The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การบรรยาย ก.ศป. รุ่นที่ 12 Power Point บรรยาย 3 7 65

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pachairat, 2022-07-04 00:35:43

คดีสิ่งแวดล้อมที่สำคัญ ก.ศป. 12 Sun 3 7 65 PPT

การบรรยาย ก.ศป. รุ่นที่ 12 Power Point บรรยาย 3 7 65

คดปี กครองเกยี่ วกบั สิ่งแวดล้อมทสี่ าคญั

หลกั สูตร กฎหมายปกครองและวธิ ีพจิ ารณาคดปี กครอง ทไี่ ด้รับรองจาก ก.ศป. รุ่นที่ ๑๒

นายภานุพนั ธ์ ชัยรัต

อดตี ตุลาการศาลปกครองสูงสุด

ท่านคาดหวงั อะไร

ในหวั ข้อวิชานี้

?

2

ความคาดหวงั ของผบู้ รรยาย

ท่านจะใช้กฎหมายอย่างสร้างสรรค์
และมีจดุ มงุ่ หมาย

เพื่อความยตุ ิธรรมทางกฎหมาย

เพื่อความเป็นธรรมทางสงั คม

จดุ ม่งุ หมายในการบรรยาย

เพ่ือให้ท่านเกดิ มุมมองและวธิ ีคดิ
ท่ีสามารถนาไปวเิ คราะห์หาหลกั กฎหมาย

และตรรกะในคาวนิ ิจฉัยของศาล

ไม่ใช่เพ่ือให้ต้องจดจาบรรทัดฐาน
คาสั่งหรือคาพพิ ากษาของศาล
และนาคาวนิ ิจฉัยของศาลไปใช้ต่ออย่างไม่เข้าใจ

4

ความเข้าใจเบอื้ งต้น : ตลุ าการศาลปกครองชนั้ ต้น

“ตลุ าการศาลปกครองชนั้ อทุ ธรณ์”

เมื่อมีการแก้ไขพระราชบญั ญตั ิจดั ตงั้ ศาลปกครองและวิธีพิจารณา
คดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ ได้บญั ญตั ิไว้ในมาตรา ๓๐ ว่า
ตุลาการศาลปกครองชนั้ ต้นให้ได้รบั เงินเดือนในชนั้ ๑ ดงั นัน้ ตงั้ แต่วนั ท่ี ๓๑
มีนาคม ๒๕๔๕ เป็ นต้นมา มีผลทาให้ตุลาการในศาลปกครองชนั้ ต้นได้รบั
เงินเดือนเท่ากบั เงินเดือนของผพู้ ิพากษาศาลอทุ ธรณ์ของศาลยตุ ิธรรม

ในเวลาต่อมาต่อมาเมื่อมีการปรบั ปรงุ ระบบบญั ชีอตั ราเงินเดือนและ
เงินประจาตาแหน่งของผพู้ ิพากษาและตลุ าการ กย็ ึดถือตามหลกั การท่ีกล่าวมา
จนถงึ ปัจจบุ นั ศาลปกครองชนั้ ต้นจึงมีสถานะเท่าศาลอทุ ธรณ์ของศาลยตุ ิธรรม
และเป็นศาลชนั้ อทุ ธรณ์ขององคก์ รตลุ าการทางปกครอง

5

ศาลปกครองตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศักราช ๒๕๕๐

มาตรา ๒๒๓ ศาลปกครองมีอานาจพิจารณาพิพากษาคดีพิพาทระหว่างหน่วยงานราชการ หน่วยงาน
ของรฐั รฐั วิสาหกิจ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน หรือองค์กรตามรฐั ธรรมนูญ หรือเจ้าหน้าท่ีของรฐั กบั เอกชน
หรือ ระหว่างหน่วยงานราชการ หน่วยงานของรฐั รฐั วิสาหกิจ องค์กรรปกครองส่วนท้องถ่ิน หรือองค์กรตาม

รฐั ธรรมนูญ หรือเจ้าหน้าที่ที่ของรฐั ด้วยกนั อันเน่ืองมาจากการใช้อานาจทางปกครองตามกฎหมาย หรือ
เนื่องมาจากการดาเนินกิจการทางปกครอง ของหน่วยราชการ หน่วยงานของรฐั รฐั วิสาหกิจ องคก์ รปกครองส่วน
ท้องถิ่น หรือองคก์ รตามรฐั ธรรมนูญ หรือเจ้าหน้าท่ีของรฐั ทงั้ นี้ ตามที่กฎหมายบญั ญตั ิ รวมทงั้ มีอานาจพิจารณา
พิพากษาเรื่องที่รฐั ธรรมนูญหรือกฎหมายบญั ญตั ิให้อย่ใู นอานาจของศาลปกครอง

อานาจศาลปกครองตามวรรคหนึ่ง ไม่รวมถึงการวินิจฉัยชี้ขาดขององคก์ รอิสระซึ่งเป็นการใช้อานาจ
โดยตรงตามรฐั ธรรมนูญขององคก์ รอิสระนัน้

ให้มศี าลปกครองสงู สดุ และศาลปกครองชนั้ ต้น และจะมศี าลปกครองชนั้ อทุ ธรณ์ด้วยกไ็ ด้

รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐

มาตรา ๑๙๗ ศาลปกครองมีอานาจพิจารณาพิพากษาคดี อนั เน่ืองมาจากการใช้อานาจทางปกครอง
ตามกฎหมาย หรือเนื่องมาจากการดาเนินกิจการทางปกครอง ทงั้ นี้ ตามที่กฎหมายบญั ญตั ิ

ให้มีศาลปกครองสงู สดุ และศาลปกครองชนั้ ต้น
อานาจศาลปกครองตามวรรคหน่ึง ไม่รวมถึงการวินิ จฉัยชี้ขาดขององคก์ รอิสระซ่ึงเป็ นการใช้อานาจ
โดยตรงตามรฐั ธรรมนูญขององคก์ รอิสระนัน้ ๆ
การจดั ตงั้ วิธีพิจารณาคดี และการดาเนินงานของศาลปกครองให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการนัน้

คณุ สมบตั ิของผทู้ รงคณุ วฒุ ิ

ที่จะได้รบั การแต่งตงั้ เป็นตลุ าการศาลปกครองชนั้ ต้น

ตามประกาศ ก.ศป. เร่ือง การกาหนดหลกั เกณฑก์ ารเป็ นผทู้ รงคุณวฒุ ิ ที่จะไดร้ ับการแต่งต้งั
เป็ นตุลาการศาลปกครองช้นั ตน้ ลงวนั ท่ี ๒๘ กนั ยายน ๒๕๔๔ กาหนดให้ผทู้ รงคุณวุฒิที่จะไดร้ ับการ
แต่งต้งั เป็ นตุลาการศาลปกครองช้นั ตน้ ตอ้ งมีพ้ืนฐานความรู้กฎหมายปกครองหรือกฎหมายมหาชน
ตามท่ี ก.ศป. รับรอง ปัจจุบนั มีการศึกษาอบรมหลกั สูตรกฎหมายปกครองหรือกฎหมายมหาชนที่ ก.ศป.
รับรองแลว้ หลายหลกั สูตร เช่น

