The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

130024_เพจ-เตรียมสอบ-กกต.64-ชุดที่-2-สงวนลิขสิทธิ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pratheerapong2519, 2021-03-22 22:15:35

130024_เพจ-เตรียมสอบ-กกต.64-ชุดที่-2-สงวนลิขสิทธิ์

130024_เพจ-เตรียมสอบ-กกต.64-ชุดที่-2-สงวนลิขสิทธิ์

คำนำ

ตามท่ีสำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้งประกาศรับสมัครสอบคัดเลือกบุคคลเพ่ือบรรจุ
และแตงตั้งเปนพนักงานของสำนักงานคณะกรรมการการเลือกต้ัง 14 ตำแหนง จำนวน 215 อัตรา เปดรับ
สมัครสอบทางอินเทอรเ น็ต ระหวา งวันที่ 22 กมุ ภาพนั ธ - 15 มนี าคม 2564 น้ัน

ทางเพจเตรียมสอบ กกต ป 2564 จึงไดจัดทำหนังสือเตรียมสอบพนักงานการเลือกต้ัง
สำนักงานคณะกรรมการการเลือกต้ัง ชุดท่ี 2 สรุปและไฮไลทตัวบทสำคัญตามประกาศรับสมัคร 13 ฉบับ คือ
รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย 2560 พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ วาดวยคณะกรรมการการ
เลือกต้ัง พ.ศ. 2560 พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยพรรคการเมือง พ.ศ. 2560 พระราชบัญญัติ
ประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎร พ.ศ. 2561 พระราชบัญญัติประกอบ
รัฐธรรมนญู วาดวยการไดมาซึ่งสมาชิกวุฒิสภา พ.ศ. 2561 พระราชบัญญัตกิ ารเลือกต้ังสมาชิกสภาทองถ่ินหรือ
ผูบริหารทองถิ่นพ.ศ. 2562 พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 พระราชบัญญัติความ
รับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. 2539 พระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ. 2540 พระราช
กฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี
วาดวยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีวาดวยการรักษาความปลอดภัย พ.ศ. 2552
ระเบียบวาดวยการรกั ษาความลับของทางราชการ พ.ศ. 2544 ท้ังน้ีในสว นระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีวาดวย
งานสารบรรณ พ.ศ. 2526 ทางเพจไดตัดไฮไลทต ัวบทออกเนือ่ งจากซำ้ ซอนกบั สรปุ แ

คูมือฉบับนี้จึงครอบคลุมเนื้อหาท้ังหมดที่ใชสอบในตำแหนงตางๆ โดยรวบรวมจาก
ประสบการณตรงของอดีตพนักงานท่ีสอบเขาบรรจุแตงต้ังเปนพนักงานของสำนักงานคณะกรรมการการ
เลอื กต้ัง ซึ่งจะเปนประโยชนแ กผูสนใจสมัครสอบดเลือกบุคคลเพื่อบรรจแุ ละแตงตงั้ เปน พนกั งานของสำนักงาน
คณะกรรมการการเลือกตงั้ อยางย่ิง

หากมีขอผิดพลาดประการใดสามารถแจงหรือสอบถามขอสงสัยผานทางเพจ เตรียมสอบ
กกต ป 2564

เพจ เตรียมสอบ กกต ป 2564

สารบัญ หน้า

คำนำ 1
สรปุ สาระสำคญั รัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย 2560 26
ตวั บท ฉบบั พรอ้ มสอบ 83
สรปุ สาระสำคญั พระราชบัญญตั ิประกอบรฐั ธรรมนูญ ว่าด้วยคณะกรรมการการเลือกตั้ง
พ.ศ. 2560 95
ตวั บท ฉบับพรอ้ มสอบ 119
สรุปสาระสำคญั พระราชบญั ญตั ปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู ว่าดว้ ยพรรคการเมอื ง พ.ศ. 2560 132
ตวั บท ฉบบั พรอ้ มสอบ 173
สรปุ สาระสำคญั พระราชบัญญัติประกอบรฐั ธรรมนญู ว่าดว้ ยการเลอื กตัง้ สมาชกิ
สภาผแู้ ทนราษฎร พ.ศ. 2561 182
ตัวบท ฉบับพร้อมสอบ 229
สรุปสาระสำคญั พระราชบัญญัติประกอบรฐั ธรรมนญู ว่าดว้ ยการไดม้ าซึง่ สมาชิกวฒุ สิ ภา
พ.ศ. 2561 241
ตวั บท ฉบบั พร้อมสอบ 272
สรปุ พระราชบัญญัตกิ ารเลอื กต้งั สมาชิกสภาท้องถิ่นหรอื ผบู้ รหิ ารทอ้ งถิน่ พ.ศ. 2562 281
ตัวบท ฉบับพรอ้ มสอบ 322
สรุปพระราชบัญญตั ิวธิ ปี ฏบิ ตั ริ าชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 346
ตวั บท ฉบบั พรอ้ มสอบ 371
สรุปพระราชบญั ญตั คิ วามรบั ผิดทางละเมิดของเจา้ หนา้ ที่ พ.ศ. 2539 375
ตัวบท ฉบบั พรอ้ มสอบ 377
สรปุ พระราชบัญญตั ิขอ้ มลู ข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 387
ตัวบท ฉบบั พรอ้ มสอบ 400
พระราชกฤษฎกี าวา่ ด้วยหลกั เกณฑ์และวิธีการบริหารกจิ การบ้านเมอื งทด่ี ี พ.ศ. 2546 405
ตวั บท ฉบบั พร้อมสอบ 419
ระเบยี บสำนกั นายกรฐั มนตรวี ่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และท่แี ก้ไขเพม่ิ เติม 432
ระเบยี บสำนักนายกรฐั มนตรวี า่ ด้วยการรักษาความปลอดภยั พ.ศ. 2552 440
ตัวบท ฉบับพรอ้ มสอบ 456
ระเบยี บว่าด้วยการรกั ษาความลับของทางราชการ พ.ศ. 2544 463
ตวั บท ฉบับพร้อมสอบ

เตรียมสอบพนักงาน สำนักงานคณะกรรมการการเลอื กตง้ั ชดุ ที่ 2 1

สรุป
รฐั ธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

1. บทท่วั ไป
2. สิทธแิ ละเสรภี าพของปวงชนชาวไทย และหนาทข่ี องประชาชน
3. หนา ทีข่ องรฐั และแนวนโยบายแหงรฐั
4. รัฐสภา
5. สภาผแู ทนราษฎร
6. วฒุ สิ ภา
7. คณะรฐั มนตรี
8. การขดั กันแหง ผลประโยชน
9. ศาล
10. กรรมการการเลือกตงั้
11. องคก รอิสระอืน่
12. องคกรอัยการ
13. การปกครองสว นทอ งถิ่น
14. การแกไขเพิ่มเตมิ รัฐธรรมนญู
15. การปฏริ ปู ประเทศ
16. บทเฉพาะกาล

1. บททว่ั ไป
1.1 ความรูทั่วไปเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560
(1) เปนรัฐธรรมนูญฉบับท่ี 20 ของไทย นับแตประเทศไทยเปล่ียนแปลงการปกครองมาเปน

ระบอบประชาธิปไตย ป พ.ศ. 2475
(2) แบงออกเปน 16 หมวด หน่ึงบทเฉพาะกาล
(3) ประกอบไปดว ย 279 มาตรา
(4) วันทรี่ ฐั ธรรมนญู มผี ลบงั คบั ใช คอื วันที่ 6 เมษายน 2560
(5) เปนรฐั ธรรมนูญฉบบั ท่สี องของไทยที่มกี ารออกเสียงประชามติ

เตรยี มสอบ กกต. 2564

เตรยี มสอบพนักงาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตัง้ ชดุ ท่ี 2 2

(6) มีการเพ่ิมหมวดใหมวาดวยการ “ปฏริ ูปประเทศ” และ “หนา ทีข่ องรัฐ” ซง่ึ ไมเคยปรากฏมา
กอ นในรฐั ธรรมนูญฉบบั ใด

(7) เปลี่ยนระบบการเลือกตัง้ ส.ส. เปน แบบ “จดั สรรปน สวนผสม” ที่คดิ คนข้นึ มาใหม ซ่ึงไมเ คย
ใชมากอนในเมืองไทย คือ มี ส.ส. เขต 350 คน และ ส.ส.สัดสวน 150 คน โดยคณะกรรมการราง
รฐั ธรรมนูญจะชูวา ขอดีคือทำใหทุกคะแนนเสียงมีความหมาย แตหลายฝายมองวาขอเสียคือจะทำใหเ กิด
รฐั บาลผสมที่ออนแอ

(8) ประเทศไทยปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยเปนประมุข อำนาจอธิป
ไตยเปนของปวงชนชาวไทย โดยพระมหากษัตริยเปนผูใชอำนาจนั้นผานทางรัฐสภา (อำนาจนิติบัญญัติ)
คณะรัฐมนตรี (อำนาจบริหาร) และศาล (อำนาจตุลาการ) โดยวิธีการใชอำนาจท้ังสามดังกลาวเปนไป
ตามบทบัญญตั แิ หง รัฐธรรมนูญ (มาตรา 3)

(9) รัฐธรรมนูญเปน กฎหมายสูงสุดของประเทศ บทบญั ญัติหรือการกระทำใดจะขัดหรือแยง ไมได
หากมีบทบัญญัติหรือการกระทำใดขัดหรือแยง บทบัญญัติหรือการกระทำนั้นเปนอันใชบังคับไมได
(มาตรา 5 วรรคหน่งึ )

ศาลรฐั ธรรมนญู
ตรวจสอบ

ศาลปกครอง
ตรวจสอบ

(10) หากไมมีบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญบังคับแกกรณีใด ใหการกระทำหรือการวินิจฉัยนั้น
เปนไปตามประเพณกี ารปกครองประเทศไทย (มาตรา 5 วรรคสอง)

(11) ศักดิ์ศรีความเปนมนุษย สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของบุคคลยอมไดรับความ
คุมครอง (มาตรา 4)

1.2 พระมหากษตั ริย
(1) องคพระมหากษัตริยทรงดำรงอยูในฐานะอันเปนที่เคารพสักการะ ผูใดจะละเมิดกลาวหา
หรือฟองรอ งมิได (มาตรา 6)

เตรยี มสอบ กกต. 2564

เตรียมสอบพนักงาน สำนักงานคณะกรรมการการเลอื กตัง้ ชดุ ท่ี 2 3

(2) พระมหากษตั ริยท รงเปน พทุ ธมามกะ และทรงเปน อัครศาสนูปถัมภก (มาตร 7)
(3) พระมหากษตั ริยทรงดำรงตำแหนงจอมทัพไทย (มาตรา 8)
(4) พระมหากษัตริยทรงไวซึ่งพระราชอำนาจท่ีจะสถาปนาและถอดถอนฐานันดรศักด์ิและ
พระราชทานและเรียกคนื เครอื่ งราชอิสรยิ าภรณ (มาตรา 9)
(5) พระมหากษัตริยทรงเลอื กและทรงแตงตัง้ องคมนตรรี วม 19 คน (มาตรา 10)
(6) ทรงแตงตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎร ประธานสภาผูแทนราษฎร รองประธานสภาและผูนำ
ฝา ยคา นในสภาผูแทนราษฎร (มาตรา 106)
(7) พระมหากษัตริยท รงเรยี กประชมุ รฐั สภา ทรงเปดและทรงปด ประชุม (มาตรา 122)
(8) พระมหากษัตริยทรงไวซึ่งพระราชอำนาจในการตราพระราชกฤษฎีกาโดยไมขดั ตอกฎหมาย
(มาตรา 175)
(9) พระมหากษตั ริยทรงไวซง่ึ พระราชอำนาจในการประกาศใชและเลกิ ใชกฎอัยการศึก (มาตรา 176)
(10) พระมหากษัตริยทรงไวซึ่งพระราชอำนาจในการประกาศสงครามเม่ือไดรับความเห็นชอบ
ของรฐั สภา (มาตรา 177)
(11) พระมหากษัตริยทรงไวซึ่งพระราชอำนาจในการทำหนังสือสัญญาสันติภาพสัญญาสงบศึก
และสัญญาอ่ืนกบั นานาประเทศหรอื กับองคการระหวา งประเทศ
แตหนังสือสัญญาใดมีบทเปล่ียนแปลงอาณาเขตไทย หรือเขตพ้ืนท่ีนอกอาณาเขตซ่ึงประเทศ
ไทยมีสิทธิอธิปไตยหรือมีเขตอำนาจตามหนังสือสัญญาหรือตามกฎหมายระหวางประเทศหรือจะตอง
ออกพระราชบัญญัติเพ่ือใหการเปนไปตามหนังสือสัญญา และหนังสือสัญญาอ่ืนท่ีอาจมีผลกระทบ
ตอความม่ันคงทางเศรษฐกิจ สังคม หรือการคาหรือการลงทุนของประเทศอยางกวางขวาง ตองไดรับ
ความเหน็ ชอบของรฐั สภากอ น
หนังสือสัญญาอื่นท่ีอาจมีผลกระทบตอความม่ันคงทางเศรษฐกิจ สังคม หรือการคา หรือการ
ลงทุนของประเทศอยางกวางขวางตามวรรคสอง ไดแก หนังสือสัญญาเกี่ยวกับการคาเสรี เขตศุลกากร
รวมหรือการใหใชทรัพยากรธรรมชาติ หรือทำใหประเทศตองสูญเสียสิทธิในทรัพยากรธรรมชาติท้ังหมด
หรือบางสว น หรอื หนังสอื สญั ญาอื่นตามทกี่ ฎหมายบญั ญตั ิ (มาตรา 178)
(12) พระมหากษัตรยิ ท รงไวซ ึ่งพระราชอำนาจในการพระราชทานอภยั โทษ (มาตรา 179)
(13) พระมหากษัตริยทรงแตงตั้งขาราชการฝายทหารและฝายพลเรือนตำแหนงปลัดกระทรวง
อธิบดี และเทียบเทา และทรงใหพนจากตำแหนง เวนแตกรณีท่ีพนจากตำแหนงเพราะความตาย
เกษยี ณอายุ หรอื พน จากราชการเพราะถกู ลงโทษ (มาตรา 180)

เตรียมสอบ กกต. 2564

เตรยี มสอบพนกั งาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลอื กตง้ั ชดุ ท่ี 2 4

2. สทิ ธิและเสรีภาพของปวงชนชาวไทย และหนาทขี่ องประชาชน
2.1 ความหมาย
(1) สิทธิ (Right) อำนาจที่กฎหมายรับรองและคมุ ครองใหแ กบุคคลในอันท่ีจะกระทำหรอื งดเวน
การทำการอยางใดอยางหนึ่งเพ่ือประโยชนอันพึ่งไดของตน เปนอำนาจท่ีบุคคลพ่ึงมีเพ่ือเรียกรองใหรัฐ
หรือบุคคลกระทำการหรืองดเวนกระทำการอยางใดอยางหน่งึ เชน สทิ ธิผบู ริโภค สทิ ธิชมุ ชน
(2) เสรภี าพ (Liberty) ภาวะท่บี ุคคลมีอสิ ระในอนั ท่ีจะกระทำการหรอื งดเวน กระทำการอยางใด
อยางหนงึ่ ตามความปรารถนาของตน โดยไมถกู แทรกแซงหรือครอบงำโดยบุคคลอื่น เปนอำนาจทีบ่ ุคคล
พง่ึ มเี พอื่ ความเปนอิสระในการตัดสนิ ใจท่ีจะกระทำการหรอื งดเวนกระทำการ เชน เสรภี าพในการนับถือ
ศาสนา
(3) ศักดิ์ศรีความเปนมนุษย (Human Dignity) คุณคาอันมีลักษณะท่ีผูกพันอยูกับความเปน
มนุษย โดยไมตองคำนึงถึง เพศ สัญชาติ เช้ือชาติ ศาสนา เปนสาระสำคัญของมนุษยที่มาอาจถูกพราก
เสยี ได
(4) หลักความเสมอภาค (Equality) หมายถึง หลักการที่รัฐหรือบุคคลจะตองปฏิบัติตอสิ่งท่ีมี
สาระสำคัญเหมือนกันใหเทาเทียมกันหรืออยางเดียวกัน และปฏิบัติตอส่ิงที่มีสาระสำคัญไมเหมือนกันให
แตกตา งกนั ออกไป

2.2 เงอื่ นไขการคุมครองสิทธเิ สรภี าพตามรัฐธรรมนูญ
สิทธิและเสรีภาพของปวงชนชาวไทย โดยหลักสิทธิเสรีภาพที่บัญญัติไวในรัฐธรรมนูญยอมไดรับ
ความคุมครอง อยางไรก็ตามการใดแมไมไดหามหรือถูกจำกัดไวในรัฐธรรมนูญ แตถาสิทธิและเสรีภาพ
นั้นๆ ไมกระทบกระเทือนหรือเปนอันตรายตอความม่ันคงของรัฐความสงบเรียบรอยและศีลธรรมอันดี
ของประชาชน และไมละเมิดสิทธิหรือเสรีภาพของบุคคลอ่ืน กระทำการน้ันยอมไมตองหามตาม
รฐั ธรรมนูญแตอ ยา งใด
สิทธิและเสรีภาพท่ีมิไดหามหรือจำกัดไวในรัฐธรรมนูญหรือกฎหมายอื่น หากไมมีกฎหมายใด
หามไว บุคคลยอมมีสิทธิและเสรีภาพอ่ืนๆ นอกเหนือจากที่กฎหมายกำหนดตราบใดท่ีสิทธิและเสรีภาพ
ดังกลาวไมขดั ตามทรี่ ฐั ธรรมนูญกำหนด
อยางไรก็ดีการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล จะกระทำไดก็ตอเมื่อตราเปนกฎหมายและ
เปนไปตามเงือ่ นไขที่บัญญตั ิไวในรฐั ธรรมนูญ หากกรณที ีใ่ ดที่รฐั ธรรมนูญไมไดบญั ญตั ิเง่ือนไขไว กฎหมาย
ทต่ี ราขึ้นนนั้ ตองไมขัดตอหลักนิติธรรม ไมเ พม่ิ ภาระ หรือจำกัดสิทธิหรอื เสรีภาพของบคุ คลเกนิ สมควรแก

เตรยี มสอบ กกต. 2564

เตรียมสอบพนกั งาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลอื กต้งั ชุดที่ 2 5

เหตุและจะกระทบตอศักด์ิศรีความเปนมนุษยไมได และตองระบุเหตุผลในการจำกัดสิทธิและเสรีภาพ
เอาไวดวย (มาตรา 26)

2.3 สิทธิเสรีภาพที่ไดร ับการรับรองตามรัฐธรรมนูญ
(1) บุคคลยอมเสมอกันในกฎหมาย มีสิทธิและเสรีภาพเทาเทียมกันไมวาเปนชายหรือหญิง
และจะถูกเลือกปฏิบัติโดยไมเปนธรรมไมได อยางไรก็ดีมาตรการที่รัฐกำหนดข้ึนเพ่ือขจัดอุปสรรคหรือ
สงเสริมใหบุคคลใชสิทธิเสรีภาพไดเชนเดียวกับบุคคลอ่ืนยอมไมถือวาเปนการเลือกปฏิบัติโดยไมเปน
ธรรม (มาตรา 27)
(2) บุคคลมสี ิทธแิ ละเสรภี าพในชีวติ และรางกาย (มาตรา 28)
(3) บุคคลมีสิทธิและเสรีภาพในการนับถือศาสนา ปฏิบัติและประกอบพิธีกรรมทางศาสนา
(มาตรา 31)
(4) บุคคลมีสิทธิในความเปนอยูสวนตัว เกียรติยศ ชื่อเสียง และครอบครัว จะกระทำการใดอัน
เปนการละเมิด หรือกระทบสิทธิ หรือนำขอมูลบุคคลไปใชประโยชนไมได เวนแตอำนาจตามบทบัญญัติ
ของกฎหมายท่ตี ราขน้ึ เทาที่จำเปนเพื่อประโยชนสาธารณะ (มาตรา 32)
(5) บุคคลมีเสรีภาพในเคหสถาน จะเขาไปในเคหสถานหรือคนเคหสถาน/ที่รโหฐานโดย
ปราศจากความยินยอมของผูครอบครองไมได เวนแตมีคำสั่งหรือหมายศาลหรือเหตุอื่นตามกฎหมาย
(มาตรา 33)
(6) บคุ คลมเี สรภี าพในการแสดงความเห็น การพดู เขยี น การพิมพ โฆษณา
สอ่ื ความหมาย จะจำกัดเสรภี าพไมได เวน แตอ าศัยอำนาจแหง กฎหมาย (มาตรา 34)
(7) บุคคลซ่ึงประกอบวิชาชีพส่ือมวลชนมีเสรีภาพในการเสนอขาวสารและแสดงความคิดเห็น
ตามจริยธรรมแหงวิชาชีพ และจะส่ังปดกิจการหนังสือพิมพหรือสื่อมวลชนอื่นเพื่อลิดรอนเสรีภาพ
ดงั กลาวไมได (มาตรา 35)
(8) บคุ คลยอมมีเสรภี าพในการเดนิ ทางและเลือกถ่นิ ทอี่ ยู (มาตรา 38)
(9) บคุ คลยอมมีเสรีภาพในการประกอบอาชพี (มาตรา 40)
(10) การเนรเทศ การถอนสัญชาติของบคุ คลซง่ึ มีสญั ชาติไทยโดยกำเนดิ หรอื หามบุคคลสญั ชาติ
ไทยเขาราชอาณาจักรไมไ ด (มาตรา 39)
(11) บุคคลและชุมชนมสี ทิ ธิทราบและเขา ถงึ ขอ มูลขาวสารในความครอบครองของหนวยงานรัฐ
เสนอเรื่องรอ งทุกขต อหนวยงานของรัฐและไดรบั แจงผลการพิจารณา และฟองหนว ยงานของรฐั ใหรับผิด
เนอ่ื งจากการกระทำหรอื ละเวน การกระทำของเจาหนาทีร่ ัฐหรอื หนวยงานของรัฐ (มาตรา 41)

เตรยี มสอบ กกต. 2564

เตรยี มสอบพนกั งาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง ชดุ ที่ 2 6

(12) บุคคลมีเสรีภาพในการชุมนุมอยางสงบและปราศจากอาวุธ โดยรัฐจะจำกัดเสรีภาพ
ดังกลาวไมไ ด เวนแตเปน ไปเพอื่ ประโยชนหรือความมนั่ คงของรัฐ (มาตรา 44)

(13) บุคคลมีเสรีภาพในการรวมตัวตั้งพรรคการเมือง โดยการตั้งพรรคการเมืองดังกลาวตอง
เปนไปตามกฎหมายวา ดวยพรรคการเมอื ง (มาตรา 45)

(14) สทิ ธิของผูบริโภคยอ มไดร บั การคุม ครอง (มาตรา 46)
(15) บุคคลมีสิทธิไดรับบริการสาธารณสุขจากรัฐ โดยบุคคลยอมมีสิทธิไดรับการปองกันและ
ขจัดโรคติดตออันตรายจากรัฐโดยไมเสียคาใชจาย รวมถึงบุคคลยากไรยอมมีสิทธิไดรับบริการ
สาธารณสขุ จากรฐั โดยไมเ สียคา ใชจายเชนกนั (มาตรา 47)

