The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การบรรยาย ก.ศป. รุ่นที่ 12 Power Point บรรยาย 3 7 65

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pachairat, 2022-07-04 00:35:43

คดีสิ่งแวดล้อมที่สำคัญ ก.ศป. 12 Sun 3 7 65 PPT

การบรรยาย ก.ศป. รุ่นที่ 12 Power Point บรรยาย 3 7 65

คดไี ม่รับคาฟ้องการเคหะแห่งชาตินาพืน้ ทีส่ วนสาธารณะไปก่อสร้างแฟลต

ศาลปกครองสูงสุดวินิจฉัยว่า คดีนี้มีประเด็นต้องพิจารณาว่าเรื่องที่นามาฟ้องอยู่ ในอานาจพิจารณาพิพากษา
ของศาลปกครองหรือไม่ เห็นว่า ข้อพิพาทท่ีจะมีลักษณะเป็ นคดีปกครอง ต้องเป็ นข้อพิพาททางกฎหมายปกครองระหว่าง
เอกชนกับหน่วยงานของรัฐหรือเจ้าหน้าท่ีของรัฐ อันเก่ียวกับการใช้อานาจหน้าที่ตามกฎหมายในทางปกครอง สาหรับกรณี
ของคดีนี้ ผู้ถูกฟ้องคดีเป็ นรัฐวิสาหกิจท่ีถูกจัดต้ังขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์ และอานาจหน้ าท่ีกระทากิจการต่ างๆ
ตามพระราชบัญญัติการเคหะแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๗ ซึ่งอาจมีท้ังในส่วนท่ีมีลักษณะเป็ นการใช้อานาจทางปกครอง ได้แก่
การปกครองบังคับบัญชาพนักงานในสังกัด หรือการใช้อานาจรัฐในการดาเนินการบางอย่างเพ่ือประโยชน์สาธารณะ เช่น
การปรับปรุง รื้อ หรือย้ายแหล่งเส่ือมโทรม เพ่ือให้มีสภาพการอยู่อาศัย ส่ิงแวดล้อม เศรษฐกิจ และสังคมดีขึน้ ตามมาตรา ๖
(๔) หรือการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์เพ่ือใช้ดาเนินกิจการตามวัตถุประสงค์ของผู้ถูกฟ้องคดีตามความในมาตรา ๒๙ และ
มาตรา ๓๐ แห่งพระราชบัญญัติดังกล่าว และการดาเนินการตามวัตถุประสงค์ในส่วนที่เป็ นการประกอบกิจการในเชิงธุรกิจ
ได้แก่ การก่อสร้างอาคารให้ประชาชนเช่าซื้อ หรือซื้อ การดาเนินการในส่วนนีผ้ ู้ถูกฟ้องคดยี ่อมต้องดาเนินการไปตามกฎเกณฑ์
ต่างๆ รวมท้ังการจัดระบบสาธารณูปโภค ระบบการจัดการเกี่ยวกับสภาพแวดล้อม อาคารและอ่ืนๆ ให้เป็ นไปตามมาตรฐาน
หรือตามทกี่ ฎหมายและระเบยี บท่เี กยี่ วในเร่ืองน้ันๆ กาหนดไว้เช่นเดยี วกบั เอกชนทวั่ ไปทป่ี ระกอบกจิ การดงั กล่าว

เมื่อมูลเหตุของการฟ้องคดีนี้ เป็ นเรื่องที่สืบเน่ืองมาจากการประกอบกิจการเกี่ยวกับการก่อสร้างอาคารให้
ประชาชนซื้อหรือเช่าซื้อของผู้ถูกฟ้องคดีทีก่ ระทาการในฐานะเดียวกบั เอกชนทั่วไป หากมีการไม่ปฏิบัติตามเงื่อนไขในสัญญา
หรือมีการปฏิบัติท่ีผิดข้อตกลงต่อกนั ก็ถือเป็ นเรื่องการโต้แย้งสิทธิหน้าท่ีกนั ในระหว่างผู้ถูกฟ้องคดีในฐานะผู้ประกอบกิจการ
กับผู้เช่าซื้อหรือผู้ซื้อท่ีเป็ นเจ้าของบ้านหรืออาคารตามโครงการน้ัน มิใช่การใช้อานาจกระทาการในทางปกครอง ข้อพิพาทท่ี
นามาฟ้องเป็ นคดีจึงไม่มีลักษณะเป็ นคดีปกครองที่อยู่ในอานาจพิจารณาพิพากษาของศาลปกครอง ตามมาตรา ๙ แห่ง
พระราชบัญญัติจัดต้ังศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ศาลปกครองช้ันต้น มีคาส่ังไม่รับคาฟ้องไว้
พจิ ารณาและให้จาหน่ายคดอี อกจากสารบบความชอบแล้ว จึงมคี าสั่งยืนตามคาส่ังศาลปกครองกลางทไ่ี ม่รับคาฟ้องไว้พจิ ารณา

คดกี ารเคหะแห่งชาตนิ าพืน้ ท่ีสวนสาธารณะไปก่อสร้างแฟลต

ตุลาการฝ่ ายข้างน้อยเห็นว่า ประเด็นเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างการเคหะแห่งชาติกับผู้เช่าซื้อในการกระทา
กิจการของการเคหะแห่งชาติ ความสัมพันธ์ระหว่างการเคหะแห่งชาติกับผู้เช่าซื้อมีในสองลักษณะ คือ ลักษณะแรก เป็ น
ความสัมพนั ธ์ในฐานะเอกชนกบั เอกชน เมื่อมีข้อพพิ าทและคาขอท้ายคาฟ้องเป็ นเร่ืองประโยชน์เฉพาะตัวของผู้เช่าซื้อ จะอยู่
ภายใต้หลกั กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ซ่ึงข้อพพิ าทนีไ้ ม่อยู่ในอานาจของศาลปกครองท่ีจะรับไว้พจิ ารณาพพิ ากษาหรือมีคาส่ัง
ได้ ลักษณะท่ีสอง เป็ นความสัมพนั ธ์ในฐานะหน่วยงานของรัฐที่ต้องกระทากจิ การตามอานาจหน้าท่ีให้เป็ นไปตามหลักเกณฑ์
และมาตรฐาน หรือไม่น้อยกว่าหลักเกณฑ์และมาตรฐานข้ันต่าสาหรับการจัดสาธารณูปโภคหรือบริการอ่ืนที่จาเป็ นเพ่ือให้
สภาพการอยู่อาศัยดีขึน้ กับผู้เช่าซื้อซึ่งเป็ นบุคคลท่ีอาจได้รับความเดือดร้อนหรือเสียหายจากการกระทากิจการของการเคหะ
แห่งชาติ และเม่ือข้อพิพาทท่ีเป็ นมูลเหตุแห่งการฟ้องคดีเกี่ยวข้องกับประโยชน์สาธารณะจึงอยู่ภายใต้หลักกฎหมายมหาชน
และข้อพิพาทอยู่ในอานาจของศาลปกครองที่จะรับไว้พิจารณาพิพากษาหรือมีคาส่ังได้ เน่ืองจากการเคหะแห่งชาติเป็ น
หน่วยงานทางปกครองซ่ึงเป็ นรัฐวสิ าหกจิ ท่จี ัดต้ังขึน้ โดยพระราชบัญญัติการเคหะแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๗ มีวัตถุประสงค์ของ
การจัดต้ังการเคหะแห่งชาติในมาตรา ๖ ประการหน่ึง คือ (๑) จัดให้มีเคหะเพื่อให้ประชาชนได้มีท่ีอยู่อาศัย และบัญญัติใน
มาตรา ๙ ให้การเคหะแห่งชาติมีอานาจกระทากิจการต่างๆ ภายในขอบเขตวัตถุประสงค์ตามมาตรา ๖ อานาจเช่นว่าน้ันให้
รวมถึง (๕) จัดให้มีหรือพัฒนาสาธารณูปโภคหรือบริการอื่นท่ีจาเป็ นเพื่อให้สภาพการอยู่อาศัยดีขึน้ และบัญญัติไว้ในมาตรา
๒๙ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติดังกล่าวว่า ในการดาเนินกิจการของการเคหะแห่งชาติให้คานึงถึงประโยชน์ของรัฐและ

ประชาชน การที่การเคหะแห่งชาตินาเอาท่ีดินจานวน ๑๖ ไร่ ที่เป็ นมูลเหตุแห่งการฟ้องคดีไปใช้ประโยชน์อย่างอื่นต่างไป
จากท่ีเคยกาหนดไว้ในแผนผัง เป็ นการใช้ดุลพินิจกระทาการตามอานาจหน้าที่ซึ่งเก่ียวข้องกับหลักเกณฑ์และมาตรฐาน
ด้านสาธารณูปโภคหรือบริการอื่น ที่จาเป็ นเพ่ือให้สภาพการอยู่อาศัยดีขึน้ ท่ีเป็ นเร่ืองประโยชน์ของรัฐและประชาชน จึงเป็ น

คดพี พิ าทเกย่ี วกบั หน่วยงานทางปกครองกระทาการโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย

โดยเนื้ อหาของพระราชบัญญัติ การเคหะแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๗
เป็ นเรื่องของการจดั การพื้นท่ีตามเนื้อหาวิชาการด้านการผงั เมือง ซ่ึงเป็ น
การวางผงั ทางกายภาพท่ีการเคหะแห่งชาติจะต้องดาเนิ นการให้เป็ นไปตาม
มาตรฐานด้านต่ างๆ (Planning Standard) ได้แก่ ด้านสาธารณูปโภค
สาธารณูปการ ด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อม ด้านการสาธารณสุข และด้านการ
พฒั นาพืน้ ท่ี เช่น ขนาดความกว้างและความยาวตา่ สดุ หรือเนื้อท่ีน้อยท่ีสดุ ของ
แปลงที่ดิน มาตรฐานของถนนสายหลกั และสายรองประเภทต่างๆ ทางเดิน
และทางเท้า ระบบการระบายน้า การบาบดั น้าเสีย การกาจดั ขยะส่ิงปฏิกลู
บริการสาธารณะท่ีจาเป็นต่อการส่งเสริมสภาพความเป็นอยู่ เป็นต้น

