The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การบรรยาย ก.ศป. รุ่นที่ 12 Power Point บรรยาย 3 7 65

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pachairat, 2022-07-04 00:35:43

คดีสิ่งแวดล้อมที่สำคัญ ก.ศป. 12 Sun 3 7 65 PPT

การบรรยาย ก.ศป. รุ่นที่ 12 Power Point บรรยาย 3 7 65

เมือง

urban

สภาพแวดล้อมอนั ยง่ิ ใหญ่
ทม่ี นุษย์ชาตริ ่วมกนั สร้างขนึ้ มาบนพืน้ โลก
เพ่ือการดารงชีวติ อยู่อย่างมศี ักด์ศิ รีความเป็ นมนุษย์
และความสมบูรณ์สืบไปของมนุษยชาติ

101

คดีปกครองเกี่ยวกบั
ส่ิงแวดล้อม การผงั เมือง อาคาร และเหตเุ ดือดร้อนราคาญ
เนื้อหาคดีแต่ละเร่ืองเป็นส่วนหนึ่งขององคป์ ระกอบพืน้ ฐาน

“การตงั้ ถิ่นฐานมนุษย”์

HUMAN SETTLEMENT

การตงั้ ถิ่นฐานมนุษย์ มีเนื้อหาว่าด้วย
การดารงชีวิตของมนุษย์

การจดั การสภาพแวดล้อมและการอย่อู าศยั
เพ่ือให้มีชีวิตอย่รู ่วมกนั อย่างปกติสขุ

“เมืองท่ีอย่เู ยน็ เป็นสขุ ”

(องคป์ ระกอบที่ดีด้านสภาพแวดล้อม เศรษฐกิจ สงั คม และความยตุ ิธรรม)

The Just City

Susan S. Feinstein Cornell University Press 2010

Feinstein explains that she does not intend to describe a
theory of the good city, where "the conditions for human
flourishing" are the goal. Rather, Feinstein conceptualization of

the just city requires the incorporation of three principles
(democracy, diversity, and equity) into the development and
evaluation of public policy at the metropolitan level. Feinstein
uses case studies from New York City, London, and Amsterdam
to examine the ways that each city measures up in terms of
these three criteria.

Feinstein : ใชแ้ นวความคิดเชิงทฤษฎีเกี่ยวกบั ความยตุ ิธรรม
เพ่ือเผชิญหน้ากบั ปัญหาของเมืองจากการท่ีนกั ผงั เมืองและผูก้ าหนดนโยบาย
ต้องเผชิญกับลัทธิเสรีนิยมใหม่ในช่วงสามทศวรรษที่ผ่านมา ซ่ึงก่อให้เกิด
วธิ ีการจดั สรรทรัพยากรเชิงพ้นื ท่ี เศรษฐกิจ การเมืองและการเงิน เพ่ือสนบั สนุน
การเติบโตทางเศรษฐกิจ

Feinstein มีจุดมุ่งหมายพัฒนาวิธีการที่เกี่ยวกับ
ความยุติธรรมซึ่งเกย่ี วข้องกบั เมืองในศตวรรษที่ ๒๑ สาหรับเป็ น
หลักประกันความยุติธรรมบนแนวความคิดของ ประชาธิปไตย
ความหลากหลาย และความเสมอภาค

104

กล่มุ กฎหมายเก่ียวกบั การผงั เมอื ง

หลกั วิชาการพืน้ ฐานท่ีเป็นเนื้อหาของเร่ือง คือ การจดั การพื้นท่ี
(Spatial Management) เพื่อความเหมาะสมทางด้านกายภาพและ
คณุ ภาพท่ีดีด้านส่ิงแวดล้อมตามวตั ถปุ ระสงคข์ องกฎหมายแต่ละเรื่อง
ท่ีมีมาตรฐานของกฎหมายในเรื่องนัน้ ๆกาหนดไว้

ได้แก่ พระราชบญั ญตั ิการผงั เมือง พ.ศ. ๒๕๑๘ พระราชบญั ญตั ิ
การจดั สรรท่ีดิน พ.ศ. ๒๕๔๓ พระราชบญั ญตั ิการเคหะแห่งชาติ พ.ศ.
๒๕๓๗ พระราชบัญญัติ การนิ คมอุตสาหกรรม พ. ศ. ๒๕๒๒
พระราชบญั ญตั ิจดั รปู ท่ีดินเพื่อพฒั นาพืน้ ท่ี พ.ศ. ๒๕๔๗ เป็นต้น

