปนการกระทำของคูกรณี เวนแต
คูกรณจี ะไดค ัดคา นเสยี ในเวลานั้นตามมาตรา 23 วรรค 2
3. สิทธไิ ดรับการแจงสิทธิและไดร บั คำแนะนำจากเจา หนา ที่ (มาตรา 27)
การดำเนินกระบวนการพิจารณาทางปกครองมีรายละเอียดหลายประการ จึงเปนดุลพินิจของ
เจาหนาที่ท่ีจะแจงใหทราบตามความจำเปนแลวแตกรณี ไมไดเปนเงื่อนไขของความชอบดวยกฎหมายของ
คำสงั่ ทางปกครอง
สวนหนาท่ีในการแนะนำคูกรณีใหแกไขขอผิดพลาดที่ปรากฏในคำขออันเห็นไดชดั จากความไมรู
หรือความบกพรอง เจาหนาท่ีจะถือเอาประโยชนมาเปนเหตุในการออกคำส่ังทางปกครองที่เปนผลรายแก
คูกรณไี มไ ด ตอ งแจง ใหมีการแกไ ข
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ.87/2550
คำอุทธรณท่ีมิไดแสดงรายละเอียดและเหตุผลในการอุทธรณโตแยงคำสั่งไลออกจากราชการวา
ไมชอบดวยกฎหมายหรือไมเปนธรรมอยางไร เปนอุทธรณที่ไมถูกตองครบถวน ไมใชคำอุทธรณท่ีมี
ขอบกพรองเล็กนอยหรือไมชัดเจนหรือไมอาจเขาใจไดท่ีเจาหนาท่ีมีอำนาจใหคำแนะนำแกผูฟองคดีเพื่อ
แกไ ขเพ่มิ เติมคำอทุ ธรณใหถูกตอ งครบถว นตามมาตรา 27
4. สทิ ธิไดท ราบเหตุผลในการออกคำสัง่ ทางปกครอง (มาตรา 37)
ไมจำเปนตองใหไวใ นคำส่งั ทางปกครองกไ็ ด
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ.250/2549 แมตามมาตรา 37 จะบัญญัติไววาคำสั่งปกครอง
ท่ีทำเปนหนังสือตองจัดใหมีเหตุผลไวดวย แตการจัดใหมีเหตุผลดังกลาวหาจำตองระบุเหตุผลไวในคำสั่ง
ทางปกครองเสมอไปไม และไมใชกรณตี ามวรรค 2

4.1 คำสั่งทางปกครองท่ีนายกรฐั มนตรีหรือผซู ึ่งนายกรัฐมนตรีมอบหมายอาจประกาศ
ใน ราชกิจจานุเบกษากำหนดใหคำส่ังทางปกครองกรณีตองระบุเหตุผลไวในคำสั่งนั้นเองหรือใน
เอกสารแนบทา ยคำส่ังน้ันก็ได (มาตรา 37 วรรค 2)

(1) คำส่ังทางปกครองท่ีเปนการปฏิเสธการกอตั้งสิทธิของคูกรณี เชน การไมรับคำขอ ไม
อนุญาต ไมอ นมุ ตั ิ ไมรับรอง ไมร บั อทุ ธรณ หรอื ไมรบั จดทะเบยี น

เตรยี มสอบ กกต

เตรียมสอบพนักงาน สำนักงานคณะกรรมการการเลอื กตง้ั ชดุ ท่ี 2 337

(2) คำสั่งทางปกครองท่ีเปนการเพิกถอนสิทธิ เชน การเพิกถอนใบอนุญาต เพิกถอนการ
อนมุ ัติ เพกิ ถอนการรบั รอง หรอื เพกิ ถอนการรบั จดทะเบียน