ดงั นัน้ การดาเนิ นกิจกรรมทางปกครองด้านการเคหะของการเคหะ
แห่งชาติ เพ่ือวางผงั เคหะสาหรบั การอยู่อาศยั ของประชาชน จึงอยู่ในอานาจ
ของศาลปกครองเพ่ือตรวจสอบให้การจดั ทาบริการสาธารณะตามอานาจ
หน้าที่เป็ นไปตามหลกั เกณฑ์หรือมาตรฐานเพื่อค้มุ ครองประชาชนและรกั ษา
ประโยชน์ของส่วนรวม

403

ข้อพพิ าทเกย่ี วกบั การเคหะแห่งชาตจิ ดั ทาโครงการฟื้ นฟูเมืองชุมชนดนิ แดง

คดนี ้ี ฟ้องว่า ผู้ฟ้องคดเี ป็นผูเ้ ช่าอาคารแฟลตดนิ แดงเลขท่ี ๒๐๔/๖ อาคาร
ท่ี ๒๔ ชนั้ ท่ี ๑ ของโครงการดนิ แดง ๑ ได้รบั ความเดอื ดร้อนหรอื เสยี หายจากการท่ี
ผถู้ ูกฟ้องคดมี โี ครงการทจ่ี ะฟ้ืนฟูเมอื งชุมชนดนิ แดงเป็นอาคารคอนโดมเิ นียม ๒๕ ชนั้
ตามแผนแมบ่ ทโครงการฟ้ืนฟูเมอื งชุมชนดนิ แดง พ.ศ. ๒๕๕๙ - ๒๕๖๗ ซง่ึ จะใหส้ ทิ ธิ
ชาวชุมชนดนิ แดงท่อี าศยั อยู่เดมิ ได้มสี ทิ ธเิ ขา้ พกั ก่อนประชาชนทวั่ ไป และออกแบบ
หอ้ งเช่า มขี นาด ๓๓ ตารางเมตร และมคี ่าสว่ นกลางเดอื นละ ๘๐๐ บาท ทงั้ ทห่ี อ้ งเช่า
เดมิ มขี นาด ๔๑ - ๔๒ ตารางเมตร ขอใหศ้ าลมคี าพพิ ากษาหรอื คาสงั่ (๑) ระงบั แผน
ก่อสรา้ งคอนโดมเิ นยี ม ๒๕ ชนั้ (๒) ระงบั โครงการฟ้ืนฟูเมอื งชุมชนดนิ แดง



ข้อสังเกตเกยี่ วกบั การเคหะแห่งชาตจิ ดั ทาโครงการฟื้ นฟูเมืองชุมชนดนิ แดง

ข้อสงั เกต ผถู้ ูกฟ้องคดเี ป็น หน่วยงานทางปกครอง ตามมาตรา ๓ วรรคหน่ึง ของพระราชบญั ญตั จิ ดั ตงั้

ศาลปกครองและวธิ พี จิ ารณาคดปี กครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ เน่ืองจากเป็นรฐั วสิ าหกจิ ท่ตี งั้ ขน้ึ โดยพระราชบญั ญตั กิ ารเคหะ
แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๗ มีอานาจหน้าที่ตามมาตรา ๙ ที่บญั ญตั ิว่า ให้ กคช. มีอานาจกระทากิจการต่างๆ ภายใน
ขอบแห่งวตั ถุประสงค์ตามมาตรา ๖ อานาจเช่นว่าน้ีใหร้ วมถงึ (๕) จดั ให้มีหรือพฒั นาสาธารณูปโภคหรือบริการอ่ืน
ที่จาเป็นเพ่ือให้สภาพการอย่อู าศยั ดีขึน้

การท่ผี ู้ถูกฟ้องคดมี อี านาจ จดั ให้มีหรือพฒั นาสาธารณูปโภคหรือบริการอ่ืนที่จาเป็ นเพ่ือให้สภาพ
การอยู่อาศยั ดีขึ้น และได้กาหนดขนาดของเช่าเพ่ือเป็ นห้องพกั อาศยั โดยออกแบบห้องเช่าใหม่มีขนาด
๓๓ ตารางเมตร และ มีค่าส่วนกลางเดือนละ ๘๐๐ บาท ทงั้ ท่ีห้องเช่าเดิมมีขนาด ๔๑ –๔๒ ตารางเมตร ถอื เป็น
ขอ้ พพิ าทเก่ยี วกบั การกระทาอื่นใด เนื่องจาก กระทาโดยไม่มอี านาจหรอื นอกเหนืออานาจหน้าทห่ี รอื ไม่ถูกต้องตาม

กฎหมาย หรอื โดยไมถ่ กู ตอ้ งตามรปู แบบขนั้ ตอน หรอื วธิ กี ารอนั เป็นสาระสาคญั ทก่ี าหนดไวส้ าหรบั การกระทานนั้ หรอื โดย
ไม่สุจริต หรือมีลกั ษณะเป็นการเลือกปฏิบตั ิท่ีไม่เป็นธรรม หรือมีลกั ษณะเป็นการสร้างขนั้ ตอนโดยไม่จาเป็น หรือ
สร้างภาระให้เกิดกบั ประชาชนเกินสมควร หรือ เป็นการใช้ดลุ พินิจโดยมิชอบ

ซ่งึ ศาลปกครองมอี านาจตรวจสอบว่า หน่วยงานทางปกครองหรอื เจ้าหน้าท่ขี องรฐั กระทาการโดยไม่ชอบ

ดว้ ยกฎหมายตามมาตรา ๙ วรรคหน่ึง (๑) พระราชบญั ญตั จิ ดั ตงั้ ศาลปกครองและวธิ พี จิ ารณาคดปี กครอง พ.ศ. ๒๕๔๒

และกาหนดคาบงั คบั ตามคาพพิ ากษาตามมาตรา ๗๒ วรรคหน่ึง (๑) ทบ่ี ญั ญตั วิ ่า สงั่ ใหเ้ พกิ ถอนกฎหรอื คาสงั่ หรอื สงั่ หา้ ม

การกระทาทงั้ หมดหรอื บางสว่ น

ผฟู้ ้องคดเี ป็นผเู้ ช่าอาคารแฟลตดนิ แดงเลขท่ี ๒๐๔/๖ อาคารท่ี ๒๔ ชนั้ ท่ี ๑ ของโครงการดนิ แดง ๑ จงึ ถอื

เป็นผเู้ สยี หายหรอื อาจจะเสยี หายทม่ี สี ทิ ธฟิ ้องคดตี ่อศาลปกครองตามนัยมาตรา ๔๒ พระราชบญั ญตั จิ ดั ตงั้ ศาลปกครอง

และวธิ พี จิ ารณาคดปี กครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ และเหน็ ว่า คาฟ้องเกย่ี วกบั การจดั ใหม้ หี รอื พฒั นาสาธารณูปโภคหรอื บรกิ ารอ่นื
ทจ่ี าเป็นเพอ่ื ใหส้ ภาพการอยอู่ าศยั ดขี น้ึ สาหรบั ประชาชน เก่ียวข้องกบั ประโยชน์ของส่วนรวม

อานาจศาลปกครอง

อานาจในฐานะองคก์ รใช้อานาจอธิปไตยของรฐั
ตามบทบญั ญตั ิของรฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย

(รฐั สภา คณะรฐั มนตรี ศาล)

อานาจในฐานะศาลซ่ึงเป็นองคก์ รตลุ าการของรฐั
มาตรา ๑๙๗ ของรฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๐
(การนิติบญั ญตั ิ การบริหารราชการแผน่ ดิน การพิจารณาพิพากษาคดี)

อานาจในฐานะศาลเพ่ือพิจารณาพิพากษาคดีปกครอง
ตามบทบญั ญตั ิของรฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย
พระราชบญั ญตั ิว่าด้วยการวินิจฉัยชี้ขาดอานาจหน้าท่ีระหว่างศาล พ.ศ. ๒๕๔๒

(ศาลยตุ ิธรรม ศาลปกครอง ศาลทหาร)

อานาจในฐานะศาลปกครองเพื่อพิจารณาพิพากษาตามเนื้อหาคดีปกครอง
ตามบทบญั ญตั ิแห่งพระราชบญั ญตั ิจดั ตงั้ ศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒

(กฎ คาสงั่ และ การกระทาอ่ืนใด)
(มาตรา ๙ (๖) คดีพิพาทเกี่ยวกบั เร่ืองที่มีกฎหมายกาหนดให้อย่ใู นเขตอานาจศาลปกครอง)

อานาจศาลปกครอง

การกระทาอื่นใด : การกระทาทางปกครองท่ีมีลกั ษณะเป็ นการกระทากายภาพ

คดเี กยี รตพิ งศ์
(การก่อสร้างสะพานลอยคนเดนิ ข้ามถนน)

คดหี มายเลขดาท่ี ๑๓๕/๒๕๔๔ คดหี มายเลขแดงท่ี ๑๓๓/๒๕๔

ศาลปกครองกลางมคี าสั่งไม่รับคาฟ้องไว้พจิ ารณา

ความเห็นแย้ง
คดหี มายเลขดาที่ ๑๓๕/๒๕๔๔ คดหี มายเลขแดงท่ี ๑๓๓/๒๕๔๕

คาส่ังศาลปกครองสูงสุด
คาร้องที่ ๕๙/๒๕๔๕ คาสั่งที่ ๙๓/๒๕๔๕

ศาลปกครองสูงสุดส่ังให้ศาลปกครองกลางรับคาฟ้องไว้พจิ ารณา

อานาจศาลปกครอง

การกระทาอื่นใด

การดาเนินกจิ กรรมทางปกครองท่มี ลี กั ษณะเป็ นการกระทากายภาพ

คดเี กยี รตพิ งศ์
(การก่อสร้างสะพานลอยคนเดินข้ามถนน)

