The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การบรรยาย ก.ศป. รุ่นที่ 12 Power Point บรรยาย 3 7 65

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pachairat, 2022-07-04 00:35:43

คดีสิ่งแวดล้อมที่สำคัญ ก.ศป. 12 Sun 3 7 65 PPT

การบรรยาย ก.ศป. รุ่นที่ 12 Power Point บรรยาย 3 7 65

301

302

303

มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร

7/4/2022 304

7/4/2022 305

306

เมื่อเกิดกระแสคัดค้านจากสังคมท่ีไม่เห็นด้วยกับการสร้างอาคารใหม่ท่ีมีความสูงตามภาพ ในบริเวณเขตเมืองเก่า

เกาะรัตนโกสินทร์ จึงมีการปรับแก้ความสูงของอาคารลง อย่างไรก็ตาม แม้จะลดความสูงของอาคารลงมา ปัจจุบันก็ยังทาให้

เกดิ ความไม่กลมกลืนของรูปแบบสถาปัตยกรรมบริเวณเกาะรัตนโกสินทร์ 307

“กรุงรัตนโกสินทร์” สถานท่อี นั เป็ นท่รี วมจติ ใจของพสกนิกรชาวไทย

309

310

311

พระบาทสมเด็จ
พระมหาภูมพิ ลอดุลยเดช
มหาราช บรมนาถบพติ ร

กบั

การผงั เมือง

312

Modern Landscape Urbanism ตามแนวความคิด Smart Growth

ตามหลกั วิชาด้านการผงั เมือง “การเติบโตของเมืองอย่างชาญฉลาด” จะไม่ทาให้เกิด “ทศั นะอจุ าด” ท่ีทาลาย

คณุ ค่าต่อทศั นียภาพที่มนุษยร์ บั รคู้ วามงามด้วยสายตา Visual Quality และ สิ่งสาคญั ที่สุดใน “บริเวณเมืองเก่า” ของ
ประเทศที่พฒั นาแล้วทวั่ โลก จะไมก่ ่อสรา้ งอาคารขึน้ ใหม่ยกเว้นเพื่อการบรู ณะและซ่อมแซมเท่านัน้

7/4/2022 313

อดตี ปัจจุบัน

อนาคต “ เกาะรัตนโกสินทร์ หวั แหวนของพระนคร”

ปัญหาลกั ษณะนีเ้ กดิ ขนึ้ ซ้าแล้วซ้าอกี ทวั่ ไปในสังคมไทย เนื่องมาจากผู้ทม่ี ีอานาจในองค์กรต่างๆมองเฉพาะประโยชน์ขององค์กร และไม่มี
ความเป็ นผู้ใหญ่พอทจ่ี ะโน้มตวั ลงมารับฟังผู้คนในสังคม ทาให้ไม่มสี ายตาทยี่ าวไกลในการอนุรักษ์พืน้ ทปี่ ระวตั ศิ าสตร์สาคญั ของชาติ ไว้

314

แผนที่ท้ายประกาศกระทรวงมหาดไทย

315

“จรรยาบรรณกบั สถาปัตยกรรม”

“.... มีการประชุมในระดับชาติ เรื่องของผลกระทบในความสัมพันธ์ระหว่าง
“จรรยาบรรณกบั สถาปัตยกรรม” เป็ นการพิสูจน์ว่า วิชาชีพของสถาปนิ กได้เข้าไปสู่ยุคใหม่

เรียบร้อยแล้ว ถ้าหากจะเฉพาะเจาะจงลงไปในเร่ืองของหลกั ทางศีลธรรมเป็ นหลกั ก็จะไป
ส่คู าถามงา่ ยๆที่ว่า “เราจะเป็นสถาปนิกได้อย่างไร”

โดยวิชาชีพสถาปนิ กจะต้องมีความรบั ผิดชอบทางกฎหมายในการที่จะปกป้ อง
สาธารณะ ในด้านของสขุ ภาพ และความปลอดภยั ในชีวิตและทรพั ยส์ ิน (Health Safety and
Welfare) หรอื ถ้าจะแปลให้ตรงตวั คือสถาปนิกยอมรบั ความรบั ผิดชอบเหล่านี้ไว้ เพ่ือโอกาสใน
การใช้ความร้ขู องเขาเพ่ือรบั ใช้สาธารณชนนัน่ เอง สถาปนิ กจะทาอย่างไรถ้าเกิดเป็นการเลือก

ระหว่างการท่ีจะต้องออกแบบให้กระทบกระเทือนต่อสภาพแวดล้อม หรือ ทาอะไรท่ีน่าเกลียด
มากๆ ไม่มีความงามแม้แต่น้อย กบั การที่จะอยู่รอดได้ในทางธรุ กิจนัน้ สถาปนิ กจะต้องละทิ้ง
ความรบั ผิดชอบต่อสงั คมไปเสียเลยไม่มีทางเลือกอ่ืนแล้วหรอื

สถาปนิกต้องพ่ึงพาคนท่ีมีอานาจหน้าที่ให้มาบอกว่าอะไรผิดหรืออะไรถกู แล้วบงั คบั
ให้สถาปนิกทาตามความเหมาะสมอย่างท่ีเขาเหน็ หรือว่าสถาปนิกจะใช้ความรสู้ ึกผิดชอบชวั่ ดี

