34 มลิ ินทปัญหาปกรณ์แปล [๑.ปุพพโยค
อถ โข อายสฺมา อสฺสคุตฺโต มณฺฑลมาเฬ นิสนิ โฺ น ทฺวนิ ฺนมฺปิ ธมฺมจกฺขุปฏลิ าภํ
ตฺวา สาธกุ าร ํ ปวตฺเตส ิ ‘‘สาธุ สาธ ุ นาคเสน, เอเกน กณฺฑปปฺ หาเรน เทวฺ มหากายา
ปทาลติ า’’ติ ฯ
ครง้ั น้นั ทา่ นพระอัสสคุตนั่งอย่ทู ีโ่ รงกลม ทราบวา่ บุคคลแมท้ งั้ สองได้ธรรมจักษแุ ลว้ ก็
ให้สาธกุ ารไปวา่ “สาธุ สาธุ นาคเสน ดว้ ยการใช้ลูกศรประหารคราวเดยี ว เธอก็ท�ำลายกิเลส
หม่ใู หญไ่ ดท้ ้งั ๒ ฝ่าย”
อเนกานิ จ เทวตาสหสสฺ านิ สาธุการ ํ ปวตฺเตสุํ ฯ
ทั้งเทวดาจ�ำนวนหลายพนั ก็ได้ใหส้ าธกุ ารเปน็ ไป
[๑๗] อถ โข อายสมฺ า นาคเสโน อุฏฺ ายาสนา, เยนายสมฺ า อสสฺ คุตโฺ ต,
เตนปุ สงฺกมิ, อปุ สงฺกมติ ฺวา อายสมฺ นตฺ ํ อสสฺ คตุ ฺตํ อภวิ าเทตฺวา เอกมนตฺ ํ นสิ ที ิ ฯ
[๑๗] ต่อจากนั้น ท่านนาคเสนลกุ จากอาสนะ เข้าไปหาทา่ นพระอสั สคุต ณ ท่ที ่าน
พ�ำนักอยู่ คร้นั เขา้ ไปหาแล้ว กก็ ราบไหว้ทา่ นพระอสั สคตุ แล้วนัง่ ณ ทีส่ มควร
เอกมนตฺ ํ นสิ ินนฺ ํ โข อายสมฺ นตฺ ํ นาคเสน ํ อายสฺมา อสสฺ คตุ โฺ ต เอตทโวจ ‘‘คจฺฉ
ตฺว ํ นาคเสน ปาฏลิปุตตฺ ,ํ ปาฏลิปุตตฺ นคเร อโสการาเม อายสมฺ า ธมฺมรกฺขิโต ปฏิวสต,ิ
ตสฺส สนฺติเก พทุ ฺธวจน ํ ปริยาปณุ าห’ี ’ติ ฯ
ทา่ นพระอสั สคุตได้กล่าวข้อความน้กี ับทา่ นพระนาคเสนผนู้ ่ัง ณ ทีส่ มควรวา่ “น่แี น่ะ
นาคเสน ขอเธอจงไปยงั เมอื งปาฏลีบตุ ร ท่านพระธัมมรกั ขิตะอาศัยอยทู่ ีว่ ดั อโสการามใกล้
เมืองปาฏลีบตุ ร เธอจงเรียนพระพทุ ธพจนใ์ นส�ำนักของท่านพระธัมมรกั ขิตะนั้นเถดิ ”
‘‘กวี ทูโร ภนเฺ ต อิโต ปาฏลปิ ตุ ฺตนครน”ฺ ติ ?
ท่านพระนาคเสนถามวา่ “เมอื งปาฏลีบุตรอย่ไู กลจากนี้ไปสกั เทา่ ไร ขอรบั ”
‘‘โยชนสตาน ิ โข นาคเสนา’’ติ ฯ
พระอัสสคตุ กลา่ วว่า “หลายร้อยโยชนแ์ หละ นาคเสน”
‘‘ทโู ร โข ภนฺเต มคโฺ ค, อนตฺ รามคเฺ ค ภิกขฺ า ทลุ ลฺ ภา, กถาหํ คมิสฺสามี’’ติ ?
ทา่ นพระนาคเสนถามว่า “ทา่ นผเู้ จริญ หนทางกไ็ กล ในระหวา่ งทาง ภิกษาก็หาไดย้ าก
กระผมจะไปไดอ้ ย่างไร”
กณั ฑ]์ พาหริ กถา 35
‘‘คจฉฺ ตฺว ํ นาคเสน, อนตฺ รามคฺเค ปณิ ฺฑปาต ํ ลภิสฺสสิ สาลีนํ โอทน ํ วคิ ตกาฬก ํ
อเนกสูปํ อเนกพฺย ชฺ นน”ฺ ติ ฯ
พระอัสสคตุ กลา่ ววา่ “เธอจงไปเถดิ นาคเสน ในระหวา่ งทาง เธอจะได้บณิ ฑบาตขา้ ว
สวยข้าวสาลที ่ีปราศจากกาก แกงและกบั ข้าวมากมาย”
‘‘เอวํ ภนฺเต’’ต ิ โข อายสมฺ า นาคเสโน อายสฺมนตฺ ํ อสฺสคุตตฺ ํ อภวิ าเทตวฺ า
ปทกขฺ ณิ ํ กตฺวา ปตฺตจีวรมาทาย, เยน ปาฏลปิ ุตฺต,ํ เตน จารกิ ํ ปกฺกามิ ฯ
ท่านนาคเสนรับค�ำว่า “ขอรบั กระผม” แลว้ กก็ ราบลาท่านพระอัสสคตุ ท�ำประทกั ษิณ
ถอื บาตรและจีวร หลีกจาริกไปทางเมืองปาฏลีบุตรต้งั อยู่
[๑๘] เตน โข ปน สมเยน ปาฏลปิ ตุ ฺตโก เสฏฺ ิ ป จฺ หิ สกฏสเตห ิ ปาฏลิปุตตฺ -
คามิมคคฺ ํ ปฏิปนฺโน โหติ ฯ
[๑๘] ก็ในสมยั นั้นแล เศรษฐีชาวเมืองปาฏลบี ตุ รคนหน่ึง ก�ำลงั เดนิ ทางไปเมอื งปาฏลี
บุตรพร้อมกับเกวยี น ๕๐๐ เลม่
อทฺทสา โข ปาฏลปิ ุตตฺ โก เสฏฺ ิ อายสฺมนตฺ ํ นาคเสนํ ทรู โตว อาคจฉฺ นตฺ ,ํ ทสิ วฺ าน
เยนายสมฺ า นาคเสโน เตนุปสงกฺ ม,ิ อุปสงกฺ มิตฺวา อายสฺมนตฺ ํ นาคเสนํ อภิวาเทตฺวา ‘‘กหุ ึ
คจฺฉสิ ตาตา’’ต ิ อาห ฯ
เศรษฐชี าวเมอื งปาฏลีบตุ รได้เหน็ ท่านพระนาคเสนผู้ก�ำลงั เดินมาแตไ่ กล พอเห็นเขา้
ก็เขา้ ไปหาทา่ นพระนาคเสน คร้นั เขา้ ไปหาแลว้ ได้กราบไหว้ทา่ นพระนาคเสน ถามว่า “หลวง
พอ่ จะเดินทางไปไหนครับ”
‘‘ปาฏลิปตุ ฺตํ คหปต’ี ’ติ ฯ
ท่านพระนาคเสนกลา่ ววา่ “อาตมภาพจะไปเมืองปาฏลบี ุตร ทา่ นคฤหบดี”
‘‘สาธุ ตาต, มยมฺปิ ปาฏลิปตุ ฺต ํ คจฉฺ าม, อมเฺ หห ิ สทฺธึ สขุ ํ คจฉฺ ถา’’ติ ฯ
ท่านเศรษฐีกล่าวว่า “ดจี ริงครับ หลวงพ่อ แม้พวกกระผมก็จะไปยงั เมืองปาฏลบี ตุ ร
ดว้ ยเช่นกนั ขอทา่ นจงไปพร้อมกบั พวกกระผมตามสบายเถดิ ”
36 มิลนิ ทปญั หาปกรณแ์ ปล [๑.ปพุ พโยค
อถ โข ปาฏลิปตุ ตฺ โก เสฏฺ ิ อายสมฺ โต นาคเสนสสฺ อิรยิ าปเถ ปสีทิตวฺ า อายสมฺ นฺตํ
นาคเสนํ ปณีเตน ขาทนีเยน โภชนเี ยน สหตถฺ า สนฺตปฺเปตฺวา สมปฺ วาเรตฺวา อายสฺมนตฺ ํ
นาคเสน ํ ภตุ ฺตาวึ โอนีตปตฺตปาณึ อ ฺ ตร ํ นจี ํ อาสน ํ คเหตวฺ า เอกมนตฺ ํ นิสีท,ิ เอกมนตฺ ํ
นสิ นิ ฺโน โข ปาฏลิปุตฺตโก เสฏ ฺ ิ อายสฺมนตฺ ํ นาคเสน ํ เอตทโวจ ‘‘กนิ ฺนาโมส ิ ตวฺ ํ
ตาตา’’ติ ฯ
ล�ำดับนน้ั แล เศรษฐีชาวเมอื งปาฏลบี ุตรเลือ่ มใสในอริ ิยาบถของทา่ นพระนาคเสน จึง
เลย้ี งดพู ระนาคเสนใหอ้ ่ิมหน�ำ ใหเ้ พียงพอ ด้วยของเคีย้ วของฉนั อันประณตี ดว้ ยมือของตน
ถือเอาอาสนะอนั ใดอนั หน่ึงซง่ึ เต้ยี กวา่ ไปน่งั ณ ทส่ี มควร เศรษฐชี าวเมืองปาฏลบี ตุ รผนู้ ง่ั อยู่ ณ
ท่ีสมควรแล้ว ไดก้ ล่าวความขอ้ นก้ี บั ทา่ นพระนาคเสนผู้ฉันเสรจ็ แล้ว ผู้วางมือจากบาตรแลว้ ว่า
“หลวงพอ่ ครบั ท่านมชี อื่ วา่ กระไร”
‘‘อหํ คหปติ นาคเสโน นามา’’ติ ฯ
พระนาคเสนกล่าววา่ “ท่านคฤหบดี อาตมภาพชอ่ื พระนาคเสน”
‘‘ชานาส ิ โข ตวฺ ํ ตาต พทุ ฺธวจนํ นามา’’ติ ?
ทา่ นเศรษฐถี ามวา่ “หลวงพ่อ ทา่ นรูพ้ ระพทุ ธพจน์หรอื เปล่าครับ”
‘‘ชานาม ิ โขห ํ คหปติ อภิธมมฺ ปทานี’’ติ ฯ
พระนาคเสนกลา่ ววา่ “อาตมภาพรบู้ ทพระอภธิ รรม ท่านคฤหบด”ี
‘‘ลาภา โน ตาต, สลุ ทธฺ ํ โน ตาต, อหมปฺ ิ โข ตาต อาภิธมมฺ ิโก, ตฺวมฺปิ
อาภธิ มมฺ ิโก, ภณ ตาต อภิธมฺมปทาน’ี ’ติ ฯ
ทา่ นเศรษฐกี ลา่ ววา่ “หลวงพอ่ เป็นลาภของพวกเราหนอ พวกเราไดด้ แี ลว้ หนอ, ท่วี า่
แม้โยมกเ็ ปน็ นกั เรยี นพระอภธิ รรม แมท้ ่านก็เป็นนักเรยี นพระอภธิ รรม หลวงพอ่ ขอท่านจง
กลา่ วบทพระอภธิ รรมเถิด”
อถ โข อายสฺมา นาคเสโน ปาฏลปิ ุตตฺ กสสฺ เสฏฺ สิ ฺส อภิธมมฺ ํ เทเสส,ิ
เทเสนฺเตเยว ปาฏลปิ ตุ ฺตกสสฺ เสฏ ฺ สิ ฺส วิรช ํ วีตมลํ ธมฺมจกฺข ํุ อทุ ปาท ิ ‘‘ย ํ ก ิ ฺจ ิ
สมุทยธมมฺ ,ํ สพฺพํ ต ํ นโิ รธธมมฺ นฺ”ติ ฯ
ครงั้ นัน้ แล ทา่ นพระนาคเสนไดแ้ สดงพระอภธิ รรมแก่เศรษฐีชาวเมอื งปาฏลีบุตร, เมอื่
ทา่ นยังแสดงอย่นู ั่นแหละ ท่านเศรษฐชี าวเมืองปาฏลบี ุตรกไ็ ดเ้ กดิ ธรรมจักษุ อันปราศจากธลุ ี
กณั ฑ์] พาหริ กถา 37
ปราศจากมลทนิ ขน้ึ ว่า “สง่ิ ใดส่งิ หนงึ่ มีความเกิดขึน้ เปน็ ธรรมดา สิ่งนนั้ ทงั้ หมด ลว้ นมีความ
ดบั ไปเป็นธรรมดา”
อถ โข ปาฏลิปุตตฺ โก เสฏฺ ิ ป จฺ มตตฺ านิ สกฏสตาน ิ ปรุ โต อุยโฺ ยเชตวฺ า สย ํ
ปจฺฉโต คจฺฉนโฺ ต ปาฏลิปตุ ตฺ สฺส อวทิ เู ร เทวฺ ธาปเถ ตฺวา อายสฺมนตฺ ํ นาคเสนํ เอตทโวจ
‘‘อย ํ โข ตาต นาคเสน อโสการามสสฺ มคฺโค, อทิ ํ โข ตาต อมหฺ าก ํ กมพฺ ลรตน ํ โสฬส-
หตถฺ ํ อายาเมน, อฏ ฺ หตฺถํ วติ ถฺ าเรน, ปฏิคคฺ ณฺหาห ิ โข ตาต อทิ ํ กมฺพลรตน ํ อนกุ มปฺ ํ
อปุ าทายา’’ติ ฯ
ล�ำดับนนั้ แล เศรษฐชี าวเมอื งปาฏลีบตุ รส่งเกวยี น ๕๐๐ เล่มไปขา้ งหน้าก่อนแลว้
ตนเองเดินตามหลังไป หยุดยืนอยูท่ ที่ างสองแพรง่ ในทไ่ี มไ่ กลจากเมืองปาฏลบี ุตร แลว้ กล่าว
กบั ท่านพระนาคเสนว่า “หลวงพอ่ นาคเสน น้คี อื เส้นทางไปวดั อโสการาม หลวงพอ่ นี้คือผา้
กมั พลสีแดงของพวกกระผม ยาว ๑๖ ศอก กวา้ ง ๘ ศอก ขอจงอนเุ คราะห์รับผ้ากมั พลสแี ดง
ผนื น้ีเถดิ ”
ปฏคิ คฺ เหส ิ โข อายสมฺ า นาคเสโน ต ํ กมฺพลรตนํ อนุกมฺปํ อปุ าทาย ฯ
ทา่ นพระนาคเสน รบั ผา้ กมั พลแดงผนื นน้ั เพ่ืออนุเคราะห์
อถ โข ปาฏลปิ ุตฺตโก เสฏ ฺ ิ อตฺตมโน อทุ คโฺ ค ปมทุ ิโต ปตี ิโสมนสฺสชาโต
อายสฺมนตฺ ํ นาคเสน ํ อภวิ าเทตฺวา ปทกขฺ ณิ ํ กตวฺ า ปกฺกามิ ฯ
คราวนน้ั แล เศรษฐีชาวเมืองปาฏลีบตุ ร ก็พอใจ ดใี จ บันเทิงใจ เกดิ ความปีตโิ สมนสั
กราบไหว้ทา่ นพระนาคเสน ท�ำประทักษณิ เสร็จแล้วกห็ ลีกไป
[๑๙] อถ โข อายสฺมา นาคเสโน, เยน อโสการาโม, เยนายสฺมา ธมมฺ รกขฺ โิ ต,
เตนุปสงฺกมิ; อปุ สงฺกมติ ฺวา อายสฺมนฺต ํ ธมฺมรกฺขิตํ อภวิ าเทตฺวา อตตฺ โน อาคตการณ ํ
กเถตวฺ า อายสฺมโต ธมฺมรกขฺ ิตสฺส สนฺตเิ ก เตปฏิ กํ พทุ ฺธวจน ํ เอเกเนว อทุ เฺ ทเสน ตหี ิ
มาเสหิ พยฺ ฺชนโส ปรยิ าปณุ ติ ฺวา ปุน ตีห ิ มาเสหิ อตถฺ โส มนสากาสิ ฯ
[๑๙] ครง้ั นั้นแล ทา่ นพระนาคเสนได้เข้าไปหาท่านพระธรรมรกั ขติ ะ ถึงทีว่ ัดอโสกา
ราม คร้ันเข้าไปถึงแลว้ กก็ ราบไหวท้ ่านพระธรรมรกั ขิตะ บอกถงึ เหตผุ ลท่ีตนมา แลว้ ก็เรียน
พระพทุ ธพจน์คอื พระไตรปฎิ กในส�ำนักของทา่ นพระธรรมรักขิตะ ใชเ้ วลา ๓ เดอื น เรยี นจบ
โดยพยญั ชนะ โดยการแสดงเพยี งคราวเดยี วเทา่ นัน้ ใชเ้ วลาอกี ๓ เดอื น ท�ำไว้ในใจโดยอรรถ
38 มลิ ินทปญั หาปกรณแ์ ปล [๑.ปุพพโยค
อถ โข อายสมฺ า ธมมฺ รกขฺ โิ ต อายสมฺ นฺตํ นาคเสนํ เอตทโวจ ‘‘เสยฺยถาปิ นาคเสน
โคปาลโก คาโว รกฺขติ, อ เฺ โครสํ ปรภิ ุ ชฺ นตฺ ิ ฯ เอวเมว โข ตวฺ ํ นาคเสน เตปฏิ กํ
พทุ ธฺ วจน ํ ธาเรนฺโตปิ น ภาค ี สาม ฺ สสฺ า’’ติ ฯ
ตอ่ จากนั้น ทา่ นพระธรรมรักขติ ะ ได้กล่าวข้อความนีก้ บั ทา่ นพระนาคเสนวา่ “นีแ่ นะ่
นาคเสน คนเล้ยี งโค กไ็ ดแ้ ต่รกั ษาโค แตค่ นเหล่าอ่ืน (คือเจา้ ของโค) กลบั ได้บริโภคโครส แม้
ฉันใด, นาคเสน ตวั เธอ แมท้ รงจ�ำพระพทุ ธพจนค์ ือพระไตรปฎิ กได้ ก็หาเป็นผู้มีสว่ นแหง่
สามญั ญผลไม่ ฉันน้ันเหมอื นกนั ”
‘‘โหต ุ ภนเฺ ต อล ํ เอตฺตเกนา’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ท่านผูเ้ จริญ พอทีละ ดว้ ยการเรียนพระไตรปิฎกเพยี ง
เท่าน”ี้
เตเนว ทวิ สภาเคน เตน รตตฺ ิภาเคน สห ปฏสิ มภฺ ทิ าหิ อรหตตฺ ํ ปาปุณิ, สห
สจฺจปปฺ ฏเิ วเธน อายสฺมโต นาคเสนสฺส สพฺเพ เทวา สาธกุ ารมทํสุ, ปถวี อนุ นฺ ท,ิ
พรฺ หมฺ าโน อปโฺ ผเฏส,ํุ ทพิ ฺพาน ิ จนทฺ นจุณฺณานิ ทิพฺพานิ จ มนฺทารวปุปผฺ านิ
อภิปปฺ วสสฺ ึสุ ฯ
พระนาคเสนบรรลุพระอรหัตพรอ้ มทัง้ ปฏิสมั ภิทาทั้งหลายในสว่ นแห่งราตรีนัน้ ในสว่ น
แห่งวันนน้ั น่ันเอง พร้อมกับการรู้แจง้ แทงตลอดสจั จะ เทวดาทง้ั หลายกไ็ ด้ให้สาธุการแก่ท่าน
พระนาคเสน แผ่นดนิ ก็บันลือล่ัน พวกพรหมก็ปรบมอื ผงจรุ ณจนั ทน์อนั เป็นทิพย์ และดอก
มณฑารพอันเปน็ ทพิ ยก์ โ็ ปรยปรายลงมา
[๒๐] เตน โข ปน สมเยน โกฏสิ ตา อรหนโฺ ต หิมวนฺเต ปพพฺ เต รกฺขติ ตเล
สนนฺ ปิ ติตวฺ า อายสฺมโต นาคเสนสฺส สนฺติเก ทตู ํ ปาเหสุํ ‘‘อาคจฺฉต ุ นาคเสโน, ทสฺสนกามา
มยํ นาคเสนนฺ”ติ ฯ
[๒๐] ก็ ในสมัยน้นั แล พระอรหนั ต์ ๑๐๐ โกฏิ ประชุมกันทีร่ กั ขติ ตลวิหาร บนภูเขา
หมิ พานต์ แลว้ ได้ส่งทตู ไปท่ีส�ำนักของทา่ นพระนาคเสน บอกว่า “พระนาคเสนจงมา พวกเรา
ตอ้ งการพบพระนาคเสน”
อถ โข อายสมฺ า นาคเสโน ทตู สสฺ วจน ํ สุตฺวา อโสการาเม อนฺตรหโิ ต หิมวนฺเต
ปพฺพเต รกฺขิตตเล โกฏสิ ตาน ํ อรหนฺตาน ํ ปุรโต ปาตุรโหสิ ฯ
ล�ำดับน้ัน ท่านพระนาคเสนได้ฟังค�ำของทูตแลว้ ก็อันตรธานหายตัวทวี่ ดั อโสการาม
กณั ฑ]์ พาหริ กถา 39
ไปปรากฏตวั ทีร่ ักขิตตลวหิ าร บนภเู ขาหิมพานต์ เบือ้ งหน้าพระอรหันต์ ๑๐๐ โกฏิ
[๒๑] อถ โข โกฏสิ ตา อรหนฺโต อายสฺมนฺตํ นาคเสน ํ เอตทโวจุํ ‘‘เอโส โข
นาคเสน มิลินฺโท ราชา ภิกขฺ สุ ํฆ ํ วเิ หเ ติ วาทปฺปฏวิ าเทน ป หฺ ปุจฉฺ าย, สาธ ุ นาคเสน
คจฉฺ ตวฺ ํ มลิ ินฺท ํ ราชานํ ทเมห’ี ’ติ ฯ
[๒๑] ครัง้ น้ันแล พระอรหันต์ ๑๐๐ โกฏิ ได้กล่าวขอ้ ความนี้กับท่านพระนาคเสนวา่
“คณุ นาคเสน พระเจา้ มิลนิ ทพ์ ระองคน์ ี้ ทรงเบยี ดเบยี นภกิ ษสุ งฆด์ ว้ ยการใช้วาทะโตว้ าทะถาม
ปญั หา ไดโ้ ปรดเถดิ คณุ นาคเสน ขอท่านได้โปรดไปทรมานพระเจา้ มิลินท์ด้วยเถิด”
‘‘ติฏ ฺ ต ุ ภนเฺ ต เอโก มลิ นิ ฺโท ราชา; สเจ ภนฺเต สกลชมฺพุทีเป ราชาโน
อาคนตฺ วฺ า ม ํ ป หฺ ํ ปุจเฺ ฉยยฺ ุํ, สพฺพํ ตํ วสิ ฺสชเฺ ชตวฺ า สมปฺ ทาเลสฺสามิ, คจฉฺ ถ โว ภนฺเต
อจฺฉมภฺ ติ า สาคลนครนฺ”ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ทา่ นผูเ้ จริญทั้งหลาย พระเจา้ มลิ นิ ท์พระองคเ์ ดียวจง
ยกไวเ้ ถิด ถ้าหากว่าพระราชาทงั้ หลายในชมพูทวปี ท้งั ส้ิน จะพงึ เสด็จมาถามปญั หากับกระผม
กระผมจักแก้ปญั หานนั้ ท�ำลายเสยี ใหห้ มด, ท่านผเู้ จริญทง้ั หลาย ขอท่านจงไปสเู่ มืองสาคละ
อย่าได้กลวั ไปเลย”
อถ โข เถรา ภกิ ขฺ ู สาคลนคร ํ กาสาวปฺปชฺโชตํ อสิ วิ าตปฏิวาตํ อกํสุ ฯ
ล�ำดับนั้นแล พระภิกษุเถระทง้ั หลาย ไดท้ �ำเมอื งสาคละใหร้ งุ่ เรอื งดว้ ยผ้ากาสาวพสั ตร์
ใหม้ ีลมพัดตลบไปดว้ ยลมแห่งฤาษี
เตน โข ปน สมเยน อายสมฺ า อายุปาโล สงเฺ ขยฺ ยยฺ ปรเิ วเณ ปฏิวสติ ฯ
กใ็ นสมยั นน้ั แล ทา่ นพระอายุปาละ อาศัยอยู่ทส่ี งไขยบริเวณ
อถ โข มลิ นิ ฺโท ราชา อมจฺเจ เอตทโวจ ‘‘รมณยี า วต โภ โทสนิ า รตตฺ ิ, กนฺน ุ
ขฺวชชฺ สมณ ํ วา พรฺ าหมฺ ณํ วา อปุ สงฺกเมยฺยาม สากจฉฺ าย ป หฺ ปจุ ฺฉนาย, โก มยา สทฺธึ
สลลฺ ปิตํ ุ อุสสฺ หต ิ กงขฺ ํ ปฏิวเิ นตนุ ”ฺ ติ ฯ
ครง้ั นน้ั พระเจ้ามลิ ินท์ไดก้ ล่าวขอ้ ความน้ีกบั พวกอ�ำมาตย์ท้งั หลายว่า “ทา่ นผเู้ จริญ
ทงั้ หลายเอย๋ ราตรแี จม่ กระจ่างน่ารื่นรมยจ์ ริงหนอ วนั น้ี เราพงึ เข้าไปเพ่อื สนทนาถามปญั หา
กับสมณะหรอื พราหมณ์ทา่ นใดหนอ ใครหนอสามารถท่ีจะสนทนากับเรา เพอ่ื จะบรรเทาความ
สงสยั ได”้
40 มิลนิ ทปญั หาปกรณแ์ ปล [๑.ปพุ พโยค
เอว ํ วตุ ฺเต, ป จฺ สตา โยนกา ราชานํ มลิ นิ ฺทํ เอตทโวจุ ํ ‘‘อตฺถ ิ มหาราช อายุปาโล
นาม เถโร เตปฏิ โก พหสุ สฺ ุโต อาคตาคโม, โส เอตรหิ สงฺเขยฺ ยฺยปรเิ วเณ ปฏวิ สติ; คจฺฉ
ตฺว ํ มหาราช อายสมฺ นตฺ ํ อายปุ าล ํ ป ฺหํ ปจุ ฉฺ สฺสู’’ติ ฯ
เม่อื รับส่ังอยา่ งนีแ้ ลว้ พวกข้าหลวงโยนกประมาณ ๕๐๐ ก็ได้กราบทูลความขอ้ นน้ั กบั
พระเจา้ มลิ นิ ทว์ า่ “ข้าแตม่ หาราชเจา้ มีพระเถระรปู หนึง่ ช่ือว่า พระอายปุ าละ ทรงพระไตรปิฎก
เปน็ พหูสูต ช�ำนาญปรยิ ัติ เวลาน้ี ท่านอาศยั อยู่ทีส่ ังไขยบรเิ วณ ขอเดชะพระมหาราชเจา้
ขอพระองค์จงเสด็จไปตรัสถามปญั หากับทา่ นอายุปาละเถิด พระเจ้าขา้ ”
‘‘เตนหิ ภเณ ภทนฺตสสฺ อาโรเจถา’’ติ ฯ
พระราชาตรัสวา่ “พนาย ถ้าอยา่ งนัน้ พวกเธอจงไปแจ้งพระคณุ เจา้ เถิด”
อถ โข เนมติ ตฺ โิ ก อายสมฺ โต อายุปาลสฺส สนตฺ เิ ก ทตู ํ ปาเหสิ ‘‘ราชา ภนฺเต
มิลินโฺ ท อายสมฺ นตฺ ํ อายุปาลํ ทสฺสนกาโม’’ติ ฯ
คร้งั น้นั แล เนมิตตกิ อ�ำมาตยไ์ ด้ส่งทูตไปท่ีส�ำนักของทา่ นอายปุ าละ กราบเรียนท่านว่า
“ทา่ นผู้เจริญ พระเจา้ มลิ นิ ท์มีพระประสงคจ์ ะพบทา่ นอายปุ าละ”
อายสฺมาปิ โข อายุปาโล เอวมาห ‘‘เตนห ิ อาคจฺฉตู’’ติ ฯ
แมท้ า่ นพระอายุปาละ กไ็ ด้กล่าวอย่างน้วี า่ “ถ้าอย่างนั้น ขอพระราชาจงเสด็จมาเถดิ ”
อถ โข มลิ ินโฺ ท ราชา ป จฺ มตฺเตหิ โยนกสเตหิ ปรวิ โุ ต รถวรมารุยฺห, เยน
สงฺเขฺยยยฺ ปริเวณํ, เยนายสมฺ า อายุปาโล, เตนุปสงกฺ มิ; อปุ สงฺกมิตฺวา อายสฺมตา อายปุ าเลน
สทธฺ ึ สมโฺ มท,ิ สมฺโมทนีย ํ กถ ํ สารณียํ วีตสิ าเรตวฺ า เอกมนฺตํ นสิ ที ิ ฯ
ล�ำดบั นัน้ พระเจา้ มลิ ินท์ แวดลอ้ มดว้ ยข้าหลวงโยนกประมาณ ๕๐๐ คน ได้เสดจ็ ข้ึนรถ
ทรงอนั ประเสรฐิ เขา้ ไปถงึ สงั ไขยบรเิ วณ ณ ทีท่ า่ นพระอายุปาละพ�ำนกั อยู่ คร้ันแล้ว ได้ทรง
บันเทงิ กับท่านพระอายปุ าละ แลว้ จงึ ตรสั สัมโมทนียกถาอันเป็นเครื่องท�ำใหร้ ะลึกถงึ กัน แลว้
ประทบั นั่ง ณ ท่ีสมควร
เอกมนฺต ํ นสิ ินโฺ น โข มลิ นิ โฺ ท ราชา อายสฺมนตฺ ํ อายปุ าลํ เอตทโวจ ‘‘กิมตฺถิยา
ภนฺเต อายุปาล ตมุ หฺ ากํ ปพฺพชฺชา, โก จ ตมุ หฺ าก ํ ปรมตฺโถ’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลินทป์ ระทบั น่ัง ณ ที่สมควร แล้วไดต้ รัสขอ้ ความน้กี บั ท่านพระอายปุ าละวา่
“พระคุณเจา้ อายปุ าละ การบวชของพวกท่านมปี ระโยชนอ์ ะไร และอะไรเปน็ ประโยชนอ์ ย่างยิ่ง
กัณฑ์] พาหริ กถา 41
ของพวกทา่ น ?”