(๑) หลกั สูตรพนักงานคดีปกครอง ระดับกลาง ตามประกาศ ก.ศป. ลงวนั ที่ ๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๘
จดั การศึกษาอบรมโดย สานักงานศาลปกครอง

(๒) หลกั สูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตทางกฎหมายมหาชน จัดการศึกษาอบรมโดย คณะนิติศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ตามมติ ก.ศป. คร้ังท่ี ๗๔-๑๑/๒๕๔๙ ลงวนั ท่ี ๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๔๙

(๓) หลักสูตรกฎหมายปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง ตามมาตรฐานท่ี ก.ศป. รับรอง
จัดการศึกษาอบรมโดย มูลนิธิวจิ ัยและพฒั นากระบวนการยุติธรรมทางปกครอง ตามมติ ก.ศป. คร้ังท่ี
๑๓๐ – ๓/๒๕๕๔ ลงวนั ที่ ๑๖ มีนาคม ๒๕๕๔

ฯลฯ 7

พืน้ ฐานความรกู้ ฎหมายปกครองหรือกฎหมายมหาชน
ท่ี ก.ศป. รบั รอง แล้ว สาหรบั บคุ ลากรวิชาชีพต่างๆ

เมื่อหลกั สูตรศึกษาอบรมพื้นฐานความร้กู ฎหมายปกครองหรือกฎหมายมหาชน

เป็ นหลกั สูตรท่ีได้รบั รองจากก.ศป. จดั การศึกษาอบรม โดย “สถาบนั พฒั นาบุคลากร

ในกระบวนการยุติธรรมทางปกครอง” ของ “มูลนิ ธิวิจยั และพฒั นากระบวนการยุติธรรม

ทางปกครอง” สาหรบั อบรมบุคคลวิชาชีพต่างๆ ท่ีต้องไปปฏิบตั ิงานจริงในการอานวย

ความยุติธรรมทางปกครองในสงั คมไทย จึงต้องมีพื้นฐานความรู้กฎหมายปกครองหรือ

กฎหมายมหาชนลกั ษณะเดียวกบั การศึกษาอบรมสาหรบั ผ้ทู รงคณุ วฒุ ิที่จะได้รบั การแต่งตงั้

เป็ นตุลาการศาลปกครองชนั้ ต้น ตามประกาศ ก.ศป. เร่ือง การกาหนดหลกั เกณฑ์การเป็ น

ผทู้ รงคณุ วฒุ ิท่ีจะได้รบั การแต่งตงั้ เป็นตลุ าการศาลปกครองชนั้ ต้น

รวมทงั้ พื้นฐานความร้ตู ้องแตกต่างจากหลกั สูตรการศึกษากฎหมายปกครองหรือ

กฎหมายมหาชนในสถานศึกษาโดยทัว่ ไป เพ่ือผู้ศึกษาอบรมหลักสูตรนี้ จะสามารถนา

องคค์ วามรไู้ ปใช้วิเคราะหแ์ ละปรบั วิธีคิดการใช้กฎหมายปกครองในการปฏิบตั ิงานจริงให้เกิด

ความเป็นธรรมทางสงั คมตามวตั ถปุ ระสงคข์ องการพฒั นาบคุ คลากรในกระบวนการยตุ ิธรรม

ทางปกครองของสงั คมไทยต่อไป 8

ความแตกต่างในการศึกษาอบรม

พืน้ ฐานความร้กู ฎหมายปกครองหรอื กฎหมายมหาชน

หลกั สตู รการศึกษาอบรมท่ีได้รบั รองจาก ก.ศป. สาหรบั “ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ”

ที่จะได้รบั การแต่งตงั้ เป็นตลุ าการศาลปกครองชนั้ ต้น

“เพ่ือให้เข้าใจกฎหมาย” (Understanding)
สาหรบั การใช้กฎหมายให้เกิดความยตุ ิธรรม (
)

และความเป็นธรรมทางสงั คม ( )

กบั

พืน้ ฐานความร้กู ฎหมายปกครองหรือกฎหมายมหาชน 9
ของสถาบนั หรือสถานศึกษาโดยทวั่ ไปในการศึกษาอบรม

สาหรบั “นักศึกษาหรือบคุ คลทวั่ ไป”

“เพื่อให้รกู้ ฎหมาย” (Knowledge)

การอานวยความยตุ ิธรรมทางปกครอง

ต้องมี Judicial Mind

จิตสานึกความเป็นตลุ าการ

จิตสานึ กของความเป็ นธรรม

จึงจะทาให้การอานวยความยตุ ิธรรมทางปกครอง
เกิดผลลพั ธ์ (Outcome) คือ

ความเป็นธรรมทางสงั คม

การรกั ษาและค้มุ ครองประโยชน์ของส่วนรวม ความมีธรรมมาภิบาล
และการค้มุ ครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชน

Law in Action

การบรรยายหวั ข้อวิชานี้จะเป็ นการบรรยายกฎหมายลกั ษณะ Law in Action

โดยนาเสนอกรณีศึกษาเพื่อวิเคราะห์คาวินิ จฉัยคดีซ่ึงมีความแตกต่างกนั ของวิธีคิดและ
การให้เหตุผลในการวินิ จฉัยคดีปกครองของตุลาการศาลปกครองซ่ึงทาหน้าท่ีในนามศาล
(How Judges Think)

ซ่งึ จะแสดงใหเ้ หน็ ถงึ ลกั ษณะ การใช้กฎหมาย (Application of Law) เพ่อื วนิ ิจฉัยคดี

ทแ่ี ตกต่างกนั โดยปรากฏการใหเ้ หตุผลและคาวนิ ิจฉัยในคาสงั่ หรอื คาพพิ ากษาของศาลปกครอง
ชนั้ ต้นและศาลปกครองสูงสุด คาแถลงการณ์ของตุลาการผู้แถลงคดใี นศาลปกครองชนั้ ต้นและ
ศาลปกครองสงู สดุ ความเหน็ ของตลุ าการฝ่ายเสยี งขา้ งน้อยในศาลปกครองชนั้ ตน้ และศาลปกครองสงู สดุ

คาวนิ ิจฉยั แสดงถงึ วธิ คี ดิ และสตปิ ัญญาทใ่ี ชใ้ นการวนิ ิจฉยั คดแี ละตวั ตนของผวู้ นิ ิจฉยั คดี
ท่มี คี วามแตกต่างกนั ของ Background ตาม “ตุลาการศาสตร์” ซ่ึงเป็นประโยชน์ต่อการนาไป

วเิ คราะห์ทางวชิ าการว่าผลของคาพพิ ากษาหรอื การยุตขิ อ้ พพิ าทตามคาสงั่ หรอื คาพพิ ากษาของ
ศาลปกครอง บรรลุเจตนารมณ์และวตั ถปุ ระสงค์ของกฎหมาย (Legal Justice) และบรรลุ
จุดมุ่งหมายท่ีสาคญั ของการอานวยความยุติธรรมทางปกครอง คือ ผลของคาสงั่ หรือ
คาพิพากษาทาให้เกิดความเป็ นธรรมทางสังคม (Social Justice) หรือไม่ อย่างไร เพ่ือ
พฒั นาการอานวยความยตุ ิธรรมทางปกครองต่อไป

“ตลุ าการศาสตร”์ (Judicial Science)