(3) คำสง่ั ทางปกครองที่กำหนดใหก ระทำการหรอื ละเวนกระทำการ
(4) คำส่ังทางปกครองที่เปนคำวินิจฉยั อทุ ธรณ
(5) คำสง่ั ยกเลกิ การสอบราคา การประกวดราคา หรอื การประมูลราคาทมี่ ผี ูไดรับคดั เลือก
จากคณะกรรมการท่มี ีอำนาจหนาที่ในการพิจารณาผลการดำเนนิ การดงั กลาวแลว
4.2 คำส่ังทางปกครองทีไ่ มตอ งใหเ หตุผลประกอบคำสงั่ ทางปกครอง
(1) เปน กรณีทม่ี ผี ลตรงตามคำขอและไมก ระทบสิทธิและหนาท่ีของบคุ คลอื่น
(2) เหตผุ ลน้ันเปน ทีร่ กู ันอยแู ลว โดยไมจ ำตองระบอุ ีก
- ตามระเบยี บมีขอ เดียวทจ่ี ะไมอนญุ าต
(3) เปน กรณที ่ีตอ งรกั ษาไวเ ปน ความลบั ตามมาตรา 32
(4) เปนการออกคำส่ังทางปกครองดวยวาจาหรือเปนกรณีเรงดวน แตตองใหเหตุผลเปน
ลายลักษณอ กั ษรในเวลาอันควรหากผอู ยใู นบงั คบั ของคำสงั่ น้นั รอ งขอ
5. สทิ ธิไดร ับแจงวิธกี ารอทุ ธรณโตแ ยงคำสงั่ ทางปกครอง (มาตรา 40)
คำสง่ั ศาลปกครองสงู สดุ ท่ี 510/2550
คำส่ังแตงตั้งโยกยายมิไดระบุกรณีที่อาจอุทธรณหรือโตแยง การย่ืนอุทธรณหรือโตแยง และ
ระยะเวลาสำหรับการอุทธรณจึงขยายออกเปน 1 ป นับแตวันที่ไดรับคำส่ังทางปกครอง เมื่อทราบคำสั่ง
วันที่ 16 พฤศจิกายน 2548 ระยะเวลาจงึ ขยายเปน 1 ป นับแตวนั ดงั กลา ว
คำสง่ั ศาลปกครองสูงสุดท่ี 275/2550
ประกาศอำเภอกำหนดสมัยประชุมวิสามัญเปนคำส่ังทางปกครองท่ัวไป โดยสภาพของเรื่องจึงไม
อยใู นบังคับทีผ่ ูถกู ฟอ งคดจี ะตอ งดำเนนิ การแจงสิทธิอทุ ธรณคำส่งั ตามมาตรา 40 ได
การแกไขเยียวยาความบกพรองของคำส่ังทางปกครอง แตตองกระทำกอนกระบวนการ
พิจารณาอุทธรณส้ินสุด (กระบวนพิจารณาอุทธรณ) เวนแตเปนกรณีท่ีไมตองมีการอุทธรณจะตองทำ
ใหเสร็จกอนท่จี ะไปฟองศาลปกครอง (มาตรา 41)
1. คำสัง่ ทางปกครองทอ่ี อกโดยไมมผี ูย่ืนคำขอ
จัดใหมกี ารย่นื คำขอในภายหลัง
2. คำส่งั ทางปกครองทอี่ อกโดยไมไ ดจัดใหมีเหตผุ ล
จัดใหมเี หตผุ ลในภายหลัง
3. คำสัง่ ทางปกครองท่อี อกโดยไมไดรับฟง คกู รณี

เตรยี มสอบ กกต

เตรียมสอบพนกั งาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลือกตง้ั ชดุ ท่ี 2 338

จัดใหมีการรับฟงคกู รณีในภายหลัง
4. คำสั่งทางปกครองท่ีออกโดยไมไ ดใ หเ จาหนาทอ่ี น่ื ใหค วามเห็นชอบกอ น

การอุทธรณคำสง่ั ทางปกครอง
1. ขอ พจิ ารณาเบือ้ งตน
คำสั่งทางปกครองท่ีอาจอุทธรณไดภายในฝายปกครอง หากผูน้ันไมไดอุทธรณจะนำคดีฟองตอ

ศาลปกครองไมไ ดต ามมาตรา 42 วรรค 2 แหง พ.ร.บ.จัดต้งั ศาลปกครองฯ
2. วัตถแุ หงการอทุ ธรณ
จะตองเปนคำสง่ั ทางปกครองเทานั้น หนังสือเวียนกระทรวงการคลัง มีลักษณะเปนกฎ ผูฟองคดี

สามารถฟอ งคดไี ดทนั ที โดยไมตอ งอทุ ธรณก อน
คำส่ังทางปกครองทไี่ มจำเปนตองอุทธรณ
(1) คำสง่ั ทางปกครองทีอ่ อกโดยรัฐมนตรีตามมาตรา 44 วรรค 1
(2) คำสง่ั ทางปกครองทอี่ อกโดยคณะกรรมการตามมาตรา 48 ประกอบมาตรา 87
(3) คำส่งั ทางปกครองท่มี ลี กั ษณะเปนคำส่ังทางปกครองท่ัวไป
(4) คำส่งั ทางปกครองทก่ี ฎหมายเฉพาะกำหนดใหเปนทีส่ ุด
(5) คำสั่งทางปกครองทกี่ ฎหมายเฉพาะกำหนดใหฟองศาลไดท นั ที
3. ผูมีสิทธิอทุ ธรณค ำสั่งทางปกครอง
ผูมีสิทธิอุทธรณคือคูกรณี แมบุคคลไมใชคูกรณีจะไมมีสิทธิอุทธรณคำสั่งทางปกครองปกครอง

แตก็มีสิทธฟิ อ งขอใหเ พกิ ถอนคำส่งั ทางปกครองได
คำส่ังศาลปกครองสงู สดุ ที่ 298/2546
เมื่อผูฟองคดีไมไดเปนผูยื่นคำขอและไมไดกอใหเกิดนิติสัมพันธใดๆ ผูฟองคดีไมไดอยูในบังคับ

ของคำส่ังดังกลาว ผูฟองคดีจึงไมใชคูกรณีตามมาตรา 5 ไมตองอุทธรณคำสั่งดังกลาวกอนนำคดีมาฟองตอ
ศาลปกครอง