เถโร อาห ‘‘ธมฺมจริยสมจรยิ ตฺถา โข มหาราช ปพฺพชฺชา, สาม ฺ ผล ํ โข ปน
อมฺหากํ ปรมตโฺ ถ’’ติ ฯ
พระเถระกลา่ วถวายค�ำตอบวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร การบวชมีการประพฤติ
ธรรม ประพฤติสม�ำ่ เสมอเปน็ ประโยชน์ สามัญญผล เป็นประโยชน์อยา่ งย่ิงของพวกอาตมา”
‘‘อตถฺ ิ ปน ภนฺเต โกจ ิ คหิ ีป ิ ธมฺมจาร ี สมจารี’’ติ ?
พระราชาตรัสถามวา่ “พระคุณเจ้า ผปู้ ระพฤตธิ รรม ประพฤตสิ ม�ำ่ เสมอบางคน แม้ที่
เปน็ คฤหสั ถ์ ก็มีอยู่มิใช่หรือ”
‘‘อาม มหาราช อตถฺ ิ คิหีปิ ธมฺมจารี สมจาร,ี ภควติ โข มหาราช พาราณสิย ํ
อสิ ิปตเน มิคทาเย ธมฺมจกกฺ ํ ปวตเฺ ตนฺเต อฏ ฺ ารสนนฺ ํ พฺรหมฺ โกฏีนํ ธมมฺ าภิสมโย อโหสิ,
เทวตาน ํ ปน ธมฺมาภิสมโย คณนปถํ วีตวิ ตฺโต, สพเฺ พเต คิหภิ ตู า, น ปพฺพชติ า ฯ
พระเถระตอบวา่ “ขอถวายพระพร ใช่ ผปู้ ระพฤตธิ รรม ประพฤตสิ มำ�่ เสมอ แม้ทเ่ี ปน็
คฤหัสถ์ กม็ ีอยู่ ขอถวายพระพร เม่อื คราวท่พี ระผู้มพี ระภาคทรงประกาศธรรมจกั รทปี่ า่ อิส-ิ
ปตนมิคทายวนั ใกล้เมืองพาราณสี พวกพรหม ๑๘ โกฏิ กไ็ ด้มีการบรรลุธรรม ส่วนการบรรลุ
ธรรมของพวกเทวดาทัง้ หลาย เหลือท่ีจะคณานับได้ บคุ คลเหลา่ นั้นท้งั หมด ลว้ นเปน็ คฤหัสถ์
หาเปน็ บรรพชิตไม่
‘‘ปุน จปร ํ มหาราช ภควตา โข มหาสมยสตุ ฺตนฺเต เทสยิ มาเน, มหามงฺคล-
สุตฺตนเฺ ต เทสิยมาเน, สมจติ ฺตปรยิ ายสุตตฺ นฺเต เทสยิ มาเน, ราหุโลวาทสตุ ฺตนเฺ ต เทสยิ มาเน,
ปราภวสตุ ตฺ นเฺ ต เทสิยมาเน, คณนปถํ วตี ิวตตฺ านํ เทวตานํ ธมฺมาภิสมโย อโหส,ิ สพเฺ พเต
คหิ ภิ ูตา, น ปพฺพชติ า’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร ขอ้ อ่นื ยงั มอี ยู่อกี เมือ่ พระผูม้ พี ระภาคทรงแสดงมหาสมัยสูตร เมอ่ื
ทรงแสดงมหามงคลสตู ร เม่อื ทรงแสดงสมจติ ตปริยายสูตร เม่อื ทรงแสดงราหุโลวาทสูตร เม่ือ
ทรงแสดงปราภวสตู ร เทวดาเหลอื ท่จี ะนับ ได้บรรลธุ รรม บุคคลเหลา่ น้นั ท้งั หมด ลว้ นเปน็
คฤหัสถ์ หาเปน็ บรรพชติ ไม่
42 มลิ นิ ทปญั หาปกรณแ์ ปล [๑.ปพุ พโยค
‘‘เตนหิ ภนฺเต อายุปาล นิรตถฺ กิ า ตุมหฺ ากํ ปพฺพชฺชา, ปพุ เฺ พ กตสสฺ ปาปกมมฺ สฺส
นิสสฺ นเฺ ทน สมณา สกยฺ ปุตฺตยิ า ปพฺพชนฺติ ธตุ งคฺ าน ิ จ ปริหรนตฺ ิ ฯ เย โข เต ภนฺเต
อายปุ าล ภกิ ฺขู เอกาสนิกา, นูน เต ปุพฺเพ ปเรส ํ โภคหารกา โจรา, เต ปเรสํ โภเค
อจฺฉนิ ฺทติ ฺวา ตสฺส กมมฺ สสฺ นิสสฺ นเฺ ทน เอตรหิ เอกาสนกิ า ภวนตฺ ,ิ น ลภนตฺ ิ กาเลนกาล ํ
ปริภ ุ ฺชิต,ํุ นตถฺ ิ เตส ํ สีล,ํ นตถฺ ิ ตโป, นตถฺ ิ พรฺ หมฺ จรยิ ํ ฯ เย โข ปน เต ภนเฺ ต
อายุปาล ภกิ ฺข ู อพฺโภกาสิกา, นูน เต ปุพเฺ พ คามฆาตกา โจรา, เต ปเรสํ เคหาน ิ
วินาเสตฺวา ตสสฺ กมฺมสฺส นิสฺสนฺเทน เอตรหิ อพโฺ ภกาสิกา ภวนฺต,ิ น ลภนฺติ เสนาสนาน ิ
ปริภุ ฺชติ ุ,ํ นตฺถ ิ เตสํ สลี ,ํ นตฺถ ิ ตโป, นตถฺ ิ พรฺ หฺมจรยิ ํ ฯ เย โข ปน เต ภนเฺ ต
อายุปาล ภิกฺข ู เนสชชฺ กิ า, นูน เต ปพุ เฺ พ ปนฺถทูสกา โจรา, เต ปเรสํ ปถิเก ชเน
คเหตวฺ า พนฺธติ ฺวา นสิ ที าเปตฺวา ตสสฺ กมมฺ สฺส นสิ ฺสนเฺ ทน เอตรหิ เนสชฺชกิ า ภวนฺต,ิ น
ลภนฺติ เสยยฺ ํ กปฺเปต,ํุ นตถฺ ิ เตสํ สลี ํ, นตฺถิ ตโป, นตถฺ ิ พรฺ หฺมจรยิ นฺ”ติ อาห ฯ
พระราชาตรสั ว่า “พระคณุ เจา้ อายปุ าละ ถ้าอย่างน้ัน การบวชของพวกทา่ นก็เป็นของ
ไร้ประโยชน์ พวกสมณศากยบตุ รทัง้ หลายย่อมบวช และประพฤตธิ ดุ งค์ เพราะเป็นผลแหง่
บาปกรรมที่ท�ำไวใ้ นภพก่อน พระคณุ เจา้ อายุปาละ ภิกษุผถู้ ือการฉันมือ้ เดยี ว ในภพกอ่ น เป็น
โจรปล้นโภคทรัพยข์ องคนเหล่าอืน่ หรือไร ในบัดน้ี ภิกษเุ หล่าน้นั จึงต้องเปน็ พระฉันมอ้ื เดียว
ยอ่ มไม่ไดฉ้ ันตามกาลอันควร เพราะเปน็ ผลแหง่ กรรม ที่ปลน้ โภคทรพั ยข์ องคนอ่นื นัน้ ภกิ ษุ
เหล่านั้นจะไดม้ ศี ลี กห็ าไม่ จะได้มีตบะก็หาไม่ มีพรหมจรรยก์ ็หาไม่, พระคุณเจา้ อายุปาละ
สว่ นวา่ ภกิ ษุพวกที่ถือแตก่ ารอยู่ในทโ่ี ล่งแจ้ง ในภพกอ่ น ลว้ นเป็นโจรปลน้ บ้านหรือไร ในบัดน้ี
ภกิ ษเุ หลา่ นั้น จึงตอ้ งเป็นผู้อยูแ่ ต่ท่ีโลง่ แจง้ ไมไ่ ดใ้ ช้สอยเสนาสนะ เพราะเปน็ ผลแหง่ กรรมที่
ท�ำเรือนของคนอื่นใหพ้ ินาศน้ัน ภกิ ษเุ หลา่ นนั้ จะไดม้ ศี ลี กห็ าไม่ จะได้มีตบะกห็ าไม่ จะได้มี
พรหมจรรยก์ ็หาไม,่ พระคณุ เจา้ อายปุ าละ สว่ นวา่ ภิกษพุ วกท่ีเปน็ เนสัชชิกะ (ถอื การนงั่ เป็น
วตั ร) ในภพก่อน ลว้ นเปน็ โจรปล้นคนเดนิ ทางหรอื ไร ในบัดน้ี ภกิ ษุเหลา่ น้ัน จงึ ตอ้ งเป็น
เนสชั ชกิ ะ ไม่ได้การนอนหลับ เพราะผลแหง่ กรรมทจ่ี บั คนเดินทางมามดั ใหน้ ง่ั นั้น ภกิ ษเุ หล่า
น้ัน จะไดม้ ศี ีลก็หาไม่ จะไดม้ ีตบะกห็ าไม่ จะไดม้ ีพรหมจรรยก์ ็หาไม”่
เอวํ วุตฺเต, อายสมฺ า อายปุ าโล ตุณหฺ ี อโหส,ิ น กิ จฺ ิ ปฏิภาสิ ฯ
เมื่อพระราชาตรสั อยา่ งน้ี ท่านพระอายุปาละก็ได้เปน็ ผูน้ ิ่งเฉย ไม่กล่าวตอบอะไรๆ
กัณฑ]์ พาหริ กถา 43
อถ โข ป จฺ สตา โยนกา ราชานํ มลิ นิ ฺทํ เอตทโวจํ ุ ‘‘ปณฺฑิโต มหาราช เถโร,
อปิจ โข อวสิ ารโท น ก ิ ฺจ ิ ปฏิภาสต’ี ’ติ ฯ
ครง้ั นน้ั แล พวกข้าหลวงโยนก ๕๐๐ คน ได้กราบทลู ความขอ้ น้ันกบั พระเจา้ มลิ นิ ท์ว่า
“ขอเดชะพระมหาราช พระเถระเปน็ บัณฑิตอย่หู รอกพระเจ้าขา้ แต่ว่าเป็นผไู้ ม่แกลว้ กลา้ จึงไม่
กลา่ วตอบอะไร ๆ”
อถ โข มลิ ินฺโท ราชา อายสมฺ นฺต ํ อายุปาลํ ตุณฺหภี ตู ํ ทสิ วฺ า อปโฺ ผเฏตวฺ า อกุ ฺกฏุ ฺ ึ
กตวฺ า โยนเก เอตทโวจ ‘‘ตจุ โฺ ฉ วต โภ ชมพฺ ทุ โี ป, ปลาโป วต โภ ชมฺพทุ โี ป, นตถฺ ิ
โกจ ิ สมโณ วา พฺราหมฺ โณ วา, โย มยา สทฺธ ึ สลลฺ ปิต ํุ อสุ ฺสหติ กงขฺ ํ ปฏวิ ิเนตนุ ”ฺ ติ ฯ
คร้ังนั้นแล พระเจา้ มลิ นิ ท์ พอทรงเหน็ ว่าท่านพระอายปุ าละน่งิ เฉยไป กท็ รงปรบ-
พระหตั ถ์ โหร่ ้อง รบั สั่งความขอ้ น้ีกับขา้ หลวงโยนกท้ังหลายว่า “ทา่ นผเู้ จริญทั้งหลาย ชมพู-
ทวปี วา่ งเปล่าหนอ ชมพทู วปี เหลวไหลหนอ ใคร ๆ ผเู้ ปน็ สมณะหรอื พราหมณ์ ผู้สามารถทจี่ ะ
สนทนากบั เรา เพ่ือบรรเทาความสงสัย ไม่มีเลย”
[๒๒] อถ โข มิลนิ ฺทสฺส ร ฺโ สพพฺ ํ ตํ ปรสิ ํ อนุวิโลเกนฺตสฺส อตีเต อมงกฺ ุภูเต
โยนเก ทิสวฺ า เอตทโหส ิ ‘‘นิสสฺ สํ ย ํ อตถฺ ิ ม เฺ อ ฺโ โกจิ ปณฑฺ โิ ต ภกิ ฺข,ุ โย มยา
สทฺธ ึ สลฺลปติ ํ ุ อุสสฺ หติ, เยนเิ ม โยนกา น มงกฺ ภุ ูตา’’ติ ฯ
[๒๒] ครง้ั นนั้ แล เม่อื พระเจ้ามิลินทท์ รงเหลยี วดบู ริษัททัง้ ปวง ทอดพระเนตรเห็น
ขา้ หลวงโยนกผไู้ มเ่ ก้อเขินแล้วในกาลที่ผ่านมา ก็ทรงเกดิ พระด�ำรขิ อ้ นข้ี ึน้ มาว่า “เหน็ ทีว่าภกิ ษุ
บางรปู อน่ื ซ่งึ เปน็ บณั ฑติ ผ้สู ามารถท่ีจะสนทนากบั เรา จะต้องมีอยู่เปน็ แน่ อยา่ งไม่ตอ้ งสงสยั
พวกข้าหลวงโยนกเหลา่ น้ี จงึ ไมเ่ ปน็ ผู้เกอ้ เขนิ ”
อถ โข มิลินโฺ ท ราชา โยนเก เอตทโวจ ‘‘อตถฺ ิ ภเณ อ โฺ โกจิ ปณฺฑโิ ต ภิกฺข,ุ
โย มยา สทธฺ ึ สลลฺ ปิตํุ อุสสฺ หต ิ กงฺขํ ปฏิวิเนตุนฺ”ติ ฯ
ล�ำดบั น้นั พระเจ้ามลิ ินท์รับสงั่ กบั พวกข้าหลวงโยนกว่า “น่ีแน่ะพนาย ภิกษุบางรปู อ่นื
ซึ่งเปน็ บัณฑิตผสู้ ามารถท่ีจะสนทนากับเราเพื่อบรรเทาความสงสัย จะตอ้ งมอี ย่”ู
เตน โข ปน สมเยน อายสมฺ า นาคเสโน สมณคณปรวิ ุโต สฆํ ี คณี คณาจรโิ ย
าโต ยสสสฺ ี ตติ ฺถกโร สาธสุ มมฺ โต พหชุ นสฺส ปณฑฺ โิ ต พฺยตโฺ ต เมธาวี นิปุโณ วิ ฺ ู
วิภาว ี วินีโต วสิ ารโท พหุสฺสุโต เตปิฏโก เวทค ู ปภนิ ฺนพุทธฺ ิมา อาคตาคโม ปภินฺน-
44 มิลินทปัญหาปกรณ์แปล [๑.ปุพพโยค
ปฏสิ มฺภิโท นวงคฺ สตฺถสุ าสเน ปริยตตฺ ิธโร ปารมิปฺปตโฺ ต ชนิ วจเน ธมฺมตฺถเทสนาปฏเิ วธ-
กุสโล อกฺขยวิจติ ฺรปฏภิ าโน จิตฺรกถี กลยฺ าณวากฺกรโณ ทุราสโท ทุปฺปสโห ทุรตุ ฺตโร
ทรุ าวรโณ ทนุ นฺ วิ ารโย, สาคโร วยิ อกฺโขโภ, คิรริ าชา วิย นจิ จฺ โล, รณ ฺชโห ตโมนุโท
ปภงฺกโร มหากถ ี ปรคณคิ ณมถโน ปรตติ ฺถยิ มททฺ โน ภกิ ขฺ นู ํ ภกิ ฺขุนีนํ อุปาสกาน ํ
อุปาสิกานํ ราชูน ํ ราชมหามตตฺ าน ํ สกกฺ โต ครกุ โต มานโิ ต ปชู โิ ต อปจิโต ลาภ ี จีวร-
ปิณฑฺ ปาตเสนาสนคิลานปฺปจจฺ ยเภสชฺชปริกฺขาราน ํ ลาภคฺคยสคคฺ ปปฺ ตโฺ ต วทุ ฺธาน ํ วิ ฺ ูนํ
โสตาวธาเนน สมนฺนาคตาน ํ สนทฺ สฺเสนโฺ ต นวงฺค ํ ชนิ สาสนรตนํ อปุ ทิสนฺโต ธมฺมมคคฺ ํ
ธาเรนฺโต ธมมฺ ปปฺ ชฺโชตํ อสุ สฺ าเปนฺโต ธมมฺ ยูป ํ ยชนฺโต ธมมฺ ยาคํ ปคฺคณฺหนฺโต ธมฺมทธฺ ชํ
อสุ สฺ าเปนโฺ ต ธมฺมเกต ํุ ธเมนโฺ ต ธมฺมสงขฺ ํ อาหนนโฺ ต ธมฺมเภร ึ นทนฺโต สีหนาทํ คชฺชนฺโต
อนิ ทฺ คชชฺ ิต ํ มธุรคริ คชฺชิเตน าณวรวิชฺชชุ าลปรเิ ว ิเตน กรณุ าชลภรเิ ตน มหตา ธมมฺ ามต-
เมเฆน สกลโลกมภติ ปฺปยนโฺ ต คามนิคมราชธานสี ุ จาริก ํ จรมาโน อนุปุพเฺ พน สาคลนครํ
อนปุ ฺปตโฺ ต โหติ ฯ
กใ็ นสมัยนัน้ แล พระนาคเสนแวดล้อมด้วยหมูส่ มณะ เปน็ เจา้ หมู่ เจ้าคณะ เปน็ อาจารย์
ประจ�ำคณะ เปน็ ผทู้ ี่คนทง้ั หลายรู้จัก เป็นผ้มู ียศ เปน็ เจ้าลทั ธิ คนทง้ั หลายเป็นอนั มากนับถอื ว่า
เปน็ พระดี เปน็ บัณฑิต เฉลยี วฉลาด มีปัญญา เป็นวิญญชู นผลู้ ะเอียด รแู้ จ่มแจง้ ฝกึ แล้ว แกล้ว
กล้า สดบั ตรบั ฟงั มาก ทรงพระไตรปฎิ ก บรรลเุ วท มคี วามรแู้ ตกฉาน ช�ำนาญพระปรยิ ัติธรรม
มีปฏิสัมภทิ าญาณแตกฉาน ทรงปรยิ ัติในค�ำสอนของพระศาสดามีองค์ ๙ บรรลบุ ารมีญาณ
ฉลาดในการแสดง รู้แจ่มแจ้งในธรรมและอรรถในพระด�ำรัสของพระชนิ เจ้า มีปฏภิ าณวจิ ติ ร
ไม่รู้จบสิน้ มคี �ำพูดวิจติ ร แต่งค�ำพูดไดง้ ดงาม ใคร ๆ โจมตีได้ยาก ใคร ๆ ขม่ ข่ีไดย้ าก หาผู้
เหนือกวา่ ได้ยาก ป้องกันไดย้ าก ใคร ๆ ขดั ขวางได้ยาก ไม่ก�ำเรบิ ดุจทะเล ไมห่ วัน่ ไหวดจุ พญา
ภเู ขา เปน็ ผูล้ ะขา้ ศกึ บรรเทาความมดื ได้ สร้างแสงสว่าง กล่าวได้มาก บดขยี้คณะแหง่ เจ้า
คณะอนื่ ได้ ย่�ำยวี าทะลทั ธอิ ืน่ ได้ เป็นผ้ทู ่ีหม่ภู ิกษุ ภิกษณุ ี อุบาสก อบุ าสกิ า พระราชาและราช-
มหาอ�ำมาตย์ทั้งหลาย สกั การะ เคารพ นับถือ บชู า นอบน้อม มีปกติได้จวี ร บณิ ฑบาต
เสนาสนะ และคลิ านปัจจยั เภสัชชบรขิ าร ถึงความเปน็ เลศิ ด้วยลาภและยศ เปน็ ผู้ชแ้ี จงแสดง
ค�ำสอนของพระชนิ วรพุทธเจา้ อนั ประกอบดว้ ยองค์ ๙ แกว่ ญิ ญูชนผูม้ คี วามรู้ ผูป้ ระกอบด้วย
การเงี่ยโสตสดบั เปน็ ผู้น�ำทางธรรม เป็นผ้สู ่องแสงสว่างคอื พระธรรม เป็นผปู้ ระกอบเสาหลกั
คือพระธรรม บูชายัญคอื พระธรรม โบกธงคอื พระธรรม ยกธงคือพระธรรม เป่าสงั ขค์ ือพระ
ธรรม ล่นั กลองคอื พระธรรม บนั ลอื สีหนาทคอื พระธรรม เปล่งเสียงดจุ เสียงพระอนิ ทร์ เป็นผทู้ �ำ
กัณฑ์] พาหิรกถา 45
โลกท้งั สนิ้ ให้อิม่ เอบิ ด้วยเมฆฝนอมตธรรมหา่ ใหญ่ ซ่ึงสง่ เสยี งล่ันไพเราะ มีสายฟ้าแลบคอื
ญาณประเสรฐิ ซ่อนอยู่ เทยี บดว้ ยน้�ำคอื กรณุ า เทีย่ วจาริกไปตามหมูบ่ ้านชนบท และราชธานี
ทั้งหลาย จนถึงเมอื งสาคละตามล�ำดบั
ตตฺร สทุ ํ อายสมฺ า นาคเสโน อสีตยิ า ภิกฺขสุ หสฺเสห ิ สทธฺ ึ สงเฺ ขยฺ ยฺยปริเวเณ
ปฏวิ สติ ฯ
ทราบมาวา่ ครั้งน้ัน ทา่ นพระนาคเสนอาศัยอย่ทู ส่ี งั ไขยบรเิ วณพร้อมกบั ภกิ ษปุ ระมาณ
๘๐,๐๐๐ รูป
เตนาหุ โปราณา –
‘‘พหุสฺสโุ ต จติ รฺ กถ ี นิปุโณ จ วิสารโท
สามยิโก จ กสุ โล ปฏิภาเน จ โกวิโท ฯ
เต จ เตปฏิ กา ภิกฺขู ป จฺ เนกายิกาป ิ จ
จตเุ นกายิกา เจว นาคเสนํ ปุรกฺขรุํ ฯ
คมฺภรี ป ฺโ เมธาว ี มคฺคามคคฺ สฺส โกวโิ ท
อุตฺตมตฺถ ํ อนุปฺปตโฺ ต นาคเสโน วิสารโท ฯ
เตห ิ ภิกขฺ ูห ิ ปริวุโต นปิ เุ ณหิ สจฺจวาทิภิ
จรนโฺ ต คามนิคมํ สาคลํ อุปสงกฺ มิ ฯ
สงเฺ ขยฺ ฺยปรเิ วณสมฺ ึ นาคเสโน ตทา วสิ
กเถต ิ โส มนุสเฺ สห ิ ปพฺพเต เกสรี ยถา’’ติ ฯ
เพราะเหตุนนั้ พระโบราณาจารย์ทั้งหลาย จงึ ได้กลา่ วไวว้ ่า
“ทา่ นพระนาคเสนเปน็ พหสู ูต มคี �ำพดู วิจติ ร ละเอยี ดออ่ น แกล้ว
กลา้ ฉลาดรลู้ ทั ธิ และเฉลียวฉลาดในปฏภิ าณ
ก็ ภิกษุทัง้ หลายผู้ทรงพระไตรปิฎก ช�ำนาญในนกิ าย ๕ และ
นิกาย ๔ ได้ต้ังพระนาคเสนเปน็ หัวหนา้
พระนาคเสนผูม้ ีปญั ญาลกึ ซึง้ เป็นนกั ปราชญ์ ฉลาดในสงิ่ ที่เป็น
ทางและมใิ ชท่ าง ผู้บรรลุประโยชน์สูงสุด ผู้แกล้วกลา้
