The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การบรรยาย ก.ศป. รุ่นที่ 12 Power Point บรรยาย 3 7 65

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pachairat, 2022-07-04 00:35:43

คดีสิ่งแวดล้อมที่สำคัญ ก.ศป. 12 Sun 3 7 65 PPT

การบรรยาย ก.ศป. รุ่นที่ 12 Power Point บรรยาย 3 7 65

กรณศี ึกษา

คดสี ถานทกี่ าจดั ขยะมูลฝอยและส่ิงปฏิกลู

( การดาเนินกจิ กรรมทางปกครองทมี่ ลี กั ษณะเป็ นการกระทาทางกายภาพ )



ตวั เมืองสระบุรี
สถานท่ฝี ังกลบขยะ



















กรณีศึกษา

คดีปกครองเก่ียวกบั
ส่ิงแวดล้อม การผงั เมือง อาคาร

และเหตเุ ดือดร้อนราคาญ

“คดีปกครองเกี่ยวกบั การตงั้ ถ่ินฐานมนุษย”์
(HUMAN SETTLEMENT)

การศึกษาและสงั เคราะหต์ ้องเป็นไปในลกั ษณะ
ความเป็ นสหวิทยาการ

(Interdisciplinary)

การวนิ ิจฉัยคดปี กครอง
เกยี่ วกบั สิ่งแวดล้อม การผงั เมือง อาคาร และเหตุเดือดร้อนราคาญ

ข้ันตอนการสรุป ข้ันตอนการวเิ คราะห์ ข้นั ตอนการสังเคราะห์ ข้นั ตอนการวนิ ิจฉัยคดี การพพิ ากษาคดี
ข้อกฎหมายและข้อเทจ็ จริง Analysis
Synthesis Synopsis
บทบัญญัติของกฎหมาย เจตนารมณ์และวตั ถุประสงค์
ทเี่ กยี่ วข้อง ของกฎหมายทเ่ี กยี่ วข้อง นาผล ( Syllabus )
การพเิ คราะห์มา
ข้อเทจ็ จริงเกย่ี วกบั ความชอบด้วยกฎหมาย ประมวลด้วยกนั สรุปคาวนิ ิจฉัย คาพพิ ากษา
การใช้อานาจรัฐ เพ่ือให้เห็นภาพรวม ด้วยเหตุผลทม่ี ี และ
ทเ่ี กดิ ในปัจจุบัน
ข้อเทจ็ จริงตาม คากล่าวอ้างของคู่กรณี ความ คาบงั คบั
คากล่าวอ้างของคู่กรณี รับฟังได้เพยี งใด และกาหนด สมเหตุสมผล รวมท้งั
สภาพท่ีเหมาะสม เพ่ือแสดงให้เห็น ข้อสังเกต
ข้อเทจ็ จริงเกยี่ วกบั มสี ภาพทเ่ี กย่ี วข้องหรือมผี ลกระทบ ว่าการพพิ ากษา และ
สภาพทางด้านกายภาพ อย่างไรกบั เนื้อหาของคดี ทจี่ ะเกดิ ขนึ้ แนวทางหรือ
ต่อบุคคลและสังคม ก่อให้เกดิ วธิ ีการ
เศรษฐกจิ สังคม ความยุตธิ รรม ดาเนินการ
การบริหารราชการ ฯลฯ ภายหลงั ให้เป็ นไป
การพพิ ากษาคดี และ ตาม
ตามเจตนารมณ์ ความสงบสุข คาพพิ ากษา
ของกฎหมาย
ในสังคม
อย่างไร

ภานุพนั ธ์ ชัยรัต ๕ กรกฎาคม ๒๕๔๗

อานาจศาลปกครอง

อานาจในฐานะองคก์ รใช้อานาจอธิปไตยของรฐั
ตามบทบญั ญตั ิของรฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย

(รฐั สภา คณะรฐั มนตรี ศาล)

อานาจในฐานะศาลซ่ึงเป็นองคก์ รตลุ าการของรฐั
มาตรา ๑๙๗ ของรฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๐
(การนิติบญั ญตั ิ การบริหารราชการแผน่ ดิน การพิจารณาพิพากษาคดี)

อานาจในฐานะศาลเพ่ือพิจารณาพิพากษาคดีปกครอง
ตามบทบญั ญตั ิของรฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย
พระราชบญั ญตั ิว่าด้วยการวินิจฉัยชี้ขาดอานาจหน้าท่ีระหว่างศาล พ.ศ. ๒๕๔๒

(ศาลยตุ ิธรรม ศาลปกครอง ศาลทหาร)

อานาจในฐานะศาลปกครองเพื่อพิจารณาพิพากษาตามเนื้อหาคดีปกครอง
ตามบทบญั ญตั ิแห่งพระราชบญั ญตั ิจดั ตงั้ ศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒

(กฎ คาสงั่ และ การกระทาอ่ืนใด)
(มาตรา ๙ (๖) คดีพิพาทเกี่ยวกบั เร่ืองที่มีกฎหมายกาหนดให้อย่ใู นเขตอานาจศาลปกครอง)

ประเดน็
ศาลปกครองของไทย

ในฐานะ
องค์กรใช้อานาจอธิปไตยของรัฐ

67

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย

อานาจอธิปไตย & การแบ่งแยกอานาจ

ประเทศไทยภายหลงั เปลย่ี นแปลงการปกครองปี พ.ศ. ๒๔๗๕ ใช้การปกครอง
ตามแนวความคิดรัฐธรรมนูญนิยม มีรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยเป็ นกฎหมาย
สูงสุด กาหนดหลักการสาคัญของระบอบการปกครองประเทศ ประมุขของรัฐ
แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ โครงสร้ างอานาจขององค์กรที่ใช้ อานาจอธิปไตย
การรับรองสิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย และหน้าทข่ี อง ชนชาวไทย เป็ นต้น