4. ผรู บั อทุ ธรณ
ผูอุทธรณตองย่ืนคำส่ังตอเจาหนาที่ผูทำคำส่ังทางปกครอง ทั้งน้ีการยื่นอุทธรณคำส่ังตอ
ผบู ังคับบัญชาของเจา หนา ทผ่ี ทู ำคำส่ังหรือตอ บุคคลอืน่ โดยสุจริต ถอื วา เปน การยน่ื อทุ ธรณท ี่ชอบดว ย
คำสง่ั ศาลปกครองสงู สุดท่ี 31/2550

เตรียมสอบ กกต

เตรียมสอบพนักงาน สำนักงานคณะกรรมการการเลอื กต้งั ชุดท่ี 2 339

ผูฟองคดีมิไดอุทธรณคำสั่งตอผูถูกฟองคดีซ่ึงเปนผูทำคำสั่งทางปกครองดังกลาวโดยตรง แตก็ได
ย่นื อทุ ธรณต อผูวาราชการจังหวัด ซ่ึงเปนผูมีอำนาจพิจารณาอทุ ธรณ จึงถอื วา ผูฟ องคดีไดอุทธรณคำส่งั ทาง
ปกครองดังกลาวแลว

ความเหน็ คณะกรรมการวิธปี ฏบิ ตั ริ าชการทางปกครองเรื่องเสร็จท่ี 98/2542
การที่ผูรบั คำสั่งทางปกครองยื่นอุทธรณค ำสั่งทางปกครองตอรัฐมนตรีวา การ โดยไมไดยืน่ ตอผูว า
ราชการจังหวัดซึ่งเปนผูทำคำสั่งทางปกครองตามมาตรา 44 เน่ืองจากคำสั่งดั่งกลาวไมไดดำเนินการตาม
มาตรา 40 จึงไมเปนเหตใุ หการย่ืนอุทธรณเสียไป สามารถแกไขไดโ ดยใหรัฐมนตรีสงหนังสือดังกลาวใหผูวา
ราชการพิจารณาอุทธรณต อ ไป
5. ระยะเวลาอทุ ธรณตำสง่ั ทางปกครอง
(1) ภายใน 15 วันนบั แตวนั ที่ไดรับแจง คำสงั่ ทางปกครอง
(2) เปน ไปตามทแี่ จงหากระยะเวลาอุทธรณมากกวา 15 วัน
(3) ในกรณไี มแจงสิทธอิ ุทธรณระยะเวลาขยายเปน 1 ป
ความเหน็ คณะกรรมการวธิ ีปฏบิ ตั ิราชการทางปกครองเรื่องเสรจ็ ที่ 213/2550
พ.ร.บ. วธิ ีปฏิบัติราชการทางปกครอง กำหนดใหการแจงโดยวธิ ีสงไปรษณียต อบรยั ใหถ ือวาไดรับ
เมอ่ื ครบกำหนด 7 วันนับแตวนั สงสำหรบั กรณีภายในประเทศ เวนแตจ ะพิสูจนไดวาไมไดรับหรอื ไดรับกอน
หรือหลังจากวันน้ัน เม่ือหลักฐานตามใบตอบรับลงวันท่ี 10 สิงหาคม 2549 ถือวาไดรับแลวต้ังแตวันท่ี 10
สงิ หาคม 2549
6. การพจิ ารณาอทุ ธรณคำสั่งทางปกครอง
การพิจารณาอุทธรณคำสั่งทางปกครอง เปนระบบการพิจารณา 2 ช้ัน ซึ่งชั้นแรกเปนการ
พิจารณาอุทธรณโดยเจาหนาท่ีผูทำคำส่ังทางปกครอง และชั้นที่ 2 เปนการพิจารณาโดยเจาหนาที่ผูมี
อำนาจพิจารณาอุทธรณ

6.1 การพิจารณาอุทธรณช้ันแรก ตองพิจารณาใหแลวเสร็จไมเกิน 30 วันนับแตวันที่
ไดรบั อุทธรณ

6.1 การพิจารณาอุทธรณชั้นท่ี 2 ตองพิจารณาใหแลวเสร็จภายใน 30 วันนับแตวันที่
ไดร บั รายงานจากการพิจารณาอุทธรณช ้นั แรก และถามีเหตจุ ำเปนใหขยายไดอีก 30 วนั

ความเห็นคณะกรรมการวิธีปฏิบัตริ าชการทางปกครองเร่อื งเสรจ็ ที่ 97/2545
การที่อธิบดีมอบอำนาจใหรองอธิบดี การกระทำของรองอธิบดีเปนการกระทำในฐานะ
อธบิ ดผี ูมอบอำนาจ ผมู อี ำนาจพจิ ารณาอุทธรณคำสง่ั ดังกลาวน้ีคอื ปลัดกระทรวง

เตรียมสอบ กกต

เตรยี มสอบพนักงาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตงั้ ชุดที่ 2 340

