The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

มิลินทปัญหาปกรณ์แปล เล่ม ๑ ถาม-ตอบปัญหาในพระไตรปิฎก

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ืทีมงานกรุธรรม, 2022-03-09 22:17:09

มิลินทปัญหาปกรณ์แปล เล่ม ๑ ถาม-ตอบปัญหาในพระไตรปิฎก

มิลินทปัญหาปกรณ์แปล เล่ม ๑ ถาม-ตอบปัญหาในพระไตรปิฎก

Keywords: มิลินทปัญหาปกรณ์แปล เล่ม ๑ ถาม-ตอบปัญหาในพระไตรปิฎก

284 มิลินทปญั หาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปัญห

เกิดในนรกและก็จะละนรกไปสู่นรก ละจากวนิ บิ าตไปสวู่ นิ ิบาต เสวยทกุ ขเ์ ปน็ อนั มาก ตลอด
หลายแสนโกฏิกัป พระผ้มู ีพระภาคเจ้าเม่อื ทรงทราบความจรงิ ขอ้ นน้ั อยู่ จึงทรงโปรดให้พระ
เทวทตั บวชดว้ ยพระกรุณา ไดท้ รงท�ำทุกขห์ นักให้เบาบางลง ดว้ ยพระกรณุ าว่า ‘เมอ่ื พระเทว
ทัตได้บวชในศาสนาของเราแลว้ กจ็ กั มีอันท�ำทกุ ข์ใหส้ ิน้ สดุ ไปได้’ ดังนี้
‘‘ยถา วา มหาราช ธนยสสริ ิ าตพิ เลน พลวา ปรุ ิโส อตฺตโน าต ึ วา มติ ตฺ ํ วา
ร ฺ า ครุกํ ทณฑฺ ํ ธาเรนฺต ํ อตตฺ โน พหุวิสฺสตฺถภาเวน สมตฺถตาย ครุกํ ทณฺฑ ํ ลหกุ ํ
อกาส,ิ เอวเมว โข มหาราช ภควา พหูนิ กปฺปโกฏสิ ตสหสฺสาน ิ ทกุ ฺข ํ เวทยมานํ เทวทตฺตํ
ปพฺพาเชตวฺ า สีลสมาธปิ ฺ าวิมุตฺตพิ ลสมตฺถภาเวน ครุกํ ทุกฺข ํ ลหุกํ อกาสิ ฯ
ขอถวายพระพรมหาบพติ ร อีกอย่างหนง่ึ เปรยี บเหมอื นว่า บุรษุ ผมู้ กี �ำลงั ดว้ ยก�ำลงั
ทรพั ย์ ยศ ความสงา่ งามและญาติ รวู้ า่ ญาติหรอื มิตรของตนถูกพระราชารบั ส่ังให้ตอ้ งรบั
โทษทณั ฑ์หนักแล้ว ก็ใชค้ วามสามารถจากความทต่ี นมคี วามคนุ้ เคยมาก กระท�ำโทษทัณฑ์
หนักใหเ้ บาบางลงฉันใด ขอถวายพระพร พระผ้มู พี ระภาคก็ทรงโปรดพระเทวทัตผตู้ ้องเสวย
ทกุ ข์มากมายหลายแสนโกฏกิ ัปใหไ้ ดบ้ วช ทรงใชพ้ ระปรชี าสามารถคือก�ำลังศีล ก�ำลังสมาธิ
ก�ำลงั ปญั ญา และก�ำลงั วมิ ตุ ติ กระท�ำทุกขห์ นกั ให้เบาบางลงไป ฉันน้นั เหมอื นกนั
‘‘ยถา วา ปน มหาราช กุสโล ภสิ กฺโก สลลฺ กตฺโต ครุก ํ โรค ํ พลโวสธพเลน ลหกุ ํ
กโรต,ิ เอวเมว โข มหาราช พหนู ิ กปฺปโกฏสิ ตสหสฺสาน ิ ทกุ ขฺ ํ เวทยมานํ เทวทตฺต ํ ภควา
โรค ฺ ุตาย ปพฺพาเชตฺวา การ ุ ฺ พโล ปตฺถทธฺ ธมฺโมสธพเลน ครกุ ํ ทกุ ฺข ํ ลหุก ํ อกาสิ ฯ
อป ิ นุ โข โส มหาราช ภควา พหุเวทนีย ํ เทวทตฺต ํ อปปฺ เวทนีย ํ กโรนโฺ ต ก ิ จฺ ิ อป ุ ฺ ํ
อาปชฺเชยยฺ า’’ติ ?
ขอถวายพระพร อกี อยา่ งหนึ่ง เปรียบเหมือนว่า หมอรักษาบาดแผลผู้ฉลาด ยอ่ มใช้
ก�ำลังคือยาทีม่ ีก�ำลงั ท�ำโรคหนักให้เบาบางไป ฉนั ใด ขอถวายพระพร พระผูม้ พี ระภาคเจ้า
ผทู้ รงมพี ระก�ำลังคอื พระกรุณา ก็ทรงโปรดใหพ้ ระเทวทัตผ้จู ะเสวยทุกข์ตลอดหลายแสนโกฏิ
กัปได้บวช เพราะความที่ทรงมพี ระปญั ญารูจ้ กั โรค ทรงใชก้ �ำลงั ยาคือพระธรรมทีแ่ ข็งกล้า
กระท�ำทกุ ขห์ นกั ให้เบาบางไป ฉนั น้ันเหมือนกนั ขอถวายพระพร พระผมู้ พี ระภาคเจ้าน้ันเมอื่
ทรงท�ำพระเทวทัตผูต้ อ้ งเสวยทุกขม์ ากใหเ้ สวยทุกขแ์ ต่น้อยอยู่ จะทรงถงึ ความผดิ อะไร ๆ บา้ ง
หรือหนอแล”

กัณฑ]์ ๔.๑ อทิ ธิพลวรรค 285

‘‘น กิ จฺ ิ ภนฺเต อป ุ ฺ ํ อาปชเฺ ชยยฺ อนตฺ มโส คททฺ หู นมตตฺ มฺปี’’ติ ฯ
พระเจา้ มิลินทต์ รสั วา่ “จะไม่ทรงถงึ ความผดิ อะไร ๆ หรอก พระคุณเจ้า โดยทีส่ ุดแม้
เพียงเท่าหยาด(น้�ำนม)โคที่รีดไดเ้ ปน็ หยาดแรก”
‘‘อิมมฺปิ โข มหาราช การณํ อตฺถโต สมปฺ ฏิจฉฺ , เยน การเณน ภควา เทวทตฺต ํ
ปพฺพาเชสิ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร ขอพระองค์จงทรงยอมรบั เหตแุ มน้ ที้ ่ี
พระผมู้ ีพระภาคเจา้ ทรงโปรดให้พระเทวทัตบวชว่าเป็นเหตผุ ลท่ีใชไ้ ด้เถิด
‘‘อปรมฺป ิ มหาราช อุตฺตรึ การณํ สุโณหิ, เยน การเณน ภควา เทวทตฺตํ
ปพฺพาเชสิ ฯ ยถา มหาราช โจรํ อาคจุ าร ึ คเหตวฺ า ร ฺโ ทสเฺ สยยฺ ุํ ‘อย ํ โข เทว โจโร
อาคุจาร,ี อมิ สสฺ ย ํ อจิ ฉฺ ส,ิ ต ํ ทณฺฑํ ปเณห’ี ติ ฯ ตเมน ํ ราชา เอวํ วเทยยฺ ‘เตนห ิ ภเณ
อมิ ํ โจรํ พหินครํ นีหริตวฺ า อาฆาตเน สีส ํ ฉนิ ทฺ ถา’’ติ, ‘เอวํ เทวา’ต ิ โข เต ร ฺโ
ปฏิสฺสุตวฺ า ต ํ พหินครํ นหี ริตฺวา อาฆาตนํ นเยยยฺ ุํ ฯ ตเมน ํ ปสเฺ สยยฺ โกจิเทว ปุริโส
ร โฺ สนฺติกา ลทฺธวโร ลทฺธยสธนโภโค อาเทยฺยวจโน พลวจิ ฉฺ ติ การี, โส ตสสฺ การุ ฺ ํ
กตวฺ า เต ปรุ เิ ส เอวํ วเทยยฺ ‘อลํ โภ ก ึ ตมุ หฺ าก ํ อิมสฺส สสี จฺเฉทเนน, เตนหิ โภ อมิ สสฺ
หตถฺ ํ วา ปาท ํ วา ฉนิ ทฺ ิตฺวา ชีวติ ํ รกขฺ ถ, อหเมตสฺส การณา ร โฺ สนตฺ เิ ก
ปฏิวจนํ กริสสฺ ามี’ติ ฯ เต ตสฺส พลวโต วจเนน ตสฺส โจรสฺส หตถฺ ํ วา ปาทํ วา
ฉนิ ทฺ ติ วฺ า ชีวติ ํ รกเฺ ขยยฺ ุํ ฯ อปิ นุ โข โส มหาราช ปรุ ิโส เอว ํ การี ตสฺส โจรสฺส
กจิ จฺ การ ี อสสฺ า’’ติ ?
ขอถวายพระพรมหาบพิตร ขอพระองค์จงสดบั เหตทุ ่พี ระผมู้ พี ระภาคเจ้าทรงโปรดให้
พระเทวทัตได้บวช แมข้ อ้ อ่นื ยิง่ อกี หนอ่ ยเถิด ขอถวายพระพร เปรยี บเหมอื นวา่ บรุ ุษคนหน่ึง
จับโจรผู้ประพฤติช่ัวช้าไดแ้ ล้ว ก็พึงแสดงแกพ่ ระราชาวา่ ‘ข้าแตพ่ ระองค์ผสู้ มมุติเทพ บุคคลผู้
นเ้ี ปน็ โจร ผู้ประพฤตชิ ั่วชา้ พระเจา้ ขา้ ขอจงรับสัง่ ให้ลงทณั ฑโ์ จรผ้นู ี้ ตามทที่ รงปรารถนาเถดิ
พระเจ้าข้า’ พระราชาจึงรับสั่งแกพ่ นักงานน้นั อยา่ งนวี้ า่ ‘ถา้ อย่างนัน้ พนาย จงน�ำโจรผนู้ ้ีออก
ไปนอกเมือง แลว้ จงตดั หัวมนั เสยี ทตี่ ะแลงแกง’ ดงั นี้ พวกพนกั งานเหลา่ นนั้ ทลู รบั พระบัญชา
วา่ ‘พระเจ้าขา้ พระองค์ผู้สมมตุ ิเทพ’ ดังนี้แลว้ พาโจรผู้น้นั ออกไปนอกเมอื ง น�ำไปยงั ตะแลง
แกง บรุ ุษผู้หน่งึ ซ่ึงเปน็ ผู้ได้รบั พร ได้รับยศ ทรัพย์ เครอ่ื งใชส้ อยจากส�ำนักของพระราชา เปน็ ผู้
ท่พี ระราชาทรงเชือ่ ถอื ค�ำพดู เป็นผ้ทู ต่ี ัดสินใจกระท�ำด้วยก�ำลงั ได้ พึงเห็นโจรผูน้ น้ั เข้า เขาเกิด

286 มลิ นิ ทปญั หาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปญั ห

ความสงสารต่อโจรผ้นู นั้ จึงกลา่ วกบั พวกบุรษุ เหล่าน้ันว่า ‘อย่าเลย ท่านผู้เจรญิ ทงั้ หลาย
ประโยชนอ์ ะไรแก่พวกท่านด้วยการตัดหวั ของโจรผู้นีเ้ ล่า เอาละ ขอพวกทา่ นจงเพียงแตต่ ัด
มอื หรือเทา้ รกั ษาชีวิตของโจรผู้นีเ้ อาไว้เถดิ เราจกั ให้ค�ำตอบ เพราะเหตุทีใ่ ห้ท�ำเช่นนี้ในส�ำนกั
ของพระราชาเอง’ ดังนี้ พวกพนกั งานเหลา่ นัน้ เพราะค�ำพูดรับรองแขง็ ขนั ของบุรุษนัน้ จงึ ตัด
มือหรือเท้าของโจรน้ัน รักษาชวี ิตไว้ ขอถวายพระพร บรุ ษุ ผู้นั้นท�ำอยา่ งนี้ ชอ่ื วา่ พึงเป็นผทู้ �ำ
กจิ ท่ีควรท�ำแกโ่ จรนนั้ หรอื ไม่หนอ ?”

‘‘ชีวติ ทายโก โส ภนเฺ ต ปุรโิ ส ตสฺส โจรสฺส, ชีวิเต ทนิ ฺเน, กึ ตสสฺ อกตํ นาม
อตฺถ’ี ’ติ ?
พระเจา้ มลิ ินท์ตรสั วา่ “พระคณุ เจ้า บรุ ษุ ผ้นู ัน้ เป็นผูใ้ ห้ชวี ติ แกโ่ จรผนู้ ้ัน เมอ่ื ไดใ้ ห้ชวี ติ
แลว้ กช็ อื่ ว่าไมไ่ ด้ท�ำสง่ิ ท่คี วรท�ำแก่โจรนน้ั มีอยู่หรืออยา่ งไร ?”

‘‘ยา ปน หตถฺ ปาทจฺเฉทเน เวทนา, โส ตาย เวทนาย ก ิ ฺจ ิ อป ุ ฺ ํ
อาปชฺเชยยฺ า’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ก็แตว่ ่า ทุกขเวทนาในเพราะการถกู ตัดมอื หรอื เท้าใด
บุรุษนัน้ พึงถึงความผิดอะไร ๆ เพราะ(ทกุ ข)เวทนาน้นั บา้ งหรือไม่ ?”

‘‘อตฺตโน กเตน โส ภนเฺ ต โจโร ทกุ ขฺ เวทนํ เวทยติ, ชีวิตทายโก ปน ปุริโส น
ก ิ จฺ ิ อป ุ ฺ ํ อาปชเฺ ชยยฺ า’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลินทต์ รสั วา่ “โจรผู้น้นั เสวยทุกขเวทนา เพราะกรรมที่ตนได้กระท�ำไว้ ส่วน
บุรษุ ผู้ใหช้ วี ิตเขา ไมพ่ ึงถงึ ความผดิ อะไร ๆ”

‘‘เอวเมว โข มหาราช ภควา การ ุ เฺ น เทวทตตฺ ํ ปพพฺ าเชส ิ ‘มม สาสเน
ปพพฺ ชติ สฺส ทุกฺขํ ปริยนฺตกตํ ภวสิ ฺสต’ี ติ ฯ ปริยนตฺ กต จฺ มหาราช เทวทตฺตสฺส ทุกฺขํ,
เทวทตฺโต มหาราช มรณกาเล –
“อเิ มหิ อฏฺ หี ิ ตมคคฺ ปุคฺคลํ
เทวาตเิ ทวํ นรทมมฺ สารถึ
สมนฺตจกฺข ํุ สตปญุ ฺ ลกขฺ ณํ
ปาเณห ิ พุทธฺ ํ สรณํ อเุ ปมี”ติ

ปาณุเปตํ สรณมคมาสิ ฯ

กณั ฑ์] ๔.๑ อทิ ธพิ ลวรรค 287

พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร กเ็ หมอื นกันอยา่ งน้นั น่นั แหละ พระผมู้ ี
พระภาคเจา้ ทรงโปรดใหพ้ ระเทวทัตได้บวชด้วยพระกรณุ าวา่ ‘เม่อื เทวทตั ไดบ้ วชในศาสนา
ของเราแลว้ กจ็ กั มีอนั ท�ำทุกขใ์ ห้สิน้ สดุ ไปได้’ ดงั น้ี ขอถวายพระพร พระเทวทัตจกั มีอนั ได้ท�ำ
ทกุ ขใ์ ห้ส้ินสุดไป เพราะในเวลาใกลจ้ ะตาย พระเทวทตั ไดถ้ ึงพระผู้มพี ระภาคเจ้าวา่ เป็นสรณะ
ไปจนสน้ิ ลมหายใจวา่

“โยมขอถึงพระพุทธเจา้ ผทู้ รงเป็นบคุ คลผู้เลศิ ผู้ทรงเปน็ เทพ
ยง่ิ กว่าเทพ ผู้ทรงเปน็ นายสารถี ฝกึ นรชนผู้ควรฝกึ ผทู้ รงมี
สมันตจกั ษุ มพี ระบญุ ลักษณะต้งั ๑๐๐ อย่าง พระองค์นนั้
วา่ เป็นสรณะ ด้วยกระดูก ด้วยลมหายใจเหลา่ น้”ี ดังน้ี
เทวทตฺโต มหาราช ฉ โกฏฺ าเส กเต กปเฺ ป อตกิ ฺกนฺเต ป มโกฏ ฺ าเส สฆํ ํ ภนิ ฺท,ิ
ป จฺ โกฏ ฺ าเส นริ เย ปจฺจิตวฺ า ตโต มจุ จฺ ิตฺวา อฏ ฺ ิสสฺ โร นาม ปจฺเจกพทุ ฺโธ ภวสิ ฺสติ ฯ
อปิ น ุ โข โส มหาราช ภควา เอวํ การี เทวทตตฺ สสฺ กจิ จฺ การ ี อสฺสา’’ติ ?
ขอถวายพระพร ในกปั ทท่ี ่านแบ่งไว้เปน็ ๖ สว่ น ที่ผา่ นไปแล้ว ในส่วนแรก พระเทวทัต
ได้ท�ำลายสงฆ์ใหแ้ ตกกัน หมกไหม้อยใู่ นนรก ส้ินกาล ๕ สว่ น พ้นจากนรกนน้ั แล้ว ก็จกั เปน็
พระปจั เจกพุทธเจา้ นามวา่ อัฏฐิสสระ ขอถวายพระพร พระผมู้ พี ระภาคเจ้านั้นผู้ทรงกระท�ำไว้
อยา่ งน้ี ชอื่ ว่าทรงเป็นผู้ท�ำกิจท่คี วรท�ำแก่พระเทวทัตหรอื ไม่หนอแล ?”
‘‘สพพฺ ทโท ภนเฺ ต นาคเสน ตถาคโต เทวทตฺตสฺส, ย ํ ตถาคโต เทวทตตฺ ํ ปจฺเจก-
โพธึ ปาเปสสฺ ต,ิ กึ ตถาคเตน เทวทตตฺ สสฺ อกตํ นาม อตฺถ’ี ’ติ ?
พระเจ้ามิลินท์ตรสั วา่ “พระคณุ เจา้ นาคเสน ขอ้ ทีพ่ ระตถาคตทรงท�ำพระเทวทตั ใหไ้ ด้
บรรลุพระปจั เจกโพธญิ าณ ช่ือวา่ พระตถาคตทรงเปน็ ผู้ใหท้ ุกสง่ิ ทุกอยา่ งแก่พระเทวทัต ชอ่ื วา่
กจิ อะไร ที่พระตถาคตยงั มไิ ด้ท�ำแก่พระเทวทตั ยังมีอยอู่ กี หรือ ?”
‘‘ยํ ปน มหาราช เทวทตโฺ ต สฆํ ํ ภนิ ทฺ ิตฺวา นิรเย ทกุ ขฺ เวทนํ เวทยติ, อปิ น ุ โข
ภควา ตโตนิทาน ํ กิ ฺจิ อป ุ ฺ ํ อาปชเฺ ชยฺยา’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร เรอื่ งท่ีพระเทวทัตท�ำสงฆ์ให้แตกกัน
แล้วเสวยทุกขเวทนาอยู่ในนรกใด พระผมู้ ีพระภาคเจา้ ทรงพึงถงึ ความผิดอะไร ๆ อนั มเี รอ่ื ง
นนั้ เปน็ เหตบุ ้างหรอื ไม่ ?”

288 มิลนิ ทปญั หาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปญั ห

‘‘น หิ ภนฺเต อตตฺ นา กเตน ภนเฺ ต เทวทตโฺ ต กปปฺ ํ นิรเย ปจจฺ ต,ิ ทุกขฺ -
ปริยนตฺ การโก สตถฺ า น ก ิ จฺ ิ อป ุ ฺ ํ อาปชชฺ ต’ี ’ติ ฯ
พระเจา้ มิลินทต์ รสั ว่า “ไม่ทรงถงึ ความผิดอะไร ๆ หรอก พระคุณเจ้า พระเทวทตั หมก
ไหมอ้ ย่ใู นนรกตลอดกปั เพราะกรรมทตี่ นเองได้ท�ำไว้ พระศาสดาผทู้ รงมีแตจ่ ะกระท�ำใหพ้ ระ
เทวทัตถึงท่สี ดุ แหง่ ทุกข์ ไม่ทรงถึงความผดิ อะไร ๆ”
‘‘อมิ มปฺ ิ โข ตฺวํ มหาราช การณํ อตถฺ โต สมฺปฏิจฉฺ , เยน การเณน ภควา
เทวทตฺตํ ปพฺพาเชสิ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร ขอพระองค์จงทรงยอมรบั เหตุแม้น้ี ที่
พระผมู้ พี ระภาคเจา้ ทรงโปรดให้พระเทวทตั ได้บวช ว่าเป็นเหตผุ ลทใี่ ชไ้ ด้เถดิ ”
‘‘อปรมปฺ ิ มหาราช อุตตฺ รึ การณ ํ สุโณหิ, เยน การเณน ภควา เทวทตฺต ํ
ปพฺพาเชสิ ฯ ยถา มหาราช กสุ โล ภสิ กฺโก สลฺลกตฺโต วาตปติ ตฺ เสมฺหสนฺนิปาตอตุ ุปริณาม-
วสิ มปรหิ ารโอปกฺกมิโกปกฺกนตฺ ํ ปตู ิกณุ ปทคุ คฺ นฺธาภิส ฉฺ นนฺ ํ อนฺโตสลฺลํ สุสริ คตํ ปพุ ฺพ-
รหุ ิรสมปฺ ุณณฺ ํ วณํ วูปสเมนโฺ ต วณมขุ ํ กกขฺ ฬติขณิ ขารกฏุเกน เภสชเฺ ชน อนลุ ิมปฺ ติ
ปรปิ จจฺ นาย, ปรปิ จฺจิตวฺ า มุทุภาวมุปคตํ สตเฺ ถน วิกนฺตยิตฺวา ฑหติ สลากาย, ทฑเฺ ฒ
ขารลวณํ เทติ, เภสชฺเชน อนุลมิ ปฺ ติ วณรุหนาย พฺยาธิตสสฺ โสตถฺ ภิ าวมนปุ ปฺ ตฺตยิ า,
อปิ นุ โข โส มหาราช ภสิ กฺโก สลฺลกตโฺ ต อหิตจติ โฺ ต เภสชฺเชน อนลุ มิ ฺปติ, สตฺเถน
วกิ นฺเตติ, ฑหต ิ สลากาย, ขารลวณ ํ เทต’ี ’ติ ?
ขอถวายพระพร ขอพระองคท์ รงสดับเหตุทีพ่ ระผ้มู ีพระภาคเจ้าทรงโปรดใหพ้ ระเทว-
ทตั ได้บวช แมข้ อ้ อ่นื ยิ่งอกี หน่อยเถดิ ขอถวายพระพร เปรียบเหมือนวา่ หมอรกั ษาบาดแผล
ผ้ฉู ลาด เมอ่ื จะรกั ษาบาดแผลทีเ่ ข้าถงึ ความเจ็บปวด เพราะลมท่ีกระทบ ดแี ละเสมหะทก่ี ่อตัว
อตุ ุทีเ่ ปลย่ี นแปลง และการบรหิ ารที่ไม่สมำ่� เสมอ ดาดด่นื ไปด้วยซากศพท่เี นา่ และมีกลน่ิ เหม็น
มปี ลายลูกศรเสยี บติดอยขู่ า้ งใน ทะลุเป็นโพรง บม่ หนองและโลหิต ยอ่ มใช้ยาทก่ี ล้าแขง็ ร้อน
แรง ทาปากแผลเพอื่ เผาให้รอ้ น พอแผลร้อนถึงความอ่อนตัวไป ก็ใชม้ ีดผ่า ใช้แผ่นเหล็กทาบ
ใหร้ อ้ น เม่ือร้อนแล้ว ราดน�้ำดา่ งรสเค็ม ใชย้ าทาเพอื่ สมานแผล ท�ำคนผ้เู จ็บป่วยใหถ้ ึงความ
สวัสดไี ด้ตามล�ำดับ ขอถวายพระพร หมอรักษาบาดแผลอยนู่ นั้ เป็นผู้หาจิตเกอื้ กูลมไิ ดห้ รอื ไร
จงึ ไดใ้ ช้ยาทา ใช้มีดผา่ ตดั ใชแ้ ผน่ เหลก็ เผาไฟทาบใหร้ อ้ น ราดน�ำ้ ด่างรสเคม็ ?”

กัณฑ์] ๔.๑ อทิ ธพิ ลวรรค 289

‘‘น หิ ภนฺเต หิตจติ ฺโต โสตถฺ ิกาโม ตาน ิ กริ ิยาน ิ กโรต’ี ’ติ ฯ
พระเจ้ามิลนิ ท์ตรัสวา่ “หามไิ ด้ พระคณุ เจา้ หมอรักษาบาดแผลเป็นผู้มีจิตเกือ้ กลู
ประสงคค์ วามสวสั ดี จึงได้ท�ำกจิ ท่ีควรท�ำเหล่านนั้ ”
‘‘ยา ปนสสฺ เภสชฺชกิริยากรเณน อปุ ฺปนฺนา ทกุ ฺขเวทนา, ตโตนิทาน ํ โส ภิสกโฺ ก
สลลฺ กตโฺ ต ก ิ ฺจ ิ อป ุ ฺ ํ อาปชฺเชยฺยา’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “กแ็ ต่ว่า ทกุ ขเวทนาทีเ่ กดิ ขน้ึ เพราะการที่หมอกระท�ำกิจ
ทคี่ วรท�ำด้วยยาใด หมอรกั ษาบาดแผลผ้นู ้ัน พงึ ถงึ ความผิดอะไร ๆ เพราะทกุ ขเวทนาน้นั เป็น
เหตุบ้างหรือไม่ ?”
‘‘หติ จติ โฺ ต ภนฺเต โสตฺถกิ าโม ภสิ กฺโก สลฺลกตโฺ ต ตาน ิ กิรยิ านิ กโรติ, ก ึ โส
ตโตนิทาน ํ อป ุ ฺ ํ อาปชฺเชยยฺ , สคฺคคามี โส ภนฺเต ภสิ กโฺ ก สลฺลกตโฺ ต’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลินท์ตรสั ว่า “พระคุณเจ้า หมอผ่าตัดมจี ติ เก้ือกลู ประสงค์ความสวัสดี จึงท�ำ
กิจทค่ี วรท�ำเหลา่ น้ัน หมอผ่าตัดผ้นู น้ั จะพงึ ถึงความผดิ เพราะทุกขเวทนาน้ันเป็นเหตอุ ะไรได้
พระคณุ เจ้า หมอผ่าตดั ผูน้ น้ั มีแต่จะได้ไปสวรรค”์
‘‘เอวเมว โข มหาราช การ ุ ฺเ น ภควา เทวทตฺตํ ปพฺพาเชสิ ทกุ ขฺ ปรมิ ุตฺตยิ า ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร กเ็ หมือนกันอยา่ งนน้ั น่นั แหละ พระผมู้ ี
พระภาคเจ้าทรงมีพระกรณุ า จึงทรงโปรดให้พระเทวทัตได้บวช เพ่อื ความพ้นจากทกุ ข์
‘‘อปรมฺป ิ มหาราช อุตฺตร ึ การณ ํ สโุ ณหิ, เยน การเณน ภควา เทวทตฺต ํ
ปพฺพาเชสิ ฯ ยถา มหาราช ปรุ โิ ส กณฺฏเกน วทิ โฺ ธ อสฺส, อถ ฺ ตโร ปรุ ิโส ตสฺส
หติ กาโม โสตฺถิกาโม ติณเฺ หน กณฏฺ เกน วา สตถฺ มเุ ขน วา สมนฺตโต ฉนิ ฺทติ ฺวา
ปคฆฺ รนฺเตน โลหเิ ตน ตํ กณฺฏก ํ นีหเรยยฺ , อป ิ นุ โข โส มหาราช ปรุ โิ ส อหิตกาโม
ตํ กณฏฺ ก ํ นหี รตี’’ติ ?
ขอถวายพระพร ขอพระองคจ์ งทรงสดบั เหตุท่พี ระผู้มพี ระภาคเจา้ ทรงใหพ้ ระเทวทตั
ได้บวช แม้ข้ออน่ื ยงิ่ อกี หน่อยเถดิ ขอถวายพระพร เปรยี บเหมือนว่า บุรุษคนหนึ่ง เปน็ ผ้ถู กู
หนามต�ำ ล�ำดับนนั้ บุรษุ อกี คนหนึ่ง เปน็ คนประสงค์ประโยชน์เกือ้ กลู ประสงค์ความสวัสดี ใช้
หนามแหลมคมบา้ ง ปลายมดี บา้ ง บง่ โดยรอบ มีเลือดก�ำลงั หล่งั ไหลอยู่ ก็คดั เอาหนามน้นั ออก
ไปได้ ขอถวายพระพร บรุ ุษผู้นนั้ ประสงค์สงิ่ ท่ีไมเ่ ปน็ ประโยชน์เกอ้ื กลู หรือไร จงึ ไดค้ ัดเอา
หนามน้นั ออก ?”

