มิลินทปัญหาปกรณแ์ ปล
เลม่ ๑
ถาม - ตอบปัญหาในพระไตรปิฎก
ระหวา่ งพระเจ้ามิลนิ ท์ กับ พระนาคเสนเถระ
พระมหาธิตพิ งศ์ อุตฺตมปญโฺ
แปล
ชื่อหนงั สอื : มิลินทปัญหาปกรณ์แปล เล่ม ๑
ISBN : 978-616-577-093-4
แปลและเรียบเรียง :
คอมพิวเตอร/์ จัดรูปเลม่ : พระมหาธติ ิพงศ์ อตุ ตฺ มปญโฺ ญ
ตรวจทาน :
พระมหาธติ พิ งศ์ อตุ ฺตมปญฺโญ
ออกแบบปก :
วัน/เดอื น/ปีพมิ พ์ : พระมหาพิเชษฐ์ เตชธมฺโม พระมหาจรณุ จารุวณฺโณ
พิมพ์ครง้ั ท่ี ๑ : คณุ วไิ ล สีสรรพ์ คุณพรพิมพ์ กจิ สิรพิ นั ธ์
คุณปกรณ์ เจด็ คัมภีร์ คณุ สพุ าณี สพุ งศ์พฒั นกจิ
พิมพ์ท่ี :
คุณชยั โย ทองหม่นื ไวย์
ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๖๓
จาำ�นวน ๒๓,,๐๐๐๐๐๐เลเลม่ ม่
โดย คณุ แมส่ ุวรรณ ตนั ตระเธียร
จัดพมิ พ์เผยแพรเ่ ปน็ ธรรมทาน
หา้ งหุ้นสว่ นจำากดั ประยูรสาส์นไทย การพมิ พ์
๔๔/๑๓๒ หมู่ ๖ ถ.กาำ นันแม้น แขวงบางขุนเทียน
เขตจอมทอง กรุงเทพฯ ๑๐๑๕๐
โทรศพั ท์ 0-2802-0377, 0-2802-0379
โทรสาร 0-2802-0379 มือถอื 08-1566-2540
(ก)
ค�ำนำ�
จากประวัติของคัมภีรม์ ิลินทปัญหาที่กลา่ วไวใ้ นบพุ พโยคกณั ฑ์ ตอนว่าด้วยพาหิรกถา
วา่ “สามเณรก็ร้องไห้ เพราะความกลัว จึงหอบขยะไปท้ิง ได้ตง้ั ความปรารถนาเปน็ ครั้งแรก
ว่า “ด้วยบุญกรรมคือการทง้ิ ขยะน้ี เรายังไม่บรรลพุ ระนิพพานเพียงใด, ในระหว่างกาลน้ี ขอ
เราพึงเปน็ ผมู้ ีศกั ด์ใิ หญ่ มเี ดชมาก เหมือนอย่างดวงอาทิตย์ในเวลาเท่ยี งวนั ในทท่ี ุกสถานท่ี
เราบงั เกดิ ขึ้นเถิด” พอท้งิ ขยะเสรจ็ แล้ว ก็ไปยงั ท่าน้�ำคงคาเพ่อื สรงน้�ำ พอเห็นระลอกคล่นื
ในแมน่ ำ้� คงคาทีห่ มุนเป็นเกลียวมาอยู่ กต็ ัง้ ความปรารถนาแมเ้ ปน็ ครง้ั ท่ี ๒ ว่า “เรายงั ไมบ่ รรลุ
พระนิพพานเพยี งใด, ในระหว่างกาลนี้ ขอเราพึงเปน็ ผมู้ ปี ฏิภาณอุบตั ิขึ้นโดยสมควรแก่เหตุ
มีปฏิภาณไม่รู้จักหมดจักส้นิ ไป เหมอื นระลอกคลน่ื น้ี ในท่ที กุ สถานท่เี ราบงั เกิดขึน้ เถดิ ”
แม้ภกิ ษรุ ูปน้นั พอวางไมก้ วาดไวท้ โี่ รงเก็บไม้กวาด กเ็ ดนิ ไปยังทา่ นำ้� ทีแ่ มน่ ้�ำคงคา
เพือ่ ตอ้ งการจะสรงนำ�้ เชน่ กนั ได้ยินค�ำปรารถนาของสามเณรเข้า จงึ คิดวา่ “สามเณรรูปนี้ แม้
ถูกเราใช้กย็ ังปรารถนาอยา่ งนก้ี ่อน ก็ความปรารถนานนั้ จักไม่ส�ำเร็จแก่เราบ้างหรอื ” ดังนแ้ี ล้ว
ก็ได้ต้งั ความปรารถนาว่า “ในระหว่างกาลทเ่ี รายงั ไมไ่ ดบ้ รรลพุ ระนิพพานนี้ ขอเราพึงเปน็ ผูม้ ี
ปฏิภาณไม่รู้จกั หมดจกั ส้ินไป เหมอื นระลอกคล่ืนในแม่น�ำ้ คงคาน้ี ในท่ที ุกสถานที่เราบงั เกิด
แล้ว และขอเราพงึ เปน็ ผสู้ ามารถที่จะแก้ ท่ีจะเปลอื้ งปญั หาปฏภิ าณทส่ี ามเณรรปู น้ีถามไดท้ กุ
อยา่ งด้วยเถดิ ”
จากขอ้ ความขา้ งต้นดังกลา่ ว จะเหน็ ไดว้ า่ การทำ� บญุ ไม่ว่าจะเป็นพระภิกษสุ ามเณร
หรือฆราวาสญาตโิ ยมท้ังหลาย เม่อื ท�ำบญุ แลว้ สามารถตง้ั ความปรารถนาได้ และส�ำเร็จดัง
ความปรารถนาทกุ ราย ถ้าพิจารณาแลว้ ก็จะได้ขอ้ คิดอกี อย่างทีว่ า่ บุญที่ท�ำ แบบไม่อยากจะ
ท�ำดว้ ยซ้ำ� ไป ยงั สำ� เรจ็ ประโยชน์ตามท่ปี รารถนาไดแ้ ละอ�ำนวยผลให้มากมายถงึ เพียงนี้
น้ีเป็นจุดเร่ิมต้นของปัญหาและค�ำตอบท่ีทั้งละเอียดและลึกซึ้งยิ่งนักในคัมภีร์มิลินท-
ปัญหา ยากทีส่ ามญั ชนคนทว่ั ไป จะเข้าถงึ ได้ เข้าใจได้ ทา่ นกล่าวไวว้ ่า แม้แต่พระอรหนั ต-
ขณี าสพจ�ำนวนมากทถี่ ูกพระเจ้ามิลินท์ตรัสถามแล้ว กไ็ ม่สามารถตอบคำ� ถามของทา้ วเธอได้
จนตอ้ งหลบี หนีออกนอกเมอื งไป
ในชาตสิ ุดท้าย น้องสามเณร มาเกิดเปน็ พระราชาผยู้ ง่ิ ใหญ่เกรียงไกร ปกครองประเทศ
ทีม่ ั่งคง่ั รำ�่ รวย สงบสุข มีเดชมาก มีอานภุ าพมาก มนี ามวา่ “พระเจ้ามลิ นิ ท์” ผู้ฝกั ใฝส่ นใจ
(ข)
ในพระศาสนา ศึกษาหลักธรรม จนแตกฉานในพระไตรปิฎก และอรรถกถา สมดังความ
ปรารถนาท่ไี ดต้ ง้ั ไว้ สว่ นพระภิกษุ กลับมาเกิดเป็นพระภิกษุผแู้ ตกฉานในพระไตรปฎิ ก อรรถ-
กถา และปฏบิ ัตธิ รรมจนบรรลธุ รรมเปน็ พระอรหนั ตขณี าสพ และปฏสิ ัมภิทา ๔ จงึ เป็นทมี่ า
ของปัญหาทท่ี ้ังยากท้งั ลกึ ซ้ึงและค�ำตอบทลี่ กึ ซึง้ ทป่ี ระกอบด้วยอุปมา เพอ่ื ใหผ้ ู้ฟังเกดิ ความ
เขา้ ใจในปญั หานน้ั ๆ ได้แจม่ แจ้งชดั เจน เชน่ เดยี วกนั
ฉะน้ัน จึงขอเชญิ ชวนพทุ ธศาสนิกชนไดศ้ ึกษาท�ำความเข้าใจในคัมภรี ม์ ิลินทปญั หานี้
ของนกั ปราชญ์ท้ัง ๒ ทา่ น คอื พระเจ้ามิลินท์ และพระนาคเสนเถระ เพือ่ เพิม่ พนู สตปิ ญั ญาและ
ความเล่ือมใสในบวรพระพทุ ธศาสนาใหเ้ กิดข้ึนกบั ตน และดำ� รงไว้ซงึ่ คำ� สอนพระพระพุทธเจา้
ที่สุขุมล่มุ ลกึ คัมภีรภาพไว้ตราบนานเทา่ นาน
พระมหาธิติพงศ์ อุตฺตมปญโฺ Ÿ
(ค)
คำ� ปรารภของผู้แปล
เม่ือเวลาประมาณ ๑๐.๐๐ น. เช้าของวันพธุ ท่ี ๑๓ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๖๐ คุณโยม
สุวรรณ ตนั ตระเธียร คุณเนาวรัตน์ รตั นสนุ ทร ซงึ่ เปน็ นอ้ งสาว พรอ้ มกบั คุณพลอยทพิ ย์
ตนั ตระเธียร ซ่งึ เป็นหลานของสามี ไดม้ าเยี่ยมท่ีวดั จากแดง หลังจากถามสารทุกขส์ ขุ ดบิ แล้ว
คณุ โยมได้ปรารภว่า อยากจะทำ� หนังสือ “มลิ นิ ทปัญหา” ไวแ้ จกในงานศพ เป็นการเตรยี ม
ตวั ก่อนตาย โดยไดบ้ อกวตั ถุประสงคว์ ่า เปน็ หนงั สือเกย่ี วกบั “ปญั ญา” อยากใหผ้ ู้รับไดไ้ ป
ศึกษาอา่ นเพ่อื ใหเ้ กดิ ปัญญา โดยคุณโยมเอง ก็บอกวา่ เคยศึกษาคมั ภีรน์ ี้ แล้วเกดิ ความชอบ
ข้าพเจา้ ก็ได้ถามคณุ โยมไปว่า ตอ้ งการแบบไหน หมายความวา่ หนงั สือมลิ ินทปญั หาน้ี แปล
แบบเรยี บเรียงเป็นภาษาไทยใหค้ นทวั่ ไปอา่ นได้ หรือแปลคงรูปบาลีไว้เป็นต้น คณุ โยมบอก
ว่าประสงค์จะให้คนทั่วไปอ่านได้ แลว้ กม็ ีการพดู คยุ กนั วา่ คนมีอายมุ ากกวา่ ใชว่ า่ จะตายก่อน
เสมอไป แตก่ ็เป็นการดีท่คี ุณโยมมีสติ มีการเตรียมความพรอ้ มก่อนจะจากโลกนไ้ี ปจริงๆ เมื่อ
ขา้ พเจ้าไดท้ ราบความประสงคด์ ังนี้ ก็คิดวางแผนว่าจะท�ำหนงั สอื ออกมาในรูปแบบไหน ถงึ
จะตรงตามวตั ถปุ ระสงคข์ องคุณโยมและมีประโยชนก์ บั ผศู้ กึ ษาภาษาบาลีดว้ ย กเ็ ลยคิดจะท�ำ
แนวของหนังสอื “ภกิ ขุปาติโมกข์แปล พรอ้ มมาติกาสำ� หรับวนิ จิ ฉัยสกิ ขาบท” ซ่ึงได้จัดพมิ พ์ไป
แลว้ ก่อนหน้าน้ี
ในเบอื้ งแรก ได้ให้คนไปชว่ ยหาหนงั สือมลิ นิ ทปัญหาฉบับต่างๆ มา เทา่ ท่ีจะหามา
ได้ เพ่ือน�ำมาศกึ ษา ก่อนสรุปว่า จะเอาฉบบั ไหนเป็นต้นฉบับส�ำหรับการนำ� มาแปล รวมท้งั
ส�ำนวนภาษาไทย ว่าฉบบั ไหน อ่านง่าย เปน็ ส�ำนวนแบบพืน้ ๆ ไม่คงภาษาบาลีไว้มากนกั จน
มาสรปุ ได้วา่ จะใช้ฉบบั มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัยทง้ั หมด ทงั้ ภาษาบาลี และ
ไทย เปน็ ตน้ ฉบบั ในการแปล เพราะมคี รบทัง้ ฉบับภาษาบาลี อรรถกถา และฎีกา และแปลเปน็
ไทย จงึ เหมาะอยา่ งยิง่ ที่จะน�ำมาเป็นต้นฉบับ
บัดนี้ การแปลและพิมพต์ ้นฉบับมลิ ินทปญั หา ใช้เวลามามากพอสมควร ก็เสรจ็
เรยี บรอ้ ยแลว้ จึงขออนโุ มทนาตอ่ คุณโยมสุวรรณ ตนั ตระเธียร ผ้เู ป็นตน้ บุญ ทมี่ คี วามประสงค์
จะท�ำบญุ ด้านปญั ญา ด้วยการเปน็ เจ้าภาพพิมพค์ มั ภรี ม์ ิลินทปญั หานี้ แจกเปน็ ธรรมทานให้
กับชาวพทุ ธท่านอืน่ ๆ ไดม้ โี อกาสศกึ ษาคมั ภรี ม์ ิลินทปัญหานเ้ี หมอื นกับทา่ น
พระมหาธิติพงศ์ อุตตฺ มปญโฺ Ÿ
(ฆ)
ค�ำปรารภของเจ้าภาพ
แรกทีเดยี วขา้ พเจ้าได้ปรารภกบั ท่านพระอาจารยม์ หาธติ พิ งศ์ อุตฺตมปญโฺ Ÿ (พระ
อาจารยต์ ว่ น ผู้เปน็ ศษิ ยก์ ้นกุฏิของพระภัททันตธมั มานนั ทมหาเถระ อัครมหาบณั ฑิต อดตี เจา้
อาวาสวดั ทา่ มะโอและเจา้ ส�ำนกั เรยี นบาลใี หญ่ จงั หวดั ล�ำปาง) วา่ อยากพมิ พ์หนังสอื ที่ระลึก
เพอื่ แจกในงานฌาปนกิจของข้าพเจ้า อนั เปน็ การบูชาธรรมครง้ั สุดท้ายท่สี ามารถจะทำ� ได้
ดว้ ยเมตตาของทา่ นพระอาจารย์ ทา่ นก็รับค�ำขอร้องของข้าพเจ้า และช่วยด�ำเนนิ การจน
หนังสอื เลม่ นี้สำ� เรจ็ เรยี บรอ้ ย และเมอ่ื หนงั สอื เสร็จเรียบรอ้ ยกอ่ นเวลามรณกาลของขา้ พเจ้า
เจตนาเดิมของขา้ พเจ้าก็เปลี่ยนไปเพราะคิดว่า หนังสือท่ีมีประโยชนเ์ ชน่ นจี้ ะเก็บไว้ก่อน ก็
อาจท�ำให้ผศู้ กึ ษาและสนใจภาษาบาลีพลาดโอกาสคน้ ควา้ เรยี นรไู้ ป จึงมีความประสงค์จะจัด
สง่ หนังสอื ชุดนีไ้ ปถวายตามส�ำนกั เรยี นบาลีทวั่ ประเทศตามทต่ี งั้ ใจไว้ ท่านพระอาจารยก์ เ็ หน็ ดี
ด้วยวา่ สมควรแจกในกาลนเ้ี ลย
ข้าพเจ้าขอกราบขอบพระคุณท่านพระอาจารย์ต่วนที่เมตตาช่วยด�ำเนินการตามค�ำขอ
รอ้ งไว้ ณ ทน่ี ีด้ ้วย และดว้ ยความรอบรู้เชย่ี วชาญในพระบาลี (ท่านสอบไดอ้ นั ดับท่ี ๑ ของ
สำ� นกั เรยี น)กอรป์ กับความทุ่มเทแรงกายแรงใจของท่านพระอาจารย์ อันเป็นจริยาปกตขิ อง
ท่านพระอาจารย์หนังสือทุกเล่ม(มิใช่เฉพาะเล่มนี้เท่าน้ัน)ท่ีพระอาจารย์จัดท�ำขึ้นจึงนับว่าเป็น
ประโยชน์ต่อการศกึ ษาพระบาลอี ย่างมากมาย
สาธุ สาธุ สาธุ
สวุ รรณ ตนั ตระเธยี ร
(ง)
คำ� ชแี้ จง
คัมภีร์มิลินทปัญหา เป็นคมั ภรี ์แสดงความลึกซ้งึ ของปัญหาและคำ� ตอบ ทงั้ ผู้ถามเอง
กแ็ ตกฉานในพระไตรปิฎก ในบพุ พโยคกัณฑข์ องคมั ภรี ์มิลินทปัญหาไดเ้ ลา่ ไว้ว่า แมพ้ ระ
อรหนั ตขีณาสพจำ� นวนมาก เมือ่ ถกู พระเจ้ามลิ นิ ทถ์ ามปญั หาดงั กล่าว ก็ยงั ไม่สามารถทีจ่ ะ
ตอบปัญหาตา่ งๆ เหล่านี้ไดเ้ ลย ยังตอ้ งหลีกหนีออกเมอื งไป เพ่อื ไปหาท่พี �ำนักใหมใ่ ห้หา่ งไกล
จากพระเจ้ามลิ ินท์ และผตู้ อบ นอกจากพระเปน็ อรหนั ตขีณาสพแลว้ ยังไดบ้ รรลปุ ฏิสัมภทิ า ๔
อีกด้วย ปฏสิ ัมภทิ า ๔ คอื (๑) อตั ถปฏสิ มั ภิทา ปญั ญาท่รี ู้แตกฉานในอรรถ คอื ในผลท่ีเกิดจาก
เหตุ (๒) ธัมมปฏสิ มั ภิทา ปัญญาทรี่ ูแ้ ตกฉานในธรรม คือในเหตทุ ท่ี ำ� ใหผ้ ลเกดิ ข้ึน (๓) นริ ุตต-ิ
ปฏิสมั ภิทา ปัญญาทร่ี ู้แตกฉานในนริ ตุ ติ คือในภาษาโดยเฉพาะในภาษามคธอนั เป็นมูลภาษา
และ (๔) ปฏิภาณปฏิสัมภทิ า ปญั ญาท่ีรแู้ ตกฉานในปฏภิ าณ คือในความแจ่มแจ้งเกีย่ วกับ
อารมณท์ ี่ปฏสิ มั ภิทา ๓ อยา่ งข้างต้นร้อู ยู่ และเก่ียวกับกจิ แห่งปฏิสัมภิทา ๓ อยา่ งขา้ งตน้ น้นั
นนั่ แหละ น่ีแหละ เปน็ สาเหตทุ ่ีจะกล่าวไดว้ า่ คมั ภีร์มลิ นิ ทปญั หานี้ เป็นคัมภรี ช์ ้ันยอด เพราะ
ยอดเยย่ี มท้งั ปัญหาและยอดเยีย่ มท้ังคำ� ตอบ เหตุท้งั ท่านผถู้ าม ก็แตกฉานในพระไตรปฎิ ก
ทัง้ ทา่ นผู้ตอบ กเ็ ปน็ ท้งั พระอรหันต์ และบรรลุปฏิสัมทาดังกล่าว
นอกจากนัน้ คัมภรี ์น้ี ยงั เปน็ คัมภีรท์ ่มี ตี ัวละคร และสถานทีต่ ่างๆ ท่ีระบแุ น่ชัดวา่
มอี ยู่จริง ทัง้ คำ� ถามค�ำตอบ ก็องิ อาศัยหลักจากพระไตรปฎิ กอรรถกถา พระไตรปิฎก ฉบบั
ฉัฏฐสงั คายนา ของเมยี นมาร์ ยอมรับนับถอื วา่ เป็นคัมภีร์ทส่ี �ำคัญอีกคมั ภีร์หนึง่ ถงึ ขนาดจัด
อยู่ในกลุ่มหนังสือพระไตรปิฎกเลย ประเทศทีน่ บั ถือพทุ ธ เถรวาทท่เี หลือนอกเมียนมารแ์ ล้ว
จัดคัมภีร์มิลนิ ทปัญหาน้ี อยู่ในชน้ั อรรถกถา
คัมภรี ม์ ิลนิ ทปญั หาน้ี มแี ปลเป็นภาษาไทยไว้แลว้ หลายสำ� นวน ดงั น้ี
๑. ฉบับ มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั , พิมพ์คร้งั แรก, พ.ศ. ๒๕๕๙
๒. ฉบบั มหามกุฏราชวทิ ยาลยั , พมิ พ์ครง้ั ท่ี ๕, พ.ศ. ๒๕๕๖
๓. ฉบบั ส ธรรมภักดี แปลโดย ปุ้ย แสงฉาย, ช�ำระโดย พระธรรมมหาวรี านุวตั ร
๔. ฉบับ มูลนิธปิ ราณี สำ� เรงิ ราชย,์ พมิ พค์ รัง้ ที่ ๖, พ.ศ. ๒๕๖๐
ส�ำหรบั การแปลฉบับน้ี ไดน้ �ำ “มิลินฺทปญหฺ ปกรณํ” ฉบบั มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณ-
ราชวทิ ยาลัย มาเปน็ ต้นฉบับในการแปล เพราะเห็นวา่ มฉี บบั ภาษาบาลี ฉบับแปล และฉบบั
(จ)
“มิลินทฺ ปญฺหอฏฺ กถา-ฏกี า” ครบถว้ นสมบรู ณ์ และยงั สามารถทจ่ี ะเทียบเคียงกับฉบบั ฉัฏฐ-
สังคายนา ของเมยี นมารไ์ ด้อีกด้วย
และการแปลในฉบับน้ี มีท้งั บาลี และภาษาไทย วัตถปุ ระสงคก์ เ็ พือ่ วา่ ท่านที่ตอ้ งการ
จะฝกึ แปลหรอื ตอ้ งการจะดูเทยี บเคียงกับภาษาบาลี กจ็ ะได้ดูตามไปด้วย จะได้รทู้ ้งั บาลแี ละ
ไทย ถ้าตรงไหน อา่ นแล้วยังไมเ่ ขา้ ใจ หรอื สงสยั ในประเด็นใดๆ กส็ ามารถอ่านจากต้นฉบับ
ภาษาบาลี อาจจะชว่ ยใหเ้ ข้าใจได้ดียิ่งข้นึ และเป็นการเพิ่มอรรถรสส�ำหรบั การอา่ นทง้ั บาลี
ทงั้ ไทยด้วย
โดยการแปลในครั้งน้ี ยังได้แบง่ มลิ นิ ทปญั หาปกรณแ์ ปล ออกเปน็ ๒ เล่มอีกด้วย คือ
เลม่ แรก ต้ังแต่ปพุ พโยคกณั ฑ์ ถึงเมณฑกปญั หกณั ฑ์ วรรคที่ ๔.๓ ปมาณิตวรรค เล่ม ๒ ยัง
เปน็ เมณฑกปญั หกณั ฑ์ แตเ่ ป็นวรรคท่ี ๔.๔ สัพพญั ญตุ ญาณวรรค เปน็ ตน้ ไป จนจบคัมภีร์
เพื่อให้หนังสือเลม่ ไม่ใหญเ่ กินไป สะดวกในการหยบิ น�ำมาอ่านศกึ ษาของท่านผสู้ นใจ
จุดเดน่ ของคมั ภีรม์ ิลนิ ทปญั หา ก็คือคำ� ตอบ ที่นอกจากจะอา้ งจากพระพทุ ธพจน์แล้ว
ยงั มีอปุ มาเปรียบเทียบ บางคำ� ตอบ มีอปุ มาต้งั ๕ ถึง ๖ คร้ัง เพอื่ ให้คำ� ตอบชดั เจนทีส่ ดุ เทา่ ท่ี
ผ้ถู าม หรือผ้ตู อบจะพงึ พอใจ ถอื ไดว้ า่ เป็นเอกลกั ษณข์ องคมั ภีร์เล่มนี้เลยกว็ า่ ได้ ซ่ึงตามหลัก
ในคมั ภีร์สโุ พธาลงั การกล่าววา่ การใชอ้ ปุ มา ถือวา่ เปน็ อลงั การท่ียอดเยี่ยมอกี อย่าง ทีน่ กั
พูดหรือนกั ประพันธ์ใช้ประดับค�ำพดู หรอื ข้อเขียนของตน เพอื่ แสดงความสามารถของตนให้
ประจกั ษ์ และทำ� ให้ผูฟ้ งั หรอื ผ้อู ่านเขา้ ใจในส่ิงท่ีตนต้องการจะส่อื ได้เข้าใจตรงกัน
ฉะนัน้ จงึ หวังวา่ มิลนิ ทปัญหาปกรณแ์ ปล ฉบับนี้ จะเปน็ ประโยชนเ์ กื้อกลู ต่อ
พุทธศาสนกิ ชนผูส้ นใจธรรมะทีล่ ึกซ้ึง ท่ียากตอ่ ความเขา้ ใจ ให้เข้าใจในหลักธรรมมากยงิ่ ขึ้น
เพื่อเสริมสร้างสตปิ ญั ญาความเขา้ ใจในพระพุทธศาสนายง่ิ ๆ ข้ึนไป และน�ำไปเปน็ ประโยชน์
ตอ่ การประพฤติปฏบิ ัตใิ หเ้ จรญิ รุ่งเรอื งสูงสดุ ในชวี ิต สมกบั เปน็ พทุ ธศานกิ ชนท่นี บั ถอื ศาสนา
ด้านปัญญาสืบต่อไป
(ฉ)
คำ� อนโุ มทนา
ผลของบญุ ซึง่ เรยี กวา่ “วบิ าก” สามารถที่จะให้สมบัตอิ นั น่าใคร่ทกุ ประการตามท่ี
ปรารถนาได้ เว้นความปรารถนา หาสำ� เรจ็ ไม่ ขอ้ ความน้ี พระสิรมิ งั คลาจารย์ไดก้ ลา่ วไว้
ในมงั คลตั ถทปี นี ภาค ๑ หน้า ๙๔ วา่ “ปฏฺนาย ตํ ตสสฺ สพพฺ กามททตฺตํ โหต,ิ น วนิ า
ปฏฺ นํ” นเี้ ปน็ การแสดงผลของบุญพเิ ศษ แต่ถา้ เปน็ ผลของบุญตามปกติสามัญนั้น สามารถท่ี
จะให้ผลได้ เชน่ ผลของทาน เป็นเหตุใหม้ โี ภคทรพั ย์ ไปสสู่ ุคตภิ มู ิ แตไ่ มส่ ามารถท�ำใหห้ ลุด
พน้ จากวฏั ฏทุกข์ได้ แตถ่ า้ ท�ำบุญใหท้ านแลว้ ตัง้ ความปรารถนา กส็ ามารถเปน็ เหตุนำ� สัตว์ผู้
ปรารถนานัน้ ๆ ออกจากวัฏฏทุกขไ์ ด้
จากประวัตขิ องพระเจ้ามิลินท์และพระนาคเสนเถระนัน้ ท่านเล่าไวว้ า่ “ในอดีตเป็น
ภกิ ษุหนมุ่ ผู้เครง่ คดั ในข้อวัตรกับสามเณรนอ้ ย เช้าของวันหน่ึง พระหนุ่มลุกขนึ้ แตเ่ ช้า แลว้
ท�ำการปัดกรวดบริเวณเสนาสนะ เสรจ็ แลว้ กบ็ อกใหส้ ามเณรชว่ ยเกบ็ ขยะ แต่สามเณรท�ำเปน็
หูทวนลม เหมือนไมไ่ ด้ยิน พระทา่ นกเ็ ลยเอาด้ามไม้กรวดตสี ามเณร สามเณรรอ้ งไห้พลาง
เก็บขยะไปพลาง เพราะกลัวจะโดนตอี กี เมื่อเกบ็ ขยะเสรจ็ น้องสามเณรกเ็ ตรียมตัวไปสรง
นำ้� ท่แี ม่น�ำ้ คงคา ในขณะนนั้ นอ้ งสามเณรก็เปลง่ วาจาตั้งความปรารถนาขึน้ วา่ “ตราบใดท่ี