สรุป
การพิจารณาอทุ ธรณทกุ ขน้ั ตอนตอ งกระทำใหแลว เสรจ็ อยางชาทส่ี ดุ คอื 90 วันนบั แต
วันทไี่ ดร บั อทุ ธรณ คอื
(1) การพิจารณาอุทธรณช ัน้ แรก 30 วนั
(2) การพิจารณาอุทธรณช ัน้ ท่ี 2 30 วัน + 30 วนั
เม่ือผูมีอำนาจพิจารณาอุทธรณมิไดพิจารณาสั่งอุทธรณจนเลยระยะเวลา 90 วันนับ
แตวันไดรบั อุทธรณ จึงเปนกรณีท่ีผูมีอำนาจพิจารณาไมไดพิจารณาสั่งการภายในระยะเวลาอันสมควร
(คำสั่งที่ 565/2547)
7. การแจงผลการพจิ ารณาอุทธรณ (มาตรา 50 แหง พ.ร.บ. จดั ตง้ั ศาลปกครองฯ)
การแจงผลการพิจารณาอุทธรณในกรณีที่คำส่ังทางปกครองอาจฟองตอศาลปกครองได ให
เจาหนาที่ผูทำคำส่ังทางปกครองหรือผูมีอำนาจพิจารณาอุทธรณระบุวิธีการยื่นคำฟองและระยะเวลา
สำหรับย่ืนฟองไวในคำสง่ั พจิ ารณาอทุ ธรณดวย
หากละเลยไมแ จง สทิ ธกิ ารฟอ งคดี ใหระยะเวลาสำหรับย่ืนคำฟองนบั ใหมนับแตว ันท่ีแจง แตหาก
ไมมีการแจงใหมและระยะเวลาฟองคดนี อยกวา 1 ป (ฟอ งคดีภายใน 90 วัน) ใหขยายเปน 1 ป

สรปุ การฟอ งคดีปกครองตอศาลปกครอง
1. กรณไี มแจงผลการพิจารณาอุทธรณ 180 วัน นบั แตวันท่ีเจาหนา ทไี่ ดรับอุทธรณ

1.1 ระยะเวลาการพจิ ารณาอทุ ธรณ 90 วนั
1.2 ระยะเวลาฟองคดตี อ ศาลปกครอง 90 วัน
2. กรณีมีการแจงผลการพิจารณาอุทธรณ แตไ มระบุวิธีการย่ืนคำฟองหรือระยะเวลาสำหรับ
ย่นื ฟอ งไว
1 ปนบั แตว ันทเี่ จาหนาทไี่ ดร ับแจงอทุ ธรณ

การเพิกถอนคำสั่งทางปกครอง

1 การเพกิ ถอนคำส่ังทางปกครองท่ไี มช อบกฎหมาย
1.1 การเพิกถอนคำส่ังทางปกครองที่ไมชอบดวยกฎหมายซึ่งเปนการสรางภาระ

(มาตรา 50)

เตรียมสอบ กกต

เตรยี มสอบพนกั งาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกต้งั ชดุ ที่ 2 341

- เพิกถอนทั้งหมดหรือบางสว นก็ได โดยจะกำหนดใหมีผลยอนหลงั หรือไมย อนหลังหรอื มี
ผลในอนาคตก็ได

- ไมอ ยูในบังคับ 90 นบั แตวนั ทีท่ ราบเหตุแหงการเพิกถอน
1.2 การเพิกถอนคำสั่งทางปกครองทไี่ มช อบดว ยกฎหมายซงึ่ เปน การใหป ระโยชน
- เพิกถอนท้ังหมดหรือบางสวนกไ็ ด โดยจะกำหนดใหมีผลยอนหลงั หรือไมย อนหลังหรือมี
ผลในอนาคตกไ็ ด
- ตองคำนึงความเช่ือโดยสุจริตของผูรับคำส่ังในความคงอยูของคำสั่งทางปกครอง
ประกอบดว ย
(1) การเพิกถอนคำสั่งทางปกครองที่ไมชอบดวยกฎหมายซ่ึงเปนการใหเงิน ทรัพยสิน
หรอื ประโยชนที่อาจแบง ได
- ตองเปนคำส่ังท่ีใหทรัพยสิน หรือประโยชนโดยตรงเทาน้ัน ไมใชเปนคาตอบแทนการ
ดำรงตำแหนง
ความเหน็ คณะกรรมการวิธปี ฏิบัตริ าชการทางปกครองเรอื่ งเสร็จท่ี 658/2551
เมื่อคำสั่งแตงตั้งใหดำรงตำแหนงอธิบดี มิไดเปนคำส่ังในลักษณะที่เปนการใหเงินหรือ
ทรัพยสิน ประกอบกับไมมีกฎหมายใดกำหนดไวโดยเฉพาะใหกระทรวงการคลังเรียกเงินเดือนและ
ประโยชนตอบแทนคืนได กระทรวงการคลังจึงไมมีสิทธิเรียกเงินเดือนและประโยชนตอบแทนอื่นท่ีไดรับไป
แลวได (หากไมส จุ รติ นาจะเรียกคืนไดฐานลาภมคิ วรได)
ความเห็นแยง กรณีการไดรับเงินเดือนหรือทรัพยสิน ซ่ึงเปนผลมาจากคำส่ังปกครองซึ่ง
เปนการใหประโยชนอ่ืนท่ีมิใชเงิน ทรัพยสิน หรือประโยชนท่ีอาจแบงได นาจะตองอยูในบังคับมาตรา 51
ดวย
- ใหคำนึงความเช่ือโดยสุจริตของผูรับคำส่ังในความคงอยูของคำส่ังทางปกครองกับ
ประโยชนสาธารณะ
- อยูในบงั คับ 90 นับแตว นั ท่ที ราบเหตุแหงการเพกิ ถอน

