The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การบรรยาย ก.ศป. รุ่นที่ 12 Power Point บรรยาย 3 7 65

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pachairat, 2022-07-04 00:35:43

คดีสิ่งแวดล้อมที่สำคัญ ก.ศป. 12 Sun 3 7 65 PPT

การบรรยาย ก.ศป. รุ่นที่ 12 Power Point บรรยาย 3 7 65

7/4/2022 เข่ือนฮัตจี ก้นั แม่นา้ สาระวนิ ประเทศเมยี นม่าร์
โดย การไฟฟ้าฝ่ ายผลติ แห่งประเทศไทย

551

การต้งั ถนิ่ ฐานของมนุษย์ (HUMAN SETTLEMENT)

7/4/2022 552

“บันทกึ ข้อสังเกตของอธิบดศี าลปกครองช้ันต้น”

นายภานุพันธ์ ชัยรัต ขณะดารงตาแหน่งรองอธิบดีศาลปกครองกลาง
ปฏิบัติหน้าที่แทนอธิบดีศาลปกครองกลาง และขณะดารงตาแหน่งอธิบดี
ศาลปกครองเชียงใหม่ ได้จัดทา “บนั ทกึ ข้อสังเกตของอธิบดี” รวมท้งั ๒ ศาล
กว่า ๔๐ คดี กรณีศึกษาที่ยกมาเป็ นเพียงตัวอย่างสาหรับโครงการอบรม
ตุลาการศาลปกครองช้ันต้นผู้เข้ารับตาแหน่งใหม่ รุ่นท่ี ๑ เพื่อชี้ให้เห็นว่า

คดีท่ีได้จัดทา “บันทึกข้อสังเกตของอธิบดีศาลปกครองช้ันต้น”
มีลักษณะเป็ นคดีปกครองซึ่งศาลปกครองมีอานาจรับคาฟ้องดังกล่าว
ไว้พจิ ารณาได้ และผู้ฟ้องคดเี ป็ นผู้มีสิทธินาข้อพพิ าทเข้าสู่กระบวนยุตธิ รรม
ทางปกครอง ตามเจตนารมณ์การจดั ต้งั ศาลปกครองขนึ้ มาในประเทศไทย

การที่องค์คณะปฏิเสธไม่รับข้อพิพาทลักษณะท่ีให้ข้อสังเกตไว้
เพ่ือพิจารณาในกระบวนยุติธรรมทางปกครอง มีผลทาให้ประชาชนตอ้ งนา
ขอ้ พิพาทลกั ษณะดงั กล่าวไปร้องขอความเป็ นธรรมต่อ “กระบวนยุติธรรม
ทางแพ่งของศาลยุติธรรม” ซ่ึงมีหลักการของการจัดต้ังศาลและวิธีการ
พิจารณาคดีแพ่ง โดยพ้ืนฐานเป็ นขอ้ พิพาทท่ีคู่กรณีโดยทวั่ ไปเป็ นเอกชนกบั
เอกชน ใช้หลักความเท่าเทียมกันของคู่กรณี ใช้หลักกฎหมายแพ่งและ
ระบบกล่าวหาในการพิจารณาคดี และประชาชนมีค่าใชจ้ ่ายจา้ งทนายความ
ในการดาเนินคดีแพง่

จึงเห็นว่า การไม่รับข้อพพิ าทดังกล่าวไว้พจิ ารณาในกระบวนยุติธรรม
ทางปกครองเป็ นการปฏเิ สธความยตุ ธิ รรมและไม่เป็ นธรรมกบั ประชาชน

553

กรณศี ึกษา

คดกี ารกระทาละเมดิ ทางปกครอง

องคค์ ณะวินิจฉยั โดยอา้ ง มาตรา ๔๒๐ แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชยม์ าใชเ้ ป็นหลกั กฎหมายในการวินิจฉยั คดี “การกระทาละเมิดทางปกครอง”

ตามมาตรา ๙ (๓) แห่งพระราชบญั ญตั ิจดั ต้งั ศาลปกครองและวิธีพจิ ารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒
อธิบดีศาลปกครองกลางเห็นว่าควรวนิ ิจฉัยคดีโดยใช้ “หลกั กฎหมายการกระทาละเมิดทางปกครอง” ตามที่ปรากฏคาว่า “การกระทาละเมิดทางปกครอง

อันเป็ นเร่ืองของกฎหมายมหาชน” ในเหตุผลท้ายพระราชบัญญัติจัดต้ังศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ.๒๕๔๒ การท่ีรัฐสภาตราบทบญั ญตั ิ

มาตรา ๙ วรรคหน่ึง (๓) แห่งพระราชบญั ญตั ิจดั ต้งั ศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ข้ึนมา มีเจตนารมณ์เพื่อแยก “การกระทาละเมิด
ทางปกครอง” ออกจาก “การกระทาละเมิดทางแพง่ ” และกาหนดใหศ้ าลปกครองมีอานาจพิจารณาพิพากษาคดีหรือมีคาส่งั ในคดีที่หน่วยงานทางปกครองหรือ
เจา้ หนา้ ที่ของรัฐ “กระทาละเมิดทางปกครอง” เพ่ือใหศ้ าลปกครองไทยวางหลกั กฎหมายเกี่ยวกบั “การกระทาละเมิดทางปกครอง” และกาหนดมาตรฐานการ

ชดใชค้ ่าเสียหายหรือค่าทดแทนแก่ผูเ้ สียหายจาก “การกระทาละเมิดทางปกครอง” เพ่ือให้เกิดความเป็ นธรรมทางสังคม และสอดคลอ้ งกบั เจตนารมณ์ของ

กฎหมายวา่ ดว้ ยการจดั ต้งั ศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง เพราะผลแห่งคาพิพากษาคดีปกครองเกี่ยวกบั “การกระทาละเมิดทางปกครอง” อาจกระทบ
ถึงการบริหารราชการแผน่ ดินหรือการตอ้ งจ่ายเงินภาษีอากรของส่วนรวมเป็นคา่ ชดเชยความเสียหายแก่บุคคล

