The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การบรรยาย ก.ศป. รุ่นที่ 12 Power Point บรรยาย 3 7 65

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pachairat, 2022-07-04 00:35:43

คดีสิ่งแวดล้อมที่สำคัญ ก.ศป. 12 Sun 3 7 65 PPT

การบรรยาย ก.ศป. รุ่นที่ 12 Power Point บรรยาย 3 7 65

สิทธิของชมุ ชน Rights of Community





สิทธิของธรรมชาติ Rights of Nature

สิทธิของธรรมชาติ The Right of Nature

คาพิพากษาศาลสงู สดุ แห่งสหรฐั อเมริกา ๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๑
คดีระหว่างกล่มุ อนุรกั ษ์ธรรมชาติ VS กองทพั เรอื สหรฐั อเมริกา

ข้อพิพาทการใช้คล่ืนโซน่ าส์ในการฝึ กซ้อมทางทหารเพื่อประโยชน์แห่งความมนั่ คงของประเทศ
กบั การอนุรกั ษ์ชีวิตสตั วเ์ ลี้ยงลูกด้วยนมใต้ทะเลท่ีใกล้สญู พนั ธ์ุ ศาลฎีกาของสหรฐั อเมริกา(Supreme Court of
the United States) มีคาพิพากษาให้กองทพั เรือสหรฐั อเมริกาชนะคดีสภาป้องกนั ทรพั ยากรธรรมชาติในการใช้
ระบบโซนารใ์ นการฝึ กซ้อมนอกชายฝัง่ แคลิฟอรเ์ นียใต้

255

สิทธิของธรรมชาติ

The Right of Nature

256

สิทธิของธรรมชาติ

The Right of Nature

สิทธิของธรรมชาติ The Right of Nature

258

Rights of Nature

สิทธิของธรรมชาติ(ลาธาร)ทจ่ี ะได้รับการคุ้มครอง

The new Ecuadorian Constitution includes a Chapter : Rights for Nature. Rather than treating nature as
property under the law, Rights for Nature articles acknowledge that nature in all its life forms has the
right to exist, persist, maintain and regenerate its vital cycles. And we – the people – have the legal
authority to enforce these rights on behalf of ecosystems. The ecosystem itself can be named as the
defendant.

Rights of Nature

The case was based on the problem caused by the project to widen the Vilcabamba-Quinara road, which
was depositing large quantities of rock and excavation material in the Vilcabamba River. This project,
which had been underway for three years without studies on its environmental impact, directly violated
the rights of nature by increasing the river flow and provoking a risk of disasters from the growth of the
river with the winter rains, causing large floods that affected the riverside populations who utilize the
river’s resources.

สิทธิของแมธ่ รณี Rights of Mother Earth

สิทธิของแม่ธรณี Rights of Mother Earth

ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิของแม่ธรณี Declaration for Rights of Mother Earth

ใ น ก า ร ป ร ะ ชุ ม ภ า ค ป ร ะ ช า ช น โ ล ก เ ร่ื อ ง ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ส ภ า พ ภูมิ อ า ก า ศ แ ล ะ
สิทธิของแม่ธรณี “ World People’s Conference on Climate Chang and Rights of Mother
Earth” ท่ี เมืองโคชาบมั บา (Cochabamba) ประเทศโบลิเวีย เมื่อวนั ที่ ๒๒ เมษายน ๒๕๕๓
มีการประกาศจดุ ยืน “Cochabamba People’s Agreement” ว่า เราจาเป็นต้องสร้างระบบใหม่
เพ่ือท่ีจะนาความสมดลุ ระหว่างมนุษยก์ บั ธรรมชาติกลบั มา จึงมีการประกาศ ปฏิญญาสากล
ว่าด้วยสิทธิของแม่ธรณี Declaration for Rights of Mother Earth เพื่อให้ทุกคนตระหนักว่า
ทุกสรรพชีวิตมีหน้าที่ต้องคงไว้ซ่ึงความสมดุลของระบบนิ เวศ และปกป้องสถานภาพของ
แม่ธรณี เพื่อสรรสรา้ งสงั คมท่ีสามารถอย่รู ว่ มกบั ธรรมชาติได้อย่างยงั่ ยืน

http://pwccc.wordpress.com/2010/04/24 peoples-agreement/

สิทธิของแมธ่ รณี Rights of Mother Earth

ลกั ษณะพิเศษของคดีปกครองเก่ียวกบั

ส่ิงแวดล้อม การผงั เมอื ง อาคาร และเหตเุ ดือดรอ้ นราคาญ
คือ

สมั พนั ธก์ บั การตงั้ ถิ่นฐานของมนุษย์

(Human Settlement)
คณุ ค่าของความเป็นมนุษย์

(Human Value)
สภาพทางกายภาพเปล่ียนแปลงอย่ตู ลอดเวลา

(Dynamic)
ความเป็ นสหวิทยาการ

(Interdisciplinary)

264

การเปล่ียนแปลงอย่ตู ลอดเวลา (Dynamic)
ไม่หยดุ น่ิงอย่กู บั ที่ (Static)