คดหี มายเลขดาท่ี ๑๓๕/๒๕๔๔ คดหี มายเลขแดงท่ี ๑๓๓/๒๕๔

ศาลปกครองกลางมีคาส่ังไม่รับคาฟ้องไว้พจิ ารณา

7/4/2022 410

คดเี กยี รติพงศ์

กรมทางหลวงก่อสร้างสะพานลอยคนเดินข้ามถนน

คดหี มายเลขดาท่ี ๑๓๕/๒๕๔๔ คดหี มายเลขแดงท่ี ๑๓๓/๒๕๔๔

ศาลปกครองช้ันต้นสั่งไม่รับคาฟ้องไว้พิจารณา โดยวินิจฉัยว่า แม้ผูถ้ ูกฟ้องคดีจะได้
ดาเนินการไปตามหนา้ ท่ีที่กาหนดไวใ้ นพระราชกฤษฎีกาแบ่งส่วนราชการของกรมทางหลวง กระทรวง
คมนาคม พ.ศ. ๒๕๓๘ แต่ในการดาเนินการดังกล่าวผูถ้ ูกฟ้องคดีหาจาต้องใช้และได้ใช้อานาจ
ทางปกครองของรัฐเขา้ ดาเนินการแต่อยา่ งใดไม่ คดีน้ีจึงมิใช่คดีพิพาทตามมาตรา ๙ วรรคหน่ึง (๑) (๒)
หรือ (๓) ประกอบมาตรา ๗๒ วรรคหน่ึง (๑) (๒) หรือ (๓) แห่งพระราชบญั ญตั ิจดั ต้งั ศาลปกครองและ
วธิ ีพจิ ารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ที่ศาลปกครองจะมีอานาจพจิ ารณาพพิ ากษาหรือมีคาสง่ั ได้

สาเหตุการเกิดปัญหาในการอานวยความยุติธรรมทางปกครองมาจากวิธีคิดของตุลาการ
ศาลปกครองในระยะเริ่มแรกเม่ือเปิ ดทาการศาลปกครอง โดยยึดหลกั ว่า คดีพิพาททางปกครองที่
ศาลปกครองจะรับคาฟ้องไวพ้ ิจารณาน้นั จะตอ้ งเป็ นการกระทาทางปกครองซ่ึงเป็ นการใชอ้ านาจของ
เจา้ หนา้ ที่ของรัฐตามพระราชบญั ญตั ิท่ีตราโดยรัฐสภาเท่าน้นั ส่วนการกระทาตามที่กาหนดไวใ้ นกฎหมาย
ลาดบั รองถือเป็นภารกิจไม่ใช่การใชอ้ านาจของหน่วยงานทางปกครอง ดงั น้นั เมื่อประชาชนนาคดีพิพาท
ซ่ึงเจ้าหน้าท่ีของรัฐกระทาการตามหน้าท่ีตามกฎหมายลาดับรองมาฟ้อง ศาลปกครองช้ันตน้ จะสั่ง
ไม่รับคาฟ้องไวพ้ จิ ารณาเป็นจานวนมาก

“การกระทาอ่ืนใด” ตามมาตรา ๙ วรรคหน่ึง (๑)
แห่งพระราชบัญญตั จิ ดั ต้งั ศาลปกครองและวธิ ีพจิ ารณาคดปี กครอง พ.ศ. ๒๕๔๒

ความเห็นแย้ง คดหี มายเลขแดงที่ ๒๕/๒๕๔๕) เห็นว่า “การกระทาอ่ืนใด” ตาม
มาตรา ๙ วรรคหน่ึง (๑) แห่งพระราชบัญญัติจดั ต้ังศาลปกครองฯ หมายความรวมถึง
การกระทาทางกายภาพซ่ึงหน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐได้รับมอบหมาย
ให้กระทาการตามท่ีกฎหมายกาหนดการก่อสร้างสะพานลอยคนเดินข้ามเป็ นการกระทา
ตามอานาจหน้าท่ีซึ่งกาหนดไว้ในพระราชบัญญตั ิทางหลวง พ.ศ. ๒๕๓๕ และพระราช
กฤษฎีกาแบ่งส่ วนราชการกรมทางหลวงฯ จึงเป็ น การกระทาอย่างอ่ืนตามมาตรา ๙
วรรคหนึ่ง (๑) ซึ่งศาลปกครองมอี านาจกาหนดคาบังคับตามมาตรา ๗๒ วรรคหน่ึง (๑)
แห่งพระราชบญั ญตั จิ ดั ต้งั ศาลปกครองฯ โดยสั่งห้ามการกระทาท้งั หมดหรือบางส่วน

ทีม่ า : ย่อคาสั่งศาลปกครองสูงสุด พ.ศ. ๒๕๔๕ เล่ม ๑ หน้า ๑๘๐ – ๑๘๑ จดั พมิ พ์โดย
สวสั ดกิ ารสานักงานศาลปกครอง

คาสงั่ ศาลปกครองสงู สดุ ท่ี ๑๐๔/๒๕๔๕

(อทุ ธรณ์คาสงั่ ศาลปกครองกลาง คดีหมายเลขแดงท่ี ๒๕/๒๕๔๕)

คดีพิพาทตามมาตรา ๙ วรรคหน่ึง (๑) รวมถึงคดีพิพาทเกี่ยวกบั การกระทาหรือ
การปฏิบตั ิการใดๆ ของหน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าท่ีของรฐั ด้วย และเหตุท่ีทาให้
การกระทาหรือการปฏิบตั ิใดๆ ไม่ชอบด้วยกฎหมายรวมถึง การใช้ดุลพินิ จโดยมิชอบด้วย
เม่ือผ้ฟู ้องคดีได้รบั ความเดือดร้อนหรือเสียหายจากการกระทาของหน่วยงานทางปกครอง
หรือเจ้าหน้าท่ีของรฐั ที่ใช้ดลุ พินิ จกาหนดจดุ ก่อสร้างสะพานลอยคนเดินข้ามถนนตามมาตรา
๔๒ วรรคหน่ึ ง แห่งพระราชบญั ญัติจดั ตัง้ ศาลปกครองฯ คดีนี้จึงเป็ นคดีพิพาทเกี่ยวกับ
การท่ีหน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าท่ีของรฐั กระทาการโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย
ในลกั ษณะใช้ดลุ พินิจโดยมิชอบตามมาตรา ๙ วรรคหน่ึง (๑) และศาลกาหนดคาบงั คบั ได้ตาม
มาตรา ๗๒ วรรคหนึ่ง (๑) แห่งพระราชบญั ญตั ิจดั ตงั้ ศาลปกครองฯ จึงมีคาสงั่ ให้ศาลปกครอง
ชนั้ ต้นรบั คาฟ้องไว้พิจารณา

413

“การกระทาอื่นใด”

ตามมาตรา ๙ วรรคหนึ่ง (๑)

แห่งพระราชบัญญตั ิจัดต้งั ศาลปกครองและวธิ ีพจิ ารณาคดปี กครอง พ.ศ. ๒๕๔๒

(๑) คดีพพิ าทเกยี่ วกับการทห่ี น่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าท่ีของรัฐ
กระทาการโดยไม่ชอบด้วยกฎหมายไม่ว่าจะเป็ นการออกกฎ คาส่ังหรือ
การกระทาอ่ืนใด เน่ืองจากกระทาโดยไม่มีอานาจหรือนอกเหนืออานาจหน้าท่ี
หรือไม่ถูกต้องตามกฎหมาย หรือโดยไม่ถูกต้องตามรูปแบบข้ันตอน หรือ
วิธีการอนั เป็ นสาระสาคญั ที่กาหนดไว้สาหรับการกระทาน้ัน หรือโดยไม่สุจริต
หรือมีลกั ษณะเป็ นการเลือกปฏิบัติที่ไม่เป็ นธรรม หรือมีลักษณะเป็ นการสร้าง
ข้ันตอนโดยไม่จาเป็ นหรือสร้างภาระให้เกิดกับประชาชนเกินสมควร หรือเป็ น
การใช้ดุลพนิ ิจโดยมชิ อบ

ผลของคาส่ั งศาลปกครอง

ใ น ค ดี นี้ ท า ใ ห้ ก า ร ก ร ะ ท า ท า ง

ปกครองท่ีมีลักษณะเป็ นการ

กระทาทางกายภาพ ขององค์กร

ปกครองส่ วนท้องถ่ิน ได้แก่

เทศบาล ๒๐๐๐ กว่าแห่ง อ.บ.ต.