ผทู้ ีภ่ กิ ษผุ ูม้ ีปญั ญาละเอยี ดอ่อน เป็นสัจจวาทีบุคคลทง้ั หลาย
แวดล้อม ไดเ้ ทย่ี วไปในบา้ นและนิคมเข้าไปจนถึงเมอื งสาคละ
46 มลิ นิ ทปญั หาปกรณแ์ ปล [๑.ปุพพโยค
คราวนั้น พระนาคเสน พกั อาศัยอย่ทู ีส่ งั ไขยบริเวณ ทา่ นพระ
นาคเสนนน้ั ไดก้ ลา่ วกบั พวกคนทงั้ หลาย ดุจพญาไกรสร
สหี ราชบันลือสีหนาทอยู่บนภเู ขา ฉะน้นั ”
[๒๓] อถ โข เทวมนตฺ โิ ย ราชาน ํ มิลนิ ทฺ ํ เอตทโวจ ‘‘อาคเมห ิ ตฺว ํ มหาราช;
อตฺถ ิ มหาราช นาคเสโน นาม เถโร ปณฑฺ ิโต พยฺ ตโฺ ต เมธาวี วนิ ีโต วิสารโท พหสุ ฺสโุ ต
จิตรฺ กถ ี กลยฺ าณปฏภิ าโน อตฺถธมมฺ นิรุตตฺ ิปฏภิ านปฏิสมภฺ ิทาสุ ปารมปิ ฺปตโฺ ต, โส เอตรห ิ
สงเฺ ขยฺ ยฺยปริเวเณ ปฏิวสติ, คจฉฺ ตฺว ํ มหาราช อายสฺมนตฺ ํ นาคเสน ํ ป หฺ ํ ปุจฉฺ สสฺ ุ,
อสุ ฺสหต ิ โส ตยา สทฺธ ึ สลลฺ ปติ ุํ กงฺข ํ ปฏิวิเนตนุ ”ฺ ติ ฯ
[๒๓] คร้ังน้ันแล เทวมันตยิ ะอ�ำมาตย์ ไดก้ ราบทูลข้อความน้ีกบั พระเจ้ามลิ นิ ท์ว่า
“ขอเดชะพระมหาราช ขอพระองค์ทรงรอสักหน่อยเถดิ พระเจ้าขา้ ขอเดชะพระมหาราช ยังมี
พระเถระรูปหนึง่ ชอ่ื วา่ พระนาคเสน เป็นบณั ฑติ เฉลียวฉลาด มปี ญั ญา ฝึกดีแลว้ แกลว้ กลา้
เป็นพหูสตู มีค�ำพูดวจิ ติ ร มีปฏภิ าณงดงาม บรรลุบารมใี นอรรถปฏิสมั ภิทา ธรรมปฏสิ มั ภิทา
นิรุตติปฏสิ ัมภิทา และปฏภิ าณปฏิสมั ภิทา บัดน้ี พระเถระรปู นัน้ พกั อาศัยอยทู่ สี่ งั ไขยบรเิ วณ
พระเจา้ ข้า ขอเดชะพระมหาราช ขอพระองคจ์ งเสด็จไปถามปัญหากับทา่ นพระนาคเสนเถิด
พระเจ้าขา้ พระนาคเสนน้ันยอ่ มสามารถทจ่ี ะสนทนากับพระองค์ เพ่อื บรรเทาความสงสัยได้”
อถ โข มลิ นิ ฺทสฺส ร โฺ สหสา ‘‘นาคเสโน’’ติ สททฺ ํ สตุ วฺ าว อหุเทว ภยํ, อหุเทว
ฉมฺภติ ตตฺ ,ํ อหเุ ทว โลมหํโส ฯ
ล�ำดับน้นั แล พระเจา้ มลิ ินทท์ นั ท่ที ีท่ รงสดับเสยี งว่า “พระนาคเสน” เท่าน้นั ก็ทรงเกดิ
ความกลวั ขนึ้ มาทันที เกิดความหวาดหวัน่ ขน้ึ มาทนั ที เกิดพระโลมชาตชิ ชู นั ขึ้นมาทันที
อถ โข มลิ ินฺโท ราชา เทวมนตฺ ิย ํ เอตทโวจ ‘‘อุสฺสหติ โภ นาคเสโน ภิกขฺ ุ มยา
สทธฺ ึ สลฺลปติ นุ ”ฺ ติ ?
ล�ำดบั น้นั พระเจ้ามิลนิ ท์ กร็ ับสั่งความขอ้ น้กี บั เทวมนั ตยิ ะอ�ำมาตยว์ ่า “พอ่ มหาจ�ำเรญิ
พระนาคเสนยอ่ มสามารถท่จี ะสนทนากับเราไดห้ รอื ”
‘‘อุสฺสหต ิ มหาราช อปิ อนิ ฺทยมวรณุ กเุ วรปชาปตสิ ยุ ามสนฺตุสติ โลกปาเลหิป ิ ปติ -ุ
ปติ ามเหน มหาพรฺ หมฺ นุ าป ิ สทฺธ ึ สลลฺ ปติ ุํ, กิมงคฺ ํ ปน มนสุ ฺสภูเตนา’’ติ ฯ
เทวมนั ติยะอ�ำมาตยก์ ราบทลู ว่า “ขอเดชะพระมหาราชเจ้า พระนาคเสนสามารถ
สนทนาแม้กับท้าวโลกบาลทัง้ หลายคอื พระอินทร์ พญายม ท้าววรุณ ท้าวกเุ วร ท้าวปชาบดี
กัณฑ]์ พาหริ กถา 47
ท้าวสุยามะ ทา้ วสันดุสิต แม้กับทา่ นท้าวมหาพรหมผู้เป็นปู่ของพอ่ จะป่วยกลา่ วไปใยถงึ การ
สนทนากับผูเ้ ป็นมนุษยเ์ ล่า พระเจา้ ข้า”
อถ โข มิลินโฺ ท ราชา เทวมนตฺ ิยํ เอตทโวจ ‘‘เตนห ิ ตฺวํ เทวมนตฺ ยิ ภทนตฺ สฺส
สนฺติเก ทตู ํ เปเสห’ี ’ติ ฯ
ล�ำดับน้ัน พระเจา้ มลิ นิ ท์ รับสง่ั ข้อความนก้ี ับเทวมันติยะอ�ำมาตย์วา่ “เทวมนั ติยะ
อ�ำมาตย์ ถ้าอยา่ งนน้ั เธอจงส่งตัวแทนไปท่ีส�ำนักของพระคุณเจ้าเถิด”
‘‘เอวํ เทวา’’ติ โข เทวมนฺตโิ ย อายสฺมโต นาคเสนสสฺ สนตฺ ิเก ทตู ํ ปาเหส ิ ‘‘ราชา
ภนฺเต มิลนิ โฺ ท อายสฺมนตฺ ํ ทสสฺ นกาโม’’ติ ฯ
เทวมันตยิ ะอ�ำมาตย์ ทูลสนองพระราชโองการวา่ “พระเจา้ ข้า” ดังนแ้ี ลว้ จงึ สง่ ตวั แทน
ไปท่สี �ำนักของท่านพระนาคเสน แจ้งท่านว่า “ทา่ นผเู้ จรญิ พระเจา้ มลิ ินท์ทรงพระประสงคจ์ ะ
พบทา่ น”
อายสมฺ าปิ โข นาคเสโน เอวมาห ‘‘เตนห ิ อาคจฉฺ ต’ู ’ติ ฯ
ฝ่ายท่านพระนาคเสน กลา่ วอยา่ งน้วี า่ “ถา้ อย่างน้นั กจ็ งเสด็จมาเถดิ ”
อถ โข มลิ นิ ฺโท ราชา ป จฺ มตฺเตห ิ โยนกสเตหิ ปริวุโต รถวรมารุยฺห มหตา
พลกาเยน สทฺธ,ึ เยน สงฺเขฺยยฺยปรเิ วณ,ํ เยนายสฺมา นาคเสโน; เตนปุ สงกฺ มิ ฯ
ครั้งน้ันแล พระเจ้ามิลนิ ท์แวดล้อมด้วยขา้ หลวงโยนกประมาณ ๕๐๐ คน เสด็จขึ้นรถ
ทรงคันประเสรฐิ เข้าไปยังสังไขยบรเิ วณ เข้าไปหาท่านพระนาคเสนถงึ ทีพ่ �ำนกั พร้อมท้ัง
ไพร่พลหม่ใู หญ่
เตน โข ปน สมเยน อายสมฺ า นาคเสโน อสตี ิยา ภกิ ฺขสุ หสฺเสหิ สทธฺ ึ มณฺฑลมาเฬ
นิสนิ ฺโน โหติ ฯ
ก็ในสมัยนนั้ แล ทา่ นพระนาคเสนนง่ั อยู่ที่โรงกลม พรอ้ มกับภิกษุ ๘๐,๐๐๐ รปู
อทฺทสา โข มลิ นิ โฺ ท ราชา อายสมฺ โต นาคเสนสฺส ปรสิ ํ ทรู โตว, ทิสฺวาน
เทวมนตฺ ยิ ํ เอตทโวจ ‘‘กสฺเสสา เทวมนฺตยิ มหตี ปรสิ า’’ติ ?
พระเจา้ มลิ ินทไ์ ด้ทอดพระเนตรเหน็ บรษิ ัทของท่านพระนาคเสนแต่ท่ไี กลทีเดียว คร้ัน
ทอดพระเนตรแล้ว รับส่งั ความข้อนกี้ ับเทวมันตยิ ะอ�ำมาตย์วา่ “นแ่ี นะทา่ นเทวมนั ติยะ บริษัท
ใหญน่ ีข่ องใครกนั ”
48 มลิ นิ ทปญั หาปกรณ์แปล [๑.ปุพพโยค
‘‘อายสมฺ โต โข มหาราช นาคเสนสสฺ ปริสา’’ติ ฯ
เทวมันติยะอ�ำมาตยก์ ราบทลู ว่า “ขอเดชะพระมหาราช บรษิ ัทของทา่ นพระนาคเสน
พระเจา้ ข้า”
อถ โข มลิ ินทฺ สฺส ร ฺโ อายสฺมโต นาคเสนสสฺ ปริส ํ ทรู โตว ทสิ ฺวา อหุเทว ภยํ,
อหุเทว ฉมภฺ ิตตฺตํ, อหเุ ทว โลมหโํ ส ฯ
ครง้ั น้ันแล พระเจ้ามลิ นิ ท์ทอดพระเนตรเหน็ บรษิ ัทของท่านพระนาคเสนแต่ไกลเทยี ว
กท็ รงเกิดความกลวั ขน้ึ มาทันที เกดิ ความหวาดหวั่นข้ึนมาทนั ที เกิดพระโลมชาติชูชันขนึ้ มา
ทันที
อถ โข มลิ นิ โฺ ท ราชา ขคคฺ ปริวาริโต วิย คโช, ครุฬปริวารโิ ต วิย นาโค,
อชครปรวิ ารโิ ต วยิ โกตฺถโุ ก, มหสึ ปรวิ ุโต วิย อจฺโฉ, นาคานุพทฺโธ วยิ มณฺฑโู ก,
สทฺทูลานพุ ทฺโธ วยิ มโิ ค, อหติ ณุ ฑฺ กิ สมาคโต วิย ปนนฺ โค, มชฺชารสมาคโต วยิ อุนทฺ โู ร,
ภูตเวชฺชสมาคโต วยิ ปสิ าโจ, ราหุมุขคโต วยิ จนโฺ ท, ปนนฺ โค วิย เปฬนฺตรคโต, สกุโณ
วยิ ป ชฺ รนฺตรคโต, มจฺโฉ วยิ ชาลนตฺ รคโต, วาฬวนมนปุ ปฺ วฏิ โฺ วิย ปรุ โิ ส, เวสฺสวณา-
ปราธิโก วิย ยกฺโข, ปรกิ ฺขณี ายุโก วยิ เทวปุตโฺ ต ภโี ต อุพพฺ ิคโฺ ค อุตรฺ สฺโต สวํ คิ โฺ ค
โลมหฏฺ ชาโต วิมโน ทมุ ฺมโน ภนฺตจติ ฺโต วปิ ริณตมานโส ‘‘มา มํ อย ํ ปริชโน ปริภวี’’ติ
สต ึ อปุ ฏ ฺ เปตฺวา เทวมนฺตยิ ํ เอตทโวจ ‘‘มา โข ตวฺ ํ เทวมนตฺ ิย อายสฺมนตฺ ํ นาคเสน ํ
มยฺหํ อาจิกฺเขยยฺ าส,ิ อนกฺขาต เฺ วาหํ นาคเสนํ ชานสิ ฺสามี’’ติ ฯ
คร้งั น้นั พระเจา้ มลิ ินท์ ทรงกลวั หวาดหวน่ั หวาดเสียว สลด เกิดพระโลมชาตชิ ชู นั มี
พระทัยวปิ ริตไป มพี ระทยั เสียไป มีพระทัยพลา่ นไป มพี ระทยั แปรปรวนไป ดุจช้างท่ถี กู ขอสบั
รมุ ลอ้ ม ดุจนาคทถ่ี กู พวกครฑุ รุมลอ้ ม ดุจสุนขั จิง้ จอกทีถ่ กู งเู หลือมรัด ดจุ หมที ี่ถูกฝงู ควายรุม
ลอ้ ม ดจุ กบที่ถูกงเู ลื้อยตาม ดจุ เนื้อที่ถูกเสอื เหลืองไลต่ าม ดจุ งูท่เี จอหมองู ดจุ หนูท่เี จอแมว
ดุจปศี าจเจอหมอผี ดจุ พระจนั ทร์ที่ปากราหู ดจุ งูท่ตี ิดอย่ใู นลุ้ง ดจุ นกทตี่ ดิ อยใู่ นกรง ดุจปลาที่
ตดิ อยใู่ นขา่ ย ดุจคนท่ีหลงเข้าไปในป่าที่มีสตั ว์ร้าย ดุจยกั ษ์ผู้มคี วามผดิ ต่อทา้ วเวสสวุ รรณ
ดุจเทพบตุ รก�ำลังจะสนิ้ อายุ ทรงด�ำรวิ ่า “ขอชนผเู้ ปน็ บริวารน้ี อยา่ ดหู มนิ่ เราได้เลย” ทรงตง้ั สติ
(แขง็ พระทยั ) รบั สงั่ ขอ้ ความน้ีกับเทวมันติยะอ�ำมาตย์ว่า “นีแ่ นะ่ เทวมนั ติยะอ�ำมาตย์ เธออยา่
เพงิ่ บอกกับเราวา่ พระคุณเจ้ารปู ไหนเปน็ ท่านพระนาคเสนนะ เราจะขอรวู้ า่ พระคณุ เจ้ารปู ไหน
เป็นพระนาคเสน อย่างไมต่ ้องบอกเลย”
กณั ฑ]์ พาหิรกถา 49
‘‘สาธ ุ มหาราช, ตฺว ฺเ ว ชานาหี’’ติ ฯ
เทวมันติยะอ�ำมาตย์กราบทลู วา่ “ดแี ลว้ พระเจ้าข้า ขอพระองค์จงทรงทราบเองเทียว
พระเจา้ ขา้ ”
เตน โข ปน สมเยน อายสฺมา นาคเสโน ตสสฺ า ภกิ ขฺ ุปริสาย ปรุ โต จตฺตาลีสาย
ภิกฺขุสหสสฺ านํ นวกตโร โหต ิ ปจฺฉโต จตตฺ าลีสาย ภิกขฺ สุ หสสฺ านํ วุฑฒฺ ตโร ฯ
กใ็ นสมยั นนั้ แล ในภกิ ษบุ รษิ ัทนน้ั ทา่ นพระนาคเสนมีพรรษาอ่อนกว่าภิกษุ ๔๐,๐๐๐
รปู ทอี่ ยขู่ ้างหน้า มพี รรษาแก่กวา่ ภิกษุ ๔๐,๐๐๐ รปู ทอี่ ย่ขู า้ งหลงั
อถ โข มิลินฺโท ราชา สพพฺ ํ ตํ ภิกฺขสุ ฆํ ํ ปุรโต จ ปจฉฺ โต จ มชฌฺ โต จ
อนวุ โิ ลเกนฺโต อททฺ สา โข อายสมฺ นฺต ํ นาคเสนํ ทรู โตว ภกิ ฺขสุ ํฆสสฺ มชเฺ ฌ นสิ ินนฺ ํ
เกสรสีห ํ วิย วคิ ตภยเภรวํ วคิ ตโลมหํส ํ วคิ ตภยสารชฺช,ํ ทิสฺวาน อากาเรเนว อ ฺ าสิ
‘‘เอโส โข เอตถฺ นาคเสโน’’ติ ฯ
ครั้งนน้ั แล พระเจา้ มลิ นิ ทเ์ หลยี วดภู ิกษุสงฆน์ ้นั ท้งั ปวง ท้ังเบือ้ งหนา้ เบอ้ื งหลงั และ
ทา่ มกลาง ได้ทอดพระเนตรเห็นท่านพระนาคเสนผนู้ งั่ อย่ทู ่ามกลางภิกษุสงฆ์ ผปู้ ราศจาก
ความกลัว ความหว่นั เกรง ปราศจากโลมชาติชชู ัน ปราศจากความขลาดกลวั ดจุ ไกรสรราชสหี ์
แตท่ ไ่ี กลเทยี ว กท็ รงทราบโดยอาการนั่นแหละว่า “ในหม่พู ระสงฆน์ ี้ ท่านผนู้ ้แี หละ คอื พระ
นาคเสน”
อถ โข มลิ ินฺโท ราชา เทวมนตฺ ยิ ํ เอตทโวจ ‘‘เอโส โข เทวมนตฺ ยิ อายสมฺ า
นาคเสโน’’ติ ฯ
ครง้ั นัน้ แล พระเจา้ มิลนิ ท์ จงึ รบั สงั่ ขอ้ ความนี้กับเทวมันตยิ ะอ�ำมาตยว์ ่า “นแี่ น่ะ เทว-
มนั ตยิ ะ ท่านผู้น้ีแหละ คือ ท่านพระนาคเสน”
‘‘อาม มหาราช เอโส โข นาคเสโน, สุฏ ฺ ุ โข ตวฺ ํ มหาราช นาคเสน ํ
อ ฺ าส’ี ’ติ ฯ
เทวมันติยะอ�ำมาตย์กราบทูลว่า “ขา้ แต่มหาราชเจ้า ถกู ต้องแลว้ พระเจ้าข้า ทา่ นผนู้ ี้
แหละ คือ พระนาคเสน พระองคท์ รงทราบพระนาคเสนดีแลว้ พระเจา้ ข้า”
ตโต ราชา ตุฏโฺ อโหสิ ‘‘อนกฺขาโตว มยา นาคเสโน อ ฺ าโต’’ติ ฯ
ล�ำดับน้ัน พระราชากท็ รงยินดีวา่ “ใคร ๆ ไม่ตอ้ งบอกเลย เราก็รจู้ ักพระนาคเสนได”้
50 มลิ นิ ทปัญหาปกรณแ์ ปล [๑.ปุพพโยค
อถ โข มิลินทฺ สสฺ ร ฺโ อายสฺมนตฺ ํ นาคเสน ํ ทิสวฺ าว อหเุ ทว ภยํ, อหเุ ทว
ฉมฺภิตตตฺ ํ, อหเุ ทว โลมหํโส ฯ
ครั้งน้ันแล พระเจา้ มลิ ินท์ทอดพระเนตรเหน็ ทา่ นพระนาคเสนเท่านน้ั ก็เกิดความกลัว
ข้ึนมาทนั ที เกิดความหวาดหวน่ั ขนึ้ มาทนั ที เกดิ พระโลมชาติชูชันข้ึนมาทันที
เตนาห ุ – สุทนตฺ ํ อตุ ฺตเม ทเม
‘‘จรเณน จ สมปฺ นฺน ํ
ทสิ ฺวา ราชา นาคเสนํ อทิ ํ วจนมพฺรวิ ฯ
กถติ า มยา พหู ทฏิ ฺ า สากจฉฺ า โอสฏา พหู
น ตาทสิ ํ ภยํ อาส ิ อชฺช ตาโส ยถา มม ฯ
นิสสฺ ํสยํ ปราชโย มม อชชฺ ภวิสสฺ ติ
ชโย จ นาคเสนสสฺ ยถา จติ ตฺ ํ น สณ ฺ ติ นฺ”ติ ฯ
เพราะเหตุนัน้ พระโบราณาจารย์ทัง้ หลายจงึ กลา่ วไว้ว่า
“เพราะทอดพระเนตรเห็นพระนาคเสนผูถ้ งึ พร้อมดว้ ยจรณะ ผู้
ฝึกดีแลว้ ในการฝึก (อินทรยี ์ ๖ มีจักขุนทรีย์เป็นตน้ ) อนั สูงสง่
พระราชาจึงได้ตรัสพระด�ำรัสนีว้ า่ ‘เราเคยไดพ้ บเห็นสมณะและ
พราหมณท์ เ่ี ราพดู ดว้ ยมากมาย สมณะและพราหมณท์ ่เี ราเคย
ร่วมสนทนาด้วยก็มากมาย เราไมไ่ ด้เกดิ ความกลัวเชน่ นั้น
เหมอื นอยา่ งทีเ่ กิดความหวาดหว่ันขึ้นมาในวันนี้เลย วันน้ี เรา
จกั มีความพา่ ยแพ้แน่ อยา่ งไม่ต้องสงสัย สว่ นพระนาคเสนจักมี
ชยั เพราะวา่ จิตของเราไม่นิง่ เลย”
พาหริ กถา นฏิ ฺ€ิตา ฯ
จบพาหิรกถา
ปุพฺพโยคกณฺโฑ นิฏ€ฺ โิ ต ฯ
จบปพุ พโยคกัณฑ์
________
กัณฑ์] ๒.๑ มหาวรรค 51
๒. มลิ นิ ฺทปญหฺ กณฑฺ กัณฑ์มลิ ินทปัญหา
๒.๑ มหาวคฺค
๒.๑ มหาวรรค วรรคว่าด้วยความย่งิ ใหญ่แหง่ หมวดธรรมบางอย่าง
๑. ปญฺ ตตฺ ิปญฺห
๑. ปัญญตั ตปิ ญั หา
ปัญหาวา่ ด้วยบัญญัติ
[๑] อถ โข มิลนิ ฺโท ราชา, เยนายสฺมา นาคเสโน, เตนุปสงฺกม;ิ อปุ สงกฺ มิตฺวา
อายสฺมตา นาคเสเนน สทธฺ ึ สมฺโมท,ิ สมโฺ มทนีย ํ กถํ สารณีย ํ วีติสาเรตฺวา เอกมนฺตํ
นิสที ิ ฯ
[๑] คร้งั นน้ั แล พระเจา้ มลิ ินท์ได้เสดจ็ เข้าไปหาทา่ นพระนาคเสน ณ ทีท่ า่ นพ�ำนักอยู่
แลว้ ได้ทรงบนั เทิงกบั ทา่ นพระนาคเสน ตรสั สัมโมทนียกถาอันเปน็ เหตใุ ห้ระลกึ ถึงกันเสร็จแลว้
ก็ทรงประทบั น่ัง ณ ที่สมควร
อายสมฺ าป ิ โข นาคเสโน ปฏิสมฺโมทนีเยเนว มิลินฺทสฺส ร ฺโ จติ ฺตํ อาราเธสิ ฯ
แม้ท่านพระนาคเสนได้ท�ำพระหทัยของพระเจ้ามิลินท์ให้ทรงยินดีด้วยสัมโมทนียกถา
ตอบน่นั แหละ
อถ โข มลิ ินฺโท ราชา อายสฺมนฺตํ นาคเสน ํ เอตทโวจ ‘‘กถ ํ ภทนโฺ ต ายติ,
กินนฺ าโมสิ ภนเฺ ต’’ติ ?
