The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การบรรยาย ก.ศป. รุ่นที่ 12 Power Point บรรยาย 3 7 65

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pachairat, 2022-07-04 00:35:43

คดีสิ่งแวดล้อมที่สำคัญ ก.ศป. 12 Sun 3 7 65 PPT

การบรรยาย ก.ศป. รุ่นที่ 12 Power Point บรรยาย 3 7 65

ใครควรจะเป็ นผู้เสียหายทม่ี สี ิทธิฟ้องคดปี กครองเพื่อรักษาประโยชน์ของส่วนรวม

พระบรมราชโองการที่กาหนดหนา้ ที่ของประชาชนท่ีกล่าวมา หมายถึง
การให้ผู้ที่เก่ียวข้องกับเรื่ องดังกล่าว(ในเชิงพ้ืนท่ี) มีหน้าที่ต้องรักษา
ประโยชน์ของส่วนรวมดว้ ยการนาเร่ืองไปบอกกล่าวแก่ทางราชการไดท้ ราบ
ในฐานะเป็นผเู้ สียหายแทนรัฐหรือชุมชน

จะเห็นได้ว่า พระบรมราชโองการดังกล่าว มีเจตนารมณ์เพื่อสร้าง
จิตสานึกและความรับผิดชอบต่อสังคมในการรักษาประโยชน์สาธารณะให้
เกิดข้ึนกับชนชาวไทย เพื่อให้มีความรับผิดชอบต่อส่ วนรวมหรื อ
มีจิตสาธารณะ เพ่ือพิทกั ษ์ปกป้องสิ่งต่างๆตามท่ีกล่าวมา ท้งั น้ี เพ่ือไม่ให้
สงั คมไทยเป็นสงั คมท่ีเพิกเฉยต่อปัญหาที่เกิดข้ึนกบั ประโยชน์ของส่วนรวม

501

สิทธิของธรรมชาติ (The Right of Nature)

(สิทธิในธรรมชาติ The Right to Nature )

สิทธิของธรรมชาติ เกิดมาจากแนวคิดท่ีว่า ธรรมชาติมีสิทธิใน
ลักษณะเดียวกับสิทธิของมนุษย์ ดังนั้น ธรรมชาติจึงควรได้รับการรับรอง
สิทธิของตัวเองด้วยเช่นกนั แนวความคดิ นี้มีความหมายไกลไปถงึ การให้สัตว์
สามารถเป็ นผ้เู สียหายในการฟ้องคดไี ด้ด้วย (โดยให้มนุษย์เป็ นผ้ฟู ้องแทนสัตว์เหล่านั้น)

คาพพิ ากษาศาลสูงสุดแห่งสหรัฐอเมริกา
๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๑

คดรี ะหว่างกล่มุ อนุรักษ์ธรรมชาติ VS กองทัพเรือสหรัฐอเมริกา

ข้อพพิ าทการใช้คลื่นโซน่าส์ในการฝึ กซ้อมทางทหารเพื่อประโยชน์แห่งความมัน่ คงของประเทศ
กบั การอนุรักษ์ชีวติ สัตว์เลยี้ งลกู ด้วยนมใต้ทะเลทใ่ี กล้สูญพนั ธ์ุ

502

คาพพิ ากษาศาลสูงสุดของอนิ เดยี
(Supreme Court of India)

คดี Subhash Kumar v. State of Bihar (AIR 1991 SC 420) ร้องว่า มีการกระทาทเ่ี ป็ นการละเมดิ

ต่อ สิทธิในชีวิต (Right to Life) ซึ่งรัฐพิหารและคณะกรรมการควบคุมมลพิษแห่งรัฐดังกล่าวล้มเหลวในการบังคับใช้
กฎหมายการป้องกันและควบคุมมลพิษทางน้า จากการก่อมลพิษทางน้าของบริษัทเอกชนที่ปล่อยขยะของเหลวที่มี
ลกั ษณะข้น(Slurry) ลงสู่แม่นา้ โบคาโร ทาให้ไม่สามารถใช้ด่ืมกนิ ใช้ทาการเกษตรและมผี ลกระทบโดยตรงต่อสุขภาพของ
ประชาชนในวงกว้าง โดยมคี าวนิ ิจฉัยเกยี่ วกบั ประโยชน์สาธารณะ

ความตอนหน่ึงว่า สิทธิท่จี ะดารงชีวติ อยู่ (Right of Livelihood) เป็ นสิทธิพืน้ ฐานตามรัฐธรรมนูญ ถ้าสิ่งใด
ก็ตามคุกคามหรือมีผลกระทบต่อคุณภาพของชีวิตซ่ึงในทางที่เป็ นการปลดเปลื้องโดยบทบังคับของกฎหมาย
(Derogation of Laws)แล้ว ประชาชนย่อมมีสิทธิท่ีจะขอให้ศาลสูงสุดมีคาสั่งเพ่ือแก้ไขเยียวยา และ การมีคาร้องตาม
บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญดังกล่าวสามารถกระทาได้โดยบุคคลผู้ได้รับความเดือดร้อนเสียหาย หรือแม้แต่กลุ่มที่ทางาน
เพ่ือสังคม(Social Workers) หรือ โดยนักส่ือสารมวลชน ดังน้ัน หากมีส่ิงหน่ึงส่ิงใดเป็ นภัยคุกคามต่อคุณภาพของ
การดารงชีวิต (Quality of Life) ผู้ที่ได้รับความเดือดร้อนเสียหายหรือผู้ที่มีประโยชน์ได้เสียอย่างแท้จริงในการปกป้อง
สังคมก็อาจใช้สิทธิฟ้องคดีได้ ท้ังนี้ เพ่ือยืนยันหรือเพื่อบังคับใช้สิทธิข้ันพื้นฐานของกลุ่มบุคคลหรือชุมชนซ่ึงไม่อาจ
บังคบั ใช้สิทธิข้นั พืน้ ฐานของพวกเขาได้ด้วยตนเอง อนั เนื่องมาจากความไร้สามารถ ความยากจน หรือความไม่รู้กฎหมาย
ของพวกเขา

503

ข้อพจิ ารณา

ในขณะที่ประชาคมโลกได้ก้าวข้ามการยึดถือหลักความเป็ นผู้มีสิทธิฟ้องคดีอย่างแคบ
ไปไกลถึงข้ันยอมรับการให้มนุษย์หรือองค์กรต่างๆ เป็ นผู้เสียหายฟ้องคดีแทนสัตว์หรือส่ิงมีชีวิต
เพื่อคุ้มครองชีวติ สัตว์หรือสิ่งมชี ีวติ อื่นๆ กนั แล้ว

แต่ในสังคมไทยแนวความคิดของนักกฎหมายในกระบวนยุติธรรมทางปกครองยังคง
ต่อสู้คดีปกครองเพ่ือเอาชนะคดีกนั ด้วยเทคนิคทางกฎหมาย และปฏิเสธการให้มนุษย์ฟ้องคดีแทน
มนุษย์ทรี่ ้องขอความเป็ นธรรมเพ่ือปลดเปลือ้ งความทุกข์ทเี่ กดิ จากการกระทาของมนุษย์ด้วยกนั

ในเวลาที่ผ่านมาจึงมีการนาเงื่อนไขของวิธีพิจารณาคดีปกครองมาเป็ นเหตุผลในการ
ต่อสู้คดีหรือการไม่รับข้อพิพาทท่ีเก่ียวกับประโยชน์ส่วนรวมไว้พิจารณา จึงทาให้ประเด็นเนื้อหา
แห่งคดีเกี่ยวกับความไม่เป็ นธรรมทางสังคมหรือการคุ้มครองประโยชน์ส่วนรวมเป็ นจานวนมาก
ไม่อาจนาเข้าสู่การพิจารณาพิพากษาคดีของ ศาลปกครองตามกระบวนยุติธรรมทางปกครองของ
ประเทศไทย และเป็ นสาเหตุนาไปสู่ความขัดแย้งที่เกดิ ขึน้ ในพื้นท่ีที่เป็ นมูลเหตุแห่งการฟ้องคดีและ
ทาให้เกดิ ความไม่สงบสุขของการอยู่ร่วมกนั อย่างสันตใิ นสังคมไทยตามมา

504

คดปี ่ าแหว่ง

สิทธิของชมุ ชน Rights of Community





สิทธิของธรรมชาติ Rights of Nature

คดปี ่ าแหว่ง

How Judges Think

ผูฟ้ ้องคดีเป็ นอดีตอาจารย์ของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ฟ้องศาลปกครอง
เชียงใหม่ว่า กรมธนารักษอ์ นุญาตให้มีการสร้างบา้ นพกั ผูพ้ ิพากษาและเจา้ หนา้ ที่ของ
ศาลบนที่ราชพสั ดุบริเวณเชิงดอยสุเทพ และบางส่วนเป็นพ้นื ท่ีอุทยานแห่งชาติ

ศาลปกครองเชียงใหม่วินิจฉัยว่า ผูฟ้ ้องคดีเพียงแค่กล่าวอา้ งถึง

ความรู้สึกสลดหดหู่ใจของผูฟ้ ้องคดีเม่ือมองเห็นสภาพพ้ืนท่ีบริเวณท่ีเป็ น

ท่ีต้งั บา้ นพกั ดงั กล่าวเป็ นป่ าแห่วงเท่าน้ัน โดยไม่ปรากฏความเดือดร้อน
เสียหายที่เกิดจากการกระทาของผถู้ ูกฟ้องคดีซ่ึงมีผลกระทบต่อส่วนไดเ้ สีย

หรือประโยชน์อ่ืนใดของผูฟ้ ้องคดีแต่อย่างใด ... ผูฟ้ ้องคดีจึงมิไดเ้ ป็ นผูม้ ี

สิทธิฟ้องคดี 509

How Judges Think : ข้อพิพาทกรมทางหลวงให้เอกชนใช้พืน้ ท่ีในเขตทางหลวง

ผู้ฟ้ องคดีท่ี ๑ เป็ นอดีตอาจารย์ประจาภาควิชาสังคมวิทยา - มานุ ษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์

มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ ซ่งึ ภาควชิ าน้ีก่อตงั้ ขน้ึ มาพรอ้ มกบั การสถาปนามหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ เม่อื ปี พ .ศ. ๒๕๐๗ ในปี พ.ศ.