เตรยี มสอบ กกต

เตรยี มสอบพนักงาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกต้ัง ชุดท่ี 2 342

ขอยกเวนการอางความเชอื่ โดยสุจริต
(1) ผูน ้ันไดแสดงขอ ความอนั เปน เท็จหรือปกปด ขอความจริงซ่งึ ควรบอกใหแ จง หรอื ขมขู หรอื ชกั จูงใจโดย
การใหทรัพยส นิ หรอื ใหป ระโยชนอ ่ืนใดทมี่ ิชอบดวยกฎหมาย
(2) ผูน้ันไดใ หข อ ความซึง่ ไมถูกตองหรอื ไมครบถว นในสาระสำคัญ
(3) ผนู น้ั ไดร ถู งึ ความไมช อบดวยกฎหมายของคำส่ังทางปกครองในขณะไดร บั คำสั่งทางปกครองหรือการ
ไมรูน้นั เปนไปโดยความประมาทเลนิ เลอ อยา งรา ยแรง

- ใหน ำบทบัญญัตวิ าดว ยลาภมคิ วรไดม าใชบ ังคับโดยอนุโลม
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุดท่ี อ. 137/2547 การอนุมัติใหผูฟองคดีใชสิทธิเบิกคาเชา
ไมชอบดวยระเบียบ โดยเขาใจวาตนมีสิทธิตามมติคณะรัฐมนตรีแตมติคณะรัฐมนตรีเปนเพียงนโยบาย
เทาน้ัน การกระทำของผูฟองคดีเปนการกระทำโดยประมาทเลินเลออยางรายแรง จึงไมอาจอางความเชื่อ
โดยสจุ ริตได คำส่งั เรียกเงินคืนจึงชอบแลว
คำพพิ ากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ. 173/2547
ผูรับทุนการศึกษาไดเขาทำสัญญารับทุนการศึกษา และกลับมาชดใชทุนเรียบรอยโดย
สุจริตแลว จึงถือวาไดใชประโยชนอันเกิดจากคำสั่งทางปกครองหรือไดดำเนินการเก่ียวกับทรัพยสินแลว
โดยไมอ าจแกไขเปลย่ี นแปลงไดห รือทำใหผนู ั้นตองเสียหายเกินควรแกก รณี
(2) การเพิกถอนคำสั่งทางปกครองท่ีไมชอบดวยกฎหมายซึ่งเปนการใหประโยชนอ่ืน ท่ี
มิใชเ งินทรัพยสิน หรือประโยชนท ี่อาจแบงได
- ใหคำนึงความเช่ือโดยสุจริตของผูรับคำสั่งในความคงอยูของคำสั่งทางปกครองกับ
ประโยชนส าธารณะ
- พจิ ารณาขอ ยกเวนการอา งความเช่อื โดยสจุ รติ ดวย
- อยใู นบงั คบั 90 นบั แตว ันทท่ี ราบเหตแุ หง การเพิกถอน
- มีสิทธิไดรับคาทดแทนความเสียหายเน่ืองจากความเช่ือโดยสุจริตในความคงอยูของ
คำส่ังทางปกครอง ภายใน 180 วันนับแตว ันท่ไี ดรบั แจง ใหทราบถงึ การเพกิ ถอนน้นั
ความเหน็ คณะกรรมการกฤษฎกี าเรอ่ื งเสร็จที่ 56/2544
คำส่ังบรรจุแตงตั้งซ้ำซอ น กรมการปกครองควรเพิกถอนคำสั่งใหมีผลยอนหลังตั้งแตวันที่
บรรจุและแตง ต้งั จนถึงวนั ทก่ี รมคมุ ประพฤตมิ คี ำส่งั ไลอ อก เพ่ือใหส ามารถเรียกคืนเงนิ เดือนทจ่ี า ยซำ้ ซอนใน
ชวงเวลาดงั กลา วได โดยตองเรียกคนื เต็มจำนวนฐานลาภมิควรไดต ามมาตรา 51

เตรยี มสอบ กกต

เตรยี มสอบพนกั งาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตัง้ ชดุ ท่ี 2 343