รัฐธรรมนูญถาวรฉบับแรก คือ รัฐธรรมนูญแห่ งราชอาณาจักรสยาม

พุทธศักราช ๒๔๗๕ บัญญัติไว้ดังนี้ มาตรา ๒ อานาจอธิปไตย ย่อมมาจากปวงชน

ชาวสยาม พระมหากษัตริย์ผู้เป็ นประมุขทรงใช้ อานาจนั้นแต่โดยบทบัญญัติแห่ง

รัฐธรรมนูญนี้ มาตรา ๖ พระมหากษัตริย์ทรงใช้ อานาจนิติบัญญัติ โดยคาแนะนาและ

ยินยอมของสภาผู้แทนราษฎร มาตรา ๗ พระมหากษัตริย์ทรงใช้ อานาจบริหาร

ทางคณะรัฐมนตรี มาตรา ๘ พระมหากษตั ริย์ทรงใช้ อานาจตุลาการ ทางศาลที่ได้ต้ังขึ้น

ตามกฎหมาย 68

แนวความคดิ

อานาจอธิปไตย & การแบ่งแยกอานาจ

ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๔๙๒ บัญญัติไว้ดังนี้

มาตรา ๓ อานาจอธิปไตย มาจากปวงชนชาวไทย พระมหากษัตริย์ผู้เป็ นประมุขทรงใช้

อานาจน้ันแต่โดยบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้ มาตรา ๘ พระมหากษตั ริย์ทรงใช้อานาจ

นิติบัญญัติ ทางรัฐสภา มาตรา ๙ พระมหากษัตริย์ทรงใช้ อานาจบริหาร ทาง

คณะรัฐมนตรี มาตรา ๑๐ พระมหากษตั ริย์ทรงใช้ อานาจตุลาการ ทางศาล

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๑๗ บัญญัติไว้ดังนี้

มาตรา ๓ อานาจอธิปไตย เป็ นของปวงชนชาวไทย พระมหากษัตริย์ผู้เป็ นประมุขทรงใช้

อานาจน้ันแต่โดยบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้ มาตรา ๑๐ พระมหากษัตริย์ทรงใช้

อานาจนิติบัญญัติ ทางรัฐสภา มาตรา ๑๑ พระมหากษัตริย์ทรงใช้ อานาจบริหาร ทาง

คณะรัฐมนตรี มาตรา ๑๒ พระมหากษตั ริย์ทรงใช้ อานาจตุลาการ ทางศาล 69

อานาจอธิปไตย & การแบ่งแยกอานาจ

ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๒๑ บัญญัติไว้ดังนี้
มาตรา ๓ อานาจอธิปไตย มาจากปวงชนชาวไทย พระมหากษตั ริย์ผู้เป็ นประมุขทรงใช้
อานาจน้ันทางรัฐสภา คณะรัฐมนตรี และศาล ตามบทบญั ญตั แิ ห่งรัฐธรรมนูญนี้

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ บัญญัติไว้ดังนี้
มาตรา ๓ อานาจอธิปไตย เป็ นของปวงชนชาวไทย พระมหากษตั ริย์ผ้เู ป็ นประมุขทรงใช้
อานาจน้ันทางรัฐสภา คณะรัฐมนตรี และศาล ตามบทบัญญตั แิ ห่งรัฐธรรมนูญนี้

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ บัญญัติไว้ดังนี้
มาตรา ๓ วรรคหนึ่ง อานาจอธิปไตย เป็ นของปวงชนชาวไทย พระมหากษัตริย์ผู้ทรง
เป็ นประมุขทรงใช้อานาจนั้นทางรัฐสภา คณะรัฐมนตรี และศาล ตามบทบัญญัติแห่ง

รัฐธรรมนูญนี้ วรรคสอง การปฏิบัติหน้าท่ีของรัฐสภา คณะรัฐมนตรี ศาล รวมท้ัง

องค์กรตามรัฐธรรมนูญและหน่วยงานของรัฐต้องเป็ นไปตาม หลกั นิตธิ รรม

70

อานาจอธิปไตย & การแบ่งแยกอานาจ

ในช่วงระยะเวลา ๕๐ ปี ภายหลงั ประเทศไทยเปล่ยี นแปลงการปกครองในปี พ.ศ.

๒๔๗๕ การใช้อานาจอธปิ ไตยของรฐั เป็นไปตามแนวความคดิ หลกั การแบ่งแยกอานาจ โดย

บทบญั ญตั ขิ องรฐั ธรรมนูญไดก้ าหนดใหม้ กี ารแบ่งแยกอานาจอธปิ ไตยออกเป็นสามอานาจ ไดแ้ ก่

อานาจนิตบิ ญั ญตั ิ อานาจบรหิ าร และอานาจตุลาการ และกาหนดใหพ้ ระมหากษตั รยิ ท์ รงใชอ้ านาจ

แต่ละอานาจผ่านองคก์ รทก่ี าหนดไวโ้ ดยเฉพาะ คอื อานาจนิตบิ ญั ญตั ทิ างรฐั สภา อานาจบรหิ าร

ทางคณะรฐั มนตรี และอานาจตุลาการทางศาล ตามแนวความคิดท่กี ล่าวมาเป็นการแบ่งแยก

อานาจอธปิ ไตยออกเป็นสามอานาจ และกาหนดใหอ้ งคก์ รแต่ละองคก์ รใชอ้ านาจแต่ละอานาจแยก

จากกนั โดยเดด็ ขาด จงึ กล่าววา่ “ศาลเป็นองคก์ รใช้อานาจตลุ าการ”

แต่ภายหลงั การประกาศใชร้ ฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช ๒๕๒๑ และ

รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทยฉบบั ต่อๆมาจนถงึ ฉบบั ปัจจุบนั การใชอ้ านาจอธปิ ไตยของรฐั

ไม่ได้เป็ นไปตามแนวความคิดตามหลักการแบ่งแยกอานาจ เช่นเดียวกับบทบัญญัติของ

รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทยในระยะแรก จงึ ไม่ไดม้ บี ทบญั ญตั ใิ หแ้ บ่งแยกอานาจอธปิ ไตย

เป็นสามอานาจ แต่บญั ญตั ใิ ห้พระมหากษตั รยิ ์ทรงใช้อานาจอธปิ ไตยซ่งึ เป็นอานาจสูงสุดของรฐั

ทม่ี เี พยี งหน่ึงเดยี วผ่านองคก์ รหลกั ของรฐั สามองคก์ ร คอื รฐั สภา คณะรฐั มนตรี และศาล ดงั นนั้