เน่ืองจากตุลาการคือผ้ทู ี่มีบทบาทสาคญั ในการอานวยความยุติธรรมในนามศาล มหาวิทยาลยั
ในต่างประเทศหลายแห่งจึงมีการเรียนการสอนวิชา “ตลุ าการศาสตร์” (Judicial Science) ซ่ึงเป็นวิชาท่ีมี
การสอนมาตงั้ แต่ยคุ สมยั Plato ในความหมายของ “นิติศาสตร”์ ในระดบั กว้าง คือ มีการสอนทงั้ เร่ืองปรชั ญา
กฎหมาย ตวั บทกฎหมาย และ ศาสตรแ์ ห่งการตดั สินคดีโดยตลุ าการ เพราะถือว่า “ตลุ าการ” คือ กลไกสาคญั

สงู สดุ ภายในระบบกฎหมาย
“วิชาตุลาการศาสตร์” คาบเกี่ยวกบั วิชาการหลายสาขาวิชา ทงั้ นิ ติศาสตร์ รฐั ศาสตร์ และ

สงั คมศาสตร์ ดงั นัน้ การเรียนการสอนวิชานี้จึงไม่เน้นเฉพาะตวั บทกฎหมาย แต่สนใจในประเดน็ เจาะลึก
พิจารณาถึงตวั บุคคลท่ีขึ้นมาเป็ นตุลาการด้วย โดยศึกษาลงไปถึงประวตั ิ (Personal History) ภมู ิหลงั
(Personal Background) และทศั นคติ (Personal Attitude) ของตุลาการแต่ละท่านท่ีเรียกว่า “Judicial
Bebavioralism” หรือ “Judicial Behaviour” “ศาสตรแ์ ห่งพฤติกรรมตลุ าการ” หรือ “พฤติกรรมตลุ าการ
ศาสตร”์ ซึ่งม่งุ ตงั้ โจทยต์ ่างๆ เช่นตลุ าการที่ตดั สินคดีมีองคค์ ณะ (Quorum) ก่ีท่าน และมีใครบา้ ง แต่ละท่านมี
ประวตั ิ (Personal History) ภมู ิหลงั (Personal Background) และทศั นคติ (Personal Attitude) เช่นไรในทาง
การเมอื ง & ในปัญหาสงั คมเรื่องต่าง ๆ นับถือศาสนาใด & เคร่งศาสนาเพียงใด ประวตั ิการศึกษามีมาอย่างไร
ค่สู มรสคือใคร & มาจากภมู ิหลงั เช่นไร ทงั้ ค่สู มรส & ครอบครวั มีอิทธิพลต่อการตดั สินคดีหรือไมเ่ พียงใด

แต่ละท่านเคยตดั สินคดีใดมาแล้วบ้าง & ตดั สินไว้เช่นไร ตดั สินคดีโดยใช้“หลกั กฎหมาย” ที่ได้
จากการวิจยั หรือใช้แต่เพียง “ความเหน็ ส่วนตวั ” เป็นต้น

( พเิ ชษฐ เมาลานนท์ นิลุบล ชยั อทิ ธพิ รวงศ์ และพรทพิ ย์ อภสิ ทิ ธวิ าสนา (ทมี วจิ ยั ปัญหาตุลาการศาสตร)์ , ตุลาการภวิ ตั น์
คนั ฉ่องสอ่ งตุลาการไทย, หน้า ๑๐.)

ประเดน็ ปัญหาการอานวย
ความยตุ ิธรรมของประเทศไทย

คือ

การใช้กฎหมาย

APPLICATION OF LAW

เพื่อให้เกดิ ความยุตธิ รรม และ
ความเป็นธรรมทางสงั คม

13

คดีปกครอง
“ศาลปกครอง”

หลกั ประกนั ความเป็นธรรมของสงั คม

ปกเอกสาร “สถติ คิ ดปี กครอง ปี พ.ศ. ๒๕๕๖”
สานกั บรหิ ารยทุ ธศาสตร์ สานกั งานศาลปกครอง

เดอื นกุมภาพนั ธ์ ๒๕๕๗

14

การวิเคราะหส์ ถิติคดีปกครอง

ตามสถติ คิ ดปี กครองของศาลปกครองช้ันต้น เม่ือจาแนกตามลกั ษณะ คดแี ล้วเสร็จ (ต้ังแต่เปิ ด

ทาการ –วันท่ี ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๖) มีคาฟ้องย่ืนต่อศาลปกครองช้ันต้น ท้ังหมด ๕๗,๗๑๗ คดี
ศาลปกครองช้ันต้นมีคาพิพากษา ๒๒,๖๙๙ คดี จาหน่ายคดี ๓๕,๐๑๘ คดี (จาหน่ายคดี แยกเป็ นไม่รับ
คาฟ้อง ๒๕,๑๗๙ คดี และเหตุอื่น ๙,๘๓๙ คด)ี (ตารางที่ 9 หน้าท่ี 20)

สถิติคดีปกครองท่ีศาลปกครองช้ันต้นมีคาสั่งไม่รับคาฟ้องไว้พิจารณา (ต้ังแต่เปิ ดทาการ –
วนั ที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๖) กรณไี ม่อยู่ในเขตอานาจศาลปกครอง ๖,๑๒๗ คดี (ตารางที่ 10 หน้าท่ี 22)
กรณไี ม่เป็ นไปตามเงื่อนไขการฟ้องคดี ๑๘,๙๕๘ คดี (ตารางที่ 11 หน้าที่ 23)

โดยเป็ นคาส่ังไม่รับคาฟ้องเพราะไม่เป็ นไปตามเงื่อนไขการฟ้องคดี “ที่วินิจฉัยว่าไม่ใช่
ผู้มีสิทธิฟ้องคดี” ๕,๗๔๙ คดี (หรือร้อยละ ๓๐.๓๒ ของคาส่ังไม่รับคาฟ้องไว้พิจารณาตามเงื่อนไข
การฟ้องคด)ี (ตารางที่ 11 หน้าที่ 23)

สถิติอุทธรณ์ที่ศาลปกครองสูงสุด มีคาพิพากษา/คาส่ังยืน (ต้ังแต่เปิ ดทาการ –วันท่ี ๓๑
ธันวาคม ๒๕๕๖) อุทธรณ์คาพพิ ากษาที่ ศาลปกครองสูงสุดพจิ ารณาแล้วเสร็จ ๔,๙๙๘ คดี ศาลปกครอง
สูงสุดมีคาพิพากษายืน ๒,๙๙๘ คดี (หรือร้อยละ ๕๙.๙๘ ของอุทธรณ์คาพิพากษา) คาร้องอุทธรณ์คาส่ัง
ที่ศาลปกครองสูงสุดพิจารณาแล้วเสร็จ ๙,๙๘๒ คดี ศาลปกครองสูงสุดมีคาส่ังยืน ๗,๔๙๘ คดี (หรือ
ร้อยละ ๗๕.๑๒ ของคาร้องอทุ ธรณ์คาสั่ง) (แผนภูมทิ ี่ 17 หน้าที่ 52)

สถิติคดีปกครองกบั ปัญหาการอานวยความยตุ ิธรรม

ในกระบวนการยตุ ิธรรมทางปกครอง

คดีปกครองกรณี ท่ีศาลปกครองมีคาสัง่ ไม่รับ

คาฟ้องเพราะ “ไม่อยู่ในอานาจของศาลปกครอง” หรือ
“ไมใ่ ช่ผมู้ ีสิทธิฟ้องคดี”

