The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

มิลินทปัญหาปกรณ์แปล เล่ม ๑ ถาม-ตอบปัญหาในพระไตรปิฎก

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ืทีมงานกรุธรรม, 2022-03-09 22:17:09

มิลินทปัญหาปกรณ์แปล เล่ม ๑ ถาม-ตอบปัญหาในพระไตรปิฎก

มิลินทปัญหาปกรณ์แปล เล่ม ๑ ถาม-ตอบปัญหาในพระไตรปิฎก

Keywords: มิลินทปัญหาปกรณ์แปล เล่ม ๑ ถาม-ตอบปัญหาในพระไตรปิฎก

84 มลิ นิ ทปญั หาปกรณ์แปล [๒.มลิ ินทปัญห

‘‘สต ิ มหาราช อุปฺปชชฺ มานา กสุ ลากุสลสาวชฺชานวชชฺ หนี ปฺปณตี กณหฺ สุกฺก-
สปปฺ ฏิภาคธมเฺ ม อปิลาเปต ิ ‘อิเม จตตฺ าโร สตปิ ฏ ฺ านา, อเิ ม จตฺตาโร สมมฺ ปฺปธานา, อิเม
จตฺตาโร อทิ ธฺ ิปาทา, อิมาน ิ ป ฺจินฺทรฺ ิยานิ, อมิ าน ิ ป จฺ พลานิ, อิเม สตตฺ โพชฺฌงคฺ า,
อยํ อรโิ ย อฏ ฺ งฺคโิ ก มคโฺ ค, อย ํ สมโถ, อยํ วิปสสฺ นา, อยํ วชิ ชฺ า, อย ํ วิมตุ ตฺ ี’ติ ฯ ตโต
โยคาวจโร เสวติ พฺเพ ธมเฺ ม เสวต,ิ อเสวติ พเฺ พ ธมฺเม น เสวติ ฯ ภชิตพฺเพ ธมฺเม ภชต,ิ
อภชติ พฺเพ ธมฺเม น ภชติ ฯ เอว ํ โข มหาราช อปิลาปนลกฺขณา สต’ี ’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายวสิ ชั นาว่า “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร สติ เมือ่ เกดิ ขน้ึ ย่อมไมเ่ ลอะ
เลอื น (ไมส่ บั สน) ซงึ่ ธรรมทีเ่ ปน็ กศุ ล ธรรมทเ่ี ป็นอกศุ ล ธรรมที่มีโทษ ธรรมทีไ่ มม่ โี ทษ ธรรมท่ี
เลว ธรรมทีป่ ระณีต ธรรมด�ำ ธรรมขาว ธรรมท่ีมีส่วนเปรียบ. ย่อมไม่เลอะเลือนธรรมทงั้ หลาย
วา่ นี้ คือ สตปิ ัฏฐาน ๔, นี้ คือ สมั มัปปธาน ๔, น้ี คอื อทิ ธิบาท ๔, นี้ คอื อนิ ทรีย์ ๕, นี้ คือ
พละ ๕, น้ี คอื โพชฌงค์ ๗, น้ี คือ อริยมรรคมีองค์ ๘, นี้ คือ สมถะ, นี้ คอื วปิ ัสสนา, น้ี คือ
วิชชา, นี้ คือ วมิ ุตติ ดงั น.ี้ เพราะลกั ษณะท่ไี ม่เลอะเลอื นนัน้ พระโยคาวจร จงึ เสพแต่ธรรมท่ี
ควรเสพ ไมเ่ สพธรรมทีไ่ มค่ วรเสพ คบแต่ธรรมทคี่ วรคบ ไม่คบธรรมทไ่ี มค่ วรคบ ขอถวาย
พระพร สติ ชื่อว่ามคี วามไม่เลอะเลอื นเปน็ ลักษณะ อยา่ งน้ีแล”
‘‘โอปมมฺ ํ กโรหี’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ ินท์ตรสั วา่ “ขอท่านชว่ ยท�ำอปุ มาใหห้ นอ่ ยทเี ถอะ”
‘‘ยถา มหาราช ร โฺ จกฺกวตตฺ สิ ฺส ภณฺฑาคารโิ ก ราชานํ จกฺกวตตฺ ึ สาย ํ ปาต ํ
ยสํ สราเปต ิ ‘เอตฺตกา เทว เต หตฺถี, เอตฺตกา อสฺสา, เอตตฺ กา รถา, เอตฺตกา ปตฺตี,
เอตฺตก ํ หริ ฺ ,ํ เอตฺตกํ สุวณฺณ,ํ เอตตฺ กํ สาปเตยยฺ ํ, ตํ เทโว สรตู’ติ ร ฺโ สาปเตยฺยํ
อปลิ าเปติ ฯ เอวเมว โข มหาราช สติ อุปฺปชฺชมานา กสุ ลากุสลสาวชฺชานวชชฺ หีนปปฺ ณตี -
กณฺหสกุ ฺกสปฺปฏภิ าคธมเฺ ม อปิลาเปต ิ ‘อิเม จตฺตาโร สตปิ ฏฺ านา, อเิ ม จตฺตาโร สมมฺ ป-ฺ
ปธานา, อเิ ม จตตฺ าโร อิทฺธปิ าทา, อิมานิ ป ฺจินฺทรฺ ยิ าน,ิ อิมาน ิ ป ฺจ พลาน,ิ อเิ ม สตฺต
โพชฺฌงคฺ า, อยํ อริโย อฏ ฺ งคฺ ิโก มคโฺ ค, อย ํ สมโถ, อยํ วิปสสฺ นา, อย ํ วิชชฺ า, อยํ
วมิ ตุ ตฺ ี’ติ ฯ ตโต โยคาวจโร เสวิตพเฺ พ ธมเฺ ม เสวติ, อเสวิตพฺเพ ธมฺเม น เสวติ ฯ
ภชิตพฺเพ ธมเฺ ม ภชติ, อภชิตพฺเพ ธมเฺ ม น ภชติ ฯ เอวํ โข มหาราช อปิลาปนลกฺขณา
สต’ี ’ติ ฯ

กัณฑ์] ๒.๑ มหาวรรค 85

พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร เปรียบเหมอื นวา่ ขนุ คลัง
ของพระเจ้าจักพรรดิ ยอ่ มไม่เลอะเลือน (ไม่สับสน) ยอ่ มกราบทลู พระเจ้าจักรพรรดใิ ห้ทรง
ระลกึ ถึงพระราชอิสรยิ ยศ ในเวลาเยน็ ในเวลาเชา้ ว่า ขา้ แต่พระองคผ์ สู้ มมติเทพ พระองคม์ ี
ช้างอย่เู ทา่ นี้ มมี า้ อยูเ่ ทา่ น้ี มีรถอยูเ่ ท่านี้ มพี ลเดินเท้าอยเู่ ทา่ น้ี มเี งนิ อยเู่ ทา่ น้ี มีทองอยู่เท่านี้
มสี งิ่ ของของพระองคอ์ ยู่เทา่ นี้ ขอสมมตเิ ทพจงทรงระลึกถงึ พระราชทรพั ยน์ น้ั เถดิ ดังนี้ ย่อม
ไมเ่ ลอะเลอื นพระราชทรพั ย์ ฉันใด ขอถวายพระพร สติ เมอ่ื เกดิ ข้ึน ย่อมไมเ่ ลอะเลือน (ไม่
สบั สน) ซึง่ ธรรมทเ่ี ปน็ กศุ ล ธรรมที่เปน็ อกุศล ธรรมที่มีโทษ ธรรมที่ไมม่ โี ทษ ธรรมทีเ่ ลว ธรรม
ที่ประณตี ธรรมด�ำ ธรรมขาว ธรรมทีม่ ีสว่ นเปรียบ. ยอ่ มไม่เลอะเลือนวา่ น้ี คือ สติปฏั ฐาน ๔,
น้ี คอื สัมมัปปธาน ๔, นี้ คือ อิทธบิ าท ๔, นี้ คอื อินทรีย์ ๕, นี้ คอื พละ ๕, นี้ คอื โพชฌงค์ ๗,
น้ี คือ อรยิ มรรคมีองค์ ๘, น้ี คือ สมถะ, นี้ คอื วปิ สั สนา, นี้ คอื วชิ ชา, นี้ คอื วมิ ุตติ ดงั น.ี้ เพราะ
ลกั ษณะทไ่ี ม่เลอะเลอื นนนั้ พระโยคาวจรจงึ เสพแตธ่ รรมทีค่ วรเสพ ไมเ่ สพธรรมทไี่ มค่ วรเสพ
คบแต่ธรรมทีค่ วรคบ ไมค่ บธรรมท่ไี ม่ควรคบ ฉันน้นั เหมือนกนั ขอถวายพระพร สติ ชอ่ื ว่ามี
ความไมเ่ ลอะเลอื นเป็นลกั ษณะ อย่างนแ้ี ล”
‘‘กถ ํ ภนเฺ ต อปุ คคฺ ณหฺ นลกขฺ ณา สตี’’ติ ?
พระเจา้ มลิ ินท์ตรสั ถามว่า “พระคุณเจ้า สตมิ คี วามเข้าไปถอื เอาเปน็ ลกั ษณะอยา่ งไร ?”
‘‘สต ิ มหาราช อุปปฺ ชฺชมานา หิตาหติ าน ํ ธมฺมานํ คตโิ ย สมนเฺ วติ ‘อิเม ธมมฺ า
หติ า, อิเม ธมมฺ า อหติ า ฯ อเิ ม ธมฺมา อปุ การา, อเิ ม ธมมฺ า อนุปการา’ติ ฯ ตโต
โยคาวจโร อหิเต ธมเฺ ม อปนเุ ทต,ิ หิเต ธมเฺ ม อปุ คฺคณฺหาติ ฯ อนุปกาเร ธมฺเม
อปนุเทติ, อปุ กาเร ธมฺเม อุปคคฺ ณฺหาติ ฯ เอวํ โข มหาราช อปุ คฺคณหฺ นลกขฺ ณา สต’ี ’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายวิสัชนาว่า “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร สติ เมอื่ เกิดขนึ้ ยอ่ มรบั รู้
ด้วยดี ซึ่งคติแห่งธรรมทงั้ หลายทเ่ี กอ้ื กูลและทไี่ มเ่ กอื้ กลู วา่ ธรรมเหล่าน้เี ก้ือกูล ธรรมเหลา่ นี้ไม่
เกื้อกูล ธรรมเหล่านีม้ อี ุปการะ ธรรมเหลา่ นไี้ มม่ ีอปุ การะ ดงั น.้ี เพราะฉะนนั้ พระโยคาวจร ก็
ยอ่ มขจดั ธรรมทไี่ ม่เก้อื กูลเสียได้ เขา้ ไปถือเอาแตธ่ รรมทเี่ กอื้ กลู . ขจัดธรรมทไี่ มม่ ีอปุ การะ
เขา้ ไปถอื เอาแต่ธรรมที่มีอปุ การะ. ขอถวายพระพร สติ ชอ่ื วา่ มีความเข้าไปถือเอาเปน็ ลักษณะ
อยา่ งน้ีแล”
‘‘โอปมมฺ ํ กโรห’ี ’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ ินท์ตรสั ว่า “ขอท่านจงช่วยอปุ มาใหห้ น่อยเถอะ”

86 มิลินทปญั หาปกรณแ์ ปล [๒.มลิ นิ ทปญั ห

‘‘ยถา มหาราช ร โฺ จกกฺ วตฺตสิ สฺ ปริณายกรตน ํ ร ฺโ หิตาหเิ ต ชานาต ิ ‘อิเม
ร โฺ หติ า, อิเม อหิตา ฯ อิเม อปุ การา, อิเม อนปุ การา’ติ ฯ ตโต อหเิ ต อปนเุ ทติ,
หิเต อุปคคฺ ณหฺ าติ ฯ อนปุ กาเร อปนเุ ทติ, อปุ กาเร อุปคคฺ ณหฺ าติ ฯ เอวเมว โข มหาราช
สติ อปุ ปฺ ชฺชมานา หิตาหติ าน ํ ธมมฺ าน ํ คตโิ ย สมนฺเวต ิ ‘อเิ ม ธมมฺ า หิตา, อิเม ธมมฺ า
อหติ า ฯ อเิ ม ธมมฺ า อปุ การา, อเิ ม ธมมฺ า อนุปการา’ติ ฯ ตโต โยคาวจโร อหเิ ต ธมเฺ ม
อปนุเทต,ิ หิเต ธมเฺ ม อุปคฺคณหฺ า’ติ ฯ อนปุ กาเร ธมเฺ ม อปนุเทต,ิ อุปกาเร ธมฺเม
อุปคฺคณหฺ าติ ฯ เอวํ โข มหาราช อุปคฺคณหฺ นลกฺขณา สติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร เปรียบเหมือนวา่ ปรนิ ายก
แกว้ ของพระเจ้าจักรพรรดิ ย่อมร้จู ักบุคคลผทู้ ่เี ก้อื กลู และผู้ที่ไม่เกอ้ื กูลแก่พระราชาว่า ‘คน
เหล่าน้ีเก้ือกลู แกพ่ ระราชา คนเหลา่ น้ไี ม่เก้อื กูล คนเหลา่ น้ีมอี ปุ การะ คนเหล่าน้ีไม่มอี ุปการะ’
ดงั นี ้ เพราะเหตุน้นั ยอ่ มขจดั คนทไ่ี ม่เกือ้ กูล เข้าไปถอื เอาแต่คนทเ่ี กอ้ื กูล, ขจัดคนที่ไมม่ ี
อุปการะ เข้าไปถือเอาแตค่ นท่มี ีอุปการะ ฉนั ใด ขอถวายพระพร สติ เมอ่ื เกิดข้ึน ย่อมรบั รดู้ ว้ ย
ดีซึง่ คติแห่งธรรมท้งั หลายทีเ่ กอื้ กูลและไมเ่ กื้อกลู ว่า ‘ธรรมเหลา่ น้ีเกื้อกลู ธรรมเหลา่ นี้ไม่
เกือ้ กลู ธรรมเหล่านมี้ ีอุปการะ ธรรมเหล่าน้ไี ม่มอี ุปการะ’ ดงั น้.ี เพราะลกั ษณะทเ่ี ข้าไปถือเอา
น้ัน พระโยคาวจรกย็ ่อมขจดั ธรรมทไี่ มเ่ กือ้ กูล เข้าไปถือเอาแตธ่ รรมทีเ่ ก้ือกลู ขจัดธรรมทไี่ ม่มี
อปุ การะ เข้าไปถอื เอาแตธ่ รรมที่มอี ปุ การะ ฉันนน้ั เหมอื นกนั ขอถวายพระพร สติ ชื่อวา่ มี
ความเขา้ ไปถือเอาเปน็ ลกั ษณะอยา่ งนแี้ ล

ภาสิตมฺเปตํ มหาราช ภควตา – ‘สติ ฺจ ขวฺ าห ํ ภิกฺขเว สพฺพตฺถกิ ํ วทาม’ี ’ติ ฯ
ขอถวายพระพรมหาบพติ ร พระผู้มพี ระภาคเจา้ ทรงภาษติ ความข้อนี้วา่ “ดูก่อนภกิ ษุ
ท้งั หลาย เราขอกลา่ วถึงสตวิ า่ เป็นธรรมท่จี �ำปรารถนาในกจิ ทง้ั ปวงแล” ดงั นี้

‘‘กลฺโลส ิ ภนเฺ ต นาคเสนา’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลินทต์ รัสวา่ “พระคณุ เจา้ นาคเสน ทา่ นตอบสมควรแล้ว”

สตลิ กฺขณปญฺโห เตรสโม ฯ
จบสตลิ ักขณปญั หาข้อท่ี ๑๓

________

กัณฑ์] ๒.๑ มหาวรรค 87

๑๔. สมาธปิ ญฺห
๑๔. สมาธิปญั หา
ปญั หาวา่ ดว้ ยสมาธิ
[๑๔] ราชา อาห ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน กึลกขฺ โณ สมาธ’ี ’ติ ?
[๑๔] พระราชาตรัสว่า “พระคุณเจ้านาคเสน สมาธมิ ีอะไรเปน็ ลักษณะ ?”
‘‘ปมุขลกฺขโณ มหาราช สมาธิ, เย เกจิ กุสลา ธมมฺ า, สพฺเพ เต สมาธปิ มุขา
โหนฺติ สมาธนิ นิ ฺนา สมาธโิ ปณา สมาธิปพภฺ ารา’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายวสิ ชั นาวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร สมาธิมีความเปน็ ประมุข
เปน็ ลกั ษณะ กุศลธรรมทั้งหลายเหล่าใดเหล่าหน่ึง กศุ ลธรรมท้ังหมดเหล่านัน้ ล้วนมีสมาธเิ ปน็
ประมขุ น้อมไปสู่สมาธิ โอนไปสู่สมาธิ เง้อื มไปสสู่ มาธ”ิ
‘‘โอปมมฺ ํ กโรหี’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลนิ ทต์ รสั วา่ “ขอความกรณุ าทา่ นชว่ ยอปุ มาให้หน่อยเถอะ”
‘‘ยถา มหาราช กูฏาคารสฺส ยา กาจิ โคปานสโิ ย, สพพฺ า ตา กูฏงคฺ มา โหนตฺ ิ
กฏู นนิ ฺนา กูฏสโมสรณา, กฏู ํ ตาส ํ อคฺคมกขฺ ายติ ฯ เอวเมว โข มหาราช เย เกจิ กุสลา
ธมมฺ า, สพฺเพ เต สมาธปิ มุขา โหนตฺ ิ สมาธินนิ นฺ า สมาธิโปณา สมาธปิ พภฺ าราติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร เปรยี บเหมอื นไมก้ ลอนหลงั คา (จันทัน)
ท้งั หลาย แหง่ เรือนยอดเหลา่ ใดเหล่าหนึง่ ไม้กลอนหลงั คาท้ังหมดเหลา่ น้นั ลว้ นมอี ันไปสยู่ อด
นอ้ มไปสู่ยอด รวมกันอย่ทู ่ียอด บรรดาไม้กลอนหลงั คาเหลา่ นน้ั ยอดเรอื นกล่าวไดว้ ่ายอด
เย่ียม ฉนั ใด ขอถวายพระพร กศุ ลธรรมทง้ั หลายเหลา่ ใดเหล่าหนง่ึ กุศลธรรมทงั้ หมดเหล่านนั้
ล้วนมสี มาธเิ ปน็ ประมขุ น้อมไปสสู่ มาธิ โอนไปสสู่ มาธิ เง้อื มไปสู่สมาธิ ฉันนัน้ เหมือนกนั ”
‘‘ภิยโฺ ย โอปมฺม ํ กโรห’ี ’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ ินทต์ รัสว่า “ขอทา่ นจงช่วยอุปมาให้ยง่ิ ขนึ้ อีกหน่อยเถดิ ”

88 มลิ นิ ทปญั หาปกรณ์แปล [๒.มิลนิ ทปัญห

‘‘ยถา มหาราช โกจิ ราชา จตรุ งฺคินยิ า เสนาย สทธฺ ึ สงคฺ าม ํ โอตเรยฺย, สพฺพาว
เสนา หตฺถ ี จ อสสฺ า จ รถา จ ปตตฺ ี จ ตปปฺ มุขา ภเวยยฺ ุ ํ ตนนฺ นิ นฺ า ตปฺโปณา
ตปปฺ พภฺ ารา ตํเยว อนุปรยิ าเยยยฺ ํุ ฯ เอวเมว โข มหาราช เย เกจิ กุสลา ธมฺมา, สพฺเพ
เต สมาธปิ มุขา โหนตฺ ิ สมาธนิ ินฺนา สมาธโิ ปณา สมาธิปพภฺ ารา ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร เปรยี บเหมือนวา่ พระราชา
พระองค์หน่ึง ทรงหยงั่ ลงสสู่ งคราม พรอ้ มกบั กองทัพ ๔ เหลา่ กองทัพทั้งปวงเทยี ว คือ พลชา้ ง
ก็ดี พลมา้ ก็ดี พลรถก็ดี พลเดนิ เท้าก็ดี ล้วนมีพระราชาพระองคน์ ้ันเปน็ ประมุข น้อมไปยงั พระ
ราชาพระองคน์ ั้น โอนไปยังพระราชาพระองคน์ ั้น เงอื้ มไปยังพระราชาพระองคน์ ้ัน จะพงึ คลอ้ ย
ตามพระราชาพระองคน์ ัน้ เท่าน้ัน ฉนั ใด ขอถวายพระพร กศุ ลธรรมทง้ั หลายเหล่าใดเหล่า
หนึ่ง กศุ ลธรรมเหล่านน้ั ทงั้ หมดล้วนมสี มาธเิ ปน็ ประมุข นอ้ มไปสู่สมาธิ โอนไปสสู่ มาธิ เง้ือมไป
สู่สมาธิ ฉันนนั้ เหมือนกนั ”

เอวํ โข มหาราช ปมุขลกฺขโณ สมาธิ ฯ
ขอถวายพระพร สมาธิ ช่อื ว่ามีความเปน็ ประมุขเป็นลักษณะตามประการดังกล่าวมาน้ ี

ภาสิตมเฺ ปต ํ มหาราช ภควตา – ‘‘สมาธ ึ ภกิ ขฺ เว ภาเวถ, สมาหิโต ภิกฺขเว ภิกฺขุ
ยถาภูตํ ปชานาตี’’ติ ฯ
ขอถวายพระพรมหาบพติ ร พระผ้มู พี ระภาคเจา้ ทรงภาษติ ความข้อนี้ไว้ว่า “ดกู อ่ น
ภิกษทุ ง้ั หลาย พวกเธอจงเจรญิ สมาธิ ดกู ่อนภิกษทุ ้ังหลาย ภกิ ษผุ ูม้ จี ิตตั้งม่นั แล้ว ยอ่ มรูช้ ดั
ตามความเป็นจริงได”้

‘‘กลโฺ ลส ิ ภนเฺ ต นาคเสนา’’ติ ฯ
พระเจา้ มิลินทต์ รัสว่า “พระคุณเจ้านาคเสน ท่านตอบสมควรแล้ว”