๖๐๐๐ กว่าแห่ง หรือหน่วยงาน

ของรัฐอ่ืนๆ ท่ัวประเทศได้รับ

การตรวจสอบโดยศาลปกครอง

เพ่ือคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ

7/4/2022 ของประชาชน 415

“การกระทาอ่ืนใด” ตามมาตรา ๙ วรรคหนึ่ง (๑)
แห่งพระราชบัญญตั จิ ัดต้งั ศาลปกครองและวธิ ีพจิ ารณาคดปี กครอง พ.ศ. ๒๕๔๒

ข้อสังเกต เมื่อมองย้อนกลับไปในกรณีท่ีหากศาลปกครองไม่รับคาฟ้อง
ลักษณะที่กล่าวมาไว้เป็ นคดีปกครอง สภาพความเป็ นธรรมในสังคมไทยจะ
เป็ นอย่างไร เพราะข้อเท็จจริงในบริบทของสังคมไทยขณะน้ันมีการกระจาย
อานาจให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน รูปแบบต่างๆ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร
เมืองพทั ยา เทศบาล รวมกนั ประมาณ ๑,๒๐๐ แห่ง องค์การบริหารส่วนตาบล
ประมาณ ๖,๐๐๐ แห่ง และองค์การบริหารส่วนจังหวดั ประมาณ ๗๐ แห่ง เพื่อ
ดาเนินกิจกรรมทางปกครองที่มีลักษณะเป็ นการกระทาทางกายภาพอย่าง
หลากหลายเป็ นจานวนมากท่ัวประเทศ หากเกิดความไม่เป็ นธรรมกับ
ประชาชนจากการกระทาที่กล่ าวมา ประชาชนจะหันหน้ าไปพึ่งพา
กระบวนการยตุ ธิ รรมใดของประเทศไทย

การตรวจสอบการใช้ดุลพนิ ิจ

มาตรา ๙ วรรคหนึ่ง (๑)
แห่งพระราชบญั ญตั จิ ัดต้งั ศาลปกครองและวธิ ีพจิ ารณาคดปี กครอง พ.ศ. ๒๕๔๒

มาตรา ๙ ศาลปกครอง มีอานาจพิจารณาพิพากษาหรือมีคาส่ังใน
เร่ืองดังต่อไปนี้ (๑) คดีพิพาทเกี่ยวกับการที่หน่วยงานทางปกครองหรือ
เจ้าหน้าทีข่ องรัฐ กระทาการโดยไม่ชอบด้วยกฎหมายไม่ว่าจะเป็ น การออกกฎ
คาส่ัง หรือ การกระทาอ่ืนใด เน่ืองจากกระทาโดยไม่มีอานาจหรือนอกเหนือ
อานาจหน้าที่หรือไม่ถูกต้องตามกฎหมาย หรือโดยไม่ถูกต้องตามรูปแบบ
ข้นั ตอน หรือวธิ ีการอนั เป็ นสาระสาคญั ท่ีกาหนดไว้สาหรับการกระทาน้ัน หรือ
โดยไม่สุจริต หรือมีลักษณะเป็ นการเลือกปฏิบัติท่ีไม่เป็ นธรรม หรือมีลักษณะ
เป็ นการสร้ างข้ันตอนโดยไม่จาเป็ นหรือสร้ างภาระให้เกิดกับประชาชน
เกนิ สมควร หรือเป็ นการใช้ดุลพนิ ิจโดยมชิ อบ

อานาจศาลปกครอง

ในการตรวจสอบ การใช้ดลุ พินิจ (Discretion)
ของเจ้าหน้าท่ีของรฐั

การกระทาทางปกครอง
ทมี่ ีลกั ษณะเป็ นการกระทากายภาพ

418

หลกั พืน้ ฐานที่ใช้ตรวจสอบการใช้ดลุ พินิจ

การตรวจสอบความชอบด้วยกฎหมาย

(Spirit of Law)

หลกั ความมีเหตผุ ล

(Reasoning Principle Logical Principle)

หลกั ความสมเหตสุ มผล

(Reasonable Principle)

419

คาสงั่ ไม่รบั คาฟ้องไว้พิจารณาเพราะไม่อย่ใู นอานาจศาลปกครอง
ข้อพิพาทช่องเดินรถจกั รยานยนตบ์ นสะพานข้ามแยกหรอื อโุ มงค์

คดีน้ี ผฟู้ ้องคดีรวมแปดสิบคนเป็นผใู้ ชร้ ถใชถ้ นนโดยขบั ขี่รถจกั รยานยนตเ์ ป็นยานพาหนะบนทางหลวง ยน่ื ฟ้อง
ผูถ้ ูกฟ้องคดีท่ี ๑ (ผูบ้ ญั ชาการตารวจนครบาล) ผูถ้ ูกฟ้องคดีท่ี ๒ (กรุงเทพมหานคร) และผูถ้ ูกฟ้องคดีที่ ๓ (กรมทางหลวง)
ขอให้ศาลปกครองมีคาพิพากษาหรือคาสั่ง ... (๒) ให้ผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๒ และที่ ๓ กาหนดหรือจัดสรรช่องทางเดินรถสาหรับ
รถจกั รยานยนต์บนสะพานข้ามทางร่วมทางแยกหรืออโุ มงค์ลอดทางร่วมทางแยกในเขตกรุงเทพมหานคร

องค์คณะมีคาส่ังไม่รับคาฟ้องไว้พิจารณาและส่ังจาหน่ายคดีออกจากสารบบความ โดยวินิจฉัยว่า ข้อหาท่ีสอง
ตามคาขอข้อ (๒) เห็นว่า ขอบเขตอานาจของผู้ถูกฟ้องคดีท่ี ๒ (กรุงเทพมหานคร) และผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๓ (กรมทางหลวง)
มีลักษณะเป็ นการวางโครงสร้างการจราจร การขนส่งและระบบงานทางโดยรวม ซ่ึงต้องคานึงถึงหลักวิศวกรรมจราจรเป็ น
สาคญั อกี ท้งั การกาหนดให้ถนน สะพานหรืออุโมงค์ใด รองรับรถยนต์ประเภทใดหรือต้องจัดช่องจราจรเพ่ือรองรับรถชนิดใด
น้ัน ย่อมต้องคานึงถึงเหตุปัจจัยอ่ืนๆ อกี หลายประการ เช่น ความเหมาะสม นโยบาย งบประมาณ รวมท้งั ผลกระทบด้านต่างๆ

ที่จะเกิดขึน้ จากการกระทาดังกล่าว “ซึ่งเป็ นดุลพนิ ิจภายในของฝ่ ายปกครองที่ศาลไม่อาจก้าวล่วงไปใช้อานาจ
แทนฝ่ ายปกครองในการกาหนดนโยบายและการปฏิบัติหน้าที่ดงั กล่าวได้” ดงั น้ัน คาขอของผู้ฟ้องคดีท้ัง
แปดสิบคนท่ีขอให้ผู้ถูกฟ้องคดีท่ี ๒ และท่ี ๓ กาหนดหรือจัดสรรช่องเดินรถสาหรับรถจักรยานยนต์บน
สะพานข้ามทางร่วมทางแยกหรืออุโมงค์ในเขตกรุงเทพมหานคร จึงเป็ นคาขอท่ีศาลปกครองไม่อาจ
กาหนดคาบังคับได้ตามมาตรา ๗๒ วรรคหนึ่ง (๒) แห่งพระราชบัญญัติจัดต้ังศาลปกครองและ
วิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ผู้ฟ้องคดีท้ังแปดสิบคนจึงมิใช่เป็ นผู้มีสิทธิฟ้องคดีต่อศาลปกครองตามมาตรา

๔๒ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญตั เิ ดยี วกนั จึงมคี าส่ังไม่รับคาฟ้องข้อหาทสี่ องไว้พจิ ารณา

การตรวจสอบการใช้ดุลพนิ ิจ

มาตรา ๙ วรรคหนึ่ง (๑)
แห่งพระราชบญั ญตั จิ ัดต้งั ศาลปกครองและวธิ ีพจิ ารณาคดปี กครอง พ.ศ. ๒๕๔๒

มาตรา ๙ ศาลปกครอง มีอานาจพิจารณาพิพากษาหรือมีคาส่ังใน
เร่ืองดังต่อไปนี้ (๑) คดีพิพาทเกี่ยวกับการที่หน่วยงานทางปกครองหรือ
เจ้าหน้าทีข่ องรัฐ กระทาการโดยไม่ชอบด้วยกฎหมายไม่ว่าจะเป็ น การออกกฎ
คาส่ัง หรือ การกระทาอ่ืนใด เน่ืองจากกระทาโดยไม่มีอานาจหรือนอกเหนือ
อานาจหน้าที่หรือไม่ถูกต้องตามกฎหมาย หรือโดยไม่ถูกต้องตามรูปแบบ
ข้นั ตอน หรือวธิ ีการอนั เป็ นสาระสาคญั ท่ีกาหนดไว้สาหรับการกระทาน้ัน หรือ
โดยไม่สุจริต หรือมีลักษณะเป็ นการเลือกปฏิบัติท่ีไม่เป็ นธรรม หรือมีลักษณะ
เป็ นการสร้ างข้ันตอนโดยไม่จาเป็ นหรือสร้ างภาระให้เกิดกับประชาชน
เกนิ สมควร หรือเป็ นการใช้ดุลพนิ ิจโดยมชิ อบ

การตรวจสอบการใช้ดุลพนิ ิจ

ข้อพิพาทท่ีเกี่ยวกบั ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านวิศวกรรมจราจร หากถือ
หลกั ว่า ศาลไม่มีอานาจตรวจสอบการใช้ดุลพินิ จของหน่วยงานทางปกครอง
และเจ้าหน้ าที่ของรัฐในเรื่องดังกล่าว ย่อมส่งผลกระทบทาให้เกิดความ
เดือดร้อนและความเสียหายต่อชีวิตและทรพั ย์สินของประชาชนทัว่ ไปและ

ประโยชน์สาธารณะอย่างกว้างขวาง เช่น การวางแนวถนน (Alignment)

และก่อสร้างถนนเกษตร-นวมิ นทร์ ถนนโครงข่ายคมนาคมหลักของ
กรงุ เทพมหานครเมืองหลวงของประเทศไทย ซึ่งหน่วยงานของรฐั ไม่ดาเนินการ