105

ผงั เมืองรวม
กรุงเทพมหานคร

ผงั เมืองรวมกรุงเทพมหานคร
และ

ผงั เมืองรวมสมุทรปราการ

7/4/2022 107

การวางผงั เมืองโดยเอกชนตามกฎหมายว่าด้วยการจดั สรรที่ดนิ

พระราชบัญญตั จิ ดั สรรทีด่ นิ พ.ศ. ๒๕๔๓ 108

7/4/2022

การวางผงั เมืองโดยเอกชน ตามกฎหมายว่าด้วยการจัดสรรที่ดิน

มหาวทิ ยาลยั รังสิต

7/4/2022 109

การวางผงั เมืองโดยการเคหะแห่งชาติ

7/4/2022 พระราชบัญญตั กิ ารเคหะแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๗ 110

พระราชบัญญตั กิ ารนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๒๒

นิคมอตุ สาหกรรม โดยการนิคมอุตสาหกรรม 111

7/4/2022

MOTORWAY

7/4/2022 นิคมอตุ สาหกรรมโดยภาคเอกชน 112

กฎหมายกล่มุ ควบคมุ อาคาร

หลักวิ ชาการพื้นฐานที่ เป็ นเนื้ อหาของเรื่อง คือ การควบคุม
การก่อสร้างอาคาร (Building Control) เพื่อความปลอดภยั ของสาธารณะและ
ตามวตั ถุประสงค์ของกฎหมายแต่ละเรื่อง ท่ีมีมาตรฐานของกฎหมายใน
เรอ่ื งนัน้ ๆ กาหนดไว้

แ ย ก เ ป็ น “ ก า ร ค ว บ คุม อ า ค า ร ท่ี ก่ อ ส ร้ า ง บ น พื้น ดิ น ” ไ ด้ แ ก่
พระราชบญั ญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ พระราชบญั ญัติโบราณสถาน
โ บ ร า ณ วัต ถุ ศิ ล ป วัต ถุ แ ล ะ พิ พิ ธ ภัณ ฑ ส ถ า น แ ห่ ง ช า ติ พ .ศ . ๒ ๕ ๐ ๔
พระราชบัญญัติ การเดิ นอากาศ พ.ศ. ๒๔๙๗ พระราชบัญญัติ ว่าด้วย
เขตปลอดภยั ในราชการทหาร พทุ ธศกั ราช ๒๔๗๘ เป็นต้น

และ “การควบคุมอาคารที่ก่อสร้างในพื้นน้าท่ีมีการสญั จรทางน้า”
ได้แก่ พระราชบญั ญัติการเดินเรือในน่ านน้าไทย พระพุทธศกั ราช ๒๔๕๖
เป็ นต้น

113

7/4/2022 114

ผงั บริเวณ รูปด้าน B-B

ผงั พืน้ ช้ันบน รูปด้าน D-D

รูปด้าน A-A รูปด้าน C-C

7/4/2022 115

7/4/2022 116

7/4/2022 117

และหมายความรวมถงึ 118
อฒั จนั ทร์ หรือส่ิงทส่ี ร้างขนึ้ อย่างอ่ืน
เพ่ือใช้เป็ นทชี่ ุมนุมของประชาชน

อฒั จนั ทร์

7/4/2022

7/4/2022 119

7/4/2022 120

เขื่อน สะพาน อโุ มงค์ ทางหรอื ท่อระบายน้า อ่เู รอื คานเรอื ท่าน้า
ท่าจอดเรอื รวั้ กาแพง หรือประตู ท่ีสรา้ งขึน้ ติดต่อหรอื ใกล้เคียงกบั