ความเห็นคณะกรรมการวิธีปฏิบัตริ าชการทางปกครองเรื่องเสร็จท่ี 192/2543
บริษัท ก ปกปดขอความจริงในการขออนุญาต กรมโยธาธิการจึงมีอำนาจเพิกถอน
ใบอนญุ าตไดต ามมาตรา 50 โดยไมอ ยูในบังคับ 90 วนั และจะอางความเชอื่ ดวยสจุ รติ ตามมาตรา 51 วรรค
3 ไมได อยางไรก็ดีเมื่อกรมโยธาธิการทราบถึงเหตุท่ีจะเพิกถอนแลวมิไดดำเนินการเพิกถอนใบอนุญาต แต
ไดมีหนังสือขอใหจังหวัดเชียงใหมแจงบริษัท ก ใหระงับการดำเนินการ และใหไปดำเนินการใหถูกตอง จึง
ถือไดวาเหตุแหง ความไมชอบดว ยหมดสน้ิ แลว ไมส ามารถยกเหตแุ หง การเพกิ ถอนท่หี มดสนิ้ แลว มาเพิกถอน
ไดอ ีก
คำพพิ ากษาศาลปกครองสงู สดุ ที่ อ.275/2552
การแกไขคะแนนโอเน็ตผิดพลาด โดยผูถูกฟองคดี ไดออกประกาศรายช่ือผูมีสิทธิเขา
ศกึ ษาใหม ยอมถือไดวาผูถูกฟองคดีเพิกถอนประกาศรายชื่อฉบับเดิมภายใน 90 วันแลวนับแตไ ดรูวา มีการ
คำนวณคะแนนผิดพลาดตามมาตรา 49 วรรค 2 ท้ังผูมีสิทธิไดรับประโยชนก็ยังไมไดรายงานตัว จึงถอื วา ยัง
ไมไดใ ชป ระโยชนอนั เกดิ จากคำสงั่ เดิม จงึ ไมตอ งคำนงึ ถึงความเช่อื โดยสุจรติ ตามมาตรา 52
คำพพิ ากษาศาลปกครองสูงสดุ ที่ อ.10/2547
การท่ีผูฟองคดีไดรับใบอนุญาตขับรถยนตโดยถูกตองภายหลังจากที่ไดสมัครแลวยอมไม
ทำใหคุณสมบัติในการสมัครเขารับการคัดเลือกมีผลสมบูรณยอนหลังแตอยางใด ผูถูกฟองคดีจึงมีอำนาจท่ี
จะเพิกถอนประกาศผลการคดั เลือกดังกลาวไดตามมาตรา 49 และมาตรา 50 (กรณีนห้ี นว ยงานไมไดแ จง ให
ผูฟอ งคดีดำเนนิ การแกไข)
คำพพิ ากษาศาลปกครองสงู สดุ ที่ อ.328/2551
ผูฟองคดีไดรับอนุญาตใหลาออกตามโครงการ แตตอมาขาดคุณสมบัติจึงมีการเพิกถอน
คำสั่งใหลาออก ผูฟองคดีไดรับประโยชนอันเกิดจากคำสั่งนั้นดวยการหยุดปฏิบัติหนาที่ตั้งแตวันที่ 1 -20
เมษายน 2547 แลว ผฟู อ งคดยี อมไดร ับความคุมครองตามมาตรา 51 วรรค 2 จึงถือวาผูฟองคดีกลบั เขารับ
ราชการต้ังแตวันท่ี 1 เมษายน 2547 จึงถือวาผูฟองคดีกลับเขารับราชการตั้งแตวันดังกลาว ผูฟองคดีจึงมี
สิทธไิ ดร ับเงินเดอื นตง้ั แตว ันดังกลาวเชนกนั

2. การเพกิ ถอนคำสงั่ ทางปกครองทช่ี อบกฎหมาย
2.1 การยกเลิกคำส่งั ทางปกครองทช่ี อบดว ยกฎหมายซึ่งเปนการสรางภาระ
- เพกิ ถอนท้ังหมดหรือบางสว นก็ได โดยมีผลในอนาคตกไ็ ด แตจะกำหนดใหมีผลยอ นหลัง

เชนคำสัง่ ไมช อบดวยกฎหมายไมได
- ไมอยูในบงั คับ 90 นบั แตว ันท่ที ราบเหตแุ หงการเพกิ ถอน

เตรียมสอบ กกต

เตรียมสอบพนกั งาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลือกตั้ง ชดุ ท่ี 2 344