290 มิลินทปัญหาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปัญห

‘‘น ห ิ ภนฺเต หติ กาโม โส ภนฺเต ปรุ ิโส โสตถฺ กิ าโม ตํ กณฏฺ ก ํ นหี รติ ฯ สเจ โส
ภนเฺ ต ต ํ กณฺฏกํ น นีหเรยฺย, มรณํ วา โส เตน ปาปเุ ณยฺย มรณมตตฺ ํ วา ทกุ ฺขนฺ”ติ ฯ
พระเจ้ามลิ นิ ทต์ รสั วา่ “หามไิ ด้ พระคุณเจา้ บุรุษผู้น้ันประสงค์ประโยชน์เกอ้ื กลู ประสงค์
ความสวสั ดี จงึ คัดเอาหนามน้ันออก พระคณุ เจ้า ถา้ หากว่าบรุ ุษผู้นัน้ ไมค่ ดั เอาหนามนัน้ ออก
ไซร้ บรุ ุษผ้ถู กู หนามต�ำน้นั ก็อาจถึงความตาย หรือพงึ ถึงทกุ ขป์ างตาย เพราะเหตนุ นั้ ได”้

‘‘เอวเมว โข มหาราช ตถาคโต การ ุ เฺ น เทวทตตฺ ํ ปพฺพาเชสิ ทกุ ขฺ ปรมิ ตุ ฺตยิ า
ฯ สเจ มหาราช ภควา เทวทตฺตํ น ปพฺพาเชยฺย, กปฺปโกฏิสตสหสฺสมฺปิ เทวทตโฺ ต
ภวปรมฺปราย นริ เย ปจฺเจยยฺ า’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร กเ็ หมอื นกนั อยา่ งน้นั น่ันแหละ พระ
ตถาคตทรงมพี ระกรณุ า จงึ ทรงโปรดให้พระเทวทตั ไดบ้ วช เพ่ือความพน้ จากทกุ ข์ ขอถวาย
พระพร ถ้าหากพระผู้มีพระภาคเจ้าไม่ทรงโปรดให้พระเทวทตั ไดบ้ วชไซร้ พระเทวทัตกจ็ ะ
หมกไหมใ้ นนรกหลายภพตดิ ต่อกนั ไป แม้ตลอดแสนโกฏกิ ปั ”

‘‘อนโุ สตคาม ึ ภนเฺ ต นาคเสน เทวทตฺตํ ตถาคโต ปฏิโสต ํ ปาเปสิ, วปิ นถฺ ปฏิปนนฺ ํ
เทวทตฺต ํ ปนเฺ ถ ปฏิปาเทส,ิ ปปาเต ปตติ สสฺ เทวทตตฺ สฺส ปติฏ ฺ ํ อทาสิ, วสิ มคต ํ
เทวทตตฺ ํ ตถาคโต สม ํ อาโรเปส,ิ อเิ ม จ ภนเฺ ต นาคเสน เหต ู อมิ านิ จ การณาน ิ
น สกฺกา อ ฺเ น สนฺทสเฺ สต ุํ อ ฺ ตฺร ตวาทเิ สน พุทฺธิมตา’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ ินทต์ รสั วา่ “พระคณุ เจ้านาคเสน พระตถาคตไดท้ รงชว่ ยพระเทวทตั ผ้ไู หล
ไปตามกระแสให้ไหลไปทวนกระแส ไดท้ รงช่วยพระเทวทตั ผู้เดินทางผดิ ให้เดนิ ถกู ทาง ทรง
มอบท่พี ่งึ แกพ่ ระเทวทตั ผู้ตกไปในเหว พระตถาคตทรงยกพระเทวทตั ผู้ตกไปในท่ขี รขุ ระใหข้ น้ึ
ไปส่ทู รี่ าบเรยี บ พระคณุ เจ้านาคเสน ยกเวน้ บรรพชิตผูม้ ีปัญญาเช่นกับท่านแลว้ รปู อ่นื ๆ ไม่
สามารถเพื่อที่จะชีแ้ จงเหตผุ ลเหล่านไ้ี ด้เลย”

เทวทตตฺ ปพพฺ ชชฺ ปญฺโห ตตโิ ย ฯ
จบเทวทัตตปัพพชั ชปญั หาขอ้ ท่ี ๓

________

กณั ฑ์] ๔.๑ อิทธิพลวรรค 291

๔. ปถวิจลนปญหฺ
๔. ปถวจี ลนปัญหา
ปัญหาว่าด้วยเหตุท่ีท�ำให้แผ่นดนิ ไหว
[๔] ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน ภาสติ มฺเปตํ ภควตา – ‘อฏ ฺ ิเม ภกิ ขฺ เว เหต ู อฏ ฺ ปจจฺ ยา
มหโต ภูมจิ าลสฺส ปาตุภาวายา’ติ ฯ อเสสวจนํ อิทํ, นิสฺเสสวจนํ อทิ ,ํ นปิ ฺปริยายวจนํ อทิ ํ,
นตฺถ โฺ นวโม เหตุ มหโต ภมู ิจาลสสฺ ปาตุภาวาย ฯ ยทิ ภนฺเต นาคเสน อ โฺ
นวโม เหตุ ภเวยฺย มหโต ภมู จิ าลสสฺ ปาตภุ าวาย, ตมฺป ิ เหตุ ํ ภควา กเถยยฺ ฯ ยสฺมา จ
โข ภนฺเต นาคเสน นตฺถ โฺ นวโม เหตุ มหโต ภมู จิ าลสสฺ ปาตภุ าวาย, ตสฺมา
อนาจกิ ขฺ ิโต ภควตา, อย ฺจ นวโม เหตุ ทิสสฺ ต ิ มหโต ภูมิจาลสฺส ปาตุภาวาย, ย ํ
เวสฺสนฺตเรน ร ฺ า มหาทาเน ทยี มาเน สตฺตกฺขตตฺ ุํ มหาปถว ี กมปฺ ติ าติ ฯ ยทิ ภนเฺ ต
นาคเสน อฏเฺ ว เหตู อฏ ฺ ปจฺจยา มหโต ภมู ิจาลสฺส ปาตภุ าวาย, เตนห ิ ‘เวสสฺ นตฺ เรน
ร ฺ า มหาทาเน ทียมาเน สตตฺ กขฺ ตฺตุํ มหาปถวี กมฺปิตาติ ย ํ วจน,ํ ตํ มิจฉฺ า ฯ ยทิ
ภนเฺ ต นาคเสน เวสฺสนตฺ เรน ร ฺ า มหาทาเน ทยี มาเน สตตฺ กฺขตฺตุํ มหาปถวี กมปฺ ิตา,
เตนหิ อฏเฺ ว เหต ู อฏ ฺ ปจฺจยา มหโต ภมู จิ าลสสฺ ปาตภุ าวายาต ิ ยํ, ตมฺป ิ วจนํ
มิจฺฉา ฯ อยมปฺ ิ อุภโต โกฏโิ ก ป โฺ ห สขุ โุ ม ทุนฺนเิ ว ิโย อนฺธกรโณ เจว คมภฺ ีโร จ, โส
ตวานปุ ปฺ ตโฺ ต, เนโส อ เฺ น อติ ฺตรป ฺเ น สกฺกา วสิ สฺ ชฺเชต ํุ อ ฺ ตฺร ตวาทิเสน
พุทธฺ มิ ตา’’ติ ฯ
[๔] พระเจา้ มลิ นิ ท์รับสงั่ ถามว่า “พระคุณเจ้านาคเสน พระผมู้ พี ระภาคเจา้ ทรงภาษิต
ขอ้ ความนไ้ี ว้วา่ ‘ภกิ ษุท้งั หลาย เหตุ ๘ อย่าง ปัจจัย ๘ อย่างเหลา่ นี้ ยอ่ มมีเพือ่ ท�ำใหป้ รากฏ
แผ่นดินไหวครงั้ ใหญ’่ ดังน้ี นี้เป็นค�ำพูดท่หี าส่วนเหลอื มไิ ด้ นี้เป็นค�ำพูดท่ไี มม่ ีสว่ นเหลอื นี้
เปน็ ค�ำพูดโดยตรง เหตอุ ยา่ งอื่นซง่ึ เปน็ เหตุที่ ๙ เพ่ือท�ำใหป้ รากฏแผน่ ดนิ ไหวครั้งใหญ่ ไม่มี
พระคุณเจ้านาคเสน ถ้าเหตุอ่นื ซง่ึ เป็นเหตทุ ่ี ๙ เพ่ือท�ำให้ปรากฏแผน่ ดินไหวคร้ังใหญ่ มีอยู่
ไซร้ พระผมู้ พี ระภาคเจ้าก็จะพงึ ตรัสถงึ เหตแุ มท้ ี่ ๙ น้นั พระคณุ เจา้ นาคเสน กเ็ พราะเหตุว่า
เหตอุ ยา่ งอน่ื ซ่งึ เปน็ เหตทุ ่ี ๙ เพอ่ื ท�ำให้ปรากฏแผน่ ดนิ ไหวคร้งั ใหญ่ ไมม่ อี ยู่ ฉะนัน้ พระผู้มี
พระภาคเจา้ จงึ มิไดต้ รัสบอกไว้ กแ็ ตว่ ่า เหตุท่ี ๙ เพอื่ ท�ำใหป้ รากฏแผ่นดนิ ไหวครง้ั ใหญ่ ก็
ปรากฏอยู่ คอื ขอ้ ที่วา่ พระคณุ เจ้านาคเสน เมอ่ื พระเวสสนั ดร ทรงใหม้ หาทาน แผ่นดนิ ใหญ่
กเ็ กดิ ไหวถงึ ๗ ครง้ั พระคุณเจา้ นาคเสน ถ้าหากว่า เหตุ ๘ อย่าง ปจั จยั ๘ อย่างเหลา่ น้ีเท่านั้น

292 มลิ นิ ทปัญหาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปัญห

ยอ่ มมเี พื่อท�ำให้ปรากฏแผน่ ดนิ ไหวครัง้ ใหญ่ไซร ้ ถ้าอยา่ งนนั้ ค�ำพูดทีว่ า่ ‘เม่อื พระเวสสันดร
ใหม้ หาทาน แผน่ ดนิ ใหญไ่ ด้ไหวถึง ๗ ครั้ง’ ดังน้ี ก็เปน็ ค�ำที่ผดิ พระคณุ เจา้ นาคเสน ถ้าหากวา่
เม่ือพระเวสสนั ดรทรงใหม้ หาทาน แผน่ ดินใหญไ่ ดไ้ หวถึง ๗ ครงั้ จรงิ ไซร้ ถา้ อยา่ งน้ี ค�ำท่ีตรัส
ไวว้ ่า ‘เหตุ ๘ อย่าง ปจั จัย ๘ อย่างเหล่าน้เี ท่านนั้ ยอ่ มมีเพอ่ื ท�ำใหป้ รากฏแผ่นดนิ ไหวครัง้ ใหญ่’
ดังน้ี ก็เปน็ พระด�ำรัสทผ่ี ดิ แมป้ ัญหาน้ี กม็ ี ๒ เง่อื น สุขุม คล่ีคลายไดย้ าก ท้ังมแี ตจ่ ะท�ำให้
มดื มน และลึกซ้งึ ปญั หาท่วี ่าน้ัน ตกถึงแก่ทา่ นแล้ว ปญั หาน้ี ยกเวน้ ผู้มคี วามรู้เชน่ กบั ทา่ นแล้ว
คนอน่ื ผ้มู ปี ัญญาน้อยไม่สามารถท่ีจะแกไ้ ด”้
‘‘ภาสิตมฺเปต ํ มหาราช ภควตา – ‘อฏ ฺ เิ ม ภิกขฺ เว เหตู อฏ ฺ ปจฺจยา มหโต
ภมู ิจาลสฺส ปาตภุ าวายา’ติ ฯ ยํ เวสฺสนตฺ เรน ร ฺ า มหาทาเน ทียมาเน สตตฺ กขฺ ตฺตุํ
มหาปถว ี กมฺปิตา, ต ฺจ ปน อกาลิกํ กทาจปุ ปฺ ตฺตกิ ํ อฏ ฺ หิ เหตูห ิ วปิ ปฺ มุตตฺ ํ, ตสฺมา
อคณิตํ อฏ ฺ ห ิ เหตหู ิ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร พระผ้มู ีพระภาคเจา้ ทรง
ภาษติ ความข้อนีไ้ วว้ า่ ‘ภกิ ษทุ ง้ั หลาย เหตุ ๘ อย่าง ปัจจยั ๘ อย่างเหลา่ นี้ ย่อมมีเพือ่ ท�ำให้
ปรากฏแผน่ ดนิ ไหวครงั้ ใหญ่’ ดงั นี้ จริง ขอ้ ทเ่ี มื่อพระเวสสนั ดรทรงใหม้ หาทาน แผน่ ดนิ ใหญ่
ไหวถงึ ๗ ครง้ั ดงั นี้ ใด กแ็ ตว่ า่ ขอ้ น้ันมิไดม้ ีอยเู่ ปน็ ประจ�ำตลอดกาล เกดิ ข้ึนในกาลบางคราว
ซง่ึ พ้นไปจากเหตุ ๘ อย่าง เพราะฉะน้ัน จงึ ไมท่ รงนับไว้รวมเขา้ กบั เหตุ ๘ อย่าง
‘‘ยถา มหาราช โลเก ตโยเยว เมฆา คณียนฺติ วสสฺ โิ ก เหมนตฺ ิโก ปาวุสโกติ ฯ ยทิ
เต มุ จฺ ติ วฺ า อ ฺโ เมโฆ ปวสฺสต,ิ น โส เมโฆ คณียต ิ สมฺมเตหิ เมเฆห ิ อกาล-
เมโฆตเฺ วว สงขฺ ํ คจฺฉติ ฯ เอวเมว โข มหาราช เวสสฺ นตฺ เรน ร ฺ า มหาทาเน ทียมาเน
ย ํ สตตฺ กฺขตฺต ุํ มหาปถวี กมปฺ ติ า, อกาลิก ํ เอตํ กทาจปุ ปฺ ตตฺ ิก ํ อฏ ฺ ห ิ เหตหู ิ วปิ ปฺ มุตฺต,ํ
น ตํ คณยี ต ิ อฏ ฺ ห ิ เหตูหิ ฯ
ขอถวายพระพร เปรยี บเหมอื นวา่ ในทางโลก คนทง้ั หลายยอ่ มนับฝนไว้ ๓ ประเภท
เท่านั้น คอื ฝนในฤดฝู น ฝนในฤดหู นาว ฝนปาวสุ กะ ถา้ หากว่ามีฝนประเภทอืน่ นอกเหนอื
จากฝน ๓ ประเภทนัน้ ตกลงมา ฝนน้นั ไม่ถูกนบั รวมเข้ากบั ฝน ๓ ประเภทท่ีได้รับร้กู ัน ย่อมถงึ
ความนบั วา่ เปน็ ฝนนอกฤดนู นั่ เทยี ว ฉันใด ขอถวายพระพร ขอ้ ท่เี มื่อพระเวสสันดรทรงให้
มหาทาน แผน่ ดินใหญ่ไดไ้ หวถงึ ๗ ครง้ั ใด ขอ้ นี้มิได้มอี ยเู่ ป็นประจ�ำตลอดกาล เกดิ ขึ้นในกาล
บางคราว ซ่งึ พน้ ไปจากเหตุ ๘ อยา่ ง พระผมู้ ีพระภาคเจ้าจงึ ไม่ทรงนบั เหตขุ ้อนัน้ รวมเข้ากบั
เหตุ ๘ อยา่ ง ฉันน้ันเหมือนกัน

กณั ฑ์] ๔.๑ อทิ ธิพลวรรค 293

‘‘ยถา วา ปน มหาราช หมิ วนฺตา ปพฺพตา ป จฺ นทิสตานิ สนฺทนตฺ ,ิ เตสํ
มหาราช ป ฺจนนฺ ํ นทิสตานํ ทเสว นทิโย นทคิ ณนาย คณียนฺติ ฯ เสยฺยถิท,ํ คงคฺ า
ยมนุ า อจริ วตี สรภู มห ี สินธฺ ุ สรสฺสตี เวตรฺ วตี วตี ํสา จนทฺ ภาคาติ, อวเสสา นทโิ ย
นทิคณนาย อคณติ า ฯ กึการณา ? น ตา นทโิ ย ธวุ สลลิ า ฯ เอวเมว โข มหาราช
เวสฺสนตฺ เรน ร ฺ า มหาทาเน ทยี มาเน ยํ สตตฺ กฺขตฺต ุํ มหาปถวี กมปฺ ติ า, อกาลกิ ํ เอตํ
กทาจปุ ปฺ ตฺตกิ ํ อฏ ฺ หิ เหตูห ิ วปิ ปฺ มตุ ตฺ ,ํ น ต ํ คณยี ติ อฏ ฺ หิ เหตหู ิ ฯ
ขอถวายพระพร อีกอย่างหน่งึ เปรยี บเหมอื นว่า แมน่ ้�ำ ๕๐๐ สาย ไหลมาแตภ่ ูเขา
หมิ พานต์ ขอถวายพระพร บรรดาแมน่ �ำ้ ๕๐๐ สายเหล่าน้นั เม่อื จะมีการนบั จ�ำนวนแม่น้�ำกนั
คนทั้งหลายยอ่ มนับแม่น�้ำไว้เพียง ๑๐ สายเท่านัน้ คอื (๑) คงคา (๒) ยมุนา (๓) อจริ วด ี (๔)
สรภ ู (๕) มห ี (๖) สินธ ุ (๗) สรัสวดี (๘) เวตรวด ี (๙) วีตังสา (๑๐) จนั ทภาคา ในการนบั
จ�ำนวนแมน่ �้ำ เขามไิ ดน้ บั แมน่ ้ำ� ท่ีเหลอื ด้วย ถามวา่ ‘เพราะเหตไุ ร ?’ ตอบว่า ‘เพราะเหตุว่า
แม่น้ำ� เหล่านั้นมิได้มีน�ำ้ อยู่เปน็ ประจ�ำ ฉันใด ขอถวายพระพร ข้อท่ีเม่ือพระเวสสนั ดรทรงให้
มหาทาน แผน่ ดินใหญ่ไดไ้ หวถึง ๗ ครง้ั ใด ข้อนีม้ ไิ ด้มีอยู่เปน็ ประจ�ำตลอดกาล เกิดขึน้ ไดใ้ น
กาลบางคราว จงึ พ้นไปจากเหตุ ๘ อยา่ ง พระผมู้ ีพระภาคเจ้าจงึ ไม่ทรงนับเหตุขอ้ นัน้ รวมเขา้
กับเหตุ ๘ อย่าง ฉนั นน้ั เหมือนกนั ’
‘‘ยถา วา ปน มหาราช ร ฺโ สตมปฺ ิ ทฺวิสตมปฺ ิ ตสิ ตมปฺ ิ อมจจฺ า โหนฺติ, เตส ํ
ฉเยว ชนา อมจฺจคณนาย คณยี นฺติ ฯ เสยฺยถิท,ํ เสนาปต ิ ปโุ รหโิ ต อกฺขทสโฺ ส
ภณฑฺ าคาริโก ฉตตฺ คคฺ าหโก ขคฺคคคฺ าหโก ฯ เอเตเยว อมจจฺ คณนาย คณยี นฺติ ฯ กึการณา
? ยุตตฺ ตตฺ า ราชคเุ ณห ิ อวเสสา อคณิตา, สพฺเพ อมจจฺ าเตฺวว สงขฺ ํ คจฺฉนตฺ ิ ฯ เอวเมว
โข มหาราช เวสสฺ นตฺ เรน ร ฺ า มหาทาเน ทียมาเน ยํ สตฺตกฺขตตฺ ุํ มหาปถว ี กมปฺ ติ า,
อกาลิก ํ เอตํ กทาจปุ ปฺ ตฺตกิ ํ อฏฺ ห ิ เหตูห ิ วิปฺปมุตฺต,ํ น ตํ คณยี ติ อฏ ฺ ห ิ เหตูหิ ฯ
ขอถวายพระพร อกี อยา่ งหนึง่ เปรยี บเหมอื นว่า พระราชาจะทรงมีอ�ำมาตย์อยู่ ๑๐๐
คนกต็ าม ๒๐๐ คนกต็ าม ๓๐๐ คนก็ตาม เมื่อจะมกี ารนบั จ�ำนวนอ�ำมาตย์เหลา่ นน้ั กนั ยอ่ มนบั
เอาชนเพยี ง ๖ คนเทา่ น้ัน คอื (๑) เสนาบดี (๒) ปโุ รหิต (๓) ผพู้ พิ ากษา (๔) ขุนคลงั (๕) คน
ถอื ฉตั ร (๖) คนถือพระขรรค ์ ชน ๖ คนนเี้ ท่านนั้ ทเี่ ขานับไวใ้ นการนบั จ�ำนวนอ�ำมาตย์ ถาม
ว่า ‘เพราะเหตุไร ?’ ตอบว่า ‘เพราะเปน็ ผปู้ ระกอบด้วยพระราชคุณ ไม่นบั ชนทีเ่ หลอื ดว้ ย ชนที่
เหลอื ทกุ คน ยอ่ มถึงการนบั วา่ เปน็ อ�ำมาตยเ์ ทา่ นัน้ ฉันใด ขอถวายพระพร ข้อท่ีเมอ่ื พระ
เวสสันดรทรงให้มหาทาน แผ่นดนิ ใหญ่ไดไ้ หวถงึ ๗ ครง้ั ใด ข้อนีม้ ไิ ดม้ ีอยู่เปน็ ประจ�ำ เกิดได้

294 มิลินทปัญหาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปญั ห

เปน็ ในกาลบางคราว ซงึ่ พน้ ไปจากเหตุ ๘ อยา่ ง พระผมู้ พี ระภาคเจ้าจงึ ไม่ทรงนับเหตุข้อนน้ั
รวมเขา้ กับเหตุ ๘ อยา่ ง ฉันนัน้ เหมอื นกนั
‘‘สยุ ยฺ ติ นุ โข มหาราช เอตรหิ ชนิ สาสเน กตาธกิ ารานํ ทิฏฺ ธมมฺ สขุ เวทนยี กมฺมํ,
กติ ตฺ ิ จ เยส ํ อพภฺ คุ คฺ ตา เทวมนสุ เฺ สส’ู ’ติ ?
ขอถวายพระพรมหาบพิตร พระองคก์ ไ็ ด้ทรงสดบั มามิใช่หรอื ในพระศาสนาของพระ
ชินเจา้ ในกาลปจั จบุ นั น้ี มบี คุ คลผสู้ ร้างบญุ ญาธิการไว้ แลว้ ได้ท�ำกรรมท่ีสามารถเสวยผล
เป็นสุขในอตั ภาพนี้ไวแ้ ลว้ ก็เป็นผู้มกี ิตติศัพทฟ์ งุ้ ขจรไปในหมู่เทวดาและมนุษยท์ ัง้ หลาย ?”
‘‘อาม ภนฺเต สยุ ฺยติ เอตรห ิ ชนิ สาสเน กตาธกิ าราน ํ ทิฏฺ ธมฺมสขุ เวทนยี กมฺม,ํ
กติ ฺต ิ จ เยส ํ อพฺภคุ คฺ ตา เทวมนุสฺเสส ุ สตตฺ ชนาต’ิ ’ ฯ
พระเจา้ มลิ ินท์ตรัสว่า “ใช่ พระคุณเจา้ โยมก็ไดฟ้ งั มาในศาสนาของพระชนิ เจ้า ในกาล
ปัจจบุ นั น้ี มีชน ๗ คนที่สร้างบุญญาธิการไว้ แลว้ ไดท้ �ำกรรมท่สี ามารถเสวยผลเปน็ สขุ
ในอัตภาพน้แี ลว้ กเ็ ป็นผู้มีกิตตศิ ัพทฟ์ ้งุ ขจรไปในหมูเ่ ทวดาและมนษุ ยท์ ้งั หลาย ?”
‘‘เก จ เต มหาราชา’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร กพ็ วกชนเหลา่ นั้น มใี ครบา้ ง ?”
‘‘สมุ โน จ ภนเฺ ต มาลากาโร เอกสาฏโก จ พฺราหฺมโณ ปณุ โฺ ณ จ ภตโก มลลฺ กิ า
จ เทว ี โคปาลมาตา จ เทว ี สุปปฺ ยิ า จ อปุ าสกิ า ปณุ ฺณา จ ทาสตี ิ อเิ ม สตตฺ ทิฏฺ ธมมฺ -
สุขเวทนียา สตตฺ า, กติ ฺติ จ อิเมส ํ อพฺภคุ ฺคตา เทวมนุสเฺ สส’ู ’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ นิ ท์ตรัสว่า “พระคณุ เจา้ ก็มนี ายสุมนะ ช่างรอ้ ยพวงมาลยั ๑ นายเอกสาฎก
ผ้เู ปน็ พราหมณ์ ๑ นายปณุ ณะ ลกู จา้ ง ๑ พระนางมลั ลิกาเทวี ๑ พระนางโคปาลมาตาเทวี ๑
นางสปุ ปิยาอบุ าสกิ า ๑ นางปุณณทาสี ๑ ชน ๗ คนดังกล่าวมาน้ี เป็นสัตว์ผูไ้ ด้เสวยสขุ ใน
อัตภาพนี้ และกติ ตศิ พั ทข์ องชนพวกนี้ ก็ฟุง้ ขจรไปในหมเู่ ทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย”
‘‘อปเรป ิ สยุ ฺยนตฺ ิ นุ โข อตเี ต มานสุ เกเนว สรรี เทเหน ติทสภวนํ คตา’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “พระองค์ไดท้ รงสดับแมเ้ ร่อื งของชนเหลา่ อื่นผไู้ ปยงั ภพ
ดาวดงึ ส์ด้วยสรรี ะรา่ งกายที่ยงั เปน็ ของมนุษย์นั่นแหละ ในครง้ั อดตี กาล หรอื ไม่ ?”
‘‘อาม ภนเฺ ต สุยฺยนตฺ ี’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลินท์ตรัสว่า “ใช่ พระคุณเจา้ โยมกไ็ ด้ฟงั มา ?”

กัณฑ]์ ๔.๑ อิทธิพลวรรค 295

‘‘เก จ เต มหาราชา’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร ก็พวกชนเหลา่ น้ัน มีใครบา้ ง ?”
‘คตุ ฺตโิ ล จ คนฺธพฺโพ สาธโี น จ ราชา นมิ ิ จ ราชา มนฺธาตา จ ราชาติ อิเม
จตโุ ร ชนา สยุ ฺยนตฺ ,ิ เตเนว มานสุ เกน สรีรเทเหน ติทสภวนํ คตา’’ติ ฯ ‘‘สจุ ิรมฺป ิ กตํ
สยุ ฺยต ิ สุกฏทุกฺกฏนฺติ ?
พระเจ้ามิลินทต์ รสั วา่ “โยมไดย้ นิ มาว่า ชน ๔ คนเหล่านี้ คือ (๑) พระเจ้าคตุ ติลคนธรรพ์
(๒) พระเจา้ สาธนี ะ (๓) พระเจา้ นมิ ิ (๔) พระเจ้ามันธาตุ ได้เสดจ็ ไปยังภพดาวดงึ สด์ ว้ ยพระ
สรรี ะร่างกายท่ยี ังเปน็ ของมนุษย์อย่นู ัน่ แหละ โยมได้ยนิ มาวา่ ชนเหลา่ น้นั ท�ำแตก่ รรมดี ไม่
ท�ำกรรมชัว่ แม้สิ้นกาลนาน”
“สตุ ปพุ ฺพ ํ ปน ตยา มหาราช อตเี ต วา อทธฺ าเน วตฺตมาเน วา อทฺธาเน
อิตถฺ นฺนามสฺส ทาเน ทยี มาเน สก ึ วา ทฺวิกขฺ ตตฺ ุํ วา ติกขฺ ตฺตํ ุ วา มหาปถวี กมฺปติ า’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร ก็แต่ว่า พระองค์เคยทรงสดับมาบา้ ง
หรอื ไมว่ ่า ในกาลอดีตกด็ ี ในกาลปัจจุบนั ก็ดี เมอื่ บคุ คลผมู้ ชี ือ่ อย่างนใี้ ห้ทานอยู่ แผ่นดนิ ใหญ่
กไ็ ดไ้ หวแลว้ ครั้งหน่ึง ๒ ครง้ั หรือ ๓ คร้ัง ?”
‘‘น ห ิ ภนฺเต’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ นิ ทต์ รสั วา่ “โยมไม่เคยไดย้ ินเลย พระคณุ เจ้า”
‘‘อตถฺ ิ เม มหาราช อาคโม อธิคโม ปรยิ ตตฺ ิ สวนํ สกิ ขฺ าพลํ สสุ ฺสสู า ปริปจุ ฉฺ า
อาจรยิ ุปาสนํ, มยาป ิ น สุตปุพพฺ ํ ‘อติ ฺถนนฺ ามสสฺ ทาเน ทยี มาเน สกึ วา ทฺวิกฺขตฺตุํ วา
ตกิ ฺขตฺตุ ํ วา มหาปถว ี กมฺปติ า’ติ เปตฺวา เวสสฺ นตฺ รสฺส ราชวสภสฺส ทานวรํ ฯ ภควโต จ
มหาราช กสสฺ ปสฺส, ภควโต จ สกฺยมนุ ิโนต ิ ทฺวนิ นฺ ํ พทุ ฺธานํ อนตฺ เร คณนปถ ํ วีติวตฺตา
วสฺสโกฏิโย อตกิ กฺ นตฺ า, ตตถฺ ป ิ เม สวน ํ นตฺถิ ‘อติ ถฺ นนฺ ามสสฺ ทาเน ทียมาเน สก ึ วา
ทวฺ ิกขฺ ตตฺ ุํ วา ตกิ ฺขตตฺ ุ ํ วา มหาปถว ี กมฺปติ า’ติ ฯ น มหาราช ตาวตเกน วรี ิเยน
ตาวตเกน ปรกกฺ เมน มหาปถว ี กมปฺ ต,ิ คณุ ภารภริตา มหาราช สพฺพโสเจยฺยกิริยคุณ-
ภารภริตา ธาเรตุํ น วสิ หนฺต ี มหาปถว ี จลติ กมปฺ ต ิ ปเวธติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร อาตมภาพมีอาคม อธคิ ม ปรยิ ัติ สวนะ
สิกขาพละ การไดส้ ดบั การสอบถาม การนง่ั ใกล้อาจารย์ แม้ตัวอาตมภาพเอง กไ็ มเ่ คยไดย้ นิ
มาอยา่ งนี้ว่า ‘เม่อื บุคคลผูม้ ีชอ่ื อย่างนใ้ี ห้ทานอยู่ แผ่นดนิ ใหญ่กไ็ ดไ้ หวแลว้ ครั้งหน่งึ ๒ คร้ัง

296 มิลินทปัญหาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปัญห

หรือ ๓ คร้ัง’ ดงั น้ีเลย ยกเว้น เมอ่ื คราวทพ่ี ระเวสสนั ดรผอู้ งอาจทรงให้ทานประเสริฐ ขอถวาย
พระพร ช่วงเวลาระหว่างพระพุทธเจา้ ๒ พระองค์ คือ พระผมู้ พี ระภาคเจา้ พระนามวา่ กัสสปะ
และพระผมู้ พี ระภาคเจา้ พระนามว่าศักยมุนี ไดล้ ว่ งไปแลว้ หลายโกฏิปี จนพน้ หนทางจะนับได้
แมใ้ นกาลระหว่างนัน้ อาตมภาพกไ็ ม่เคยได้ยินวา่ ‘เมอื่ บุคคลผู้มีชื่ออยา่ งน้ีใหท้ านอยู่ แผน่ ดนิ
ใหญก่ ไ็ ดไ้ หวแลว้ คร้งั หนงึ่ ๒ ครงั้ หรือ ๓ คร้งั ’ ดังน้ี ขอถวายพระพร แผ่นดินใหญจ่ ะได้ไหว
ไป เพราะความเพยี รเพยี งเท่านน้ั เพราะความพยายามเพียงเท่านน้ั กห็ าไม่ ขอถวายพระพร
แผน่ ดินใหญเ่ พยี บหนกั ดว้ ยคุณธรรม เพยี บหนกั ดว้ ยคณุ ธรรมท่ีพึงกระท�ำดว้ ยจติ ทส่ี ะอาด
โดยประการทัง้ ปวงแลว้ กไ็ มอ่ าจที่จะทรงตัวอยู่ได้ ยอ่ มส่นั สะเทือน ยอ่ มไหว ยอ่ มคลอนแคลน
ไป
‘‘ยถา มหาราช สกฏสสฺ อติภารภริตสสฺ นาภิโย จ เนมิโย จ ผลนตฺ ิ อกโฺ ข
ภิชฺชต,ิ เอวเมว โข มหาราช สพพฺ โสเจยยฺ กริ ิยคุณภารภรติ า มหาปถวี ธาเรตํ ุ น
วสิ หนฺตี จลต ิ กมปฺ ติ ปเวธติ ฯ
ขอถวายพระพรมหาบพิตร เปรยี บเหมือนว่า เมือ่ เกวยี นบรรทกุ ของหนกั เกนิ ไป ดมุ
ก็ดี กงก็ดี ยอ่ มฉีกอา้ ออก เพลาก็ยอ่ มหักไป ฉนั ใด ขอถวายพระพร แผน่ ดนิ ใหญ่ท่เี พยี บหนกั
ดว้ ยคณุ ธรรมทีพ่ งึ กระท�ำดว้ ยจติ สะอาดโดยประการทั้งปวง แล้วก็ย่อมไม่อาจทรงตัวอยไู่ ด้
ยอ่ มส่นั สะเทอื น ยอ่ มไหว ยอ่ มคลอนแคลนไป ฉันน้ันเหมือนกัน
‘‘ยถา วา ปน มหาราช คคน ํ อนิลชลเวคส ฺฉาทติ ํ อสุ สฺ นนฺ ชลภารภรติ ํ อติวาเตน
ผุฏิตตตฺ า นทต ิ รวติ คฬคฬายต,ิ เอวเมว โข มหาราช มหาปถว ี ร โฺ เวสสฺ นตฺ รสสฺ
ทานพลวปิ ลุ อสุ ฺสนฺนภารภริตา ธาเรตํ ุ น วสิ หนฺต ี จลต ิ กมฺปติ ปเวธติ ฯ น ห ิ มหาราช
ร ฺโ เวสสฺ นตฺ รสฺส จติ ตฺ ํ ราควเสน ปวตฺตติ, น โทสวเสน ปวตฺตต,ิ น โมหวเสน
ปวตตฺ ติ, น มานวเสน ปวตฺตต,ิ น ทิฏ ฺ วิ เสน ปวตฺตติ, น กเิ ลสวเสน ปวตฺตติ, น
วติ กฺกวเสน ปวตฺตต,ิ น อรติวเสน ปวตฺตต,ิ อถ โข ทานวเสน พหุลํ ปวตฺตติ ‘กนิ ตฺ ิ
อนาคตา ยาจกา มม สนตฺ ิเก อาคจฺเฉยยฺ ํ,ุ อาคตา จ ยาจกา ยถากาม ํ ลภติ ฺวา อตตฺ มนา
ภเวยฺยุนฺ’ต ิ สตตํ สมติ ํ ทานํ ปติ มานสํ ปติ ํ โหติ ฯ ร ฺโ มหาราช เวสฺสนตฺ รสฺส สตตํ
สมติ ํ ทสส ุ าเนสุ มานสํ ปติ ํ โหต ิ ทเม สเม ขนฺติย ํ สวํ เร ยเม นิยเม อกโฺ กเธ
อวิหสึ าย ํ สจฺเจ โสเจยฺเย ฯ ร โฺ มหาราช เวสสฺ นตฺ รสสฺ กาเมสนา ปหีนา, ภเวสนา
ปฏปิ ฺปสฺสทธฺ า, พรฺ หมฺ จริเยสนายเยว อุสสฺ กุ ฺก ํ อาปนโฺ น, ร โฺ มหาราช เวสฺสนฺตรสฺส