ในปัจจบุ นั จงึ กล่าววา่ “ศาลเป็นองคก์ รใช้อานาจอธิปไตยของรฐั ” 71

อานาจอธิปไตย & การแบ่งแยกอานาจ

หลกั การแบง่ แยกอานาจกบั สภาพความเป็นจริงของประเทศไทย

ท่ีมา : พิเชษฐ เมาลานนท์ นิลุบล ชยั อิทธิพรวงศ์ และ พรทิพย์ อภิสิทธิวาสนา (ทีมวจิ ยั ปัญหาตุลาการศาสตร์) ศาลปกครองของไทย
ยอ่ มพฒั นากา้ วไกล เม่ือใชว้ ธิ ีประเมินตนเอง วารสารขา่ วกฎหมายใหม่ ปี ที่ ๖ ฉบบั ที่ ๑๐๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๑ หนา้ ๒๘

72

อานาจศาลปกครอง

อานาจในฐานะองคก์ รใช้อานาจอธิปไตยของรฐั
ตามบทบญั ญตั ิของรฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย

(รฐั สภา คณะรฐั มนตรี ศาล)

อานาจในฐานะศาลซ่ึงเป็นองคก์ รตลุ าการของรฐั
มาตรา ๑๙๗ ของรฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๐
(การนิติบญั ญตั ิ การบริหารราชการแผน่ ดิน การพิจารณาพิพากษาคดี)

อานาจในฐานะศาลเพ่ือพิจารณาพิพากษาคดีปกครอง
ตามบทบญั ญตั ิของรฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย
พระราชบญั ญตั ิว่าด้วยการวินิจฉัยชี้ขาดอานาจหน้าท่ีระหว่างศาล พ.ศ. ๒๕๔๒

(ศาลยตุ ิธรรม ศาลปกครอง ศาลทหาร)

อานาจในฐานะศาลปกครองเพื่อพิจารณาพิพากษาตามเนื้อหาคดีปกครอง
ตามบทบญั ญตั ิแห่งพระราชบญั ญตั ิจดั ตงั้ ศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒

(กฎ คาสงั่ และ การกระทาอ่ืนใด)
(มาตรา ๙ (๖) คดีพิพาทเกี่ยวกบั เร่ืองที่มีกฎหมายกาหนดให้อย่ใู นเขตอานาจศาลปกครอง)

อานาจศาลปกครอง

อานาจในฐานะศาลซ่ึงเป็นองคก์ รตลุ าการของรฐั

การนิติบญั ญตั ิ
การบริหารราชการแผน่ ดิน
การพิจารณาพิพากษาคดี

อานาจของศาลปกครอง

ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศักราช ๒๕๕๐

มาตรา ๒๒๓ ศาลปกครองมีอานาจพิจารณาพิพากษาคดีพิพาทระหว่างหน่วยงานราชการ หน่วยงาน
ของรฐั รฐั วิสาหกิจ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือองค์กรตามรฐั ธรรมนูญ หรือเจ้าหน้าที่ของรฐั กบั เอกชน
หรือ ระหว่างหน่วยงานราชการ หน่วยงานของรฐั รฐั วิสาหกิจ องค์กรรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือองค์กรตาม

รฐั ธรรมนูญ หรือเจ้าหน้าที่ท่ีของรฐั ด้วยกนั อนั เนื่องมาจากการใช้อานาจทางปกครองตามกฎหมาย หรือ
เน่ืองมาจากการดาเนินกิจการทางปกครอง ของหน่วยราชการ หน่วยงานของรฐั รฐั วิสาหกิจ องคก์ รปกครองส่วน
ท้องถ่ิน หรือองคก์ รตามรฐั ธรรมนูญ หรือเจ้าหน้าท่ีของรฐั ทงั้ นี้ ตามท่ีกฎหมายบญั ญตั ิ รวมทงั้ มีอานาจพิจารณา
พิพากษาเรื่องที่รฐั ธรรมนูญหรือกฎหมายบญั ญตั ิให้อย่ใู นอานาจของศาลปกครอง

อานาจศาลปกครองตามวรรคหน่ึง ไม่รวมถึงการวินิจฉัยชี้ขาดขององคก์ รอิสระซึ่งเป็นการใช้อานาจ
โดยตรงตามรฐั ธรรมนูญขององคก์ รอิสระนัน้

ให้มีศาลปกครองสงู สดุ และศาลปกครองชนั้ ต้น และจะมศี าลปกครองชนั้ อทุ ธรณ์ด้วยกไ็ ด้

รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐

มาตรา ๑๙๗ ศาลปกครองมีอานาจพิจารณาพิพากษาคดี อนั เนื่องมาจากการใช้อานาจทางปกครอง
ตามกฎหมาย หรือเน่ืองมาจากการดาเนินกิจการทางปกครอง ทงั้ นี้ ตามที่กฎหมายบญั ญตั ิ

ให้มีศาลปกครองสงู สดุ และศาลปกครองชนั้ ต้น
อานาจศาลปกครองตามวรรคหนึ่ง ไม่รวมถึงการวินิ จฉัยชี้ขาดขององคก์ รอิสระซ่ึงเป็ นการใช้อานาจ
โดยตรงตามรฐั ธรรมนูญขององคก์ รอิสระนัน้ ๆ
การจดั ตงั้ วิธีพิจารณาคดี และการดาเนินงานของศาลปกครองให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการนัน้

กรณีศึกษา : การกระทาทางรฐั บาล

บทความ โดย ศาสตราจารย์ ดร. อมร จนั ทรสมบรู ณ์

คาสงั่ ศาลปกครองกลาง คดีหมายเลขดา ท่ี ๙๘๔/๒๕๕๑ ถกู ต้องหรอื ไม่ ?
การกาหนดมาตรการค้มุ ครองชวั่ คราว

กรณีฟ้องขอเพิกถอนคาแถลงการณ์รว่ มไทย – กมั พชู า ขนึ้ ทะเบียน “ปราสาทพระวิหาร”

ศ. ดร. อมร จนั ทรสมบรู ณ์ กล่าวว่า นักกฎหมายท่ีมีชื่อเสียงและเป็นท่ีร้จู กั กนั ดี ทงั้ สิ้น คือ

(๑) ) ความเห็นของคณาจารย์คณะนิ ติศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ จานวน ๕ ท่าน เร่ือง “นิ ติ มธ.
มองต่างมุม ขอบเขตอานาจศาลปกครองกลาง” (รศ.ดร. วรเจตน์ ภาคีรตั น์ ; รศ.ประสิทธ์ิ ปิ วาวฒั นพานิ ช ;
ดร. ฐาปนันท์ นิ พิฏฐกุล ; อ. ธีระ สุธีวรางกูร ; และ อ.ปิ ยบุตร แสงกนกกุล จาก นสพ. ไทยโพสต์ วนั พุธท่ี 2
กรกฎาคม 2551) ;