สมาธปิ ญฺโห จุททฺ สโม ฯ
จบสมาธปิ ัญหาข้อที่ ๑๔

________

กณั ฑ์] ๒.๑ มหาวรรค 89

๑๕. ปญฺาลกขฺ ณปญหฺ
๑๕. ปัญญาลกั ขณปญั หา
ปญั หาว่าดว้ ยปญั ญามีอะไรเปน็ ลกั ษณะ
[๑๕] ราชา อาห ‘‘ภนฺเต นาคเสน กึลกขฺ ณา ป ฺ า’’ติ ?
[๑๕] พระราชาตรัสวา่ “พระคุณเจ้านาคเสน ปัญญามีอะไรเปน็ ลกั ษณะ ?”
‘‘ปุพฺเพว โข มหาราช มยา วตุ ตฺ ํ ‘เฉทนลกขฺ ณา ป ฺ า’ต,ิ อปิจ โอภาสนลกฺขณา
ป ฺ า’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายวสิ ัชนาวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร อาตมภาพไดก้ ลา่ วในคราว
กอ่ นแลว้ วา่ ปญั ญามีการตดั เปน็ ลกั ษณะ อีกอยา่ งหนึง่ ปัญญามคี วามสอ่ งสว่างเป็นลักษณะ”
‘‘กถํ ภนฺเต โอภาสนลกขฺ ณา ป ฺ า’’ติ ?
พระเจา้ มิลินทต์ รสั ถามวา่ “พระคณุ เจ้า ปัญญา ช่อื วา่ มีความส่องสว่างเป็นลกั ษณะ
อย่างไร ?”
‘‘ป ฺ า มหาราช อุปฺปชฺชมานา อวชิ ชฺ นธฺ การํ วธิ เมต,ิ วชิ ฺโชภาสํ ชเนติ,
าณาโลก ํ วทิ ํเสติ, อรยิ สจจฺ านิ ปากฏาน ิ กโรติ ฯ ตโต โยคาวจโร ‘อนิจจฺ น’ฺ ต ิ วา
‘ทกุ ขฺ น’ฺ ต ิ วา ‘อนตตฺ า’ต ิ วา สมมฺ ปฺป ฺ าย ปสฺสต’ี ’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายวิสชั นาวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร ปัญญาเม่อื เกดิ ข้ึนยอ่ มก�ำจัด
ความมืดคอื อวิชชา ยอ่ มท�ำความสว่างคอื วชิ ชาใหเ้ กดิ ข้นึ ย่อมส่องแสงสว่างคือญาณ ยอ่ ม
กระท�ำอริยสัจท้งั หลายให้ปรากฏ เพราะลักษณะท่ีส่องสวา่ งนั้น พระโยคาวจรจงึ เหน็ ไดด้ ้วย
ปญั ญาชอบวา่ ไมเ่ ท่ียงบา้ ง วา่ เปน็ ทกุ ขบ์ ้าง วา่ เปน็ อนัตตาบ้าง”
‘‘โอปมฺมํ กโรห’ี ’ติ ฯ
พระเจ้ามิลินทต์ รัสว่า “ขอทา่ นจงช่วยอุปมาให้หนอ่ ยเถอะ”

90 มลิ ินทปญั หาปกรณแ์ ปล [๒.มลิ นิ ทปัญห

‘‘ยถา มหาราช ปรุ โิ ส อนฺธกาเร เคเห ปทปี ํ ปเวเสยยฺ , ปวฏิ ฺโ ปทีโป อนฺธการํ
วธิ เมต,ิ โอภาส ํ ชเนติ, อาโลกํ วิทเํ สติ, รปู านิ ปากฏาน ิ กโรติ ฯ เอวเมว โข มหาราช
ป ฺ า อุปปฺ ชชฺ มานา อวชิ ชฺ นธฺ การํ วิธเมต,ิ วิชฺโชภาสํ ชเนต,ิ าณาโลก ํ วิทํเสต,ิ อรยิ -
สจฺจาน ิ ปากฏานิ กโรติ ฯ ตโต โยคาวจโร ‘อนิจฺจนฺ’ต ิ วา ‘ทกุ ขฺ น’ฺ ติ วา ‘อนตตฺ า’ติ วา
สมฺมปฺป ฺ าย ปสฺสติ ฯ เอว ํ โข มหาราช โอภาสนลกขฺ ณา ป ฺ า’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร เปรยี บเหมอื นว่า บุคคลพงึ
น�ำประทปี เข้าไปในเรือนทีม่ แี ต่ความมดื ประทีปท่ีน�ำเข้าไปนัน้ ย่อมก�ำจัดความมืด ยอ่ ม
ท�ำความสวา่ งให้เกดิ ขนึ้ ยอ่ มสอ่ งแสงสว่าง ย่อมท�ำรปู (ภาพ) ทง้ั หลายใหป้ รากฏ ฉนั ใด ขอ
ถวายพระพร ปญั ญาเม่อื เกดิ ขึน้ ย่อมก�ำจัดความมืดคอื อวิชชา ย่อมท�ำความสว่างคือวชิ ชาให้
เกดิ ขนึ้ ยอ่ มสอ่ งแสงสวา่ งคอื ญาณ ยอ่ มกระท�ำอริยสัจท้ังหลายใหป้ รากฏ ฉนั น้ัน เพราะ
ลักษณะท่ีส่องสว่างนั้น พระโยคาวจรจงึ เห็นไดด้ ว้ ยปญั ญาชอบวา่ ไม่เท่ียงบา้ ง ว่าเปน็ ทกุ ข์
บ้าง ว่าเป็นอนตั ตาบา้ ง ขอถวายพระพร ปญั ญา ช่ือว่า มคี วามสว่างเปน็ ลกั ษณะ ตามประการ
ดงั กลา่ วมานแี้ ล”

‘‘กลโฺ ลสิ ภนเฺ ต นาคเสนา’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ ินทต์ รัสวา่ “พระคุณเจา้ นาคเสน ทา่ นตอบสมควรแล้ว”

ปญฺาลกขฺ ณปญโฺ ห ปนนฺ รสโม ฯ
จบปญั ญาลกั ขณปัญญาข้อท่ี ๑๕

________

กัณฑ]์ ๒.๑ มหาวรรค 91

๑๖. นานาธมฺมานํ เอกกิจจฺ อภินปิ ฺผาทนปญฺห
๑๖. นานาธมั มานัง เอกกิจจอภนิ ิปผาทนปัญหา
ปญั หาวา่ ดว้ ยธรรมทง้ั หลายตา่ ง ๆ กนั ใหส้ �ำเร็จกิจอยา่ งเดยี วกัน
[๑๖] ราชา อาห ‘‘ภนฺเต นาคเสน อเิ ม ธมฺมา นานา สนตฺ า เอก ํ อตฺถ ํ
อภนิ ปิ ฺผาเทนตฺ ี’’ติ ?
[๑๖] พระราชาตรสั ถามว่า “พระคุณเจ้านาคเสน ธรรมทงั้ หลายมีอย่างต่าง ๆ กนั เหล่า
นี้ ย่อมให้ส�ำเร็จประโยชน์อย่างเดียวกันหรอื ?”
‘‘อาม มหาราช อเิ ม ธมมฺ า นานา สนตฺ า เอก ํ อตฺถ ํ อภินปิ ผฺ าเทนฺติ, กิเลเส
หนนตฺ ’ี ’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายวสิ ชั นาว่า “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร ธรรมท้ังหลายอันมีอย่าง
ต่าง ๆ กนั เหลา่ น้ี ย่อมใหส้ �ำเรจ็ ประโยชน์อย่างเดียวกัน คือ ก�ำจัดกิเลสท้ังหลายได้”
‘‘กถํ ภนเฺ ต อิเม ธมมฺ า นานา สนตฺ า เอก ํ อตฺถํ อภนิ ิปฺผาเทนฺต,ิ กิเลเส
หนนตฺ ิ ? โอปมมฺ ํ กโรห’ี ’ติ ฯ
พระเจา้ มิลนิ ท์ตรสั ถามวา่ “พระคุณเจา้ ธรรมทง้ั หลายอนั มีอยา่ งตา่ ง ๆ กนั เหลา่ นี้
ย่อมให้ส�ำเร็จประโยชน์อยา่ งเดยี วกัน คอื ก�ำจดั กเิ ลสท้งั หลายได้อยา่ งไร ขอท่านจงชว่ ยอปุ มา
ให้หนอ่ ยเถิด”
‘‘ยถา มหาราช เสนา นานา สนฺตา หตฺถ ี จ อสฺสา จ รถา จ ปตฺตี จ เอก ํ อตฺถํ
อภนิ ปิ ฺผาเทนตฺ ิ, สงฺคาเม ปรเสน ํ อภิวิชนิ นฺติ ฯ เอวเมว โข มหาราช อิเม ธมมฺ า นานา
สนฺตา เอก ํ อตฺถํ อภนิ ิปผฺ าเทนตฺ ,ิ กเิ ลเส หนนฺต’ี ’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร เปรยี บเหมอื นวา่ กองทัพ
ทั้งหลายอันมีอยา่ งต่าง ๆ กนั คอื กองทพั ชา้ ง กองทัพมา้ กองทัพรถ กองทัพพลเดนิ เท้า ย่อม
ใหส้ �ำเรจ็ ประโยชน์อยา่ งเดียวกนั คอื ชนะกองทพั ฝ่ายอนื่ ในการสงครามได้ ฉนั ใด ขอถวาย
พระพร ธรรมทง้ั หลายอันมอี ยา่ งตา่ ง ๆ กนั เหลา่ นี้ กย็ อ่ มใหส้ �ำเรจ็ ประโยชนอ์ ยา่ งเดยี วกนั
คือก�ำจัดกเิ ลสทง้ั หลายได้ ฉันนัน้ เหมอื นกันแล
‘‘กลโฺ ลส ิ ภนเฺ ต นาคเสนา’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลินท์ตรัสวา่ “พระคณุ เจ้านาคเสน ทา่ นตอบสมควรแลว้ ”

92 มลิ ินทปญั หาปกรณ์แปล [๒.มลิ ินทปัญห

นานาธมฺมานํ เอกกิจจฺ อภินปิ ฺผาทนปญฺโห โสฬสโม ฯ
จบนานาธัมมานงั เอกกิจจอภนิ ิปผาทนปญั หาข้อที่ ๑๖

มหาวคฺโค ป€โม ฯ
จบมหาวรรคท่ี ๑

อมิ สฺมึ วคฺเค โสฬส ปญหฺ า ฯ
ในวรรคน้ี มีปญั หา ๑๖ ข้อ
________

กัณฑ]์ ๒.๒ อทั ธานวรรค 93

๒.๒ อทธฺ านวคฺค
๒.๒ อทั ธานวรรค วรรควา่ ดว้ ยกาลนาน

๑. ธมฺมสนฺตตปิ ญหฺ
๑. ธัมมสันตตปิ ัญหา
ปญั หาว่าด้วยความสืบตอ่ แห่งธรรม
[๑] ราชา อาห ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน โย อุปฺปชฺชต,ิ โส เอว โส อทุ าหุ อ ฺโ ’’ติ ?
[๑] พระราชาตรัสถามวา่ “พระคุณเจ้านาคเสน ผู้ใดจะเกิด เขาผ้นู นั้ นน่ั แหละเกิด หรือ
ว่าผู้อน่ื เกิดเล่า ?”

เถโร อาห ‘‘น จ โส, น จ อ ฺโ ’’ติ ฯ
พระเถระถวายวสิ ชั นาวา่ “ผนู้ ั้นเกิดก็ไมใ่ ช่ ผ้อู ืน่ เกิดก็ไมใ่ ช”่

‘‘โอปมฺม ํ กโรหี’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ นิ ท์ตรสั วา่ “ขอทา่ นจงช่วยอปุ มาให้หน่อยเถอะ”

‘‘ต ํ ก ึ ม ฺ ส ิ มหาราช, ยทา ตวฺ ํ ทหโร ตรโุ ณ มนฺโท อตุ ฺตานเสยยฺ โก อโหส,ิ
โสเยว ตฺวํ เอตรหิ มหนฺโต’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร พระองคจ์ ะท�ำส�ำคญั ความ
ขอ้ นน้ั อยา่ งไร พระองคท์ รงเคยเปน็ เด็กอ่อนนอนแบเบาะมาก่อน มาบัดนี้ พระองคผ์ ู้เคยทรง
เปน็ เดก็ อ่อนนอนแบเบาะน้นั นั่นแหละ กลายเปน็ ผใู้ หญ่หรือไร ?”

‘‘น หิ ภนฺเต อ ฺโ โส ทหโร ตรโุ ณ มนโฺ ท อตุ ตฺ านเสยฺยโก อโหส,ิ อ ฺโ อหํ
เอตรห ิ มหนฺโต’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลินท์ตรัสว่า “หามไิ ด้ พระคุณเจา้ เด็กอ่อนนอนแบเบาะนน้ั กเ็ ปน็ คนหนง่ึ โยม
เปน็ ผู้ใหญใ่ นบดั นี้ กเ็ ปน็ อกี คนหนึง่ ”

‘‘เอว ํ สนเฺ ต โข มหาราช มาตาติป ิ น ภวสิ ฺสต,ิ ปติ าติปิ น ภวิสฺสต,ิ อาจรโิ ยตปิ ิ
น ภวสิ สฺ ติ, สิปปฺ วาติป ิ น ภวสิ สฺ ต,ิ สีลวาติป ิ น ภวิสฺสต,ิ ป ฺ วาตปิ ิ น ภวิสสฺ ติ ฯ
กินฺนุ โข มหาราช อ ฺ า เอว กลลสสฺ มาตา, อ ฺ า อพฺพทุ สฺส มาตา, อ ฺ า เปสยิ า
มาตา, อ ฺ า ฆนสสฺ มาตา, อ ฺ า ขทุ ฺทกสฺส มาตา, อ ฺ า มหนตฺ สสฺ มาตา, อ ฺโ

94 มิลินทปัญหาปกรณ์แปล [๒.มลิ นิ ทปญั ห

สปิ ฺปํ สิกฺขต,ิ อ โฺ สิกฺขิโต ภวติ, อ ฺโ ปาปกมฺมํ กโรต,ิ อ ฺ สสฺ หตถฺ ปาทา
ฉิชฺชนฺตี’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร เมอื่ เปน็ เชน่ นี้ แม้ผู้ทบ่ี ตุ ร
เรียกว่า มารดา กจ็ ะไม่ม ี แมผ้ ูท้ ี่บตุ รเรยี กว่า บดิ า กจ็ ะไม่มี แม้ผ้ทู ศี่ ิษยเ์ รยี กว่า อาจารย์ กจ็ ะ
ไม่มี แม้ผูท้ ่เี ขาเรยี กวา่ ผมู้ ศี ิลปะ ก็จะไม่มี แมผ้ ู้ท่ีเขาเรยี กวา่ ผูม้ ศี ลี กจ็ ะไม่มี แมผ้ ู้ท่ีเขาเรยี ก
ว่า ผมู้ ีปัญญา กจ็ ะไมม่ ี ขอถวายพระพร มารดาของผทู้ ยี่ ังเป็นกลละ(น�ำ้ ใส)อยู่ กเ็ ป็นคนหนง่ึ
ต่างหาก มารดาของผทู้ ่เี ปน็ อัพพุทะ(นำ้� สแี ดงขุ่น) กเ็ ป็นอีกคนหนึง่ มารดาของผู้ท่ีเป็นเปส(ิ ช้ิน
เนอ้ื ) ก็เปน็ อกี คนหนึง่ มารดาของผู้ทเี่ ป็นฆนะ(กอ้ นเนื้อ) ก็เป็นอกี คนหนึง่ มารดาของผู้ทเี่ ปน็
เดก็ เลก็ กเ็ ปน็ อกี คนหนึ่ง มารดาของผทู้ ี่เป็นเดก็ โต กเ็ ปน็ อกี คนหนง่ึ คนหนึง่ เรยี นศิลปะ แตผ่ ู้
ทีเ่ รียนจบวชิ าศิลปะ เป็นอีกคนหนง่ึ คนหน่งึ ท�ำกรรมชั่วไว้ แตอ่ ีกคนหน่งึ ถูกตดั มือ ตัดเทา้
หรือไรหนอ ?”
‘‘น ห ิ ภนฺเต, ตฺว ํ ปน ภนเฺ ต, เอว ํ วุตฺเต, ก ึ วเทยยฺ าส’ี ’ติ ?
พระเจา้ มลิ นิ ทต์ รสั ว่า “มิใชห่ รอก พระคณุ เจ้า ก็เม่อื โยมกลา่ วไปแล้วอยา่ งนี้ ตวั ท่าน
พงึ กล่าววา่ อย่างไรเล่า ?”
เถโร อาห ‘‘อห ฺเ ว โข มหาราช ทหโร อโหส ึ ตรุโณ มนโฺ ท อุตฺตานเสยฺยโก,
อห ฺเ ว เอตรหิ มหนโฺ ต, อมิ เมว กายํ นสิ สฺ าย สพเฺ พ เต เอกสงคฺ หิตา’’ติ ฯ
พระเถระถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร อาตมภาพก็จะขอกลา่ ววา่ อาตมภาพนัน่
แหละเคยเปน็ เด็กอ่อนนอนแบเบาะ อาตมภาพคนเดียวกนั นั่นแหละ เป็นผ้ใู หญ่ในบัดน้ี ทุกคน
เหลา่ นน้ั รวมเขา้ เป็นคนเดยี วกันได้ เพราะอาศยั กายเดียวกันนีแ้ หละ”
‘‘ภิยฺโย โอปมมฺ ํ กโรหี’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ นิ ทต์ รัสว่า “ขอท่านจงชว่ ยอุปมาให้ย่งิ ข้นึ อกี หน่อยเถิด”
‘‘ยถา มหาราช โกจเิ ทว ปุรโิ ส ปทีปํ ปทเี ปยยฺ , กึ โส สพฺพรตฺต ึ ปทเี ปยยฺ า’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร เปรยี บเหมอื นบุคคลบางคนพงึ ตาม
ประทปี ไว้ ประทปี นนั้ พึงสอ่ งไปตลอดท้งั คืนหรอื ไม”่
‘‘อาม ภนเฺ ต สพพฺ รตตฺ ึ ปทีเปยฺยา’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ ินท์ตรสั วา่ “ใช่ พระคณุ เจา้ ประทปี พึงส่องไปตลอดทงั้ คืน”

กัณฑ์] ๒.๒ อัทธานวรรค 95

‘‘กนิ ฺนุ โข มหาราช ยา ปรุ ิเม ยาเม อจจฺ ,ิ สา มชฺฌิเม ยาเม อจจฺ ี’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร เปลวไฟในยามตน้ มาเป็นเปลวไฟใน
ยามท่ามกลางหรอื ?”
‘‘น ห ิ ภนฺเต’’ติ ฯ
พระเจา้ มิลินท์ตรัสวา่ “หามิได้ พระคณุ เจา้ ”
‘‘ยา มชฺฌเิ ม ยาเม อจฺจ,ิ สา ปจฉฺ เิ ม ยาเม อจจฺ ี’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “เปลวไฟในยามทา่ มกลาง มาเปน็ เปลวไฟในยามสดุ ทา้ ย
หรอื ?”
‘‘น หิ ภนฺเต’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลินทต์ รัสว่า “หามิได้ พระคุณเจา้ ”
‘‘กนิ ฺนุ โข มหาราช อ โฺ โส อโหสิ ปรุ ิเม ยาเม ปทโี ป, อ โฺ มชฺฌิเม ยาเม
ปทโี ป, อ โฺ ปจฉฺ ิเม ยาเม ปทโี ป’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร ประทปี ในยามตน้ กเ็ ป็นดวง
หนง่ึ ประทีปในยามทา่ มกลาง ก็เป็นอกี ดวงหน่ึง ประทีปในยามสุดท้าย กเ็ ป็นอีกดวงหนง่ึ
หรอื ไร ?”
‘‘น ห ิ ภนฺเต ตเํ ยว นิสสฺ าย สพพฺ รตตฺ ึ ปทปี โิ ต’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลนิ ท์ตรัสว่า “หามไิ ด้ พระคุณเจา้ แสงประทีปสอ่ งอย่ตู ลอดทั้งคืนได้ เพราะ
อาศยั ประทีปดวงเดียวกนั นน้ั น่นั แหละ”
‘‘เอวเมว โข มหาราช ธมมฺ สนตฺ ติ สนฺทหติ, อ ฺโ อปุ ปฺ ชชฺ ต,ิ อ โฺ นิรชุ ฺฌต,ิ
อปุพพฺ ํ อจรมิ ํ วิย สนทฺ หติ, เตน น จ โส, น จ อ ฺโ , ปรุ ิมวิ ฺ าเณ ปจฉฺ มิ ว ิ ฺ าณ ํ
สงฺคหํ คจฉฺ ตี’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร กเ็ หมือนกนั อย่างน้นั นั่นแหละ ธรรมที่
สืบตอ่ กัน ย่อมสืบตอ่ กันไป คนหน่ึงเกิดขึ้น อกี คนดบั ไป สบื ต่อกนั ไปราวกะว่าไม่ก่อนไมห่ ลัง
เพราะเหตนุ นั้ จะเปน็ คนเดียวกนั น้ันก็มิใช่ จะเป็นคนละคนกนั ก็มใิ ช่ วญิ ญาณอันมใี นภายหลงั
ย่อมถงึ ความรวมกันเขา้ ในวิญญาณอันมใี นดวงกอ่ นๆ”

96 มิลนิ ทปัญหาปกรณ์แปล [๒.มิลินทปญั ห

‘‘ภิยฺโย โอปมฺม ํ กโรห’ี ’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ ินทต์ รัสว่า “ขอทา่ นจงช่วยอุปมาใหย้ ่งิ ข้นึ อกี หนอ่ ยเถิด”

‘‘ยถา มหาราช ขีร ํ ทยุ ฺหมานํ กาลนฺตเรน ทธ ิ ปรวิ ตเฺ ตยฺย, ทธโิ ต นวนีตํ,
นวนีตโต ฆตํ ปรวิ ตฺเตยฺย, โย นุ โข มหาราช เอวํ วเทยฺย ‘ยํเยว ขรี ํ ตเํ ยว ทธ,ิ ยเํ ยว
ทธิ ตเํ ยว นวนตี ,ํ ยํเยว นวนีตํ ตเํ ยว ฆตน’ฺ ติ, สมมฺ า น ุ โข โส มหาราช วทมาโน
วเทยยฺ า’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร เปรยี บเหมอื นวา่ นมสดที่
เขารีดไว้ ในกาลต่อมาเปลีย่ นเป็นนมส้ม จากนมสม้ ก็กลายเป็นเนยใส จากเนยใสก็ลายเปน็
เปรียง มหาบพิตร ผใู้ ดกล่าวอยา่ งนว้ี ่า นมสดอนั ใด นมสม้ กอ็ ันนั้นนน่ั แหละ นมสม้ อันใด
เนยใสกอ็ ันนั้นนั่นแหละ เนยใสอนั ใด เปรียงก็อันนัน้ นน่ั แหละ ดังนี้ มหาบพิตร ผู้ที่กล่าวนัน้
ช่ือว่ากลา่ วถกู ตอ้ งหรือไมห่ นอ ?”