ของตนเองจดั การกบั ปัญหาเองอย่างมีจรรยาบรรณได้

พร วริ ุฬห์รักษ,์ จรรยาบรรณกบั สถาปัตยกรรม, แปลและเรียบเรียง จาก Ethics and Architecture โดย John T. Matteson

และ Mary Z. Donovan, http://www.virulrak.com/main.html 316

“ประโยชน์ของส่วนรวม” “ความเป็ นธรรมทางสังคม”

กบั “สามญั สานึกใหม่” ของผู้ทเี่ กยี่ วข้องในสังคมไทย

ข้อพิพาททางปกครองเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมการผังเมือง อาคาร และเหตุเดือดร้อนราคาญ
ซึ่งนามาฟ้องต่อศาลปกครอง ปรากฏข้อเท็จจริงสะท้อนให้เห็นว่า “ความไม่เป็ นธรรมทางสังคม”
“ประโยชน์ของส่วนรวมที่เสียหาย” ส่วนหน่ึงมีสาเหตุมาจากวิธีคิดและการกระทาท่ีไม่สมเหตุสมผล
ของผู้ทเ่ี กย่ี วข้องในกระบวนการยตุ ธิ รรมทางปกครองและกระบวนการวางแผนภาคและเมือง คือ

ผู้ประกอบวิชาชีพที่เกี่ยวกับการวางแผนภาคและเมือง ได้แก่ สถาปนิก วิศวกร นักผังเมือง
เป็ นต้น

หรือ เจ้าหน้าที่ของรัฐท่ีมีอานาจหน้าที่ในการอนุญาตและควบคุมดูแลการประกอบกจิ กรรมต่างๆ
ได้แก่ หัวหน้าส่ วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจ ผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือเจ้าพนักงาน
ท้องถน่ิ ทม่ี ีอานาจตามกฎหมายเฉพาะ เป็ นต้น

หรือ บุคคลที่มีอานาจหน้าที่เกย่ี วข้องในกระบวนการยุติธรรมทางปกครอง ได้แก่ คณะกรรมการ
วนิ ิจฉัยข้อพพิ าททางปกครอง พนักงานอยั การ และตุลาการ เป็ นต้น

หรือ ภาคเอกชนทปี่ ระกอบอาชีพและดาเนินกจิ กรรมต่างๆ ได้แก่ ผู้บริหารองค์กรธุรกจิ ขนาดใหญ่
ผู้ประกอบกจิ การทว่ั ไป บริษทั ทปี่ รึกษากฎหมายเอกชน เป็ นต้น

หรือ ประชาชน ได้แก่ ประชาชนหรือกล่มุ ประชาชนทีใ่ ช้วธิ ีการเพื่อให้บรรลตุ ามวตั ถุประสงค์ของ
ตนเองอนั ไม่เป็ นไปตามเจตนารมณ์และบทบัญญตั ขิ องรัฐธรรมนูญและกฎหมาย เป็ นต้น

กรณศี ึกษา

วธิ ีคดิ ของต่างประเทศ

ในคดปี กครองเกย่ี วกบั
สิ่งแวดล้อม การผงั เมือง อาคาร

และเหตุเดือดร้อนราคาญ

318

“การเติบโตของเมืองอย่างชาญฉลาด” Smart Growth

เป็ นแนวคิดใหม่ของการพฒั นาเมืองในยุคปัจจุบนั เริ่มต้นเมื่อ ปี ค.ศ. ๑๙๖๐ จากการริเร่ิมของ
สมาคมวางแผนพฒั นาเมืองแห่งสหรฐั อเมริกา (American Planning Association : APA) และ สานักงานปกป้อง
ส่ิงแวดล้อมแห่งสหรฐั อเมริกา (U.S. Environmental Protection Agency : EPA) ด้วยวิสยั ทศั น์การสร้างชมุ ชน
เมืองที่น่าอยู่และประชาชนมีคณุ ภาพชีวิตท่ีดีขึ้น โดยการออกแบบเมืองที่ใส่ใจต่อระบบความสมั พนั ธ์ของชุมชน
ผ้คู น และสิ่งแวดล้อม เพ่ือนาไปสู่เมืองท่ีน่าอยู่อย่างยงั่ ยืน การเติบโตของเมืองอย่างชาญฉลาดจาเป็ นต้องสร้าง
หลกั เกณฑห์ รือข้อบงั คบั ที่เหมาะสม (Appropriate Planning Regulatory Framework) ขึน้ มารองรบั การปฏิบตั ิให้
การพฒั นาเมืองหรือการประกอบกิจกรรมต่างๆเป็ นไปในทิศทางที่สอดคล้องกนั ภายใต้คณุ ภาพส่ิงแวดล้อมกบั
อรรถประโยชน์การใช้พืน้ ที่เมอื งให้เกิดประโยชน์ในเชิงสิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจและสงั คม