(๒) ความเห็น ของ ศ. ดร. บวรศกั ด์ิ อุวรรณโณ ราชบณั ฑิต , ศาสตราภิชาน คณะนิ ติศาสตรจุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลยั , และเลขาธิการสถาบนั พระปกเกล้า เรื่อง “บทวิเคราะห์ทางวิชานิ ติศาสตร์ ต่อคาสงั่ ศาลปกครอง
กลางกาหนดวิธีการคุ้มครองเพ่ือบรรเทาทุกขช์ วั่ คราว ฯ ในคดีแถลงการณ์ร่วมไทย- กมั พูชา” ( จากนสพ.มติชน
รายวนั วนั ศกุ รท์ ่ี 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2551) และ

(๓) ความเหน็ ของ ศ. ดร. นันทวฒั น์ บรมานันท์ บรรณาธิการเวบ็ www.pub-law.net เรื่อง “การกระทาทาง
รฐั บาล” (จาก www.pub-law.net บทบรรณาธิการ ครงั้ ที่ 190 - สาหรบั วนั จนั ทร์ ที่ 7 กรกฎาคมถึงวนั อาทิตยท์ ่ี 20
กรกฎาคม 2551)

เมื่อผู้เขียน (ศ. ดร. อมร จนั ทรสมบูรณ์) ได้อ่านคาสัง่ ของศาลปกครองกลาง ในคดี
หมายเลขดาท่ี ๙๘๔/๒๕๕๑ ดงั กล่าว ผ้เู ขียนออกจะประหลาดใจตนเอง ที่ตนเองมีความเหน็ ไม่ตรงกบั
ท่านอาจารย์ ทงั้ ๓ ท่าน (หน่ึงคณะกบั อีกสองท่าน)

กรณีศึกษา

อานาจศาลปกครอง

การกระทาทางรฐั บาล
และ

การกระทาทางปกครอง

คดีแผนแม่บทการบริหารจดั การทรพั ยากรน้า ๓.๕ แสนล้านบาท
คาแถลงการณ์ ศาลปกครองสงู สดุ

คดีหมายเลขดาท่ี อ. ๑๑๐๓/๒๕๕๖ (อทุ ธรณ์คาพิพากษา)

แผนแม่บทการบริหารจดั การทรพั ยากรน้า ๓.๕ แสนลา้ นบาท
ครอบคลมุ พนื้ ที่ประเทศไทย ประมาณร้อยละ ๓๐ ของ
พนื้ ท่ีประเทศไทยทงั้ หมด

คดีนี้ ผฟู้ ้องคดีทงั้ สี่สิบห้าคนยื่นฟ้อง ผ้ถู กู ฟ้องคดี นายกรฐั มนตรี ที่ ๑ คณะกรรมการ
ยุทธศาสตรเ์ พ่ือวางระบบการบริหารจดั การทรพั ยากรน้า ที่ ๒ คณะกรรมการนโยบายน้าและ
อทุ กภยั แห่งชาติ ท่ี ๓ คณะกรรมการบริหารจดั การน้าและอทุ กภยั ท่ี ๔

ขอให้ศาลปกครองมีคาพิพากษาหรือมีคาสงั่ (๑) เพิกถอนแผนแม่บทการบริหาร

จดั การทรพั ยากรน้าของผ้ถู กู ฟ้ องคดีที่ ๑ และ ท่ี ๒ (๒) ให้ผ้ถู กู ฟ้ องคดี ทงั้ ส่ีร่วมกนั จดั ให้มี
กระบวนการรบั ฟังความคิดเห็นของประชาชนและผ้มู ีส่วนได้เสียทวั่ ประเทศอย่างทวั่ ถึงก่อน
ดาเนิ นการโดยการจดั ทาประชามติตามมาตรา ๑๖๕ ของรฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย
พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๐ ตามพระราชบญั ญตั ิประกอบรฐั ธรรมนูญ ว่าด้วยการออกเสียงประชามติ
พ.ศ. ๒๕๕๒ โดยงบประมาณของผู้ถูกฟ้ องคดี และ (๓) ให้ผู้ถูกฟ้ องคดีทัง้ สี่ปฏิ บตั ิ หรือ
ดาเนินการตามมาตรา ๕๗ มาตรา ๕๘ มาตรา ๖๗ มาตรา ๘๕ มาตรา ๘๗ ของรฐั ธรรมนูญแห่ง

ราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช ๒๕๕๐ มาตรา ๓๗ มาตรา ๓๘ มาตรา ๖๐ มาตรา ๖๓ ของ
พระราชบญั ญตั ิส่งเสริมและรกั ษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ และมาตรา ๕
มาตรา ๑๑ ของพระราชบญั ญตั ิสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๐ ให้ครบถ้วนเสียก่อนการดาเนิ น
โครงการเกี่ยวกบั แผนงานต่างๆ ที่เก่ียวกบั การบริหารจดั การน้าและอทุ กภยั

วเิ คราะห์วธิ ีคดิ ของตุลาการ
How Judges Think

ศาลปกครองกลางมีคาพิพากษา ให้ผ้ถู กู ฟ้องคดีทงั้ ส่ีปฏิบตั ิหน้าที่ตามที่
มาตรา ๕๗ วรรคสอง และมาตรา ๖๗ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญแห่ง
ราชอาณาจกั รไทยกาหนดให้ต้องปฏิบตั ิ ด้วยการนาแผนแม่บทการบริหารจดั การ
ทรพั ยากรน้าไปดาเนิ นการจดั ให้มีกระบวนการรบั ฟังความคิดเหน็ ของประชาชน
อย่างทัว่ ถึง ตามเจตนารมณ์ของส่วนที่ ๑๐ สิทธิ ในข้อมูลข่าวสารและการ
ร้องเรียน และดาเนิ นการอย่างหน่ึ งอย่างใด ให้มีการศึกษาและจัดให้มี
กระบวนการรบั ฟังความคิดเหน็ ของประชาชนและผมู้ ีส่วนได้เสีย ตามเจตนารมณ์
ส่วนที่ ๑๒ สิทธิชุมชน ซ่ึงอยู่ในหมวด ๓ สิทธิเสรีภาพของปวงชนชาวไทยของ
รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย ทงั้ นี้ ก่อนที่จะดาเนิ นการจ้างออกแบบและ
ก่อสร้างในแต่ละแผนงาน(Module) คาขออ่ืนนอกจากนี้ให้ยก