2.4 หนาที่ของปวงชนชาวไทย หนาท่ที ีส่ ำคญั (มาตรา 50)
(1) ปฏิบตั ิตามกฎหมายอยางเครงครัด
(2) เขารบั การศกึ ษาภาคบงั คับ
(3) รบั ราชการทหารตามทกี่ ฎหมายบัญญัติ
(4) เคารพและไมล ะเมดิ สิทธิและเสรีภาพของบุคคลอ่ืน
(5) เสยี ภาษอี ากรตามที่กฎหมายบญั ญัติ

3. หนาทข่ี องรัฐและแนวนโยบายแหง รฐั
3.1 หนาที่ของรฐั (หมวด 5)
การใดซึ่งรัฐธรรมนูญฉบับนี้กำหนดใหเปนหนาที่ของรัฐและเปนการเพ่ือใหเกิดประโยชนแก

ประชาชนโดยตรง ยอมเปนสิทธิของประชาชนหรือชุมชนท่ีจะติดตามและเรงรัดใหรัฐดำเนินการ รวมทั้ง
ฟอ งรอ งหนว ยงานของรัฐท่เี กยี่ วของเพ่ือจดั ใหประชาชนหรือชมุ ชนไดร บั ประโยชนนน้ั ได

(1) ดแู ลใหม ีการปฏบิ ตั ติ ามและบงั คับใชก ฎหมายอยา งเครง ครดั (มาตรา 53)
(2) ดำเนนิ การใหเดก็ ทุกคนไดร บั การศึกษาเปนเวลาสบิ สองป (มาตรา 54)
(3) ดำเนนิ การใหประชาชนไดรับบริการสาธารณสขุ ทีม่ ีประสทิ ธิภาพอยา งทัว่ ถึง (มาตรา 55)
(4) จัดหรือดำเนินการใหมีสาธารณูปโภคข้ันพ้ืนฐานท่ีจำเปนตอการดำรงชีวิตของประชาชน
อยางทั่วถงึ ตามหลกั การพฒั นาอยา งย่งั ยืน (มาตรา 56)
(5) รัฐตอ งเปด เผยขอ มูลขา วสารสาธารณะในความครอบครองของหนวยงานของรฐั ที่มใิ ชข อมูล
เกีย่ วกับความมั่นคงของรัฐหรือเปน ความลบั ของราชการตามทก่ี ฎหมายบัญญัต(ิ มาตรา 59)

เตรยี มสอบ กกต. 2564

เตรียมสอบพนักงาน สำนักงานคณะกรรมการการเลอื กตัง้ ชดุ ที่ 2 7

(6) รัฐตองจัดใหมีมาตรการหรือกลไกท่ีมีประสิทธิภาพในการคุมครองและพิทักษสิทธิของ
ผูบริโภคดา นตางๆ (มาตรา 61)

(7) รัฐตองรักษาวินัยทางการคลังอยางเครงครัดเพ่ือใหฐานะทางการเงินการคลังของรัฐ
มีเสถียรภาพและม่ันคงยังย่ืนตามกฎหมายวาดวยวินัยการเงินการคลังของรัฐและจัดระบบภาษีใหเกิด
ความเปน ธรรมแกส งั คม (มาตรา 62)

(8) รัฐตองสงเสริม สนับสนุน และใหความรูแกประชาชนถึงอันตรายที่เกิดจากการทุจริตและ
ประพฤติโดยมิชอบท้ังในภาครฐั และเอกชน และจัดใหมีมาตรการหรือกลไกท่ีมีประสิทธิภาพเพ่ือปองกัน
และขจัดการทุจรติ และประพฤตมิ ิชอบดงั กลาวอยา งเขมงวด (มาตรา 63)

3.2 แนวนโยบายแหงรฐั (หมวด 6)
รฐั ธรรมนูญกำหนดใหร ฐั ดำเนินการตรากฎหมายและกำหนดแนวนโยบายในการบรหิ ารราชการ
แผนดิน โดยจัดใหมียุทธศาสตรชาติเปนเปาหมายในการพัฒนาประเทศอยางย่ังยืนภายใตหลักธรรมาภิบาล
เพื่อใชเปนกรอบในการจัดทำแผนตางๆ ใหสอดคลองและบูรณาการกัน เปนการวางกรอบแนวนโยบาย
กวางๆ เพื่อใหรัฐบรหิ ารประเทศเปนไปตามแนวทางทรี่ ัฐธรรมนูญกำหนด โดยพงึ จัดใหมียุทธศาสตรช าติ
และใหประกาศในราชกจิ จานุเบกษาจงึ สามารถใชบังคับได แตแนวนโยบายแหง รัฐไมใ ชบ ทบังคับ
(1) รฐั พงึ อปุ ถมั ภและคมุ ครองพระพุทธศาสนาและศาสนาอืน่ (มาตรา 67)
(2) รัฐพึงจัดระบบการบริหารงานในกระบวนการยุติธรรมทุกดานใหมีประสิทธิภาพ เปนธรรม
และไมเลือกปฏิบัติ และใหประชาชนเขาถึงกระบวนการยุติธรรมไดโดยสะดวก รวดเร็ว และไมเสีย
คาใชจายสูงเกนิ สมควร และจดั ใหมมี าตรการกระจายการถือครองท่ดี ิน (มาตรา 68,72)
(3) รฐั พงึ จัดใหมแี ละสง เสรมิ การวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตร (มาตรา 69)
(4) รัฐพึงสงเสริมและใหความคุมครองชาวไทยกลุมชาติพันธุตาง ๆ และเสริมสรางความ
เขมแขง็ ของครอบครวั (มาตรา 70,71)
(5) รัฐพึงจัดใหมีมาตรการหรือกลไกที่ชวยใหเกษตรกรประกอบเกษตรกรรมไดอยาง
มปี ระสทิ ธิภาพ (มาตรา 73)
(6) รัฐพึงสงเสริมใหประชาชนมีความสามารถในการทำงานอยางเหมาะสมกับศักยภาพและวัย
และใหม ีงานทำ และใหม ีระบบแรงงานสมั พนั ธ (มาตรา 74)
(7) รัฐตองไมประกอบกิจการที่มีลักษณะเปนการแขงขันกับเอกชนเวนแตกรณีท่ีมีความจำเปน
การจัดใหม ีสาธารณปู โภคหรอื การจัดทำบรกิ ารสาธารณะ และสงเสรมิ ระบบสหกรณ (มาตรา 75)

เตรยี มสอบ กกต. 2564

เตรียมสอบพนกั งาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลอื กตงั้ ชดุ ท่ี 2 8

(8) รัฐพึงพัฒนาระบบการบริหารราชการแผนดินทั้งราชการสวนกลาง สวนภูมิภาค สวน
ทองถิน่ และงานของรฐั อยางอน่ื ใหเ ปน ไปตามหลักการบรหิ ารกิจการบานเมืองที่ดี (มาตรา 76)

(9) รัฐพึงจัดใหมีกฎหมายเพียงเทาที่จำเปน ใหรับฟงความคิดเห็นของประชาชน ใชระบบ
อนุญาตและระบบคณะกรรมการในกฎหมายเฉพาะกรณีที่จำเปน และพึงกำหนดโทษอาญาเฉพาะ
ความผิดรา ยแรง (มาตรา 77)

4. รัฐสภา
ประกอบไปดวยสภาผูแทนราษฎร (ส.ส.) และวุฒิสภา (ส.ว.) และจะเปนท้ัง ส.ส. และ ส.ว.

ในขณะ เดียวกันไมได โดยใหประธานสภาผูแทนราษฎรเปนประธานรัฐสภา ประธานวุฒิสภาเปนรอง
ประธานรฐั สภา (มาตรา 80)

4.1 การประชมุ รัฐสภา
(1) ครั้งแรกภายใน 15 วันนับแตวันประกาศผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรอันเปนการ
เลอื กตัง้ ทั่วไป โดยคณะกรรมการการเลือกตงั้ จะประกาศผลการเลอื กต้งั เมื่อตรวจสอบแลว เช่ือวาผลการ
เลือกต้ังเปนไปโดยสุจริตและเท่ียงธรรม และมีจำนวนไมนอยกวารอยละ 95 ของเขตเลือกตั้งท้ังหมด
แตตอ งไมช า กวา หกสิบวันนับแตวนั เลือกตั้ง
ในการเลือกต้ังทั่วไป เมื่อมีสมาชิกสภาผูแทนราษฎรไดรับเลือกตั้งถึงรอยละ 95 ของจำนวน
สมาชิกสภาผูแทนราษฎรท้ังหมดแลว หากมีความจำเปนจะตองเรียกประชุมรัฐสภาก็ใหดำเนินการเรียก
ประชุมรัฐสภาได
(2) พระมหากษตั ริยทรงเรยี กประชุมรัฐสภา ทรงเปด และทรงปด ประชุมรฐั สภา
(3) ตองประชุมโดยเปดเผย เวนแตคณะรัฐมนตรี หรือสมาชิกของท้ังสองสภาไมนอยกวา 1
ใน 4 ของจำนวนสมาชิกทัง้ หมดของสองสภารองขอใหป ระชมุ ลับก็ใหป ระชุมลบั
(4) สมยั ประชมุ

1. การประชุมสามัญ หนึ่งปใหมีการประชุมสามัญรัฐสภา 2 สมัย โดยสมัยหน่ึงมี
กำหนดเวลา 120 วัน

2. การประชุมวิสามัญ เปนการประชุมกรณีพิเศษที่จำเปนจะตองมีการประชุมนอก
สมัยประชุมสามัญ ซึ่งจะกระทำไดตอเม่ือสมาชิกสภาผูแทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภาทั้งสองสภา
รวมกัน หรือสมาชิกสภาผูแทนราษฎร มีจำนวนไมนอยกวา 1 ใน 3 ของจำนวนสมาชิกทัง้ หมดเทาที่มอี ยู
ของท้ังสองสภารองขอตอ ประธานรัฐสภา

เตรียมสอบ กกต. 2564

เตรยี มสอบพนักงาน สำนักงานคณะกรรมการการเลอื กต้งั ชดุ ที่ 2 9

(5) จำนวนสมาชิกมาประชุมไมนอยกวาก่ึงหนึ่งของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเทาท่ีมีอยูของแตละ
สภา เปน องคประชมุ

(6) การลงมติวินิจฉัยขอปรึกษาใหถ ือเสยี งขางมาก ถา มีคะแนนเสยี งเทากันใหป ระธานท่ีประชุม
ออกเสียงเพม่ิ ขน้ึ อกี หน่งึ เสียงเปน เสยี งช้ีขาด

4.2 เอกสทิ ธิ์ (มาตรา 124)
สิทธิ์ซ่ึงใหเปนพิเศษหรือการยกเวนใหแกบุคคลบางประเภท ซึ่งคนทั่วไปไมมีสิทธ์ิไดรับ หรือคน
ท่ัวไปตองปฏิบัติ เชน เอกสิทธทิ างการทตู เอกสทิ ธ์ิทางกงสลุ
(1) เอกสิทธในกรณีไมมีการถายทอดสด ไดรับการคุมครองเด็ดขาดทุกกรณี ไมวาถอยคำน้ันมี
ลักษณะเปนความผดิ ทางอาญาหรือละเมดิ สทิ ธิในทางแพงตอ บุคคลอืน่ หรอื ไม
(2) เอกสิทธ์ิในกรณีท่ีมีการถายทอดสด ไมครอบคลุมถึงกรณีถอยคำมีลักษณะเปนความผิดทาง
อาญาหรอื ละเมิดสิทธิในทางแพง ตอ บคุ คลอืน่ ซ่งึ ไมใ ชร ฐั มนตรหี รอื สมาชกิ แหงสภาน้นั
(3) เอกสิทธ์ขิ องสมาชกิ รัฐสภาคุมครองไปถงึ ผูพิมพแ ละผูโฆษณารายงานการประชมุ ดวย
(4) นำไปใชกับรัฐมนตรีในกรณีท่ีเขาประชุมและแถลงขอเท็จจริงหรือแสดงความคิดเห็นในท่ี
ประชมุ สภา (มาตรา 163)

4.3 ความคมุ กัน (มาตรา 125)
สถานะพิเศษของบคุ คลบางประเภทที่ไมต องตกอยภู ายใตอ ำนาจหรอื รับเคราะหกรรมบางอยาง
ตามกฎหมายท่ีบุคคลท่วั ไปตอ งตกอยภู ายใตอ ำนาจ เชน การไมถ กู จับ หรอื ไมถ กู ดำเนนิ คดีอาญา
(1) ในระหวางสมัยประชุม หามมิใหจับ คุมขัง หรือหมายเรียกตัวสมาชิกสภาผูแทนราษฎรหรือ
สมาชิกวฒุ สิ ภาไปทำการสอบสวนในฐานะทสี่ มาชิกผูนนั้ เปนผูต องหาในคดอี าญา เวน แตจ ะไดรับอนญุ าต
จากสภาทผี่ ูน้ันเปนสมาชกิ หรอื เปน การจับในขณะกระทำความผิด (ความผิดซง่ึ หนา )
ในกรณีที่มีการจับสมาชิกสภาผูแทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภาในขณะกระทำความผิดให
รายงานไปยังประธานแหงสภาที่ผูนั้นเปนสมาชิก และประธานแหงสภาท่ีผูนั้นเปนสมาชิกอาจสั่งให
ปลอยผถู ูกจับเพ่ือใหมาประชุมสภาได
(2) ไมอยูในระหวางสมัยประชุม ไมไดรับความคุมกัน แตเมื่อถึงสมัยประชุม ถาประธานแหง
สภาที่ผูนั้นเปนสมาชิกไดรองขอ ใหปลอยโดยศาลจะส่ังใหมีประกันหรือมีประกันและหลักประกันดวย
หรือไมก็ได
(3) การฟองคดีอาญา สามารถฟองไดทั้งนอกหรือในสมัยประชุม และศาลพิจารณาคดีนั้นได
แตตองไมเ ปน การขดั ขวางตอการที่สมาชกิ ผนู ้ันจะมาประชุมสภา

เตรยี มสอบ กกต. 2564

เตรยี มสอบพนักงาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลือกตั้ง ชุดที่ 2 10

4.4 การเสนอรา งพระราชบัญญตั ิ

ผเู สนอ พจิ ารณารา งพระราชบญั ญัตแิ ละลงมติ เห็นชอบ ไมเ ห็นชอบ
- คณะรฐั มนตรี สภา
ผูแทน กรณีจะยกรางท่ียับยั้งข้ึนพิจารณาใหม วฒุ ิสภา
- สมาชกิ สภาผแู ทนราษฎรไมนอยกวา 20คน ราษฎร ต อ งพ น 180 วัน แ ล ะ จ ะ เส น อ รา ง
พิจารณาภายใน 60 วัน
- ผูมีสิทธิเลือกต้ังไมน อยกวา 10,000 คน หลกั การเดียวกนั กับรางท่ียบั ยั้งไวไ มได เวนแตลงมติขอขยายเปน
เขา ชื่อเสนอกฎหมายตามหมวด 3 หรือหมวด 5 กรณีพิเศษ ไมเ กนิ 30 วัน

นายกนำขน้ึ ทูลเกลา ทูลกระหมอมถวาย วุฒิสภาเห็นชอบ หรือพิจารณาไม
เพ่ือพระมหากษตั รยิ ล งพระปรมาภิไธย เสร็จภายใน หรือไมสงคืนภายใน
กำห น ด เวลาก ำห น ด ให ถือ วา
เห็นชอบ

ประกาศในราชกจิ จานุเบกษา ยับยง้ั ไมเห็นชอบ
เห็นชอบ และสง คนื แกไ ขเพ่มิ เตมิ

สภาผูแ ทนราษฎร

สภาท้ังสองเหน็ ชอบ คณะกรรมาธิการรวมกันพิจารณา กรณอี น่ื

4.5 การเสนอรางพระราชบญั ญตั ปิ ระกอบรัฐธรรมนูญ

ผเู สนอ ประชมุ รวมกนั เพื่อพจิ ารณารางพระราชบญั ญตั ิ

- ครม. โดยขอเสนอแนะของศาลฎีกา ศาล รัฐสภา ประกอบรฐั ธรรมนูญใหแลว เสร็จภายใน 180 วนั
รัฐธรรมนญู หรือองคกรอสิ ระทเ่ี ก่ยี วของ - วาระ 1

- สมาชิกสภาผแู ทนราษฎรไมนอยกวา 1 ใน 10 - วาระ 2

ของจำนวนสมาชกิ สภาผแู ทนราษฎรท่ีมอี ยู - วาระ 3 = ออกเสยี งลงคะแนน

ใหร ฐั สภาดำเนนิ การตอไป หาก ภายใน 15 วัน นับ แต เห็นชอบ มี 2 กรณี ไมเ หน็ ชอบ
- ไมม ีขอ ทกั ทวง (เหน็ ชอบ) รัฐสภาใหความเห็นชอบ - มากกวากึ่งหนึ่งของ
- ไมมขี อทกั ทว งภายใน 30 วันนับแตว นั ที่ไดรับรา ง ใหสงรางไปใหศาลฎีกา จำนวนสมาชิกท้ังหมด
ศาลรัฐธรรมนูญ หรือ เทาทีม่ ีอยใู นสภา
เห็ น วามี ข อ ค วาม ขัด แย งต อ รัฐธรรม นู ญ - พิจารณาไมแลวเสร็จ
ใหรัฐสภาประชุมรวมกันพิจารณาใหแลวเสร็จ ใอหงค ควการม*อเหิส็นระที่ เก่ียวของ ภายใน 180 วนั
ภายใน 30 วัน นับแตไดรับความเห็น โดย
รฐั สภามีอำนาจแกไขไดตามขอ เสนอ *นอกจากขั้นตอนขา งตนใหกระทำเชน เดียวกับพระราชบัญญัติ

เตรียมสอบ กกต. 2564

เตรียมสอบพนกั งาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลือกต้ัง ชดุ ที่ 2 11

พระราชบญั ญตั ปิ ระกอบรฐั ธรรมนูญ มี 10 ฉบับ (มาตรา 130)
(1) พระราชบญั ญัตปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู วา ดวยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผแู ทนราษฎร
(2) พระราชบัญญัตปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู วาดวยการไดม าซ่ึงสมาชิกวฒุ ิสภา
(3) พระราชบญั ญัติประกอบรฐั ธรรมนญู วาดว ยคณะกรรมการการเลอื กต้งั
(4) พระราชบัญญัตปิ ระกอบรัฐธรรมนญู วาดว ยพรรคการเมือง
(5) พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนญู วา ดว ยผตู รวจการแผนดนิ
(6) พระราชบัญญัตปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู วา ดว ยการปองกันและปราบปรามการทุจริต
(7) พระราชบญั ญตั ปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู วา ดว ยการตรวจเงินแผน ดนิ
(8) พระราชบญั ญัตปิ ระกอบรัฐธรรมนญู วา ดวยวธิ พี ิจารณาของศาลรัฐธรรมนญู
(9) พระราชบญั ญัติประกอบรฐั ธรรมนญู วาดวยวิธพี จิ ารณาคดอี าญาของผดู ำรงตำแหนง ทางการเมอื ง
(10) พระราชบญั ญตั ิประกอบรัฐธรรมนูญวา ดวยคณะกรรมการสิทธมิ นษุ ยชนแหงชาติ

5. สภาผแู ทนราษฎร

5.1 ประกอบดวยสมาชิกจำนวน 500 คน

แบบแบงเขต 350 คน ใชวธิ ีออกเสียงลงคะแนนโดยตรงและลบั

แบบบัญชรี ายชือ่ 150 คน ใชวิธโี ดยออ ม

5.2 ใชระบบเลือกต้ังแบบจัดสรรปนสวนผสม เปนการนำระบบเลือกต้ัง 2 ระบบมาใชในการ
เลือกต้ังคราวเดียวกัน โดยนำระบบคะแนนมาใชกับการเลือกต้ังแบบแบงเขต ใชรูปแบบเขตเดียวเบอร
เดียว จากน้ันนำระบบสัดสวนมาใชกับคะแนน ส.ส. แบบแบงเขตเลือกตั้ง จำนวน 350 คน โดยคิด
คะแนนผูส มัครแบบแบงเขตเลือกตงั้ ทั้งหมด มาจัดสรร ส.ส. แบบบญั ชีรายชื่อ จำนวน 150 คน ใหพรรค
การเมอื งตามสัดสวนคะแนนแบบแบง เขตที่พรรคไดรบั

นำคะแนนของผสู มคั รทุกเขตของแตล ะพรรค มาคำนวณหา ส.ส. ทีแ่ ตล ะพรรคพงึ มี ดงั น้ี
(1) ถา ได ส.ส. แบบแบงเขตมากกวา ส.ส. ทพี่ รรคพง่ึ มี พรรคน้นั จะไดเฉพาะ ส.ส.
(2) ถาได ส.ส. แบบแบงเขตนอยกวา ส.ส. ที่พรรคพึ่งมี พรรคนั้นจะได ส.ส. แบบบัญชีรายชื่อ
จนครบจำนวนท่พี รรคพงึ มี
(3) คดิ ทุกคะแนนของผสู มคั ร ส.ส. ทกุ คน ทัง้ คนท่ีไดร บั เลือกและไมไดร ับเลอื ก

เตรียมสอบ กกต. 2564

เตรยี มสอบพนักงาน สำนักงานคณะกรรมการการเลอื กตั้ง ชดุ ที่ 2 12

(4) ใหบัตรแบบแบงเขตเลือกต้ังแคใบเดียว ไดทั้ง ส.ส. แบบแบงเขต และ ส.ส. แบบบัญชี
รายชอ่ื

5.3 วิธคี ำนวณ ส.ส. แบบจดั สรรปนสว น

คะแนนเสียงที่ทกุ พรรค = คะแนนเสียงตอ ส.ส. 1 คน
ไดรบั ทั้งประเทศ
500

คะแนนท้งั ประเทศของ = B จำนวน ส.ส. ท่ีพรรคนั้นพงึ มี
แตละพรรค


B – ส.ส. แบบแบงเขตของแตละพรรค = จำนวน ส.ส. แบบบัญชรี ายชื่อ

ถา ส.ส. พรรคมีแบบแบงเขตมากกวา ส.ส. ทพี่ ึงมอี ยแู ลว กไ็ มไ ดร ับจัดสรร แบบบญั ชรี ายชอ่ื เพ่ิม

5.4 หนา ทแี่ ละอำนาจ
(1) เสนอ หรอื พจิ ารณารางพระราชบญั ญตั ิ รา งพระราชบัญญัติประกอบรฐั ธรรมนญู
(2) อนมุ ตั ิพระราชกำหนด
(3) แกไ ขเพมิ่ เติมรฐั ธรรมนญู
(4) ต้ังกระทูถ ามรฐั มนตรี
(5) ส.ส. 1 ใน 5 ขอเปด อภิปรายไมไวว างใจรัฐมนตรเี ปนรายบุคคลหรือทง้ั คณะ
(6) ส.ส. 1 ใน 10 ขอเปดอภิปรายทวั่ ไป
(7) ผูนำฝา ยคา นขอเปด อภปิ รายทั่วไปเก่ียวกบั ความมนั่ คงหรอื เศรษฐกจิ
(8) ในเรื่องงบประมาณ จะแปรญัตติเปลี่ยนแปลงหรือแกไขเพิ่มเติมรายการหรือำนวยใน
รายการไมได แตสามารถลดได เวนแตเปนรายการสงใชเงินกู สงใชดอกเบี้ยเงินกู และใชจายตามที่
กฎหมายกำหนด
(9) หาม ส.ส. แปรญัตติหรือกระทำการดวยประการใดๆ ท่ีมีผลใหตนมีสวนในการใช
งบประมาณรายจาย