กณั ฑ์] ๔.๑ อิทธพิ ลวรรค 297

อตฺตรกขฺ า ปหนี า, สพฺพสตฺตรกฺขาย อุสสฺ ุกกฺ ํ อาปนฺโน ‘กินฺต ิ อิเม สตตฺ า สมคคฺ า อสฺส ุ
อโรคา สธนา ทีฆายกุ า’ติ พหุลํเยว มานส ํ ปวตฺตติ ฯ ททมาโน จ มหาราช เวสสฺ นฺตโร
ราชา ตํ ทานํ น ภวสมฺปตตฺ เิ หต ุ เทต,ิ น ธนเหต ุ เทติ, น ปฏทิ านเหตุ เทต,ิ น
อุปลาปนเหต ุ เทต,ิ น อายุเหตุ เทต,ิ น วณฺณเหตุ เทต,ิ น สขุ เหตุ เทต,ิ น พลเหตุ
เทติ, น ยสเหตุ เทต,ิ น ปตุ ตฺ เหต ุ เทติ, น ธตี ุเหต ุ เทต,ิ อถ โข สพฺพ ฺ ตุ าณเหตุ
สพฺพ ฺ ุต าณรตนสสฺ การณา เอวรูเป อตุลวิปุลานุตฺตเร ทานวเร อทาสิ, สพฺพ ฺ ตุ ํ
ปตโฺ ต จ อิม ํ คาถํ อภาสิ –
‘‘ชาล ึ กณฺหาชนิ ํ ธีต ํ มทฺทิเทว ึ ปติพพฺ ตํ
จชมาโน น จนิ ฺเตสึ โพธยิ าเยว การณา’ติ ฯ
ขอถวายพระพร เปรยี บเหมอื นว่า ทอ้ งฟา้ ท่ีถูกปกคลมุ ด้วยลมและเมฆฝน เพียบด้วย
กอ้ นเมฆทห่ี นาแนน่ เพราะถูกลมแรงจดั ตกี ระหน�ำ่ ก็ยอ่ มบรรลอื เสียง ย่อมเปล่งเสียงดงั ครืน
ๆ สนั่น ฉันใด ขอถวายพระพร แผ่นดินใหญเ่ พียบหนักด้วยคณุ ธรรมท่ไี พบลู ยห์ นาแนน่ คอื
ก�ำลังทานของพระเวสสันดรแล้ว กย็ อ่ มไมอ่ าจทรงตัวอย่ไู ด้ ยอ่ มสัน่ สะเทอื น ยอ่ มไหว ย่อม
คลอนแคลนไป ฉนั นั้นเหมือนกนั ขอถวายพระพร พระทยั ของพระเวสสนั ดรมิได้เปน็ ไปด้วย
อ�ำนาจแหง่ ราคะ มิได้เปน็ ไปดว้ ยอ�ำนาจแห่งโทสะ มิไดเ้ ป็นไปดว้ ยอ�ำนาจแหง่ โมหะ มไิ ด้เปน็
ไปดว้ ยอ�ำนาจแห่งมานะ มไิ ดเ้ ปน็ ไปดว้ ยอ�ำนาจแหง่ ทิฏฐิ มิได้เป็นไปดว้ ยอ�ำนาจแห่งกิเลส
มไิ ดเ้ ปน็ ไปดว้ ยอ�ำนาจแหง่ วิตก มิไดเ้ ป็นไปด้วยอ�ำนาจแหง่ ความไม่ยนิ ดีในอธกิ ุศล ทแ่ี ท้แล
ย่อมเป็นไปมากด้วยอ�ำนาจแห่งทาน ทรงตั้งพระทยั เฉพาะจะให้ทานเปน็ ประจ�ำสม�ำ่ เสมอวา่
‘คนผู้จะขอ ซึ่งยังไมม่ า ไฉนจะพึงมาในส�ำนกั ของเราไดห้ นอ ทั้งคนผ้จู ะขอซึง่ มาถงึ แล้ว ไฉน
จะได้ตามที่ต้องการจนพอใจเลา่ ’ ดังนี้ ขอถวายพระพร พระทัยของพระเวสสันดรเป็นสภาพที่
ต้งั อยเู่ ปน็ ประจ�ำสม่�ำเสมอในฐานะ ๑๐ คือ (๑) ในความฝกึ (๒) ในความสม่ำ� เสมอ (๓) ใน
ความอดกล้นั (๔) ในความส�ำรวม (๕) ในความยับยัง้ ชัง่ ใจ (๖) ในความก�ำหนดแนน่ อน (๗)
ในความไมโ่ กรธ (๘) ในความไม่เบียดเบยี น (๙) ในสจั จะ (๑๐) ในความเปน็ ธรรมชาตสิ ะอาด
ขอถวายพระพร พระเวสสันดรทรงเลิกละการแสวงหากาม ทรงระงบั การแสวงหาภพ ทรงถึง
ความขวนขวายในการแสวงหาพรหมจรรยเ์ ท่าน้นั ขอถวายพระพร พระเวสสนั ดรทรงเลิกละ
การรกั ษาตนเอง ทรงถงึ ความขวนขวายในการรักษาสตั วท์ ง้ั ปวง พระทยั เป็นไปมากอย่างนีว้ ่า
‘สัตวเ์ หลา่ น้ีจะพึงเป็นผู้พรอ้ มเพรียงกนั เป็นผู้ไม่มีโรค เป็นผู้มที รัพย์ มีอายยุ นื ได้ไฉนหนอ’
ดังนีเ้ ท่านนั้ ขอถวายพระพร พระเวสสนั ดร เมอ่ื จะทรงให้ทาน ก็มิไดท้ รงให้ทานน้นั เพราะ

298 มิลนิ ทปญั หาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปญั ห

ทรงเห็นแก่ภพสมบัติ มไิ ดท้ รงใหเ้ พราะทรงเห็นแก่ทรพั ย์ มิได้ทรงใหเ้ พราะทรงเห็นแกก่ าร
ใหต้ อบแทน มไิ ด้ทรงให้เพราะทรงเหน็ แก่การเข้าไปเจรจา มิไดท้ รงใหเ้ พราะทรงเหน็ แกอ่ ายุ
มิไดท้ รงใหเ้ พราะทรงเห็นแก่วรรณะ มไิ ดท้ รงให้เพราะทรงเหน็ แก่ความสขุ มิได้ทรงใหเ้ พราะ
ทรงเหน็ แกก่ �ำลัง มิได้ทรงใหเ้ พราะทรงเห็นแกย่ ศ มิได้ทรงใหเ้ พราะทรงเหน็ แกบ่ ุตร มิไดท้ รง
ให้เพราะทรงเห็นแกธ่ ิดา โดยทแ่ี ทแ้ ล ทรงให้ทานที่ประเสรฐิ ไมม่ ีสง่ิ ใดเปรยี บ ไพบลู ย์ ยอด
เย่ียม เหน็ ปานนี้ เพราะเหตแุ ห่งพระสัพพญั ญุตญาณ เพราะเหตแุ ห่งรตั นะคอื พระสัพพญั ญุต
ญาณ และพระองคท์ รงบรรลุพระสัพพญั ญตุ ญาณแล้ว ก็ได้ตรัสพระคาถาน้ีวา่

“เราเมือ่ สละบุตรชอ่ื ว่าชาลี ธดิ าช่ือว่ากัณหาชินา ภรรยาชอ่ื ว่า
พระมัทรเี ทวี เพราะเหตแุ หง่ โพธญิ าณเท่านนั้ หาได้คิดถงึ อะไร
อื่นไม”่ ดงั นี้
‘‘เวสฺสนฺตโร มหาราช ราชา อกฺโกเธน โกธํ ชนิ าติ, อสาธุ ํ สาธนุ า ชินาต,ิ กทริย ํ
ทาเนน ชินาต,ิ อลิกวาทินํ สจเฺ จน ชินาต,ิ สพพฺ ํ อกสุ ลํ กสุ เลน ชินาติ ฯ ตสฺส เอวํ
ททมานสฺส ธมมฺ านุคตสฺส ธมฺมสสี กสสฺ ทานนสิ สฺ นทฺ พลววีรยิ วปิ ุลวปิ ผฺ าเรน เหฏฺ า
มหาวาตา ส จฺ ลนตฺ ิ สณิก ํ สณกิ ํ สกึ สกึ อากุลากุลา วายนฺต ิ โอนมนฺติ อุนฺนมนตฺ ิ
วนิ มนฺต,ิ ฉนิ นฺ ปตตฺ ปาทปา ปปตนฺติ, คมุ ฺพํ คุมพฺ ํ วลาหกา คคเน สนฺธาวนตฺ ิ, รโชส ฺจติ า
วาตา ทารณุ า โหนตฺ ,ิ คคนํ อปุ ฺปีฬิตา วาตา วายนตฺ ,ิ สหสา ธมธมายนตฺ ิ, มหาภีโม
สทโฺ ท นิจฉฺ รต,ิ เตส ุ วาเตส ุ กุปิเตสุ อุทกํ สณิกํ สณิกํ จลต,ิ อทุ เก จลเิ ต ขพุ ภฺ นตฺ ิ
มจฉฺ กจฉฺ ปา, ยมกยมกา อมู โิ ย ชายนฺติ, ชลจรา สตตฺ า ตสนตฺ ิ, ชลวจี ิ ยคุ นทโฺ ธ วตฺตต,ิ
วีจินาโท ปวตตฺ ต,ิ โฆรา พุพฺพุฬา อฏุ ฺ หนตฺ ิ, เผณมาลา ภวนตฺ ิ, อตุ ฺตรติ มหาสมทุ โฺ ท,
ทสิ าวิทิส ํ ธาวติ อทุ กํ, อทุ ธฺ ํ โสตปฏโิ สตมขุ า สนทฺ นฺติ สลิลธารา, ตสนตฺ ิ อสรุ า ครฬุ า
นาคา ยกขฺ า, อพุ พฺ ชิ ชฺ นฺติ ‘กินนฺ ุ โข กถ ํ นุ โข สาคโร วปิ ริวตตฺ ตี’ติ, คมนปถเมสนฺติ
ภตี จติ ตฺ า, ขภุ ิเต ลุฬเิ ต ชลธาเร ปกมฺปติ มหาปถวี สนคา สสาครา, ปริวตฺตติ สิเนรุคริ ิ
กูฏเสลสขิ โร วินมมาโน โหต,ิ วิมนา โหนฺต ิ อหนิ กลุ พฬิ ารโกฏฺ ุกสูกรมคิ ปกฺขโิ น, รทุ นตฺ ิ
ยกฺขา อปฺเปสกขฺ า, หสนฺติ ยกฺขา มเหสกขฺ า กมฺปมานาย มหาปถวิยา ฯ
ขอถวายพระพรมหาบพิตร พระเวสสนั ดรชนะความโกรธ ดว้ ยความไม่โกรธ ชนะ
ความไมด่ ี ดว้ ยความดี ชนะความตระหนด่ี ้วยการให้ ทรงชนะค�ำพูดเหลาะแหละด้วยค�ำสัตย ์
ทรงชนะอกุศลท้ังปวง ด้วยกุศล เมอื่ พระเวสสันดรผทู้ รงประพฤติคล้อยตามธรรม ผูท้ รงมี
ธรรมเป็นพระเศยี รนน้ั ทรงพระราชทานอยูอ่ ยา่ งน้ี พายุใหญ่ใตแ้ ผน่ ดนิ ก็พดั ไหว เพราะวิริยะ

กณั ฑ]์ ๔.๑ อิทธิพลวรรค 299

อนั มีก�ำลัง อันเปน็ วบิ ากเปน็ เครื่องไหลออกแห่งทานแผไ่ ปกวา้ งไกล ย่อมค่อย ๆ หมนุ ตัวเปน็
เกลียว ๆ เคลอื่ นไปทลี ะหนอ่ ย พัดลงเบอ้ื งต่�ำ พัดขน้ึ เบอื้ งบน ย่อมหมุนต้นไม้ท้งั หลายมีใบ
ขาดลม้ ครืนไป ก้อนเมฆหนา ๆ แลน่ ไปบนท้องฟา้ ลมหอบฝุน่ พดั ไปรนุ แรง ลมพดั ขยท้ี อ้ งฟ้า
เกดิ เป็นควันฟงุ้ ไปทันที เปลง่ เสยี งดงั นา่ กลัว เม่อื ลมเหลา่ นัน้ ก�ำเรบิ ข้นึ น�้ำก็ยอ่ มค่อย
กระเพอ่ื มไหว เมอื่ น้�ำกระเพื่อมไหว พวกปลาและเตา่ ทัง้ หลายกพ็ ลา่ นไป เกดิ ลูกคลืน่ ซ้อนกนั
เป็นช้ัน ๆ พวกสตั ว์นำ้� ท้งั หลายพากนั สะดงุ้ กลวั กระแสคล่นื ถาโถมติดเนือ่ งเปน็ คู่ ๆ เสยี งคลื่น
ค�ำรามไป ปลอ่ ยฟองฟอดมีเสียงนา่ กลัว เกิดเปน็ ฝ้าฟองนำ้� ขึน้ มหาสมุทรมรี ะดับน้�ำสงู ยิง่ นำ�้
ไหลบา่ ไปทางทิศใหญ่ทิศน้อย สายนำ�้ ไหลบ่ายหน้าไปเบ้ืองบน และทวนกระแส พวกอสรู
ครุฑ นาค ยักษ์ทั้งหลาย พากันสะดงุ้ กลัว เที่ยวถามกันว่า ‘เกิดอะไรขนึ้ หนอ ทะเลเกิดเปน็
วิปริตไปได้อย่างไรหนอ’ ดังนี้ มจี ติ ขลาดกลวั เท่ียวแสวงหาหนทางจะหนีไป เมอ่ื สายชลเกิด
ก�ำเริบปัน่ ปว่ นขึน้ แล้ว แผน่ ดินใหญ่พร้อมทั้งทอ้ งฟ้าพรอ้ มท้ังทะเลก็ไหว ภูเขาสิเนรุกห็ มุนตวั
หนิ ยอดเขากบ็ ิดงอช้ไี ปผิดทาง สตั วท์ ั้งหลาย คือ งู พังพอน แมว สุนขั จงิ้ จอก สกุ ร เนือ้ และ
นกทั้งหลาย พากนั มจี ติ วปิ ริต พวกยักษท์ ี่มศี ักดิน์ อ้ ยพากนั รอ้ งไห้ พวกยักษท์ มี่ ศี กั ดใิ์ หญก่ ลบั
พากนั หวั เราะเพราะแผ่นดินใหญท่ ่กี �ำลังไหว
‘‘ยถา มหาราช มหติมหาปริโยเค อุทฺธนคเต อทุ กสมปฺ ณุ เฺ ณ อากิณฺณตณฑฺ เุ ล
เหฏฺ โต อคฺคิ ชลมาโน ป มํ ตาว ปริโยคํ สนตฺ าเปต,ิ ปริโยโค สนฺตตโฺ ต อุทกํ
สนตฺ าเปติ, อทุ ก ํ สนฺตตฺต ํ ตณฑฺ ลุ ํ สนฺตาเปต,ิ ตณฺฑุล ํ สนตฺ ตฺตํ อมุ ฺมชุ ฺชต ิ นมิ ชุ ชฺ ต,ิ
พุพฺพุฬกชาตํ โหติ, เผณมาลา อุตฺตรต;ิ เอวเมว โข มหาราช เวสฺสนฺตโร ราชา ย ํ โลเก
ทุจจฺ ช,ํ ต ํ จช,ิ ตสสฺ ตํ ทุจจฺ ชํ จชนฺตสฺส ทานสฺส สภาวนสิ ฺสนเฺ ทน เหฏฺ า มหาวาตา
ธาเรตุ ํ น วสิ หนตฺ า ปริกุปปฺ สึ ุ, มหาวาเตสุ ปรกิ ุปเิ ตสุ อุทก ํ กมฺปิ, อทุ เก กมปฺ เิ ต
มหาปถวี กมฺปิ, อติ ิ ตทา มหาวาตา จ อุทก ฺจ มหาปถวี จาติ อิเม ตโย เอกมนา วิย
อเหสํ ุ มหาทานนสิ สฺ นเฺ ทน วิปลุ พลวรี ิเยน, นตเฺ ถทโิ ส มหาราช อ ฺ สฺส ทานานภุ าโว,
ยถา เวสสฺ นตฺ รสสฺ ร โฺ มหาทานานุภาโว ฯ
ขอถวายพระพรมหาบพติ ร เปรียบเหมือนวา่ เม่ือยกกระทะใหญท่ ม่ี ีขา้ วสารแช่นำ�้ เตม็
ข้นึ วางบนเตาไฟ ไฟทีล่ ุกโพลงอยูเ่ บ้อื งล่าง ย่อมท�ำกระทะให้ร้อนขน้ึ กอ่ นเปน็ อนั ดับแรก
กระทะทีร่ ้อน ย่อมท�ำนำ้� ให้ร้อน น้�ำทร่ี อ้ น ย่อมท�ำขา้ วสารให้รอ้ น ขา้ วสารทรี่ อ้ น ยอ่ มนูนขึ้น
ยอ่ มบ๋มุ ลง เกดิ เป็นฟองขนึ้ มา แผ่นฟองน้�ำ ยอ่ มข้ามขึน้ ฉันใด ขอถวายพระพร พระเวสสนั ดร
ทรงบริจาคทานท่ีบรจิ าคกนั ไดย้ ากในโลก เมอ่ื พระเวสสนั ดรนั้น ทรงบรจิ าคทานที่บรจิ าคกนั

300 มิลินทปัญหาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปญั ห

ไดย้ ากนั้นอยู่ พายใุ หญใ่ ตแ้ ผ่นดินไมอ่ าจจะทรงตัวอย่ไู ด้ จึงไดเ้ คลื่อนไหว เพราะผลที่หลัง่ ไหล
จากสภาวะแหง่ ทาน เมอ่ื พายุใหญ่เกดิ ก�ำเริบขน้ึ แลว้ น�้ำก็กระเพื่อมไหว เมื่อน้ำ� กระเพ่ือมไหว
แผ่นดินใหญ่ก็ไหว ฉนั นนั้ เหมอื นกัน ในเวลานน้ั ของ ๓ อย่างเหล่านี้ คอื (๑) พายใุ หญ่ (๒)
น้�ำ (๓) แผน่ ดินใหญ่ เป็นราวกะว่ามใี จเปน็ หน่ึงเดียวกนั ดว้ ยวิรยิ ะอันไพบูลย์ มกี �ำลัง ซ่งึ เป็น
วบิ ากเป็นเคร่ืองไหลออกมาแตม่ หาทาน ตามประการดงั กล่าวมานี้ ขอถวายพระพร อานภุ าพ
แหง่ ทานของบุคคลอ่นื เหมอื นอยา่ งอานุภาพแห่งมหาทานของพระเวสสันดรน้ี หามีไม่
ยถา มหาราช มหยิ า พหวุ ธิ า มณโย วชิ ฺชนฺติ ฯ เสยยฺ ถทิ ํ, อนิ ทฺ นโี ล มหานโี ล
โชตริ โส เวฬรุ โิ ย อุมมฺ าปปุ ฺโผ สิรีสปปุ ฺโผ มโนหโร สูรยิ กนฺโต จนทฺ กนฺโต วชิโร
ขชฺโชปนโก ผุสสฺ ราโค โลหติ งฺโค มสารคลโฺ ลต,ิ เอเต สพเฺ พ อติกกฺ มฺม จกกฺ วตฺตมิ ณ ิ
อคคฺ มกฺขายติ, จกกฺ วตฺตมิ ณ ิ มหาราช สมนตฺ า โยชน ํ โอภาเสติ ฯ เอวเมว โข มหาราช
ย ํ ก ิ ฺจ ิ มหยิ า ทาน ํ วชิ ชฺ ติ อป ิ อสทิสทานํ ปรม,ํ ต ํ สพพฺ ํ อติกฺกมมฺ เวสฺสนฺตรสฺส ร โฺ
มหาทานํ อคคฺ มกฺขายต,ิ เวสฺสนฺตรสสฺ มหาราช ร ฺโ มหาทาเน ทยี มาเน สตตฺ กขฺ ตฺต ุํ
มหาปถว ี กมปฺ ติ า’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร เปรยี บเหมือนว่า บนแผน่ ดนิ มแี กว้ มณีอยู่มากมายหลายอย่าง คือ
แก้วอินทนิล แก้วมหานิล แกว้ โชตริ ส แก้วไพฑรู ย์ แก้วอุมมาบุปผา แกว้ สิรสี บุปผา แก้วมโน-
หรา แก้วสุริยกันตะ แกว้ จนั ทกนั ตะ แก้ววชริ ะ แกว้ ขัชโชปนกะ แก้วบษุ ราค�ำ แก้วทับทิม แกว้
มสารคัลละ แก้วมณขี องพระเจ้าจกั รพรรดิ กล่าวไดว้ ่าเปน็ เลิศ เกินล้�ำแก้วมณีทั้งหมดเหลา่ นั่น
ขอถวายพระพร แก้วมณีของพระเจ้าจกั รพรรดิ ส่องสวา่ งไปตลอดระยะทาง ๑ โยชน์ในที่โดย
รอบ ฉันใด ขอถวายพระพร บนแผ่นดินมีทานอยา่ งใดอยา่ งหนงึ่ อยู่ ซึ่งแมว้ า่ เปน็ อสทิสทาน
อนั ยอดเย่ียม มหาทานของพระเวสสันดร ย่อมกล่าวได้วา่ เปน็ เลิศ เกินลำ�้ ทานทั้งหมดนน้ั ฉนั
นน้ั เหมอื นกัน ขอถวายพระพร เม่อื พระเวสสนั ดรทรงให้ทานอยู่ แผ่นดนิ ใหญ่กไ็ ดไ้ หวแลว้ ถึง
๗ ครงั้ ”
‘‘อจฉฺ รยิ ํ ภนเฺ ต นาคเสน พทุ ธฺ าน,ํ อพฺภตุ ํ ภนฺเต นาคเสน พทุ ฺธานํ, ยํ ตถาคโต
โพธิสตโฺ ต สมาโน อสโม โลเกน เอวํขนตฺ ิ เอวํจติ ฺโต เอวํอธมิ ตุ ตฺ ิ เอวํอธิปฺปาโย,
โพธิสตตฺ าน,ํ ภนเฺ ต นาคเสน ปรกฺกโม ทกขฺ าปโิ ต, ปารมี จ ชินานํ ภิยฺโย โอภาสติ า,
จรยิ ํ จรโตป ิ ตาว ตถาคตสสฺ สเทวเก โลเก เสฏฺ ภาโว อนทุ สฺสิโต ฯ สาธ ุ ภนเฺ ต
นาคเสน โถมติ ํ ชินสาสน,ํ โชตติ า ชินปารม,ี ฉินฺโน ตติ ฺถยิ านํ วาทคณฺ ,ิ ภินฺโน

กัณฑ]์ ๔.๑ อทิ ธพิ ลวรรค 301

ปราปวาทกุมฺโภ, ป โฺ ห คมฺภีโร อตุ ฺตานกี โต, คหน ํ อคหน ํ กต,ํ สมมฺ า ลทฺธํ ชินปตุ ตฺ าน ํ
นพิ พฺ าหนํ, เอวเมตํ คณวิ รปวร ตถา สมฺปฏจิ ฺฉามา’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ นิ ทต์ รัสวา่ “พระคุณเจา้ นาคเสน ขอ้ ท่พี ระตถาคตซึ่งยังเปน็ พระโพธสิ ัตว์
อยู่ หาชาวโลกเสมอมิได้ ทรงมีขนั ตอิ ยา่ งน้ี ทรงมพี ระทัยคดิ อย่างนี้ ทรงมีพระทัยนอ้ มไปอยา่ ง
นี้ ทรงมีพระประสงค์อย่างน้ี ใด ข้อนนั้ จัดว่าเปน็ ข้อน่าอศั จรรย์ส�ำหรับบคุ คลผู้เปน็ พระพทุ ธเจา้
ท้ังหลาย จัดว่าเป็นข้อนา่ ประหลาดส�ำหรับบคุ คลผูเ้ ป็นพระพทุ ธเจา้ ทง้ั หลาย พระคณุ เจ้า
นาคเสน ทา่ นได้ช้ีให้เหน็ ความบากบ่นั ของพระโพธสิ ตั วท์ ง้ั หลาย ท้งั ไดส้ ่องพระบารมีของพระ
ชนิ สีห์ใหเ้ ห็นชดั เจนยง่ิ ข้ึนอกี ความท่พี ระตถาคตผู้ทรงประพฤติแต่ขอ้ ทค่ี วรประพฤตเิ ทา่ นัน้
เปน็ ผูป้ ระเสรฐิ สุดในโลกพรอ้ มท้ังเทวโลก ท่านกแ็ สดงแล้ว ดจี ริง พระคุณเจา้ นาคเสน ทท่ี ่าน
ไดย้ กย่องพระศาสนาของพระชนิ เจา้ ท่ีทา่ นไดส้ อ่ งพระบารมขี องพระชนิ เจ้า เงื่อนปมคือวาทะ
ของพวกเดียรถีย์ถกู ท่านตดั ขาดเสียได้แลว้ หมอ้ คอื วาทะของขา้ ศกึ ถูกท่านท�ำลายเสียได้แลว้
ทา่ นไดท้ �ำปญั หาทีล่ ึกซ้ึงให้ตืน้ เขนิ ได้แล้ว ทา่ นได้ท�ำข้อทย่ี ุ่งเหยิง ให้หมดความยุง่ เหยิงแล้ว
ทา่ นเปน็ เครอื่ งขจดั ปดั เปา่ ลทั ธขิ องพวกชนิ บตุ รท้ังหลายโดยชอบ ทา่ นเปน็ เจา้ คณะประเสรฐิ
ผู้ยอดเย่ียม โยมขอยอมรับค�ำตามทีท่ า่ นกล่าวมาดว้ ยประการฉะน”ี้

ปถวจิ ลนปญฺโห จตุตโฺ ถ ฯ
จบปถวจิ ลนปัญหาขอ้ ที่ ๔

________

๕. สวิ ริ าชจกฺขุทานปญหฺ
๕. สิวริ าชจักขทุ านปญั หา
ปญั หาวา่ ดว้ ยการพระราชทานจกั ษขุ องพระเจา้ สีพี
[๕] ‘‘ภนฺเต นาคเสน ตมุ ฺเห เอว ํ ภณถ ‘สวิ ิราเชน ยาจกสสฺ จกขฺ นู ิ ทินนฺ าน,ิ
อนธฺ สฺส สโต ปนุ ทพิ ฺพจกฺขนู ิ อปุ ปฺ นฺนานี’ต,ิ เอตมปฺ ิ วจนํ สกสฏํ สนคิ คฺ หํ สโทส ํ
‘เหตุสมคุ ฆฺ าเต อเหตสุ มฺ ึ อวตฺถสุ ฺม ึ นตถฺ ิ ทพิ ฺพจกฺขสุ สฺ อปุ ปฺ าโท’ต ิ สตุ เฺ ต วุตตฺ ,ํ ยท ิ
ภนเฺ ต นาคเสน สิวริ าเชน ยาจกสสฺ จกขฺ ูน ิ ทินนฺ านิ, เตนหิ ‘ปนุ ทพิ พฺ จกขฺ นู ิ
อปุ ฺปนฺนาน’ี ติ ยํ วจน,ํ ตํ มจิ ฉฺ า; ยทิ ทิพฺพจกฺขูน ิ อปุ ฺปนฺนานิ, เตนห ิ ‘สิวิราเชน ยาจกสฺส
จกฺขูน ิ ทินฺนาน’ี ต ิ ย ํ วจน,ํ ตมฺปิ มจิ ฺฉา ฯ อยมปฺ ิ อุภโต โกฏิโก ป ฺโห คณ ฺ โิ ตป ิ