๒๕๑๙ ภาควชิ าสงั คมวทิ ยา – มานุษยวทิ ยาไดเ้ รมิ่ ดาเนินโครงการวจิ ยั ทางสงั คมศาสตร์ และต่อมาไดจ้ ดั ตงั้ เป็น “สถาบนั วจิ ยั

สังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่” ผู้ฟ้ องคดีท่ี ๑ เป็ นอาจารย์สอนหนังสือประจาภาควิชาสังคมวิทยา - มานุษยวิทยา

มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ รวมทงั้ ทางานวจิ ยั ทางสงั คมและใหข้ อ้ เสนอแนะการแกไ้ ขปัญหาเกย่ี วกบั สงั คม ซง่ึ ไดร้ บั การพมิ พเ์ ผยแพร่

ในเอกสารวชิ าการของสถาบนั ต่างๆ อยา่ งตอ่ เน่ืองเป็นเวลามากกวา่ ๓๐ ปี และมผี ลงานวจิ ยั ทางสงั คมทเ่ี กย่ี วกบั จงั หวดั เชยี งใหม่

เช่น “ปัญหาและผลกระทบต่อการขยายเขตเทศบาลนครเชยี งใหม่” ได้รบั ทุนจากคณะกรรมการวจิ ยั แห่งชาติ พมิ พเ์ ผยแพร่ใน

วารสารพฒั นบรหิ ารศาสตร์ ปีท่ี ๒๔ ฉบบั ท่ี ๓ กรกฎาคม ๒๕๒๗ สรุปผลการวจิ ยั ว่า การขยายเขตเทศบาลนครเชียงใหม่

ก่อใหเ้ กดิ ผลกระทบตอ่ สภาพแวดลอ้ ม รายได้ คา่ ใชจ้ า่ ยของประชาชน การปฏบิ ตั ภิ ารกจิ ของเจา้ พนกั งาน และตาแหน่งหน้าทข่ี อง

เจา้ พนกั งานปกครองทอ้ งถนิ่ ซง่ึ งานวจิ ยั น้ีไดเ้ สนอแนวทางปรบั ปรงุ แกไ้ ขเพอ่ื ใหเ้ กดิ ผลกระทบน้อยทส่ี ดุ

นอกจากน้ี ปรากฏข้อมูลในส่อื มวลชนเก่ียวกบั ผู้ฟ้องคดีท่ี ๑ เขา้ ร่วมขบวนการเคล่อื นไหวทางสงั คม (Social

Movement) ในประเดน็ สาธารณะของจงั หวดั เชยี งใหม่ ขอ้ เทจ็ จรงิ ทก่ี ล่าวมาแสดงใหเ้ หน็ ว่า ผฟู้ ้องคดที ่ี ๑ เป็นบุคคลทม่ี คี วามใส่

ใจต่อประเดน็ สาธารณะและการปกป้องสงั คมจงั หวดั เชยี งใหม่ ดงั นนั้ เม่อื มขี อ้ ขดั แยง้ เกย่ี วกบั พน้ื ทใ่ี นเขตทางหลวงทเ่ี ป็นมลู เหตุ

แหง่ การฟ้องคดจี ากการกระทาของผถู้ กู ฟ้องคดหี รอื การละเลยต่อหน้าทต่ี ามทก่ี ฎหมายกาหนดใหต้ อ้ งปฏบิ ตั ิ ซง่ึ สง่ ผลกระทบหรอื

อาจจะเสยี หายต่อการคมนาคมในบรเิ วณเมอื งเชยี งใหมอ่ นั เป็นประโยชน์ของสว่ นรวม และไมป่ รากฏขอ้ เทจ็ จรงิ ว่าผฟู้ ้องคดที ่ี ๑

นาคดนี ้ีมาฟ้องศาลปกครองเพ่อื ตอบสนองต่อความเหน็ สว่ นตวั โดยทต่ี นเองไม่เคยร่วมดาเนินกจิ กรรมเพอ่ื สงั คมมาก่อน หรอื นา

คดนี ้ีมาฟ้องเพอ่ื ผลประโยชน์สว่ นตวั ตามขอ้ เทจ็ จรงิ ทก่ี ล่าวมา จงึ เหน็ ว่า คดนี ้ีผฟู้ ้องคดที ่ี ๑ เป็น “ผมู้ สี ว่ นไดเ้ สยี ” ในประเดน็ ขอ้

พพิ าทเก่ยี วกบั การใช้พน้ื ทใ่ี นเขตทางหลวงทเ่ี ป็นมูลเหตุแห่งการฟ้องคดี และถอื ไดว้ ่าผฟู้ ้องคดที ่ี ๑ เป็นผทู้ อ่ี าจจะได้รบั ความ

เดอื ดรอ้ นหรอื เสยี หายโดยมอิ าจหลกี เลย่ี งไดจ้ ากการกระทาหรอื การงดเวน้ การกระทาของหน่วยงานทางปกครองหรอื เจา้ หน้าท่ี

ของรฐั ผฟู้ ้องคดที ่ี ๑ จงึ เป็นผมู้ สี ทิ ธฟิ ้องคดนี ้ีต่อศาลปกครองตามบทบญั ญตั มิ าตรา ๔๒วรรคหน่ึง แหง่ พระราชบญั ญตั จิ ดั ตงั้ ศาล

ปกครองและวธิ พี จิ ารณาคดปี กครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ 510

How Judges Think : คดแี ผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรนา้ ๓.๕ แสนล้านบาท

ตุลาการผ้แู ถลงคดีในศาลปกครองสงู สุดวินิ จฉัยว่า ผ้ฟู ้องคดีท่ี ๒ อายุ ๘๒ ปี (๒๔๗๔)

เป็ นประธานมูลนิ ธิสืบนาคะเสถียรมาตงั้ แต่ ๑๘ กนั ยายน ๒๕๓๓ ซ่ึงตลอดระยะเวลา ๒๐ ปี ที่ผ่านมา ได้
ดาเนิ นกิจกรรมเพ่ือให้เป็ นไปตามวตั ถปุ ระสงคข์ องมูลนิ ธิสืบนาคะเสถียร คือ การอนุรกั ษ์และปกป้องผืนป่ า
สตั ว์ป่ า และทรพั ยากรธรรมชาติ โดยการมีส่วนร่วมของผ้เู กี่ยวข้องทุกฝ่ าย โดยการดาเนิ นกิจกรรมของ
ผ้ฟู ้องคดีท่ี ๒ เพ่ือสร้างความตระหนักและกลไกการมีส่วนร่วมในการอนุรกั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาติ ป่ าไม้ และ

สตั วป์ ่ า อย่างยาวนานและต่อเนื่องมาจนถึงปัจจบุ นั ถือได้ว่า ผฟู้ ้องคดีท่ี ๒ เป็ นบคุ คลที่มีความใส่ใจ
อย่างแท้จริงในการปกป้องสงั คม เป็ นตวั แทนของภาคประชาชนเพื่อรกั ษาประโยชน์ส่วนรวม

ในการอนุรกั ษ์และปกป้องผืนป่ า สตั วป์ ่ า และทรพั ยากรธรรมชาติ เมื่อมีข้อโต้แย้งในการ

ใช้อานาจทางปกครองตามกฎหมายหรอื การดาเนินกิจการทางปกครองท่ีส่งผลกระทบหรือ

อาจจะเสียหายต่อการอนุรกั ษ์ ส่งเสริม และคุ้มครอทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

ซึ่งเป็ นมูลเหตุแห่งการฟ้องคดีท่ีเก่ียวกบั ประโยชน์ส่วนรวม และไม่ปรากฏข้อเท็จจริงว่า

ผ้ฟู ้องคดีที่ ๒ นาคดีนี้มาฟ้องศาลปกครองเพ่ือตอบสนองความเห็นส่วนตวั โดยที่ตวั เอง

ไม่เคยดาเนินกิจกรรมเพ่ือสงั คมมาก่อน หรือนาคดีนี้มาฟ้องศาลปกครองเพ่ือผลประโยชน์ส่วนตวั

จึงถือว่า ผ้ฟู ้ องคดีท่ี ๒ เป็ น “ผู้มีส่วนได้เสีย” ในผลของคดีนี้ซ่ึงเป็ นประโยชน์ของส่วนรวม

ท่ีเกี่ยวกบั การอนุรกั ษ์และปกป้องผนื ป่ า สตั วป์ ่ า และทรพั ยากรธรรมชาติ ผฟู้ ้องคดีท่ี ๒จึงเป็นผทู้ ี่อาจจะได้รบั

ความเดือดร้อนเสียหายโดยมิอาจหลีกเล่ียงได้จากการใช้อานาจทางปกครองตามกฎหมายหรือการดาเนิ น

กิจการทางปกครอง 511

กรณศี ึกษา

คดีอทุ กภยั ล่มุ น้าเจ้าพระยา ปี ๒๕๔๙
“คดีปกครองเก่ียวกบั การตงั้ ถ่ินฐานมนุษย”์

(HUMAN SETTLEMENT)

วเิ คราะห์วธิ ีคดิ ของตุลาการ

How Judges Think

คดีความเสียหายจากอทุ กภยั บริเวณล่มุ น้าเจ้าพระยา ปี ๒๕๔๙

ศาลปกครองชัน้ ต้นวินิ จฉัยว่า กรณีน้าท่วมพื้นท่ีเกษตรกรรมในจงั หวดั สิงห์บุรี
ซึ่งรวมถึงโรงงานสีข้าวของผ้ฟู ้องคดีรวมอย่ดู ้วย ไม่ได้เป็นผลจากกรณีฝนตกหนักจากอิทธิพล
ของพายุในฤดูมรสุมซ่ึงเป็ นสภาพภูมิอากาศธรรมชาติ ตามปกติ ของพื้นท่ีในบริเวณนี้
แต่เพียงประการเดียว หากแต่เป็ นผลโดยตรงจากการใช้อานาจบริหารจัดการน้าของ
ผถู้ กู ฟ้องคดีที่ ๔

และแม้ว่าการกระทาของผ้ถู กู ฟ้องคดีท่ี ๔ ท่ีก่อให้เกิดความเสียหายขึ้นแก่ผ้ฟู ้องคดี
จะไม่ได้เป็ นการกระทาโดยผิดกฎหมายและไม่เป็ นละเมิดตามมาตรา ๔๒๐ แห่งประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ เพราะเหตทุ ่ีมีกฎหมายว่าด้วยการชลประทานหลวงบญั ญตั ิให้อานาจ
ไว้ก็ตาม แต่ผ้ถู กู ฟ้ องคดีที่ ๔ ย่อมมีหน้าที่ต้องเยียวยาความเสียหายที่เกิดขึ้นแก่ผ้ฟู ้ องคดี
ตามท่ีกาหนดไว้ในกฎหมายดงั กล่าวด้วย ผฟู้ ้องคดีควรได้รบั ค่าทดแทนความเสียหายที่เกิดขึน้
แก่ทรพั ย์สินรายการจานวน ๔ รายการ คืนค่าธรรมเนียมศาลให้แก่ผ้ฟู ้ องคดีตามส่วนของ
การชนะคดี คาขออ่ืนนอกจากนี้ให้ยก