เตรียมสอบ กกต. 2564

เตรยี มสอบพนกั งาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตัง้ ชดุ ที่ 2 13

5.5 อายขุ องสภาผแู ทนราษฎร คราวละ 4 ปนับแตว ันเลอื กต้งั
(1) กรณีครบอายุสภาผูแทนราษฎร จะตองจัดการเลือกต้ังเปนการเลือกตั้งทั่วไปภายใน 45 วัน
นับแตวันท่ีสภาผูแทนราษฎรสิ้นอายุ โดยการเลือกต้ังตองเปนวันเดียวกันทั่วราชอาณาจักรที่
คณะกรรมการการเลอื กตง้ั ประกาศไวในราชกิจจานุเบกษา (มาตรา 102)
(2) กรณียุบสภา ภายใน 5 วันนับแตวันที่พระราชกฤษฎีกาตามวรรคหน่ึงใชบังคับ
ใหคณะกรรมการการเลือกต้ังประกาศกำหนดวันเลือกต้ังทั่วไปในราชกิจจานุเบกษา ซ่ึงตองไมนอยกวา
45 วนั แตไมเกิน 60 วัน นับแตวันที่พระราชกฤษฎีกาดงั กลาวใชบ ังคับ วันเลือกตงั้ นั้นตองกำหนดเปนวัน
เดยี วกนั ท่วั ราชอาณาจักร

5.6 ผมู สี ทิ ธเิ ลอื กตั้ง (มาตรา 95)
(1) สญั ชาตไิ ทย (หากผมู สี ญั ชาติไทยโดยการแปลงสญั ชาติ ตองไดส ญั ชาตไิ ทยมาไมนอ ยกวา หา ป)
(2) มีอายไุ มต ำ่ กวาสบิ แปดปใ นวนั เลือกตั้ง
(3) มชี ือ่ อยใู นทะเบียนบานในเขตเลอื กตั้งมาแลว ไมน อ ยกวาเกา สิบวนั นับถึงวันเลือกต้ัง
และบคุ คลตองหา มมิใหใชส ทิ ธเิ ลือกตง้ั (มาตรา 96)
(1) เปน ภิกษุ สามเณร นักบวช
(2) อยูระหวางถูกเพิกถอนสทิ ธเิ ลอื กต้ังไมว า คดนี นั้ จะถงึ ทีส่ ุดหรือไมก ็ตาม
(3) ตองคุมขงั อยโู ดยหมายศาลหรอื คำส่ังทชี่ อบดวยกฎหมาย
(4) วิกลจริตฟน เฟอ นไมสมประกอบ

6. วฒุ สิ ภา
ประกอบไปดวยสมาชิกจำนวน 200 คน มาจากการเลือกกันเองของบุคคลซ่ึงมีความรู ความ

เชย่ี วชาญ ประสบการณ อาชีพ ลักษณะ หรือประโยชนรว มกัน หรือทำงาน หรือเคยทำงานดานตางๆ ท่ี
หลากหลายของสังคม โดยในการแบงกลุมตองแบงในลักษณะท่ีทำใหประชาชน ซึ่งมีสิทธิสมัครรับเลือก
ทุกคนสามารถอยใู นกลุมใดกลุมหนงึ่ ได มวี าระการดำรงตำแหนง 5 ป นับต้งั แตว นั ประกาศผลการเลือก

6.1 หนา ท่ีและอำนาจ
(1) พจิ ารณายบั ย้ังรางพระราชบญั ญตั ิ
(2) พิจารณาพระราชกำหนด
(3) แกไ ขเพมิ่ เติมรัฐธรรมนูญ

เตรียมสอบ กกต. 2564

เตรยี มสอบพนกั งาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตง้ั ชดุ ท่ี 2 14

(4) ต้งั กระทถู ามรัฐมนตรี
(5) ขอเปดอภิปรายท่วั ไป เพ่ือใหคณะรัฐมนตรชี ้แี จงขอ เทจ็ จรงิ โดยไมมีการลงมติ
(6) ใหค วามเห็นชอบแตงตง้ั ใหบ ุคคลดำรงตำแหนง ตางๆ
(7) เห็นชอบการแตงต้ังตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ผูดำรงตำแหนงในองคกรอิสระ และผูวาการ
ตรวจเงินแผนดนิ

6.2 การเลือกสมาชิกวุฒิสภา สมาชิกวุฒิสภามาจากการเลือกกันเองของ
บุ ค ค ล ซ่ึ งมี ค ว า ม รู ค ว าม เชี่ ย ว ช า ญ
การแบงกลุม จำนวนกลุม คุณสมบัติของบุคคลในแต ป ระส บ ก ารณ อ าชี พ ลั ก ษ ณ ะ ห รือ
ละกลุม การสมัครและรับสมัครการคัดเลือก ประโยชนรวมกัน หรือทำงานหรือเคย
หลักเกณฑและวิธีการเลือกกันเอง การไดรับเลือก ทำงานดานตาง ๆ ที่หลากหลายของสังคม
จำนวนสมาชกิ วฒุ ิสภาทจี่ ะพึงมีจากแตล ะกลมุ การข้ึน โดยตราเปนพระราชกฤษฎีกาและภายใน
บัญชีสำรองและมาตรการอ่ืนท่ีจำเปน เพ่ือใหการ 50 วัน นับแตวันท่ีพระราชกฤษฎีกามีผลใช
เลือกกันเองเปนไปโดยสุจริตและเท่ียงธรรม บงั คับ
เปนไปตามพรบ. ประกอบรัฐธรรมนูญวาดวย
การไดมาซ่ึงสมาชิกวุฒิสภา โดยการแบงกลุม
ตองดำเนินการตั้งแตระดับอำเภอ จังหวัด และ
ประเทศ

แบงกลมุ
- กลมุ อาชีพ
- ตองแบงในลักษณะที่ทำใหประชาชนซึ่งมีสิทธิ
สมัครรับเลือกทุกคนสามารถอยูในกลุมใดกลุม
หน่งึ ได

6.3 ขอหา มของสมาชกิ วฒุ สิ ภา
บคุ คลเคยดำรงตำแหนงวุฒิสภาและสมาชิกสภาพสิ้นสุดแลวยังไมเกิน 2 ป จะเปนรัฐมนตรหี รือ
ผดู ำรงตำแหนงทางการเมืองไมได เวนแตเปน สมาชกิ สภาทอ งถิน่ หรือผบู ริหารทอ งถนิ่
6.4 วุฒสิ ภาตามบทเฉพาะกาล
(1) มีจำนวน 250 คน
(2) มีวาระการดำรงตำแหนง 5 ป นบั แตวันทีม่ ีพระบรมราชโองการแตง ตั้ง

เตรียมสอบ กกต. 2564

เตรียมสอบพนักงาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลอื กตั้ง ชดุ ท่ี 2 15

(3) กระบวนการสรรหาสมาชิกวุฒสิ ภาตามบทเฉพาะกาล

กรรมการการเลือกตัง้ จัดใหม ีการ 200 คน คสช. 50 คน
เลือกตามรัฐธรรมนูญ 400 คน คัดเลอื ก
+
กรรมการสรรหา
ซึ่ง คสช แตงต้ัง 194 คน

รวม 250 +1. ปลัดกระทรวง กห 2. ผบ.สส. 3. ผบ. 244 คน
คน
ทบ. 4. ผบ.ทอ. 5. ผอ.ทร. 6. ผบ ตร

(4) นอกจากจะมีหนาท่ีและอำนาจตามรัฐธรรมนูญแลว ใหมีหนาที่และอำนาจติดตาม
เสนอแนะ และเรงรัดการปฏริ ูปประเทศ รางพระราชบญั ญตั ิที่จะตราขน้ึ เพือ่ การปฏริ ูปประเทศ ใหเ สนอ
และพิจารณาในทปี่ ระชมุ รวมกนั ของรัฐสภา

(5) ใหความเห็นชอบในการแตงต้ังนายกรัฐมนตรี และยกเวนนายกรัฐมนตรีนอกบัญชีพรรค
การเมือง (นายกคนนอก)

7. คณะรฐั มนตรี
7.1 องคป ระกอบ
(1) คณะรฐั มนตรปี ระกอบไปดว ยนายกรัฐมนตรแี ละรฐั มนตรีอื่นไมเ กิน 35 คน รวม 36 คน
(2) คุณสมบตั ิของนายกรฐั มนตรแี ละรัฐมนตรเี ปนไปตามมาตรา 160
(3) การพน ตำแหนง ของรัฐมนตรี
1. รัฐมนตรที ้ังคณะพนจากตำแหนง มาตรา 167
2. รัฐมนตรสี น้ิ สุดลงเฉพาะตัว มาตรา 170
(4) ใหคณะรัฐมนตรีที่พนจากตำแหนงตามมาตรา 167 อยูปฏิบัติหนาที่ตอไปตามเงื่อนไข

มาตรา 168 และมาตรา 169
(5) พระมหากษัตรยิ ทรงไวซ่ึงพระราชอำนาจในการใหรัฐมนตรีพนจากความเปนรัฐมนตรีตามที่

นายกรัฐมนตรถี วายคำแนะนำ

เตรียมสอบ กกต. 2564

เตรยี มสอบพนกั งาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลอื กตัง้ ชดุ ที่ 2 16

7.2 หนา ที่และอำนาจ
(1) รัฐมนตรีมีสทิ ธิเขาประชุมและแถลงขอเท็จจรงิ หรือแสดงความคิดเห็นในท่ีประชมุ สภาแตไ ม
มีสิทธิออกเสียงลงคะแนน เวนแตเปนการออกเสียงลงคะแนนในสภาผูแทนราษฎรในกรณีท่ีรัฐมนตรีน้ัน
เปนสมาชกิ สภาผูแทนราษฎรดว ย และนำเอกสทิ ธขิ์ องสภาผแู ทนราษฎรมาใชโดยอนุโลม
(2) กรณีมีปญหาสำคัญเกี่ยวกับการบริหารราชการแผนดินท่ีคณะรัฐมนตรีเห็นสมควรฟงความ
คิดเห็นของสมาชิกผูแทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภา นายกรัฐมนตรีจะแจงไปยังประธานรัฐสภาขอใหมี
การอภิปรายทั่วไปในท่ปี ระชมุ รวมกันของรฐั สภาก็ได
(3) หากมีเหตุอันสมควร คณะรัฐมนตรีอาจขอใหมีการออกเสียงประชามติในเรื่องใดที่มิใชเร่ือง
ขัดตอรัฐธรรมนูญหรอื เกย่ี วกับบุคคลหรอื คณะบคุ คลกไ็ ด
(4) การลงนามหนังสือสัญญามีบทเปล่ียนแปลงอาณาเขตประเทศ หรือพ้ืนท่ีนอกอาณาเขตซ่ึง
ประเทศไทยมีอำนาจอธิปไตย หรือมีเขตอำนาจตามหนังสือสัญญาหรือตามกฎหมายระหวางประเทศ
หรือตองออกพระราชบัญญัติใหเปนไปตามหนังสือ หรือหนังสือสัญญาใดท่ีอาจมีผลกระทบตอความ
ม่ันคงทางเศรษฐกิจ สังคม หรือการคา หรือการลงทุนของประเทศอยางกวางขวาง ตองไดรับความ
เห็นชอบจากรัฐสภากอ น
(5) เสนอใหพระมหากษตั รยิ ป ระกาศใชห รือยกเลิกกฎอัยการศึก
(6) เสนอใหพระมหากษตั ริยต ราพระราชกฤษฎี

7.3 พระราชกำหนด
(1) การตราพระราชกำหนด คณะรฐั มนตรที ำได กรณีฉุกเฉนิ ทีม่ ีความจำเปน รีบดวนอนั มอิ าจจะ
หลีกเล่ียงได และเปนไปเพื่อประโยชนในอันที่จะรักษาความปลอดภัยของประเทศ ความปลอดภัย
สาธารณะ ความมัน่ คงในทางเศรษฐกจิ ของประเทศ หรือปอ งปดภยั พบิ ัตสิ าธารณะ
(2) ใหรัฐสภาตรวจพจิ ารณาพระราชกำหนด

1. อนมุ ตั ิ มผี ลใชบงั คับตอ ไป เชน พระราชบัญญัติ แตใชชือ่ วา พระราชกำหนดเชน เดิม
2. ไมอนุมัติ พระราชกำหนดตกไป แตไมกระทบกิจการใดท่ีกระทำไปแลว (ไมมีผล
ยอนหลัง)
(3) กอนรัฐสภาจะอนุมัติ ให ส.ส. หรือ ส.ว. 1 ใน 5 มีสิทธิเขาช่ือเสนอความเห็นตอประธาน
แหง สภาทีต่ นเปน สมาชกิ วาพระราชกำหนดนัน้ ไมเปน ไปตามเงอ่ื นไข
1. เปน ไปตามเง่ือนไข ใหรฐั สภาพิจารณาอนมุ ตั ิตอไป

เตรยี มสอบ กกต. 2564

เตรยี มสอบพนกั งาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลือกตง้ั ชุดที่ 2 17

2. ไมเปนไปตามเง่ือนไข ไมมีผลใชบังคับมาแตตน กระทบถึงกิจการใดท่ีกระทำไปแลว
(มีผลยอ นหลัง)

(4) กระบวนการตราและตรวจสอบพระราชกำหนด

ผูเสนอ
คณะรฐั มนตรี

เง่อื นไข

รักษาความปลอดภยั ของประเทศ ความปลอดภัยสาธารณะ ความม่นั คงในทางเศรษฐกจิ ปอ งปดภัยพบิ ัตสิ าธารณะ

ฉุกเฉนิ ที่มีความ
จำเปนรบี ดว นอัน
มิอาจจะหลีกเลย่ี ง

รฐั สภา กอนรัฐสภาอนมุ ติ

อนุมตั ิ ไมอนมุ ัติ ส.ส. หรอื ส.ว. 1 ใน 5

ศาลรฐั ธรรมนูญ

มีผลใชบังคับตอไปอยาง พระราชกำหนดตกไป แต เปน ไปตามเงอ่ื นไข ไมเ ปนไปตามเงือ่ นไข
พระราชบัญญัติ แตเรียกชื่อ ไม ก ระ ท บ กิ จ ก ารใด ที่
พระราชกำหนดตอ ไป กระทำไปแลว ไมมีผลใชบังคบั มาตง้ั แตต น
(ไมม ผี ลยอ นหลัง) ก ระท บ ถึ งกิ จ ก ารใด ที่
กระทำไปแลว
(มีผลยอนหลงั )

เตรียมสอบ กกต. 2564

เตรยี มสอบพนกั งาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง ชดุ ท่ี 2 18

8. การขัดกนั แหงผลประโยชน
เปนหมวดท่ีบัญญัติขึ้นมาเพื่อใหสมาชิกสภาผูแทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา และรัฐมนตรี

ปฏิบัติงานไดอยางอิสระและเปนกลาง ไมมีผลประโยชน (การมีสวนไดเสีย) เขาไปเก่ียวของ ทั้งนี้เพื่อ
ความโปรง ใส ปองกันและปราบปรามการทจุ ริต และมิใหแทรกแซงการปฏบิ ัตงิ านของหนวยงานรฐั

เพ่ือประโยชนสวนตน เชน การหามดำรงตำแหนงในหนวยงานราชการหรือหนวยงานของรัฐ
การหามมิใหแทรกแซงสิทธิและเสรีภาพของสื่อมวลชน หรือการใชอำนาจหนาที่ของตนแทรกแซงหรือ
กาวกายหนวยงานของรัฐหรือพรรคการเมืองเพื่อประโยชนของตน เปนตน โดยในบางกรณีนอกจากจะ
บัญญัติหามตัวสมาชิกสภาผูแทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา และรัฐมนตรีแลว ยังบัญญัติถึงคูสมรส บุตรท่ี
ยงั ไมบ รรลุนติ ิภาวะ และผคู รอบครองแทนอกี ดว ย เชน การเปนหนุ สวนหรอื ผถู ือหุนในบรษิ ัท เปน ตน

9. ศาล
เปนผูใชอำนาจตุลาการซ่ึงมีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีทั้งปวงซ่ึงจะตองดำเนินการใหเปนไป

ตามกฎหมาย ภายใตพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย กลาวคือ เปนผูบังคับใชกฎหมายท่ีฝายนิติบัญญัติ
เปนผูรางใหเกิดความเปนธรรมและเทาเทียมแกประชาชนสูงสุด โดยรัฐธรรมนูญกำหนดใหแบงศาล
ออกเปน 4 ประเภท ดงั น้ี

9.1 ศาลยุติธรรม มีอำนาจพิจารณาพิพากษาดีท้ังปวง เวนแตเปนคดีที่รัฐธรรมนูญหรือ
กฎหมายบญั ญตั ิใหอยูในอำนาจของศาลอนื่

9.2 ศาลปกครอง มีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีปกครองอันเน่ืองมาจากการใชอำนาจทาง
ปกครองตามกฎหมายหรอื เนื่องมาจากการดำเนินกจิ การทางปกครอง ทั้งนี้ ตามท่กี ฎหมายบัญญตั ิ

9.3 ศาลทหาร มีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีอาญาที่ผูกระทำความผิดเปนบุคคลซึ่งอยูใน
อำนาจศาลทหารและคดอี น่ื ๆ ตามกฎหมายบัญญตั ิ

9.4 ศาลรัฐธรรมนญู มีอำนาจและหนาทีใ่ นการพิจารณาวินจิ ฉัยความชอบดวยรฐั ธรรมนูญหรือ
รางกฎหมาย พิจารณาวินิจฉัยปญหาเก่ียวกับหนาท่ีและอำนาจของสภาผูแทนราษฎร วุฒิสภา รัฐสภา
คณะรัฐมนตรี และองคก รอิสระ และหนาท่ีและอำนาจอน่ื ตามท่ีกฎหมายกำหนด

10. คณะกรรมการการเลือกต้ัง
คณะกรรมการการเลือกต้ัง มีท้ังหมด 7 คน ซ่ึงพระมหากษัตริยแตงตั้งตามคำแนะนำของ

วุฒิสภา
(1) จำนวน 5 คน ซ่งึ ไดร บั การสรรหาจากคณะกรรมการสรรหา จากผทู รงคณุ วุฒดิ า นตางๆ

เตรียมสอบ กกต. 2564

เตรียมสอบพนกั งาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง ชดุ ที่ 2 19

(2) จำนวน 2 คน ซ่ึงไดรับการคัดเลือกจากท่ีประชุมใหญศาลฎีกา จากผูมีความรู ความ
เชี่ยวชาญและประสบการณดานกฎหมาย และดำรงตำแหนงไมต่ำกวาอธิบดีผูพิพากษา หรือเปนอัยการ
มาแลว ไมนอยกวา 5 ป

10.1 คณะกรรมการสรรหา จำนวน 9 คน นำไปใชกับการสรรหากรรมการในองคกรอิสระอ่ืน
ดว ย ยกเวนคณะกรรมการสิทธมิ นุษยชนแหงชาติ

(1) ประธานศาลฎีกา
(2) ประธานสภาผแู ทนราษฎร
(3) ผูนำฝา ยคา น
(4) ประธานศาลปกครองสูงสดุ
(5) ผูแทนจากศาลรัฐธรรมนญู
(6) ผแู ทนจากคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจรติ แหง ชาติ
(7) ผแู ทนจากคณะกรรมการตรวจเงินแผน ดนิ
(8) ผแู ทนจากผูต รวจการแผน ดนิ
(9) ผแู ทนจากคณะกรรมการสทิ ธมิ นษุ ยชนแหงชาติ
เลขาธกิ ารวุฒสิ ภาเปนเลขานกุ ารของคณะกรรมการสรรหา

10.2 วาระการดำรงตำแหนง
มวี าระการดำรงตำแหนง 7 ป นบั แตวันทพี่ ระมหากษัตรยิ ทรงแตงตัง้ วาระเดียว (มาตรา 15)

คณะกรรมการสรรหา ท่ปี ระชุมใหญศ าลฎกี า

5 คน 2 คน
7 คน/ 1วาระ/ 7 ป

เตรยี มสอบ กกต. 2564

เตรยี มสอบพนกั งาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลือกตง้ั ชดุ ที่ 2 20

10.3 หนา ทอี่ ำนาจของคณะกรรมการการเลอื กตัง้
(1) จัดหรือดำเนินการใหมีการจัดเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎร การเลือกสมาชิกวุฒิสภา
การเลอื กต้ังสมาชิกสภาทองถ่นิ และผูบริหารทอ งถนิ่ และการออกเสยี งประชามติ
(2) ควบคุมดูแลการเลือกตั้งตาม (2) ใหเปนไปโดยสุจริตและเที่ยงธรรม และควบคุมการออก
เสยี งประชามติใหเปน ไปโดยชอบดวยกฎหมาย
(3) ถามีเหตุอันควรสงสัยวาการเลือกตั้งหรือการเลือกมีการทุจริต หรือการออกเสียงประชามติ
ไมเปนไปตามกฎหมาย คณะกรรมการการเลือกต้ังมีอำนาจในการส่ังระงบั ยบั ยงั้ แกไขเปลี่ยนแปลงหรือ
ยกเลิกการเลือกตั้ง การเลือก หรือการออกเสียงประชามติ และสั่งใหดำเนินการเลือกตั้ง การเลือกหรือ
ออกเสียงประชามตใิ หมใ นหนวยเลือกต้งั บางหนวยหรือทุกหนวย
(4) ส่ังระงับการใชสิทธิสมัครรับเลือกตั้งของผูสมัครรับเลือกตั้ง หรือผูสมัครตาม (1) ไวเปนการ
ชั่วคราวไมเกิน 1 ป เม่ือมีหลักฐานอันควรเชื่อไดวาผูสมัครรับเลือกตั้งหรือผูสมัครรับเลือกต้ังกระทำการ
ทุจริตในการเลือกต้ัง หรือรูเห็นกับการกระทำทุจริตของบุคคลอื่นในการเลือกต้ัง หรือทำใหการเลือกต้ัง
หรือการเลือกมิไดเปนไปโดยสุจริตและเท่ียงธรรม ท้ังน้ี คำสั่งของคณะกรรมการการเลือกต้ังนี้ใหถือเปน
ท่ีสุด
(5) ดูแลการดำเนินงานของพรรคการเมอื งใหเปนไปตามกฎหมาย
(6) ถามีหลักฐานอันควรเช่ือไดวาผูสมัครรับเลือกต้ัง หรือผูสมัครรับเลือก กระทำการทุจริตใน
การเลือกต้ัง หรือการเลือก หรือรูเห็นกับการกระทำทุจริตของบุคคลอ่ืนในการเลือกตั้ง หรือการเลือก
ใหคณะกรรมการการเลือกตั้งย่ืนคำรองตอศาลฎีกาเพื่อส่ังเพิกถอนสิทธิสมัครรับเลือกต้ัง หรือสิทธิ
เลือกตั้งของผูน้ัน และหากศาลฎีกาพิพากษาวามีการกระทำความผิดตามท่ีถูกรอง ใหศาลฎีกาส่ังเพิก
ถอนสิทธิสมัครรับเลือกตัง้ หรือสทิ ธิเลอื กต้งั ของผูน ้ันเปน เวลา 10 ป