302 มิลนิ ทปัญหาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปัญห

คณ ฺ ิตโร เว โตปิ เว ตโร คหนโตป ิ คหนตโร, โส ตวานุปปฺ ตโฺ ต, ตตถฺ ฉนทฺ มภชิ เนห ิ
นพิ ฺพาหนาย ปรวาทาน ํ นิคคฺ หายา’’ติ ฯ
[๕] พระเจา้ มิลินทร์ ับสงั่ ตรสั ถามว่า “พระคุณเจ้านาคเสน พวกทา่ นกล่าวกนั อยา่ งนีว้ า่
‘พระเจา้ สีพไี ด้พระราชทานจักษแุ กค่ นผู้มาขอ ตอ่ มาทพิ ยจกั ษุไดเ้ กิดแก่พระองคผ์ ูท้ รงเป็นคน
บอด’ ดงั น้ี ค�ำพดู แมน้ ี้ เปน็ ค�ำท่มี ีข้อบกพร่อง มีขอ้ ท่ีควรข่มได้ มขี อ้ ที่เป็นโทษ มีค�ำกลา่ วใน
พระสตู รว่า ‘เม่ือไดถ้ อนเหตเุ สียแล้ว เม่อื ไม่มีเหตุ คือเม่อื ไมม่ ีวตั ถุ การเกิดขนึ้ ของทิพยจักษุ ก็
ยอ่ มไมม่ ี’ ดังน้ี พระคุณเจ้านาคเสน ถ้าหากพระเจ้าสีพีพระราชทานพระจกั ษุแกค่ นผู้ทลู ขอ
จริงไซร้ ถ้าอย่างน้นั ค�ำที่ว่า ‘ต่อมาทพิ ยจักษุ กไ็ ดเ้ กิดข้นึ ’ ดังน้ี ค�ำพูดน้นั ก็ต้องเปน็ ค�ำพดู ที่
ผิด ถ้าหากวา่ ทิพยจักษเุ กิดขนึ้ ไดจ้ รงิ ถา้ เปน็ เชน่ นั้น แมค้ �ำว่า ‘พระเจา้ สีพพี ระราชทานพระ
จกั ษแุ ก่ผทู้ ูลขอ’ ดังนี้ ค�ำพูดน้ัน กต็ ้องเป็นค�ำพูดท่ีผดิ แม้ปัญหาข้อน้ี กม็ ี ๒ เง่ือน เป็นปมย่ิง
กวา่ ปม เป็นเงือ่ นย่ิงกว่าเงื่อน เป็นของยงุ่ ยิ่งกวา่ ยุ่ง ก็ปญั หานั้นตกถึงแก่ทา่ นแล้ว ขอทา่ นจง
ชว่ ยท�ำให้โยมเกดิ ความพอใจในปญั หานน้ั เพื่อขจัด เพ่อื ข่มปรวาทะทงั้ หลายเถดิ ”
‘‘ทนิ นฺ าน ิ มหาราช สิวิราเชน ยาจกสฺส จกขฺ ูน,ิ ตตฺถ มา วิมตึ อุปฺปาเทหิ, ปุน
ทิพพฺ านิ จ จกฺขูน ิ อุปปฺ นนฺ านิ, ตตถฺ าปิ มา วิมตึ ชเนห’ี ’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร พระเจา้ สีพไี ดพ้ ระราชทาน
พระจกั ษุแกผ่ ู้ทลู ขอจริง ขอพระองค์อย่าได้ทรงเกิดความสงสยั ในข้อน้ัน และต่อมาก็ทรงเกดิ
ทิพยจกั ษจุ รงิ พระองคอ์ ย่าไดท้ รงเกิดความสงสยั แมใ้ นขอ้ นัน้ ”
‘‘อป ิ น ุ โข ภนฺเต นาคเสน เหตสุ มุคฆฺ าเต อเหตุสมฺ ึ อวตฺถุสมฺ ึ ทิพฺพจกฺขุ
อุปปฺ ชฺชตี’’ติ ?
พระเจ้ามิลนิ ท์ตรัสว่า “พระคุณเจา้ นาคเสน ก็แต่ว่า เมอื่ ได้ถอนเหตเุ สียแลว้ เมอ่ื ไมม่ ี
เหตุ คือเมอ่ื ไมม่ วี ัตถุ ทิพยจักษุ กย็ งั เกิดได้อกี หรือ ?”
‘‘น ห ิ มหาราชา’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “เกดิ ไมไ่ ดเ้ ลย มหาบพิตร”
‘‘ก ึ ปน ภนฺเต เอตถฺ การณ,ํ เยน การเณน เหตสุ มคุ ฆฺ าเต อเหตสุ มฺ ึ อวตฺถสุ มฺ ึ
ทิพพฺ จกขฺ ุ อปุ ปฺ ชฺชติ, อิงฺฆ ตาว การเณน ม ํ ส ฺ าเปหี’’ติ ?
พระเจ้ามิลินท์ตรสั ว่า “พระคุณเจ้า ก็อะไรเป็นเหตุในเรอื่ งนีเ้ ล่า ซงึ่ เปน็ เหตทุ ี่ทิพยจักษุ

กณั ฑ์] ๔.๑ อทิ ธพิ ลวรรค 303

ยังเกิดได้ เมอ่ื ไดเ้ พกิ ถอนเหตเุ สียแล้ว เมอ่ื ไมม่ ีเหตุ คอื เม่ือไม่มีวตั ถแุ ล้ว เอาเถอะ ขอท่านจง
ชว่ ยท�ำใหโ้ ยมเข้าใจด้วยเหตุผลกอ่ นเถดิ ”
‘‘ก ึ ปน มหาราช อตถฺ ิ โลเก สจฺจ ํ นาม, เยน สจจฺ วาทโิ น สจฺจกิริยํ กโรนตฺ ’ี ’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร ในทางโลก ชนผู้เป็นสจั จ-
วาทที ง้ั หลาย ยอ่ มท�ำสัจกริ ิยาด้วยสัจจะใด สจั จะนั้น มอี ยู่หรอื ไม่ ?”
‘‘อาม ภนเฺ ต, อตถฺ ิ โลเก สจจฺ ํ นาม, สจฺเจน ภนฺเต นาคเสน สจจฺ วาทิโน สจจฺ -
กิริย ํ กตฺวา เทว ํ วสสฺ าเปนตฺ ,ิ อคฺคึ นิพพฺ าเปนฺติ, วิส ํ ปฏหิ นนตฺ ,ิ อ ฺ มฺป ิ วิวธิ ํ กตตฺ พฺพ ํ
กโรนฺต’ี ’ติ ฯ
พระเจ้ามิลินทต์ รัสว่า “ใช่ พระคณุ เจา้ ช่อื ว่าสัจจะมีอย่ใู นทางโลก พระคณุ เจา้ นาคเสน
ชนทง้ั หลายผู้เปน็ สัจจวาทีพากนั ท�ำสัจกริ ิยาแลว้ กย็ ่อมท�ำให้ฝนตก ท�ำให้ไฟดับ ก�ำจดั ยาพิษ
ได้ ย่อมกระท�ำกิจทค่ี วรท�ำมีประการตา่ ง ๆ แมอ้ ย่างอน่ื ไดด้ ้วยสจั จะ”
‘‘เตนหิ มหาราช ยชุ ฺชต ิ สเมติ สิวริ าชสสฺ สจจฺ พเลน ทพิ พฺ จกขฺ ูนิ อุปปฺ นนฺ านีต,ิ
สจฺจพเลน มหาราช อวตถฺ สุ ฺมึ ทิพพฺ จกฺขุ อุปปฺ ชฺชติ, สจฺจเํ ยว ตตฺถ วตฺถ ุ ภวต ิ
ทพิ ฺพจกขฺ สุ ฺส อุปฺปาทาย ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร ถ้าอยา่ งนัน้ ข้อทีพ่ ระเจา้ สพี ที รงเกิด
ทพิ ยจกั ษุ ดว้ ยก�ำลงั แห่งสจั จะ กย็ ่อมถกู ตอ้ ง สมควร ขอถวายพระพร เม่ือไมม่ วี ตั ถุ ทิพยจกั ษุ
ก็ยังเกิดได้ เพราะก�ำลังแห่งสัจจะ สัจจะนัน่ เองยอ่ มเป็นวตั ถเุ พือ่ ความเกดิ ขนึ้ แหง่ ทิพยจักษุ
ในท่ีน้นั
‘‘ยถา มหาราช เย เกจ ิ สตตฺ า สจฺจมนุคายนฺติ ‘มหาเมโฆ ปวสสฺ ตู’ติ, เตส ํ สห
สจฺจมนุคเี ตน มหาเมโฆ ปวสสฺ ติ, อปิ นุ โข มหาราช อตถฺ ิ อากาเส วสสฺ เหต ุ สนนฺ จิ โิ ต
‘เยน เหตนุ า มหาเมโฆ ปวสสฺ ตี’’ติ ?
ขอถวายพระพร เปรียบเหมอื นว่า สัตวเ์ หล่าใดเหล่าหนงึ่ กลา่ วสัจอธิษฐานวา่ ‘ขอฝน
หา่ ใหญ่จงโปรยปรายลงมา’ ดงั นี้ ฝนหา่ ใหญก่ ย็ ่อมโปรยปรายลงมาพรอ้ มกบั เสยี งกล่าวสจั -
อธษิ ฐานของสตั ว์เหลา่ นนั้ ขอถวายพระพร สัตวเ์ หล่าน้ันมกี ารส่งั สมเหตทุ ีท่ �ำใหฝ้ นตกไว้
ในอากาศ ดว้ ยคดิ วา่ ‘จะเปน็ เหตุใหฝ้ นห่าใหญต่ กลงมา’ ดงั น้ี หรือไร ?”

304 มิลนิ ทปญั หาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปัญห

‘‘น หิ ภนฺเต สจจฺ ํเยว ตตถฺ เหต ุ ภวต ิ มหโต เมฆสสฺ ปวสสฺ นายา’’ติ ฯ
พระเจา้ มิลินทต์ รัสว่า “หามิได้ พระคณุ เจ้า สัจจะนน่ั แหละเป็นเหตทุ ีท่ �ำให้ฝนห่าใหญ่
ตกลงมา”
‘‘เอวเมว โข มหาราช นตฺถ ิ ตสสฺ ปกติเหต,ุ สจฺจ ํ เยเวตถฺ วตฺถ ุ ภวต ิ ทิพพฺ -
จกขฺ ุสสฺ อปุ ฺปาทายาติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร ก็เหมอื นกันอย่างนน้ั นั่นแหละ พระเจ้า
สีพมี ไิ ดม้ ีเหตตุ ามปกติแหง่ ทิพยจักษนุ ้นั ในท่นี ้ี สัจจะนั่นเองเปน็ วัตถุ เพื่อความเกดิ ข้นึ แห่ง
ทพิ ยจักษุ”
‘‘ยถา วา ปน มหาราช เย เกจ ิ สตฺตา สจฺจมนคุ ายนตฺ ิ ‘ชลติ ปชชฺ ลติ มหาอคคฺ กิ -ฺ
ขนโฺ ธ ปฏนิ วิ ตฺตต’ู ติ, เตส ํ สห สจฺจมนุคีเตน ชลติ ปชชฺ ลติ มหาอคคฺ ิกฺขนฺโธ ขเณน
ปฏินวิ ตฺตติ ฯ อปิ น ุ โข มหาราช อตฺถิ ตสมฺ ึ ชลิตปชชฺ ลเิ ต มหาอคฺคิกขฺ นฺเธ เหตุ
สนนฺ จิ ิโต ‘เยน เหตนุ า ชลิตปชฺชลิตมหาอคฺคิกขฺ นฺโธ ขเณน ปฏนิ ิวตฺตต’ี ’ติ ?
ขอถวายพระพร เปรียบเหมอื นว่า สัตวเ์ หล่าใดเหล่าหน่ึงกล่าวสัจอธษิ ฐานว่า ‘ขอ
กองไฟใหญท่ ีก่ �ำลังลุกโพลง จงมอดไปเถดิ ’ ดงั น้ี กองไฟใหญ่ท่กี �ำลงั ลุกโพลง กย็ อ่ มมอดไป
ทนั ที พร้อมกบั เสียงกลา่ วสจั อธิษฐานของสัตวเ์ หล่าน้ัน ขอถวายพระพร สตั ว์เหล่านนั้ มีการ
สงั่ สมเหตใุ นกองไฟใหญท่ ่ลี ุกโพลงนนั้ ดว้ ยคิดวา่ ‘จะเป็นเหตุให้กองไฟใหญท่ ่กี �ำลังลกุ โพลง
มอดไปทนั ที’ ดังนี้หรอื ไร ?”
‘‘น ห ิ ภนเฺ ต สจฺจํเยว ตตถฺ วตถฺ ุ โหต ิ ตสสฺ ชลิตปชฺชลิตสสฺ มหาอคฺคิกขฺ นฺธสสฺ
ขเณน ปฏินิวตตฺ นายา’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลินท์ตรัสวา่ “หามไิ ด้ พระคณุ เจ้า สจั จะนน่ั เองเป็นวัตถแุ ห่งการมอดไปทนั ที
แห่งกองไฟใหญ่ที่ลุกโพลงน้ัน ในทีน่ ั้น”
‘‘เอวเมว โข มหาราช นตถฺ ิ ตสฺส ปกตเิ หตุ, สจฺจํเยเวตฺถ วตถฺ ุ ภวติ ทพิ ฺพจกฺขุสสฺ
อปุ ฺปาทายาติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร ก็เหมือนกนั อยา่ งนน้ั น่นั แหละ พระเจ้า
สีพนี น้ั มไิ ด้ทรงมเี หตตุ ามปกตแิ หง่ ทิพยจักษนุ นั้ สัจจะนน่ั เองเป็นท่ีตง้ั ในเร่ืองนี้ เพ่อื ความเกดิ
ขึ้นแหง่ ทิพยจักษุ”

กัณฑ์] ๔.๑ อทิ ธิพลวรรค 305

‘‘ยถา วา ปน มหาราช เย เกจิ สตฺตา สจจฺ มนุคายนตฺ ิ ‘วิส ํ หลาหลํ อคท ํ
ภวตู’ติ ฯ เตส ํ สห สจฺจมนุคเี ตน วิสํ หลาหลํ ขเณน อคท ํ ภวต,ิ อป ิ นุ โข มหาราช
อตถฺ ิ ตสมฺ ึ หลาหลวิเส เหต ุ สนนฺ ิจิโต ‘เยน เหตนุ า วสิ ํ หลาหล ํ ขเณน อคทํ ภวต’ี ’ติ ?
ขอถวายพระพรมหาบพิตร อีกอย่างหน่งึ เปรียบเหมือนวา่ สัตว์เหล่าใดเหล่าหน่งึ
กล่าวสัจอธษิ ฐานว่า ‘ขอพษิ ทร่ี ้ายแรง จงกลายเป็นยาถอนพิษไปเสยี เถิด’ ดงั นี้ พิษทีร่ ้ายแรงก็
มีอันกลายเปน็ ยาถอนพษิ ไปทนั ที พร้อมกับเสียงกลา่ วสจั อธิษฐานของสตั วเ์ หลา่ นน้ั ขอถวาย
พระพร สตั ว์เหล่าน้ันไดม้ ีอันส่ังสมเหตุในพิษที่รา้ ยแรงด้วยคดิ วา่ ‘จะเป็นเหตุให้กลายเป็นยา
ถอนพษิ ไปทันที’ ดงั นี้หรือไร ?”
‘‘น ห ิ ภนฺเต สจฺจํเยว ตตถฺ เหต ุ ภวติ วิสสฺส หลาหลสสฺ ขเณน ปฏฆิ าตายา’’ตฯิ
พระเจ้ามิลนิ ท์ตรสั ว่า “หามิได้พระคุณเจา้ ในที่น้ัน สัจจะนัน่ เองเปน็ เหตกุ �ำจดั พษิ รา้ ย
ไดท้ ันท”ี
‘‘เอวเมว โข มหาราช วนิ า ปกตเิ หตํ ุ สจจฺ ํ เยเวตฺถ วตฺถ ุ ภวติ ทพิ พฺ จกฺขุสสฺ
อปุ ปฺ าทายาติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร ก็เหมือนกันอย่างน้นั นน่ั แหละ เว้นเหตุ
ตามปกติเสีย สัจจะนัน่ เองเป็นวัตถุเพือ่ ความเกดิ ขนึ้ แหง่ ทพิ ยจกั ษ”ุ
‘‘จตุนฺนมฺป ิ มหาราช อริยสจฺจาน ํ ปฏเิ วธาย นตถฺ ฺ ํ วตถฺ ,ุ สจจฺ ํ วตฺถุ ํ กตฺวา
จตตฺ าร ิ อริยสจฺจานิ ปฏิวิชฌฺ นฺตีติ ฯ อตถฺ ิ มหาราช จีนวสิ เย จีนราชา, โส มหาสมทุ ฺเท
กฬี ติ ุกาโม จตุมาเส จตมุ าเส สจฺจกิรยิ ํ กตฺวา สห รเถน อนฺโตมหาสมทุ ฺเท โยชนํ ปวสิ ต,ิ
ตสฺส รถสีสสฺส ปรุ โต ปรุ โต มหาวาริกฺขนฺโธ ปฏกิ กฺ มต,ิ นกิ ฺขนตฺ สสฺ ปุน โอตฺถรติ,
อป ิ นุ โข มหาราช โส มหาสมุทโฺ ท สเทวมนุสฺเสนป ิ โลเกน ปกตกิ ายพเลน สกฺกา
ปฏิกกฺ มาเปตนุ ’ฺ ’ติ ?
ขอถวายพระพรมหาบพิตร วตั ถอุ ย่างอืน่ เพ่อื การรูแ้ จม่ แจ้งอรยิ สจั ท้งั ๔ อยา่ ง หามีไม่
บุคคลยอ่ มท�ำสัจจะให้เป็นวตั ถุทตี่ ้ังอาศยั แลว้ แทงตลอดอริยสัจ ๔ ได้ ขอถวายพระพร ใน
แควน้ จนี ะ มีพระราชาทรงพระนามว่าจีนะ พระเจา้ จีนะนัน้ ทรงประสงค์จะกรีฑาน้ำ� ใน
มหาสมุทร ทรงท�ำสัจกริ ยิ าแลว้ ทกุ ๆ ๔ เดือน เสดจ็ เขา้ ไปใตม้ หาสมุทรลึกหน่ึงโยชน์ พรอ้ ม
กบั รถทรง ห้วงนำ้� ใหญใ่ นที่ขา้ งหน้าหัวรถน้นั ยอ่ มแหวกออก เม่อื เสดจ็ ออกไปแล้ว หว้ งนำ�้
ใหญจ่ งึ รวมตัวกันใหม่ ขอถวายพระพร มหาสมุทรนนั้ สามารถท�ำให้แหวกออกไดด้ ้วยก�ำลัง

306 มลิ นิ ทปัญหาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปญั ห

ของรา่ งกายตามปกติของชาวโลกทีม่ ีพร้อมท้งั เทวดาและมนษุ ย์ หรือไร ?”
‘‘อติปริตตฺ เกป ิ ภนเฺ ต ตฬาเก อทุ กํ น สกฺกา สเทวมนสุ ฺเสนปิ โลเกน ปกติกาย-
พเลน ปฏิกกฺ มาเปต,ุํ ก ึ ปน มหาสมทุ เฺ ท อุทกนฺ”ติ ?
พระเจา้ มิลินท์ตรสั ว่า “พระคุณเจ้า น้ำ� ในสระแม้เลก็ ๆ ก็ไม่สามารถที่จะท�ำให้แหวก
ออกได้ดว้ ยก�ำลังของร่างกายตามปกตขิ องชาวโลกทมี่ พี รอ้ มท้ังเทวดาและมนษุ ย์ได้ จะกล่าว
ไปใยถงึ นำ้� ในมหาสมทุ รเล่า”
‘‘อิมินาป ิ มหาราช การเณน สจจฺ พล ํ าตพฺพ ํ ‘นตฺถ ิ ตํ าน,ํ ยํ สจเฺ จน น
ปตฺตพฺพนฺ’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร แมเ้ พราะเหตุน้ี ขอพระองค์พงึ ทราบ
ก�ำลงั แหง่ สัจจะเถดิ วา่ ‘ฐานะท่บี ุคคลจะพึงบรรลุดว้ ยสัจจะมไิ ด้ หามไี ม’่
‘‘นคเร มหาราช ปาฏลิปุตฺเต อโสโก ธมมฺ ราชา สเนคมชานปทอมจจฺ ภฏพล-
มหามตเฺ ตหิ ปรวิ ุโต คงคฺ ํ นท ึ นวสลลิ สมปฺ ุณฺณํ สมติตถฺ กิ ํ สมภฺ รติ ํ ป จฺ โยชนสตายาม ํ
โยชนปุถลุ ํ สนทฺ มานํ ทสิ วฺ า อมจฺเจ เอวมาห ‘อตถฺ ิ โกจิ ภเณ สมตโฺ ถ, โย อิม ํ มหาคงฺค ํ
ปฏิโสตํ สนทฺ าเปตุนฺ’ติ ฯ อมจฺจา อาหสํ ุ ‘ทุกฺกรํ เทวา’ติ ฯ
ขอถวายพระพร ทีเ่ มอื งปาฏลบี ตุ ร พระเจา้ อโศกธรรมราช ผ้ทู รงมหี มูอ่ �ำมาตย์ ข้าราช-
บริพาร มหาอ�ำมาตย์ พร้อมท้ังหมูช่ าวนคิ มชาวชนบททัง้ หลายแวดล้อม ทอดพระเนตรเห็น
แม่นำ�้ คงคาทีเ่ ตม็ เป่ียมดว้ ยนำ�้ ใหม่ ๆ ไหลเสมอทา่ ซึง่ ยาว ๕๐๐ โยชน์ กว้าง ๑ โยชน์ อยู่ จึง
รับสัง่ กับพวกอ�ำมาตย์ทั้งหลายอยา่ งนว้ี า่ ‘พนาย มใี ครทส่ี ามารถเพอ่ื จะท�ำมหาคงคาน้ีใหไ้ หล
ทวนกลบั บา้ งไหม ?’ พวกอ�ำมาตยก์ ก็ ราบทูลว่า ‘เป็นเรอ่ื งทที่ �ำได้ยาก พระเจา้ ขา้ ’
‘‘ตสมฺ ึเยว คงฺคากเู ล ติ า พนฺธมุ ต ี นาม คณิกา อสโฺ สส ิ ร ฺ า กิร เอว ํ วุตฺต ํ
‘สกกฺ า นุ โข อมิ ํ มหาคงคฺ ํ ปฏโิ สตํ สนฺทาเปตุน’ฺ ติ, สา เอวมาห ‘อห หฺ ิ นคเร ปาฏล-ิ
ปตุ ฺเต คณกิ า รปู ปู ชวี ินี อนฺตมิ ชีวิกา, มม ตาว ราชา สจฺจกริ ยิ ํ ปสสฺ ตู’ติ ฯ อถ สา
สจฺจกริ ิยํ อกาสิ, สห ตสสฺ า สจจฺ กริ ิยาย ขเณน สา มหาคงฺคา คฬคฬายนฺตี ปฏิโสตํ
สนทฺ ติ ฺถ มหโต ชนกายสฺส ปสสฺ โต ฯ
มีหญงิ โสเภณนี างหนงึ่ ชื่อวา่ พันธมุ ดี ยืนอยู่ที่ฝงั่ แมน่ ำ้� คงคานัน้ นั่นแหละ ไดส้ ดบั ข่าว
วา่ ‘พระราชาตรสั อยา่ งนี้ว่า ‘มใี ครสามารถพอทีจ่ ะท�ำมหาคงคานีใ้ ห้ไหลทวนกลับไดบ้ า้ งไหม’

กัณฑ]์ ๔.๑ อทิ ธพิ ลวรรค 307

ดังน้แี ลว้ จงึ กลา่ วกับพวกอ�ำมาตยอ์ ยา่ งนีว้ ่า ‘ฉันเปน็ หญิงโสเภณอี ย่ทู เี่ มืองปาฏลบี ุตร เปน็
ผ้ใู ช้รูปกายเลีย้ งชีพ มอี าชีพอันต�ำ่ ตอ้ ย แต่วา่ ขอพระราชาจงทรงทอดพระเนตรดสู ัจกริ ิยาของ
หม่อมฉนั เถดิ ล�ำดับนั้น หญิงโสเภณีนางน้ันได้ท�ำสจั จกริ ิยา มหาคงคาก็ไดไ้ หลทวนกลับทันที
ส่งเสยี งครืน ๆ พร้อมกบั การท�ำสัจกิริยาของนาง ตอ่ หน้าฝงู ชนหมู่ใหญ่ท่กี �ำลงั จ้องมองดอู ยู่
‘‘อถ ราชา คงคฺ าย อาวฏฏฺ อมู ิเวคชนิตํ หลาหลสททฺ ํ สตุ วฺ า วิมหฺ ิโต อจฺฉริยพภฺ ตุ -
ชาโต อมจฺเจ เอวมาห ‘กสิ สฺ าย ํ ภเณ มหาคงคฺ า ปฏโิ สต ํ สนทฺ ต’ี ติ ? ‘พนฺธมุ ต ี มหาราช
คณิกา ตว วจนํ สุตฺวา สจฺจกิรยิ ํ อกาสิ, ตสฺสา สจฺจกิรยิ าย มหาคงฺคา อทุ ฺธมํ ขุ า
สนทฺ ตี’ติ ฯ
ล�ำดับนน้ั พระราชาพอได้ทรงสดบั เสียงดงั สนั่นทีก่ �ำลงั ของคลนื่ ท่ีม้วนตวั กลบั มาท�ำให้
เกิดแล้วในแม่น้�ำคงคา กท็ รงหว่ันพระทัย ทรงเกิดความอศั จรรย์ ความแปลกพระทัย จงึ รบั สง่ั
กับพวกอ�ำมาตย์ว่า ‘ดูก่อนพนาย เพราะเหตไุ ร มหาคงคาน้ีจงึ ไหลทวนกลบั เล่า ?’ พวก
อ�ำมาตยก์ ราบทลู ว่า ‘ข้าแตม่ หาบพติ ร หญงิ โสเภณีชือ่ ว่าพนั ธุมดีได้ยินพระด�ำรสั ของพระองค์
จงึ ได้ท�ำสจั กิริยา เพราะสัจจกริ ิยาของนาง มหาคงคาจงึ ไหลม้วนตัวย้อนกลับมา พระเจา้ ข้า’
‘‘อถ สํวคิ ฺคหทโย ราชา ตุริตตรุ ิโต สยํ คนตฺ ฺวา ตํ คณิกํ ปจุ ฉฺ ิ ‘สจจฺ ํ กิร เช ตยา
สจฺจกริ ิยาย อย ํ คงคฺ า ปฏโิ สตํ สนทฺ าปติ า’ติ ? ‘อาม เทวา’ติ ฯ ราชา อาห ‘กึ เต ตตฺถ
พลํ อตถฺ ิ โก วา เต วจน ํ อาทิยติ อนุมมฺ ตโฺ ต, เกน ตวฺ ํ พเลน อิม ํ มหาคงฺค ํ ปฏิโสตํ
สนฺทาเปสี’ติ ? สา อาห ‘สจจฺ พเลนาหํ มหาราช อิมํ มหาคงคฺ ํ ปฏิโสตํ สนฺทาเปสิน’ฺ ติ ฯ
ราชา อาห ‘กึ เต สจฺจพล ํ อตฺถ ิ โจริยา ธตุ ฺตยิ า อสตยิ า ฉนิ นฺ กิ าย ปาปยิ า ภนิ นฺ สีลาย
หริ ิอติกฺกนตฺ ิกาย อนธฺ ชนปโลภกิ ายา’ติ ฯ ‘สจฺจํ มหาราช ตาทิสกิ า อหํ, ตาทสิ ิกายปิ เม
มหาราช สจฺจกริ ยิ า อตฺถิ, ยายาห ํ อจิ ฺฉมานา สเทวกมฺปิ โลก ํ ปรวิ ตฺเตยยฺ นฺ’ติ ฯ ราชา
อาห ‘กตมา ปน สา โหติ สจจฺ กิริยา, อิงฆฺ ม ํ สาเวหี’ติ ฯ ‘โย เม มหาราช ธนํ เทต ิ
ขตฺตโิ ย วา พรฺ าหมฺ โณ วา เวสโฺ ส วา สทุ โฺ ท วา อ โฺ วา โกจิ, เตส ํ สมกเํ ยว
อปุ ฏฺ หาม,ิ ‘‘ขตตฺ ิโย’’ติ วเิ สโส นตถฺ ิ ‘‘สทุ ฺโท’’ต ิ อติม ฺ นา นตฺถิ อนนุ ยปปฺ ฏฆิ วิปฺปมุตตฺ า
ธนสสฺ ามิก ํ ปรจิ รามิ, เอสา เม เทว สจจฺ กริ ยิ า, ยายาห ํ อิม ํ มหาคงคฺ ํ ปฏโิ สตํ
สนฺทาเปสนิ ’ฺ ติ ฯ
ล�ำดับนนั้ พระราชาทรงสลดพระหฤทัย รบี เสด็จไปหานางโสเภณผี ู้นั้น ดว้ ยพระองค์
เอง รงั ส่ังถามว่า ‘นเี่ ธอ ทราบว่า เธอสามารถท�ำแมน่ ้ำ� คงคานี้ใหไ้ หลทวนกลับได้ด้วยสัจกิรยิ า

308 มิลินทปญั หาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปญั ห

จรงิ หรือ ?’ หญงิ โสเภณจี ึงกราบทูลว่า ‘จริง พระเจา้ ข้า’ พระราชารับส่งั ว่า ‘ในการท�ำแม่นำ้�
คงคาใหไ้ หลยอ้ นกลบั นั้น เธอมอี ะไรเป็นก�ำลัง หรือว่าใครเปน็ ผู้ยอมรบั ท�ำตามค�ำของเธอ เธอ
ใชก้ �ำลังอะไรท�ำมหาคงคาน้ใี หไ้ หลยอ้ นกลบั ไปได้ ?’ หญงิ โสเภณีนั้นก็กราบทลู วา่ ‘ข้าแต่
มหาบพติ ร หม่อมฉันใช้ก�ำลงั สจั จะ ท�ำมหาคงคาน้ใี หไ้ หลย้อนกลบั ได้ พระเจา้ ขา้ ’ พระราชา
จึงตรัสว่า ‘ก�ำลงั สจั จะของเธอผู้เป็นนางโจร เป็นหญงิ นกั เลง ไมม่ สี ติ มีหริ ิอนั ขาดแลว้ เปน็
หญิงชัว่ มีศีลขาด ไม่มยี างอาย เทยี่ วประเลา้ ประโลมชนผูม้ ดื บอด มีอยูห่ รือ ?’ หญิงโสเภณี
กราบทลู ว่า ‘ข้าแตม่ หาบพิตร หม่อมฉนั เปน็ คนอยา่ งน้นั จริง หมอ่ มฉนั แม้วา่ เปน็ คนเชน่ นั้น
กม็ สี จั กิรยิ า พระเจ้าข้า เมอ่ื ตอ้ งการดว้ ยส่ิงใด หม่อมฉันกย็ ่อมเปลี่ยนแปลงโลกพร้อมท้ัง
เทวโลกได้ พระเจ้าขา้ ’ พระราชาตรัสว่า ‘สัจกิรยิ าของเธอน้นั เป็นไฉนเล่า ? ช่วยเลา่ ให้เราฟงั
หน่อย หญงิ โสเภณีจึงกราบทลู ว่า ‘ขา้ แตม่ หาบพติ ร ผู้ใดจะเปน็ กษัตรยิ ก์ ต็ าม เปน็ พราหมณ์
ก็ตาม เป็นแพศย์ก็ตาม เป็นศูทรกต็ าม จะเป็นผูใ้ ดผู้หนงึ่ ก็ตาม ใหท้ รพั ย์แก่หม่อมฉนั หมอ่ ม
ฉันยอ่ มบ�ำรงุ บ�ำเรอคนเหลา่ นนั้ เทา่ เทียมกันหมด ไม่มบี คุ คลพิเศษท่ีว่า ‘เปน็ กษัตริย’์ ไม่มี
บุคคลท่ีควรดหู ม่ินที่ว่า ‘เปน็ ศทู ร’ หม่อมฉนั มีจิตท่ีไมป่ ระกอบด้วยความยินดียินรา้ ย บ�ำรงุ
บ�ำเรอคนมีทรพั ยเ์ ทา่ เทยี มกนั ข้าแตพ่ ระองคผ์ ทู้ รงเป็นสมมตุ ิเทพ ขอ้ ทีว่ ่าน้ี เปน็ สัจกริ ิยาของ
หมอ่ มฉัน ซึง่ หมอ่ มฉนั ใช้ท�ำมหาคงคาใหไ้ หลทวนกลับ พระเจา้ ขา้ ’
‘‘อิติปิ มหาราช สจฺเจ ติ า น กิ ฺจิ อตฺถ ํ น วินฺทนตฺ ิ ฯ ทนิ ฺนาน ิ จ มหาราช
สวิ ริ าเชน ยาจกสสฺ จกขฺ นู ิ, ทิพฺพจกขฺ ูนิ จ อุปปฺ นนฺ าน,ิ ต ฺจ สจฺจกิริยาย ฯ ยํ ปน สุตฺเต
วตุ ตฺ ํ ‘มสํ จกขฺ สุ ฺมึ นฏเฺ อเหตสุ มฺ ึ อวตฺถสุ ฺม ึ นตฺถ ิ ทิพพฺ จกขฺ สุ สฺ อุปปฺ าโท’ติ ฯ ตํ
ภาวนามยํ จกฺขํุ สนฺธาย วุตฺต,ํ เอวเมต ํ มหาราช ธาเรหี’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร บุคคลท้งั หลายตัง้ อยใู่ นสัจจะแลว้ จะไม่ไดร้ บั ประโยชน์อะไร ๆ หามี
ไม่ แมด้ ว้ ยประการฉะน้ี ขอถวายพระพร พระเจา้ สพี ีพระราชทานพระจักษแุ ก่คนผขู้ อแล้ว แต่
ทิพยจักษกุ ย็ ังเกดิ ได้ ขอ้ นัน้ มไี ดเ้ พราะสัจกริ ยิ า ก็ค�ำทท่ี า่ นกลา่ วไว้ในพระสูตรวา่ ‘เมือ่ มงั ส-
จักษพุ ินาศไป เม่อื ไม่มเี หตุ ไมม่ วี ัตถุแล้ว ทพิ ยจกั ษุกห็ ามีอันเกดิ ข้นึ ไดไ้ ม่’ ดงั นใ้ี ด ค�ำนนั้ ทา่ น
กล่าวหมายเอา(ทิพย)จักษทุ ี่บังเกดิ ข้นึ เพราะการภาวนา ขอพระองค์จงทรงขอ้ นไี้ วอ้ ยา่ งนเ้ี ถดิ
มหาบพติ ร”
‘‘สาธุ ภนฺเต นาคเสน สนุ ิพเฺ พ ิโต ป ฺโห, สุนิทฺทฏิ โฺ นคิ คฺ โห, สุมทฺทติ า
ปรวาทา, เอวเมตํ ตถา สมปฺ ฏิจฉฺ าม’ี ’ติ ฯ