หลกั เกณฑแ์ ละแนวทางการพฒั นาเมืองตามแนวคิดการเติบโตอย่างชาญฉลาด ๑๐ ข้อ ประกอบด้วย (๑) การใช้
ท่ีดินแบบผสมผสาน (๒) การสนับสนุนการออกแบบอาคารให้เกาะกล่มุ กนั และใช้ประโยชน์ในการออกแบบ อาคารแบบกระชบั
(Compact Building Design) (๓) การสร้างโอกาสและทางเลือกของที่อยู่อาศยั สาหรบั ประชากรทุกระดบั รายได้ (๔) การ
สนับสนุนการเชื่อมต่อระหว่าง ย่านและชุมชนด้วยการเดิน (๕) การสร้างเสริมชุมชนให้เป็ นสถานที่พิเศษ (Distinctive) และมี
แรงดึงดดู (Attractive) ด้วยความผกู พนั กบั สถานท่ีอย่างเข้มแขง็ (๖) การรกั ษาที่โล่ง พื้นท่ีการเกษตร พื้นท่ีธรรมชาติท่ีงดงาม
พืน้ ท่ีอนุรกั ษ์ประวตั ิศาสตร์ และพืน้ ที่ซ่ึงมีความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อม (๗) สรา้ ง ความเข้มแขง็ ให้กบั ชมุ ชนและม่งุ การพฒั นาไป
ยงั ชุมชนท่ีมีสาธารณูปโภคและสาธารณูปการอยู่แล้ว (๘) การจดั หาทางเลือกการเดินทางและการคมนาคมขนส่งที่มีความ
หลากหลาย (๙) การสรา้ งระบบการตดั สินใจในการพฒั นาชมุ ชนท่ีคาดการณ์ได้ชดั เจน ยุติธรรม และมีประสิทธิภาพด้านต้นทุน
และ (๑๐) การสนับสนุนการมีส่วนรว่ มของชมุ ชนและส่งเสริมประสานรว่ มมอื กนั ระหว่างชมุ ชนและผมู้ ีส่วนได้ส่วนเสีย

ฐาปนา บุณยประวติ ร, วสิ ยั ทศั น์และยุทธศาสตรน์ านาชาติ : การเตบิ โตอย่างชาญฉลาด, Smart Growth,

http://asiamuseum.co.th/ 319

แนวคิดการพฒั นาภมู ิทศั น์ชมุ ชนเมอื งยคุ ใหม่ Modern Landscape Urbanism

แนวคิดการเติบโตอย่างชาญฉลาดทาให้เกิด แนวคิดการพฒั นาภมู ิทศั น์ชุมชนเมืองยุคใหม่ (Modern
Landscape Urbanism) ซ่ึงมีอิทธิพลต่อการวางผงั เมืองของหลายประเทศ เพราะ “เมืองยุคใหม่” ไม่ใช่เพียงแต่
ออกแบบให้สอดคล้องกบั การเจริญเติบโตที่ตอบสนองต่อสาธารณูปโภคและเทคโนโลยีในยุคใหม่เท่านั้น
แต่จะต้องออกแบบเมืองให้สอดคล้องกบั ภมู ิทศั น์สิ่งแวดแวดล้อมดงั้ เดิมให้คงอยู่ค่กู บั พืน้ ท่ีชนบท พืน้ ที่ชานเมือง
และพื้นที่ชุมชนเมืองอีกด้วย เช่น การอนุรกั ษ์สวนสาธารณะเก่าแก่ท่ีมีอยู่ค่กู บั ชุมชนเมืองมาแต่ดงั่ เดิมให้คงอยู่
ค่กู บั ชมุ ชนเมอื งในปัจจบุ นั เป็นต้น

ในเดือนตุลาคม ค.ศ. ๒๐๐๐ สหภาพยุโรปได้ตรา อนุสญั ญาแห่งยุโรปว่าด้วยภูมิทัศน์ (European
Landscape Convention : ELC) หรือ อนุสญั ญาฟลอเรนซ์ (Florence Convention) ขึ้น โดยอนุสญั ญาฉบบั นี้
ถือเป็ นอนุสญั ญาว่าด้วยการพฒั นาภมู ิทศั น์ระหว่างประเทศฉบบั แรกของโลก ท่ีกาหนดหลกั การด้านผงั เมือง
อนั มุ่งคุ้มครองประโยชน์สาธารณะในที่เก่ียวข้องกบั ภมู ิทศั น์เมือง ไม่ว่าจะเป็ นประโยชน์ทางวฒั นธรรม ระบบ
นิเวศน์ ส่ิงแวดล้อมและสงั คม ของประเทศสมาชิกและของภมู ิภาคยโุ รป ซึ่งประเทศสมาชิกของสหภาพยโุ รปท่ีได้
ให้สตั ยาบนั รบั รองอนุสญั ญาดงั กล่าว ต้องผกู พนั ตามกฎหมายระหว่างประเทศและต้องปฏิบตั ิตามหลกั เกณฑแ์ ละ
แนวทาง ท่ีอนุสญั ญาด้านผงั เมืองฉบบั นี้ได้กาหนดเอาไว้

