334 มลิ นิ ทปญั หาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปัญห
เสมหฺ ํ มหาราช กปุ ฺปมาน ํ ตวิ ิเธน กุปปฺ ต ิ สีเตน อณุ เฺ หน อนนฺ ปาเนน ฯ
ขอถวายพระพร เสมหะ เมือ่ จะก�ำเรบิ ย่อมก�ำเรบิ เพราะเหตุ ๓ อยา่ ง คอื
๑. สเี ตน, เพราะความหนาวเย็น
๒. อุณเฺ หน, เพราะความรอ้ น
๓. อนฺนปาเนน, เพราะข้าวและนำ้�
โย จ มหาราช วาโต ย ฺจ ปิตตฺ ํ ย ฺจ เสมฺห,ํ เตหิ เตห ิ โกเปห ิ กุปฺปิตวฺ า
มิสสฺ ี หุตวฺ า สกํ สก ํ เวทน ํ อากฑฺฒติ ฯ อุตุปรณิ ามชา มหาราช เวทนา อุตุปริณาเมน
อุปปฺ ชชฺ ติ ฯ วสิ มปรหิ ารชา เวทนา วสิ มปรหิ าเรน อุปปฺ ชฺชติ ฯ โอปกฺกมิกา มหาราช
เวทนา อตฺถิ กิรยิ า, อตถฺ ิ กมมฺ วปิ ากา, กมมฺ วิปากชา เวทนา ปพุ เฺ พ กเตน กมเฺ มน
อุปปฺ ชชฺ ติ ฯ อติ ิ โข มหาราช อปปฺ ํ กมมฺ วิปากชํ, พหตุ รํ อวเสสํ ฯ ตตฺถ พาลา ‘สพฺพ ํ
กมฺมวิปากชํเยวา’ต ิ อติธาวนตฺ ิ ฯ ต ํ กมมฺ ํ น สกฺกา วนิ า พุทฺธ าเณน ววตถฺ าน ํ กาตํุ ฯ
ขอถวายพระพร ลมกด็ ี ดกี ็ดี เสมหะกด็ ี ก�ำเรบิ เพราะเหตกุ �ำเรบิ เหลา่ น้ัน ๆ แล้ว ก็เปน็
ของเจือปนกัน ชกั เอาเวทนาทเี่ ป็นของตน ๆ มา. ขอถวายพระพร เวทนาที่เกิดจากความ
เปลย่ี นแปลงแหง่ อุตุ ย่อมเกิดขน้ึ เพราะความเปล่ียนแปลงแหง่ อตุ ุ เวทนาทีเ่ กิดจากการบรหิ าร
ไมส่ ม�่ำเสมอ กย็ ่อมเกดิ จากการบริหารไมส่ ม�่ำเสมอ ขอถวายพระพร เวทนาทีเ่ กดิ จากความ
พยายาม ย่อมมไี ด้เพราะการกระท�ำ วิบากของกรรมมีอยู่ เวทนาทเ่ี กิดโดยเปน็ วิบากของกรรม
ยอ่ มเกดิ ขึ้นเพราะกรรมท่ที �ำไว้ในกาลกอ่ น ขอถวายพระพร เวทนาทเี่ กิดโดยเปน็ วิบากของ
กรรม จดั วา่ มีเพยี งเล็กนอ้ ย ดว้ ยประการฉะนี้แล เวทนาทเ่ี หลอื มมี ากกวา่ ในความขอ้ ที่วา่ นน้ั
พวกคนพาลทง้ั หลายย่อมคดิ เลยเถิดไปว่า เวทนาทกุ อยา่ งล้วนเกิดโดยเป็นวบิ ากของกรรม
ดังนี้ ยกเวน้ พระพุทธญาณแลว้ ใคร ๆ ก็ไม่สามารถที่จะก�ำหนดกรรมน้ันไดเ้ ลย
‘‘ย ํ ปน มหาราช ภควโต ปาโท สกฺขลิกาย ขโต, ต ํ เวทยติ ํ เนว วาตสมุฏ ฺ านํ,
น ปติ ฺตสมฏุ ฺ าน,ํ น เสมหฺ สมุฏ ฺ าน,ํ น สนฺนิปาติก,ํ น อุตุปริณามชํ, น วิสมปรหิ ารช,ํ น
กมฺมวปิ ากชํ, โอปกกฺ มกิ ํเยว ฯ เทวทตฺโต หิ มหาราช พหนู ิ ชาตสิ ตสหสสฺ าน ิ ตถาคเต
อาฆาต ํ พนธฺ ิ, โส เตน อาฆาเตน มหต ึ ครุํ สลิ ํ คเหตวฺ า ‘มตฺถเก ปาเตสฺสาม’ี ต ิ ม ุ ฺจิ,
อถ เฺ เทวฺ เสลา อาคนฺตวฺ า ตํ สลิ ํ ตถาคต ํ อสมปฺ ตตฺ ํเยว สมปฺ ฏิจฉฺ ึส,ุ ตาส ํ ปหาเรน
ปปฏิกา ภชิ ชฺ ิตฺวา ภควโต ปาเท ปตติ ฺวา รหุ ริ ํ อปุ ฺปาเทสิ, กมฺมวปิ ากโต วา มหาราช
ภควโต เอสา เวทนา นพิ ฺพตตฺ า กิริยโต วา, ตตุทธฺ ํ นตถฺ ฺ า เวทนา ฯ
กัณฑ์] ๔.๑ อิทธพิ ลวรรค 335
ขอถวายพระพร ขอ้ ที่พระบาทขา้ งหนงึ่ ของพระผมู้ พี ระภาคเจ้าถกู สะเกด็ หินบาดใด
ขอ้ นน้ั หาใช่เวทนาท่ีมลี มเปน็ สมฏุ ฐานไม่ หาใชเ่ วทนาที่มดี เี ป็นสมุฏฐานไม่ หาใชเ่ วทนาท่ีมี
เสมหะเป็นสมุฏฐานไม่ หาใชเ่ วทนาท่ีเกดิ จากสนั นิบาตไม่ หาใช่เวทนาท่เี กดิ จากการ
เปลี่ยนแปลงแห่งอุตไุ ม่ หาใชเ่ วทนาทเ่ี กดิ จากการบริหารไม่สม่�ำเสมอไม่ หาใชเ่ วทนาที่เกดิ
โดยเปน็ ผลกรรมไม่ แต่วา่ เปน็ เวทนาท่ีเกดิ จากความพยายามนั่นเอง ขอถวายพระพร พระ
เทวทัตผกู อาฆาตในพระตถาคตตลอดหลายแสนชาติ งดั หนิ กอ้ นใหญห่ นักข้นึ มา ดว้ ยหมายใจ
วา่ เราจกั กล้งิ ให้ตกไปโดนหวั ดังนี้ แล้วปล่อยให้กล้งิ ลงมา ล�ำดบั นั้น ก็มีหนิ อื่น ๒ กอ้ น (โผล่
ขนึ้ ) มารับเอาหนิ ใหญ่ทีม่ าจวนถึงพระตถาคตกอ้ นนั้นเอาไว้ได้ เพราะกอ้ นหินเหลา่ นั้นมากระ
ทบกระท่ังกัน ก็เกดิ สะเกด็ หินปรอิ อก กระเดน็ ไปกระทบพระบาทของพระผมู้ ีพระภาค ท�ำพระ
โลหิตใหห้ ้อขนึ้ ขอถวายพระพร อกี อย่างหนงึ่ เวทนาของพระผมู้ ีพระภาคนี้ จะจดั วา่ เปน็
เวทนาที่บังเกดิ โดยเปน็ ผลกรรมกไ็ ด้ เป็นเวทนาทบี่ งั เกิดจากการกระท�ำก็ได้ ไม่มีเวทนาอื่น