กณั ฑ]์ ๔.๑ อิทธพิ ลวรรค 309

พระเจ้ามลิ นิ ท์ตรสั วา่ “ดีจริง พระคุณเจ้านาคเสน ทา่ นได้แก้ปัญหาดแี ล้ว ท่านแสดง
ไขขอ้ ความได้ดีแลว้ ท่านได้ย�ำ่ ยีปรวาทะดแี ลว้ โยมขอยอมรบั ปญั หาน้ี ตามประการท่ที า่ นได้
กลา่ วไวน้ ั้น”


สิวิราชจกขฺ ุทานปญฺโห ปญจฺ โม ฯ
จบสวี ิราชจกั ขุทานปญั หาข้อท่ี ๕

________

๖. คพภฺ าวกกฺ นฺตปิ ญหฺ
๖. คัพภาวักกันตปิ ญั หา
ปญั หาว่าดว้ ยการกา้ วลงสูค่ รรภ์
[๖] ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน ภาสติ มฺเปต ํ ภควตา ‘ตณิ ฺณ ํ โข ปน ภิกขฺ เว สนนฺ ิปาตา
คพภฺ สสฺ อวกกฺ นฺติ โหติ, อิธ มาตาปติ โร จ สนฺนิปตติ า โหนตฺ ิ, มาตา จ อุตุน ี โหต,ิ
คนธฺ พฺโพ จ ปจฺจุปฏ ฺ ิโต โหต,ิ อิเมสํ โข ภิกขฺ เว ติณณฺ ํ สนฺนิปาตา คพภฺ สฺส อวกฺกนฺติ
โหต’ี ต,ิ อเสสวจนเมต,ํ นิสฺเสสวจนเมตํ, นิปปฺ รยิ ายวจนเมตํ, อรหสสฺ วจนเมต,ํ สเทว-
มนุสฺสานํ มชฺเฌ นสิ ีทติ ฺวา ภณติ ํ, อย ฺจ ทฺวินฺน ํ สนนฺ ปิ าตา คพภฺ สฺส อวกกฺ นตฺ ิ ทสิ สฺ ติ,
ทกุ เู ลน ตาปเสน ปาริกาย ตาปสยิ า อุตนุ กิ าเล ทกฺขเิ ณน หตฺถงคฺ ฏุ เฺ น นาภิ ปรามฏ ฺ า,
ตสสฺ เตน นาภปิ รามสเนน สามกุมาโร นพิ พฺ ตโฺ ต ฯ มาตงฺเคนาป ิ อิสินา พฺราหฺมณก ฺ าย
อตุ นุ ิกาเล ทกฺขิเณน หตฺถงฺคุฏฺเ น นาภ ิ ปรามฏฺ า, ตสสฺ เตน นาภปิ รามสเนน
มณฺฑพฺโย นาม มาณวโก นพิ ฺพตฺโตติ ฯ ยท ิ ภนฺเต นาคเสน ภควตา ภณติ ํ ‘ตณิ ฺณํ โข
ปน ภิกขฺ เว สนฺนปิ าตา คพภฺ สฺส อวกกฺ นฺติ โหตี’ติ ฯ เตนหิ สาโม จ กมุ าโร มณฑฺ พโฺ ย
จ มาณวโก อโุ ภปิ เต นาภปิ รามสเนน นิพพฺ ตฺตาติ ย ํ วจนํ, ตํ มิจฉฺ า ฯ ยทิ ภนฺเต
ตถาคเตน ภณติ ํ ‘สาโม จ กุมาโร มณฺฑพโฺ ย จ มาณวโก นาภปิ รามสเนน นพิ พฺ ตตฺ า’’ติ,
เตนห ิ ‘ติณฺณํ โข ปน ภกิ ฺขเว สนฺนิปาตา คพฺภสสฺ อวกกฺ นตฺ ิ โหตี’ต ิ ยํ วจน,ํ ตมปฺ ิ
มิจฉฺ า ฯ อยมปฺ ิ อุภโต โกฏโิ ก ป ฺโห สุคมภฺ โี ร สนุ ิปุโณ วิสโย พุทธฺ มิ นฺตานํ, โส
ตวานปุ ฺปตโฺ ต, ฉินฺท วิมติปถํ, ธาเรหิ าณวรปฺปชโฺ ชตน’ฺ ’ติ ฯ

310 มิลินทปญั หาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปัญห

[๖] พระเจา้ มลิ ินทต์ รัสถามว่า “พระคณุ เจ้านาคเสน พระผ้มู พี ระภาคเจ้าทรงภาษิต
ความขอ้ น้ีไวว้ ่า ‘ภิกษุท้งั หลาย การก้าวลงสู่ครรภย์ อ่ มมไี ด้เพราะการประชุมกันแหง่ เหตุ ๓
อย่าง คือ (๑) มารดาและบดิ าในโลกน้เี ปน็ ผู้ร่วมกัน (๒) มารดามีระด ู (๓) มสี ัตว์ปรากฏ ภิกษุ
ทั้งหลาย การก้าวลงสู่ครรภ์ เพราะความประชุมกนั แหง่ เหตุ ๓ อยา่ งเหล่าน้’ี ดงั น้ี ค�ำทีต่ รสั ไว้
น้ี เป็นค�ำที่หาส่วนเหลอื มิได้ ค�ำที่ตรสั ไว้นี้ ไมม่ ีสว่ นเหลอื ค�ำทต่ี รสั ไว้น้ี เปน็ ค�ำพดู โดยตรง น้ี
เปน็ ค�ำของทา่ นผเู้ ป็นพระอรหนั ต์ พระผ้มู พี ระภาคเจ้าประทบั นงั่ ตรัสค�ำนี้ ทา่ มกลางมนษุ ย์
พรอ้ มทง้ั เทวดาท้ังหลาย แต่ว่า การกา้ วลงส่คู รรภ์เพราะความประชุมกันแหง่ เหตุ ๒ อย่าง
(เวน้ การรว่ มกนั แห่งมารดากบั บดิ า) กม็ ีอยู่ คอื ขอ้ ทท่ี กุ ลู ดาบสใชน้ ิ้วหัวแม่มือข้างขวาลบู ไล้
สะดอื ของนางปารกิ าดาบสหญิงผู้ก�ำลงั มีระดู กเ็ พราะการทที่ กุ ลู ดาบสน้นั ใชน้ ว้ิ มือลูบไล้สะดือ
น้นั สามกุมารจึงบงั เกิด แมม้ าตังคฤษกี ใ็ ช้นิว้ หัวแมม่ ือขา้ งขวาลบู ไลส้ ะดือของนางกญั ญา
พราหมณใี นคราวมรี ะดู เพราะการทมี่ าตงั คฤษีน้นั ลบู ไล้สะดอื นัน้ มณั ฑพยมาณพ จึงบงั เกิด.
พระคณุ เจ้านาคเสน ถา้ หากวา่ พระผ้มู พี ระภาคเจา้ ตรสั ว่า ‘การก้าวลงส่คู รรภย์ อ่ มมี เพราะ
การประชุมกันแห่งเหตุ ๓ ประการ’ ดงั นี้ จรงิ ไซร้ ถา้ อยา่ งนนั้ ค�ำทวี่ า่ ‘สามกมุ าร มณั ฑพย
มาณพ คนทงั้ ๒ เหลา่ นั้น บงั เกดิ ได้ เพราะการลบู ไล้สะดือ’ ดังน้ี กเ็ ป็นพดู ทผ่ี ิด พระคณุ เจา้
ถ้าหากวา่ พระตถาคตตรสั ว่า ‘สามกมุ าร มัณฑพยมาณพ เกดิ ได้เพราะการลบู ไลส้ ะดือ’ ดังนี้
จริงไซร้ ถา้ อยา่ งนั้น ค�ำที่วา่ ‘การกา้ วลงสคู่ รรภย์ อ่ มมีได้ เพราะการประชุมแหง่ เหตุ ๓ อย่าง’
ดงั น้ี กเ็ ป็นค�ำพูดทผี่ ิด ปัญหานีม้ ี ๒ เงื่อน แสนจะลึกซ้งึ แสนจะละเอยี ด ปัญหานน้ั เป็นวิสัย
ของทา่ นผูร้ ู้เทา่ นั้น ตกถงึ แกท่ ่านตามล�ำดับแลว้ ขอท่านจงท�ำลายช่องทางความคลางแคลงใจ
ทรงไว้ซ่งึ ความสว่างไสวแหง่ ญาณอันประเสรฐิ เถิด”
‘‘ภาสิตมเฺ ปต ํ มหาราช ภควตา ‘ติณณฺ ํ โข ปน ภิกฺขเว สนฺนิปาตา คพภฺ สฺส
อวกกฺ นตฺ ิ โหต,ิ อธิ มาตาปิตโร จ สนนฺ ปิ ติตา โหนตฺ ,ิ มาตา จ อุตุน ี โหติ, คนธฺ พฺโพ จ
ปจจฺ ปุ ฏฺ ิโต โหติ, เอวํ ติณณฺ ํ สนฺนปิ าตา คพภฺ สสฺ อวกฺกนฺติ โหต’ี ติ ฯ ภณติ จฺ ‘สาโม
จ กมุ าโร มณฺฑพฺโย จ มาณวโก นาภิปรามสเนน นพิ ฺพตตฺ า’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร พระผู้มพี ระภาคเจ้าตรสั
ความขอ้ นไ้ี ว้ว่า ‘ภกิ ษทุ ้งั หลาย การกา้ วลงสคู่ รรภ์ ยอ่ มมีได้ เพราะประชมุ แหง่ เหตุ ๓ อย่าง
คอื (๑) มารดาและบดิ าในโลกนีเ้ ป็นผ้รู ่วมกนั (๒) มารดามรี ะดู (๓) มีสตั วป์ รากฏ, การก้าว
ลงสู่ครรภย์ ่อมมีได้ เพราะประชุมแหง่ เหตุ ๓ อย่าง อยา่ งน้ีแล’ ดงั นจี้ ริง และตรสั ไวว้ ่า ‘สาม
กุมาร และมัณฑพยมาณพ บังเกิดเพราะการลบู ไล้สะดอื ’ ดังนก้ี จ็ ริง”

กัณฑ]์ ๔.๑ อทิ ธพิ ลวรรค 311

‘‘เตนห ิ ภนเฺ ต นาคเสน เยน การเณน ป ฺโห สวุ ินจิ ฺฉิโต โหติ, เตน การเณน
มํ ส ฺ าเปห’ี ’ติ ฯ
พระเจ้ามิลนิ ทต์ รสั วา่ “ถา้ อยา่ งนน้ั พระคุณเจา้ นาคเสน ปัญหาเป็นอันถูกวนิ จิ ฉัย
ดแี ล้ว ดว้ ยเหตใุ ด ขอนิมต์ทา่ นช่วยท�ำให้โยมเข้าใจด้วยเหตผุ ลนั้นเถดิ ”
‘‘สตุ ปุพพฺ ํ ปน ตยา มหาราช สกํ จิ โฺ จ จ กมุ าโร อิสิสิงฺโค จ ตาปโส เถโร จ
กุมารกสฺสโป ‘อิมินา นาม เต นิพพฺ ตตฺ า’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร กพ็ ระองค์เคยทรงสดับมาบา้ งหรอื ไม่
ว่า บุคคล ๓ ท่านเหล่าน้ี คือ สงั กจิ จกุมาร อิสิสงิ คดาบส และพระกุมารกสั สปเถระ บคุ คลเหลา่
นัน้ บังเกดิ เพราะเหตุน”ี้
‘‘อาม ภนฺเต สุยยฺ ต,ิ อพภฺ ุคฺคตา เตส ํ ชาติ, เทฺว มคิ เธนุโย ตาว อุตนุ กิ าเล
ทวฺ นิ ฺนํ ตาปสานํ ปสฺสาวฏ ฺ านํ อาคนฺตฺวา สสมภฺ ว ํ ปสสฺ าว ํ ปิวึส,ุ เตน ปสฺสาวสมฺภเวน
สํกจิ ฺโจ จ กุมาโร อสิ สิ ิงโฺ ค จ ตาปโส นิพพฺ ตตฺ า ฯ เถรสสฺ อุทายสิ สฺ ภกิ ฺขุนปุ สสฺ ยํ
อุปคตสฺส รตตฺ จิตเฺ ตน ภกิ ฺขนุ ิยา องฺคชาตํ อุปนชิ ฌฺ ายนฺตสสฺ สมภฺ ว ํ กาสาเว มจุ ฺจิ ฯ
อถ โข อายสฺมา อทุ ายิ ต ํ ภกิ ฺขุน ึ เอตทโวจ ‘คจฉฺ ภคิน,ิ อทุ กํ อาหร อนฺตรวาสกํ
โธวสิ ฺสามี’ติ ฯ ‘อาหร’ยยฺ อหเมว โธวิสฺสาม’ี ติ ฯ ตโต สา ภกิ ขฺ นุ ี อุตุนสิ มเย ต ํ สมภฺ วํ
เอกเทสํ มุเขน อคคฺ เหสิ, เอกเทสํ องฺคชาเต ปกขฺ ิปิ, เตน เถโร กุมารกสสฺ โป
นิพพฺ ตฺโตต ิ เอตํ ชโน อาหา’’ติ ฯ
พระเจา้ มิลินทต์ รสั ว่า “ใช่ พระคุณเจ้า โยมไดฟ้ งั มา การเกดิ ของบุคคลเหลา่ น้ัน เป็นสิ่ง
น่าอศั จรรย์ คอื แม่เน้อื ๒ ตวั ในคราวมรี ะดู ไดม้ ายังสถานท่ีถา่ ยปัสสาวะของดาบส ๒ รูป ได้
ดม่ื กินนำ�้ ปัสสาวะปนนำ้� อสจุ ขิ องดาบสแล้ว สังกจิ จกุมารและอสิ สิ งิ คดาบส จึงได้บงั เกดิ เพราะ
น้ำ� อสุจใิ นปัสสาวะนัน้ เมื่อพระอุทายีเถระไดเ้ ขา้ ไปยงั ส�ำนกั ของภิกษุณีทัง้ หลาย มจี ติ ก�ำหนัด
ขณะเพ่งจ้องอวยั วะเพศของภกิ ษุณีรูปหนึง่ อยู่ กป็ ลอ่ ยน�้ำอสจุ อิ อกมาเปลื้อนผา้ กาสาวพัสตร์
ครั้งนนั้ แล ท่านพระอุทายีได้กล่าวกบั นางภิกษุณรี ูปนนั้ ว่า ‘น้องหญิง ช่วยไปน�ำน�ำ้ มาให้ที เรา
จะซักผ้าสบง ภิกษุณีกก็ ลา่ ววา่ ‘พระคณุ เจ้า พงึ น�ำมา ดฉิ นั จะซกั ใหเ้ อง’ ตอ่ จากนั้น นาง
ภกิ ษณุ รี ูปนัน้ ซ่ึงในสมยั นน้ั ก�ำลังมีระดู ก็ใชป้ ากคาบเอานำ�้ อสจุ ิน้นั ไว้ส่วนหนึ่ง ใสเ่ ขา้ ไปใน
อวัยวะเพศสว่ นหนง่ึ เพราะการกระท�ำนัน้ พระกุมารกสั สปเถระ จึงไดบ้ ังเกิดขน้ึ คนพดู ถงึ
เร่ืองนี้กัน ดว้ ยประการฉะน้”ี

312 มิลินทปัญหาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปญั ห

‘‘อป ิ นุ โข ตวฺ ํ มหาราช สททฺ หสิ ตํ วจนน’ฺ ’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร พระองค์ทรงเชอื่ ค�ำน้นั บ้างหรือไม่
หนอ ?”
‘‘อาม ภนฺเต พลว ํ ตตฺถ มยํ การณํ อุปลภาม, เยน มย ํ การเณน สททฺ หาม
‘อิมนิ า การเณน นิพฺพตตฺ า’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลนิ ทต์ รัสว่า “ใช่ พระคุณเจ้า โยมเช่ือ เพราะเหตุว่า ‘พวกชนเหลา่ นเ้ี กดิ เพราะ
เหตนุ ้’ี โยมไดเ้ หตทุ ี่มกี �ำลังในเรอ่ื งนัน้ ”
‘‘กึ ปเนตถฺ มหาราช การณนฺ”ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร กใ็ นเร่อื งนี้ มเี หตผุ ลอะไรหรือ ?”
‘‘สปุ รกิ มมฺ กเต ภนเฺ ต กลเล พีช ํ นปิ ติตวฺ า ขปิ ฺป ํ สวํ ิรหุ ตี’’ติ ฯ
พระเจา้ มิลนิ ทต์ รัสว่า “พระคณุ เจา้ พชื ทีห่ ว่านลงไปบนดินตรงที่เขาตระเตรียมไว้อยา่ ง
ดแี ลว้ ยอ่ มงอกงามไดเ้ รว็ มใิ ช่หรอื ?”
‘‘อาม มหาราชา’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ใช่ ขอถวายพระพรมหาบพติ ร”
‘‘เอวเมว โข ภนเฺ ต สา ภกิ ฺขุน ี อุตุนี สมานา สณฺ ิเต กลเล รหุ เิ ร ปจฉฺ ินฺนเวเค
ติ าย ธาตุยา ตํ สมฺภว ํ คเหตวฺ า ตสมฺ ึ กลเล ปกขฺ ปิ ิ, เตน ตสสฺ า คพโฺ ภ สณฺ าส,ิ เอว ํ
ตตฺถ การณ ํ ปจเฺ จม เตสํ นิพพฺ ตตฺ ยิ า’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ ินท์ตรัสว่า “พระคณุ เจา้ กเ็ หมอื นกันอยา่ งน้ันนัน่ แหละ ภิกษณุ ีรปู นั้นเปน็
หญิงมรี ะดู เม่ือเลือดในรังไข่ซ่ึงยังต้ังอยพู่ รอ้ มเพ่งิ ขาดไป เมือ่ ธาตุ (ระดู) ยงั ตง้ั อยู่ ถอื เอานำ�้
อสจุ ิใส่เขา้ ไปทร่ี งั ไข่น้นั เพราะฉะนนั้ ครรภข์ องภิกษุณนี ้นั จึงต้งั ขน้ึ พวกโยมอาศยั เหตแุ ห่ง
การเกิดข้นึ ของบุคคลเหล่านั้น ในเร่ืองนั้น อย่างนี้”
‘‘เอวเมต ํ มหาราช ตถา สมฺปฏจิ ฺฉามิ, โยนิปฺปเวเสน คพฺโภ สมฺภวตีติ ฯ
สมปฺ ฏิจฉฺ สิ ปน ตวฺ ํ มหาราช เถรสสฺ กมุ ารกสฺสปสฺส คพภฺ าวกกฺ มนนฺ’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร อาตมภาพก็ขอรบั รองความข้อนี้
เหมือนอย่างน้นั อยา่ งนวี้ า่ เพราะมีการใส่น้ำ� อสุจเิ ขา้ ไปทางอวัยวะเพศหญิง ครรภจ์ ึงเกิดมขี ้ึน
มหาบพิตร พระองค์ทรงยอมรบั ว่า พระกมุ ารกสั สปเถระมกี ารหยงั่ ลงสคู่ รรภ์ตามประการ

กณั ฑ]์ ๔.๑ อทิ ธพิ ลวรรค 313

ดงั กล่าวมานี้ หรือ ?”
‘‘อาม ภนเฺ ต’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ ินทต์ รสั วา่ “ใช่ พระคณุ เจา้ โยมยอมรบั ”
‘‘สาธ ุ มหาราช ปจฺจาคโตสิ มม วิสยํ, เอกวิเธนป ิ คพภฺ าวกกฺ นตฺ ึ กถยนโฺ ต
มมานพุ ล ํ ภวสิ ฺสสิ, อถ ยา ปน ตา เทวฺ มคิ เธนโุ ย ปสสฺ าวํ ปิวิตวฺ า คพฺภ ํ ปฏิลภสึ ุ,
ตาสํ ตฺวํ สทฺทหสิ คพภฺ สฺสาวกกฺ มนนฺ’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ดีแล้ว มหาบพิตร ถ้าอยา่ งนนั้ ขอพระองค์จงทรงกลับ
มายังวิสยั (แนวทางความคิด) ของอาตมา พระองคเ์ มื่อตรสั ยอมรบั การก้าวลงสู่ครรภ์ แมโ้ ดย
วธิ กี ารหนึง่ กจ็ กั เป็นอันคลอ้ ยตามก�ำลังของอาตมภาพ เมอ่ื เป็นเชน่ น้ัน ขอ้ ทีว่ า่ แมเ่ นือ้ ๒ ตวั
น้ันดมื่ น้�ำปสั สาวะแลว้ ได้การตง้ั ครรภ์ พระองค์ก็ทรงเช่ือแลว้ สิว่า มีการกา้ วลงสคู่ รรภ์แห่งแม่
เนื้อทง้ั ๒ ตวั นน้ั จรงิ ?”
‘‘อาม ภนเฺ ต ยํ ก ิ จฺ ิ ภตุ ตฺ ํ ปตี ํ ขายติ ํ เลหิต,ํ สพฺพ ํ ตํ กลล ํ โอสรต,ิ านคต ํ
วฑุ ฒฺ มิ าปชชฺ ติ ฯ ยถา ภนเฺ ต นาคเสน ยา กาจิ สรติ า นาม, สพพฺ า ตา มหาสมุททฺ ํ
โอสรนตฺ ,ิ านคตา วฑุ ฺฒมิ าปชชฺ นฺติ ฯ เอวเมว โข ภนเฺ ต นาคเสน ยํ กิ ฺจ ิ ภตุ ตฺ ํ ปีต ํ
ขายติ ํ เลหิต,ํ สพพฺ ํ ตํ กลล ํ โอสรติ, านคตํ วุฑฒฺ มิ าปชชฺ ติ, เตนาห ํ การเณน
สททฺ หาม ิ มุขคเตนปิ คพฺภสสฺ อวกฺกนตฺ ิ โหตี’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ ินท์ตรัสว่า “ใชแ่ ลว้ พระคุณเจา้ โยมเช่อื สิ่งทก่ี ินแลว้ ด่มื แลว้ เคีย้ วแล้ว ลิ้ม
แล้ว อย่างใดอย่างหนึง่ สง่ิ นนั้ ทง้ั หมดยอ่ มหยัง่ ลงสรู่ ังไข่ได้ ถงึ สถานที่แลว้ ย่อมถงึ ความเจริญ
พระคุณเจ้านาคเสน เปรยี บเหมือนวา่ ข้ึนช่ือว่าแม่น�ำ้ ทั้งหลายเหลา่ ใดเหล่าหนงึ่ แม่นำ้� ทงั้ หมด
เหล่าน้นั ย่อมไหลลงไปสูม่ หาสมทุ ร ถงึ สถานที่แลว้ ยอ่ มถึงความเจริญ ฉันใด พระคณุ เจา้
นาคเสน สงิ่ ใดสิง่ หนง่ึ ทีไ่ ด้กนิ แล้ว ดื่มแลว้ เคีย้ วกินแล้ว ล้ิมแล้ว ส่งิ นั้นทง้ั หมด ย่อมหยั่งลง
สรู่ ังไข่ได้ ถึงสถานท่แี ล้ว ยอ่ มถึงความเจริญ ฉนั นัน้ น่ันแหละ เพราะเหตผุ ลขอ้ นัน้ โยมจึงเช่ือ
ว่า การหยัง่ ลงสคู่ รรภ์ ยอ่ มมไี ด้ แม้ดว้ ยปสั สาวะปนนำ�้ อสุจทิ เี่ ข้าไปทางปาก”

314 มิลินทปญั หาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปัญห

‘‘สาธ ุ มหาราช, คาฬหฺ ตรํ อุปคโตสิ มม วสิ ย,ํ มุขปาเนนป ิ ทวฺ ยสนฺนปิ าโต ภวติ
ฯ สงฺกจิ จฺ สฺส จ มหาราช กมุ ารสสฺ อสิ ิสงิ คฺ สสฺ จ ตาปสสฺส เถรสสฺ จ กุมารกสสฺ ปสสฺ
คพภฺ าวกฺกมน ํ สมฺปฏิจฺฉส’ี ’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “สาธุ มหาบพิตร พระองค์ทรงเข้าถงึ วิสยั ของอาตมา
อย่างหนกั แนน่ แม้มกี ารประชุมกันแหง่ เหตุ ๒ อย่าง แม้โดยการใช้ปากด่มื ขอถวายพระพร
ขอพระองค์จงทรงยอมรับการกา้ วลงส่คู รรภ์ของสงั กจิ จกมุ าร อสิ ิสิงคดาบส และพระกมุ าร-
กัสสปะเถระ”
‘‘อาม ภนเฺ ต สนฺนิปาโต โอสรตี’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ ินท์ตรัสวา่ “ใช่ พระคุณเจา้ การประชมุ กนั กม็ กี ารหยงั่ ลงส่คู รรภ์ได”้
‘‘สาโมปิ มหาราช กมุ าโร มณฑฺ พโฺ ยปิ มาณวโก ตสี ุ สนฺนิปาเตส ุ อนฺโตคธา,
เอกรสาเยว ปุริเมน, ตตถฺ การณ ํ วกขฺ ามิ ฯ ทกุ ูโล จ มหาราช ตาปโส ปารกิ า จ
ตาปส ี อโุ ภปิ เต อร ฺ วาสา อเหส ํุ ปวเิ วกาธมิ ุตฺตา อตุ ตฺ มตถฺ คเวสกา, ตปเตเชน ยาว
พรฺ หมฺ โลกํ สนฺตาเปสุํ ฯ เตส ํ ตทา สกฺโก เทวานมนิ ฺโท สาย ํ ปาตํ อปุ ฏฺ านํ อาคจฺฉติ ฯ
โส เตสํ ครกุ ตเมตตฺ ตาย อุปธาเรนฺโต อทฺทส อนาคตมทธฺ าเน ทฺวินฺนมปฺ ิ เตส ํ จกขฺ นู ํ
อนฺตรธานํ, ทสิ ฺวา เต เอวมาห ‘เอกํ เม โภนฺโต วจน ํ กโรถ, สาธุ เอก ํ ปุตฺต ํ
ชเนยฺยาถ, โส ตมุ หฺ ากํ อปุ ฏฺ าโก ภวสิ ฺสติ อาลมพฺ โน จา’ติ ฯ ‘อล ํ โกสิย, มา เอวํ ภณ’ี ติ
ฯ เต ตสฺส ต ํ วจนํ น สมปฺ ฏิจฉฺ ึสุ ฯ อนกุ มปฺ โก อตฺถกาโม สกฺโก เทวานมนิ ฺโท ทุตยิ มปฺ ิ…
เป.… ตติยมปฺ ิ เต เอวมาห ‘เอก ํ เม โภนโฺ ต วจน ํ กโรถ, สาธ ุ เอก ํ ปุตฺต ํ ชเนยฺยาถ,
โส ตมุ ฺหาก ํ อปุ ฏฺ าโก ภวสิ สฺ ติ อาลมพฺ โน จา’ติ ฯ ตติยมปฺ ิ เต อาหํสุ ‘อลํ โกสิย มา
ตวฺ ํ โข อมฺเห อนตฺเถ นิโยเชหิ กทาย ํ กาโย น ภชิ ชฺ สิ ฺสติ, ภิชชฺ ตุ อย ํ กาโย
เภทนธมฺโม, ภิชฺชนฺติยาปิ ธรณิยา ปตนฺเตปิ เสลสิขเร ผลนเฺ ตปิ อากาเส ปตนฺเตปิ
จนฺทมิ สรู เิ ย เนว มย ํ โลกธมเฺ มหิ มสิ ฺสยสิ ฺสาม, มา ตวฺ ํ อมหฺ ากํ สมฺมุขภาวํ อปุ คจฉฺ ,
อุปคตสสฺ เต เอโส วิสฺสาโส, อนตฺถจโร ตวฺ ํ ม เฺ ’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร แมส้ ามกุมาร แมม้ ณั ฑพยมาณพ ก็นบั
เนือ่ งในเหตุ ๓ อย่างประชุมกนั มีอาการเดยี วกันกบั บคุ คลก่อน ๆ นั่นแหละ อาตมภาพจัก
กลา่ วถงึ เหตใุ นการเกดิ (แห่งบคุ คลเหลา่ น้นั ) ขอถวายพระพร มีเรอื่ งวา่ มีบคุ คล ๒ คนน้ัน คอื
ทกุ ลู ดาบส และนางปารกิ าดาบสหญิง ได้อาศยั อย่ใู นปา่ มจี ติ น้อมไปในวิเวก เป็นผูแ้ สวงหา