อนุสญั ญาฟลอเรนซ์ ได้กาหนด มาตรการทวั่ ไป (General Measures) และ มาตรการเฉพาะ (Specific
Measures) ท่ีเป็ นประโยชน์ต่อการคุ้มครองภมู ิทศั น์ของพื้นท่ีชนบท พื้นที่ชานเมือง และพื้นท่ีชุมชนเมืองเอาไว้
หลายมาตรการด้วยกนั เช่น

ปี ดิ เ ท พ อ ยู่ ยื น ย ง , ม อ ง ก า ร พั ฒ น า ภู มิ ทั ศ น์ เ มื อ ง ใ น ยุ โ ร ป ผ่ า น อ นุ สัญ ญ า ฟ ล อ เ ร น ซ์ :
Landscape Development in Europe from Florence Convention Perspective, สมาคมนักผงั เมอื งไทย,
http://tatp.or.th/planning/eulandscape.html, July 7, 2015

320

การใช้อานาจทางปกครอง

(Police Power) เมอ่ื ค.ศ.1899

เพ่ือประโยชน์ของส่วนรวม

ท่ีบริเวณ

Copley Square

เมอื ง Boston มลรฐั Massachusetts

ประเทศสหรฐั อเมรกิ า 321

Copley Square, Boston, Massachusetts. 322

Trinity Church Massachusetts Institute of Technology

The Museum of Fine Arts' original home
The Boston Public Library in Copley Square (on the site of the present Copley Plaza Hotel).

The Boston Public Library : Copley Square Boston, Massachusetts. 324

Copley Square, Boston, Massachusetts.
325

ในปี ค.ศ. ๑๘๙๙ เกิดขอ้ พิพาทระหว่างหน่วยงานของรัฐกบั เอกชนเจา้ ของท่ีดินเกี่ยวกบั การออกกฎหมาย

ควบคุมการพฒั นาเมืองบริเวณ Copley Square เมือง Boston มลรัฐ Massachusetts ซ่ึงศาลมีคาพิพากษาที่แสดงให้เห็นถึง
เหตุผลของการใชอ้ านาจรัฐเพื่อประโยชน์ของส่วนรวมตามจุดมุ่งหมายดา้ นการผงั เมืองและการคุม้ ครองสิทธิในทรัพยส์ ิน

ของเอกชน
คดีน้ี บริเวณ Copley Square เป็นสวนสาธารณะของเมืองท่ีมีอาคารของรัฐต้งั อยโู่ ดยรอบ รวมท้งั โบสถท์ รินิต้ี

(Trinity Church) พิพิธภณั ฑศ์ ิลปะ (The Museum of Fine Arts) หอ้ งสมุดสาธารณะ (Boston Public Library) อาคาร New Old

South Church และอาคารของมหาวทิ ยาลยั M.I.T. (Massachusetts Institute of Technology) จึงมีการออกกฎหมาย The
Massachusetts Act of ๑๘๙๘ จากดั ความสูงของอาคารรอบๆ Copley Square ของเมือง Boston ไวใ้ นความสูงไม่เกิน ๙๐ ฟุต
และกาหนดจุดมุ่งหมายของกฎหมายไวว้ า่ เพ่ือความสวยงามและจะตอ้ งให้ค่าชดเชยแก่ผซู้ ่ึงไดร้ ับความเสียหายในทรัพยส์ ิน
จากการจากดั ความสูงของอาคาร ซ่ึงเอกชนเจา้ ของท่ีดินบริเวณดงั กล่าวโตแ้ ยง้ ว่ากฎหมายดงั กล่าวขดั ต่อบทบญั ญตั ิของ
รัฐธรรมนูญเพราะจากดั สิทธิและเสรีภาพการใชป้ ระโยชนใ์ นทรัพยส์ ินของเอกชน

ศาลสูงสุดของมลรัฐ Massachusetts ตดั สินว่า กฎหมายฉบบั น้ีได้ผ่านความเห็นชอบในการออกกฎหมาย
เพื่อให้มี อานาจดาเนินการทางปกครอง (Police Power) ตามกระบวนการปกติเช่นเดียวกับกฎหมายอ่ืนๆ เมื่อพิจารณา
ขอ้ กาหนดเห็นวา่ เป็นไปเพื่อประโยชนข์ องประชาชนบริเวณ Copley Square ในการใชส้ วนสาธารณะ แสงสวา่ งและอากาศ
บริสุทธ์ิ ขอ้ กาหนดเหล่าน้ีมีลกั ษณะเป็ นการให้อานาจตามกฎหมายบงั คบั เจา้ ของที่ดินให้เปิ ดท่ีโล่ง เพื่อให้มีแสงสวา่ งและ
อากาศที่เพียงพอแก่สวนสาธารณะ สาหรับชาวเมืองใชร้ ่วมกนั เพื่อรับอากาศบริสุทธ์ิ และยงั มีวตั ถุประสงคเ์ พ่ือท่ีจะรักษา
คุณค่าทางสถาปัตยกรรมของบริเวณ Copley Square ไว้ รวมท้งั มีขอ้ กาหนดค่าชดเชยเอาไว้ เพื่อทดแทนใหก้ บั เจา้ ของท่ีดิน
ซ่ึงไม่ว่าจะพิจารณาไปในทางใดกฎหมายน้ีเป็ นไปตามอานาจในการเวนคืนที่ดิน แต่หากออกกฎหมายดงั กล่าวจะไม่เป็ น
ประโยชน์แก่เจา้ ของท่ีดินแต่ละบุคคล เพราะการเวนคืนที่ดินเป็ นการทาลายสิทธิในทรัพยส์ ินของเจา้ ของที่ดินโดยสิ้นเชิง
ตลอดจนไม่มีเหตุผลที่จะกล่าวอา้ งไดว้ ่าการให้มีสวนสาธารณะที่สวยงามเป็ นท่ีพกั ผ่อนหยอ่ นใจของประชาชน และการ
ไม่ใหม้ ีส่ิงปิ ดบงั แสงสวา่ งและอากาศบริสุทธ์ิที่มีอยกู่ ่อนแลว้ จะไม่สามารถใชอ้ านาจเพ่อื ประโยชนข์ องส่วนรวมได้ 326