2.2 การเพิกถอนคำสงั่ ทางปกครองทชี่ อบดว ยกฎหมายซ่งึ เปน การใหป ระโยชน
- อยใู นบังคบั 90 นบั แตวันทที่ ราบเหตแุ หง การเพกิ ถอน
สามารถดำเนินการไดเฉพาะกรณีดงั ตอไปน้ี
(1) มกี ฎหมายกำหนดใหย กเลิกไดห รอื มขี อ สงวนสทิ ธใิ หย กเลิกไดในคำสงั่ ทางปกครอง
(2) คำสั่งทางปกครองน้ันมขี อ กฎหมดใหผรู บั ประโยชนต องปฏิบตั ิแตไมม กี ารปฏบิ ัติ
ภายในระยะเวลาทกี่ ำหนด
การขอพิจารณาคดใี หม
การขอใหพิจารณาใหมเปนการทบทวนคำส่ังทางปกครองซึ่งจะเกิดขึ้นภายหลังจากลวงพน
กำหนดระยะเวลาอุทธรณไปแลว หรือเปนกรณีที่ไมสามารถอุทธรณได ตองขอใหพิจารณาใหมภายใน 90
วันนบั แตว ันทรี่ ูถ ึงเหตุ (มาตรา 54)
(1) มีพยานหลักฐานใหม อันอาจทำใหขอเท็จจริงท่ีฟงเปนยุติแลวนั้นเปลี่ยนแปลงไปใน
สาระสำคญั
(2) คูกรณีท่ีแทจริงมิไดเขามาในกระบวนการพิจารณาทางปกครองหรือไดเขามาในกระบวนการ
พิจารณาครั้งกอนแลวแตถูกตัดโอกาสโดยไมเปนธรรมในการมีสวนรวมในกระบวนการพิจารณาทาง
ปกครอง
(3) เจา หนาทไี่ มมีอำนาจที่จะทำคำสัง่ ทางปกครองในเรอื่ งนน้ั
(4) ถาคำสั่งทางปกครองไดออกโดยอาศัยขอเท็จจริงหรือขอกฎหมายใดและตอมาขอเท็จจริง
หรือขอ กฎหมายน้ันเปลีย่ นแปลงไปในสาระสำคัญในทางที่จะเปนประโยชนแ กคูก รณี

เตรียมสอบ กกต

เตรยี มสอบพนักงาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลอื กตั้ง ชุดท่ี 2 345

สรปุ การเพกิ ถอนคำส่ังทางปกครอง

ประเภทของประเภทคำส่ังทางปกครอง ความเชื่อโดยสุจรติ ทงั้ หมด/บางสวน ยอนหลัง/ปจจบุ นั / 90 วันนับแตวนั ลาภมคิ วรได คาทดแทน
อนาคต ทราบเหตุ ความเสียหาย
คำสั่งทางปกครองทีไมชอบดวยกฎหมายซึ่งเปนการ - √ -
สรางภาระ √ √ √ - -
คำสั่งทางปกครองที่ไมชอบดวยกฎหมายซึ่งเปนการ √ √
ใหเงิน ทรัพยส นิ √ √ √ √√
คำส่ังทางปกครองท่ีไมชอบดวยกฎหมายซึ่งเปนการให √
ประโยชนอืน่ ที่มใิ ชเงิน ทรัพยสนิ √ √ -√
ค ำ สั่ ง ท า ง ป ก ค ร อ ง ที่ ช อ บ ด ว ย ก ฎ ห ม า ย ซ่ึ ง เป น ก า ร
สรางภาระ √ - --
ค ำ สั่ ง ท า ง ป ก ค ร อ งท่ี ช อ บ ด ว ย ก ฎ ห ม า ย ซึ่ งเป น ก า ร
ใหประโยชน ยอนหลงั ไมไ ด

√ -√

เตรียมสอบ กกต

เตรียมสอบพนกั งาน สำนักงานคณะกรรมการการเลอื กตงั้ ชุดที่ 2 346

พระราชบญั ญตั ิ
วิธปี ฏิบตั ริ าชการทางปกครอง

พ.ศ. 2539

ภูมิพลอดลุ ยเดช ป.ร.
ใหไ ว ณ วนั ที่ 27 กนั ยายน พ.ศ. 2539

เปน ปท ่ี 51 ในรชั กาลปจจุบนั

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกลาฯ
ใหประกาศวา

โดยที่สมควรมกี ฎหมายวา ดว ยวธิ ปี ฏบิ ตั ิราชการทางปกครอง
จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหตราพระราชบัญญัติข้ึนไวโดยคำแนะนำและยินยอม
ของรัฐสภา ดงั ตอไปนี้
มาตรา 1 พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
พ.ศ. 2539”
มาตรา 2 พระราชบัญญัติน้ีใหใชบังคับเม่ือพนกำหนดหนึ่งรอยแปดสิบวันนับแตวันถัด
จากวันประกาศในราชกจิ จานุเบกษาเปนตน ไป
มาตรา 3 วิธีปฏิบัติราชการทางปกครองตามกฎหมายตา ง ๆ ใหเ ปนไปตามที่กำหนดใน
พระราชบัญญัตินี้ เวนแตในกรณีที่กฎหมายใดกำหนดวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองเรื่องใดไว
โดยเฉพาะและมีหลักเกณฑที่ประกันความเปนธรรมหรือมีมาตรฐานในการปฏิบัติราชการไมต่ำกวา
หลกั เกณฑทก่ี ำหนดในพระราชบญั ญตั นิ ี้
ความในวรรคหนึ่งมิใหใชบังคับกับขั้นตอนและระยะเวลาอุทธรณหรือโตแยงที่
กำหนดในกฎหมาย
มาตรา 4 พระราชบญั ญัตนิ ้ีมิใหใชบ งั คับแก
(1) รัฐสภาและคณะรฐั มนตรี
(2) องคก รท่ีใชอ ำนาจตามรัฐธรรมนูญโดยเฉพาะ
(3) การพิจารณาของนายกรฐั มนตรีหรอื รฐั มนตรใี นงานทางนโยบายโดยตรง
(4) การพิจารณาพิพากษาคดีของศาลและการดำเนินงานของเจาหนา ทใ่ี นกระบวนการ
พิจารณาคดี การบงั คบั คดี และการวางทรพั ย
(5) การพิจารณ าวินิจฉัยเรื่องรองทุกขและการส่ังการตามกฎหมายวาดวย
คณะกรรมการกฤษฎกี า
(6) การดำเนินงานเกย่ี วกับนโยบายการตางประเทศ