เมื่อวิเคราะห์เหตุผลในคาวินิ จฉัยหลายคดีตาม
สถิติที่กล่าวมา สะท้อนให้เห็นถึง การใช้ดุลพินิ จของ
ตุลาการศาลปกครองซึ่งเป็ นดุลพินิ จที่ไม่เปิ ดกว้างต่อ
การใช้สิทธิทางศาล หรือ เป็ นอุปสรรคต่อการเข้าถึง
กระบวนการยตุ ิธรรมท่ีเหมาะสมกบั ลกั ษณะข้อพิพาท

ปัญหาการอานวยความยตุ ธิ รรมของประเทศไทย

“ คนส่วนใหญ่มกั จะคดิ ว่า
ความยุตธิ รรม (Justice) เป็ นเร่ืองของกฎหมาย
และนักกฎหมายเท่าน้ัน ทจี่ ะเป็ นผู้เข้าใจถงึ ความยุตธิ รรมได้ดที ส่ี ุด

แม้แต่ข้าพเจ้าซึ่งเป็ นนักเศรษฐศาสตร์
ทขี่ ณะนีไ้ ด้มโี อกาสเข้าไปทางานเกย่ี วกบั การอานวยความยุตธิ รรม

กเ็ คยคดิ เช่นน้ัน
และพยายามจับทางและเลยี นแบบนักกฎหมาย

ในการอานวยความยุตธิ รรม
แต่กพ็ บว่า ไม่ได้ผล เพราะพบว่า
นักกฎหมายทไ่ี ม่ได้ศึกษาทางด้านปรัชญาและสังคมศาสตร์อย่างจริงจงั
จะมองเห็นความยุตธิ รรมในมุมทแี่ คบเกนิ ไป
และในหลายกรณเี ป็ นมุมมองทผ่ี ดิ ด้วยซ้า ”

ศาสตราจารย์ ดร.เมธี ครองแกว้
๑๓ มกราคม ๒๕๕๔

พระราชดารัสพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช

“มีคาพูดที่พูดถึงนักกฎหมายอยู่อย่างหน่ึ งว่า คนที่ทางานกับ
กฎหมายมาก ๆ มกั จะติดอย่กู บั ตวั บทกฎหมาย คาพดู อย่างนี้ดจู ะไม่ใช่คาชม
หากเป็นคาติติงนักกฎหมายบางคน ท่ีถือแต่ตวั กฎหมายเป็นหลกั การในการ
ธารงรกั ษาความยตุ ิธรรม ซึ่งดจู ะเป็นการคบั แคบเกินไป และอาจทาให้รกั ษา
ความยตุ ิธรรมไว้ได้ไมเ่ ตม็ ท่ี

ผู้ทาหน้ าที่พิ ทักษ์ความยุติ ธรรมหรือความเป็ นธรรมจึงควร
ระมดั ระวงั ให้มาก คือ ควรจะได้ทาความเข้าใจให้แน่ชดั ว่ากฎหมายนัน้ ไม่ใช่
ตวั ความยตุ ิธรรม เป็นแต่เพียงเครือ่ งมืออย่างหน่ึงสาหรบั ใช้ในการรกั ษาและ
อานวยความยตุ ิธรรมเท่านัน้

“การใช้กฎหมาย” จึงต้องมุ่งหมายใช้เพ่ือรกั ษาความยุติธรรม
ในแผ่นดิน มิได้มีวงแคบอยู่เพียงแค่ขอบเขตของกฎหมาย หากต้องขยาย
ออกไปให้ถงึ ศีลธรรมจรรยา ตลอดจนเหตแุ ละผลตามเป็นจริงด้วย”

พระราชดารสั ฯเน่ืองในโอกาสพระราชทานประกาศนียบตั รแก่ผ้สู อบไล่ได้ วิชาความรู้ชนั้ เนติบณั ฑิต
สมยั ท่ี ๓๓ วนั พฤหสั บดี ที่ ๒๙ ตลุ าคม ๒๕๒๔

18

“กฎหมาย” & “ความยุตธิ รรม”

“การที่มีคาใช้อยู่สองคา คือ “กฎหมาย” คาหนึ่ง
“ความยุติธรรม” คาหนึ่ง ก็แสดงอยู่ในตัวแล้วว่าหาใช่
สิ่งเดียวกันเสมอไปไม่ การท่ีนักกฎหมายจะยึดถือแต่
กฎหมายไม่คานึงถงึ ความยุตธิ รรมตามความหมายทวั่ ไป
น้ัน เป็ นความเห็นความเข้าใจแคบกว่าทีค่ วรจะเป็ น ”

ศาสตราจารย์ ดร.จิตติ ติงศภัทยิ ์ หลกั วชิ าชีพกฎหมาย

19

ปัญหาการอานวยความยตุ ิธรรมของประเทศไทย

“การอานวยความยุติธรรมปัญหากค็ ือว่า ความยุติธรรมคืออะไร เรามกั จะได้ยิน

กนั ว่าความยุติธรรมตามกฎหมาย และกม็ กั เข้าใจว่าที่มนั ไม่เป็ นกฎหมายละกเ็ ป็ นยุติธรรม
ไปไม่ได้ น่ี เป็ นแต่เพียงความเข้าใจในแง่หน่ึ งเท่านั้นเอง คือ กฎหมายเขียนขึ้นมาก็มี
วตั ถปุ ระสงคท์ ี่จะกาหนดให้ความยตุ ิธรรมนัน้ แน่นอน

เมื่อเรากาหนดไว้แน่นอนแล้วมนั กต็ ้องไปตามหลกั การนัน้ แต่ถ้ากรณีที่มนั ไม่เป็ น
เหมือนกรณีทวั่ ไปขึ้นมา ปัญหาระหว่างกฎหมายกบั ความยุติธรรมอยู่ตรงนี้ ความยุติธรรม
นัน้ เป็ นเรื่องซึ่งเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ส่ิงใดท่ีเป็ นยุติธรรมหรือไม่ มนั เป็ นความคิดของ
บุคคลตามธรรมชาติ มนั ไม่ใช่สิ่งซึ่งบุคคลใดคนหน่ึ งจะไป บอกว่า น่ี ยุติธรรม น่ี ไม่ใช่
ความยุติธรรม มนั เป็ น เรื่องของธรรมชาติ ส่ิงใดจะเป็ นความยุติธรรม กเ็ ป็ นความร้สู ึกของ
คนตามธรรมชาติ

ความยตุ ิธรรมกบั กฎหมายนัน้ บางทีไม่ตรงกนั ผทู้ ี่ใช้กฎหมายเช่น ผพู้ ิพากษาที่ดีจะ
สามารถใช้กฎหมายให้ประสานกบั ความยตุ ิธรรมได้เป็นอย่างดี คือ สามารถตีความกฎหมาย
ให้สอดคล้องกบั ความยตุ ิธรรมได้ ตวั กฎหมายเองที่เขียนไว้กม็ ่งุ หมายให้โอกาสผใู้ ช้กฎหมาย
ได้ตามที่ควรจะเป็ น เราเรียนกฎหมาย กพ็ อจะเข้าใจลายลกั ษณ์อกั ษรกบั ความมุ่งหมายของ
กฎหมายจะควบค่กู นั ”