กัณฑ์] ๔.๑ อทิ ธพิ ลวรรค 315

ประโยชน์สูงสดุ มีเดชตบะ ท�ำโลกให้ร้อนไปตลอดถงึ พรหมโลกได้ ในกาลนัน้ ทา้ วสักกะผเู้ ปน็
จอมเทพไดเ้ สดจ็ มาสูท่ บ่ี �ำรงุ ของบคุ คลทง้ั ๒ เหล่านนั้ ทั้งตอนเยน็ ท้งั ตอนเชา้ เพราะมีความ
เมตตาหนกั แนน่ ต่อบคุ คลเหล่านน้ั ท้าวสักกะน้นั จึงทรงตรวจสอบ กท็ รงพบว่า ในอนาคต
จักษุทั้ง ๒ ข้างของคนเหล่านั้น จักมืดบอด ครัน้ ทรงพบแลว้ ก็ตรัสกบั คนท้ัง ๒ เหลา่ นน้ั วา่
ทา่ นผูเ้ จริญทั้งหลาย ขอทา่ นท้ังสอง จงท�ำตามค�ำของโยมสกั อย่างหนงึ่ เถดิ คอื ว่า จะเป็นการ
ดี ถ้าท่านพงึ ให้ก�ำเนดิ บุตรสกั คนหนึง่ เขาจกั เปน็ ผ้ทู �ำนบุ �ำรงุ และเอาใจใสพ่ วกทา่ น คนเหลา่
น้นั ทลู ตอบวา่ อย่าเลย ท่านทา้ วโกสยี ์ พระองคอ์ ย่าได้ตรสั อย่างนี้เลย คนเหล่านนั้
ไม่ยอมรับค�ำขอร้องน้นั ของทา้ วสักกะนนั้ ท้าวสกั กะผเู้ ปน็ จอมเทพผทู้ รงมีพระทยั อนุเคราะห์
ใคร่ประโยชน์ ไดต้ รสั กบั บคุ คลเหลา่ นัน้ แม้เปน็ ครงั้ ท่ี ๒ แมเ้ ปน็ คร้ังที่ ๓ ว่า ท่านผู้เจริญท้งั
หลาย ขอทา่ นทงั้ สองจงท�ำตามค�ำของโยมสักอย่างหนึ่งเถิด คอื วา่ จะเปน็ การดถี ้าทา่ นพึงให้
ก�ำเนดิ บตุ รสักคนหนง่ึ เขาจกั เป็นผู้ท�ำนุบ�ำรุงและเอาใจใส่พวกทา่ น คนเหล่านั้นกท็ ลู ตอบแม้
เปน็ ครั้งท่ี ๓ วา่ อยา่ เลยทา่ นท้าวโกสีย์ พระองคอ์ ยา่ ได้ตรัสชกั ชวนพวกอาตมาในเรอื่ งไร้
ประโยชน์เลย ในกาลไหน ๆ กายนีจ้ กั ยงั ไม่แตกท�ำลาย ขอใหก้ ายท่ีมคี วามแตกท�ำลายเป็น
ธรรมดาน้ี จงแตกท�ำลายไปเถอะ แม้เมือ่ ธรณีจะลม่ สลายไป แม้เมอ่ื ภูเขาหินจะไสล้ลงไป แม้
เม่ืออากาศจะพลกิ กลับไป แม้เมื่อดวงจันทรด์ วงอาทติ ย์จะตกไป พวกอาตมภาพก็จักไม่ขอ
คลุกคลอี ย่ดู ้วยโลกธรรมท้ังหลาย ขอพระองค์จงอย่าเสด็จเขา้ ใกล้สคู่ วามเป็นผอู้ ยู่ตรงหน้า
ของพวกอาตมา ความสนิทสนมกับพระองคผ์ ใู้ กลช้ ิดน้ี ดูเหมอื นวา่ มแี ตจ่ ะประพฤตสิ ิ่งทไี่ ร้
ประโยชน”์
ตโต สกโฺ ก เทวานมนิ ฺโท เตส ํ มนํ อลภมาโน ครกุ โต ป ชฺ ลิโก ปุน ยาจ ิ ‘ยทิ
เม วจนํ น อสุ ฺสหถ กาตํุ, ยทา ตาปส ี อตุ นุ ี โหต ิ ปปุ ฺผวตี, ตทา ตฺวํ ภนเฺ ต ทกขฺ ิเณน
หตฺถงคฺ ุฏฺเ น นาภึ ปรามเสยยฺ าส,ิ เตน สา คพฺภ ํ ลจฺฉติ, สนนฺ ปิ าโตเยเวส คพฺภา-
วกกฺ นฺตยิ า’ติ ฯ ‘สกฺโกมหํ โกสิย ตํ วจนํ กาตํุ, น ตาวตเกน อมฺหากํ ตโป ภิชฺชติ,
โหตู’ติ สมฺปฏจิ ฺฉสึ ุ ฯ ตาย จ ปน เวลาย เทวภวเน อตถฺ ิ เทวปตุ ฺโต อสุ ฺสนฺนกสุ ลมโู ล
ขณี ายุโก อายุกขฺ ยปฺปตโฺ ต ยทิจฉฺ กํ สมตโฺ ถ โอกกฺ มิตํ ุ อป ิ จกกฺ วตตฺ กิ ุเลปิ ฯ อถ สกฺโก
เทวานมนิ ฺโท ต ํ เทวปุตตฺ ํ อปุ สงฺกมติ วฺ า เอวมาห ‘เอห ิ โข มาริส, สุปภาโต เต ทวิ โส,
อตฺถสทิ ฺธิ อุปคตา, ยมหํ เต อปุ ฏ ฺ านมาคม,ึ รมณีเย เต โอกาเส วาโส ภวสิ สฺ ติ, ปตริ ูเป
กเุ ล ปฏิสนธฺ ิ ภวสิ ฺสติ, สนุ ฺทเรห ิ มาตาปิตหู ิ วฑเฺ ฒตพฺโพ, เอหิ เม วจนํ กโรห’ี ต ิ ยาจิ ฯ
ทตุ ิยมปฺ …ิ เป.… ตตยิ มฺป ิ ยาจ ิ สิรส ิ ป ฺชลิกโต ฯ

316 มิลนิ ทปัญหาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปัญห

ในล�ำดับนนั้ ท้าวสกั กะผูเ้ ปน็ จอมเทพ เมอ่ื ทรงชกั จงู ใจของคนเหลา่ นน้ั ไมไ่ ด้ กท็ รง
ท�ำความเคารพ ประคองอญั ชลี ขอร้องอกี ครง้ั ว่า “ถา้ หากทา่ นทัง้ ๒ ไม่ขวนขวายท�ำตามค�ำ
ของโยม เวลาใด ท่านดาบสหญงิ เกดิ มรี ะดู ท่านผู้เจริญ ในเวลานนั้ ท่านจงใช้น้ิวหัวแม่มือข้าง
ขวาลบู ไลส้ ะดือเถดิ ดาบสหญิงนนั้ จักตั้งครรภ์ เพราะการกระท�ำนนั้ นี้เปน็ การประชุมกนั เพือ่
การก้าวลงสู่ครรภ์เหมือนกัน” ดังนี ้ ท่านเหล่านัน้ รบั ปากวา่ “ท่านท้าวโกสยี ์ โยมอาจท�ำตาม
ค�ำของทา่ นได้ เพราะด้วยการกระท�ำเพียงเทา่ นี้ ตบะของพวกอาตมาจะไม่แตกเสยี หาย” ดังนี้
ก็แลในเวลานนั้ ทภ่ี พเทวดา มเี ทพบุตรองค์หนง่ึ ผมู้ ีกศุ ลมลู หนาแน่น สิ้นอายุ ถงึ อายขุ ัยแล้ว
สามารถที่จะก้าวลง แม้ในตระกลู พระเจา้ จกั รพรรดไิ ด้ตามท่ีปรารถนา ล�ำดบั นน้ั ท้าวสักกะผู้
เปน็ จอมเทพเสดจ็ เขา้ ไปหาเทพบตุ รองค์นัน้ แลว้ รบั ส่ังอยา่ งน้ีว่า “มาเถิด ทา่ นผนู้ ริ ทกุ ข์ วนั นี้
เปน็ วนั ฤกษ์ดขี องทา่ น ท่านจะบรรลคุ วามส�ำเร็จประโยชน์ เรามาสทู่ ่บี �ำรงุ ของทา่ นใด การอยู่
ในโอกาสท่นี ่ารน่ื รมยจ์ กั มแี ก่ทา่ น ทา่ นจักมกี ารปฏสิ นธิในตระกูลท่ีสมควร ท่านจะพึงเจรญิ
เติบโตดว้ ยมารดาและบดิ าผู้ดีงาม มาเถอะ ขอท่านจงท�ำตามค�ำของเรา” ดงั นี้ ทา้ วสกั กะผเู้ ป็น
จอมเทพไดท้ รงประคองอัญชลีเหนอื พระเศยี ร ตรัสขอรอ้ งถึง ๒ - ๓ คร้ัง
ตโต โส เทวปตุ โฺ ต เอวมาห ‘กตม ํ ต ํ มาริส กุล,ํ ย ํ ตวฺ ํ อภิกขฺ ณ ํ กิตตฺ ยสิ
ปุนปปฺ นุ นฺ’ติ ฯ ‘ทุกูโล จ ตาปโส ปาริกา จ ตาปสี’ติ ฯ โส ตสฺส วจนํ สตุ วฺ า ตุฏฺโ
สมปฺ ฏิจฺฉ ิ ‘สาธ ุ มารสิ , โย ตว ฉนโฺ ท, โส โหตุ, อากงฺขมาโน อห ํ มารสิ ปตถฺ ิเต กเุ ล
อุปปฺ ชเฺ ชยยฺ ํ, กมิ หฺ ิ กุเล อุปฺปชฺชามิ อณฑฺ เช วา ชลาพุเช วา สเํ สทเช วา โอปปาตเิ ก
วา’ติ ? ‘ชลาพุชาย มารสิ โยนิยา อปุ ปฺ ชฺชาหี’ติ ฯ อถ สกฺโก เทวานมนิ โฺ ท อุปฺปตตฺ ทิ วิ ส ํ
วิคเณตฺวา ทุกลู สสฺ ตาปสสฺส อาโรเจสิ ‘อสกุ สฺมึ นาม ทิวเส ตาปสี อุตนุ ี ภวสิ สฺ ติ
ปุปผฺ วต,ี ตทา ตวฺ ํ ภนเฺ ต ทกฺขิเณน หตฺถงคฺ ุฏเฺ น นาภึ ปรามเสยฺยาส’ี ติ ฯ ตสมฺ ึ มหาราช
ทิวเส ตาปสี จ อุตนุ ี ปุปฺผวต ี อโหส,ิ เทวปุตโฺ ต จ ตตฺถูปโค ปจฺจุปฏฺ โิ ต อโหสิ, ตาปโส
จ ทกฺขเิ ณน หตฺถงคฺ ฏุ ฺเ น ตาปสยิ า นาภึ ปรามส,ิ อติ ิ เต ตโย สนนฺ ปิ าตา อเหสุ,ํ
นาภิปรามสเนน ตาปสยิ า ราโค อุทปาท,ิ โส ปนสสฺ า ราโค นาภปิ รามสนํ ปฏิจจฺ มา
ตวฺ ํ สนฺนปิ าต ํ อชฺฌาจารเมว ม ฺ ,ิ อูหสนมปฺ ิ สนฺนิปาโต, อลุ ฺลปนมฺป ิ สนนฺ ปิ าโต,
อปุ นชิ ฺฌายนมฺป ิ สนฺนปิ าโต, ปุพพฺ ภาคภาวโต ราคสฺส อปุ ฺปาทาย อามสเนน สนฺนปิ าโต
ชายต,ิ สนนฺ ิปาตา โอกกฺ มนํ โหตตี ิ ฯ
ตอ่ จากนน้ั เทพบตุ รองคน์ ัน้ ได้กราบทลู อยา่ งน้วี ่า ‘ขา้ แต่พระองคผ์ ู้นิรทกุ ข์ พระองค์
ทรงยกย่องตระกูลไหนเนอื ง ๆ พระเจา้ ขา้ ’ ท้าวสักกะตรสั ตอบว่า ‘ทุกลู ดาบส และนางปาริกา

กณั ฑ์] ๔.๑ อิทธพิ ลวรรค 317

ดาบสหญิง’ เทพบตุ รองค์น้ันพอได้สดบั ค�ำของทา่ นท้าวสกั กะนัน้ ก็ยนิ ดี รบั ค�ำ กล่าวว่า
‘ข้าแต่พระองค์ผู้นริ ทุกข์ ความพอพระทยั ของพระองคด์ ีจริง พระเจา้ ข้า ขา้ พระองค์ก็หวงั จะ
เกดิ ในตระกลู ทีต่ นปรารถนา คิดอยวู่ ่า เราจะเกิดในตระกูลไหน ในตระกูลทเ่ี ปน็ อัณฑชะ หรือ
ว่าทเี่ ป็นชลาพุชะ หรอื ว่าท่เี ป็นสงั เสทชะ หรอื ว่าทเ่ี ปน็ โอปปาตกิ ะ ดงั น.้ี ทา่ นท้าวสักกะตรสั
วา่ ทา่ นผู้นริ ทุกข์ ขอท่านจงเกดิ ในชลาพุชะก�ำเนดิ เถิด คร้ังน้นั ท่านทา้ วสกั กะจอมเทพทรง
ค�ำนวณวันท่ีเทพบุตรจะไปเกิดไวแ้ ล้ว ทรงแจ้งข่าวแกท่ ุกลู ดาบสวา่ ดาบสหญงิ จะมีระดใู นวัน
โนน้ ทา่ นผเู้ จรญิ ถึงตอนนนั้ ขอทา่ นจงใชห้ ัวแมม่ อื ขา้ งขวาลบู ไลท้ ่ีสะดอื เถดิ ดงั นี้ ขอถวาย
พระพร เมอ่ื วันนน้ั มาถึง ดาบสหญงิ กไ็ ดเ้ ป็นผมู้ ีระดู เทพบตุ รกไ็ ดเ้ ขา้ ไปปรากฏตัวในที่นน้ั
และท่านดาบสก็ไดใ้ ช้หวั แม่มือขา้ งขวาลูบไลท้ ี่สะดือของดาบสหญิง ดว้ ยประการฉะน้ี จึงได้มี
เหตุ ๓ อยา่ งเหลา่ นั้นมาประชมุ กัน นางดาบสหญงิ ไดเ้ กิดราคะ เพราะการลบู ไลส้ ะดือ กร็ าคะ
น้นั ของดาบสหญงิ นนั้ ย่อมเกิดเพราะอาศยั การลูบไล้สะดอื ขอพระองคอ์ ยา่ ทรงส�ำคัญการรว่ ม
กันน้ันวา่ เป็นอัชฌาจารเลย แมแ้ ตก่ ารหวั เราะ กจ็ ัดวา่ เป็นการร่วมกันได้ แมก้ ารพูดกัน ก็จัด
ว่าเป็นการร่วมกันได้ แมก้ ารเพง่ จอ้ งกัน กจ็ ดั ว่าเปน็ การรว่ มกันได้ ย่อมเกิดการรว่ มกัน เพราะ
การเกดิ ขึน้ แหง่ ราคะทจ่ี ับต้อง เพราะมีส่วนเบอ้ื งตน้ และเพราะมีการร่วมกนั กย็ อ่ มมกี ารกา้ ว
ลงสูค่ รรภ์แล
‘‘อนชฌฺ าจาเรปิ มหาราช ปรามสเนน คพฺภาวกกฺ นตฺ ิ โหติ ฯ ยถา มหาราช อคฺค ิ
ชลมาโน อปรามสโนปิ อปุ คตสสฺ สตี ํ พฺยปหนตฺ ิ, เอวเมว โข มหาราช อนชฺฌาจาเรปิ
ปรามสเนน คพภฺ าวกกฺ นฺติ โหติ ฯ
ขอถวายพระพร การกา้ วลงส่คู รรภย์ ่อมมไี ด้ เพราะการลูบคล�ำ แมไ้ มถ่ ึงข้ันเปน็ อชั ฌา-
จาร ขอถวายพระพรมหาบพิตร ไฟทลี่ ุกโพลง ไมแ่ ตะถงึ ตวั ยอ่ มขจัดความเยน็ แห่งสิ่งทีเ่ ข้า
ใกล้ได้ ฉันใด การกา้ วลงสคู่ รรภ์ย่อมมีได้เพราะการลบู ไล้ แมท้ ่ไี มถ่ ึงขั้นเปน็ อัชฌาจาร ฉันนั้น
‘‘จตุนนฺ ํ มหาราช วเสน สตฺตาน ํ คพฺภาวกฺกนฺต ิ โหติ กมมฺ วเสน โยนวิ เสน
กลุ วเสน อายาจนวเสน, อปจิ สพเฺ พเปเต สตตฺ า กมมฺ สมภฺ วา กมฺมสมุฏฺ านา ฯ
ขอถวายพระพร การกา้ วลงสู่ครรภแ์ หง่ สัตว์ทง้ั หลาย ย่อมมีไดด้ ้วยอ�ำนาจแห่งเหตุ ๔
อยา่ ง คือ (๑) ด้วยอ�ำนาจแหง่ กรรม (๒) ดว้ ยอ�ำนาจแห่งอาการทีเ่ กดิ (๓) ด้วยอ�ำนาจแห่ง
ตระกูล (๔) ดว้ ยอ�ำนาจแหง่ การร้องขอ แมส้ ตั วท์ งั้ หลายทง้ั ปวงเหลา่ น้ี จะเป็นผมู้ ีกรรมเป็น
แดนเกิด มกี รรมเปน็ เหตุใหต้ ้งั ข้ึนก็ตาม

318 มลิ ินทปัญหาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปญั ห

‘‘กถํ มหาราช กมมฺ วเสน สตฺตาน ํ คพภฺ าวกกฺ นฺติ โหติ ? อุสสฺ นฺนกุสลมูลา มหาราช
สตตฺ า ยทิจฉฺ กํ อุปฺปชฺชนฺต ิ ขตตฺ ิยมหาสาลกุเล วา พฺราหฺมณมหาสาลกเุ ล วา คหปต-ิ
มหาสาลกเุ ล วา เทเวสุ วา อณฺฑชาย วา โยนิยา ชลาพุชาย วา โยนิยา สํเสทชาย วา
โยนิยา โอปปาตกิ าย วา โยนิยา ฯ ยถา มหาราช ปุริโส อฑฺโฒ มหทธฺ โน มหาโภโค
ปหูตชาตรูปรชโต ปหตู วิตฺตปู กรโณ ปหตู ธนธ ฺโ ปหตู าติปกโฺ ข ทาสึ วา ทาส ํ วา
เขตฺต ํ วา วตฺถํุ วา คามํ วา นิคมํ วา ชนปท ํ วา ย ํ ก ิ จฺ ิ มนสา อภปิ ตถฺ ิต,ํ ยทจิ ฺฉกํ
ทฺวคิ ุณติคณุ มฺป ิ ธน ํ ทตวฺ า กิณาติ, เอวเมว โข มหาราช อุสสฺ นฺนกสุ ลมูลา สตฺตา
ยทจิ ฺฉกํ อุปปฺ ชชฺ นตฺ ิ ขตตฺ ยิ มหาสาลกเุ ล วา พรฺ าหมฺ ณมหาสาลกุเล วา คหปตมิ หาสาลกุเล
วา เทเวส ุ วา อณฑฺ ชาย วา โยนยิ า ชลาพชุ าย วา โยนยิ า สเํ สทชาย วา โยนยิ า
โอปปาตกิ าย วา โยนิยา ฯ เอว ํ กมมฺ วเสน สตฺตาน ํ คพภฺ าวกฺกนตฺ ิ โหติ ฯ
ขอถวายพระพรมหาบพิตร การก้าวลงสูค่ รรภแ์ หง่ สัตว์ทั้งหลาย ยอ่ มมดี ้วยอ�ำนาจ
แหง่ กรรม เปน็ อย่างไร ? มหาบพิตร สตั ว์ผมู้ กี ุศลมูลหนาแน่น ย่อมเกดิ ไดต้ ามที่ปรารถนา คือ
ในตระกลู กษัตรยิ ์มหาศาลก็ได้ ในตระกลู พราหมณม์ หาศาลก็ได้ ในตระกูลคฤหบดีมหาศาล
ก็ได้ ในหมู่เทวดาท้งั หลายกไ็ ด้ ในอณั ฑชก�ำเนิดก็ได้ ในชลาพชุ ก�ำเนิดกไ็ ด้ ในสงั เสทชก�ำเนดิ
ก็ได้ ในโอปปาตกิ �ำเนิดก็ได ้ ขอถวายพระพร เปรยี บเหมอื นว่า บรุ ษุ ผูม้ ัง่ ค่ัง มที รัพย์มาก มี
โภคะมาก มที องและเงินเพยี งพอ มอี ุปกรณ์เครือ่ งปลมื้ ใจเพียงพอ มเี งนิ มีขา้ วเปลือกเพียงพอ
มีบุคคลฝา่ ยที่เปน็ ญาตเิ พียงพอ ยอ่ มจ่ายเงินเป็น ๒ เทา่ ๓ เทา่ ซือ้ สง่ิ ใดส่ิงหน่งึ ไมว่ า่ จะเป็น
ทาสหญิงกไ็ ด้ ทาสชายก็ได้ ทนี่ ากไ็ ด้ ทีส่ วนกไ็ ด้ หมบู่ า้ นก็ได้ ต�ำบลกไ็ ด้ อ�ำเภอกไ็ ด้ ตามท่ี
ปรารถนา ตามที่ตอ้ งการ ฉันใด ขอถวายพระพร สตั ว์ทงั้ หลายผมู้ กี ศุ ลหนาแน่น ยอ่ มเกิดได้
ตามทปี่ รารถนา คือ ในตระกลู กษตั ริย์มหาศาลกไ็ ด้ ในตระกลู พราหมณ์มหาศาลก็ได้ ใน
ตระกูลคฤหบดีมหาศาลก็ได้ ในหมู่เทวดาทั้งหลายก็ได้ ในอณั ฑชก�ำเนดิ ก็ได้ ในชลาพชุ
ก�ำเนดิ กไ็ ด้ ในสงั เสทชก�ำเนดิ ก็ได้ ในโอปปาตกิ ก�ำเนิดกไ็ ด้ ฉันน้นั เหมอื นกัน การกา้ วลงสู่
ครรภ์แหง่ สัตวท์ ง้ั หลาย ยอ่ มมีไดด้ ้วยอ�ำนาจแหง่ กรรม ตามประการดังกลา่ วมาฉะนี้
‘‘กถ ํ โยนิวเสน สตตฺ าน ํ คพฺภาวกฺกนฺต ิ โหติ ? กุกฺกุฏานํ มหาราช วาเตน
คพภฺ าวกฺกนตฺ ิ โหติ ฯ พลากานํ เมฆสทเฺ ทน คพฺภาวกฺกนฺต ิ โหติ ฯ สพฺเพป ิ เทวา
อคพภฺ เสยยฺ กา สตตฺ าเยว, เตส ํ นานาวณฺเณน คพฺภาวกฺกนฺต ิ โหติ ฯ ยถา มหาราช
มนุสสฺ า นานาวณเฺ ณน มหิยา จรนฺต,ิ เกจ ิ ปุรโต ปฏจิ ฺฉาเทนตฺ ิ, เกจ ิ ปจฺฉโต
ปฏจิ ฺฉาเทนตฺ ิ, เกจ ิ นคฺคา โหนฺติ, เกจ ิ ภณฑฺ ู โหนฺต ิ เสตปฏธรา, เกจ ิ โมฬิพทฺธา

กัณฑ]์ ๔.๑ อิทธพิ ลวรรค 319

โหนตฺ ิ, เกจิ ภณฺฑ ู กาสาววสนา โหนตฺ ,ิ เกจิ กาสาววสนา โมฬิพทธฺ า โหนตฺ ,ิ เกจ ิ
ชฏิโน วากจรี ธรา โหนตฺ ิ, เกจิ จมฺมวสนา โหนฺติ, เกจิ รสมฺ โิ ย นวิ าเสนฺติ, สพเฺ พเปเต
มนสุ ฺสา นานาวณฺเณน มหิยา จรนตฺ ิ, เอวเมว โข มหาราช สตตฺ าเยว เต สพเฺ พ, เตส ํ
นานาวณฺเณน คพฺภาวกฺกนฺต ิ โหติ ฯ เอว ํ โยนิวเสน สตฺตาน ํ คพฺภาวกฺกนตฺ ิ โหติ ฯ
การกา้ วลงส่คู รรภ์แหง่ สัตว์ทั้งหลาย ยอ่ มมไี ด้ดว้ ยอ�ำนาจแหง่ อาการท่เี กิด อยา่ งไร ?
พวกไกป่ า่ พอมีลมพดั กม็ ีการก้าวลงสู่ครรภ์ พวกนกยาง พอมีเสยี งฟา้ ร้อง ก็มีการก้าวลงสู่
ครรภ์ พวกเทวดาแม้ทกุ ตน มไิ ด้เป็นสตั ว์ผเู้ กดิ ในครรภ์เลยเทียว สตั ว์เหล่านนั้ มีการกา้ วลงสู่
ครรภ์ โดยอาการตา่ ง ๆ กัน ขอถวายพระพรมหาบพติ ร เปรียบเหมือนวา่ ผคู้ นทั้งหลายยอ่ ม
เทยี่ วไปบนแผน่ ดิน โดยอาการตา่ ง ๆ กนั บางพวกปดิ แคข่ ้างหนา้ บางพวกปดิ แคข่ า้ งหลงั
บางพวกก็เปน็ คนเปลือย บางพวกหวั โล้น ทรงผา้ ขาว บางพวกเกลา้ มวยผม บางพวกหวั โล้น
นุง่ หม่ ผ้ากาสาวะ บางพวกเกลา้ มวยผมน่งุ หม่ ผ้ากาสาวะ บางพวกมชี ฎา ทรงจีวรเปลอื กไม้
บางพวกนงุ่ หนงั สตั ว์ บางพวกน่งุ บังเหียน ผู้คนเหลา่ นัน้ แม้ทั้งหมดย่อมเท่ยี วไปบนแผ่นดิน
โดยอาการต่าง ๆ กนั ฉนั ใด ขอถวายพระพรมหาบพิตร สัตว์ท้ังหลายท้ังปวงเหล่านนั้ ก็ฉนั
นนั้ เหมือนกัน สตั ว์เหลา่ นัน้ ยอ่ มมกี ารกา้ วลงสู่ครรภ์โดยอาการต่าง ๆ กัน การกา้ วลงสคู่ รรภ์
แห่งสัตวท์ ั้งหลาย ยอ่ มมีไดด้ ้วยอ�ำนาจแหง่ อาการท่เี กดิ ตามประการดังกลา่ วมานี้
‘‘กถํ กลุ วเสน สตตฺ านํ คพฺภาวกฺกนตฺ ิ โหติ ? กลุ ํ นาม มหาราช จตตฺ าริ กุลานิ
อณฺฑชํ ชลาพชุ ํ สํเสทช ํ โอปปาติกํ ฯ ยทิ ตตฺถ คนฺธพฺโพ ยโต กโุ ตจ ิ อาคนฺตฺวา อณฑฺ เช
กเุ ล อุปปฺ ชชฺ ติ, โส ตตฺถ อณฑฺ โช โหติ…เป.… ชลาพเุ ช กเุ ล…เป.… สเํ สทเช กเุ ล…เป
.… โอปปาตเิ ก กเุ ล อปุ ฺปชฺชต,ิ โส ตตถฺ โอปปาตโิ ก โหติ ฯ เตสุ เตส ุ กเุ ลส ุ ตาทสิ าเยว
สตตฺ า สมภฺ วนฺติ ฯ ยถา มหาราช หิมวต ิ เนรปุ พฺพต ํ เย เกจ ิ มิคปกฺขโิ น อุเปนฺต,ิ
สพเฺ พ เต สกวณณฺ ํ วชิ หิตวฺ า สุวณณฺ วณณฺ า โหนฺต,ิ เอวเมว โข มหาราช โย โกจ ิ
คนฺธพฺโพ ยโต กุโตจิ อาคนฺตวฺ า อณฑฺ ช ํ โยนึ อุปคนตฺ วฺ า สภาววณณฺ ํ วชิ หติ ฺวา อณฺฑโช
โหติ…เป.… ชลาพุชํ…เป.… สเํ สทชํ…เป.… โอปปาติกํ โยน ึ อุปคนตฺ ฺวา สภาววณณฺ ํ
วชิ หติ ฺวา โอปปาตโิ ก โหติ, เอว ํ กุลวเสน สตตฺ าน ํ คพฺภาวกฺกนตฺ ิ โหติ ฯ
การกา้ วลงสู่ครรภ์แห่งสัตว์ทง้ั หลาย ยอ่ มมไี ดด้ ว้ ยอ�ำนาจแหง่ ตระกูล เป็นอยา่ งไร ?
ขอถวายพระพรมหาบพติ ร ชื่อวา่ ตระกูล ได้แก่ตระกลู ๔ คอื (๑) อัณฑชะ (๒) ชลาพุชะ (๓)
สังเสทชะ (๔) โอปปาตกิ ะ ในตระกลู ทง้ั ๔ เหลา่ นั้น ถ้าหากว่า สัตวม์ าจากภพใดภพหน่ึง เกดิ
ในตระกูลทเ่ี ป็นอัณฑชะ ในภพนน้ั สัตวผ์ ู้นั้นก็ไดช้ ื่อวา่ เปน็ อัณฑชะ (สัตวผ์ เู้ กิดในไข่ ฯลฯ เกดิ