ความเป็ นธรรมในกระบวนการวางแผนภาคและเมืองซึ่งต้ังอยู่บนมิติทางด้านพื้นท่ี
ทผี่ ูกพนั อยู่กบั การต้งั ถนิ่ ฐานของมนุษย์น้ัน ไม่ใช่ความเป็ นธรรมทต่ี ้งั อยู่บนมติ ทิ างด้านตัวอกั ษรท่ีเขียน
ไว้เป็ นตัวบทกฎหมายบนกระดาษแต่เพียงอย่างเดียว เพราะการต้ังถิ่นฐานของมนุษย์มีลักษณะ
เคล่ือนไหวเปลยี่ นแปลงอยู่ตลอดเวลา (Dynamic) ไม่หยดุ น่ิงอยู่กบั ท่ี (Static) เช่นตวั บทกฎหมาย

ดงั น้ัน การสร้างความเป็ นธรรมหรือขจัดความไม่เป็ นธรรมในกระบวนการวางแผนภาค
และเมือง ต้องร่วมกนั ทาให้เกดิ ความสมดุลขององค์ประกอบต่างๆ และผลประโยชน์อนั หลากหลายที่มี
ความแตกต่างกันบนพื้นที่ภายใต้หลักนิติธรรม จึงจะส่งผลทาให้เกิดการอยู่ร่วมกันด้วยความสงบสุข
ในสังคมตามมา

265

เป็ นคดีปกครองที่มี
ความเป็ นสหวิทยาการ

Interdisciplinary

266

ความเป็น สหวิทยาการ ( Interdisciplinary )

ตวั อย่าง สหวิทยาการ (Interdisciplinary) เช่น กฎหมายการทาแทง้ ต้องพจิ ารณา

หลกั ทางสงั คมศาสตร์ว่าจะยนิ ยอมผ่อนบนเพยี งใดทจ่ี ะไม่เกดิ การขดั แยง้ ทางวฒั นธรรม หลกั ทาง
เศรษฐศาสตร์เก่ยี วกบั นโยบายประชากรและการจดั สรรทรพั ยากรของรฐั หลกั ทางวทิ ยาศาสตร์
เกย่ี วกบั ชว่ งเวลาทเ่ี หมาะสมแก่การอนุญาตและวธิ กี ารใชใ้ นการทาแทง้ หรอื หลกั ทางบรหิ ารว่าควร
จะให้องค์กรใดท่จี ะเป็นผู้อนุญาตหรอื รบั ผดิ ชอบการทาแท้ง เป็นต้น เม่อื กฎหมายเป็นเคร่อื งมอื
ในการธารงสงั คมและแก้ปัญหาสงั คมย่อมต้องเก่ียวข้องกับสงั คมศาสตร์อ่ืนๆเสมอ ในการใช้
กฎหมายจงึ เป็นทย่ี อมรบั วา่ การนาเหตุผลทางสงั คมศาสตรม์ ารว่ มพเิ คราะหจ์ ะทาใหก้ ารใชก้ ฎหมาย
มีความสมเหตุสมผล ดังนัน้ กฎหมาย คือ บทสังเคราะห์(Synthesis)ศาสตร์ด้านต่างๆ
ของสงั คมในขณะนัน้ ๆนัน่ เอง

คดีปกครองเกี่ยวกบั สิ่งแวดล้อม การผงั เมือง อาคาร และเหตุเดือดร้อนราคาญ
มีความสัมพันธ์กับ คุณค่าของความเป็ นมนุษย์ จึงมีเนื้อหาข้ามศาสตร์เป็ นเรื่องของ
สหวิทยาการ (Interdisciplinary) เช่น

ความเป็ นชุมชน : มีเนื้ อหาเก่ียวกับด้านสังคมมานุษยวิทยา การจัดสรร
ทรพั ยากรธรรมชาติ : มีเนื้อหาเก่ียวกบั ด้านเศรษฐศาสตร์ การมีส่วนร่วมของประชาชน :
มีเนื้อหาเก่ียวกบั ด้านรฐั ศาสตร์ ธรรมาภิบาล : มีเนื้อหาเก่ียวกบั ด้านการบริหารจดั การ

267

ลกั ษณะของคดปี กครอง

เกยี่ วกบั

สิ่งแวดล้อม การผงั เมือง อาคาร และเหตุเดือดร้อนราคาญ

คุณภาพส่ิงแวดล้อม

จึงมีหลายมติ ิ

268

ประโยชน์ ของส่ วนรวม

คุณค่าทางนามธรรม

(คุณค่าทเี่ ป็ นนามธรรมสามารถสัมผสั ได้ด้วยสามญั สานึกหรือจติ วญิ ญาณ)

ทศั นียภาพทงี่ ดงาม

คุณค่าทางกายภาพ

(คุณค่าความงามทเี่ ป็ นรูปธรรมสามารถสัมผสั จบั ต้องได้ด้วยประสาทสัมผสั )

เจตนารมณ์ของกฎหมาย

คุณค่าทางกฎหมาย

(คุณค่าบนตวั อกั ษรทสี่ ามารถสัมผสั ได้ด้วยความรู้และความเข้าใจ)