นอกเหนอื ไปจากเวทนา ๒ อยา่ งน้ัน
‘‘ยถา มหาราช เขตฺตทฏุ ฺ ตาย วา พชี ํ น สมฺภวติ พีชทุฏฺ ตาย วา ฯ เอวเมว โข
มหาราช กมฺมวปิ ากโต วา ภควโต เอสา เวทนา นิพพฺ ตตฺ า กิรยิ โต วา, ตตทุ ฺธ ํ
นตฺถ ฺ า เวทนา ฯ
ขอถวายพระพร เปรยี บเหมือนว่า เพราะสถานทเ่ี พาะปลูกไมด่ ี หรอื เพราะความเป็น
เมล็ดพืชทไ่ี มด่ ี เมลด็ พืชจึงงอกดไี มไ่ ด้ ฉนั ใด, ขอถวายพระพร เวทนาของพระผู้มพี ระภาคเจา้
นี้ เปน็ เวทนาที่บงั เกดิ โดยเป็นผลกรรมก็ได้ เป็นเวทนาทบี่ ังเกดิ จากการกระท�ำกไ็ ด้ ไม่มี
เวทนาอื่นท่นี อกเหนือไปจากเวทนา ๒ อยา่ งนนั้ ฉนั นนั้ เหมือนกัน
‘‘ยถา วา ปน มหาราช โกฏ ฺ ทุฏฺ ตาย วา โภชนํ วสิ ม ํ ปรณิ มติ อาหารทฏุ ฺ ตาย
วา, เอวเมว โข มหาราช กมฺมวปิ ากโต วา ภควโต เอสา เวทนา นพิ ฺพตตฺ า กิริยโต วา,
ตตุทธฺ ํ นตฺถ ฺ า เวทนา ฯ
ขอถวายพระพร ก็อีกอยา่ งหน่ึง เปรยี บเหมอื นว่า เพราะมที เ่ี กบ็ ไมด่ ี หรอื เพราะเป็น
อาหารท่ไี ม่ดี ของกินจึงเปล่ียนไปเปน็ ของแสลง ไป ฉนั ใด ขอถวายพระพร เวทนาของพระผู้มี
พระภาคเจ้านี้ เป็นเวทนาที่บงั เกิดโดยเป็นผลกรรมก็ได้ เป็นเวทนาทบ่ี ังเกิดจากการกระท�ำ
กไ็ ด้ ไมม่ เี วทนาอนื่ ทนี่ อกเหนือไปจากเวทนา ๒ อยา่ งนัน้ ฉนั น้นั เหมอื นกนั
336 มลิ ินทปญั หาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปัญห
อปจิ มหาราช นตถฺ ิ ภควโต กมมฺ วปิ ากชา เวทนา, นตถฺ ิ วสิ มปรหิ ารชา เวทนา,
อวเสเสหิ สมุฏ ฺ าเนห ิ ภควโต เวทนา อปุ ปฺ ชชฺ ต,ิ ตาย จ ปน เวทนาย น สกฺกา
ภควนฺตํ ชีวิตา โวโรเปตํุ ฯ
ขอถวายพระพร อกี นยั หนึง่ ส�ำหรับพระผู้มพี ระภาคเจ้า หาทรงมเี วทนาที่เกิดโดยเปน็
วิบากของกรรมไม่ หาทรงมีเวทนาทเ่ี กิดจากการบรหิ ารรา่ งกายไมส่ ม�ำ่ เสมอไม่ พระผู้มีพระ
ภาคเจ้าทรงเกดิ เวทนาจากสมฏุ ฐานที่เหลือ แตว่ า่ เวทนานน้ั ไม่อาจจะปลงพระชนม์ชพี ของ
พระผูม้ พี ระภาคเจ้าได้
‘‘นิปตนตฺ ิ มหาราช อมิ สฺมึ จาตมุ หาภตู ิเก กาเย อฏิ ฺ านฏิ ฺ า สภุ าสุภเวทนา ฯ
อิธ มหาราช อากาเส ขติ โฺ ต เลฑฑฺ ุ มหาปถวยิ า นิปตต,ิ อปิ นุ โข โส มหาราช เลฑฑฺ ุ
ปุพฺเพ กเตน มหาปถวิยา นปิ ตี’’ติ ?
ขอถวายพระพรมหาบพติ ร เวทนาที่ดีและไมด่ ี ที่นา่ ปรารถนาและไม่น่าปรารถนา
ยอ่ มตกอยใู่ นกายอันประกอบด้วยมหาภตู รูป ๔ น้ี ขอถวายพระพร กอ้ นดนิ ท่เี ขาขว้างไปใน
อากาศ ย่อมตกลงบนแผ่นดินใหญ่นี้ ขอถวายพระพร กอ้ นดนิ นัน้ ตกลงบนแผ่นดินใหญไ่ ด้
เพราะกรรมที่แผน่ ดนิ ใหญไ่ ดท้ �ำไวห้ รอื ไร ?”
‘‘น ห ิ ภนฺเต นตถฺ ิ โส ภนเฺ ต เหต ุ มหาปถวยิ า, เยน เหตุนา มหาปถวี
กุสลากสุ ลวปิ ากํ ปฏิสํเวเทยยฺ , ปจจฺ ปุ ฺปนฺเนน ภนเฺ ต อกมฺมเกน เหตนุ า โส เลฑฑฺ ุ
มหาปถวยิ ํ นปิ ตติ ฯ
พระเจ้ามิลนิ ท์ตรัสว่า “หามิได้ พระคณุ เจา้ เหตทุ ที่ �ำให้แผ่นดนิ ใหญ่ พงึ เสวยวบิ ากของ
กศุ ลและอกศุ ล ยอ่ มไม่มี พระคุณเจา้ กอ้ นดินนน้ั ตกลงบนแผน่ ดนิ ใหญ่ เพราะเหตุปัจจยั ที่เกิด
ข้นึ เฉพาะหนา้ มใิ ชก่ รรม”
ยถา มหาราช มหาปถว,ี เอวํ ตถาคโต ทฏฺ พฺโพ ฯ ยถา เลฑฑฺ ุ ปุพเฺ พ อกเตน
มหาปถวยิ ํ นิปตติ, เอวเมว โข มหาราช ตถาคตสฺส ปพุ ฺเพ อกเตน สา สกขฺ ลกิ า ปาเท
นิปตติ า ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร พงึ เห็นว่า พระตถาคตทรงเปรยี บได้
ด้วยแผน่ ดินใหญ่เถดิ กอ้ นดนิ ตกลงบนแผน่ ดนิ ใหญ่ได้เพราะเหตุท่ไี ม่ใชก่ รรมทีแ่ ผ่นดินใหญ่
ท�ำไว้ ในกาลก่อน ฉนั ใด สะเกด็ หินนน้ั ก็ตกลงทพ่ี ระบาทของพระตถาคต เพราะเหตทุ ่ไี ม่ใช่
กรรมที่พระตถาคตทรงท�ำไว้ในกาลกอ่ น ฉนั นั้นเหมอื นกัน
กณั ฑ]์ ๔.๑ อิทธิพลวรรค 337
‘‘อิธ ปน มหาราช มนุสฺสา มหาปถว ึ ภินฺทนตฺ ิ จ ขณนฺติ จ, อปิ นุ โข มหาราช
เต มนสุ สฺ า ปพุ เฺ พ กเตน มหาปถวึ ภินทฺ นฺต ิ จ ขณนฺต ิ จา’’ติ ?