ยงั ไม่บรรลพุ ระนพิ พาน กข็ อใหเ้ ป็นผู้มีศกั ดใ์ิ หญ่ มเี ดชมาก ดจุ พระอาทติ ย์เทีย่ งวนั ในทุกที่
ทบ่ี งั เกิด” น้ีเป็นความปรารถนาคร้ังท่ี ๑ หลงั จากนนั้ น้องสามเณรนอ้ งลงไปยังแม่นำ�้ คงคา
เหลือบไปเหน็ ระลอกคล่ืน จึงต้งั ความปรารถนาเปน็ ครง้ั ที่ ๒ วา่ “ขอให้เป็นผมู้ ปี ฏภิ าณไมม่ ีท่ี
สิ้นสดุ ดุจระลอกคล่นื ในทกุ ที่ทบ่ี ังเกิด”
ส่วนพระหนุ่มนัน้ ก็ได้เดินมาท่แี ม่นำ�้ คงคา เพ่อื จะสรงนำ้� เชน่ เดียวกัน ไดย้ ินเสยี งนอ้ ง
สามเณรเปล่งเสยี งตั้งความปรารถนาดังนนั้ กค็ ิดว่า “ความปรารถนาทีน่ อ้ งสามเณรปรารถนา
นั้น จะไม่สำ� เร็จ ไมม่ ี คือตอ้ งส�ำเรจ็ แนน่ อน” จงึ ได้ต้ังความปรารถนาเองบา้ งว่า “ตราบใดท่ียงั
ไมบ่ รรลุพระนพิ พาน ขอใหเ้ ปน็ ผมู้ ปี ฏิภาณไม่มที ีส่ ้นิ สุด สามารถท่จี ะแกป้ ญั หาที่น้องสามเณร
น้ถี ามแลว้ ไดท้ ุกข้อ ในทกุ ที่ท่ีบังเกดิ ”
หลงั จากอัตภาพนั้น ทั้งค่กู ็ท่องเทีย่ วไปในสุคตภิ มู ยิ าวนาน ชาติสุดทา้ ย นอ้ งสามเณร
มาเกดิ เปน็ พระเจา้ มิลนิ ท์ผเู้ กรียงไกร ประเทศม่ันคงมัง่ คัง่ รำ่� รวย มคี วามสนใจในศาสนา ศกึ ษา
หาความรู้ในหลักธรรม แลว้ เที่ยวไปสนทนาธรรมกับพระภกิ ษุมากมาย ถามปญั หาทลี่ กึ ซึ้ง
(ช)
ในศาสนา เปน็ เหตใุ ห้ภิกษทุ ถี่ ูกพระเจา้ มลิ นิ ทต์ รัสถามปญั หา แล้วไมส่ ามารถตอบได้ ก็ได้
หลีกหนไี ปอยูย่ ังสถานทอ่ี นื่
ส่วนพระภิกษุ กก็ ลับมาเกดิ เปน็ พระภกิ ษอุ กี เชน่ เคย โดยมนี ามว่าพระนาคเสนเถระ
เปน็ พระอรหนั ตขีณาสพ ผมู้ ปี ฏิภาณไหวพรบิ มาก สามารถตอบทกุ ปัญหาทีพ่ ระเจ้ามิลินท์
ตรัสถามไดต้ ามพระพทุ ธาธิบาย จนเปน็ ทพี่ อพระทยั ของพระราชา
จะเห็นได้วา่ ความเปน็ พระราชาทเี่ กรยี งไกร ผูม้ ปี ญั ญาแตกฉานในหลกั ธรรม ของ
พระเจ้ามลิ ินท์ และผู้มปี ฏิภาณไม่มที ่ีส้ินสดุ ของพระนาคเสนเถระ ส�ำเร็จด้วยความปรารถนา
สมัยทีเ่ ป็นภกิ ษุกบั สามเณร ท่ที ั้งคทู่ ำ� บุญด้วยการกวาดขยะกบั เกบ็ ขยะ และผเู้ กบ็ ขยะ ก็
ทำ� บญุ ด้วยถูกบังคับใหท้ �ำ ยังสามารถทจ่ี ะใหผ้ ลไดอ้ ยา่ งยิ่งใหญ่ขนาดน้ี ไม่ตอ้ งพูดถึงว่า ถ้า
พวกเราและท่านๆ ทง้ั หลาย พากันทำ� บุญด้วยความต้งั ใจและเต็มใจแล้ว ผลบญุ จะมากมาย
ขนาดไหน
ฉะนัน้ จงึ ขออนุโมทนาบญุ กบั คณุ โยมสุวรรณ ตนั ตระเธยี ร ทตี่ นเองก็ได้สะสมบญุ กศุ ล
ท่ีเปน็ ฝ่ายปริยตั ิ คอื ลงมอื ศึกษาพระอภิธรรม จนจบอภิธรรม และศึกษาพระบาลี จนสำ� เรจ็
บาลศี ึกษา บ.ศ. ๓ เปน็ มหาอุบาสิกา และปรารถนาจะให้ผ้อู ืน่ ได้มโี อกาสได้ศกึ ษาหาความรู้
มคี วามรูใ้ นศาสนาบ้าง จึงปรารภทีจ่ ะเปน็ เจ้าภาพพิมพม์ ิลินทปกรณแ์ ปล เพอื่ แจกเปน็ ธรรม
ทาน ขอใหค้ วามปรารถนาขอคุณโยมจงส�ำเร็จดงั มโนรถทุกประการเทอญ
พระมหาธติ ิพงศ์ อตุ ตฺ มปญฺโŸ
๒๖ พย. ๒๕๖๓
สารบัญ หนา้
ค�ำน�ำ .......... ......... ......... ......... (ก)
คำ� ปรารภของผแู้ ปล .......... ......... ......... ......... (ค)
ค�ำปรารภของเจ้าภาพ .......... ......... ......... ......... (ฆ)
ค�ำชีแ้ จง .......... ......... ......... ......... (ง)
อนุโมทนากถา .......... ......... ......... ......... (ฉ)
นทิ านกถา .......... ......... ......... ......... ๑
๑. ปพุ พโยคกณั ฑ์ .......... ......... ......... ......... ๕
พาหริ กถา .......... ......... ......... ......... ๕
๒. มลิ นิ ทปญั หกณั ฑ ์ .......... ......... ......... ......... ๕๑
๒.๑ มหาวรรค .......... ......... ......... ......... ๕๑
๑. ปญั ญตั ปิ ัญหา .......... ......... ......... ......... ๕๑
๒. วสั สคณนปัญหา .......... ......... ......... ......... ๖๐
๓. วีมังสนปัญหา .......... ......... ......... ......... ๖๑
๔. อนนั ตกายปญั หา .......... ......... ......... ......... ๖๓
๕. ปัพพชั ชาปญั หา .......... ......... ......... ......... ๖๘
๖. ปฏสิ นธปิ ัญหา .......... ......... ......... ......... ๗๑
๗. โยนิโสมนสกิ ารปัญหา .......... ......... ......... ......... ๗๒
๘. มนสกิ ารลักขณปัญหา .......... ......... ......... ......... ๗๓
๙. สีลลักขณปัญหา .......... ......... ......... ......... ๗๔
๑๐. สัมปสาทนลกั ขณสัทธาปญั หา .......... ......... ......... ......... ๗๘
๑๑. สมั ปกั ขนั ทนลกั ขณสทั ธาปัญหา .......... ......... ......... ......... ๘๐
๑๒. วรี ิยลักขณปญั หา .......... ......... ......... ......... ๘๒
๑๓. สตลิ กั ขณปญั หา .......... ......... ......... ......... ๘๓
๑๔. สมาธิปัญหา .......... ......... ......... ......... ๘๗
๑๕. ปญั ญาลักขณปัญหา .......... ......... ......... ......... ๘๙
๑๖. นานาธมั มานงั เอกกิจจอภินปิ ผาทนปัญหา .......... ......... ......... ๙๑
๒.๒ อัทธานวรรค .......... ......... ......... ......... ๙๓
๑. ธมั มสนั ตติปัญหา .......... ......... ......... ......... ๙๓
๒. ปฏสิ นั ทหนปญั หา .......... ......... ......... ......... ๙๗
๓. ญาณปญั ญาปัญหา .......... ......... ......... ......... ๙๘
๔. ปฏิสันหทนปุคคลเวทยิ นปัญหา .......... ......... ......... ......... ๑๐๕
๕. เวทนาปญั หา .......... ......... ......... ......... ๑๐๗
๖. นามรูปเอกตั ตนานัตตปญั หา .......... ......... ......... ......... ๑๐๙
๗. เถรปฏิสันทหนาปฏิสนั ทหนปัญหา .......... ......... ......... ......... ๑๑๖
๘. นามรปู ปฏสิ ันทหนปัญหา .......... ......... ......... ......... ๑๑๘
๙. อทั ธานะปัญหา .......... ......... ......... ......... ๑๑๙
๒.๓ วิจารวรรค .......... ......... ......... ......... ๑๒๑
๑. อัทธานมูลปญั หา .......... ......... ......... ......... ๑๒๑
๒. ปรุ มิ โกฏิปญั หา .......... ......... ......... ......... ๑๒๒
๓. โกฏิปญั ญายนปญั หา .......... ......... ......... ......... ๑๒๕
๔. สังขารชายมานปัญหา .......... ......... ......... ......... ๑๒๗
๕. ภวนั ตสงั ขารชายมานปัญหา .......... ......... ......... ......... ๑๒๘
๖. เวทคูปญั หา .......... ......... ......... ......... ๑๓๔
๗. จักขวุ ิญญาณาทิปัญหา .......... ......... ......... ......... ๑๔๐
๘. ผสั สลักขณปญั หา .......... ......... ......... ......... ๑๔๗
๙. เวทนาลักขณปัญหา .......... ......... ......... ......... ๑๔๙
๑๐. สัญญาลกั ขณปญั หา .......... ......... ......... ......... ๑๕๑
๑๑. เจตนาลกั ขณปัญหา .......... ......... ......... ......... ๑๕๒
๑๒. วิญญาณลักขณปญั หา .......... ......... ......... ......... ๑๕๓
๑๓. วิตกั กลกั ขณปญั หา .......... ......... ......... ......... ๑๕๔
๑๔. วจิ ารลักขณปัญหา .......... ......... ......... ......... ๑๕๕
๒.๔ นิพพานวรรค .......... ......... ......... ......... ๑๕๖
๑. ผสั สาทวิ นิ ิพภุชนปญั หา .......... ......... ......... ......... ๑๕๖
๒. นาคเสนปญั หา .......... ......... ......... ......... ๑๕๘
๓. ปญั จายตนกัมมนพิ พัตตปัญหา .......... ......... ......... ......... ๑๖๐
๔. กมั มนานากรณปัญหา .......... ......... ......... ......... ๑๖๑
๕. วายามกรณปัญหา .......... ......... ......... ......... ๑๖๓
๖. เนรยกิ คั คิอณุ หภาวปัญหา .......... ......... ......... ......... ๑๖๖
๗. ปถวสี ันธารกปญั หา .......... ......... ......... ......... ๑๗๑
๘. นิโรธนพิ พานปัญหา .......... ......... ......... ......... ๑๗๑
๙. นิพพานลภนปญั หา .......... ......... ......... ......... ๑๗๓
๑๐. นพิ พานสขุ ชานนปัญหา .......... ......... ......... ......... ๑๗๔
๒.๕ พทุ ธวรรค .......... ......... ......... ......... ๑๗๖
๑. พทุ ธสั สอตั ถินัตถภิ าวปญั หา .......... ......... ......... ......... ๑๗๖
๒. พุทธสั สอนุตตรภาวปัญหา .......... ......... ......... ......... ๑๗๘
๓. พทุ ธัสสอนตุ ตรภาวชานนปัญหา .......... ......... ......... ......... ๑๗๙
๔. ธมั มทฏิ ฐปัญหา .......... ......... ......... ......... ๑๘๐
๕. อสงั กมนปฏสิ นั ทหนปญั หา .......... ......... ......... ......... ๑๘๑
๖. เวทคปู ัญหา .......... ......... ......... ......... ๑๘๓
๗. อัญญกายสงั กมนปัญหา .......... ......... ......... ......... ๑๘๓
๘. กมั มผลอตั ถิภาวปญั หา .......... ......... ......... ......... ๑๘๕
๙. อปุ ปชั ชติชานนปญั หา .......... ......... ......... ......... ๑๘๖
๑๐. พทุ ธนทิ สั สนปัญหา .......... ......... ......... ......... ๑๘๗
๒.๖ สตวิ รรค .......... ......... ......... ......... ๑๘๙
๑. กายปิยายนปัญหา .......... ......... ......... ......... ๑๘๙
๒. สัพพัญญภู าวปญั หา .......... ......... ......... ......... ๑๙๑
๓. มหาปรุ ิสลักขณปญั หา .......... ......... ......... ......... ๑๙๓
๔. ภควโตพรหมจารีปญั หา .......... ......... ......... ......... ๑๙๖
๕. ภควโตอุปสมั ปทาปญั หา .......... ......... ......... ......... ๑๙๗
๖. อัสสเุ ภสัชชาเภสชั ชปัญหา .......... ......... ......... ......... ๑๙๘
๗. สราควีตราคนานากรณปญั หา .......... ......... ......... ......... ๑๙๙
๘. ปญั ญาปตฏิ ฐานปัญหา .......... ......... ......... ......... ๒๐๐
๙. สงั สารปัญหา .......... ......... ......... ......... ๒๐๑
๑๐. จิรกตสรณปญั หา .......... ......... ......... ......... ๒๐๒
๑๑. อภิชานนั ตสตปิ ญั หา .......... ......... ......... ......... ๒๐๔
๒.๗ อรูปธมั มววัตถานวรรค (ววตฺตนวคฺค) .......... ......... ......... ......... ๒๐๖
๑. สตอิ ุปปัชชนปญั หา .......... ......... ......... ......... ๒๐๖
๒. พุทธคณุ สตปิ ฏลิ าภปญั หา .......... ......... ......... ......... ๒๑๒
๓. ทุกขัปปหานวายมปัญหา .......... ......... ......... ......... ๒๑๓
๔. พรหมโลกปัญหา .......... ......... ......... ......... ๒๑๘
๕. ทวินนงั โลกุปปนั นานังสมกภาวปญั หา .......... ......... ......... ๒๒๐
๖. โพชฌงคปญั หา .......... ......... ......... ......... ๒๒๒
๗. ปาปปญุ ญานังอัปปานัปปภาวปัญหา .......... ......... ......... ......... ๒๒๔
๘. ชานนั ตาชานันตปาปกรณปัญหา .......... ......... ......... ......... ๒๒๕
๙. อตุ ตรกุรกุ าทคิ มนปัญหา .......... ......... ......... ......... ๒๒๖
๑๐. ทฆี ัฏฐิปัญหา .......... ......... ......... ......... ๒๒๘
๑๑. อัสสาสปัสสาสนโิ รธปญั หา .......... ......... ......... ......... ๒๒๙
๑๒. สมทุ ทปญั หา .......... ......... ......... ......... ๒๓๐
๑๓. สมทุ ทเอกรสปญั หา .......... ......... ......... ......... ๒๓๑
๑๔. สขุ ุมปญั หา .......... ......... ......... ......... ๒๓๒
๑๕. วญิ ญาณนานัตถปญั หา .......... ......... ......... ......... ๒๓๓
๑๖. อรูปธัมมววัตถานทุกกรปัญหา .......... ......... ......... ......... ๒๓๔
มลิ นิ ทปญั หปุจฉาวิสัชชนา .......... ......... ......... ......... ๒๓๖
๓. ลกั ขณปญั หกณั ฑ ์ .......... ......... ......... ......... ๒๔๑
๑. อฏั ฐวตั ตปญั หา .......... ......... ......... ......... ๒๔๑
๒. อฏั ฐมันตปรวิ ัชชนยี ัฏฐานปัญหา .......... ......... ......... ......... ๒๔๓
๓. อัฏฐมันตวินาสกปคุ คลปัญหา .......... ......... ......... ......... ๒๔๖
๔. นวคยุ หมันตวิธังสกปุคคลปัญหา .......... ......... ......... ......... ๒๔๗
๕. อัฏฐปญั ญาปฏิลาภการณปญั หา .......... ......... ......... ......... ๒๔๙
๖. ปัญจวสี ตอิ าจรยิ คุณปญั หา .......... ......... ......... ......... ๒๕๐
๗. ทสอุปาสกคุณปัญหา .......... ......... ......... ......... ๒๕๓
๔. เมณฑกปัญหกณั ฑ ์ .......... ......... ......... ......... ๒๕๕
๔.๑ อิทธพิ ลวรรค .......... ......... ......... ......... ๒๕๕
๑. กตาธกิ ารสผลปญั หา .......... ......... ......... ......... ๒๕๕
๒. พุทธสัพพัญญูภาวปัญหา .......... ......... ......... ......... ๒๖๙
๓. เทวทัตตปัพพชั ชปญั หา .......... ......... ......... ......... ๒๘๐
๔. ปถวจี ลนปญั หา .......... ......... ......... ......... ๒๙๑
๕. สิวิราชจกั ขทุ านปัญหา .......... ......... ......... ......... ๓๐๑
๖. คพั ภาวักกนั ติปญั หา .......... ......... ......... ......... ๓๐๙
๗. สทั ธัมมนั ตรธานปัญหา .......... ......... ......... ......... ๓๒๓
๘. อกุสลัจเฉทนปัญหา .......... ......... ......... ......... ๓๓๐
๙. อุตตรกิ รณียปัญหา .......... ......... ......... ......... ๓๓๙
๑๐. อิทธพิ ลทสั สนปญั หา .......... ......... ......... ......... ๓๔๔
๔.๒ อเภชชวรรค .......... ......... ......... ......... ๓๔๘
๑. ขุททานขุ ุททกปญั หา .......... ......... ......... ......... ๓๔๘
๒. อัพยากรณียปญั หา .......... ......... ......... ......... ๓๕๑
๓. มจั จุภายนาภายนปัญหา .......... ......... ......... ......... ๓๕๔
๔. มจั จปุ าสมุตตปิ ัญหา .......... ......... ......... ......... ๓๖๔
๕. พุทธลาภันตรายปัญหา .......... ......... ......... ......... ๓๗๒
๖. อปญุ ญปญั หา .......... ......... ......... ......... ๓๘๐
๗. ภกิ ขุสังฆปรหิ รณปัญหา .......... ......... ......... ......... ๓๘๒
๘. อเภชชปรสิ ปัญหา .......... ......... ......... ......... ๓๘๔
๔.๓ ปณามติ วรรค .......... ......... ......... ......... ๓๘๗
๑. เสฏฐธัมมปญั หา .......... ......... ......... ......... ๓๘๗
๒. สพั พสัตตหิตผรณปญั หา .......... ......... ......... ......... ๓๙๒
๓. วตั ถคุยหนิทัสสนปญั หา .......... ......... ......... ......... ๓๙๙
๔. ผรุสวาจาภาวปัญหา .......... ......... ......... ......... ๔๐๕
๕. รุกขอเจตนาภาวปัญหา .......... ......... ......... ......... ๔๐๙
๖. ปณิ ฑปาตมหัปผลปญั หา .......... ......... ......... ......... ๔๑๒
๗. พุทธปชู นปญั หา .......... ......... ......... ......... ๔๑๗
๘. ปาทสกลกิ าหตปัญหา .......... ......... ......... ......... ๔๒๐
๙. อคั คคั คสมณปัญหา .......... ......... ......... ......... ๔๒๕
๑๐. วณั ณภณนปญั หา .......... ......... ......... ......... ๔๒๘
๑๑. อหงิ สานคิ คหปัญหา .......... ......... ......... ......... ๔๓๑
๑๒. ภิกขปุ ณามติ ปญั หา .......... ......... ......... ......... ๔๓๕
---------------------------------------------------
มิลินทปญั หาปกรณ์แปล
เลม่ ๑
นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมพฺ ุทฺธสสฺ .