บทบญั ญตั ิ “การผงั เมือง” หมายความว่า การวาง จดั ทาและดาเนิ นการให้เป็ นไปตามผงั เมืองท่ีวางไว้

ในบริเวณเมืองและบริเวณท่ีเก่ียวข้องหรือชนบท เพื่อสร้างหรือพฒั นาเมืองหรือส่วนของเมืองขึ้นใหม่หรือแทนเมืองหรือ
ส่วนของเมืองที่ได้รบั ความเสียหายเพ่ือให้มีหรือทาให้ดีย่ิงขึ้นซ่ึงสุขลกั ษณะ ความสะดวกสบาย ความเป็ นระเบียบ
ความสวยงาม การใช้ประโยชน์ในทรพั ย์สิน ความปลอดภยั ของประชาชน และสวสั ดิภาพของสังคม เพื่อส่งเสริม
การเศรษฐกิจ สงั คม และสภาพแวดล้อม เพ่ือการดารงรกั ษาหรือบูรณะสถานที่และวตั ถทุ ่ีมีประโยชน์หรือคณุ ค่าในทาง
ศิลปกรรม สถาปัตยกรรม ประวตั ิศาสตร์ หรือโบราณคดี หรือ เพ่ือบารงุ รกั ษาทรพั ยากรธรรมชาติ ภมู ิประเทศท่ีงดงาม

หรอื มีคณุ ค่าในทางธรรมชาติ 269

คุณค่าบนตวั อกั ษรทส่ี ามารถสัมผสั ได้ด้วยความรู้และความเข้าใจ

มาตรา 4 “การผงั เมือง” หมายความว่า การวาง จัดทา

และดาเนิ นการให้เป็ นไปตามผงั เมืองที่วางไว้ ในบริเวณเมืองและ

บริเวณที่เกี่ยวข้องหรือชนบท เพื่อสร้างหรือพัฒนาเมืองหรือ

ส่ ว น ข อ ง เ มื อ ง ขึ้ น ใ ห ม่ ห รื อ แ ท น เ มื อ ง ห รื อ ส่ ว น ข อ ง เ มื อ ง ที่ ไ ด้ ร ับ

ค ว า ม เ สี ย ห า ย เ พ่ื อ ใ ห้ มี ห รื อ ท า ใ ห้ ดี ย่ิ ง ขึ้ น ซ่ึ ง สุ ข ลัก ษ ณ ะ

ความสะดวกสบาย ความเป็ นระเบียบ ความสวยงาม การใช้

ประโยชน์ในทรพั ยส์ ิน ความปลอดภยั ของประชาชน และสวสั ดิภาพ

ของสังคม เพ่ือส่งเสริมการเศรษฐกิจ สังคม และสภาพแวดล้อม

เพื่อการดารงรกั ษาหรือบูรณะสถานที่และวตั ถทุ ่ีมีประโยชน์หรือ

คุณค่าในทางศิลปกรรม สถาปัตยกรรม ประวัติ ศาสตร์ หรือ

โบราณคดี หรือ เพ่ือบารุงรกั ษาทรพั ยากรธรรมชาติ ภูมิประเทศ

ที่งดงาม หรือมีคณุ ค่าในทางธรรมชาติ 270

ภมู ิประเทศที่งดงามหรือมีคณุ ค่าในทางธรรมชาติ

ทศั นียภาพท่ีดี : ประโยชน์ส่วนรวม

271

ภมู ิประเทศท่ีงดงามหรอื มีคณุ ค่าในทางธรรมชาติ ทศั นียภาพท่ีดี เป็นประโยชน์ของส่วนรวม

การทาลายภมู ิประเทศท่ีงดงาม หรอื มีคณุ ค่าในทางธรรมชาติ 272
ทาให้เกิด ทศั นะอจุ าด เสียหายต่อประโยชน์ส่วนรวม

( ทศั นะอจุ าด : ทศั นียภาพที่อจุ าดทางสายตา )

ภมู ิประเทศท่ีงดงามหรอื มีคณุ ค่าในทางธรรมชาติ ทศั นียภาพท่ีดี เป็นประโยชน์ของส่วนรวม

273

การดารงรกั ษาหรือบรู ณะสถานที่และวตั ถทุ ี่มีประโยชน์หรือคณุ ค่า
ในทางศิลปกรรม สถาปัตยกรรม ประวตั ิศาสตร์ หรือโบราณคดี

274

การดารงรกั ษาหรอื บรู ณะสถานท่ีและวตั ถทุ ่ีมีประโยชน์หรอื คณุ ค่าในทางศิลปกรรม สถาปัตยกรรม ประวตั ิศาสตร์ หรอื โบราณคดี

การดารงรกั ษาหรอื บรู ณะสถานท่ีและวตั ถทุ ่ีมีประโยชน์หรอื คณุ ค่าในทางศิลปกรรม สถาปัตยกรรม ประวตั ิศาสตร์ หรอื โบราณคดี

276

“กฎหมายมหาชนเป็ นกฎหมายของอนาคต”