ล�ำดับน้นั พระเจ้ามลิ ินทไ์ ดต้ รสั ข้อความนี้กบั ท่านพระนาคเสนวา่ “พระคุณเจ้า คนทง้ั
หลายรจู้ กั ท่านอย่างไร พระคณุ เจา้ มีชอื่ วา่ กระไรครับ ?”
‘‘นาคเสโน’’ต ิ โข อหํ มหาราช ายามิ, ‘‘นาคเสโน’’ติ โข ม ํ มหาราช สพรฺ หมฺ -
จาร ี สมุทาจรนตฺ ,ิ อปิจ มาตาปิตโร นามํ กโรนตฺ ิ ‘‘นาคเสโน’’ต ิ วา ‘‘สูรเสโน’’ติ วา
‘‘วรี เสโน’’ติ วา ‘‘สีหเสโน’’ต ิ วา, อปิจ โข มหาราช สงขฺ า สม ฺ า ป ฺ ตฺต ิ โวหาโร
นามมตตฺ ํ, ยททิ ํ ‘นาคเสโน’ติ, น เหตฺถ ปุคฺคโล อปุ ลพภฺ ตีติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร คนทงั้ หลายรูจ้ กั อาตมภาพ
ว่า พระนาคเสน เพ่ือนผปู้ ระพฤติพรหมจรรยเ์ รยี กอาตมภาพว่า ‘พระนาคเสน’ กแ็ ตว่ ่า มารดา
52 มิลนิ ทปญั หาปกรณ์แปล [๒.มลิ ินทปัญห
บดิ าต้ังช่ือเรยี กอาตมภาพวา่ ‘นาคเสน’ บ้าง ว่า ‘สูรเสน’ บ้าง ว่า ‘วรี เสน’ บ้าง ว่า ‘สหี เสน’
บา้ ง, ขอถวายพระพร กแ็ ต่ค�ำวา่ ‘นาคเสน’ นี้ เป็นเพยี งค�ำกล่าวถึง เป็นเพยี งสมญานาม เป็น
เพียงบัญญตั ิ เปน็ เพียงโวหาร เปน็ เพียงช่ือเทา่ น้ัน ความจรงิ ชอื่ วา่ ‘นาคเสน’ น้ี หามีบคุ คลอยู่
ไม”่
อถ โข มิลนิ ฺโท ราชา เอวมาห ‘‘สณุ นตฺ ุ เม โภนฺโต ป จฺ สตา โยนกา อสีติ-
สหสสฺ า จ ภกิ ขฺ ู, อยํ นาคเสโน เอวมาห ‘น เหตถฺ ปุคฺคโล อุปลพภฺ ตี’ต,ิ กลฺล ํ น ุ โข
ตทภินนฺทติ ุนฺ”ติ ฯ
ล�ำดับนน้ั แล พระเจา้ มิลนิ ทไ์ ด้ตรสั อยา่ งนว้ี า่ “ท่านผู้เจริญทง้ั หลาย ทั้งพวกขา้ หลวง
โยนก ๕๐๐ คน ท้งั ภกิ ษุ ๘๐,๐๐๐ รูป ขอจงฟังโยม พระนาคเสนนไ้ี ดก้ ลา่ วอย่างนี้ว่า ความจรงิ
ในชอ่ื ‘นาคเสน’ น้ี หามบี ุคคลอย่ไู ม่ ควรหรอื หนอทพี่ ระนาคเสนจะเปลง่ ค�ำนนั้ ออกมา”
อถ โข มลิ นิ ฺโท ราชา อายสมฺ นฺต ํ นาคเสน ํ เอตทโวจ ‘‘สเจ ภนฺเต นาคเสน
ปคุ ฺคโล นูปลพภฺ ติ, โก จรห ิ ตุมหฺ าก ํ จีวรปณิ ฑฺ ปาตเสนาสนคลิ านปฺปจจฺ ยเภสชฺชปรกิ ฺขาร ํ
เทต,ิ โก ตํ ปริภ ุ ชฺ ต,ิ โก สีลํ รกขฺ ต,ิ โก ภาวนมนุยุ ชฺ ติ, โก มคฺคผลนิพฺพานาน ิ สจฺฉิ-
กโรติ, โก ปาณํ หนติ, โก อทนิ ฺน ํ อาทยิ ติ, โก กาเมสมุ จิ ฺฉาจารํ จรติ, โก มสุ า ภณติ,
โก มชฺช ํ ปวิ ติ, โก ป ฺจานนตฺ รยิ กมฺม ํ กโรต,ิ ตสฺมา นตฺถ ิ กุสล,ํ นตถฺ ิ อกสุ ล,ํ นตฺถ ิ
กสุ ลากสุ ลานํ กมฺมาน ํ กตฺตา วา กาเรตา วา, นตถฺ ิ สกุ ตทุกฺกฏานํ กมมฺ าน ํ ผล ํ วปิ าโก,
สเจ ภนฺเต นาคเสน โย ตุมเฺ ห มาเรติ, นตถฺ ิ ตสสฺ าป ิ ปาณาตปิ าโต, ตุมหฺ ากมฺป ิ ภนฺเต
นาคเสน นตถฺ ิ อาจรโิ ย, นตฺถิ อปุ ชฺฌาโย, นตฺถ ิ อุปสมปฺ ทา ฯ “นาคเสโน”ติ มํ มหาราช
สพรฺ หฺมจารี สมุทาจรนตฺ ี’ต ิ ยํ วเทสิ, ‘กตโม เอตถฺ นาคเสโน? กินฺน ุ โข ภนเฺ ต เกสา
นาคเสโน’’ติ ?
ตอ่ จากนนั้ พระเจ้ามิลนิ ท์ไดต้ รัสข้อความนี้กับท่านพระนาคเสนว่า “พระคุณเจา้ นาค-
เสน ถา้ หากว่า ไม่มบี คุ คลไซร้ ใครเลา่ ถวายจีวร บณิ ฑบาต เสนาสนะ และเคร่ืองบริขารคือยา
ท่เี ปน็ ปัจจยั บ�ำบัดไข้ แกพ่ วกทา่ น ใครใช้สอยจีวรเป็นต้นนนั้ ใครรักษาศีล ใครบ�ำเพญ็ ภาวนา
ใครท�ำมรรคผลและพระนพิ พานใหแ้ จง้ ใครฆ่าสตั ว์ ใครลกั สง่ิ ของทีเ่ ขามิไดใ้ ห้ ใครประพฤติ
ผิดในกาม ใครกลา่ วเทจ็ ใครดมื่ นำ�้ เมา ใครท�ำอนันตรยิ กรรม ๕ เพราะเหตนุ น้ั กศุ ลก็ไม่มี
อกุศลก็ไมม่ ี ผ้ทู �ำกศุ ลกรรมและอกศุ ลกรรมกด็ ี ผใู้ ช้ให้ท�ำกด็ ี กไ็ มม่ ี ผลของกรรมดีและกรรม
ชั่ว ซงึ่ เปน็ วบิ ากกไ็ ม่มี พระคุณเจ้านาคเสน ผใู้ ดฆา่ ทา่ น แม้ผูน้ ัน้ หาชื่อวา่ มีการท�ำปาณาตบิ าต
กณั ฑ]์ ๒.๑ มหาวรรค 53
ไม่ พระคุณเจ้านาคเสน แมแ้ ต่ตวั ทา่ นก็ไมม่ อี าจารย์หรอก ไมม่ ีอปุ ัชฌาย์ ไม่มีการอุปสมบท
ค�ำทีท่ ่านกลา่ วว่า ‘ขอถวายพระพรมหาบพิตร เพื่อนผู้ประพฤติพรหมจรรย์เรียกอาตมภาพว่า
‘นาคเสน’ ดังน้ี ใด ในค�ำนี้ อะไรเป็นนาคเสนเลา่ เส้นผมหรือเป็นนาคเสน ?”
‘‘น หิ มหาราชา’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “หามไิ ดห้ รอก มหาบพติ ร”
‘‘โลมา นาคเสโน’’ติ ?
พระเจา้ มลิ นิ ทต์ รสั ถามว่า “ขนหรอื เปน็ นาคเสน”
‘‘น ห ิ มหาราชา’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “หามิได้ มหาบพติ ร”
‘‘นขา…เป.… ทนฺตา…เป.… ตโจ…เป.… มสํ ํ…เป.… นฺหารุ…เป.… อฏฺ …ิ เป.…
อฏ ฺ มิ ิ ฺชํ…เป.… วกกฺ …ํ เป.… หทย…ํ เป.… ยกน…ํ เป.… กโิ ลมก…ํ เป.… ปหิ ก…ํ เป.…
ปปผฺ าสํ…เป.… อนฺต…ํ เป.… อนฺตคุณํ…เป.… อทุ รยิ …ํ เป.… กรสี ํ…เป.… ปติ ฺตํ…เป.…
เสมฺห…ํ เป.… ปุพฺโพ…เป.… โลหติ …ํ เป.… เสโท…เป.… เมโท…เป.… อสสฺ …ุ เป.…
วสา…เป.… เขโฬ…เป.… สิงฆฺ าณกิ า…เป.… ลสิกา…เป.… มุตฺต…ํ เป.… มตถฺ เก
มตฺถลุงฺคํ นาคเสโน’’ติ ?
พระเจา้ มิลินทต์ รสั ถามว่า “เลบ็ หรอื ... ฟันหรอื … หนังหรือ… เน้ือหรือ… เอน็ หรือ…
กระดกู หรือ… เย่ือในกระดูกหรอื … ไตหรือ… หัวใจหรือ… ตับหรือ… พงั ผดื หรอื … ม้าม
หรือ… ปอดหรือ… ไสใ้ หญ่หรอื … ไสน้ อ้ ยหรือ… อาหารใหมห่ รอื … อาหารเกา่ หรอื … ดี
หรือ… เสมหะหรอื … น้ำ� หนองหรือ… เลือดหรือ… เหง่ือหรือ… มนั ข้นหรือ… น้�ำตาหรือ…
มันเหลวหรอื … น�้ำลายหรือ… น้�ำมูกหรือ… ไข้ขอ้ หรอื … ปัสสาวะหรือ.. มนั สมองหรือ เป็น
นาคเสน ?”
‘‘น หิ มหาราชา’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “หามิได้ มหาบพิตร”
‘‘กินนฺ ุ โข ภนฺเต รูป ํ นาคเสโน’’ติ ?
พระเจ้ามิลินทต์ รัสถามว่า “รูปหรือ เปน็ นาคเสน”
54 มลิ ินทปญั หาปกรณแ์ ปล [๒.มลิ ินทปัญห
‘‘น หิ มหาราชา’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “หามไิ ด้ มหาบพติ ร”
‘‘เวทนา นาคเสโน’’ติ ?
พระเจา้ มลิ ินท์ตรสั ถามว่า “เวทนาหรือ เป็นนาคเสน”
‘‘น ห ิ มหาราชา’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “หามไิ ด้ มหาบพติ ร”
‘‘ส ฺ า นาคเสโน’’ติ ?
พระเจ้ามลิ นิ ทต์ รสั ถามว่า “สัญญาหรอื เปน็ นาคเสน ?”
‘‘น หิ มหาราชา’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “หามไิ ด้ มหาบพิตร”
‘‘สงขฺ ารา นาคเสโน’’ติ ?
พระเจา้ มิลินท์ตรสั ถามวา่ “สังขารท้ังหลายหรือ เปน็ นาคเสน ?”
‘‘น ห ิ มหาราชา’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “หามิได้ มหาบพติ ร”
‘‘ว ิ ฺ าณ ํ นาคเสโน’’ติ ?
พระเจ้ามิลินท์ตรัสถามว่า “วญิ ญาณหรือ เป็นนาคเสน ?”
‘‘น ห ิ มหาราชา’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “หามิได้ มหาบพิตร”
‘‘กึ ปน ภนเฺ ต รูปเวทนาส ฺ าสงฺขารว ิ ฺ าณ ํ นาคเสโน’’ติ ?
พระเจา้ มิลินทต์ รสั ถามว่า “พระคณุ เจา้ รูป เวทนา สัญญา สงั ขาร และวญิ ญาณหรือ
เปน็ นาคเสน”
‘‘น ห ิ มหาราชา’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “หามิได้ มหาบพิตร”
กณั ฑ]์ ๒.๑ มหาวรรค 55
‘‘ก ึ ปน ภนฺเต อ ฺ ตฺร รปู เวทนาส ฺ าสงฺขารว ิ ฺ าณํ นาคเสโน’’ติ ?
พระเจา้ มลิ ินท์ตรสั ถามวา่ “พระคุณเจา้ ก็อน่ื ไปจากรปู เวทนา สญั ญา สังขาร และ
วิญญาณหรอื เป็นนาคเสน”
‘‘น หิ มหาราชา’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “หามไิ ด้ มหาบพิตร”
‘‘ตมห ํ ภนฺเต ปจุ ฺฉนฺโต ปจุ ฉฺ นฺโต น ปสฺสามิ นาคเสนํ ฯ นาคเสนสทโฺ ทเยว นุ โข
ภนเฺ ต นาคเสโน’’ติ ?
พระเจ้ามลิ นิ ทต์ รสั ถามวา่ “พระคุณเจ้า โยมถามแล้วถามเล่า กย็ ังไมพ่ บนาคเสนน้ัน
เลย เสยี งที่เปลง่ วา่ นาคเสนหรือ เปน็ นาคเสน พระคณุ เจา้ ?”
‘‘น ห ิ มหาราชา’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “หามไิ ด้ มหาบพติ ร”
‘‘โก ปเนตฺถ นาคเสโน, อลกิ ํ ตฺวํ ภนฺเต ภาสส ิ มุสาวาท,ํ นตฺถ ิ นาคเสโน’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลนิ ท์ตรสั วา่ “กใ็ นค�ำวา่ ‘นาคเสน’ น้ี ไหนนาคเสนเลา่ ท่านพูดจาเหลาะแหละ
เป็นมสุ าวาทนะพระคณุ เจา้ นาคเสนไม่มีหรอก”
อถ โข อายสฺมา นาคเสโน มลิ นิ ทฺ ํ ราชาน ํ เอตทโวจ ‘‘ตวฺ ํ โขส ิ มหาราช ขตตฺ ิย-
สุขมุ าโล อจฺจนฺตสขุ ุมาโล, ตสฺส เต มหาราช มชฌฺ นหฺ ิกสมย ํ ตตตฺ าย ภูมยิ า อุณหฺ าย
วาลกิ าย ขราย สกฺขรกถลกิ าย มททฺ ติ ฺวา ปาเทนาคจฺฉนตฺ สฺส ปาทา รชุ ฺชนฺต,ิ กาโย
กลิ มต,ิ จติ ฺต ํ อุปห ฺ ต,ิ ทกุ ฺขสหคต ํ กายว ิ ฺ าณ ํ อุปฺปชฺชต,ิ กนิ ฺนุ โข ตฺวํ
ปาเทนาคโตส,ิ อุทาหุ วาหเนนา’’ติ ?
ล�ำดบั น้นั แล ท่านพระนาคเสนไดถ้ วายพระพรพระเจา้ มิลินทว์ า่ “ขอถวายพระพร
มหาบพิตร พระองคท์ รงเปน็ กษัตรยิ ส์ ุขมุ าลชาตลิ ะเอียดอ่อนเสียเหลือเกนิ เมอื่ พระองค์เสดจ็
ด�ำเนนิ มาดว้ ยพระบาทในตอนเทยี่ งวนั ทรงเหยียบไปบนพืน้ ทแี่ ดดแผดเผา บนทรายรอ้ น บน
แผน่ กรวดแข็ง พระบาททั้งสองกร็ ะบมไป พระวรกายก็ย่อมล�ำบาก พระทยั กเ็ ดอื ดรอ้ น กาย
วิญญาณทส่ี หรคตดว้ ยทุกข์ก็ยอ่ มเกิดขึ้น พระองคเ์ สด็จมาดว้ ยพระบาทหรือ หรอื ว่าด้วยยาน
พาหนะเล่า”
56 มิลินทปัญหาปกรณแ์ ปล [๒.มลิ ินทปัญห
‘‘นาหํ ภนฺเต ปาเทนาคจฉฺ าม,ิ รเถนาหํ อาคโตสฺมี’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ ินทต์ รัสว่า “พระคณุ เจา้ ข้าพระเจา้ มไิ ด้ใช้เทา้ เดินมาหรอก โยมมาด้วยรถ”
‘‘สเจ ตวฺ ํ มหาราช รเถนาคโตส,ิ รถ ํ เม อาโรเจหิ, กนิ ฺนุ โข มหาราช อสี า
รโถ’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรถามว่า “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร ถา้ หากว่า พระองค์
เสดจ็ มาดว้ ยรถแลว้ ละก็ขอจงบอกรถให้อาตมภาพทราบด้วยเถิด ขอถวายพระพร งอนรถหรอื
เปน็ รถ”
‘‘น หิ ภนฺเต’’ติ ฯ
พระเจา้ มิลินทต์ รัสวา่ “หามิได้หรอก พระคุณเจ้า”
‘‘อกฺโข รโถ’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรถามวา่ “เพลาหรือ เป็นรถ ?”
‘‘น หิ ภนเฺ ต’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ ินท์ตรสั วา่ “หามไิ ด้ พระคุณเจ้า”
‘‘จกกฺ าน ิ รโถ’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรถามวา่ “ล้อทั้งหลายหรือ เป็นรถ ?”
‘‘น ห ิ ภนเฺ ต’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลินทต์ รสั ว่า “หามิได้ พระคุณเจา้ ”
‘‘รถป ฺชร ํ รโถ’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรถามวา่ “ประทนุ หรอื เปน็ รถ ?”
‘‘น หิ ภนฺเต’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ นิ ท์ตรัสวา่ “หามิได้ พระคุณเจา้ ”
‘‘รถทณฺฑโก รโถ’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรถามวา่ “ไม้คานรถหรอื เป็นรถ ?”
กัณฑ์] ๒.๑ มหาวรรค 57
‘‘น ห ิ ภนเฺ ต’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ นิ ทต์ รสั วา่ “หามิได้ พระคณุ เจา้ ”
‘‘ยุค ํ รโถ’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรถามวา่ “แอกหรือ เป็นรถ ?”
‘‘น หิ ภนเฺ ต’’ติ ฯ
พระเจา้ มิลนิ ทต์ รัสว่า “หามไิ ด้ พระคณุ เจา้ ”
‘‘รสมฺ โิ ย รโถ’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรถามวา่ “เชอื กหรือ เปน็ รถ ?”
‘‘น หิ ภนฺเต’’ติ ฯ
พระเจา้ มิลินทต์ รสั วา่ “หามิได้ พระคณุ เจา้ ”
‘‘ปโตทลฏฺ ิ รโถ’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรถามว่า “ไมป้ ฏักหรอื เป็นรถ ?”
‘‘น หิ ภนฺเต’’ติ ฯ
พระเจา้ มิลินทต์ รสั ว่า “หามไิ ด้ พระคุณเจา้ ”
‘‘กินนฺ ุ โข มหาราช อีสาอกขฺ จกฺกรถป ฺชรรถทณฑฺ ยุครสมฺ ิปโตทา รโถ’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรถามวา่ “ขอถวายพระพร งอน เพลา ลอ้ ประทุนรถ ไมค้ าน
รถ แอก เชือก ไมป้ ฏกั หรือ เปน็ รถ ?”
‘‘น หิ ภนเฺ ต’’ติ ฯ
พระเจา้ มิลนิ ทต์ รัสว่า “หามไิ ด้ พระคุณเจ้า”
‘‘ก ึ ปน มหาราช อ ฺ ตรฺ อสี าอกฺขจกฺกรถป ชฺ รรถทณฺฑยคุ รสฺมิปโตทา รโถ’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรถามวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร กอ็ ืน่ ไปจาก งอน เพลา
ล้อ ประทนุ รถ ไม้คานรถ แอก เชือก ไม้ปฏักหรือ เป็นรถ ?”