Copley Square, Boston, Massachusetts.

Copley Square, Boston, Massachusetts. 328

329

การตรวจสอบการใช้ดลุ พินิจของฝ่ ายปกครองโดยศาล

ศาลฎีกาประเทศสเปนมีคาพิพากษาค้มุ ครองโรงละคร Albéniz *

แผนกคดปี กครองของศาลฎกี าแหง่ ประเทศสเปนไดม้ คี าพพิ ากษา โดยนาย Enrique Lecumberri Marti ตุลาการเจา้ ของ
สานวน จากการฟ้องรอ้ งโดยกลุ่มผสู้ นบั สนุนโรงละคร Albéniz เมอ่ื วนั ท่ี ๑๗ พฤษภาคม ๒๐๐๗ ต่อสภาทป่ี รกึ ษาดา้ นวฒั นธรรมและ
การกีฬาแห่งแคว้นปกครองอิสระมาดริด โดยได้ร้องขอให้มีการปกป้องคุ้มครองโรงละคร Albéniz แต่นาย Santiago Fisas
ทป่ี รกึ ษาดา้ นวฒั นธรรมไดป้ ฏเิ สธเร่อื งดงั กล่าว โดยมเี อกสารรายงานประกอบการพจิ ารณา ๒ รายการ คอื รายงานจากหวั หน้าฝ่าย
คุม้ ครองโบราณสถานและโบราณวตั ถุซง่ึ ไดร้ ะบุว่าโรงละครไมไ่ ดม้ คี ุณค่าทางสถาปัตยกรรมทเ่ี พยี งพอสาหรบั การปกป้องคุม้ ครองและ
ให้คงไว้ซ่ึงการใช้ประโยชน์ของโรงละคร และมรี ายงานจากหวั หน้าฝ่ ายรายการและเอกสารเก่ียวกบั การคงไว้ซ่ึงวฒั นธรรมและ
ความเป็นมาของโรงละครซง่ึ ระบุว่าไม่อาจจะอา้ งถงึ คุณค่าในความเป็นเอกลกั ษณ์หน่ึงเดยี วได้ ดงั นัน้ จงึ ไดม้ กี ารพจิ ารณาในแง่ของ
ประโยชน์ซง่ึ ไดม้ กี ารแสดงใหเ้ หน็ ถงึ กจิ กรรมทไ่ี ดม้ กี ารพฒั นานบั แต่ไดม้ กี ารกอ่ ตงั้ เมอ่ื ปี ๑๙๔๕

“ศาลฎีกา” ไดใ้ หค้ วามเหน็ เกย่ี วกบั รายงานของหวั หน้าฝ่ายรายการและเอกสาร โดยไดพ้ จิ ารณาเกย่ี วกบั

คุณค่าทางศลิ ปะของการจดั แสดงในรายการต่างๆ ซ่ึงได้แบ่งแยกคุณค่าท่เี ป็นเอกลกั ษณ์ท่เี พยี งพอต่อการบรรจุไว้
ในทรพั ยส์ นิ ทเ่ี ป็นประโยชน์ทางวฒั นธรรม ทงั้ น้ี ในรายงานดงั กล่าวไม่ไดย้ กตวั อย่างโรงละครใดๆ ของแควน้ ปกครอง
อสิ ระมาดรดิ ทจ่ี ะเทยี บเท่าโรงละคร Albéniz ทม่ี คี วามหลากหลายในดา้ นการจดั แสดงต่างๆ รวมถงึ คุณลกั ษณะทม่ี คี วาม
โดดเด่นดา้ นศลิ ปะและคุณภาพของการแสดง รวมถงึ ความซบั ซ้อนในการแสดงนบั แต่การแสดงละครโอเปร่า ละครรอ้ ง
สลบั พูด การแสดงดนตรี การเต้นรา ซ่งึ การแสดงทงั้ หมดน้ีแสดงถงึ ความหลากหลายและความซบั ซ้อนของงาน และ
โรงละครดงั กล่าวยงั ตงั้ อยู่ใจกลางเมอื งอกี ดว้ ย ในการน้ี “ศาลพิจารณาเหน็ ว่า” ดว้ ยตวั ชว้ี ดั ทค่ี ่อนขา้ งชดั เจนเหล่าน้ี