‘‘น ห ิ ภนฺเต ตํเยว นิสสฺ าย สมฺภูตนฺ”ติ ฯ
พระเจา้ มิลินท์ตรัสวา่ “ไมช่ ือ่ วา่ กลา่ วถูกต้องหรอก พระคุณเจ้า คือมนั เปน็ ส่งิ ท่ีเกิดขน้ึ
เพราะอาศยั นมสดอนั เดียวกันนั้นนน่ั แหละ”

‘‘เอวเมว โข มหาราช ธมมฺ สนตฺ ติ สนทฺ หติ, อ โฺ อปุ ฺปชชฺ ติ, อ โฺ นริ ุชฺฌต,ิ
อปพุ ฺพ ํ อจริม ํ วิย สนฺทหติ, เตน น จ โส, น จ อ ฺโ , ปรุ ิมวิ ฺ าเณ ปจฺฉิมวิ ฺ าณ ํ
สงคฺ หํ คจฉฺ ต’ี ’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร ก็เหมอื นกนั อยา่ งนน้ั นั่นแหละ ธรรม
สันตติยอ่ มสืบตอ่ กันไป คนหน่ึงเกิดขน้ึ อกี คนหน่งึ ดับไป สบื ต่อกนั ไปราวกะว่าไมก่ อ่ นไม่หลงั
กัน เพราะเหตุนั้น จะเป็นคนเดียวกนั ก็มิใช่ จะเป็นคนละคนกันก็มใิ ช่ วญิ ญาณอันมีในภาย
หลัง ยอ่ มถงึ ความรวมกันเข้าในวญิ ญาณอนั มีในดวงก่อนๆ”

‘‘กลฺโลสิ ภนเฺ ต นาคเสนา’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ นิ ทต์ รัสวา่ “พระคุณเจ้านาคเสน ทา่ นตอบสมควรแล้ว”

ธมมฺ สนฺตติปญฺโห ป€โม ฯ
จบธมั มสันตติปัญญาขอ้ ท่ี ๑

________

กัณฑ]์ ๒.๒ อัทธานวรรค 97

๒. ปฏิสนฺทหนปญฺห
๒. ปฏิสันทหนปัญหา
ปัญหาว่าด้วยการปฏสิ นธิ
[๒] ราชา อาห ‘‘ภนฺเต นาคเสน โย น ปฏสิ นทฺ หต,ิ ชานาต ิ โส ‘น
ปฏสิ นทฺ หิสฺสาม’ี ติ ?
[๒] พระราชาตรัสถามวา่ “พระคุณเจ้านาคเสน ท่านผู้ไม่ปฏิสนธิ ยอ่ มรูห้ รือว่า ‘เราจัก
ไม่ปฏิสนธิ ?”
‘‘อาม มหาราช โย น ปฏสิ นทฺ หติ, ชานาติ โส ‘น ปฏิสนฺทหิสฺสาม’ี ติ ฯ
พระนาคเสนถวายวิสัชนาวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร ใช่ ท่านผ้ไู มป่ ฏสิ นธิ ย่อมรู้
ว่า เราจักไมป่ ฏิสนธิ’’
‘‘กถํ ภนฺเต ชานาตี’’ติ ?
พระเจ้ามลิ นิ ทต์ รัสวา่ “รู้ไดอ้ ย่างไร พระคณุ เจา้ ?”
‘‘โย เหตุ โย ปจฺจโย มหาราช ปฏิสนฺทหนาย, ตสสฺ เหตสุ สฺ ตสฺส ปจฺจยสสฺ
อปุ รมา ชานาต ิ โส ‘น ปฏสิ นทฺ หิสฺสาม’ี ’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร เหตุใด ปัจจยั ใด พึงมเี พื่อ
ปฏิสนธ ิ เพราะระงับเหตุนั้น ปจั จยั น้ันได้ ทา่ นจึงรวู้ า่ ‘เราจกั ไม่ปฏิสนธ”ิ
‘‘โอปมฺม ํ กโรห’ี ’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ ินทต์ รัสวา่ “ขอทา่ นจงชว่ ยอุปมาใหห้ น่อยเถิด”
‘‘ยถา มหาราช กสสฺ โก คหปตโิ ก กสิตฺวา จ วปติ ฺวา จ ธ ฺ าคารํ ปรปิ ูเรยฺย,
โส อปเรน สมเยน เนว กสฺเสยยฺ น วปฺเปยฺย, ยถาสมภฺ ต จฺ ธ ฺ ํ ปริภ ุ ฺเชยฺย วา
วิสสฺ ชเฺ ชยยฺ วา ยถาปจจฺ ย ํ วา กเรยยฺ , ชาเนยยฺ โส มหาราช กสฺสโก คหปติโก ‘น เม
ธ ฺ าคารํ ปริปูเรสฺสตี’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร เปรียบเหมอื นว่า คฤหบดี
ชาวนาไถและหวา่ นแล้ว ก็พงึ ท�ำยุ้งฉางให้เตม็ ได ้ สมยั ต่อมา เขาไม่ไถเลย ไมห่ ว่านเลย ได้แต่
บรโิ ภคข้าวทม่ี บี ้าง จ�ำหนา่ ยไปบ้าง ท�ำไปตามสมควรแก่ปจั จยั บา้ ง ขอถวายพระพร คฤหบดี
ชาวนาผนู้ นั้ อาจรู้หรือไมว่ า่ ‘ยุ้งฉางของเราจกั ไม่เต็ม (พร่อง) เสียแลว้ ”

98 มลิ นิ ทปัญหาปกรณแ์ ปล [๒.มิลนิ ทปัญห

‘‘อาม ภนเฺ ต ชาเนยยฺ า’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลนิ ท์ตรสั วา่ “ใช่ สามารถรไู้ ด้ พระคุณเจ้า”
‘‘กถ ํ ชาเนยฺยา’’ติ ?
พระนาคเสนถามว่า “เขาจะพึงรูไ้ ดอ้ ย่างไร ?”
‘‘โย เหต ุ โย ปจฺจโย ธ ฺ าคารสสฺ ปรปิ รู ณาย, ตสสฺ เหตสุ สฺ ตสสฺ ปจฺจยสสฺ
อุปรมา ชานาต ิ ‘น เม ธ ฺ าคาร ํ ปริปูเรสสฺ ตี’’ติ ฯ
พระเจา้ มิลนิ ท์ตรสั ตอบวา่ “เหตุใด ปัจจัยใด พงึ มีเพื่อความเตม็ แหง่ ยุ้งฉาง เพราะระงบั
เหตุนนั้ ปัจจยั นั้นเสีย จึงรวู้ ่า ‘ยงุ้ ฉางของเราจักไมเ่ ตม็ เสียแล้ว”
‘‘เอวเมว โข มหาราช โย เหตุ โย ปจจฺ โย ปฏิสนทฺ หนาย, ตสฺส เหตุสสฺ ตสฺส
ปจจฺ ยสฺส อปุ รมา ชานาต ิ โส ‘น ปฏสิ นฺทหสิ สฺ าม’ี ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร ก็เหมอื นกันอยา่ งน้ันนนั่ แหละ เหตใุ ด
ปัจจยั ใด พงึ มีเพอื่ ปฏิสนธิ เพราะระงบั เหตนุ ัน้ ปจั จัยนั้น ทา่ นจงึ รูว้ ่า ‘เราจกั ไม่ปฏิสนธ’ิ
‘‘กลโฺ ลสิ ภนเฺ ต นาคเสนา’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ ินทต์ รัสวา่ “พระคณุ เจ้านาคเสน ทา่ นตอบสมควรแลว้ ”

ปฏิสนฺทหนปญโฺ ห ทุติโย ฯ
จบปฏสิ นั ทหนปัญหาข้อท่ี ๒

________

๓. าณปญฺาปญหฺ
๓. ญาณปญั ญาปญั หา
ปญั หาวา่ ด้วยญาณและปญั ญา
[๓] ราชา อาห ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน ยสสฺ าณ ํ อุปปฺ นฺนํ, ตสฺส ป ฺ า อุปฺปนฺนา’’ติ?
[๓] พระราชาตรสั ว่า “พระคณุ เจา้ นาคเสน ผู้ใดมีญาณเกิดขน้ึ แล้ว ผ้นู ั้นชือ่ วา่ มปี ญั ญา
เกิดข้ึนแล้วหรอื ไร ?”
‘‘อาม มหาราช ยสฺส าณํ อุปฺปนนฺ ํ, ตสฺส ป ฺ า อุปปฺ นนฺ า’’ติ ฯ

กัณฑ]์ ๒.๒ อัทธานวรรค 99

พระนาคเสนถวายวสิ ชั นาว่า “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร ถูกต้อง ผู้ใดมีญาณเกดิ ขึ้น
แล้ว ผ้นู น้ั ช่อื วา่ มปี ญั ญาเกดิ ขน้ึ แลว้ ”
‘‘ก ึ ภนเฺ ต ย ฺเ ว าณํ สาเยว ป ฺ า’’ติ ?
พระเจ้ามิลินทต์ รสั ถามว่า “พระคุณเจ้า ญาณอนั ใด ปญั ญาก็อันนน้ั หรอื ?”
‘‘อาม มหาราช ย เฺ ว าณํ สาเยว ป ฺ า’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร ใช่ ญาณอันใด ปญั ญากอ็ นั นน้ั ”
‘‘ยสสฺ ปน ภนฺเต ต เฺ ว าณ ํ สาเยว ป ฺ า อุปฺปนฺนา, ก ึ สมมฺ ยุ เฺ หยฺย โส
อทุ าหุ น สมฺมยุ ฺเหยฺยา’’ติ ?
พระเจา้ มิลินทต์ รสั วา่ “พระคุณเจ้า กแ็ ต่ว่า ผู้ใดมีญาณนั้นนั่นแหละ มปี ญั ญานน้ั น่ัน
แหละเกิดข้ึนแล้ว เขานัน้ กย็ ังอาจหลง (คอื ไม่รู้) ได้ หรือว่าไม่อาจหลงไดเ้ ลยเลา่ ?”
‘‘กตฺถจิ มหาราช สมฺมุยเฺ หยยฺ , กตฺถจิ น สมมฺ ุยฺเหยยฺ า’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร ยงั อาจหลงได้ในบางส่งิ บางอยา่ ง ไม่
อาจหลงได้เลยในบางสิง่ บางอยา่ ง”
‘‘กหุ ึ ภนฺเต สมฺมยุ ฺเหยฺยา’’ติ ?
พระเจ้ามลิ นิ ท์ตรัสว่า “ยงั อาจหลงไดใ้ นอะไรบ้าง พระคุณเจา้ ?”
‘‘อ ฺ าตปพุ ฺเพส ุ วา มหาราช สิปฺปฏ ฺ าเนสุ, อคตปพุ พฺ าย วา ทสิ าย, อสฺสุต-
ปุพพฺ าย วา นามป ฺ ตตฺ ิยา สมมฺ ยุ เฺ หยฺยา’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร ยงั อาจหลงในวิชาศิลปะท่ไี มเ่ คยรูบ้ า้ ง
ในทิศที่ไม่เคยไปบ้าง ในชอ่ื หรอื บญั ญตั ทิ ี่ไมเ่ คยได้ยินบ้าง”
‘‘กุหึ น สมมฺ ยุ เฺ หยฺยา’’ติ ?
พระเจ้ามลิ ินทต์ รสั วา่ “ไมอ่ าจหลงในอะไรบา้ ง ?”
‘‘ยํ โข ปน มหาราช ตาย ป ฺ าย กต ํ ‘อนจิ ฺจน’ฺ ติ วา ‘ทุกฺขนฺ’ติ วา ‘อนตตฺ า’ต ิ
วา, ตหึ น สมมฺ ยุ เฺ หยฺยา’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร กิจท่ีปญั ญาน้ันได้ท�ำไว้แลว้ วา่ ไมเ่ ที่ยง
ก็ดี วา่ เป็นทุกข์ ก็ดี วา่ เปน็ อนัตตา กด็ ี ใด ไมอ่ าจหลงในกจิ ทท่ี �ำแลว้ นัน้ ”

100 มลิ ินทปัญหาปกรณแ์ ปล [๒.มลิ ินทปัญห

‘‘โมโห ปนสสฺ ภนฺเต กหุ ึ คจฺฉต’ี ’ติ ?
พระเจ้ามิลินท์ตรัสวา่ “พระคณุ เจ้า ก็ความหลงของเขาไปไหนเสีย ?”
‘‘โมโห โข มหาราช าเณ อปุ ฺปนฺนมตฺเต ตตฺเถว นิรุชฺฌตี’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร เม่อื เพียงแตญ่ าณเกดิ ข้ึนเท่านน้ั ความ
หลง ก็ยอ่ มดับไปในที่น้นั นั่นแหละ”
‘‘โอปมมฺ ํ กโรห’ี ’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ ินทต์ รัสวา่ “ขอทา่ นจงชว่ ยอปุ มาใหห้ น่อยเถอะ”
‘‘ยถา มหาราช โกจเิ ทว ปรุ โิ ส อนธฺ การเคเห ปทีป ํ อาโรเปยยฺ , ตโต อนฺธกาโร
นิรุชฺเฌยฺย, อาโลโก ปาตภุ เวยฺย ฯ เอวเมว โข มหาราช าเณ อุปปฺ นฺนมตเฺ ต โมโห
ตตฺเถว นิรุชฺฌตี’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร เปรียบเหมอื นว่า บุคคลบาง
คนพึงตง้ั ประทปี ไวใ้ นเรอื นมดื เพราะเหตนุ ั้น ความมืดก็พงึ ดับไป ความสวา่ งก็พงึ มีปรากฏ
ฉันใด ขอถวายพระพร เมอื่ เพยี งแตญ่ าณเกดิ ขนึ้ เทา่ นน้ั ความหลงกย็ อ่ มดบั ไปในที่นนั้
นั่นแหละ ฉันน้ันเหมอื นกัน”
‘‘ป ฺ า ปน ภนเฺ ต กุหึ คจฉฺ ตี’’ติ ?
พระเจา้ มลิ ินทต์ รสั ว่า “สว่ นปญั ญาเล่า จะไปไหน พระคณุ เจ้า”
‘‘ป ฺ าปิ โข มหาราช สกจิ ฺจยํ กตฺวา ตตฺเถว นิรุชฺฌติ, ยํ ปน ตาย ป ฺ าย
กต ํ ‘อนจิ ฺจน’ฺ ต ิ วา ‘ทุกฺขน’ฺ ติ วา ‘อนตตฺ า’ติ วา, ตํ น นริ ุชฌฺ ตี’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร แมป้ ัญญาพอได้ท�ำกจิ ของ
ตนแล้ว ก็ยอ่ มดบั ไปในกจิ ที่ได้ท�ำไว้นน้ั น่ันแหละ แตก่ จิ ทป่ี ญั ญานน้ั ไดท้ �ำไว้แลว้ ว่าไมเ่ ทย่ี ง
กด็ ี วา่ เป็นทกุ ข์ ก็ดี ว่าเปน็ อนัตตา กด็ ี ใด กิจท่ีไดท้ �ำไวแ้ ลว้ นน้ั หาได้ดับไปไม’่ ’
‘‘ภนเฺ ต นาคเสน ย ํ ปเนต ํ พรฺ ูส ิ ‘ป ฺ า สกิจจฺ ย ํ กตวฺ า ตตเฺ ถว นิรุชฺฌต,ิ ยํ ปน
ตาย ป ฺ าย กตํ ‘อนจิ ฺจนฺ’ติ วา ‘ทกุ ฺขนฺ’ต ิ วา ‘อนตฺตา’ติ วา, ตํ น นิรุชฌฺ ตี’ต,ิ ตสฺส
โอปมมฺ ํ กโรห’ี ’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ ินท์ตรัสวา่ “พระคณุ เจ้านาคเสน ทา่ นกล่าวค�ำใดที่ว่า ‘แม้ปญั ญาพอได้ท�ำ
กิจของตนแลว้ กย็ ่อมดับไปในกจิ ท่ไี ด้ท�ำไว้น้นั นั่นแหละ แตก่ จิ ท่ีปัญญานั้นไดท้ �ำไวแ้ ล้ว วา่ ไม่

กัณฑ์] ๒.๒ อทั ธานวรรค 101

เทย่ี ง กด็ ี ว่าเปน็ ทกุ ข์ ก็ดี ว่าเป็นอนัตตา กด็ ี ใด กจิ ที่ได้ท�ำไว้แลว้ นน้ั หาได้ดับไปไม,่ ขอท่าน
จงช่วยอุปมาส�ำหรับค�ำนั้นเถิด”
‘‘ยถา มหาราช โย โกจ ิ ปุริโส รตฺต ึ เลข ํ เปเสตกุ าโม เลขก ํ ปกฺโกสาเปตวฺ า ปทีป ํ
อาโรเปตฺวา เลข ํ ลขิ าเปยยฺ , ลิขิเต ปน เลเข ปทปี ํ วชิ ฺฌาเปยฺย, วชิ ฌฺ าปเิ ตป ิ ปทีเป เลข ํ
น วินสเฺ สยยฺ ฯ เอวเมว โข มหาราช ป ฺ า สกจิ จฺ ยํ กตวฺ า ตตฺเถว นริ ชุ ฺฌติ, ยํ ปน
ตาย ป ฺ าย กต ํ ‘อนจิ จฺ นฺ’ติ วา ‘ทกุ ฺขน’ฺ ติ วา ‘อนตตฺ า’ต ิ วา, ต ํ น นิรุชฺฌตี’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร เปรียบเหมือนวา่ บคุ คลบาง
คนต้องการจะส่งหนงั สอื ไปในตอนกลางคืน จึงเรยี กนักเขียนมา ต้ังประทีปไว้แล้ว ใหเ้ ขาเขียน
เมอื่ เขาเขยี นหนงั สือเสร็จ ก็ดับประทีปเสีย แม้เมื่อประทปี ถกู ดบั ไปแล้ว ตัวหนังสือ (ทเ่ี ขียนไว้
แล้ว) กห็ าพินาศไปไม่ ฉันใด ขอถวายพระพร ปญั ญาพอไดท้ �ำกิจของตนแล้ว ก็ย่อมดับไป
ในกิจท่ไี ดท้ �ำไวน้ ัน้ นัน่ แหละ แตก่ ิจท่ปี ัญญานน้ั ไดท้ �ำไว้แล้ว วา่ ไม่เทย่ี ง กด็ ี ว่าเป็นทุกข์ ก็ด ี
ว่าเปน็ อนตั ตา กด็ ี หาดบั ไปไม่ ฉนั นัน้ เหมือนกัน”
‘‘ภยิ ฺโย โอปมฺมํ กโรห’ี ’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ ินท์ตรสั ว่า “ขอท่านจงช่วยอปุ มาให้ยิ่งขนึ้ อกี หนอ่ ยเถิด”
‘‘ยถา มหาราช ปุรตถฺ เิ มสุ ชนปเทสุ มนุสฺสา อนฆุ รํ ป ฺจ ป ฺจ อุทกฆฏกานิ
เปนตฺ ิ อาลิมปฺ นํ วิชฌฺ าเปตํ,ุ ฆเร ปทิตเฺ ต ตาน ิ ป จฺ อุทกฆฏกาน ิ ฆรสฺสปู ร ิ ขปิ นฺติ,
ตโต อคคฺ ิ วชิ ฺฌายต,ิ กินฺน ุ โข มหาราช เตสํ มนสุ สฺ านํ เอว ํ โหต ิ ‘ปนุ เตห ิ ฆเฏห ิ
ฆฏกิจจฺ ํ กรสิ ฺสามา’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร เปรยี บเหมือนวา่ พวก
มนุษย์ในชนบททางทิศตะวันออก ต้ังโอง่ น้�ำไว้ตามล�ำดับเรือน เรือนละ ๕ ใบ เพือ่ ใช้ดับไฟ
เม่ือเรือนหลงั หน่ึงถูกไฟไหม้ พวกเขาก็ยอ่ มเทโอ่งน้�ำทั้ง ๕ ใบเหลา่ น้ันไปเบื้องบนของเรือน
ไฟยอ่ มดบั ไปเพราะเหตุน้ัน ขอถวายพระพร ผคู้ นเหล่านน้ั ยอ่ มเกดิ ความคิดอยา่ งนวี้ ่า ‘พวก
เราจะใช้โอง่ ท้งั ๕ ใบเหลา่ นัน้ ท�ำกจิ ทค่ี วรท�ำดว้ ยโอง่ อีก’ หรือไมห่ นอ ?”
‘‘น ห ิ ภนฺเต อล ํ เตห ิ ฆเฏหิ, กึ เตห ิ ฆเฏห’ี ’ติ ?
พระเจ้ามลิ นิ ท์ตรัสว่า “ไมห่ รอก พระคณุ เจา้ พอทีละด้วยโอง่ น้ำ� ทงั้ หลายเหลา่ น้ัน
ประโยชน์อะไรดว้ ยโอง่ นำ้� เหลา่ นน้ั อกี เลา่ ”

102 มลิ นิ ทปัญหาปกรณ์แปล [๒.มิลนิ ทปัญห

‘‘ยถา มหาราช ป จฺ อทุ กฆฏกาน,ิ เอว ํ ป ฺจินทฺ ฺริยาน ิ ทฏฺ พฺพานิ สทธฺ ินฺทฺรยิ ํ
วรี ยิ นิ ทฺ รฺ ยิ ํ สตินทฺ รฺ ยิ ํ สมาธนิ ฺทฺรยิ ํ ป ฺ นิ ทฺ รฺ ิยํ ฯ ยถา เต มนุสสฺ า, เอวํ โยคาวจโร
ทฏฺ พโฺ พ ฯ ยถา อคฺค,ิ เอว ํ กิเลสา ทฏ ฺ พพฺ า ฯ ยถา ป จฺ ห ิ อุทกฆฏเกหิ อคคฺ ิ
วิชฺฌาปยี ติ, เอว ํ ป ฺจนิ ฺทรฺ เิ ยห ิ กเิ ลสา วชิ ฺฌาปิยนฺติ, วชิ ฌฺ าปติ าปิ กิเลสา น ปุน
สมฺภวนตฺ ิ ฯ เอวเมว โข มหาราช ป ฺ า สกจิ ฺจย ํ กตวฺ า ตตฺเถว นิรชุ ฌฺ ติ, ยํ ปน ตาย
ป ฺ าย กตํ ‘อนิจจฺ นฺ’ติ วา ‘ทกุ ขฺ นฺ’ต ิ วา ‘อนตฺตา’ติ วา, ต ํ น นิรุชฺฌตี’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร พึงเห็นอนิ ทรีย์ ๕ คือ สทั ธินทรยี ์ วริ ยิ นิ
ทรีย์ สตนิ ทรยี ์ สมาธินทรีย์ ปัญญนิ ทรีย ์ เปน็ ดจุ โอง่ น�้ำท้งั ๕ ใบเถิด, พึงเหน็ พระโยคาวจร
เป็นดจุ พวกมนษุ ยเ์ หลา่ น้นั พึงเหน็ กเิ ลสทง้ั หลายเป็นดุจไฟ. พวกมนษุ ย์ทง้ั หลายยอ่ มใช้น้ำ� ๕
โอ่ง ดับไฟ ฉนั ใด พระโยคาวจรก็ยอ่ มใชอ้ ินทรีย์ ๕ ดับกิเลสทง้ั หลาย แม้กิเลสทงั้ หลายถกู ดบั
ไปแลว้ ก็ย่อมไมเ่ กดิ อกี ฉนั นน้ั . ขอถวายพระพร ปัญญาช่อื วา่ พอไดท้ �ำกิจของตนแล้ว ก็ย่อม
ดับไปในกจิ นนั้ นัน่ แหละ แต่กจิ ท่ปี ัญญาน้นั ได้ท�ำไว้แลว้ ว่าไม่เท่ียง ก็ดี วา่ เป็นทุกข์ กด็ ี ว่า
เปน็ อนตั ตา กด็ ี กิจท่ีท�ำไว้แล้วน้ัน หาดบั ไปไม่ ตามประการดังกลา่ วมาน้ีแล”
‘‘ภิยฺโย โอปมฺมํ กโรห’ี ’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ ินท์ตรสั ว่า “ขอท่านจงช่วยอปุ มาใหย้ ่งิ ข้ึนอีกหน่อยเถิด”
‘‘ยถา มหาราช เวชโฺ ช ป ฺจมูลเภสชชฺ านิ คเหตวฺ า คิลานก ํ อปุ สงฺกมติ ฺวา ตาน ิ
ป ฺจมลู เภสชชฺ าน ิ ปิสติ ฺวา คลิ านก ํ ปาเยยฺย, เตหิ จ โทสา นิทธฺ เมยยฺ ุํ, กินนฺ ุ โข มหาราช
ตสสฺ เวชฺชสฺส เอว ํ โหต ิ ‘ปนุ เตห ิ ป จฺ มูลเภสชฺเชห ิ เภสชฺชกิจฺจ ํ กรสิ ฺสามี’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร เปรียบเหมอื นวา่ แพทย์ถอื
เอาเครอ่ื งยาท่ีเปน็ รากไม้ ๕ อย่างไปหาคนไข้ บดเครอื่ งยาทเ่ี ปน็ รากไม้ ๕ ชนดิ เหล่าน้ัน
ละลายใหค้ นไขด้ ืม่ ก็โทษ (โรค) ทัง้ หลายพงึ หายไปเพราะเคร่อื งยาเหล่านั้น ขอถวายพระพร
แพทยผ์ ู้น้ันย่อมเกิดความคดิ อย่างนว้ี า่ เราจักใชเ้ ครอื่ งยาที่เป็นรากไม้ ๕ ชนิดเหล่านัน้ ท�ำกิจ
ทค่ี วรท�ำด้วยยาอีก’ ดงั น้หี รือไมห่ นอ ?”
‘‘น หิ ภนฺเต อล ํ เตหิ ป ฺจมลู เภสชฺเชหิ, กึ เตหิ ป ฺจมลู เภสชฺเชห’ี ’ติ ?
พระเจา้ มลิ นิ ท์ตรสั วา่ “ไม่หรอก พระคณุ เจ้า พอทดี ว้ ยเครอ่ื งยาท่เี ปน็ รากไม้ ๕ ชนดิ
เหล่านัน้ ประโยชนอ์ ะไรดว้ ยเคร่อื งยาท่เี ปน็ รากไม้ ๕ ชนดิ เหลา่ น้ันอกี เล่า”