ขอถวายพระพร ก็พวกมนุษย์ทงั้ หลายในโลกนี้ ยอ่ มตัดและขดุ แผน่ ดนิ ใหญ่ ขอถวาย
พระพร แผ่นดนิ ใหญ่ถูกพวกมนษุ ยเ์ หล่านน้ั ตดั และขดุ เพราะแผ่นดนิ ใหญ่ไดท้ �ำกรรมไว้หรือ
หนอ ?”
‘‘น ห ิ ภนฺเต’’ติ ฯ
พระเจา้ มิลนิ ทต์ รัสว่า “หามไิ ด้ พระคณุ เจ้า”
‘‘เอวเมว โข มหาราช ยา สา สกฺขลิกา ภควโต ปาเท นิปติตา, น สา สกขฺ ลิกา
ปพุ เฺ พ กเตน ภควโต ปาเท นิปตติ า ฯ โยป ิ มหาราช ภควโต โลหติ ปกฺขนฺทิกาพาโธ
อุปปฺ นฺโน, โสปิ อาพาโธ น ปุพเฺ พ กเตน อปุ ฺปนฺโน, สนนฺ ปิ าตเิ กเนว อปุ ฺปนโฺ น, เย เกจิ
มหาราช ภควโต กายกิ า อาพาธา อปุ ฺปนนฺ า, น เต กมมฺ าภินพิ พฺ ตตฺ า, ฉนฺนํ เอเตส ํ
สมุฏฺ านาน ํ อ ฺ ตรโต นิพฺพตฺตา ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร กเ็ หมอื นกนั อย่างน้นั นัน่ แหละ สะเก็ด
หนิ ทต่ี กไปท่พี ระบาทของพระผมู้ ีพระภาคเจา้ นัน้ ก็หาได้ตกไปทพ่ี ระบาทของพระผมู้ พี ระ
ภาคเจ้า เพราะเหตุที่พระผู้มพี ระภาคเจ้าทรงได้ท�ำกรรมไว้ในกาลกอ่ นไม่ ขอถวายพระพร แม้
พระปักขันทิกาพาธท่เี กิดข้ึนกบั พระผูม้ พี ระภาคเจ้า ก็หาได้เกดิ ขึ้นเพราะเหตทุ ่ีพระผมู้ พี ระ
ภาคเจา้ ทรงกระท�ำกรรมไวใ้ นกาลกอ่ นไม่ เกดิ ขึ้นเพราะเหตุประจวบรว่ มกันเทา่ นั้น ขอถวาย
พระพร พระอาพาธทางพระวรกายอย่างใดอย่างหนึ่ง ที่เกิดกบั พระผู้มีพระภาคเจา้ พระ
อาพาธเหล่านัน้ หาบังเกิดเพราะกรรมไม่ บังเกดิ เพราะสมุฏฐาน ๖ อย่างเหลา่ น่นั อย่างใด
อยา่ งหนงึ่
‘‘ภาสติ มฺเปตํ มหาราช ภควตา เทวาตเิ ทเวน สยํ ตุ ฺตนิกายวรล ฺฉเก โมฬยิ สวี เก
เวยฺยากรเณ –
‘‘ปิตฺตสมุฏฺ านานปิ ิ โข สีวก อเิ ธกจฺจานิ เวทยติ าน ิ อปุ ฺปชฺชนฺติ ฯ สามมฺป ิ โข เอต ํ
สวี ก เวทิตพฺพํ, ยถา ปิตตฺ สมุฏฺ านานปิ ิ อิเธกจฺจาน ิ เวทยติ านิ อปุ ฺปชชฺ นตฺ ิ ฯ โลกสฺสป ิ โข
เอตํ สวี ก สจจฺ สมมฺ ต,ํ ยถา ปิตฺตสมฏุ ฺ านานปิ ิ อิเธกจจฺ าน ิ เวทยิตานิ อปุ ปฺ ชฺชนตฺ ิ ฯ
ตตฺร สวี ก เย เต สมณพรฺ าหฺมณา เอววํ าทโิ น เอวทํ ฏิ ฺ ิโน ‘‘ย ํ กิ จฺ ายํ ปุริสปคุ ฺคโล
ปฏิสเํ วเทติ สุข ํ วา ทุกขฺ ํ วา อทกุ ขฺ มสขุ ํ วา, สพพฺ ํ ต ํ ปุพเฺ พ กตเหต’ู ’ติ ฯ ย ฺจ สามํ
338 มลิ นิ ทปัญหาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปญั ห
าต,ํ ต ฺจ อติธาวนฺติ, ย จฺ โลเก สจฺจสมมฺ ต,ํ ต จฺ อตธิ าวนตฺ ิ ฯ ตสฺมา เตส ํ
สมณพรฺ าหฺมณานํ มิจฺฉาต ิ วทามิ ฯ
ขอถวายพระพรมหาบพิตร พระผู้มีพระภาคเจ้าผทู้ รงเป็นเทพยิง่ กวา่ เหลา่ เทพทงั้
หลาย ได้ทรงภาษิตความข้อนไ้ี วใ้ นสงั ยุตตนิกาย วรลัญฉกะ ในโมฬิยสวี กไวยากรณ์วา่
“สวี กะ เวทนาบางอยา่ งทมี่ ดี ีเป็นสมุฏฐาน ย่อมเกดิ ขน้ึ ในโลกน้ี ขอ้ ที่ว่าเวทนาบาง
อยา่ งท่ีมดี เี ป็นสมุฏฐาน ยอ่ มเกดิ ขน้ึ ในโลกนี้น่นั แมเ้ ราเองก็รับรวู้ า่ จรงิ ตามอยา่ งท่มี นั เปน็ ขอ้
ท่ีเวทนาบางอย่างทมี่ ดี เี ป็นสมฏุ ฐาน ยอ่ มเกิดขึ้นในโลกน้นี ่ัน แมช้ าวโลกกม็ กี ารรบั รู้กันวา่ จริง
ตามอยา่ งทีม่ ันเป็น สวี กะ ในเร่อื งนี้ สมณะและพราหมณ์พวกทีม่ ีวาทะอยา่ งน้ี มีทฏิ ฐอิ ย่างนีว้ ่า
บรุ ุษบคุ คลเสวยเวทนาอยา่ งใดอยา่ งหนงึ่ จะเปน็ สขุ กต็ าม ทุกขก์ ต็ าม ไมท่ ุกขไ์ ม่สขุ ก็ตาม
เวทนาทั้งหมดน้นั มีกรรมท่ีท�ำไว้ในกาลก่อนเปน็ เหตุ ดังน้ีใด สมณะและพราหมณ์เหลา่ นนั้ ช่ือ
วา่ ย่อมคดิ เลยเถิดสง่ิ ท่ีเราเองกร็ บั รู้ ชื่อวา่ ย่อมคิดเลยเถิดสิ่งทช่ี าวโลกก็รับรู้กนั อยู่ว่าเปน็ จริง.