ให้เป็ นไปตามหลกั วิศวกรรมจราจรจึงก่อสร้างถนนเป็ น ทางโค้งหักศอก

(Sharp Curve) ภายในอุโมงค์ถนนเกษตร-นวมิ นทร์ บริ เวณส่ีแยก

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จึงส่งผลกระทบหลายๆ ด้าน เช่น การวางระบบ
สาธารณูปโภคของเมือง และการใช้พื้นท่ีเพื่อการพฒั นาเมืองอย่างมีประสิทธิภาพ
โดยเฉพาะความเสียหายต่อชีวิตและทรพั ยส์ ินของประชาชนทวั่ ไป

ทด่ี นิ ราชพสั ดุของหน่วยงานราชการ ประเดน็ ปัญหาการใช้ทด่ี นิ ราชพสั ดุ
ซึ่งมกี ารวางแนวถนนผ่านส่วนท่ยี งั เป็ นทว่ี ่าง กบั การพฒั นาเมือง
แต่ส่วนราชการไม่ยนิ ยอมให้ตดั ถนนผ่านบางส่วน
จึงต้องปรับแนวถนนใหม่ตามทเี่ ห็นในปัจจุบัน

ประเดน็ ปัญหาการใช้ทดี่ นิ ราชพสั ดุกบั การพฒั นาเมือง

เปรียบเทยี บแนวถนนสายหลกั กลางเมืองหลวงของประเทศไทย

“ถนนรามอนิ ทรา”

“แนวถนนเกษตร-นวมนิ ทร์”

“ถนนลาดพร้าว”

ปัญหาการไม่ยนิ ยอมให้ใช้ทดี่ นิ ราชพสั ดุเพ่ือการพฒั นาเมือง
ซึ่งเป็ นประโยชน์ของส่วนรวม สร้างความสูญเสียต่อชีวติ และ
ทรัพย์สินของคนรุ่นหลงั ต่อเน่ืองไปในอนาคตอย่างไม่สิ้นสุด

อโุ มงค์ลอดบริเวณสี่แยกเกษตร

ทางลงเนินและโคง้ หกั ศอกกลางอุโมงคท์ างลอด

โค้งหักศอกกลางอโุ มงค์ทางลอด



คาสั่งไม่รับคาฟ้องไว้พจิ ารณาเพราะไม่อยู่ในอานาจศาลปกครอง

ข้อพพิ าทเทศบาลละเลยการดูแลและรับผดิ ชอบซ่อมบารุงถนนสาธารณะ

คดีนี้ ผ้ฟู ้องคดีฟ้องสรปุ ว่า บ้านพกั อาศยั ของผ้ฟู ้องคดีตงั้ อยู่ติดถนนซอยเทศบาล
๔ ซ่ึงเป็ นถนนสาธารณะท่ีอยู่ในความดูแลและรบั ผิดชอบของผ้ถู กู ฟ้องคดี (เทศบาลเมือง)
เน่ืองจากบริเวณกลางซอยเทศบาล ๔ มีโรงงานปูนซีเมนต์ตงั้ อยู่และรถขนปูนซีเมนต์ได้ใช้

ถนนดงั กล่าวขนปูนซีเมนต์เข้าออกโรงงานทาให้ถนนมีสภาพทรุดโทรมเป็ นหลุมเป็ นบ่อ

จานวนมาก รวมทงั้ ผ้ถู กู ฟ้องคดีไม่ได้ทาระบบระบายน้าของถนนดงั กล่าวทาให้เวลาฝนตก
เกิดน้าท่วมขงั ส่วนช่วงหน้าแล้งเกิดฝ่ นุ ละอองจากการใช้ถนนของรถขนปนู ซีเมนต์ฟ้งุ เข้าไป
ในบ้านเกิดปัญหาด้านมลพิษ ทาให้ผฟู้ ้องคดีและประชาชนจานวนมากได้รบั ความเดือดร้อน

ผ้ฟู ้องคดีเคยมีหนังสือร้องเรียนผ้ถู กู ฟ้องคดีหลายครงั้ ให้แก้ปัญหาดงั กล่าว แต่ผ้ถู กู ฟ้องคดี
ไม่ดาเนิ นการแก้ไข ผู้ฟ้ องคดีเห็นว่าผู้ถกู ฟ้ องคดีละเลยต่อหน้าท่ีตามท่ีพระราชบญั ญตั ิ

เทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ มาตรา ๕๐ วรรคหนึ่ง (๒) ประกอบมาตรา ๕๓ (๑) กาหนด ซึ่งกฎหมาย
ดงั กล่าวบญั ญตั ิให้ผ้ถู กู ฟ้องคดีมีหน้าท่ีรบั ผิดชอบดแู ลบารงุ ถนนสาธารณะ จึงนาคดีมาฟ้อง
ต่อศาลเมอื่ วนั ที่ ๖ พฤศจิกายน ๒๕๖๐

ขอให้ศาลมีคาสงั่ หรือคาพิพากษาให้ผ้ถู กู ฟ้องคดีดาเนิ นการแก้ไขความเดือดร้อน

ตามอานาจหน้าท่ีท่ีกฎหมายว่าด้วยเทศบาลกาหนดภายในระยะเวลาตามท่ีศาลเหน็ สมควร

คาสั่งไม่รับคาฟ้องไว้พจิ ารณาเพราะไม่อยู่ในอานาจศาลปกครอง

ข้อพพิ าทเทศบาลละเลยการดูแลและรับผดิ ชอบซ่อมบารุงถนนสาธารณะ

องคค์ ณะพิจารณาแลว้ มีคาส่ังไม่รับคาฟ้องไวพ้ ิจารณาและจาหน่ายคดีออกจากสารบบความ
โดยวนิ ิจฉัยว่า ... แมม้ าตรา ๕๐ วรรคหน่ึง (๒) ประกอบกบั มาตรา ๕๓ (๑) แห่งพระราชบญั ญตั ิเทศบาล
พ.ศ. ๒๔๙๖ จะกาหนดให้ผถู้ ูกฟ้องคดีมีหนา้ ที่ตอ้ งจดั ให้มีและบารุงทางบกและทางน้าก็ตาม แต่ในการ
ดาเนินการตามอานาจหน้าที่ดังกล่าวผูถ้ ูกฟ้องคดีจะต้องมีการกาหนดนโยบาย แผนงาน และหรือ
โครงการ โดยใชด้ ุลพินิจพิจารณาถึงความเหมาะสม งบประมาณ และความจาเป็ นเร่งด่วน รวมท้งั ตอ้ ง
จดั ทาเป็ นขอ้ บญั ญตั ิงบประมาณรายจ่ายประจาปี หรือขอ้ บญั ญตั ิงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติมเพื่อนา
งบประมาณของราชการเขา้ ไปจดั ทาบริการสาธารณะ ดงั น้นั การดาเนินการตามคาขอทา้ ยคาฟ้องของ
ผูฟ้ ้องคดีจึง “เป็ นงานนโยบายในการจัดทาบริการสาธารณะซ่ึงผูถ้ ูกฟ้องคดีมีเป็ นความอิสระท่ีจะ
ดาเนินการนโยบายดงั กล่าว” ศาลปกครองไม่มีอานาจกา้ วล่วงเขา้ ไปกาหนดนโยบายแทนผถู้ ูกฟ้องคดีได้
คาขอของผูฟ้ ้องคดีท่ีขอให้ศาลมีคาพิพากษาหรือคาส่ังให้ผูถ้ ูกฟ้องคดีดาเนินการแกไ้ ขความเดือดร้อน
ดงั กล่าวตามอานาจหนา้ ท่ีตามที่กฎหมายว่าดว้ ยเทศบาลภายในระยะเวลาตามที่ศาลเห็นสมควร จึงเป็ น
คาขอที่ศาลไม่อาจกาหนดคาบังคบั ได้ ตามมาตรา ๗๒ วรรคหน่ึง (๒) แห่งพระราชบัญญตั ิจัดต้ัง
ศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ผูฟ้ ้องคดีจึงมิใช่เป็ นผูม้ ีสิทธิฟ้องคดีตามมาตรา
๔๒ วรรคหน่ึง แห่งพระราชบญั ญตั ิดงั กล่าว ศาลจึงไม่อาจรับคาฟ้องน้ีไวพ้ ิจารณาได้ จึงมีคาส่ังไม่รับ
คาฟ้องไวพ้ ิจารณาและใหจ้ าหน่ายคดีออกจากสารบบความ

คดีท่ีสาธารณะหนองญาติ

จงั หวดั นครพนม

ศาลปกครองสงู สดุ

คดีหมายเลขดาท่ี อ.๔๓๕/๒๕๕๑ คดีหมายเลขแดงที่ อ. ๙๖๓/๕๖

กรณศี ึกษา

การจัดสรรทรัพยากรธรรมชาติ
เพ่ือประโยชน์ส่วนรวม ราชการ และชุมชน

วเิ คราะห์วธิ ีคดิ ของตุลาการ

How Judges Think

คดีนี้ ศาลปกครองช้ันต้ น และ ศาลปกครองสู งสุ ด
มีคาพิพากษายกฟ้อง คาขอของผู้ฟ้องคดี ที่ขอให้ศาลมีคาพิพากษา
เพิกถอนหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวง เลขที่ นพ ๐๐๓๘ ลงวันที่
๖ ตุลาคม ๒๕๓๖ และเพิกถอนการขึ้นทะเบียนที่ราชพัสดุจังหวัด
แปลงหมายเลขท่ี นพ ๑๓๔๗ รวมท้ัง เพิกถอนหรือระงับการนา
ที่ราชพัสดุแปลงดังกล่าวขึ้นทะเบียนท่ีราชพัสดุกลาง และ ให้
ดาเนิ นการสารวจรั งวัดที่ดินหนองญาติเพ่ื อออกหนั งสื อสาคัญ
สาหรับที่หลวงให้เป็ นสาธารณสมบัติของแผ่นดินประเภทสาหรับ
พลเมืองใช้ร่วมกนั