ที่สาธารณะ หรอื สิ่งที่สรา้ งขึน้ ให้บคุ คลทวั่ ไปใช้สอย

7/4/2022 121

เขือ่ นสะพาน อโุ มงค์ ทางหรอื ท่อระบายน้า อ่เู รอื คานเรอื ท่าน้า ท่าจอด
เรือ รวั้ กาแพง หรือประตู ที่สรา้ งขึน้ ติดต่อหรอื ใกล้เคียงกบั ที่สาธารณะ
หรอื สิ่งที่สรา้ งขึน้ ให้บคุ คล ทวั่ ไปใช้สอย

7/4/2022 122

เขอื่ น สะพาน อโุ มงค์ ทางหรอื ท่อระบายน้า อ่เู รอื คานเรือ ท่าน้า
ท่าจอดเรอื รวั้ กาแพง หรือประตู ท่ีสรา้ งขึน้ ติดต่อหรอื ใกล้เคียงกบั
ท่ีสาธารณะหรอื ส่ิงท่ีสรา้ งขึน้ ให้บคุ คลทวั่ ไปใช้สอย

7/4/2022 123

เข่ือนตามกฎหมายเฉพาะ
ไม่อยู่ภายใต้กฎหมายควบคุมอาคาร

เขื่อนเจา้ พระยา กรมชลประทาน

เขื่อนภูมิพล การไฟฟ้าฝ่ ายผลิตแห่งประเทศไทย

เข่ือนศรีนครินทร์ การไฟฟ้าฝ่ ายผลิตแห่งประเทศไทย เขื่อนปากมูล การไฟฟ้าฝ่ ายผลิตแห่งประเทศไทย

124

ป้ายหรือส่ิงที่สร้างขึน้ สาหรบั ติดหรือตงั้ ป้าย (ก) ที่ติดตงั้ หรือตงั้ ไว้เหนือที่สาธารณะและมีขนาดเกิน

หนึ่งตารางเมตร หรือมีน้าหนักรวม ทงั้ โครงสร้าง เกินสิบกิโลกรมั (ข) ที่ติดหรือตงั้ ไว้ในระยะห่างจากท่ี
สาธารณะ ซ่ึงเมอื่ วดั ในทางราบแล้วระยะห่างจากท่ีสาธารณะมีน้อยกว่าความสงู ของป้ายนัน้ เม่ือวดั จาก
พืน้ ดิน และมีขนาดหรือน้าหนักเกินกว่าที่กาหนดในกฎกระทรวง

7/4/2022 125

7/4/2022 126

7/4/2022 (๑) อาคารสงู

127

7/4/2022 128

7/4/2022 129

7/4/2022 Burj Dubai มีความหมายวา่ Dubai Tower 130

(๒) อาคารขนาดใหญ่พิเศษ

7/4/2022 131

(๓) อาคารชมุ นุมคน

7/4/2022 132

7/4/2022 133

(๔) โรงมหรสพ

7/4/2022 134

(๕) กระเช้าไฟฟ้าและเครอื่ งเล่นในสวนสนุก

7/4/2022 135

พระราชบญั ญตั โิ บราณสถาน โบราณวตั ถุ ศิลปวตั ถุ และพพิ ธิ ภณั ฑสถานแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๐๔

พระปฐมเจดยี ์ จังหวดั นครปฐม 136

7/4/2022

พระราชบัญญตั ิการเดนิ อากาศ พ.ศ. ๒๔๙๗

7/4/2022 137

พระราชบัญญตั กิ ารเดนิ เรือในน่านนา้ ไทย พระพทุ ธศักราช ๒๔๕๖

ส่ิงปลูกสร้างล่วงลา้ ลานา้

กล่มุ กฎหมายเหตเุ ดือดร้อนราคาญ

หลกั วชิ าการพ้นื ฐานท่ีเป็นเน้ือหาของเร่อื ง คอื การควบคุมการประกอบ
กจิ กรรม (Activity Control) เพ่อื ความปลอดภยั ของสาธารณะและตามวตั ถุประสงค์
ของกฎหมายแต่ละเรอ่ื ง ทม่ี มี าตรฐานของกฎหมายในเรอ่ื งนนั้ ๆกาหนดไว้