10.4 การดำเนินคดีเลอื กตง้ั (ส.ส. หรือ ส.ว.)
(1) ใหยื่นฟอ งตอศาลฎีกา
(2) เมอ่ื สั่งระงับการใชสทิ ธสิ มัครรับเลือกตั้งไวชัว่ คราวไมเกิน 1 ป แลว หรือภายหลังประกาศผล
(3) มาตรการลงโทษ

1. ส่งั เพกิ ถอนสิทธิสมคั รรับเลอื กตั้ง ตลอดชวี ติ ไมส ามารถสมคั รเลอื กตงั้ ส.ส.และ ส.ว.
ไดอ ีก

2. สง่ั เพกิ ถอนสทิ ธเิ ลือกตง้ั 10 ป

เตรยี มสอบ กกต. 2564

เตรยี มสอบพนกั งาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลือกตงั้ ชุดท่ี 2 21

(4) ผลของการถูกดำเนนิ คดีเลือกต้ัง
1. ระงบั การใชสทิ ธิสมัครรบั เลือกตัง้ ไวช ว่ั คราว ไมเกนิ 1 ป (ใบสม : 1 ป)
ผล เปน ลกั ษณะตองหา มตามมาตรา 98 (5) และ 108 (ข) (1)
2. เพกิ ถอนสทิ ธสิ มคั รรับเลอื กตั้ง (ใบดำ : ตลอดชีวติ )
ผล เปนลกั ษณะตองหามตามมาตรา 98 (5) และ 108 (ข) (1)
3. เพิกถอนสทิ ธิเลอื กตั้ง 10 ป
ผล เปนลักษณะตอ งหา มตามมาตรา 98 (4) ประกอบ 96 (2) และมาตรา 108 (ข) (1)

กอ นประกาศผลการเลอื กตัง้ หลังประกาศผลการเลอื กตง้ั

ถา กกต. มีหลักฐานอันควรเชื่อไดวาการเลือกตั้ง ถา กกต. มีหลักฐานอนั ควรเชอ่ื ไดวาการเลือกต้ัง
หรือการเลอื กมไิ ดเปน ไปโดยสุจรติ หรือเท่ยี งธรรม หรือการเลือกมิไดเปน ไปโดยสุจรติ หรือเที่ยงธรรม

ส่งั ใหมกี ารเลือกต้งั ใหม ศาลฎีกา

ส่งั ระงับสิทธสิ มัครรับเลอื กตั้งไวเปนการ เพกิ ถอนสทิ ธิเลือกตัง้ 10 ป
ชั่วคราว เพกิ ถอนสทิ ธสิ มัครเลือกตัง้
อาจตลอดชวี ติ

ไมเ กนิ 1 ป

10.5 ความคมุ กนั ของคณะกรรมการการเลือกตัง้ (เฉพาะในระหวางมี พ.ร.ฎ. ใหมีการเลอื กต้ัง)
(1) หา มมใิ หจบั คมุ ขงั หรอื หมายเรียกตวั กรรมการการเลอื กตงั้ ไปสอบสวนในระหวา งท่พี รราช
กฤษฎกี าใหม กี ารเลอื กตัง้ สมาชิกสภาผแู ทนราษฎร หรือการเลอื กสมาชกิ วุฒสิ ภาหรอื เมอื่ ประกาศใหมี
การออกเสียงประชามติ มผี ลใชบ งั คบั เวนแตไดรบั อนญุ าตจากคณะกรรมการการเลอื กตั้งหรือในกรณที ี่
จบั ในขณะกระทำความผดิ
(2) กรณจี ับกรรมการการเลอื กตัง้ ขณะกระทำความผิด หรอื จับ หรือคุมขงั กรรมการการเลอื กใน
กรณอี ื่น ใหร ายงานตอ ประธานกรรมการการเลือกตง้ั โดยดว นและใหประธานมอี ำนาจสั่งปลอยผูถ ูกจบั ได

เตรียมสอบ กกต. 2564

เตรยี มสอบพนกั งาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง ชุดท่ี 2 22

11. องคก รอสิ ระอื่น
การดำเนินการสรรหาผูดำรงตำแหนงในองคกรอิสระ ยกเวนคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน

แหงชาติ ตองดำเนินการสรรหาโดยคณะกรรมการสรรหา มี 9 คน ซ่ึงประกอบดวย (1) ประธานศาล
ฎีกา (2) ประธานสภาผูแทนราษฎร (3) ผูนำฝายคาน (4) ประธานศาลปกครองสูงสุด (5) ผูแทนจากศาล
รัฐธรรมนูญ (6) ผูแทนจากองคกรอิสระท่ีมิใชองคกรอิสระที่ตองมีการสรรหา และเลขาธิการวุฒิสภาเปน
เลขานกุ ารของคณะกรรมการสรรหา

11.1 ผตู รวจการแผน ดิน
มีจำนวน 3 คน ซ่ึงพระมหากษัตริยทรงแตงตั้งตามคำแนะนำของวุฒิสภา วาระ 7 ป ดำรง
ตำแหนง ไดเ พียงวาระเดยี ว โดยมีอำนาจหนา ทที่ สี่ ำคัญ ดงั น้ี
(1) เสนอแนะหนวยงานของรัฐท่เี กี่ยวขอ งเพ่ือใหมีการปรับปรุงกฎหมาย กฎ ขอบังคับ ระเบียบ
หรอื คำสั่ง หรอื ขั้นตอนการปฏบิ ัตทิ ี่กอ ใหเกดิ ความเดอื ดรอ น หรือความไมเปน ธรรมแกประชาชน
(2) เสนอคณะรัฐมนตรีใหทราบถึงหนวยงานของรัฐที่ไมปฏิบัติใหถูกตองครบถวนตามหมวด 5
หนาที่ของรัฐ ในกรณีท่ีหนวยงานไมดำเนินการตามขอเสนอของผูตรวจการแผนดิน โดยไมมีเหตุผลอัน
สมควร ผตู รวจการแผน ดนิ สามารถแจง ใหคณะรฐั มนตรีทราบเพอื่ พิจารณาสั่งการได
(3) ผูตรวจการแผนดินอาจเสนอเร่ืองตอศาลรัฐธรรมนูญได ในกรณที ่ีบทบัญญัติของกฎหมายใด
มีปญหาเก่ยี วกบั ความชอบดว ยรฐั ธรรมนูญ
(4) ผูตรวจการแผนดินเสนอเร่ืองตอศาลปกครองได ในกรณีที่กฎ คำส่ัง หรือการกระทำของ
หนว ยงานของรฐั หรือเจา หนา ที่ของรฐั มีปญหาเกีย่ วกบั ความชอบดว ยรฐั ธรรมนูญหรอื กฎหมาย

11.2 คณะกรรมการปอ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ แหงชาติ
มีจำนวน 9 คน ซ่ึงพระมหากษตั ริยท รงแตงตั้งตามคำแนะนำของวฒุ ิสภาจากผซู ง่ึ ไดร ับการสรร
หาโดยคณะกรรมการสรรหา วาระ 7 ป ดำรงตำแหนงไดเ พียงวาระเดยี ว มอี ำนาจหนา ที่ที่สำคญั ดงั นี้
(1) ไตสวนและมีความเห็นกรณีมีการกลาวหาวาผูดำรงตำแหนงทางการเมือง ตุลาการศาล
รัฐธรรมนูญ ผูดำรงตำแหนงในองคกรอิสระ หรือผูวาการตรวจเงินแผนดิน มีพฤติการณร่ำรวยผิดปกติ
ทุจริตตอ หนา ท่ี จงใจปฏิบัตหิ นาที่หรือใชอำนาจขดั ตอรัฐธรรมนญู หรอื กฎหมาย หรอื ฝาฝนหรือไมป ฏบิ ัติ
ตามมาตรฐานทางจริยธรรมอยางรายแรง กอนดำเนินการฟอ งคดีหรอื สงใหอัยการสูงสุดเปน ผูดำเนินการ
ฟองรอ งคดี

เตรยี มสอบ กกต. 2564

เตรยี มสอบพนักงาน สำนักงานคณะกรรมการการเลอื กต้งั ชุดที่ 2 23

(2) ไตสวนและวินิจฉัยวาเจาหนาที่ของรัฐร่ำรวยผิดปกติ กระทำความผิดฐานทุจริตตอหนาที่
หรือกระทำความผิดตอตำแหนงหนา ทีร่ าชการ หรอื ความผิดตอตำแหนง หนาทใี่ นการยตุ ิธรรม

(3) กำหนดใหผูดำรงตำแหนงทางการเมือง ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ผูดำรงตำแหนงในองคกร
อิสระ ผูวาการตรวจเงินแผนดิน และเจาหนาท่ีของรัฐยื่นบัญชีทรัพยสินและหน้ีสินของตน คูสมรส
และบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ รวมท้ังตรวจสอบและเปดเผยผลการตรวจสอบทรัพยสินและหน้ีสินของ
บคุ คลดังกลา ว

11.3 คณะกรรมการตรวจเงินแผน ดิน
มีจำนวน 7 คน ซึ่งพระมหากษัตริยทรงแตงต้ังตามคำแนะนำของวุฒิสภาจากผูซ่ึงไดรับการสรร
หาโดยคณะกรรมการสรรหา วาระ 7 ป ป ดำรงตำแหนงไดเ พยี งวาระเดียว มีอำนาจหนาทที่ ่สี ำคัญ ดงั น้ี
(1) วางนโยบายการตรวจเงนิ แผนดนิ กำหนดหลักเกณฑมาตรฐานเก่ยี วกบั การตรวจเงินแผน ดิน
และกำกับการตรวจเงินแผนดินใหเปนไปตามนโยบาย หลักเกณฑ และกฎหมายวาดวยวินัยการเงินการ
คลงั ของรัฐ
(2) ส่ังลงโทษทางปกครองกรณีมีการกระทำผิดกฎหมายวาดวยวินัยการเงินการคลังของรัฐ
ทั้งนี้ ผูถกู สัง่ ลงโทษอาจอุทธรณต อศาลปกครองสงู สุดไดภายใน 90 วนั

11.4 คณะกรรมการสทิ ธิมนุษยชนแหง ชาติ
มีจำนวน 7 คน ซ่ึงพระมหากษัตริยทรงแตงตั้งตามคำแนะนำของวุฒิสภาจากผูซึ่งไดรับการสรร
หาโดยคณะกรรมการสรรหา วาระ 7 ป ป ดำรงตำแหนง ไดเพยี งวาระเดียว มอี ำนาจหนา ทที่ ส่ี ำคญั ดงั น้ี
(1) ตรวจสอบและรายงานขอเท็จจริงท่ีถูกตองเก่ียวกับการละเมิดสิทธิมนุษยชนทุกกรณีโดยไม
ลาชา และเสนอแนะมาตรการหรือแนวทางที่เหมาะสมในการปองกนั หรอื แกไ ขการละเมิดสิทธิมนษุ ยชน
รวมทง้ั การเยียวยาผูไดร บั ความเสียหายตอหนวยงานของรฐั หรือเอกชนที่เก่ยี วขอ ง
(2) จัดทำรายงานผลการประเมินสถานการณดานสิทธิมนุษยชนของประเทศเสนอตอรัฐสภา
และคณะรฐั มนตรี และเผยแพรตอ ประชาชน
(3) เสนอแนะมาตรการหรือแนวทางในการสงเสริมและคุมครองสิทธิมนุษยชนตอรัฐสภา
คณะรัฐมนตรี และหนวยงานที่เก่ียวของ รวมตลอดทั้งการแกไขปรับปรุงกฎหมาย กฎ ระเบียบ หรือ
คำส่งั ใดๆ เพื่อใหส อดคลองกบั หลกั สิทธิมนุษยชน
(4) ช้ีแจงและรายงานขอเท็จจริงท่ีถูกตองโดยไมชักชาในกรณีที่มีการรายงานสถานการณ
เก่ยี วกบั สทิ ธิมนุษยชนในประเทศไทยโดยไมถ กู ตองหรอื ไมเปนธรรม

เตรยี มสอบ กกต. 2564

เตรยี มสอบพนักงาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลอื กตั้ง ชดุ ที่ 2 24

12. องคกรอัยการ
มีอำนาจหนาท่ีตามที่รัฐธรรมนูญและกฎหมายกำหนด โดยพนักงานอัยการมีอิสระในการ

พิจารณาสั่งคดีและปฏิบัติหนาท่ีใหเปนไปโดยรวดเร็ว เที่ยงธรรม และปราศจากอคติทั้งปวง ทั้งน้ีการ
ดำเนนิ ใดๆ ขององคก รอยั การใหม ีความเปน อสิ ระ

13. การปกครองสวนทองถ่นิ
การจัดรูปแบบการปกครองสวนทองถ่ินใหเปนไปตามเจตนารมณของประชาชนในทองถ่ิน

ความสามารถในการปกครองตนเองดานรายได จำนวน ความหนาแนนของประชากร และพื้นท่ี
รับผิดชอบประกอบกัน โดยมีหนาท่ีและอำนาจดูแลและจัดทำบริการสาธารณะและกิจกรรมสาธารณะ
เพื่อประโยชนของประชาชนในทองถ่ิน รวมท้ังสงเสริมและสนับสนุนการจัดการการศึกษาใหแก
ประชาชนในทองถิน่ ท้งั นีต้ ามทีก่ ฎหมายบญั ญัติ

14. การแกไขเพ่ิมเติมรฐั ธรรมนูญ
การแกไ ขเพ่ิมเติมรัฐธรรมนญู มขี ้นั ตอนทสี่ ำคัญ ดังน้ี
(1) การแกไขเพ่ิมเติมรัฐธรรมนญู ท่ีเปนการเปลี่ยนแปลงการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี

พระมหากษตั รยิ ทรงเปนประมุขหรือเปล่ยี นแปลงรปู แบบของรัฐจะกระทำไมไ ด
(2) การแกไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญตองมาจากคณะรัฐมนตรี หรือ ส.ส. ไมนอยกวา 1 ใน 5 หรือ

ส.ส. และ ส.ว 1 ใน 5 หรือประชาชนผูมสี ิทธิเลอื กต้งั ไมนอยกวา 50,000 คน
(3) ญตั ติการแกไขรัฐธรรมนญู ใหเ สนอตอ รฐั สภา และใหพ ิจารณา 3 วาระ
การลงมติเห็นชอบตอ งอยภู ายใต เงอื่ นไข
1. คะแนนเสยี งมากกวาก่ึงหน่ึงของรัฐสภา
2. ตองมคี ะแนนเสียงของ ส.ว. มากกวา 1 ใน 3
3. ตองมีคะแนนเสียงของ ส.ส. จากพรรคการเมืองที่สมาชิกไมไดดำรงตำแหนง

รัฐมนตรี ประธานและรองสภาผูแทนราษฎรไมนอยกวา รอ ยละ 20 ของทกุ พรรคการเมอื งรวมกัน
4. เม่ือสภาเห็นชอบแลว ใหรอไว 15 วัน เมื่อพนกำหนดใหนายกรัฐมนตรีนำรางข้ึน

ทูลเกลา เพ่ือลงปรมาภิไธย
5. ถาเปนการแกไขเพิ่มเติมหมวด 1 หมวด 2 หมวด 15 หรือเรื่องเกี่ยวกับลักษณะ

ตองหามของผูดำรงตำแหนงตางๆ หรือการปฏิบัติหนาท่ีของศาลหรือองคกรอิสระใหมีการจัดใหมีการ
ออกเสยี งประชามติ

เตรียมสอบ กกต. 2564

เตรียมสอบพนกั งาน สำนักงานคณะกรรมการการเลอื กตงั้ ชุดที่ 2 25

6. กอ นดำเนนิ การตามขอ 4 ส.ส. ส.ว. หรอื ส.ส.และ ส.ว. จำนวนไมน อยกวา 1 ใน 10
มีสิทธิเสนอความเห็นผานประธานสภาของตนหรือประธานรัฐสภาขัดรัฐธรรมนูญ สงไปใหศาล
รัฐธรรมนญู วินิจฉยั ได

15. การปฏริ ูปประเทศ
กำหนดแผนการ ข้ันตอนและรูปแบบการปฏิรูปประเทศในดานตางๆ เชน ดานการเมือง ดาน

การบริหารราชการแผนดิน ดานกฎหมาย ดานกระบวนการยุติธรรม ดานการศึกษา ดานเศรษฐกิจ เปน
ตน เพ่ือใหประเทศ มีความสงบเรียบรอย สามัคคีปรองดอง สังคมสงบสุข เปนธรรม และทัดเทียมเพ่ือ
ขจัดความเหลือมล้ำ รวมถึงเพื่อใหประชาชนมีความสุข มีคุณภาพชีวิตที่ดี และมีสวนรวมในการพัฒนา
และปกครองประเทศตามระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตริยทรงเปน ประมขุ

16. บทเฉพาะกาล
(1) ในระหวางท่ีไมมีสภาผูแทนราษฎรและวุฒิสภาตามรัฐธรรมนูญน้ีใหสภานิติบัญญัติแหงชาติ

ยังคงทำหนาท่ีรัฐสภา สภาผูแทนราษฎร และวุฒิสภาตอไป จนกวาจะถึงวันกอนวันเรียกประชุมรัฐสภา
ครั้งแรกภายหลังการเลอื กตัง้ ทั่วไปที่จดั ขน้ึ ตามรัฐธรรมนูญน้ี

(2) ใหคณะรัฐมนตรีท่ีบริหารราชการแผนดินซ่ึงอยูในวันกอนวันประกาศใชรัฐธรรมนูญนี้เปน
คณะรัฐมนตรีตอไปจนกวา จะมีการจดั ต้งั คณะรฐั มนตรขี น้ึ ใหมภ ายหลังเลอื กตง้ั ท่ัวไป

(3) ใหคณะรักษาความสงบแหงชาติซ่ึงอยูในวันกอนวันประกาศใชรัฐธรรมนูญนี้ ยังคงอยูตอไป
จนกวา จะมกี ารจัดตั้งคณะรัฐมนตรีข้นึ ใหมภ ายหลงั เลอื กตั้งทั่วไป

(5) ใหดำเนินการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรตามรัฐธรรมนูญฉบับนี้ใหแลวเสร็จภายใน
150 วัน นับแตว ันที่ พรบ.ประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎร การไดมาซึ่ง
สมาชกิ วฒุ สิ ภา คณะกรรมการการเลือกตง้ั และพรรคการเมอื ง มผี ลใชบังคบั แลว

(6) หัวหนาคณะรักษาความสงบแหงชาติคงไวซ่ึงอำนาจตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย
(ฉบบั ชั่วคราว) พทุ ธศกั ราช 2557

เตรยี มสอบ กกต. 2564

เตรียมสอบพนกั งาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลือกตง้ั ชดุ ท่ี 2 26

รัฐธรรมนญู แหงราชอาณาจักรไทย

สมเดจ็ พระเจา อยูหัวมหาวชริ าลงกรณบดินทรเทพยวรางกูร

ตราไว ณ วนั ท่ี 6 เมษายน พุทธศกั ราช 2560
เปนปที่ 2 ในรชั กาลปจจบุ นั

หมวด 1
บทท่วั ไป
มาตรา 1 ประเทศไทยเปน ราชอาณาจักรอันหนึ่งอันเดยี ว จะแบง แยกมิได
มาตรา 2 ประเทศไทยมีการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรง

เปนประมุข

มาตรา 3 อำนาจอธปิ ไตยเปนของปวงชนชาวไทย พระมหากษัตริยผูทรงเปนประมุข
ทรงใชอำนาจนัน้ ทางรฐั สภาคณะรัฐมนตรี และศาล ตามบทบัญญตั ิแหง รัฐธรรมนญู

รัฐสภา คณะรัฐมนตรี ศาล องคกรอิสระ และหนวยงานของรัฐ ตองปฏิบัติหนาท่ีให
เปนไปตามรัฐธรรมนูญกฎหมายและหลักนิติธรรม เพื่อประโยชนสวนรวมของประเทศชาติและความ
ผาสกุ ของประชาชนโดยรวม

มาตรา 4 ศักด์ิศรีความเปนมนุษย สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของบุคคลยอม

ไดร บั ความคุม ครอง

ปวงชนชาวไทยยอ มไดร ับความคุมครองตามรัฐธรรมนญู เสมอกนั

มาตรา 5 รัฐธรรมนญู เปน กฎหมายสูงสดุ ของประเทศ บทบญั ญัตใิ ดของกฎหมาย กฎ
หรือขอบังคับหรือการกระทำใดขัดหรือแยงตอรัฐธรรมนูญ บทบัญญัติหรือการกระทำน้ันเปนอันใช
บังคบั มไิ ด

เม่ือไมมีบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญนี้บังคับแกกรณีใด ใหกระทำการน้ันหรือวินิจฉัย

กรณีนั้นไปตามประเพณีการปกครองประเทศไทยในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปน

ประมุข

ละเมิดมิได หมวด 2
พระมหากษตั รยิ 
มาตรา 6 องคพระมหากษัตริยทรงดำรงอยูในฐานะอันเปนที่เคารพสักการะ ผูใดจะ

ผูใ ดจะกลา วหาหรอื ฟองรองพระมหากษตั ริยในทางใด ๆ มิได
มาตรา 7 พระมหากษตั ริยทรงเปนพทุ ธมามกะ และทรงเปนอคั รศาสนูปถมั ภก
มาตรา 8 พระมหากษัตริยทรงดำรงตำแหนง จอมทัพไทย

เตรยี มสอบ กกต. 2564

เตรยี มสอบพนักงาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลอื กตัง้ ชดุ ที่ 2 27

มาตรา 9 พระมหากษตั รยิ ท รงไวซ่ึงพระราชอำนาจท่ีจะสถาปนาและถอดถอนฐานันดร
ศักดแ์ิ ละพระราชทานและเรียกคืนเครือ่ งราชอิสรยิ าภรณ

มาตรา 10 พระมหากษัตริยทรงเลือกและทรงแตงต้ังผูทรงคุณวุฒิเปนประธาน
องคมนตรีคนหน่ึงและองคมนตรีอ่นื อกี ไมเ กนิ สิบแปดคนประกอบเปนคณะองคมนตร(ี รวม 19 คน)...