432

พืน้ ทต่ี วั เมืองนครพนม

พืน้ ที่หนองญาติ

ท่ีสาธารณะหนองญาติ อาเภอเมอื ง จงั หวดั นครพนม

การกระทาที่อาจถูกต้องตามกระบวนการ
และวิธีการท่ีหน่ วยงานราชการกาหนดไว้
ในระเบียบของทางราชการ

แต่หากเกดิ ผลลพั ธ์ทีไ่ ม่มีตรงกบั เจตนารมณ์
ของกฎหมายย่อมเป็ นการกระทาที่ไม่ชอบด้วย
กฎหมายตามหลกั กฎหมายมหาชน

เปรียบเทียบ พืน้ ท่ีที่สาธารณะหนองญาติ กบั พืน้ ท่ีตวั เมืองนครพนม

ที่สาธารณะหนองญาติ อาเภอเมือง จงั หวดั นครพนม

มาตรา ๑๓๐๔ บญั ญตั ิว่า สาธารณสมบตั ิของแผ่นดินน้ัน รวมทรัพยส์ ินทุกชนิดของแผ่นดินซ่ึงใชเ้ พื่อสาธารณประโยชน์หรือสงวนไว้
เพ่ือประโยชน์ร่วมกนั เช่น (๑) ท่ีดินรกร้างว่างเปล่า และท่ีดินซ่ึงมีผเู้ วนคืนหรือทอดทิ้งหรือกลบั มาเป็นของแผน่ ดินโดยประการอ่ืนตามกฎหมายที่ดิน (๒)
ทรัพยส์ ินสาหรับพลเมืองใชร้ ่วมกนั เป็นตน้ ว่าที่ชายตล่ิง ทางน้า ทางหลวงทะเลสาบ (๓) ทรัพยส์ ินใชเ้ พื่อประโยชน์ของแผน่ ดินโดยเฉพาะ เป็นตน้ วา่ ป้อม
และโรงทหาร สานกั ราชการบา้ นเมือง เรือรบ อาวธุ ยทุ ธภณั ฑ์

บทบญั ญตั ิมาตรา ๑๓๐๔ ที่กล่าวมา จึงเป็ นการจาแนกลกั ษณะของสาธารณสมบตั ิของแผ่นดินว่าทรัพยส์ ินของแผ่นดินน้ัน “ใช้เพ่ือ
สาธารณประโยชน์” หรือ “สงวนไวเ้ พื่อประโยชน์ร่วมกนั ” ซ่ึงทรัพยส์ ินตามมาตรา ๑๓๐๔ (๑) และ (๓) ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ จดั เป็นทรัพยส์ ิน
ของแผน่ ดินประเภทที่ใชเ้ พ่ือสาธารณประโยชน์ ส่วนทรัพยส์ ินตามมาตรา ๑๓๐๔ (๒) จดั เป็นทรัพยส์ ินของแผน่ ดินประเภทสงวนไวเ้ พ่ือประโยชน์ร่วมกนั
มีเจตนารมณ์สงวนทรัพยส์ ินของแผน่ ดินประเภทน้ีไวเ้ พือ่ ประโยชน์ของส่วนรวมนน่ั เอง

คดีนี้ ตุลาการผแู้ ถลงคดีวินิ จฉัย โดยการตีความเพ่ือให้เกิดผลตามเจตนารมณ์และจดุ มุ่งหมายของกฎหมาย

ท่ีฝ่ ายรฐั สภาตราขึ้นมาใช้บงั คบั ซ่ึงถือเป็ นบทบาทที่สาคญั ประการหนึ่งของฝ่ ายตุลาการที่จะใช้อานาจตีความกฎหมาย

เพื่อสนับสนุนทาให้ส่ิงท่ีเป็ นวตั ถปุ ระสงคข์ องฝ่ ายนิ ติบญั ญตั ิเกิดผลสาเรจ็ เป็ นไปตามจุดมุ่งหมายหรือเจตนารมณ์ของ

กฎหมาย และเหน็ ว่า คดีนี้คาพิพากษาของศาลปกครองชนั้ ต้นไม่ชอบด้วยกฎหมาย เน่ืองจากผลลพั ท์ตามคาพิพากษา

(Outcome Oriented) ไม่เป็ นไปตามจดุ ม่งุ หมายและเจตนารมณ์ของกฎหมายที่รฐั สภาตราขึน้ มาเพ่ือจดั สรรทรพั ยากร

ท่ีดินของประเทศเพ่ือประโยชน์ส่วนรวมตามหลกั กฎหมายมหาชน ซ่ึงได้บญั ญตั ิเกี่ยวกบั การจดั สรรทรพั ยากรท่ีดินไว้

ภายใต้คาว่า สาธารณสมบตั ิของแผน่ ดิน ตามมาตรา ๑๓๐๔ ของประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์

เมื่อจุดมุ่งหมายและเจตนารมณ์ของกฎหมายเพื่อให้มีการจัดสรรสาธารณสมบัติ ของแผ่นดิ นเพ่ือ

สาธารณประโยชน์หรอื สงวนไว้เพื่อประโยชน์รว่ มกนั จึงต้องพิเคราะหห์ ลกั การต่างๆ ท่ีเกี่ยวข้องในลกั ษณะสหสาวิชา เช่น

ลกั ษณะทางกายภาพของสาธารณสมบตั ิของแผ่นดิน สภาพการตงั้ ถ่ินฐานมนุษย์ การเป็ นฐานทรพั ยากรธรรมชาติของ

ชุมชน การสงวนทรพั ยากรท่ีดินไว้ใช้ประโยชน์อย่างยงั่ ยืนและสาหรบั ชนรุ่นต่อไป รวมทงั้ เจตนารมณ์ในการกระจาย

อานาจหน้าที่ในการดแู ลทรพั ยากรท่ีดินตามกฎหมายว่าด้วยการกระจายอานาจให้แก่องคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่น เป็นต้น

เห็นว่า คาพิพากษาศาลปกครองส่งผลทางกฎหมายเป็ นการโอน ทรัพยากรธรรมชาติ “หนองน้าสาธารณะ” ซ่ึงเป็ น

"สมบัติของส่วนรวม" (The Commons) ที่ต้ังอยู่ในท้องถิ่น เนื้อที่ ๓,๒๘๔ ไร่ ๑ งาน ๑๑ ตารางวา ไปเป็ นของราชการส่วนกลาง

ภายใต้กฎหมายว่าด้วยท่ีราชพสั ดุ ท้ังท่ี กรณีนี้ “การจัดการทรัพย์สินสาธารณะ” (Common Property) ควรจะดาเนินการใน

ลักษณะ “การถือครองกรรมสิทธ์ิร่วม” (Common Ownership) และ ผลของคาพิพากษาเป็ นการทาลายสิทธิพื้นฐานตาม

รัฐธรรมนูญหลายประการ เช่น สิทธิของชุมชนและประชาชนท่ีจะได้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ สิทธิของชุมชนและประชาชน

ในการเข้าถงึ ทรัพยากรธรรมชาติ สิทธิของชุมชนและประชาชนในการมสี ่วนร่วมจดั การทรัพยากรธรรมชาติ เป็ นต้น

ดังน้ัน การกระทาที่อาจถูกต้องตามกระบวนการและวิธีการที่หน่วยงานราชการกาหนดไว้

ในระเบียบของทางราชการ แต่หากเกิดผลลัพธ์ท่ีไม่มีตรงกับเจตนารมณ์ของกฎหมายย่อมเป็ น

การกระทาท่ไี ม่ชอบด้วยกฎหมายตามหลกั กฎหมายมหาชน

436

คดีนี้ ตุลาการผู้แถลงคดี วินิจฉัยว่า การที่ฝ่ ายราชการนาท่ีสาธารณะหนองญาติ
ซึ่งเป็ นทรัพยากรธรรมชาติท่ีเป็ นสาธารณสมบัติของแผ่นดินซ่ึงเป็ นทรัพย์สินสาหรับใช้ร่วมกันของ
ประชาชนไปขึ้นทะเบียนที่ราชพัสดุท้ังหมด เพ่ือให้ อยู่ในอานาจหน้ าที่ของกรมธนารักษ์
กระทรวงการคลงั ซึ่งเป็ นราชการส่วนกลาง เป็ นการกระทาโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย

โดยตุ ลาการผู้ แถลงคดีวินิ จฉั ยและให้ มีการจัดสรรทรั พยากรธรรมชาติท่ีสาธารณะ
หนองญาติออกเป็ น ๓ ส่วน คือ

ส่วนท่ีหน่ึง กาหนดให้เป็ นที่ดินอันเป็ นสาธารณสมบัติของแผ่นดินสาหรับพลเมืองใช้
ร่วมกนั คือ พืน้ ทใ่ี นปัจจุบันส่วนทเ่ี ป็ นพืน้ ทน่ี า้ ท้งั หมด

ส่วนที่สอง กาหนดให้เป็ นท่ีดินอันเป็ นสาธารณสมบัติของแผ่นดินใช้เพ่ือประโยชน์ของ
แผ่นดนิ โดยเฉพาะ คือ พืน้ ทส่ี ่วนทอี่ ยู่ภายในเขตทางของถนนของกรมทางหลวงชนบท

ส่ วนท่ีสาม กาหนดให้เป็ นท่ีดินอันเป็ นสาธารณสมบัติของแผ่นดินใช้เพ่ือประโยชน์
อย่างอ่ืนหรือที่ดินอันเป็ นสาธารณสมบัติของแผ่นดินใช้เพื่อประโยชน์ของแผ่นดินโดยเฉพาะ คือ
พื้นท่ีส่วนที่ได้ทาการถมหนองน้าไปแล้วและก่อสร้างสถานท่ีราชการ อาคารบริการสาธารณะและ
บ้านพกั ข้าราชการ และพืน้ ท่สี ่วนซ่ึงจะนาไปหาประโยชน์โดยการให้ประชาชนหรือเอกชนเช่า