แยกเป็น “เหตุราคาญ” ตามบทบญั ญตั มิ าตรา ๒๕ แห่งพระราชบญั ญตั ิ
การสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ ท่ีบญั ญตั ิว่า ในกรณีท่ีมเี หตุอนั อาจก่อให้เกิดความ
เดอื ดรอ้ นแก่ผู้อยู่อาศยั ในบรเิ วณใกลเ้ คยี งหรอื ผู้ท่ตี ้องประสบกบั เหตุนัน้ ดงั ต่อไปน้ี
ใหถ้ อื วา่ เป็น เหตุราคาญ

และ “เหตุเดือนร้อน” เป็นเหตุท่ีมีความรุนแรงเกินเกณฑ์มาตรฐานท่ี
กาหนดไว้เป็นเหตุราคาญของกจิ กรรมตามกฎหมายต่างๆ ได้แก่ พระราชบญั ญตั ิ
โรงงาน พ.ศ. ๒๕๓๕ พระราชบัญญัติการประกอบกิจการพลังงาน พ.ศ. ๒๕๕๐
พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ .ศ. ๒๕๓๕
พระราชบญั ญตั ริ กั ษาความสะอาดและความเป็นระเบยี บเรยี บรอ้ ยของบา้ นเมอื ง พ.ศ.
๒๕๓๕ พระราชบญั ญตั กิ ารขดุ ดนิ และถมดนิ พ.ศ. ๒๕๔๓ เป็นตน้

139

พระราชบัญญตั กิ ารสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕

140

พระราชบัญญตั ิโรงงาน พ.ศ. ๒๕๓๕
พระราชบญั ญัตกิ ารประกอบกจิ การพลงั งาน พ.ศ. ๒๕๕๐
พระราชบัญญตั สิ ่งเสริมและรักษาคุณภาพส่ิงแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕

7/4/2022 141

พระราชบญั ญตั ิรกั ษาความสะอาดและความเป็นระเบยี บเรียบรอ้ ยของบา้ นเมือง พ.ศ. ๒๕๓๕

พระราชบัญญตั กิ ารขุดดนิ และถมดนิ พ.ศ. ๒๕๔๓

143

การกระทาทางปกครอง

(Administrative Act)

ในทางทฤษฎีแยก การกระทาทางปกครอง ได้ดงั นี้

1. คาสงั่ ทางปกครอง (Administrative Act)
2. การออกกฎ (Rule Making)
3. คาสงั่ ทางตลุ าการ (Judicial Act)
4. สญั ญาทางปกครอง (Administrative Contract)

5. การกระทาทางกายภาพ (Physical Act)

6. อื่นๆ

( ชยั วฒั น์ วงศว์ ฒั นศานต์ กฎหมายวิธีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง หน้า ๙๙ – ๑๕๔ )
144

การกระทาทางกายภาพกบั อานาจของศาลปกครอง

ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศักราช ๒๕๕๐

มาตรา ๒๒๓ ศาลปกครองมีอานาจพิจารณาพิพากษาคดีพิพาทระหว่างหน่วยงานราชการ หน่วยงาน
ของรฐั รฐั วิสาหกิจ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือองค์กรตามรฐั ธรรมนูญ หรือเจ้าหน้าท่ีของรฐั กบั เอกชน
หรือ ระหว่างหน่วยงานราชการ หน่วยงานของรฐั รฐั วิสาหกิจ องค์กรรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือองค์กรตาม

รฐั ธรรมนูญ หรือเจ้าหน้าท่ีที่ของรฐั ด้วยกนั อันเนื่องมาจากการใช้อานาจทางปกครองตามกฎหมาย หรือ
เน่ืองมาจากการดาเนินกิจการทางปกครอง ของหน่วยราชการ หน่วยงานของรฐั รฐั วิสาหกิจ องคก์ รปกครองส่วน
ท้องถ่ิน หรือองคก์ รตามรฐั ธรรมนูญ หรือเจ้าหน้าท่ีของรฐั ทงั้ นี้ ตามท่ีกฎหมายบญั ญตั ิ รวมทงั้ มีอานาจพิจารณา
พิพากษาเร่ืองที่รฐั ธรรมนูญหรือกฎหมายบญั ญตั ิให้อย่ใู นอานาจของศาลปกครอง