เพราะฉะนนั้ เราขอกลา่ วว่า วาทะและทฏิ ฐิของพวกสมณะและพราหมณ์เหล่าน้ันเป็นวาทะ
และทฏิ ฐทิ ผ่ี ิด”
‘‘เสมหฺ สมฏุ ฺ านานิปิ โข สีวก อเิ ธกจจฺ านิ เวทยติ าน ิ อปุ ฺปชชฺ นฺติ ฯ วาต-
สมุฏฺ านานิปิ โข สีวก…เป.… สนฺนิปาติกานปิ ิ โข สวี ก…เป.… อตุ ปุ ริณามชานปิ ิ โข
สีวก…เป.… วิสมปรหิ ารชานิปิ โข สีวก…เป.… โอปกฺกมกิ านปิ ิ โข สีวก…เป.…
กมฺมวปิ ากชานิปิ โข สวี ก อิเธกจจฺ าน ิ เวทยิตานิ อุปปฺ ชชฺ นฺติ ฯ สามมปฺ ิ โข เอตํ สีวก
เวทติ พพฺ ํ, ยถา กมมฺ วปิ ากชานิปิ อิเธกจจฺ านิ เวทยติ าน ิ อุปปฺ ชชฺ นตฺ ิ ฯ โลกสสฺ ป ิ โข เอตํ
สวี ก สจจฺ สมฺมต,ํ ยถา กมฺมวปิ ากชานิปิ อิเธกจฺจาน ิ เวทยิตานิ อุปปฺ ชฺชนฺติ ฯ ตตรฺ สีวก
เย เต สมณพฺราหฺมณา เอววํ าทโิ น เอวํทฏิ ฺ ิโน ‘‘ย ํ ก ิ ฺจาย ํ ปรุ สิ ปุคคฺ โล ปฏสิ เํ วเทต ิ สขุ ํ
วา ทุกขฺ ํ วา อทกุ ฺขมสุขํ วา, สพฺพ ํ ตํ ปพุ เฺ พ กตเหต’ู ’ติ ฯ ย ฺจ สามํ าตํ, ต ฺจ
อตธิ าวนตฺ ,ิ ย จฺ โลเก สจฺจสมมฺ ต,ํ ต จฺ อติธาวนตฺ ิ ฯ ตสฺมา เตส ํ สมณพฺราหมฺ ณาน ํ
มิจฺฉาติ วทาม’ี ’ติ ฯ
สวี กะ เวทนาบางอยา่ งแม้ท่มี เี สมหะเป็นสมุฏฐาน ยอ่ มเกดิ ขนึ้ ในโลกน้ี สีวกะ เวทนา
บางอย่างแม้ทีม่ ลี มเป็นสมฏุ ฐาน ฯลฯ สวี กะ แม้ทมี่ ีสมฏุ ฐานรวมกัน ฯลฯ สีวกะ แม้ท่เี กิดจาก
ความเปล่ียนแปลงแหง่ อตุ ุ ฯลฯ สวี กะ แมท้ ีเ่ กิดจากการบรหิ ารไมส่ มำ่� เสมอ ฯลฯ แมท้ ี่เกดิ จาก
ความพยายาม ฯลฯ สีวกะ เวทนาบางอยา่ ง แมท้ ี่เกดิ โดยเปน็ วบิ ากของกรรม ยอ่ มเกดิ ขนึ้ ใน
โลกนี้ สีวกะ พึงทราบขอ้ ที่เวทนาบางอยา่ งที่เกดิ โดยเป็นวบิ ากของกรรม ยอ่ มเกดิ ขึน้ ในโลกนี้
กัณฑ์] ๔.๑ อทิ ธิพลวรรค 339
นัน่ แมช้ าวโลกก็รับรวู้ า่ จรงิ ตามอย่างท่มี นั เปน็ . สีวกะ ในเร่ืองนน้ั สมณะและพราหมณ์พวกที่
มวี าทะอย่างนี้ มที ฏิ ฐิอย่างนวี้ ่า บุรษุ บคุ คลเสวยเวทนาอยา่ งใดอย่างหนง่ึ จะเป็นสุขก็ตาม เป็น
ทุกขก์ ็ตาม ไมท่ ุกขไ์ ม่สุขก็ตาม เวทนาท้ังหมดนน้ั มีกรรมที่ท�ำไว้ในกาลกอ่ นเป็นเหตุ ดังน้ใี ด
สมณะและพราหมณ์เหล่าน้นั ชอื่ วา่ ย่อมคดิ เลยเถิดสิง่ ที่เราเองรับรู้ ชื่อว่าย่อมคิดเลยเถดิ ส่งิ ท่ี
ชาวโลกรับรู้กนั อยวู่ า่ เป็นจรงิ เพราะฉะน้ัน เราขอกล่าววา่
วาทะและทิฏฐิของพวกสมณะและพราหมณเ์ หล่านั้นเปน็ วาทะและทิฏฐทิ ่ีผดิ
‘‘อติ ิป ิ มหาราช น สพพฺ า เวทนา กมมฺ วิปากชา, สพพฺ ํ มหาราช อกสุ ล ํ
ฌาเปตวฺ า ภควา สพพฺ ฺ ุต ํ ปตโฺ ตติ เอวเมต ํ ธาเรห’ี ’ติ ฯ
ขอถวายพระพร แม้เพราะเหตุนี้ เวทนาทกุ อย่าง หาล้วนเกิดโดยเปน็ วบิ ากของกรรม
แต่อยา่ งเดียวไม่ ขอถวายพระพร ขอพระองค์จงทรงยอมรบั ความขอ้ นีอ้ ย่างนเี้ ถดิ ว่า พระผมู้ ี
พระภาคเจ้า ทรงเผาอกศุ ลไดท้ งั้ หมด ทรงบรรลุพระสพั พญั ญุตญาณ”
‘‘สาธุ ภนเฺ ต นาคเสน เอวเมตํ ตถา สมปฺ ฏิจฺฉามี’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลนิ ทต์ รัสวา่ “ดีจรงิ พระคุณเจ้านาคเสน โยมขอยอมรบั ความขอ้ นต้ี ามที่
ท่านได้กลา่ วมานี”้
อกุสลจฺเฉทนปญโฺ ห อฏฺ€โม ฯ
จบอกุสลัจเฉทนปัญหาข้อท่ี ๘
________
๙. อตุ ฺตรกิ รณียปญฺห
๙. อตุ ตรกิ รณยี ปญั หา
ปญั หาวา่ ดว้ ยกิจทต่ี อ้ งท�ำให้ยิ่งขึน้ ไปอกี
[๙] ‘‘ภนฺเต นาคเสน ตุมฺเห ภณถ ‘ยํ ก ิ จฺ ิ กรณยี ํ ตถาคตสสฺ , สพพฺ ํ ต ํ
โพธยิ าเยว มเู ล ปรินฏิ ฺ ติ ํ, นตถฺ ิ ตถาคตสฺส อตุ ฺตรึ กรณยี ,ํ กตสฺส วา ปตจิ โย’ติ, อิท จฺ