โดยมีเหตุผลปรากฏตามข้อสังเกตของอธิบดศี าลปกครองกลาง จานวน ๔ หน้า

คดโี ครงการฟื้ นฟูเมืองชุมชนดนิ แดงของการเคหะแห่งชาติ

องค์คณะมีคาสั่งไม่รับคาฟ้องไว้พิจารณาและให้จาหน่ายคดี โดยวินิจฉัยว่า เนื่องจากการดาเนินการของผูถ้ ูกฟ้องคดี(การเคหะแห่งชาติ) เป็ น

การกระทาในฐานะเอกชนทวั่ ไป มิใช่การกระทาทางปกครอง ตามมาตรา ๙ วรรคหน่ึง แห่งพระราชบญั ญตั ิจดั ต้งั ศาลปกครองและวธิ ีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ.
๒๕๔๒

อธิบดศี าลปกครองกลางเห็นว่า ควรรับคดีนีไ้ ว้พจิ ารณา โดยมีเหตุผลปรากฏตามข้อสังเกต จานวน ๓ หน้า

คดหี ้ามรถจกั รยานยนต์เดนิ บนสะพานข้ามแยกหรืออโุ มงค์

องค์คณะมีคาส่ังไม่รับคาฟ้องไว้พิจารณาและให้จาหน่ายคดี โดยวินิจฉัยว่า การวางโครงสร้างการจราจร การขนส่งและระบบงานทางโดยรวม ตอ้ ง

คานึงถึงหลกั วิศวกรรมจราจรเป็ นสาคญั อีกท้งั การกาหนดให้ถนน สะพานหรืออุโมงคใ์ ด รองรับรถยนตป์ ระเภทใดหรือตอ้ งจดั ช่องจราจรเพื่อรองรับรถ
ชนิดใดน้ัน ย่อมตอ้ งคานึงถึงเหตุปัจจยั อ่ืนๆ อีกหลายประการ เช่น ความเหมาะสม นโยบาย งบประมาณ รวมท้งั ผลกระทบด้านต่างๆที่จะเกิดข้ึนจาก
การกระทาดงั กล่าวเป็ นดุลพินิจภายในของฝ่ ายปกครองท่ีศาลไม่อาจกา้ วล่วงไปใชอ้ านาจแทนฝ่ ายปกครอง ในการกาหนดนโยบายและการปฏิบตั ิหน้าที่

ดงั กล่าวได้

อธิบดีศาลปกครองกลางเห็นว่า ควรรับคดีนีไ้ ว้พจิ ารณา โดยมีเหตุผลปรากฏตามข้อสังเกต จานวน ๑๑ หน้า 554

คดกี ารประปานครหลวงถอดมาตรวดั นา้ ประปา

องค์คณะมีคาสั่งไม่รับคาฟ้องไว้พิจารณาและให้จาหน่ายคดี โดยวินิจฉัยว่า การที่ผูถ้ ูกฟ้องคดีถอดมาตรวดั น้าประปาท่ีติดต้งั ออกไปเป็ นขอ้ พิพาท
ท่ีเก่ียวเน่ืองกบั สัญญาการใชน้ ้าประปาระหว่างผฟู้ ้องคดีกบั ผถู้ ูกฟ้องคดี (แบบฟอร์มคาขอใชน้ ้าประปา) แมส้ ัญญาน้ีจะมีหน่วยงานทางปกครองเป็ นคู่สัญญา
ฝ่ ายหน่ึง แต่ลกั ษณะของสัญญาดงั กล่าวมีวตั ถุประสงคเ์ พียงให้ไดม้ าซ่ึงน้าประปาเพ่ือใชใ้ นกิจการส่วนตวั โดยเฉพาะของผูฟ้ ้องคดี จึงเป็ นสัญญาที่คู่สัญญา
มุ่งผกู พนั บนพ้ืนฐานแห่งความเสมอภาคมีลกั ษณะเป็ นสัญญาทางแพ่ง มิไดเ้ ป็ นการใชอ้ านาจทางปกครองหรือเป็ นสัญญาปกครอง ตามนยั มาตรา ๓ วรรคหน่ึง
แห่งพระราชบญั ญตั ิจดั ต้งั ศาลปกครองและวธิ ีพจิ ารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ขอ้ พพิ าทคดีน้ีจึงไม่อยใู่ นอานาจของศาลปกครองที่จะพิจารณาหรือมีคาสง่ั ได้

อธิบดศี าลปกครองกลางเห็นว่า ควรรับคดนี ีไ้ ว้พจิ ารณา โดยมีเหตุผลปรากฏตามข้อสังเกต จานวน ๖ หน้า