มาตรา 11 การเลือกและแตงต้ังองคมนตรีหรือการใหองคมนตรีพนจากตำแหนง ให
เปน ไปตามพระราชอัธยาศยั

ใหประธานรัฐสภาเปนผูลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแตงต้ังประธาน
องคมนตรีหรอื ใหประธานองคมนตรีพน จากตำแหนง

ใหประธานองคมนตรีเปนผูลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแตงต้ังองคมนตรีอ่ืน
หรอื ใหอ งคมนตรอี ื่นพนจากตำแหนง

มาตรา 20 ภายใตบังคับมาตรา 21 การสืบราชสมบัติใหเปนไปโดยนัยแหงกฎมณเฑียร
บาลวา ดว ยการสบื ราชสันตติวงศ พระพุทธศกั ราช 2467

หมวด 3
สทิ ธิและเสรีภาพของปวงชนชาวไทย
มาตรา 25 สิทธิและเสรีภาพของปวงชนชาวไทย นอกจากท่ีบัญญัติคุมครองไวเปน
การเฉพาะในรัฐธรรมนูญแลวการใดท่ีมิไดหามหรือจำกัดไวในรัฐธรรมนูญหรือในกฎหมายอ่ืน บุคคล
ยอมมสี ิทธแิ ละเสรภี าพที่จะทำการนั้นไดและไดร ับความคุมครองตามรัฐธรรมนูญ ตราบเทาทก่ี ารใชส ิทธิ
หรือเสรีภาพเชนวาน้ันไมกระทบกระเทือนหรือเปนอันตรายตอความม่ันคงของรัฐ ความสงบเรียบรอย
หรอื ศีลธรรมอนั ดขี องประชาชน และไมล ะเมดิ สทิ ธิหรือเสรภี าพของบุคคลอื่น
สิทธิหรือเสรีภาพใดท่ีรัฐธรรมนูญใหเปนไปตามท่ีกฎหมายบัญญัติ หรือใหเปนไปตาม
หลักเกณฑและวิธีการที่กฎหมายบัญญัติ แมยังไมมีการตรากฎหมายน้ันขึ้นใชบังคับ บุคคลหรือชุมชน
ยอมสามารถใชส ิทธหิ รอื เสรีภาพนน้ั ไดต ามเจตนารมณของรฐั ธรรมนูญ
บุคคลซึ่งถูกละเมิดสิทธิหรือเสรีภาพท่ีไดรับความคุมครองตามรัฐธรรมนูญ สามารถ
ยกบทบญั ญตั แิ หงรฐั ธรรมนญู เพื่อใชส ทิ ธิทางศาลหรอื ยกขน้ึ เปนขอ ตอสูค ดใี นศาลได
บุคคลซึ่งไดรบั ความเสียหายจากการถูกละเมดิ สิทธิหรือเสรภี าพหรือจากการกระทำ
ความผิดอาญาของบุคคลอ่ืน ยอมมีสิทธิที่จะไดรับการเยียวยาหรือชวยเหลือจากรัฐตามที่กฎหมาย
บัญญัติ
มาตรา 26 การตรากฎหมายที่มีผลเปนการจำกัดสิทธิหรือเสรีภาพของบุคคลตอง
เปนไปตามเงื่อนไขท่ีบัญญัติไวในรัฐธรรมนูญ ในกรณีที่รัฐธรรมนูญมิไดบัญญัติเงื่อนไขไว กฎหมาย
ดังกลาวตองไมขัดตอหลักนิติธรรม ไมเพ่ิมภาระหรือจำกัดสิทธิหรือเสรีภาพของบุคคลเกินสมควรแก
เหตุ และจะกระทบตอศกั ดิศ์ รีความเปน มนษุ ยข องบคุ คลมไิ ดร วมท้งั ตองระบเุ หตุผลความจำเปน ในการ
จำกัดสิทธิและเสรภี าพไวด ว ย

เตรยี มสอบ กกต. 2564

เตรียมสอบพนกั งาน สำนักงานคณะกรรมการการเลอื กต้ัง ชุดท่ี 2 28

กฎหมายตามวรรคหนึ่งตองมีผลใชบังคับเปนการท่ัวไปไมมุงหมายใหใชบังคับแกกรณี
ใดกรณหี น่ึงหรอื แกบุคคลใดบคุ คลหน่งึ เปน การเจาะจง

มาตรา 27 บุคคลยอมเสมอกันในกฎหมาย มีสิทธิและเสรีภาพและไดรับความ
คุม ครองตามกฎหมายเทาเทยี มกนั

ชายและหญงิ มสี ทิ ธิเทาเทยี มกนั
การเลือกปฏิบัติโดยไมเปนธรรมตอบุคคล ไมวาดวยเหตุความแตกตางในเรื่องถ่ิน
กำเนิด เชื้อชาติ ภาษา เพศ อายุ ความพิการ สภาพทางกายหรือสุขภาพ สถานะของบุคคล ฐานะทาง
เศรษฐกิจหรือสังคม ความเช่ือทางศาสนา การศึกษาอบรม หรือความคิดเห็นทางการเมืองอันไมขัดตอ
บทบัญญัติแหงรฐั ธรรมนญู หรือเหตอุ น่ื ใด จะกระทำมิได
มาตรการท่ีรัฐกำหนดข้ึนเพ่ือขจัดอุปสรรคหรือสงเสริมใหบุคคลสามารถใชสิทธิหรือ
เสรีภาพไดเชนเดียวกับบุคคลอ่ืน หรือเพื่อคุมครองหรืออำนวยความสะดวกใหแกเด็กสตรีผูสูงอายุคน
พกิ ารหรือผูดอ ยโอกาสยอ มไมถือวาเปน การเลือกปฏบิ ัตโิ ดยไมเ ปน ธรรมตามวรรคสาม
บุคคลผูเปนทหาร ตำรวจ ขาราชการ เจาหนาท่ีอื่นของรัฐ และพนักงานหรือลูกจาง
ขององคกรของรัฐยอมมีสิทธิและเสรภี าพเชนเดียวกับบุคคลท่ัวไป เวนแตท่ีจำกัดไวในกฎหมายเฉพาะใน
สวนที่เกีย่ วกบั การเมือง สมรรถภาพ วนิ ยั หรือจริยธรรม
มาตรา 28 บุคคลยอ มมสี ิทธิและเสรภี าพในชวี ติ และรางกาย
การจับและการคุมขังบุคคลจะกระทำมิได เวนแตมีคำสั่งหรือหมายของศาลหรือมีเหตุ
อยางอ่ืนตามท่ีกฎหมายบัญญัติ
การคน ตวั บคุ คลหรือการกระทำใดอันกระทบกระเทือนตอ สทิ ธหิ รือเสรีภาพในชีวิตหรือ
รางกายจะกระทำมิได เวนแตม ีเหตตุ ามทกี่ ฎหมายบญั ญตั ิ
การทรมาน ทารุณกรรม หรือการลงโทษดวยวิธีการโหดรายหรือไรมนุษยธรรมจะ
กระทำมิได
มาตรา 29 บคุ คลไมต อ งรับโทษอาญาเวนแตไ ดก ระทำการอนั กฎหมายที่ใชอ ยูใ นเวลา
ที่กระทำนั้นบัญญัติเปนความผิดและกำหนดโทษไว และโทษท่ีจะลงแกบุคคลนั้นจะหนักกวาโทษที่
บญั ญัติไวใ นกฎหมายทใี่ ชอยูใ นเวลาที่กระทำความผดิ มิได
ในคดีอาญา ใหสันนิษฐานไวกอนวาผูตองหาหรือจำเลยไมมีความผิด และกอนมีคำ
พิพากษาอันถึงท่ีสุดแสดงวาบุคคลใดไดกระทำความผิด จะปฏิบัติตอบุคคลนั้นเสมือนเปนผูกระทำ
ความผิดมไิ ด
การควบคุมหรือคุมขังผูตองหาหรือจำเลยใหกระทำไดเพียงเทาท่ีจำเปน เพื่อปองกันมิ
ใหมีการหลบหนี
ในคดอี าญา จะบงั คับใหบ คุ คลใหการเปนปฏิปกษต อ ตนเองมิได
คำขอประกันผูตองหาหรือจำเลยในคดีอาญาตองไดรับการพิจารณาและจะเรียก
หลกั ประกนั จนเกนิ ควรแกก รณีมไิ ด การไมใ หประกนั ตอ งเปน ไปตามที่กฎหมายบัญญัติ

เตรียมสอบ กกต. 2564

เตรียมสอบพนักงาน สำนักงานคณะกรรมการการเลอื กตง้ั ชุดที่ 2 29

มาตรา 30 การเกณฑแรงงานจะกระทำมิได เวนแตโดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติ
แหงกฎหมายท่ีตราข้ึนเพ่ือปองกันภัยพิบัติสาธารณะ หรือในขณะท่ีมีการประกาศสถานการณฉุกเฉิน
หรือประกาศใชกฎอัยการศกึ หรือในระหวางเวลาที่ประเทศอยูในภาวะสงครามหรือการรบ

มาตรา 31 บุคคลยอมมีเสรีภาพบริบูรณในการถือศาสนาและยอมมีเสรีภาพในการ
ปฏบิ ัตหิ รือประกอบพิธีกรรมตามหลกั ศาสนาของตน แตตอ งไมเปนปฏปิ กษตอ หนาทขี่ องปวงชนชาวไทยไม
เปนอนั ตรายตอ ความปลอดภัยของรฐั และไมขดั ตอ ความสงบเรียบรอ ยหรือศลี ธรรมอันดีของประชาชน

มาตรา 32 บคุ คลยอมมสี ทิ ธิในความเปน อยูสว นตัว เกียรตยิ ศ ชอ่ื เสยี ง และครอบครวั
การกระทำอันเปนการละเมิดหรือกระทบตอสิทธิของบุคคลตามวรรคหนึ่ง หรือการนำ
ขอมูลสวนบุคคลไปใชประโยชนไมวาในทางใด ๆ จะกระทำมิได เวนแตโดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติ
แหงกฎหมายท่ีตราขน้ึ เพยี งเทาที่จำเปนเพื่อประโยชนสาธารณะ
มาตรา 33 บุคคลยอมมีเสรีภาพในเคหสถาน
การเขาไปในเคหสถานโดยปราศจากความยินยอมของผูครอบครอง หรือการคน
เคหสถานหรือท่ีรโหฐานจะกระทำมิได เวนแตมีคำส่ังหรือหมายของศาลหรือมีเหตุอยางอื่นตามท่ี
กฎหมายบญั ญตั ิ
มาตรา 34 บุคคลยอมมีเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น การพูด การเขียน การพิมพ การ
โฆษณา และการส่ือความหมายโดยวิธีอ่ืน การจำกัดเสรีภาพดังกลาวจะกระทำมิได เวนแตโดยอาศัย
อำนาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมายท่ีตราข้ึนเฉพาะเพื่อรักษาความมั่นคงของรัฐ เพื่อคุมครองสิทธิหรือ
เสรีภาพของบุคคลอื่น เพื่อรักษาความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน หรือเพ่ือปองกัน
สขุ ภาพของประชาชน
เสรีภาพทางวิชาการยอมไดรับความคุมครอง แตการใชเสรีภาพน้ันตองไมขัดตอหนาท่ี
ของปวงชนชาวไทยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน และตองเคารพและไมปดก้ันความเห็นตางของ
บคุ คลอนื่
มาตรา 35 บุคคลซึง่ ประกอบวิชาชีพส่อื มวลชนยอมมีเสรีภาพในการเสนอขาวสารหรือ
การแสดงความคดิ เห็นตามจริยธรรมแหงวิชาชพี
การสั่งปดกิจการหนังสือพิมพหรือสื่อมวลชนอื่นเพื่อลิดรอนเสรีภาพตามวรรคหนึ่ง จะ
กระทำมิได
การใหนำขาวสารหรือขอความใด ๆ ที่ผูประกอบวิชาชีพส่ือมวลชนจัดทำขึ้นไปให
เจา หนาท่ีตรวจกอนนำไปโฆษณาในหนังสือพิมพห รอื สื่อใด ๆ จะกระทำมิได เวนแตจะกระทำในระหวาง
เวลาท่ปี ระเทศอยใู นภาวะสงคราม
เจาของกจิ การหนงั สอื พิมพห รือสอ่ื มวลชนอนื่ ตอ งเปน บคุ คลสัญชาติไทย
การใหเงินหรือทรัพยสินอื่นเพื่ออุดหนุนกิจการหนังสือพิมพหรือสื่อมวลชนอ่ืนของ
เอกชนรัฐจะกระทำมิได หนวยงานของรัฐที่ใชจายเงินหรือทรัพยสินใหส่ือมวลชนไมวาเพ่ือประโยชนใน

เตรยี มสอบ กกต. 2564

เตรียมสอบพนักงาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตัง้ ชุดท่ี 2 30

การโฆษณาหรือประชาสัมพันธ หรือเพ่ือการอื่นใดในทำนองเดียวกันตองเปดเผยรายละเอียดให
คณะกรรมการตรวจเงนิ แผน ดินทราบตามระยะเวลาทก่ี ำหนดและประกาศใหป ระชาชนทราบดว ย

เจาหนาที่ของรัฐซ่ึงปฏิบัติหนาท่ีสื่อมวลชนยอมมีเสรีภาพตามวรรคหนึ่ง แตใหคำนึงถึง
วัตถปุ ระสงคและภารกิจของหนว ยงานทตี่ นสงั กัดอยูดว ย

มาตรา 36 บคุ คลยอมมเี สรภี าพในการติดตอสื่อสารถงึ กนั ไมวาในทางใด ๆ
การตรวจ การกัก หรือการเปดเผยขอมูลท่ีบุคคลสื่อสารถึงกัน รวมทั้งการกระทำดวย
ประการใด ๆ เพื่อใหลวงรูหรือไดมาซึ่งขอมูลที่บุคคลสื่อสารถึงกันจะกระทำมิได เวนแตมีคำสั่งหรือ
หมายของศาลหรอื มเี หตอุ ยางอน่ื ตามทกี่ ฎหมายบญั ญตั ิ
มาตรา 37 บคุ คลยอ มมสี ิทธใิ นทรพั ยสินและการสบื มรดก
ขอบเขตแหง สิทธิและการจำกดั สทิ ธิเชน วา นี้ ใหเ ปน ไปตามที่กฎหมายบัญญัติ
การเวนคืนอสังหาริมทรัพยจะกระทำมิไดเวนแตโดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแหง
กฎหมายที่ตราขึ้นเพ่ือการอันเปนสาธารณู ปโภค การปองกันประเทศ หรือการไดมาซ่ึง
ทรัพยากรธรรมชาติ หรือเพื่อประโยชนสาธารณะอยางอ่ืน และตองชดใชคาทดแทนท่ีเปน
ธรรม ภายในเวลาอันควรแกเจาของตลอดจนผูทรงสิทธิบรรดาที่ไดรับความเสียหายจากการเวนคืน
โดยคำนึงถึงประโยชนสาธารณะผลกระทบตอผูถูกเวนคืน รวมท้ังประโยชนท่ีผูถูกเวนคืนอาจไดรับจาก
การเวนคืนนัน้
การเวนคืนอสังหาริมทรัพย ใหกระทำเพียงเทาที่จำเปนตองใชเพ่ือการท่ีบัญญัติไวในวรรค
สาม เวนแตเปนการเวนคืนเพ่ือนำอสังหาริมทรัพยที่เวนคืนไปชดเชยใหเกิดความเปนธรรมแกเจาของ
อสงั หาริมทรพั ยที่ถูกเวนคนื ตามที่กฎหมายบัญญตั ิ
มาตรา 38 บคุ คลยอมมีเสรีภาพในการเดินทางและการเลอื กถิ่นทอ่ี ยู
การจำกัดเสรีภาพตามวรรคหน่ึงจะกระทำมิได เวนแตโดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติ
แหงกฎหมายที่ตราข้ึนเพ่ือความม่ันคงของรัฐ ความสงบเรียบรอยหรือสวัสดิภาพของประชาชน หรือการ
ผงั เมอื ง หรอื เพื่อรักษาสถานภาพของครอบครวั หรอื เพ่อื สวัสดิภาพของผูเยาว
มาตรา 39 การเนรเทศบุคคลสัญชาติไทยออกนอกราชอาณาจักร หรือหามมิใหผูมี
สัญชาตไิ ทยเขามาในราชอาณาจักรจะกระทำมิได
การถอนสญั ชาติของบคุ คลซ่งึ มีสัญชาติไทยโดยการเกดิ จะกระทำมไิ ด
มาตรา 40 บุคคลยอมมเี สรภี าพในการประกอบอาชีพ
การจำกัดเสรีภาพตามวรรคหน่งึ จะกระทำมิไดเวน แตโดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติ
แหงกฎหมายที่ตราขึ้นเพ่ือรักษาความม่ันคงหรือเศรษฐกิจของประเทศการแขงขันอยางเปนธรรมการ
ปอ งกันหรอื ขจัดการกีดกนั หรอื การผูกขาดการคุมครองผูบรโิ ภค การจัดระเบยี บการประกอบอาชีพเพียง
เทาท่ีจำเปน หรอื เพอื่ ประโยชนสาธารณะอยา งอนื่
การตรากฎหมายเพื่อจัดระเบียบการประกอบอาชีพตามวรรคสอง ตองไมมีลักษณะ
เปนการเลือกปฏิบัติหรอื กา วกายการจดั การศกึ ษาของสถาบนั การศึกษา

เตรียมสอบ กกต. 2564

เตรยี มสอบพนักงาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลอื กตั้ง ชุดท่ี 2 31

มาตรา 41 บคุ คลและชุมชนยอ มมสี ิทธิ
(1) ไดรับทราบและเขาถึงขอมูลหรือขาวสารสาธารณะในครอบครองของหนวยงาน
ของรัฐตามท่ีกฎหมายบญั ญัติ
(2) เสนอเรื่องราวรองทุกขตอหนวยงานของรัฐและไดรับแจงผลการพิจารณาโดย
รวดเร็ว
(3) ฟองหนวยงานของรัฐใหรับผิดเนื่องจากการกระทำหรือการละเวนการกระทำของ
ขา ราชการ พนกั งาน หรือลกู จางของหนว ยงานของรฐั
มาตรา 42 บุคคลยอมมีเสรีภาพในการรวมกันเปนสมาคม สหกรณ สหภาพ องคกร
ชมุ ชน หรือหมคู ณะอืน่
การจำกัดเสรีภาพตามวรรคหนึ่งจะกระทำมิได เวนแตโดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติ
แหงกฎหมายทีต่ ราขึน้ เพ่อื คุมครองประโยชนสาธารณะ เพ่ือรักษาความสงบเรียบรอ ย หรือศลี ธรรมอันดี
ของประชาชน หรอื เพอ่ื การปอ งกนั หรือขจัดการกีดกนั หรือการผกู ขาด
มาตรา 43 บคุ คลและชมุ ชนยอมมสี ทิ ธิ
(1) อนุรักษ ฟน ฟู หรือสงเสริมภมู ิปญญา ศิลปะ วฒั นธรรม ขนบธรรมเนียม และจารีต
ประเพณีอนั ดงี ามทั้งของทอ งถิ่นและของชาติ
(2) จัดการ บำรุงรักษา และใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติ ส่ิงแวดลอม
และความหลากหลายทางชวี ภาพอยางสมดลุ และยัง่ ยนื ตามวิธีการทก่ี ฎหมายบญั ญตั ิ
(3) เขา ชือ่ กันเพ่ือเสนอแนะตอ หนวยงานของรัฐใหด ำเนินการใดอันจะเปนประโยชนต อ
ประชาชนหรือชุมชน หรืองดเวนการดำเนินการใดอันจะกระทบตอความเปนอยูอยางสงบสุขของ
ประชาชนหรือชุมชนและไดรับแจงผลการพิจารณาโดยรวดเร็ว ทั้งน้ี หนวยงานของรัฐตองพิจารณา
ขอเสนอแนะน้ันโดยใหประชาชนที่เก่ียวขอ งมีสว นรวมในการพจิ ารณาดว ยตามวธิ กี ารท่กี ฎหมายบัญญตั ิ
(4) จดั ใหมรี ะบบสวัสดกิ ารของชมุ ชน
สิทธิของบุคคลและชุมชนตามวรรคหน่ึง หมายความรวมถึงสิทธิท่ีจะรวมกับองคกร
ปกครองสวนทอ งถน่ิ หรอื รัฐในการดำเนินการดังกลาวดว ย
มาตรา 44 บุคคลยอ มมเี สรภี าพในการชมุ นุมโดยสงบและปราศจากอาวธุ
การจำกัดเสรีภาพตามวรรคหนึ่งจะกระทำมิได เวนแตโดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติ
แหงกฎหมายที่ตราข้ึนเพื่อรักษาความม่ันคงของรัฐ ความปลอดภัยสาธารณะ ความสงบเรียบรอยหรือ
ศลี ธรรมอนั ดขี องประชาชน หรอื เพือ่ คมุ ครองสทิ ธิหรอื เสรีภาพของบุคคลอ่นื
มาตรา 45 บุคคลยอมมีเสรีภาพในการรวมกันจัดตั้งพรรคการเมืองตามวิถีทางการ
ปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษตั ริยทรงเปนประมขุ ตามทกี่ ฎหมายบญั ญตั ิ
กฎหมายตามวรรคหน่ึงอยางนอยตองมีบทบัญญัติเกี่ยวกับการบริหารพรรคการเมือง
ซึ่งตองกำหนดใหเปนไปโดยเปดเผยและตรวจสอบได เปดโอกาสใหสมาชิกมีสวนรวมอยางกวางขวางใน
การกำหนดนโยบายและการสงผูสมัครรับเลือกตั้ง และกำหนดมาตรการใหสามารถดำเนินการโดยอิสระ

เตรียมสอบ กกต. 2564

เตรียมสอบพนักงาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง ชดุ ท่ี 2 32

ไมถูกครอบงำหรือชี้นำโดยบุคคลซึ่งมิไดเปนสมาชิกของพรรคการเมืองน้ัน รวมท้ังมาตรการกำกับดูแลมิ
ใหสมาชิกของพรรคการเมืองกระทำการอันเปนการฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามกฎหมายเก่ียวกับการ
เลอื กต้งั

มาตรา 46 สิทธขิ องผบู รโิ ภคยอมไดรับความคุม ครอง
บุคคลยอมมีสิทธิรวมกันจัดตั้งองคกรของผูบริโภคเพื่อคุมครองและพิทักษสิทธิของ
ผูบรโิ ภค
องคกรของผูบริโภคตามวรรคสองมีสิทธิรวมกันจัดตั้งเปนองคกรท่ีมีความเปนอิสระ
เพ่ื อ ใ ห เกิ ด พ ลั ง ใ น ก า ร คุ ม ค ร อ ง แ ล ะ พิ ทั ก ษ สิ ท ธิ ข อ ง ผู บ ริ โ ภ ค โ ด ย ไ ด รั บ ก า ร ส นั บ ส นุ น จ า ก รั ฐ
ทง้ั น้ี หลกั เกณฑและวิธกี ารจัดตงั้ อำนาจในการเปนตัวแทนของผบู ริโภค และการสนับสนุนดานการเงินจาก
รัฐ ใหเปนไปตามทก่ี ฎหมายบัญญัติ
มาตรา 47 บุคคลยอ มมสี ิทธิไดรับบริการสาธารณสุขของรฐั
บุคคลผูยากไรยอมมีสิทธิไดรับบริการสาธารณสุขของรัฐโดยไมเสียคาใชจายตามท่ี
กฎหมายบัญญัติ
บุคคลยอมมีสิทธิไดรับการปองกันและขจัดโรคติดตออันตรายจากรัฐโดยไมเสีย
คาใชจา ย
มาตรา 48 สทิ ธิของมารดาในชวงระหวางกอนและหลังการคลอดบุตรยอมไดรับความ
คมุ ครองและชวยเหลือตามทีก่ ฎหมายบญั ญตั ิ
บุคคลซ่ึงมีอายุเกินหกสิบปและไมมีรายไดเพียงพอแกการยังชีพ และบุคคลผูยากไร
ยอมมีสทิ ธิไดรับความชวยเหลอื ท่เี หมาะสมจากรฐั ตามทก่ี ฎหมายบญั ญัติ
มาตรา 49 บุคคลจะใชสิทธิหรือเสรีภาพเพ่ือลมลางการปกครองระบอบ
ประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษตั ริยทรงเปน ประมขุ มิได
ผูใดทราบวามีการกระทำตามวรรคหน่ึง ยอมมีสิทธิรองตออัยการสูงสุดเพ่ือรองขอให
ศาลรฐั ธรรมนญู วนิ จิ ฉยั ส่งั การใหเ ลิกการกระทำดังกลาวได
ในกรณีที่อัยการสูงสุดมีคำสั่งไมรับดำเนินการตามท่ีรองขอ หรือไมดำเนินการภายใน
สิบหา วันนับแตว ันทีไ่ ดรับคำรอ งขอ ผูรอ งขอจะย่นื คำรองโดยตรงตอศาลรัฐธรรมนูญก็ได
การดำเนนิ การตามมาตรานไ้ี มกระทบตอการดำเนินคดีอาญาตอผูกระทำการตามวรรค
หน่ึง