ศาสตราจารย์ ดร. หยดุ แสงอทุ ยั หนังสือ ๑๐๐ ปี ชาตกาล ๘ เมษายน ๒๕๕๑

การใช้กฎหมายเพ่ือให้เกดิ ความยตุ ธิ รรม

“ความยตุ ิธรรม” หรอื “หลกั นิติธรรม”
จะไมส่ ามารถเกิดเป็นจริงขึน้ มาได้

ถา้ ผใู้ ช้กฎหมายยงั ตามความเปลี่ยนแปลงของโลกไม่ทนั
กฎหมายแมจ้ ะเป็นกรอบท่ีกาหนดทางเดินให้เราเดิน

เป็นกรอบที่ก่อให้เกิดความยตุ ิธรรมและความดีในสงั คม
แต่การเดินตามกรอบท่ีกฎหมายขีดเส้นไว้นัน้
กต็ ้องเป็นไปอย่างมีศิลปะด้วยเช่นกนั เพราะ

กฎหมาย คือ ศิลปะว่าด้วยความดีและความยตุ ิธรรม
(Jus est ars boni et aequi)

ศาสตราจารย์ ดร. อกั ขราทร จฬุ ารตั น
ประธานศาลปกครองสงู สดุ ท่านแรก

(พ.ศ. ๒๕๔๓ - ๒๕๕๓)

ศาสตราจารย์ ดร. อมรจนั ทรสมบูรณ์ กล่าวว่า คาพิพากษา
ของศาลปกครองซึ่งเป็ นตรรกะของการใช้เหตุผลตามนิ ติปรชั ญาของ
กฎหมายมหาชน ต้องมีการวิเคราะห์ (Rationalization) เพื่อดูว่า
คาพิพากษาของศาลมีความผิดพลาดที่เกิดจากการวินิ จฉัยของศาล
หรือไม่เพียงใด ความผิดพลาดในการพิพากษาคดีหมายถึงผลของ
คาพิ พากษาผิ ดไปจ ากเจ ตนารมณ์ ของบทกฎหมายและทาให้ เกิ ด
ผลเสียแก่สงั คม

ซึ่งความผิดพลาดนั้นอาจมีสาเหตุมาจากตัวบุคคล ได้แก่
ความ(ไม่)สามารถ หรือความ(ไม่)สุจริ ตของผู้ใช้อานาจชี้ขาด
ท่ีใช้อานาจ(รฐั ) โดยบิดเบือน (Abuse)ก็ได้ หรืออาจมีสาเหตุมาจาก
ถ้อยคาในบทกฎหมายท่ีไม่เปิ ดโอกาสให้มีการตีความให้เป็ นไปตาม
เจตนารมณ์ของกฎหมายกไ็ ด้

22

Mindset : ความเช่ือที่ส่งผลต่อพฤติกรรม

ปัญหาจากวิธีคิดการใช้กฎหมายของ
นักกฎหมายในกระบวนการยตุ ิธรรมทางปกครอง

นักกฎหมายไทยส่วนหนึ่งยงั ยึดถือว่า “ประเทศไทยอยู่ใน
ระบบ Civil Law” ซ่ึงยึดติดกบั ความคิดท่ีว่า “ประเทศไทยอยู่ใน
ระบบ Civil Law รฐั สภาเป็ นผ้มู ีอานาจออกกฎหมาย ส่วนศาลมี
หน้าที่ตีความตามกฎหมายที่รฐั สภาออกมาใช้บงั คบั ศาลจะตีความ
กฎหมายขยายตัวบทออกไปไม่ได้ จะเป็ นการทาตามอาเภอใจ
หากรัฐสภายังไม่ตรากฎหมายออกมาใช้บังคับ ศาลจะเขียน
กฎหมายเองไม่ได้ เพราะเป็นอานาจของฝ่ ายนิติบญั ญตั ิ เม่ือรฐั สภา
ออกกฎหมายมาแล้วศาลจะไปตีความแก้ไขเปล่ียนแปลงอะไร
ไมไ่ ด้ ต้องตดั สินไปตามนัน้ จนกว่ารฐั สภาจะแก้กฎหมายใหม่”

ปัญหาจากวิธีคิดการใช้กฎหมายของ
นักกฎหมายในกระบวนการยตุ ิธรรมทางปกครอง

“วธิ ีคดิ ท่ีห้ามศาลวางหลักกฎหมายแทนรัฐสภา” มีผลให้ศาลสนใจแต่ตัวบท
แทนอุดมคติที่สอนกันว่าต้องใส่ ใจความเป็ นธรรมในลาดับสูงสุด โดยเฉพาะ
คดีสิ่งแวดล้อมที่ปัญหามลพิษเติบใหญ่ไปเร็วจนตัวบทตามไม่ทัน ซ่ึงทาให้เกิด
“ช่องว่างแห่งความเป็ นธรรม” ที่เห็นชัดเสมอ ดังน้ัน “หลกั อุดช่องว่างทางกฎหมาย”
(Filling Gaps in Law) ท่ีให้อานาจศาล “อุดช่องว่าง” เป็ นการช่ัวคราว จึงเป็ นเรื่อง
สาคัญสาหรับคดีสิ่งแวดล้อมท่ีเก่ียวพันคุณค่าของความเป็ นมนุษย์ เพราะการอุด
ช่องว่างทางกฎหมาย (Gaps of Law) ทาให้สามารถ อุดช่องว่างความไม่เป็ นธรรม
(Gaps of Justice) ไปพร้อมกัน “การอุดช่องว่างทางกฎหมาย” เพ่ือความเป็ นธรรม
ทางสังคม สามารถกระทาได้ภายใต้บริบทหลักการแบ่งแยกอานาจ(Separation of
Power) เนื่องจากไม่ใช่เป็ นการแย่งชิงใช้อานาจของฝ่ ายนิตบิ ญั ญตั ิแต่อย่างใด

ทีมวิจยั ปัญหาตุลาการศาสตร์, “ศาลวางหลกั กฎหมายอย่างไร ใน ๔ คดีมลพิษใหญ่ในประเทศญ่ีป่ ุน”, (How Judges

Think), แผนงานสร้างเสริมนโยบายสาธารณะที่ดี (นสธ.), ๒๕๕๖, คาปรารภ.