‘‘น ห ิ ภนฺเต’’ติ ฯ
พระเจา้ มิลินทต์ รัสว่า “หามไิ ด้ พระคุณเจา้ ”
58 มลิ ินทปญั หาปกรณแ์ ปล [๒.มลิ นิ ทปญั ห
‘‘ตมหํ มหาราช ปุจฉฺ นฺโต ปจุ ฉฺ นฺโต น ปสสฺ าม ิ รถํ, รถสทฺโทเยว นุ โข มหาราช
รโถ’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร อาตมภาพถามแลว้ ถาม
เลา่ กย็ ังไม่พบเห็นรถน้นั เลย เสยี งท่ีเปลง่ ว่ารถหรอื เป็นรถ มหาบพติ ร ?”
‘‘น หิ ภนเฺ ต’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ ินท์ตรสั ว่า “หามิได้ พระคุณเจา้ ”
‘‘โก ปเนตฺถ รโถ, อลกิ ํ ตวฺ ํ มหาราช ภาสสิ มสุ าวาท,ํ นตฺถิ รโถ, ตวฺ ํส ิ มหาราช
สกลชมฺพทุ ีเป อคคฺ ราชา, กสสฺ ปน ตฺว ํ ภายติ ฺวา มุสาวาทํ ภาสส,ิ สณุ นตฺ ุ เม โภนโฺ ต
ป จฺ สตา โยนกา อสตี ิสหสฺสา จ ภกิ ขฺ ,ู อย ํ มิลนิ โฺ ท ราชา เอวมาห ‘รเถนาหํ
อาคโตสฺม’ี ต,ิ สเจ ตวฺ ํ มหาราช รเถนาคโตสิ, รถํ เม อาโรเจหี’ต ิ วตุ ฺโต สมาโน รถ ํ น
สมปฺ าเทติ, กลลฺ ํ นุ โข ตทภินนฺทิตุนฺ”ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “กใ็ นค�ำวา่ ‘รถ’ นี้ ไหนรถเล่า ขอถวายพระพร พระองค์
ตรัสเหลาะแหละเป็นมุสาวาท รถไม่มหี รอก ขอถวายพระพรมหาบพิตร พระองค์ก็จดั วา่ เปน็
พระราชายอดเยีย่ มในชมพูทวีปทัง้ สน้ิ ทรงกลัวใครกันเล่า จึงไดต้ รัสมสุ าวาท ท่านผู้เจรญิ ทงั้
หลาย ทั้งขา้ หลวงโยนก ๕๐๐ คน ทั้งพระภิกษุ ๘๐,๐๐๐ รูป ขอจงฟังโยม พระเจา้ มลิ นิ ท์
พระองคน์ ตี้ รัสอยา่ งนว้ี ่า “โยมมาดว้ ยรถ ขอถวายพระพรมหาบพิตร ถา้ หากวา่ พระองคเ์ สดจ็
มาดว้ ยรถ ก็ขอจงบอกรถให้อาตมภาพทราบ ดังนแี้ ลว้ พระราชาไมท่ รงสามารถยืนยันถึงส่ิงท่ี
ชอ่ื วา่ รถได้ ควรหรือหนอที่พระองคจ์ ะทรงเปล่งรบั ส่ังเช่นนนั้ ”
เอว ํ วตุ ฺเต, ป จฺ สตา โยนกา อายสมฺ โต นาคเสนสสฺ สาธกุ ารํ ทตวฺ า มิลินฺทํ
ราชาน ํ เอตทโวจ ุํ ‘‘อทิ านิ โข ตวฺ ํ มหาราช สกฺโกนฺโต ภาสสฺสู’’ติ ฯ
เมอื่ ท่านพระนาคเสนกลา่ วอย่างนแ้ี ล้ว พวกขา้ หลวงโยนก ๕๐๐ คน ก็ได้ใหส้ าธกุ าร
แก่ท่านพระนาคเสน แลว้ กราบทูลข้อความนีก้ ับพระเจ้ามลิ นิ ทว์ ่า “ขอเดชะพระมหาราช บัดน้ี
พระองค์เม่ือทรงสามารถ กข็ อจงรบั ส่งั เถดิ พระเจา้ ข้า”
อถ โข มลิ ินฺโท ราชา อายสฺมนฺตํ นาคเสน ํ เอตทโวจ ‘‘นาหํ ภนฺเต นาคเสน มุสา
ภณาม,ิ อีส ฺจ ปฏิจจฺ อกขฺ ฺจ ปฏจิ จฺ จกกฺ าน ิ จ ปฏจิ ฺจ รถป ชฺ ร ฺจ ปฏิจจฺ รถทณฺฑก ฺจ
ปฏจิ ฺจ ‘รโถ’ต ิ สงฺขา สม ฺ า ป ฺ ตฺต ิ โวหาโร นามมตฺต ํ ปวตฺตตี’’ติ ฯ
ล�ำดบั นนั้ พระเจ้ามิลนิ ท์ ได้ตรสั ขอ้ ความน้ีกับท่านพระนาคเสนว่า “พระคุณเจ้า
กณั ฑ]์ ๒.๑ มหาวรรค 59
นาคเสน โยมมิไดก้ ล่าวมสุ า อาศัยงอนรถด้วย อาศยั เพลารถด้วย อาศัยลอ้ รถดว้ ย อาศัย
ประทุนรถดว้ ย อาศัยคานรถดว้ ย จึงมีค�ำกลา่ วถงึ มสี มญั ญา มีบัญญตั ิ มีโวหาร มเี พียงชือ่ เปน็
ไปวา่ รถ แล”
‘‘สาธุ โข ตวฺ ํ มหาราช รถ ํ ชานาส,ิ เอวเมว โข มหาราช มยหฺ มฺปิ เกเส จ
ปฏิจฺจ โลเม จ ปฏจิ จฺ …เป.… มตฺถเก มตฺถลงุ คฺ จฺ ปฏจิ จฺ รูป จฺ ปฏจิ ฺจ เวทน จฺ
ปฏิจฺจ ส ฺ จฺ ปฏจิ จฺ สงฺขาเร จ ปฏิจฺจ วิ ฺ าณ ฺจ ปฏจิ จฺ ‘นาคเสโน’ติ สงฺขา
สม ฺ า ป ฺ ตฺต ิ โวหาโร นามมตฺตํ ปวตตฺ ติ, ปรมตถฺ โต ปเนตฺถ ปุคคฺ โล นูปลพฺภติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร ดีจรงิ ทพี่ ระองค์รูจ้ ักรถ ขอถวายพระพร
ก็เหมอื นกันอยา่ งนั้นนน่ั แหละ แมอ้ าตมภาพ อาศยั เส้นผมด้วย อาศัยขนด้วย ฯลฯ อาศยั มัน
สมองดว้ ย อาศัยรปู อาศัยเวทนา อาศยั สัญญา อาศยั สงั ขาร อาศยั วิญญาณ จงึ มีค�ำกลา่ วถงึ
มสี มัญญา มบี ัญญัติ มีโวหาร มเี พยี งช่ือเป็นไปวา่ นาคเสน กใ็ นชอ่ื วา่ นาคเสนนี้ หามบี คุ คล
โดยปรมัตถ์ไม่
ภาสติ มฺเปตํ มหาราช วชิราย ภิกฺขนุ ิยา ภควโต สมมฺ ขุ า –
‘‘ยถา หิ องคฺ สมฺภารา โหต ิ สทฺโท ‘รโถ’ อิติ
เอว ํ ขนเฺ ธส ุ สนฺเตส ุ โหต ิ ‘สตโฺ ต’ติ สมฺมตุ ี’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร พระวชิราภิกษุณีไดก้ ล่าวค�ำน้เี บื้องพระพกั ตร์พระผู้มีพระภาคเจ้าวา่
“ศพั ทว์ ่า ‘รถ’ ยอ่ มมี เพราะมีองค์ประกอบ ฉันใด เมือ่ ขันธ์
ทั้งหลายมีอยู่ กย็ ่อมมสี มมตุ วิ ่า ‘สตั ว’์ ฉนั น้นั เหมอื นกัน”
‘‘อจฉฺ ริยํ ภนเฺ ต นาคเสน, อพฺภุต ํ ภนฺเต นาคเสน, อตจิ ิตรฺ านิ ป หฺ ปฏภิ านาน ิ
วสิ ฺสชชฺ ติ านิ, ยทิ พุทโฺ ธ ตฏิ ฺเ ยยฺ สาธุการ ํ ทเทยยฺ ‘สาธ ุ สาธ ุ นาคเสน อตจิ ิตฺรานิ
ป ฺหปฏภิ านาน ิ วสิ สฺ ชฺชิตานี’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ ินทต์ รัสวา่ “นา่ อศั จรรย์จริง พระคณุ เจา้ นาคเสน น่าแปลกจรงิ พระคณุ เจา้
นาคเสน ข้อที่ท่านวสิ ัชนาปัญหาปฏภิ าณทว่ี ิจิตรย่งิ ได้ ถา้ หากพระพุทธเจ้ายังทรงพระชนมอ์ ยู่
กค็ งประทานสาธกุ ารวา่ ‘สาธุ สาธุ นาคเสน เธอแกป้ ญั หาปฏิภาณที่วจิ ติ รยงิ่ ได’้ ดงั นี้แน่แท้
ปญฺ ตฺติปญฺโห ป€โม ฯ
จบปัญญัตตปิ ัญหาข้อที่ ๑
________
60 มิลนิ ทปญั หาปกรณ์แปล [๒.มิลินทปญั ห
๒. วสสฺ คณนปญฺห
๒. วัสสคณนปัญหา
ปญั หาว่าด้วยการนับพรรษา
[๒] ‘‘กติวสฺโสสิ ตฺว ํ ภนฺเต นาคเสนา’’ติ ?
[๒] พระเจ้ามิลินท์ตรสั ถามวา่ “พระคุณเจ้านาคเสน ทา่ นบวชมากพ่ี รรษาครับ ?”
‘‘สตตฺ วสโฺ สห ํ มหาราชา’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร อาตมภาพ ๗ พรรษา”
‘‘เก เต ภนฺเต สตตฺ , ตวฺ ํ วา สตฺต, คณนา วา สตตฺ า’’ติ ?
พระเจา้ มลิ นิ ท์ตรัสถามวา่ “อะไรของทา่ นเลา่ ๗ พรรษา ตวั ทา่ นเองหรอื ช่อื ๗ พรรษา
หรอื การนบั ชอ่ื ว่า ๗ พรรษา ?”
เตน โข ปน สมเยน มลิ ินทฺ สฺส ร ฺโ สพฺพาภรณปฏมิ ณฑฺ ติ สฺส อลงฺกตปฏิยตฺตสฺส
ปถวิยํ ฉายา ทิสสฺ ติ, อุทกมณเิ ก จ ฉายา ทิสฺสติ ฯ
กใ็ นสมัยน้นั แล พระฉายา (เงา) ของพระเจ้ามลิ ินท์ผทู้ รงประดบั ด้วยเคร่ืองอาภรณท์ ง้ั
ปวงติดเคร่ืองยศ ทอดปรากฏอย่ทู ี่พ้ืนดนิ พระฉายายงั ปรากฏอย่ทู อ่ี า่ งนำ�้ ดว้ ย
อถ โข อายสฺมา นาคเสโน มิลินทฺ ํ ราชาน ํ เอตทโวจ ‘‘อยํ เต มหาราช ฉายา
ปถวิยํ อุทกมณิเก จ ทสิ สฺ ต,ิ กึ ปน มหาราช ตฺว ํ วา ราชา ฉายา วา ราชา’’ติ ?
ทนี ั้น ทา่ นพระนาคเสนไดถ้ วายพระพรถามขอ้ ความน้ันกับพระเจา้ มลิ นิ ทว์ ่า “ขอถวาย
พระพรมหาบพิตร พระฉายาของพระองค์นี้ ทอดปรากฏอยู่ทีพ่ ืน้ ดนิ และท่อี า่ งน�ำ้ ขอถวาย
พระพร พระองค์เองช่อื วา่ เปน็ พระราชา หรอื พระฉายาชอ่ื ว่าเป็นพระราชาเลา่ ”
‘‘อหํ ภนฺเต นาคเสน ราชา, นาย ํ ฉายา ราชา, ม ํ ปน นิสสฺ าย ฉายา
ปวตตฺ ต’ี ’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ ินท์ตรสั วา่ “พระคณุ เจ้านาคเสน โยมช่อื ว่าเป็นพระราชา เงานห้ี าชอื่ ว่าเปน็
พระราชาไม่ แต่วา่ เงาเปน็ ไปเพราะอาศัยโยม”
‘‘เอวเมว โข มหาราช วสฺสานํ คณนา สตฺต, น ปนาหํ สตฺต, ม ํ ปน นิสสฺ าย สตฺต
ปวตตฺ ต,ิ ฉายูปม ํ มหาราชา’’ติ ฯ
กัณฑ]์ ๒.๑ มหาวรรค 61
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร ก็เหมือนกันอยา่ งนั้นนัน่
แหละ การนับช่อื วา่ ๗ พรรษา ตวั อาตมาเองหาช่ือวา่ ๗ พรรษาไม่ แต่การนบั ๗ พรรษาน้ี
ย่อมเปน็ ไปเพราะอาศัยอาตมภาพ จงึ มีอปุ มาเหมอื นเงา ขอถวายพระพร”
‘‘อจฉฺ รยิ ํ ภนเฺ ต นาคเสน, อพฺภุต ํ ภนเฺ ต นาคเสน, อติจติ ฺราน ิ ป ฺหปฏภิ านาน ิ
วสิ ฺสชชฺ ิตานี’’ติ ฯ
พระเจา้ มิลินทต์ รสั ว่า “นา่ อัศจรรย์จรงิ พระคุณเจ้านาคเสน น่าประหลาดจริง พระคุณ
เจ้านาคเสน ข้อท่ีท่านวิสัชนาปัญหาปฏภิ าณท่วี จิ ติ รยิง่ ได”้
วสสฺ คณนปญโฺ ห ทุตโิ ย ฯ
จบวสั สคณนปญั หาข้อที่ ๒
________
๓. วีมสํ นปญฺห
๓. วีมงั สนปัญหา
ปัญหาวา่ ด้วยพิจารณาไตร่ตรอง
[๓] ราชา อาห ‘‘ภนฺเต นาคเสน สลฺลปสิ ฺสสิ มยา สทธฺ ิน”ฺ ติ ?
[๓] พระราชาตรสั ว่า “พระคณุ เจา้ นาคเสน ท่านจะสนทนากบั โยมได้หรอื ไม”่
‘‘สเจ ตวฺ ํ มหาราช ปณฺฑติ วาทํ สลลฺ ปิสฺสสิ, สลฺลปสิ ฺสามิ, สเจ ปน ราชวาท ํ
สลฺลปิสฺสสิ, น สลลฺ ปิสฺสาม’ี ’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร ถา้ หากว่าพระองค์จะตรสั
แต่ค�ำพูดอยา่ งทีบ่ ัณฑิตใชพ้ ูดสนทนากนั อาตมภาพกจ็ ะสนทนาด้วย แตถ่ า้ หากรับสั่งแต่ค�ำ
พูดอยา่ งที่พระราชารับสงั่ อาตมภาพก็จะไม่ขอสนทนาดว้ ย”
‘‘กถํ ภนฺเต นาคเสน ปณฺฑิตา สลลฺ ปนฺตี’’ติ ?
พระเจา้ มิลินทต์ รสั ถามว่า “พระคุณเจ้านาคเสน เหล่าบณั ฑติ สนทนากันอย่างไร ?”
‘‘ปณฺฑิตานํ โข มหาราช สลฺลาเป อาเว นมฺป ิ กยริ ติ, นพิ ฺเพ นมปฺ ิ กยริ ต,ิ
นคิ ฺคโหป ิ กยิรติ, ปฏิกมฺมมฺป ิ กยริ ติ, วิสสฺ าโสป ิ กยริ ต,ิ ปฏิวิสสฺ าโสปิ กยริ ติ, น จ เตน
ปณฺฑติ า กุปฺปนฺต,ิ เอวํ โข มหาราช ปณฺฑิตา สลฺลปนฺตี’’ติ ฯ
62 มิลินทปัญหาปกรณ์แปล [๒.มลิ ินทปัญห
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร เม่ือมกี ารสนทนากัน บัณฑติ
ทัง้ หลายย่อมผูกปัญหาขึ้นบ้าง ยอ่ มแก้ค�ำพูดเขาบ้าง ย่อมขม่ เขาบ้าง ยอ่ มโตต้ อบบา้ ง ยอ่ ม
ท�ำทีวา่ เปน็ ค�ำกลา่ วชดั ดบี า้ ง ยอ่ มท�ำทวี ่าเปน็ ค�ำกล่าวชัดดีกวา่ บ้าง ก็บัณฑติ ทัง้ หลาย ยอ่ มไม่
ข่นุ เคอื งกันเพราะวาทะนนั้ ขอถวายพระพร บัณฑิตท้งั หลายสนทนากันอย่างน้ี”
‘‘กถ ํ ปน ภนเฺ ต ราชาโน สลลฺ ปนฺต’ี ’ติ ?
พระเจา้ มลิ นิ ท์ตรัสว่า “พระคณุ เจ้า พวกพระราชาสนทนากันอย่างไร ?”
‘‘ราชาโน โข มหาราช สลฺลาเป เอกํ วตฺถ ุํ ปฏิชานนตฺ ิ, โย ต ํ วตฺถ ุํ วิโลเมติ, ตสสฺ
ทณฺฑํ อาณาเปนตฺ ิ ‘อมิ สสฺ ทณฑฺ ํ ปเณถา’ต,ิ เอวํ โข มหาราช ราชาโน สลลฺ ปนฺต’ี ’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร เม่อื มกี ารพูดจากัน พระ
ราชาทรงยนื ยันเรอ่ื งหนง่ึ ผู้ใดไมค่ ลอ้ ยตามเรื่องที่ทรงยนื ยันนนั้ ก็จะรับสัง่ ใหล้ งทณั ฑผ์ นู้ น้ั วา่
‘จงลงโทษผนู้ ’้ี ขอถวายพระพร พระราชาทัง้ หลายทรงสนทนากนั อยา่ งน”ี้
‘‘ปณฑฺ ติ วาทาห ํ ภนเฺ ต สลฺลปิสฺสาม,ิ โน ราชวาทํ วสิ ฺสฏโฺ ภทนโฺ ต สลลฺ ปตุ ยถา
ภิกขฺ นุ า วา สามเณเรน วา อปุ าสเกน วา อารามิเกน วา สทธฺ ึ สลฺลปติ, เอวํ วิสฺสฏโฺ
ภทนฺโต สลลฺ ปต ุ มา ภายตู’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ ินทต์ รัสวา่ “พระคุณเจ้า โยมจักสนทนาแตค่ �ำท่เี ปน็ บัณฑิตวาทะ ไมใ่ ชร้ าช
วาทะ ขอพระคณุ เจ้าจงวางใจท่ีจะสนทนากบั โยมเถดิ เหมอื นอยา่ งทสี่ นทนากบั พระภกิ ษุ
สามเณร อุบาสก หรอื กบั คนวัดเถิด จงอย่ากลวั ไปเลย”
‘‘สฏุ ฺ ุ มหาราชา’’ติ เถโร อพฺภานุโมทิ ฯ
พระเถระอนโุ มทนาอย่างย่ิงว่า “สาธุ ขอถวายพระพรมหาบพติ ร”
ราชา อาห ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน ปจุ ฺฉิสสฺ าม’ี ’ติ ฯ
พระราชาตรสั วา่ “พระคณุ เจา้ นาคเสน โยมจักถามปัญหาละ”
‘‘ปุจฺฉ มหาราชา’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร ขอจงตรัสถามเถิด”
‘‘ปุจฉฺ โิ ตสิ เม ภนเฺ ต’’ติ ฯ
พระเจา้ มิลินท์ตรสั ว่า “พระคุณเจ้า โยมไดถ้ ามแล้ว”
กัณฑ์] ๒.๑ มหาวรรค 63
‘‘วิสฺสชชฺ ิตํ เม มหาราชา’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร อาตมภาพก็ไดถ้ วายวิสัชนาแล้ว”
‘‘ก ึ ปน ภนเฺ ต ตยา วสิ ฺสชฺชิตนฺ’’ติ ?
พระเจา้ มลิ นิ ท์ตรัสวา่ “พระคุณเจ้า ท่านวิสชั นาว่ากระไร ?”
‘‘กึ ปน มหาราช ตยา ปุจฉฺ ิตน’ฺ ’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ก็ ขอถวายพระพร พระองคต์ รสั ถามวา่ กระไรเล่า”
วีมสํ นปญฺโห ตตโิ ย ฯ
จบวมี งั สนปัญหาขอ้ ท่ี ๓
________
๔. อนนฺตกายปญฺห
๔. อนันตกายปญั หา
ปญั หาว่าด้วยอนันตกายอ�ำมาตย์
[๔] อถ โข มิลนิ ทฺ สสฺ ร ฺโ เอตทโหสิ ‘‘ปณฑฺ ิโต โข อย ํ ภกิ ขฺ ุ ปฏพิ โล มยา
สทฺธ ึ สลลฺ ปติ ุํ, พหกุ านิ จ เม านานิ ปุจฉฺ ิตพพฺ าน ิ ภวิสสฺ นฺต,ิ ยาว อปจุ ฉฺ ติ านเิ ยว ตาน ิ
านานิ ภวิสฺสนตฺ ,ิ อถ สรู ิโย อตฺถํ คมสิ ฺสติ, ยนฺนูนาหํ เสฺว อนฺเตปุเร สลลฺ เปยยฺ น”ฺ ติ ฯ
[๔] คร้งั นั้นแล พระเจ้ามิลนิ ทท์ รงเกดิ พระด�ำริข้อนข้ี ้ึนมาว่า “ภิกษุรูปนี้ เปน็ บัณฑติ มี
ความสามารถพอทจี่ ะสนทนากับเราได้หนอ ก็เร่อื งท่เี ราควรจะถามมมี ากมาย เรอื่ งเหลา่ น้นั
ยังมไิ ดถ้ ามเลย แต่วา่ ดวงอาทิตยจ์ ะอัสดงคต ถา้ กระไรพรงุ่ นี้เราควรได้สนทนากนั ในเมอื ง”
อถ โข ราชา เทวมนฺติย ํ เอตทโวจ ‘‘เตนหิ ตฺวํ เทวมนตฺ ิย ภทนตฺ สฺส
อาโรเจยฺยาสิ ‘เสวฺ อนฺเตปุเร ร ฺ า สทธฺ ึ สลลฺ าโป ภวิสฺสตี’’ติ ฯ
ทนี น้ั พระราชาจึงรบั ส่ังขอ้ ความน้ีกบั เทวมนั ตยิ ะอ�ำมาตยว์ า่ “นแ่ี น่ะเทวมนั ติยะ ถ้า
อยา่ งนั้น เธอพงึ ไปกราบเรยี นพระคุณเจ้าเถิดวา่ ‘วนั พรุง่ นี้ ท่านจะมกี ารสนทนากบั พระราชา
ภายในเมือง”
64 มิลินทปัญหาปกรณแ์ ปล [๒.มลิ ินทปัญห
อทิ ํ วตวฺ า มิลินฺโท ราชา อุฏ ฺ ายาสนา เถร ํ นาคเสนํ อาปุจฉฺ ิตฺวา รถํ อภริ หู ิตวฺ า
‘‘นาคเสโน นาคเสโน’’ติ สชฌฺ าย ํ กโรนโฺ ต ปกฺกามิ ฯ
พระเจ้ามิลินทค์ รนั้ รับสง่ั ความข้อนแ้ี ลว้ กเ็ สด็จลุกจากอาสนะ ตรัสลาพระนาคเสนเถระ
เสดจ็ ข้นึ รถหลกี ไป ทรงพลางพึมพ�ำวา่ “ท่านนาคเสน ทา่ นนาคเสน”
อถ โข เทวมนฺติโย อายสมฺ นฺต ํ นาคเสนํ เอตทโวจ ‘‘ราชา ภนฺเต มิลนิ ฺโท
เอวมาห ‘เสวฺ อนเฺ ตปุเร ร ฺ า สทฺธึ สลฺลาโป ภวิสสฺ ตี’’ติ ฯ
ต่อจากนั้น เทวมนั ติยะอ�ำมาตย์ก็ไดไ้ ปกราบเรียนความขอ้ นั้นกับท่านพระนาคเสนวา่
“พระคุณเจ้า พระเจา้ มลิ นิ ท์รบั ส่งั อยา่ งนว้ี ่า ‘วนั พรงุ่ น้ี ทา่ นจะมกี ารสนทนากบั พระราชาภายใน
เมือง ขอรับ”
‘‘สาธู’’ต ิ เถโร อพภฺ านโุ มทิ ฯ
พระเถระอนุโมทนาอย่างย่ิงวา่ “ดลี ะ”
อถ โข ตสสฺ า รตฺตยิ า อจฺจเยน เทวมนฺติโย จ อนนฺตกาโย จ มงกฺ ุโร จ สพฺพ-
ทนิ ฺโน จ, เยน มิลินโฺ ท ราชา, เตนุปสงฺกมสึ ุ; อุปสงกฺ มิตวฺ า ราชาน ํ มิลนิ ทฺ ํ เอตทโวจ ํุ
‘‘อาคจฺฉตุ มหาราช ภทนโฺ ต นาคเสโน’’ติ ?