นิทานกถา
[๑] มลิ นิ โฺ ท นาม โส ราชา สาคลายํ ปรุ ุตตฺ เม
อุปค ฉฺ ิ นาคเสน ํ คงฺคา จ ยถา สาครํ ฯ
อาสชชฺ ราชา จติ รฺ กถ ี อุกฺกาธาร ํ ตโมนทุ ํ
อปุจฺฉิ นิปุเณ ป เฺ ห านาฏ ฺ านคเต ปถุ ู ฯ
ปุจฺฉา วสิ สฺ ชชฺ นา เจว คมฺภีรตฺถปู นสิ สฺ ิตา
หทยงฺคมา กณณฺ สุขา อพฺภตุ า โลมหสํ นา ฯ
อภิธมมฺ วินโยคาฬหฺ า สตุ ตฺ ชาลสมตถฺ ิตา
นาคเสนกถา จิตฺรา โอปมฺเมห ิ นเยหิ จ ฯ
ตตฺถ าณ ํ ปณิธาย หาสยิตฺวาน มานส ํ
สณุ าถ นปิ เุ ณ ป ฺเห กงขฺ าฏฺ านวทิ าลเนติ ฯ
กถาว่าดว้ ยเหตุเกดิ ของปญั หา
[๑] พระราชาพระนามว่ามิลินทพ์ ระองค์น้ัน ได้เสด็จเขา้ ไปหาพระ
นาคเสน ณ สาคลราชธานี ดุจแม่น�้ำใหญ่ ๕ สาย มีแมน่ �ำ้ คงคา
เป็นตน้ ไหลไปยงั มหาสมุทร ฉะนน้ั พระราชาผู้มีพระด�ำรัสอนั
วิจิตร ครัน้ ประทบั นง่ั แล้ว ตรสั ถามปัญหาที่ละเอยี ดอ่อนอนั
ด�ำรงอยใู่ นเหตุ และมิใช่เหตุ หลายปญั หากับทา่ นพระนาคเสน
ผู้เปน็ ดจุ ทรงไว้ซึง่ คบเพลิง บรรเทาความมืดมนอนธการ ทั้ง
ปจุ ฉาและวิสัชนาล้วนอิงอาศัยอรรถที่ลกึ ซง้ึ จบั ใจ เสนาะโสต
2 มิลนิ ทปญั หาปกรณ์แปล [นิทาน
น่าอศั จรรย์ ท�ำใหเ้ กดิ โลมชาตขิ นลุกชชู นั
ค�ำของพระนาคเสนหยั่งลงในพระอภิธรรมและพระวินัย
ประกอบดว้ ยพระสูตรซึง่ เป็นดุจขา่ ย วจิ ติ รดว้ ยอุปมาและนัย
ทงั้ หลาย
ขอทา่ นทง้ั หลายจงต้งั ญาณ ท�ำใจใหร้ ่าเรงิ ฟงั ปญั หาที่ละเอียด
อ่อน อันเป็นเครอื่ งท�ำลายฐานะท่นี า่ สงสัย ในมิลนิ ทปญั หา
ปกรณน์ ั้นเถดิ
[๒] ต ํ ยถานสุ สฺ ูยเต – อตฺถิ โยนกานํ นานาปฏุ เภทน ํ สาคล ํ นาม นคร ํ นท-ี
ปพฺพตโสภติ ํ รมณยี ภูมิปปฺ เทสภาคํ อารามยุ ยฺ าโนปวนตฬากโปกขฺ รณิสมปฺ นนฺ ํ นทีปพพฺ ต-
วนรามเณยฺยกํ สุตวนฺตนมิ ฺมติ ํ นหิ ตปจฺจตถฺ ิก ํ ปจฺจามิตตฺ านุปปีฬติ ํ วิวิธวจิ ติ รฺ ทฬฺหมฏฏฺ าล-
โกฏ ฺ กํ วรปวรโคปรุ โตรณํ คมภฺ รี ปริขาปณฑฺ รปาการปริกขฺ ติ ฺตนฺเตปรุ ํ สุวิภตตฺ วีถจิ จฺจร-
จตกุ กฺ สงิ ฆฺ าฏก ํ สุปฺปสาริตาเนกวธิ วรภณฺฑปรปิ รู ติ นตฺ ราปณํ วิวธิ ทานคฺคสตสมุปโสภติ ํ หมิ -
คริ ิสิขรสงกฺ าสวรภวนสตสหสสฺ ปปฺ ฏมิ ณฑฺ ติ ํ คชหยรถปตฺติสมากลุ ํ อภริ ปู นรนาริคณานจุ ริตํ
อากณิ ฺณชนมนสุ ฺส ํ ปถุ ขุ ตตฺ ิยพฺราหฺมณเวสสฺ สทุ ฺทํ ววิ ิธสมณพฺราหมฺ ณสภาชนสงฺฆฏติ ํ พหวุ ธิ -
วชิ ฺชาวนฺตนรจิรนเิ สวิต ํ กาสกิ โกฏุมฺพริกาทินานาวิธวตถฺ าปณสมฺปนฺนํ สปุ ฺปสารติ รุจิรพหวุ ธิ -
ปปุ ผฺ คนธฺ าปณํ คนฺธคนธฺ ิต ํ อาสสี นยี พหรุ ตนปริปูริตํ ทสิ ามขุ สุปฺปสาริตาปณ ํ สงิ คฺ ารวาณชิ -
คณานุจรติ ํ กหาปณรชตสุวณฺณกสํ ปตฺถรปรปิ ูร ํ ปชโฺ ชตมานนิธินิเกตํ ปหตู ธนธ ฺ วติ ฺตูป-
กรณ ํ ปริปุณฺณโกสโกฏฺ าคาร ํ พหฺวนฺนปาน ํ พหุวธิ ขชชฺ โภชชฺ เลยยฺ เปยฺยสายนียํ อตุ ฺตรกรุ ุ-
สงกฺ าส ํ สมปฺ นนฺ สสสฺ ํ อาฬกมนทฺ า วิย เทวปรุ ํ ฯ
[๒] ตามทีไ่ ด้สดับต่อ ๆ กนั มานน้ั มีเร่ืองเลา่ วา่ มีนครช่ือว่าสาคละ เป็นท่แี ลกเปลย่ี น
สนิ ค้าต่าง ๆ ของพวกโยนก๑ เป็นเมืองท่สี วยงามดว้ ยแม่นำ้� และภูเขา มีภูมปิ ระเทศทนี่ ่า
รน่ื รมย์ เตม็ ไปด้วยวัด อทุ ยาน ชายป่า ตระพงั น�ำ้ และสระโบกขรณี มแี ม่น้�ำ ภูเขา ป่าที่น่า
รื่นรมย์ มีแต่สงิ่ ทผ่ี ้มู คี วามรู้สร้างสรรคไ์ ว้ ปราศจากข้าศึกรบกวน ศตั รไู ม่เขา้ ไปเบียดเบียน มี
ป้อมและซ้มุ ประตูทม่ี ัน่ คงวจิ ิตรหลากหลาย มปี ้อมเชิงเทนิ ทีเ่ ลิศหรูยอดเยีย่ ม มีคเู มืองลกึ และ
๑ พวกโยนกในที่นี้ หมายถงึ พวกกรกี ท่เี ข้ามาอาศยั ต้งั บ้านเรือนอยู่ในแคว้นปัญจาปของอนิ เดยี ครงั้ ท ่ี
อเล็กซานเดอรม์ หาราชพิชิตแควน้ นี้ได้ มไิ ดห้ มายถึงชาวไทยแถบล้านนา
กถา] นทิ านกถา 3
ก�ำแพงขาวรายรอบล้อมเมืองภายในไว้ มีถนน ตรอกซอย ทางส่ีแพรง่ ตดั แบง่ ไว้อยา่ งดี
ระหวา่ งตลาดเต็มไปดว้ ยสนิ ค้าดี ๆ หลายอยา่ งตัง้ เสนอขายเป็นอยา่ งดี สวยงามดว้ ยโรงทาน
หลากหลายนบั เป็นร้อยแหง่ ประดบั ดว้ ยทีอ่ ยู่อาศยั อยา่ งดีนับเป็นแสน ๆ คล้ายกับยอดเขา
หมิ าลัย พลกุ พลา่ นไปดว้ ยชา้ ง มา้ รถ คนเดนิ เทา้ มีหมู่ชายหญิงทท่ี ั้งหลอ่ ทัง้ สวยเที่ยวสัญจร
ไปมา มีผคู้ นอยูก่ ระจัดกระจายไปทัว่ มที ้ังพวกกษตั ริย์ พราหมณ์ แพศย์ และพวกศทู ย์
มากมาย ภาชนะของสมณพราหมณห์ ลากหลายเบียดเสยี ดกัน เปน็ ทอี่ ยขู่ องคนมวี ชิ าความ
รมู้ ากมายอยู่กันมาอย่างช้านาน ถงึ พร้อมด้วยตลาดผ้านานาชนิด มผี ้าทอจากแควน้ กาสี และ
แควน้ โกฏุมพร เป็นต้น มตี ลาดค้าดอกไม้และของหอมหลากหลายสวยงามทวี่ างขายไวเ้ ป็น
อย่างดี ฟงุ้ ไปด้วยกลน่ิ หอม เพียบพร้อมดว้ ยรตั นชาติหลายอย่างที่นา่ ปรารถนา มีตลาดต้งั
เสนอขายหันหนา้ ตรงทศิ เป็นที่หมพู่ ่อคา้ แตง่ กายงามหรเู ทย่ี วไป แพรห่ ลายบริบูรณ์ดว้ ย
กหาปณะ เงนิ ทอง ทองแดง มธี งปักโบกไสว มที รัพยส์ ิน ธญั ญาหาร อปุ กรณเ์ ครือ่ งปลื้มใจ
มากมาย บริบรู ณ์ด้วยยงุ้ ฉางและคลงั สนิ คา้ มขี า้ วน�้ำมากมาย มขี องเคีย้ ว ของกนิ ของเลีย
ของด่มื ของล้มิ หลากหลาย มขี า้ วกล้าอุดมสมบูรณ์คลา้ ยกบั อุตตรกุรทุ วปี ประดจุ เทพนคร ช่อื
ว่า อาฬกมันทา ฉะน้ัน
ตตถฺ ตวฺ า เตส ํ ปพุ ฺพกมมฺ ํ กเถตพฺพํ, กเถนฺเตน จ ฉธา วิภชติ วฺ า กเถตพพฺ ํ ฯ
เสยฺยถิท ํ – ปพุ ฺพโยโค มลิ นิ ฺทป ฺหํ ลกฺขณป ฺหํ เมณฺฑกป หฺ ํ อนุมานป ฺหํ โอปมฺม-
กถาป ฺหนฺติ ฯ
บณั ฑิตผดู้ �ำรงอย่ใู นสาคลนครนัน้ กลา่ วถงึ บุพกรรม (กรรมท่ที �ำไว้ในชาติปางก่อน)
ของพระเจ้ามลิ ินท์กับพระนาคเสนเหล่าน้ัน และเมือ่ จะกล่าว กค็ วรกล่าวแบง่ เป็น ๖ กัณฑ์ก่อน
๖ กณั ฑ์ดงั น้ี คอื
๑. ปุพพโยค วา่ ดว้ ยบุพกรรมของพระเจ้ามลิ ินท์กบั พระนาคเสน
๒. มลิ ินทปญั หา วา่ ดว้ ยปัญหาเงื่อนเดียว
๓. ลักขณปญั หา ว่าด้วยปญั หาลักษณะแหง่ ธรรมต่างๆ
๔. เมณฑกปัญหา ว่าดว้ ยปัญหา ๒ เงอ่ื น
๕. อนุมานปัญหา วา่ ด้วยปญั หาทร่ี โู้ ดยอนุมานรู้
๖. โอปมั มกถาปญั หา วา่ ด้วยปัญหาที่พงึ ทราบด้วยการเปรยี บเทียบ
4 มิลินทปัญหาปกรณแ์ ปล [นทิ าน
ตตถฺ มลิ ินฺทป ฺโห ลกขฺ ณป โฺ ห, วมิ ตจิ ฺเฉทนป ฺโหต ิ ทุวโิ ธ ฯ เมณฑฺ กป โฺ หป ิ
มหาวคโฺ ค, โยคิกถาป ฺโหติ ทวุ โิ ธ ฯ
ใน ๖ กัณฑ์นั้น มิลนิ ทปัญหา มี ๒ ประการ คอื
๑. ลักขณปญั หา วา่ ด้วยปัญหาลกั ษณะแหง่ ธรรมตา่ งๆ
๒. วิมตเิ ฉทนปญั หา ว่าด้วยปัญหาทถ่ี ามเพ่อื จะตัดความสงสัย
แมเ้ มณฑกปัญหา ก็มี ๒ ประการ คอื
๑. มหาวรรค ว่าด้วยความยง่ิ ใหญแ่ หง่ หมวดธรรมบางอยา่ ง
๒. โยคกิ ถาปัญหา ว่าด้วยพระโยคาวจรควรปฏบิ ัติตนใหเ้ หมือนอย่างลา เป็นต้น
________
๑. ปพุ ฺพโยคกณฺฑ กณั ฑป์ พุ พโยคะ
พาหิรกถา
พาหริ กถา ว่าดว้ ยเรอื่ งภายนอก
ปุพพฺ โยคาทิ
ว่าดว้ ยเร่ืองกรรมในชาติปางกอ่ นเปน็ ต้น
[๓] “ปุพพฺ โยโค”ติ เตสํ ปพุ ฺพกมมฺ ํ ฯ
[๓] ค�ำว่า “ปพุ พฺ โยค” ได้แก่ กรรมในชาติปางกอ่ นของชนเหล่าน้ัน (คอื พระเจ้า
มิลินท์กบั พระนาคเสนเถระ)
อตเี ต กิร กสฺสปสฺส ภควโต สาสเน วตตฺ มาเน คงฺคาย สมีเป เอกสมฺ ึ อาวาเส
มหาภกิ ฺขสุ โํ ฆ ปฏิวสติ, ตตฺถ วตฺตสีลสมฺปนฺนา ภิกฺข ู ปาโตว อุฏฺ าย ยฏ ฺ สิ มฺมชฺชนโิ ย
อาทาย พุทธฺ คุเณ อาวชเฺ ชนตฺ า องฺคณ ํ สมมฺ ชฺชติ ฺวา กจวรพยฺ ูห ํ กโรนตฺ ิ ฯ อเถโก ภิกฺขุ
เอกํ สามเณรํ ‘‘เอห ิ สามเณร, อมิ ํ กจวรํ ฉฑฺเฑหี’’ติ อาห, โส อสณุ นโฺ ต วยิ คจฺฉติ,
โส ทุตยิ มปฺ ิ…เป.… ตตยิ มปฺ ิ อามนตฺ ยิ มาโน อสณุ นโฺ ต วยิ คจฺฉเตว ฯ ตโต โส ภิกขฺ ุ
‘‘ทุพฺพโจ วตายํ สามเณโร’’ต ิ กทุ ฺโธ สมฺมชชฺ นิทณเฺ ฑน ปหารํ อทาสิ ฯ ตโต โส โรทนโฺ ต
ภเยน กจวรํ ฉฑฺเฑนฺโต ‘‘อมิ ินา กจวรฉฑฑฺ นปุ ฺ กมเฺ มน ยาวาหํ นิพพฺ าน ํ น
ปาปุณามิ, เอตถฺ นตฺ เร นิพฺพตฺตนพิ พฺ ตตฺ ฏ ฺ าเน มชฺฌนหฺ ิกสรู โิ ย วิย มเหสกโฺ ข มหาเตโช
ภเวยฺยน”ฺ ติ ป ม ํ ปตฺถนํ ปฏฺ เปสิ ฯ กจวร ํ ฉฑเฺ ฑตฺวา นหานตฺถาย คงฺคาติตฺถ ํ คโต
คงฺคาย อูมิเวคํ คคฺครายมานํ ทิสฺวา ‘‘ยาวาหํ นิพฺพาน ํ น ปาปุณาม,ิ เอตถฺ นตฺ เร
นิพฺพตฺตนพิ ฺพตฺตฏ ฺ าเน อย ํ อมู เิ วโค วยิ านุปฺปตฺตกิ ปฏภิ าโน ภเวยยฺ ํ อกขฺ ยปฏิภาโน’’ติ
ทุตยิ มฺป ิ ปตถฺ น ํ ปฏ ฺ เปสิ ฯ
เล่ากนั มาวา่ ในครง้ั อดตี ชาติ เมอ่ื พระศาสนาของพระผู้มพี ระภาคพระนามว่ากัสสปะ
ยังเป็นไปอยู่ ภกิ ษสุ งฆ์หมใู่ หญ่อาศยั อยทู่ ี่อาวาสแห่งหนึ่ง ใกล้แม่น้�ำคงคา. บรรดาภกิ ษเุ หลา่
นน้ั พวกภกิ ษุผู้สมบรู ณ์ด้วยวัตรและศีล ลกุ ขึน้ แตเ่ ช้าตรู่ ถอื ไมก้ วาดด้ามยาว นึกถงึ พุทธคุณ
ปดั กวาดลาน แล้วรวมขยะไว้เปน็ กอง ๆ. ทนี ้นั ภิกษรุ ูปหนงึ่ พูดกับสามเณรรูปหนงึ่ ว่า “น่ีแนะ
สามเณร เธอจงมา จงเอาขยะนีไ้ ปท้ิง”. สามเณรน้นั ก็เดินไปท�ำเหมอื นไม่ไดย้ นิ . ภิกษจุ ะเรียก
อย่ถู ึง ๒ ครั้ง ๓ ครัง้ สามเณรนั้นก็เดินไป ท�ำเปน็ เหมือนไมไ่ ดย้ ิน. แตน่ ัน้ ภิกษุนัน้ โกรธขึ้นว่า
6 มิลนิ ทปญั หาปกรณแ์ ปล [๑.ปพุ พโยค
“สามเณรรูปน้วี า่ ยากจริงหนอ” ดงั นี้ จงึ ใช้ด้ามไม้กวาดตีเอา. แตน่ ้นั สามเณรกร็ อ้ งไห้ เพราะ
ความกลวั จึงหอบขยะไปทง้ิ ได้ตงั้ ความปรารถนาเปน็ ครงั้ แรกวา่ “ดว้ ยบญุ กรรมคือการทง้ิ
ขยะนี้ เรายงั ไม่บรรลพุ ระนิพพานเพียงใด, ในระหวา่ งกาลนี้ ขอเราพงึ เปน็ ผู้มศี ักดใิ์ หญ่ มีเดช
มาก เหมอื นอย่างดวงอาทติ ยใ์ นเวลาเทย่ี งวนั ในทที่ กุ สถานท่เี ราบังเกิดข้นึ เถดิ พอทิ้งขยะ
เสรจ็ แล้ว กไ็ ปยงั ทา่ น้ำ� คงคาเพือ่ สรงน้�ำ พอเหน็ ระลอกคลื่นในแม่นำ�้ คงคาท่หี มนุ เป็นเกลยี วมา
อยู่ ก็ตั้งความปรารถนาแมเ้ ปน็ ครงั้ ที่ ๒ วา่ “เรายงั ไมบ่ รรลพุ ระนพิ พานเพยี งใด, ในระหว่าง
กาลน้ี ขอเราพงึ เปน็ ผมู้ ปี ฏภิ าณอุบตั ิขึ้นโดยสมควรแก่เหตุ มีปฏิภาณไมร่ ู้จกั หมดจักสิ้นไป
เหมือนระลอกคลน่ื นี้ ในที่ทกุ สถานท่ีเราบังเกิดขน้ึ เถิด”
โสป ิ ภิกฺขุ สมฺมชฺชนิสาลาย สมมฺ ชฺชน ึ เปตฺวา นหานตถฺ าย คงฺคาติตถฺ ํ คจฉฺ นฺโต
สามเณรสสฺ ปตฺถน ํ สุตวฺ า ‘‘เอส มยา ปโยชโิ ตปิ ตาว เอว ํ ปตฺเถติ, มยฺหํ ก ึ น
สมชิ ฌฺ ิสฺสตี’’ต ิ จินฺเตตฺวา ‘‘ยาวาห ํ นิพพฺ าน ํ น ปาปุณามิ, เอตถฺ นฺตเร นพิ พฺ ตตฺ นิพฺพตฺตฏฺ-
าเน อยํ คงคฺ าอมู เิ วโค วยิ อกขฺ ยปฏิภาโน ภเวยฺยํ, อมิ นิ า ปุจฉฺ ิตปจุ ฉฺ ติ ํ สพฺพ ํ ป หฺ -
ปฏภิ านํ วชิ เฏตุํ นิพเฺ พเ ต ุํ สมตโฺ ถ ภเวยยฺ นฺ”ต ิ ปตถฺ นํ ปฏฺ เปสิ ฯ
แม้ภิกษรุ ูปน้นั พอวางไมก้ วาดไวท้ โี่ รงเก็บไมก้ วาด ก็เดินไปยังท่าน้�ำทแ่ี ม่นำ�้ คงคา
เพอื่ ตอ้ งการจะสรงนำ�้ ไดย้ นิ ค�ำปรารถนาของสามเณรเข้า จึงคดิ วา่ “สามเณรรูปน้ี แมถ้ ูกเราใช้
ก็ยังปรารถนาอยา่ งนก้ี อ่ น กค็ วามปรารถนานั้น จักไม่ส�ำเรจ็ แก่เราบา้ งหรอื ” ดังน้แี ล้ว กต็ ้งั
ความปรารถนาว่า “ในระหว่างกาลทีเ่ รายังไม่ได้บรรลุพระนิพพานนี้ ขอเราพงึ เป็นผู้มปี ฏิภาณ
ไมร่ จู้ ักหมดจักสิน้ ไป เหมือนระลอกคลืน่ ในแม่น้ำ� คงคาน้ี ในท่ีทุกสถานทเ่ี ราบงั เกิดแล้ว ขอเรา
พึงเปน็ ผ้สู ามารถทจี่ ะแก้ ที่จะเปลือ้ งปัญหาปฏภิ าณท่ีสามเณรรูปน้ีถามได้ทุกอยา่ งเถิด”
เต อุโภป ิ เทเวส ุ จ มนสุ ฺเสส ุ จ สสํ รนฺตา เอก ํ พทุ ธฺ นฺตร ํ เขเปสํุ ฯ อถ อมหฺ าก ํ
ภควตาปิ “ยถา โมคฺคลิปตุ ตฺ ตสิ สฺ ตฺเถโร ทิสสฺ ต,ิ เอวเมเตป ิ ทสิ ฺสนตฺ ิ, มม ปรนิ ิพฺพานโต
ป จฺ วสฺสสเต อติกฺกนเฺ ต เอเต อุปฺปชฺชิสฺสนฺต,ิ ย ํ มยา สขุ มุ ํ กตฺวา เทสติ ํ ธมมฺ วินย,ํ ต ํ
เอเต ป หฺ ปจุ ฉฺ นโอปมมฺ ยุตตฺ วิ เสน นชิ ชฺ ฏํ นคิ ฺคุมพฺ ํ กตวฺ า วิภชิสสฺ นฺตตี ิ นทิ ทฺ ิฏฺ า ฯ
บคุ คลแมท้ ง้ั ๒ น้ัน ทอ่ งเทยี่ วไปในเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ส้นิ ไปพุทธันดรหน่ึง ต่อ
มา แม้พระผู้มีพระภาคของพวกเราก็ไดท้ รงแสดงไว้วา่ “บคุ คลทั้ง ๒ แมน้ ี้ จกั ปรากฏขึ้น
เหมือนอยา่ งท่พี ระโมคคัลลีบุตรตสิ สเถระปรากฏขน้ึ ฉะนน้ั เม่ือกาลล่วงไป ๕๐๐ ปี นับแตก่ าล
ปรนิ ิพพานของเรา บุคคลทงั้ ๒ นจี้ กั เกดิ ขึ้น บุคคลทัง้ ๒ นี้จักจ�ำแนกธรรมและวินัยท่ีเราแสดง
กณั ฑ]์ พาหิรกถา 7
ไว้อย่างสขุ ุม ให้หายยุ่งเหยงิ หมดเง่อื นง�ำ ดว้ ยอ�ำนาจแหง่ ค�ำถาม อุปมา และยตุ ิในปญั หา”
[๔] เตส ุ สามเณโร ชมพฺ ทุ ีเป สาคลนคเร มลิ ินฺโท นาม ราชา อโหสิ ปณฺฑโิ ต
พฺยตโฺ ต เมธาว ี ปฏิพโล อตตี านาคตปจฺจปุ ปฺ นฺนาน ํ มนฺตโยควธิ านกิริยานํ กรณกาเล
นิสมฺมการี โหต,ิ พหนู ิ จสฺส สตฺถาน ิ อุคคฺ หติ าน ิ โหนตฺ ิ ฯ เสยฺยถิทํ, สุติ สมฺมตุ ิ สงขฺ ฺยา
โยคา นตี ิ วิเสสิกา คณกิ า คนฺธพพฺ า ตกิ จิ ฺฉา จตุพเฺ พทา ปรุ าณา อิตหิ าสา โชติสา มายา
เหต ุ มนฺตนา ยุทฺธา ฉนทฺ สา พทุ ธฺ วจเนน เอกนู วสี ติ, วติ ณฑฺ วาท ี ทุราสโท ทปุ ฺปสโห
ปุถตุ ิตฺถกรานํ อคฺคมกขฺ ายติ, สกลชมพฺ ุทเี ป มลิ นิ ฺเทน ร ฺ า สโม โกจิ นาโหส,ิ ยททิ ํ
ถาเมน ชเวน สูเรน ป ฺ าย, อฑฺโฒ มหทธฺ โน มหาโภโค อนนตฺ พลวาหโน ฯ
[๔] ในบคุ คลทงั้ ๒ น้นั สามเณรไดเ้ กดิ เปน็ พระราชาทรงพระนามว่า มลิ นิ ท์ ทส่ี าคล
นครในชมพูทวีป ทรงเปน็ บณั ฑิต ผเู้ ฉลยี วฉลาด เป็นนกั ปราชญ์ มีความสามารถ มีปกติ