The Three Waves of Legal Functions in Society

ในสาขาวชิ า Law and Society มโี จทย์ว่า กฎหมายมหี น้าทอ่ี ย่างไรในสังคม ศาสตราจารย์ สตีเวน ฟาโก Prof.
Emeritus of Saint Louis University ชี้ว่า นักวชิ าการช้ันนาทวั่ โลกต่างเห็นพ้องกนั ว่ากฎหมายมี ๓ หน้าทใ่ี นสังคม คือ

(๑) บทบาทระงับข้อพพิ าท (Conflict Resolution) สังคมมนุษย์ทุกแห่งต่างมีกฎเกณฑ์ระงบั ข้อพพิ าทมาแต่
ดกึ ดาบรรพ์ นั่นคือคล่ืนลูกที่ ๑ ต้งั แต่สมยั คนยงั เป็ นมนุษย์ถา้ (Cavemen) และเริ่มสัมพนั ธ์กนั เป็ นสังคม กฎเกณฑ์ในรูปของ
จารีตประเพณที ่ีใช้วธิ ีแก้แค้น(Feuding) หรือให้คู่กรณีต่อสู้กนั เพ่ือระงับข้อพพิ าท(Trial by Combat) หรือให้สภาผู้เฒ่า
(Council of Elders) เป็ นผู้ตดั สินข้อขดั แย้ง หรือใช้วธิ ีไกล่เกลย่ี เจรจา หรือประนีประนอมกนั สิ่งเหล่าน้ันคือกฎหมาย

(๒) บทบาทควบคุมสังคม (Social Control) เมื่อสังคมมนุษย์ขยายใหญ่มีการแก่งแย่งทรัพยากรและข้อพพิ าท
มากขึน้ จึงมีวธิ ีควบคุมสังคมโดยไม่เป็ นทางการ(Informal Social Control) เช่น การซุบซิบนินทาการเย้ยหยัน การทาให้
อาย ฯลฯ ต่อมาสังคมมนุษย์ขยายใหญ่และสลบั ซับซ้อนมากขนึ้ กฎเกณฑ์การระงบั ข้อพพิ าทจึงพฒั นาจากจารีตประเพณมี า
เขียนเป็ นลายลักษณ์อักษรเพื่อใช้ควบคุมสังคม ซ่ึงเป็ นวิธีท่ีทาให้คนในสังคมยังคงระเบียบและคาดหมายได้ว่าผู้ใดจะพึง
ประพฤติเช่นไร (Social control refers to the methods used by members of a society to maintain order and promote
predictability of behavior) หน้าที่ของกฎหมายในฐานะคล่ืนลูกท่ี ๒ ของสังคมมนุษย์ จึงได้แก่บทบาทควบคุมสังคม
(Social Control)

(๓) บทบาทเปลยี่ นแปลงสังคม (Social Change) เม่ือเวลาล่วงมาถึงต้นศตวรรษ ๑๙ มีสิทธิเกดิ ขึน้ ใหม่เพราะ
การเปล่ียนแปลงของสังคม เช่น สิทธิในแสงแดด(The Rights to Sunshine) เป็ นต้น นักนิติศาสตร์ของโลกหลายคน
โดยเฉพาะศาสตราจารย์ Roscoe Pound (๑๘๗๐-๑๙๖๔) ต่างชี้ว่ากฎหมายมีหน้าที่ Social Engineering (วิศวกรสังคม)
หน้าทขี่ องกฎหมายในฐานะคลื่นลูกท่ี ๓ ในสังคมมนุษย์ จึงได้แก่บทบาท Social Change เพื่อเปลย่ี นแปลงสังคมให้ก้าวไป
ข้างหน้าตามแนวทางทค่ี นในสังคมต้องการ น่ีคือบทบาทล่าสุดของกฎหมาย

บทบาทของกฎหมายในสังคมท่ีกล่าวมา “ตุลาการ” จึงไม่ไดม้ ีหนา้ ที่เพียงตดั สินคดีให้สังคมสงบสันติและ
ธารงสงั คมใหค้ งท่ีเท่าน้นั แต่ตุลาการ ยงั มหี น้าทตี่ ัดสินคดเี พ่ือให้สังคมก้าวไปข้างหน้าตาม Social Change อกี ด้วย

คดีปกครองเกี่ยวกบั
ส่ิงแวดล้อม การผงั เมือง อาคาร และเหตเุ ดือดร้อนราคาญ
เนื้อหาคดีแต่ละเร่ืองเป็นส่วนหนึ่งขององคป์ ระกอบพืน้ ฐาน

“การตงั้ ถิ่นฐานมนุษย”์

HUMAN SETTLEMENT

การตงั้ ถิ่นฐานมนุษย์ มีเนื้อหาว่าด้วย
การดารงชีวิตของมนุษย์

การจดั การสภาพแวดล้อมและการอย่อู าศยั
เพ่ือให้มีชีวิตอย่รู ่วมกนั อย่างปกติสขุ

“เมืองท่ีอย่เู ยน็ เป็นสขุ ”

(องคป์ ระกอบที่ดีด้านสภาพแวดล้อม เศรษฐกิจ สงั คม และความยตุ ิธรรม)



การทาหน้าท่ีของตลุ าการศาลปกครอง

เม่ือต้องเผชิญหน้ากับสถานการณ์หรือข้อเท็จจริงท่ีฝ่ ายนิ ติบญั ญตั ิหรือ
ฝ่ ายบริหารหรอื ฝ่ ายปกครองไมไ่ ด้เขียนบทบญั ญตั ิให้ครอบคลมุ ไว้ในกฎหมาย ตลุ าการจึง
ต้องใช้หรือตี ความกฎหมายตามเจตนารมณ์ หรือความมุ่งหมายของกฎหมาย
(Teleological Interpretation) ไม่ใช่โดยการตีความตามตวั อกั ษร (Literal Interpretation)
ซึ่งเป็นวิธีการท่ีใช้กบั การตีความในกรณีปกติทวั่ ไป

โดยตุลาการจะต้องพิเคราะห์วตั ถปุ ระสงค์ที่กฎหมายนัน้ ต้องการให้เกิด

ผลขึ้นมา (Logical Interpretation หรือ Purposive Approach) จากนั้นจึงให้เหตุผล
ในการวินิจฉัยเพ่ือให้สถานการณ์หรือข้อเทจ็ จริงนัน้ เกิดผลตามวตั ถปุ ระสงคข์ องกฎหมาย
ซ่ึงการตีความเพื่อให้เกิดผลตามเจตนารมณ์และจดุ มุ่งหมายของกฎหมายถือเป็ นบทบาท
ที่สาคัญประการหน่ึ งของฝ่ ายตุลาการท่ีจะใช้อานาจอธิ ปไตยสนับสนุนเพื่อทาให้
ส่ิงท่ีเป็ นวตั ถปุ ระสงค์ของฝ่ ายนิ ติบญั ญตั ิหรือฝ่ ายบริหารหรือฝ่ ายปกครองเกิดผลสาเรจ็
เป็ นไปตามเจตนารมณ์หรือจดุ มุ่งหมายนัน้ กรณีท่ีกล่าวมา จึงไม่ใช่การแทรกแซงอานาจ
ของฝ่ ายนิ ติบญั ญตั ิหรือฝ่ ายบริหารหรือฝ่ ายปกครอง หรือ “การแย่งชิงการใช้อานาจของ
ฝ่ ายนิติบญั ญตั ิหรอื ฝ่ ายบริหารหรอื ฝ่ ายปกครอง แต่เป็นการอดุ ช่องว่างของกฎหมาย”

Judicialization

ศาลในรฐั สมยั ใหม่มีบทบาทและหน้าท่ีที่สาคญั คือ
การอานวยความยุติธรรมทางปกครองอย่างก้าวหน้าให้แก่สงั คม