คาแถลงการณ์ ศาลปกครองสงู สดุ คดีหมายเลขดาท่ี อ.๑๓๒/๒๕๕๔ (อทุ ธรณ์คาพิพากษา)
ตลุ าการผแู้ ถลงคดีวินิจฉัยว่า

อทุ กภยั บริเวณล่มุ น้าเจ้าพระยา ปี ๒๕๔๙ เป็นภยั พิบตั ิทางธรรมชาติ

และตุลาการผู้แถลงคดไี ด้วนิ ิจฉัยโดยใช้ หลกั ภูมศิ าสตร์กายภาพและการตงั้ ถน่ิ ฐานมนุษย์

วเิ คราะห์สภาพกายภาพ เพ่อื ช้ขี อ้ เท็จจรงิ ท่แี สดงถึงความสมั พนั ธ์ของผลกระทบทเ่ี กิดจากภยั พบิ ตั ิ

ในพน้ื ทล่ี ุ่มน้าเจา้ พระยากบั ความเสยี หายต่อบา้ นเรอื นและทรพั ยส์ นิ ของผปู้ ระสบภยั พบิ ตั ทิ เ่ี กดิ ขน้ึ ตาม

สภาพของธรรมชาติ
และ หลกั กฎหมายมหาชน เพ่อื วนิ ิจฉัยความแตกต่าง หลกั ความรบั ผิดของรฐั (State

Liability Principle) กั บ ห ลั ก ค ว า ม รับ ผิ ด ช อ บ ข อ ง รัฐ ( State Responsibility Principle)

เมอ่ื เกดิ ภยั พบิ ตั ทิ างธรรมชาตซิ ง่ึ ทาความเสยี หายต่อผปู้ ระสบภยั พบิ ตั ซิ ง่ึ เป็นพลเมอื งของรฐั
สรุปว่า เมื่อเกิดภยั พิบตั ิทางธรรมชาติและทาให้เกิดความเสียหายโดยทว่ั ไป จึงไม่ใช่กรณีที่

ฝ่ ายตุลาการจะพิจารณาพิพากษาวา่ เป็นความรับผดิ อยา่ งใดอยา่ งหน่ึงของหน่วยงานของรัฐแห่งใดแห่งหน่ึง
และกาหนดคาบงั คบั ให้ตอ้ งชดใชค้ ่าเสียหายโดยการคิดคานวณค่าเสียหายตามความเป็ นจริงอยา่ งละเอียด
ทุกรายการ ให้แก่ผูท้ ่ีไดร้ ับผลกระทบจากภยั พิบตั ิทางธรรมชาติในแต่ละคร้ัง ซ่ึงไม่มีความสมเหตุสมผล
เพราะตามสภาพความเป็นจริงของสถานะทางการคลงั ของรัฐยอ่ มไม่มีงบประมาณแผน่ ดินเพียงพอท่ีจะจ่าย
ค่าเสียหายตามความเป็ นจริงในกรณีต่างๆ ใหแ้ ก่ผทู้ ี่ไดร้ ับผลกระทบจากภยั พิบตั ิทางธรรมชาติซ่ึงมีอยเู่ ป็ น
จานวนมากไดท้ ุกคน



จุดเร่ิมตน้ แม่น้าเจา้ พระยา
จงั หวดั นครสวรรค์

เขื่อนเจา้ พระยา
จงั หวดั ชยั นาท





กรณีศึกษา

การดาเนินกิจกรรมทางปกครองที่มีลกั ษณะเป็นการกระทาทางกายภาพ
คดปี กครองเกยี่ วกบั ส่ิงแวดล้อม การผงั เมือง อาคาร และเหตุเดือดร้อนราคาญ

การกระทาละเมิดทางปกครอง
และ ความรบั ผิดของรฐั

กรณศี ึกษา : วเิ คราะห์วธิ ีคดิ ของตุลาการ

How Judges Think

ละเมิดทางปกครอง
ศาลปกครอง

&

ละเมิดทางแพ่ง
ศาลยตุ ิธรรม

ละเมิดทางปกครอง & ละเมิดทางแพ่ง

ก่อนปี พ.ศ. ๒๕๔๒ ประเทศไทยไม่ได้แยกหลกั กฎหมายเก่ียวกบั การกระทาละเมิดออกเป็ น
การละเมิดทางแพ่งและการละเมิดทางปกครอง โดยบญั ญตั ิรวมการกระทาละเมิดทงั้ สองลกั ษณะไว้ในประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ และข้อพิพาทเก่ียวกบั การกระทาละเมิดทงั้ สองลกั ษณะดาเนิ นการพิจารณาคดีใน
ศาลยุติธรรมด้วยกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง ในกรณีการกระทาละเมิดทางแพ่งท่ีความเสียหายต่อผ้อู ่ืน
เกิดจากการกระทาของเอกชน เอกชนต้องรบั ผิดชดใช้ค่าเสียหายหรือค่าทดแทนในกรณีต่างๆ แก่ผ้เู สียหายอนั
เกิดจากการกระทาละเมิดทางแพ่ง ส่วนกรณีการกระทาละเมิดทางปกครองที่ความเสียหายต่อผอู้ ่ืนเกิดจากการ
กระทาของหน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรฐั หน่วยงานทางปกครองต้องรบั ผิดชดใช้ค่าเสียหายหรือ
ค่าทดแทนในกรณีต่างๆ แก่ผ้เู สียหายอนั เกิดจากการกระทาละเมิดทางปกครอง โดยศาลยุติธรรมมีอานาจ
วินิ จฉัยตามควรแก่พฤติการณ์และความร้ายแรงแห่งละเมิดทงั้ การละเมิดทางแพ่งและการละเมิดทางปกครอง
ตามหลกั กฎหมายทวั่ ไปที่บญั ญตั ิไว้ในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์

เม่อื มีการจดั ตงั้ ศาลปกครองตามบทบญั ญตั ิรฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พ.ศ. ๒๕๔๐ และตรา
พระราชบญั ญตั ิจดั ตัง้ ศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ขึ้นมาใช้บงั คับ ในมาตรา ๙
วรรคหนึ่ง บญั ญตั ิว่า ศาลปกครองมีอานาจพิจารณาพิพากษาหรือมีคาสงั่ ในเรื่องดงั ต่อไปนี้ (๓) คดีพิพาท
เกี่ยวกบั การกระทาละเมิดหรือความรบั ผิดอย่างอ่ืนของหน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรฐั อนั เกิดจาก

การใช้อานาจตามกฎหมาย หรือจากกฎคาสงั่ ทางปกครอง หรือคาสงั่ อ่ืน หรือจากการละเลยต่อหน้าที่ตามที่
กฎหมายกาหนดให้ต้องปฏิบตั ิหรือปฏิบตั ิหน้าท่ีดงั กล่าวล่าช้าเกินสมควร

ละเมิดทางปกครอง

การท่ีรฐั สภาตราบทบญั ญตั ิมาตรา ๙ วรรคหน่ึง (๓) แห่งพระราชบญั ญตั ิ
จดั ตงั้ ศาลปกครองและวธิ พี จิ ารณาคดปี กครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ขน้ึ มา มเี จตนารมณ์เพอ่ื
แยกการกระทาละเมดิ ทางปกครองออกจากการกระทาละเมดิ ทางแพง่ และกาหนดให้
ศาลปกครองมอี านาจพจิ ารณาพพิ ากษาคดหี รอื มคี าสงั่ ในคดที ห่ี น่วยงานทางปกครอง
หรอื เจ้าหน้าท่ีของรฐั กระทาละเมดิ ทางปกครอง เพ่ือให้ศาลปกครองไทยวางหลกั
กฎหมายเก่ียวกับการกระทาละเมิดทางปกครอง และกาหนดมาตรฐานการชดใช้
ค่าเสยี หายหรอื ค่าทดแทนแก่ผูเ้ สยี หายจากการละเมดิ ทางปกครอง เพ่อื ใหเ้ กดิ ความ
เป็นธรรมทางสงั คม และสอดคล้องกับเจตนารมณ์ของกฎหมายว่าด้วยการจัดตัง้
ศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง เพราะผลแห่งคาพิพากษาคดีปกครอง
เก่ยี วกบั การกระทาละเมดิ ทางปกครองอาจกระทบถงึ การบรหิ ารราชการแผ่นดนิ หรอื
การต้องจ่ายเงนิ ภาษีอากรของส่วนรวมเป็นค่าชดเชยความเสยี หายแก่บุคคล รวมทงั้
เพอ่ื ไมใ่ หอ้ งคก์ รตุลาการของรฐั คอื ศาลยุตธิ รรมหรอื ศาลปกครองสงั่ ชดใชค้ ่าเสยี หาย
หรอื คา่ ทดแทนจากการกระทาละเมดิ แก่ผเู้ สยี หายซ้าซอ้ นกนั ในกรณีเดยี วกนั

ตามบทบญั ญัติมาตรา ๙ วรรคหน่ึง (๓) แห่งพระราชบญั ญัติจัดตงั้
ศาลปกครองและวธิ ีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒

การกระทาละเมิดทางปกครอง หมายถึง การกระทาโดยไม่ชอบดว้ ย
กฎหมายของหน่วยงานทางปกครองหรือเจา้ หนา้ ท่ีของรฐั จากการใชอ้ านาจ
ตามกฎหมายหรอื จากกฎ คาส่งั ทางปกครองหรอื คาส่งั อ่ืน หรอื จากการละเลย
ตอ่ หนา้ ท่ีตามท่ีกฎหมายกาหนดใหต้ อ้ งปฏิบตั ิหรอื ปฏิบตั ิหนา้ ท่ีดงั กลา่ วลา่ ชา้
เกินสมควร และเป็นเหตุทาใหผ้ ูอ้ ่ืนไดร้ บั ความเสียหาย ซ่ึงเป็นบทบัญญัติ
เก่ียวกับการกระทาละเมิดทางปกครองท่ีความเสียหายต่อผู้อ่ืนเกิดจาก
การกระทาของหน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหนา้ ท่ีของรฐั ท่ีไม่ชอบดว้ ย
กฎหมาย

ซ่ึงกรณีท่ีกล่าวมาอยู่ในเขตอานาจของศาลปกครองท่ีจะพิจารณา
พิพากษาใหห้ น่วยงานทางปกครองตอ้ งรบั ผิดชดใชค้ า่ เสียหายหรือคา่ ทดแทน