ครงั้ น้ันแล เม่ือราตรีล่วงไปแลว้ เทวมันตยิ ะอ�ำมาตย์ อนนั ตกายอ�ำมาตย์ มังกรุ ะ-
อ�ำมาตย์ และสพั พทนิ นะอ�ำมาตย์ ได้พากนั ไปเฝ้าพระเจ้ามลิ นิ ท์ ณ ทปี่ ระทบั แลว้ กราบทูล
ข้อความนน้ั กบั พระเจา้ มลิ นิ ท์วา่ “ขอเดชะพระมหาราช พระคุณเจ้านาคเสนจงมาได้หรือยัง
พระเจ้าข้า”
‘‘อาม อาคจฺฉตู’’ติ ฯ
พระราชาตรัสวา่ “เออ ขอท่านจงมาไดแ้ ล้วละ”
‘‘กิตฺตเกห ิ ภิกขฺ ูห ิ สทฺธึ อาคจฉฺ ตู’’ติ ?
พวกอ�ำมาตยก์ ราบทลู ถามวา่ “จะทรงโปรดใหท้ า่ นมาพร้อมกบั พระภกิ ษจุ �ำนวนสกั กี่
รปู พระเจ้าขา้ ”
‘‘ยตตฺ เก ภิกฺขู อจิ ฉฺ ต,ิ ตตฺตเกห ิ ภกิ ขฺ หู ิ สทฺธ ึ อาคจฉฺ ต’ู ’ติ ฯ
พระราชาตรัสวา่ “ขอพระคณุ เจา้ จงมาพรอ้ มกับพระภิกษุจ�ำนวนตามท่ีต้องการเถดิ ”
กณั ฑ์] ๒.๑ มหาวรรค 65
อถ โข สพฺพทนิ ฺโน อาห ‘‘อาคจฺฉต ุ มหาราช ทสห ิ ภกิ ฺขูห ิ สทธฺ นิ ฺ”ติ ฯ
ล�ำดับน้นั สัพพทนิ นะอ�ำมาตย์จึงกราบทูลว่า “ขอเดชะพระมหาราช ขอจงทรงโปรดให้
ท่านมาพรอ้ มกับภิกษจุ �ำนวน ๑๐ รูปเถิด พระเจา้ ขา้ ”
ทุตยิ มปฺ ิ โข ราชา อาห ‘‘ยตตฺ เก ภกิ ฺข ู อิจฺฉติ, ตตฺตเกหิ ภิกขฺ ูหิ สทฺธ ึ
อาคจฺฉตู’’ติ ฯ
พระราชาจงึ รบั ส่ังแมเ้ ป็นคร้ังท่ี ๒ ว่า “ขอพระคณุ เจ้าจงมาพรอ้ มกบั พระภกิ ษุจ�ำนวน
ตามท่ีท่านต้องการเถดิ ”
ทุตยิ มฺปิ โข สพฺพทนิ ฺโน อาห ‘‘อาคจฺฉตุ มหาราช ทสหิ ภกิ ขฺ ูหิ สทธฺ นิ ฺ”ติ ฯ
สัพพทินนะอ�ำมาตย์กย็ ังคงกราบทลู แม้เป็นครัง้ ท่ี ๒ ว่า “ขอเดชะมหาราชเจ้า ขอจง
ทรงโปรดใหท้ า่ นมาพร้อมกบั พระภิกษจุ �ำนวนเพียง ๑๐ รูปเท่าน้นั เถดิ พระเจ้าข้า”
ตติยมปฺ ิ โข ราชา อาห ‘‘ยตตฺ เก ภิกขฺ ู อจิ ฉฺ ต,ิ ตตฺตเกหิ ภิกฺขูหิ สทฺธึ
อาคจฺฉต’ู ’ติ ฯ
พระราชารบั ส่งั แม้เปน็ ครั้งท่ี ๓ ว่า “ขอพระคุณเจา้ จงมาพรอ้ มกับภกิ ษจุ �ำนวนตามที่
ท่านต้องการเถดิ ”
ตตยิ มปฺ ิ โข สพพฺ ทินฺโน อาห ‘‘อาคจฉฺ ตุ มหาราช ทสหิ ภิกฺขหู ิ สทธฺ ิน”ฺ ติ ฯ
สพั พทินนะอ�ำมาตยก์ ย็ ังคงกราบทลู แมเ้ ป็นคร้ังที่ ๓ วา่ “ขอเดชะพระมหาราชเจา้ ขอ
จงทรงโปรดใหท้ ่านมาพรอ้ มกบั พระภิกษจุ �ำนวนเพยี ง ๑๐ รูปเท่านัน้ เถิด พระเจา้ ข้า”
‘‘สพโฺ พ ปนาย ํ สกกฺ าโร ปฏิยาทิโต, อห ํ ภณาม ิ ‘ยตฺตเก ภกิ ฺข ู อจิ ฉฺ ต,ิ ตตฺตเกห ิ
ภกิ ขฺ หู ิ สทธฺ ึ อาคจฺฉตู’ติ ฯ อย ํ ภเณ สพพฺ ทนิ ฺโน อ ฺ ถา ภณติ, กนิ ฺน ุ มย ํ นปปฺ ฏพิ ลา
ภิกฺขนู ํ โภชนํ ทาตนุ ”ฺ ติ ?
พระราชาตรสั วา่ “ก็เครื่องสักการะทุกอยา่ งนี่ เราก็ไดต้ ระเตรียมไว้แลว้ ทง้ั เราก็กล่าว
อยู่วา่ ‘ขอพระคณุ เจา้ จงมาพร้อมกับพระภกิ ษุจ�ำนวนตามทท่ี า่ นต้องการเถดิ ’ นแี่ นะ่ พนาย
สัพพทนิ นะอ�ำมาตยผ์ ูน้ ี้กลบั กล่าวโดยประการอ่นื เราไม่มคี วามสามารถพอที่จะถวายอาหาร
แก่พระภกิ ษทุ ง้ั หลายไดห้ รอื ไร”
เอว ํ วตุ เฺ ต, สพฺพทนิ โฺ น มงฺก ุ อโหสิ ฯ
เมอ่ื รับส่ังอย่างนแ้ี ลว้ สพั พทนิ นะอ�ำมาตย์ก็ไดแ้ ต่เกอ้ เขนิ ไป
66 มลิ ินทปัญหาปกรณ์แปล [๒.มลิ ินทปญั ห
อถ โข เทวมนฺติโย จ อนนฺตกาโย จ มงฺกโุ ร จ, เยนายสมฺ า นาคเสโน,
เตนปุ สงฺกมึสุ; อปุ สงกฺ มิตวฺ า อายสฺมนตฺ ํ นาคเสน ํ เอตทโวจํ ุ ‘‘ราชา ภนฺเต มลิ นิ ฺโท
เอวมาห ‘ยตฺตเก ภิกฺข ู อิจฉฺ ติ, ตตตฺ เกหิ ภิกฺขูหิ สทฺธึ อาคจฺฉตู’’ติ ฯ
ต่อจากน้นั เทวมันตยิ ะอ�ำมาตย์ อนนั ตกายอ�ำมาตย์ และมังกุระอ�ำมาตย์ ได้เข้าไปหา
ท่านพระนาคเสน ณ ท่ีท่านพ�ำนักอยู่ แล้วไดเ้ รยี นขอ้ ความน้นั กบั ทา่ นพระนาคเสนว่า “พระคณุ
เจ้า พระเจ้ามิลินท์รบั ส่ังอยา่ งนี้ว่า ‘ขอพระคณุ เจา้ จงมาพร้อมกบั พระภิกษจุ �ำนวนตามทท่ี า่ น
ตอ้ งการเถดิ ”
อถ โข อายสมฺ า นาคเสโน ปุพฺพณฺหสมย ํ นวิ าเสตฺวา ปตฺตจวี รมาทาย อสตี ยิ า
ภกิ ขฺ สุ หสฺเสหิ สทธฺ ึ สาคล ํ ปาวิสิ ฯ
ล�ำดับนน้ั พระนาคเสนนุง่ (สบง) ในเวลาเชา้ ถือเอาบาตรและจีวร เขา้ ไปยังเมือง
สาคละ พรอ้ มกับภกิ ษสุ งฆจ์ �ำนวน ๘๐,๐๐๐ รูป
อถ โข อนนตฺ กาโย อายสมฺ นตฺ ํ นาคเสน ํ นสิ ฺสาย คจฺฉนโฺ ต อายสฺมนฺตํ นาคเสนํ
เอตทโวจ ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน ย ํ ปเนตํ พรฺ ูส ิ ‘นาคเสโน’ติ, กตโม เอตฺถ นาคเสโน’’ติ ?
ครัง้ น้ันแล อนันตกายอ�ำมาตย์ ผู้เดินใกลช้ ดิ ทา่ นพระนาคเสน ไดก้ ล่าวขอ้ ความนกี้ บั
ทา่ นพระนาคเสนวา่ “พระคณุ เจ้านาคเสน ค�ำที่ท่านกลา่ ววา่ ‘นาคเสน’ น้ี ใด ในค�ำน้ีมอี ะไรท่ี
เป็นนาคเสนอยู่หรือ ?”
เถโร อาห ‘‘โก ปเนตถฺ ‘นาคเสโน’ต ิ ม ฺ สี’’ติ ?
พระเถระกล่าวว่า “กใ็ นค�ำวา่ ‘นาคเสน’ น้ี ทา่ นส�ำคัญวา่ อะไรเป็นนาคเสนเล่า”
‘‘โย โส ภนฺเต อพภฺ นตฺ เร วาโต ชีโว ปวสิ ต ิ จ นกิ ขฺ มติ จ, โส ‘นาคเสโน’ติ
ม ฺ าม’ี ’ติ ฯ
อนันตกายอ�ำมาตย์ กลา่ วตอบว่า “พระคณุ เจา้ ชีวะคอื ลมในภายใน ยอ่ มเขา้ และออก
อยนู่ ้นั ใด โยมส�ำคญั วา่ ลมนั้นน่ันแหละว่า ‘เปน็ นาคเสน’
‘‘ยท ิ ปเนโส วาโต นกิ ขฺ มิตวฺ า นปฺปวเิ สยฺย, ปวิสติ วฺ า น นกิ ฺขเมยฺย, ชเี วยฺย น ุ
โข โส ปรุ ิโส’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรถามวา่ “กถ็ า้ หากว่า ลมนั้น ออกไปแลว้ ไมก่ ลบั เขา้ มา
เข้าไปแลว้ ไมอ่ อกมา บุคคลน้ันจะพึงเปน็ อยไู่ ดห้ รือ ?”
กัณฑ]์ ๒.๑ มหาวรรค 67
‘‘น หิ ภนฺเต’’ติ ฯ
อนันตกายอ�ำมาตยก์ ล่าววา่ “มไิ ด้หรอก พระคณุ เจ้า”
‘‘เย ปนเิ ม สงขฺ ธมกา สงฺข ํ ธเมนตฺ ,ิ เตส ํ วาโต ปนุ ปวสิ ตี’’ติ ?
พระนาคเสนถามว่า “นกั เปา่ สังข์ ยอ่ มเป่าสังข์ ลมเปา่ ของคนเหล่านน้ั จะกลบั เข้าไป
อีกหรอื ?”
‘‘น หิ ภนเฺ ต’’ติ ฯ
อนันตกายอ�ำมาตย์กล่าวตอบว่า “มิไดห้ รอก พระคุณเจ้า”
‘‘เย ปนเิ ม วสํ ธมกา วํสํ ธเมนตฺ ,ิ เตสํ วาโต ปนุ ปวิสต’ี ’ติ ?
พระนาคเสนถามว่า “พวกนกั เปา่ ปี่ ยอ่ มเปา่ ปี่ ลมเป่าของคนเหลา่ นัน้ จะกลับเขา้ ไปอกี
หรอื ?”
‘‘น หิ ภนฺเต’’ติ ฯ
อนันตกายอ�ำมาตย์ตอบว่า “มไิ ดห้ รอก พระคุณเจา้ ”
‘‘เย ปนเิ ม สิงคฺ ธมกา สิงฺค ํ ธเมนตฺ ิ, เตส ํ วาโต ปุน ปวสิ ตี’’ติ ?
พระนาคเสนถามวา่ “พวกคนเปา่ เขาสตั ว์ ย่อมเปา่ เขาสัตว์ ลมเป่าของคนเหลา่ นน้ั จะ
กลบั เข้าไปอกี หรือ ?”
‘‘น หิ ภนเฺ ต’’ติ ฯ
อนันตกายอ�ำมาตยต์ อบว่า “มไิ ดห้ รอก พระคณุ เจา้ ”
‘‘อถ กสิ ฺส ปน เต น มรนฺตี’’ติ ฯ
พระนาคเสนถามว่า “ก็เมอ่ื เป็นเช่นนน้ั เพราะเหตไุ ร คนเหล่าน้นั จงึ ไม่ตายเลา่ ?”
‘‘นาห ํ ปฏิพโล ตยา วาทนิ า สทฺธึ สลฺลปติ ุ,ํ สาธ ุ ภนฺเต อตฺถํ ชปฺเปห’ี ’ติ ฯ
อนันตกายอ�ำมาตยก์ ราบเรยี นว่า “โยมไม่มคี วามสามารถเพื่อจะสนทนากับท่านผู้เปน็
เจา้ วาทะได้ พระคุณเจา้ ขอไดโ้ ปรดอธิบายเนอื้ ความด้วยเถิด”
‘‘เนโส ชโี ว, อสสฺ าสปสสฺ าสา นาเมเต กายสงขฺ ารา’’ต ิ เถโร อภธิ มมฺ กถํ กเถสิ ฯ
พระเถระไดก้ ล่าวอภิธรรมกถาว่า “ชื่อวา่ ลมหายใจเข้า และหายใจออกน้ี หาใช่ชวี ะไม่
นช้ี ือ่ ว่ากายสังขาร” ดังนีเ้ ป็นต้น
68 มิลนิ ทปญั หาปกรณ์แปล [๒.มลิ ินทปัญห
อถ อนนตฺ กาโย อปุ าสกตฺตํ ปฏเิ วเทสีติ ฯ
ล�ำดับนัน้ อนนั ตกายอ�ำมาตยไ์ ดป้ ระกาศตนว่าเป็นอบุ าสก
อนนฺตกายปญโฺ ห จตตุ โฺ ถ ฯ
จบอนันตกายปญั หาขอ้ ท่ี ๔
________
๕. ปพพฺ ชชฺ ปญหฺ
๕. ปพั พัชชปญั หา
ปัญหาวา่ ดว้ ยการบวช
[๕] อถ โข อายสฺมา นาคเสโน, เยน มิลนิ ทฺ สฺส ร ฺโ นิเวสนํ, เตนุปสงกฺ ม;ิ
อปุ สงฺกมติ วฺ า ป ฺ ตเฺ ต อาสเน นิสที ิ ฯ
[๕] ครงั้ น้ันแล ทา่ นพระนาคเสนได้เข้าไปยงั พระราชนิเวศน์ของพระเจา้ มลิ นิ ท์ แลว้ ก็
นงั่ บนอาสนะที่เจ้าพนักงานได้ปลู าดไว้
อถ โข มิลนิ ฺโท ราชา อายสฺมนฺต ํ นาคเสนํ สปริสํ ปณเี ตน ขาทนีเยน โภชนีเยน
สหตถฺ า สนตฺ ปฺเปตวฺ า สมปฺ วาเรตวฺ า เอกเมกํ ภิกฺขุํ เอกเมเกน ทสุ สฺ ยเุ คน อจฉฺ าเทตวฺ า
อายสมฺ นตฺ ํ นาคเสน ํ ติจวี เรน อจฉฺ าเทตวฺ า อายสมฺ นตฺ ํ นาคเสน ํ เอตทโวจ ‘‘ภนเฺ ต
นาคเสน ทสห ิ ภกิ ขฺ หู ิ สทฺธึ อิธ นิสที ถ, อวเสสา คจฺฉนตฺ ู’’ติ ฯ
ทนี ้นั พระเจ้ามิลนิ ทก์ ไ็ ดท้ รงเล้ยี งดูทา่ นพระนาคเสนพรอ้ มท้งั บริษัทใหอ้ ่มิ หน�ำเพยี ง
พอดว้ ยของเค้ยี วของฉนั อันประณตี ดว้ ยพระหตั ถ์ของพระองคเ์ อง แล้วทรงให้ภกิ ษคุ รองผา้
รูปละหนง่ึ คู่ นมิ นตใ์ หพ้ ระนาคเสนครองไตรจีวร แล้วตรัสถามข้อความนี้กบั ท่านพระนาคเสน
วา่ “พระคุณเจา้ นาคเสน ขอนิมนต์ทา่ นพร้อมกับภกิ ษุ ๑๐ รปู นงั่ อยู่ ณ ทน่ี ่เี ถิด ภิกษทุ เี่ หลือ
ขอนิมนต์กลับไปก่อน”
อถ โข มิลนิ ฺโท ราชา อายสมฺ นตฺ ํ นาคเสนํ ภตุ ตฺ าว ึ โอนตี ปตฺตปาณ ึ วทิ ติ วฺ า
อ ฺ ตร ํ นจี ํ อาสนํ คเหตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทิ ฯ
ล�ำดบั นัน้ พระเจ้ามลิ นิ ท์ พอทรงทราบว่าท่านพระนาคเสนฉนั เสร็จ วางมอื จากบาตร
พระองคก์ ็ทรงยดึ เอาอาสนะที่ต�ำ่ กว่าแหง่ ใดแห่งหน่ึง ประทับนั่ง ณ ทีส่ มควร
กณั ฑ์] ๒.๑ มหาวรรค 69
เอกมนฺตํ นิสินฺโน โข มิลินโฺ ท ราชา อายสฺมนฺต ํ นาคเสน ํ เอตทโวจ ‘‘ภนเฺ ต
นาคเสน กิมหฺ ิ โหต ิ กถาสลฺลาโป’’ติ ?
พระเจ้ามลิ ินทป์ ระทับนงั่ ลง ณ ทสี่ มควรแลว้ กไ็ ดร้ ับส่งั ขอ้ ความนีก้ บั ทา่ นพระนาคเสน
ว่า “พระคณุ เจา้ นาคเสน จะมีการพูดคยุ สนทนากันในเรื่องอะไรบา้ ง ?”
‘‘อตเฺ ถน มย ํ มหาราช อตถฺ กิ า, อตเฺ ถ โหตุ กถาสลลฺ าโป’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร พวกเรามคี วามต้องการดว้ ย
ประโยชน์ ขอจงมกี ารพดู จาสนทนากันในเรือ่ งทมี่ ีประโยชน์เถดิ ”
ราชา อาห ‘‘กิมตถฺ ยิ า ภนเฺ ต นาคเสน ตมุ หฺ าก ํ ปพพฺ ชฺชา, โก จ ตุมหฺ ากํ
ปรมตฺโถ’’ติ ฯ
พระราชาตรัสวา่ “พระคณุ เจ้านาคเสน การบวชของท่านมีประโยชนอ์ ะไร กป็ ระโยชน์
อยา่ งยิ่งของพวกทา่ นคืออะไร ?”
เถโร อาห ‘‘กนิ ฺต ิ มหาราช อิทํ ทุกฺข ํ นริ ุชเฺ ฌยฺย, อ ฺ จฺ ทกุ ฺขํ น
อุปปฺ ชเฺ ชยยฺ าติ ฯ เอตทตถฺ า มหาราช อมหฺ าก ํ ปพพฺ ชฺชา, อนปุ าทา ปรนิ พิ พฺ าน ํ โข ปน
อมหฺ ากํ ปรมตฺโถ’’ติ ฯ
พระเถระถวายวสิ ชั นาวา่ “ประโยชน์อะไรหรอื ขอถวายพระพร พวกอาตมภาพบวช
เพอ่ื ประโยชนแ์ กส่ ิง่ นี้ คอื ทุกขน์ ี้ พงึ ดบั ไปเสยี และทกุ ข์อ่ืนกไ็ มพ่ ึงเกิดขึน้ ขอถวายพระพร
การบวชของพวกอาตมภาพ กม็ ีข้อท่ีกล่าวมาน้ี เปน็ ประโยชน์ กแ็ ลอนุปาทาปรินพิ พาน เป็น
ประโยชน์อยา่ งย่ิงของพวกอาตมภาพ”
‘‘กึ ปน ภนเฺ ต นาคเสน สพเฺ พ เอตทตถฺ าย ปพพฺ ชนตฺ ’ี ’ติ ?
พระเจา้ มิลนิ ท์ตรสั ถามว่า “พระคุณเจ้านาคเสน พวกภกิ ษทุ ุกรปู ลว้ นบวชเพ่อื
ประโยชนแ์ ก่ส่ิงนีห้ รือ ?”
‘‘น ห ิ มหาราช เกจ ิ เอตทตถฺ าย ปพฺพชนตฺ ิ, เกจ ิ ราชาภนิ ีตา ปพฺพชนฺติ, เกจ ิ
โจราภนิ ตี า ปพพฺ ชนตฺ ,ิ เกจิ อิณฏฺฏา ปพพฺ ชนตฺ ิ, เกจิ อาชวี ิกตฺถาย ปพพฺ ชนฺต,ิ เย ปน
สมฺมา ปพพฺ ชนฺต,ิ เต เอตทตฺถาย ปพพฺ ชนฺตี’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายวสิ ชั นาวา่ “หามิได้ ขอถวายพระพร บางพวกก็บวชเพ่ือประโยชน์
แก่สิ่งน้ี บางพวกเป็นผูท้ พี่ ระราชามรี บั สงั่ ใหจ้ ับตวั ไป ก็บวช (บวชหนพี ระราชา) บางพวกกลัว
70 มลิ นิ ทปญั หาปกรณแ์ ปล [๒.มลิ ินทปัญห
พวกโจรจับไป กบ็ วช บางพวกกบ็ วชหนีหนี้ บางพวกก็บวชเพอ่ื ประโยชน์แกก่ ารเลย้ี งชีพ
สว่ นภกิ ษเุ หล่าใดบวชโดยชอบ ภิกษุเหลา่ นน้ั ย่อมบวชเพอ่ื ประโยชน์ขอ้ น้ี”
‘‘ตฺว ํ ปน ภนเฺ ต เอตทตฺถาย ปพพฺ ชิโตส’ี ’ติ ?
พระเจา้ มิลนิ ท์ตรสั ถามวา่ “พระคณุ เจา้ นาคเสน ท่านบวชเพื่อประโยชนแ์ ก่สิ่งนี้หรือ
เปล่า ?”
‘‘อหํ โข มหาราช ทหรโก สนโฺ ต ปพฺพชโิ ต, น ชานาม ิ อิมสสฺ นามตฺถาย
ปพพฺ ชามีต,ิ อปจิ โข เม เอว ํ อโหสิ ‘ปณฺฑิตา อเิ ม สมณา สกฺยปตุ ตฺ ยิ า, เต ม ํ
สิกฺขาเปสฺสนตฺ ี’ต,ิ สวฺ าหํ เตหิ สกิ ฺขาปโิ ต ชานาม ิ จ ปสฺสามิ จ ‘อมิ สฺส นามตถฺ าย
ปพพฺ ชฺชา’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายวสิ ชั นาว่า “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร อาตมภาพบวชตงั้ แต่ยงั เปน็
เดก็ ยงั ไมท่ ราบวา่ เราบวชเพ่ือประโยชน์แกส่ ิ่งน ้ี กแ็ ตว่ ่า อาตมภาพเกิดความคดิ ข้ึนอยา่ งน้ี
วา่ ‘สมณศากยบุตรเหล่านเ้ี ปน็ บัณฑติ ทา่ นเหลา่ นน้ั จักให้เราได้ศกึ ษา’ อาตมภาพนั้น พอท่าน
เหล่านัน้ ใหศ้ กึ ษาแล้ว จึงรู้ และจึงเห็นวา่ ‘การบวชย่อมมเี พ่อื ประโยชน์แกส่ ่งิ น”ี้
‘‘กลโฺ ลสิ ภนเฺ ต นาคเสนา’’ติ ฯ
พระเจา้ มิลินท์ตรสั ว่า “พระคุณเจ้านาคเสน ทา่ นตอบสมควรแล้ว”
ปพพฺ ชชฺ ปญโฺ ห ปญฺจโม ฯ
จบปัพพัชชปญั หาขอ้ ท่ี ๕
________
กณั ฑ์] ๒.๑ มหาวรรค 71
๖. ปฏสิ นธฺ ิปญฺห
๖. ปฏิสนธิปญั หา
ปัญหาวา่ ด้วยปฏสิ นธิ
[๖] ราชา อาห ‘‘ภนฺเต นาคเสน อตถฺ ิ โกจ ิ มโต น ปฏสิ นฺทหต’ี ’ติ ฯ
[๖] พระราชาตรสั วา่ “พระคุณเจา้ นาคเสน บางคนตายแล้วไม่ปฏสิ นธิ (ไมเ่ กดิ อีก) มี
อยหู่ รือ”
เถโร อาห ‘‘โกจ ิ ปฏสิ นฺทหต,ิ โกจ ิ น ปฏสิ นฺทหตี’’ติ ฯ
พระเถระถวายวสิ ชั นาวา่ “บางคนปฏิสนธิ บางคนไม่ปฏิสนธ”ิ
‘‘โก ปฏิสนฺทหต,ิ โก น ปฏสิ นฺทหตี’’ติ ?