กฎหมายมหาชน เป็ นเรื่องของนิติปรัชญา(วิธีคิด) ท่ีใช้กฎหมายเป็ น
เคร่ืองมือของสังคม และนาวิธีคิดนั้นมาใช้ในการจัดองค์กรและการบริหาร
สังคม โดยการตรากฎหมายที่มีการวิเคราะห์ทางวิชาการและทางตรรก
กฎหมายมหาชนจึงเป็ นกฎหมายของอนาคต และไม่ว่ากฎหมายมหาชน
จะแยกสาขากฎหมายออกไปก่ีสาขา แต่แต่ละสาขาจะอยู่ในกรอบของ
นิติปรัชญาเดียวกัน คือ การใช้กฎหมายเป็ นเคร่ืองมือของสังคมอย่างมี
จดุ หมายและมีระบบกลไกทม่ี ีการ Rationalized ในทางวิชาการ ไม่ว่าสังคม
นั้นจะมีความหมายถึง ประโยชน์ส่วนรวมของประชาชนภายในรัฐ หรือ
สังคมน้ันจะมีความหมายถงึ ประโยชน์ส่วนรวมของโลกหรือมนุษยชาติ

ศาสตราจารย์ ดร. อมร จันทรสมบูรณ์ กฎหมายมหาชนกับทิศทางของ
ประเทศไทย หน้า ๒๕ และ ๕๗

มรดกโลกสมบัติของมนุษยชาติ

ประโยชน์ส่วนรวมของโลก
หรือของมนุษยชาติ

ปราสาทวดั พู
มรดกโลกแห่งท่สี อง
ของประเทศลาว

มรดกโลกในประเทศอหิ ร่าน

The old Christian church ruins

280

“ประเทศเปร”ู

ปิ รามิด อายุ 4,000 ปี
ถกู ทาลายราบเป็นหน้ากลอง
เพื่อนาพนื้ ท่ีมาจดั ทาโครงการ

พฒั นาอสงั หาริมทรพั ย์

281

BUDDHA OF BAMIYAN

282



BUDDHA OF BAMIYAN

284

มาตรการทางกฎหมายระดบั สากลในการอนุรกั ษ์เมืองเก่า

อนุสญั ญาค้มุ ครองมรดกโลกทางวฒั นธรรมและธรรมชาติ 1972 (Convention Concerning the
Protection of the World Cultural and Natural Heritage 1972) หรอื “อนุสญั ญาค้มุ ครองมรดกโลก”

กฎบตั รระหว่างประเทศเพื่อการอนุรักษ์และบูรณะโบราณสถานและแหล่งท่ีตัง้ 1964
(International Charter for the Conservation and Restoration of Monuments and Sites 1964) หรอื กฎบตั ร
สากลแห่งเมอื งเวนิช (The Venice Charter)

กฎบัตรแห่งเมืองฟลอเรนซ์ว่าด้วยการสงวนรักษาสวนประวัติ ศาสตร์ 1982 (Historic
Gardens–The Florence Charter 1982)

กฎบตั รระหว่างประเทศเพ่ือการอนุรกั ษ์เมืองและชมุ ชนเมืองประวตั ิศาสตร์ 1987 (Charter for
the Conservation of Historic Town and Urban Areas 1987) หรอื กฎบตั รสากลแห่งเมืองวอชิงตนั
(Washington Charter 1987)

กฎบตั รว่าด้วยมรดกสิ่งก่อสร้างพืน้ ถิ่น 1999 (Charter on the Built Vernacular Heritage 1999)
อนุสญั ญาแห่งยโุ รปว่าด้วยภมู ิทศั น์ (European Landscape Convention : ELC) หรอื อนุสญั ญาฟลอเรนซ์
(Florence Convention)

หลักการท่ีกล่าวมาถือเป็ นหลักการอนุรักษ์โบราณสถานที่ได้รับการยอมรับอย่างแพร่หลายและ
ประเทศไทยก็มีพนั ธกรณีที่จะตอ้ งดาเนินการตามแนวทางท่ีอนุสัญญาระหว่างประเทศและกฎบตั รระหว่างประเทศ
เหล่าน้ีไดก้ าหนดไวด้ ว้ ย

อา้ งองิ : ช.กษมิ า เพช็ ญไพศษิ ฏ,์ กฎหมายการอนุรกั ษ์กรงุ รตั นโกสนิ ทร,์ วทิ ยานิพนธน์ ิตศิ าสตรมหาบณั ฑติ สาขา
กฎหมายทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม, คณะนติ ศิ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร,์ พ.ศ. ๒๕๕๕