ในกรณีตา่ งๆ แก่ผเู้ สียหายอนั เกิดจากการกระทาละเมดิ ทางปกครอง

ละเมดิ ในมลู เหตุแหง่ การฟ้องคดเี ดยี วกนั

ในคดปี กครองกรณีบุคคลกบั หน่วยงานทางปกครองหรอื เจ้าหน้าทข่ี องรฐั กระทา
ละเมดิ ในมูลเหตุแห่งการฟ้องคดเี ดยี วกนั ท่คี วามเสยี หายต่อผู้อ่นื เกิดจากการกระทาของ
บุคคลและหน่วยงานทางปกครองหรอื เจา้ หน้าทข่ี องรฐั จากหลายเหตุดว้ ยกนั เม่อื มกี ารฟ้อง
หน่วยงานทางปกครองเป็นผูถ้ ูกฟ้องคดตี ่อศาลปกครองแล้ว ศาลปกครองมอี านาจสงั่ บุคคล
เข้ามาในคดีในฐานะผู้ถูกฟ้องคดีด้วยการร้องสอดตามคาสัง่ ศาล หากพิจารณาเห็นว่า
การกระทาของบุคคลทเ่ี ป็นมูลเหตุแห่งการฟ้องคดฝี ่ าฝืนบทบญั ญตั ขิ องกฎหมาย สมควรท่ี
ศาลปกครองจะคุม้ ครองสวสั ดภิ าพของสงั คมและความปลอดภยั ของประชาชนโดยทวั่ ไปจาก
การกระทาดงั กล่าว

เพอ่ื กาหนดคาบงั คบั แก่บุคคลดงั กล่าวตามบทบญั ญตั มิ าตรา ๗๒ วรรคหน่ึง แห่ง
พระราชบญั ญตั ิจดั ตงั้ ศาลปกครองและวธิ พี จิ ารณาคดปี กครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ทบ่ี ญั ญตั วิ ่า
ในการพพิ ากษาคดศี าลปกครองมอี านาจกาหนดคาบงั คบั อย่างหน่ึงอย่างใด ดงั ต่อไปน้ี (๕)
สงั่ ให้บุคคลกระทาหรอื ละเวน้ กระทาอย่างหน่ึงอย่างใดเพ่อื ใหเ้ ป็นไปตามกฎหมายนัน้ และ
ตามบญั ญตั มิ าตรา ๗๒ วรรคหา้ แห่งพระราชบญั ญตั เิ ดยี วกนั ทบ่ี ญั ญตั วิ ่า ใหน้ าบทบญั ญตั ิ
ว่าด้วยการบังคบั คดตี ามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาใช้บงั คบั โดยอนุโลม
ซ่ึงหมายถึงการให้ศาลปกครองมีอานาจกาหนดคาบงั คบั แก่บุคคลท่ีศาลสงั่ เข้ามาในคดี
ในฐานะผถู้ ูกฟ้องคดดี ว้ ยการรอ้ งสอดตามคาสงั่ ศาล

คดีปกครองเกี่ยวกบั การตงั้ ถ่ินฐานมนุษย์

HUMAN SETTLEMENT

คดนี ี้ การวนิ ิจฉัยคดขี องศาลยุตธิ รรมใช้หลกั กฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์
ส่วนการวนิ ิจฉัยคดขี องศาลปกครองควรใช้หลกั กฎหมายมหาชน

กรณศี ึกษา : คดสี ารตะกวั่ ในลาห้วยคติ ตี้

คดีปกครองเกี่ยวกบั การตงั้ ถิ่นฐานมนุษย์ HUMAN SETTLEMENT

คาแถงการณ์ ศาลปกครองสงู สดุ คดีหมายเลขดาท่ี อ.๕๙๗/๒๕๕๑ (อทุ ธรณ์คาพิพากษา)

คดนี ้ี ตุลาการผแู้ ถลงคดวี นิ ิจฉัย โดยนาหลกั กฎหมายมหาชน หลกั กฎหมายปกครองเก่ยี วกบั สง่ิ แวดลอ้ ม
และหลกั การตงั้ ถน่ิ ฐานมนุษย์ มาประกอบการวนิ จิ ฉยั คดดี งั น้ี

(๑) หลกั การตงั้ ถ่ินฐานมนุษย์ เพ่อื วินิจฉัยความสมั พนั ธ์ของเหตุและผลท่ีเกิดข้นึ โดยการวิเคราะห์
ความสมั พนั ธเ์ ชงิ พน้ื ท่ี(Spatial Analysis)ของโรงงานแต่งแร่ซง่ึ เป็นแหล่งมลพษิ ทต่ี งั้ อย่บู รเิ วณเหนือน้าว่าเป็นเหตุทม่ี ี
ความสมั พนั ธก์ บั ผล คอื ความเดอื ดรอ้ นเสยี หายของชมุ ชนคตติ ล้ี ่างและผฟู้ ้องคดที ต่ี งั้ ถนิ่ ฐานอยบู่ รเิ วณใตน้ ้า

(๒) หลกั กฎหมายมหาชน เพ่อื วนิ ิจฉัยความรบั ผดิ ชอบร่วมกนั ของหน่วยงานของรฐั ซ่งึ ทาการแทนรฐั
ภายใตห้ ลกั ความเป็นหน่ึงเดยี วของรฐั ตามเจตนารมณ์ของกฎหมายวา่ ดว้ ยการบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ

(๓) หลกั กฎหมายปกครองเก่ียวกบั สิ่งแวดล้อม เพ่อื วนิ ิจฉัยบทบญั ญตั ขิ องพระราชบญั ญตั สิ ง่ เสรมิ และ
รกั ษาคุณภาพสงิ่ แวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ ท่กี าหนดว่า เพ่อื ประโยชน์ในการร่วมกนั ส่งเสรมิ และรกั ษาคุณภาพ
สงิ่ แวดล้อมของชาติ บุคคลอาจมสี ทิ ธไิ ด้รบั ชดใชค้ ่าเสยี หายหรอื ค่าทดแทนจากรฐั ในกรณีท่ไี ด้รบั ความเสยี หายจาก
ภยนั ตรายท่เี กิดจากการแพร่กระจายของมลพษิ หรอื ภาวะมลพษิ อนั มสี าเหตุมาจากกจิ การหรอื โครงการใด ท่รี เิ ร่ิม
สนบั สนุน หรอื ดาเนินการ โดยสว่ นราชการหรอื รฐั วสิ าหกจิ โดยการตคี วามคาว่า “สนบั สนุน” หมายรวมถงึ การอนุญาต
ใหต้ งั้ โรงแต่งแรบ่ รเิ วณตน้ น้าของลาหว้ ยคตติ เ้ี หนือหมบู่ า้ นคตติ ล้ี า่ งทผ่ี ฟู้ ้องคดที งั้ ยส่ี บิ สองตงั้ ถน่ิ ฐานอยู่

(๔) หลกั ความรบั ผิดโดยเคร่งครดั (Strict Liability) เมอ่ื วนิ ิจฉยั ว่าหน่วยงานของรฐั “สนบั สนุน” ใหต้ งั้
โรงแต่งแร่ในสถานทท่ี ไ่ี ม่เหมาะสม เม่อื เกดิ ความเสยี หายรฐั ต้องรบั ผดิ โดยไม่ตอ้ งวนิ ิจฉยั ว่า รฐั ไดใ้ ชม้ าตรการทจ่ี าเป็น
ในการป้องกนั ความเสยี หายหรอื ไดใ้ ชค้ วามระมดั ระวงั ตามสมควรแลว้ หรอื ไม่

กรณศี ึกษา : คดสี ารตะกว่ั ในลาห้วยคติ ตี้

ตามหลกั ความรบั ผิดทางด้านส่ิงแวดล้อม (Environmental Liability) คดีนี้เมื่อ
บคุ คลได้รบั ความเดือดรอ้ นเสียหายจากภยนั ตรายท่ีเกิดจากการแพร่กระจายของมลพิษหรือ
ภาวะมลพิษจากแหล่งกาเนิดมลพิษ มีสิทธิได้รบั ชดใช้ค่าเสียหายหรอื ค่าทดแทน ๒ กรณี คือ

กรณีท่ีหนึ่ง สิทธิได้รบั ชดใช้ค่าเสียหายหรือค่าทดแทนจากรฐั ตามบทบญั ญตั ิ
มาตรา ๖ วรรคหน่ึง (๒) ของพระราชบญั ญตั ิส่งเสริมและรกั ษาคณุ ภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ
พ.ศ. ๒๕๓๕ ซึ่งเป็นความรบั ผิดของรฐั และ

กรณีที่สอง สิทธิได้รบั ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนหรือค่าเสียหายจากเจ้าของหรือ
ผ้คู รอบครองแหล่งกาเนิ ดมลพิษนัน้ ซ่ึงเป็ นความรบั ผิดทางแพ่งซึ่งบญั ญตั ิไว้ในมาตรา ๙๖
หมวด ๖ ความรบั ผิดทางแพ่งของพระราชบญั ญตั ิส่งเสริมและรกั ษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม
แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ ดังนั้น เมื่อมีการฟ้ องคดีเก่ียวกับสารตะกัว่ ในลาห้วยคลิตี้ทัง้ ใน
คดีปกครองท่ีศาลปกครองและคดีแพ่งที่ศาลยุติธรรม ในคดีปกครองต้องวินิ จฉัยโดยอาศยั
หลกั กฎหมายมหาชนและบทบญั ญตั ิของกฎหมายปกครองเกี่ยวกบั ส่ิงแวดล้อมเป็ นพื้นฐาน
เพื่อทาให้เหน็ ความแตกต่างของคดีสิ่งแวดล้อมในระบบยุติธรรมของประเทศไทย ระหว่าง
ความรบั ผิดของรฐั ต่อกรณีดงั กล่าวตามหลกั กฎหมายปกครองกบั ความรบั ผิดของเอกชน
ตามหลกั กฎหมายแพ่ง และหลกั กฎหมายส่ิงแวดล้อมตามข้อเทจ็ จริงที่ผ้กู ่อมลพิษจะต้องรบั

ผิดชดใช้ค่าเสียหายตามหลกั ผกู้ ่อมลพิษเป็นผจู้ า่ ย (PPP : Polluter Pays Principle)

คาแถลงการณ์ ตลุ าการผแู้ ถลงคดี ศาลปกครองสงู สดุ

คดีสารตะกวั่ ในลาห้วยคิตตี้ อาเภอทองผาภมู ิ จงั หวดั กาญจนบรุ ี

ศาลปกครองสงู สดุ คดีหมายเลขดาที่ อ. อ.๕๙๗/๒๕๕๑ (อทุ ธรณ์คาพิพากษา)

ตลุ าการผแู้ ถลงคดีวินิจฉัยคดีนี้ โดยนาหลกั กฎหมายมหาชนเก่ียวกบั การบริหารราชการแผน่ ดิน หลกั
กฎหมายปกครองเกี่ยวกบั ส่ิงแวดล้อม และหลกั การตงั้ ถิ่นฐานมนุษย์ มาประกอบการวินิจฉัยคดี คือ