เตมาสํ ปฏสิ ลฺลาน ํ ทิสฺสติ ฯ ยท ิ ภนฺเต นาคเสน ยํ ก ิ ฺจิ กรณีย ํ ตถาคตสฺส, สพพฺ ํ ตํ
โพธยิ าเยว มเู ล ปรินฏิ ฺ ติ ,ํ นตฺถิ ตถาคตสสฺ อุตฺตรึ กรณยี ํ, กตสฺส วา ปติจโย, เตนห ิ
‘เตมาสํ ปฏสิ ลลฺ ีโน’ต ิ ยํ วจนํ, ตํ มิจฉฺ า ฯ ยทิ เตมาส ํ ปฏสิ ลฺลีโน, เตนหิ ‘ย ํ ก ิ จฺ ิ กรณีย,ํ
ตถาคตสฺส, สพฺพํ ตํ โพธยิ าเยว มูเล ปรนิ ฏิ ฺ ิตนฺ’ต ิ ตมฺปิ วจนํ มจิ ฉฺ า ฯ นตฺถ ิ กตกรณียสสฺ
340 มิลินทปญั หาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปัญห
ปฏสิ ลฺลาน,ํ สกรณียสเฺ สว ปฏสิ ลลฺ าน ํ ยถา นาม พยฺ าธติ สเฺ สว เภสชเฺ ชน กรณยี ํ โหต,ิ
อพยฺ าธิตสสฺ ก ึ เภสชเฺ ชน ฯ ฉาตสเฺ สว โภชเนน กรณยี ํ โหติ, อฉาตสฺส กึ โภชเนน ฯ
เอวเมว โข ภนเฺ ต นาคเสน นตฺถิ กตกรณียสฺส ปฏสิ ลฺลานํ, สกรณยี สฺเสว ปฏสิ ลลฺ านํ ฯ
อยมฺป ิ อภุ โต โกฏิโก ป โฺ ห ตวานุปปฺ ตฺโต, โส ตยา นพิ ฺพาหติ พโฺ พ’’ติ ฯ
[๙] พระเจ้ามิลินท์ ตรัสถามวา่ “พระคณุ เจ้านาคเสน ทา่ นท้ังหลายกลา่ วกันวา่ กิจท่ี
ต้องท�ำอย่างใดอย่างหน่ึงแห่งพระตถาคต พระตถาคตทรงท�ำกิจท้งั หมดน้ัน จบสิน้ แล้ว ณ
โคนตน้ โพธิ์ พระตถาคตไมท่ รงมกี จิ ทีต่ ้องท�ำต่อไปอีก และไม่ทรงมกี ารรวบรวมกิจทีท่ รงท�ำ
แล้ว ดังน้ี กแ็ ต่วา่ เรอื่ งท่พี ระตถาคตทรงมีการอยูห่ ลีกเร้นตลอด ๓ เดอื นนี้ ก็ปรากฏอยู่ พระคณุ
เจ้านาคเสน ถา้ หากว่ากจิ ทีต่ อ้ งท�ำอยา่ งใดอยา่ งหนึ่งแหง่ พระตถาคต พระตถาคตทรงท�ำกจิ
ทั้งหมดนนั้ จบส้ินแลว้ ณ โคนต้นโพธิ์ พระตถาคตไมท่ รงมกี จิ ตอ้ งท�ำต่อไปอกี และไม่ทรงมี
การรวบรวมกิจทท่ี รงท�ำแล้ว จรงิ แล้วไซร้ ถ้าอย่างน้นั ค�ำว่า ทรงมกี ารหลีกเรน้ อยู่ตลอด ๓
เดอื น ดงั นี้ ก็ต้องเปน็ ค�ำพูดท่ผี ดิ ถ้าหากวา่ พระตถาคตทรงมีการอยู่หลกี เรน้ ตลอด ๓ เดอื น
จรงิ แลว้ ไซร้ ถ้าอย่างน้ัน ค�ำพดู ทว่ี ่า กจิ ท่ตี ้องท�ำอย่างใดอยา่ งหนงึ่ แหง่ พระตถาคต พระ
ตถาคตทรงท�ำกิจน้ันทงั้ หมดจบส้ินแล้ว ณ ทโ่ี คนต้นโพธ์ิ ดังน้ี กต็ อ้ งเปน็ ค�ำพูดทีผ่ ดิ คนทไ่ี ด้
ท�ำกจิ ท่ตี ้องท�ำจบสนิ้ แลว้ ย่อมไม่มกี ารอยู่หลกี เรน้ คนที่ยังมกี จิ ทต่ี ้องท�ำเท่านนั้ จึงจะมีการอยู่
หลกี เร้น เปรียบเหมอื นว่า คนท่ีเจ็บป่วยเท่านน้ั จึงมีกจิ ท่ีตอ้ งท�ำด้วยยา ส�ำหรบั คนท่ยี งั ไม่เจ็บ
ป่วย ประโยชน์อะไรด้วยยาเล่า คนหิวอยู่เท่านนั้ จงึ มีกิจท่ตี ้องท�ำด้วยอาหาร ส�ำหรับคนทยี่ งั
ไมห่ วิ ประโยชนอ์ ะไรดว้ ยอาหารเล่า ฉันใด พระคุณเจา้ นาคเสน คนท่ไี ดท้ �ำกจิ ทต่ี อ้ งท�ำจบส้ิน
แลว้ ย่อมไม่มีการอยหู่ ลีกเร้น คนทีย่ งั มีกิจท่ตี อ้ งท�ำเท่านั้น จงึ จะมีการอยหู่ ลีกเร้น ฉันนนั้
เหมือนกนั ปญั หาแม้นีก้ ็มี ๒ เง่อื น ตกถึงแกท่ ่านตามล�ำดับแล้ว ขอท่านพึงคลี่คลายปญั หานั้น
เถิด”
‘‘ย ํ กิ จฺ ิ มหาราช กรณยี ํ ตถาคตสฺส, สพพฺ ํ ตํ โพธยิ าเยว มเู ล ปรินฏิ ฺ ติ ,ํ นตถฺ ิ
ตถาคตสฺส อุตตฺ รึ กรณียํ, กตสสฺ วา ปติจโย, ภควา จ เตมาสํ ปฏิสลฺลีโน, ปฏิสลฺลาน ํ
โข มหาราช พหคุ ุณํ, สพเฺ พปิ ตถาคตา ปฏิสลฺลยี ิตฺวา สพฺพ ฺ ุตํ ปตฺตา, ต ํ เต สกุ ต-
คณุ มนุสสฺ รนฺตา ปฏิสลลฺ าน ํ เสวนฺติ ฯ ยถา มหาราช ปุรโิ ส ร ฺโ สนตฺ กิ า ลทธฺ วโร
ปฏิลทฺธโภโค ตํ สกุ ตคณุ มนสุ ฺสรนโฺ ต อปราปร ํ ร โฺ อปุ ฏ ฺ านํ เอติ ฯ เอวเมว โข