เพยี งพอทจ่ี ะรกั ษาไวซ้ ง่ึ ความเป็นเอกลกั ษณ์ทางวฒั นธรรมและศลิ ปะในบรรดาโรงละครของแควน้ ปกครองอสิ ระมาดรดิ
นอกจากน้ี ยงั เหน็ ว่าไม่สามารถใชโ้ รงละครเพ่อื วตั ถุประสงค์อ่นื ๆ ทไ่ี ม่ใช่เพ่อื การแสดงถงึ วฒั นธรรมได้ อย่างไรกต็ าม
จะไดม้ กี ารระงบั ไวซ้ ง่ึ การใหใ้ บอนุญาตการกอ่ สรา้ งจากการวางผงั เมอื งของบรษิ ทั Moro, SA

โดย นางสาวพชั ราภรณ์ ศริ วิ มิ ลกุล พนักงานคดปี กครองชานาญการ ศูนยส์ นบั สนุนวชิ าการคดปี กครอง สานักวจิ ยั และวชิ าการแปล
และเรยี บเรยี งจากเวบ็ ไซต์ www.elpais.com หวั ขอ้ “El Supremo protégé el teatro Albéniz”





การตรวจสอบการใช้ดลุ พินิจของฝ่ ายปกครองโดยศาล
คาพิพากษาสภาแห่งรฐั ของประเทศอิตาลี คดีตลาดนัด San Lorenzo

คดีนี้ สภาแห่งรัฐพิ เคราะห์แล้ววิ นิ จฉัยว่า การใช้อานาจดุลพิ นิ จของฝ่ ายปกครอง (la
discrezionalità esercitata dall’Amministrazione) ในการออกคาสงั่ ปรบั เปลี่ยนพืน้ ท่ีซ่ึงเป็ นที่ตงั้ ของตลาดนัด
เพื่อค้มุ ครองประโยชน์สาธารณะตามท่ีกล่าวมาข้างต้นถือว่าสมเหตสุ มผลแล้ว ส่วนข้อกล่าวอ้างของผ้ฟู ้องคดี
ท่ีว่า ตลาดนัดซานลอเรนโซ่ถือเสมือนเป็ นมรดกทางวฒั นธรรมประจาเมืองฟลอเรนส์นัน้ สภาแห่งรฐั เห็นว่า
มรดกทางวฒั นธรรมท่ีแท้จริงคือตวั โบสถซ์ านลอเรนโซ่และบริเวณโดยรอบของโบสถซ์ ่ึงควรค่าแก่การค้มุ ครอง
ดแู ล แต่กลบั ถกู บดบงั จากบรรดาแผงลอยร้านค้าที่ตงั้ อย่โู ดยรอบและมีจานวนมากขึน้ สาหรบั การให้คณุ ค่าทาง
ประวตั ิศาสตรแ์ ละเศรษฐกิจแก่ตลาดนัดซานลอเรนโซ่นัน้ สภาแห่งรฐั ชี้ว่า การประเมินคณุ ค่าของสถานที่หรือ
กิจกรรมพาณิชยเ์ พ่ือเป็นเหตผุ ลในการปรบั เปล่ียนพืน้ ท่ีใดพืน้ ท่ีหนึ่งเป็นอานาจของฝ่ ายปกครอง และในกรณีนี้
ฝ่ ายปกครองได้ดาเนินการประเมินสถานการณ์แล้วจึงใช้อานาจหน้าท่ีปรบั เปลี่ยนพืน้ ท่ีดงั กล่าว

ศาลจึงเห็นว่า ประกาศของเทศบาลท่ีให้ปรบั เปลี่ยนพื้นที่ตลาดนัดเพื่อคุ้มครองรกั ษาโบสถ์และ
บริเวณโดยรอบให้คงสภาพความมีลกั ษณะเฉพาะที่สาคญั เพื่อให้สอดคล้องกบั ประโยชน์สาธารณะด้านต่างๆ
ตามท่ีกล่าวมาข้างต้น จึงชอบด้วยกฎหมาย ศาลเห็นพ้องกับข้อโต้แย้งและการให้เหตุผลของเทศบาล
ทกุ ประการ พิพากษายืนตามคาพิพากษาของศาลปกครองชนั้ ต้น

นางสาวนพรตั อุดมโชคมงคล กลมุ่ สนบั สนุนวชิ าการคดปี กครอง สานกั วจิ ยั และวชิ าการ แปลและเรยี บเรยี งจากคาพพิ ากษาของสภาแหง่ รฐั คดี Consiglio

di Stato, sez. V, sentenza 19/04/2017 n° 1816 (Altalex, 8 maggio 2017.Nota di Riccardo Bianchini) http://www.altalex.com/documents /news/
2017/04/21/commercio-ambulante-trasferimento-mercato-decoro-urbano (ควบคมุ อาคารและผงั เมอื ง)

คดีตลาดนัด San Lorenzo

ความสมั พนั ธข์ องเนื้อหาทางวิชาการกบั กฎหมาย

“สิ่งแวดล้อม” หมายความว่า สิ่งต่างๆ ที่มีลักษณะทางกายภาพ ซึ่งเกิดขึ้น
โดยธรรมชาติ และสิ่งท่ีมนุษยไ์ ด้ทาขึน้ และ “คณุ ภาพสิ่งแวดล้อม” หมายความว่า ดลุ ยภาพ
ของ ธรรมชาติอนั ได้แก่ สตั ว์ พืช และทรพั ยากรธรรมชาติต่างๆ และ สิ่งที่มนุษยไ์ ด้ทาขึ้น