หมวด 4
หนาทข่ี องปวงชนชาวไทย

มาตรา 50 บุคคลมหี นา ที่ ดังตอไปน้ี
(1) พิทักษรักษาไวซ่ึงชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย และการปกครองระบอบ
ประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตริยทรงเปนประมขุ

เตรียมสอบ กกต. 2564

เตรียมสอบพนกั งาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลอื กตั้ง ชดุ ท่ี 2 33

(2) ปองกันประเทศพทิ ักษร ักษาเกยี รติภูมิ ผลประโยชนของชาติ และสาธารณสมบัติของ
แผน ดินรวมทั้งใหความรว มมอื ในการปองกนั และบรรเทาสาธารณภัย

(3) ปฏิบตั ิตามกฎหมายอยา งเครง ครัด
(4) เขารับการศกึ ษาอบรมในการศกึ ษาภาคบังคบั
(5) รับราชการทหารตามทก่ี ฎหมายบญั ญตั ิ
(6) เคารพและไมละเมิดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลอื่น และไมกระทำการใดที่อาจ
กอ ใหเกิดความแตกแยกหรือเกลียดชงั ในสังคม
(7) ไปใชสิทธิเลือกตั้งหรือลงประชามติอยางอิสระโดยคำนึงถึงประโยชนสวนรวมของ
ประเทศเปน สำคัญ
(8) รวมมือและสนับสนุนการอนุรักษและคุมครองส่ิงแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติ
ความหลากหลายทางชวี ภาพ รวมท้ังมรดกทางวฒั นธรรม
(9) เสยี ภาษอี ากรตามทีก่ ฎหมายบญั ญัติ
(10) ไมรว มมือหรือสนับสนุนการทจุ ริตและประพฤติมชิ อบทกุ รูปแบบ

หมวด 5
หนาทขี่ องรัฐ
มาตรา 51 การใดท่ีรัฐธรรมนูญบัญญัติใหเปนหนาที่ของรัฐตามหมวดน้ี ถาการนั้น
เปนการทำเพ่ือใหเกิดประโยชนแกประชาชนโดยตรง ยอมเปนสิทธิของประชาชนและชุมชนท่ีจะติดตาม
และเรงรัดใหรัฐดำเนินการ รวมตลอดทั้งฟองรองหนวยงานของรัฐท่ีเกี่ยวของ เพื่อจัดใหประชาชนหรือ
ชมุ ชนไดรับประโยชนนน้ั ตามหลักเกณฑแ ละวิธกี ารทีก่ ฎหมายบญั ญัติ
มาตรา 52 รัฐตองพิทักษรักษาไวซึ่งสถาบันพระมหากษัตริย เอกราช อธิปไตย บูรณ
ภาพแหงอาณาเขตและเขตที่ประเทศไทยมีสิทธิอธิปไตย เกียรติภูมิและผลประโยชนของชาติ ความ
ม่ันคงของรัฐ และความสงบเรียบรอยของประชาชน เพื่อประโยชนแหงการนี้ รัฐตองจัดใหมีการทหาร
การทูต และการขาวกรองที่มปี ระสิทธภิ าพ
กำลังทหารใหใชเ พือ่ ประโยชนในการพัฒนาประเทศดวย
มาตรา 53 รฐั ตองดแู ลใหมีการปฏบิ ัตติ ามและบงั คบั ใชกฎหมายอยา งเครงครดั
มาตรา 54 รัฐตองดำเนินการใหเด็กทุกคนไดรับการศึกษาเปนเวลาสิบสองป ต้ังแต
กอนวัยเรยี นจนจบการศกึ ษาภาคบังคับอยา งมีคุณภาพโดยไมเ ก็บคาใชจ า ย
...
ใหจัดตั้งกองทุนเพ่ือใชในการชวยเหลือผูขาดแคลนทุนทรัพย เพื่อลดความเหล่ือมล้ำ
ในการศึกษาและเพ่ือเสริมสรางและพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพครู โดยใหรัฐจัดสรรงบประมาณ
ใหแกกองทุนหรือใชมาตรการหรือกลไกทางภาษีรวมท้ังการใหผูบริจาคทรัพยสินเขากองทุนไดรับ
ประโยชนในการลดหยอนภาษีดวย ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ ซึ่งกฎหมายดังกลาวอยางนอยตอง

เตรียมสอบ กกต. 2564

เตรียมสอบพนกั งาน สำนักงานคณะกรรมการการเลอื กตัง้ ชดุ ท่ี 2 34

กำหนดใหการบริหารจัดการกองทุนเปนอิสระและกำหนดใหมีการใชจายเงินกองทุนเพื่อบรรลุ
วตั ถุประสงคดังกลา ว

มาตรา 55 รัฐตองดำเนินการใหประชาชนไดรบั บริการสาธารณสุขท่ีมีประสิทธิภาพอยาง
ท่ัวถึง เสริมสรางใหประชาชนมีความรูพื้นฐานเก่ียวกับการสงเสริมสุขภาพและการปองกันโรค และ
สง เสรมิ และสนบั สนนุ ใหม กี ารพัฒนาภูมิปญญาดา นแพทยแ ผนไทยใหเ กิดประโยชนสูงสุด

มาตรา 56 รัฐตองจัดหรือดำเนินการใหมีสาธารณูปโภคขั้นพ้ืนฐานที่จำเปนตอการ
ดำรงชีวติ ของประชาชนอยางทั่วถึงตามหลักการพฒั นาอยางย่ังยนื

มาตรา 57 รัฐตอ ง
(1) อนุรักษ ฟนฟู และสงเสริมภูมิปญญาทองถ่ิน ศิลปะ วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม
และจารีตประเพณีอันดีงามของทองถิ่นและของชาติ และจัดใหมีพ้ืนที่สาธารณะสำหรับกิจกรรมท่ี
เกี่ยวของ รวมท้ังสงเสริมและสนับสนุนใหประชาชน ชุมชน และองคกรปกครองสวนทองถิ่น ไดใชสิทธิ
และมสี วนรวมในการดำเนนิ การดว ย
(2) อนุรักษ คุมครอง บำรุงรักษา ฟนฟู บริหารจัดการ และใชหรือจัดใหมีการใช
ประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติ ส่ิงแวดลอม และความหลากหลายทางชีวภาพ ใหเกิดประโยชนอยาง
สมดุลและย่ังยืน โดยตองใหประชาชนและชุมชนในทองถิ่นท่ีเกี่ยวของมีสวนรวมดำเนินการและไดรับ
ประโยชนจ ากการดำเนนิ การดังกลา วดว ยตามที่กฎหมายบัญญตั ิ
มาตรา 58 การดำเนินการใดของรัฐหรือท่ีรัฐจะอนุญาตใหผูใดดำเนินการ ถาการน้ันอาจ
มีผลกระทบตอทรัพยากรธรรมชาติ คุณภาพสิ่งแวดลอม สุขภาพ อนามัย คุณภาพชีวิต หรือสวนได
เสียสำคญั อน่ื ใดของประชาชนหรอื ชมุ ชนหรอื สง่ิ แวดลอ มอยางรุนแรงรฐั ตองดำเนินการใหม ีการศึกษา
และประเมินผลกระทบตอคุณภาพสิ่งแวดลอมและสุขภาพของประชาชนหรือชุมชน และจัดใหมีการรับ
ฟงความคิดเห็นของผูมีสวนไดเสียและประชาชนและชุมชนที่เก่ียวของกอน เพ่ือนำมาประกอบการ
พิจารณาดำเนินการหรืออนุญาตตามทกี่ ฎหมายบัญญัติ
บุคคลและชุมชนยอมมีสิทธิไดรับขอมูล คำช้ีแจง และเหตุผลจากหนวยงานของรฐั กอน
การดำเนนิ การหรอื อนญุ าตตามวรรคหน่ึง
มาตรา 59 รัฐตองเปดเผยขอมูลหรือขาวสารสาธารณะในครอบครองของหนวยงาน
ของรัฐที่มิใชขอมูลเกี่ยวกับความม่ันคงของรัฐหรือเปนความลับของทางราชการตามที่กฎหมายบัญญัติ
และตองจดั ใหป ระชาชนเขา ถึงขอ มลู หรือขา วสารดงั กลาวไดโ ดยสะดวก
มาตรา 60 รัฐตองรักษาไวซึ่งคลื่นความถี่และสิทธิในการเขาใชวงโคจรดาวเทียมอัน
เปนสมบัติของชาติ เพอ่ื ใชใ หเ กิดประโยชนแ กประเทศชาตแิ ละประชาชน
การจัดใหมีการใชประโยชนจากคล่ืนความถ่ีตามวรรคหน่ึง ไมวาจะใชเพื่อสง
วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน และโทรคมนาคม หรือเพ่ือประโยชนอ่ืนใด ตองเปนไปเพื่อประโยชน
สงู สุดของประชาชน ความมั่นคงของรัฐ และประโยชนสาธารณะ รวมตลอดท้ังการใหประชาชนมีสวนได
ใชประโยชนจากคล่นื ความถดี่ ว ย ท้งั นี้ ตามทีก่ ฎหมายบญั ญัติ

เตรียมสอบ กกต. 2564

เตรยี มสอบพนกั งาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลือกตัง้ ชดุ ท่ี 2 35

รฐั ตองจัดใหมีองคกรของรัฐที่มีความเปนอิสระในการปฏิบัติหนาที่ เพื่อรับผิดชอบและ
กำกบั การดำเนินการเกี่ยวกับคล่นื ความถี่...

มาตรา 61 รัฐตองจัดใหมีมาตรการหรือกลไกท่ีมีประสิทธิภาพในการคุมครองและ
พิทักษสิทธิของผูบริโภคดานตาง ๆ ไมวาจะเปนดานการรูขอมูลท่ีเปนจริง ดานความปลอดภัย ดานความ
เปน ธรรมในการทำสัญญา หรอื ดา นอ่ืนใดอันเปนประโยชนตอผบู ริโภค

มาตรา 62 รัฐตองรักษาวินัยการเงินการคลังอยางเครงครัดเพ่ือใหฐานะทางการเงิน
การคลังของรัฐมีเสถียรภาพและมั่นคงอยางย่ังยืนตามกฎหมายวาดวยวินัยการเงินการคลังของรัฐ และ
จดั ระบบภาษใี หเ กิดความเปนธรรมแกสงั คม

กฎหมายวาดวยวินัยการเงินการคลังของรัฐอยางนอยตองมีบทบัญญัติเก่ียวกับกรอบ
การดำเนินการทางการคลังและงบประมาณของรัฐการกำหนดวินัยทางการคลังดานรายไดและ
รายจายท้ังเงินงบประมาณและเงินนอกงบประมาณ การบริหารทรพั ยสินของรัฐและเงินคงคลัง และ
การบรหิ ารหนี้สาธารณะ

มาตรา 63 รัฐตองสงเสริม สนับสนุน และใหความรูแกประชาชนถึงอันตรายท่ีเกิดจาก
การทุจริตและประพฤติมิชอบทั้งในภาครัฐและภาคเอกชน และจัดใหมีมาตรการและกลไกที่มี
ประสิทธิภาพเพ่ือปองกันและขจัดการทุจริตและประพฤติมิชอบดังกลาวอยางเขมงวด รวมทั้งกลไกใน
การสงเสริมใหประชาชนรวมตัวกันเพื่อมีสวนรวมในการรณรงคใหความรู ตอตาน หรือชี้เบาะแส โดย
ไดรับความคุม ครองจากรฐั ตามท่ีกฎหมายบัญญัติ

หมวด 6
แนวนโยบายแหงรฐั
มาตรา 64 บทบัญญตั ใิ นหมวดนี้เปนแนวทางใหรัฐดำเนนิ การตรากฎหมายและกำหนด
นโยบายในการบริหารราชการแผนดนิ
มาตรา 65 รัฐพึงจัดใหมียุทธศาสตรชาติเปนเปาหมายการพัฒนาประเทศอยางยั่งยืน
ตามหลกั ธรรมาภิบาลเพื่อใชเ ปนกรอบในการจัดทำแผนตาง ๆ ใหสอดคลองและบูรณาการกันเพ่อื ใหเ กิด
เปน พลังผลักดนั รว มกนั ไปสเู ปา หมายดงั กลาว
การจัดทำ การกำหนดเปาหมาย ระยะเวลาที่จะบรรลุเปาหมาย และสาระที่พึงมีใน
ยุทธศาสตรชาติใหเปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการท่ีกฎหมายบัญญัติ ทั้งน้ี กฎหมายดังกลาวตองมี
บทบญั ญตั เิ ก่ียวกบั การมีสว นรว มและการรบั ฟงความคิดเห็นของประชาชนทกุ ภาคสว นอยางทั่วถึงดว ย
ยทุ ธศาสตรช าตเิ ม่ือไดประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาแลว ใหใชบ งั คับได
มาตรา 67 รฐั พงึ อุปถัมภและคมุ ครองพระพทุ ธศาสนาและศาสนาอ่นื ...
มาตรา 68 รัฐพึงจัดระบบการบริหารงานในกระบวนการยุติธรรมทุกดานใหมี
ประสิทธิภาพ เปนธรรม และไมเลือกปฏิบัติ และใหประชาชนเขาถึงกระบวนการยุติธรรมไดโดยสะดวก
รวดเร็ว และไมเ สยี คา ใชจา ยสงู เกินสมควร

เตรียมสอบ กกต. 2564

เตรียมสอบพนักงาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลอื กตัง้ ชุดที่ 2 36

รัฐพึงมีมาตรการคุมครองเจาหนาท่ีของรัฐในกระบวนการยุติธรรม ใหสามารถปฏิบัติ
หนาท่ีไดโดยเครงครดั ปราศจากการแทรกแซงหรือครอบงำใด ๆ

รั ฐ พึ ง ใ ห ค ว า ม ช ว ย เห ลื อ ท า ง ก ฎ ห ม า ย ท่ี จ ำ เป น แ ล ะ เห ม า ะ ส ม แ ก ผู ย า ก ไ ร ห รื อ
ผดู อยโอกาสในการเขา ถงึ กระบวนการยตุ ธิ รรม รวมตลอดถงึ การจดั หาทนายความให

มาตรา 69 รัฐพึงจัดใหมีและสงเสริมการวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและ
ศิลปวิทยาการแขนงตาง ๆ ใหเกิดความรู การพัฒนา และนวัตกรรม เพื่อความเขมแข็งของสังคมและ
เสรมิ สรางความสามารถของคนในชาติ

มาตรา 70 รัฐพึงสงเสริมและใหความคุมครองชาวไทยกลุมชาติพันธุตาง ๆ ใหมีสิทธิ
ดำรงชีวิตในสังคมตามวัฒนธรรม ประเพณี และวิถีชีวิตด้ังเดิมตามความสมัครใจไดอยางสงบสุข ไมถูก
รบกวน ทั้งน้ี เทาท่ีไมเปนการขัดตอความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน หรือเปน
อนั ตรายตอความมัน่ คงของรฐั หรอื สขุ ภาพอนามยั

มาตรา 71 รัฐพึงเสริมสรางความเขมแข็งของครอบครัวอันเปนองคประกอบพื้นฐานท่ี
สำคัญของสังคม จัดใหประชาชนมีที่อยูอาศัยอยางเหมาะสม สงเสริมและพัฒนาการสรางเสริมสุขภาพ
เพื่อใหประชาชนมีสุขภาพท่ีแข็งแรงและมีจิตใจเขมแข็ง รวมตลอดทั้งสงเสริมและพัฒนาการกีฬาใหไปสู
ความเปน เลิศและเกิดประโยชนสูงสุดแกป ระชาชน...

มาตรา 72 รฐั พึงดำเนนิ การเกย่ี วกบั ทดี่ นิ ทรพั ยากรนำ้ และพลังงาน ดงั ตอไปน้ี
(3) จัดใหมีมาตรการกระจายการถือครองท่ีดินเพื่อใหประชาชนสามารถมีท่ีทำกินได
อยางท่ัวถงึ และเปน ธรรม
มาตรา 73 รัฐพึงจัดใหมีมาตรการหรือกลไกที่ชวยใหเกษตรกรประกอบเกษตรกรรมได
อยางมีประสิทธิภาพ ไดผลผลิตท่ีมีปริมาณและคุณภาพสูง มีความปลอดภัย โดยใชตนทุนต่ำและ
สามารถแขงขันในตลาดได และพึงชวยเหลือเกษตรกรผูยากไรใหมีท่ีทำกินโดยการปฏิรูปท่ีดินหรอื วธิ ีอ่ืน
ใด
มาตรา 74 รัฐพึงสงเสริมใหประชาชนมีความสามารถในการทำงานอยางเหมาะสมกับ
ศักยภาพและวัยและใหมีงานทำ และพึงคุมครองผูใชแรงงานใหไดรับความปลอดภัยและมีสุขอนามัยที่ดี
ในการทำงาน ไดรับรายได สวัสดิการ การประกันสังคม และสิทธิประโยชนอื่นท่ีเหมาะสมแกการดำรง
ชีพ และพงึ จดั ใหม หี รือสง เสริมการออมเพ่อื การดำรงชพี เมื่อพนวยั ทำงาน
รัฐพงึ จดั ใหมรี ะบบแรงงานสัมพันธท่ที กุ ฝายทีเ่ กีย่ วขอ งมีสวนรวมในการดำเนนิ การ
มาตรา 75 รัฐพึงจัดระบบเศรษฐกิจใหประชาชนมีโอกาสไดรับประโยชนจากความ
เจริญเติบโตทางเศรษฐกิจไปพรอมกันอยางทั่วถึง เปนธรรม และยั่งยืน สามารถพึ่งพาตนเองไดตามหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ขจัดการผูกขาดทางเศรษฐกิจที่ไมเปนธรรม และพัฒนาความสามารถใน
การแขง ขนั ทางเศรษฐกจิ ของประชาชนและประเทศ

เตรยี มสอบ กกต. 2564

เตรยี มสอบพนกั งาน สำนักงานคณะกรรมการการเลอื กต้ัง ชดุ ที่ 2 37

รัฐตองไมประกอบกิจการที่มีลักษณะเปนการแขงขันกับเอกชนเวนแตกรณีท่ีมีความ
จำเปนเพ่ือประโยชนในการรักษาความม่ันคงของรัฐ การรักษาผลประโยชนสวนรวม การจัดใหมี
สาธารณปู โภคหรอื การจดั ทำบรกิ ารสาธารณะ

รัฐพึงสงเสริม สนับสนุน คุมครอง และสรางเสถียรภาพใหแกระบบสหกรณประเภท
ตาง ๆ และกิจการวิสาหกิจขนาดยอ มและขนาดกลางของประชาชนและชมุ ชน

ในการพัฒนาประเทศ รัฐพึงคำนึงถึงความสมดุลระหวางการพัฒนาดานวัตถุกับการ
พัฒนาดา นจิตใจและความอยเู ยน็ เปน สุขของประชาชน ประกอบกัน

มาตรา 76 รัฐพึงพัฒนาระบบการบริหารราชการแผนดินทั้งราชการสวนกลาง
สว นภูมภิ าค สว นทองถิ่น และงานของรัฐอยางอน่ื ใหเปน ไปตามหลักการบรหิ ารกิจการบา นเมืองท่ีดี

มาตรา 77 รัฐพึงจัดใหมีกฎหมายเพียงเทาท่ีจำเปน และยกเลิกหรือปรับปรุง
กฎหมายที่หมดความจำเปนหรือไมสอดคลองกับสภาพการณหรือท่ีเปนอุปสรรคตอการดำรงชีวิต
หรือการประกอบอาชีพโดยไมชักชาเพื่อไมใหเปนภาระแกประชาชน และดำเนินการใหประชาชน
เขาถึงตัวบทกฎหมายตาง ๆ ไดโดยสะดวกและสามารถเขาใจกฎหมายไดงายเพื่อปฏิบัติตาม
กฎหมายไดอ ยา งถูกตอ ง

กอนการตรากฎห มายทุ กฉบั บ รัฐพึ งจัดให มีการรับ ฟ งความคิดเห็ นของ
ผูเก่ียวของ วิเคราะหผลกระทบท่ีอาจเกิดขึ้นจากกฎหมายอยางรอบดานและเปนระบบ รวมทั้งเปดเผยผล
การรับฟงความคิดเห็นและการวิเคราะหนั้นตอประชาชน และนำมาประกอบการพิจารณาใน
กระบวนการตรากฎหมายทุกขั้นตอน เมื่อกฎหมายมีผลใชบังคับแลว รัฐพึงจัดใหมีการประเมินผล
สมั ฤทธิ์ของกฎหมายทกุ รอบระยะเวลาทก่ี ำหนดโดยรับฟงความคดิ เหน็ ของผเู กย่ี วของประกอบดว ย เพื่อ
พัฒนากฎหมายทกุ ฉบับใหส อดคลอ งและเหมาะสมกบั บริบทตาง ๆ ท่เี ปล่ยี นแปลงไป

รัฐพึงใชระบบอนุญาตและระบบคณะกรรมการในกฎหมายเฉพาะกรณีที่จำเปน
พึงกำหนดหลักเกณฑการใชดุลพินิจของเจาหนาที่ของรัฐและระยะเวลาในการดำเนินการตาม
ขนั้ ตอนตาง ๆ ทบ่ี ญั ญัติไวใ นกฎหมายใหชดั เจน และพงึ กำหนดโทษอาญาเฉพาะความผดิ รายแรง

หมวด 7
รฐั สภา

สวนท่ี 1
บทท่ัวไป
มาตรา 79 รฐั สภาประกอบดว ยสภาผแู ทนราษฎรและวุฒสิ ภา
รฐั สภาจะประชมุ รว มกันหรอื แยกกัน ยอมเปน ไปตามบทบัญญตั ิแหงรฐั ธรรมนญู
บคุ คลจะเปน สมาชิกสภาผูแทนราษฎรและสมาชิกวฒุ สิ ภาในขณะเดียวกนั มิได

เตรยี มสอบ กกต. 2564

เตรียมสอบพนักงาน สำนักงานคณะกรรมการการเลอื กต้งั ชุดที่ 2 38

มาตรา 80 ประธานสภาผูแทนราษฎรเปนประธานรัฐสภาประธานวุฒิสภาเปนรอง
ประธานรฐั สภา

ในกรณีที่ไมมีประธานสภาผูแทนราษฎร หรือประธานสภาผูแทนราษฎรไมอยู
หรือไมสามารถปฏิบตั หิ นา ทปี่ ระธานรฐั สภาได ใหประธานวุฒิสภาทำหนา ที่ประธานรัฐสภาแทน

ในระหวางท่ีประธานวุฒิสภาตองทำหนาท่ีประธานรัฐสภาตามวรรคสอง แตไมมี
ประธานวุฒิสภาและเปนกรณีท่ีเกิดขึน้ ในระหวา งไมม สี ภาผูแ ทนราษฎร ใหรองประธานวุฒิสภาทำหนา ที่
ประธานรัฐสภา ถาไมมีรองประธานวุฒิสภา ใหสมาชิกวุฒิสภาซึ่งมีอายุมากที่สุดในขณะนั้นทำหนาท่ี
ประธานรฐั สภาและใหด ำเนินการเลือกประธานวุฒิสภาโดยเรว็

ประธานรัฐสภามีหนาที่และอำนาจตามรัฐธรรมนูญ และดำเนินกิจการของรัฐสภา ใน
กรณีประชุมรว มกันใหเ ปนไปตามขอบังคบั

ประธานรัฐสภาและผูทำหนาท่ีแทนประธานรัฐสภาตองวางตนเปนกลางในการปฏิบัติ
หนาท่ี

รองประธานรัฐสภามีหนาที่และอำนาจตามรัฐธรรมนูญ และตามท่ีประธานรัฐสภา
มอบหมาย

มาตรา 81 รางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญและรางพระราชบัญญัติจะตรา
ข้ึนเปนกฎหมายไดก แ็ ตโดยคำแนะนำและยนิ ยอมของรัฐสภา

ภายใตบังคับมาตรา 145 รางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญและรางพระราชบญั ญัติ
ท่ีไดรับความเห็นชอบของรัฐสภาแลว ใหนายกรัฐมนตรีนำขึ้นทูลเกลาทูลกระหมอมถวายเพ่ือ
พระมหากษัตริยทรงลงพระปรมาภิไธย และเม่ือประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลว ใหใชบังคับเปน
กฎหมายได

มาตรา 82 สมาชิกสภาผูแทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภา จำนวนไมนอยกวาหน่ึงใน
สิบของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเทาท่ีมีอยูของแตละสภา มีสิทธิเขาช่ือรองตอประธานแหงสภาท่ีตนเปน
สมาชิกวาสมาชิกภาพของสมาชิกคนใดคนหน่ึงแหงสภานั้นสิ้นสุดลงตามมาตรา 101 (3) (5) (6) (7) (8)
(9) (10) หรือ (12) หรือมาตรา 111 (3) (4) (5) หรือ (7) แลวแตกรณี และใหประธานแหงสภาที่ไดรับ
คำรอง สงคำรองน้ันไปยังศาลรัฐธรรมนูญเพ่ือวินิจฉัยวาสมาชิกภาพของสมาชิกผูน้ันส้ินสุดลง
หรอื ไม...