(Judicial Activism) ตาม Judicialization (The Global Expansion of
Judicial Power) ซึ่งเป็ นบทบาทและหน้ าที่ขององค์กรตุลาการ
ในรฐั สมยั ใหม่ท่ีแผ่กว้างมากขึ้น “ในการตดั สินคดีบนบลั ลงั ก”์ เพ่ือ
ค้มุ ครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชนและสร้างความเป็นธรรมใน
สงั คม หรือการอดุ ช่องว่างของกฎหมายเพื่อวางหลกั การใหม่ๆ ผ่าน
คาวินิ จฉัยไว้ในคาสัง่ หรือคาพิพากษา เม่ือไม่มีบทบญั ญัติ ของ
กฎหมายลายลักษณ์อักษร หรือบทบญั ญัติ ของกฎหมายท่ีมีอยู่
ครอบคลุมไม่ถึง หรือตามไม่ทนั การเปล่ียนแปลงของสงั คม เช่น
ประเดน็ สากลเก่ียวกบั การค้มุ ครองสิทธิมนุษยชน เป็นต้น

การตีความอดุ ช่องว่างกฎหมาย

การพิ จารณาพิ พากษาคดีปกครองของประเทศไทยมีสถานการณ์
เช่นเดียวกบั คากล่าวของ ท่านวีระมนตรี (Christopher G. Weeramantry) ตุลาการ
ประเทศศรีลงั กา และรองประธานศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ณ กรงุ เฮก ประเทศ
เนเธอรแ์ ลนด์ ซ่ึงได้รบั รางวลั Unesco Peace Award ที่กล่าวว่า

ประเทศกาลงั พฒั นามกั มีปัญหาว่า คดีส่ิงแวดล้อมยงั ไม่มีบทกฎหมายในชาติ
ของตนที่จะใช้ตดั สินคดี หรือไม่มีคดีบรรทดั ฐานในด้านนี้ ท่านเห็นว่า ถ้าตุลาการมี
ความกล้า (Gut) นากฎหมายที่มีอยู่แล้วไปปรบั ใช้ในคดี หรือตีความข้ามตวั บท &
วางนโยบายสงั คม (Judicial Activism & Judicial Policy Making) จะสามารถแก้ไข
ปัญหาส่ิงแวดล้อมในชาติของตนได้ เน่ืองจากฝ่ ายนิ ติบญั ญตั ิไม่อาจคาดการณ์ได้
ล่วงหน้าทุกเรื่องว่า ปัญหาสิ่งแวดล้อมจะเกิดขึ้นเช่นไรในอนาคต จึงเป็ นฝี มือของ
ฝ่ ายตุลาการที่จะต้อง “ตีความอุดช่องว่างกฎหมาย” ในเวลาใดๆกต็ ามที่ต้องเผชิญ
กบั ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมของประเทศ[1]

[1] พิเชษฐ เมาลานนท์ และทีมวิจยั ปัญหาตลุ าการศาสตร์ “ค่มู อื ตลุ าการด้านสิ่งแวดล้อม” หน้า ๑๘ - ๒๕

30

การพิ จารณาพิ พากษาคดีปกครองของประเทศไทยมีสถานการณ์
เช่นเดียวกบั คากล่าวของท่านวีระมนตรี (Christopher G. Weeramantry) ตลุ าการ
ประเทศศรีลงั กา และรองประธานศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ณ กรงุ เฮก ประเทศ
เนเธอรแ์ ลนด์ ซ่ึงได้รบั รางวลั Unesco Peace Award ท่ีกล่าวว่า

ประเทศกาลงั พฒั นามกั มีปัญหาว่า คดีส่ิงแวดล้อมยงั ไม่มีบทกฎหมายในชาติ
ของตนท่ีจะใช้ตดั สินคดี หรือไม่มีคดีบรรทดั ฐานในด้านนี้ แต่ท่านเหน็ ว่า ถ้าตุลาการ
มีความกล้า (Gut) นากฎหมายที่มีอยู่แล้วไปปรบั ใช้ในคดี หรือตีความข้ามตวั บท &
วางนโยบายสงั คม (Judicial Activism & Judicial Policy Making) จะสามารถแก้ไข
ปัญหาสิ่งแวดล้อมในชาติของตนได้ เน่ืองจากฝ่ ายนิ ติบญั ญตั ิไม่อาจคาดการณ์ได้
ล่วงหน้าทุกเรื่องว่า ปัญหาสิ่งแวดล้อมจะเกิดขึ้นเช่นไรในอนาคต จึงเป็ นฝี มือของ
ฝ่ ายตุลาการท่ีจะต้องตีความอุดช่องว่างกฎหมาย ในเวลาใดๆกต็ าม ท่ีต้องเผชิญกบั
ปัญหาด้านส่ิงแวดล้อมของประเทศ[1]

[1] พิเชษฐ เมาลานนท์ และทีมวิจยั ปัญหาตลุ าการศาสตร์ “ค่มู ือตลุ าการด้านสิ่งแวดล้อม” หน้า ๑๘ - ๒๕

31

รฐั ท่ีดีจะต้องรบั รองและค้มุ ครองสิทธิมนุษยชนและสิทธิพลเมอื ง ICCPR

ซึ่งตาม กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง ค.ศ.๑๙๖๖ หรือ ICCPR
(International Covenant on Civil and Political Rights, ๑๙๖๖) Article ๑๗ ที่บญั ญตั ิว่า (๑) No one shall be

subjected to arbitrary or unlawful interference with his privacy, family, home or correspondence, nor to

unlawful attacks on his honour and reputation. (๒) Everyone has the right to the protection of the law
against such interference or attacks. ซึ่งประเทศไทยได้เข้าเป็นภาคีของสนธิสญั ญาดงั กล่าว ได้มีการรบั รองและ
ค้มุ ครองสิทธิของบุคคลในท่ีอยู่อาศยั และในทรพั ยส์ ิน จากการไม่ถกู รบกวนในการอยู่อาศยั และการใช้ประโยชน์
ในทรพั ยส์ ิน

ซึ่งตามเจตนารมณ์ของการคุ้มครองสิทธิที่กล่าวมา หมายรวมถึง การไม่ถกู รบกวนจากการดาเนิ น
กิจการทางปกครองหรือการจดั ทาบริการสาธารณะท่ีมีอนั ตรายโดยสภาพ เช่น คลงั น้ามนั คลงั ก๊าซ คลงั เก็บ
สารเคมีชนิดร้ายแรง ท่อส่งวตั ถอุ นั ตราย หรือโรงปฏิกรณ์นิวเคลียร์ เป็นต้น เน่ืองจากโดยสภาพของกิจการที่กล่าว
มาถือว่าเป็ นสิ่งคกุ คามทาให้เกิดความด้อยค่าในการอยู่อาศยั ของประชาชนและต่อทรพั ยส์ ินของบุคคล ดงั นัน้
เมื่อมีการดาเนิ นกิจการทางปกครองหรือบริการสาธารณะ ท่ีมีอนั ตรายโดยสภาพดงั กล่าว รฐั ที่ดีจึงมีหน้าที่ต้อง
เยียวยาความเสียหายหรือจ่ายค่าทดแทนความด้อยค่าในการอย่อู าศยั และความด้อยค่าในทรพั ยส์ ินแก่ประชาชน
ที่ถกู รบกวนสิทธิในการอยู่อาศยั และในทรพั ย์สินดงั กล่าว รฐั ท่ีดีจึงมีหน้าที่เยียวยาความเสียหายหรือจ่ายค่า
ทดแทนความด้อยค่าในการอย่อู าศยั และความด้อยค่าในทรพั ยส์ ินแก่ประชาชนท่ีถกู รบกวนสิทธิในการอยู่อาศยั
และในทรพั ยส์ ิน เพื่อแสดงออกถึงความรบั ผิดชอบและการให้ความธรรมแก่ประชาชนของตน ศาลปกครองจึง
ต้องวางหลกั เพ่ือให้หน่วยงานของรฐั กาหนดระเบียบการปฏิบตั ิราชการสาหรบั เยียวยาความเสียหายหรือจ่ายค่า
ทดแทนความด้อยค่าในการอย่อู าศยั และความด้อยค่าในทรพั ยส์ ินแก่ประชาชนในกรณีดงั กล่าวต่อไป