ใคร่ครวญกอ่ นแล้วจึงท�ำทกุ คราวทที่ รงท�ำสิง่ ควรท�ำ ด้วยการวางแผนและลงมอื ท�ำ ทัง้ ทเี่ ป็น
อดตี อนาคต และปจั จุบัน ท้ังได้ทรงเรยี นศาสตรท์ ง้ั หลายเปน็ อนั มาก ศาสตรเ์ หลา่ น้ีมอี ะไร
บา้ ง ไดแ้ ก่
๑. สตุ ิ ศัพทศาสตร์ คอื รู้ภาษาเสียงสัตว์ มีนกรอ้ ง เปน็ ต้น ว่าดีหรือร้าย
๒. สัมมุติ ธรรมศาสตร์ ว่าดว้ ยหลักเกณฑ์การวนิ ิจฉยั อรรถคดีของราชการ
๓. สงั ขยา สังขยาศาสตร์ ว่าด้วยหลกั การนับเลขจ�ำนวน
๔. โยคะ โยคศาสตร์ ว่าด้วยการใชข้ องขลงั เปน็ เครอื่ งประกนั วา่ จะไม่เกดิ ภัย
อนั ตรายข้นึ ในอนาคต
๕. นีติ นิตศิ าสตร์ วา่ ดว้ ยข้อท่ีพระราชาและชาวโลกพงึ ประพฤติ
๖. วเิ สสิกา ศาสตรว์ ่าด้วยการใชเ้ คร่ืองมอื มเี ครอื่ งชั่ง เปน็ ตน้ วชิ ากอ่ สรา้ ง
๗. คณิกา คณิตศาสตร์
๘. คนั ธัพพา วชิ าดนตรี การฟอ้ นร�ำ ขับร้อง บรรเลง
๙. ตกิ ิจฉา แพทยศาสตร์
๑๐. จตุพเพทะ ได้แก่ เวท ๔ คอื อิรุเวท สามเวท ยชรุ เวท อาถรรพณเวท
๑๑. ปรุ าณะ ชื่อคมั ภีรใ์ นศาสนาฮินดู
๑๒. อิติหาสะ วชิ าประวัตศิ าสตร์
๑๓. โชตสิ า พยากรณ์ศาสตร์
๑๔. มายา มายาศาสตร์
8 มิลนิ ทปญั หาปกรณ์แปล [๑.ปุพพโยค
๑๕. เหตุ วิชาว่าดว้ ยลางบอกเหตุดหี รอื ร้าย
๑๖. มนั ตนา ศาสตรข์ องพวกวทิ ยาธร ท�ำนายส่งิ ท่ตี อ้ งการรู้
๑๗. ยทุ ธะ ยทุ ธศาสตร์ ว่าดว้ ยต�ำราพิชัยสงคราม
๑๘. ฉนั ทสะ ฉันทศาสตร์ วา่ ด้วยกิจท่ีจะพึงท�ำส�ำหรับพวกผู้หญงิ มีการป่ันด้าย
เปน็ ตน้ กจิ ที่พึงท�ำส�ำหรับพวกผ้ชู ายมีการไถนาเปน็ ต้น ท่พี งึ ท�ำไดต้ ามความพอใจของตน
พรอ้ มทงั้ พระพทุ ธพจน์ รวมเปน็ ๑๙ ศาสตร์ ทรงเปน็ วติ ัณฑวาที (มวี าทะทที่ �ำใหจ้ ิตใจ
ของบุคคลอืน่ หว่นั ไหว) เปน็ ผู้ทใ่ี คร ๆ เขา้ ใกล้ไดย้ าก (ไมม่ ใี ครกล้าเผชิญหนา้ ) ขม่ ได้ยาก
นบั ว่าเปน็ ยอดแหง่ บรรดาเจา้ ลทั ธแิ ตล่ ะลทั ธิ ในชมพทู วีปท้งั ส้ิน ไม่มใี คร ๆ ที่จะเสมอกับ
พระเจ้ามลิ ินท์ ดว้ ยพละก�ำลงั เชาว์ ความกล้าหาญ และปัญญา ทรงเปน็ ผมู้ ง่ั คงั่ มีทรัพยม์ าก
มสี มบัตมิ าก มไี พรพ่ ลและพาหนะหาทสี่ ุดมิได้
[๕] อเถกทิวส ํ มลิ ินโฺ ท ราชา อนนฺตพลวาหน ํ จตรุ งคฺ ินึ พลคคฺ เสนาพฺยหู ํ ทสฺสน-
กมยฺ ตาย นครา นกิ ขฺ มิตฺวา พหินคเร เสนงฺคทสสฺ น ํ กตวฺ า สาเรตฺวา โส ราชา ภสฺสป-ฺ
ปวาทโก โลกายตวติ ณฺฑชนสลลฺ าปปลฺ วจติ ฺตโกตหู โล วิสารโท วชิ มภฺ โก สูรยิ ํ โอโลเกตฺวา
อมจเฺ จ อามนฺเตสิ ‘‘พหุ ภเณ ตาว ทิวสาวเสโส ก ึ กรสิ สฺ าม, อิทาเนว นคร ํ ปวิสิตวฺ า
อตฺถิ โกจิ ปณฑฺ โิ ต สมโณ วา พรฺ าหฺมโณ วา สงฆฺ ี คณ ี คณาจรโิ ย อป ิ อรหนตฺ ํ
สมมฺ าสมพฺ ุทธฺ ํ ปฏิชานมาโน, โย มยา สทฺธึ สลลฺ ปติ ํุ สกฺโกติ กงฺขํ ปฏวิ ิเนตํ,ุ ต ํ
อุปสงฺกมิตฺวา ป ฺห ํ ปจุ ฺฉิสสฺ าม, กงฺข ํ ปฏิวนิ ยิสฺสามา’’ติ ฯ
[๕] อยู่มาวันหนึง่ พระเจา้ มิลนิ ท์ เสด็จออกจากพระนครไป เพราะทรงประสงคจ์ ะ
ตรวจดูก�ำลงั พลและพาหนะซงึ่ หาทสี่ ดุ มิได้ จัดเปน็ กระบวนทัพประกอบด้วยพล ๔ เหล่า คร้นั
ทรงสิ้นสดุ การตรวจดเู หล่าทพั ทภ่ี ายนอกพระนครแลว้ พระราชาผู้ทรงชอบการโต้คารม แกล้ว
กลา้ คล่องแคลว่ ผมู้ ีพระทยั วุน่ วายอยูใ่ นการสนทนากบั พวกวติ ณั ฑชนเรื่องโลกายต์ (ก�ำเนดิ
โลก) พระองค์นัน้ กท็ รงแหงนพระพักตร์ดูพระอาทติ ย์ ตรัสเรียกอ�ำมาตย์ท้งั หลายมา รบั ส่ังวา่
“นแี่ น่ะพนาย วันเวลายังเหลอื อยมู่ าก พวกเรากลบั เขา้ เมอื งเวลานี้ แลว้ จะท�ำอะไร สมณะหรอื
พราหมณ์บางท่านท่ีเป็นเจ้าหมู่ เจา้ คณะ เปน็ อาจารย์ประจ�ำคณะ ผเู้ ปน็ บณั ฑติ แมท้ ี่ยนื ยันว่า
‘ตนเปน็ พระอรหันตสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ผสู้ ามารถท่จี ะสนทนากบั เรา เพอื่ ก�ำจดั ความสงสยั กม็ ี
อยู่ พวกเราจักเข้าไปถามปัญหากบั สมณะหรอื พราหมณผ์ ู้นัน้ จักบรรเทาความสงสยั เสียละ”
กณั ฑ]์ พาหิรกถา 9
เอวํ วตุ ฺเต, ป ฺจสตา โยนกา ราชาน ํ มลิ ินทฺ ํ เอตทโวจํุ ‘‘อตฺถิ มหาราช ฉ
สตถฺ าโร ปรู โณ กสสฺ โป มกขฺ ลิ โคสาโล นิคณโฺ นาฏปตุ ฺโต ส ฺชโย เพลฏฺ ปุตโฺ ต อชิโต
เกสกมพฺ โล ปกโุ ธ กจจฺ ายโน, เต สงฆฺ ิโน คณโิ น คณาจริยกา าตา ยสสสฺ ิโน ติตฺถกรา
สาธุสมมฺ ตา พหชุ นสฺส, คจฉฺ ตฺวํ มหาราช เต ป หฺ ํ ปจุ ฺฉสสฺ ,ุ กงขฺ ํ ปฏวิ นิ ยสฺสู’’ติ ฯ
เม่ือรับสง่ั อย่างน้แี ล้ว พวกข้าหลวงโยนกจ�ำนวน ๕๐๐ คน ก็ไดก้ ราบทูลความข้อนี้กบั
พระเจ้ามลิ นิ ท์วา่ “ขอเดชะพระมหาราช ศาสดา ๖ ท่าน คอื ท่านปรู ณกัสสปะ ท่านมกั ขลิ-
โคศาล ท่านนิคัณฐนาฏบตุ ร ท่านสญั ชยั เพลฏั ฐบตุ ร ทา่ นอชติ เกสกมั พล ท่านปกธุ กจั จายนะ
ก็มอี ยู่ ศาสดา ๖ ทา่ นเหลา่ น้นั เปน็ เจา้ หมู่ เจ้าคณะ เป็นอาจารย์ประจ�ำคณะ เป็นผู้รู้ เปน็ ผู้
มียศ เป็นเจา้ ลัทธิ ชนจ�ำนวนมากนับถือกันวา่ เปน็ คนดี ขอเดชะพระมหาราช ขอพระองคจ์ ง
เสด็จไปถามปัญหากบั ศาสดาทั้ง ๖ ท่านนน้ั ขอจงทรงก�ำจดั ความสงสัยเสยี ทเี ถิด พระเจา้ ข้า”
[๖] อถ โข มลิ ินโฺ ท ราชา ป ฺจหิ โยนกสเตห ิ ปรวิ ุโต ภทฺรวาหน ํ รถวรมารยุ หฺ ,
เยน ปูรโณ กสฺสโป, เตนุปสงฺกมิ; อปุ สงฺกมิตฺวา ปูรเณน กสสฺ เปน สทธฺ ึ สมฺโมทิ,
สมโฺ มทนีย ํ กถ ํ สารณียํ วีตสิ าเรตวฺ า เอกมนฺตํ นสิ ีทิ ฯ
[๖] ครัง้ นน้ั แล พระเจ้ามิลนิ ท์ แวดล้อมด้วยขา้ หลวงโยนก ๕๐๐ คน เสด็จขนึ้ รถทรง
อนั เปน็ พาหนะทง่ี ดงาม เขา้ ไปหาทา่ นปรู ณกสั สปะ ณ ทีพ่ �ำนัก แลว้ ทรงยินดรี ่วมกบั ทา่ น
ปูรณกัสสปะ ตรัสสัมโมทนียกถา พอเป็นเครื่องใหร้ ะลกึ ถึงกนั จบแล้ว ทรงประทบั น่ังลง ณ ท่ี
สมควร
เอกมนตฺ ํ นิสินโฺ น โข มิลินฺโท ราชา ปรู ณํ กสสฺ ป ํ เอตทโวจ ‘‘โก ภนฺเต กสสฺ ป
โลกํ ปาเลต’ี ’ติ ?
พระเจา้ มลิ นิ ท์ ครัน้ ทรงประทบั นัง่ ณ ที่สมควรแล้ว กไ็ ด้ตรสั ความข้อนี้กับท่านปูรณ-
กสั สปะว่า “ทา่ นกัสสปะผเู้ จรญิ อะไรรกั ษาโลกอย่เู ลา่ ?”
‘‘ปถวี มหาราช โลกํ ปาเลต’ี ’ติ ฯ
ท่านปูรณกสั สปะกลา่ วตอบวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร แผ่นดินรกั ษาโลกอย”ู่
‘‘ยท ิ ภนฺเต กสฺสป ปถว ี โลก ํ ปาเลต,ิ อถ กสฺมา อวจี นิ ิรยํ คจฉฺ นฺตา สตตฺ า ปถว ึ
อติกฺกมิตฺวา คจฉฺ นฺต’ี ’ติ ?
พระราชาตรสั ว่า “ท่านกัสสปะผู้เจรญิ ถา้ หากแผน่ ดนิ รกั ษาโลกอยไู่ ซร้ เม่อื เป็นเชน่
นัน้ เพราะเหตุไร สตั ว์ผูจ้ ะไปอเวจีนรก จึงลว่ งแผ่นดินไปได้เล่า”
10 มลิ นิ ทปัญหาปกรณ์แปล [๑.ปพุ พโยค
เอว ํ วตุ เฺ ต, ปรู โณ กสสฺ โป เนว สกฺขิ โอคิลติ ํุ, เนว สกฺข ิ อคุ ฺคิลิตํุ, อโธมุโข
ปตฺตกขฺ นโฺ ธ ตณุ ฺหีภูโต ปชฺฌายนฺโต นสิ ีทิ ฯ
เม่อื พระเจ้ามลิ นิ ท์ตรัสอยา่ งนี้แลว้ ท่านปูรณกสั สปะกก็ ลืนไม่เข้าคลายไม่ออก นง่ั กม้
หน้า คอตก นิง่ เฉย เก้อเขินอยู่
[๗] อถ โข มลิ ินฺโท ราชา มกฺขลึ โคสาลํ เอตทโวจ ‘‘อตฺถ ิ ภนเฺ ต โคสาล กุสลา-
กสุ ลานิ กมฺมานิ, อตถฺ ิ สุกตทกุ กฺ ฏาน ํ กมมฺ าน ํ ผลํ วิปาโก’’ติ ?
[๗] ตอ่ จากนัน้ พระเจ้ามลิ นิ ท์ จึงตรสั ถามความข้อนัน้ กับทา่ นมกั ขลิโคสาละว่า “ทา่ น
โคสาละผเู้ จริญ กรรมท่เี ป็นกศุ ล ทีเ่ ป็นอกุศล มีอยู่หรือ ผลของกรรมดแี ละกรรมช่ัวทงั้ หลาย
เปน็ วบิ าก มอี ย่หู รอื ?”
‘‘นตฺถิ มหาราช กสุ ลากุสลานิ กมมฺ าน,ิ นตฺถิ สกุ ตทุกกฺ ฏานํ กมมฺ าน ํ ผลํ วปิ าโก
ฯ เย เต มหาราช อธิ โลเก ขตฺตยิ า, เต ปรโลกํ คนฺตฺวาป ิ ปนุ ขตตฺ ิยาว ภวิสฺสนตฺ ิ, เย
เต พรฺ าหฺมณา เวสสฺ า สุทฺทา จณฑฺ าลา ปุกฺกุสา, เต ปรโลก ํ คนตฺ วฺ าปิ ปุน พรฺ าหฺมณา
เวสฺสา สุทฺทา จณฺฑาลา ปกุ กฺ สุ าว ภวสิ สฺ นฺติ, กึ กุสลากุสเลห ิ กมเฺ มห’ี ’ติ ?
ทา่ นมกั ขลิโคสาละกล่าวตอบวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร กรรมทเ่ี ป็นกศุ ล ที่เป็น
อกุศลไม่มีหรอก ผลของกรรมดีกรรมชั่วทง้ั หลาย ทเี่ ป็นวิบาก ก็ไม่มี ขอถวายพระพร
มหาบพติ ร พวกท่ีเปน็ กษตั ริยใ์ นโลกนี้ แมไ้ ปยงั โลกหนา้ กค็ งเปน็ กษตั ริยน์ ่ันแหละอีก พวกที่
เป็นพราหมณ์ เป็นแพศย์ เปน็ ศทู ร เป็นจัณฑาล เปน็ คนเกบ็ ขยะ แมไ้ ปยังโลกหนา้ กค็ งเป็น
พราหมณ์ เป็นแพศย์ เปน็ ศทู ร เปน็ จณั ฑาล เปน็ คนเก็บขยะน่ันแหละอกี จะมปี ระโยชน์อะไร
ด้วยกศุ ลกรรมและอกศุ ลกรรมทง้ั หลายเล่า”
‘‘ยท ิ ภนเฺ ต โคสาล อิธ โลเก ขตฺตยิ า พฺราหฺมณา เวสสฺ า สทุ ฺทา จณฺฑาลา
ปกุ ฺกสุ า, เต ปรโลกํ คนฺตวฺ าป ิ ปนุ ขตตฺ ิยา พฺราหมฺ ณา เวสสฺ า สุทฺทา จณฺฑาลา
ปุกกฺ สุ าว ภวิสสฺ นฺต,ิ นตถฺ ิ กุสลากุสเลห ิ กมฺเมห ิ กรณยี ํ ฯ เตนห ิ ภนเฺ ต โคสาล เย เต
อธิ โลเก หตฺถจฺฉินนฺ า, เต ปรโลกํ คนตฺ วฺ าปิ ปนุ หตฺถจฉฺ นิ นฺ าว ภวิสสฺ นฺติ ฯ เย
ปาทจฺฉนิ นฺ า, เต ปาทจฺฉินนฺ าว ภวสิ ฺสนตฺ ิ ฯ เย หตถฺ ปาทจฺฉนิ ฺนา, เต หตฺถปาทจฉฺ นิ ฺนาว
ภวสิ สฺ นฺติ ฯ เย กณณฺ จฺฉนิ นฺ า, เต กณฺณจฺฉินฺนาว ภวสิ สฺ นตฺ ิ ฯ เย นาสจฉฺ ินฺนา, เต
นาสจฉฺ ินนฺ าว ภวสิ สฺ นตฺ ิ ฯ เย กณฺณนาสจฉฺ นิ ฺนา, เต กณณฺ นาสจฺฉนิ ฺนาว ภวิสสฺ นตฺ ี’’ติ ฯ
กัณฑ์] พาหริ กถา 11
พระราชาตรสั วา่ “ทา่ นโคสาละผเู้ จรญิ ถ้าหากวา่ คนท่ีเป็นกษตั ริย์ เป็นพราหมณ์ เป็น
แพทย์ เป็นศูทร เปน็ จัณฑาล เป็นคนเกบ็ ขยะในโลกนี้ แมไ้ ปยังโลกหน้าแล้ว ก็คงเปน็ กษตั รยิ ์
เปน็ พราหมณ์ เปน็ แพทย์ เปน็ ศทู ร เปน็ จณั ฑาล เป็นคนเก็บขยะอยอู่ ยา่ งนนั่ แหละ สิ่งท่สี ัตว์
ท�ำโดยเปน็ กศุ ลกรรม อกศุ ลกรรมไม่มไี ซร้ ถ้าอย่างนน้ั ท่านโคสาละผู้เจรญิ คนมือด้วนในโลก
น้ี แมไ้ ปยังโลกหน้าแล้ว กค็ งเป็นคนมอื ดว้ นนนั่ แหละอกี คนเทา้ ดว้ น ก็คงเปน็ คนเทา้ ด้วนน่ัน
แหละอกี คนที่ท้ังมอื ทัง้ เทา้ ด้วน ก็คงเปน็ คนทัง้ มอื ทง้ั เทา้ ด้วนนน่ั แหละอกี คนหูแหว่ง ก็คง
เป็นคนหแู หว่งน่ันแหละอกี คนจมูกวน่ิ ก็คงเปน็ คนจมกู วนิ่ น่นั แหละอกี คนทงั้ หแู หว่งจมกู ว่ิน
กค็ งเป็นคนทั้งหูแหว่งท้งั จมูกวิน่ นน่ั แหละอกี ละซ”ิ
เอวํ วุตเฺ ต, โคสาโล ตณุ หฺ ี อโหสิ ฯ
เมื่อพระเจ้ามลิ นิ ทต์ รสั อย่างน้ี ทา่ นโคสาละก็ไดน้ ง่ิ เฉย
อถ โข มลิ นิ ฺทสสฺ ร โฺ เอตทโหส ิ ‘‘ตจุ ฺโฉ วต โภ ชมพฺ ุทโี ป, ปลาโป วต โภ
ชมฺพุทโี ป, นตถฺ ิ โกจิ สมโณ วา พฺราหมฺ โณ วา, โย มยา สทธฺ ึ สลฺลปิต ํุ สกฺโกต ิ กงขฺ ํ
ปฏิวเิ นตนุ ”ฺ ติ ฯ
ล�ำดบั นนั้ แล พระเจ้ามิลินทท์ รงเกดิ พระด�ำริขอ้ นว้ี า่ “ทา่ นผเู้ จรญิ ทัง้ หลายเอ๋ย ชมพ-ู
ทวปี วา่ งเปลา่ ไปเสยี แลว้ หนอ ท่านผู้เจริญท้ังหลาย ชมพทู วปี เหลวไหลหนอ ใคร ๆ ไม่วา่ เป็น
สมณะหรอื พราหมณ์ ผู้สามารถทจี่ ะสนทนากบั เรา เพอ่ื จะบรรเทาความสงสัยใหห้ ายได้ ไมม่ ี
เลย”
อถ โข มลิ ินโฺ ท ราชา อมจเฺ จ อามนเฺ ตสิ ‘‘รมณยี า วต โภ โทสินา รตตฺ ิ, กํ น ุ
ขวฺ ชชฺ สมณ ํ วา พรฺ าหมฺ ณํ วา อปุ สงฺกเมยยฺ าม ป ฺหํ ปุจฉฺ ิตุํ, โก มยา สทฺธึ สลฺลปิต ุํ
สกฺโกติ กงฺขํ ปฏวิ ิเนตนุ ”ฺ ติ ?
คร้งั นนั้ แล พระเจ้ามลิ ินทต์ รัสเรยี กอ�ำมาตย์ท้ังหลาย รับสั่งวา่ “ท่านผู้เจรญิ ท้งั หลาย
ราตรเี ดือนหงายน่ารื่นรมยจ์ รงิ หนอ ไฉนวนั นี้ เรานา่ จะเข้าไปหาสมณะหรอื ว่าพราหมณ์ไร ๆ
เพ่อื จะถามปัญหา ใครเล่าที่สามารถเพ่อื จะสนทนากบั เรา เพ่ือจะบรรเทาความสงสยั เสยี ได”้
เอวํ วตุ เฺ ต, อมจจฺ า ตุณฺหภี ูตา ร โฺ มุข ํ โอโลกยมานา อฏ ฺ สํ ุ ฯ
เมือ่ ทรงรับส่ังอยา่ งนีแ้ ล้ว พวกอ�ำมาตย์ก็ไดแ้ ตพ่ ากันน่งิ ไดย้ ืนมองดูพระพกั ตร์ของ
พระราชาอยู่
12 มลิ ินทปัญหาปกรณแ์ ปล [๑.ปุพพโยค
เตน โข ปน สมเยน สาคลนคร ํ ทฺวาทส วสสฺ าน ิ ส ุ ฺ ํ อโหส ิ สมณพรฺ าหฺมณ-
คหปตปิ ณฑฺ เิ ตหิ ฯ “ยตฺถ สมณพฺราหมฺ ณคหปตปิ ณฑฺ ติ า ปฏิวสนฺตตี ิ สุณาติ, ตตถฺ คนตฺ วฺ า
ราชา เต ป หฺ ํ ปจุ ฺฉติ, เต สพเฺ พป ิ ป ฺหวสิ ฺสชฺชเนน ราชานํ อาราเธตํุ อสกฺโกนฺตา เยน
วา เตน วา ปกฺกมนตฺ ิ ฯ เย อ ฺ ํ ทสิ ํ น ปกกฺ มนตฺ ,ิ เต สพเฺ พ ตณุ หฺ ีภตู า อจฉฺ นตฺ ิ ฯ
ภิกขฺ ู ปน เยภุยฺเยน หิมวนตฺ เมว คจฺฉนตฺ ิ ฯ
กใ็ นสมยั นน้ั แล สาคลนครกลายเปน็ พระนครท่ีว่างจากสมณะ พราหมณ์ และคฤหบดีผู้
เปน็ บณั ฑิตไปถึง ๑๒ ปี, พระราชาทรงสดับว่า “สมณะพราหมณแ์ ละคฤหบดผี ู้เปน็ บณั ฑิต
อาศยั อยู่ ณ สถานที่แห่งใด” ก็เสด็จไป ณ สถานทแี่ หง่ นนั้ ตรสั ถามปญั หากับบณั ฑติ เหลา่ น้นั ,
บณั ฑติ เหลา่ นนั้ แม้ทกุ ท่าน ไมส่ ามารถทจ่ี ะให้พระราชาทรงโปรดปรานได้ด้วยการตอบปญั หา
จึงหลีกไปเสีย ไมท่ างใดก็ทางหนึง่ , พวกท่ไี ม่ยอมหลีกไปยังทิศอ่นื กไ็ ด้แตอ่ ยู่นง่ิ เฉยกนั
ทง้ั หมด, สว่ นพวกภกิ ษุ โดยมากจะพากันไปยังภูเขาหมิ พานต์
[๘] เตน โข ปน สมเยน โกฏสิ ตา อรหนฺโต หิมวนเฺ ต ปพพฺ เต รกขฺ ิตตเล
ปฏวิ สนตฺ ิ ฯ อถ โข อายสฺมา อสฺสคตุ ฺโต ทิพพฺ าย โสตธาตุยา มิลินฺทสสฺ ร ฺโ วจนํ
สุตวฺ า ยคุ นธฺ รมตฺถเก ภิกฺขสุ ฆํ ํ สนนฺ ิปาเตตวฺ า ภิกขฺ ู ปจุ ฉฺ ิ ‘‘อตฺถาวโุ ส โกจ ิ ภิกขฺ ุ ปฏพิ โล
มลิ ินเฺ ทน ร ฺ า สทฺธ ึ สลลฺ ปติ ํุ กงฺขํ ปฏวิ ิเนตุน’ฺ ’ติ ?