437

13

ที่สาธารณะหนองญาติ

2 2เพื่อประโยชน์ส่วนรวม
3 1 2 1 3และของชมุ ชน

ความเห็นของตุลาการผู้แถลงคดี ศาลปกครองสูงสุด
เพื่อจัดสรรทรัพยากรธรรมชาตทิ สี่ าธารณะหนองญาตติ ามจุดมุ่งหมายของกฎหมาย
(1) เพ่ือประโยชน์ส่วนรวมและชุมชน (2) เพ่ือประโยชน์ของแผ่นดนิ โดยเฉพาะ (3) เพ่ือประโยชน์ของราชการ

การเป็นท่ีราชพสั ดุ

แนวความคิดของ
หน่วยงานราชการ

ในการ
ใช้ประโยชน์ท่ีราชพสั ดุ

กบั

การดารงรกั ษาหรอื บรู ณะ
สถานที่และวตั ถทุ ี่มี

ประโยชน์หรอื คณุ ค่าในทาง
ประวตั ิศาสตร์ หรอื
โบราณคดี

การดารงรกั ษาหรอื บรู ณะสถานท่ีและวตั ถทุ ่ีมีประโยชน์หรอื คณุ ค่าในทางศิลปกรรม สถาปัตยกรรม ประวตั ิศาสตร์ หรอื โบราณคดี

440

แนวความคดิ ของหน่วยงานราชการในการใช้ประโยชน์ทรี่ าชพสั ดุ
กบั ....การดารงรกั ษาหรอื บรู ณะสถานที่และวตั ถทุ ่ีมีประโยชน์หรอื คณุ ค่าในทางประวตั ิศาสตรห์ รอื โบราณคดี

441

กรณศี ึกษา

สิทธิในการฟ้องคดปี กครอง
Right to Sue

ผมู้ ีสิทธิฟ้องคดีปกครอง

มาตรา ๔๒ วรรคหน่ึง แห่งพระราชบญั ญตั ิจดั ตัง้ ศาลปกครองและวิธีพิจารณา
คดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ บญั ญตั ิว่า ผู้ใดได้รบั ความเดือดร้อนหรือเสียหายหรืออาจจะ
เดือดร้อนหรือเสียหายโดยมิอาจหลีกเล่ียงได้ อันเนื่ องจากการกระทาหรือการงดเว้น

การกระทาของหน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าท่ีของรฐั หรือมีข้อโต้แย้งเก่ียวกบั สญั ญา

ทางปกครอง หรือกรณีอื่นใดท่ีอยู่ในเขตอานาจศาลปกครองตามมาตรา ๙ และการแก้ไข
หรือบรรเทาความเดือดร้อนหรือความเสียหายหรือยุติข้อโต้แย้งนัน้ ต้องมีคาบงั คบั ตามที่
กาหนดในมาตรา ๗๒ ผนู้ ัน้ มีสิทธิฟ้องคดีต่อศาลปกครอง

ตามบทบญั ญตั ิของกฎหมายท่ีกล่าวมา นอกจากกาหนดให้ศาลปกครอง มีอานาจ
ใช้ดลุ พินิจพิจารณาผทู้ ่ีได้รบั ความเดือดร้อนหรือเสียหายโดยตรงตามหลกั “การโต้แย้งสิทธิ”
ให้มีสิทธิฟ้องคดีต่อศาลปกครองแล้ว ยงั กาหนดให้ศาลปกครองมีอานาจใช้ดลุ พินิจพิจารณา
ผ้ทู ี่อาจจะเดือดร้อนหรือเสียหายโดยมิอาจหลีกเลี่ยงได้ตามหลกั “ผ้มู ีส่วนได้เสีย” ให้เป็ น
ผ้มู ีสิทธิฟ้องคดีต่อศาลปกครอง ซึ่งเป็ นวิธีพิจารณาคดีปกครองตามหลกั กฎหมายมหาชน
ที่แตกต่างจากวิธีพิจารณาคดีปกครองในระบบเดิมของประเทศไทยก่อนมีการจดั ตัง้
ศาลปกครองขึ้นมา ท่ีกาหนดให้ศาลมีอานาจพิจารณาผ้มู ีสิทธิฟ้องคดีปกครองภายใต้หลกั
“การโต้แย้งสิทธิ” ตามวิธีพิจารณาความแพ่งตามหลกั กฎหมายแพ่ง

ผมู้ ีสิทธิฟ้องคดีปกครอง

ปัจจุบนั ผ้มู ีสิทธิฟ้องคดีปกครองตามหลกั “ผ้มู ีส่วนได้เสีย” จึงมีความหมายกว้าง
ออกไปกว่าผู้มีสิทธิฟ้ องคดีปกครองตามหลกั “การโต้แย้งสิทธิ” เน่ืองจากผู้มีสิทธิฟ้ อง
คดีปกครองตามหลกั “ผู้มีส่วนได้เสีย” อาจเป็ นผู้ที่มีส่วนได้เสียเกี่ยวข้องกบั ผลของคดี
ในทางใดทางหนึ่ง รวมทงั้ มีส่วนได้เสียในผลของคดีท่ีเป็นประโยชน์ส่วนรวมด้วย

ดังนั้น ในประเด็นข้อโต้แย้งท่ีเกี่ยวกับประโยชน์ส่วนรวมจากการใช้อานาจ
ทางปกครองตามกฎหมายหรือการดาเนิ นกิจการทางปกครอง ตุลาการศาลปกครองจึงมี
อานาจใช้ดุลพินิ จพิจารณาผู้ที่อาจจะเดือดร้อนหรือเสียหายโดยมิอาจหลีกเลี่ยงได้
อนั เน่ืองจากการกระทาหรือการงดเว้นการกระทาของหน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าท่ี
ของรฐั ตามหลกั ”ผู้มีส่วนได้เสีย” ให้มีสิทธินาข้อโต้แย้งเข้ามาสู่กระบวนการยุติธรรม
ทางปกครอง เพ่ือให้มีการตรวจสอบโดยศาลปกครองและพิจารณาพิพากษาหรือมีคาสงั่
ห้ามกระทาการหรือให้มีคาสงั่ ยกเลิกเพิกถอนการกระทาหรือให้กระทาการเพ่ือคุ้มครอง
ประโยชน์ส่วนรวม หรือประโยชน์ของสงั คม หรือประโยชน์ของชุมชน เน่ืองจากการค้มุ ครอง
ประโยชน์ส่วนรวมแทนรฐั เป็ นจุดมุ่งหมายท่ีสาคญั ประการหนึ่งในการพิจารณาพิพากษา

คดีปกครองตามหลกั กฎหมายมหาชน

สภาพของสงั คมไทยในประเดน็ ความขดั แย้งที่เกี่ยวกบั ประโยชน์ส่วนรวม

ในบริบทของสงั คมไทยภายหลงั การประกาศใช้รฐั ธรรมนูญ ๒๕๔๐ ปรากฏข้อเทจ็ จริง
ท่ีประชาชนเสียชีวิตเป็ นจานวนมากในทวั่ ทุกภาคของประเทศไทย จากการเรียกร้องสิทธิ

ในฐานะผ้มู ีส่วนได้เสียในประเดน็ ข้อโต้แย้งหรือความขดั แย้งท่ีมีสาเหตุมาจากการเรียกร้อง
ให้คุ้มครองประโยชน์ส่วนรวม เช่น “นายสุวฒั น์ วงศ์ปิ ยะสถิตย”์ แกนนา คดั ค้านบ่อกาจดั
ขยะ ตาบลราชาเทวะ จงั หวดั สมุทรปราการ ถกู ยิงเสียชีวิต(๒๕๔๔) “นายสมพร ชนะพล”
แกนนากล่มุ อนุรกั ษ์ล่มุ น้ากระแดะ อาเภอกาญจนดิษฐ์ จงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี คดั ค้านการสรา้ ง
เขื่อนคลองกระแดะ ถกู ยิงเสียชีวิต(๒๕๔๔) “นายพิทกั ษ์ โตนวธุ ” ที่ปรึกษาชาวบ้านในการ
คดั ค้านการก่อสร้างโรงโม่หินล่มุ น้าชมพู อาเภอเนินมะปราง จงั หวดั พิษณุโลก ถกู ยิงเสียชีวิต
(๒๕๔๔) “นายจุรินทร์ ราชพล” ผ้นู าอนุรกั ษ์ป่ าชายเลนในพื้นที่ตาบลบ้านป่ าคลอก อาเภอ
ถลาง จงั หวดั ภูเก็ต เคล่ือนไหวคดั ค้านการทาลายพื้นที่ป่ าชายเลนเพ่ือทานากุ้ง ถกู ยิง
เสียชีวิต(๒๕๔๔) “นายนรินทร์ โพธ์ิแดง” แกนนากลุ่มอนุรกั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาติเขาชะอาง
กลางทุ่ง อาเภอเขาชะเมา จงั หวดั ระยอง คดั ค้านโครงการก่อสร้างโรงโม่หิน ถกู ยิงเสียชีวิต
(๒๕๔๔) “นายปรีชา ทองแป้ น” แกนนาเรียกร้องสิทธิชุมชนคัดค้านโครงการก่อสร้าง
บ่อบาบดั น้าเสีย อาเภอทุ่งสง จงั หวดั นครศรีธรรมราช ถกู ยิงเสียชีวิต(๒๕๔๕) “นายแก้ว
ปิ นปันมา” แกนนาชาวบา้ นตาบลดอยหล่อ กิ่งอาเภอดอยหล่อ จงั หวดั เชียงใหม่ นาชาวบา้ น
๒๕๒ ครวั เรอื น ออกมาต่อส้ขู อสิทธิในที่ดินทากิน ถกู ยิงเสียชีวิต(๒๕๔๕)