(๑) หลกั การตงั้ ถ่ินฐานมนุษย์ เพื่อวินิจฉัยความสมั พนั ธข์ องเหตแุ ละผลที่เกิดขึน้ โดยการวิเคราะหค์ วามสมั พนั ธ์
เชิงพืน้ ท่ี(Spatial Analysis)ของที่ตงั้ โรงงานแต่งแรซ่ ึ่งเป็นแหล่งมลพิษท่ีตงั้ อย่บู ริเวณเหนือน้าวา่ เป็นเหตทุ ี่มีความสมั พนั ธก์ บั ผล
คือความเดือดร้อนเสียหายของชุมชนคติตี้ล่างและผ้ฟู ้องคดีทงั้ ยี่สิบสองคนท่ีตงั้ ถ่ินฐานอยู่บริเวณใต้น้า (๒) หลกั กฎหมาย
มหาชน เพ่ือวินิจฉัยความรบั ผิดชอบร่วมกนั ของหน่วยงานของรฐั ซึ่งทาการแทนรฐั ภายใต้หลกั ความเป็นหนึ่งเดียวของรฐั ตาม
เจตนารมณ์ของกฎหมายว่าด้วยการบริหารราชการแผ่นดิน (๓) หลกั กฎหมายปกครองเก่ียวกบั ส่ิงแวดล้อม เพื่อวินิ จฉัย
บทบญั ญตั ิของพระราชบญั ญตั ิ ส่งเสริมและรกั ษาคณุ ภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ ที่กาหนดว่า เพ่ือประโยชน์ในการ
ร่วมกนั ส่งเสริมและรกั ษาคณุ ภาพสิ่งแวดล้อมของชาติ บุคคลอาจมีสิทธิได้รบั ชดใช้ค่าเสียหายหรอื ค่าทดแทนจากรฐั ในกรณีท่ี
ได้รบั ความเสียหายจากภยนั ตรายที่เกิดจากการแพร่กระจายของมลพิษหรือภาวะมลพิษ อนั มีสาเหตุมาจากกิจการหรือ
โครงการใด ท่ีริเริ่ม สนับสนุน หรือดาเนิ นการ โดยส่วนราชการหรือรฐั วิสาหกิจ โดยการตีความคาว่า “สนับสนุน” หมาย
รวมถึง การอนุญาตให้ตงั้ โรงแต่งแรบ่ ริเวณต้นน้าของลาห้วยคติตี้เหนือหมบู่ า้ นคติตี้ล่างที่ผฟู้ ้องคดีทงั้ ย่ีสิบสอง ได้ตงั้ ถ่ินฐานอยู่
(๔) หลกั ความรบั ผิดโดยเคร่งครดั (Strict Liability) เมื่อวินิจฉัยว่าหน่วยงานของรฐั “สนับสนุน” ให้ตงั้ โรงแต่งแรใ่ นสถานที่ที่ไม่
เหมาะสม เมอ่ื เกิดความเสียหายรฐั ต้องรบั ผิด โดยไม่ต้องวินิ จฉัยว่ารฐั ได้ใช้มาตรการที่จาเป็นในการป้องกนั ความเสียหายหรือ
ได้ใช้ความระมดั ระวงั ตามสมควรแล้วหรอื ไม่ (๕) หลกั คดีปกครองเก่ียวกบั สิ่งแวดล้อมศาลพิพากษาเกินคาขอได้ เพื่อค้มุ ครอง
สิทธิในชีวิต (Rights to Life) และความเป็นธรรมทางสงั คม (Social Justice) คือ ความยุติธรรมท่ีตงั้ อยู่บนคณุ ค่าทางศีลธรรม
(๖) หลกั ห้ามแสวงหาผลประโยชน์จากรฐั โดยไม่มีเหตุผลสมควร กรณีการเรียกดอกเบี้ยจากเงินค่าชดเชยความเสียหาย (๗)

หลกั การฟ้องคดีปกครองไม่ต้องเสียค่าธรรมเนียมศาล โดยสงั่ คืนค่าธรรมเนียมศาลแก่ผฟู้ ้องคดี

กรณศี ึกษา : คดซี านตกิ ้าผบั

กรณศี ึกษา คดซี านตกิ ้าผบั

( ศาลปกครองกลาง คดีหมายเลขดาที่ ๑๑๘๘/๒๕๔๕ คดีหมายเลขแดงท่ี ๑๔๔๔/๒๕๔๕ )

ประเด็นตอ้ งวินิจฉัยต่อไปว่า การที่ผถู้ ูกฟ้องคดีโดยผวู้ ่าราชการกรุงเทพมหานคร ในฐานะ
เจ้าพนักงานท้องถ่ินละเลยต่อหน้าที่ตามที่กฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคารกาหนดให้ตอ้ งปฏิบตั ิ
เป็ นการกระทาละเมิดทางปกครองตามบทบญั ญตั ิมาตรา ๙ วรรคหน่ึง (๓) ของพระราชบญั ญตั ิจดั ต้งั
ศาลปกครองและวิธีพจิ ารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ หรือไม่ อยา่ งไร

เห็นว่า การท่ีผถู้ ูกฟ้องคดีโดยผวู้ า่ ราชการกรุงเทพมหานครในฐานะเจา้ พนกั งานทอ้ งถิ่นละเลย
ต่อหนา้ ท่ีตามที่กฎหมายว่าดว้ ยการควบคุมอาคารกาหนดให้ตอ้ งปฏิบตั ิ มีความสัมพนั ธ์กบั ผลท่ีตามมา
คือ มีผเู้ สียชีวิตและบาดเจ็บจานวนมาก จึงถือว่า ผูถ้ ูกฟ้องคดีกระทาละเมิดทางปกครองอนั เกิดจากการ
ละเลยต่อหน้าท่ีตามที่กฎหมายกาหนดให้ต้องปฏิบัติ ตามนัยมาตรา ๙ วรรคหน่ึง (๓) แห่ง
พระราชบญั ญตั ิจดั ต้งั ศาลปกครองและวธิ ีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒

วิธีคิดเกี่ยวกบั ค่าเสียหายทางจิตใจ
ของตลุ าการและผพู้ ิพากษาในกระบวนการยตุ ิธรรมของไทย

กรณี ค่าเสียหายทางจิ ตใจจากการกระทาละเมิ ดทาให้ถึงแก่ความตาย
คาพิ พากษาของศาลในกระบวนการยุติ ธรรมทางแพ่งและศาลในกระบวนการยุติ ธรรม

ทางปกครองของประเทศไทย ได้วางหลกั การชดใช้ค่าเสียหายหรอื ค่าทดแทนไว้ว่า
ศาลไม่อาจกาหนดค่าเสียหายทางจิตใจให้ได้ เนื่ องจากไม่มีบทบญั ญัติแห่ง

กฎหมายให้เรียกร้องค่าเสียหายทางด้านจิตใจได้ เช่น คาวินิ จฉัยว่า การตายจากการกระทา
ละเมิดไม่มีบทกฎหมายบญั ญตั ิให้เรียกร้องค่าสินไหมทดแทนเพ่ือความทุกขโ์ ทมนัสได้ หรือ
สา มี ไม่มี สิ ท ธิ ฟ้ องเรี ยก ค่ า เสี ยหาย ทา งจิ ตใ จที่ เกิ ดจาก คว าม ว้า เหว่เ น่ื องจา ก
การสูญเสียภริยาผ้เู คยปฏิบตั ิให้ชีวิตของสามีมีความสุขสบายจากผ้ทู ่ีทาให้ภริยาของตนถึง
แก่ความตาย เพราะกฎหมายไม่ได้บัญญัติ ไว้ให้เรียก ค่าสิ นไหมทดแทนได้ หรือ
การละเมิดทาให้บุตรชายเสียชีวิตท่ีเป็ นเหตใุ ห้โศกเศร้าเสียใจและผิดหวงั นัน้ แม้จะเป็นบิดา
ตามกฎหมายก็ตามแต่ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ไม่ได้บญั ญตั ิให้เรียกค่าสินไหม
ทดแทนได้ หรือไม่มีบทกฎหมายที่บญั ญตั ิให้มารดาเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนเพ่ือความ
ชอกชา้ ระกาใจในเหตทุ ่ีตนต้องสญู เสียบตุ รจากการกระทาละเมิดได้ เป็นต้น

ห้ามไมใ่ ห้ศาลปฏิเสธไม่ยอมพิพากษาหรือมีคาสงั่ ชี้ขาดคดี
โดยอ้างว่าไม่มีบทบญั ญตั ิแห่งกฎหมาย

ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งบญั ญตั ิหลกั กฎหมายทวั่ ไป
ไว้ในลกั ษณะ ๖ คาพิพากษาและคาสงั่ หมวด ๑ หลกั ทวั่ ไปว่าด้วยการชี้ขาด
ตดั สินคดี

มาตรา ๑๓๔ บญั ญตั ิว่า ไม่ว่ากรณีใดๆ ห้ามมิให้ศาลท่ีรบั ฟ้องคดีไว้
ปฏิเสธไม่ยอมพิพากษาหรือมีคาสงั่ ชี้ขาดคดี โดยอ้างว่าไม่มีบทบญั ญตั ิแห่ง
กฎหมายที่จะใช้บงั คบั แก่คดี หรือว่าบทบญั ญตั ิแห่งกฎหมายที่จะใช้บงั คบั นัน้
เคลือบคลมุ หรอื ไม่บริบรู ณ์

ดงั นัน้ ศาลในกระบวนการยตุ ิธรรมของประเทศไทยซ่ึงเป็นองคก์ รใช้
อานาจอธิ ปไตยของรัฐ จึงไม่อาจปฏิ เสธการอานวยความยุติ ธรรมแก่

ประชาชนโดยอ้างว่าไม่มีกฎหมาย โดยเฉพาะศาลปกครองในฐานะองค์กร
ใช้อานาจอธิปไตยของรฐั ต้องอดุ ช่องว่างทางกฎหมาย (Filling Gaps in Law)
เพ่ือให้เกิดความเป็นธรรมทางสงั คมและอานวยความยตุ ิธรรมแก่ประชาชน

วิธีคิดของ ตลุ าการผแู้ ถลงคดี ศาลปกครองสงู สดุ

ปัจจุบนั รฐั สภาได้บญั ญตั ิความหมาย “ความเสียหายต่อจิตใจ” ไว้ในมาตรา ๔ แห่ง
พระราชบญั ญัติความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย พ.ศ. ๒๕๕๑
ว่า “ความเสียหายต่อจิตใจ” หมายความว่า ความเจบ็ ปวด ความทุกข์ทรมาน ความหวาดกลวั
ความวิตกกงั วล ความเศร้าโศกเสียใจ ความอบั อาย หรือความเสียหาย ต่อจิตใจอย่างอื่นท่ีมี
ลกั ษณะทานองเดียวกนั จะเห็นว่า การท่ีรฐั สภาบญั ญตั ิความหมายของความเสียหายต่อจิตใจ
ซึ่งเป็ นเร่ืองความรู้สึกของมนุษย์ท่ีลึกซึ้งและละเอียดอ่อนไว้ เป็ นการยืนยันข้อเท็จจริงว่า
ความเสียหายทางจิตใจมีอย่จู ริงในสงั คม แม้ว่าความเสียหายต่อจิตใจไม่มีรปู ร่างท่ีสามารถมองเหน็
ได้อย่างความเสียหายที่มีรปู ร่างทางร่างกายหรือทรพั ยส์ ิน