[๘] กใ็ นสมยั นั้นแล มีพระอรหันต์ ๑๐๐ โกฏิ อาศยั อยทู่ ี่รกั ขิตตลวหิ าร บนภเู ขา
หมิ พานต.์ ครง้ั นนั้ ท่านพระอสั สคุต ได้ฟังพระด�ำรสั ของพระเจ้ามิลนิ ทด์ ้วยทิพยโสตธาตญุ าณ
(ญาณคือหทู พิ ย)์ แลว้ ใหป้ ระชุมภกิ ษสุ งฆ์ทย่ี อดเขายุคนั ธร ถามภิกษทุ ง้ั หลายว่า “ทา่ นผ้มู อี ายุ
ทง้ั หลาย มีภกิ ษุผู้สามารถเพอื่ จะสนทนากบั พระเจ้ามลิ นิ ท์ เพื่อจะบรรเทาความสงสัยอยบู่ ้าง
หรอื ไม่ ?”
เอวํ วุตเฺ ต, โกฏสิ ตา อรหนฺโต ตุณฺหี อเหสุํ ฯ ทตุ ิยมฺปิ... ตติยมฺป ิ ปุฏ ฺ า ตุณหฺ ี
อเหสํุ ฯ อถ โข อายสมฺ า อสสฺ คตุ ฺโต ภกิ ฺขสุ ฆํ ํ เอตทโวจ ‘‘อตฺถาวุโส ตาวตึสภวเน
เวชยนตฺ สฺส ปาจนี โต เกตมุ ตี นาม วมิ านํ, ตตถฺ มหาเสโน นาม เทวปุตฺโต ปฏวิ สติ, โส
ปฏพิ โล เตน มลิ นิ เฺ ทน ร ฺ า สทธฺ ึ สลฺลปติ ุํ กงฺขํ ปฏวิ เิ นตุนฺ”ติ ฯ
เมื่อท่านพระอสั สคุตกลา่ วอยา่ งนแี้ ล้ว พระอรหันต์ ๑๐๐ โกฏิ กไ็ ด้แต่พากนั นิ่งเฉย.
พระอสั สคุตถามแมเ้ ปน็ ครั้งที่ ๒ แม้เป็นครั้งที่ ๓ ก็ไดแ้ ตพ่ ากันนิ่งเฉย. เม่ือเป็นเช่นนน้ั ท่าน
พระอัสสคตุ จงึ ไดก้ ล่าวความข้อนน้ั กับภิกษุสงฆว์ า่ “ท่านผ้มู ีอายุท้งั หลาย ท่ภี พดาวดึงส์มี
วมิ านชอ่ื เกตุมดี อยทู่ างด้านทิศปราจนี แห่งเวชยันตป์ ราสาท เทพบุตรชอ่ื วา่ มหาเสน อาศยั
กัณฑ]์ พาหริ กถา 13
อยูท่ ่วี มิ านนนั้ เทพบตุ รนั้น สามารถที่จะสนทนากับพระเจ้ามลิ ินทพ์ ระองค์นั้น เพอ่ื บรรเทา
ความสงสัยได้”
อถ โข โกฏสิ ตา อรหนฺโต ยคุ นธฺ รปพฺพเต อนตฺ รหติ า ตาวตึสภวเน ปาตุรเหสุํ ฯ
อทฺทสา โข สกฺโก เทวานมินโฺ ท เต ภิกฺข ู ทูรโตว อาคจฺฉนเฺ ต, ทิสฺวาน เยนายสมฺ า
อสฺสคุตโฺ ต, เตนปุ สงฺกม;ิ อปุ สงกฺ มติ วฺ า อายสฺมนฺตํ อสฺสคุตตฺ ํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺต ํ
อฏ ฺ าส,ิ เอกมนตฺ ํ ิโต โข สกโฺ ก เทวานมนิ ฺโท อายสฺมนฺตํ อสฺสคตุ ฺตํ เอตทโวจ ‘‘มหา โข
ภนฺเต ภกิ ขฺ ุสํโฆ อนปุ ฺปตฺโต, อห ํ สํฆสฺส อารามโิ ก, เกนตฺโถ, กึ มยา กรณยี น”ฺ ติ ?
ล�ำดบั นนั้ แล พระอรหนั ต์ ๑๐๐ โกฏิ กไ็ ด้อนั ตรธานหายตวั ไปบนยอดภูเขายุคันธร
มาปรากฏตวั ทภี่ พดาวดงึ ส์. ท้าวสกั กะจอมเทพได้ทอดพระเนตรเหน็ พวกภิกษเุ หล่านน้ั มาแต่
ไกลทีเดียว ครัน้ ทอดพระเนตรเหน็ แลว้ จึงได้เสดจ็ เข้าไปหาทา่ นพระอสั สคตุ กราบท่านพระ
อสั สคุต แลว้ ทรงยนื อยู่ ณ ท่ี สมควร, ท่านท้าวสกั กะจอมเทพ ครั้นประทบั ยนื อยู่ ณ ท่ีสมควร
แล้ว กไ็ ด้ตรัสความข้อนั้นกบั ท่านพระอสั สคตุ วา่ “พระคุณเจ้าผเู้ จรญิ พระภิกษหุ มใู่ หญแ่ ลมา
ถงึ แลว้ โยมกเ็ ปน็ คนวดั ของสงฆ์ พระสงฆม์ ีความตอ้ งการดว้ ยเรอื่ งอะไร มอี ะไรที่โยมจะตอ้ ง
ท�ำหรอื ?”
อถ โข อายสฺมา อสฺสคตุ โฺ ต สกฺก ํ เทวานมนิ ทฺ ํ เอตทโวจ ‘‘อย ํ โข มหาราช
ชมพฺ ทุ ีเป สาคลนคเร มิลินโฺ ท นาม ราชา วิตณฺฑวาท ี ทรุ าสโท ทปุ ฺปสโห ปุถตุ ิตถฺ กราน ํ
อคฺคมกขฺ ายติ, โส ภกิ ฺขุสํฆ ํ อุปสงฺกมิตวฺ า ทิฏ ฺ ิวาเทน ป หฺ ํ ปจุ ฉฺ ติ วฺ า ภกิ ฺขุสํฆ ํ
วิเหเ ต’ี ’ติ ฯ
ล�ำดับนั้น ท่านพระอัสสคุต จึงได้ถวายพระพรแจง้ ความข้อนน้ั กบั ทา้ วสักกะจอมเทพ
ว่า “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร ทส่ี าคลนครในชมพูทวีป มีพระราชาพระนามวา่ มลิ นิ ท์ ทรง
เป็นผู้มีวาทะท�ำใหผ้ ู้อ่ืนใหห้ ว่ันได้ เปน็ ผู้ทีใ่ คร ๆ เขา้ ใกล้ได้ยาก ใคร ๆ ข่มข่ีได้ยาก กลา่ วได้วา่
ทรงเป็นยอดแห่งบรรดาเจา้ ลัทธจิ �ำนวนมาก พระองคไ์ ด้เสดจ็ เข้าไปหาภิกษสุ งฆใ์ ช้ทฏิ ฐิวาทะ
ถามปญั หา เบยี ดเบยี นภิกษสุ งฆ์”
อถ โข สกฺโก เทวานมินฺโท อายสฺมนฺต ํ อสฺสคตุ ตฺ ํ เอตทโวจ ‘‘อย ํ โข ภนเฺ ต
มลิ นิ ฺโท ราชา อิโต จุโต มนุสเฺ สสุ อุปฺปนโฺ น, เอโส โข ภนฺเต เกตุมติวมิ าเน มหาเสโน
นาม เทวปตุ โฺ ต ปฏวิ สติ, โส ปฏพิ โล เตน มิลินเฺ ทน ร ฺ า สทธฺ ึ สลลฺ ปติ ํ ุ กงฺขํ
ปฏวิ เิ นต,ุํ ต ํ เทวปตุ ตฺ ํ ยาจสิ สฺ าม มนสุ ฺสโลกูปปตฺตยิ า’’ติ ฯ
14 มลิ นิ ทปัญหาปกรณ์แปล [๑.ปุพพโยค
ครัง้ น้นั แล ทา้ วสักกะจอมเทพไดร้ ับสง่ั ความขอ้ นนั้ กับท่านพระอัสสคตุ วา่ “พระคุณเจ้า
พระเจ้ามลิ ินทอ์ งคน์ ี้ ทรงเป็นผูท้ ่ีเคล่ือนจากภพน้ไี ปอุบตั ใิ นหมู่มนษุ ย์ พระคณุ เจา้ เทพบตุ รช่ือ
มหาเสนนี้ อาศัยอย่ทู ีเ่ กตมุ ดวี ิมาน เทพบตุ รตนนนั้ สามารถที่จะสนทนากบั พระเจา้ มลิ นิ ท์ เพื่อ
บรรเทาความสงสยั ได้ โยมจะขอร้องเทพบุตรตนนัน้ เพือ่ ใหอ้ ุบตั ใิ นมนษุ ยโลก”
อถ โข สกฺโก เทวานมินโฺ ท ภิกฺขสุ ฆํ ํ ปรุ กขฺ ตฺวา เกตุมตวิ ิมานํ ปวิสิตวฺ า มหาเสนํ
เทวปตุ ตฺ ํ อาลงิ คฺ ติ ฺวา เอตทโวจ ‘‘ยาจต ิ ตํ มาริส ภิกฺขสุ ํโฆ มนสุ สฺ โลกปู ปตฺติยา’’ติ ฯ
ต่อจากน้นั แล ท้าวสกั กะจอมเทพ ทรงใหภ้ ิกษุสงฆน์ �ำหนา้ เสดจ็ เขา้ ไปยงั เกตุมดวี มิ าน
ทรงสวมกอดมหาเสนเทพบตุ ร ตรสั บอกความข้อนนั้ ว่า “นีแ่ น่ะทา่ นผู้นริ ทุกข์ ภิกษุสงฆ์มา
ขอรอ้ งท่านเพ่ือใหไ้ ปอุบตั ใิ นมนษุ ยโลก”
‘‘น เม ภนเฺ ต มนสุ สฺ โลเกนตโฺ ถ กมฺมพหุเลน, ตพิ ฺโพ มนุสสฺ โลโก, อเิ ธวาหํ ภนฺเต
เทวโลเก อุปรปู รปู ปตฺตโิ ก หุตฺวา ปรนิ พิ ฺพายสิ ฺสาม’ี ’ติ ฯ
มหาเสนเทพบุตรกราบทลู ว่า “ข้าแต่พระองคผ์ ู้เจรญิ ขา้ พระองคไ์ ม่มคี วามตอ้ งการ
ด้วยมนษุ ยโลกทมี่ ีการงานมากมายเลา่ พระเจา้ ข้า มนษุ ยโลกหยาบช้า ขา้ แต่พระองคผ์ ้เู จริญ
ขา้ พระองค์จกั ขออุบตั ิในเทวโลกนี้ช้ันสงู ตอ่ ๆ ไป จนกวา่ จะปรนิ พิ พาน พระเจ้าขา้ ”
ทุติยมฺป…ิ เป.… ตติยมฺปิ โข สกเฺ กน เทวานมนิ ฺเทน ยาจโิ ต มหาเสโน เทวปตุ โฺ ต
เอวมาห ‘‘น เม ภนฺเต มนุสฺสโลเกนตโฺ ถ กมฺมพหุเลน, ตพิ ฺโพ มนุสสฺ โลโก, อิเธวาห ํ
ภนเฺ ต เทวโลเก อปุ รปู รปู ปตฺติโก หุตวฺ า ปรินิพฺพายสิ ฺสามี’’ติ ฯ
ท้าวสกั กะจอมเทพทรงขอร้องแม้เป็นครัง้ ที่ ๒ แมเ้ ปน็ คร้ังท่ี ๓ มหาเสนเทพบตุ รกย็ งั
คงกราบทูลว่า “ข้าแต่พระองค์ผู้เจรญิ ขา้ พระองคไ์ มม่ คี วามต้องการดว้ ยมนุษยโลกทม่ี ีการ
งานมากเล่า พระเจา้ ขา้ มนุษยโลกหยาบชา้ ขา้ แต่พระองค์ผู้เจรญิ ข้าพระองคจ์ กั ขออุบตั ิใน
เทวโลกน้ชี ้ันสูงตอ่ ๆ ไป จนกวา่ จะปรินิพพาน พระเจ้าข้า”
อถ โข อายสมฺ า อสสฺ คตุ โฺ ต มหาเสน ํ เทวปุตฺต ํ เอตทโวจ ‘‘อธิ มยํ มารสิ สเทวกํ
โลกํ อนุวโิ ลกยมานา อ ฺ ตฺร ตยา มลิ นิ ทฺ สฺส ร โฺ วาทํ ภนิ ฺทิตวฺ า สาสนํ ปคฺคเหตํ ุ
สมตฺถํ อ ฺ ํ ก ฺจิ น ปสสฺ าม, ยาจติ ต ํ มาริส ภิกขฺ สุ โํ ฆ, สาธุ สปฺปุริส มนสุ ฺสโลเก
นพิ พฺ ตฺติตฺวา ทสพลสสฺ สาสน ํ ปคฺคณหฺ าห’ี ’ติ ฯ
ตอ่ จากนน้ั แล ท่านพระอัสสคตุ จงึ ได้กล่าวความข้อน้นั กับมหาเสนเทพบตุ รว่า “ทา่ นผู้
นิรทุกข์ พวกเราเมื่อตรวจดูโลกพร้อมท้งั เทวโลกอยู่ ก็ไมเ่ ห็นใครอน่ื ท่สี ามารถเพ่อื จะท�ำลาย
กัณฑ์] พาหิรกถา 15
วาทะของพระเจ้ามิลนิ ท์ ยกยอ่ งพระศาสนาได้ ยกเวน้ แตท่ า่ น ท่านผู้นริ ทกุ ข์ ภิกษสุ งฆ์ขอร้อง
ท่าน ดูกอ่ นสัตบรุ ุษ ขอได้โปรดบงั เกิดในมนษุ ยโลก ยกย่องพระศาสนาของพระทศพลเถดิ ”
เอว ํ วุตฺเต, มหาเสโน เทวปตุ ฺโต ‘‘อห ํ กริ มิลนิ ฺทสสฺ ร โฺ วาทํ ภนิ ฺทติ วฺ า
พุทธฺ สาสน ํ ปคฺคเหตํ ุ สมตฺโถ ภวสิ ฺสาม’ี ’ต ิ หฏฺ ปหฏโฺ อทุ คคฺ ุทคโฺ ค หุตวฺ า ‘‘สาธ ุ ภนฺเต
มนสุ สฺ โลเก อปุ ปฺ ชชฺ สิ ฺสามี’’ติ ปฏิ ฺ ํ อทาสิ ฯ
เมอื่ ท่านอสั สคุตกลา่ วขอร้องอยา่ งน้ี มหาเสนเทพบุตร คิดวา่ “เพิ่งทราบวา่ เราจะเป็น
ผูส้ ามารถท�ำลายวาทะของพระเจ้ามลิ ินท์ ยกย่องพระพทุ ธศาสนาได้” ดงั นแี้ ล้ว กเ็ ป็นผู้ร่าเริง
บันเทงิ ยินดปี รีดา ได้ใหค้ �ำปฏิญาณวา่ “ไดค้ รบั พระคุณเจ้า โยมจกั ไปอุบตั ใิ นมนษุ ยโลก”
[๙] อถ โข เต ภกิ ขฺ ู เทวโลเก ต ํ กรณียํ ตเี รตฺวา เทเวส ุ ตาวตึเสส ุ อนฺตรหติ า
หิมวนฺเต ปพพฺ เต รกขฺ ิตตเล ปาตรุ เหสุํ ฯ
[๙] ครงั้ น้นั แล พวกภิกษเุ หลา่ น้ัน ครั้นเสรจ็ กรณยี กจิ นัน้ ในเทวโลกแล้ว กอ็ ันตรธาน
หายตวั ไปที่เทวโลกชน้ั ดาวดึงส์ มาปรากฏตัวทรี่ ักขิตตลวิหาร ใกลภ้ ูเขาหมิ พานต์
อถ โข อายสมฺ า อสสฺ คตุ ฺโต ภกิ ขฺ สุ ํฆํ เอตทโวจ ‘‘อตฺถาวุโส อมิ สฺม ึ ภิกขฺ ุสํเฆ
โกจิ ภิกขฺ ุ สนฺนิปาต ํ อนาคโต’’ติ ฯ
ครงั้ นั้นแล ท่านพระอสั สคตุ ไดก้ ล่าวความขอ้ นนั้ กับภกิ ษุสงฆว์ ่า “ทา่ นผูม้ ีอายทุ ั้ง
หลาย ในหมภู่ ิกษนุ ้ี มภี กิ ษรุ ูปไรๆ มไิ ดม้ าประชมุ อยบู่ า้ งหรือ ?”
เอวํ วุตเฺ ต, อ ฺ ตโร ภกิ ฺข ุ อายสมฺ นฺต ํ อสสฺ คตุ ฺตํ เอตทโวจ ‘‘อตฺถิ ภนเฺ ต
อายสฺมา โรหโณ อโิ ต สตตฺ เม ทวิ เส หิมวนตฺ ํ ปพพฺ ต ํ ปวิสติ วฺ า นิโรธํ สมาปนฺโน, ตสสฺ
สนตฺ เิ ก ทตู ํ ปาเหถา’’ติ ฯ
เมือ่ พระเถระกลา่ วอยา่ งนี้แลว้ ภิกษุรปู ใดรปู หนง่ึ ก็ไดก้ ล่าวความขอ้ นัน้ กบั ท่านพระ
อสั สคุตว่า “มคี รบั ท่านผเู้ จริญ เม่ือ ๗ วันก่อนจากนี้ ท่านโรหณะ ได้เข้าไปยังภเู ขาหิมพานต์
เขา้ นิโรธ ขอทา่ นจงสง่ ตวั แทนไปท่ีส�ำนักของทา่ นเถดิ ”
อายสฺมาปิ โรหโณ ตงขฺ ณ เฺ ว นโิ รธา วุฏฺ าย ‘‘สํโฆ ม ํ ปฏิมาเนต’ี ’ติ
หิมวนฺเต ปพพฺ เต อนตฺ รหโิ ต รกขฺ ิตตเล โกฏสิ ตาน ํ อรหนฺตานํ ปุรโต ปาตรุ โหสิ ฯ
ฝา่ ยท่านโรหณะได้ออกจากนโิ รธในขณะนน้ั น่นั เอง คิดว่า “พระสงฆ์เรยี กหาเรา” จงึ
หายตวั ทีภ่ เู ขาหิมพานต์ ไปปรากฏตัวท่รี กั ขติ ตลวิหาร ท่เี บือ้ งหนา้ พระอรหนั ต์ ๑๐๐ โกฏิ
16 มิลนิ ทปญั หาปกรณ์แปล [๑.ปพุ พโยค
อถ โข อายสฺมา อสฺสคุตฺโต อายสฺมนฺตํ โรหณํ เอตทโวจ ‘‘กินฺน ุ โข อาวโุ ส โรหณ,
พทุ ธฺ สาสเน ภิชฺชนเฺ ต, น ปสฺสสิ สฆํ สสฺ กรณยี าน’ี ’ติ ฯ
ล�ำดับนนั้ ท่านพระอัสสคตุ ไดก้ ลา่ วความขอ้ น้ันกบั ท่านโรหณะวา่ “ท่านโรหณะ เม่อื
พระพุทธศาสนาก�ำลังจะแตกท�ำลาย ท�ำไมหนอ ท่านจึงไมเ่ หลียวแลกิจทีค่ วรท�ำของสงฆเ์ ล่า”
‘‘อมนสกิ าโร เม ภนฺเต อโหสี’’ติ ฯ
พระโรหณะกลา่ ววา่ “กระผมไม่ทันไดใ้ ส่ใจครับ ท่านผู้เจริญ”
‘‘เตน หาวโุ ส โรหณ ทณฑฺ กมมฺ ํ กโรหี’’ติ ฯ
พระอัสสคตุ กลา่ วว่า “ท่านโรหณะ ถ้าเช่นนั้น ขอท่านจงท�ำทณั ฑกรรม”
‘‘ก ึ ภนฺเต กโรม’ี ’ติ ?
พระโรหณะถามวา่ “จะใหผ้ มท�ำอะไรหรอื ขอรับ ท่านผู้เจริญ”
‘‘อตถฺ าวโุ ส โรหณ หมิ วนตฺ ปพฺพตปสเฺ ส คชงคฺ ลํ นาม พรฺ าหฺมณคาโม, ตตฺถ
โสณตุ ฺตโร นาม พฺราหมฺ โณ ปฏิวสต,ิ ตสฺส ปตุ ฺโต อุปฺปชฺชสิ ฺสติ ‘นาคเสโน’ติ นาม
ทารโก, เตนห ิ ตฺวํ อาวุโส โรหณ ทสมาสาธิกาน ิ สตตฺ วสฺสาน ิ ตํ กุล ํ ปิณฺฑาย
ปวสิ ิตวฺ า นาคเสนํ ทารกํ นหี ริตฺวา ปพพฺ าเชหิ, ปพฺพชเิ ตว ตสฺมึ, ทณฺฑกมฺมโต
มจุ จฺ สิ ฺสสี’’ติ ฯ
พระอัสสคุตกล่าววา่ “นแี่ น่ะท่านโรหณะ ท่ีข้างภูเขาหิมพานต์ มีหมู่บา้ นพราหมณอ์ ยู่
แห่งหนึ่ง ชอื่ ว่า คชังคละ พราหมณ์ช่อื วา่ โสณุตตระ อาศยั อยู่ ณ ท่แี หง่ น้นั เด็กนอ้ ยชื่อว่า
นาคเสน ผเู้ ปน็ บุตรของเขาจักเกดิ ขนึ้ ถา้ อย่างนัน้ ทา่ นโรหณะ ทา่ นจงเขา้ ไปบิณฑบาต
ยงั ตระกลู น้นั ตลอด ๗ ปกี บั ๑๐ เดอื น แลว้ ชักน�ำเดก็ นอ้ ยนาคเสนใหบ้ วช เมือ่ เขาบวชแล้ว
เทา่ นั้น ทา่ นจึงจะพ้นจากทัณฑกรรมได้”
อายสฺมาป ิ โข โรหโณ ‘‘สาธู’’ต ิ สมปฺ ฏจิ ฉฺ ิ ฯ
ฝ่ายพระโรหณะก็ตอบรบั วา่ “ไดค้ รบั ”
[๑๐] มหาเสโนปิ โข เทวปตุ โฺ ต เทวโลกา จวิตวฺ า โสณุตฺตรพรฺ าหฺมณสสฺ ภริยาย
กุจฺฉสิ มฺ ึ ปฏสิ นธฺ ึ อคฺคเหสิ, สห ปฏิสนธฺ คิ คฺ หณา ตโย อจฉฺ ริยา อพภฺ ุตา ธมมฺ า ปาตุ-
รเหสุ,ํ อาวธุ ภณฺฑาน ิ ปชชฺ ลึสุ, อคฺคสสฺส ํ อภนิ ปิ ผฺ นฺน,ํ มหาเมโฆ อภปิ ปฺ วสฺสิ ฯ
[๑๐] ฝา่ ยมหาเสนเทพบุตร เคล่อื นจากเทวโลก ได้ถอื ปฏสิ นธิในครรภข์ องภรรยาของ
กัณฑ์] พาหริ กถา 17
โสณตุ ตรพราหมณ์ สิ่งน่าอัศจรรย์ นา่ ประหลาดใจ ได้มีปรากฏข้นึ ๓ อย่าง พรอ้ มกบั การถือ
ปฏสิ นธิ คอื อาวธุ ยุทธภัณฑ์ทงั้ หลาย ก็เรอื งแสงข้ึน ขา้ วกลา้ ทดี่ ีเลิศ ก็เผลด็ ผล เมฆฝนใหญ่
ก็ตกหนัก
อายสฺมาปิ โข โรหโณ ตสสฺ ปฏสิ นธฺ ิคคฺ หณโต ปฏ ฺ าย ทสมาสาธกิ านิ สตตฺ
วสฺสาน ิ ตํ กลุ ํ ปณิ ฑฺ าย ปวสิ นฺโต เอกทิวสมปฺ ิ กฏจฺฉุมตตฺ ํ ภตตฺ ํ วา อฬุ งุ ฺกมตตฺ ํ ยาคุํ วา
อภวิ าทน ํ วา อ ชฺ ลกิ มมฺ ํ วา สามีจิกมมฺ ํ วา นาลตฺถ, อถ โข อกฺโกส เฺ ว ปริภาส เฺ ว
ปฏิลภติ, ‘‘อตจิ ฺฉถ ภนฺเต’’ติ วจนมตฺตมปฺ ิ วตฺตา นาม นาโหสิ, ทสมาสาธิกาน ํ ปน
สตตฺ นนฺ ํ วสฺสานํ อจจฺ เยน เอกทวิ ส ํ ‘‘อตจิ ฺฉถ ภนฺเต’’ต ิ วจนมตตฺ ํ อลตถฺ ฯ
ฝา่ ยทา่ นพระโรหณะ ต้ังแตม่ หาเสนเทพบุตรนัน้ ถือปฏิสนธิแลว้ ก็เข้าไปบณิ ฑบาตยงั
ตระกลู นัน้ ตลอด ๗ ปกี ับ ๑๐ เดือน แมส้ กั วันเดียว ข้าวตม้ สกั กระบวย ขา้ วสวยสกั ทัพพหี นึ่ง
กไ็ มเ่ คยได้ การอภวิ าท การท�ำอัญชลี หรือสามจี ิกรรม ก็ไม่เคยได้ ทว่า ไดร้ บั แต่การดา่ การ
บริภาษเทา่ นัน้ ไมม่ ผี ู้พูดดว้ ยแม้เพยี งค�ำวา่ “โปรดสัตวข์ ้างหน้าเถดิ เจา้ ข้า”, แตเ่ มอ่ื ผา่ นไป ๗
ปกี บั ๑๐ เดอื น วันหนงึ่ ท่านได้เพียงค�ำว่า “โปรดสัตวข์ ้างหน้าเถดิ เจ้าขา้ ”
ต ํ ทิวสเมว พฺราหฺมโณปิ พห ิ กมมฺ นตฺ า อาคจฺฉนฺโต ปฏปิ เถ เถร ํ ทิสวฺ า ‘‘กึ โภ
ปพฺพชิต อมฺหากํ เคห ํ อคมติ ฺถา’’ติ อาห ฯ
ในวนั นน้ั เอง ฝา่ ยพราหมณ์ขณะก�ำลังเดินทางกลับมาจากการท�ำงานที่ขา้ งนอกบา้ น
พบพระเถระตรงที่สวนทางกัน ก็ถามวา่ “ท่านบรรพชิตผู้เจริญ ทา่ นได้ไปยังเรือนของพวกเรา
หรอื ?”