กณั ฑ]์ ๒.๒ อัทธานวรรค 103

‘‘ยถา มหาราช ป ฺจมูลเภสชชฺ านิ, เอว ํ ป จฺ นิ ฺทรฺ ิยาน ิ ทฏ ฺ พพฺ านิ สทฺธนิ ฺทรฺ ยิ ํ
วีริยนิ ฺทรฺ ิย ํ สตนิ ทฺ ฺรยิ ํ สมาธนิ ฺทรฺ ยิ ํ ป ฺ ินทฺ รฺ ยิ ,ํ ยถา เวชโฺ ช, เอว ํ โยคาวจโร ทฏ ฺ พโฺ พ ฯ
ยถา พยฺ าธิ, เอวํ กิเลสา ทฏฺ พฺพา ฯ ยถา พยฺ าธโิ ต ปุริโส, เอว ํ ปุถชุ ชฺ โน ทฏฺ พโฺ พ ฯ
ยถา ป ฺจมลู เภสชฺเชห ิ คลิ านสฺส โทสา นิทฺธนตฺ า, โทเส นทิ ธฺ นเฺ ต คิลาโน อโรโค โหต,ิ
เอวํ ป ฺจนิ ฺทฺริเยห ิ กิเลสา นิทธฺ มียนฺติ, นิทธฺ มิตา จ กิเลสา น ปุน สมภฺ วนฺติ ฯ เอวเมว
โข มหาราช ป ฺ า สกิจฺจย ํ กตวฺ า ตตฺเถว นิรุชฌฺ ต,ิ ยํ ปน ตาย ป ฺ าย กต ํ
‘อนจิ ฺจนฺ’ต ิ วา ‘ทุกขฺ น’ฺ ติ วา ‘อนตตฺ า’ติ วา, ตํ น นิรุชฺฌต’ี ’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร พึงเห็นอนิ ทรยี ์ ๕ คอื
สัทธนิ ทรีย์ วริ ิยนิ ทรีย์ สตนิ ทรีย ์ สมาธินทรีย ์ ปญั ญนิ ทรยี ์ เปน็ ดจุ เครื่องยาทเ่ี ป็นรากไม้ ๕
ชนดิ เถิด พงึ เห็นพระโยคาวจรเปน็ ดจุ แพทย์ พึงเห็นกเิ ลสทงั้ หลายดจุ ความเจ็บป่วย พงึ เห็น
ผูเ้ ป็นปุถชุ นเป็นดุจบรุ ษุ ผู้เจ็บปว่ ย, โทษ(โรค)ทง้ั หลายของคนไข้หายไปเพราะแพทย์ใช้เครือ่ ง
ยาทเี่ ปน็ รากไม้ ๕ ชนดิ เม่ือโทษ(โรค)ทง้ั หลายดับไปแล้ว คนไขก้ เ็ ปน็ อันหายโรค ฉันใด
พระโยคาวจรกย็ ่อมใช้อินทรีย์ ๕ ท�ำกเิ ลสทั้งหลายใหด้ ับไป และกเิ ลสทั้งหลายท่ถี ูกท�ำใหด้ ับ
ไปแล้ว ยอ่ มไม่เกดิ อกี ฉนั นน้ั
ขอถวายพระพรมหาบพติ ร ปัญญาชื่อว่าพอได้ท�ำกิจของตนแลว้ ก็ย่อมดบั ไปในกจิ นน้ั
นนั่ แหละ แตก่ จิ ทป่ี ัญญานัน้ ได้ท�ำไวแ้ ลว้ วา่ ไม่เที่ยง ก็ดี วา่ เป็นทุกข์ ก็ดี วา่ เป็นอนัตตา กด็ ี
ยอ่ มไมด่ ับไป ตามประการดังกล่าวมานี้แล”
‘‘ภยิ โฺ ย โอปมฺม ํ กโรหี’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลนิ ท์ตรสั วา่ “ขอท่านจงช่วยอุปมาให้ย่งิ ขึ้นอกี หนอ่ ยเถิด”
‘‘ยถา มหาราช สงคฺ ามาวจโร โยโธ ป จฺ กณฺฑาน ิ คเหตฺวา สงฺคามํ โอตเรยยฺ
ปรเสน ํ วิเชตุ,ํ โส สงคฺ ามคโต ตาน ิ ป ฺจ กณฺฑาน ิ ขเิ ปยยฺ , เตห ิ จ ปรเสนา ภิชฺเชยยฺ ,
กินนฺ ุ โข มหาราช ตสสฺ สงฺคามาวจรสฺส โยธสสฺ เอวํ โหต ิ ‘ปนุ เตหิ กณฺเฑห ิ กณฺฑ-
กิจจฺ ํ กรสิ ฺสาม’ี ’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร เปรยี บเหมือนวา่ นักรบ
ผคู้ ร�่ำหวอดในสงครามควา้ เอาลกู ธนไู ด้ ๕ ลูก แล้วกห็ ยัง่ ลงส่สู งคราม เพื่อเอาชนะกองทัพ
ขา้ ศึก นกั รบผูน้ น้ั ไปถงึ สนามรบแลว้ พงึ ยิงลูกธนู ๕ ลูกนัน้ และข้าศกึ กแ็ ตกพ่ายไป เพราะลกู
ธนูเหล่านัน้ ขอถวายพระพร นกั รบผูค้ รำ�่ หวอดในสงครามผ้นู ้ัน พงึ เกดิ ความคิดอย่างน้วี ่า เรา
จกั ใช้ลกู ธนู ๕ ลูกเหลา่ น้นั ท�ำกจิ ท่คี วรท�ำดว้ ยลูกธนูอกี ’ ดังนห้ี รือไมห่ นอ ?”

104 มลิ นิ ทปัญหาปกรณ์แปล [๒.มลิ ินทปัญห

‘‘น หิ ภนฺเต อลํ เตหิ กณเฺ ฑหิ, ก ึ เตห ิ กณเฺ ฑห’ี ’ติ ?
พระเจา้ มิลนิ ทต์ รัสว่า “ไมห่ รอก พระคณุ เจา้ พอทลี ะดว้ ยลกู ธนเู หล่านั้น ประโยชน์
อะไรด้วยลกู ธนเู หลา่ นัน้ อกี เล่า”

‘‘ยถา มหาราช ป จฺ กณฺฑาน,ิ เอว ํ ป ฺจินทฺ รฺ ิยานิ ทฏ ฺ พพฺ านิ สทธฺ ินฺทฺรยิ ํ
วีริยินทฺ ฺริย ํ สตนิ ฺทฺรยิ ํ สมาธนิ ทฺ รฺ ิยํ ป ฺ นิ ทฺ ฺรยิ ํ ฯ ยถา มหาราช สงฺคามาวจโร โยโธ, เอวํ
โยคาวจโร ทฏฺ พโฺ พ ฯ ยถา ปรเสนา, เอว ํ กเิ ลสา ทฏฺ พพฺ า ฯ ยถา ป ฺจหิ กณฺเฑหิ
ปรเสนา ภชิ ชฺ ต,ิ เอว ํ ป จฺ ินทฺ รฺ เิ ยห ิ กิเลสา ภิชชฺ นฺติ, ภคคฺ า จ กเิ ลสา น ปนุ
สมฺภวนตฺ ิ ฯ
เอวเมว โข มหาราช ป ฺ า สกจิ จฺ ย ํ กตวฺ า ตตฺเถว นิรุชฺฌต,ิ ย ํ ปน ตาย
ป ฺ าย กตํ ‘อนิจจฺ นฺ’ต ิ วา ‘ทุกขฺ น’ฺ ต ิ วา ‘อนตฺตา’ต ิ วา, ตํ น นิรชุ ฌฺ ตี’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร พงึ เหน็ อินทรยี ์ ๕ คือ
สัทธินทรยี ์ วริ ยิ ินทรีย์ สตินทรยี ์ สมาธนิ ทรยี ์ ปญั ญนิ ทรยี ์ เป็นดจุ ลูกธนู ๕ ลกู พงึ เหน็ พระ
โยคาวจรเปน็ ดจุ นักรบผคู้ รำ่� หวอดอยูใ่ นสงคราม พงึ เห็นกเิ ลสท้งั หลายเป็นดจุ กองทัพขา้ ศกึ
กองทพั ข้าศึกแตกพ่ายไป เพราะลูกธนู ๕ ลกู ฉนั ใด กเิ ลสทง้ั หลายย่อมแตกหกั ไปเพราะ
อินทรีย์ ๕ และกเิ ลสท่แี ตกหกั ไปแลว้ กไ็ มเ่ กดิ อีก ฉนั นัน้
ขอถวายพระพรมหาบพิตร ปัญญาชือ่ วา่ พอได้ท�ำกิจของตนแลว้ กด็ บั ไปในกิจนัน้ นั่น
แหละ แต่กิจทีป่ ญั ญานน้ั ไดท้ �ำไวแ้ ล้ว ว่าไม่เท่ียง กด็ ี วา่ เป็นทุกข์ ก็ดี วา่ เป็นอนตั ตา ก็ดี ยอ่ ม
ไมด่ ับไป กฉ็ นั น้ันน่นั แหละ”

‘‘กลฺโลสิ ภนฺเต นาคเสนา’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ ินท์ตรสั วา่ “พระคุณเจ้านาคเสน ท่านตอบสมควรแล้ว”

าณปญฺาปญโฺ ห ตตโิ ย ฯ
จบญาณปัญญาปญั หาขอ้ ที่ ๓

________

กัณฑ]์ ๒.๒ อัทธานวรรค 105

๔. ปฏสิ นทฺ หนปคุ ฺคลเวทิยนปญหฺ
๔. ปฏิสนั ทหนปคุ คลเวทยิ นปัญหา
ปญั หาวา่ ดว้ ยการเสวยเวทนาของบคุ คลผปู้ ฏสิ นธิ
[๔] ราชา อาห ‘‘ภนฺเต นาคเสน โย น ปฏสิ นทฺ หติ, เวเทติ โส ก ิ ฺจ ิ ทกุ ขฺ ํ
เวทนนฺ’’ติ ?
[๔] พระราชาตรสั ว่า “พระคณุ เจ้านาคเสน ท่านผใู้ ดจะไมป่ ฏสิ นธิ ท่านผนู้ ้ันยงั จะ
เสวยทกุ ขเวทนาอะไร ๆ อยู่บ้างหรอื เปล่า ?”
เถโร อาห ‘‘กิ ฺจิ เวเทติ, กิ ฺจิ น เวเทตี’’ติ ฯ
พระเถระถวายวิสัชนาวา่ “ทา่ นยงั เสวยทกุ ขเวทนาบางอยา่ ง จะไมเ่ สวยทกุ ขเวทนา
บางอยา่ ง”
‘‘กึ เวเทต,ิ ก ึ น เวเทตี’’ติ ?
พระเจ้ามิลนิ ท์ตรสั ว่า “จะเสวยทกุ ขเวทนาอะไร จะไม่เสวยทุกขเวทนาอะไร ?”
‘‘กายิก ํ มหาราช เวทน ํ เวเทต,ิ เจตสิกํ เวทนํ น เวเทต’ี ’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร จะเสวยทุกขเวทนาทางกาย
จะไมเ่ สวยทกุ ขเวทนาทางใจ”
‘‘กถํ ภนเฺ ต กายกิ ํ เวทนํ เวเทต,ิ กถํ เจตสิกํ เวทนํ น เวเทต’ี ’ติ ?
พระเจา้ มลิ นิ ท์ตรสั ว่า “พระคุณเจ้า ท่านจะเสวยทกุ ขเวทนาทางกายอย่างไร จะไม่
เสวยทุกขเวทนาทางใจอย่างไร ?”
‘‘โย เหตุ โย ปจจฺ โย กายิกาย ทกุ ขฺ เวทนาย อปุ ฺปตฺตยิ า, ตสฺส เหตุสฺส ตสฺส
ปจจฺ ยสฺส อนปุ รมา กายกิ ํ ทกุ ฺขเวทนํ เวเทต,ิ โย เหต ุ โย ปจฺจโย เจตสิกาย
ทุกฺขเวทนาย อุปปฺ ตฺตยิ า, ตสสฺ เหตุสฺส ตสฺส ปจจฺ ยสฺส อุปรมา เจตสกิ ํ ทกุ ขฺ เวทน ํ น
เวเทติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “เหตุใด ปัจจยั ใด ย่อมเป็นไปเพือ่ ความเกิดข้นึ แห่ง
ทกุ ขเวทนาทางกาย เพราะการไม่ระงับไปแหง่ เหตนุ นั้ แหง่ ปจั จยั นัน้ ทา่ นจงึ เสวยทกุ ขเวทนา
ทางกาย เหตใุ ด ปจั จัยใด ย่อมเปน็ ไปเพอ่ื ความเกิดข้นึ แห่งทกุ ขเวทนาทางใจ เพราะการระงบั
ไปแหง่ เหตุนั้น แห่งปจั จัยนั้น ท่านจึงไม่เสวยทกุ ขเวทนาทางใจ

106 มลิ ินทปัญหาปกรณ์แปล [๒.มลิ นิ ทปัญห

ภาสติ มเฺ ปต ํ มหาราช ภควตา – ‘โส เอก ํ เวทนํ เวเทต ิ กายกิ ํ น เจตสกิ น”ฺ ติ ฯ
ขอถวายพระพรมหาบพติ ร พระผมู้ พี ระภาคเจ้าทรงภาษติ แม้ขอ้ ความนไ้ี วว้ ่า ‘ภิกษรุ ปู
นัน้ ย่อมเสวย(ทกุ ข)เวทนาทางกายอย่างเดียว ไมเ่ สวย(ทุกข)เวทนาทางใจ”

‘‘ภนฺเต นาคเสน โย ทุกฺขํ เวทนํ เวเทติ, กสมฺ า โส น ปรนิ ิพฺพายต’ี ’ติ ?
พระเจ้ามลิ นิ ทต์ รัสวา่ “พระคณุ เจา้ นาคเสน ทา่ นผใู้ ดยังเสวยทุกขเวทนาอยู่ เพราะเหตุ
อะไร ท่านผู้น้ัน จงึ ไมป่ รินพิ พานเสียเล่า ?”

‘‘นตฺถ ิ มหาราช อรหโต อนุนโย วา ปฏโิ ฆ วา, น จ อรหนฺโต อปกกฺ ํ ปาเตนตฺ ิ
ปรปิ ากํ อาคเมนฺต ิ ปณฑฺ ิตา ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร ความยินดหี รือความยนิ รา้ ย ย่อมไมม่ ี
แกท่ า่ นผู้เปน็ พระอรหนั ต์ อนึง่ พระอรหันตท์ ้งั หลายเปน็ บณั ฑติ จะไมท่ �ำขันธ์ท่ยี งั ไม่สุกงอม
ให้ตกไป รอคอยความสกุ งอมอยู่

ภาสิตมฺเปต ํ มหาราช เถเรน สารปิ ตุ ฺเตน ธมมฺ เสนาปตินา –
‘‘นาภินนทฺ ามิ มรณํ นาภนิ นทฺ าม ิ ชวี ิตํ
กาล จฺ ปฏกิ งฺขาม ิ นพิ พฺ ิสํ ภตโก ยถา ฯ
นาภินนทฺ าม ิ มรณํ นาภินนทฺ าม ิ ชวี ติ ํ
กาล จฺ ปฏกิ งฺขาม ิ สมปฺ ชาโน ปติสสฺ โต’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร ท่านพระธรรมเสนาบดีสารบี ุตรเถระ ได้ภาษติ ความขอ้ น้ไี ว้ว่า
“เราไม่ยนิ ดคี วามตาย เราไม่ยินดีความเป็นอยู่ ทว่า เราได้แต่
เฝา้ รอเวลา ดจุ ผูร้ ับจา้ งหวังคา่ จ้างอยู่ ฉะนนั้ เราไม่ยนิ ดีความ
ตาย เราไมย่ ินดีความเปน็ อยู่ ทวา่ เรามสี ตเิ ฉพาะหนา้ มี
สมั ปชัญญะ ไดแ้ ตร่ อเวลาอย่เู ท่านั้น”

‘‘กลโฺ ลส ิ ภนเฺ ต นาคเสนา’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ ินท์ตรสั วา่ “พระคณุ เจ้านาคเสน ท่านตอบสมควรแล้ว”

ปฏสิ นทฺ หนปคุ คฺ ลเวทยิ นปญฺโห จตตุ โฺ ถ ฯ

จบปฏิสันทหนปุคคลเวทยิ นปัญหาขอ้ ที่ ๔
________

กณั ฑ์] ๒.๒ อัทธานวรรค 107

๕. เวทนาปญหฺ
๕. เวทนาปัญหา
ปญั หาว่าดว้ ยเวทนา
[๕] ราชา อาห ‘‘ภนฺเต นาคเสน สขุ า เวทนา กุสลา วา อกสุ ลา วา อพฺยากตา
วา’’ติ ?
[๕] พระราชาตรสั วา่ “พระคุณเจ้านาคเสน สขุ เวทนา เป็นกุศล อกศุ ล หรอื วา่
อัพยากตะเล่า ?”
‘‘สิยา มหาราช กุสลา, สยิ า อกุสลา, สิยา อพยฺ ากตา’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายวิสัชนาวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร สุขเวทนา เปน็ กศุ ล ก็มี
เปน็ อกศุ ล ก็มี เปน็ อัพยากตะ กม็ ”ี
‘‘ยท ิ ภนฺเต กสุ ลา น ทกุ ฺขา, ยท ิ ทุกขฺ า น กสุ ลา, ‘กสุ ลํ ทกุ ฺขน’ฺ ต ิ นุปฺปชฺชต’ี ’ตฯิ
พระเจา้ มลิ ินท์ตรสั วา่ “พระคณุ เจา้ เวทนา ถา้ หากเปน็ กศุ ล กย็ อ่ มไมเ่ ป็นทกุ ข์ ถา้
หากว่าเปน็ ทกุ ข์ ก็ยอ่ มไมเ่ ปน็ กศุ ล ค�ำวา่ ‘กศุ ลก็เป็นทุกข์’ ดงั น้ี จะไมเ่ กิดข้นึ ”
‘‘ต ํ กึ ม ฺ ส ิ มหาราช, อิธ ปุรสิ สฺส หตฺเถ ตตฺตํ อโยคฬุ ํ นกิ ขฺ ิเปยยฺ , ทุติเย หตเฺ ถ
สตี ํ หิมปณิ ฺฑ ํ นกิ ขฺ ิเปยฺย, กินฺน ุ โข มหาราช อุโภป ิ เต ทเหยฺยุนฺ”ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร พระองคจ์ ะทรงส�ำคัญ
ความข้อนั้นว่าอยา่ งไร ณ ท่นี ้ีมบี รุ ุษคนหน่ึง เขาวางก้อนเหลก็ รอ้ นไวบ้ นฝ่ามอื ขา้ งหน่งึ วาง
กอ้ นหิมะเย็นไว้บนฝ่ามอื ขา้ งท่สี อง ขอถวายพระพร ฝา่ มอื ของเขาพงึ ไหมเ้ กรยี มทง้ั ๒ ขา้ ง
เลยหรือไม่ ?”
‘‘อาม ภนฺเต อุโภปิ เต ทเหยยฺ นุ ”ฺ ติ ฯ
พระเจา้ มลิ ินท์ตรสั ว่า “ใช่ พระคณุ เจ้า ฝ่ามือของเขาพึงไหมเ้ กรียมท้ัง ๒ ขา้ ง”
‘‘กินฺนุ โข เต มหาราช อโุ ภป ิ อุณหฺ า’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร ฝา่ มือของเขาร้อนทง้ั ๒ ขา้ งหรือไม่ ?”
‘‘น หิ ภนเฺ ต’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลินทต์ รัสวา่ “หามิได้ พระคุณเจา้ ”

108 มิลินทปญั หาปกรณแ์ ปล [๒.มลิ ินทปญั ห

‘‘กึ ปน เต มหาราช อุโภปิ สีตลา’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร กแ็ ต่วา่ ฝา่ มือของเขาเย็นท้ัง ๒ ข้าง
เลยหรือไม่ ?”
‘‘น ห ิ ภนฺเต’’ติ ฯ
พระเจา้ มิลนิ ท์ตรัสว่า “หามิได้ พระคุณเจา้ ”
‘‘อาชานาห ิ นคิ คฺ หํ ยทิ ตตฺตํ ทหติ, น จ เต อโุ ภป ิ อณุ หฺ า, เตน นุปปฺ ชฺชติ ฯ
ยทิ สตี ล ํ ทหติ, น จ เต อุโภปิ สตี ลา, เตน นุปฺปชฺชติ ฯ กสิ สฺ ปน เต มหาราช อุโภป ิ
ทหนฺต,ิ น จ เต อโุ ภป ิ อณุ ฺหา, น จ เต อุโภป ิ สีตลา ? เอกํ อณุ หฺ ํ, เอกํ สตี ลํ, อโุ ภป ิ
เต ทหนตฺ ิ, เตน นุปปฺ ชฺชต’ี ’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอจงทราบเถิดว่า รับสง่ั ของพระองค์เป็นอันอาตมภาพ
ขม่ ได้แลว้ ถ้าหากวา่ ก้อนเหลก็ ร้อนเทา่ น้ันแผดเผาได้ แตฝ่ ่ามอื ของเขามไิ ด้ร้อนทัง้ ๒ ขา้ ง
เพราะเหตนุ นั้ พระด�ำรสั ของพระองค์ย่อมฟังไมข่ น้ึ ถ้าหากว่า ก้อนหิมะเย็นเทา่ น้ันแผดเผา
เอาได้ แต่ฝ่ามือของเขาก็มไิ ดเ้ ยน็ ท้งั ๒ ข้าง เพราะเหตนุ ้นั พระด�ำรัสของพระองค์ก็ย่อมฟังไม่
ข้ึน ขอถวายพระพรมหาบพิตร ก็ฝา่ มอื ของเขาไหมเ้ กรยี มไปทง้ั ๒ ข้างไดอ้ ย่างไรเล่า เพราะ
วา่ ฝ่ามอื ของเขามิไดร้ ้อนทั้ง ๒ ขา้ ง และมิไดเ้ ย็นทั้ง ๒ ขา้ งเลย ฝา่ มือข้างหน่ึงร้อน ฝา่ มือขา้ ง
หนงึ่ เย็น แตก่ ไ็ หมเ้ กรียมทั้ง ๒ ข้าง เพราะฉะน้ัน พระด�ำรัสของพระองค์ ย่อมฟังไมข่ ้นึ ”
‘‘นาหํ ปฏิพโล ตยา วาทนิ า สทธฺ ึ สลฺลปิต,ุํ สาธ ุ อตฺถํ ชปฺเปหี’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ นิ ท์ตรสั ว่า “โยมไม่มคี วามสามารถพอท่จี ะโตต้ อบกบั ท่านผเู้ ป็นเจ้าวาทะได้
หรอก ขอโอกาส ได้โปรดช่วยอธิบายความด้วยเถดิ ”
ตโต เถโร อภธิ มฺมสยํ ตุ ตฺ าย กถาย ราชาน ํ มลิ ินทฺ ํ ส ฺ าเปส ิ –
‘‘ฉยิมาน ิ มหาราช เคหนสิ ฺสิตานิ โสมนสสฺ านิ, ฉ เนกขฺ มฺมนสิ สฺ ติ านิ โสมนสสฺ าน,ิ
ฉ เคหนิสฺสติ านิ โทมนสสฺ าน,ิ ฉ เนกขฺ มมฺ นสิ สฺ ิตานิ โทมนสสฺ าน,ิ ฉ เคหนิสฺสติ า อเุ ปกฺขา,
ฉ เนกขฺ มมฺ นสิ สฺ ิตา อเุ ปกฺขาต,ิ อมิ าน ิ ฉ ฉกกฺ านิ, อตีตาป ิ ฉตตฺ สึ วิธา เวทนา, อนาคตาป ิ
ฉตตฺ สึ วิธา เวทนา, ปจจฺ ุปฺปนนฺ าป ิ ฉตตฺ สึ วธิ า เวทนา, ตเทกชฺฌํ อภสิ ฺ หู ิตฺวา
อภิสมฺปณิ เฺ ฑตวฺ า อฏ ฺ สต ํ เวทนา โหนฺตี’’ติ ฯ
ในล�ำดับนั้น พระเถระก็ได้ถวายวิสชั นาท�ำให้พระเจา้ มลิ ินทท์ รงเข้าใจ ดว้ ยค�ำพดู ที่