เพ่ือประโยชน์ต่อการดารงชีพของประชาชน ดงั นัน้ “เมืองและชมุ ชน” จงึ เป็นสภาพแวดล้อม
ทางกายภาพอนั ย่ิงใหญ่ที่มนุษยชาติร่วมกนั สร้างขึ้นมาบนพื้นโลกเพื่อการดารงชีวิตอยู่
อย่างมีศกั ด์ิศรีความเป็นมนุษย์

การสร้างเมืองและชุมชนสัมพนั ธ์กับองค์ความรู้วิทยาการหลากหลายสาขา

เพื่อกาหนดมาตรฐานทางด้านกายภาพและการจดั การพืน้ ที่ (Spatial) ท่ีมีจดุ ม่งุ หมายเพื่อให้
เกิดความสมดุลระหว่างองค์ประกอบต่างๆ ได้แก่ การตัง้ ถ่ินฐานของมนุษย์ (Human
Settlement) การจดั สรรทรพั ยากรธรรมชาติ (Natural Resources Allocation) การจดั การ
สภาพแวดล้อม (Environment Management) และการจดั ทาบริการสาธารณะ (Public Utility

and Public Facility)
ซึ่งเร่ืองที่กล่าวมา สมั พนั ธ์กบั ภารกิจพื้นฐานของรฐั ตามหลกั กฎหมายมหาชน

ที่เรียกว่า “การจดั ทาบริการสาธารณะ” และ การใช้อานาจรฐั ตามหลกั กฎหมายปกครอง
ที่เรียกว่า “การดาเนิ นกิจกรรมทางปกครอง” โดยเฉพาะการดาเนิ นกิจกรรมทางปกครอง
ท่ีมีลกั ษณะเป็นการกระทาทางกายภาพ ซึ่งมีกฎหมายเฉพาะบญั ญตั ิไว้อย่างหลากหลาย 335

กรณศี ึกษา

อานาจศาลปกครอง

ในการพิจารณาพิพากษาคดีปกครองเก่ียวกบั
ส่ิงแวดล้อม การผงั เมอื ง อาคาร
และเหตเุ ดือดรอ้ นราคาญ

336

กรณศี ึกษา

อานาจศาลปกครอง

ในฐานะ
องค์กรใช้อานาจอธิปไตยของรัฐ

อานาจอธิปไตย เป็ นของปวงชนชาวไทย
พระมหากษตั ริย์ผู้ทรงเป็ นประมุขทรงใช้อานาจน้ัน

ทาง รัฐสภา คณะรัฐมนตรี และ ศาล

337

ศาลปกครองสูงสุด คาสงั่ ที่ ๕๙๒/๒๕๕๒
ลงวนั ที่ ๒ ธนั วาคม ๒๕๕๒ คาสง่ั อุทธรณ์
คาสง่ั ศาลปกครองกลาง คดีหมายเลขดาท่ี
๙๐๘/๒๕๕๒ ลงวนั ที่ ๒๙ กนั ยายน ๒๕๕๒

ศาลปกครองกลาง
คาสงั่ คดีหมายเลขดาที่ ๙๐๘/๒๕๕๒

ลงวนั ท่ี ๒๙ กนั ยายน ๒๕๕๒

คดีปกครองเก่ียวกบั การตงั้ ถิ่นฐานมนุษย์ HUMAN SETTLEMENT

คดมี าบตาพดุ ศาลปกครองกลาง คดหี มายเลขดาที่ ๙๐๘/๒๕๕๒ คดหี มายเลขแดงท่ี ๑๓๕๒/๒๕๕๓

“ปัญหาพืน้ ฐานของพืน้ ท่ีมาบตาพดุ ” 339

ความไมส่ มดลุ ของการวางแผนการตงั้ ถิ่นฐานมนุษย์
การไมเ่ คารพในคณุ ค่าของความเป็นมนุษย์
การขาดธรรมาภิบาลของภาครฐั และเอกชน

ความเป็ นมาของข้อเทจ็ จริงบนพืน้ ทม่ี าบตาพุด
ทเี่ ป็ นมูลเหตุแห่งการฟ้องคดี

สนามบินนานาชาติสุวรรณภูมิ
บริเวณแหลมฉบงั

บริเวณมาบตาพุด

ESB ศูนย์กลางความเจริญของประเทศไทย
GROWTH POLE & GROWTH CENTRE

แผนพฒั นาการเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ บริเวณมาบตาพดุ