กรณศี ึกษา : การใช้กฎหมายที่เป็ นสากล

ปี พ.ศ. ๒๕๓๑ – ๒๕๔๐ สหประชาชาติประกาศเป็นปี ทศวรรษโลกเพื่อการพฒั นาเชิงวฒั นธรรม
( world decade for cultural development) โดยให้เอาวฒั นธรรมเป็ นแกนกลางในการพฒั นา คือ ให้ถือ
คณุ ค่าของความเป็ นมนุษยแ์ ละวฒั นธรรมเป็ นหวั ใจสาคญั ของการพฒั นา โดยวิธีดาเนิ นการพฒั นาจะต้อง
คานึงถึงปัจจยั ด้านมนุษยแ์ ละให้คณุ ค่าทางวฒั นธรรมรวมอย่ใู นกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสงั คม

ปี พ.ศ. ๒๕๓๕ ประชุม Earth Summit ท่ี กรงุ ริโอ เดอ จาเนโร มีการประกาศ Aganda 21
แผนปฏิบตั ิการ 21 เพ่ือให้ประเทศต่างๆในโลก หนั มาพิจารณาทบทวนกระบวนการพฒั นากนั ใหม่ ตาม
แนวความคิดการพฒั นาอย่างยงั่ ยืน ซึ่งผแู้ ทนประเทศไทยรวมทงั้ ผนู้ าประเทศอ่ืนๆ อีก ๑๑๘ ประเทศ ได้ร่วม
ลงนามในแผนปฏิบตั ิการ 21

เมื่อประเทศไทยประกาศใช้รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช ๒๕๔๐ ได้นา
หลกั การว่าด้วย ศกั ด์ิศรีความเป็นมนุษย์ และ การพฒั นาท่ียงั่ ยืน มาบญั ญตั ิไว้ในรฐั ธรรมนูญหลายมาตรา

ในปี พ.ศ. ๒๕๔๕ ประธานศาลฎีกาและตลุ าการอาวโุ สของประเทศต่างๆ จานวน ๑๐๐ ประเทศ
ได้เข้าร่วมการ สมั มนา Global Judge Symposium 2002 ในการประชุม World Summit on Sustainable
Development 2002 ท่ีเมืองโยฮนั เนสเบิรก์ ประเทศอฟั ริกาใต้ และประกาศ หลกั การแห่งกรงุ โยฮนั เนสเบิรก์
ว่าด้วยหลกั นิติธรรมและการพฒั นาที่ยงั่ ยืน (Johannesburg Principles on the Rule of Law & Sustainable
Development) รวมทงั้ ได้เรียกร้องให้องคก์ ารสหประชาชาติจดั ทา “ค่มู ือการพิจารณาคดีสิ่งแวดล้อม”

ดงั นัน้ ประเทศสมาชิกองคก์ ารสหประชาชาติไม่ว่าจะใช้กฎหมายระบบใด ได้แก่ common law,

civil law, religious and traditional law, socialist law ฯลฯ จะต้องใช้กฎหมายภายในของตนเพ่ือให้บรรลุ

ตามจดุ มงุ่ หมายของ “หลกั นิติธรรมและการพฒั นาที่ยงั่ ยืน”

ศาลปกครอง

34

เจตนารมณ์ : เหตุผลท้ายพระราชบัญญตั ิจัดต้งั ศาลปกครอง

และวธิ ีพจิ ารณาคดีปกครอง พ.ศ.๒๕๔๒

โดยท่ีรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยได้บัญญัติให้จัดต้ังศาลปกครองขึน้ เพ่ือให้มีอานาจ
พิจารณาพิพากษาคดีที่มีข้ อพิพาททางกฎหมายปกครองระหว่ างเอกชนกับหน่ วยงานของรั ฐหรื อ

เจ้าหน้าที่ของรัฐ หรือระหว่างหน่วยงานของรัฐหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐด้วยกัน เกย่ี วกบั การกระทาหรือ

การละเว้นการกระทาท่ีหน่วยงานของรัฐหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐต้องปฏิบัติตามกฎหมาย หรือเนื่องจาก

การกระทาหรือละเว้นการกระทาทีห่ น่วยงานของรัฐหรือเจ้าหน้าท่ีของรัฐต้องรับผดิ ชอบในการปฏิบัติ

หน้าทตี่ ามกฎหมาย ซ่ึงตามอานาจหน้าท่ขี องศาลปกครองดังกล่าวเป็ นเร่ืองทเี่ กยี่ วข้องกบั การออก “กฎ

หรือคาส่ังทางปกครอง” “การกระทาละเมดิ ในทางปกครอง” หรือ “การทาสัญญาทางปกครอง” อนั เป็ น

เร่ืองของ “กฎหมายมหาชน” และโดยที่ระบบการพจิ ารณาและพิพากษาคดีจาเป็ นต้องมีกระบวนการ

เป็ นพเิ ศษต่างจากคดีปกติท่ัวๆ ไป เพราะผลแห่งคาพิพากษาอาจกระทบถงึ การบริหารราชการแผ่นดิน

หรือต้องจ่ายเงินภาษีอากรของส่วนรวมเป็ นค่าชดเชยหรือค่าเสียหายแก่เอกชน ในขณะเดียวกันเอกชน

จะอยู่ในฐานะเสียเปรียบท่ีไม่อาจทราบข้อมูลจากหน่วยงานของรัฐได้ ในการพจิ ารณาจึงจาเป็ นต้องใช้
“ระบบไต่สวนเพ่ือหาข้อเท็จจริงที่แท้จริง” และต้องมี “ตุลาการท่ีมีความเช่ียวชาญเป็ นการเฉพาะ”
ซึ่งสามารถตรวจสอบได้จากฝ่ ายบริหาร ฝ่ ายนิติบัญญตั ิ และประชาชนทวั่ ไป ซึ่งจะถูกกระทบในทางใด

ทางหนง่ึ จากคาพพิ ากษาของศาลปกครอง 35

ระบบไต่สวน

Inquisitorial System

การแสวงหาข้อเท็จจริงในคดปี กครอง
ทเี่ กย่ี วกบั

ส่ิงแวดล้อม การผงั เมือง อาคาร และเหตุเดือดร้อนราคาญ

“คดีปกครองเกี่ยวกบั การตงั้ ถ่ินฐานมนุษย”์
(HUMAN SETTLEMENT)

กรณศี ึกษา

คดโี รงไฟฟ้าพลงั งานความร้อน

( การดาเนินกจิ กรรมทางปกครองท่มี ีลกั ษณะเป็ นการกระทาทางกายภาพ )









กรณศี ึกษา

คดมี าบตาพดุ

( การดาเนินกจิ กรรมทางปกครองที่มลี กั ษณะเป็ นการกระทาทางกายภาพ )
















Click to View FlipBook Version