กณั ฑ์] ๒.๒ อทั ธานวรรค 109

ประกอบดว้ ยพระอภิธรรม ดังน้วี ่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร โสมนัสอาศยั เรอื นมี ๖ อย่าง
เหลา่ นี้ โสมนสั อาศยั เนกขมั มะมี ๖ อยา่ ง โทมนัสอาศยั เรือนมี ๖ อย่าง โทมนสั อาศัยเนกขัมมะ
มี ๖ อย่าง อุเบกขาอาศยั เรือนมี ๖ อย่าง อเุ บกขาอาศัยเนกขมั มะมี ๖ อยา่ ง เวทนามี ๖ หมวด
เหลา่ น้ี เวทนาแมท้ ่เี ปน็ อดตี มี ๓๖ อยา่ ง เวทนาแมท้ ี่เป็นอนาคตมี ๓๖ อย่าง เวทนา
แมท้ ี่เป็นปจั จบุ ันก็มี ๓๖ อยา่ ง รวมเวทนาทัง้ หมดนน้ั เขา้ ดว้ ยกัน กเ็ ป็นเวทนา ๑๐๘” ดังน้ี
‘‘กลโฺ ลส ิ ภนฺเต นาคเสนา’’ติ ฯ
พระเจา้ มิลินทต์ รสั ว่า “พระคุณเจา้ นาคเสน ทา่ นตอบสมควรแล้ว”

เวทนาปญโฺ ห ปญจฺ โม ฯ
จบเวทนาปญั หาข้อท่ี ๕

________

๖. นามรปู เอกตตฺ นานตฺตปญฺห
๖. นามรูปเอกตั ตนานตั ตปัญหา
ปัญหาว่าดว้ ยความเป็นอันหนง่ึ อันเดียวกัน หรอื ความเป็นคนละอยา่ งกันแห่งนามรปู
[๖] ราชา อาห ‘‘ภนฺเต นาคเสน โก ปฏสิ นทฺ หตี’’ติ ?
[๖] พระราชาตรสั วา่ “พระคณุ เจา้ นาคเสน ใครกัน ย่อมปฏสิ นธิ ?”
เถโร อาห ‘‘นามรปู ํ โข มหาราช ปฏสิ นทฺ หต’ี ’ติ ฯ
พระเถระถวายวสิ ัชนาวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร นามรปู แล ยอ่ มปฏิสนธิ”
‘‘ก ึ อมิ เํ ยว นามรูปํ ปฏสิ นทฺ หตี’’ติ ?
พระเจ้ามิลินทต์ รสั ถามว่า “นามรูปน้นี แ่ี หละหรือ ยอ่ มปฏิสนธิ ?”
‘‘น โข มหาราช อมิ ํเยว นามรูป ํ ปฏสิ นทฺ หต,ิ อมิ นิ า ปน มหาราช นามรเู ปน
กมมฺ ํ กโรต ิ โสภนํ วา ปาปก ํ วา, เตน กมเฺ มน อ ฺ ํ นามรูปํ ปฏิสนฺทหต’ี ’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร หาใชน่ ามรปู นน้ี แี่ หละ ย่อม
ปฏสิ นธิไม่ ขอถวายพระพร บุคคลย่อมท�ำกรรมดีบ้าง ชัว่ บา้ ง ดว้ ยนามรูปนี้ นามรปู อืน่
จึงปฏิสนธเิ พราะกรรมนน้ั ”

110 มลิ ินทปัญหาปกรณ์แปล [๒.มิลนิ ทปัญห

‘‘ยทิ ภนฺเต น อมิ เํ ยว นามรปู ํ ปฏสิ นทฺ หติ, นนุ โส มตุ ฺโต ภวิสสฺ ติ ปาปเกห ิ
กมฺเมหี’’ติ ?
พระเจา้ มิลนิ ทต์ รัสว่า “พระคณุ เจา้ ถ้าหากว่านามรูปนนี้ แ่ี หละมไิ ดป้ ฏิสนธไิ ซร้ บุคคล
ผู้นั้นจักเปน็ ผพู้ น้ จากกรรมชว่ั ท้งั หลายได้ มใิ ชห่ รอื ?”
เถโร อาห ‘‘ยทิ น ปฏสิ นฺทเหยยฺ , มตุ โฺ ต ภเวยยฺ ปาปเกหิ กมเฺ มหิ ฯ ยสฺมา จ
โข มหาราช ปฏสิ นฺทหต,ิ ตสมฺ า น มตุ ฺโต ปาปเกหิ กมฺเมหี’’ติ ฯ
พระเถระถวายวิสชั นาว่า “ถ้าหากนามรปู ไม่อาจปฏสิ นธไิ ดไ้ ซร้ เขาก็พึงเปน็ ผู้พน้ จาก
กรรมชั่วทั้งหลาย ขอถวายพระพรมหาบพติ ร แตเ่ พราะเหตทุ ่นี ามรปู ย่อมปฏสิ นธิ เพราะเหตุ
นัน้ เขาจึงไม่สามารถทจ่ี ะหลุดพน้ จากกรรมชวั่ ทงั้ หลายได”้
‘‘โอปมฺมํ กโรห’ี ’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ ินทต์ รสั ว่า “ขอทา่ นช่วยท�ำอุปมาใหห้ นอ่ ยทเี ถอะ”
‘‘ยถา มหาราช โกจิเทว ปรุ ิโส อ ฺ ตรสสฺ ปุริสสฺส อมฺพํ อวหเรยฺย, ตเมน ํ
อมพฺ สามโิ ก คเหตวฺ า ร โฺ ทสเฺ สยฺย ‘อมิ ินา เทว ปุรเิ สน มยหฺ ํ อมพฺ า อวหฏา’ติ, โส
เอวํ วเทยยฺ ‘นาห ํ เทว อิมสฺส อมเฺ พ อวหราม,ิ อ เฺ เต อมพฺ า, เย อมิ ินา โรปิตา,
อ เฺ เต อมพฺ า, เย มยา อวหฏา, นาห ํ ทณฑฺ ปฺปตโฺ ต’ติ ฯ กนิ นฺ ุ โข โส มหาราช
ปรุ โิ ส ทณฑฺ ปปฺ ตฺโต ภเวยฺยา’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร เปรียบเหมือนวา่ บรุ ษุ คน
หน่งึ ขโมยผลมะม่วงของบรุ ษุ คนใดคนหนึง่ ไป บุรุษผู้เป็นเจา้ ของมะมว่ งจงึ จบั เอาบุรุษคนนนั้
ไปแสดงแกพ่ ระราชา กราบทลู วา่ ‘ข้าแต่พระองค์ผู้ทรงเปน็ สมมตุ เิ ทพ นายคนนข้ี โมยผล
มะมว่ งของข้าพระองค์ พระเจา้ ขา้ ’ บุรษุ ผขู้ โมยผลมะมว่ งนน้ั จึงกราบทูลว่า ‘ข้าแต่พระองค์
ผู้ทรงเปน็ สมมตุ ิเทพ ข้าพระองค์มไิ ด้ขโมยผลมะมว่ งของนายคนนี้ ผลมะม่วงทน่ี ายคนนเี้ พาะ
ปลกู เปน็ ผลมะม่วงอน่ื ผลมะมว่ งที่ข้าพระองค์เก็บมาเปน็ ผลมะมว่ งอืน่ ขา้ พระองค์ไม่นา่ เป็น
ผูต้ ้องรับโทษ พระเจา้ ขา้ ’ ดังนี้ ขอถวายพระพรมหาบพิตร บุรุษผขู้ โมยผลมะม่วงนัน้ พึงเปน็ ผู้
ตอ้ งรบั โทษหรอื ไมห่ นอ ?”
‘‘อาม ภนฺเต ทณฺฑปปฺ ตโฺ ต ภเวยยฺ า’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลินทต์ รัสวา่ “ใช่ พระคณุ เจ้า เขาพงึ เป็นผูต้ ้องรบั โทษ”

กณั ฑ์] ๒.๒ อัทธานวรรค 111

‘‘เกน การเณนา’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “เพราะเหตุอะไรหรอื จงึ ตอ้ งรับโทษ ?”
‘‘กิ จฺ าป ิ โส เอว ํ วเทยฺย, ปรุ ิม ํ ภนเฺ ต อมพฺ ํ อปปฺ จจฺ กฺขาย ปจฉฺ ิเมน อมเฺ พน โส
ปรุ ิโส ทณฑฺ ปปฺ ตฺโต ภเวยฺยา’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลินทต์ รัสว่า “บรุ ุษผู้ขโมยมะม่วงนัน้ อาจกล่าวอย่างนไี้ ด้ก็จรงิ อยู่ พระคุณเจ้า
ผู้เจรญิ ถึงกระน้นั บุรษุ ผู้นน้ั บอกปดั ผลมะม่วงกอ่ นมไิ ดห้ รอก ควรเปน็ ผตู้ ้องรับโทษ เพราะ
มะม่วงผลหลัง”
‘‘เอวเมว โข มหาราช อมิ นิ า นามรเู ปน กมมฺ ํ กโรต ิ โสภน ํ วา ปาปก ํ วา, เตน
กมฺเมน อ ฺ ํ นามรูปํ ปฏิสนฺทหต,ิ ตสมฺ า น มุตฺโต ปาปเกห ิ กมฺเมห’ี ’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร กเ็ หมือนกนั อย่างนัน้ นั่น
แหละ บคุ คลยอ่ มท�ำกรรมดีบา้ ง ชั่วบ้าง ดว้ ยนามรูปนี้ นามรูปอืน่ จงึ ปฏสิ นธิเพราะกรรมน้ัน
เพราะฉะนัน้ จึงไมส่ ามารถที่จะรอดพ้นจากกรรมชัว่ ทั้งหลายไดเ้ ลย”
‘‘ภยิ โฺ ย โอปมฺมํ กโรห’ี ’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ นิ ท์ตรสั ว่า “ขอทา่ นจงช่วยอปุ มาให้ยง่ิ ขน้ึ อีกหนอ่ ยเถิด”
‘‘ยถา มหาราช โกจิเทว ปุริโส อ ฺ ตรสสฺ ปรุ สิ สสฺ สาล ึ อวหเรยฺย… เป.… อุจฉฺ ุํ
อวหเรยฺย… เป.… ยถา มหาราช โกจ ิ ปรุ ิโส เหมนตฺ กาเล อคคฺ ึ ชาเลตวฺ า วิสิพเฺ พตวฺ า
อวิชฺฌาเปตวฺ า ปกฺกเมยฺย, อถ โข โส อคฺค ิ อ ฺ ตรสฺส ปรุ ิสสฺส เขตฺตํ ฑเหยยฺ , ตเมนํ
เขตตฺ สามโิ ก คเหตวฺ า ร โฺ ทสฺเสยฺย ‘อิมนิ า เทว ปุริเสน มยหฺ ํ เขตฺต ํ ทฑฒฺ นฺ’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร เปรียบเหมอื นวา่ บรุ ุษคน
ไรๆ พงึ ลักขโมยข้าวสาลีของบุรษุ คนใดคนหนงึ่ ฯลฯ พึงลักขโมยอ้อย ฯเลฯ ขอถวายพระพร
บรุ ษุ คนไรๆ จุดไฟในฤดหู นาวแลว้ ผิงไฟ ไม่ดับไฟกอ่ น พงึ หลีกไป, โดยทแี่ ทแ้ ล ไฟนนั้ พงึ
ไหมน้ าของบุรษุ คนใดคนหน่งึ , เจ้าของนาจึงจับเอาตัวบรุ ษุ นั้นไว้ แล้วพงึ แสดงแก่พระราชาวา่
“ข้าแตพ่ ระองคผ์ ทู้ รงเปน็ สมมุติเทพ บุรษุ คนนเี้ ผานาของข้าพระองค์”

112 มิลนิ ทปัญหาปกรณแ์ ปล [๒.มลิ นิ ทปญั ห

โส เอว ํ วเทยฺย ‘นาหํ เทว อมิ สฺส เขตตฺ ํ ฌาเปมิ, อ ฺโ โส อคคฺ ,ิ โย มยา
อวิชฺฌาปโิ ต, อ โฺ โส อคคฺ ิ, เยนมิ สสฺ เขตตฺ ํ ทฑฒฺ ํ, นาหํ ทณฑฺ ปฺปตโฺ ต’ติ ฯ กนิ นฺ ุ โข
โส มหาราช ปุรโิ ส ทณฺฑปฺปตโฺ ต ภเวยยฺ า’’ติ ?
บรุ ุษผนู้ ั้นจงึ กราบทูลอย่างน้ีวา่ ‘ข้าแต่พระองคผ์ ทู้ รงเปน็ สมมุตเิ ทพ ข้าพระองคไ์ มไ่ ด้
เผานาของคนนี้ ไฟน้นั อีกกองหนึง่ ไฟทข่ี ้าพระองคม์ ไิ ดด้ ับใด ไฟนน้ั ก็เปน็ ไฟอีกกองหนึง่
บุคคลใดเผานาของบุรุษน้ี ข้าพระองคม์ ติ อ้ งรบั โทษ’ ดังนี้ ขอถวายพระพรมหาบพติ ร บุรษุ
ผ้เู ผานัน้ พึงเปน็ ผ้ตู อ้ งรบั โทษหรอื ไมห่ นอ ?”
‘‘อาม ภนฺเต ทณฑฺ ปฺปตฺโต ภเวยยฺ า’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ นิ ท์ตรัสว่า “ใช่ พระคุณเจา้ เขาพงึ เปน็ ผตู้ อ้ งรับโทษ”
‘‘เกน การเณนา’’ติ ?
พระนาคเสนถามวา่ “เพราะเหตุอะไรหรือ ?”
‘‘กิ ฺจาปิ โส เอวํ วเทยยฺ , ปรุ มิ ํ ภนฺเต อคคฺ ึ อปปฺ จจฺ กฺขาย ปจฺฉเิ มน อคฺคินา โส
ปรุ ิโส ทณฑฺ ปฺปตฺโต ภเวยฺยา’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ ินท์ตรสั วา่ “บรุ ุษผ้เู ผานน้ั อาจกลา่ วอยา่ งนี้ไดก้ ็จริงอยู่ พระคุณเจ้าผเู้ จริญ
ถึงกระนนั้ บรุ ษุ ผู้เผาน้ันบอกปัดไฟกอ่ นมไิ ด้หรอก ควรเป็นผู้ตอ้ งรับโทษ เพราะไฟหนหลงั ”
‘‘เอวเมว โข มหาราช อิมินา นามรูเปน กมฺม ํ กโรติ โสภน ํ วา ปาปก ํ วา, เตน
กมฺเมน อ ฺ ํ นามรปู ํ ปฏสิ นฺทหต,ิ ตสฺมา น มุตโฺ ต ปาปเกหิ กมเฺ มห’ี ’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร กเ็ หมือนกันอย่างน้ันน่นั
แหละ บคุ คลย่อมท�ำกรรมดบี ้าง ช่วั บา้ ง ดว้ ยนามรูปนี้ นามรปู อนื่ จึงปฏิสนธิเพราะกรรมนั้น
เพราะฉะน้ัน จึงไม่อาจเปน็ ผู้รอดพน้ จากกรรมชั่วทง้ั หลายไดเ้ ลย”
‘‘ภิยฺโย โอปมมฺ ํ กโรห’ี ’ติ ฯ
พระเจ้ามิลนิ ท์ตรัสวา่ “ขอท่านจงช่วยอุปมาใหย้ งิ่ ข้ึนอกี หนอ่ ยเถิด”
‘‘ยถา มหาราช โกจิเทว ปรุ ิโส ปทีปํ อาทาย ปาสาทํ อภริ ูหิตวฺ า ภ ุ เฺ ชยยฺ ,
ปทีโป ฌายมาโน ติณ ํ ฌาเปยฺย, ติณํ ฌายมานํ ฆรํ ฌาเปยฺย, ฆร ํ ฌายมาน ํ คามํ
ฌาเปยฺย, คามชโน ตํ ปุริสํ คเหตฺวา เอว ํ วเทยฺย ‘กิสสฺ ตฺว ํ โภ ปรุ สิ คาม ํ ฌาเปสี’ติ,
โส เอว ํ วเทยยฺ ‘นาหํ โภ คามํ ฌาเปมิ, อ ฺโ โส ปทีปคฺค,ิ ยสสฺ าห ํ อาโลเกน ภุ ชฺ ,ึ

กณั ฑ]์ ๒.๒ อทั ธานวรรค 113

อ โฺ โส อคฺค,ิ เยน คาโม ฌาปิโต’ติ, เต วิวทมานา ตว สนตฺ ิเก อาคจเฺ ฉยฺยํ,ุ กสฺส
ตวฺ ํ มหาราช อฏฺฏํ ธาเรยฺยาสี’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร เปรียบเหมือนวา่ บรุ ุษคน
หน่ึง พงึ ถอื ประทีปกา้ วยา่ งขึน้ ปราสาท แลว้ บรโิ ภคอาหาร ประทปี ทล่ี ุกติดอยกู่ ไ็ ปเผาเอาหญ้า
เข้า หญ้าทีล่ กุ ตดิ อย่กู ไ็ ปเผาเอาเรอื นเขา้ เรอื นทลี่ กุ ติดอยู่ กไ็ ปเผาเอาละแวกบ้านเขา้ ชาว
บ้านจึงจับเอาตัวบรุ ษุ น้นั ไวแ้ ลว้ พึงกลา่ วอย่างนีว้ ่า ‘นาย ท�ำไมคณุ จงึ เผาละแวกบ้านเสียละ ?’
บุรุษผูน้ นั้ จงึ กลา่ วอยา่ งน้วี ่า ‘นายทา่ น ผมไม่ได้เผาละแวกบ้าน ไฟประทีปทผ่ี มไดอ้ าศยั แสง
สวา่ งกนิ ขา้ วเป็นไฟอีกกองหนง่ึ ไฟทเี่ ผาละแวกบ้านก็เป็นไฟอีกกองหน่งึ ’ ดังน้ี คนเหลา่ น้นั
ทะเลาะกนั พากันมาทสี่ �ำนักงานของพระองค์ ขอถวายพระพร พระองค์ควรทจี่ ะยอมรบั
ค�ำฟอ้ งของใคร ?”
‘‘คามชนสสฺ ภนฺเต’’ติ ฯ
พระเจา้ มิลนิ ทต์ รัสวา่ “ของชาวบา้ น พระคุณเจา้ ”
‘‘กึการณา’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรถามวา่ “เพราะเหตุอะไร”
‘‘กิ จฺ าป ิ โส เอวํ วเทยยฺ , อปจิ ตโต เอว โส อคฺค ิ นพิ พฺ ตโฺ ต’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ นิ ทต์ รสั ว่า “บุรษุ นัน้ อาจจะกล่าวอย่างน้ไี ดก้ ็จริง แตท่ วา่ ไฟนัน้ ก็บังเกิดจาก
ไฟประทปี น้ันนน่ั แหละ”
‘‘เอวเมว โข มหาราช กิ ฺจาปิ อ ฺ ํ มารณนฺติก ํ นามรปู ,ํ อ ฺ ํ ปฏิสนฺธิสมฺ ึ
นามรปู ,ํ อปิจ ตโตเยว ตํ นิพฺพตฺต,ํ ตสมฺ า น มุตฺโต ปาปเกห ิ กมเฺ มหี’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร กเ็ หมอื นกนั อย่างน้นั นน่ั
แหละ, นามรปู อันมีความตายเปน็ ทสี่ ดุ (กอ่ นตาย) ก็สว่ นหนึ่ง นามรูปในคราวปฏิสนธิก็เปน็
อีกสว่ นหน่งึ อกี อย่างหนึง่ นามรปู (ในคราวปฏิสนธ)ิ น้นั ก็บังเกดิ จากนามรปู อันมคี วามตาย
เปน็ ท่ีสุด(ก่อนตาย)น้นั นนั่ แหละ เพราะฉะนั้น จงึ ไมอ่ าจเป็นผ้รู อดพน้ จากกรรมชว่ั ทง้ั หลาย
ได”้
‘‘ภยิ โฺ ย โอปมฺม ํ กโรห’ี ’ติ ฯ
พระเจ้ามิลินท์ตรสั ว่า “ขอทา่ นจงช่วยอุปมาให้ยง่ิ ขนึ้ อกี หนอ่ ยเถดิ ”