คดกี ทม.รื้อถอนอาคารและต้นไม้บริเวณวดั ลาดพร้าว

องค์คณะมีคาส่ังไม่รับคาฟ้องไว้พิจารณาและให้จาหน่ายคดี โดยวินิจฉัยว่า ผทู้ ่ีมีสิทธิฟ้องคดีในขอ้ หาดงั กล่าวต่อศาลปกครองไดน้ ้นั จะตอ้ งเป็ น “ผู้ได้รับ
ผลกระทบโดยตรง” จากการกระทาของผูถ้ ูกฟ้องคดีดงั กล่าว เม่ือเหตุแห่งคดีน้ีสืบเนื่องมาจากผูถ้ ูกฟ้องคดีใชอ้ านาจตามกฎหมายเขา้ ไปดาเนินการก่อสร้าง
เขื่อนก้นั น้าบริเวณริมคลองวดั ลาดพร้าวเพื่อประโยชน์ในการบริหารจดั การน้าของรัฐบาล หากการกระทาดงั กล่าวเป็ นไปโดยมิชอบดว้ ยกฎหมายและทาให้
ศาสนสมบตั ิของวดั ลาดพร้าว ซ่ึงมีฐานะเป็นนิติบุคคลไดร้ ับความเสียหายตามที่ผฟู้ ้องคดีท้งั เกา้ สิบเจด็ กล่าวอา้ ง ผถู้ ูกฟ้องคดีท่ี ๔ ในฐานะเจา้ อาวาสวดั ลาดพร้าว
ซ่ึงเป็นผแู้ ทนของวดั ในกิจการทวั่ ไปและมีหนา้ ที่บารุงรักษาวดั จดั กิจการและศาสนสมบตั ิของวดั ใหเ้ ป็นไปดว้ ยดีตามมาตรา ๓๑ วรรคสาม และมาตรา ๓๗ (๑)
แห่งพระราชบญั ญตั ิคณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๒ ยอ่ มเป็ นผไู้ ดร้ ับความเดือดร้อนหรือเสียหายท่ีจะมีสิทธิฟ้องคดีน้ีต่อศาลปกครองตามมาตรา ๔๒ วรรคหน่ึง แห่ง
พระราชบญั ญตั ิจดั ต้งั ศาลปกครองและวธิ ีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ สาหรับผฟู้ ้องคดีท่ี ๑ เป็นเพียงสมาคมตามกฎหมายมิไดม้ ีส่วนเก่ียวขอ้ งโดยตรงใน
เร่ืองท่ีฟ้องร้องแต่อย่างใด ผฟู้ ้องคดีท่ี ๒ ถึงท่ี ๒๕ แมจ้ ะเป็ นพระภิกษุที่จาพรรษาอยู่ในวดั ลาดพร้าว “แต่โดยนิตินัย” ก็มิใช่เป็ นผูท้ ่ีไดร้ ับความเดือดร้อนหรือ
เสียหายหรืออาจจะเดือดร้อนหรือเสียหายที่จะมีสิทธิฟ้องคดีต่อศาลปกครอง สาหรับผูฟ้ ้องคดีที่ ๒๖ ถึงผฟู้ ้องคดีที่ ๙๗ เป็ นเพียงชาวบา้ นที่อาศยั อยูโ่ ดยรอบ
บริเวณวดั ลาดพร้าวจึงมิไดร้ ับความเดือดร้อนหรือเสียหายอย่างใด ๆ อนั เน่ืองมาจากการกระทาของผถู้ ูกฟ้องคดีที่ ๑ ถึงผถู้ ูกฟ้องคดีท่ี ๓ แต่อยา่ งใด ผฟู้ ้องคดี
ที่ ๒๖ ถึงผฟู้ ้องคดีท่ี ๙๗ จึงไม่มีสิทธิ ฟ้องคดีต่อศาลปกครองตามมาตรา ๔๒ วรรคหน่ึง แห่งพระราชบญั ญตั ิดงั กล่าวเช่นเดียวกนั

อธิบดศี าลปกครองกลางเห็นว่า ควรรับคดนี ีไ้ ว้พจิ ารณา โดยมีเหตุผลปรากฏตามข้อสังเกต จานวน ๗ หน้า

คดเี ทศบาลละเลยการดูแลและรับผดิ ชอบซ่อมบารุงถนนสาธารณะ

องค์คณะมีคาสั่งไม่รับคาฟ้องไว้พจิ ารณาและให้จาหน่ายคดี โดยวนิ ิจฉัยว่า การดาเนินการตามคาขอท้ายคาฟ้องของผู้ฟ้องคดีเป็ นงานนโยบายในการจัดทา

บริการสาธารณะ ซึ่งผู้ถูกฟ้องคดีมีเป็ นความอิสระที่จะดาเนินการนโยบายดังกล่าว ศาลปกครองไม่มีอานาจก้าวล่วงเข้าไปกาหนดนโยบายแทน

ผู้ถูกฟ้องคดีได้ คาขอของผู้ฟ้องคดีท่ีขอให้ศาลมีคาพพิ ากษาหรือคาส่ังให้ผู้ถูกฟ้องคดีดาเนินการแก้ไขความเดือดร้อนดังกล่าวตามอานาจหน้าที่ตามท่ีกฎหมาย

ว่าด้วยเทศบาลภายในระยะเวลาตามทศี่ าลเห็นสมควร จึงเป็ นคาขอที่ศาลไม่อาจกาหนดคาบังคบั ได้ 555
อธิบดศี าลปกครองกลางเห็นว่า ควรรับคดีนีไ้ ว้พจิ ารณา โดยมีเหตุผลปรากฏตามข้อสังเกต จานวน ๖ หน้า

คดกี ารไฟฟ้านครหลวงจะระงบั การให้บริการไฟฟ้า

องค์คณะมคี าสั่งไม่รับคาฟ้องไว้พจิ ารณาและให้จาหน่ายคดี โดยวนิ ิจฉัยว่า แมว้ า่ สญั ญาใชไ้ ฟฟ้าดงั กล่าว(แบบฟอร์มคาขอใชไ้ ฟฟ้า)จะมีคู่สัญญาฝ่ ายหน่ึง

เป็นหน่วยงานทางปกครองตามมาตรา ๓ แห่งพระราชบญั ญตั ิจดั ต้งั ศาลปกครองและวธิ ีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ แต่สัญญาดงั กล่าวมีลกั ษณะเป็นเพียง
สญั ญาระหวา่ งผขู้ อรับบริการทากบั ผใู้ หบ้ ริการเท่าน้นั มิไดม้ ีลกั ษณะเป็นสญั ญาทางปกครองตามนยั มาตรา ๓ แห่งพระราชบญั ญตั ิเดียวกนั กล่าวคือ มิใช่สัญญา
สัมปทาน สัญญาที่ให้จดั ทาบริการสาธารณะ หรือจดั ให้มีสิ่งสาธารณูปโภค หรือแสวงประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ อีกท้งั มิใช่สัญญาท่ีหน่วยงาน
ทางปกครองหรือบุคคลซ่ึงกระทาการแทนรัฐตกลงให้คู่สัญญาอีกฝ่ ายหน่ึงเขา้ ดาเนินการหรือเขา้ ร่วมดาเนินการบริการสาธารณะโดยตรง หรือสัญญาท่ีมี