กรณีการตายของบุคคลอนั เป็ นท่ีรกั เป็ นข้อเทจ็ จริงที่สมั พนั ธ์กบั พฤติกรรมของมนุษย์
(Human Behaviour) ตามหลักมนุษยศาสตร์ (Humanities) อันเป็ นศาสตร์ที่มุ่งทาความเข้าใจ
เกี่ยวกบั พฤติกรรมของมนุษย์ท่ีได้แสดงออกมา เช่น ความรู้สึกนึกคิด ความรู้สึกทางอารมณ์
จินตนาการ ความฝัน คณุ ค่า คณุ ธรรม และจริยธรรม นอกจากนี้ ความเศร้าโศกเสียใจในการตาย
ของบุคคลอนั เป็ นที่รกั ถือเป็ นความทุกข์ (Suffer) ซึ่งเป็ นความจริง (Truth) หนึ่งในสี่ประการของ
อริยสัจส่ี (The Four Noble Truths) ตามหลักพุทธศาสนา (Buddhist Principles) ปรากฏตาม
พระพทุ ธพจน์ของพระสมั มาสมั พทุ ธเจ้าท่ีแสดงไว้ในธมั มจกั กปั ปวตั นสูตรว่า การพลดั พรากจาก
สิ่งที่รักเป็ นทุกข์ (ปิ ยาน อทสฺสน ทุกฺข) ซ่ึงเป็ นปรัชญาทางศาสนา (Philosophy) อันย่ิงใหญ่
โดยศาสดาของโลกฝ่ ายตะวนั ออก

กรณีศึกษาความรบั ผิดเพื่อความเสียหายทางจิตใจ[1]

(C.E. Ass, ๒๔ nov.๑๙๖๑, Min des Travaux publics c./consorts Letisserand ๑๓e éd., p.๕๖๕)

คดนี ้ี ได้เกิดอุบตั ิเหตุรถบรรทุกของหน่วยงานการทางสาธารณะชนกบั รถจกั รยานยนต์ ท่มี ีนายปอล เลอติสเซอรองค์
(P.Letisserand) เป็นผขู้ บั โดยมบี ุตรชายอายุเจด็ ขวบซอ้ นทา้ ยมผี ลให้ นายปอล เลอตสิ เซอรองค์ และบุตรชายเสยี ชวี ติ ภรรยาของนาย
ปอลฯ จงึ ฟ้องเรยี กรอ้ งค่าเสยี หายจากฝ่ายปกครองทงั้ ในนามของตนเอง และในนามผแู้ ทนโดยชอบธรรมของบุตรสามคนทย่ี งั ไม่บรรลุนิติ
ภาวะ นอกจากน้ี นายคามลิ ล์ เลอตสิ เซอรองค์ บดิ าและป่ขู องผตู้ ายกไ็ ดฟ้ ้องเรยี กรอ้ งคา่ เสยี หายดว้ ย สภาแหง่ รฐั ไดว้ นิ ิจฉยั ใหภ้ รรยาของ
นายปอลฯ ไดร้ บั ชดใชค้ า่ สนิ ไหมทดแทนเพอ่ื ความเสยี หายทเ่ี กดิ ขน้ึ จรงิ ไมว่ า่ จะเป็นคา่ ซ่อมรถจกั รยานยนต์ คา่ ขาดรายไดจ้ ุนเจอื ครอบครวั
ค่าความยุ่งยากในการดาเนินชวี ติ โดยปราศจากผตู้ าย สว่ นความเสยี หายของนายคามลิ ลฯ์ นนั้ สภาแห่งรฐั วินิ จฉัยว่า แม้นายคามิลลฯ์
จะไม่สามารถเรียกร้องค่าเสียหายทางข้อเท็จจริงใดๆ รวมทงั้ ความยุ่งยากใดๆ ในการดารงชีวิตท่ีตนได้รบั จากการตายของ
นายปอลฯ บุตรชายของตน แต่ความเจบ็ ปวดทางจิตใจอนั เกิดจากความสูญเสียบุตรก่อนวยั อนั ควรก็เป็ นส่ิงที่ก่อให้เกิด
ความเสียหายที่จะต้องได้รบั การเยียวยาด้วย

คดีนี้นับเป็ นคดีแรกที่สภาแห่งรฐั (โดยท่ีประชุมใหญ่) ยอมรบั อย่างชดั แจ้งว่า ความเสียหายจากความทุกข์
ทรมานทางจิตใจเพราะสูญเสียบุคคลใกล้ชิดนัน้ สามารถได้รบั การเยียวยา เป็ นตวั เงินได้ โดยตุลาการผ้แู ถลงคดีฮูแมน
(Heumann) ได้เสนอแนวทางในการวินิ จฉัยเรื่องค่าเสียหายทางจิตใจไว้ในคดีนี้ว่า ความทุกขท์ รมานทางจิตใจนัน้ ควรได้รบั
การเยียวยา แม้การเยียวยาเป็ นตวั เงินจะไม่สามารถทดแทนความร้สู ึกเสียใจหรือความทุกขท์ รมานทางจิตใจ แต่เหตุนี้ไม่
น่าจะเป็นสาเหตทุ าให้เขาต้องไม่ได้รบั การเยียวยาใดๆ เลย นอกจากนี้ การชดใช้ค่าสินไหมทดแทนให้กบั ผเู้ สียหายในกรณีนี้
กม็ ิใช่มุ่งเพื่อทดแทนสิ่งท่ีเขาต้องสูญเสียไป แต่เพ่ือให้ผ้นู ัน้ ได้รบั ความพอใจในบางส่วนซึ่งอาจทาให้ความเสียใจเจือจางลง
หรือลดลงจนไม่มีเหลือเลย เพราะตุลาการผ้แู ถลงคดีเชื่อว่าผลประโยชน์ทางการเงินท่ีได้รบั จากการชดเชยสามารถจะ
เยียวยาหรือทาให้สภาพทางจิตใจของผ้เู สียหายดีขึน้ ได้ และสภาแห่งรฐั กไ็ ด้วินิ จฉัยว่าความเสียใจของผเู้ สียหายซึ่งเป็นบิดา
ของผเู้ สียชีวิตนี้ สามารถก่อให้ความเสียหายท่ีจะได้รบั การชดใช้เยียวยาได้

[1]บุบผา อคั รพิมาน, คาวินิ จฉัยและข้อสงั เกตในคดีเก่ียวกบั ความรบั ผิดของฝ่ ายปกครองในระบบกฎหมายฝรงั่ เศส, ศนู ยศ์ ึกษากฎหมายปกครอง
เปรียบเทียบ สานักวิจยั และวิชาการ สานักงานศาลปกครอง, http:www.admincourt .go.th/oo_web/og_academic/document/foreing 1.pdf

คดฟี าร์มเลยี้ งสุกรขนาดใหญ่

7/4/2022 536

ปล่อยนา้ เสียและมูลสุกรไหลลงทน่ี าและลาคลองสาธารณะ

537

กรณีศึกษา

การวางหลกั การปฏิบตั ิราชการที่ดี

Good Governance
ในคดีปกครองเก่ียวกบั

การผงั เมอื ง อาคาร และเหตเุ ดือดรอ้ นราคาญ

วิเคราะหว์ ิธีคิดของตลุ าการ

How Judges Think

กรณศี ึกษา
คดกี ารวางท่อส่งก๊าซธรรมชาติ ของ ป.ต.ท. ผ่านใต้ดนิ หมู่บ้านจดั สรร

คาแถลงการณ์ของตลุ าการผแู้ ถลงคดี ศาลปกครองสงู สดุ คดีหมายเลขดาที่ อ.๔๗๕/๒๕๕๓ (อทุ ธรณ์คาพิพากษา)

คดีนี้ ศาลปกครองชนั้ ต้นมีคาพิพากษายกฟ้อง คาขอให้ศาลมีคาพิพากษาหรือคาสงั่ (๑) ให้ผ้ถู กู ฟ้องคดีรือ้ ถอนท่อส่งกา๊ ซ

ธรรมชาติออกไปวางในแนวอ่ืนให้พ้นจากหม่บู ้านอาสาเฮ้าส์ และ (๒) ให้ผถู้ กู ฟ้องคดีทาการกลบฝังให้พืน้ ดินเข้าส่สู ภาพเดิม
กรณีค่าทดแทนความด้อยค่าในการอย่อู าศยั และความด้อยค่าในทรพั ยส์ ินของประชาชนจากการวางท่อส่งกา๊ ซธรรมชาติ
ตุลาการผ้แู ถลงคดี ศาลปกครองสูงสุด เห็นว่า รฐั ท่ีดีมีพนั ธกิจท่ีจะต้องรบั รองและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและสิทธิพลเมือง

ซ่ึงตามกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง ค.ศ.๑๙๖๖ หรือ ICCPR (International Covenant on Civil and
Political Rights, ๑๙๖๖) Article ๑๗ ที่บญั ญตั ิว่า (๑) No one shall be subjected to arbitrary or unlawful interference with his privacy,
family, home or correspondence, nor to unlawful attacks on his honour and reputation. (๒) Everyone has the right to the protection of
the law against such interference or attacks. ซ่ึงประเทศไทยได้เข้าเป็ นภาคีของสนธิสญั ญาดงั กล่าว ได้มีการรบั รองและคุ้มครองสิทธิของ
บุคคลในที่อยู่อาศยั และในทรพั ย์สิน จากการไม่ถกู รบกวนในการอยู่อาศยั และการใช้ประโยชน์ในทรพั ย์สิน ซ่ึงตามเจตนารมณ์ของการ
ค้มุ ครองสิทธิท่ีกล่าวมา หมายรวมถึง การไม่ถกู รบกวนจากการดาเนิ นกิจการทางปกครองหรือการจดั ทาบริการสาธารณะที่มีอนั ตรายโดย
สภาพ เช่น คลงั น้ามนั คลงั กา๊ ซ คลงั เกบ็ สารเคมีชนิ ดร้ายแรง ท่อส่งวตั ถอุ นั ตราย หรือโรงปฏิกรณ์นิ วเคลียร์ เป็ นต้น เน่ืองจากโดยสภาพของ
กิจการท่ีกล่าวมาถือว่าเป็นสิ่งคกุ คามทาให้เกิดความด้อยค่าในการอย่อู าศยั ของประชาชนและต่อทรพั ยส์ ินของบุคคล ดงั นัน้ เมื่อมีการดาเนิน
กิจการทางปกครองหรือบริการสาธารณะ ท่ีมีอนั ตรายโดยสภาพดงั กล่าว รฐั ที่ดีจึงมีหน้าที่ต้องเยียวยาความเสียหายหรือจ่ายค่าทดแทนความ
ด้อยค่าในการอย่อู าศยั และความด้อยค่าในทรพั ยส์ ินแก่ประชาชนที่ถกู รบกวนสิทธิในการอย่อู าศยั และในทรพั ยส์ ินดงั กล่าว รฐั ท่ีดีจึงมีหน้าท่ี
เยียวยาความเสียหายหรือจ่ายค่าทดแทนความด้อยค่าในการอยู่อาศยั และความด้อยค่าในทรพั ยส์ ินแก่ประชาชนที่ถกู รบกวนสิทธิในการอยู่
อาศยั และในทรพั ยส์ ิน เพ่ือแสดงออกถึงความรบั ผิดชอบและการให้ความธรรมแก่ประชาชนของตน ศาลปกครองจึงต้องวางหลกั เพ่ือให้
หน่วยงานของรฐั กาหนดระเบียบการปฏิบตั ิราชการสาหรบั เยียวยาความเสียหายหรือจ่ายค่าทดแทนความด้อยค่าในการอยู่อาศยั และ
ความด้อยค่าในทรพั ยส์ ินแก่ประชาชนในกรณีดงั กล่าวต่อไป