เตรยี มสอบ กกต

เตรียมสอบพนักงาน สำนักงานคณะกรรมการการเลอื กตง้ั ชุดที่ 2 347

(7) การดำเนินงานเกี่ยวกับราชการทหารหรือเจาหนาท่ีซ่ึงปฏิบัติหนาท่ีทางยุทธการ
รวมกับทหารในการปองกันและรักษาความม่ันคงของราชอาณาจักรจากภัยคุกคามทั้งภายนอกและ
ภายในประเทศ

(8) การดำเนินงานตามกระบวนการยุติธรรมทางอาญา
(9) การดำเนินกิจการขององคการทางศาสนา
มาตรา 5 ในพระราชบัญญตั ินี้
“วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง” หมายความวา การเตรียมการและการดำเนินการ
ของเจาหนาที่เพื่อจัดใหมีคำส่ังทางปกครองหรือกฎ และรวมถึงการดำเนินการใด ๆ ในทางปกครองตาม
พระราชบญั ญัตนิ ้ี
“การพิจารณาทางปกครอง” หมายความวา การเตรียมการและการดำเนินการของ
เจา หนา ท่เี พื่อจัดใหม คี ำสงั่ ทางปกครอง
“คำส่ังทางปกครอง” หมายความวา
(1) การใชอำนาจตามกฎหมายของเจา หนาทท่ี มี่ ีผลเปนการสรางนติ ิสัมพันธขึ้นระหวาง
บุคคลในอันท่ีจะกอ เปล่ียนแปลง โอน สงวน ระงับ หรือมีผลกระทบตอสถานภาพของสิทธิหรือหนาที่
ของบุคคล ไมวาจะเปนการถาวรหรือชั่วคราว เชน การสั่งการ การอนุญาต การอนุมัติ การวินิจฉัย
อุทธรณ การรับรอง และการรบั จดทะเบียน แตไ มหมายความรวมถงึ การออกกฎ
(2) การอ่นื ทีก่ ำหนดในกฎกระทรวง
“กฎ” หมายความวา พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง ประกาศกระทรวง ขอบัญญัติ
ทองถิ่น ระเบียบ ขอบังคับ หรือบทบัญญัติอ่ืนท่ีมีผลบังคับเปนการทั่วไป โดยไมมุงหมายใหใชบังคับแก
กรณีใดหรือบคุ คลใดเปน การเฉพาะ
“คณะกรรมการวินิจฉัยขอพิพาท” หมายความวา คณะกรรมการท่ีจัดต้ังข้ึนตาม
กฎหมายทม่ี กี ารจดั องคกรและวธิ พี ิจารณาสำหรับการวนิ ิจฉยั ช้ีขาดสทิ ธิและหนาทต่ี ามกฎหมาย
“เจาหนาที่” หมายความวา บุคคล คณะบุคคล หรือนิติบุคคล ซึ่งใชอำนาจหรือไดรับ
มอบใหใชอำนาจทางปกครองของรัฐในการดำเนินการอยางหนึ่งอยางใดตามกฎหมาย ไมวาจะเปนการ
จดั ตัง้ ขน้ึ ในระบบราชการ รฐั วสิ าหกจิ หรือกจิ การอ่นื ของรฐั หรอื ไมก ต็ าม
“คูกรณี” หมายความวา ผูย่ืนคำขอหรือผูคัดคานคำขอ ผูอยูในบังคับหรือจะอยูใน
บังคับของคำสั่งทางปกครอง และผูซึ่งไดเขามาในกระบวนการพิจารณาทางปกครองเนื่องจากสิทธิของผู
นั้นจะถูกกระทบกระเทือนจากผลของคำสงั่ ทางปกครอง
มาตรา 6 ใหนายกรัฐมนตรีรักษาการตามพระราชบัญญัติน้ี และใหมีอำนาจออก
กฎกระทรวงและประกาศ เพ่อื ปฏบิ ตั ิการตามพระราชบญั ญตั ินี้
กฎกระทรวงและประกาศนน้ั เมอื่ ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาแลว ใหใชบ ังคับได

เตรยี มสอบ กกต


Click to View FlipBook Version