‘‘อาม พรฺ าหมฺ ณ อคมมฺหา’’ติ ฯ
พระเถระกล่าวว่า “ใช่ พราหมณ์ อาตมาได้ไปมา”
‘‘อป ิ ก ิ จฺ ิ ลภิตถฺ า’’ติ ฯ
พราหมณ์ถามว่า “ทา่ นได้อะไรๆ บ้างหรอื ?”
‘‘อาม พฺราหมฺ ณ ลภมิ ฺหา’’ติ ฯ
พระเถระกลา่ ววา่ “เจรญิ พรพราหมณ์ อาตมาได”้
โส อนตฺตมโน เคหํ คนตฺ ฺวา ปุจฺฉิ ‘‘ตสสฺ ปพฺพชิตสฺส ก ิ จฺ ิ อทตถฺ า’’ติ ฯ
พราหมณน์ นั้ ไมพ่ อใจ พอไปถงึ เรอื นกถ็ ามวา่ “พวกเธอไดใ้ ห้อะไร ๆ แก่นกั บวชผู้นน้ั
18 มิลนิ ทปญั หาปกรณแ์ ปล [๑.ปพุ พโยค
หรอื ?”
‘‘น ก ิ จฺ ิ อทมหฺ า’’ติ ฯ
คนในเรือนตอบวา่ “ไมไ่ ด้ให้อะไร ๆ เลย”
พฺราหมฺ โณ ทุตยิ ทวิ เส ฆรทวฺ าเรเยว นสิ ีท ิ ‘‘อชชฺ ปพฺพชติ ํ มสุ าวาเทน
นิคคฺ เหสฺสาม’ี ’ติ ฯ
ในวนั ท่ี ๒ พราหมณ์นง่ั อยู่ทป่ี ระตูเรอื นนั่นแหละ คิดวา่ “วันนี้ เราจกั ข่มนกั บวชด้วย
เร่ืองพูดเท็จ”
เถโร ทุตยิ ทิวเส พรฺ าหมฺ ณสสฺ ฆรทวฺ ารํ สมฺปตฺโต ฯ
ในวันที่ ๒ พระเถระก็ไปถงึ ประตูเรือนของพราหมณ์
พฺราหฺมโณ เถรํ ทิสวฺ าว เอวมาห ‘‘ตมุ เฺ ห หิยฺโย อมหฺ าก ํ เคเห ก ิ ฺจ ิ อลภิตฺวาว
‘ลภมิ หฺ า’ต ิ อโวจุตถฺ , วฏฺฏต ิ นุ โข ตมุ หฺ ากํ มุสาวาโท’’ติ ฯ
พราหมณ์พอเหน็ พระเถระก็กล่าวอยา่ งนว้ี ่า “เมอื่ วาน ท่านไมไ่ ด้อะไร ๆ เลย ทีเ่ รือน
ของโยม ก็บอกว่า ‘อาตมาได’้ การกลา่ วเทจ็ สมควรหรอื หนอส�ำหรับพวกทา่ น ?”
เถโร อาห ‘‘มยํ พรฺ าหฺมณ ตุมฺหาก ํ เคเห ทสมาสาธิกาน ิ สตฺต วสฺสาน ิ
‘อตจิ ฺฉถา’ต ิ วจนมตฺตมฺป ิ อลภติ ฺวา หิยโฺ ย ‘อติจฺฉถา’ต ิ วจนมตฺต ํ ลภมิ หฺ า, อเถตํ วาจา-
ปฏสิ นฺธาร ํ อปุ าทาย เอวมโวจมุ ฺหา’’ติ ฯ
พระเถระกลา่ ววา่ “นแ่ี น่ะพราหมณ์ ตลอด ๗ ปี ๑๐ เดือน ที่อาตมาเขา้ ไปท่ีเรือนของ
พวกท่าน อาตมาไม่เคยไดแ้ ม้เพยี งค�ำว่า ‘โปรดสัตว์ข้างหนา้ เถดิ เจ้าขา้ ’ เม่ือวานน้ี ถึงจะได้
เพยี งค�ำวา่ ‘โปรดสัตว์ข้างหนา้ เถดิ เจา้ ขา้ ’ เม่อื เป็นเชน่ นัน้ อาตมาก็หมายเอาวาจาปฏสิ ันถาร
นี้ จึงกล่าวอยา่ งน้”ี
พรฺ าหฺมโณ จนิ ฺเตสิ ‘‘อเิ ม วาจาปฏสิ นธฺ ารมตตฺ มปฺ ิ ลภติ วฺ า ชนมชฺเฌ ‘ลภมิ ฺหา’ติ
ปสํสนตฺ ิ, อ ฺ ํ ก ิ จฺ ิ ขาทนยี ํ วา โภชนีย ํ วา ลภิตวฺ า กสมฺ า นปฺปสสํ นฺต’ี ’ติ ปสที ติ วฺ า
อตตฺ โน อตถฺ าย ปฏิยาทิตภตตฺ โต กฏจฺฉุภกิ ขฺ ,ํ ตทุปยิ จฺ พยฺ ชฺ นํ ทาเปตวฺ า ‘‘อมิ ํ ภกิ ขฺ ํ
สพพฺ กาลํ ตุมเฺ ห ลภิสฺสถา’’ติ อาห ฯ
พราหมณ์ คิดว่า “สมณะพวกน้ีไดแ้ ม้เพียงวาจาปฏสิ นั ถารเทา่ น้ัน กย็ งั สรรเสริญใน
ทา่ มกลางหมชู่ นว่า ‘อาตมาได’้ ถ้าท่านได้ของเค้ยี วหรอื ของฉันอะไร ๆ อย่างอ่นื บ้าง ไฉนจะ
กณั ฑ์] พาหริ กถา 19
ไม่สรรเสริญเลา่ ” ดงั นีแ้ ล้ว กเ็ ลือ่ มใส สัง่ ใหเ้ ขาแบ่งข้าวทัพพหี นึ่ง และกบั ข้าวอย่างละนิดอยา่ ง
ละหนอ่ ยพอสมควรแกข่ ้าวนั้น จากอาหารทีเ่ ขาเตรียมไว้เพอื่ ประโยชนแ์ ก่ตน ถวาย จงึ กลา่ ว
กบั ท่านว่า “ท่านจักไดภ้ ิกษาน้ตี ลอดไป”
โส ปนุ ทิวสโต ปภตุ ิ อุปสงกฺ มนตฺ สสฺ เถรสฺส อุปสมํ ทสิ ฺวา ภยิ ฺโยโส มตฺตาย
ปสีทติ ฺวา เถร ํ นจิ ฺจกาล ํ อตฺตโน ฆเร ภตตฺ วิสฺสคคฺ กรณตถฺ าย ยาจิ ฯ
นบั ตง้ั แตว่ นั รงุ่ ขน้ึ เป็นต้นไป พราหมณน์ ั้นเห็นความสงบเสงี่ยมของพระเถระผ้เู ข้าไป
(ในเรือน) แล้วกเ็ ล่อื มใสยง่ิ ข้ึนไปอกี จงึ ขอร้องพระเถระให้ตนไดก้ ระท�ำการถวายภตั ตาหารใน
เรือนของตนตลอดกาลเปน็ นิตย์
เถโร ตุณฺหีภาเวน อธวิ าเสตฺวา ทิวเส ทิวเส ภตตฺ กิจฺจ ํ กตวฺ า คจฺฉนฺโต โถก ํ โถก ํ
พุทฺธวจน ํ กเถตวฺ า คจฉฺ ติ ฯ
พระเถระรับค�ำนมิ นต์โดยดุษณีภาพ หลงั ท�ำภตั กิจเสรจ็ แล้วในแต่ละวัน เมอื่ จะกลับ
กจ็ ะกลา่ วพระพุทธพจน์วนั ละนิดวนั ละหนอ่ ยแลว้ จงึ กลับไป
สาป ิ โข พรฺ าหมฺ ณี ทสมาสจจฺ เยน ปุตฺตํ วชิ ายิ ฯ
ฝา่ ยนางพราหมณนี ั้นแล ลว่ งไป ๑๐ เดือน ก็คลอดบุตร
‘‘นาคเสโน’’ติสฺส นามมกํสุ ฯ
สองผัวเมียได้ต้ังชือ่ ให้แก่บุตรนน้ั ว่า “นาคเสน”
โส อนกุ ฺกเมน วฑฒฺ นโฺ ต สตฺตวสสฺ ิโก ชาโต ฯ
เดก็ นน้ั เจรญิ เตบิ โตขน้ึ ตามล�ำดบั จนมีอายไุ ด้ ๗ ขวบ
[๑๑] อถ โข นาคเสนสสฺ ทารกสฺส ปติ า นาคเสนํ ทารกํ เอตทโวจ ‘‘อิมสฺม ึ โข
ตาต นาคเสน พฺราหฺมณกเุ ล สกิ ขฺ าน ิ สกิ ฺเขยยฺ าส’ี ’ติ ฯ
[๑๑] คร้ังน้ันแล บดิ าของนาคเสนเดก็ นอ้ ย ได้กล่าวกับนาคเสนเดก็ นอ้ ยวา่ “นแ่ี นะ่ ลกู
นาคเสน ในสกลุ พราหมณน์ ี้ เจ้าตอ้ งศึกษาศาสตร์ที่ควรศกึ ษาทง้ั หลายนะ”
‘‘กตมาน ิ ตาต อิมสมฺ ึ พฺราหมฺ ณกุเล สิกฺขานิ นามา’’ติ ?
นาคเสนถามว่า “คุณพ่อ ชอ่ื ศาสตร์ที่ควรศึกษาในสกลุ พราหมณน์ ี้ คอื อะไร ?”
20 มิลนิ ทปญั หาปกรณแ์ ปล [๑.ปพุ พโยค
‘‘ตโย โข ตาต นาคเสน เวทา สกิ ฺขานิ นาม, อวเสสาน ิ สปิ ฺปาน ิ สิปปฺ ํ
นามา’’ติ ฯ
พราหมณ์กลา่ ววา่ “ลูกนาคเสน ไตรเพทและ ชื่อว่า ศาสตร์ท่คี วรศึกษา, วชิ าศลิ ปะท่ี
เหลอื ท้งั หลาย ชื่อวา่ ศิลปะ”
‘‘เตนหิ ตาต สกิ ฺขสิ สฺ าม’ี ’ติ ฯ
นาคเสนกล่าววา่ “ถา้ อย่างนัน้ คณุ พอ่ ลูกจักศึกษา”
อถ โข โสณุตตฺ โร พฺราหมฺ โณ อาจรยิ พฺราหมฺ ณสฺส อาจริยภาค ํ สหสสฺ ํ ทตฺวา
อนโฺ ตปาสาเท เอกสมฺ ึ คพฺเภ เอกโต ม จฺ ก ํ ป ฺ เปตวฺ า อาจริยพรฺ าหฺมณ ํ เอตทโวจ
‘‘สชฺฌาเปห ิ โข ตฺว ํ พฺราหมฺ ณ อิมํ ทารก ํ มนตฺ านีติ ฯ
ล�ำดบั นั้นแล โสณุตตรพราหมณ์ ไดม้ อบเงิน ๑,๐๐๐ กหาปณะ อันเป็นส่วนบูชา
อาจารยแ์ กพ่ ราหมณ์ผเู้ ป็นอาจารย์ แล้วใหเ้ ขาจัดเตยี งไวข้ ้างหนง่ึ ในห้องหน่ึงภายในปราสาท
ได้กล่าวข้อความนก้ี ับพราหมณผ์ เู้ ป็นอาจารย์ว่า “ทา่ นพราหมณ์ ขอทา่ นจงสอนให้เดก็ คนน้ี
สาธยายมนต์ทัง้ หลายเถดิ ”
“เตนห ิ ตาต ทารก อคุ คฺ ณหฺ าห ิ มนฺตานี’’ติ ฯ
พราหมณ์ผ้เู ปน็ อาจารย์ กลา่ วกับนาคเสนเด็กน้อยวา่ “ถา้ อย่างนน้ั พอ่ เด็กน้อย ขอพอ่
จงเรยี นมนต์ทัง้ หลายเถดิ ”
อาจริยพรฺ าหมฺ โณ สชฌฺ ายต ิ นาคเสนสสฺ ทารกสสฺ เอเกเนว อุทเฺ ทเสน, ตโย
เวทา หทยงฺคตา วาจุคคฺ ตา สูปธาริตา สวุ วตถฺ าปติ า สุมนสิกตา อเหสุํ, สกเิ มว จกฺข ุํ
อทุ ปาทิ ตสี ุ เวเทสุ สนฆิ ณฑฺ เุ กฏเุ ภสุ สากขฺ รปฺปเภเทส ุ อติ หิ าสป จฺ เมส ุ ปทโก
เวยฺยากรโณ โลกายตมหาปุรสิ ลกฺขเณส ุ อนวโย อโหสิ ฯ
พราหมณผ์ เู้ ปน็ อาจารยส์ าธยายมนตไ์ ป โดยยกขนึ้ แสดงเพียงคราวเดียวเท่านนั้ แก่
นาคเสนเดก็ นอ้ ย, นาคเสนเดก็ น้อย ก็มีอันเข้าใจไตรเพทได้ ทอ่ งได้ขน้ึ ปาก ทรงจ�ำไว้ด้วยดี
ก�ำหนดไว้ด้วยดี ใส่ใจด้วยดี, เพียงคราวเดียวเทา่ น้ัน ก็เกดิ ดวงตาเหน็ ชดั ในไตรเพท เป็นผ้รู ู้
บท ช�ำนาญการอธบิ ายในคัมภรี ์สณิฆณั ฑศุ าสตรแ์ ละเกฏุภศาสตร์ ในคัมภีรส์ ากขรัปปเภท-
ศาสตร์ ในศาสตร์ทัง้ หลายอันมอี ติ หิ าสะเป็นที่ ๕ ไมข่ าดตกบกพรอ่ ง ในคัมภรี ์โลกายตะและ
มหาปรุ ิสลกั ษณะ
กัณฑ์] พาหิรกถา 21
อถ โข นาคเสโน ทารโก ปติ รํ เอตทโวจ ‘‘อตฺถิ น ุ โข ตาต อิมสมฺ ึ พรฺ าหมฺ ณ-
กเุ ล อโิ ต อตุ ตฺ รมิ ฺปิ สกิ ฺขิตพพฺ านิ อุทาหุ เอตตฺ กาเนวา’’ติ ฯ
ตอ่ มา นาคเสนเด็กนอ้ ยได้กล่าวขอ้ ความนี้กบั บดิ าว่า “คณุ พ่อ ศาสตรท์ ี่ควรศกึ ษาใน
สกลุ พราหมณน์ ้ีทย่ี ่งิ ไปกว่านี้ มีอยู่หรอื หรือวา่ มีเพียงเทา่ นเี้ ทา่ นน้ั ”
‘‘นตถฺ ิ ตาต นาคเสน อิมสมฺ ึ พฺราหมฺ ณกุเล อโิ ต อุตตฺ รึ สิกขฺ ิตพฺพานิ, เอตฺตกาเนว
สิกฺขติ พพฺ านี’’ติ ฯ
บิดากลา่ ววา่ “ลูกนาคเสน ศาสตร์ท่ีควรศึกษาในสกุลพราหมณ์น้ี ที่ยิ่งไปกว่านี้ ไมม่ ีอกี
แล้ว ศาสตรท์ ่ีควรศึกษามีเพียงเท่านแี้ หละ”
อถ โข นาคเสโน ทารโก อาจริยสฺส อนโุ ยค ํ ทตฺวา ปาสาทา โอรยุ หฺ ปพุ ฺพ-
วาสนาย โจทติ หทโย รโหคโต ปฏสิ ลฺลโี น อตตฺ โน สิปฺปสสฺ อาทมิ ชฺฌปรโิ ยสานํ
โอโลเกนโฺ ต อาทิมหฺ ิ วา มชฺเฌ วา ปรโิ ยสาเน วา อปปฺ มตตฺ กมปฺ ิ สาร ํ อทิสวฺ า ‘‘ตุจฉฺ า
วต โภ อเิ ม เวทา, ปลาปา วต โภ อิเม เวทา อสารา นิสสฺ ารา’’ติ วิปฺปฏิสาร ี อนตฺต-
มโน อโหสิ ฯ
ครั้งนั้นแล นาคเสนเดก็ นอ้ ย ซกั ไซรอ้ าจารยแ์ ลว้ กล็ งจากปราสาทไป เปน็ ผทู้ ี่วาสนา
(การอบรมจติ ) ในภพกอ่ น คอยกระตุ้นเตือนจิตใจ ไปยงั สถานท่ลี ับ ได้หลกี เรน้ อยู่ ตรวจดู
เบอ้ื งต้น ทา่ มกลาง และทส่ี ดุ แหง่ วชิ าศลิ ปะของตนอยู่ กม็ องไม่เห็นสาระแม้แตน่ อ้ ย ในเบอื้ ง
ต้นกด็ ี ท่ามกลางก็ดี ท่ีสุดกด็ ี จึงเกดิ ความเดือดรอ้ นใจ ขดั เคืองใจ ร�ำพงึ อยู่วา่ “ท่านผู้เจริญ
ทัง้ หลาย พระเวทเหล่าน้ี เปลา่ หนอ ท่านผเู้ จริญทง้ั หลาย พระเวทเหลา่ นี้ เหลวไหลหนอ ไมม่ ี
สาระ ไร้สาระ”
[๑๒] เตน โข ปน สมเยน อายสฺมา โรหโณ วตตฺ นิเย เสนาสเน นิสนิ ฺโน
นาคเสนสสฺ ทารกสสฺ เจตสา เจโตปริวติ กฺกม ฺ าย นวิ าเสตฺวา ปตฺตจีวรมาทาย วตตฺ นเิ ย
เสนาสเน อนตฺ รหิโต คชงคฺ ลพรฺ าหมฺ ณคามสสฺ ปรุ โต ปาตุรโหสิ ฯ
[๑๒] ก็ในสมัยนัน้ แล ทา่ นพระโรหณะก�ำลังน่ังอยทู่ ่เี สนาสนะวตั ตนิยะ ก�ำหนดร้ปู ริ-
วติ กแหง่ จิตของนาคเสนเดก็ นอ้ ยดว้ ยจิต แล้วก็นุ่งห่ม ถือบาตรและจีวร อนั ตรธานหายตวั ท่ี
เสนาสนะวัตตนิยะ ไปปรากฏตวั ที่เบ้ืองหนา้ หมบู่ า้ นพราหมณ์ชือ่ ว่า คชงั คละ
22 มลิ ินทปญั หาปกรณแ์ ปล [๑.ปุพพโยค
อทฺทสา โข นาคเสโน ทารโก อตฺตโน ทฺวารโกฏฺ เก โิ ต อายสมฺ นฺตํ โรหณํ
ทูรโตว อาคจฺฉนตฺ ,ํ ทสิ วฺ าน อตตฺ มโน อุทคฺโค ปมทุ ิโต ปตี โิ สมนสสฺ ชาโต ‘‘อปฺเปว นามายํ
ปพพฺ ชโิ ต ก ฺจ ิ สารํ ชาเนยฺยา’’ต,ิ เยนายสมฺ า โรหโณ, เตนุปสงกฺ มิ; อปุ สงฺกมิตฺวา
อายสมฺ นฺตํ โรหณํ เอตทโวจ ‘‘โก นุ โข ตวฺ ํ มาริส เอทโิ ส ภณฑฺ ุกาสาววสโน’’ติ ฯ
นาคเสนเด็กน้อย ยนื อยูท่ ีซ่ ุ้มประต(ู บา้ น)ของตน ไดเ้ ห็นทา่ นพระโรหณะก�ำลงั เดนิ มา
แตไ่ กลทเี ดยี ว ครนั้ เหน็ แลว้ ก็เกิดพอใจ ดใี จ บนั เทงิ ใจ เกิดปีติโสมนสั วา่ “ทา่ นผูน้ ีเ้ ปน็
บรรพชิต ถา้ กระไร พึงรู้ส่งิ ทีเ่ ปน็ สาระบา้ งเปน็ แน”่ ดังนแี้ ลว้ กเ็ ข้าไปหาทา่ นพระโรหณะจนถึง
ท่ี ครน้ั เขา้ ไปหาแล้ว ได้กล่าวขอ้ ความนก้ี บั ท่านพระโรหณะว่า “ทา่ นผู้นิรทกุ ข์ ทา่ นเปน็ ใครกนั
เล่าหนอ จึงมศี รี ษะโล้น นงุ่ หม่ ผา้ กาสาวพัสตร์เชน่ น้”ี
‘‘ปพพฺ ชโิ ต นามาห ํ ทารกา’’ติ ฯ
พระเถระตอบว่า “เดก็ นอ้ ย เราช่ือว่าเป็นบรรพชติ ”
‘‘เกน ตวฺ ํ มาริส ปพพฺ ชิโต นามาส’ี ’ติ ?
นาคเสนกลา่ ววา่ “ท่านผนู้ ิรทกุ ข์ เพราะเหตไุ ร ทา่ นจงึ มีชอ่ื วา่ เปน็ บรรพชติ เล่า”
‘‘ปาปกาน ิ มลานิ ปพฺพาเชต,ิ ตสฺมาหํ ทารก ปพพฺ ชโิ ต นามา’’ติ ฯ
พระเถระกล่าวว่า “เพราะขับไล่มลทินท่ชี วั่ ช้าทั้งหลายออกไป เพราะฉะนัน้ เดก็ น้อย
เราจงึ ชือ่ ว่าเป็นบรรพชติ ”
‘‘กกึ ารณา มารสิ เกสา เต น, ยถา อ ฺเ สน”ฺ ติ ?