อานาจศาลปกครองตามวรรคหน่ึง ไม่รวมถึงการวินิจฉัยชี้ขาดขององคก์ รอิสระซ่ึงเป็นการใช้อานาจ
โดยตรงตามรฐั ธรรมนูญขององคก์ รอิสระนัน้

ให้มีศาลปกครองสงู สดุ และศาลปกครองชนั้ ต้น และจะมีศาลปกครองชนั้ อทุ ธรณ์ด้วยกไ็ ด้

รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐

มาตรา ๑๙๗ ศาลปกครองมีอานาจพิจารณาพิพากษาคดี อนั เน่ืองมาจากการใช้อานาจทางปกครอง
ตามกฎหมาย หรือเนื่องมาจากการดาเนินกิจการทางปกครอง ทงั้ นี้ ตามท่ีกฎหมายบญั ญตั ิ

ให้มีศาลปกครองสงู สดุ และศาลปกครองชนั้ ต้น
อานาจศาลปกครองตามวรรคหนึ่ง ไม่รวมถึงการวินิ จฉัยชี้ขาดขององคก์ รอิสระซึ่งเป็ นการใช้อานาจ
โดยตรงตามรฐั ธรรมนูญขององคก์ รอิสระนัน้ ๆ
การจดั ตงั้ วิธีพิจารณาคดี และการดาเนินงานของศาลปกครองให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการนัน้

การดาเนิ นกิจกรรมทางปกครอง
(Administrative Act)

ที่มีลกั ษณะเป็น

การกระทาทางกายภาพ
(Physical Act)

146

ท่ีมาของการดาเนินกิจกรรมทางปกครองท่ีมีลกั ษณะเป็นการกระทาทางกายภาพ

(๑) พระราชบญั ญตั ิเฉพาะ เช่น พระราชบญั ญตั ิการผงั เมือง พ.ศ. ๒๕๑๘ พระราชบญั ญตั ิการจดั สรร

ท่ีดิน พ.ศ. ๒๕๔๓ พระราชบญั ญตั ิจดั รูปที่ดินเพ่ือพฒั นาพ้ืนที่ พ.ศ. ๒๕๔๗ พระราชบญั ญตั ิจดั รูปท่ีดิน

เพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. ๒๕๑๗ และพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ พระราชบัญญัติ

โบราณสถาน โบราณวตั ถุ ศิลปวตั ถุ และพิพิธภณั ฑสถานแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๐๔ พระราชบญั ญตั ิโรงงาน

พ.ศ. ๒๕๓๕ พระราชบญั ญตั ิทางหลวง พ.ศ. ๒๕๓๕ พระราชบญั ญตั ิทางหลวงสัมปทาน พ.ศ. ๒๕๔๒

พระราชบญั ญตั ิการชลประทานหลวง พุทธศกั ราช ๒๔๘๕ พระราชบญั ญตั ิคนั และคูน้า พ.ศ. ๒๕๐๕
พระราชบญั ญตั ิส่งเสริมและรักษาคุณภาพคุณภาพส่ิงแวดลอ้ มแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ พระราชบญั ญตั ิ

รักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบา้ นเมือง พ.ศ. ๒๕๓๕ พระราชบญั ญตั ิเดินเรือใน

น่านน้าไทย พระพทุ ธศกั ราช ๒๔๕๖ พระราชบญั ญตั ิการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ เป็นตน้
(๒) พระราชบญั ญตั ิจดั ต้งั องคก์ รของรัฐ เช่น พระราชบญั ญตั ิการไฟฟ้าฝ่ ายผลิตแห่งประเทศไทย
พ.ศ. ๒๕๑๑ พระราชบญั ญตั ิการไฟฟ้านครหลวง พ.ศ. ๒๕๐๑ พระราชบญั ญตั ิการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค

พ.ศ. ๒๕๐๓ พระราชบญั ญตั ิการประปานครหลวง พ.ศ. ๒๕๑๐ พระราชบญั ญตั ิการประปาส่วนภูมิภาค

พ.ศ. ๒๕๑๐ พระราชบญั ญตั ิองคก์ ารโทรศพั ทแ์ ห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๔๙๗ พระราช บญั ญตั ิการนิคม

อุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๒๒ พระราชบัญญัติการเคหะแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๗