285

อนุสญั ญา ฟลอเรนซ์ Florence Convention

ในเดือนตุลาคม ค.ศ. ๒๐๐๐ สหภาพยุโรปได้ตรา อนุสญั ญาแห่งยุโรปว่าด้วยภมู ิทศั น์
( European Landscape Convention : ELC) ห รื อ อ นุ สั ญ ญ า ฟ ล อ เ ร น ซ์ ( Florence
Convention) ขึ้น โดยอนุสญั ญาฉบบั นี้ถือเป็ น อนุสญั ญาว่าด้วยการพฒั นาภูมิทัศน์ระหว่าง
ประเทศฉบบั แรกของโลก ท่ีกาหนดหลกั การด้านผงั เมืองอนั มุ่งคุ้มครองประโยชน์สาธารณะ
ท่ีเก่ียวข้องกบั ภมู ิทศั น์เมือง ไม่ว่าจะเป็ นประโยชน์ทางวฒั นธรรม ระบบนิ เวศน์ สิ่งแวดล้อม
และสงั คม ของประเทศสมาชิกและของภมู ิภาคยุโรป ซ่ึงประเทศสมาชิกของสหภาพยุโรปที่ได้
ให้สตั ยาบนั รบั รองอนุสญั ญาดงั กล่าว ต้องผกู พนั ตามกฎหมายระหว่างประเทศและต้องปฏิบตั ิ
ตามหลกั เกณฑแ์ ละแนวทาง ท่ีอนุสญั ญาด้านผงั เมอื งฉบบั นี้ได้กาหนดเอาไว้

อนุสญั ญาฟลอเรนซ์ ได้กาหนด มาตรการทวั่ ไป (General Measures) และ มาตรการ
เฉพาะ (Specific Measures) ท่ีเป็นประโยชน์ต่อการค้มุ ครองภมู ิทศั น์ของพืน้ ที่ชนบท พืน้ ท่ีชาน
เมอื ง และพืน้ ท่ีชมุ ชนเมืองเอาไวห้ ลายมาตรการด้วยกนั

ปี ดิ เ ท พ อ ยู่ ยื น ย ง , ม อ ง ก า ร พั ฒ น า ภู มิ ทั ศ น์ เ มื อ ง ใ น ยุ โ ร ป ผ่ า น อ นุ สัญ ญ า ฟ ล อ เ ร น ซ์ :
Landscape Development in Europe from Florence Convention Perspective, สมาคมนกั ผงั เมอื งไทย,
http://tatp.or.th/planning/eulandscape.html, July 7, 2015

286

สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้
(Association of South East Asian Nations : ASEAN)

ประชาคมอาเซียน เป็นการรวมตวั กนั ของประเทศสมาชิกอาเซียน 10 ประเทศ ประกอบดว้ ย ไทย พม่า ลาว
เวยี ดนาม มาเลเซยี สงิ คโปร์ อนิ โดนีเซยี ฟิลปิ ปินส์ กมั พชู า และ บรไู น เพอ่ื เพมิ่ อานาจต่อรองและขดี ความสามารถการแขง่ ขนั ของ
อาเซยี นในเวทรี ะหวา่ งประเทศ รวมถงึ ใหอ้ าเซยี นมคี วามแขง็ แกรง่ มภี มู ติ า้ นทานทด่ี ี ในการรบั มอื กบั ปัญหาใหม่ ๆ ระดบั โลก

ประชาคมอาเซียน ถอื กาเนิดขน้ึ อยา่ งเป็นทางการเมอ่ื เดอื นตุลาคม พ.ศ. 2546 พรอ้ มกบั มกี ารรว่ มลงนามในปฏญิ ญา
ใหเ้ ป็นประชาคมเดยี วกนั ใหส้ าเรจ็ ภายใน พ.ศ. 2558 (ค.ศ. 2015) มกี ารแบ่งประชาคมยอ่ ยออกเป็น 3 ประชาคม หรือ 3 เสาหลกั

ได้แก่

ประชาคมการเมืองและความมนั่ คงอาเซียน
(ASEAN Political and Security Community – APSC)

ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
(Asean Economics Community – AEC)
ประชาคมสงั คมและวฒั นธรรมอาเซียน
(Asean Socio-Cultural Community – ASCC)

287

ประชาคมสงั คมและวฒั นธรรมอาเซียน

Asean Socio - Cultural Community – ASCC

อาเซยี นไดจ้ ดั ทาแผนงานการจดั ตงั้ ประชาคมสงั คมและวฒั นธรรมอาเซยี น (ASEAN Socio-Cultural Community Blueprint)
ซง่ึ ประกอบดว้ ยความรว่ มมอื ใน 6 ดา้ น ไดแ้ ก่ (1) การพฒั นาทรพั ยากรมนุษย์ (Human Development) (2) การคมุ้ ครองและสวสั ดกิ าร
สงั คม (Social Welfare and Protection) (3) สทิ ธแิ ละความยุตธิ รรมทางสงั คม (Social Justice and Rights) (4) ความยงั่ ยืน
ด้านส่ิงแวดล้อม (Environmental Sustainability) (5) การสรา้ งอตั ลกั ษณ์อาเซยี น (Narrowing the Development Gap)