ในกรณีท่ีคณะกรรมการการเลือกตั้งเห็นวาสมาชิกภาพของสมาชิกสภาผูแทน
ราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภาคนใดคนหน่ึงมีเหตุสิ้นสุดลงตามวรรคหนึ่งใหสงเรื่องไปยังศาลรัฐธรรมนูญ
เพอื่ วินจิ ฉัยตามวรรคหนึง่ ไดดวย

สวนที่ 2
สภาผูแทนราษฎร
มาตรา 83 สภาผูแ ทนราษฎรประกอบดวยสมาชิกจำนวนหา รอ ยคน (500) ดังนี้

เตรยี มสอบ กกต. 2564

เตรยี มสอบพนกั งาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลอื กตัง้ ชุดที่ 2 39

(1) สมาชิกซง่ึ มาจากการเลอื กตง้ั แบบแบง เขตเลอื กตั้งจำนวนสามรอ ยหา สบิ คน(350)
(2) สมาชิกซ่งึ มาจากบัญชีรายชื่อของพรรคการเมอื งจำนวนหนง่ึ รอ ยหาสบิ คน(150)
ในกรณีที่ตำแหนงสมาชิกสภาผูแทนราษฎรวางลงไมวาดวยเหตุใด และยังไมมีการ
เลือกตั้งหรือประกาศช่ือสมาชิกสภาผูแทนราษฎรข้ึนแทนตำแหนงที่วาง ใหสภาผูแทนราษฎร
ประกอบดวยสมาชกิ สภาผแู ทนราษฎรเทา ที่มีอยู
ในกรณีมีเหตุใด ๆ ท่ีทำใหสมาชิกสภาผูแทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อมีจำนวนไมถึง
หนง่ึ รอยหา สิบคน ใหส มาชกิ สภาผูแทนราษฎรแบบบญั ชรี ายช่ือประกอบดวยสมาชกิ เทา ที่มีอยู
มาตรา 84 ในการเลือกตัง้ ทั่วไป เมือ่ มีสมาชิกสภาผแู ทนราษฎรไดรับเลอื กตั้งถึงรอยละ
เกาสิบหาของจำนวนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรทั้งหมดแลว หากมีความจำเปนจะตองเรียกประชุมรัฐสภา
ก็ใหดำเนินการเรียกประชุมรัฐสภาได โดยใหถือวาสภาผูแทนราษฎรประกอบดวยสมาชิกเทาที่มีอยูแต
ตองดำเนินการใหมีสมาชิกสภาผูแทนราษฎรใหครบตามจำนวนตามมาตรา 83 โดยเรว็ ในกรณีเชนนี้ ให
สมาชิกสภาผูแ ทนราษฎรดงั กลา วอยใู นตำแหนง ไดเ พยี งเทาอายุของสภาผูแทนราษฎรทเ่ี หลืออยู
มาตรา 85 สมาชิกสภาผูแทนราษฎรซึ่งมาจากการเลือกต้ังแบบแบงเขตเลือกต้ัง ใหใช
วิธีออกเสียงลงคะแนนโดยตรงและลับ โดยใหแตละเขตเลือกตั้งมีสมาชิกสภาผูแทนราษฎรไดเขตละ
หน่ึงคนและผูมีสิทธิเลือกต้ังมีสิทธิออกเสียงลงคะแนนเลือกตั้งไดคนละหน่ึงคะแนน โดยจะลงคะแนน
เลอื กผูสมัครรับเลอื กต้งั ผใู ด หรอื จะลงคะแนนไมเลือกผูใดเลยก็ได
ใหผูสมัครรับเลือกตั้งซ่ึงไดรับคะแนนสูงสุดและมีคะแนนสูงกวาคะแนนเสียงท่ีไมเลือก
ผูใดเปนผไู ดร บั เลอื กตงั้ ...
ใหคณะกรรมการการเลือกตั้งประกาศผลการเลือกตั้งเมื่อตรวจสอบเบื้องตนแลว มี
เหตุอันควรเช่ือวา ผลการเลือกตงั้ เปนไปโดยสุจริตและเท่ยี งธรรมและมีจำนวนไมน อยกวารอ ยละเกา สิบ
หาของเขตเลือกต้ังทั้งหมด ซ่ึงคณะกรรมการการเลือกตั้งตองตรวจสอบเบื้องตนและประกาศผลการ
เลือกต้ังใหแลว เสร็จโดยเร็ว แตต องไมชากวาหกสิบวันนับแตวันเลือกตั้ง ทั้งนี้ การประกาศผลดังกลาว
ไมเปนการตัดหนาท่ีและอำนาจของคณะกรรมการการเลือกต้ังท่ีจะดำเนินการสืบสวน ไตสวน หรือ
วินิจฉัยกรณีมีเหตุอันควรสงสัยวามีการกระทำการทุจริตในการเลือกต้ัง หรือการเลือกตั้งไมเปนไปโดย
สจุ ริตหรือเทยี่ งธรรมไมวา จะไดป ระกาศผลการเลอื กตง้ั แลว หรือไมก ต็ าม
มาตรา 86 การกำหนดจำนวนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรที่แตละจังหวัดจะพึงมีและ
การแบง เขตเลอื กตั้ง ใหด ำเนินการตามวิธกี าร ดังตอ ไปนี้
(1) ใหใชจำนวนราษฎรทั้งประเทศตามหลักฐานการทะเบียนราษฎรที่ประกาศในป
สุดทายกอนปท่ีมีการเลือกตั้ง เฉลี่ยดวยจำนวนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรสามรอยหาสิบคน จำนวนท่ี
ไดร ับใหถอื วา เปน จำนวนราษฎรตอ สมาชกิ หน่ึงคน
(2) จังหวัดใดมีราษฎรไมถึงเกณฑจำนวนราษฎรตอสมาชิกหนึ่งคนตาม (1) ใหมี
สมาชกิ สภาผูแทนราษฎรในจงั หวดั นน้ั ไดหนึง่ คน โดยใหถ อื เขตจังหวดั เปน เขตเลือกต้งั

เตรียมสอบ กกต. 2564

เตรียมสอบพนักงาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลือกตั้ง ชุดที่ 2 40

(3) จังหวัดใดมีราษฎรเกินจำนวนราษฎรตอสมาชิกหนึ่งคน ใหมีสมาชิกสภาผูแทน
ราษฎรในจงั หวดั นนั้ เพิ่มขึ้นอีกหนง่ึ คนทกุ จำนวนราษฎรทีถ่ ึงเกณฑจำนวนราษฎรตอ สมาชิกหน่งึ คน

(4) เม่ือไดจำนวนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของแตละจังหวัดตาม (2) และ (3) แลว
ถาจำนวนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรยังไมครบสามรอยหาสิบคน จังหวัดใดมีเศษท่ีเหลือจากการคำนวณ
ตาม (3) มากที่สุด ใหจังหวัดนั้นมีสมาชิกสภาผูแทนราษฎรเพิ่มขึ้นอีกหนึ่งคน และใหเพ่ิม
สมาชิกสภาผูแทนราษฎรตามวิธีการดังกลาวแกจังหวัดท่ีมีเศษที่เหลือจากการคำนวณน้ันในลำดับ
รองลงมาตามลำดับจนครบจำนวนสามรอ ยหาสิบคน

(5) จังหวัดใดมีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรไดเกินหน่ึงคน ใหแบงเขตจังหวัด
ออกเปนเขตเลือกตั้งเทาจำนวนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรที่พึงมี โดยตองแบงพื้นที่ของเขตเลือก
ตั้งแตละเขตใหต ดิ ตอ กันและตอ งจดั ใหมจี ำนวนราษฎรในแตละเขตใกลเคยี งกนั

มาตรา 87 ผูสมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรแบบแบงเขตเลือกตั้ง ตอง
เปน ผูซ่งึ พรรคการเมอื งท่ตี นเปนสมาชกิ สง สมคั รรับเลือกตง้ั และจะสมัครรับเลือกตั้งเกินหนึ่งเขตมิได

เมอ่ื มีการสมัครรับเลอื กต้ังแลว ผูสมัครรบั เลือกต้ังหรอื พรรคการเมืองจะถอนการสมคั ร
รับเลือกต้ังหรือเปลี่ยนแปลงผูสมัครรับเลือกต้ังไดเฉพาะกรณีผูสมัครรับเลือกต้ังตายหรือขาดคุณสมบัติ
หรอื มลี กั ษณะตองหา ม และตองกระทำกอนปด การรับสมคั รรบั เลือกต้งั

มาตรา 88 ในการเลือกต้ังท่ัวไป ใหพรรคการเมืองที่สงผูสมัครรับเลือกตั้งแจงรายช่ือ
บุคคลซึ่งพรรคการเมืองนั้นมีมติวาจะเสนอใหสภาผูแทนราษฎรเพ่ือพิจารณาใหความเห็นชอบแตงต้ัง
เปนนายกรัฐมนตรีไมเกินสามรายชื่อตอคณะกรรมการการเลือกต้ังกอนปดการรับสมัครรับเลือกต้ัง
และใหคณะกรรมการการเลือกต้ังประกาศรายช่ือบุคคลดังกลาวใหประชาชนทราบ และใหนำความใน
มาตรา 87 วรรคสองมาใชบงั คบั โดยอนโุ ลม

พรรคการเมืองจะไมเ สนอรายชื่อบคุ คลตามวรรคหนง่ึ ก็ได
มาตรา 89 การเสนอชื่อบคุ คลตามมาตรา 88 ตอ งเปน ไปตามหลกั เกณฑ ดังตอ ไปน้ี
(1) ตองมีหนังสือยินยอมของบุคคลซ่ึงไดรับการเสนอชื่อ โดยมีรายละเอียดตามที่
คณะกรรมการการเลอื กต้งั กำหนด
(2) ผูไดรบั การเสนอช่ือตองเปน ผูมีคณุ สมบัติและไมมีลกั ษณะตองหามที่จะเปนรัฐมนตรี
ตามมาตรา 160 และไมเคยทำหนังสอื ยนิ ยอมตาม (1) ใหพรรคการเมอื งอน่ื ในการเลอื กต้ังคราวนนั้
การเสนอชือ่ บุคคลใดทีม่ ไิ ดเปน ไปตามวรรคหน่ึง ใหถ ือวาไมมีการเสนอชอ่ื บุคคลน้นั
มาตรา 90 พรรคการเมืองใดสงผูสมัครรับเลือกต้ังแบบแบงเขตเลือกต้ังแลวใหมี
สิทธิสงผูส มัครรบั เลือกตง้ั แบบบญั ชีรายช่อื ได
การสงผูสมัครรับเลือกตั้งแบบบัญชีรายช่ือ ใหพรรคการเมืองจัดทำบัญชีรายช่ือพรรค
ละหน่ึงบัญชีโดยผูสมัครรับเลือกตง้ั ของแตละพรรคการเมืองตองไมซ้ำกัน และไมซ้ำกับรายชื่อผูส มัครรับ
เลือกตั้งแบบแบงเขตเลือกตั้ง โดยสงบัญชีรายช่ือดังกลาวใหคณะกรรมการการเลือกตั้งกอนปดการรับ
สมคั รรบั เลอื กตง้ั สมาชกิ สภาผแู ทนราษฎรแบบแบง เขตเลอื กต้ัง

เตรยี มสอบ กกต. 2564

เตรยี มสอบพนักงาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง ชดุ ที่ 2 41

มาตรา 91 การคำนวณหาสมาชิกสภาผูแทนราษฎรแบบบัญชีรายช่ือของแตละ
พรรคการเมือง ใหดำเนนิ การตามหลักเกณฑ ดังตอไปนี้

(1) นำคะแนนรวมทั้งประเทศที่พรรคการเมืองทุกพรรคที่สงผูสมัครรับเลือกตั้งแบบ
บัญชีรายชื่อไดร ับจากการเลอื กตัง้ แบบแบง เขตเลอื กตั้งหารดวยหารอยอันเปน จำนวนสมาชกิ ทง้ั หมดของ
สภาผูแทนราษฎร

(2) นำผลลัพธตาม (1) ไปหารจำนวนคะแนนรวมทั้งประเทศของพรรคการเมืองแตละ
พรรคที่ไดรับจากการเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรแบบแบงเขตเลือกตั้งทุกเขต จำนวนท่ีไดรับใหถือ
เปน จำนวนสมาชิกสภาผแู ทนราษฎรทพ่ี รรคการเมืองนั้นจะพึงมไี ด

(3) นำจำนวนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรท่ีพรรคการเมืองจะพึงมีไดตาม (2) ลบดวย
จำนวนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรแบบแบงเขตเลือกต้ังทงั้ หมดที่พรรคการเมอื งน้นั ไดรับเลือกต้ังในทุกเขต
เลอื กตงั้ ผลลัพธคือจำนวนสมาชกิ สภาผแู ทนราษฎรแบบบญั ชีรายชอื่ ที่พรรคการเมืองนัน้ จะไดร บั

(4) ถาพรรคการเมืองใดมีผูไดรับเลือกตั้งเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรแบบแบงเขต
เลือกต้ังเทากับหรือสูงกวาจำนวนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรท่ีพรรคการเมืองนั้นจะพึงมีไดตาม (2) ให
พรรคการเมืองน้ันมีสมาชิกสภาผูแทนราษฎรตามจำนวนท่ีไดรับจากการเลือกตั้งแบบแบงเขตเลือกต้ัง
และไมมีสิทธิไดรับการจัดสรรสมาชิกสภาผูแทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ และใหนำจำนวน
ส ม า ชิ ก ส ภ า ผู แ ท น ร า ษ ฎ ร แ บ บ บั ญ ชี ร า ย ช่ื อ ท้ั ง ห ม ด ไป จั ด ส ร ร ให แ ก พ ร ร ค ก า ร เมื อ ง ท่ี มี จ ำ น ว น
สมาชิกสภาผูแทนราษฎรแบบแบงเขตเลือกตั้งต่ำกวาจำนวนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรท่ีพรรคการเมือง
นั้นจะพึงมีไดตาม (2) ตามอัตราสวน แตตองไมมีผลใหพรรคการเมืองใดดังกลาวมีสมาชิกสภาผูแทน
ราษฎรเกนิ จำนวนที่จะพึงมีไดต าม (2)

(5) เมื่อไดจำนวนผูไดรับเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อของแตละพรรคการเมืองแลว ให
ผูสมัครรับเลือกตั้งตามลำดับหมายเลขในบัญชีรายช่ือสมาชิกสภาผูแทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อของ
พรรคการเมอื งน้นั เปน ผไู ดร บั เลือกตัง้ เปน สมาชกิ สภาผูแทนราษฎร

ในกรณที ี่ผูสมัครรับเลือกตั้งผูใ ดตายภายหลังวันปดรบั สมัครรบั เลือกตั้งแตก อนเวลาปด
การลงคะแนนในวนั เลอื กต้ัง ใหน ำคะแนนที่มีผูลงคะแนนใหม าคำนวณตาม (1) และ (2) ดว ย

การนับคะแนน หลักเกณฑและวิธีการคำนวณ การคิดอัตราสวน และการประกาศผล
การเลอื กต้ังใหเปนไปตามพระราชบญั ญัติประกอบรัฐธรรมนญู วาดว ยการเลือกต้งั สมาชกิ สภาผแู ทนราษฎร

โปรดดูในสรุป
มาตรา 92 เขตเลือกต้ังที่ไมมีผูสมัครรับเลือกต้ังรายใดไดรับคะแนนเสียงเลือกตั้ง
มากกวาคะแนนเสียงท่ีไมเลือกผูใดเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรในเขตเลือกตั้งน้ันใหจัดใหมีการ
เลือกต้ังใหมแ ละมิใหน ับคะแนนทผ่ี ูสมัครรับเลอื กต้ังแตละคนไดรับไปใชในการคำนวณตามมาตรา91 ใน
กรณีเชนนี้ ใหคณะกรรมการการเลือกตั้งดำเนินการใหมีการรับสมัครผูสมัครรับเลือกตั้งใหม โดย
ผูสมัครรับเลือกต้ังเดิมทุกรายไมมีสิทธิสมัครรับเลือกต้ังในการเลือกตั้งท่ีจะจัดข้ึนใหมน้ัน

เตรียมสอบ กกต. 2564

เตรียมสอบพนกั งาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง ชุดท่ี 2 42

มาตรา 93 ในการเลือกตั้งทั่วไป ถาตองมีการเลือกตั้งแบบแบงเขตเลือกตั้งใหม
ในบางเขตหรือบางหนวยเลือกต้ังกอนประกาศผลการเลือกตั้ง หรือการเลือกตั้งยังไมแลวเสร็จ หรือ
ยั ง ไม มี ก า ร ป ร ะ ก า ศ ผ ล ก า ร เลื อ ก ตั้ ง ค ร บ ทุ ก เข ต เลื อ ก ต้ั ง ไม ว า ด ว ย เห ตุ ใ ด ก า ร ค ำ น ว ณ จ ำ น ว น
สมาชิกสภาผูแทนราษฎรที่แตละพรรคการเมืองพึงมี และจำนวนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรแบบบัญชี
รายชื่อท่ีแตละพรรคการเมืองพึงไดรับใหเปนไปตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่บัญญัติไวใน
พระราชบัญญตั ิประกอบรฐั ธรรมนญู วาดวยการเลอื กต้งั สมาชิกสภาผแู ทนราษฎร

ในกรณีทีผ่ ลการคำนวณตามวรรคหนึ่งทำใหจำนวนสมาชิกสภาผแู ทนราษฎรแบบบัญชี
รายชื่อของพรรคการเมืองใดลดลง ใหสมาชิกสภาผูแทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองน้ัน
ในลำดับทา ยตามลำดับพนจากตำแหนง

มาตรา 94 ภายในหนึ่งปหลังจากวันเลือกต้ังอันเปนการเลือกต้ังทั่วไปถาตองมีการ
เลือกตง้ั สมาชิกสภาผูแทนราษฎรแบบแบงเขตเลือกตั้งในเขตเลือกตั้งใดข้ึนใหม เพราะเหตทุ ่ีการเลือกต้ัง
ในเขตเลอื กตัง้ นัน้ มิไดเปนไปโดยสุจรติ และเทยี่ งธรรม ใหน ำความในมาตรา 93 มาใชบ งั คบั โดยอนุโลม

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรแทนตำแหนงที่วางไมวาดวยเหตุใด
ภายหลังพนเวลาหน่ึงปนับแตวันเลือกต้ังทั่วไป มิใหมีผลกระทบกับการคำนวณสมาชิกสภาผูแทน
ราษฎรทแี่ ตล ะพรรคการเมอื งจะพึงมีตามมาตรา 91

มาตรา 95 บคุ คลผูมีคุณสมบัติดังตอ ไปนี้ เปนผมู สี ทิ ธเิ ลือกต้งั
(1) มีสัญชาติไทย แตบุคคลผูมีสัญชาติไทยโดยการแปลงสัญชาติ ตองไดสัญชาติไทย
มาแลว ไมน อยกวา หาป
(2) มีอายุไมต ่ำกวา สิบแปดปใ นวันเลือกต้งั
(3) มีชื่ออยูในทะเบียนบานในเขตเลือกตั้งมาแลวเปนเวลาไมนอยกวาเกาสิบวันนับถึง
วันเลือกตงั้
ผูมีสิทธิเลือกต้ังซึ่งอยูนอกเขตเลือกต้ังท่ีตนมีช่ืออยูในทะเบียนบาน หรือมีช่ืออยูใน
ทะเบียนบานในเขตเลือกต้ังเปนเวลานอยกวาเกาสิบวันนับถึงวันเลือกตั้ง หรือมีถ่ินท่ีอยูนอก
ราชอาณาจักร จะขอลงทะเบียนเพื่อออกเสียงลงคะแนนเลือกต้ังนอกเขตเลือกต้ัง ณ สถานท่ี และตาม
วันเวลา วิธีการ และเงื่อนไขที่บัญญัติไวในพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการเลือกตั้ง
สมาชกิ สภาผแู ทนราษฎรก็ได
ผูมีสิทธิเลือกต้ังซึ่งไมไปใชสิทธิเลือกต้ังโดยมิไดแจงเหตุอันสมควรตามพระราชบัญญัติ
ประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎร อาจถูกจำกัดสิทธิบางประการตามท่ี
กฎหมายบัญญัติ
มาตรา 96 บุคคลผูมีลักษณะดังตอไปนี้ในวันเลือกตั้ง เปนบุคคลตองหามมิใหใช
สิทธิเลือกต้ัง
(1) เปนภิกษุ สามเณร นักพรต หรือนกั บวช
(2) อยใู นระหวา งถูกเพกิ ถอนสิทธเิ ลอื กต้งั ไมวา คดนี นั้ จะถึงทส่ี ดุ แลว หรอื ไม