พระเจ้ามลิ ินทต์ รสั ถามว่า “ใครปฏิสนธิ ใครไม่ปฏสิ นธิ”
‘‘สกิเลโส มหาราช ปฏิสนฺทหต,ิ นิกฺกเิ ลโส น ปฏสิ นทฺ หต’ี ’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายวิสัชนาว่า “ขอถวายพระพร ผู้มกี เิ ลส ย่อมปฏิสนธิ ผูไ้ มม่ ีกิเลส ยอ่ ม
ไมป่ ฏสิ นธ”ิ
‘‘ตวฺ ํ ปน ภนเฺ ต นาคเสน ปฏิสนทฺ หสิ สฺ สี’’ติ ?
พระเจา้ มิลินทต์ รสั ถามว่า “พระคณุ เจา้ นาคเสน ทา่ นจะปฏสิ นธหิ รอื ไม่”
‘‘สเจ มหาราช สอปุ าทาโน ภวิสฺสาม,ิ ปฏสิ นฺทหิสฺสามิ, สเจ อนุปาทาโน
ภวิสฺสาม,ิ น ปฏสิ นฺทหิสสฺ ามี’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายวสิ ชั นาว่า “ขอถวายพระพร ถ้าหากวา่ อาตมภาพเป็นผู้มีอุปาทาน
อาตมภาพกจ็ ะปฏิสนธิ ถา้ หากวา่ อาตมภาพเปน็ ผู้ไม่มอี ปุ าทาน อาตมภาพกจ็ ะไม่ปฏิสนธิ”
‘‘กลฺโลสิ ภนฺเต นาคเสนา’’ติ ฯ
พระเจา้ มิลนิ ท์ตรัสว่า “พระคุณเจ้านาคเสน ทา่ นตอบสมควรแลว้ ”
ปฏิสนธฺ ปิ ญโฺ ห ฉฏฺโ€ ฯ
จบปฏสิ นธปิ ญั หาข้อที่ ๖
________
72 มลิ นิ ทปัญหาปกรณแ์ ปล [๒.มิลนิ ทปัญห
๗. โยนโิ สมนสิการปญหฺ
๗. โยนโิ สมนสิการปญั หา
ปัญหาว่าด้วยโยนิโสมนสกิ าร
[๗] ราชา อาห ‘‘ภนฺเต นาคเสน โย น ปฏสิ นทฺ หติ, นน ุ โส โยนิโสมนสกิ าเรน
น ปฏิสนทฺ หต’ี ’ติ ?
[๗] พระราชาตรสั ว่า “พระคุณเจา้ นาคเสน บคุ คลใดไม่ปฏิสนธิ บุคคลน้ันย่อมไม่
ปฏสิ นธิ เพราะมีโยนิโสมนสกิ ารใชห่ รอื ไม่ ?”
‘‘โยนโิ ส จ มหาราช มนสกิ าเรน ป ฺ าย จ อ เฺ หิ จ กุสเลหิ ธมฺเมห’ี ’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายวิสชั นาว่า “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร บคุ คลย่อมไม่ปฏิสนธิ เพราะ
มีโยนโิ สมนสิการ เพราะมีปัญญา และเพราะมกี ุศลธรรมทง้ั หลายอยา่ งอนื่ ”
‘‘นนุ ภนฺเต โยนโิ สมนสกิ าโรเยว ป ฺ า’’ติ ?
พระเจ้ามลิ ินทต์ รสั วา่ “พระคณุ เจ้า โยนิโสมนสิการนัน่ แหละ กเ็ ปน็ ปญั ญามิใช่หรือ ?”
‘‘น ห ิ มหาราช อ โฺ มนสิกาโร, อ ฺ า ป ฺ า, อเิ มส ํ โข มหาราช อเชฬก-
โคณมหสึ โอฏฺ คทรฺ ภานมฺป ิ มนสิกาโร อตถฺ ิ, ป ฺ า ปน เตส ํ นตถฺ ’ี ’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายวสิ ชั นาว่า “หามไิ ด้ มหาบพิตร โยนโิ สมนสิการกอ็ ย่างหนึ่ง ปัญญา
ก็อยา่ งหนงึ่ ขอถวายพระพร แม้พวกสตั ว์เหล่านี้ คือ แพะ แกะ โค กระบอื อฐู ลา ก็มีโยนโิ ส-
มนสกิ ารได้ แตส่ ตั ว์เหลา่ นัน้ หามีปัญญาไม่”
‘‘กลฺโลส ิ ภนฺเต นาคเสนา’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ ินทต์ รสั ว่า “พระคณุ เจา้ นาคเสน ท่านตอบสมควรแลว้ ”
โยนโิ สมนสิการปญฺโห สตฺตโม ฯ
จบโยนโิ สมนสิการปัญหาข้อที่ ๗
________
กณั ฑ์] ๒.๑ มหาวรรค 73
๘. มนสิการลกขฺ ณปญฺห
๘. มนสิการลกั ขณปัญหา
ปัญหาวา่ ด้วยมนสกิ ารมอี ะไรเปน็ ลกั ษณะ
[๘] ราชา อาห ‘‘กลึ กขฺ โณ ภนเฺ ต นาคเสน มนสิกาโร, กึลกขฺ ณา ป ฺ า’’ติ ?
[๘] พระราชาตรสั ว่า “พระคณุ เจ้านาคเสน มนสิการ มีอะไรเป็นลกั ษณะ ปญั ญา มี
อะไรเป็นลักษณะ ?”
‘‘อหู นลกฺขโณ โข มหาราช มนสิกาโร, เฉทนลกฺขณา ป ฺ า’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายวิสัชนาว่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร มนสิการมกี ารตรึก เปน็
ลกั ษณะ ปัญญามกี ารตดั เป็นลักษณะ”
‘‘กถ ํ อูหนลกฺขโณ มนสิกาโร, กถํ เฉทนลกฺขณา ป ฺ า, โอปมฺมํ กโรหี’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ นิ ทต์ รัสถามว่า “มนสิการมกี ารตรกึ (การจบั ไว)้ เปน็ ลักษณะอยา่ งไร ปัญญา
มกี ารตัดเปน็ ลกั ษณะอย่างไร ขอทา่ นจงช่วยอุปมาให้ทีเถอะ”
‘‘ชานาส ิ ตฺว ํ มหาราช ยวลาวเก’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรถามว่า “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร พระองค์ทรงรจู้ กั คน
เกยี่ วข้าวบ้างหรอื ไม่ ?”
‘‘อาม ภนฺเต ชานาม’ี ’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ ินท์ตรัสตอบว่า “ใช่ พระคณุ เจ้า โยมร้จู ัก”
‘‘กถํ มหาราช ยวลาวกา ยวํ ลุนนตฺ ี’’ติ ?
พระนาคเสนถามวา่ “ขอถวายพระพร พวกคนเกีย่ วข้าว เขาเก่ียวข้าวกันอย่างไร ?”
‘‘วาเมน ภนฺเต หตเฺ ถน ยวกลาปํ คเหตฺวา ทกขฺ เิ ณน หตเฺ ถน ทาตฺตํ คเหตวฺ า
ทาตฺเตน ฉินทฺ นตฺ ’ี ’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ นิ ทต์ รสั ว่า “พระคุณเจ้า พวกเขาใชม้ อื ซ้ายจับมัดข้าวไว้ ใช้มอื ขวาถอื เคียว
แล้วเก่ยี ว(ข้าว)ด้วยเคยี ว”
74 มลิ ินทปัญหาปกรณแ์ ปล [๒.มลิ นิ ทปัญห
‘‘ยถา มหาราช ยวลาวโก วาเมน หตเฺ ถน ยวกลาปํ คเหตวฺ า ทกฺขเิ ณน หตฺเถน
ทาตฺต ํ คเหตฺวา ยวํ ฉนิ ฺทต,ิ เอวเมว โข มหาราช โยคาวจโร มนสิกาเรน มานสํ
คเหตวฺ า ป ฺ าย กิเลเส ฉนิ ฺทต,ิ เอวํ โข มหาราช อหู นลกฺขโณ มนสกิ าโร, เอวํ
เฉทนลกฺขณา ป ฺ า’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายวิสัชนาวา่ “ขอถวายพระพร คนเก่ียวขา้ วใชม้ อื ซา้ ยจบั มดั ข้าวไว้ ใช้
มือขวาถือเคยี วเกยี่ วข้าว ฉนั ใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจรกย็ ่อมใช้มนสกิ ารจบั จิตไว้
แลว้ ใช้ปัญญาตดั กเิ ลสทั้งหลาย ฉนั นัน้ เหมือนกนั ขอถวายพระพร มนสกิ ารมกี ารตรกึ (มกี าร
จบั ไว้) เป็นลักษณะ ปัญญามีการตัดเป็นลักษณะ ตามประการดงั กลา่ วมานี้แหละ”
‘‘กลโฺ ลสิ ภนฺเต นาคเสนา’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ นิ ทต์ รสั ว่า “พระคณุ เจ้านาคเสน ท่านตอบสมควรแลว้ ”
มนสิการลกขฺ ณปญโฺ ห อฏ€ฺ โม ฯ
จบมนสกิ ารลกั ขณปัญหาข้อท่ี ๘
________
๙. สลี ลกฺขณปญฺห
๙. สีลลักขณปัญหา
ปัญหาวา่ ด้วยลกั ษณะของศีล
[๙] ราชา อาห ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน ย ํ ปเนต ํ พรฺ ูสิ ‘อ ฺเ หิ จ กสุ เลห ิ ธมฺเมห’ี ต,ิ
กตเม เต กสุ ลา ธมฺมา’’ติ ?
[๙] พระราชาตรสั วา่ “พระคณุ เจ้านาคเสน กแ็ ต่ว่า ท่านกล่าวค�ำนี้ว่า ‘และเพราะมี
กุศลธรรมทงั้ หลายอยา่ งอ่นื ’ ดงั น้ีใด กุศลธรรมเหล่านนั้ เปน็ ไฉน ?”
‘‘สีลํ มหาราช สทธฺ า วีรยิ ํ สติ สมาธิ, อเิ ม เต กุสลา ธมฺมา’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายวสิ ัชนาว่า “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร ศีล ศรทั ธา วิริยะ สติ สมาธิ
ธรรมเหล่าน้ี ชอ่ื วา่ กศุ ลธรรมเหล่านน้ั ”
‘‘กึลกขฺ ณํ ภนฺเต สลี น”ฺ ติ ?
พระเจ้ามิลนิ ทต์ รสั ถามว่า “พระคณุ เจ้า ศลี มีอะไรเป็นลักษณะ ?”
กัณฑ์] ๒.๑ มหาวรรค 75
‘‘ปตฏิ ฺ านลกฺขณ ํ มหาราช สลี ํ, สพเฺ พส ํ กุสลานํ ธมมฺ าน ํ อินฺทฺรยิ พลโพชฌฺ งฺค-
มคฺคงฺคสติปฏ ฺ านสมมฺ ปปฺ ธานอทิ ฺธิปาทฌานวิโมกขฺ สมาธิสมาปตตฺ นี ํ สีลํ ปตฏิ ฺ ,ํ สเี ล
ปตฏิ ฺ ิโต โข มหาราช โยคาวจโร สีล ํ นิสฺสาย สีเล ปติฏฺ าย ป จฺ ินทฺ รฺ ยิ านิ ภาเวต ิ
สทธฺ ินฺทฺริย ํ วีริยินทฺ รฺ ยิ ํ สตนิ ฺทรฺ ยิ ํ สมาธินฺทฺริยํ ป ฺ นิ ทฺ ฺริยนฺต,ิ สพฺเพ กุสลา ธมมฺ า น
ปริหายนฺต’ี ’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายวสิ ชั นาวา่ “ขอถวายพระพร ศลี มีความเป็นทต่ี ั้งเปน็ ลกั ษณะ คือ ศลี
เปน็ ที่ต้งั แหง่ กศุ ลธรรมทงั้ หลายทัง้ ปวง ได้แก่ อนิ ทรีย์ พละ โพชฌงค์ องค์มรรค สติปฏั ฐาน
สมั มปั ปธาน อทิ ธบิ าท ฌาน วโิ มกข์ สมาธิ สมาบัติ ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผู้ตงั้ อยใู่ น
ศลี อาศัยศีล ด�ำรงอยูใ่ นศีลแล้ว ย่อมเจริญอินทรีย์ทั้ง ๕ คือ สัทธนิ ทรีย ์ วริ ยิ นิ ทรีย์ สตนิ ทรยี ์
สมาธินทรีย ์ ปัญญนิ ทรยี ์ได ้ กศุ ลธรรมทั้งหลายทั้งปวงย่อมไม่เสือ่ มไป”
‘‘โอปมมฺ ํ กโรหี’’ติ ฯ
พระเจา้ มิลนิ ท์ตรสั วา่ “ขอทา่ นจงชว่ ยอุปมาให้หนอ่ ยเถอะ”
‘‘ยถา มหาราช เย เกจิ พีชคามภตู คามา วฑุ ฒฺ ึ วิรฬู หฺ ึ เวปลุ ฺลํ อาปชชฺ นตฺ ,ิ
สพฺเพ เต ปถวึ นสิ ฺสาย ปถวยิ ํ ปตฏิ ฺ าย วุฑฺฒึ วิรูฬหฺ ึ เวปุลฺล ํ อาปชชฺ นตฺ ิ ฯ เอวเมว
โข มหาราช โยคาวจโร สีลํ นสิ ฺสาย สเี ล ปตฏิ ฺ าย ป จฺ นิ ฺทรฺ ยิ านิ ภาเวติ สทธฺ ินทฺ ฺรยิ ํ
วีริยนิ ฺทรฺ ิย ํ สตินทฺ รฺ ิยํ สมาธนิ ฺทฺรยิ ํ ป ฺ นิ ทฺ รฺ ยิ น”ฺ ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร เปรยี บเหมอื นพชื ตน้ ไม้
เหลา่ ใดเหล่าหน่งึ ยอ่ มถึงความเจรญิ งอกงาม ความไพบลู ย์ พชื ตน้ ไมเ้ หล่านั้นลว้ นอาศัยแผ่น
ดนิ ต้ังอยบู่ นแผน่ ดินแล้วก็ยอ่ มถงึ ความเจริญ งอกงาม ไพบลู ยไ์ ด้ ฉันใด ขอถวายพระพร
มหาบพิตร พระโยคาวจรอาศัยศีล ด�ำรงอยูใ่ นศลี แล้ว ก็ย่อมเจรญิ อินทรีย์ ๕ คือ สัทธินทรยี ์
วริ ยิ นิ ทรยี ์ สตินทรยี ์ สมาธินทรยี ์ ปัญญินทรยี ไ์ ด้ ฉันน้นั เหมอื นกัน”
‘‘ภิยโฺ ย โอปมฺมํ กโรหี’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ ินท์ตรสั ว่า “กรณุ าท่านชว่ ยอปุ มาใหอ้ ีกหน่อยเถดิ ”
76 มลิ ินทปัญหาปกรณ์แปล [๒.มลิ ินทปญั ห
‘‘ยถา มหาราช เย เกจ ิ พลกรณียา กมฺมนฺตา กยริ นตฺ ิ, สพเฺ พ เต ปถวึ นสิ ฺสาย
ปถวยิ ํ ปติฏฺ าย กยริ นตฺ ิ ฯ เอวเมว โข มหาราช โยคาวจโร สีล ํ นสิ สฺ าย สเี ล ปติฏฺ าย
ป จฺ นิ ฺทรฺ ยิ านิ ภาเวต ิ สทธฺ ินทฺ ฺริยํ วีรยิ นิ ทฺ ฺรยิ ํ สตินทฺ ฺรยิ ํ สมาธินทฺ รฺ ิยํ ป ฺ ินทฺ รฺ ยิ น”ฺ ติ ฯ
พระนาคเสนถวายวสิ ัชนาว่า “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร เปรียบเหมอื นคนทัง้ หลาย
ยอ่ มท�ำการงานท่ีต้องท�ำดว้ ยก�ำลงั เหลา่ ใดเหลา่ หน่ึง คนทงั้ หลายเหล่านั้น ล้วนอาศัยแผน่ ดนิ
ยืนหยัดบนแผน่ ดิน แลว้ กย็ อ่ มท�ำการงานเหล่านั้นได้ ฉนั ใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจร
อาศยั ศลี ด�ำรงอยแู่ ล้วในศีล ก็ยอ่ มเจริญอินทรีย์ ๕ คือ สทั ธนิ ทรีย์ วริ ยิ นิ ทรยี ์ สตนิ ทรยี ์
สมาธินทรีย์ ปัญญินทรยี ไ์ ด้ ฉนั น้ันเหมอื นกนั ”
‘‘ภยิ โฺ ย โอปมฺม ํ กโรหี’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ ินท์ตรัสวา่ “ทา่ นโปรดชว่ ยอปุ มาให้ย่งิ ขึ้นอกี หน่อยเถิด”
‘‘ยถา มหาราช นครวฑฒฺ กี นครํ มาเปตกุ าโม ป มํ นครฏฺ านํ โสธาเปตวฺ า
ขาณุกณฺฏกํ อปกฑฒฺ าเปตวฺ า ภมู ึ สม ํ การาเปตฺวา ตโต อปรภาเค วีถิจตุกฺกสิงฆฺ าฏกาท-ิ
ปรจิ เฺ ฉเทน วิภชติ ฺวา นครํ มาเปติ ฯ เอวเมว โข มหาราช โยคาวจโร สีลํ นิสฺสาย
สีเล ปติฏ ฺ าย ป จฺ นิ ทฺ รฺ ิยานิ ภาเวติ สทธฺ ินฺทรฺ ิยํ วรี ยิ ินฺทฺรยิ ํ สตินทฺ รฺ ิย ํ สมาธินทฺ รฺ ยิ ํ
ป ฺ นิ ทฺ ฺริยนฺ”ติ ฯ
พระนาคเสนถวายวิสัชนาวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร เปรยี บเหมอื นว่า ช่างสร้าง
เมือง ตอ้ งการจะสร้างเมอื ง ทแี รกก็ให้เขาช�ำระทตี่ ั้งเมือง ก�ำจดั ตอและหนามออกไป ปรับพ้นื ที่
ให้เสมอ ตอ่ มาหลังจากนั้น ก็จ�ำแนกโดยการตัดแบง่ เป็นถนน เปน็ ทางสแ่ี พรง่ เป็นต้น สรา้ ง
เมืองข้นึ มา ฉันใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจรอาศัยศีล ด�ำรงอยใู่ นศลี ก็ย่อมเจริญอนิ ทรีย์
๕ คือ สทั ธนิ ทรีย์ วิริยนิ ทรีย ์ สตนิ ทรีย์ สมาธนิ ทรยี ์ ปญั ญินทรีย์ได้ ฉันน้ันเหมอื นกัน”
‘‘ภยิ โฺ ย โอปมฺม ํ กโรหี’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ ินท์ตรสั วา่ “ขอท่านจงชว่ ยอปุ มาใหย้ งิ่ ขึ้นอีกหนอ่ ยเถิด”
‘‘ยถา มหาราช ลงฺฆโก สปิ ปฺ ํ ทสฺเสตกุ าโม ปถวึ ขณาเปตฺวา สกฺขรกถล ํ
อปกฑฺฒาเปตวฺ า ภูม ึ สมํ การาเปตฺวา มุทกุ าย ภูมิยา สปิ ปฺ ํ ทสเฺ สติ ฯ เอวเมว โข
มหาราช โยคาวจโร สีลํ นิสฺสาย สเี ล ปตฏิ ฺ าย ป ฺจนิ ฺทฺรยิ านิ ภาเวต ิ สทฺธินฺทฺรยิ ํ
วีรยิ นิ ฺทฺรยิ ํ สตินฺทฺรยิ ํ สมาธินทฺ ฺรยิ ํ ป ฺ ินทฺ รฺ ิยน”ฺ ติ ฯ
กณั ฑ์] ๒.๑ มหาวรรค 77
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร เปรยี บเหมอื นนักแสดง
กายกรรมต้องการจะแสดงศลิ ปะ ก็ยอ่ มให้เขาถางพื้นดนิ ขจดั ก้อนกรวดและกระเบื้องออกไป
ปรบั พืน้ ท่ีใหร้ าบเรยี บแล้ว จึงแสดงศิลปะบนพ้ืนท่นี มุ่ ได้ ฉันใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจร
อาศยั ศีล ด�ำรงอยูใ่ นศีล ย่อมเจรญิ อินทรยี ์ ๕ คอื สัทธนิ ทรีย์ วิริยนิ ทรีย์ สตินทรยี ์ สมาธินทรยี ์
ปัญญินทรีย์ได้ ฉนั นั้นเหมอื นกนั ”
ภาสิตมฺเปตํ มหาราช ภควตา –
‘‘สีเล ปติฏฺ าย นโร สป ฺโ จติ ตฺ ํ ป ฺ จฺ ภาวยํ
อาตาป ี นิปโก ภิกฺข ุ โส อมิ ํ วชิ ฏเย ชฏน”ฺ ติ ฯ
‘‘อยํ ปติฏฺ า ธรณีว ปาณินํ
อิท จฺ มลู ํ กุสลาภิวฑุ ฒฺ ิยา
มขุ จฺ ทิ ํ สพฺพชินานุสาสเน
โย สลี กฺขนฺโธ วรปาตโิ มกฺขิโย’’ติ ฯ
ขอถวายพระพรมหาบพิตร พระผมู้ พี ระภาคเจา้ ทรงภาษติ ความข้อนี้ไว้ว่า
“นรชนผู้เป็นภกิ ษุ มีปญั ญา ตัง้ มัน่ อยูใ่ นศลี แลว้ อบรมจติ และ
ปัญญา เป็นผมู้ ีความเพยี รเป็นเครื่องเผากเิ ลส ฉลาด ผ้นู ัน้ จะ
พงึ ถางชฏั คอื ตณั หานไี้ ด้”
“อนงึ่ ศีลน้ี เปน็ รากเหงา้ แหง่ ความเจริญยิง่ แหง่ กศุ ลธรรมทงั้
หลาย ดุจแผน่ ดนิ นี้ เปน็ ท่ีรองรับสตั วท์ ั้งหลาย ฉะนน้ั ในศาสนา
ของพระชินเจ้าทกุ พระองค์ กม็ ศี ลี น้ี เป็นประธาน ได้แก่ กอง
ศลี อนั มใี นพระปาตโิ มกขอ์ นั ประเสรฐิ ”
‘‘กลฺโลส ิ ภนฺเต นาคเสนา’’ติ ฯ
พระเจา้ มิลินท์ตรสั ว่า “พระคุณเจ้านาคเสน ท่านตอบสมควรแล้ว”
สลี ลกขฺ ณปญโฺ ห นวโม ฯ
จบสีลลักขณปญั หาขอ้ ที่ ๙
________
78 มลิ นิ ทปัญหาปกรณแ์ ปล [๒.มลิ ินทปัญห
๑๐. สมฺปสาทนลกขฺ ณสทฺธาปญฺห
๑๐. สัมปสาทนลกั ขณสัทธาปัญหา
ปญั หาว่าดว้ ยศรทั ธามีความท�ำใหเ้ ลือ่ มใสเป็นลกั ษณะ
[๑๐] ราชา อาห ‘‘ภนฺเต นาคเสน กลึ กขฺ ณา สทธฺ า’’ติ ?