พระราชบญั ญตั ิการท่าเรือแห่งประเทศไทย พุทธศกั ราช ๒๔๙๔ พระราชบญั ญตั ิการรถไฟแห่งประเทศ

ไทย พุทธศักราช ๒๔๙๔ พระราชบัญญัติการท่าอากาศยานแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๒๒

พระราชบญั ญตั ิการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๔๓ เป็นตน้ 147

ท่ีมาของการดาเนินกิจกรรมทางปกครองท่ีมีลกั ษณะเป็นการกระทาทางกายภาพ

(๓) พระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการ เช่น พระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการ
กรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๒๘ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการเมืองพทั ยา พ.ศ. ๒๕๔๒
พระราชบญั ญตั ิเทศบาล พุทธศกั ราช ๒๔๙๖ พระราชบญั ญตั ิสภาตาบลและองคก์ ารบริหารส่วนตาบล
พ.ศ. ๒๕๓๗ พระราชบญั ญตั ิองคก์ ารบริหารส่วนจงั หวดั พ.ศ. ๒๕๔๒ พระราชบญั ญตั ิกาหนดแผน
และข้นั ตอนการกระจายอานาจใหแ้ ก่องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน พ.ศ. ๒๕๔๒ เป็นตน้

(๔) พระราชบัญญตั ิประกอบกิจการ เช่น พระราชบัญญตั ิการประกอบกิจการพลงั งาน พ.ศ.
๒๕๕๐ พระราชบญั ญตั ิพลงั งานปรมาณูเพ่ือสนั ติ พ.ศ. ๒๕๐๔ พระราชบญั ญตั ิปิ โตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔
ซ่ึงบญั ญตั ิให้คณะกรรมการกากบั กิจการพลงั งานมีอานาจในการออกใบอนุญาตประกอบกิจการตาม
พระราชบญั ญตั ิน้นั ๆ

(๕) กฎหมายลาดบั รองอ่ืนๆ ไดแ้ ก่ พระราชกฤษฎีกาหรือกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการโดยอาศยั
อานาจตามพระราชบญั ญตั ิระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ พระราชกฤษฎีกาการจดั ต้งั
องคก์ ารมหาชนตามพระราชบญั ญตั ิองคก์ ารมหาชน พ.ศ. ๒๕๔๒ พระราชกฤษฎีกาการจดั ต้งั องคก์ าร
ตามพระราชบญั ญตั ิวา่ ดว้ ยการจดั ต้งั องคก์ รของรัฐบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ เป็นตน้

148

การดาเนิ นกิจกรรมทางปกครอง
ท่ีมีลกั ษณะเป็นการกระทาทางกายภาพ

การดาเนินกิจกรรมทางปกครองที่มีลักษณะเป็ นการกระทาทาง
กายภาพตามอานาจหน้าท่ีของหน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ
ได้แก่ การก่อสร้างถนน ทางรถไฟ สนามบิน ท่าเรือ สะพานข้ามแม่นา้ ลาคลอง
สะพานรถยนต์ข้ามทางแยก สะพานคนเดินข้ามถนน โรงไฟฟ้า เสาไฟฟ้า
เสาส่งสัญญาณวิทยุและโทรคมนาคม สายส่งไฟฟ้าหรือสายเคเบิลใต้น้า เขื่อน
อ่างเก็บน้า ประตูระบายน้า คลองชลประทาน ท่อส่ งน้ามัน ท่อส่ งก๊าซ ท่อ
ระบายน้า บ่อบาบัดน้าเสีย การก่อสร้างและรื้อถอนอาคาร การถมทะเลและ
การถมแม่น้าลาคลอง การสร้างตลาด หรือสถานที่ทิ้งขยะมูลฝอย โรงไฟฟ้า
นิวเคลยี ร์หรือพลงั งานต่างๆ การขุดเจาะสารวจปิ โตรเลยี ม เป็ นต้น

149

คดปี กครอง

ตามบทบญั ญตั ิของ
พระราชบัญญัตจิ ัดต้งั ศาลปกครองและวธิ ีพจิ ารณาคดีปกครอง

พ.ศ. ๒๕๔๒

150


Click to View FlipBook Version