มหาราช สพเฺ พปิ ตถาคตา ปฏสิ ลฺลยี ติ วฺ า สพพฺ ฺ ุตํ ปตฺตา, ตํ เต สุกตคณุ มนุสฺสรนฺตา
ปฏสิ ลลฺ าน ํ เสวนตฺ ิ ฯ
กัณฑ]์ ๔.๑ อทิ ธพิ ลวรรค 341
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร กิจทตี่ ้องท�ำอยา่ งใดอย่าง
หนึ่งแห่งพระตถาคต พระตถาคตทรงท�ำกิจทง้ั หมดนน้ั จนส้นิ แล้วท่ีโคนต้นโพธ์ิ พระตถาคตไม่
ทรงมีกิจท่ตี อ้ งท�ำต่อไปอีก และไม่ทรงมกี ารรวบรวมกิจท่ที รงท�ำไว้แลว้ จริง และพระผมู้ ีพระ
ภาคเจ้ากท็ รงมกี ารอยู่หลกี เรน้ ตลอด ๓ เดือน จริง ขอถวายพระพร การอยู่หลกี เร้นเป็นของมี
คณุ มาก แล พระตถาคตแมท้ กุ พระองค์ทรงอยู่หลกี เรน้ แลว้ จึงทรงบรรลุพระสัพพญั ญตุ ญาณ
พระตถาคตทั้งหลายเหลา่ นั้น เมือ่ ทรงหวนระลกึ ถงึ คุณแหง่ การหลกี เร้นท่พี ระองค์ทรงท�ำไว้
ดีแลว้ นน้ั จึงยงั ทรงส้องเสพการหลกี เร้นอยู.่ ขอถวายพระพร เปรียบเหมือนว่า บรุ ษุ คนหนงึ่
ไดร้ บั พร ไดร้ ับโภคทรัพยจ์ ากส�ำนักของพระราชาแล้ว เมื่อหวนระลกึ ถึงคณุ แห่งพระราชาที่
ทรงท�ำไว้ดีแลว้ น้นั กย็ ่อมมาส่สู ถานทีบ่ �ำรุงแหง่ พระราชาอยู่เรือ่ ย ๆ ฉนั ใด ขอถวายพระพร
พระตถาคตแม้ทุกพระองค์ ทรงอยหู่ ลกี เรน้ แล้ว จงึ ทรงบรรลพุ ระสัพพัญญตุ ญาณ พระตถาคต
เหลา่ นั้น เม่ือทรงหวนระลึกถงึ คุณแห่งการอยหู่ ลกี เร้นที่ทรงท�ำไวด้ แี ลว้ น้นั จงึ ทรงสอ้ งเสพ
การอยู่หลกี เรน้ ฉนั นั้นเหมอื นกนั
‘‘ยถา วา ปน มหาราช ปุริโส อาตุโร ทกุ ขฺ โิ ต พาฬฺหคลิ าโน ภสิ กฺกมปุ เสวติ วฺ า
โสตถฺ มิ นุปฺปตโฺ ต ตํ สุกตคุณมนุสสฺ รนโฺ ต อปราปร ํ ภิสกกฺ มปุ เสวติ ฯ เอวเมว โข มหาราช
สพฺเพปิ ตถาคตา ปฏิสลฺลียิตฺวา สพฺพ ฺ ุต ํ ปตฺตา, ต ํ เต สุกตคณุ มนสุ ฺสรนตฺ า ปฏิสลฺลานํ
เสวนตฺ ิ ฯ
ขอถวายพระพร อีกอย่างหนึ่ง เปรียบเหมือนว่า บรุ ุษคนหน่ึงเป็นคนข้ีโรค เป็นทุกข์
เป็นไข้หนกั พอได้หาหมอแลว้ ก็ถึงความสวสั ดีได้ เมอ่ื หวนระลึกถึงคณุ ของหมอทห่ี มอท�ำไว้
ดแี ลว้ น้ัน กย็ อ่ มหาหมออยเู่ ร่อื ย ๆ ฉันใด ขอถวายพระพร พระตถาคตแม้ทุกพระองค์ ทรงอยู่
หลีกเร้นแล้ว จงึ ทรงบรรลพุ ระสัพพัญญุตญาณ พระตถาคตเหลา่ น้นั เมือ่ ทรงหวนระลกึ ถงึ คณุ
แห่งการอยู่หลกี เรน้ ท่ที รงท�ำไว้ดแี ล้วน้ัน จึงยงั ทรงสอ้ งเสพการอยู่หลีกเรน้ ฉันน้นั เหมือนกนั
‘‘อฏ ฺ วสี ติ โข ปนเิ ม มหาราช ปฏสิ ลลฺ านคุณา, เย คเุ ณ สมนสุ สฺ รนฺตา ตถาคตา
ปฏิสลฺลาน ํ เสวนฺติ ฯ กตเม อฏฺ วีสติ ? อิธ มหาราช ปฏสิ ลฺลานํ ปฏสิ ลฺลยี มานํ อตฺตานํ
รกขฺ ต,ิ อาย ํุ วฑฺเฒต,ิ พล ํ เทติ, วชฺช ํ ปิทหต,ิ อยสมปเนติ, ยสมุปเนติ, อรตึ วิโนเทต,ิ
รติมปุ ทหติ, ภยมปเนติ, เวสารชชฺ ํ กโรติ, โกสชชฺ มปเนติ, วรี ิยมภิชเนต,ิ ราคมปเนติ,
โทสมปเนต,ิ โมหมปเนต,ิ มานํ นหิ นฺต,ิ วิตกฺกํ ภ ฺชต,ิ จติ ตฺ ํ เอกคคฺ ํ กโรติ, มานส ํ
สฺเนหยต,ิ หาสํ ชเนต,ิ ครุก ํ กโรติ, ลาภมปุ ฺปาทยติ, นมสฺสยิ ํ กโรต,ิ ปตี ึ ปาเปต,ิ
342 มลิ ินทปัญหาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปญั ห
ปาโมชฺช ํ กโรติ, สงฺขาราน ํ สภาวํ ทสฺสยติ, ภวปปฺ ฏิสนธฺ ึ อุคฆฺ าเฏต,ิ สพฺพสาม ฺ ํ
เทติ ฯ
ขอถวายพระพร คณุ แหง่ การอยูห่ ลกี เรน้ มี ๒๘ ขอ้ เหล่าน้ี ซึ่งเปน็ คณุ ท่ีพระตถาคต
ทรงระลึกถึงอยู่ กย็ ังทรงสอ้ งเสพการอยู่หลกี เรน้ คณุ แห่งการอยู่หลีกเร้นมี ๒๘ ขอ้ อะไรบา้ ง ?