ขอ้ กาหนดในสัญญาซ่ึงมีลกั ษณะพิเศษท่ีแสดงถึงเอกสิทธ์ิของรัฐ คดีน้ีจึงมิใช่คดีพิพาทเก่ียวกบั สัญญาทางปกครองที่อยใู่ นอานาจพิจารณาพิพากษาคดีของศาล

ปกครองตามมาตรา ๙ วรรคหน่ึง (๔) แห่งพระราชบญั ญตั ิจดั ต้งั ศาลปกครองและวธิ ีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒

อธิบดศี าลปกครองกลางเห็นว่า ควรรับคดีนีไ้ ว้พจิ ารณา โดยมเี หตุผลปรากฏตามข้อสังเกต จานวน ๑๐ หน้า

คดกี ารใช้อานาจตามพระราชบัญญัตลิ กั ษณะปกครองท้องที่ พ.ศ. ๒๔๕๗

องค์คณะมีคาส่ังไม่รับคาฟ้องไว้พจิ ารณาและให้จาหน่ายคดี โดยวนิ ิจฉัยว่า บทบัญญตั ดิ ังกล่าวเป็ นบทบัญญตั ิให้ผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๒ มหี น้าทใ่ี นการดูแลรักษา

และคุ้มครองป้องกันท่ีดินอันเป็ นสาธารณสมบัติของแผ่นดินท่ีประชาชนใช้ประโยชน์ร่วมกัน เพื่อมิให้ผู้ใดเกียดกันหรือนาไปใช้ประโยชน์เป็ นการเฉพาะตัว

โดยมิได้บัญญัติให้ผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๒ มีอานาจบังคับจัดการให้บุคคลออกจากที่ดินหรือให้รื้อถอนสิ่งปลูกสร้างออกจากที่ดินอันเป็ นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน

ที่ประชาชนใช้ประโยชน์ร่วมกันหรือใช้มาตรการบังคับทางปกครองในกรณีดังกล่าวได้ “หนังสือสานักงานเขตสะพานสูง ที่ กท ๘๑๐๓/๔๓๙ ลงวันท่ี ๓๐

มกราคม ๒๕๕๖ ของผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๒ จึงเป็ นเพยี งการแจ้งว่าผู้ฟ้องคดีได้ก่อสร้างอาคารรุกลา้ ท่ีสาธารณะ อันเป็ นการกระทาฝ่ าฝื นต่อมาตรา ๙ แห่งประมวล

กฎหมายที่ดิน ที่ห้ามมิให้บุคคลใดเข้าไปยึดถือครอบครองที่ดินของรัฐ และเป็ นการแจ้งเตือนให้ผู้ฟ้องคดียุติการรุกลา้ แนวเขตลาคลองสาธารณะโดยรื้อถอน

อาคารออกไปเท่าน้ัน ยงั ไม่มผี ลกระทบต่อสถานภาพของสิทธิหรือหน้าทห่ี รือมผี ลบังคบั ตามกฎหมายต่อผู้ฟ้องคดแี ต่อย่างใด”
หากผูฟ้ ้องคดีไม่ดาเนินการตามหนังสือแจ้งเตือนฉบับดังกล่าว ก็เป็ นกรณีผูถ้ ูกฟ้องคดีท่ี ๒ ปฏิบตั ิหน้าที่ตามที่บัญญัติไวใ้ นมาตรา ๑๒๒ แห่ง

พระราชบญั ญตั ิลกั ษณะปกครองทอ้ งท่ี พระพทุ ธศกั ราช ๒๔๕๗ แลว้ ผถู้ ูกฟ้องคดีที่ ๒ มีอานาจหนา้ ที่เพียงฟ้องร้องดาเนินคดีตามมาตรา ๑๐๘ ทวิ แห่งประมวล

กฎหมายท่ีดินต่อไป โดยไม่อาจใชอ้ านาจบงั คบั เขา้ ไปร้ือถอนอาคารของผูฟ้ ้องคดีได้ “หนังสือของผู้ถูกฟ้องคดีท่ี ๒ ฉบับดังกล่าว จึงไม่มีสภาพเป็ นคาสั่ง

ทางปกครอง” ตามมาตรา ๕ แห่งพระราชบญั ญตั ิวิธีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ “ผู้ฟ้องคดีจึงมิใช่ผู้ได้รับความเดือดร้อนหรือเสียหายหรืออาจจะ

เดือดร้อนหรือเสียหายโดยมิอาจหลีกเลี่ยงได้ อันเนื่องจากการกระทาของผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๒ ที่จะมีสิทธิฟ้องคดีนี้ต่อศาลปกครอง” ตามมาตรา ๔๒ วรรคหน่ึง

ไวพ้ ิจารณาได้ “เมื่อได้วินิจฉัยแล้วว่าหนังสือสานักงานเขตสะพานสูง ท่ี กท ๘๑๐๓/๔๓๙ ลงวันที่ ๓๐ มกราคม ๒๕๕๖ ของผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๒ ไม่มีสภาพเป็ น

คาส่ังทางปกครองทจ่ี ะมีผลกระทบต่อสิทธิหรือหน้าทข่ี องผู้ฟ้องคดี จงึ มคี าสั่งไม่รับคาฟ้องไว้พจิ ารณาและให้จาหน่ายคดีออกจากสารบบความ”

อธิบดีศาลปกครองกลางเห็นว่า ควรรับคดีนีไ้ ว้พจิ ารณา โดยมีเหตุผลปรากฏตามข้อสังเกต จานวน ๑๓ หน้า 556