องคป์ ระกอบย่อยของแต่ละด้านมี ดงั นี้

D. ส่งเสริมความยงั่ ยืนด้านส่ิงแวดล้อม

D1. การจดั การปัญหาสง่ิ แวดลอ้ มของโลก
D2. การจดั การและการป้องกนั ปัญหามลพษิ ทางสงิ่ แวดลอ้ มขา้ มแดน
D3. สง่ เสรมิ การพฒั นาทย่ี งั่ ยนื โดยการศกึ ษาดา้ นสงิ่ แวดลอ้ ม และการมสี ว่ นรว่ มของประชาชน
D4. สง่ เสรมิ เทคโนโลยดี า้ นสงิ่ แวดลอ้ ม (อเี อสท)ี
D5. สง่ เสรมิ คุณภาพมาตรฐานการดารงชวี ติ ในเขตเมอื งต่างๆ ของอาเซยี น
D6. การทาการประสานกนั เรอ่ื งนโยบายดา้ นสง่ิ แวดลอ้ มและฐานขอ้ มลู
D7. สง่ เสรมิ การใชท้ รพั ยากรชายฝัง่ และทรพั ยากรทางทะเลอยา่ งยงั่ ยนื
D8. สง่ เสรมิ การจดั การเกย่ี วกบั การอนุรกั ษท์ รพั ยากรธรรมชาติ และความหลากหลายทางชวี ภาพอยา่ งยงั่ ยนื
D9. สง่ เสรมิ ความยงั่ ยนื ของทรพั ยากรน้าจดื
D10. การตอบสนองต่อการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศและการจดั การตอ่ ผลกระทบ
D11. สง่ เสรมิ การบรหิ ารจดั การป่าไมอ้ ยา่ งยงั่ ยนื

288

ฯพณฯ อานันท์ ปันยารชุน อดีตนายกรฐั มนตรี ปาฐกถาพิเศษ ในการสมั มนาประจาปี
๒๕๓๘ สถาบนั สง่ิ แวดลอ้ มไทย ว่า “อยากใหเ้ ขา้ ใจว่า สิ่งแวดล้อม ไม่เพยี งแต่จะหมายถงึ สงิ่ ต่างๆ

ท่อี ยู่รอบตวั เรา ซ่ึงเกดิ ข้นึ โดยธรรมชาตเิ ท่านัน้ แต่ยงั รวมถึงสง่ิ ท่มี นุษย์สร้างหรือกาหนดข้นึ ด้วย
ผลการสร้างสรรค์ของมนุษย์ทาให้เรามีศิลปกรรมเป็ นสมบัติท่ีแสดงความลึกซ้ึงในศิลปะแสดง
ความเฉียบแหลมของปัญญา และสะท้อนให้เหน็ ถึงวฒั นธรรมทส่ี งั่ สมกนั มาของชุมชนหรอื ประเทศ
นนั้ ๆ คุณคา่ ทป่ี รากฏในความงามของศลิ ปกรรมเรยี กไดว้ า่ ทดั เทยี มกบั ความงามทพ่ี บจากธรรมชาติ

ประเทศไทยมอี ุทยานทางประวตั ศิ าสตร์ มรดกทางวฒั นธรรมและศลิ ปกรรมจากยุคสมยั

ตา่ งๆ ในอดตี มากมายไมน่ ้อยหน้าใคร สมบตั เิ หล่าน้ีควรไดร้ บั การทนุถนอมดแู ลใหค้ วามสาคญั เพราะ
ผูเ้ ป็นเจ้าของทแ่ี ทจ้ รงิ นัน้ ไม่ใช่เพยี งแค่พวกเราทงั้ หมดในปัจจุบนั แต่ยงั รวมถงึ คนรุ่นก่อนหน้าเรา
และคนรุ่นต่อๆไปในอนาคตอกี ดว้ ย ความต่ืนตวั ในเร่ืองส่ิงแวดล้อมท่ีเรามีอยู่ในปัจจบุ นั จะต้อง
ไม่จากดั อย่เู ฉพาะสิ่งแวดล้อมธรรมชาติ ต้องไมห่ ยดุ เฉพาะการเหน็ ความสาคญั ของน้า ของป่ า
ของอากาศ ส่ิงแวดล้อมท่ีมาจากธรรมชาติ เหล่านี้เปรียบเหมือนกาย คือ ครึ่งหนึ่งของชีวิตเรา
แต่จะต้องไม่มองข้ามความสาคญั ของจิตใจ คือ ศิลปวฒั นธรรม สิ่งแวดล้อมท่ีมนุษย์เป็ น
ผสู้ รา้ งขึน้ มาประกอบกนั เข้าจงึ จะเป็นชีวิตท่ีสมบรู ณ์”

อานันท์ ปันยารชุน, การสมั มนาประจาปี ๒๕๓๘ สถาบนั สง่ิ แวดล้อมไทย,ศูนย์การประชุมแห่งชาตสิ ริ กิ ติ ิ ์ ๓ กรกฎาคม
๒๕๓๘, อา้ งใน ดร. นิจ หญิ ชรี ะนันทน์ “ความเสยี หายทางวฒั นธรรมทไ่ี ม่เคยไดร้ บั การประเมนิ ” ขา่ วสารกรมการผงั เมอื ง ฉบบั ท่ี ๖๗/
๒๕๔๐, หน้า ๔

289

ศรีอไุ ร ตนั ติลีปิ กร : กลา่ ววา่ Lewis Mumfort เขยี นไวใ้ น The City in History :