ผฟู้ ้องคดีทงั้ สี่สิบห้าและผถู้ กู ฟ้องคดีทงั้ ส่ียื่นอทุ ธรณ์คาพิพากษาต่อศาลปกครองสงู สดุ

ตุลาการผูแ้ ถลงคดี ในศาลปกครองสูงสุด วินิจฉัยว่า คดีน้ีมีมูลเหตุแห่งการฟ้องคดีปกครอง
ท่ีเก่ียวข้องกับนโยบายการแก้ปัญหาและการพฒั นาระดับประเทศ ซ่ึงมีการเปล่ียนแปลงสภาพทาง
ดา้ นกายภาพครอบคลุมพ้ืนที่อยา่ งกวา้ งขวางกว่าคร่ึงหน่ึงของพ้ืนที่ประเทศไทย และมีการใชอ้ านาจของ
องค์กรใช้อานาจอธิปไตยของรัฐตามโครงสร้างของรัฐธรรมนูญ เพ่ือดาเนินการเกี่ยวกับนโยบาย
ระดบั ประเทศดงั กล่าว รวมท้งั มีการใชอ้ านาจทางปกครองตามกฎหมายและการดาเนินกิจการทางปกครอง
ขององคก์ รเป็ นจานวนมาก เพ่ือดาเนินการให้บรรลุตามนโยบายแกป้ ัญหาและการพฒั นาระดบั ประเทศ

เห็นว่า คาพิพากษาและคาสั่งของศาลปกครองสูงสุดในคดีน้ี จะเป็ นการวางหลกั กฎหมาย
เพือ่ แยกการใชอ้ านาจทางปกครองตามกฎหมายหรือการดาเนินกิจการทางปกครองซ่ึงอยใู่ นอานาจพิจารณา
พิพากษาของศาลปกครอง ออกจากการบริหารราชแผ่นดินท่ีเป็ นนโยบายบริหารประเทศหรือนโยบาย
ทว่ั ไปของคณะรัฐมนตรีหรือการกระทาของรัฐบาล ซ่ึงเป็นอานาจแก่นแทข้ องฝ่ ายบริหารท่ีตอ้ งรับผดิ ชอบ
ต่อรัฐสภา การบริหารราชการแผ่นดิน ด้วยความชอบตามรัฐธรรมนูญที่อยู่ภายใตก้ ารตรวจสอบและ

ควบคุมการใช้อานาจของศาลรัฐธรรมนูญ ซ่ึงจะทาให้การใช้สิทธิทางศาลในกระบวนการยุติธรรม
ทางปกครองเพื่อคุม้ ครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชนและประโยชน์ส่วนรวมไดร้ ับการคุม้ ครองตรง
ตามเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญ โดยไม่เป็ นอุปสรรคต่อการบริหารราชการแผ่นดินตามนโยบายบริหาร
ประเทศหรือนโยบายทวั่ ไปของคณะรัฐมนตรีหรือการกระทาของรัฐบาลที่เป็ นอานาจ แก่นแทข้ องฝ่ าย
บริหาร เพ่ือแกไ้ ขปัญหาสาคญั ของประเทศหรือการดาเนินนโยบายพฒั นาประเทศใหท้ นั ต่อเหตุการณ์และ

การเปล่ียนแปลงของสถานการณ์โลกในอนาคต

การกระทาทางรฐั บาล & การกระทาทางปกครอง

การบริหารราชการแผ่นดินตามบทบญั ญตั ิของรฐั ธรรมนูญและพระราชบญั ญตั ิที่รฐั สภาตราขึ้นมา
ใช้บงั คบั ผถู้ กู ฟ้องคดีที่ ๑ มีอานาจในหลายลกั ษณะ คือ ในฐานะ “คณะรฐั มนตรี” มีอานาจบริหารราชการแผ่นดิน
ตามหลักความรบั ผิดชอบร่วมกัน เช่น ในการตราพระราชกาหนดตามมาตรา ๑๘๔ ของรฐั ธรรมนูญแห่ง
ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ วรรคหนึ่ ง ที่บัญญัติ ว่า ในกรณี เพื่อประโยชน์ในอันท่ีจะรักษา
ความปลอดภยั ของประเทศความปลอดภยั สาธารณะ ความมนั่ คงในทางเศรษฐกิจของประเทศ หรือป้องปัดภยั
พิบตั ิสาธารณะ พระมหากษัตริย์จะทรงตราพระราชกาหนดให้ใช้บงั คบั ดงั เช่นพระราชบญั ญตั ิก็ได้ วรรคสอง
บญั ญตั ิว่า การตราพระราชกาหนดตามวรรคหนึ่งให้กระทาได้เฉพาะเมื่อคณะรฐั มนตรีเหน็ ว่าเป็ นกรณีฉุกเฉิ นที่มี
ความจาเป็ นรีบด่วน อันมิอาจจะหลีกเลี่ยงได้ จะเห็นว่า กรณี การใช้อานาจของผู้ถูกฟ้ องคดีท่ี ๑ ในฐานะ

คณะรฐั มนตรีตามมาตรา ๑๘๔ ของรฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช ๒๕๕๐ เพ่ือตราพระราช

กาหนดออกมาใช้บงั คบั อย่ภู ายใต้การตรวจสอบและควบคมุ การใช้อานาจของรฐั สภาและศาลรฐั ธรรมนูญ
กรณีการใช้อานาจในการบริหารราชการแผ่นดินของผ้ถู กู ฟ้องคดีที่ ๑ ในฐานะ “หวั หน้ารฐั บาล” ตาม

มาตรา ๑๑ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบญั ญตั ิระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ นัน้ ต้องพิจารณาในแต่ละ
อนุมาตรา เช่น ตามมาตรา ๑๑ วรรคหน่ึง (๒) การมอบหมายให้รองนายกรฐั มนตรีกากบั การบริหารราชการของ
กระทรวง หรือทบวงหนึ่งหรือหลายกระทรวงหรือทบวง ถือเป็ นการบริหารราชการแผ่นดินตามนโยบายทวั่ ไป
ซึ่งเป็นอานาจของฝ่ ายบริหาร ไม่อย่ภู ายใต้การตรวจสอบและการควบคมุ การใช้อานาจของศาลปกครอง