กรณีศึกษา : ความเส่ียงภยั จากวตั ถทุ ่ีมีอนั ตรายโดยสภาพ

จากการรายงานขา่ วของสานกั ขา่ วเอพี เอเอฟพี และรอยเตอร์ รายงานว่า
เม่ือช่วงเท่ียงคืนวันท่ี ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๕๗ ตามเวลาท้องถิ่นของไต้หวัน
เกดิ ระเบดิ ขน้ึ จากใตด้ นิ อย่างน้อย ๕ ครงั้ ใน ย่านเฉียนเจน้ิ เมอื งเกาสง ไตห้ วนั ทม่ี ี
ทงั้ โรงงานและทอ่ี ยู่อาศยั เกดิ ไฟลุกท่วมสงู เหนือทอ้ งฟ้าและลุกไหมต้ ามท้องถนน
หลายสาย ส่งผลใหม้ ผี ูเ้ สยี ชวี ติ อย่างน้อย ๒๕ ราย และบาดเจบ็ อกี กว่า ๒๗๐ คน
เจา้ หน้าทเ่ี ชอ่ื วา่ เหตรุ ะเบดิ เกดิ จากการรวั่ ไหลของก๊าซในทอ่ สง่ ก๊าซใตด้ นิ แรงระเบดิ
ท่ีรุนแรงทาให้รถยนต์กระเด็นและพ้ืนถนนแยกออกจากกัน ผู้อานวยการ
ศูนย์ปฏิบตั ิการภยั พบิ ตั ฉิ ุกเฉินของไต้หวนั คาดว่าสาเหตุของการระเบดิ เกดิ จาก
การรวั่ ไหลของก๊าซโพรเพนวตั ถุดบิ ทางดา้ นปิโตรเคมซี ง่ึ จะไม่สามารถใชน้ ้าในการ
ดบั ไฟไดต้ อ้ งใหก้ ๊าซเผาไหม้ หมดไปเอง โดยสง่ิ ทต่ี อ้ งทาลาดบั แรกคอื การชว่ ยเหลอื
ประชาชน และขอใหป้ ระชาชนทอ่ี ยู่ตามแนวท่อ ส่งก๊าซอพยพออกจากพ้นื ท่เี พ่อื
ความปลอดภยั (ที่มา...หนงั สือพมิ พม์ ติชนออนไลน์ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2557 เวลา 22:30:54 น.

คาแถลงการณ์ ตลุ าการผแู้ ถลงคดี ศาลปกครองสูงสุด คดีหมายเลขดาที่ อ.๔๗๕/๒๕๕๓ การวางท่อส่งกา๊ ซธรรมชาติ
ของ ป.ต.ท. ผา่ นใต้ดินหม่บู า้ นจดั สรร เขียนก่อนเกิดเหตกุ ารณ์ท่อส่งกา๊ ซใต้ดินท่ีเมืองเกาสงระเบิด เป็นเวลา ๔ ปี

ย่านเฉียนเจิ้น เมอื งเกาสง ไต้หวนั

คดีเขตทหารปราณบรุ ี

ศาลปกครองสงู สดุ

คดีหมายเลขดาท่ี อ.๖๕๑/๒๕๕๓ คดีหมายเลขแดงท่ี อ. ๘๑๓/๕๖

ศาลปกครองสงู สดุ มีคาพิพากษายกฟ้อง

การขออนุญาตปักเสาพาดสายไฟฟ้าให้แก่ประชาชนในพืน้ ท่ีเขตทหาร

วิเคราะห์

การดาเนิ นกิจกรรมทางปกครอง
ที่มีลกั ษณะเป็นการกระทาทางกายภาพ
ความชอบด้วยกฎหมายกบั ความเป็นธรรมทางสงั คม

ในการตงั้ ถ่ินฐานของมนุษย์

ข้อเท็จจริงรับฟังได้ว่า ตามบนั ทึกการประชุมคณะอนุกรรมการสารวจที่ดินก่อสร้างศูนยก์ ารฝึ กกาลงั

ทดแทนปราณบุรี คร้ังท่ี ๒ วนั ท่ี ๑๘ มิถุนายน ๒๔๙๙ ซ่ึงมี ผบ.ศฝ. เป็ นประธานที่ประชุมกล่าวว่า
จุดมุ่งหมายขอให้เจรจาประนีประนอมกบั ผคู้ รอบครองท่ีดินดว้ ยดี ถา้ รายใดยนิ ยอมก็ใหท้ าหลกั ฐาน

เป็ นสัญญาใหเ้ รียบร้อยถา้ รายใดไม่ยนิ ยอมให้รวบรวมเสนอคณะกรรมการพิจารณา และรอง ผบ.ศฝ.
ไดช้ ้ีแจงใหท้ ี่ประชุมทราบวา่ จอมพล ป. เห็นวา่ การเวนคืนจะเป็นการเดือดร้อนแก่ราษฎรจึงใหท้ าใน
รูปขอสงวนท่ีดิน ต่อมาตามบนั ทึกการประชุมคณะกรรมการพิจารณาจดั ซ้ือและชดใชค้ ่าท่ีดิน คร้ังที่
๓ ณ ห้องประชุมกรมยุทธศึกษาทหารบก วนั ที่ ๒๗ สิงหาคม ๒๔๙๙ ผบ. ศฝ. แจง้ ต่อที่ประชุมว่า

ตามสัญญาตกลงกบั ผูร้ ับเหมาทาการถากถางแนวถนน กาหนดเขตให้ถากถางกวา้ ง ๖๐ เมตร แต่

กรรมการไดเ้ จรจาจดั ซ้ือที่ดินและอสังหาริมทรัพยต์ ลอดแนวถนนเขตถนนเพียง ๔๐ เมตร จึงเกิด
ปัญหาเร่ืองท่ีดินและสิ่งปลูกสร้างของประชาชนท่ีเลยเขตไปขา้ งละ ๑๐ เมตร ขณะน้ีเจา้ ของท่ีดินได้
ยบั ย้งั ไม่ยอมให้ผรู้ ับเหมาถางถางเลยเขา้ ไป จึงให้ดาเนินการเจรจาและแจง้ กรมการอาเภอทราบแนว
เขตถนนที่จะสร้าง ๖๐ เมตร เพราะเดิมแจ้งต่ออาเภอว่า ๔๐ เมตร และตามบันทึกการประชุม

คณะกรรมการพิจารณาจดั ซ้ือและชดใชค้ ่าที่ดินร่วมกบั ฝ่ ายปกครองจงั หวดั ประจวบคีรีขนั ธ์ ณ อาเภอ
ปราณบุรี คร้ังที่ ๒ วนั ท่ี ๒๒ ธันวาคม ๒๔๙๙ สรุปว่า วนั ที่ ๒๔ กนั ยายน ๒๔๙๙ ราษฎรอาเภอ
หัวหินร้องทุกขต์ ่อ ท่านผูห้ ญิงละเอียด พิบูลสงคราม เสนอให้รัฐบาลถอยแนวเขตที่ต้งั ศูนยก์ ารฝึ ก
กาลงั ทดแทนห่างจากเขตรถไฟทางทิศตะวนั ตก ๕ กิโลเมตร เดือนตุลาคม ๒๔๙๙ ประชาชนรวม
๑๐๘ คน ร้องทุกขถ์ ึงนายกรัฐมนตรีขอใหท้ างราชการใชท้ ่ีดินเฉพาะเท่าที่ทางราชการจาเป็น

การไม่อนุญาตให้ปักเสาพาดสายระบบจาหน่ายไฟฟ้าในพืน้ ทเ่ี ขตทหาร
ความชอบด้วยกฎหมายกบั ความเป็ นธรรมทางสังคม

มูลเหตุแห่งการฟ้องคดีส่วนหนึ่งเป็ นปัญหาจากการออกหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวงบน
พืน้ ทท่ี ปี่ ระชาชนอาศัยอยู่แต่เดมิ และการดาเนินการในพืน้ ท่ีดงั กล่าวไม่เรียบร้อยมาต้ังแต่ต้น ซ่ึงปรากฏ
การร้องเรียนขอความเป็ นธรรมของประชาชนต่อทางราชการเก่ียวกับการจัดต้ังศูนย์ฝึ กกาลงั ทดแทน
ปราณบุรีซ่ึงต่อมาเปลี่ยนเป็ นศูนย์การทหารราบค่ายธนะรัชต์มาต้ังแต่เริ่มต้นของการดาเนินงานในปี
พ.ศ. ๒๔๙๙ และมีการขยายครัวเรือนของลูกหลานของผู้ท่ีอาศัยอยู่เดิม อกี ส่วนหนึ่งเป็ นปัญหามาจาก
ประชาชนท่เี ข้าไปต้งั ถนิ่ ฐานในพืน้ ที่ภายหลงั การออกหนังสือสาคญั สาหรับที่หลวงแล้ว