320 มิลินทปัญหาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปญั ห

ในตระกลู ท่เี ปน็ ชลาพุชะ ฯลฯ เกดิ ในตระกลู ทเ่ี ป็นสังเสทชะ ฯลฯ มาเกิดในตระกูลที่เป็นโอป
ปาติกะ ในภพนัน้ สัตว์ผู้น้นั กช็ อื่ ว่าเปน็ โอปปาตกิ ะ (สัตว์ผผู้ ดุ เกดิ ฉบั พลัน) สัตว์ท้งั หลายย่อม
เปน็ เช่นเดียวกนั ทงั้ หมดในตระกลู ท้งั หลายนนั้ ๆ น่ันแหละ ยอ่ มเกิดข้ึน ขอถวายพระพร
เปรยี บเหมือนวา่ หมเู่ น้ือและนกพวกใดพวกหนึง่ เข้าถึงภูเขาสเิ นรุในปา่ หมิ พานต์ หมเู่ นื้อและ
นกเหล่านนั้ ท้ังปวงย่อมเปน็ ผู้ละผวิ พรรณของตน แล้วกลายเปน็ ผู้มีผิวพรรณผุดผอ่ งดุจทองค�ำ
ฉันใด ขอถวายพระพร สตั วผ์ จู้ ะเกิดคนใดคนหนงึ่ ละจากภพหน่ึงภพใด เขา้ ถงึ อันฑชก�ำเนิด
แล้ว ยอ่ มเปน็ ผลู้ ะรปู ร่างทม่ี ีอยูต่ ามสภาพเสยี แลว้ เปน็ อณั ฑชสตั ว์ ฯลฯ เข้าถึงชลาพุชะก�ำเนิด
ฯลฯ เขา้ ถงึ สังเสทชก�ำเนิด ฯลฯ เข้าถงึ โอปปาตกิ ก�ำเนดิ สัตว์นัน้ ยอ่ มเป็นผูล้ ะรูปร่างท่ีมอี ยู่
ของตนเสียแลว้ เปน็ โอปปาติกสตั ว์ ฉันนั้น การกา้ วลงสคู่ รรภแ์ หง่ สัตวท์ ง้ั หลาย ย่อมมีไดด้ ว้ ย
อ�ำนาจแห่งตระกลู ด้วยประการฉะนี้
‘‘กถํ อายาจนวเสน สตตฺ านํ คพภฺ าวกกฺ นฺติ โหติ ? อิธ มหาราช กุล ํ โหติ
อปุตตฺ ก ํ พหสุ าปเตยยฺ ํ สทธฺ ํ ปสนนฺ ํ สีลวนตฺ ํ กลฺยาณธมมฺ ํ ตปนสิ ฺสติ ํ, เทวปุตฺโต จ
อุสฺสนนฺ กุสลมูโล จวนธมโฺ ม โหติ ฯ อถ สกฺโก เทวานมินโฺ ท ตสฺส กุลสสฺ อนุกมฺปาย ตํ
เทวปตุ ฺต ํ อายาจติ ‘ปณิเธหิ มารสิ อสุกสฺส กุลสสฺ มเหสยิ า กจุ ฺฉินฺ’ติ ฯ โส ตสฺส
อายาจนเหต ุ ตํ กุลํ ปณเิ ธติ ฯ ยถา มหาราช มนุสฺสา ป ุ ฺ กามา สมณํ มโนภาวนีย ํ
อายาจิตฺวา เคหํ อุปเนนฺติ, อยํ อปุ คนฺตฺวา สพพฺ สฺส กลุ สสฺ สขุ าวโห ภวสิ สฺ ตีติ ฯ
เอวเมว โข มหาราช สกโฺ ก เทวานมนิ ฺโท ตํ เทวปุตฺตํ อายาจิตฺวา ต ํ กลุ ํ อุปเนติ ฯ เอวํ
อายาจนวเสน สตตฺ านํ คพฺภาวกฺกนฺต ิ โหติ ฯ
การก้าวลงสูค่ รรภ์แหง่ สัตวท์ ั้งหลาย ยอ่ มมไี ดด้ ้วยอ�ำนาจการขอร้อง เปน็ อยา่ งไร ?
ขอถวายพระพร ในโลกน้ี ตระกลู ทย่ี ังไมม่ ีบุตร มที รัพย์สมบัติมาก มีศรทั ธา เล่อื มใส มศี ีล มี
กลั ยาณธรรม อาศัยตบะ กม็ อี ยู่ อน่งึ เทพบุตรผู้มกี ุศลมูลหนาแนน่ ผ้จู ะต้องเคล่ือนเปน็
ธรรมดา กม็ อี ยู่. คร้ังนน้ั ทา้ วสักกะผู้เป็นจอมเทพ ทรงประสงคอ์ นเุ คราะหต์ ระกลู น้นั จงึ ทรง
ร้องขอเทพบุตรนัน้ วา่ ‘ท่านผ้นู ริ ทุกข์ ขอทา่ นจงตั้งความปรารถนาทอ้ งของนายหญงิ แหง่
ตระกูลโน้นเถิด ดังน้ี เพราะการขอร้องของทา้ วสักกะเปน็ เหตุ เทพบตุ รตนนั้น จึงต้งั ความ
ปรารถนาตระกลู นัน้ ขอถวายพระพรมหาบพติ ร เปรยี บเหมือนวา่ คนท้งั หลายผตู้ อ้ งการบญุ
กราบอาราธนานิมนตส์ มณะทต่ี นมใี จยกยอ่ งน�ำเขา้ ไปยงั เรอื นด้วยคดิ ว่า สมณะผนู้ ้เี ขา้ ไปแล้ว
ก็จกั เป็นผนู้ �ำแต่ความสุขมาให้แกต่ ระกลู ทงั้ ปวง ฉนั ใด ขอถวายพระพร ท้าวสกั กะผเู้ ป็นจอม
เทพ ก็ทรงขอรอ้ งเทพบตุ รนน้ั ใหเ้ ข้าไปสู่ตระกลู นน้ั ฉันนนั้ เหมือนกนั การก้าวลงสูค่ รรภแ์ ห่ง

กณั ฑ์] ๔.๑ อทิ ธพิ ลวรรค 321

สตั วท์ ั้งหลายยอ่ มมดี ว้ ยอ�ำนาจแหง่ การขอร้อง ด้วยประการฉะน้ี
‘‘สาโม มหาราช กมุ าโร สกฺเกน เทวานมนิ เฺ ทน อายาจิโต ปาริกาย ตาปสยิ า กจุ ฺฉึ
โอกฺกนฺโต ฯ สาโม มหาราช กุมาโร กตปุ โฺ , มาตาปติ โร สลี วนฺโต กลยฺ าณธมมฺ า,
อายาจโก สกโฺ ก, ตณิ ฺณํ เจโตปณธิ ยิ า สาโม กมุ าโร นพิ ฺพตโฺ ต ฯ อธิ มหาราช นยกุสโล
ปุรโิ ส สุกฏฺเ อนูปเขตเฺ ต พชี ํ โรเปยยฺ , อปิ นุ ตสสฺ พชี สฺส อนฺตราย ํ ววิ ชฺเชนตฺ สฺส
วุฑฺฒยิ า โกจิ อนฺตราโย ภเวยยฺ า’’ติ ?
ขอถวายพระพรมหาบพิตร สามกมุ าร ซงึ่ ถูกท้าวสักกะผ้เู ป็นจอมเทพทรงขอร้อง กไ็ ด้
กา้ วลงสู่ครรภ์ของนางปารกิ าดาบสหญงิ ขอถวายพระพร สามกมุ าร เปน็ ผูท้ ี่ได้ท�ำบุญไว้แล้ว
มารดาและบิดาเป็นผู้มีศลี มีกัลยาณธรรม ท้าวสกั กะซ่งึ เป็นผขู้ อรอ้ ง เพราะการตั้งจิต
ปรารถนาแห่งบคุ คล ๓ คน สามกุมารจงึ บงั เกดิ ได้ ขอถวายพระพรมหาบพติ ร บุรษุ ผู้ฉลาดใน
นัยในโลกน้ี จะพึงปลกู พชื ในไร่นาท่ปี รบั ไวด้ ี กเ็ มื่อบุรุษนั้นขจดั สงิ่ ท่เี ป็นอนั ตรายต่อพชื แล้ว
อนั ตรายอะไรๆ จะพงึ มี เพ่อื จะขัดขวางความเจริญงอกงาม บา้ งหรอื หนอ ?”
‘‘น หิ ภนเฺ ต นริ ปุ ฆาตํ พีช ํ ขิปปฺ ํ สวํ ิรุเหยยฺ า’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ ินท์ตรสั วา่ “หามิได้ พระคุณเจา้ พชื ปราศจากอันตรายขดั ขวาง ก็จะพงึ
เจริญงอกงามได้อยา่ งรวดเร็ว”
‘‘เอวเมว โข มหาราช สาโม กุมาโร มตุ ฺโต อปุ ฺปนนฺ นฺตราเยหิ ติณฺณ ํ
เจโตปณิธิยา นิพฺพตโฺ ต ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร ก็เหมอื นกนั อยา่ งนน้ั นนั่ แหละแล สาม
กุมารพ้นจากอันตรายท้งั หลายท่ีเกดิ ข้ึน จงึ บงั เกิดได้ เพราะความตั้งจติ ปรารถนาแห่งบุคคล
ท้งั ๓
‘‘อป ิ นุ โข มหาราช สุตปุพพฺ ํ ตยา อิสีนํ มโนปโทเสน อิทฺโธ ผีโต มหาชนปโท
สชโน สมุจฺฉินโฺ น’’ติ ?
ขอถวายพระพร พระองคเ์ คยทรงสดบั บ้างหรือไมว่ า่ มีชนบทใหญพ่ ร้อมทั้งฝูงชน
ม่ังคั่ง แผไ่ พศาล ตอ้ งสาบสญู ไปเพราะจติ ประทษุ รา้ ยของพวกฤษี ?”

322 มิลนิ ทปัญหาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปญั ห

‘‘อาม ภนเฺ ต สุยฺยติ ฯ มหิยา ทณฑฺ การ ฺ ํ มชฌฺ าร ฺ ํ กาลิงฺคาร ฺ ํ มาตงคฺ า-
ร ฺ ํ, สพฺพ ํ ตํ อร ฺ ํ อร ฺ ภตู ํ, สพเฺ พเปเต ชนปทา อสิ นี ํ มโนปโทเสน ขยํ
คตา’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ นิ ท์ตรสั ว่า “ใช่ พระคณุ เจ้า โยมเคยได้ยนิ มาวา่ สถานท่ที ั้งหมดน้ันเปน็ ป่า
กลายเปน็ ป่าไปหมดทวั่ แผน่ ดนิ คือ ปา่ ทัณฑกะ ป่ามัชฌะ ปา่ กาลงิ คะ ป่ามาตังคะ ชนบททั้ง
หลายแม้ทัง้ หมดเหลา่ นี้ ถงึ ความสนิ้ ไป เพราะจิตประทุษร้ายของพวกฤษี”
‘‘ยทิ มหาราช เตสํ มโนปโทเสน สุสมิทธฺ า ชนปทา อจุ ฉฺ ชิ ฺชนตฺ ,ิ อปิ น ุ โข เตสํ
มโนปสาเทน กิ ฺจ ิ นิพพฺ ตเฺ ตยฺยา’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร ถ้าหากชนบททงั้ หลายทม่ี ั่งคัง่ อย่างดี
ย่อมสาปสญู ไป เพราะจติ ประทุษร้ายของพวกฤษีเหลา่ น้ันไดไ้ ซร้ สิ่งอะไร ๆ จะพึงบังเกดิ ข้นึ
เพราะจติ เล่ือมใสของพวกฤษเี หล่านนั้ ได้ มใิ ช่หรือ ?”
‘‘อาม ภนฺเต’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ ินทต์ รสั ว่า “นา่ จะมีได้ พระคุณเจา้ ”
‘‘เตนหิ มหาราช สาโม กมุ าโร ตณิ ฺณ ํ พลวนฺตาน ํ เจโตปสาเทน นพิ พฺ ตโฺ ต
อิสนิ ิมมฺ โิ ต เทวนมิ มฺ ิโต ป ุ ฺ นมิ มฺ ิโตติ ฯ เอวเมต ํ มหาราช ธาเรหิ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร ถ้าอยา่ งน้ัน สามกุมารกบ็ ังเกดิ เพราะ
จติ เล่อื มใส ของบุคคลผู้มีพลานุภาพ ๓ คน ได้เหมือนกนั ถอื ได้วา่ เป็นผทู้ ี่ฤษีเนรมิต เทพ
เนรมิต บุญเนรมติ ขอถวายพระพร ขอพระองคจ์ งทรงรบั รองข้อท่วี ่าน้ี อยา่ งนเี้ ถิด
‘‘ตโยเม มหาราช เทวปุตตฺ า สกฺเกน เทวานมนิ เฺ ทน อายาจติ า กุล ํ อปุ ปฺ นนฺ า ฯ
กตเม ตโย ? สาโม กมุ าโร มหาปนาโท กสุ ราชา, ตโยเปเต โพธิสตตฺ า’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร เทพบตุ รทั้ง ๓ ตนเหล่านี้ เปน็ ผู้ที่ท้าวสักกะผู้เปน็ จอมเทพขอรอ้ งแล้ว
พากันบังเกิดในตระกูล สามตนมใี ครบ้าง ได้แก่ สามกมุ าร พระเจ้ามหาปนาทะ พระเจา้ กสุ ะ
ทัง้ ๓ ตนเหล่าน่นั ล้วนเปน็ พระโพธิสัตว”์
‘‘สนุ ิทฺทฏิ ฺ า ภนเฺ ต นาคเสน คพภฺ าวกกฺ นตฺ ิ, สุกถิต ํ การณํ, อนฺธกาโร อาโลโก
กโต, ชฏา วชิ ฏติ า, นิจฺฉทุ ฺธา ปรวาทา, เอวเมต ํ ตถา สมปฺ ฏิจฉฺ าม’ี ’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ นิ ท์ตรสั ว่า “พระคุณเจ้านาคเสน ทา่ นไดช้ แี้ จงเรอื่ งการกา้ วลงสคู่ รรภไ์ ด้

กณั ฑ์] ๔.๑ อทิ ธพิ ลวรรค 323

ดแี ลว้ ทา่ นได้กลา่ วถงึ เหตผุ ลดีแล้ว ทา่ นได้ท�ำความมืดใหเ้ ป็นความสว่างแล้ว ได้ถางรกชฏั
แล้ว ถอนทิ้งวาทะของบุคคลอน่ื ทงั้ หลายไดแ้ ลว้ โยมขอยอมรับค�ำตามทที่ ่านกล่าวมาแลว้
อย่างน”้ี

คพฺภาวกฺกนฺติปญโฺ ห ฉฏฺโ€ ฯ
จบคพั ภาวักกนั ตปิ ญั หาขอ้ ท่ี ๖

________

๗. สทฺธมฺมนตฺ รธานปญหฺ
๗. สทั ธมั มันตรธานปญั หา
ปัญหาวา่ ดว้ ยความหายสาปสูญไปแห่งพระสัทธรรม
[๗] ‘‘ภนฺเต นาคเสน ภาสติ มเฺ ปตํ ภควตา ‘ป ฺเจว ทาน ิ อานนฺท วสสฺ สตาน ิ
สทฺธมโฺ ม สฺสต’ี ติ ฯ ปุน จ ปรินิพฺพานสมเย สภุ ทเฺ ทน ปรพิ ฺพาชเกน ป ฺห ํ ปุฏฺเ น
ภควตา ภณติ ํ ‘อเิ ม จ สุภททฺ ภกิ ฺข ู สมมฺ า วิหเรยฺย,ํุ อส ุ ฺโ โลโก อรหนฺเตห ิ อสสฺ า’ต,ิ
อเสสวจนเมต,ํ นิสเฺ สสวจนเมต,ํ นิปฺปริยายวจนเมตํ ฯ ยท ิ ภนฺเต นาคเสน ตถาคเตน
ภณติ ํ ‘ป เฺ จว ทาน ิ อานนฺท วสฺสสตาน ิ สทธฺ มฺโม สสฺ ตี’ต,ิ เตนห ิ ‘อส ุ โฺ โลโก
อรหนเฺ ตหิ อสสฺ า’ต ิ ย ํ วจน,ํ ต ํ มิจฺฉา ฯ ยท ิ ตถาคเตน ภณิต ํ ‘อสุ โฺ โลโก อรหนเฺ ตห ิ
อสสฺ า’ต,ิ เตนหิ ‘ป เฺ จว ทานิ อานนทฺ วสฺสสตานิ สทฺธมโฺ ม สสฺ ต’ี ติ ตมฺป ิ วจน ํ
มิจฉฺ า ฯ อยมฺป ิ อภุ โต โกฏิโก ป ฺโห คหนโตปิ คหนตโร พลวโตปิ พลวตโร คณฺ ิโตปิ
คณฺ ติ โร, โส ตวานปุ ปฺ ตโฺ ต, ตตถฺ เต าณพลวปิ ผฺ าร ํ ทสฺเสหิ มกโร วยิ สาครพฺภนตฺ ร-
คโต’’ติ ฯ
[๗] พระเจา้ มลิ นิ ท์ ตรสั ถามว่า “พระคณุ เจ้านาคเสน พระผูม้ ีพระภาคเจา้ ทรงภาษติ
พระด�ำรสั นี้ไวว้ า่ ‘อานนท์ บัดนี้ พระสัทธรรมจกั ด�ำรงอยไู่ ด้ ๕๐๐ ปีเท่าน้ัน’ ดงั นี้ และในสมยั
เปน็ ทีป่ รินพิ พาน พระผ้มู พี ระภาคเจ้าผอู้ นั สุภัททปริพพาชกทูลถามปญั หา กไ็ ดต้ รัสไว้อีกว่า
‘สุภทั ทะ ภกิ ษุเหลา่ น้ีพงึ เปน็ ผอู้ ยูโ่ ดยชอบไซร้ โลกก็จะเป็นอนั ไมว่ ่างจากพระอรหนั ต์ท้ัง
หลาย’ ดงั นี้ พระด�ำรัสทต่ี รัสไว้น้ี เป็นพระด�ำรสั หาสว่ นเหลอื มิได้ พระด�ำรัสท่ตี รัสไว้นี้ ไมม่ ี
สว่ นเหลอื พระด�ำรัสท่ีตรัสไวน้ ีเ้ ปน็ พระด�ำรสั โดยตรง พระคณุ เจ้านาคเสน ถ้าหากวา่ พระ
ตถาคตตรสั วา่ อานนท์ บดั น้ี พระสัทธรรมจักด�ำรงอยไู่ ด้ ๕๐๐ ปเี ทา่ น้นั ดงั น้ี จริงไซร้ ถา้ อยา่ ง

324 มิลนิ ทปญั หาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปัญห

น้ัน พระด�ำรสั ทว่ี ่า โลกกจ็ ะเป็นอนั ไม่ว่างจากพระอรหันต์ทั้งหลาย ดงั น้ี ก็ตอ้ งเป็นค�ำพูดทผี่ ดิ
ถา้ หากวา่ พระตถาคตตรสั วา่ โลกก็จะเป็นอนั ไม่ว่างจากพระอรหันต์ทงั้ หลาย ดังนี้ จริงไซร้ ถา้
อยา่ งนน้ั พระด�ำรสั ที่วา่ อานนท์ บดั นี้ พระสทั ธรรมจักด�ำรงอยู่ได้ ๕๐๐ ปเี ทา่ นั้น ดังนีน้ ั้น ก็
ต้องเป็นค�ำพดู ท่ีผิด ปญั หาแม้ขอ้ นมี้ ี ๒ เงื่อน เป็นของรกชัฎยง่ิ กว่ารกชฎั มีก�ำลงั ย่งิ กว่า
มกี �ำลัง เป็นปมยง่ิ กวา่ ปม ปญั หาน้นั ตกถงึ แก่ทา่ นแล้ว ขอท่านจงแสดงพลังแผไ่ ปแหง่ ปญั ญา
ของทา่ นในปัญหาน้ัน ดุจมังกรผอู้ ย่ใู นมหาสาครแสดงพลงั แผ่ไปในมหาสาครนน้ั ฉนั น้ันเถดิ ”
‘‘ภาสติ มฺเปตํ มหาราช ภควตา ‘ป ฺเจว ทานิ อานนฺท วสสฺ สตาน ิ สทธฺ มโฺ ม
สฺสต’ี ติ ฯ ปรนิ พิ ฺพานสมเย จ สุภทฺทสฺส ปรพิ ฺพาชกสฺส ภณิต ํ ‘อเิ ม จ สภุ ทฺท ภิกขฺ ู
สมฺมา วิหเรยยฺ ุ,ํ อส ุ ฺโ โลโก อรหนเฺ ตห ิ อสสฺ า’ติ ฯ ต จฺ ปน มหาราช ภควโต วจนํ
นานตฺถ ฺเจว โหต ิ นานาพยฺ ฺชน จฺ , อยํ สาสนปริจเฺ ฉโท, อย ํ ปฏิปตฺต ิ ปรทิ ีปนาต ิ ทูร ํ
ววิ ชฺชิตา เต อุโภ อ ฺ ม ฺ ํ ฯ ยถา มหาราช นภํ ปถวโิ ต ทูรํ ววิ ชฺชติ ,ํ นริ ยํ สคคฺ โต
ทูรํ วิวชชฺ ิตํ, กุสลํ อกุสลโต ทูร ํ วิวชชฺ ิตํ, สขุ ํ ทุกฺขโต ทรู ํ ววิ ชชฺ ติ ํ ฯ เอวเมว โข มหาราช
เต อโุ ภ อ ฺ ม ฺ ํ ทรู ํ ววิ ชฺชิตา ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร พระผ้มู พี ระภาคเจา้ ได้ตรสั
พระด�ำรัสนไ้ี วว้ า่ อานนท์ บัดนี้ พระสทั ธรรมจกั ด�ำรงอย่ไู ด้ ๕๐๐ ปี ดงั น้ี จริง และในสมัยใกล้
เสดจ็ ดบั ขันธปรนิ พิ พาน กไ็ ด้ตรสั แก่สภุ ัททปริพพาชกว่า สุภทั ทะ ภิกษเุ หล่าน้นั พึงเปน็ อยู่
โดยชอบไซร้ โลกกจ็ ะเปน็ อนั ไม่วา่ งจากพระอรหันต์ทั้งหลาย ดงั นี้ กจ็ รงิ ขอถวายพระพร กแ็ ต่
วา่ พระด�ำรัสทพ่ี ระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสนั้นเปน็ พระด�ำรสั ทีม่ อี รรถต่างกนั ด้วย มีพยัญชนะต่าง
กัน ดว้ ยค�ำหน่งึ เป็นค�ำก�ำหนด (อาย)ุ พระศาสนา อกี ค�ำหนึง่ เป็นค�ำแสดง (ยกย่อง) การปฏบิ ัติ
แล กพ็ ระด�ำรัสทงั้ ๒ น้ัน แยกหา่ งกันและกนั ขอถวายพระพร ค�ำท้งั ๒ เหล่าน้ัน แยกหา่ งกัน
และกัน เปรียบเหมอื นท้องฟา้ แยกห่างจากดิน นรกแยกหา่ งจากสวรรค์ กุศลแยกหา่ งจาก
อกศุ ล สขุ แยกหา่ งจากทุกข์ ฉันใด มหาบพติ ร พระด�ำรัสท้ัง ๒ เหลา่ นั้น แยกห่างกนั และกัน
ฉันนน้ั เหมอื นกันแล
‘‘อปิจ มหาราช มา เต ปุจฺฉา โมฆา อสฺส, รสโต เต สสํ นทฺ ิตวฺ า กถยิสสฺ ามิ
‘ป เฺ จว ทานิ อานนฺท วสฺสสตาน ิ สทฺธมโฺ ม สสฺ ต’ี ติ ย ํ ภควา อาห, ต ํ ขยํ ปริทีปยนฺโต
เสสก ํ ปรจิ ฺฉินฺทิ, วสฺสสหสสฺ ํ อานนทฺ สทฺธมโฺ ม ติฏเฺ ยฺย, สเจ ภกิ ขฺ ุนโิ ย น ปพพฺ าเชยยฺ ุํ
ฯ ป ฺเจว ทานิ อานนทฺ วสสฺ สตาน ิ สทฺธมฺโม สฺสตีติ ฯ อป ิ นุ โข มหาราช ภควา

กัณฑ]์ ๔.๑ อิทธพิ ลวรรค 325

เอว ํ วทนฺโต สทฺธมฺมสสฺ อนตฺ รธานํ วา วเทต ิ อภสิ มยํ วา ปฏกิ ฺโกสตี’’ติ ?
ขอถวายพระพร อีกอย่างหน่งึ รับส่ังถามของพระองค์ ก็ขอจงอย่าเสียไปเปล่าเลย
อาตมภาพจักถวายพระพรวสิ ัชชนาแก่พระองค์ เทียบเคียงกันโดยรส พระด�ำรสั ท่ีตรัสวา่
อานนท์ บดั น้ี พระสัทธรรมจักด�ำรงอยู่ได้ ๕๐๐ ปเี ทา่ นนั้ ดังนี้ เป็นพระด�ำรัสที่พระผมู้ พี ระภาค
เจ้า เมอื่ จะทรงแสดงความสิ้นไป (แห่งอายพุ ระศาสนา) ก็ทรงก�ำหนดถงึ ส่วนทเี่ หลืออยอู่ ยา่ งน้ี
วา่ อานนท์ ถา้ หากหญิงทง้ั หลายไมบ่ วชเปน็ ภิกษุณี พระสทั ธรรมจักด�ำรงอยู่ได้ถงึ ๑,๐๐๐ ปี
อานนท์ บัดน้ี พระสทั ธรรมจักด�ำรงอยู่ได้ ๕๐๐ ปีเทา่ นัน้ ดังน ้ี ขอถวายพระพร พระผูม้ ีพระ
ภาคเจา้ เม่อื ตรัสอย่างน้ี ชื่อวา่ ย่อมตรสั ถึงการหายสาปสญู ไปแหง่ พระสัทธรรม หรือตรสั
ปฏเิ สธการตรัสรู้ธรรม กระนัน้ หรอื ?”
‘‘น หิ ภนเฺ ต’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ นิ ท์ตรสั ว่า “หามไิ ดห้ รอก พระคุณเจา้ ”
‘‘นฏ ฺ ํ มหาราช ปรกิ ติ ฺตยนฺโต เสสก ํ ปรทิ ีปยนโฺ ต ปรจิ ฉฺ นิ ฺทิ ฯ ยถา มหาราช
ปรุ โิ ส นฏ ฺ ายิโก สพฺพเสสก ํ คเหตฺวา ชนสสฺ ปริทเี ปยยฺ ‘เอตฺตก ํ เม ภณฑฺ ํ นฏฺ ,ํ อิท ํ
เสสกนฺ’ติ ฯ เอวเมว โข มหาราช ภควา นฏ ฺ ํ ปรทิ ปี ยนฺโต เสสก ํ เทวมนุสฺสาน ํ กเถส ิ
‘ป ฺเจว ทานิ อานนทฺ วสสฺ สตานิ สทธฺ มโฺ ม สฺสตี’ติ ฯ ยํ ปน มหาราช ภควตา ภณติ ํ
‘ป ฺเจว ทาน ิ อานนฺท วสฺสสตานิ สทธฺ มฺโม สสฺ ตี’ต,ิ สาสนปริจฺเฉโท เอโส ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร พระผู้มีพระภาคเจา้ เม่ือทรงประกาศ
อายทุ ่ีเสอ่ื มหายไปแล้ว แสดงอายสุ ว่ นท่ีเหลอื อยู่ จึงทรงก�ำหนดแลว้ ขอถวายพระพร เปรียบ
เหมือนว่า บรุ ุษผทู้ �ำของหายคนหนง่ึ ถือเอาของท่ีเหลอื อยู่ท้งั หมดไปแสดงแกค่ นอื่นว่า ภณั ฑ
ะสง่ิ ของของโยมประมาณเท่าน้หี ายไป นคี้ อื สว่ นทีเ่ หลอื อยู่ ดงั นี้ ฉันใด ขอถวายพระพร พระ
ผมู้ ีพระภาคเจ้าเมอื่ จะทรงแสดงอายพุ ระศาสนาท่เี ส่อื มหายไปแล้ว ก็ตรสั อายุพระศาสนาส่วน
ท่ยี งั เหลืออยู่แกเ่ ทวดาและมนุษยท์ ั้งหลายวา่ อานนท์ บัดน้ี พระสัทธรรมจกั ด�ำรงอยูไ่ ด้ ๕๐๐
ปเี ทา่ น้ัน ดังน้ี ฉนั นั้นเหมอื นกนั พระด�ำรสั นน่ั เปน็ การก�ำหนด (อายุ) ของพระศาสนา
มหาบพิตร ก็พระด�ำรัสท่พี ระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า อานนท์ บดั น้ี พระสทั ธรรมจักด�ำรงอยู่ได้
๕๐๐ ปเี ท่าน้นั

326 มิลนิ ทปัญหาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปัญห

‘‘ย ํ ปน ปรนิ พิ ฺพานสมเย สุภทฺทสสฺ ปริพฺพาชกสฺส สมเณ ปริกติ ตฺ ยนฺโต อาห
‘อเิ ม จ สุภททฺ ภกิ ฺขู สมฺมา วหิ เรยยฺ ุํ, อสุ โฺ โลโก อรหนเฺ ตห ิ อสฺสา’ต,ิ ปฏปิ ตฺติ-
ปริทีปนา เอสา, ตฺว ํ ปน ต ํ ปรจิ เฺ ฉท จฺ ปรทิ ีปน ฺจ เอกรสํ กโรสิ ฯ ยท ิ ปน เต ฉนฺโท
เอกรส ํ กตวฺ า กถยสิ ฺสามิ, สาธุกํ สโุ ณห ิ มนสิกโรห ิ อวกิ ฺขติ ฺตมานโส ฯ
ส่วนพระด�ำรัสท่ีตรัสยกย่องสมณะท้ังหลายแก่สุภัททปริพพาชกในสมัยใกล้เสด็จดับ
ขันธปรินพิ พานท่วี า่ สุภัททะ ภกิ ษุเหลา่ นี้ พงึ เปน็ อยู่โดยชอบไซร้ โลกก็จะไมพ่ ึงวา่ งจากพระ
อรหันต์ทั้งหลาย ดังน้ี พระด�ำรสั น่ัน เปน็ ค�ำแสดง (ยกยอ่ ง) การปฏิบัตขิ อพระองค์จงทรง
กระท�ำค�ำก�ำหนดอายพุ ระศาสนาและค�ำแสดง (ยกยอ่ ง) การปฏบิ ตั ใิ หม้ รี สเป็นอนั เดียวกนั เถิด
กถ็ า้ ว่า พระองค์ทรงมีความพอพระทยั อาตมภาพกจ็ ักขอถวายพระพร ท�ำใหม้ รี สเป็นอนั
เดียวกนั ขอพระองคเ์ ป็นผู้มพี ระหทัยไมฟ่ งุ้ ซ่าน ตง้ั พระทยั สดับด้วยดี มนสิการดว้ ยดเี ถดิ
‘‘อธิ มหาราช ตฬาโก ภเวยฺย นวสลิลสมฺปุณโฺ ณ สมฺมขุ มตุ ตฺ รยิ มาโน ปริจฉฺ ินโฺ น
ปริวฏุมกโต, อปริยาทณิ ฺเณเยว ตสมฺ ึ ตฬาเก อทุ กปู ร ิ มหาเมโฆ อปราปร ํ อนปุ ฺปพนโฺ ธ
อภวิ สฺเสยยฺ , อปิ น ุ โข มหาราช ตสมฺ ึ ตฬาเก อทุ ก ํ ปรกิ ขฺ ยํ ปรยิ าทาน ํ คจฺเฉยยฺ า’’ติ ?
ขอถวายพระพร เปรียบเหมอื นวา่ สระแห่งหน่งึ ในโลกนีท้ เ่ี ตม็ เป่ียมดว้ ยน้ำ� ใหม่ ๆ สูง
เสมอขอบปาก เปน็ สระทีเ่ ขาขุดตัดเปน็ สระกลม เม่ือสระนัน้ ยังไมท่ นั ไดเ้ หอื ดแห้งเลย กม็ ฝี น
ห่าใหญ่ตกหนักเหนือสระติดตอ่ สืบเน่อื งกันไป ขอถวายพระพร น้�ำในสระนน้ั พงึ ถึงความสิน้ ไป
พงึ ถงึ ความเหอื ดแหง้ ไปหรอื ไรหนอ ?”
‘‘น ห ิ ภนฺเต’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ ินท์ตรสั วา่ “หามิได้ พระคุณเจา้ ”
‘‘เกน การเณน มหาราชา’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “เพราะเหตไุ รหรอื มหาบพติ ร ?”
‘‘เมฆสฺส ภนเฺ ต อนปุ ฺปพนฺธตายา’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลินท์ตรสั ว่า “เพราะมฝี นตกลงมาตดิ ต่อกนั พระคณุ เจ้า”
‘‘เอวเมว โข มหาราช ชินสาสนวรสทธฺ มฺมตฬาโก อาจารสลี คณุ วตตฺ ปฏิปตฺติวมิ ล-
นวสลิลสมปฺ ุณโฺ ณ อุตฺตรยิ มาโน ภวคคฺ มภภิ วิตฺวา โิ ต ฯ ยท ิ ตตถฺ พทุ ฺธปุตฺตา อาจารสีล-
คุณวตตฺ ปฏปิ ตตฺ ิเมฆวสสฺ ํ อปราปร ํ อนปุ ปฺ พนธฺ าเปยยฺ ุํ อภิวสฺสาเปยยฺ ุํ ฯ เอวมิท ํ ชนิ สาสน-