การกระทาทางรฐั บาล & การกระทาทางปกครอง

การใช้อานาจบริหารราชการแผ่นดินของผ้ถู กู ฟ้องคดีที่ ๑ ในฐานะ “ฝ่ ายปกครอง”
เช่น ตามมาตรา ๙ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบญั ญตั ิส่งเสริมและรกั ษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม
แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ ที่บญั ญัติ ว่า เม่ือมีเหตุฉุกเฉิ นหรือเหตุภยันตรายต่อสาธารณชน
อนั เนื่องมาจากภยั ธรรมชาติ หรือภาวะมลพิษที่เกิดจากการแพร่กระจายของมลพิษ ซึ่งหาก
ปล่อยไว้เช่นนั้นจะเป็ นอันตรายอย่างร้ายแรงต่อชีวิต ร่างกายหรือสุขภาพอนามัยของ
ประชาชน หรือก่อความเสียหายต่อทรพั ย์สินของประชาชนหรือของรัฐเป็ นอันมาก ให้
นายกรฐั มนตรีมีอานาจสงั่ ตามที่เหน็ สมควรให้ส่วนราชการ รฐั วิสาหกิจหรือ บุคคลใด รวมทงั้

บุคคลซึ่งได้รบั หรืออาจได้รบั อนั ตรายหรือความเสียหายดงั กล่าว กระทาหรือร่วมกนั กระทา

การใดๆ อนั จะมีผลเป็ นการควบคมุ ระงบั หรือบรรเทาผลร้ายจากอนั ตรายและความเสียหาย
ที่เกิดขึ้นนัน้ ได้อย่างทนั ท่วงที ในกรณีท่ีทราบว่าบุคคลใดเป็ นผ้กู ่อให้เกิดภาวะมลพิษดงั กล่าว
ให้นายกรฐั มนตรีมีอานาจสงั่ บคุ คลนัน้ ไม่ให้กระทาการใดอนั จะมีผลเป็ นการเพ่ิมความรนุ แรง
แก่ภาวะมลพิษในระหว่างท่ีมีเหตภุ ยนั ตรายดงั กล่าวด้วย

จะเหน็ ว่า กรณีนี้เป็ นการใช้อานาจของผ้ถู กู ฟ้องคดีท่ี ๑ ในฐานะ ฝ่ ายปกครองตาม
บทบญั ญตั ิของกฎหมายเฉพาะ คือ พระราชบญั ญตั ิส่งเสริมและรกั ษาคุณภาพส่ิงแวดล้อม
แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ จงึ อย่ภู ายใต้การตรวจสอบและควบคมุ การใช้อานาจของศาลปกครอง

การกระทาทางรฐั บาล & การกระทาทางปกครอง

ตามบทบญั ญตั ิของรฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พระราชบญั ญตั ิและกฎกระทรวงแบ่งส่วน

ราชการ ประกอบหลกั การวางแผน จะเห็นว่า คาว่า นโยบาย แผนแม่บท แผนพฒั นา แผนยุทธศาสตร์ แผน
แผนงาน โครงการงาน กิจกรรม แผนปฏิบตั ิการ แผนผงั และผงั เมือง ปรากฏอยู่ในอานาจหน้าท่ีขององค์กร
ทกุ ระดบั ตงั้ แต่ระดบั โลก ระดบั ภมู ิภาค ระดบั ประเทศ ระดบั ภาค ระดบั จงั หวดั ระดบั เมอื ง ระดบั อาเภอ ระดบั ตาบล
ระดบั หมู่บ้าน ดงั นัน้ ความหมายของคาท่ีกล่าวมา ซึ่งปรากฏอยู่ในภารกิจหรืออานาจหน้าที่ขององคก์ รในแต่ละ
ระดบั ย่อมมีความหมายท่ีไม่เหมือนกนั และแตกต่างกนั ไปตามภารกิจหรืออานาจหน้าท่ีขององคก์ รแต่ละระดบั
เช่น แผนปฏิบตั ิการเพ่ือการพฒั นาท่ียงั่ ยืน ๒๑ ขององค์การสหประชาชาติ แม้จะเรียกว่าแผนปฏิบตั ิการแต่มี
ความหมายเป็นนโยบายขององคก์ ารสหประชาชาติสาหรบั ประเทศภาคีสมาชิกนาไปจดั ทานโยบาย แผน แผนงาน
โครงการ งาน และกิจกรรม หรือ แผนการบริหารจดั การทรพั ยากรน้าและทรพั ยากรธรรมชาติของคณะรฐั มนตรี
หรือรฐั บาล ท่ีดาเนินการตามแนวนโยบายพืน้ ฐานของรฐั ตามรฐั ธรรมนูญ แม้จะเรียกว่าแผนแต่มีความหมายเป็น
นโยบายสาหรบั กระทรวงทบวงกรมที่อยู่ในระดบั รองลงไปนาไปจดั ทาแผน แผนงาน โครงการ งาน และกิจกรรม
หรือ แผนพฒั นาการเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ แม้จะเรียกว่าแผนแต่มีความหมายเป็ นนโยบายทวั่ ไปสาหรบั
กระทรวงทบวงกรมท่ีอยู่ในระดบั รองลงไป นาไปจดั ทาแผน แผนงาน โครงการ งาน และกิจกรรม เป็ นต้น

ดงั นัน้ ความหมายที่แท้จริงของคาว่า นโยบาย แผนแมบ่ ท แผนพฒั นา แผนยทุ ธศาสตร์ แผน แผนงาน
โครงการงาน กิจกรรม แผนปฏิบตั ิการ แผนผงั และผงั เมือง ที่ปรากฏ ในการทาภารกิจตามอานาจหน้าท่ีของ
องค์กรระดบั ต่างๆ จะต้องพิเคราะห์จากลกั ษณะเนื้อหา (Content) ของเร่ือง และบริบทของเร่ือง (Context)
ที่ดาเนิ นการในเร่ืองดงั กล่าว เช่น ระดบั ขององคก์ รที่จดั ทา กระบวนการจดั ทา และความสมั พนั ธร์ ะหว่างองคก์ ร
ท่ีเก่ียวข้อง เป็นต้น จึงจะสรปุ ความหมายที่แท้จริงของคาที่กล่าวมาข้างต้นได้