นาคเสนถามวา่ “ทา่ นผูน้ ริ ทกุ ข์ เพราะเหตไุ ร ผมของทา่ น จงึ ไมเ่ ป็นเหมอื นอยา่ งคน
เหลา่ อ่ืน”
‘‘โสฬสิเม ทารก ปลโิ พเธ ทิสฺวา เกสมสสฺ ํุ โอหาเรตวฺ า ปพพฺ ชโิ ต ฯ ‘‘กตเม
โสฬส’’? ‘‘อลงกฺ ารปลโิ พโธ มณฺฑนปลิโพโธ เตลมกฺขนปลิโพโธ โธวนปลิโพโธ มาลาปล-ิ
โพโธ คนธฺ ปลิโพโธ วาสนปลิโพโธ หรฏี กปลโิ พโธ อามลกปลิโพโธ รงฺคปลิโพโธ พนฺธน-
ปลโิ พโธ โกจฺฉปลโิ พโธ กปฺปกปลิโพโธ วิชฏนปลโิ พโธ อกู าปลิโพโธ, เกเสส ุ วลิ ูเนสุ
โสจนตฺ ิ กิลมนตฺ ิ ปริเทวนตฺ ิ อุรตฺตาฬึ กนฺทนตฺ ิ สมฺโมห ํ อาปชฺชนฺต,ิ
อิเมสุ โข ทารก โสฬสสุ ปลโิ พเธส ุ ปลคิ ณุ ฺ ิตา มนสุ ฺสา สพพฺ านิ อตสิ ขุ มุ านิ
สิปฺปานิ นาเสนตฺ ี’’ติ ฯ
กณั ฑ์] พาหิรกถา 23
พระเถระกล่าววา่ “เดก็ นอ้ ย เราเหน็ ปลโิ พธ (เหตุกงั วลใจ) ๑๖ อยา่ งนี้ จงึ ปลงผมและ
หนวด แลว้ บวชเสยี ปลโิ พธ ๑๖ อยา่ งอะไรบ้าง คือ
๑. อลงั การปลโิ พธ ปลโิ พธในเครื่องประดับ
๒. มัณฑนปลิโพธ ปลิโพธในการประดบั
๓. เตลมักขนปลโิ พธ ปลโิ พธในการทาน�้ำมัน
๔. โธวนปลิโพธ ปลิโพธในการสระล้าง
๕. มาลาปลิโพธ ปลโิ พธในพวงดอกไม้
๖. คันธปลโิ พธ ปลโิ พธในของหอม
๗. วาสนปลโิ พธ ปลิโพธในการอบกลิ่น
๘. หรีฏกปลโิ พธ ปลโิ พธในผลสมอส�ำหรบั ใช้สระ
๙. อามลกปลิโพธ ปลโิ พธในผลมะขามปอ้ มส�ำหรบั ใชส้ ระ
๑๐. รงั คปลโิ พธ ปลโิ พธในสยี ้อม
๑๑. พนั ธนปลิโพธ ปลิโพธในผา้ โพก
๑๒. โกจฉปลโิ พธ ปลิโพธในหวี
๑๓. กัปปกปลิโพธ ปลโิ พธในชา่ งตดั ผม
๑๔. วิชฏนปลิโพธ ปลิโพธในการหวี
๑๕. อูกาปลิโพธ ปลิโพธในการหาเหา
๑๖. เมือ่ ผมเสียหายไป คนทัง้ หลายก็เศร้าโศก คือ ล�ำบากใจ คร่�ำครวญ ตอี ก ร้องไห้
ถงึ ความลุ่มหลง
เด็กน้อย คนท้งั หลายผวู้ นุ่ วายใจ ในเพราะปลโิ พธ ๑๖ อยา่ งเหล่าน้ี ย่อมท�ำวิชาศิลปะ
ทั้งหลายท้งั ปวงท่ีละเอยี ดยงิ่ ให้เสียหายไป”
24 มิลินทปัญหาปกรณ์แปล [๑.ปุพพโยค
‘‘กกึ ารณา มารสิ วตฺถานปิ ิ เต น, ยถา อ ฺเ สน”ฺ ติ ?
นาคเสนถามวา่ “ทา่ นผูน้ ริ ทกุ ข์ เพราะเหตุไร แม้ผ้าของท่านกไ็ มเ่ หมือนอยา่ งของคน
เหลา่ อน่ื เขาเล่า”
‘‘กามนสิ สฺ ิตาน ิ โข ทารก วตถฺ านิ, กามนสิ ฺสิตานิ คหิ พิ ยฺ ชฺ นภณฑฺ านิ, ยาน ิ
กานิจ ิ โข ภยานิ วตฺถโต อุปฺปชชฺ นตฺ ,ิ ตาน ิ กาสาววสนสสฺ น โหนตฺ ,ิ ตสฺมา วตฺถานิป ิ
เม น, ยถา อ เฺ สน”ฺ ติ ฯ
พระเถระกลา่ วว่า “เดก็ นอ้ ยเอย๋ ผา้ ทั้งหลายกามอาศยั ได้ สิง่ ของเคร่ืองใช้ของพวก
คฤหัสถก์ ามอาศัยได้ ภัยเหล่าใดเหล่าหนึง่ เกิดได้จากผ้า ภยั เหลา่ นั้นย่อมไม่มีแกผ่ ู้น่งุ ผ้า
กาสาวพสั ตร์ เพราะฉะนน้ั แมผ้ ้าของเราจงึ ไมเ่ หมอื นอยา่ งของคนเหลา่ อนื่ ”
‘‘ชานาสิ โข ตฺว ํ มารสิ สิปฺปาน ิ นามา’’ติ ?
นาคเสนถามวา่ “ทา่ นผูน้ ริ ทุกข์ ท่านรู้วชิ าศิลปะท้ังหลายหรอื ”
‘‘อาม ทารก ชานามห ํ สปิ ปฺ าน,ิ ยํ โลเก อุตฺตมํ มนฺต,ํ ตมปฺ ิ ชานาม’ี ’ติ ฯ
พระเถระกล่าววา่ “ใช่ เดก็ นอ้ ย เรารวู้ ชิ าศิลปะท้ังหลาย, มนตท์ ่สี ูงสดุ อนั ใด มอี ย่ใู น
โลก แม้มนตน์ นั้ เราก็ร”ู้
‘‘มยหฺ มปฺ ิ ต ํ มาริส ทาตุํ สกกฺ า’’ติ ?
นาคเสนถามวา่ “ท่านผนู้ ริ ทกุ ข์ ทา่ นสามารถท่ีจะมอบมนต์น้นั ให้กบั กระผมไดห้ รอื ไม”่
‘‘อาม ทารก สกฺกา’’ติ ฯ
พระเถระกลา่ ววา่ “ได้ เดก็ นอ้ ย เราสามารถทจี่ ะมอบใหก้ บั เธอได้”
‘‘เตนห ิ เม เทห’ี ’ติ ฯ
นาคเสนถามวา่ “ถ้าอย่างน้นั กข็ อจงมอบใหก้ ระผมด้วยเถดิ ครับ”
‘‘อกาโล โข ทารก, อนตฺ รฆรํ ปิณฑฺ าย ปวฏิ ฺ มหฺ า’’ติ ฯ
พระเถระกลา่ วว่า “มิใช่กาลท่ีสมควร เด็กน้อย, เราก�ำลงั เขา้ ไปบณิ ฑบาตในระหว่าง
บา้ นเรือน”
อถ โข นาคเสโน ทารโก อายสมฺ โต โรหณสสฺ หตถฺ โต ปตฺต ํ คเหตวฺ า ฆร ํ
ปเวเสตวฺ า ปณเี ตน ขาทนีเยน โภชนเี ยน สหตถฺ า สนฺตปเฺ ปตฺวา สมฺปวาเรตฺวา อายสมฺ นตฺ ํ
กัณฑ]์ พาหริ กถา 25
โรหณํ ภุตตฺ าว ึ โอนีตปตตฺ ปาณ ึ เอตทโวจ ‘‘เทหิ เม ทานิ มารสิ มนฺตนฺ”ติ ฯ
ล�ำดับน้นั แล นาคเสนเด็กนอ้ ย รับบาตรจากมือของท่านพระโรหณะมา นมิ นตท์ า่ นให้
เขา้ ไปยังเรอื น เล้ยี งดทู ่านใหอ้ ิม่ หน�ำดว้ ยของเค้ยี วและของฉันอนั ประณตี ดว้ ยมือของตนเอง
ได้กล่าวความขอ้ นี้กบั ท่านพระโรหณะผฉู้ นั เสรจ็ แลว้ วางมอื จากบาตรแลว้ ว่า “ทา่ นผู้นิรทกุ ข์
บดั น้ี ขอทา่ นจงมอบมนต์ให้แกก่ ระผมเถดิ ”
‘‘ยทา โข ตวฺ ํ ทารก นิปปฺ ลิโพโธ หตุ ฺวา มาตาปติ โร อนุชานาเปตฺวา มยา คหิต ํ
ปพฺพชติ เวสํ คณฺหิสสฺ สิ, ตทา ทสสฺ าม’ี ’ต ิ อาห ฯ
พระเถระกลา่ วว่า “เดก็ นอ้ ย เราจะมอบให้ในเวลาท่เี ธอเป็นผไู้ มม่ ีปลิโพธ มารดาบดิ า
อนุญาตใหถ้ อื เพศบรรพชิตท่เี ราถืออยู”่
อถ โข นาคเสโน ทารโก มาตาปิตโร อุปสงฺกมิตวฺ า อาห ‘‘อมมฺ ตาตา อย ํ
ปพฺพชิโต ‘ย ํ โลเก อุตฺตม ํ มนตฺ ํ, ตํ ชานามี’ต ิ วทติ, น จ อตตฺ โน สนฺติเก อปพฺพชติ สสฺ
เทต,ิ อหํ เอตสฺส สนฺติเก ปพพฺ ชิตวฺ า ตํ อตุ ฺตม ํ มนฺตํ อุคฺคณฺหิสสฺ าม’ี ’ติ ฯ
ครงั้ นนั้ แล นาคเสนเดก็ นอ้ ย ได้เข้าไปหามารดาบิดา กลา่ ววา่ “แม่ พ่อ นักบวชท่านนี้
พดู ว่า ‘ในโลกมมี นต์อันสูงสดุ อันใดอยู่ เรารู้มนต์อนั นน้ั ’ แต่ท่านจะไม่ใหม้ นตแ์ ก่ผทู้ ไี่ มไ่ ดบ้ วช
ในส�ำนักของตน ผมจักบวชในส�ำนกั ของท่านแล้วเรียนมนต์ท่ีสงู สดุ นน้ั ”
อถสฺส มาตาปติ โร ‘‘ปพพฺ ชิตฺวาปิ โน ปุตโฺ ต มนฺตํ คณฺหตุ, คเหตฺวา ปนุ
อาคจฺฉิสสฺ ต’ี ’ติ ม ฺ มานา ‘‘คณฺห ปุตตฺ า’’ต ิ อนชุ านสึ ุ ฯ
ล�ำดบั นน้ั มารดาบดิ าของเขาเมื่อส�ำคญั ว่า “ลูกของพวกเรา แม้บวชแล้วจงเรยี นมนต์
เรยี นจบแล้ว กจ็ ะกลับมา” ดังน้ี จึงอนุญาตว่า “ขอจงถอื เพศบรรพชิตเถดิ ลูก”
[๑๓] อถ โข อายสฺมา โรหโณ นาคเสน ํ ทารก ํ อาทาย, เยน วตฺตนยิ ํ เสนาสน,ํ
เยน วชิ มฺภวตถฺ ,ุ เตนุปสงฺกมิ; อปุ สงฺกมิตฺวา วิชมฺภวตฺถสุ มฺ ึ เสนาสเน เอกรตตฺ ํ วสิตวฺ า,
เยน รกขฺ ติ ตลํ, เตนปุ สงฺกมิ; อุปสงกฺ มติ วฺ า โกฏสิ ตานํ อรหนตฺ านํ มชเฺ ฌ นาคเสน ํ ทารก ํ
ปพฺพาเชสิ ฯ
[๑๓] ครั้งนน้ั แล ท่านพระโรหณะไดพ้ านาคเสนเด็กนอ้ ย เข้าไปยังเสนาสนะวตั ตนยิ ะ
เข้าไปยังวิชมั ภวัตถุวหิ าร คร้ันเขา้ ไปหาแล้ว กพ็ กั อยทู่ เ่ี สนาสนะวชิ มั ภวัตถุวิหารได้คืนหน่ึง
กเ็ ข้าไปยังรักขติ ตลวิหาร แล้วให้นาคเสนเดก็ นอ้ ยบวชทา่ มกลางพระอรหันต์ ๑๐๐ โกฏิ
26 มิลินทปญั หาปกรณ์แปล [๑.ปุพพโยค
ปพพฺ ชิโต จ ปนายสมฺ า นาคเสโน อายสฺมนฺต ํ โรหณ ํ เอตทโวจ ‘‘คหโิ ต เม
ภนเฺ ต ตว เวโส, เทถ เม ทาน ิ มนตฺ นฺ”ติ ฯ
ก็ทา่ นนาคเสนผูบ้ วช (เป็นสามเณร) แล้ว ได้กลา่ วความข้อนีก้ ับทา่ นพระโรหณะว่า
“ทา่ นผเู้ จริญ เพศของทา่ น กระผมไดถ้ ือแลว้ บดั นี้ ขอทา่ นจงมอบมนตใ์ ห้แก่กระผมเถิด”
อถ โข อายสฺมา โรหโณ ‘‘กมิ ฺหิ น ุ โขห ํ นาคเสน ํ วเิ นยยฺ ํ ป ม ํ วนิ เย วา
สตุ ตฺ นเฺ ต วา อภิธมฺเม วา’’ติ จนิ เฺ ตตวฺ า ‘‘ปณฑฺ ิโต โข อยํ นาคเสโน, สกโฺ กต ิ สเุ ขเนว
อภิธมมฺ ํ ปริยาปณุ ิตนุ ฺ”ต ิ ป ม ํ อภธิ มเฺ ม วเิ นสิ ฯ
ล�ำดบั นนั้ แล ท่านพระโรหณะ คิดว่า “เราควรแนะน�ำสามเณรนาคเสนในอะไรก่อนดี
ในพระวินัย พระสตู ร หรือวา่ ในพระอภิธรรม” ดงั นแ้ี ล้ว ครั้นเห็นวา่ “นาคเสนนเ้ี ปน็ ผู้ฉลาด
ยอ่ มสามารถที่จะเรยี นพระอภธิ รรมได้โดยง่ายเทียว” จึงแนะน�ำในพระอภิธรรมก่อน
อายสมฺ า จ นาคเสโน ‘‘กุสลา ธมมฺ า, อกุสลา ธมฺมา, อพฺยากตา ธมมฺ า’’ต ิ
ติกทุกปฏิมณฑฺ ิตํ ธมมฺ สงฺคณีปกรณํ, ขนฺธวิภงคฺ าท ิ อฏฺ ารสวิภงฺคปฏิมณฑฺ ิตํ วิภงฺคป-ฺ
ปกรณํ, ‘‘สงฺคโห อสงฺคโห’’ตอิ าทินา จทุ ทฺ สวิเธน วิภตฺต ํ ธาตุกถาปกรณํ, ‘‘ขนฺธป ฺ ตตฺ ิ
อายตนป ฺ ตฺต’ี ’ติอาทนิ า ฉพฺพเิ ธน วภิ ตตฺ ํ ปคุ คฺ ลป ฺ ตฺติปฺปกรณํ, สกวาเท ป ฺจ-
สตุ ตฺ สตานิ ปรวาเท ป จฺ สตุ ตฺ สตานีต ิ สตุ ตฺ สหสฺสํ สโมธาเนตฺวา วภิ ตฺต ํ กถาวตถฺ ุปฺปกรณํ,
‘‘มลู ยมกํ ขนฺธยมกนฺ”ตอิ าทินา ทสวเิ ธน วิภตฺต ํ ยมกปปฺ กรณํ, ‘‘เหตุปปฺ จจฺ โย อารมมฺ ณปฺ-
ปจจฺ โย’’ตอิ าทนิ า จตวุ สี ติวิเธน วิภตตฺ ํ ปฏฺ านปปฺ กรณนตฺ ิ สพฺพ ํ ต ํ อภธิ มฺมปิฏก ํ
เอเกเนว สชฌฺ าเยน ปคุณ ํ กตฺวา ‘‘ติฏ ฺ ถ ภนเฺ ต, น ปุน โอสาเรถ, เอตฺตเกเนวาหํ
สชฺฌายสิ ฺสามี’’ติ อาห ฯ
ก็ ทา่ นนาคเสนท�ำพระอภธิ รรมปฎิ กทัง้ หมด คือ คมั ภรี ธ์ รรมสงั คณที ปี่ ระดบั ด้วยตกิ ะ
และทกุ ะอย่างนี้ว่า “กุสลา ธมมฺ า อกุสลา ธมฺมา อพยฺ ากตา ธมฺมา” เปน็ ต้น, คัมภีรว์ ิภงั ค์ท่ี
ประกอบดว้ ยวภิ ังค์ ๑๘ มีขันธวิภงั คเ์ ปน็ ต้น, คมั ภีร์ธาตุกถาทจี่ �ำแนกไว้ ๑๔ ประการ มวี ่า
“สงคฺ โห อสงฺคโห” เปน็ ต้น, คมั ภรี ป์ คุ คลบญั ญตั ทิ จี่ �ำแนกไว้ ๖ ประการ มวี า่ “ขนฺธปญฺ ตฺต ิ
อายตนปญฺตตฺ ”ิ เป็นต้น, คัมภีร์กถาวตั ถุทปี่ ระมวลจ�ำแนกไว้ถงึ ๑,๐๐๐ สตู ร คือ สกวาทะ
(วาทะฝ่ายตน) ๕๐๐ สูตร ปรวาทะ (วาทะฝ่ายอนื่ ) ๕๐๐ สตู ร, คัมภีร์ยมกที่จ�ำแนกไว้ ๑๐
ประการ คือ มลู ยมก, ขันธยมก เปน็ ตน้ , คัมภรี ์ปัฏฐานทจี่ �ำแนกไว้ ๒๔ ประการ คอื เหตุปัจจยั
อารมั มณปจั จัย เป็นตน้ ดังนี้นัน้ ให้คล่องแคล่วได้โดยการสาธยายเพียงคราวเดียวเท่าน้ัน
กณั ฑ]์ พาหิรกถา 27
แลว้ กล่าววา่ “ท่านผเู้ จรญิ ขอจงหยดุ ไว้เทา่ นก้ี อ่ นเถิด อย่าได้สวดต่ออีกเลย กระผมจะสาธยาย
เน้อื หาเพยี งเทา่ นก้ี อ่ น”
[๑๔] อถ โข อายสฺมา นาคเสโน, เยน โกฏสิ ตา อรหนฺโต, เตนปุ สงฺกมิ;
อปุ สงกฺ มิตวฺ า โกฏิสเต อรหนฺเต เอตทโวจ ‘‘อหํ โข ภนเฺ ต ‘กสุ ลา ธมมฺ า, อกสุ ลา ธมมฺ า,
อพยฺ ากตา ธมฺมา’ต ิ อิเมส ุ ตีสุ ปเทส ุ ปกฺขปิ ิตวฺ า สพพฺ ํ ตํ อภธิ มฺมปิฏก ํ วติ ถฺ าเรน
โอสาเรสสฺ ามี’’ติ ฯ
[๑๔] ครง้ั นั้นแล ทา่ นนาคเสนได้เข้าไปหาพระอรหนั ต์ ๑๐๐ โกฏิถึงท่ีอยู่ ครนั้ เขา้ ไป
หาแล้ว ได้กลา่ วขอ้ ความนก้ี บั พระอรหันต์ ๑๐๐ โกฏวิ า่ “ท่านผู้เจรญิ ท้งั หลาย กระผมจะขอ
สวดสาธยายพระอภธิ รรมปิฎกทง้ั หมดทบ่ี รรจไุ วใ้ นบท ๓ บทเหลา่ น้ที ว่ี า่ ‘กุสลา ธมมฺ า,
อกสุ ลา ธมมฺ า, อพฺยากตา ธมฺมา’ ดังนีน้ ั้นโดยพิสดาร”
‘‘สาธ ุ นาคเสน โอสาเรหี’’ติ ฯ
พระอรหันต์ ๑๐๐ โกฏิกลา่ ววา่ “สาธุ ท่านนาคเสน ขอท่านจงสวดสาธยายเถิด”
อถ โข อายสมฺ า นาคเสโน สตตฺ มาสานิ สตฺต ปกรณานิ วิตฺถาเรน โอสาเรส,ิ
ปถว ี อุนนฺ ทิ, เทวตา สาธกุ ารมทํส,ุ พรฺ หมฺ าโน อปโฺ ผเฏสุ,ํ ทิพฺพานิ จนฺทนจณุ ณฺ าน ิ
ทิพฺพานิ จ มนทฺ ารวปุปฺผาน ิ อภิปปฺ วสฺสึสุ ฯ
ตอ่ จากน้ันแล ทา่ นนาคเสนได้สวดสาธยายคมั ภีร์ ๗ คัมภรี ์โดยพิสดารตลอด ๗ เดือน
แผ่นดินบนั ลือลั่น เทวดาท้ังหลายก็ได้พากันใหส้ าธุการ พรหมท้ังหลายก็ปรบมอื จรุ ณจนั ทน์
ท่ีเป็นทพิ ย์ และดอกมณฑารพท่ีเป็นทิพย์ กโ็ ปรยปรายลงมา
[๑๕] อถ โข โกฏสิ ตา อรหนโฺ ต อายสมฺ นตฺ ํ นาคเสน ํ ปรปิ ุณฺณวีสตวิ สสฺ ํ รกขฺ ิตตเล
อปุ สมปฺ าเทสุํ ฯ
[๑๕] ในล�ำดับน้ันแล พระอรหันต์ ๑๐๐ โกฏิ ก็ให้ทา่ นนาคเสนผมู้ ีอายุ ๒๐ ปบี ริบรู ณ์
ไดอ้ ปุ สมบททีร่ ักขติ ตลวหิ าร
อปุ สมฺปนโฺ น จ ปนายสฺมา นาคเสโน ตสสฺ า รตฺตยิ า อจจฺ เยน ปุพฺพณหฺ สมย ํ
นวิ าเสตวฺ า ปตตฺ จีวรมาทาย อปุ ชฌฺ าเยน สทฺธึ คาม ํ ปณิ ฑฺ าย ปวิสนฺโต เอวรปู ํ ปรวิ ติ กฺกํ
อุปปฺ าเทสิ ‘‘ตุจโฺ ฉ วต เม อปุ ชฺฌาโย, พาโล วต เม อปุ ชฌฺ าโย, เปตวฺ า อวเสสํ
พุทฺธวจน ํ ป มํ ม ํ อภิธมเฺ ม วเิ นส’ี ’ติ ฯ
28 มิลินทปัญหาปกรณแ์ ปล [๑.ปพุ พโยค
กแ็ ลทา่ นพระนาคเสนผอู้ ุปสมบทแล้ว เม่ือลว่ งราตรีนนั้ ผ่านไป ในเวลาเช้า ก็นงุ่ (สบง)
ถอื บาตรและจวี ร เขา้ ไปยงั หมู่บ้านเพ่อื บณิ ฑบาตกบั พระอุปชั ฌาย์ เกดิ ความปรวิ ิตกเหน็
ปานนขี้ ้ึนวา่ “พระอปุ ชั ฌาย์ของเราเปน็ คนเปลา่ หนอ พระอุปชั ฌาย์ของเราเป็นคนโง่หนอ ท่าน
แนะน�ำเราในพระอภธิ รรมก่อน ยกเวน้ พระพุทธพจน์ทีเ่ หลือ (คือพระวนิ ัยและพระสตู ร)”
อถ โข อายสฺมา โรหโณ อายสฺมโต นาคเสนสสฺ เจตสา เจโตปรวิ ติ กกฺ ม ฺ าย
อายสมฺ นตฺ ํ นาคเสน ํ เอตทโวจ ‘‘อนนุจฉฺ วิกํ โข นาคเสน ปรวิ ิตกกฺ ํ วิตกฺเกสิ, น โข ปเนตํ
นาคเสน ตวานุจฺฉวกิ นฺ”ติ ฯ
ล�ำดับนัน้ แล ทา่ นพระโรหณะทราบความปรวิ ิตกท่ีเกิดข้นึ ในใจของทา่ นพระนาคเสน
ด้วยใจ จงึ กล่าวความข้อนก้ี บั ท่านพระนาคเสนว่า “นี่แน่ะท่านนาคเสน คณุ ปริวติ กถงึ เรื่องที่ไม่
สมควรคดิ ความปริวิตกของคณุ น้ี ไม่สมควรเลยนะ ทา่ นนาคเสน”
อถ โข อายสมฺ โต นาคเสนสสฺ เอตทโหสิ ‘‘อจฉฺ ริยํ วต โภ, อพฺภุต ํ วต โภ, ยตฺร
ห ิ นาม เม อุปชฺฌาโย เจตสา เจโตปริวติ กกฺ ํ ชานิสสฺ ต,ิ ปณฺฑโิ ต วต เม อปุ ชฌฺ าโย,
ยนฺนูนาหํ อปุ ชฌฺ าย ํ ขมาเปยฺยน”ฺ ติ ฯ
ล�ำดับนั้นแล พระนาคเสน ไดเ้ กดิ ความคดิ ขอ้ นข้ี ึน้ ว่า “นา่ อศั จรรย์จริงหนอ ทา่ นผ้เู จรญิ
ท้งั หลาย น่าประหลาดจริงหนอ ท่านผ้เู จรญิ ทง้ั หลาย ในการท่พี ระอปุ ัชฌายข์ องเรา ทราบ
ความปรวิ ิตกท่เี กิดข้นึ ในใจด้วยใจได้ พระอปุ ัชฌายข์ องเราเป็นบัณฑิตหนอ ไฉนหนอ เราพงึ
ขอขมาพระอุปชั ฌาย์”
อถ โข อายสมฺ า นาคเสโน อายสมฺ นฺต ํ โรหณ ํ เอตทโวจ ‘‘ขมถ เม ภนเฺ ต, น ปนุ
เอวรปู ํ วิตกเฺ กสสฺ ามี’’ติ ฯ
ล�ำดับนน้ั แล ทา่ นพระนาคเสนไดก้ ลา่ วข้อความนีก้ ับทา่ นพระโรหณะว่า “ท่านผู้เจริญ
ขอทา่ นจงอดโทษใหแ้ ก่กระผมเถดิ กระผมจะไมค่ ิดเรือ่ งเหน็ ปานน้อี กี แล้ว”
อถ โข อายสมฺ า โรหโณ อายสมฺ นฺต ํ นาคเสน ํ เอตทโวจ ‘‘น โข ตยฺ าหํ นาคเสน
เอตฺตาวตา ขมามิ, อตถฺ ิ โข นาคเสน สาคล ํ นาม นคร,ํ ตตถฺ มิลนิ โฺ ท นาม ราชา รชชฺ ํ
กาเรต,ิ โส ทฏิ ฺ ิวาเทน ป หฺ ํ ปจุ ฉฺ ิตวฺ า ภกิ ขฺ สุ ํฆ ํ วิเหเ ติ, สเจ ตฺว ํ ตตฺถ คนตฺ วฺ า ตํ
ราชานํ ทเมตวฺ า พทุ ธฺ สาสเน ปสาเทสสฺ ส,ิ เอวาห ํ ตํ ขมสิ ฺสาม’ี ’ติ ฯ
ครัง้ นน้ั แล ท่านพระโรหณะไดก้ ลา่ วขอ้ ความนก้ี บั ทา่ นพระนาคเสนว่า “น่ีแน่ะท่าน
กณั ฑ]์ พาหริ กถา 29
นาคเสน ผมจะไม่อดโทษใหท้ ่าน ดว้ ยเหตเุ พยี งว่าท่านมาขอขมาเทา่ นห้ี รอก ท่านนาคเสน มี
เมืองอยู่เมอื งหน่งึ ชื่อว่าสาคละ พระราชาพระนามวา่ มลิ นิ ท์ ทรงครองราชยอ์ ยู่ทเ่ี มอื งนั้น พระ
ราชาพระองค์นนั้ ทรงใช้ทิฏฐิวาทะถามปัญหาเบียดเบยี นพระภกิ ษสุ งฆ์ ถ้าหากวา่ ท่านไปถึงที่
เมืองสาคละนน้ั แล้ว ทรมานพระราชาพระองค์นั้น ท�ำให้ทรงเลือ่ มใสในพระพุทธศาสนาได้
อยา่ งนแ้ี หละ ผมจงึ จะอดโทษให้ทา่ น”
‘‘ติฏ ฺ ตุ ภนเฺ ต เอโก มลิ ินฺโท ราชา; สเจ ภนฺเต สกลชมพฺ ทุ เี ป สพเฺ พ ราชาโน
อาคนฺตวฺ า มํ ป ฺห ํ ปุจเฺ ฉยฺย,ํุ สพพฺ ํ ตํ วิสสฺ ชเฺ ชตวฺ า สมปฺ ทาเลสฺสามิ, ‘ขมถ เม ภนเฺ ต’ติ
วตวฺ า, ‘น ขมามี’ติ วตุ ฺเต ‘เตนห ิ ภนเฺ ต อมิ ํ เตมาสํ กสสฺ สนฺติเก วสิสสฺ าม’ี ติ อาห’’ ฯ
พระนาคเสนกลา่ ววา่ “ข้าแต่ทา่ นผูเ้ จรญิ พระเจ้ามิลินท์พระองค์เดียวจงยกไว้เถิด ทา่ น
ผู้เจรญิ ถ้าหากวา่ พระราชาทกุ พระองค์ในชมพทู วปี ทง้ั สิ้น จะพงึ เสด็จมาถามปัญหากบั
กระผม กระผมจักถวายวิสัชนาท�ำลายปัญหานัน้ ให้หมด แลว้ กลา่ ววา่ ‘ขา้ แต่ทา่ นผ้เู จริญ ขอ
จงอดโทษใหแ้ กก่ ระผมเถดิ ’ ดังนแี้ ล้ว เมอื่ ทา่ นพระโรหณะยงั คงกล่าวว่า ‘เราจะยงั ไมอ่ ดโทษ
ให้หรอก’ ดงั นี้ จึงกลา่ วว่า “ท่านผู้เจรญิ ถ้าอยา่ งนนั้ ตลอดไตรมาสน้ี กระผมจะอยู่ในส�ำนัก
ของใครครบั ?”