๑. ขอถวายพระพร การอยู่หลกี เร้นในพระศาสนาน้ี ย่อมรกั ษาตนผู้อยูห่ ลกี เร้น
๒. การอยู่หลีกเรน้ ย่อมท�ำการเจริญอายุ
๓. การอยู่หลีกเร้น ย่อมมอบก�ำลงั ให้
๔. การอยหู่ ลกี เร้น ย่อมปดิ กนั้ โทษได้
๕. การอยหู่ ลีกเร้น ยอ่ มขจดั ความเป็นคนไมม่ ยี ศ
๖. การอยู่หลกี เรน้ ยอ่ มน�ำเขา้ ไปสคู่ วามเปน็ คนมียศ
๗. การอยูห่ ลกี เร้น ยอ่ มบรรเทาความไม่ยนิ ดี
๘. การอยหู่ ลกี เร้น ย่อมท�ำความยินดใี ห้คงอยู่
๙. การอยหู่ ลีกเร้น ยอ่ มขจัดความกลัวได้
๑๐. การอยู่หลกี เร้น ย่อมสร้างความกลา้ หาญ
๑๑. การอยู่หลกี เรน้ ย่อมขจดั ความเกียจคร้านได้
๑๒. การอยหู่ ลีกเร้น ยอ่ มท�ำใหเ้ กดิ ความเพียร
๑๓. การอยหู่ ลกี เรน้ ยอ่ มขจดั ราคะได้
๑๔. การอยหู่ ลกี เรน้ ย่อมขจดั โทสะได้
๑๕. การอยหู่ ลกี เรน้ ย่อมขจดั โมหะได้
๑๖. การอยหู่ ลกี เรน้ ย่อมถอนมานะได้
๑๗. การอยู่หลกี เร้น ยอ่ มท�ำลายวติ กได้
๑๘. การอยู่หลีกเร้น ยอ่ มท�ำจิตใหม้ ีอารมณเ์ ดยี วได้ (สมาธ)ิ
๑๙. การอยูห่ ลีกเรน้ ยอ่ มท�ำใหผ้ ูกจติ ไว้ได้
๒๐. การอยู่หลกี เร้น ย่อมท�ำให้เกดิ ความบรรเทงิ
๒๑. การอยู่หลกี เร้น ย่อมท�ำใหเ้ ปน็ คนนา่ เคารพ
๒๒. การอยู่หลีกเร้น ยอ่ มท�ำให้เกิดลาภ
๒๓. การอยู่หลีกเรน้ ย่อมท�ำให้เปน็ ที่นอบน้อม
๒๔. การอยู่หลีกเรน้ ย่อมท�ำให้บรรลถุ ึงปตี ิ
กัณฑ]์ ๔.๑ อิทธิพลวรรค 343
๒๕. การอยู่หลีกเร้น ย่อมสรา้ งความปราโมทย์
๒๖. การอยูห่ ลกี เร้น ย่อมท�ำใหเ้ หน็ สภาวะแห่งสงั ขารทง้ั หลาย
๒๗. การอยหู่ ลกี เร้น ยอ่ มท�ำใหเ้ พิกถอนปฏิสนธิในภพได้
๒๘. การอยหู่ ลีกเรน้ ย่อมมอบสามัญญผลทง้ั ปวงให้
อเิ ม โข มหาราช อฏ ฺ วีสติ ปฏิสลลฺ านคณุ า, เย คุเณ สมนุสฺสรนฺตา ตถาคตา
ปฏิสลฺลาน ํ เสวนฺติ ฯ
ขอถวายพระพร คุณแห่งการอย่หู ลกี เรน้ มี ๒๘ ขอ้ เหล่าน้ีแล เปน็ คณุ ทีพ่ ระตถาคต
ทรงหวนระลกึ ถงึ อยู่ กย็ ังทรงส้องเสพการอยู่หลกี เร้นอยู่
‘‘อปิจ โข มหาราช ตถาคตา สนฺตํ สขุ ํ สมาปตตฺ ริ ต ึ อนภุ วติ ุกามา ปฏิสลลฺ านํ
เสวนตฺ ิ ปรโิ ยสติ สงกฺ ปฺปา ฯ จตหู ิ โข มหาราช การเณหิ ตถาคตา ปฏสิ ลลฺ านํ เสวนฺติ ฯ
กตเมหิ จตูหิ ? วิหารผาสุตายป ิ มหาราช ตถาคตา ปฏิสลฺลาน ํ เสวนฺต,ิ อนวชชฺ คุณ-
พหลุ ตายป ิ ตถาคตา ปฏสิ ลฺลาน ํ เสวนฺติ, อเสสอริยวถี โิ ตปิ ตถาคตา ปฏสิ ลลฺ านํ เสวนฺติ,
สพพฺ พทุ ธฺ าน ํ ถุตโถมติ วณณฺ ติ ปสตถฺ โตปิ ตถาคตา ปฏสิ ลลฺ าน ํ เสวนตฺ ิ ฯ
ขอถวายพระพร อีกอย่างหนง่ึ แล พระตถาคตทงั้ หลายผู้ทรงมีพระด�ำริเสรจ็ แล้ว ทรง
เปน็ ผู้ประสงคจ์ ะเสวยความยินดใี นสมาบัตซิ งึ่ สงบเปน็ สุข จึงทรงสอ้ งเสพการอย่หู ลกี เรน้ ขอ
ถวายพระพร พระตถาคตทรงสอ้ งเสพการอยู่หลกี เร้นด้วยเหตุ ๔ อย่างแล เหตุ ๔ อยา่ งมอี ะไร
บ้าง ?