114 มิลนิ ทปัญหาปกรณ์แปล [๒.มลิ นิ ทปัญห

‘‘ยถา มหาราช โกจิเทว ปุริโส ทหร ึ ทารกิ ํ วาเรตฺวา สงุ ฺกํ ทตฺวา ปกกฺ เมยฺย ฯ
สา อปเรน สมเยน มหต ี อสฺส วยปปฺ ตฺตา, ตโต อ ฺโ ปรุ ิโส สุงกฺ ํ ทตฺวา วิวาหํ กเรยฺย,
อติ โร อาคนตฺ ฺวา เอว ํ วเทยฺย ‘กสิ ฺส ปน เม ตวฺ ํ อมโฺ ภ ปรุ ิส ภริย ํ เนสี’ติ ? โส เอว ํ
วเทยยฺ ‘นาหํ ตว ภรยิ ํ เนม,ิ อ ฺ า สา ทารกิ า ทหร ี ตรุณี, ยา ตยา วารติ า จ
ทนิ นฺ สงุ กฺ า จ, อ ฺ ายํ ทารกิ า มหตี วยปปฺ ตตฺ า มยา วารติ า จ ทนิ ฺนสุงฺกา จา’ติ, เต
วิวทมานา ตว สนฺตเิ ก อาคจเฺ ฉยยฺ ํุ ฯ กสฺส ตฺว ํ มหาราช อฏฺฏํ ธาเรยฺยาส’ี ’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร เปรยี บเหมือนวา่ บรุ ุษคน
หนง่ึ ส่ขู อเดก็ หญงิ หม้นั แลว้ ก็หลกี ไปเสีย ในสมยั ต่อมา เดก็ ผู้หญงิ นนั้ กถ็ งึ วยั เปน็ ผใู้ หญ่, ตอ่
มากม็ ีบรุ ษุ อีกคนหนึง่ มาหมน้ั แลว้ ท�ำการววิ าห์ บรุ ุษคนกอ่ นนกี้ ลบั มาแล้วกล่าวอยา่ งน้วี า่ ‘นี่
แนะ่ นาย เพราะเหตอุ ะไร คุณจงึ พาภรรยาของผมไปเสยี เลา่ ’ ดังน้ี บรุ ุษคนหลงั น้นั จึงกล่าว
อยา่ งนีว้ า่ ‘ผมมไิ ด้พาภรรยาของคุณไปหรอก เดก็ หญงิ วยั รนุ่ ท่คี ุณสู่ขอและหมน้ั ไว้น้ันเปน็ อีก
คนหน่ึง เด็กหญิงทถี่ งึ วัยเป็นผ้ใู หญ่แล้ว ผมสขู่ อและหมน้ั แลว้ นก้ี เ็ ปน็ อกี คนหน่ึง’ ดงั น้ี คนท้ัง
๒ นนั้ ทะเลาะกัน พากันมาทีส่ �ำนักงานของพระองค์ ขอถวายพระพร พระองคค์ วรท่ีจะยอมรบั
ค�ำฟอ้ งของใคร ?”
‘‘ปรุ มิ สสฺ ภนฺเต’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ ินท์ตรสั วา่ “ของบุรษุ คนกอ่ น พระคุณเจา้ ”
‘‘กึการณา’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรถามวา่ “เพราะเหตอุ ะไร ?”
‘‘ก ิ จฺ าป ิ โส เอวํ วเทยยฺ , อปจิ ตโตเยว สา มหตี นิพพฺ ตตฺ า’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลินท์ตรัสวา่ “บรุ ุษคนท่ี ๒ นั้น อาจกลา่ วอยา่ งนไ้ี ดก้ ็จริง ถงึ อย่างน้นั หญิงที่
เป็นผูใ้ หญน่ ั้น กบ็ งั เกดิ จากเด็กผ้หู ญิงน้นั น่นั แหละ”
‘‘เอวเมว โข มหาราช ก ิ จฺ าปิ อ ฺ ํ มารณนตฺ กิ ํ นามรูป,ํ อ ฺ ํ ปฏสิ นธฺ สิ ฺมึ
นามรปู ,ํ อปจิ ตโตเยว ต ํ นพิ พฺ ตฺตํ, ตสมฺ า น ปริมตุ ฺโต ปาปเกหิ กมฺเมหี’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร ก็เหมือนกันอย่างน้ันน่ัน
แหละ นามรปู อันมคี วามตายเป็นท่ีสดุ (กอ่ นตาย)ก็เปน็ สว่ นหนึ่ง นามรปู ในคราวปฏิสนธิกเ็ ป็น
อีกส่วนหน่งึ ก็จริงอยู่ ถงึ อย่างนัน้ นามรูปในคราวปฏิสนธนิ ้ัน กบ็ งั เกดิ มาจากนามรปู อนั มี

กัณฑ]์ ๒.๒ อทั ธานวรรค 115

ความตายเป็นท่ีสดุ (ก่อนตาย)นน้ั นนั่ แหละ เพราะฉะนนั้ จงึ ไม่อาจเปน็ ผู้รอดพน้ จากกรรมช่วั
ทง้ั หลายไดเ้ ลย”
‘‘ภิยโฺ ย โอปมฺมํ กโรหี’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ ินทต์ รัสว่า “ขอท่านจงช่วยอุปมาให้ย่ิงขึ้นอกี หนอ่ ยเถิด”
‘‘ยถา มหาราช โกจเิ ทว ปุริโส โคปาลกสสฺ หตถฺ โต ขรี ฆฏํ กณิ ิตวฺ า ตสฺเสว
หตเฺ ถ นิกขฺ ปิ ิตวฺ า ปกกฺ เมยยฺ ‘เสวฺ คเหตวฺ า คมสิ สฺ าม’ี ติ, ต ํ อปรชฺชุ ทธิ สมปฺ ชเฺ ชยยฺ ,
โส อาคนตฺ ฺวา เอวํ วเทยฺย ‘เทหิ เม ขีรฆฏน’ฺ ติ ฯ โส ทธ ึ ทสเฺ สยฺย ฯ อติ โร เอวํ วเทยยฺ
‘นาห ํ ตว หตฺถโต ทธ ึ กิณามิ, เทห ิ เม ขีรฆฏนฺ’ติ ฯ โส เอวํ วเทยฺย ‘อชานโต เต
ขรี ํ ทธิภตู นฺ’ติ, เต ววิ ทมานา ตว สนตฺ เิ ก อาคจฺเฉยฺยํ,ุ กสสฺ ตฺวํ มหาราช อฏฺฏ ํ
ธาเรยยฺ าส’ี ’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร เปรยี บเหมือนบุรษุ คนหนึ่ง
ซอื้ นมสดหมอ้ หนึ่งจากมอื ของคนเลยี้ งโค ยงั คงวางหมอ้ นมสดไวใ้ นมอื ของคนเล้ยี งโคนั้นน่นั
แหละ พร้อมกบั พดู ว่า ‘พรุ่งนี้ ผมจะมารบั เอาไป’ ดงั นี้ แล้วก็หลีกไป วนั ตอ่ มา นมสดหม้อนัน้
กก็ ลายเปน็ นมส้มไป บรุ ษุ คนนน้ั มาแล้วกล่าวอยา่ งน้วี า่ ‘ทา่ นจงเอาหม้อนมสดมาให้ผม’ ดงั น้ี
คนเลี้ยงโคนั้นกแ็ สดงนมสม้ ไป. บุรษุ คนนอกนี้ก็กลา่ วอย่างนี้ว่า ‘ผมมไิ ดซ้ อื้ นมส้มจากมอื ของ
คณุ จงเอาหมอ้ นมสดมาให้ผมเถดิ ’ ดงั นี้. นายคนเลยี้ งโคนัน้ จงึ กล่าวอยา่ งนว้ี า่ ‘นมสดของ
ทา่ นผูไ้ ม่รอู้ ะไร กลายเป็นนมสม้ ไปแล้ว’ คนท้ัง ๒ ทะเลาะกัน พากันมาทส่ี �ำนกั งานของ
พระองค์ ขอถวายพระพร พระองคค์ วรทจ่ี ะยอมรับค�ำฟ้องของใคร ?”
‘‘โคปาลกสฺส ภนฺเต’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลินทต์ รัสวา่ “ของคนเล้ียงโค พระคุณเจา้ ”
‘‘กึการณา’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรถามว่า “เพราะเหตุอะไร ?”
‘‘กิ จฺ าปิ โส เอวํ วเทยฺย, อปิจ ตโตเยว ตํ นิพพฺ ตตฺ นฺ’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลนิ ทต์ รัสว่า “บรุ ุษคนนน้ั อาจกลา่ วอยา่ งน้ีได้ก็จรงิ แตถ่ ึงอย่างนัน้ นมส้มนัน้ ก็
บังเกดิ มาจากนมสดน้ันนัน่ เอง”

116 มิลินทปัญหาปกรณ์แปล [๒.มลิ ินทปัญห

‘‘เอวเมว โข มหาราช กิ จฺ าป ิ อ ฺ ํ มารณนตฺ ิก ํ นามรปู ํ, อ ฺ ํ ปฏิสนฺธิสฺม ึ
นามรูป,ํ อปิจ ตโตเยว ตํ นิพฺพตตฺ ,ํ ตสฺมา น ปริมตุ โฺ ต ปาปเกห ิ กมเฺ มหี’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร ก็เหมอื นกันอย่างนนั้ นัน่
แหละ นามรปู อนั มคี วามตายเปน็ ที่สุด(กอ่ นตาย)กเ็ ปน็ ส่วนหนง่ึ นามรปู ในคราวปฏสิ นธิ ก็เปน็
อกี สว่ นหน่งึ กจ็ รงิ อยู่ แต่ถงึ อย่างนนั้ นามรปู ในคราวปฏสิ นธินนั้ ก็บงั เกดิ มาจากนามรปู อนั มี
ความตายเปน็ ท่ีสดุ (ก่อนตาย)น้ันนั่นเอง เพราะฉะนน้ั จงึ ไมส่ ามารถจะเป็นผรู้ อดพ้นจากกรรม
ช่วั ทัง้ หลายได้เลย”

‘‘กลฺโลสิ ภนฺเต นาคเสนา’’ติ ฯ
พระเจา้ มิลนิ ท์ตรัสวา่ “พระคุณเจา้ นาคเสน ทา่ นตอบสมควรแล้ว”

นามรปู เอกตฺตนานตตฺ ปญโฺ ห ฉฏฺโ€ ฯ
จบนามรปู เอกตั ตนานตั ตปัญหาขอ้ ท่ี ๖

________

๗. เถรปฏสิ นฺทหนาปฏสิ นฺทหนปญหฺ
๗. เถรปฏสิ นั ทหนาปฏสิ นั ทหนปัญหา
ปัญหาวา่ ดว้ ยการปฏสิ นธหิ รือไม่ปฏิสนธแิ หง่ พระเถระ
[๗] ราชา อาห ‘‘ภนฺเต นาคเสน ตฺวํ ปน ปฏิสนทฺ หสิ สฺ ส’ี ’ติ ?
[๗] พระราชาตรัสว่า “พระคณุ เจ้านาคเสน ทา่ นจะปฏิสนธิอีกหรือไม่ ?”

‘‘อลํ มหาราช กึ เต เตน ปุจฺฉิเตน, นนุ มยา ปฏิกจเฺ จว อกขฺ าตํ ‘สเจ มหาราช
สอปุ าทาโน ภวสิ สฺ าม,ิ ปฏิสนทฺ หสิ สฺ ามิ, สเจ อนปุ าทาโน ภวิสสฺ ามิ, น ปฏิสนฺทหิสฺสามี’’ติฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร อย่าเลย ประโยขน์อะไรดว้ ย
ค�ำที่พระองค์ตรัสถามนน้ั เล่า, อาตมภาพได้ถวายวสิ ชั นาเจาะจงทีเดียวไปวา่ ‘มหาบพิตร ถา้
หากวา่ อาตมภาพยงั มอี ุปาทานอยู่ อาตมภาพก็จะปฏสิ นธิอกี ถา้ หากว่าอาตมภาพไมม่ ี
อปุ าทาน อาตมภาพก็จะไม่ปฏิสนธอิ ีก’ ดังนี้ มิใชห่ รือ ?”

‘‘โอปมฺม ํ กโรห’ี ’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ ินทต์ รสั ว่า “ขอทา่ นจงชว่ ยอปุ มาใหห้ นอ่ ยเถอะ”

กณั ฑ]์ ๒.๒ อัทธานวรรค 117

‘‘ยถา มหาราช โกจเิ ทว ปุรโิ ส ร โฺ อธิการ ํ กเรยยฺ , ราชา ตุฏฺโ อธิการ ํ
ทเทยยฺ , โส เตน อธิกาเรน ป ฺจหิ กามคเุ ณห ิ สมปฺปโิ ต สมงคฺ ภิ ูโต ปริจเรยยฺ , โส เจ
ชนสสฺ อาโรเจยฺย ‘น เม ราชา ก ิ ฺจ ิ ปฏกิ โรตี’ติ ฯ กินนฺ ุ โข โส มหาราช ปรุ ิโส
ยุตตฺ การี ภเวยฺยา’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร เปรียบเหมือนว่า บุรุษคน
หนง่ึ พงึ ท�ำการทะนุบ�ำรงุ พระราชา พระราชาทรงยนิ ดแี ลว้ กท็ รงให้การทะนุบ�ำรงุ แก่เขา เขา
เปน็ ผ้เู อิบอมิ่ เพยี บพรอ้ ม บ�ำรุงบ�ำเรออยูด่ ว้ ยกามคุณทงั้ ๕ เพราะการทะนบุ �ำรุงนั้น หากว่า
เขาพงึ บอกแกช่ นวา่ ‘พระราชามิไดท้ รงกระท�ำตอบแทนอะไร ๆ แกเ่ ราหรอก’ ดังนีไ้ ซร้ ขอ
ถวายพระพร บรุ ษุ ผ้นู ้ัน ช่อื วา่ พงึ เปน็ ผูท้ �ำสมควรแลว้ หรือไม่ ?”
‘‘น หิ ภนเฺ ต’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ ินทต์ รสั วา่ “ไม่สมควรหรอก พระคณุ เจ้า”
‘‘เอวเมว โข มหาราช ก ึ เต เตน ปุจฉฺ ิเตน, นนุ มยา ปฏกิ จฺเจว อกขฺ าตํ ‘สเจ
สอุปาทาโน ภวสิ ฺสาม,ิ ปฏสิ นทฺ หิสฺสาม,ิ สเจ อนุปาทาโน ภวสิ สฺ าม,ิ น ปฏสิ นฺทหสิ สฺ ามี’’ตฯิ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร กเ็ หมอื นกันอย่างนัน้ น่ัน
แหละ ประโยชน์อะไรด้วยค�ำทพ่ี ระองค์ตรัสถามนนั้ เล่า อาตมภาพได้กลา่ วเจาะจงทเี ดยี วแลว้
ว่า ‘ถา้ หากว่าอาตมภาพยังมีอปุ าทานอยู่ อาตมภาพกจ็ ะปฏิสนธอิ ีก ถ้าหากอาตมภาพไมม่ ี
อปุ าทานแลว้ อาตมภาพก็จะไม่ปฏิสนธิอกี ’ ดังนี้ มใิ ช่หรอื ?”
‘‘กลฺโลส ิ ภนเฺ ต นาคเสนา’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ นิ ทต์ รสั ว่า “พระคณุ เจ้านาคเสน ทา่ นตอบสมควรแลว้ ”

เถรปฏสิ นทฺ หนาปฏิสนทฺ หนปญโฺ ห สตตฺ โม ฯ
จบเถรปฏิสันทหนาปฏิสันทหนปญั หาข้อท่ี ๗

________

118 มลิ นิ ทปัญหาปกรณแ์ ปล [๒.มลิ นิ ทปญั ห

๘. นามรูปปฏิสนทฺ หนปญฺห
๘. นามรูปปฏสิ นั ทหนปญั หา
ปัญหาวา่ ด้วยการปฏสิ นธขิ องนามรูป
[๘] ราชา อาห ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน ยํ ปเนต ํ พฺรสู ิ ‘นามรูปน’ฺ ต,ิ ตตถฺ กตมํ นาม,ํ
กตม ํ รูปน”ฺ ติ ฯ
[๘] พระราชาตรสั วา่ “พระคุณเจา้ นาคเสน ในค�ำทท่ี า่ นกลา่ วว่า ‘นามรปู ’ นี้ อะไรคือ
นาม อะไร คือ รปู ?”
‘‘ย ํ ตตถฺ มหาราช โอฬาริก,ํ เอต ํ รูป,ํ เย ตตถฺ สขุ มุ า จิตฺตเจตสิกา ธมฺมา, เอต ํ
นามนฺ”ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร ในค�ำวา่ ‘นามรูป’ นัน้
ธรรมชาตทิ ่หี ยาบ คือรปู ในค�ำว่า ‘นามรปู ’ น้ัน จิตและเจตสิกธรรมท้งั หลาย อันเปน็ ธรรมชาติ
ทล่ี ะเอียด คอื นาม”
‘‘ภนเฺ ต นาคเสน เกน การเณน นามํเยว น ปฏสิ นฺทหต,ิ รูปเํ ยว วา’’ติ ?
พระเจ้ามลิ ินทต์ รสั ว่า “พระคณุ เจา้ นาคเสน เพราะเหตุอะไร นามเพยี งอยา่ งเดียว
ปฏสิ นธไิ ม่ได้ หรอื รปู เพยี งอย่างเดียว กป็ ฏิสนธิไมไ่ ดเ้ ลา่ ?”
‘‘อ ฺ ม ฺ ปู นสิ ฺสิตา มหาราช เอเต ธมฺมา เอกโตว อุปฺปชชฺ นตฺ ’ี ’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร ธรรมเหล่าน้ีองิ อาศยั กนั
และกนั ย่อมเกดิ ขนึ้ พรอ้ มกนั แน่นอน”
‘‘โอปมมฺ ํ กโรหี’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ นิ ท์ตรัสวา่ “ขอท่านจงชว่ ยอปุ มาให้หน่อยเถอะ”
‘‘ยถา มหาราช กุกกฺ ุฏิยา กลลํ น ภเวยยฺ , อณฺฑมปฺ ิ น ภเวยฺย, ย ฺจ ตตฺถ กลลํ,
ย จฺ อณฺฑ,ํ อุโภเปเต อ ฺ ม ฺ ูปนสิ ฺสติ า, เอกโต เนส ํ อปุ ฺปตฺติ โหติ ฯ เอวเมว โข
มหาราช ยทิ ตตฺถ นาม ํ น ภเวยฺย, รปู มฺปิ น ภเวยฺย, ย ฺเจว ตตถฺ นาม,ํ ย เฺ จว รปู ํ,
อุโภเปเต อ ฺ ม ฺ ปู นสิ ฺสติ า, เอกโตว เนสํ อุปปฺ ตฺติ โหติ ฯ เอวเมต ํ ทฆี มทฺธาน ํ
สนฺธาวติ น”ฺ ติ ฯ

กัณฑ]์ ๒.๒ อทั ธานวรรค 119

พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร ถ้าน�ำ้ กลละ(ตัวออ่ นแรก
เกิด) ของแม่ไกไ่ ม่มี แม้เยอื่ ไข่ ก็ไมม่ ี ในสง่ิ ทง้ั ๒ นัน้ ตวั อ่อนกด็ ี เยอื่ ไข่กด็ ี สง่ิ ท้งั ๒ น้ี องิ
อาศยั ซ่งึ กันและกนั สงิ่ ท้งั ๒ น้ี มีความเกิดข้นึ พรอ้ มกันน่ันแหละ ฉนั ใด ขอถวายพระพร ใน
นามและรูปนน้ั ถา้ นามไมม่ ี แมร้ ูปก็ไม่อาจมไี ด้ ในนามและรปู นน้ั นามก็ดี รูปก็ดี ธรรมท้ัง ๒ น้ี
อิงอาศัยซึ่งกนั และกัน ธรรมทง้ั ๒ นม้ี คี วามเกดิ ข้นึ พร้อมกันแน่นอน, ฉนั นัน้ เหมือนกัน นาม
และรปู นี้ดงั กล่าวมานี้ มีอันแล่นไปตลอดกาลนาน”
‘‘กลโฺ ลส ิ ภนฺเต นาคเสนา’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ นิ ท์ตรัสว่า “พระคุณเจา้ นาคเสน ท่านตอบสมควรแล้ว”

นามรปู ปฏสิ นฺทหนปญฺโห อฏ€ฺ โม ฯ
จบนามรูปปฏสิ นั ทหนปญั หาขอ้ ท่ี ๘

________

๙. อทฺธานปญหฺ
๙. อทั ธานปัญหา
ปัญหาวา่ ดว้ ยกาลนาน
[๙] ราชา อาห ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน ย ํ ปเนต ํ พฺรูส ิ ‘ทฆี มทฺธานนฺ’ติ, กิเมต ํ อทธฺ านํ
นามา’’ติ ?
[๙] พระราชาตรสั ว่า “พระคุณเจ้านาคเสน ค�ำท่ที า่ นกลา่ วว่า ตลอดกาลนานนี้ อะไร
เลา่ ชอื่ ว่าสงิ่ มีกาลนาน (อทั ธานะ) น้ี ?”
‘‘อตีโต มหาราช อทธฺ า, อนาคโต อทฺธา, ปจฺจุปปฺ นโฺ น อทธฺ า’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร ส่งิ ที่ล่วงไปแล้ว ก็ชือ่ ว่าส่งิ ท่ี
มกี าลนาน สงิ่ ท่ียังไม่มาถึง กช็ ่ือวา่ สง่ิ ทีม่ กี าลนาน สง่ิ ทีเ่ กิดขนึ้ เฉพาะหน้า กช็ อื่ วา่ สิง่ ท่มี กี าล
นาน”
‘‘กึ ปน ภนเฺ ต สพฺเพ อทธฺ า อตถฺ ’ี ’ติ ?
พระเจ้ามลิ ินทต์ รสั วา่ “พระคณุ เจา้ ส่ิงทมี่ กี าลนาน ล้วนมีอยู่ทง้ั น้ันหรอื ?”

120 มิลนิ ทปัญหาปกรณ์แปล [๒.มิลนิ ทปัญห

‘‘โกจ ิ มหาราช อทฺธา อตฺถิ, โกจ ิ นตฺถ’ี ’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร สิ่งมีกาลนาน บางอย่างมอี ยู่
ส่งิ มีกาลนาน บางอยา่ งไมม่ อี ย”ู่

‘‘กตโม ปน ภนฺเต อตฺถ,ิ กตโม นตฺถี’’ติ ?
พระเจ้ามิลนิ ทต์ รสั วา่ “พระคณุ เจ้า อะไรช่ือว่าสงิ่ มีกาลนาน มีอยู่ อะไรชื่อวา่ ส่ิงมีกาล
นาน ไมม่ ีอยู่ ?”