[๑๐] พระราชาตรัสว่า “พระคุณเจ้านาคเสน ศรทั ธามีอะไรเปน็ ลกั ษณะ ?”
‘‘สมฺปสาทนลกฺขณา จ มหาราช สทฺธา สมฺปกขฺ นทฺ นลกขฺ ณา จา’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายวิสัชนาวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร ศรัทธามีความท�ำใหเ้ ลื่อมใส
เป็นลักษณะ และมคี วามท�ำใหแ้ ลน่ ไปดว้ ยดีเป็นลกั ษณะ”
‘‘กถ ํ ภนฺเต สมปฺ สาทนลกขฺ ณา สทธฺ า’’ติ ?
พระเจ้ามลิ นิ ทต์ รสั ถามวา่ “พระคณุ เจ้า ศรัทธาชอื่ ว่ามีความท�ำให้เลอ่ื มใสด้วยดีเปน็
ลักษณะอย่างไร ?”
‘‘สทฺธา โข มหาราช อปุ ปฺ ชฺชมานา นีวรเณ วิกขฺ มเฺ ภต,ิ วนิ ีวรณ ํ จติ ฺตํ โหติ อจฺฉํ
วิปฺปสนนฺ ํ อนาวิลํ ฯ เอวํ โข มหาราช สมปฺ สาทนลกขฺ ณา สทฺธา’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายวสิ ชั นาว่า “ขอถวายพระพร ศรทั ธาเม่ือเกดิ ขน้ึ ยอ่ มข่มนิวรณ์ทง้ั
หลายได้ จิตที่ปราศจากนิวรณ์ เป็นจติ ท่ใี ส ผอ่ งใส ไมข่ นุ่ มัว ขอถวายพระพร ศรัทธามคี วาม
ท�ำให้เลอ่ื มใสดว้ ยดเี ปน็ ลกั ษณะอย่างนีแ้ ล”
‘‘โอปมมฺ ํ กโรหี’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลินท์ตรัสว่า “ขอท่านจงช่วยอุปมาใหด้ ว้ ยเถดิ ”
‘‘ยถา มหาราช ราชา จกฺกวตฺตี จตรุ งคฺ นิ ยิ า เสนาย สทฺธ ึ อทธฺ านมคคฺ ปฺปฏปิ นโฺ น
ปรติ ฺต ํ อทุ ก ํ ตเรยฺย, ต ํ อุทก ํ หตฺถหี ิ จ อสฺเสหิ จ รเถหิ จ ปตตฺ ีหิ จ ขภุ ิต ํ ภเวยยฺ
อาวลิ ํ ลฬุ ติ ํ กลลภี ตู ํ ฯ อุตฺตณิ ฺโณ จ ราชา จกกฺ วตฺต ี มนุสฺเส อาณาเปยฺย ‘ปานีย ํ ภเณ
อาหรถ, ปิวสิ ฺสามี’ต,ิ ร ฺโ จ อทุ กปฺปสาทโก มณิ ภเวยยฺ ฯ ‘เอว ํ เทวา’ต ิ โข เต
มนสุ สฺ า ร ฺโ จกฺกวตฺติสฺส ปฏสิ ฺสุตฺวา ต ํ อุทกปปฺ สาทก ํ มณึ อทุ เก ปกขฺ ิเปยฺย,ํุ ตสมฺ ึ
อุทเก ปกขฺ ติ ฺตมตเฺ ต สงขฺ เสวาลปณกํ วิคจฺเฉยฺย, กททฺ โม จ สนฺนิสเี ทยฺย, อจฉฺ ํ ภเวยฺย
อุทก ํ วิปฺปสนนฺ ํ อนาวิลํ ฯ ตโต ร โฺ จกฺกวตฺติสสฺ ปานียํ อปุ นาเมยฺยุ ํ ‘ปิวต ุ เทว
ปานียนฺ’ติ ฯ
กัณฑ]์ ๒.๑ มหาวรรค 79
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร เปรียบเหมอื นพระเจ้า
จักรพรรดิผเู้ สดจ็ ด�ำเนนิ ทางไกล พร้อมกับกองทัพ ๔ เหล่า ตอ้ งเสดจ็ ขา้ มแอ่งน�้ำไป แอ่งน้ำ�
นน้ั กม็ ีอันตอ้ งกระเพือ่ มขนุ่ มัว กลายเปน็ น�ำ้ โคลนไป เพราะเหลา่ ชา้ ง เหล่ามา้ เหลา่ รถ และ
เหลา่ พลเดินเท้าทงั้ หลาย กพ็ ระเจ้าจกั รพรรดผิ เู้ สด็จข้ามไปแล้ว พงึ รับสง่ั คนทัง้ หลายว่า ‘แนะ่
พนาย จงน�ำนำ�้ ดืม่ มา เราจะดืม่ น้ำ� ละ’ ก็พระราชาทรงมแี กว้ มณีทท่ี �ำนำ้� ให้ใสได้ คนทั้งหลาย
ทูลรับพระบญั ชาของพระเจา้ จกั รพรรดวิ ่า ‘พระเจ้าข้า’ ดงั น้ีแล้ว (กต็ ักนำ้� ใส่ภาชนะมา) ใสแ่ กว้
มณที ่ีใชท้ �ำน้�ำให้ใสนั้นลงไปในน้�ำ เม่อื เพียงแต่ใส่แกว้ มณลี งไปในน�ำ้ นน้ั เท่านั้น บรรดาโคลน
สาหรา่ ย จอก แหน กพ็ งึ ปราศนาการไป และเปลอื กตมกส็ งบนิ่งไปเทยี ว นำ�้ กก็ ลายเป็นนำ้� ใส
ผ่องใส ไม่ขุ่นมวั ตอ่ จากนัน้ ก็จะพงึ นอ้ มน�ำถวายให้เปน็ นำ้� เสวยแกพ่ ระเจา้ จกั รพรรดิ กราบทลู
วา่ ‘ขา้ แต่พระองค์ผทู้ รงเป็นสมมตุ ิเทพ ขอจงเสวยน้�ำด่ืมเถิด พระเจ้าข้า”
‘‘ยถา มหาราช อุทกํ, เอว ํ จติ ฺต ํ ทฏฺ พฺพํ, ยถา เต มนสุ สฺ า, เอว ํ โยคาวจโร
ทฏ ฺ พฺโพ, ยถา สงฺขเสวาลปณกํ กททฺ โม จ, เอวํ กเิ ลสา ทฏ ฺ พฺพา ฯ ยถา อุทกป-ฺ
ปสาทโก มณ,ิ เอวํ สทฺธา ทฏ ฺ พพฺ า, ยถา อุทกปฺปสาทเก มณมิ ฺห ิ อทุ เก ปกฺขติ ฺตมตเฺ ต
สงฺขเสวาลปณกํ วิคจเฺ ฉยฺย, กททฺ โม จ สนฺนสิ เี ทยยฺ , อจฺฉ ํ ภเวยฺย อุทกํ วปิ ปฺ สนฺน ํ
อนาวิล,ํ เอวเมว โข มหาราช สทธฺ า อปุ ปฺ ชชฺ มานา นวี รเณ วิกฺขมฺเภต,ิ วนิ ีวรณํ จิตฺต ํ
โหติ อจฺฉ ํ วิปฺปสนนฺ ํ อนาวลิ ,ํ เอวํ โข มหาราช สมปฺ สาทนลกฺขณา สทฺธา’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร ผู้เป็นบัณฑิตพึงเหน็ จิตวา่ เปน็ ดจุ นำ�้ พงึ เห็นพระโยคาวจรว่าเป็นดุจ
คนเหล่านน้ั พงึ เหน็ กเิ ลสทัง้ หลายวา่ เปน็ ดจุ สาหร่าย จอก แหน และตะกอน พงึ เห็นศรัทธาวา่
เปน็ ดุจแกว้ มณีทชี่ ่วยท�ำนำ�้ ใหใ้ ส เปรียบเหมอื นวา่ เม่ือเพยี งแต่วางแก้วมณที ี่ท�ำใหน้ ้�ำใสลงไป
ในน�ำ้ เท่านั้น สาหรา่ ย จอก แหน กพ็ ึงปราศนาการไป และตะกอนก็สงบนงิ่ นำ�้ เปลย่ี นเปน็ น�้ำ
ใส ผ่องใส ไม่ขนุ่ มวั ฉนั ใด ขอถวายพระพร ศรัทธาเมือ่ เกิดขน้ึ ยอ่ มขม่ นวิ รณ์ทง้ั หลายได้ จติ ท่ี
ปราศจากนิวรณ์ ยอ่ มเป็นจิตท่ใี ส ผ่องใส ไม่ขนุ่ มัว ฉนั นน้ั เหมือนกัน ขอถวายพระพร ศรัทธา
ชื่อว่ามีความท�ำใหเ้ ลอื่ มใสดว้ ยดเี ปน็ ลกั ษณะ ตามประการดังกลา่ วมานีแ้ ล”
‘‘กลฺโลส ิ ภนฺเต นาคเสนา’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ นิ ท์ตรัสวา่ “พระคณุ เจ้านาคเสน ท่านตอบสมควรแลว้ ”
สมปฺ สาทนลกขฺ ณสทธฺ าปญฺโห ทสโม ฯ
จบสมั ปสาทนลักขณสทั ธาปัญหาข้อที่ ๑๐
80 มิลนิ ทปญั หาปกรณ์แปล [๒.มิลินทปญั ห
๑๑. สมฺปกขฺ นฺทนลกฺขณสทฺธาปญหฺ
๑๑. สัมปักขันทนลักขณสทั ธาปญั หา
ปญั หาวา่ ด้วยศรัทธามีความท�ำใหแ้ ลน่ ไปดว้ ยดเี ปน็ ลักษณะ
[๑๑] ‘‘กถ ํ ภนฺเต สมปฺ กฺขนทฺ นลกฺขณา สทธฺ า’’ติ ?
[๑๑] พระเจ้ามลิ ินท์ตรัสถามว่า “พระคณุ เจา้ ศรทั ธา ชือ่ วา่ มคี วามท�ำให้แลน่ ไปด้วยดี
เปน็ ลกั ษณะอยา่ งไร ?”
‘‘ยถา มหาราช โยคาวจโร อ ฺเ ส ํ จิตฺตํ วิมตุ ตฺ ํ ปสสฺ ิตฺวา โสตาปตฺติผเล วา
สกทาคามผิ เล วา อนาคามิผเล วา อรหตฺเต วา สมปฺ กฺขนทฺ ต ิ โยคํ กโรต ิ อปปฺ ตฺตสฺส
ปตตฺ ยิ า อนธคิ ตสสฺ อธคิ มาย อสจฉฺ ิกตสสฺ สจฉฺ ิกิรยิ าย ฯ เอวํ โข มหาราช สมฺปกฺขนฺทน-
ลกขฺ ณา สทธฺ า’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายวิสัชนาว่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร เปรยี บเหมอื นพระโยคาวจร
พอเห็นจติ ที่หลุดพน้ ของท่านผ้อู ื่นแลว้ ก็ยอ่ มแล่นไปด้วยดใี นพระโสดาปัตตผิ ลบ้าง ในพระสก
ทาคามิผลบ้าง ในพระอนาคามิผลบา้ ง ในพระอรหตั ตผลบ้าง ยอ่ มกระท�ำความเพียรเพื่อถงึ
ธรรมที่ยังไม่ถึง เพอื่ บรรลธุ รรมทยี่ ังท่ยี งั ไม่บรรลุ เพ่อื ท�ำใหแ้ จ้งซ่งึ ธรรมที่ยงั มไิ ดท้ �ำให้แจง้ ขอ
ถวายพระพรมหาบพติ ร ศรทั ธา ชอื่ ว่ามคี วามท�ำใหแ้ ล่นไปดว้ ยดีเปน็ ลกั ษณะอยา่ งนแ้ี ล”
‘‘โอปมฺม ํ กโรห’ี ’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ ินท์ตรัสว่า “ขอทา่ นจงช่วยอุปมาใหท้ เี ถอะ”
‘‘ยถา มหาราช อุปริปพฺพเต มหาเมโฆ อภปิ ปฺ วสฺเสยยฺ , ต ํ อทุ กํ ยถานนิ ฺน ํ
ปวตฺตมานํ ปพพฺ ตกนทฺ รปทรสาขา ปรปิ ูเรตฺวา นท ึ ปรปิ ูเรยยฺ , สา อุภโต กูลาน ิ
สํวสิ ฺสนฺทนฺตี คจฺเฉยยฺ , อถ มหาชนกาโย อาคนฺตฺวา ตสสฺ า นทิยา อุตตฺ านตํ วา คมภฺ รี ต ํ
วา อชานนโฺ ต ภโี ต วิตถฺ โต ตเี ร ติฏเฺ ยฺย, อถ ฺ ตโร ปรุ ิโส อาคนฺตวฺ า อตตฺ โน ถาม จฺ
พล ฺจ สมฺปสฺสนฺโต คาฬฺหํ กจฉฺ ํ พนฺธิตฺวา ปกขฺ นฺทิตฺวา ตเรยยฺ , ตํ ตณิ ฺณํ ปสสฺ ิตวฺ า
มหาชนกาโยปิ ตเรยฺย ฯ เอวเมว โข มหาราช โยคาวจโร อ เฺ สํ จิตตฺ ํ วมิ ตุ ฺตํ ปสสฺ ติ วฺ า
โสตาปตฺตผิ เล วา สกทาคามผิ เล วา อนาคามิผเล วา อรหตฺเต วา สมปฺ กฺขนฺทต ิ โยคํ
กโรติ อปฺปตฺตสฺส ปตตฺ ยิ า อนธิคตสฺส อธคิ มาย อสจฺฉกิ ตสสฺ สจฉฺ กิ ริ ยิ าย ฯ เอว ํ
โข มหาราช สมฺปกฺขนทฺ นลกฺขณา สทธฺ าติ ฯ
กัณฑ์] ๒.๑ มหาวรรค 81
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร เปรยี บเหมือนว่า ฝนหา่ ใหญ่
พึงโปรยปรายลงมาเบอ้ื งบนภูเขา น้�ำฝนนัน้ กจ็ ะไหลไปตามท่รี าบลมุ่ ท�ำซอกเขา ระแหง หว้ ย
ใหเ้ ตม็ แล้วกไ็ ปท�ำแม่น�้ำให้เต็ม แม่น�้ำนัน้ (เต็มเป่ยี มแล้ว) กจ็ ะไหลเซาะฝัง่ ท้ัง ๒ ข้างไป ตอ่ มา
หมมู่ หาชนมาถงึ แล้ว เมือ่ ไม่รูว้ า่ แมน่ �้ำน้ันตน้ื หรือลกึ ก็กลัว จงึ ยนื (รีรอ) อย่ทู ฝ่ี งั่ อนั กวา้ ง
ล�ำดับนัน้ มบี รุ ษุ คนหนึง่ มาถงึ เม่ือพิจารณาเหน็ ความเข้มแข็ง และก�ำลังของตนอยู่ ก็ผูกชาย
พกไวแ้ น่น แลน่ ขา้ มไปไดด้ ว้ ยดี แม้หมู่มหาชน ครัน้ เห็นเขาขา้ มได้ ก็พงึ ขา้ มบ้าง ฉนั ใด ขอ
ถวายพระพร พระโยคาวจร พอเห็นจิตทห่ี ลุดพน้ ของท่านผ้อู ืน่ แล้ว กย็ อ่ มแลน่ ไปด้วยดี ใน
พระโสดาปัตติผลบ้าง ในพระสกทาคามิผลบ้าง ในพระอนาคามิผลบา้ ง ในพระอรหัตตผลบ้าง
ย่อมท�ำความเพยี รเพอ่ื ถึงธรรมท่ยี ังไม่ถงึ เพอื่ บรรลธุ รรมทยี่ ังไมบ่ รรลุ เพ่อื ท�ำให้แจง้ ซ่ึงธรรม
ทีย่ งั มิได้ท�ำให้แจง้ ฉันน้นั เหมือนกนั ขอถวายพระพร ศรทั ธา ช่ือว่า มคี วามท�ำใหแ้ ล่นไปดว้ ย
ดีเปน็ ลักษณะอยา่ งนแ้ี ล”
ภาสติ มเฺ ปต ํ มหาราช ภควตา สยํ ตุ ตฺ นิกายวเร –
‘‘สทฺธาย ตรตี โอฆํ อปฺปมาเทน อณณฺ วํ
วีรเิ ยน ทุกฺขมจเฺ จติ ป ฺ าย ปริสุชฌฺ ตี’’ติ ฯ
ขอถวายพระพรมหาบพติ ร พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงภาษติ ความขอ้ นไี้ วใ้ นสังยตุ ต-
นิกายทีป่ ระเสริฐว่า
“บคุ คลย่อมข้ามหว้ งนำ�้ ได้ ด้วยศรทั ธา ย่อมข้ามหว้ งมหรรณพ
ไดด้ ้วยความไม่ประมาท ยอ่ มล่วงทุกขไ์ ด้ ดว้ ยความเพียร ย่อม
บรสิ ทุ ธิไ์ ด้ ด้วยปัญญา”
‘‘กลฺโลส ิ ภนเฺ ต นาคเสนา’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ ินท์ตรสั ว่า “พระคุณเจ้านาคเสน ทา่ นตอบสมควรแลว้ ”
สมปฺ กฺขนฺทนลกขฺ ณสทธฺ าปญฺโห เอกาทสโม ฯ
จบสัมปักขนั ทนลักขณสทั ธาปัญหาข้อที่ ๑๑
________
82 มิลนิ ทปญั หาปกรณแ์ ปล [๒.มลิ ินทปญั ห
๑๒. วรี ิยลกขฺ ณปญฺห
๑๒. วีรยิ ลักขณปัญหา
ปัญหาว่าดว้ ยความเพยี รมีอะไรเป็นลักษณะ
[๑๒] ราชา อาห ‘‘ภนฺเต นาคเสน กึลกฺขณ ํ วีริยน”ฺ ติ ?
[๑๒] พระราชาตรสั วา่ “พระคุณเจา้ นาคเสน วิริยะมอี ะไรเปน็ ลักษณะ ?”
‘‘อปุ ตถฺ มฺภนลกขฺ ณํ มหาราช วีริย,ํ วีริยูปตถฺ มภฺ ิตา สพเฺ พ กสุ ลา ธมมฺ า น
ปรหิ ายนตฺ ี’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายวิสัชนาว่า “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร วริ ิยะมกี ารค�้ำจุนเปน็
ลกั ษณะ กุศลธรรมท้งั หลายทง้ั ปวงทวี่ ริ ิยะค้ำ� จนุ ไวแ้ ล้วนน้ั ยอ่ มไม่เสอื่ มไป”
‘‘โอปมมฺ ํ กโรห’ี ’ติ ฯ
พระเจา้ มิลินทต์ รัสวา่ “ขอทา่ นจงช่วยอุปมาให้หนอ่ ยเถดิ ”
‘‘ยถา มหาราช ปุรโิ ส เคเห ปตนฺเต อ เฺ น ทารนุ า อปุ ตถฺ มฺเภยฺย, อปุ ตถฺ มภฺ ติ ํ
สนฺต ํ เอวํ ต ํ เคหํ น ปเตยฺย ฯ เอวเมว โข มหาราช อุปตฺถมภฺ นลกฺขณํ วรี ิย,ํ
วีรยิ ูปตถฺ มภฺ ติ า สพเฺ พ กสุ ลา ธมฺมา น ปริหายนฺตี’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายวิสชั นาวา่ “ขอถวายพระพร เปรยี บเหมอื นว่า เม่ือเรอื นจะพงั บุรุษ
(ผเู้ ปน็ เจา้ ของเรอื น) ก็จะพงึ ใช้ไมท้ ่อนอื่นคำ�้ ไว้ เรือนนัน้ ถูกไม้ค�้ำอยอู่ ย่างนแ้ี ล้ว ก็พงั ลงไมไ่ ด้
ฉนั ใด, ขอถวายพระพร วิรยิ ะมีการค�ำ้ จุนไวเ้ ปน็ ลกั ษณะ กุศลธรรมทง้ั หลายทัง้ ปวงท่ีวริ ยิ ะ
ค้�ำจุนไว้แล้ว ยอ่ มไมเ่ ส่ือมไป ฉันนัน้ เหมือนกนั ”
‘‘ภิยฺโย โอปมฺมํ กโรห’ี ’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ นิ ทต์ รัสวา่ “ขอท่านจงชว่ ยอปุ มาให้ย่งิ ขนึ้ อีกเถดิ ”
‘‘ยถา มหาราช ปรติ ตฺ กํ เสนํ มหตี เสนา ภ เฺ ชยฺย, ตโต ราชา อ ฺ ม ฺ ํ
อนุสสฺ าเรยยฺ อนเุ ปเสยยฺ อตตฺ โน ปรติ ฺตกาย เสนาย พล ํ อนุปทํ ทเทยยฺ , ตาย สทธฺ ึ
ปริตตฺ กา เสนา มหต ึ เสนํ ภ เฺ ชยยฺ ฯ เอวเมว โข มหาราช อุปตฺถมฺภนลกฺขณํ วีรยิ ํ,
วรี ยิ ูปตฺถมฺภติ า สพฺเพ กุสลา ธมมฺ า น ปริหายนตฺ ิ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร เปรียมเหมอื นวา่ กองทพั
กัณฑ]์ ๒.๑ มหาวรรค 83
ใหญ่อาจจะตีกองทพั เล็กกว่าได้ เพราะเหตนุ นั้ พระราชาจึงสมทบ ทรงหนุนเขา้ ไป ประทาน
ก�ำลงั พลแก่กองทัพเลก็ ของพระองค์ไปเรื่อย ๆ กองทัพเลก็ พร้อมท้งั ก�ำลงั สมทบและก�ำลงั
หนุนน้ัน กจ็ ะพึงตกี องทัพใหญไ่ ด้ ขอถวายพระพร วิรยิ ะ มกี ารคำ้� จนุ ไว้เป็นลกั ษณะ ธรรมท้ัง
หลายทเ่ี ป็นกุศลท้งั ปวงทวี่ ริ ิยะค้ำ� จุนไว้ ยอ่ มไมเ่ ส่ือมไป ฉันนนั้ เหมอื นกนั
ภาสิตมฺเปตํ มหาราช ภควตา – ‘วรี ิยวา โข ภกิ ขฺ เว อรยิ สาวโก อกสุ ล ํ ปชหติ,
กุสลํ ภาเวติ ฯ สาวชชฺ ํ ปชหต,ิ อนวชฺชํ ภาเวติ ฯ สุทธฺ มตตฺ านํ ปรหิ รต’ี ’ติ ฯ
ขอถวายพระพรมหาบพติ ร พระผมู้ ีพระภาคเจา้ ทรงภาษติ ความขอ้ นีไ้ ว้ว่า “ดกู อ่ น
ภิกษุทัง้ หลาย อรยิ สาวกผ้มู ีความเพียร ย่อมละอกุศลได้ ย่อมเจรญิ กศุ ลได้ ยอ่ มละธรรมท่มี ี
โทษได้ ย่อมเจรญิ ธรรมที่ไม่มโี ทษได้ ย่อมบรหิ ารตน ให้หมดจดได้ ดงั น้แี ล”
‘‘กลฺโลสิ ภนฺเต นาคเสนา’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ ินทต์ รัสวา่ “พระคณุ เจา้ นาคเสน ท่านตอบสมควรแล้ว”
วรี ิยลกขฺ ณปญโฺ ห ทฺวาทสโม ฯ
จบวรี ิยลักขณปญั หาข้อที่ ๑๒
________
๑๓. สตลิ กขฺ ณปญหฺ
๑๓. สติลกั ขณปัญหา
ปัญหาวา่ ด้วยสติมีอะไรเป็นลกั ษณะ
[๑๓] ราชา อาห ‘‘ภนฺเต นาคเสน กึลกขฺ ณา สตี’’ติ ?
[๑๓] พระราชาตรัสถามวา่ “พระคณุ เจ้านาคเสน สตมิ อี ะไรเป็นลักษณะ ?”
‘‘อปิลาปนลกฺขณา มหาราช สติ อุปคฺคณฺหนลกฺขณา จา’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายวิสัชนาว่า “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร สติมคี วามไม่เลอะเลอื น (ไม่
สับสน) เป็นลักษณะ และมีความเข้าไปถือเอาเป็นลกั ษณะ”
‘‘กถํ ภนเฺ ต อปลิ าปนลกฺขณา สต’ี ’ติ ?
พระเจ้ามิลินทต์ รัสถามวา่ “พระคุณเจ้า สติช่อื ว่ามีความไม่เลอะเลอื นเป็นลกั ษณะ
อย่างไร ?”