1961 ว่า “ถ้าเราต้องการสร้างชีวิตจิตใจให้แก่เมืองใดหรือชุมชนใด เราจะต้อง

หวนกลบั ไปศึกษาชีวิตจิตใจในอดีตของเมืองนัน้ เสียก่อน” การศกึ ษาประวตั แิ ละ

ววิ ฒั นาการของเมอื งนัน้ เป็นการรอ้ื ฟ้ืนใหม้ กี ารต่นื ตวั ในเร่อื งประวตั ศิ าสตรข์ องเมอื ง

ซง่ึ Patrick Geddes นกั ผงั เมอื งชาวองั กฤษผมู้ ชี อ่ื เสยี งของโลก ไดก้ ลา่ วไวใ้ น The City
in Evolution : 1915 วา่ “เราเรียนประวตั ิของเมืองเพื่อให้สามารถถ่ายทอดจิตใจ
และวิญญาณของชาวเมืองในสมยั นัน้ ว่า เขามีชีวิตอยู่กนั อย่างไร คิดกนั อย่างไร

และมีศิลปะวิทยาการมาอย่างไร”

คากล่าวของ Lewis Mumfort และ Patrick Geddes นกั พฒั นาเมอื งทงั้ หลาย

ควรจาใสใ่ จไว้ เพราะคากล่าวของท่านทงั้ สองมคี วามหมายรว่ มกนั อยทู่ ว่ี า่ “ถา้ อยากจะ

สรา้ งเมืองให้ดีเท่าไหร่ กค็ วรทาความเข้าใจในอดีตของเมืองให้ดีเท่านัน้ ” และเมอ่ื

เข้าใจอดีตของเมืองดีเท่าใด ก็อดไม่ได้ท่ีจะส่งเสริมการอนุรักษ์โบราณวัตถุและ

โบราณสถานใหด้ เี ทา่ นนั้ ”

ศรีอุไร ตนั ติลีปิ กร, คูเมืองโบราณที่เมืองโคราช,ข่าวสารสานักผงั เมือง กระทรวงมหาดไทย,

ฉบบั ท่ี ๓๔ (เมษายน ๒๕๒๑), หนา้ ๔๑ 290

จุดมุ่งหมายของการผงั เมือง คือ เพื่อประโยชน์ส่วนรวม
ชยั ยา พนู ศิริวงษ์ : การผงั เมอื ง คือ การประสาน

ผลประโยชน์ของส่วนสาธารณะ (Public interest) และ
ผลประโยชน์ของส่วนบุคคล (Private interest) ในการ
ใช้ท่ีดิน (Land Use) โดยพยายามแก้ข้อขัดแย้งและ
ข้อเสียหายต่างๆ อนั พึงจะเกิดขึ้นจากการใช้ที่ดินให้
ได้ผลดี โดยวางโครงการการใช้ที่ดินทงั้ ในปัจจบุ นั และ
อนาคตให้กลมกลนื เป็นอนั หน่ึงอนั เดียวกนั ”

ชัยยา พูนศิริวงษ์ , “ความหมายของการผงั เมือง” ข่าวสารสานักผงั เมือง
กระทรวงมหาดไทย ฉบบั ท่ี ๑ (ตุลาคม ๒๕๐๖), หนา้ ๑๗ – ๒๓

กรณศี ึกษา “ เกาะรัตนโกสินทร์ ”
หวั แหวนของพระนคร

292

“ เกาะรัตนโกสินทร์ ” ...... “ หัวแหวนของพระนคร ”

ปี ขาล จลุ ศกั ราช ๑๑๔๔ หรือ พทุ ธศกั ราช ๒๓๒๕ พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟ้าจฬุ าโลก ทรงย้ายเมืองหลวง
จากฝัง่ ธนบุรีมาตงั้ อยู่ ณ บริเวณ “เกาะรตั นโกสินทร์” เนื้อท่ีประมาณ ๒,๑๖๓ ไร่ ดงั นัน้ “พระนคร” คือ บริเวณตงั้ แต่ฝัง่
ตะวนั ออกของแม่น้าเจ้าพระยาจดคลองคเู มือง(คลอดหลอด) ในปัจจบุ นั บริเวณนี้ คือ “เมืองเก่า” ของกรงุ เทพมหานคร

“ เม่ือปี พ.ศ. ๒๓๙๖ “พระสงั ฆราชปาลเลอกวั ซ์” บนั ทึกไว้ใน “มิสซงั แห่งกรุงสยาม” ว่า “กรุงเทพตงั้ อยู่บน
สองฝัง่ แม่น้า ตวั เมืองเป็ นรปู เกาะล้อมรอบด้วยป้อมปราการเชิงเทิน แต่ละมุมเมืองมีหอคอยหรือป้อมค่าย กรงุ เทพตงั้ อยู่

ท่ามกลางสวนที่อดุ มสมบูรณ์เขียวชอ่มุ ตลอดปี จึงงามเหมือนภาพวาด ตามสองฝัง่ ของแม่น้ายอดแหลมห้มุ ทองของมณฑป

และโครงสร้างอนั สวยงามของพระปรางคท์ ี่มีการประดบั อย่างสวยงามด้วยกระเบือ้ งเคลือบหลากสีลอยสูงเด่นอยู่ในอากาศ