ESB : Eastern Seaboard Development Program

โครงการพฒั นาพืน้ ทีช่ ายฝ่ังทะเลตะวนั ออก

โครงการถมทะเลเพื่อก่อสร้างท่าเทยี บเรือและนิคมอตุ สาหกรรมมาบตาพดุ

นายกรัฐมนตรี (อานันท์ ปันยารชุน) สั่งการตามคาวินิจฉัยคณะกรรมการวินิจฉัยร้องทุกข์
ที่ ๑๐๘/๒๕๔๒ ดงั น้ี ให้อธิบดีกรมเจา้ ท่าใช้อานาจส่ังให้ การนิคมอุตสาหกรรม หยุดการถมทะเลไว้
เป็ นการชั่วคราว จนกว่าจะได้รับอนุญาตก่อสร้างส่ิงล่วงล้าลาน้ าให้ถูกต้องตามกฎหมายว่าด้วย
การเดินเรือในน่านน้าไทย กฎหมายวา่ ดว้ ยการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอ้ ม และรัฐธรรมนูญแห่ง
ราชอาณาจกั รไทย (หนงั สือสานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกาที่ นร.๐๖๐๕/ร.๖๕๙๒ ลงวนั ที่ ๒๒ ธนั วาคม ๒๕๔๒)

ศาลปกครองกลาง คดีหมายเลขดาท่ี ๑๔๕๑/๒๕๔๕ คดีหมายเลขแดงที่ ๔๗๔/๒๕๔๙
ศาลปกครองสูงสุด คดีหมายเลขดาที่ อ.๓๗๐/๒๕๔๙ คดีหมายเลขแดงที่ อ.๒๑/๒๕๕๕ 342

สภาพชายฝ่ังทะเลและชายหาดของจงั หวดั ระยองในอดตี 343

สภาพความเสียหายของชายฝ่ังทะเลจากการถมทะเลก่อสร้างท่าเรือมาบตาพดุ

ท7่าเ/ท4ยี/2บ0เร2ือ2มาบตาพดุ ทถี่ มทะเลย่ืนออกไปในทะเล 3 - 4 กโิ ลเมตร 345

346

ผงั เมืองรวมบริเวณพืน้ ท่ีมาบตาพดุ จงั หวดั ระยอง

การกาหนดประเภทการใช้ประโยชน์ท่ีดินเพ่ือการอตุ สาหกรรม

ผงั กาหนดการใช้ประโยชน์ท่ีดินเริ่มแรก ทด่ี นิ ประเภทอุตสาหกรรม

2531 เพม่ิ ตามวาทกรรม NICs

New Industrial Country

และ การขาดธรรมาภิบาลของภาครัฐและเอกชน
เพียงเพอ่ื บรรลเุ ป้าหมายการพฒั นาอตุ สาหกรรม

2534

2540 ผงั และข้อกาหนดการใช้ประโยชน์ท่ีดิน347

“เขตควบคมุ มลพิษ”

พระราชบญั ญตั ิส่งเสริมและรกั ษาคณุ ภาพส่ิงแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕

มาตรา ๕๙ ในกรณีที่ปรากฏว่าท้องท่ีใดมีปัญหามลพิษ ซึ่งมีแนวโน้มที่จะ
ร้ายแรงถึงขนาดเป็ นอันตรายต่อสุขภาพอนามัยของประชาชนหรืออาจก่อให้เกิด
ผลกระทบเสียหายต่อคุณภาพส่ิงแวดล้อม ให้ คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ
มีอานาจประกาศในราชกิจจานุเบกษากาหนดให้ท้องที่น้ันเป็ น เขตควบคุมมลพิษ
เพื่อดาเนินการควบคุม ลด และขจดั มลพษิ ได้

มาตรา ๖๐ เพื่อประโยชน์ในการจัดทาแผนปฏิบัติการเพื่อจัดการคุณภาพ
สิ่งแวดล้อมในระดบั จังหวดั ตามมาตรา ๓๗ ให้เจ้าพนักงานท้องถนิ่ ในท้องที่ท่ไี ด้ประกาศ
กาหนดให้เป็ นเขตควบคุมมลพิษตามมาตรา ๕๙ จัดทาแผนปฏิบัติการเพื่อลดและขจัด
มลพิษในเขตควบคุมมลพิษน้ัน เสนอต่อผู้ว่าราชการจังหวัด เพื่อรวมไว้ในแผนปฏิบัติ
การเพื่อการจดั การคุณภาพส่ิงแวดล้อมในระดบั จงั หวดั

เขตควบคุมมลพษิ พืน้ ทมี่ าบตาพดุ

ศาลปกครองระยอง

คดีหมายเลขดาที่ ๑๙๒/๒๕๕๐
คดีหมายเลขแดงท่ี ๓๒/๒๕๕๒

349

ข้อเทจ็ จริงทแ่ี สดงถึงความไม่มธี รรมาภิบาลของภาครัฐและเอกชน

หนงั สือสานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา
ท่ี นร.๐๖๐๕/ร.๖๕๙๒ ลงวนั ท่ี ๒๒ ธนั วาคม ๒๕๔๒

เขตควบคุมมลพษิ พืน้ ทม่ี าบตาพดุ

ชุมชนเมืองใหม่มาบตาพดุ ทถ่ี ูกครอบด้วยพืน้ ทอี่ ุตสาหกรรม

นิคมอตุ สาหกรรมปิ โตรเคมีทข่ี ยายพืน้ ทเี่ ข้าไปใกล้ชุมชนบ้านฉาง

350


Click to View FlipBook Version