ตุลาการผ้แู ถลงคดี ในศาลปกครองสูงสุด วินิ จฉัยว่า แผนแม่บทบริหารจดั การทรพั ยากรน้าเป็ น
นโยบายบริหารประเทศหรือนโยบายทวั่ ไปของคณะรฐั มนตรีหรือการกระทาทางรฐั บาล ซ่ึงเป็นอานาจแก่นแท้ของ
ฝ่ ายบริหารท่ีจะใช้แก้ไขปัญหาของประเทศ และใช้เป็ นเหตุผลสนับสนุนการตราพระราชกาหนดให้อานาจ
กระทรวงการคลงั ก้เู งินเพ่ือการวางระบบบริหารจดั การน้าและสร้างอนาคตประเทศ พ.ศ. ๒๕๕๕ และความสมั พนั ธ์

ขององค์กรในกระบวนการตราพระราชกาหนดเป็ นความสมั พนั ธ์ระหว่างคณะรฐั มนตรีกบั รฐั สภา รวมทัง้

ความชอบด้วยรฐั ธรรมนูญของพระราชกาหนดดงั กล่าว อยู่ภายใต้การตรวจสอบและควบคมุ การใช้อานาจของ
ศาลรฐั ธรรมนูญ ดงั นัน้ ในกรณีนี้แผนแม่บทบริหารจดั การทรพั ยากรน้า จึงไม่ใช่การใช้อานาจทางปกครองตาม
กฎหมายหรือการดาเนิ นกิจการทางปกครอง ท่ีอยู่ในอานาจพิจารณาพิพากษาของศาลปกครองตามมาตรา ๒๒๓

ของรฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๐
ส่วนประเดน็ การจดั ให้มีการออกเสียงประชามติ วินิ จฉัยว่า ในกรณีตามมาตรา ๑๖๕ วรรคหน่ึง (๑)

เป็ นเร่ืองอานาจของนายกรฐั มนตรีในทางนโยบายบริหารประเทศหรือนโยบายทวั่ ไปของคณะรฐั มนตรีหรือการ
กระทาทางรฐั บาลซึ่งเป็ นอานาจแก่นแท้ของฝ่ ายบริหาร ซ่ึงจะใช้ดลุ พินิ จปรึกษาประธานสภาผ้แู ทนราษฎรและ
ประธานวฒุ ิสภา เพื่อให้มีการออกเสียงประชามติในเรื่องที่อาจกระทบถึงประโยชน์ได้เสียของประเทศชาติหรือ
ประชาชน ซ่ึงนายกรฐั มนตรีจะจดั ให้มีการออกเสียงประชามติหรือไม่ในเร่ืองใด ศาลปกครองไม่มีอานาจไป
ควบคุมเพื่อบงั คบั นายกรฐั มนตรีให้ดาเนิ นการจดั ทาประชามติในเรื่องใดๆ ได้ เนื่ องจากรฐั ธรรมนูญแห่ง
ราชอาณาจกั รไทยบญั ญตั ิให้เป็ นนโยบายบริหารประเทศท่ีนายกรฐั มนตรีต้องปรึกษาประธานสภาผ้แู ทนราษฎร
และประธานวฒุ ิสภาเท่านัน้ สาหรบั กรณีตามมาตรา ๑๖๕ วรรคหน่ึง (๒) ในขณะนี้ยงั ไม่มีกฎหมายบญั ญตั ิให้มีการ
ออกเสียงประชามติในเร่ืองท่ีเป็นมลู เหตแุ ห่งการฟ้องคดีนี้แต่อย่างใด ดงั นัน้ คาขอในประเดน็ นี้จึงไม่อย่ใู นอานาจ
พิจารณาพิพากษาของศาลปกครองตามมาตรา ๒๒๓ ของรฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๐

How Judges Think
ศาลปกครองสงู สดุ มีคาพิพากษา

ยกฟ้ อง

.........................................................

อานาจศาลปกครอง

อานาจในฐานะองคก์ รใช้อานาจอธิปไตยของรฐั
ตามบทบญั ญตั ิของรฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย

(รฐั สภา คณะรฐั มนตรี ศาล)

อานาจในฐานะศาลซ่ึงเป็นองคก์ รตลุ าการของรฐั
มาตรา ๑๙๗ ของรฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๐
(การนิติบญั ญตั ิ การบริหารราชการแผน่ ดิน การพิจารณาพิพากษาคดี)

อานาจในฐานะศาลเพ่ือพิจารณาพิพากษาคดีปกครอง
ตามบทบญั ญตั ิของรฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย
พระราชบญั ญตั ิว่าด้วยการวินิจฉัยชี้ขาดอานาจหน้าท่ีระหว่างศาล พ.ศ. ๒๕๔๒

(ศาลยตุ ิธรรม ศาลปกครอง ศาลทหาร)

อานาจในฐานะศาลปกครองเพื่อพิจารณาพิพากษาตามเนื้อหาคดีปกครอง
ตามบทบญั ญตั ิแห่งพระราชบญั ญตั ิจดั ตงั้ ศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒

(กฎ คาสงั่ และ การกระทาอ่ืนใด)
(มาตรา ๙ (๖) คดีพิพาทเกี่ยวกบั เร่ืองที่มีกฎหมายกาหนดให้อย่ใู นเขตอานาจศาลปกครอง)

อานาจศาลปกครอง

อานาจในฐานะศาล
เพ่ือพิจารณาพิพากษาคดีปกครอง

ตามบทบญั ญตั ิของรฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย
พระราชบญั ญตั ิว่าด้วยการวินิจฉัยชี้ขาดอานาจหน้าที่ระหว่างศาล พ.ศ. ๒๕๔๒

ศาลยตุ ิธรรม
ศาลปกครอง
ศาลทหาร

อานาจศาลปกครอง

อานาจในฐานะองคก์ รใช้อานาจอธิปไตยของรฐั
ตามบทบญั ญตั ิของรฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย

(รฐั สภา คณะรฐั มนตรี ศาล)

อานาจในฐานะศาลซ่ึงเป็นองคก์ รตลุ าการของรฐั
มาตรา ๑๙๗ ของรฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๐
(การนิติบญั ญตั ิ การบริหารราชการแผน่ ดิน การพิจารณาพิพากษาคดี)

อานาจในฐานะศาลเพ่ือพิจารณาพิพากษาคดีปกครอง
ตามบทบญั ญตั ิของรฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย
พระราชบญั ญตั ิว่าด้วยการวินิจฉัยชี้ขาดอานาจหน้าท่ีระหว่างศาล พ.ศ. ๒๕๔๒