คดสี หกรณ์สามล้อเคร่ืองล้านนา จากดั

องค์คณะมคี าสั่งไม่รับคาฟ้องไว้พจิ ารณาและให้จาหน่ายคดี โดยวินิจฉัยว่า ผฟู้ ้องคดีฟ้องขอใหเ้ พิกถอนมติของผถู้ ูกฟ้องคดี(สหกรณ์สามลอ้ เครื่องลา้ นนา

จากดั ) ในท่ีประชุมใหญ่สามญั ประจาปี ๒๕๖๐ เมื่อวนั ท่ี ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๖๑ ที่ใหผ้ ฟู้ ้องคดีพน้ จากการเป็นสมาชิกของสหกรณ์สามลอ้ เครื่องลานนา จากดั

เมื่อผถู้ ูกฟ้องคดีมิใช่ขา้ ราชการ พนกั งาน ลูกจา้ ง คณะบุคคล หรือผทู้ ี่ปฏิบตั ิงานในหน่วยงานทางปกครอง มิใช่คณะกรรมการวินิจฉยั ขอ้ พิพาท คณะกรรมการ

หรือบุคคลซ่ึงมีกฎหมายใหอ้ านาจในการออกกฎ คาสงั่ หรือมติใดๆ ท่ีมีผลกระทบต่อบุคคล และมิใช่บุคคลที่อยใู่ นบงั คบั บญั ชาหรือในกากบั ดูแลของหน่วยงาน
ทางปกครองหรือเจา้ หนา้ ท่ีของรัฐดงั ท่ีกล่าวมาขา้ งตน้ จึงมิใช่เจา้ หนา้ ท่ีของรัฐตามคานิยามในมาตรา ๓ แห่งพระราชบญั ญตั ิจดั ต้งั ศาลปกครองและวิธีพิจารณา
คดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ คาฟ้องน้ีจึงเป็นขอ้ พิพาทระหวา่ งเอกชนดว้ ยกนั เอง อีกท้งั มิใช่ขอ้ พิพาทอนั เน่ืองมาจากการที่หน่วยงานทางปกครองหรือเจา้ หนา้ ที่ของ
รัฐใชอ้ านาจตามกฎหมายซ่ึงเป็ นอานาจทางปกครองออกกฎ คาส่ัง หรือกระทาการอ่ืนใด หรือเนื่องมาจากการท่ีหน่วยงานทางปกครองหรือเจา้ หนา้ ท่ีของรัฐ
ละเลยต่อหนา้ ที่ทางปกครองตามที่กฎหมายกาหนดให้ตอ้ งปฏิบตั ิหรือปฏิบตั ิหนา้ ที่ดงั กล่าวล่าชา้ เกินสมควร หรือเป็ นขอ้ พิพาทเกี่ยวกบั การกระทาละเมิดหรือ

ความรับผดิ อยา่ งอื่นของหน่วยงานทางปกครองหรือเจา้ หนา้ ที่ของรัฐอนั เกิดจากการใชอ้ านาจตามกฎหมายหรือเป็นขอ้ พิพาทเกี่ยวกบั สัญญาทางปกครอง หรือ

เป็ นคดีพิพาทเกี่ยวกบั เร่ืองท่ีมีกฎหมายกาหนดให้อยใู่ นเขตอานาจศาลปกครอง ดงั น้นั ขอ้ พิพาทน้ีจึงไม่มีลกั ษณะเป็ นคดีปกครองอนั จะอยู่ในอานาจพิจารณา
พิพากษาของศาลปกครองไดต้ ามมาตรา ๑๙๗ วรรคหน่ึง ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย ประกอบกบั มาตรา ๙ วรรคหน่ึง แห่งพระราชบญั ญตั ิจดั ต้งั
ศาลปกครองและวธิ ีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ อธิบดีศาลปกครองเชียงใหม่เห็นว่า ควรรับคดนี ีไ้ ว้พจิ ารณา โดยมีเหตุผลปรากฏตามข้อสังเกต ๘ หน้า

คดสี ัญญาซื้อขายวสั ดุอุปกรณ์ก่อสร้าง

องค์คณะมีคาส่ังไม่รับคาฟ้องไว้พจิ ารณาและให้จาหน่ายคดี โดยวนิ ิจฉัยว่า คดีน้ีผฟู้ ้องคดีฟ้องวา่ ผฟู้ ้องคดีไดท้ าสญั ญาซ้ือขายวสั ดุก่อสร้างฝายน้าลน้ หมู่ที่
๓ ตาบลแม่สลองใน อาเภอแม่ฟ้าหลวง จงั หวดั เชียงราย ใชร้ าษฎรสมทบแรงงาน จานวน ๓ จุด เพ่ือใชเ้ ป็นแหล่งน้าเพื่อการเกษตร สาหรับพ้ืนท่ีหมู่ท่ี ๓ ตาบล
แม่สลองใน และหมู่ที่ ๖ ตาบลแม่สลองนอก อาเภอแม่ฟ้าหลวง จงั หวดั เชียงราย แต่ผูถ้ ูกฟ้องคดีกลบั ไม่ส่งมอบวสั ดุก่อสร้างดงั กล่าว ผฟู้ ้องคดีจึงไดห้ นงั สือ

ลงวนั ที่ ๑๔ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๑ บอกเลิกสญั ญาและไดม้ ีหนงั สืออีกหลายฉบบั แจง้ ใหผ้ ถู้ ูกฟ้องคดีชาระคา่ ปรับแต่ผถู้ ูกฟ้องคดีเพิกเฉยผฟู้ ้องคดีจึงนาคดีมาฟ้องต่อ