สภาพของสงั คมไทยในประเดน็ ความขดั แย้งท่ีเกี่ยวกบั ประโยชน์ส่วนรวม

“นายบุญฤทธ์ิ ชาญณรงค”์ แกนนาเรียกร้องสิทธิชุมชนและต่อตา้ นการคา้ ไมเ้ ถื่อนของอุทยาน
แห่งชาติแก่งกรุง อาเภอท่าชนะ จงั หวดั สุราษฎร์ธานี ถูกยิงเสียชีวิต(๒๕๔๕) “นายบุญสม น่ิมน้อย”
แกนนากลุ่มอนุรักษ์คดั คา้ นโครงการก่อสร้างโรงแยกคอนเดนเสท อาเภอบา้ นแหลม จงั หวดั เพชรบุรี
ถูกยิงเสียชีวิต(๒๕๔๕) “นายบุญยงค์ อินต๊ะวงศ”์ ผูช้ ่วยผูใ้ หญ่บา้ นร่องห้า ตาบลผางาม อาเภอเวียงชยั
จงั หวดั เชียงราย แกนนากลุ่มต่อตา้ นโรงโม่หินดอยแม่ออกรู ถูกยงิ เสียชีวิต(๒๕๔๕) “นายคาปัน สุกใส”
ผใู้ หญ่บา้ นป่ าบง ตาบลแม่นะ อาเภอเชียงดาว จงั หวดั เชียงใหม่ แกนนาเครือข่ายป่ าชุมชน ขดั ขวางการ
บุกรุกพ้ืนท่ีป่ าชุมชน ถูกยิงเสียชีวิต(๒๕๔๖) “นายสาเนา ศรีสงคราม” ประธานชมรมชาวบา้ นฟ้ื นฟู
อนุรักษล์ าน้าพอง อาเภออุบลรัตน์ จงั หวดั ขอนแก่น แกนนาติดตามและตีแผผ่ ลกระทบต่อระบบนิเวศน์
จากโรงงานผลิตเยอ่ื กระดาษที่ปล่อยน้าเสียลงสู่ลาน้าพอง ถูกยงิ เสียชีวิต(๒๕๔๖) “นายเจริญ วดั อกั ษร”
ประธานกลุ่มรักษ์ทอ้ งถิ่นบ่อนอก ตาบลบ่อนอก จังหวดั ประจวบคีรีขนั ธ์ แกนนาต่อต้านการสร้าง
โรงไฟฟ้าบ่อนอก – หินกรูด ถูกยิงเสียชีวิต(๒๕๔๗) “นายทองนาค เสวกจินดา” แกนนาต่อตา้ นการ
ขนส่งถ่านหินและการประกอบกิจการโกดงั เก็บถ่านหินในจงั หวดั สมุทรสาคร ขณะขอให้ศาลปกครอง
มีคาส่ังคุม้ ครองชว่ั คราวให้ระงบั การขนส่งถ่านหินและการประกอบกิจการโกดงั เก็บถ่านหินในเขต
จงั หวดั สมุทรสาคร ถกู ยงิ เสียชีวติ (๒๕๕๔) “นายประจบ เนาวโอภาส” ผใู้ หญ่บา้ น หมู่ท่ี ๑๔ ตาบลหนอง
แหน อาเภอพนมสารคาม จงั หวดั ฉะเชิงเทรา แกนนาต่อตา้ นโรงงานบาบดั น้าเสียและลกั ลอบทิ้งสารเคมี
อุตสาหกรรมลงในแหล่งน้าสาธารณะถูกยงิ เสียชีวติ (๒๕๕๖) ฯลฯ

“นายพิธาน ทองพนงั ” แกนนาคดั คา้ นการทาเหมืองแร่ที่ส่งผลกระทบต่อส่ิงแวดลอ้ มและท่ีทากิน
ของชาวบา้ นในตาบลกรุงชิง อาเภอนบพิตา จงั หวดั นครศรีธรรมราช ถูกยิงเสียชีวิต (๓๐ พฤศจิกายน
๒๕๕๗) “นายสมสุข เกาะกลาง” แกนนาชาวบา้ นตาบลกระบี่นอ้ ย อาเภอเมือง จงั หวดั กระบ่ี ที่เรียกร้อง
ที่ดินทากินจากรัฐและเขา้ ยึดท่ีดิน สปก. สวนปาล์มน้ามนั เอกชนท่ีกาลงั จะถูกเพิกถอน สปก. ถูกยิง
เสียชีวิต (๓ ธนั วาคม ๒๕๕๗)

การเข้าถงึ กระบวนยุตธิ รรมทางปกครอง (Access to Justice)

“ ... ปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึน้
ในเกณฑท์ ี่ท่านจะต้องทาหน้าที่นัน้
จะต้องเป็นเรอ่ื งจริง เป็นเรอ่ื งในชีวิตจริง

ไม่ใช่อย่ใู นตารา ... ”

การเปิ ดกว้างต่อการนาข้อพิพาทประเด็นความขัดแย้งท่ีเกี่ยวกับประโยชน์ส่วนรวม
เข้าสู่การพิจารณาของกระบวนยุติธรรมทางปกครอง จะเป็ นอีกหนทางหนึ่งที่ลดความรุนแรง
ในสังคมไทยลงได้ เพราะความขัดแย้งจะกลายเป็ นประเด็นข้อพพิ าทสาธารณะของหลาย
ภาคส่ วนในสังคม

คาถวายสตั ยป์ ฏิญาณต่อพระมหากษตั ริย์
ตามบทบญั ญตั ิของรฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย

“ ข้าพระพทุ ธเจ้า (ชื่อผปู้ ฏิญาณ) ขอถวายสตั ยป์ ฏิญาณว่า
ข้าพระพุทธเจ้าจะจงรักภักดีต่ อพระมหากษัตริ ย์และ
จะปฏิบตั ิหน้าที่ในพระปรมาภิไธย ด้วยความซื่อสตั ย์สุจริต
โดยปราศจากอคติ ทัง้ ปวง เพ่ือให้เกิดความยุติ ธรรมแก่
ประชาชนและความสงบสขุ แห่งราชอาณาจกั ร ทงั้ จะรกั ษาไว้
และปฏิบตั ิตามซ่ึงการปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มี
พระมหากษัตริ ย์ทรงเป็ นประมุขตามรัฐธรรมนูญแห่ง
ราชอาณาจกั รไทยและกฎหมายทกุ ประการ ”

จากสภาพการณ์สังคมไทยท่ีกล่าวมา เห็นวา่ ตุลาการศาลปกครองผใู้ ชอ้ านาจอธิปไตยของรัฐ
ในนามศาล จึงตอ้ งผูกพนั การทาหน้าท่ีตุลาการตามคาปฏิญาณที่ไดถ้ วายสัตยไ์ วต้ ่อพระมหากษตั ริย์
ผทู้ รงเป็นประมุขของรัฐ ตามบทบญั ญตั ิมาตรา ๒๐๑ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช
๒๕๕๐ ท่ีวา่ จะปฏิบตั ิหนา้ ท่ีในพระปรมาภิไธยดว้ ยความซื่อสตั ยส์ ุจริตโดยปราศจากอคติท้งั ปวง เพื่อให้
เกิดความยุติธรรม แก่ประชาชนและความสงบสุขแห่งราชอาณาจกั ร โดยการใชด้ ุลพินิจพิจารณาผูท้ ี่
อาจจะเดือดร้อนหรือเสียหายโดยมิอาจหลีกเลี่ยงไดต้ ามหลกั “ผมู้ ีส่วนไดเ้ สีย” หมายรวมถึง องคก์ รหรือ
คณะบุคคลหรือบุคคลที่มีส่วนไดเ้ สียในผลของคดีท่ีเก่ียวกบั ประโยชน์ส่วนรวม ให้เป็ นผูม้ ีสิทธินา
ขอ้ โตแ้ ยง้ ท่ีเกี่ยวกับการคุม้ ครองประโยชน์ส่วนรวมหรือการคุม้ ครองสิทธิในชีวิต (Rights to Life)
ซ่ึงเป็ นสิทธิในการดารงชีวิตอยไู่ ดอ้ ย่างปกติสุขของประชาชนเขา้ สู่กระบวนการยุติธรรมทางปกครอง
เพอื่ การอานวยความยตุ ิธรรมแก่ประชาชนและเพอ่ื ความสงบสุขในราชอาณาจกั รไทย

การใช้ดุลพินิจของตุลาการศาลปกครองตามหลักการท่ีกล่าวมา ยงั เป็ นไปเพ่ือคุม้ ครอง

สิทธิของธรรมชาติ (Rights of Nature) ซ่ึงเป็ นสิทธิของสิ่งมีชีวิตที่จะไดร้ ับการคุม้ ครองตามกฎหมายจาก
การไม่ถูกเบียดเบียนในการใชอ้ านาจทางปกครองตามกฎหมายหรือการดาเนินกิจการทางปกครอง เช่น
การใชอ้ านาจทางปกครองตามกฎหมายหรือการดาเนินกิจการทางปกครองซ่ึงส่งผลกระทบหรือเป็ น
การทาลายถ่ินท่ีอยตู่ ามธรรมชาติของสัตวต์ ่างๆ เป็ นตน้ เพ่ือให้สัตวใ์ นฐานะสิ่งมีชีวิตไดร้ ับการปกป้อง
คุม้ ครองจากกระบวนยุติธรรมทางปกครอง เพ่ือรักษาความหลากหลายทางชีวภาพอย่างสมดุลตาม
แนวนโยบายพ้นื ฐานแห่งรัฐของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย

เขตห้ามล่าสัตว์ทะเลน้อย สิทธิของสิ่งมชี ีวิตทจ่ี ะได้รับการค้มุ ครอง


Click to View FlipBook Version