‘‘เย เต มหาราช สงขฺ ารา อตตี า วิคตา นริ ุทฺธา วปิ ริณตา, โส อทธฺ า นตถฺ ิ ฯ
เย ธมฺมา วิปากา, เย จ วิปากธมฺมธมฺมา, เย จ อ ฺ ตฺร ปฏิสนฺธ ึ เทนตฺ ,ิ โส อทธฺ า
อตถฺ ิ ฯ เย สตฺตา กาลงกฺ ตา อ ฺ ตฺร อุปปฺ นนฺ า, โส จ อทธฺ า อตถฺ ิ ฯ เย สตฺตา
กาลงกฺ ตา อ ฺ ตฺร อนุปปฺ นนฺ า, โส อทธฺ า นตฺถิ ฯ เย จ สตฺตา ปรินิพฺพตุ า, โส จ อทธฺ า
นตฺถิ ปรนิ พิ ฺพตุ ตฺตา’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร สังขารทง้ั หลายท่ีล่วงไปแล้ว
ไปปราศแลว้ ดบั ไปแลว้ แปรปรวนไปแลว้ เหล่านัน้ ใด นน้ั ชอ่ื วา่ สิ่งมีกาลนาน ไมม่ อี ยู่, วบิ าก
ธรรมทั้งหลายก็ดี ธรรมทใ่ี ห้วิบากท้ังหลายก็ดี ธรรมที่ก�ำลงั ให้ปฏิสนธิในภพอนื่ ๆ อยู่ก็ดี เหลา่
ใด นัน้ ชอื่ ว่ามกี าลนาน มีอยู,่ สัตวท์ ้งั หลายท่ีได้ตายแล้ว เกิดขึน้ ในภพอ่นื ใด นั้น ก็ชื่อว่า สิ่ง
มกี าลนาน มอี ย่,ู สัตว์ทัง้ หลายทไี่ ด้ตายแลว้ ไมเ่ กิดขน้ึ ในภพอน่ื ใด น้นั กช็ ือ่ วา่ สงิ่ มกี าลนาน
ไม่มีอยู่ คือสตั วท์ ั้งหลายผู้ปรนิ ิพพานแล้วเหล่าใด นัน้ ก็ช่อื ว่าสงิ่ มกี าลนาน ไมม่ อี ยู่ เพราะดบั
รอบแลว้ ”

‘‘กลโฺ ลสิ ภนเฺ ต นาคเสนา’’ติ ฯ
พระเจา้ มิลนิ ทต์ รสั ว่า “พระคุณเจา้ นาคเสน ทา่ นตอบสมควรแล้ว”

อทฺธานปญฺโห นวโม ฯ
จบอทั ธานปัญหาขอ้ ท่ี ๙

อทธฺ านวคฺโค ทตุ ิโย ฯ
จบอทั ธานวรรคท่ี ๒
อมิ สฺมึ วคเฺ ค นว ปญหฺ า ฯ
ในวรรคนี้ มปี ัญหา ๙ ขอ้

________

กัณฑ]์ ๒.๓ วจิ ารวรรค 121

๒.๓ วิจารวคฺค
๒.๓ วจิ ารวรรค วรรคว่าด้วยวจิ าร

๑. อทธฺ านมูลปญฺห
๑. อัทธานมูลปัญหา
ปัญหาว่าด้วยมูลเหตุแห่งอัทธานะ
[๑] ราชา อาห ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน อตีตสฺส อทธฺ านสฺส ก ึ มลู ,ํ อนาคตสฺส อทธฺ านสสฺ
กึ มลู ํ, ปจฺจุปฺปนฺนสสฺ อทฺธานสสฺ กึ มลู น”ฺ ติ ?
[๑] พระราชาตรสั ว่า “พระคณุ เจ้านาคเสน อะไรเป็นมูลเหตแุ หง่ อัทธานะ(สิ่งมีกาล)
ฝา่ ยอดีต อะไรเปน็ มลู เหตแุ ห่งอัทธานะฝา่ ยอนาคต อะไรเป็นมูลเหตุแหง่ อัทธานะฝ่ายปัจจุบนั
เลา่ ?”
‘‘อตีตสฺส จ มหาราช อทฺธานสสฺ อนาคตสฺส จ อทธฺ านสสฺ ปจจฺ ุปฺปนฺนสสฺ จ
อทฺธานสสฺ อวชิ ชฺ า มลู ํ ฯ อวิชชฺ าปจฺจยา สงฺขารา, สงขฺ ารปจจฺ ยา วิ ฺ าณ,ํ ว ิ ฺ าณ-
ปจจฺ ยา นามรปู ,ํ นามรปู ปจฺจยา สฬายตน,ํ สฬายตนปจจฺ ยา ผสฺโส, ผสสฺ ปจฺจยา เวทนา,
เวทนาปจฺจยา ตณหฺ า, ตณฺหาปจฺจยา อุปาทาน,ํ อปุ าทานปจฺจยา ภโว, ภวปจจฺ ยา ชาติ,
ชาติปจฺจยา ชรามรณํ โสกปรเิ ทวทกุ ขฺ โทมนสฺสุปายาสา สมฺภวนฺติ ฯ เอวเมตสฺส เกวลสสฺ
ทุกขฺ กฺขนฺธสฺส อทธฺ านสสฺ ปุรมิ า โกฏ ิ น ป ฺ ายตี’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร อวิชชาเป็นมูลเหตุแหง่
อทั ธานะฝา่ ยอดตี แหง่ อัทธานะฝ่ายอนาคต และแหง่ อทั ธานะฝ่ายปจั จุบัน คือว่า เพราะอวชิ ชา
เป็นปัจจัย จึงมสี ังขาร เพราะสังขารเป็นปัจจยั จงึ มีวิญญาณ เพราะวิญญาณเปน็ ปัจจัย จงึ มี
นามรูป เพราะนามรูปเป็นปัจจัย จงึ มีอายตนะ ๖ เพราะอายตนะ ๖ เป็นปจั จยั จงึ มีผัสสะ
เพราะผสั สะเปน็ ปัจจัย จงึ มเี วทนา เพราะเวทนาเป็นปัจจัย จึงมตี ณั หา เพราะตณั หาเป็นปจั จัย
จงึ มอี ุปาทาน เพราะอุปาทานเป็นปัจจัย จงึ มภี พ เพราะภพเปน็ ปจั จัย จึงมชี าติ เพราะชาติ
เปน็ ปจั จัย จึงมีชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทกุ ข์ โทมนสั และอุปายาส ปลายสดุ ขา้ งต้น
แห่งอัทธานะอันเปน็ กองทุกขท์ งั้ ส้ินน่ันตามประการดงั กลา่ วมานี้ ย่อมไมป่ รากฏ”

122 มิลนิ ทปญั หาปกรณแ์ ปล [๒.มิลินทปัญห

‘‘กลโฺ ลส ิ ภนฺเต นาคเสนา’’ติ ฯ
พระเจา้ มิลินทต์ รัสว่า “พระคณุ เจ้านาคเสน ทา่ นตอบสมควรแล้ว”

อทธฺ านมลู ปญโฺ ห ป€โม ฯ
จบอทั ธานมูลปญั หาข้อที่ ๑

________

๒. ปุรมิ โกฏิปญฺห
๒. ปรุ ิมโกฏิปญั หา
ปัญหาว่าดว้ ยปลายสดุ ขา้ งต้น
[๒] ราชา อาห ‘‘ภนฺเต นาคเสน ย ํ ปเนตํ พรฺ ูสิ ‘ปรุ ิมา โกฏ ิ น ป ฺ ายตี’ติ,
ตสฺส โอปมมฺ ํ กโรหี’’ติ ฯ
[๒] พระราชาตรัสวา่ “พระคุณเจา้ นาคเสน ค�ำทที่ า่ นกลา่ ววา่ ปลายสดุ ขา้ งต้นไม่
ปรากฏน้ีใด ขอท่านจงชว่ ยท�ำอปุ มาส�ำหรับค�ำนน้ั เถิด”

‘‘ยถา มหาราช ปรุ ิโส ปรปิ กฺก ํ พีชํ ปถวิย ํ นกิ ฺขิเปยฺย, ตโต องฺกุโร อุฏฺ หติ วฺ า
อนปุ พุ เฺ พน วุฑฒฺ ึ วิรฬู หฺ ึ เวปุลฺล ํ อาปชชฺ ิตฺวา ผล ํ ทเทยยฺ ฯ ตโต พีชํ คเหตฺวา ปนุ
โรเปยยฺ , ตโตป ิ องฺกโุ ร อฏุ ฺ หิตวฺ า อนุปพุ ฺเพน วฑุ ฺฒ ึ วิรฬู ฺห ึ เวปลุ ลฺ ํ อาปชชฺ ิตวฺ า ผลํ
ทเทยยฺ ฯ เอวเมตสิ ฺสา สนฺตติยา อตถฺ ิ อนโฺ ต’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร เปรยี บเหมอื นว่า บรุ ษุ คน
หน่ึง ฝงั เมลด็ พืชท่ีแก่เต็มทีไ่ วท้ ่พี ื้นดิน ต่อมา กม็ หี น่องอกข้ึนมา ถึงความเตบิ โตงอกงาม
ไพบลู ยไ์ ปตามล�ำดบั แลว้ ก็ใหผ้ ล บรุ ษุ กถ็ ือเอาเมล็ดพืชจากตน้ นัน้ ไปเพาะปลูกอีก แมต้ อ่ มา ก็
มหี น่องอกข้นึ มา ถงึ ความเติบโตงอกงามไพบูลย์ไปตามล�ำดบั แลว้ ก็ใหผ้ ล ที่สุดของความสบื
ตอ่ กันไปนโ้ี ดยอาการดงั กลา่ วมาฉะนี้ มอี ยู่หรือไรหนอ”

‘‘นตถฺ ิ ภนเฺ ต’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลินท์ตรัสว่า “ไมม่ หี รอก พระคณุ เจา้ ”

‘‘เอวเมว โข มหาราช อทฺธานสสฺ าปิ ปรุ มิ า โกฏิ น ป ฺ ายตี’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร กเ็ หมอื นกนั อยา่ งนัน้ นั่น

กณั ฑ์] ๒.๓ วิจารวรรค 123

แหละ ปลายสดุ ข้างต้นแมแ้ ห่งอทั ธานะ ยอ่ มไมป่ รากฏ”
‘‘ภยิ โฺ ย โอปมมฺ ํ กโรหี’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ นิ ทต์ รสั ว่า “ขอทา่ นจงชว่ ยอปุ มาให้ยงิ่ ขนึ้ อกี หน่อยเถิด”
‘‘ยถา มหาราช กกุ ฺกฏุ ิยา อณฺฑํ ภเวยฺย, อณฑฺ โต กุกฺกฏุ ี กกุ กฺ ุฏิยา อณฺฑนตฺ ิ ฯ
เอวเมตสิ สฺ า สนฺตติยา อตถฺ ิ อนฺโต’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร เปรยี บเหมอื นวา่ จากไก่ ก็มี
ไข่ จากไข่ กม็ ไี ก่, จากไก่ กม็ ีไข่ ท่ีสุดของความสืบตอ่ กันไปน้ีโดยอาการดงั กล่าวมาน้ี มีอยู่
หรอื หนอ ?”
‘‘นตถฺ ิ ภนฺเต’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ ินทต์ รัสว่า “ไมม่ หี รอก พระคุณเจ้า”
‘‘เอวเมว โข มหาราช อทฺธานสฺสาป ิ ปรุ ิมา โกฏิ น ป ฺ ายตี’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร กเ็ หมอื นกนั อย่างนนั้ นนั่
แหละ ปลายสดุ ขา้ งต้นแมแ้ หง่ อทั ธานะ ยอ่ มไมป่ รากฏแล”
‘‘ภยิ ฺโย โอปมฺม ํ กโรหี’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ ินทต์ รสั วา่ “ขอท่านจงชว่ ยอปุ มาให้ยงิ่ ข้นึ อีกหน่อยเถิด”
เถโร ปถวยิ า จกฺกํ อาลิขิตฺวา มิลนิ ฺทํ ราชานํ เอตทโวจ ‘‘อตฺถ ิ มหาราช อิมสสฺ
จกฺกสสฺ อนโฺ ต’’ติ ?
พระเถระเขียนรูปวงลอ้ ลงท่พี ้ืนดนิ ถวายพระพรถามความข้อนัน้ กับพระเจ้ามิลนิ ท์วา่
“ขอถวายพระพรมหาบพติ ร ทส่ี ดุ ของรปู วงล้อน้ี มอี ยู่หรอื ไม”่
‘‘นตฺถ ิ ภนฺเต’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ ินทต์ รัสว่า “ไมม่ หี รอก พระคณุ เจา้ ”
‘‘เอวเมว โข มหาราช อิมาน ิ จกกฺ าน ิ วตุ ตฺ านิ ภควตา ‘จกฺข ุ ฺจ ปฏจิ จฺ รเู ป จ
อปุ ปฺ ชชฺ ต ิ จกขฺ วุ ิ ฺ าณํ, ตณิ ณฺ ํ สงคฺ ต ิ ผสฺโส, ผสฺสปจจฺ ยา เวทนา, เวทนาปจจฺ ยา
ตณฺหา, ตณฺหาปจฺจยา อปุ าทานํ, อปุ าทานปจจฺ ยา กมมฺ ํ, กมฺมโต ปุน จกขฺ ํุ ชายตี’ติ ฯ
เอวเมติสสฺ า สนตฺ ตยิ า อตฺถิ อนโฺ ต’’ติ ?

124 มิลินทปญั หาปกรณแ์ ปล [๒.มลิ นิ ทปัญห

พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ก็เหมือนกันอยา่ งน้ันนน่ั แหละ มหาบพติ ร พระผมู้ พี ระ
ภาคเจ้าไดต้ รัสวงลอ้ เหล่านี้ไวอ้ ยา่ งน้ีว่า ‘จักขวุ ญิ ญาณเกดิ ขน้ึ เพราะอาศัยปสาทตาและรปู
ผัสสะยอ่ มมี เพราะความพรอ้ มเพียงกนั แห่งธรรม ๓ อยา่ ง เพราะผสั สะเป็นปจั จยั จึงมเี วทนา
เพราะเวทนาเปน็ ปจั จยั จงึ มตี ณั หา เพราะตัณหาเปน็ ปจั จัย จงึ มอี ุปาทาน เพราะอปุ าทานเปน็
ปจั จยั จึงมีกรรม จกั ขปุ สาทยอ่ มเกิดจากกรรมอกี ’ ดงั นี้ ทีส่ ดุ ของความสืบต่อกันไปนโี้ ดย
อาการดังกลา่ วมาฉะนี้ มีอยหู่ รือไม่ ?”

‘‘นตถฺ ิ ภนฺเต’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลินทต์ รัสวา่ “ไมม่ ีหรอก พระคณุ เจ้า”

‘‘โสต ฺจ ปฏจิ ฺจ สทฺเท จ… เป.… มน จฺ ปฏจิ จฺ ธมฺเม จ อุปฺปชชฺ ต ิ มโนว ิ ฺ าณ,ํ
ติณณฺ ํ สงฺคต ิ ผสโฺ ส, ผสสฺ ปจฺจยา เวทนา, เวทนาปจฺจยา ตณฺหา, ตณฺหาปจฺจยา อุปาทานํ,
อปุ าทานปจจฺ ยา กมมฺ ,ํ กมฺมโต ปนุ มโน ชายต’ี ติ ฯ เอวเมตสิ สฺ า สนตฺ ตยิ า อตถฺ ิ
อนโฺ ต’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “โสตวิญญาณเกิดขึน้ เพราะอาศยั โสตปสาทและเสยี ง
ฯลฯ มโนวิญญาณเกดิ ขนึ้ เพราะอาศยั ใจและธรรมารมณ์ ผัสสะย่อมมเี พราะความพร้อมเพยี ง
กนั แหง่ ธรรม ๓ อยา่ ง เพราะผสั สะเปน็ ปัจจยั จงึ มเี วทนา เพราะเวทนาเปน็ ปัจจัย จงึ มีตัณหา
เพราะตัณหาเปน็ ปจั จยั จงึ มีอุปาทาน เพราะอปุ าทานเป็นปัจจยั จงึ มกี รรม ใจยอ่ มเกดิ จาก
กรรมอกี ’ ดงั นี้ ทีส่ ุดของความสืบต่อกนั ไปน้โี ดยอาการดงั กลา่ วมาฉะน้ี มอี ยหู่ รอื ไม”่

‘‘นตถฺ ิ ภนฺเต’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลนิ ทต์ รัสว่า “ไมม่ หี รอก พระคณุ เจา้ ”

‘‘เอวเมว โข มหาราช อทธฺ านสฺสาปิ ปรุ มิ า โกฏ ิ น ป ฺ ายตี’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร กเ็ หมอื นกันอยา่ งนั้นน่ัน
แหละ ปลายสดุ ข้างต้นแม้แหง่ อัทธานะ ย่อมไมป่ รากฏแล”

‘‘กลฺโลสิ ภนฺเต นาคเสนา’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลินท์ตรัสว่า “พระคณุ เจ้านาคเสน ทา่ นตอบสมควรแล้ว”

ปุริมโกฏปิ ญโฺ ห ทตุ โิ ย ฯ
จบปรุ ิมโกฏิปัญหาข้อที่ ๒

กณั ฑ]์ ๒.๓ วจิ ารวรรค 125

๓. โกฏิปญฺ ายนปญหฺ
๓. โกฏปิ ัญญายนปญั หา
ปญั หาวา่ ด้วยความปรากฏแห่งปลายสุด
[๓] ราชา อาห ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน ยํ ปเนตํ พฺรสู ิ ‘ปรุ ิมา โกฏ ิ น ป ฺ ายต’ี ติ,
กตมา จ สา ปรุ ิมา โกฏ’ี ’ติ ?
[๓] พระราชาตรัสว่า “พระคุณเจ้านาคเสน ค�ำทท่ี ่านกล่าวว่า ‘ปลายสุดข้างต้นไม่
ปรากฏ’ ดงั นี้ ก็ปลายสุดขา้ งต้นนัน้ เปน็ ไฉน ?”
‘‘โย โข มหาราช อตโี ต อทฺธา, เอสา ปรุ ิมา โกฏ’ี ’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร อัทธานะทลี่ ่วงไปแลว้ ช่อื ว่า
ปลายสุดขา้ งตน้ ”
‘‘ภนฺเต นาคเสน ยํ ปเนตํ พฺรสู ิ ‘ปรุ มิ า โกฏิ น ป ฺ ายต’ี ต,ิ กึ ปน ภนเฺ ต
สพพฺ าปิ ปรุ มิ า โกฏ ิ น ป ฺ ายตี’’ติ ?
พระเจา้ มลิ ินทต์ รัสว่า “พระคณุ เจา้ นาคเสน ค�ำทที่ ่านกลา่ ววา่ ‘ปลายสดุ ข้างตน้ ยอ่ มไม่
ปรากฏ’ ดังน้ี ปลายสุดข้างตน้ นั้นแมท้ กุ อย่างเลยหรือ ย่อมไม่ปรากฏ”
‘‘กาจ ิ มหาราช ป ฺ ายติ, กาจิ น ป ฺ ายตี’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร ปลายสดุ ข้างตน้ บางอย่าง
ยอ่ มปรากฏ ปลายสดุ ขา้ งตน้ บางอยา่ ง ยอ่ มไมป่ รากฏ”
‘‘กตมา ภนเฺ ต ป ฺ ายติ, กตมา น ป ฺ ายต’ี ’ติ ?
พระเจา้ มิลินท์ตรัสวา่ “พระคณุ เจา้ ปลายสดุ อะไรปรากฏ ปลายสดุ อะไร ไม่ปรากฏ ?”
‘‘อโิ ต ปุพเฺ พ มหาราช สพฺเพนสพฺพ ํ สพฺพถา สพฺพํ อวชิ ชฺ า นาโหสีติ เอสา
ปุริมา โกฏิ น ป ฺ ายติ, ยํ อหตุ วฺ า สมโฺ ภติ, หุตวฺ า ปฏวิ คิ จฉฺ ต,ิ เอสา ปรุ มิ า โกฏิ
ป ฺ ายต’ี ’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร ขอ้ ท่ตี รสั ไว้ว่า ‘ในกาลก่อน
แต่นี้ อวิชชา ไมเ่ คยมเี ลยโดยสิ้นเชงิ โดยประการทัง้ ปวง’ ดังนี้ น้ีช่ือวา่ ปลายสุดข้างตน้ ยอ่ ม
ไม่ปรากฏ สิ่งใดไม่มี ก็มขี ึน้ ที่มีแลว้ กก็ ลบั ปราศไป นี้จัดเปน็ ปลายสุดข้างต้น ย่อมปรากฏ”

126 มิลนิ ทปญั หาปกรณแ์ ปล [๒.มลิ นิ ทปญั ห

‘‘ภนเฺ ต นาคเสน ยํ อหตุ วฺ า สมฺโภติ, หุตฺวา ปฏวิ คิ จฺฉต,ิ นน ุ ต ํ อุภโต ฉินนฺ ํ อตฺถ ํ
คจฺฉตี’’ติ ?
พระเจา้ มลิ ินทต์ รสั วา่ “พระคุณเจ้านาคเสน ส่งิ ใดไมม่ ี ก็กลบั มีขึ้น ทีม่ แี ลว้ กก็ ลับปราศ
ไป สงิ่ นั้นถกู ตดั โดยขณะทัง้ ๒ (ขณะเกิดข้นึ และขณะดับไป) แลว้ ยอ่ มถงึ ความต้งั อยูไ่ ม่ได้
มใิ ชห่ รอื ”

‘‘ยทิ มหาราช อภุ โต ฉนิ นฺ ํ อตถฺ ํ คจฉฺ ติ, อภุ โต ฉินนฺ า สกกฺ า วฑเฺ ฒตุนฺ”ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร ถา้ หากวา่ เป็นสง่ิ ที่ถกู ตัด
โดยขณะทงั้ ๒ กย็ อ่ มถงึ ความตง้ั อย่ไู มไ่ ด้ ปลายสดุ ท่ีถูกตัดโดยขณะท้ัง ๒ สามารถท่จี ะเจริญ
ได้หรือ ?”

‘‘อาม สาปิ สกฺกา วฑฺเฒตนุ ”ฺ ติ ฯ
พระเจ้ามิลินท์ตรสั วา่ “ใช่ ปลายสุดแมน้ น้ั สามารถท่จี ะเจรญิ ได้”

“นาหํ ภนฺเต เอตํ ปุจฉฺ ามิ โกฏิโต สกกฺ า วฑเฺ ฒตนุ ฺ”ติ ?
พระเจ้ามลิ ินทต์ รสั วา่ “ท่านผู้เจรญิ ข้าพระเจา้ มไิ ดถ้ ามขอ้ นนั้ ถามวา่ ปลายสุดสามารถ
ทีจ่ ะเจรญิ ไดโ้ ดยปลายสุดหรอื ไม่ ?”