ศาลปกครอง ขอใหผ้ ถู้ ูกฟ้องคดีชาระเงินค่าปรับพร้อมดอกเบ้ียใหแ้ ก่ผฟู้ ้องคดี เห็นว่า คดีน้ีขอ้ โตแ้ ยง้ สืบเน่ืองมาจากสัญญาซ้ือขายวสั ดุก่อสร้างท่ีทาข้ึนระหว่าง
ผฟู้ ้องคดีในฐานะราชการส่วนทอ้ งถิ่นกบั ผถู้ ูกฟ้องคดี สญั ญาซ้ือขายวสั ดุก่อสร้างดงั กล่าวจึงเป็นสญั ญาท่ีมีคู่สญั ญาฝ่ ายหน่ึงเป็นหน่วยงานทางปกครอง แต่เม่ือ
สัญญาซ้ือวสั ดุก่อสร้างดงั กล่าวเป็ นเพียงการซ้ือวสั ดุก่อสร้าง เช่น กล่องลวดตาข่าย หิน และวสั ดุต่างๆ ของผูฟ้ ้องคดี ซ่ึงไม่อาจถือไดว้ ่าวสั ดุก่อสร้างดงั กล่าว
เป็ นเครื่องมือท่ีสาคญั และจาเป็ นแก่การจดั ทาบริการสาธารณะในดา้ นสาธารณูปโภค และไม่อาจถือไดว้ ่าการจดั หาวสั ดุก่อสร้างของผฟู้ ้องคดีเป็ นสัญญาท่ีให้

ผฟู้ ้องคดีจดั ทาบริการสาธารณะหรือสัญญาจดั ให้มีสิ่งสาธารณูปโภค อีกท้งั ไม่ปรากฏขอ้ กาหนดท่ีแสดงถึงเอกสิทธ์ิของผฟู้ ้องคดี สัญญาซ้ือขายวสั ดุก่อสร้าง
ดงั กล่าวจึงมิใช่เป็ นสัญญาทางปกครอง แต่เป็ นสัญญาท่ีต้งั อยู่บนพ้ืนฐานของความเท่าเทียมกนั ตามกฎหมายเอกชนอนั เป็ นสัญญาทางแพ่ง จึงมิใช่คดีพิพาท
เก่ียวกบั สญั ญาทางปกครองตามมาตรา ๙ วรรคหน่ึง (๔) แห่งพระราชบญั ญตั ิจดั ต้งั ศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒

อธิบดีศาลปกครองเชียงใหม่เห็นว่า ควรรับคดนี ีไ้ ว้พจิ ารณา โดยมเี หตุผลปรากฏตามข้อสังเกต จานวน ๑๐ หน้า 557

คดหี น่วยงานของรัฐมหี นังสือราชการแจ้งให้คืนเงนิ ราชการ

องค์คณะมีคาสั่งไม่รับคาฟ้องไว้พิจารณาและให้จาหน่ายคดี โดยวินิจฉัยว่า ผฟู้ ้องคดีเห็นวา่ หนงั สือของผถู้ ูกฟ้องคดีท่ี ๒
ท้งั ส่ีฉบบั ขา้ งตน้ เป็ นคาส่ังทางปกครองท่ีไม่ชอบดว้ ยกฎหมาย จึงขอให้ศาลมีคาพิพากษาหรือคาส่ังเพิกถอนหนงั สือของผูถ้ ูก
ฟ้องคดีที่ ๒ ดงั กล่าว อนั มีลกั ษณะประสงคฟ์ ้องคดีต่อศาลเป็นคดีพิพาทเก่ียวกบั การท่ีหน่วยงานทางปกครองหรือเจา้ หนา้ ที่ของ
รัฐกระทาการโดยไม่ชอบดว้ ยกฎหมาย อนั เนื่องจากการออกคาสง่ั ทางปกครองน้นั

องค์คณะเห็นว่า เมื่อพิจารณาสาระของหนงั สือ ท่ี ลป ๕๒๕๐๑/๗๔๒ ลงวนั ที่ ๑๗ กนั ยายน ๒๕๖๑ หนงั สือ ที่ ลป
๕๒๕๐๑/๘๘๗ ลงวนั ที่ ๑๙ ตุลาคม ๒๕๖๑ และหนงั สือ ที่ ลป ๕๒๕๐๑/๙๓๑ลงวนั ท่ี ๕ พฤศจิกายน ๒๕๖๑ ซ่ึงเป็ นเหตุแห่ง
การฟ้องคดีน้ีแลว้ หนงั สือดงั กล่าวเป็นเพียงการทวงถามใหผ้ ฟู้ ้องคดีคืนเงินที่รับไปโดยไม่มีสิทธิแก่ผถู้ ูกฟ้องคดีที่ ๑ ในฐานลาภ
มิควรไดเ้ ท่าน้นั ไม่มีลกั ษณะท่ีแสดงให้เห็นวา่ ผถู้ ูกฟ้องคดีที่ ๒ มีเจตนาจะใหห้ นงั สือดงั กล่าวเป็นคาส่ังทางปกครองตามมาตรา
๕ แห่งพระราชบญั ญตั ิวธิ ีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ แต่อยา่ งใด

เม่ือหนงั สือท่ีพิพาทดงั กล่าวเป็ นเพียงหนังสือทวงถามผูฟ้ ้องคดีให้ชาระเงินแก่ผูถ้ ูกฟ้องคดีท่ี ๑ หากผูฟ้ ้องคดีเห็นว่า
ผูถ้ ูกฟ้องคดีท้งั สองไม่มีสิทธิเรียกเบ้ียยงั ชีพผูส้ ูงอายุคืนจากผูฟ้ ้องคดี ผูฟ้ ้องคดีก็ชอบท่ีจะปฏิเสธไม่คืนเงินดงั กล่าวให้แก่
ผถู้ ูกฟ้องคดีที่ ๑ ตามที่ไดร้ ับแจง้ หรือถูกทวงถาม โดยไม่จาตอ้ งนาคดีมาฟ้องต่อศาลปกครองเพื่อขอใหเ้ พิกถอนหนงั สือดงั กล่าว
แต่อย่างใด และเป็ นเร่ืองที่ผูถ้ ูกฟ้องคดีท้งั สองจะตอ้ งใช้สิทธิเรียกร้องเงินดงั กล่าวจากผูฟ้ ้องคดีโดยการฟ้องขอให้ศาลท่ีมี
เขตอานาจมีคาพิพากษาหรือคาสงั่ ใหผ้ ฟู้ ้องคดีคืนเงินดงั กล่าวต่อไป