ซ่ึงต่อมาผู้ถูกฟ้องคดีท่ี ๒ ได้กาหนดแนวทางแก้ไขปัญหาเกยี่ วกบั ราษฎรดังกล่าว จานวน
๗ ข้ันตอน คือ (๑) ทาบัญชีที่ดินพร้อมหลักฐานการได้มากาหนดตาแหน่งและพื้นที่จริง กาหนด
ขอบเขตหรือกาหนดแปลงท่ีดิน โดยประมาณท่ีจะกันไว้หรือขอใช้และประมาณการค่าใช้จ่ายในการ
สารวจทางกายภาพและทาแผนท่ีภาพถ่ายทางอากาศ (๒) กาหนดแปลงหรือพื้นท่ที ี่จะดาเนินการสารวจ
ทางกายภาพและจัดทาแผนท่ีทางอากาศ (๓) สารวจทางกายภาพ พร้อมทาแผนท่ีภาพถ่ายทางอากาศ
เพ่ือประกอบการตรวจสอบสิทธิการครองครอง และกาหนดขอบเขตพื้นท่ีท่ีจะกนั ไว้ใช้ประโยชน์ (๔)
ตรวจสอบสิทธิการครอบครอง (๕) จัดทาแผนข้ันตอนในการโยกย้ายราษฎรและกาหนดแนวเขตถาวร
(๖) จัดทาแผนงาน โครงการในรายละเอยี ดในการโยกย้ายราษฎรจัดทาแนวเขตถาวรและการดูแลรักษา
(๗) ดาเนินการตามแผนงานโครงการในลาดบั (๖)

ตลุ าการผแู้ ถลงคดี ศาลปกครองสงู สดุ วินิจฉัยดงั นี้

ตุลาการผู้แถลงคดี วินิจฉัยว่า เจตนารมณ์ท่ีสาคญั ประการหน่ึงของรัฐธรรมนูญแห่ง
ราชอาณาจกั รไทยท่ีผา่ นมาและท่ีใชบ้ งั คบั อยใู่ นปัจจุบนั คือ กาหนดใหก้ ารใชอ้ านาจโดยองคก์ รของ
รัฐ ทุกองคก์ รตอ้ งคานึงถึงศกั ด์ิศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิและเสรีภาพตามบทบญั ญตั ิของรัฐธรรมนูญ
และกาหนดใหบ้ ุคคลสามารถใชส้ ิทธิทางศาลเพ่ือบงั คบั รัฐตอ้ งปฏิบตั ิตามได้ เน่ืองจากรัฐมีหนา้ ท่ีต่อ
พลเมืองของตนตามหลกั ความรับผิดชอบของรัฐทางดา้ นสิทธิมนุษยชน โดยเฉพาะการให้ความ
ช่วยเหลือดา้ นมนุษยธรรมแก่พลเมืองของรัฐ เพอ่ื ใหส้ ิ่งที่จาเป็นต่อการดารงชีวติ โดยไม่เลือกปฏิบตั ิ

ซ่ึงพนั ธกรณีดา้ นสิทธิมนุษยชนตามบทบญั ญตั ิของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย
คือ การทาให้เกิดผลในทางปฏิบตั ิเพ่ือให้ประชาชนสามารถดารงชีวิตอยู่ดว้ ยสุขภาวะท่ีดี เพ่ือให้
ประชาชนมีความมน่ั คงในชีวติ หรือเพ่ือใหป้ ระชาชนสามารถพฒั นาตนเองต่อไปได้ ซ่ึงเรื่องดงั กล่าว
รัฐสภาไดต้ รากฎหมายว่าดว้ ยการบริหารราชการแผน่ ดินกาหนดให้หน่วยงานของรัฐและเจา้ หนา้ ที่
ของรัฐซ่ึงทาการแทนรัฐตอ้ งทาหน้าที่บริหารราชการให้เป็ นไปเพ่ือประโยชน์สุขของประชาชน
ดังน้ัน ผูถ้ ูกฟ้องคดีที่ ๒ ในฐานะหน่วยงานของรัฐตามพระราชบญั ญตั ิระเบียบบริหารราชการ
แผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ จึงมีหน้าที่บริหารราชการให้เป็ นไป เพื่อประโยชน์สุขของประชาชนตาม

เจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทยและกฎหมายวา่ ดว้ ยการบริหารราชการแผน่ ดิน

ตลุ าการผแู้ ถลงคดี ศาลปกครองสงู สดุ วินิจฉัยดงั นี้

สาหรับข้อกล่าวอ้างของผู้ถูกฟ้องคดีท่ี ๒ ท่ีว่า หน่วยงานของรัฐไม่มีหน้าที่ตามกฎหมาย
ท่ีจะต้ องอานวยความสะดวกในการจัดหาไฟฟ้ าหรื อน้าประปาให้ แก่ ผู้ท่ีบุกรุ กเข้ าครอบครองที่ดิน
สาธารณสมบัติของแผ่นดินที่ใช้ เพื่อประโยชน์ของแผ่นดินโดยเฉพาะแต่อย่างใด การอานวย
ความสะดวกดังกล่าวจะเป็ นการส่ งเสริมและสนับสนุนผู้ท่ีกระทาการที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายและ
เป็ นมูลเหตุชักจูงใจให้มีการละเมิดต่อกฎหมายมากขึน้ และเป็ นปัญหาอุปสรรคสาคัญในแก้ไขปัญหา

การบุกรุกทส่ี าธารณสมบตั ขิ องแผ่นดนิ อกี ด้วยน้ัน
ตุลาการผู้แถลงคดี วินิจฉัยว่า ตามหลักกฎหมายมหาชนการใช้อานาจรัฐเพ่ือให้บรรลุผล

ในภารกจิ พืน้ ฐานของรัฐ หากก่อให้เกดิ อนั ตรายหรือความเดือดร้อนต่อพลเมืองของตน โดยไม่มีเหตุผล
อนั สมควรถือว่าไม่ใช่วตั ถุประสงค์ของรัฐ ซ่ึงในการปฏิบัติราชการตามอานาจหน้าทข่ี องหน่วยงานของ
รัฐหรื อเจ้ าหน้ าท่ีของรัฐเมื่อมีทางเลือกหลายแนวทางจะต้ องเลือกแนวทางท่ีก่ อให้ เกิดความเดือดร้ อน
เสียหายน้อยท่ีสุดแก่ประชาชน เพราะความถูกต้องตามกฎหมายจะได้มาซ่ึงความชอบธรรมทาง
กฎหมายจะต้องประกอบด้วยมิติทางด้านศีลธรรมของกฎหมาย โดยเฉพาะอย่างยงิ่ ต้องมีความชอบด้วย
เหตุผลซึ่งมีเนื้อหาทางศีลธรรมอยู่ในตัว ในกรณีนี้ผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๒ สามารถดาเนินการตามแนว
ทางแก้ไขปัญหาเกีย่ วกับราษฎรในพื้นที่ราชพสั ดุแปลงหมายเลขทะเบียนที่ ปข. ๓๐๙ อาเภอปราณบุรี
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ตามท่ีกาหนดไว้จานวน ๗ ข้ันตอน ซ่ึงขณะนี้ดาเนินการถึงข้ันตอนที่ ๔ ไป

พร้อมกบั การดาเนินการทางด้านมนุษยธรรมได้

“กฎหมายของอนาคต”

กรณศี ึกษา : การต้งั ถนิ่ ฐานของมนุษย์ (HUMAN SETTLEMENT)

ศาลปกครองควรจะมีอานาจพิจารณา
พิพากษาคดีที่หน่วยงานของรัฐไปกระทาการ
ละเมิ ดต่ อสิ ทธิ ในชี วิตของมนุ ษย์ชาติ
และสิ ทธิ ของธรรมชาติในดินแดนของ
ประเทศอื่นหรือไม่เพียงใด ?

547

“กฎหมายมหาชนเป็ นกฎหมายของอนาคต”

ศาสตราจารย์ ดร. อมร จนั ทรสมบูรณ์ กล่าวว่า
กฎหมายมหาชน เป็ นเรื่องของนิติปรัชญา(วธิ ีคดิ )ที่ใช้กฎหมายเป็ นเคร่ืองมือ
ของสังคม และนาวิธีคดิ น้ันมาใช้ในการจัดองค์กรและการบริหารสังคม โดย
การตรากฎหมายท่ีมีการวิเคราะห์ ทางวิชาการและทางตรรกะ กฎหมาย
มหาชนจึงเป็ นกฎหมายของอนาคต และไม่ว่ากฎหมายมหาชนจะแยกสาขา
กฎหมายออกไปกสี่ าขา แต่แต่ละสาขาจะอย่ใู นกรอบของนิติปรัชญาเดยี วกนั
คอื การใช้กฎหมายเป็ นเคร่ืองมือของสังคมอย่างมีจดุ หมายและมีระบบกลไก
ท่ีมีการ Rationalized ในทางวิชาการ ไม่ว่าสังคมนั้นจะมีความหมายถึง
ประโยชน์ส่วนรวมของประชาชนภายในรัฐ หรือสังคมน้ันจะมีความหมาย
ถงึ ประโยชน์ส่วนรวมของโลกหรือมนุษยชาติ

ศาสตราจารย์ ดร. อมร จันทรสมบูรณ์ กฎหมายมหาชนกบั ทศิ ทางของประเทศไทย ๒๕๔๓ หน้า ๒๕ และ ๕๗

“กฎหมายของอนาคต”

นายกฯสงั่ ชะลอสรา้ งเขือ่ น"ฮตั จี" รอ
ทา"อีไอเอ-ประชาพิจารณ์"ฝัง่ ไทยตลอด

แนวลาน้ า

คณะกรรมการติดตามการแก้ไขปัญหาการละเมิด

สทิ ธมิ นุษยชนจากโครงการก่อสร้างเข่อื น "ฮตั จ"ี
กนั้ แมน่ ้าสาละวนิ ใหส้ มั ภาษณ์เมอ่ื วนั ท่ี 16 กุมภาพนั ธ์
ถึงกรณีท่ีนายกรฐั มนตรีเห็นชอบให้ประสานงานกับ
การไฟฟ้าฝ่ายผลติ แห่งประเทศไทย (กฟผ.) กระทรวง
พลงั งาน ศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อม (อีไอเอ) และ
ประชาพิจารณ์โครงการใหม่ว่า จะเรียกประชุม
ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ติด ต า ม แ ก้ไ ข ปั ญ ห า ก า ร ล ะ เ มิด สิท ธิ
มนุษยชนในสปั ดาห์หน้า พรอ้ มเชญิ กระทรวงพลงั งาน
และ กฟผ.มาร่วมช้ีแจงถึงข้อเสนอท่ีนายกรัฐมนตรี
ลงนาม ยนื ยนั ว่า กฟผ.ตอ้ งชะลอโครงการน้ีไวก้ ่อนเพ่อื
ศกึ ษาผลกระทบสงิ่ แวดลอ้ มใหช้ าวบา้ นมนั่ ใจ

มตชิ นออนไลน์ : 549
วนั ท่ี 16 กุมภาพนั ธ์ 2553 เวลา 21:56:35 น.

7/4/2022 550


Click to View FlipBook Version