‘‘อาม สกกฺ า วฑเฺ ฒตนุ ’ฺ ’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ใช่ สามารถที่จะเจรญิ ได้”

‘‘โอปมฺม ํ กโรหี’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลนิ ทต์ รัสวา่ “ขอท่านจงช่วยอุปมาใหห้ นอ่ ยเถอะ”

เถโร ตสสฺ รกุ ฺขูปม ํ อกาสิ “ขนธฺ า จ เกวลสสฺ ทกุ ขฺ กฺขนฺธสฺส พชี านี’’ติ ฯ
พระเถระได้ท�ำอุปมาเรื่องตน้ ไมใ้ หแ้ ก่พระเจา้ มลิ ินท์นนั้ ว่า “ก็ขันธ์ทั้งหลายลว้ นเป็นพชื
แหง่ กองทกุ ขท์ ั้งสนิ้ ”

‘‘กลโฺ ลส ิ ภนฺเต นาคเสนา’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ นิ ทต์ รัสว่า “พระคณุ เจ้านาคเสน ทา่ นตอบสมควรแลว้ ”

โกฏปิ ญฺายนปญฺโห ตตโิ ย ฯ
จบโกฏปิ ัญญายนปญั หาข้อที่ ๓

กัณฑ]์ ๒.๓ วิจารวรรค 127

๔. สงขฺ ารชายมานปญฺห
๔. สงั ขารชายมานปัญหา
ปญั หาวา่ ด้วยสงั ขารที่ก�ำลังเกิด
[๔] ราชา อาห ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน อตถฺ ิ เย เกจิ สงขฺ ารา, เย ชายนฺต’ี ’ติ ?
[๔] พระราชาตรสั ถามว่า “พระคณุ เจา้ นาคเสน สงั ขารเหลา่ ใดเหลา่ หนงึ่ มีอยู่ สงั ขาร
เหลา่ ใด ย่อมเกดิ ขนึ้ หรอื ?”
‘‘อาม มหาราช อตฺถิ สงขฺ ารา, เย ชายนตฺ ’ี ’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายวสิ ชั นาวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร ถูกตอ้ งแล้ว สังขารเหล่าใด
เหล่าหน่ึง มีอยู่ สังขารเหล่าใดเหลา่ หนึง่ ยอ่ มเกิดข้นึ ”
‘‘กตเม เต ภนฺเต’’ติ ?
พระเจ้ามิลินท์ตรสั ถามว่า “สงั ขารท่มี ีอย่แู ละสังขารทีเ่ กดิ ข้นึ เหล่านัน้ เปน็ ไฉน พระคณุ
เจา้ ?”
‘‘จกขฺ สุ ฺม ิ ฺจ โข มหาราช สต ิ รูเปส ุ จ จกขฺ ุวิ ฺ าณํ โหต,ิ จกฺขวุ ิ ฺ าเณ สต ิ
จกขฺ ุสมผฺ สโฺ ส โหติ, จกฺขุสมฺผสฺเส สต ิ เวทนา โหติ, เวทนาย สติ ตณหฺ า โหต,ิ ตณฺหาย
สต ิ อุปาทานํ โหต,ิ อุปาทาเน สติ ภโว โหติ, ภเว สติ ชาติ โหต,ิ ชาตยิ า สติ ชรามรณ ํ
โสกปริเทวทุกฺขโทมนสฺสปุ ายาสา สมภฺ วนฺต,ิ เอวเมตสฺส เกวลสฺส ทกุ ฺขกฺขนธฺ สสฺ สมุทโย
โหติ ฯ
พระนาคเสนถวายวิสัชนาว่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร เมื่อมจี ักขุ และเม่ือมีรปู ก็
ยอ่ มมจี กั ขุวญิ ญาณ, เมือ่ มจี ักขุวญิ ญาณ ก็ยอ่ มมีจักขสุ มั ผัส เมื่อมีจกั ขุสมั ผสั ก็ย่อมมีเวทนา
เมอื่ มีเวทนา กย็ ่อมมตี ัณหา เมอ่ื มีตณั หา ก็ยอ่ มมอี ปุ าทาน เมอ่ื มีอปุ าทาน ก็ย่อมมภี พ เมื่อ
มภี พ ก็ย่อมมชี าติ เมือ่ มชี าติ กย็ ่อมมีชรา มรณะ โสกะ ปรเิ ทวะ ทกุ ข์ โทมนสั และอปุ ายาส
ความเกดิ ขึ้นแหง่ กองทกุ ขท์ ั้งส้นิ น้ี ย่อมมีได้โดยอาการอยา่ งน้ี
จกขฺ สุ มฺ ิ ฺจ โข มหาราช อสต ิ รูเปสุ จ อสติ จกขฺ วุ ิ ฺ าณํ น โหต,ิ จกฺขุว ิ ฺ าเณ
อสต ิ จกขฺ ุสมฺผสโฺ ส น โหต,ิ จกฺขสุ มฺผสฺเส อสติ เวทนา น โหติ, เวทนาย อสติ ตณหฺ า
น โหติ, ตณหฺ าย อสติ อปุ าทานํ น โหต,ิ อปุ าทาเน อสต ิ ภโว น โหติ, ภเว อสติ ชาต ิ
น โหติ, ชาติยา อสต ิ ชรามรณํ โสกปริเทวทุกขฺ โทมนสสฺ ุปายาสา น โหนตฺ ,ิ เอวเมตสสฺ

128 มลิ นิ ทปญั หาปกรณแ์ ปล [๒.มิลนิ ทปญั ห

เกวลสฺส ทกุ ขฺ กขฺ นฺธสฺส นิโรโธ โหต’ี ’ติ ฯ
ขอถวายพระพรมหาบพติ ร เมื่อไมม่ จี กั ขุ และเมือ่ ไม่มีรปู กย็ ่อมไม่มจี ักขวุ ญิ ญาณ เม่ือ
ไมม่ ีจักขวุ ิญญาณ กย็ อ่ มไมม่ ีจักขสุ ัมผัส เม่ือไม่มีจักขุสมั ผัส ก็ยอ่ มไมม่ เี วทนา เม่ือไม่มเี วทนา
กย็ อ่ มไมม่ ีตณั หา เม่ือไมม่ ตี ัณหา ก็ยอ่ มไม่มีอปุ าทาน เมื่อไมม่ ีอปุ าทาน กย็ ่อมไม่มีภพ เมื่อ
ไม่มีภพ ก็ย่อมไมม่ ชี าติ เม่ือไมม่ ชี าติ กย็ ่อมไมม่ ีชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทกุ ข์ โทมนสั และ
อปุ ายาส ความดับแหง่ กองทุกขท์ ั้งส้ินน้ี ยอ่ มมีได้โดยอาการอย่างน้”ี

‘‘กลโฺ ลส ิ ภนเฺ ต นาคเสนา’’ติ ฯ
พระเจา้ มิลินท์ตรสั ว่า “พระคุณเจ้านาคเสน ท่านตอบสมควรแล้ว”

สงขฺ ารชายมานปญฺโห จตตุ ฺโถ ฯ
จบสงั ขารชายมานปญั หาขอ้ ที่ ๔

________

๕. ภวนตฺ สงฺขารชายมานปญฺห
๕. ภวันตสงั ขารชายมานปัญหา
ปัญหาว่าด้วยส่ิงที่มีอยู่เกิดเป็นสังขารทงั้ หลาย
[๕] ราชา อาห ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน อตฺถ ิ เกจ ิ สงขฺ ารา, เย อภวนตฺ า ชายนฺตี’’ติ ?
[๕] พระราชาตรัสวา่ “พระคณุ เจา้ นาคเสน สังขารท้ังหลายอะไรๆ ทเ่ี กิดมาเป็นสง่ิ ท่ี
ไมม่ อี ยู่ สงั ขารเหล่าน้ันมอี ยหู่ รือ ?”

‘‘นตถฺ ิ มหาราช เกจ ิ สงขฺ ารา, เย อภวนตฺ า ชายนตฺ ิ, ภวนตฺ าเยว โข มหาราช
สงขฺ ารา ชายนตฺ ี’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายวสิ ัชนาวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร สังขารท้ังหลายอะไร ๆ ท่ี
เกดิ มาเป็นส่งิ ทไ่ี มม่ อี ยู่ สังขารเหลา่ นั้นหามไี ม่ ขอถวายพระพร สังขารท้ังหลายเกดิ มาลว้ น
เปน็ ส่ิงมีอยูท่ งั้ นน้ั ”

‘‘โอปมมฺ ํ กโรหี’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ นิ ทต์ รสั ว่า “ขอท่านจงชว่ ยอุปมาใหห้ น่อยเถอะ”

กณั ฑ]์ ๒.๓ วจิ ารวรรค 129

‘‘ต ํ กึ ม ฺ ส ิ มหาราช, อทิ ํ เคหํ อภวนตฺ ํ ชาตํ, ยตฺถ ตฺว ํ นสิ นิ โฺ นสี’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร พระองคจ์ ะทรงส�ำคัญความ
ข้อนัน้ ว่าอย่างไร พระราชมณเฑยี รท่พี ระองคป์ ระทับนง่ั อยู่นี้ เกิดมาเป็นสิง่ ท่ไี มม่ อี ยู่หรือไร ?”
‘‘นตฺถ ิ กิ ฺจ ิ ภนฺเต อธิ อภวนตฺ ํ ชาต,ํ ภวนฺตเํ ยว ชาต,ํ อิมาน ิ โข ภนเฺ ต
ทารนู ิ วเน อเหส,ํุ อย ฺจ มตตฺ กิ า ปถวิย ํ อโหส,ิ อิตถฺ ีน จฺ ปุรสิ าน ฺจ ตชฺเชน
วายาเมน เอวมิท ํ เคห ํ นพิ ฺพตตฺ น”ฺ ติ ฯ
พระเจ้ามลิ ินทต์ รัสว่า “พระคุณเจา้ ในเรอื นหลังน้ี อะไร ๆ ทเี่ กิดมาเป็นสิ่งท่ไี ม่มีอยู่ หา
มไี ม่ ทีเ่ กิดมาลว้ นเปน็ สง่ิ ทมี่ ีอยทู่ ้ังนนั้ พระคณุ เจา้ ไม้ทงั้ หลายเหล่านี้ ก็มีอยแู่ ลว้ ในปา่ ดนิ
เหนยี ว(ท่ที �ำเป็นผนัง)น้ี กไ็ ด้มีอยูแ่ ลว้ ทพ่ี นื้ แผ่นดนิ เพราะอาศัยความพยายามทีส่ มควรแก่
กจิ การนน้ั ของหญิงและชายทั้งหลายอยา่ งนแ้ี ล้ว เรือนหลังนจ้ี ึงเกิดข้นึ ได”้
‘‘เอวเมว โข มหาราช นตถฺ ิ เกจ ิ สงฺขารา, เย อภวนฺตา ชายนฺติ, ภวนฺตาเยว
สงขฺ ารา ชายนฺตี’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร กเ็ หมือนกนั อยา่ งนนั้ นน่ั
แหละ สงั ขารทง้ั หลายอะไร ๆ ท่ีเกดิ มาเป็นส่งิ ไม่มีอยู่ สงั ขารเหล่าน้ันหามไี ม่ สังขารเหลา่ นัน้
เกดิ มาแล้วลว้ นเปน็ ส่ิงมอี ยู่ท้ังนั้น”
‘‘ภยิ โฺ ย โอปมฺมํ กโรห’ี ’ติ ฯ
พระเจ้ามิลินทต์ รสั วา่ “ขอท่านจงชว่ ยอปุ มาใหย้ ่งิ ข้ึนอกี หนอ่ ยเถดิ ”
‘‘ยถา มหาราช เย เกจิ พีชคามภูตคามา ปถวิย ํ นิกขฺ ิตตฺ า อนุปพุ ฺเพน วุฑฺฒ ึ
วริ ฬู ฺหึ เวปุลฺลํ อาปชชฺ มานา ปุปฺผานิ จ ผลาน ิ จ ทเทยฺยํ,ุ น เต รุกฺขา อภวนตฺ า ชาตา,
ภวนตฺ าเยว เต รุกฺขา ชาตา ฯ เอวเมว โข มหาราช นตฺถิ เกจิ สงขฺ ารา, เย อภวนตฺ า
ชายนตฺ ,ิ ภวนฺตาเยว เต สงขฺ ารา ชายนตฺ ี’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร เปรยี บเหมือนว่า พชื และ
ตน้ ไมเ้ หลา่ ใดเหล่าหนึ่ง ทพ่ี วกชนปลกู ไวบ้ นพ้นื ดิน เมอ่ื ถงึ ความเจรญิ ความงอกงาม ความ
ไพบลู ยไ์ ปตามล�ำดับได้ ก็จะพงึ ใหด้ อกและผล ตน้ ไมเ้ หลา่ นัน้ หาได้เกดิ มาเป็นสง่ิ ไมม่ ีอยู่ไม่
ต้นไม้เหล่าน้ันเกดิ มาลว้ นเปน็ สิ่งมีอยทู่ ้งั นัน้ ฉันใด, ขอถวายพระพร สังขารทัง้ หลายอะไร ๆ ที่
เกดิ มาเป็นสงิ่ ไม่มอี ยู่ หามไี ม่ สังขารเหลา่ นั้นเกิดมาล้วนเปน็ สิง่ มีอย่ทู ง้ั นนั้ ฉนั นน้ั เหมอื นกนั ”

130 มิลนิ ทปญั หาปกรณแ์ ปล [๒.มลิ ินทปญั ห

‘‘ภิยโฺ ย โอปมมฺ ํ กโรหี’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลินทต์ รสั ว่า “ขอทา่ นจงช่วยอปุ มาใหย้ ่งิ ขึ้นอกี หนอ่ ยเถดิ ”
‘‘ยถา มหาราช กมุ ภฺ กาโร ปถวิยา มตตฺ ิกํ อทุ ฺธรติ ฺวา นานาภาชนานิ กโรต,ิ น
ตานิ ภาชนาน ิ อภวนตฺ านิ ชาตานิ, ภวนตฺ านเิ ยว ชาตานิ ฯ เอวเมว โข มหาราช นตฺถิ
เกจ ิ สงขฺ ารา, เย อภวนฺตา ชายนฺติ, ภวนฺตาเยว สงฺขารา ชายนฺต’ี ’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร เปรยี บเหมือนว่า ชา่ งป้นั
หม้อตกั ดินเหนยี วจากพ้ืนดนิ ท�ำเป็นภาชนะตา่ ง ๆ ภาชนะเหล่าน้ันหาไดเ้ กิดมาเป็นสิง่ ไม่มีอยู่
ไม่ เกิดมาลว้ นเปน็ ส่งิ ที่มีอยูท่ ัง้ นั้น ฉันใด ขอถวายพระพร สงั ขารอะไร ๆ ทเี่ กิดมา เป็นส่ิงไม่มี
อยู่ สังขารเหล่าน้นั หามไี ม่ สงั ขารท้งั หลายเกดิ มาลว้ นเปน็ สง่ิ มอี ย่ทู ้ังนั้น ฉนั น้ันเหมือนกัน”
‘‘ภิยโฺ ย โอปมฺมํ กโรห’ี ’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ ินท์ตรสั วา่ “ขอท่านจงชว่ ยอปุ มาให้ยิง่ ขน้ึ อกี หน่อยเถิด”
‘‘ยถา มหาราช วีณาย ปตฺต ํ น สยิ า, จมฺมํ น สยิ า, โทณ ิ น สยิ า, ทณโฺ ฑ น
สิยา, อปุ วโี ณ น สิยา, ตนฺตโิ ย น สยิ ,ํุ โกโณ น สยิ า, ปรุ ิสสสฺ จ ตชฺโช วายาโม น
สิยา, ชาเยยยฺ สทโฺ ท’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร เปรยี บเหมอื นวา่ ใบพิณ
กไ็ มม่ ี หนงั พิณกไ็ มม่ ี รางพิณกไ็ ม่มี คนั พิณก็ไมม่ ี คอพิณก็ไม่มี สายพิณกไ็ มม่ ี อปุ กรณ์เครื่อง
ดดี สายพณิ กไ็ มม่ ี และความพยายามอนั ควรแก่กิจการนั้นของบรุ ษุ กไ็ มม่ ี เสียง(พณิ )พงึ เกิดได้
หรอื ไม่ ?”
‘‘น หิ ภนเฺ ต’’ติ ฯ
พระเจา้ มิลินท์ตรสั ว่า “ไม่ไดห้ รอก พระคุณเจา้ ”
‘‘ยโต จ โข มหาราช วีณาย ปตฺตํ สยิ า, จมมฺ ํ สิยา, โทณิ สยิ า, ทณโฺ ฑ สิยา,
อปุ วโี ณ สยิ า, ตนฺตโิ ย สิย,ุํ โกโณ สิยา, ปุรสิ สฺส จ ตชฺโช วายาโม สิยา, ชาเยยยฺ
สทฺโท’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร กแ็ ตว่ ่า เม่ือใดแล ใบพิณก็มี
หนังพิณกม็ ี รางพิณกม็ ี คันพณิ กม็ ี คอพิณกม็ ี สายพิณกม็ ี อปุ กรณ์เครื่องดีดพณิ กม็ ี ความ
พยายามอนั ควรแกก่ ิจการนน้ั ของบุรุษกม็ ี เสียง(พิณ)กพ็ ึงเกดิ ไดใ้ ชห่ รือไม่ ?”

กัณฑ์] ๒.๓ วจิ ารวรรค 131

‘‘อาม ภนเฺ ต ชาเยยยฺ า’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลนิ ทต์ รัสวา่ “ใช่ พึงเกดิ ได้ พระคุณเจ้า”
‘‘เอวเมว โข มหาราช นตฺถิ เกจิ สงฺขารา, เย อภวนฺตา ชายนฺติ, ภวนตฺ าเยว โข
สงขฺ ารา ชายนตฺ ’ี ’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร ก็เหมือนกันอยา่ งนนั้ นน่ั
แหละ สงั ขารทั้งหลายอะไร ๆ ทเ่ี กดิ มาเปน็ ส่งิ ไม่มอี ยู่ สังขารเหลา่ น้ันหามีไม่ สงั ขารเหล่าน้ัน
เกิดมาลว้ นเปน็ ส่งิ ทม่ี ีอยู่ทงั้ น้ัน”
‘‘ภิยฺโย โอปมมฺ ํ กโรหี’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลนิ ท์ตรัสว่า “ขอทา่ นจงช่วยอปุ มาใหย้ ิ่งขึน้ อีกหนอ่ ยเถดิ ”
‘‘ยถา มหาราช อรณ ิ น สิยา, อรณโิ ปตโก น สิยา, อรณโิ ยตฺตกํ น สิยา,
อุตฺตรารณ ิ น สยิ า, โจฬก ํ น สยิ า, ปุรสิ สฺส จ ตชฺโช วายาโม น สิยา, ชาเยยยฺ โส
อคฺค’ี ’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร เปรยี บเหมอื นวา่ ไม้สีไฟตวั
แม่ก็ไมม่ ี ไมส้ ไี ฟตัวลกู ก็ไมม่ ี เชอื กผูกไม้สีไฟกไ็ ม่มี ไมส้ ไี ฟท่อนบนกไ็ มม่ ี ขฝี้ อยกไ็ มม่ ี และ
ความพยายามอนั ควรแกก่ ิจการน้นั แห่งบรุ ษุ ก็ไมม่ ี ไฟน้นั พงึ เกดิ ได้หรอื ไม่ ?”
‘‘น ห ิ ภนเฺ ต’’ติ ฯ
พระเจา้ มิลนิ ทต์ รสั วา่ “ไม่อาจเกดิ ได้หรอก พระคณุ เจ้า”
‘‘ยโต จ โข มหาราช อรณิ สยิ า, อรณิโปตโก สิยา, อรณโิ ยตฺตกํ สิยา,
อุตตฺ รารณิ สยิ า, โจฬก ํ สยิ า, ปุรสิ สฺส จ ตชโฺ ช วายาโม สิยา, ชาเยยฺย โส อคคฺ ’ี ’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร ก็แตว่ า่ เม่ือใดแล ไม้สีไฟ
ตวั แม่ก็มี ไม้สไี ฟตัวลกู ก็มี เชอื กผูกไมส้ ีไฟก็มี ไมส้ ไี ฟทอ่ นบนก็มี ข้ฝี อยก็มี และความ
พยายามอนั ควรแก่กจิ การน้นั ของบุรษุ กม็ ี ไฟนนั้ กพ็ งึ เกดิ ได้ ใช่หรอื ไม่ ?”
‘‘อาม ภนเฺ ต ชาเยยยฺ า’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ ินท์ตรัสวา่ “ใช่ พงึ เกิดได้ พระคุณเจ้า”

132 มลิ ินทปัญหาปกรณแ์ ปล [๒.มิลนิ ทปัญห

‘‘เอวเมว โข มหาราช นตฺถิ เกจิ สงฺขารา, เย อภวนตฺ า ชายนฺติ, ภวนตฺ าเยว โข
สงขฺ ารา ชายนตฺ ’ี ’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร กเ็ หมอื นกันอย่างนน้ั นน่ั
แหละ สังขารทง้ั หลายอะไร ๆ ทเ่ี กิดมาเป็นสง่ิ ไมม่ อี ยู่ สงั ขารเหลา่ นน้ั หามไี ม่ สังขารเหลา่ นั้น
เกดิ มาลว้ นเป็นสง่ิ ทีม่ อี ยทู่ ั้งนัน้ ”
‘‘ภิยฺโย โอปมมฺ ํ กโรห’ี ’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ ินท์ตรัสว่า “ขอทา่ นจงชว่ ยอุปมาให้ยงิ่ ขน้ึ อกี หนอ่ ยเถดิ ”
‘‘ยถา มหาราช มณิ น สิยา, อาตโป น สิยา, โคมย ํ น สิยา, ชาเยยยฺ โส
อคคฺ ี’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร เปรยี บเหมือนว่า แกว้ มณี
กไ็ มม่ ี แสงแดดกไ็ ม่มี โคมัยก็ไม่มี ไฟน้นั พึงเกดิ ไดห้ รอื ไม่ ?”
‘‘น หิ ภนเฺ ต’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ ินทต์ รัสว่า “ไม่อาจเกิดไดห้ รอก พระคณุ เจา้ ”
‘‘ยโต จ โข มหาราช มณ ิ สิยา, อาตโป สยิ า, โคมย ํ สิยา, ชาเยยฺย โส อคฺค’ี ’ต?ิ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร กแ็ ต่ว่า เม่ือใด แกว้ มณีกม็ ี
แสงแดดก็มี โคมยั ก็มี ไฟนัน้ พึงเกิดได้ ใชห่ รือไม่ ?”
‘‘อาม ภนเฺ ต ชาเยยยฺ า’’ติ ฯ
พระเจา้ มิลินทต์ รัสวา่ “ใช่ พึงเกดิ ได้ พระคณุ เจา้ ”
‘‘เอวเมว โข มหาราช นตฺถ ิ เกจ ิ สงขฺ ารา เย อภวนฺตา ชายนตฺ ,ิ ภวนฺตาเยว โข
สงขฺ ารา ชายนตฺ ี’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร ก็เหมือนกันอย่างนน้ั น่นั
แหละ สังขารทง้ั หลายอะไร ๆ ที่เกดิ มาเป็นส่ิงไม่มีอยู่ สงั ขารเหลา่ น้ันหามไี ม่ สงั ขารเหล่านัน้
เกดิ มาล้วนเป็นสงิ่ มอี ยทู่ ้ังนนั้ ”
‘‘ภิยฺโย โอปมฺมํ กโรห’ี ’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ ินทต์ รัสวา่ “ขอทา่ นจงชว่ ยอปุ มาให้ยิ่งขน้ึ อกี หน่อยเถิด”

กัณฑ]์ ๒.๓ วจิ ารวรรค 133

‘‘ยถา มหาราช อาทาโส น สยิ า, อาภา น สิยา, มขุ ํ น สิยา, ชาเยยยฺ
อตฺตา’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร เปรียบเหมือนวา่ กระจกเงา
กไ็ ม่มี แสงสวา่ งกไ็ ม่มี หน้าคนส่องกไ็ มม่ ี ตัวคน(เงาหน้าคน) จะพงึ เกิดไดห้ รอื ไม่ ?”
‘‘น ห ิ ภนฺเต’’ติ ฯ
พระเจา้ ลนิ ท์ตรสั ว่า “ไม่อาจเกดิ ไดห้ รอก พระคุณเจา้ ”
‘‘ยโต จ โข มหาราช อาทาโส สยิ า, อาภา สิยา, มุขํ สยิ า, ชาเยยฺย อตตฺ า’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร ก็แต่วา่ เมอ่ื ใดแล กระจกเงา
กม็ ี แสงสว่างกม็ ี หนา้ คนส่องกม็ ี ตัวคน(เงาหน้าคน) จะพงึ เกดิ ได้ใชห่ รือไม่ ?”
‘‘อาม ภนเฺ ต ชาเยยยฺ า’’ติ ฯ
พระเจา้ มิลินท์ตรัสวา่ “ใช่ พึงเกิดได้ พระคณุ เจ้า”
‘‘เอวเมว โข มหาราช นตถฺ ิ เกจิ สงฺขารา, เย อภวนตฺ า ชายนฺต,ิ ภวนตฺ าเยว โข
สงขฺ ารา ชายนฺตี’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร กเ็ หมอื นกนั อยา่ งน้ันนน่ั
แหละ สังขารท้ังหลายอะไร ๆ ทเ่ี กดิ มาเปน็ สิง่ ไม่มีอยู่ สังขารเหล่านน้ั หามไี ม่ สงั ขารเหลา่ นั้น
เกดิ มาลว้ นเปน็ ส่ิงมอี ยู่ท้ังนั้น”
‘‘กลฺโลส ิ ภนเฺ ต นาคเสนา’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ ินท์ตรสั วา่ “พระคุณเจา้ นาคเสน ทา่ นตอบสมควรแล้ว”

ภวนตฺ สงฺขารชายมานปญฺโห ปญฺจโม ฯ
จบภวนั ตสังขารชายมานปญั หาขอ้ ที่ ๕

________


Click to View FlipBook Version