(ศาลยตุ ิธรรม ศาลปกครอง ศาลทหาร)

อานาจในฐานะศาลปกครองเพื่อพิจารณาพิพากษาตามเนื้อหาคดีปกครอง
ตามบทบญั ญตั ิแห่งพระราชบญั ญตั ิจดั ตงั้ ศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒

(กฎ คาสงั่ และ การกระทาอ่ืนใด)
(มาตรา ๙ (๖) คดีพิพาทเกี่ยวกบั เร่ืองที่มีกฎหมายกาหนดให้อย่ใู นเขตอานาจศาลปกครอง)

อานาจศาลปกครอง

อานาจในฐานะศาลปกครองเพ่ือพิจารณาพิพากษาตาม
เนื้อหาคดีปกครอง

ตามบทบญั ญตั ิแห่งพระราชบญั ญตั ิจดั ตงั้ ศาลปกครองและ
วิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒

มาตรา ๙ แห่งพระราชบญั ญตั ิจดั ตงั้ ศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒

กฎ คาสงั่ และ การกระทาอ่ืนใด !!!

มาตรา ๙ (๖) คดีพิพาทเก่ียวกบั เรอื่ งที่มีกฎหมายกาหนดให้อย่ใู นเขตอานาจศาลปกครอง

การบรรยายหวั ข้อวิชานี้
จะสรปุ เนื้อหาท่ีเป็นองคป์ ระกอบพืน้ ฐาน

เก่ียวกบั การตงั้ ถิ่นฐานมนุษย์

และใช้กรณศี ึกษาเป็ นภาพสะท้อนให้เห็นประเดน็ ข้อจากดั ต่างๆ

ในกระบวนการยุตธิ รรมทางปกครองของประเทศไทย

ท่ียงั คงเป็นปัญหาในเชิงโครงสร้าง
หลกั การพืน้ ฐานที่สาคญั และ
วิธีคิดของสงั คมไทย

ซ่ึงทาให้ไม่บรรลจุ ดุ มงุ่ หมายในการจดั ตงั้ ศาลปกครองขึน้ มา
ตามเจตนารมณ์ของรฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย

93

สิ่งแวดล้อม

หมายความว่า
สิ่งต่างๆ ท่ีมีลกั ษณะ
ทางกายภาพ และ ชีวภาพ
ท่ีอย่รู อบตวั มนุษย์ ซ่ึงเกิดขึน้
โดยธรรมชาติ และ สิ่งท่ีมนุษยไ์ ด้ทาขึน้

มาตรา ๔ วรรคหน่ึง พระราชบญั ญตั ิส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอ้ มแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕

94

คุณภาพสิ่งแวดล้อม

หมายความว่า

“ดุลยภาพของธรรมชาต”ิ

อนั ได้แก่ สัตว์ พืช และทรัพยากรธรรมชาติต่าง ๆ

และ

“สิ่งทม่ี นุษย์ได้ทาขนึ้ ”

ท้งั นี้ เพ่ือประโยชน์ต่อการดารงชีพของประชาชน
และความสมบูรณ์สืบไปของมนุษยชาติ

มาตรา ๔ วรรคหน่ึง พระราชบญั ญตั ิส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอ้ มแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕
95

ดุลยภาพของธรรมชาติ

ปฏสิ ัมพนั ธ์เชิงภูมศิ าสตร์

ภูมิศาสตร์ เป็ นการศึกษาถึงความสัมพนั ธ์ระหว่างส่ิงแวดลอ้ ม
ทางธรรมชาติกบั ทางสงั คมท่ีปรากฏอยใู่ นพ้ืนที่ต่างๆของโลก ซ่ึงเกี่ยวขอ้ ง

กบั ปรากฏการณ์ต่างๆ บนโลก คือ ปรากฏการณ์จาก บรรยากาศ ธรณีภาค

อทุ กภาค และชีวภาค

สภาพทางภูมิศาสตร์เป็ นปัจจยั สาคญั ท่ีกาหนดรูปแบบวิถีชีวิต

ของมนุษยใ์ นแต่ละพ้ืนที่ เม่ือสภาพภูมิศาสตร์เกิดการเปล่ียนแปลงไป

ท้งั จากกระบวนการทางธรรมชาติหรือจาการกระทาของมนุษย์ ยอ่ มส่งผล
ให้วิถีชีวิติของมนุษยเ์ ปลี่ยนแปลงไปดว้ ย จึงจาเป็ นตอ้ งศึกษาหาความรู้

เก่ียวกับสภาพทางภูมิศาสตร์และการเปลี่ยนแปลงต่างๆ เพ่ือปรับวิถี

การดาเนินชีวติ ใหส้ อดคลอ้ งกบั สภาวะในขณะน้นั ได้ 96

ดุลยภาพของธรรมชาติ

97

ปฏสิ ัมพนั ธ์เชิงภูมศิ าสตร์ของโลก

กบั คดปี กครองด้านสิ่งแวดล้อม

การดาเนินชีวิตของมนุษยท์ ้งั ในประเทศไทยและในส่วนต่างๆของโลก
จะสัมพนั ธ์กบั ปรากฏการณ์อนั เกี่ยวขอ้ งกบั ส่วนต่างๆ ของโลกท้งั 4 ประการ คือ
อทุ กภาค ชีวภาค ธรณภี าค และบรรยากาศ

คดีเก่ียวกบั สภาวะโลกร้อน คดีเก่ียวกบั อุทกภยั
คดีเก่ียวกบั การทาเหมืองแร่
คดีพ้ืนเกี่ยวกบั
พ้ืนที่ชุ่มน้า
ความหลากหลาย
ทางชีวภาพ

98

“เมือง” ส่ิงทมี่ นุษย์ได้สร้างขนึ้ มาบนโลก

99

United Nations World Urbanization Prospects

ในปี 1990 มี Mega Cities (คือ เมืองใหญ่ที่มีประชากร เกิน
10 ล้านคน) เพียง 10 เมืองเท่านัน้ UN คาดว่า ในปี 2050
ทวั่ โลก จะมีเมืองใหญ่เกิดขึ้นเป็ น 41 เมือง จะมีประชากร
มากกว่า 6 พนั ล้านคนอาศยั อย่ใู น Mega Cities

100


Click to View FlipBook Version