ดงั น้นั ผูฟ้ ้องคดีจึงมิใช่ผูท้ ี่ไดร้ ับความเดือดร้อนหรือเสียหาย หรืออาจจะเดือดร้อนหรือเสียหายโดยมิอาจหลีกเล่ียงได้
อันเน่ืองจากการกระทาของผูถ้ ูกฟ้องคดีท้ังสองดังกล่าวท่ีจะมีสิทธิฟ้องคดีน้ีต่อศาลตามมาตรา ๔๒ วรรคหน่ึง แห่ง
พระราชบัญญัติจัดต้ังศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ เทียบเคียงมติท่ีประชุมใหญ่ตุลาการใน
ศาลปกครองสูงสุด คร้ังท่ี ๖/๒๕๕๘ เมื่อวนั ท่ี ๗ ตุลาคม ๒๕๕๘

อธิบดศี าลปกครองเชียงใหม่เห็นว่า ควรรับคดนี ีไ้ ว้พจิ ารณา โดยมเี หตุผลปรากฏตามข้อสังเกต จานวน ๑๒ หน้า

558

คดีมาบตาพดุ

ศาสตราจารย์ ดร.อกั ขราทร จุฬารตั น ประธานศาลปกครองสูงสุด
กล่าวว่า “แนวทางของศาล “ไม่ใช่การชงั่ น้าหนัก” ระหว่างชีวิตชาวบ้าน
ที่ เ ดื อ ด ร้ อ น กับ เ งิ น ล ง ทุ น ข อ ง ธุร กิ จ ข น า ด ใ ห ญ่ ที่ อ า จ ก ร ะ ท บ ต่ อ ไ ป ถึ ง
ทิศทางการพฒั นาประเทศ แต่ส่ิงที่สาคญั กว่านัน้ คือ ความมีเหตุมีผล
ซึ่งไม่ใช่เรื่องของเงินหม่ืนล้านแสนล้าน ถ้าคาพิพากษาของศาลสามารถ

อธบิ ายไดช้ ดั เจน รฐั บาลเองกต็ อ้ งครุ่นคดิ วา่ แนวทางทถ่ี ูกต้องควรปฏบิ ตั อิ ยา่ งไร
เพ่อื ใหเ้ กดิ ความถูกตอ้ งควรปฏบิ ตั อิ ย่างไร เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความถูกตอ้ งและแนวทาง
ปฏิบตั ิในอนาคต ไม่ใช่แก้ปัญหาเป็นรายกรณี เพราะปัญหาวกิ ฤตสง่ิ แวดล้อม
เกดิ ขน้ึ ทวั่ ไปหมด ทงั้ ในนิคมอุตสาหกรรมและนอกนิคมอุตสาหกรรม ถ้ารฐั บาล
ไม่สร้างแนวทางท่ถี ูกต้องวนั ขา้ งหน้าก็ต้องตามไปแก้ปัญหาแต่ละกรณีไม่รู้จบ
และจะมตี น้ ทนุ ทต่ี อ้ งจ่ายแพงขน้ึ ไปเรอ่ื ยๆ เช่นเดียวกนั กบั ภาครฐั ภาคเอกชน
รวมถงึ ภาคประชาชน กค็ วรเลิกทาตวั เป็น ศรีธนญชยั เสียที”

หนงั สือพมิ พป์ ระชาชาติธุรกิจ วนั ที่ ๕ ตลุ าคม ๒๕๕๒, หนา้ ๒.

การวินิ จฉัยคดีปกครอง

ความสมดลุ
การชงั่ น้าหนัก

560

ความสมดลุ ของธรรมชาติ

561

ตราชั่ง : การชั่งนา้ หนักโดยทัว่ ไป

สิ่งของสองข้างน้าหนักไม่เท่ากนั
จึงไม่เกิดความสมดลุ และตราชงั่ เอียง

562

ความหมายเชิงสัญลกั ษณ์

ความเที่ยงธรรม

563

ตราช่ัง : ในความหมายการช่ังนา้ หนักพยานหลกั ฐาน

ท่จี ะนามารับฟังในการวนิ ิจฉัยคดโี ดยทว่ั ไป

564

การทาให้เกดิ ความสมดุลด้วยหลกั ตรรกศาสตร์

ดลุ ยภาพ เหตผุ ล

balance, equilibrium การเพมิ่ น้าหนกั ใหอ้ กี ขา้ ง
ทาใหเ้ กดิ ความสมดลุ

565

การทาให้เกดิ ความสมดุลด้วยตรรกศาสตร์

เหตผุ ล

ความยาวของระยะทางจากจุดหมุนทม่ี ากกวา่
อกี ดา้ นหน่ึง ทาใหเ้ กดิ ความสมดุล

ดลุ ยภาพ

balance,
equilibrium

566

ความสมดุลขององค์ประกอบต่างๆในพืน้ ที่

แสดง ความสมดลุ ของแรง ๓ แรง ประกอบด้วย ก้อนน้าหนัก N1 N2 และ N3 ซ่ึงมีน้าหนักไม่

เท่ากนั โดยก้อนน้าหนักห้อยแขวนจากเชือก ๓ เส้น ท่ีผกู ติดกนั โดยเชือก ๒ เส้นคล้องผา่ นรอก

ที่ไรแ้ รงเสียดทาน แรงทงั้ สามกระทาตรงปมเชือกท่ีเหน็ ลกู ศรพ่งุ ออกมาและอย่ใู นลกั ษณะสมดลุ