เตรียมสอบ กกต. 2564

เตรยี มสอบพนักงาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลือกต้งั ชดุ ท่ี 2 43

(3) ตองคุมขงั อยโู ดยหมายของศาลหรือโดยคำสัง่ ทีช่ อบดว ยกฎหมาย
(4) วิกลจริตหรอื จิตฟน เฟอ นไมสมประกอบ
มาตรา 97 บุคคลผูมีคุณสมบัติดังตอไปนี้ เปนผูมีสิทธิสมัครรับเลือกต้ังเปน
สมาชกิ สภาผแู ทนราษฎร
(1) มสี ญั ชาตไิ ทยโดยการเกดิ
(2) มอี ายุไมต่ำกวายสี่ ิบหาปน บั ถึงวันเลอื กตง้ั
(3) เปนสมาชิกพรรคการเมืองใดพรรคการเมืองหน่ึงแตเพียงพรรคการเมืองเดียวเปน
เวลาติดตอกันไมนอยกวาเกาสิบวันนับถึงวันเลือกต้ัง เวนแตในกรณีที่มีการเลือกตั้งท่ัวไปเพราะเหตุยุบ
สภา ระยะเวลาเกา สบิ วันดงั กลาวใหล ดลงเหลอื สามสบิ วนั
(4) ผสู มคั รรับเลอื กตั้งแบบแบงเขตเลอื กตัง้ ตองมีลักษณะอยา งใดอยางหนงึ่ ดังตอ ไปน้ีดวย

(ก) มีช่ืออยูในทะเบียนบานในจังหวัดที่สมัครรับเลือกต้ังมาแลวเปนเวลาติดตอกัน
ไมน อยกวา หาปน บั ถงึ วนั สมคั รรับเลอื กต้ัง

(ข) เปน บุคคลซ่ึงเกิดในจังหวัดทส่ี มคั รรับเลอื กตั้ง
(ค) เคยศึกษาในสถานศกึ ษาท่ตี ้ังอยใู นจังหวัดทส่ี มคั รรบั เลอื กตั้งเปน เวลาติดตอ กัน
ไมนอ ยกวาหา ปการศกึ ษา
(ง) เคยรับราชการหรือปฏิบัติหนาท่ีในหนวยงานของรัฐ หรือเคยมีช่ืออยูใน
ทะเบยี นบา นในจงั หวดั ทสี่ มัครรบั เลอื กต้งั แลวแตก รณี เปนเวลาติดตอ กันไมนอยกวาหาป
มาตรา 98 บุคคลผูมีลักษณะดังตอไปนี้ เปนบุคคลตองหามมิใหใชสิทธิสมัครรับ
เลือกตัง้ เปน สมาชิกสภาผแู ทนราษฎร
(1) ตดิ ยาเสพตดิ ใหโ ทษ
(2) เปน บคุ คลลมละลายหรือเคยเปน บุคคลลมละลายทุจรติ
(3) เปนเจา ของหรอื ผถู อื หุนในกิจการหนังสอื พิมพห รอื ส่อื มวลชนใด ๆ
(4) เปนบคุ คลผมู ีลกั ษณะตอ งหามมิใหใชส ิทธิเลอื กตงั้ ตามมาตรา 96 (1) (2) หรอื (4)
(5) อยูระหวางถูกระงับการใชสิทธิสมัครรับเลือกตั้งเปนการช่ัวคราวหรือถูกเพิกถอน
สทิ ธิสมัครรับเลือกต้งั
(6) ตองคำพิพากษาใหจำคกุ และถูกคุมขงั อยโู ดยหมายของศาล
(7) เคยไดรับโทษจำคุกโดยไดพนโทษมายังไมถึงสิบปนับถึงวันเลือกตั้ง เวนแตใน
ความผดิ อันไดก ระทำโดยประมาทหรอื ความผิดลหโุ ทษ
(8) เคยถูกส่ังใหพนจากราชการ หนวยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจเพราะทุจริตตอ
หนา ท่หี รอื ถือวา กระทำการทจุ รติ หรือประพฤตมิ ิชอบในวงราชการ
(9) เคยตองคำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลอันถึงท่ีสุดใหทรัพยสินตกเปนของแผนดิน
เพราะร่ำรวยผิดปกติ หรือเคยตองคำพิพากษาอันถึงที่สุดใหลงโทษจำคุกเพราะกระทำความผิดตาม
กฎหมายวา ดวยการปองกนั และปราบปรามการทุจรติ

เตรยี มสอบ กกต. 2564

เตรียมสอบพนักงาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลอื กต้ัง ชดุ ท่ี 2 44

(10) เคยตองคำพิพากษาอันถึงท่ีสุดวากระทำความผิดตอตำแหนงหนาท่ีราชการหรือ
ตอตำแหนงหนาท่ีในการยุติธรรม หรือกระทำความผิดตามกฎหมายวาดวยความผิดของพนักงานใน
องคการหรือหนวยงานของรัฐ หรือความผิดเกี่ยวกับทรัพยที่กระทำโดยทุจริตตามประมวลกฎหมาย
อาญา ความผดิ ตามกฎหมายวาดวยการกูย ืมเงนิ ท่ีเปนการฉอโกงประชาชน กฎหมายวาดวยยาเสพตดิ ใน
ความผิดฐานเปนผูผลิต นำเขา สงออก หรือผูคา กฎหมายวาดวยการพนันในความผิดฐานเปนเจามือ
หรอื เจาสำนักกฎหมายวาดวยการปองกันและปราบปรามการคามนุษย หรือกฎหมายวาดวยการปองกัน
และปราบปรามการฟอกเงนิ ในความผดิ ฐานฟอกเงนิ

(11) เคยตองคำพพิ ากษาอันถงึ ทส่ี ุดวา กระทำการอันเปน การทจุ รติ ในการเลือกตัง้
(12) เปน ขาราชการซงึ่ มีตำแหนงหรอื เงนิ เดอื นประจำนอกจากขาราชการการเมือง
(13) เปนสมาชกิ สภาทอ งถ่นิ หรือผบู ริหารทองถ่นิ
(14) เปนสมาชกิ วุฒิสภาหรือเคยเปนสมาชิกวฒุ ิสภาและสมาชิกภาพส้ินสุดลงยังไมเกิน
สองป
(15) เปนพนักงานหรือลูกจางของหนวยราชการ หนวยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ
หรือเปนเจา หนาที่อ่นื ของรฐั
(16) เปนตลุ าการศาลรฐั ธรรมนูญ หรอื ผดู ำรงตำแหนงในองคกรอิสระ
(17) อยูในระหวา งตอ งหา มมใิ หด ำรงตำแหนง ทางการเมือง
(18) เคยพนจากตำแหนงเพราะเหตุตามมาตรา 144 หรอื มาตรา 235 วรรคสาม
มาตรา 99 อายุของสภาผแู ทนราษฎรมีกำหนดคราวละส่ีปนบั แตว ันเลอื กตง้ั
ในระหวางอายุของสภาผูแทนราษฎร จะมีการควบรวมพรรคการเมืองที่มีสมาชิกเปน
สมาชกิ สภาผูแทนราษฎรมิได
มาตรา 100 สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผแู ทนราษฎรเรม่ิ ต้ังแตวันเลือกต้งั
มาตรา 101 สมาชกิ ภาพของสมาชกิ สภาผูแทนราษฎรส้ินสุดลง เม่ือ
(1) ถงึ คราวออกตามอายุของสภาผูแทนราษฎร หรือมีการยบุ สภาผแู ทนราษฎร
(2) ตาย
(3) ลาออก
(4) พนจากตำแหนงตามมาตรา 93
(5) ขาดคณุ สมบัติตามมาตรา 97
(6) มลี กั ษณะตอ งหา มตามมาตรา 98
(7) กระทำการอนั เปน การตองหา มตามมาตรา 184 หรือมาตรา 185
(8) ลาออกจากพรรคการเมืองท่ีตนเปนสมาชกิ
(9) พนจากการเปนสมาชิกของพรรคการเมืองที่ตนเปนสมาชิกตามมติของพรรค
การเมืองนั้นดวยคะแนนเสียงไมนอยกวาสามในส่ีของท่ีประชุมรวมของคณะกรรมการบริหารของพรรค
การเมืองและสมาชิกสภาผูแทนราษฎรที่สงั กัดพรรคการเมอื งน้ัน ในกรณเี ชนน้ี ถา สมาชกิ สภาผแู ทนราษฎรผู

เตรียมสอบ กกต. 2564

เตรียมสอบพนกั งาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลอื กตั้ง ชุดที่ 2 45

นั้นมิไดเขาเปนสมาชิกของพรรคการเมืองอื่นภายในสามสิบวันนับแตวันที่พรรคการเมืองมีมติ ใหถือวา
สนิ้ สุดสมาชิกภาพนบั แตว นั ท่พี นสามสิบวนั ดงั กลาว

(10) ขาดจากการเปนสมาชิกของพรรคการเมือง แตในกรณีที่ขาดจากการเปนสมาชิก
ของพรรคการเมืองเพราะมีคำสั่งยุบพรรคการเมืองที่สมาชิกสภาผูแทนราษฎรผูนั้นเปนสมาชิก และ
สมาชิกสภาผูแทนราษฎรผูน้ันไมอ าจเขาเปนสมาชิกของพรรคการเมอื งอื่นไดภายในหกสิบวันนับแตวนั ท่ี
มีคำส่ังยุบพรรคการเมือง ในกรณีเชนน้ี ใหถือวาส้ินสุดสมาชิกภาพนับแตวันถัดจากวันท่ีครบกำหนดหก
สบิ วนั น้นั

(11) พนจากตำแหนงเพราะเหตุตามมาตรา 144 หรอื มาตรา 235 วรรคสาม
(12) ขาดประชุมเกินจำนวนหน่ึงในสี่ของจำนวนวันประชุมในสมัยประชุมที่มี
กำหนดเวลาไมน อยกวา หนงึ่ รอ ยย่ีสิบวนั โดยไมไดรบั อนุญาตจากประธานสภาผแู ทนราษฎร
(13) ตองคำพิพากษาถึงท่ีสุดใหจำคุก แมจะมีการรอการลงโทษ เวนแตเปนการรอการ
ลงโทษในความผิดอันไดก ระทำโดยประมาท ความผดิ ลหุโทษ หรือความผดิ ฐานหม่นิ ประมาท
มาตรา 102 เม่ืออายุของสภาผูแทนราษฎรสิ้นสุดลงพระมหากษัตริยจะไดทรงตรา
พระราชกฤษฎีกาใหม ีการเลอื กต้ังสมาชิกสภาผแู ทนราษฎรใหมเปนการเลือกตัง้ ทั่วไปภายในสส่ี บิ หาวัน
นับแตว ันที่สภาผแู ทนราษฎรสนิ้ อายุ
การเลือกต้ังตามวรรคหนึ่ง ตองเปนวันเดียวกันทั่วราชอาณาจักรตามที่คณะกรรมการ
การเลือกต้งั ประกาศกำหนดในราชกิจจานเุ บกษา
มาตรา 103 พระมหากษัตริยทรงไวซ่ึงพระราชอำนาจท่ีจะยุบสภาผูแทนราษฎร
เพอ่ื ใหม กี ารเลือกตัง้ สมาชิกสภาผแู ทนราษฎรใหมเ ปนการเลอื กตั้งทว่ั ไป
การยุบสภาผูแทนราษฎรใหกระทำโดยพระราชกฤษฎีกา และใหกระทำไดเพียงครั้ง
เดียวในเหตกุ ารณเ ดยี วกัน
ภายในหาวันนับแตวันที่พระราชกฤษฎีกาตามวรรคหน่ึงใชบังคับ ใหคณะกรรมการ
การเลือกตั้งประกาศกำหนดวันเลือกตั้งทั่วไปในราชกิจจานุเบกษาซ่ึงตองไมนอยกวาสี่สิบหาวันแตไม
เกนิ หกสิบวันนับแตวนั ท่ีพระราชกฤษฎีกาดังกลา วใชบังคับ วันเลือกต้งั นั้นตองกำหนดเปนวันเดยี วกันทั่ว
ราชอาณาจักร
มาตรา 104 ในกรณีท่ีมีเหตุจำเปนอันมิอาจหลีกเล่ียงไดเปนเหตุใหไมสามารถ
จัดการเลือกต้ังตามวันที่คณะกรรมการการเลือกต้ังประกาศกำหนดตามมาตรา 102 หรือมาตรา 103
คณะกรรมการการเลือกต้ังจะกำหนดวันเลือกตั้งใหมก็ได แตตองจัดใหมีการเลือกต้ังภายในสามสิบ
วันนับแตวันที่เหตุดังกลาวสิ้นสุดลง แตเพื่อประโยชนในการนับอายุตามมาตรา 95 (2) และมาตรา 97
(2) ใหน บั ถึงวันเลอื กต้ังทก่ี ำหนดไวตามมาตรา 102 หรอื มาตรา 103 แลวแตก รณี
มาตรา 105 เมอื่ ตำแหนงสมาชิกสภาผูแทนราษฎรวางลงเพราะเหตุอนื่ ใด นอกจาก
ถึงคราวออกตามอายุของสภาผูแทนราษฎร หรือเม่ือมกี ารยบุ สภาผูแ ทนราษฎร ใหด ำเนินการ ดงั ตอไปนี้

เตรยี มสอบ กกต. 2564

เตรยี มสอบพนักงาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตงั้ ชดุ ท่ี 2 46

(1) ในกรณีที่เปนตำแหนงสมาชิกสภาผูแทนราษฎรท่ีมาจากการเลือกตั้งแบบแบงเขต
เลือกต้ัง ใหดำเนินการตราพระราชกฤษฎีกาเพื่อจัดใหมีการเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรข้ึนแทน
ตำแหนงที่วาง เวนแตอายุของสภาผูแทนราษฎรจะเหลืออยูไมถึงหนึ่งรอยแปดสิบวัน และใหนำความใน
มาตรา 102 มาใชบังคับโดยอนโุ ลม

(2) ในกรณีที่เปนตำแหนงสมาชิกสภาผูแทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ ใหประธานสภา
ผูแทนราษฎรประกาศใหผูมีชื่ออยูในลำดับถัดไปในบัญชีรายช่ือของพรรคการเมืองน้ันเล่ือนข้ึนมาเปน
สมาชิกสภาผูแทนราษฎรแทนตำแหนงท่ีวาง โดยตองประกาศในราชกิจจานุเบกษาภายในเจ็ดวันนับแต
วันที่ตำแหนงนั้นวางลง หากไมมีรายชื่อเหลืออยูในบัญชีที่จะเลื่อนขึ้นมาแทนตำแหนงที่วาง ให
สมาชิกสภาผูแทนราษฎรแบบบัญชีรายชอื่ ประกอบดวยสมาชิกเทาทม่ี ีอยู

สมาชกิ ภาพของสมาชิกสภาผแู ทนราษฎรผูเขามาแทนตาม (1) ใหเริ่มนบั แตวันเลือกต้ัง
แทนตำแหนงท่ีวาง สวนสมาชิกภาพของสมาชิกสภาผูแทนราษฎรผูเขามาแทนตาม (2) ใหเริ่มนับแตวัน
ถัดจากวันประกาศช่ือในราชกิจจานุเบกษา และใหสมาชิกสภาผูแทนราษฎรผูเขามาแทนตำแหนงท่ีวาง
นนั้ อยูในตำแหนง ไดเพียงเทา อายขุ องสภาผูแ ทนราษฎรที่เหลอื อยู

การคำนวณสัดสวนคะแนนของพรรคการเมืองสำหรับสมาชิกสภาผูแทนราษฎรแบบ
บญั ชรี ายช่อื เมอื่ มีการเลอื กตงั้ แทนตำแหนงทีว่ า ง ใหเ ปน ไปตามมาตรา 94

มาตรา 106 ภายหลังท่ีคณะรัฐมนตรีเขาบริหารราชการแผนดินแลว พระมหากษัตริย
จะทรงแตงต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรผูเปนหัวหนาพรรคการเมืองในสภาผูแทนราษฎรท่ีมีจำนวน
สมาชิกมากท่ีสุด และสมาชิกมิไดดำรงตำแหนงรัฐมนตรี ประธานสภาผูแทนราษฎร หรือรอง
ประธานสภาผูแ ทนราษฎรเปน ผนู ำฝายคา นในสภาผูแทนราษฎร

ในกรณที ีพ่ รรคการเมืองตามวรรคหนึง่ มสี มาชิกเทากัน ใหใชว ิธีจบั สลาก
ใหประธานสภาผูแทนราษฎรเปนผูลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแตงต้ังผูนำ
ฝา ยคานในสภาผแู ทนราษฎร

สวนที่ 3
วุฒสิ ภา
มาตรา 107 วุฒิสภาประกอบดวยสมาชิกจำนวนสองรอยคนซึ่งมาจากการเลือก
กันเองของบุคคลซ่ึงมีความรู ความเชี่ยวชาญ ประสบการณ อาชีพ ลักษณะ หรือประโยชนรวมกัน หรือ
ทำงานหรอื เคยทำงานดานตาง ๆ ทห่ี ลากหลายของสังคม โดยในการแบงกลมุ ตองแบง ในลกั ษณะท่ที ำให
ประชาชนซึ่งมสี ิทธิสมัครรบั เลอื กทกุ คนสามารถอยูใ นกลมุ ใดกลุม หน่ึงได
การแบงกลุม จำนวนกลุม และคุณสมบัติของบุคคลในแตละกลุม การสมัครและรับ
สมัคร หลักเกณฑและวิธีการเลือกกันเอง การไดรับเลือก จำนวนสมาชิกวุฒิสภาท่ีจะพึงมีจากแตละกลุม
การข้ึนบัญชีสำรอง การเลื่อนบุคคลจากบัญชีสำรองขึ้นดำรงตำแหนงแทน และมาตรการอื่นใดที่จำเปน
เพ่ือใหการเลือกกันเองเปนไปโดยสุจริตและเที่ยงธรรม ใหเปนไปตามพระราชบัญญัติประกอบ

เตรยี มสอบ กกต. 2564

เตรยี มสอบพนกั งาน สำนกั งานคณะกรรมการการเลือกตั้ง ชดุ ที่ 2 47

รัฐธรรมนูญวาดวยการไดมาซ่ึงสมาชิกวุฒิสภา และเพ่ือประโยชนในการดำเนินการใหการเลือกดังกลาว
เปนไปโดยสุจริตและเที่ยงธรรม จะกำหนดมิใหผูสมัครในแตละกลุมเลือกบุคคลในกลุมเดียวกัน หรือจะ
กำหนดใหม ีการคัดกรองผูสมคั รรับเลอื กดว ยวธิ ีการอน่ื ใดที่ผูสมัครรับเลือกมีสวนรวมในการคัดกรองก็ได

การดำเนินการตามวรรคสอง ใหดำเนินการตั้งแตระดับอำเภอ ระดับจังหวัด
และระดับประเทศเพื่อใหสมาชกิ วุฒิสภาเปนผูแ ทนปวงชนชาวไทยในระดับประเทศ

ในกรณีท่ีตำแหนงสมาชิกวุฒิสภามีจำนวนไมครบตามวรรคหนึ่ง ไมวาเพราะเหตุ
ตำแหนงวางลงหรือดวยเหตุอ่ืนใดอันมิใชเพราะเหตุถึงคราวออกตามอายุของวุฒิสภา และไมมีรายช่ือ
บุคคลที่สำรองไวเหลืออยู ใหวุฒิสภาประกอบดวยสมาชิกวุฒิสภาเทาท่ีมีอยู แตในกรณีที่มีสมาชิก
วฒุ ิสภาเหลืออยูไมถึงกึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกวุฒิสภาท้ังหมดและอายุของวุฒิสภาเหลืออยูเกินหนึ่งป ให
ดำเนนิ การเลือกสมาชกิ วุฒสิ ภาขึน้ แทนภายในหกสิบวันนบั แตวนั ท่วี ุฒสิ ภามสี มาชกิ เหลอื อยูไมถ ึงกึ่งหนึ่ง
ในกรณเี ชน วานี้ ใหผ ูไดรบั เลอื กดงั กลา วอยูใ นตำแหนงไดเ พียงเทา อายขุ องวุฒิสภาท่ีเหลอื อยู

การเลือกสมาชิกวุฒิสภาใหตราเปนพระราชกฤษฎีกา และภายในหาวันนับแตวันท่ี
พระราชกฤษฎีกามีผลใชบังคับ ใหคณะกรรมการการเลือกต้ังกำหนดวันเร่ิมดำเนินการเพื่อเลือกไมชา
กวาสามสิบวันนับแตวันท่ีพระราชกฤษฎีกาดังกลาวมีผลใชบังคับ การกำหนดดังกลาวใหประกาศในราช
กจิ จานเุ บกษา และใหน ำความในมาตรา 104 มาใชบังคบั โดยอนุโลม

มาตรา 108 สมาชกิ วุฒิสภาตอ งมคี ุณสมบัติและไมมีลักษณะตองหา ม ดงั ตอ ไปนี้
ก. คุณสมบตั ิ

(1) มีสัญชาตไิ ทยโดยการเกดิ
(2) มอี ายุไมต ำ่ กวา สสี่ บิ ปใ นวันสมัครรับเลอื ก
(3) มีความรู ความเช่ียวชาญ และประสบการณ หรือทำงานในดานทีส่ มัครไมน อ ยกวา
สิบปหรือเปนผูมีลักษณะตามหลักเกณฑและเงื่อนไขท่ีบัญญัติไวในพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ
วาดว ยการไดมาซึ่งสมาชกิ วุฒสิ ภา
(4) เกิด มีช่ืออยูในทะเบียนบาน ทำงาน หรือมีความเก่ียวพันกับพื้นท่ีที่สมัครตาม
หลักเกณฑและเง่ือนไขท่ีบัญญัติไวในพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการไดมาซึ่งสมาชิก
วุฒสิ ภา
ข. ลกั ษณะตอ งหาม
(1) เปนบุคคลตองหามมิใหใชสิทธิสมัครรับเลือกตั้งตามมาตรา 98 (1) (2) (3) (4)
(5) (6) (7) (8) (9) (10) (11) (15) (16) (17) หรอื (18)
(2) เปน ขา ราชการ
(3) เปนหรือเคยเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎร เวนแตไดพนจากการเปน
สมาชกิ สภาผแู ทนราษฎรมาแลวไมนอ ยกวา หาปนับถึงวนั สมัครรับเลือก
(4) เปน สมาชกิ พรรคการเมอื ง

เตรียมสอบ กกต. 2564


Click to View FlipBook Version