กัณฑ์] ๔.๑ อทิ ธิพลวรรค 327

วรสทฺธมฺมตฬาโก จริ ํ ทีฆมทธฺ าน ํ ติฏฺเ ยยฺ , อรหนฺเตห ิ โลโก อสุ ฺโ ภเวยยฺ , อิมมตถฺ ํ
ภควตา สนธฺ าย ภาสิต ํ ‘อเิ ม จ สภุ ทฺท ภกิ ขฺ ู สมมฺ า วิหเรยฺย,ํุ อสุ โฺ โลโก อรหนเฺ ตหิ
อสฺสา’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร ก็เหมือนกันอย่างนน้ั น่ันแหละ สระใหญ่
คอื พระสทั ธรรมอนั เป็นพระศาสนาประเสริฐของพระชนิ วรพุทธเจา้ ก็เต็มเป่ียมดว้ ยนำ้� ใหม่ที่
สะอาดปราศจากมลทินคืออาจารคณุ ศลี คณุ และข้อวตั รปฏบิ ตั ิ ด�ำรงอยู่ สงู สง่ ครอบง�ำ
ภวคั คพรหม ถา้ หากว่าภกิ ษผุ ้เู ปน็ พุทธบุตรทง้ั หลาย พงึ ท�ำฝนห่าใหญ่ คืออาจารคณุ ศลี คุณ
ข้อวตั รปฏบิ ัติให้ตกลงมาตดิ ตอ่ กัน บนสระใหญค่ ือพระสทั ธรรมนน้ั ไซร้ การท�ำอย่างนจี้ ะเปน็
เหตใุ หส้ ระใหญ่ คือพระสัทธรรมอันเป็นศาสนาประเสริฐของพระชินเจา้ ด�ำรงอยู่ได้ตลอดกาล
ยาวนาน และโลกก็จะเปน็ อันไมว่ ่างจากพระอรหนั ตท์ ั้งหลาย พระผู้มพี ระภาคเจ้าทรงหมาย
เอาอรรถาธบิ ายดังกล่าวมานี้ จึงตรัสไวว้ ่า สุภทั ทะ ก็ภกิ ษุเหล่านี้พึงเป็นอยู่ไดโ้ ดยชอบไซร้
โลกกเ็ ป็นอนั ไมว่ า่ งจากพระอรหันต์ทัง้ หลาย
‘‘อิธ ปน มหาราช มหตมิ หาอคคฺ ิกขฺ นฺเธ ชลมาเน อปราปรํ สกุ ฺขตณิ กฏฺ -
โคมยานิ อปุ สหํ เรยยฺ ุํ, อป ิ นุ โข โส มหาราช อคฺคิกขฺ นโฺ ธ นพิ ฺพาเยยฺยา’’ติ ?
ขอถวายพระพร ก็เมื่อกองไฟใหญก่ �ำลังลุกโพลงอยู่บนแผ่นดินน้ี บุคคลกย็ ังเอาหญา้
แหง้ ไม้แหง้ ก้อนโคมยั ใส่เขา้ ไปติดตอ่ กันไป. ขอถวายพระพร กองไฟใหญ่นน้ั พึงมอดดบั ไป
หรือหนอ ?”
‘‘น หิ ภนฺเต ภยิ โฺ ย ภิยฺโย โส อคคฺ กิ ฺขนโฺ ธ ชเลยยฺ , ภยิ โฺ ย ภยิ โฺ ย ปภาเสยฺยา’’ติฯ
พระเจา้ มิลินทต์ รัสว่า “หามิได้ พระคุณเจ้า กองไฟนัน้ มแี ต่จะลกุ โพลงยงิ่ ๆ ขึ้นไป มี
แตจ่ ะสอ่ งสวา่ งยง่ิ ๆ ขึน้ ไป”
‘‘เอวเมว โข มหาราช ทสสหสฺสิยา โลกธาตุยา ชนิ สาสนวรมปฺ ิ อาจารสีลคณุ วตตฺ -
ปฏิปตฺติยา ชลติ ปภาสติ ฯ ยท ิ ปน มหาราช ตทุตตฺ รึ พุทฺธปตุ ตฺ า ป จฺ หิ ปธานิยงเฺ คห ิ
สมนนฺ าคตา สตตมปปฺ มตตฺ า ปทเหยฺยุํ, ตสี ุ สกิ ขฺ าส ุ ฉนฺทชาตา สิกเฺ ขยฺยุํ, จารติ ตฺ ฺจ สีล ํ
สมตตฺ ํ ปริปูเรยยฺ ,ํุ เอวมิท ํ ชนิ สาสนวร ํ ภิยฺโย ภิยโฺ ย จิร ํ ทฆี มทฺธาน ํ ติฏเฺ ยฺย, อส ุ โฺ
โลโก อรหนฺเตห ิ อสสฺ าติ อิมมตฺถ ํ ภควตา สนธฺ าย ภาสิตํ ‘อิเม จ สภุ ทฺท ภกิ ฺข ู สมมฺ า
วิหเรยยฺ ํ,ุ อสุ โฺ โลโก อรหนเฺ ตห ิ อสฺสา’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร ก็เหมอื นกนั อย่างน้ันน่นั แหละ แม้พระ

328 มลิ ินทปัญหาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปญั ห

ศาสนาประเสรฐิ ของพระชนิ เจา้ กล็ กุ โพลงสอ่ งสวา่ งด้วยอาจารคณุ ศีลคุณ และขอ้ ปฏิบัติ ไปใน
หมน่ื โลกธาตุ ขอถวายพระพร ถา้ หากว่า ภิกษุทง้ั หลายผเู้ ป็นพทุ ธบุตรพึงเปน็ ผูป้ ระกอบ
พรอ้ มด้วยองคแ์ หง่ ภิกษุผมู้ คี วามเพียร ๕ ประการ ไม่ประมาท บากบน่ั เปน็ นิตย์ พงึ เกิดฉนั ทะ
ศกึ ษาในไตรสิกขา พงึ ท�ำจารติ ศีลใหเ้ ต็มบริบูรณอ์ ย่เู สมอ ให้ยิง่ กวา่ นนั้ ไซร้ ข้อนี้ก็จะเปน็ เหตุ
ใหพ้ ระศาสนาอนั ประเสริฐของพระชินเจา้ พึงด�ำรงอยูไ่ ดต้ ลอดกาลนานยง่ิ ๆ ข้ึนไป และโลกก็
จะเปน็ อันไมว่ ่างจากพระอรหนั ต์ทง้ั หลาย, พระผู้มีพระภาคทรงหมายเอาอรรถาธิบายดังกลา่ ว
มานี้ จึงตรัสไวว้ ่า สภุ ัททะ ภกิ ษเุ หลา่ น้ี พงึ เป็นอยโู่ ดยชอบไซร้ โลกก็ไม่พงึ เป็นอนั ว่างจากพระ
อรหนั ต์ทงั้ หลาย ดงั นี้
‘‘อธิ ปน มหาราช สนิ ทิ ฺธสมสมุ ชฺชิตสปฺปภาสวมิ ลาทาส ํ สณหฺ สุขุมเครุกจณุ ฺเณน
อปราปรํ มชเฺ ชยยฺ ,ํุ อปิ นุ โข มหาราช ตสฺม ึ อาทาเส มลกทฺทมรโชชลลฺ ํ ชาเยยฺยา’’ติ ?
ขอถวายพระพร บคุ คลทัง้ หลายในโลกน้ี พึงใชผ้ งดนิ สอพองที่ละเอยี ดอ่อน ขดั กระจก
ท่ไี ดข้ ัดไวเ้ กลยี้ งเกลาใสแวววาว ปราศจากมลทินแล้วไปเรื่อย ๆ ขอถวายพระพร เปลอื กตม ขี้
ฝุ่น ข้ีไคล ทีเ่ ปน็ มลทนิ ยังเกิดขึน้ ท่ีกระจกน้นั ได้หรอื ไม่ ?”
‘‘น ห ิ ภนฺเต อ ฺ ทตถฺ ุ วมิ ลตรํเยว ภเวยฺยา’’ติ ฯ
พระเจา้ มิลินท์ตรสั ว่า “เกดิ ไมไ่ ดห้ รอก พระคุณเจา้ โดยแทจ้ ริงแลว้ กระจกนน้ั กม็ แี ต่
ปราศจากมลทนิ ยง่ิ ๆ ขึ้นไปเท่านนั้ ”
‘‘เอวเมว โข มหาราช ชนิ สาสนวรํ ปกตนิ มิ ฺมลํ พยฺ ปคตกิเลสมลรโชชลลฺ ํ, ยท ิ ตํ
พุทธฺ ปุตฺตา อาจารสลี คุณวตตฺ ปฏปิ ตฺติสลฺเลขธตุ คุเณน ชนิ สาสนวร ํ สลฺลกฺเขยฺยํ,ุ เอวมิทํ
ชินสาสนวรํ จริ ํ ทฆี มทธฺ าน ํ ติฏเฺ ยยฺ , อสุ ฺโ จ โลโก อรหนฺเตห ิ อสสฺ าติ อิมมตฺถ ํ
ภควตา สนฺธาย ภาสติ ํ ‘อเิ ม จ สภุ ทฺท ภกิ ขฺ ู สมมฺ า วหิ เรยยฺ ุ,ํ อส ุ ฺโ โลโก อรหนเฺ ตห ิ
อสสฺ า’ติ ฯ ปฏปิ ตตฺ มิ ลู กํ มหาราช สตถฺ สุ าสนํ ปฏิปตตฺ ิการณํ ปฏปิ ตตฺ ยิ า อนนฺตรหิตาย
ตฏิ ฺ ตี’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร กเ็ หมอื นกนั อย่างน้ันน่นั แหละ พระ
ศาสนาประเสรฐิ ของพระชินเจ้า ปราศจากมลทินตามปกติ ปราศจากข้ีฝุ่น ข้ไี คล อนั เปน็ มลทนิ
คอื กเิ ลส ถ้าหากวา่ ภิกษทุ ัง้ หลายผ้เู ป็นพทุ ธบตุ ร พงึ ใชค้ ณุ เครอื่ งขัดเกลากเิ ลสเครือ่ งก�ำจัด
กิเลส คอื อาจารคุณ ศลี คุณ ข้อวัตรปฏิบัติ พึงก�ำหนดศาสนาประเสริฐของพระชินสหี ์น้ัน ข้อนี้
จะเปน็ เหตุใหพ้ ระศาสนาประเสรฐิ ของพระชนิ เจา้ พึงด�ำรงอยูไ่ ดต้ ลอดกาลอันยาวนาน และ

กัณฑ์] ๔.๑ อิทธพิ ลวรรค 329

โลก ก็จะไมพ่ ึงว่างจากพระอรหนั ต์ทง้ั หลาย พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงหมายเอาอรรถาธิบายดงั
กล่าวมาน้ี จึงตรัสว่า สภุ ัททะ ภกิ ษุเหลา่ น้ีพงึ เปน็ อยโู่ ดยชอบไซร้ โลกกจ็ ะไมพ่ ึงวา่ งจากพระ
อรหนั ต์ทั้งหลาย ดังนี้ ขอถวายพระพร พระศาสนาของพระศาสดามีการปฏิบตั เิ ป็นรากเหง้า มี
การปฏบิ ตั ิเปน็ เหตุ เม่อื การปฏบิ ตั ิยังไม่หายไป ก็ย่อมด�ำรงอยู่ได้”
‘‘ภนฺเต นาคเสน ‘สทธฺ มมฺ นฺตรธานนฺ’ต ิ ยํ วเทส,ิ กตม ํ ตํ สทธฺ มมฺ นตฺ รธานน’ฺ ’ติ ?
พระเจา้ มิลินท์ตรัสว่า “พระคุณเจา้ นาคเสน ทา่ นกลา่ วว่า ‘การหายสาปสญู ไปแห่ง
สัทธรรม’ ดังนี้ ใด การหายสาปสญู ไปแหง่ สทั ธรรมน้นั เปน็ ไฉน?”
‘‘ตณี ิมาน ิ มหาราช สาสนนฺตรธานานิ ฯ กตมาน ิ ตณี ิ ? อธคิ มนฺตรธาน ํ
ปฏปิ ตฺตนฺตรธานํ ลิงคฺ นฺตรธาน,ํ อธิคเม มหาราช อนฺตรหเิ ต สุปปฺ ฏิปนฺนสสฺ าปิ ธมฺมา-
ภสิ มโย น โหต,ิ ปฏิปตตฺ ยิ า อนตฺ รหิตาย สิกฺขาปทป ฺ ตฺต ิ อนตฺ รธายติ, ลิงคฺ เํ ยว ติฏฺ ติ,
ลงิ ฺเค อนฺตรหิเต ปเวณปุ จเฺ ฉโท โหต,ิ อมิ าน ิ โข มหาราช ตีณ ิ อนฺตรธานานี’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร การหายสาปสูญไปของพระศาสนามี ๓
ประการเหลา่ นี้ ๓ ประการ เป็นไฉน ? ได้แก่ อธคิ มอันตรธาน (ความเลอื นหายแหง่ มรรคผล
นพิ พาน) ปฏิปตั ติอันตรธาน (ความเลอื นหายแห่งการปฏบิ ตั )ิ ลงิ คอนั ตรธาน (ความเลอื นหาย
แหง่ เครื่องหมายแสดงเพศของภิกษ)ุ ขอถวายพระพร เมอื่ อธคิ มอนั ตรธาน ภิกษแุ มว้ ่าเปน็ ผู้
ปฏิบตั ดิ ี กไ็ ม่มกี ารตรสั รธู้ รรม เม่ือปฏบิ ตั อิ ันตรธาน สกิ ขาบทบญั ญตั ิ กย็ ่อมอนั ตรธาน เหลอื
แต่ลงิ คะเทา่ นนั้ คงอยู่ เมือ่ ลงิ คอันตรธาน ประเพณี (ความสบื ตอ่ แห่งเพศบรรพชติ ) ก็ขาดสาย
ไป ขอถวายพระพรมหาบพติ ร อันตรธานแหง่ พระสัทธรรมมี ๓ ประการเหล่าน้แี ล”
‘‘สวุ ิ ฺ าปิโต ภนเฺ ต นาคเสน ป โฺ ห, คมภฺ โี ร อตุ ตฺ านกี โต, คณฺ ิ ภินโฺ น, นฏฺ า
ปรวาทา ภคฺคา นิปฺปภา กตา, ตวฺ ํ คณวิ รวสภมาสชชฺ าติ ฯ
พระเจา้ มิลนิ ทต์ รสั วา่ “พระคณุ เจ้านาคเสน ทา่ นท�ำให้โยมเขา้ ใจปญั หาไดด้ แี ลว้ ปญั หา
ที่ลกึ ซ้ึง ท่านก็ไดท้ �ำใหต้ ื้นแลว้ ท่านท�ำลายปมแล้ว ท่านหักวาทะของบคุ คลอนื่ ใหพ้ นิ าศได้
แล้ว ท�ำใหห้ มดรัศมแี ลว้ ทา่ นได้ถงึ ความเปน็ ผอู้ งอาจในหมู่คณะอันประเสริฐแลว้ ”

สทธฺ มมฺ นฺตรธานปญฺโห สตตฺ โม ฯ
จบสัทธัมมันตรธานปญั หาขอ้ ที่ ๗

________

330 มิลินทปัญหาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปัญห

๘. อกสุ ลจฺเฉทนปญฺห
๘. อกศุ ลจั เฉทนปัญหา
ปัญหาว่าด้วยการตดั อกุศลกรรม (แห่งพระสัมมาสัมพทุ ธเจา้ )
[๘] ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน ตถาคโต สพฺพํ อกุสลํ ฌาเปตวฺ า สพพฺ ฺ ุต ํ ปตฺโต อทุ าหุ
สาวเสเส อกุสเล สพฺพ ฺ ตุ ํ ปตฺโต’’ติ ?
[๘] พระเจ้ามิลินท์ ตรสั ถามว่า “พระคุณเจา้ นาคเสน พระตถาคตเผาอกศุ ลได้ท้งั หมด
ทรงบรรลพุ ระสัพพญั ญตุ ญาณ หรอื ว่ายงั ทรงมีอกศุ ลหลงเหลอื อยู่ ทรงบรรลพุ ระสพั พัญญุต-
ญาณเลา่ ?”
‘‘สพฺพ ํ มหาราช อกสุ ลํ ฌาเปตฺวา ภควา สพฺพ ฺ ุต ํ ปตโฺ ต, นตฺถ ิ ภควโต เสเสก ํ
อกุสลน”ฺ ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร พระผ้มู พี ระภาคเจ้าทรงเผา
อกศุ ลได้ท้ังหมดแลว้ ทรงบรรลุพระสพั พัญญุตญาณ พระผู้มพี ระภาคเจ้าไมท่ รงมอี กุศลหลง
เหลืออย่เู ลย”
‘‘ก ึ ปน ภนเฺ ต ทุกขฺ า เวทนา ตถาคตสสฺ กาเย อุปฺปนนฺ ปุพฺพา’’ติ ?
พระเจ้ามลิ ินท์ตรัสวา่ “พระคณุ เจา้ ก็พระตถาคตเคยทรงเกิดทุกขเวทนาทีพ่ ระวรกาย
หรือไม่ ?”
‘‘อาม มหาราช ราชคเห ภควโต ปาโท สกฺขลกิ าย ขโต, โลหิตปกฺขนฺทิกาพาโธ
อุปปฺ นโฺ น, กาเย อภสิ นเฺ น ชีวเกน วิเรโก การิโต, วาตาพาเธ อุปปฺ นฺเน อุปฏฺ าเกน เถเรน
อุณโฺ หทกํ ปริยฏิ ฺ น”ฺ ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร เคย พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงเคยเกดิ
ทกุ ขเวทนาทพ่ี ระวรกาย คือท่กี รุงราชคฤห์ พระบาทของพระผ้มู ีพระภาคเจา้ ถูกสะเกด็ หิน
บาดแล้ว, ทรงเกดิ พระโลหติ ปกั ขนั ทกิ าพาธ, หมอชวี กไดท้ �ำการคัดพระโลหติ ในพระวรกาย ที่
ใคร ๆ ท�ำใหฉ้ ีกขาดมไิ ด,้ เมื่อเกิดพระอาพาธโรคลม พระเถระผู้เปน็ พระอปุ ัฏฐาก กไ็ ด้เท่ียว
หาน้ำ� รอ้ นมาถวาย”
‘‘ยทิ ภนเฺ ต นาคเสน ตถาคโต สพฺพํ อกสุ ลํ ฌาเปตวฺ า สพพฺ ฺ ุตํ ปตฺโต, เตนห ิ
ภควโต ปาโท สกฺขลกิ าย ขโต, โลหิตปกขฺ นฺทกิ า จ อาพาโธ อุปฺปนโฺ นต ิ ยํ วจนํ, ต ํ

กัณฑ]์ ๔.๑ อิทธิพลวรรค 331

มิจฉฺ า ฯ ยท ิ ตถาคตสฺส ปาโท สกขฺ ลิกาย ขโต, โลหิตปกฺขนทฺ ิกา จ อาพาโธ อุปฺปนฺโน,
เตนหิ ตถาคโต สพพฺ ํ อกุสล ํ ฌาเปตวฺ า สพพฺ ฺ ตุ ํ ปตโฺ ตติ ตมปฺ ิ วจนํ มิจฺฉา ฯ นตฺถ ิ
ภนฺเต วนิ า กมเฺ มน เวทยติ ํ, สพฺพํ ต ํ เวทยติ ํ กมฺมมูลก,ํ ต ํ กมเฺ มเนว เวทยต,ิ อยมปฺ ิ
อุภโต โกฏิโก ป ฺโห ตวานุปปฺ ตโฺ ต, โส ตยา นิพพฺ าหติ พฺโพ’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ นิ ทต์ รัสวา่ “พระคณุ เจา้ นาคเสน ถ้าหากวา่ พระตถาคต เผาอกศุ ลไดท้ งั้ หมด
แลว้ จึงทรงบรรลุพระสพั พัญญตุ ญาณจริงไซร้ ถา้ อยา่ งนัน้ ค�ำพูดทว่ี า่ พระบาทขา้ งหนง่ึ ของ
พระผ้มู ีพระภาคเจ้าถูกสะเก็ดหินบาด, ทรงเกิดพระโลหิตปกั ขนั ทกิ าพาธ ดังน้ี ค�ำนั้น กต็ ้อง
เป็นค�ำพดู ทผ่ี ดิ ถ้าหากวา่ พระบาทของตถาคตถกู สะเก็ดหนิ บาด, ทรงเกิดพระโลหติ ปักขันทิ-
กาพาธ จริงแลว้ ไซร้ ถ้าอย่างนน้ั ค�ำพดู ที่วา่ พระตถาคตทรงเผาอกุศลได้ทงั้ หมดแล้ว จึงบรรลุ
พระสัพพญั ญตุ ญาณ ดังน้ี ค�ำแมน้ ้ัน ก็ยอ่ มเปน็ ค�ำพูดทผ่ี ดิ พระคณุ เจ้า เวน้ กรรมเสยี เท่านน้ั
เวทนาก็หามไี ด้ไม่ เวทนาท้ังหมดน้ันล้วนมีกรรมเปน็ มูล ผลนนั้ ยอ่ มเสวยเพราะกรรมเทา่ น้ัน
แม้ปญั หานี้กม็ ี ๒ เง่อื น ตกถึงแก่ทา่ นแลว้ ขอท่านจงคลีค่ ลายปัญหานั้นเถิด”
‘‘น ห ิ มหาราช สพฺพ ํ ตํ เวทยิตํ กมฺมมูลกํ ฯ อฏฺ หิ มหาราช การเณห ิ
เวทยิตานิ อุปฺปชฺชนฺต,ิ เยห ิ การเณห ิ ปถุ ู สตฺตา เวทนา เวทิยนตฺ ิ ฯ กตเมห ิ อฏ ฺ หิ ?
วาตสมุฏฺ านานปิ ิ โข มหาราช อิเธกจจฺ าน ิ เวทยติ าน ิ อปุ ฺปชฺชนตฺ ิ,
ปติ ฺตสมฏุ ฺ านานิป ิ โข มหาราช…เป.…
เสมหฺ สมุฏ ฺ านานปิ ิ โข มหาราช…เป.…
สนนฺ ปิ าติกานปิ ิ โข มหาราช…เป.…
อุตุปริณามชานปิ ิ โข มหาราช…เป.…
วิสมปรหิ ารชานปิ ิ โข มหาราช…เป.…
โอปกกฺ มกิ านปิ ิ โข มหาราช…เป.…
กมฺมวปิ ากชานิปิ โข มหาราช อิเธกจจฺ าน ิ เวทยติ านิ อปุ ปฺ ชชฺ นตฺ ิ ฯ อิเมหิ โข
มหาราช อฏ ฺ ห ิ การเณหิ ปถุ ู สตตฺ า เวทนา เวทยนฺติ ฯ ตตถฺ เย เต ปุคคฺ ลา ‘สตเฺ ต
กมมฺ ํ วพิ าธต’ี ติ วเทยฺยํุ, เต อเิ ม ปุคฺคลา สตตฺ การณ ํ ปฏิพาหนฺติ ฯ เตส ํ ตํ วจน ํ
มจิ ฺฉา’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร เวทนาท้ังปวง ลว้ นมกี รรมเปน็ มลู ก็
หาไม่ ขอถวายพระพร เวทนาทัง้ หลายย่อมเกดิ ข้นึ เพราะเหตุ ๘ อยา่ ง ซ่งึ เป็นเหตุใหส้ ัตว์
ทง้ั หลายมากมายได้เสวยเวทนา เพราะเหตุ ๘ อย่างอะไรบ้าง ?

332 มลิ นิ ทปัญหาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปญั ห

ขอถวายพระพร
๑. เวทนาบางอยา่ ง ย่อมเกดิ ข้ึนในโลกนี้ เปน็ เวทนาที่มลี มเปน็ สมุฏฐานบา้ ง
๒. เวทนาบางอย่าง ย่อมเกิดข้นึ ในโลกนี้ เป็นเวทนาทม่ี ดี เี ป็นสมุฏฐานบ้าง
๓. เวทนาบางอยา่ ง ย่อมเกดิ ข้ึนในโลกน้ี เปน็ เวทนาทีม่ เี สมหะเปน็ สมฏุ ฐานบา้ ง
๔. เวทนาบางอย่าง ย่อมเกิดข้นึ ในโลกน้ี เป็นเวทนาที่เกดิ จากสันนิบาต (เหตุ
ประจวบรว่ มกัน) บ้าง
๕. เวทนาบางอยา่ ง ย่อมเกิดขึ้นในโลกนี้ เปน็ เวทนาท่ีเกดิ จากความเปล่ยี นแปลง
แหง่ อุตุบ้าง
๖. เวทนาบางอย่าง ย่อมเกิดขึน้ ในโลกนี้ เปน็ เวทนาทเี่ กิดจากการบริหารไม่
สม�ำ่ เสมอบา้ ง
๗. เวทนาบางอย่าง ยอ่ มเกดิ ขน้ึ ในโลกน้ี เป็นเวทนาท่ีเกิดจากความพยายามบ้าง
๘. เวทนาบางอย่าง ย่อมเกิดข้ึนในโลกนี้ เปน็ เวทนาทีเ่ กิดโดยเปน็ วิบากของกรรม
บา้ ง
ขอถวายพระพรมหาบพิตร สัตวท์ ง้ั หลายมากมาย ยอ่ มเสวยเวทนาเพราะเหตุ ๘ อยา่ ง
เหลา่ น้ี ในบรรดาเหตุ ๘ อย่างเหล่านั้น บุคคลเหลา่ ใดกล่าวแตว่ ่า กรรมย่อมเบยี ดเบยี นสัตว์
ทงั้ หลาย ดังน้ี บุคคลเหล่านั้น ช่ือวา่ ปฏิเสธเหตุ ๗ อยา่ ง ค�ำพูดของบุคคลเหล่าน้ัน น้นั เปน็ ค�ำ
พดู ทีผ่ ดิ ”
‘‘ภนฺเต นาคเสน ย ฺจ วาตกิ ํ ย ฺจ ปิตตฺ กิ ํ ย จฺ เสมฺหิกํ ย ฺจ สนนฺ ิปาตกิ ํ ย ฺจ
อตุ ปุ รณิ ามช ํ ย จฺ วสิ มปรหิ ารช ํ ย ฺจ โอปกกฺ มิก,ํ สพฺเพเต กมฺมสมฏุ ฺ านาเยว, กมเฺ มเนว
เต สพฺเพ สมฺภวนฺตี’’ติ ฯ
พระเจา้ มิลนิ ท์ตรัสว่า “พระคุณเจา้ นาคเสน เวทนาท่เี กิดจากลมกด็ ี เวทนาที่เกดิ จากดี
กด็ ี เวทนาทเี่ กิดจากเสมหะก็ดี เวทนาที่เกดิ จากสนั นิบาตก็ดี เวทนาทเี่ กดิ จากการเปลย่ี นแปลง
แห่งอุตกุ ็ดี เวทนาทเี่ กดิ การบริหารร่างกายไม่สม่ำ� เสมอกด็ ี เวทนาที่เกิดจากความพยายามกด็ ี
เวทนาเหลา่ นั้นทั้งหมด กล็ ว้ นตัง้ ขึ้นเพราะกรรมทงั้ นน้ั นัน่ แหละ เวทนาเหลา่ น้นั ทง้ั หมด ล้วน
เกิดได้เพราะกรรมอย่างเดยี ว”

กณั ฑ]์ ๔.๑ อิทธพิ ลวรรค 333

‘‘ยท ิ มหาราช เตปิ สพฺเพ กมฺมสมุฏฺ านาว อาพาธา ภเวยฺยุํ, น เตส ํ โกฏ ฺ าสโต
ลกฺขณาน ิ ภเวยยฺ ุํ ฯ วาโต โข มหาราช กุปปฺ มาโน ทสวเิ ธน กุปฺปต ิ สีเตน อณุ เฺ หน
ชิฆจฺฉาย วิปาสาย อติภุตเฺ ตน าเนน ปธาเนน อาธาวเนน อปุ กฺกเมน กมฺมวปิ าเกน ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร ถ้าหากวา่ ความเจ็บไขไ้ ด้
ปว่ ย (ทกุ ขเวทนา) ทัง้ หลายทั้งปวงแม้เหล่าน้นั ลว้ นมีกรรมเปน็ สมฏุ ฐานอย่างเดียวไซร้ ความ
เจ็บไข้ไดป้ ่วยเหลา่ นั้นกไ็ มน่ ่าจะมลี กั ษณะเปน็ ส่วน ๆ ขอถวายพระพร ลมเม่อื จะก�ำเริบ ย่อม
ก�ำเริบเพราะเหตุ ๑๐ อย่าง คอื
๑. สีเตน, เพราะความหนาวเยน็
๒. อุณฺเหน, เพราะความร้อน
๓. ชิฆจฺฉาย, เพราะความหวิ
๔. วปิ าสาย, เพราะความกระหาย
๕. อติภตุ เฺ ตน, เพราะบริโภคอาหารมากเกนิ ไป
๖. าเนน, เพราะการยนื (ทีน่ านเกนิ ไป)
๗. ปธาเนน, เพราะความเพยี ร (ทีม่ ากเกนิ ไป)
๘. อาธาวเนน, เพราะการวิง่ เร็วเกินไป
๙. อุปกกฺ เมน, เพราะความพยายาม (ของตนหรือของผอู้ น่ื )
๑๐. กมมฺ วปิ าเกน, เพราะผลกรรม
ตตฺร เย เต นววธิ า, น เต อตเี ต น อนาคเต วตตฺ มานเก ภเว อุปฺปชชฺ นตฺ ิ,
ตสมฺ า น วตฺตพพฺ า ‘กมมฺ สมภฺ วา สพฺพา เวทนา’ติ ฯ
ในบรรดาเหตุ ๑๐ อยา่ งเหลา่ น้นั เหตุ ๙ อยา่ ง ไม่ใช่เหตุอดตี ไม่ใช่เหตุอนาคต ยอ่ ม
เกิดข้นึ ในภพปจั จบุ ัน เพราะฉะนัน้ ก็ไมค่ วรกล่าวว่า เวทนาทั้งหลายทั้งปวงมีกรรมเป็นแดน
เกิด
ปติ ตฺ ํ มหาราช กปุ ฺปมาน ํ ติวเิ ธน กปุ ปฺ ต ิ สีเตน อุณเฺ หน วสิ มโภชเนน ฯ
ขอถวายพระพร ดีเมอ่ื จะก�ำเรบิ ยอ่ มก�ำเรบิ เพราะเหตุ ๓ อยา่ ง คือ
๑. สีเตน, เพราะความหนาวเย็น
๒. อุณฺเหน, เพราะความร้อน
๓. วิสมโภชเนน, เพราะการกนิ ของแสลง


Click to View FlipBook Version