แรง ๓ แรง แทนได้ด้วยความหมายของ สิ่งที่มีชีวิต ส่ิงแวดล้อม เศรษฐกิจ สงั คม หรือ

ประโยชน์ของส่วนรวม ประโยชน์ของชุมชน ประโยชน์ของบุคคล ฯลฯ ที่สามารถอยู่ร่วมกนั

ในพืน้ ท่ีได้ในลกั ษณะสมดลุ 567

ความหลากหลายของ ดลุ ยภาพ Balance, Equilibrium

ความหลากหลายของ ดลุ ยภาพ Balance, Equilibrium

การวินิ จฉัยคดีปกครองท่ีเป็ นการดาเนิ นกิจกรรม
ทางปกครองท่ีมีลกั ษณะเป็นการกระทาทางกายภาพ
จึงเป็นการหาเหตผุ ลเพื่ออธิบายด้วยตรรกศาสตรว์ ่า

สมเหตสุ มผลหรอื ไม่

เพื่อสร้างความสมดลุ ขององคป์ ระกอบต่างๆ
เพ่ือให้เกิดความเป็ นธรรม

เพ่ือการอย่รู ่วมกนั อย่างสงบสขุ ในสงั คม

นายภานุพนั ธ์ ชยั รตั ๒๙ กนั ยายน ๒๕๕๒

570

การวนิ ิจฉัยคดปี กครอง
เกยี่ วกบั สิ่งแวดล้อม การผงั เมือง อาคาร และเหตุเดือดร้อนราคาญ

ข้ันตอนการสรุป ข้ันตอนการวเิ คราะห์ ข้นั ตอนการสังเคราะห์ ข้นั ตอนการวนิ ิจฉัยคดี การพพิ ากษาคดี
ข้อกฎหมายและข้อเทจ็ จริง Analysis
Synthesis Synopsis
บทบัญญัติของกฎหมาย เจตนารมณ์และวตั ถุประสงค์
ทเี่ กยี่ วข้อง ของกฎหมายทเ่ี กยี่ วข้อง นาผล ( Syllabus )
การพเิ คราะห์มา
ข้อเทจ็ จริงเกย่ี วกบั ความชอบด้วยกฎหมาย ประมวลด้วยกนั สรุปคาวนิ ิจฉัย คาพพิ ากษา
การใช้อานาจรัฐ เพ่ือให้เห็นภาพรวม ด้วยเหตุผลทม่ี ี และ
ทเ่ี กดิ ในปัจจุบัน
ข้อเทจ็ จริงตาม คากล่าวอ้างของคู่กรณี ความ คาบงั คบั
คากล่าวอ้างของคู่กรณี รับฟังได้เพยี งใด และกาหนด สมเหตุสมผล รวมท้งั
สภาพท่ีเหมาะสม เพ่ือแสดงให้เห็น ข้อสังเกต
ข้อเทจ็ จริงเกยี่ วกบั มสี ภาพทเ่ี กย่ี วข้องหรือมผี ลกระทบ ว่าการพพิ ากษา และ
สภาพทางด้านกายภาพ อย่างไรกบั เนื้อหาของคดี ทจี่ ะเกดิ ขนึ้ แนวทางหรือ
ต่อบุคคลและสังคม ก่อให้เกดิ วธิ ีการ
เศรษฐกจิ สังคม ความยุตธิ รรม ดาเนินการ
การบริหารราชการ ฯลฯ ภายหลงั ให้เป็ นไป
การพพิ ากษาคดี และ ตาม
ตามเจตนารมณ์ ความสงบสุข คาพพิ ากษา
ของกฎหมาย
ในสังคม
อย่างไร

ภานุพนั ธ์ ชัยรัต ๕ กรกฎาคม ๒๕๔๗

พระราชดารัส

พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช

“ปัญหาต่างๆ ท่ีเกิดขึน้ ในเกณฑ์ท่ีท่านจะต้องทาหน้าที่น้ันจะต้อง
เป็ นเร่ืองจริง เป็ นเรื่องในชีวิตจริง ไม่ใช่อยู่ในตารา ฉะน้ัน ก็ขอร้องให้
ท่านคิดให้ ดีๆ ใช้ ดุลยพินิจ หมายความว่า ประกอบความรู้ท่ีมี และ
ประกอบกบั ความรู้ทจ่ี ะต้องขวนขวาย การงานที่ท่านจะทาจะเกดิ ประโยชน์
อย่างยิ่ง ถ้าประกอบวิชาการและความรู้ในทางปฏิบัติมาประกอบกับ
ความซื่อสัตย์สุจริต ”

พระราชดารสั ฯเน่ืองในโอกาสโปรดเกล้าฯ ให้ตลุ าการศาลปกครองชนั้ ต้น ร่นุ ที่ ๑ เข้าเฝ้าฯ เพ่ือ

ถวายสตั ยป์ ฏิญาณต่อพระมหากษตั ริย์ ณ ศาลาเริง วงั ไกลกงั วล วนั พธุ ท่ี ๒๑ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๔๔ 572

573

ท่านผเู้ ข้าศึกษาอบรมหลกั สตู รนี้

ท่านเป็นผใู้ หญ่จากหลากหลายอาชีพ จากสถานที่ต่างๆกนั

ทกุ ท่านมีโอกาสเหมอื นกนั
ในการอานวยความยตุ ิธรรมแก่ผคู้ นในสงั คมไทย
ท่านจะเป็นทรพั ยากรบคุ คลอนั มีค่าของแผน่ ดิน

เมอื่ ท่านได้ทาให้เกิดความเป็นธรรมแก่บคุ คล
ประชาชน ธรรมชาติ ที่อย่รู อบๆ ตวั ของท่าน

รวมทงั้ การปกป้องค้มุ ครองโลกใบนี้

574

สิทธิของแมธ่ รณี Rights of Mother Earth

ขอให้คณุ งามความดีท่ีทกุ ท่านได้ทาไว้แก่โลก

เป็นพลงั ให้ท่านได้สมั ผสั ความสขุ ความสงบ และความร่มเยน็
ในการดารงชีวิตอย่บู นโลกใบนี้

576


Click to View FlipBook Version