“อยํ โข นาคเสน อายสมฺ า อสฺสคุตโฺ ต วตตฺ นิเย เสนาสเน วิหรต,ิ คจฉฺ ตฺวํ
นาคเสน, เยนายสมฺ า อสสฺ คตุ ฺโต, เตนปุ สงฺกม; อปุ สงกฺ มติ วฺ า มม วจเนน อายสฺมโต
อสสฺ คตุ ฺตสสฺ ปาเท สริ สา วนฺท, เอว จฺ น ํ วเทห ิ ‘อุปชฌฺ าโย เม ภนเฺ ต ตุมหฺ าก ํ ปาเท
สิรสา วนทฺ ติ, อปฺปาพาธํ อปปฺ าตงกฺ ํ ลหฏุ ฺ าน ํ พลํ ผาสุวหิ ารํ ปจุ ฺฉติ, อุปชฌฺ าโย เม
ภนฺเต อิม ํ เตมาสํ ตุมฺหากํ สนตฺ ิเก วสิต ุํ มํ ปหิณ’ี ต,ิ ‘โกนาโม เต อุปชฺฌาโย’ติ จ
วุตฺเต, ‘โรหณตเฺ ถโร นาม ภนเฺ ต’’ต ิ วเทยยฺ าสิ, ‘อห ํ โกนาโม’ต ิ วุตฺเต, เอวํ วเทยยฺ าส ิ
‘มม อปุ ชฌฺ าโย ภนฺเต ตมุ หฺ าก ํ นาม ํ ชานาตี’’ติ ฯ
ท่านพระโรหณะกลา่ วว่า “นี่แน่ะทา่ นนาคเสน ทา่ นอสั สคุตน้ี อยทู่ เ่ี สนาสนะวัตตนยิ ะ
เธอจงไป จงเข้าไปหาท่านอัสสคุต ณ ทที่ า่ นพ�ำนักอย่เู ถิด คร้ันเข้าไปหาแล้ว จงกราบเทา้ ของ
ทา่ นอสั สคตุ ดว้ ยเศียรเกลา้ และจงกลา่ วกับท่านตามค�ำของฉนั อยา่ งน้ีว่า ‘ข้าแตท่ า่ นผูเ้ จรญิ
พระอุปชั ฌายข์ องกระผมกราบเท้าของทา่ นด้วยเศียรเกล้า ขอถามถงึ ความเปน็ ผู้มอี าพาธ
น้อย มีโรคน้อย ความคลอ่ งแคล่ว มีก�ำลัง ความอย่ผู าสกุ ของทา่ นดว้ ย ท่านผูเ้ จรญิ พระ
อุปัชฌาย์ของกระผม ส่งกระผมมาเพอ่ื จะให้อย่ใู นส�ำนักของท่านตลอดไตรมาสนี้’ ดงั นเ้ี ถิด
30 มิลนิ ทปญั หาปกรณแ์ ปล [๑.ปพุ พโยค
และเมอ่ื ทา่ นถามวา่ ‘พระอปุ ชั ฌาย์ของเธอช่ืออะไร ?’ กค็ วรตอบทา่ นว่า ‘ชือ่ วา่ พระโรหณ
เถระ ทา่ นผู้เจรญิ ’ เม่ือท่านถามว่า ‘ฉนั ละ ช่อื อะไร ?’ ก็ควรตอบอยา่ งนวี้ ่า ‘ทา่ นผเู้ จริญ พระ
อปุ ัชฌาย์ของกระผมรูจ้ กั ช่อื ของท่าน” ดงั น้ีเถดิ
‘‘เอวํ ภนฺเต’’ต ิ โข อายสฺมา นาคเสโน อายสฺมนตฺ ํ โรหณ ํ อภิวาเทตฺวา ปทกฺขณิ ํ
กตฺวา ปตฺตจีวรมาทาย อนปุ พุ ฺเพน จาริกํ จรมาโน, เยน วตตฺ นิยํ เสนาสน,ํ เยนายสฺมา
อสฺสคุตโฺ ต, เตนุปสงฺกม;ิ อปุ สงฺกมิตฺวา อายสฺมนฺตํ อสสฺ คุตตฺ ํ อภิวาเทตวฺ า เอกมนฺต ํ
อฏ ฺ าสิ ฯ
ท่านพระนาคเสนรับค�ำวา่ “ครับ ท่านผ้เู จริญ” ดังนีแ้ ลว้ กก็ ราบไหว้ทา่ นพระโรหณะ
ท�ำประทกั ษณิ ถือบาตรและจวี ร เท่ยี วจาริกไปตามล�ำดับ ได้เขา้ ไปทางทีเ่ สนาสนะวตั ตนิยะตั้ง
อยู่ ได้เข้าไปหาทา่ นอสั สคุตตเถระ กราบไหว้ท่านพระอัสสคุตแลว้ ได้ยนื อยู่ ณ ท่สี มควร
เอกมนฺต ํ โิ ต โข อายสฺมา นาคเสโน อายสฺมนฺต ํ อสสฺ คุตตฺ ํ เอตทโวจ
‘‘อุปชฌฺ าโย เม ภนฺเต ตมุ ฺหากํ ปาเท สริ สา วนทฺ ต,ิ เอว ฺจ วเทต ิ ‘อปปฺ าพาธ ํ
อปปฺ าตงฺกํ ลหฏุ ฺ าน ํ พลํ ผาสุวหิ ารํ ปจุ ฉฺ ติ, อุปชฺฌาโย เม ภนฺเต อิมํ เตมาส ํ ตมุ ฺหากํ
สนฺติเก วสติ ุํ มํ ปหิณ’ี ’ติ ฯ
ท่านพระนาคเสน ขณะยืนอยู่ ณ ท่สี มควร ได้กลา่ วขอ้ ความขอ้ นกี้ บั ทา่ นพระอัสสคตุ
ว่า “ทา่ นผ้เู จริญ พระอปุ ัชฌาย์ของกระผม ขอกราบเท้าของท่านดว้ ยเศียรเกลา้ แลว้ กล่าว
อยา่ งนว้ี ่า ‘พระอปุ ัชฌายข์ องกระผม ขอถามถงึ ความเปน็ ผู้มีอาพาธน้อย มีโรคนอ้ ย มีความ
คล่องแคล่ว มีก�ำลงั ความอยผู่ าสุกของทา่ นดว้ ย ข้าแตท่ า่ นผู้เจรญิ พระอปุ ชั ฌายข์ องกระผม
สง่ กระผมมาเพื่อขออย่ใู นส�ำนักของท่านตลอดไตรมาสน”ี้
อถ โข อายสฺมา อสฺสคตุ ฺโต อายสมฺ นฺต ํ นาคเสน ํ เอตทโวจ ‘‘ตฺว ํ กนิ นฺ าโมส’ี ’ติ ฯ
ทนี นั้ ท่านพระอัสสคตุ ไดก้ ลา่ วค�ำนี้กบั ท่านพระนาคเสนว่า “ทา่ นมชี อ่ื วา่ อะไร ?”
‘‘อหํ ภนฺเต นาคเสโน นามา’’ติ ฯ
พระนาคเสนกราบเรียนวา่ “กระผมมชี ือ่ วา่ นาคเสน ครบั ”
‘‘โกนาโม เต อุปชฌฺ าโย’’ติ ?
ท่านพระอัสสคุตถามวา่ “พระอปุ ัชฌายข์ องท่านมีชอ่ื ว่าอะไร”
กัณฑ]์ พาหิรกถา 31
‘‘อปุ ชฺฌาโย เม ภนฺเต โรหโณ นามา’’ติ ฯ
พระนาคเสนกราบเรยี นว่า “ทา่ นผู้เจริญ พระอปุ ชั ฌายข์ องกระผม ชอื่ วา่ โรหณะ ครับ”
‘‘อหํ โกนาโม’’ติ ฯ
ท่านพระอัสสคตุ ถามวา่ “ฉันละ มชี ือ่ วา่ อะไร ?”
‘‘อปุ ชฺฌาโย เม ภนเฺ ต ตุมหฺ ากํ นาม ํ ชานาต’ี ’ติ ฯ
พระนาคเสนกราบเรยี นวา่ “ท่านผูเ้ จรญิ พระอุปัชฌายข์ องกระผมยอ่ มรจู้ กั ชอื่ ของ
ท่าน”
‘‘สาธ ุ นาคเสน ปตตฺ จีวร ํ ปฏสิ าเมหี’’ติ ฯ
ท่านพระอสั สคตุ กล่าววา่ “ดแี ลว้ ทา่ นนาคเสน จงเก็บบาตรและจวี รเสียเถิด”
‘‘สาธุ ภนฺเต’’ติ ปตฺตจีวร ํ ปฏิสาเมตวฺ า ปนุ ทวิ เส ปริเวณํ สมมฺ ชชฺ ิตฺวา มุโขทกํ
ทนตฺ โปณ ํ อุปฏฺ เปสิ ฯ
ทา่ นพระนาคเสน กร็ บั วา่ “ขอรับกระผม” แล้วก็เก็บบาตรและจีวร วนั รุง่ ขน้ึ กป็ ดั กวาด
บริเวณ ตง้ั น้�ำลา้ งหน้า ไมช้ �ำระฟนั ไว้
เถโร สมฺมชชฺ ติ ฏ ฺ านํ ปฏสิ มมฺ ชชฺ ิ, ต ํ อุทกํ ฉฑเฺ ฑตฺวา อ ฺ ํ อทุ ก ํ อาหร,ิ ต ฺจ
ทนฺตกฏฺ ํ อปเนตฺวา อ ฺ ํ ทนตฺ กฏฺ ํ คณฺห,ิ น อาลาปสลลฺ าปํ อกาสิ, เอว ํ สตตฺ
ทวิ สานิ กตฺวา สตตฺ เม ทวิ เส ปนุ ปจุ ฉฺ ติ วฺ า, ปนุ เตน ตเถว วตุ ฺเต, วสฺสวาส ํ อนชุ านิ ฯ
ฝ่ายพระเถระ ก็ยงั คงปัดกวาดบริเวณทีท่ า่ นพระนาคเสนปัดกวาดไวแ้ ลว้ เททงิ้ น�้ำนนั้
เสยี น�ำนำ้� อ่ืนมา แล้วน�ำไม้ช�ำระฟนั น้ันออกไป ถือเอาไม้ช�ำระฟันอันอืน่ ไม่ได้ท�ำการพดู จา
สนทนาดว้ ย พระเถระท�ำอย่างนีอ้ ยู่ ๗ วนั ในวันท่ี ๗ จงึ ถามอกี ครั้ง เมอ่ื พระนาคเสนตอบ
เหมือนเดมิ น่นั แหละอกี ท่านจึงอนุญาตให้อยู่จ�ำพรรษาได้
[๑๖] เตน โข ปน สมเยน เอกา มหาอปุ าสิกา อายสมฺ นฺต ํ อสสฺ คุตตฺ ํ ตึสมตฺตาน ิ
วสสฺ าน ิ อุปฏฺ าสิ ฯ
[๑๖] กใ็ นสมยั น้ันแล มีมหาอบุ าสิกาคนหนึง่ คอยอปุ ัฏฐากบ�ำรงุ ท่านพระอัสสคตุ มา
ตลอด ๓๐ ปีเตม็
32 มลิ ินทปญั หาปกรณแ์ ปล [๑.ปุพพโยค
อถ โข สา มหาอุปาสิกา เตมาสจจฺ เยน, เยนายสมฺ า อสสฺ คุตโฺ ต, เตนปุ สงกฺ มิ;
อปุ สงกฺ มิตวฺ า อายสฺมนฺต ํ อสฺสคุตฺตํ เอตทโวจ ‘‘อตฺถ ิ นุ โข ตาต ตุมหฺ าก ํ สนตฺ ิเก อ โฺ
ภกิ ขฺ ’ู ’ติ ฯ
ครนั้ ผา่ นไปได้สามเดือน มหาอบุ าสิกาผู้นนั้ ไดเ้ ข้าไปหาท่านพระอัสสคุต ณ ทพ่ี �ำนกั
อยู่ เมือ่ เข้าไปหาแลว้ ได้กล่าวข้อความน้ีกบั ทา่ นพระอสั สคตุ ว่า “หลวงพ่อ ในส�ำนักของทา่ นมี
พระภิกษุรปู อนื่ หรือไม่ ?”
‘‘อตฺถ ิ มหาอปุ าสิเก อมฺหากํ สนตฺ เิ ก นาคเสโน นาม ภกิ ฺข’ู ’ติ ฯ
ท่านพระอสั สคตุ กลา่ วว่า “มี มหาอุบาสิกา ในส�ำนกั ของอาตมามภี กิ ษุอยรู่ ูปหนึง่ ชอ่ื
ว่าพระนาคเสน”
‘‘เตนห ิ ตาต อสฺสคตุ ฺต อธวิ าเสห ิ นาคเสเนน สทธฺ ึ สฺวาตนาย ภตฺตนฺ”ติ ฯ
มหาอบุ าสกิ ากลา่ วว่า “หลวงพ่ออสั สคตุ ถา้ อย่างนั้น ขอหลวงพ่อพรอ้ มกับท่านพระ
นาคเสน จงรบั ภัตตาหารในวนั พร่งุ นี้เถดิ เจา้ ค่ะ”
อธวิ าเสสิ โข อายสฺมา อสสฺ คุตโฺ ต ตุณฺหภี าเวน ฯ
ทา่ นพระอัสสคตุ ยอมรับนิมนต์โดยดุษณภี าพ
อถ โข อายสมฺ า อสฺสคตุ ฺโต ตสฺสา รตตฺ ิยา อจฺจเยน ปพุ ฺพณฺหสมย ํ นวิ าเสตวฺ า
ปตฺตจีวรมาทาย อายสฺมตา นาคเสเนน สทธฺ ึ ปจฉฺ าสมเณน, เยน มหาอปุ าสิกาย นเิ วสนํ,
เตนุปสงฺกมิ; อปุ สงกฺ มติ วฺ า ป ฺ ตเฺ ต อาสเน นสิ ีทิ ฯ
ตอ่ จากนนั้ แล เม่อื ผา่ นราตรนี นั้ ไปแลว้ ในเวลาเช้า ทา่ นพระอสั สคุตนุง่ (สบง) ถอื บาตร
และจวี ร เขา้ ไปยังสถานทอี่ ยู่ของมหาอบุ าสกิ า พรอ้ มกับทา่ นพระนาคเสนผูเ้ ปน็ ปัจฉาสมณะ
(พระตดิ ตาม) แล้วนง่ั ลงบนอาสนะที่เขาปูลาดไว้
อถ โข สา มหาอปุ าสกิ า อายสมฺ นตฺ ํ อสฺสคุตฺตํ อายสฺมนฺต จฺ นาคเสนํ ปณีเตน
ขาทนเี ยน โภชนเี ยน สหตถฺ า สนตฺ ปฺเปส ิ สมปฺ วาเรสิ ฯ
ครง้ั น้นั แล มหาอุบาสกิ าผนู้ ้นั ไดเ้ ลยี้ งดูทา่ นพระอัสสคุต และทา่ นพระนาคเสนให้อม่ิ
หน�ำ ใหเ้ พียงพอดว้ ยของเค้ยี วของฉันอันประณีตดว้ ยมอื ของตน
กัณฑ]์ พาหิรกถา 33
อถ โข อายสฺมา อสสฺ คุตโฺ ต ภตุ ฺตาวึ โอนตี ปตฺตปาณึ อายสฺมนฺตํ นาคเสน ํ
เอตทโวจ ‘‘ตฺว ํ นาคเสน มหาอุปาสกิ าย อนโุ มทน ํ กโรห’ี ’ต ิ อิท ํ วตวฺ า อุฏฺ ายาสนา
ปกกฺ ามิ ฯ
ต่อจากน้นั แล ท่านพระอัสสคตุ ไดก้ ล่าวข้อความนก้ี บั ทา่ นพระนาคเสนผ้ฉู ันเสร็จแล้ว
วางมือจากบาตรแล้วว่า “ทา่ นนาคเสน ขอทา่ นจงท�ำการอนุโมทนาแก่มหาอบุ าสิกาเถิด” คร้ัน
กลา่ วค�ำนีแ้ ล้ว ก็ลุกข้นึ จากอาสนะหลีกไป
อถ โข สา มหาอุปาสิกา อายสมฺ นฺต ํ นาคเสน ํ เอตทโวจ ‘‘มหลฺลิกา โขหํ ตาต
นาคเสน, คมฺภีราย ธมฺมกถาย มยฺห ํ อนุโมทน ํ กโรห’ี ’ติ ฯ
ล�ำดับนน้ั แล มหาอบุ าสกิ าผู้นน้ั ไดก้ ล่าวขอ้ ความนก้ี ับทา่ นพระนาคเสนว่า “คณุ พ่อ
นาคเสน โยมแกแ่ ล้ว โปรดท�ำอนุโมทนาให้แก่โยม ด้วยธรรมกถาทีล่ กึ ซ้ึงเถดิ ”
อถ โข อายสมฺ า นาคเสโน ตสฺสา มหาอุปาสกิ าย คมฺภีราย ธมฺมกถาย
โลกุตตฺ ราย ส ุ ฺ ตปฺปฏิสยํ ุตฺตาย อนโุ มทนํ อกาสิ ฯ
ต่อจากนน้ั ทา่ นพระนาคเสน ได้ท�ำการอนุโมทนาแก่มหาอบุ าสิกาผนู้ น้ั ดว้ ยธรรมกถา
ท่ลี กึ ซึง้ ท่ีเป็นโลกตุ ตระ เกย่ี วขอ้ งกับสญุ ญตา (ความวา่ งเปล่า)
อถ โข ตสฺสา มหาอปุ าสิกาย ตสฺมึเยว อาสเน วริ ช ํ วีตมล ํ ธมมฺ จกฺขุํ อุทปาท ิ
‘‘ย ํ กิ จฺ ิ สมุทยธมมฺ ,ํ สพฺพ ํ ตํ นิโรธธมมฺ นฺ”ติ ฯ
ครั้งน้นั แล ธรรมจักษุ (ดวงตาเหน็ ธรรม คอื โสดาปัตติมรรคญาณ) ท่ีปราศจากธุลี
ปราศจากมลทนิ กไ็ ดเ้ กดิ ขึน้ แก่มหาอบุ าสกิ านั้น บนอาสนะนั้นนน่ั แหละวา่ “ส่ิงใดสิง่ หนึ่งมี
ความเกดิ ขนึ้ เป็นธรรมดา สงิ่ นน้ั ท้ังหมดล้วนมคี วามดบั ไปเปน็ ธรรมดา”
อายสฺมาปิ โข นาคเสโน ตสฺสา มหาอปุ าสิกาย อนุโมทน ํ กตวฺ า อตตฺ นา เทสติ ํ
ธมมฺ ํ ปจฺจเวกฺขนฺโต วปิ สสฺ นํ ปฏฺ เปตวฺ า ตสฺมเึ ยว อาสเน นสิ นิ โฺ น โสตาปตตฺ ผิ เล
ปติฏ ฺ าสิ ฯ
แมท้ า่ นพระนาคเสน พอท�ำอนโุ มทนาแก่มหาอุบาสิกานัน้ แลว้ กพ็ ิจารณาธรรมทต่ี น
ได้แสดง เรม่ิ ตั้งวปิ ัสสนา ยังคงน่ังอยูบ่ นอาสนะนน้ั นัน่ แหละ กด็ �ำรงอยใู่ นโสดาปตั ติผล