ยอดเจดีย์ห้มุ ทองประดบั กระเบื้องหลากสี สะท้อนแสงเหมือนสีรุ้ง ตวั เมืองซึ่งมีหอคอยและประตูมากมาย ลาคลองที่ตดั
ผา่ นไปรอบเมอื ง ยอดแหลมของปราสาทราชมณเฑียรในพระบรมมหาราชวงั สามารถมองเหน็ ได้ทงั้ ส่ีทิศ”

“กรงุ เทพมหานครในอดีตเป็ นเมืองท่ีมีความสวยงาม มีความเป็ นระเบียบเรียบร้อย มีเสน่หเ์ ป็ นที่ประทบั ใจของ

ผ้พู บเหน็ แต่กรงุ เทพมหานครในปี ท่ี ๒๐๐ กลบั ถกู จดั ให้เป็ นมหานครท่ีมีสภาพแวดล้อมเส่ือมโทรมแห่งหน่ึงของโลก จึงพบ
เห็นความเสื่อมโทรมที่เป็ นอนั ตรายต่อสภาพความเป็ นอยู่ของประชาชนและสวสั ดิภาพของสงั คม รวมทงั้ ความไม่เป็ น
ระเบียบเรียบร้อยจากการก่อสร้างอาคารที่ไร้คุณค่าทางสถาปัตยกรรมขึ้นมาบดบงั ศิลปะอนั มีคุณค่า แม้แต่บริเวณท่ีมี
ความสาคญั ยิ่งทางประวตั ิศาสตรข์ องชาติ เช่น บริเวณเกาะรตั นโกสินทร์ ซึ่งเปรียบกนั ว่า “เป็นเสมอื นหวั แหวนของพระนคร”
โดยหน่วยงานราชการเป็นผกู้ ่อสร้างอาคารขึน้ มาบดบงั ความงามทางศิลปะท่ีมีค่าย่ิงในบริเวณนี้ อาทิ อาคารของกรมอยั การ
ใกล้วัดพระแก้ว อาคารเรียนของมหาวิ ทยาลัยศิ ลปากรใกล้วัดพระแก้วและหอสมุดวชิ รญาณ อาคารเรียนของ
มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ใกล้กบั พิพิธภณั ฑ์สถานแห่งชาติและวดั มหาธาตุ ส่ิงเหล่านี้ นอกจากจะแสดงถึงความหยาบ
ของจิตใจท่ีไม่มีความละเอียดอ่อนต่อความงามทางศิลปะแล้ว ยงั แสดงให้เห็นถึงความไม่เป็ นอนั หนึ่งอนั เดียวกนั ของ
นโยบายการรว่ มมอื เพื่อท่ีจะรกั ษาความงดงามของศิลปะอนั มีค่าของชาติอีกด้วย”

ภานุพนั ธ์ ชยั รตั , กรงุ รตั นโกสินทร์ : การปฏิบตั ิงานด้านกฎหมายที่เก่ียวกบั การผงั เมือง ในช่วง ๒๐๐ ปี , ขา่ วสาร

สานกั ผงั เมอื ง (Journal of Town and Country Planning), ฉบบั ท่ี 40 (เมษายน 2525), หน้า ๙ และ ๑๔ 293

พระบรมมหาราชวงั

วดั มหาธาตุยวุ ราชรังสฤษฏ์ิ
พระราชวงั บวรสถานมงคล (วงั หน้า)

เกาะรัตนโกสินทร์ในอดตี

7/4/2022 294

อาคารหลงั เก่า
กระทรวงยุตธิ รรมและศาลฎกี า

7/4/2022 295

“ เกาะรัตนโกสินทร์ ”......“ หัวแหวนของพระนคร ”

296

297

เมื่อวนั ท่ี 1 เมษายน 2558 เวลา 17:39 น. ซีเอน็ เอน็ เผย 10 อนั ดบั พระราชวงั ท่ีมีผเู้ ย่ียมชมมากท่ีสุดในโลก พบพระบรมมหาราชวงั ของไทย

ติดอนั ดบั 3 เวบ็ ไซตซ์ ีเอน็ เอน็ สื่อชื่อดงั ของสหรัฐ เปิ ดเผย 10 อนั ดบั พระราชวงั ทวั่ โลก ท่ีมีผเู้ ยย่ี มชมมากท่ีสุด และพระบรมมหาราชวงั แห่ง
เกาะรัตนโกสินทร์ติดอยใู่ นอนั ดบั ที่....... อ่านต่อไดท้ ี่ : http://www.posttoday.com/world/news/356867 298

บทความ “กรุงรัตนโกสินทร์”

การปฏบิ ตั งิ านด้านกฎหมายท่เี กยี่ วข้องกบั การผงั เมือง ในช่วง ๒๐๐ ปี

พ.ศ. 2525

พ.ศ. 2525 พ.ศ. 2558

อาคารของมหาวทิ ยาลยั ศิลปากร ทกี่ ล่าวไว้ในบทสรุปของบทความเร่ืองนี้ เม่ือ ปี ๒๕๒๕

พ.ศ. 2525 พ.ศ. 2525
299

ทศั นะอุจาด


Click to View FlipBook Version