๑. วหิ ารผาสุตายป ิ มหาราช ตถาคตา ปฏสิ ลฺลานํ เสวนตฺ ิ, ขอถวายพระพร พระ
ตถาคตท้ังหลาย ทรงสอ้ งเสพการอยู่หลีกเรน้ เพอ่ื ความอยผู่ าสกุ บ้าง
๒. อนวชฺชคณุ พหุลตายป ิ ตถาคตา ปฏสิ ลฺลานํ เสวนตฺ ,ิ พระตถาคตทัง้ หลาย ทรง
ส้องเสพการอยูห่ ลกี เร้น เพราะความไมม่ โี ทษและมากด้วยคณุ บา้ ง
๓. อเสสอริยวถี โิ ตป ิ ตถาคตา ปฏิสลฺลานํ เสวนตฺ ิ, พระตถาคตทัง้ หลาย ทรงส้อง
เสพการอยหู่ ลีกเรน้ เพราะเป็นทางด�ำเนินแหง่ พระอริยเจ้าทง้ั หลายทุกทา่ นไม่มีเหลอื บ้าง
๔. สพฺพพุทฺธานํ ถุตโถมิตวณณฺ ติ ปสตฺถโตปิ ตถาคตา ปฏสิ ลลฺ าน ํ เสวนตฺ ,ิ พระ
ตถาคตทัง้ หลาย ทรงสอ้ งเสพการอยหู่ ลกี เร้น เพราะเปน็ ของประเสริฐที่พระพุทธเจา้ ทุก
พระองค์ตรสั ยกยอ่ งชมเชยแซ่ซ้องสรรเสรญิ บา้ ง
344 มลิ ินทปัญหาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปัญห
อเิ มห ิ โข มหาราช จตหู ิ การเณห ิ ตถาคตา ปฏสิ ลฺลานํ เสวนตฺ ิ ฯ
ขอถวายพระพร พระตถาคตทัง้ หลาย ทรงสอ้ งเสพการอยหู่ ลกี เร้น ด้วยเหตุ ๔ อยา่ ง
เหลา่ น้ีแล
อติ ิ โข มหาราช ตถาคตา ปฏสิ ลลฺ านํ เสวนฺต ิ น สกรณียตาย, น กตสสฺ วา
ปตจิ ยาย, อถ โข คุณวิเสสทสฺสาวติ าย ตถาคตา ปฏสิ ลลฺ าน ํ เสวนตฺ ’ี ’ติ ฯ
ขอถวายพระพร พระตถาคตทั้งหลาย ทรงสอ้ งเสพการอยูห่ ลกี เรน้ เพราะยังทรงเปน็
ผูม้ ีกจิ ที่ต้องท�ำ กห็ าไม่ และเพราะทรงประสงค์จะรวบรวมกจิ ท่ที �ำแล้ว ก็หาไม่ โดยท่แี ทแ้ ล
พระตถาคตทง้ั หลาย ทรงสอ้ งเสพการอยูห่ ลีกเร้น เพราะทรงเล็งเห็นคณุ วเิ ศษ ดว้ ยประการ
ฉะนี้แล”
‘‘สาธุ ภนฺเต นาคเสน เอวเมตํ ตถา สมปฺ ฏจิ ฉฺ ามี’’ติ ฯ
พระเจา้ มิลนิ ทต์ รัสวา่ “ดจี ริง พระคุณเจ้านาคเสน โยมขอยอมรบั ข้อนีอ้ ยา่ งน้ี ตาม
ประการท่ที า่ นกลา่ วมาน้ี”
อุตฺตรกิ รณยี ปญฺโห นวโม ฯ
จบอตุ ตริกรณียปัญหาข้อที่ ๙
________
๑๐. อทิ ฺธพิ ลทสสฺ นปญหฺ
๑๐. อทิ ธพิ ลทสั สนปัญหา
ปญั หาว่าด้วยการแสดงก�ำลังแหง่ อทิ ธิบาท
[๑๐] ‘‘ภนฺเต นาคเสน ภาสิตมเฺ ปตํ ภควตา ‘ตถาคตสสฺ โข อานนฺท จตตฺ าโร
อิทฺธปิ าทา ภาวติ า พหลุ ีกตา ยานีกตา วตฺถุกตา อนุฏ ฺ ิตา ปริจิตา สุสมารทธฺ า, โส
อากงฺขมาโน อานนฺท ตถาคโต กปปฺ ํ วา ตฏิ ฺเ ยฺย กปฺปาวเสส ํ วา’ติ ฯ ปุน จ ภณิต ํ
‘อิโต ติณณฺ ํ มาสาน ํ อจจฺ เยน ตถาคโต ปรินพิ ฺพายสิ สฺ ตี’ติ ฯ ยท ิ ภนฺเต นาคเสน
ภควตา ภณติ ํ ‘ตถาคตสสฺ โข อานนทฺ จตฺตาโร อทิ ฺธปิ าทา ภาวิตา…เป.… กปปฺ าวเสสํ
วา’ติ, เตนหิ เตมาสปริจเฺ ฉโท มิจฉฺ า ฯ ยทิ ภนเฺ ต ตถาคเตน ภณติ ํ ‘อโิ ต ติณณฺ ํ
มาสานํ อจจฺ เยน ตถาคโต ปรินิพพฺ ายสิ สฺ ต’ี ติ, เตนห ิ ‘‘ตถาคตสสฺ โข อานนทฺ จตฺตาโร
อทิ ฺธปิ าทา ภาวิตา…เป.… กปปฺ าวเสสํ วา’ติ ตมปฺ ิ วจนํ มจิ ฉฺ า ฯ นตฺถิ ตถาคตาน ํ
กณั ฑ]์ ๔.๑ อทิ ธิพลวรรค 345
อฏฺ าเน คชชฺ ิตํ ฯ อโมฆวจนา พทุ ฺธา ภควนฺโต ตถวจนา อเทวฺ ชฺฌวจนา ฯ อยมปฺ ิ อภุ โต
โกฏิโก ป ฺโห คมฺภีโร สนุ ปิ โุ ณ ทนุ นฺ ชิ ฌฺ าปโย ตวานุปปฺ ตฺโต, ภนิ ฺเทตํ ทฏิ ฺ ิชาล,ํ เอกเํ ส
ปย, ภนิ ทฺ ปรวาทนฺ”ติ ฯ
[๑๐] พระเจ้ามลิ นิ ท์ ตรสั ถามวา่ “พระคณุ เจ้านาคเสน พระผูม้ ีพระภาคเจา้ ทรงภาษิต
ความข้อนี้ไว้วา่ ‘อานนท์ อิทธิบาท ๔ ตถาคตได้เจรญิ แล้ว ไดท้ �ำใหม้ ากแลว้ ได้ท�ำให้เปน็ ดุจ
ยานแล้ว ได้ท�ำให้เปน็ ทต่ี ้งั อาศัยแล้ว ต้งั ม่นั แล้ว ส่งั สมแลว้ ปรารภดีแล้ว อานนท์ ตถาคตนัน้
เมอ่ื หวงั อยู่ ก็จะพึงด�ำรงอยูไ่ ด้ตลอดกปั หรือตลอดสว่ นท่เี หลือแห่งกัป’ ดังน้ี และตรสั ไว้อกี ค�ำ
หน่งึ ว่า ‘ลว่ งไป ๓ เดอื นนับแต่น้ี ตถาคตจักปรินิพพาน’ ดังนี้ พระคุณเจา้ นาคเสน ถ้าหากพระ
ผมู้ พี ระภาคเจ้าตรสั ไวว้ ่า อานนท์ อทิ ธิบาท ๔ ตถาคตได้เจรญิ แลว้ ฯลฯ หรอื ตลอดส่วนที่
เหลือแห่งกัป ดงั น้ี ถา้ เชน่ น้ัน การก�ำหนด ๓ เดือน ก็ต้องเป็นค�ำทผ่ี ิด. ท่านผ้เู จริญ ถ้าพระ
ตถาคตตรัสพระด�ำรัสว่า ‘โดยอันลว่ งไปอีก ๓ เดอื นจากเดอื นน้ี พระตถาคตจักปรินพิ พาน’
ดังนี้ไซร้, ถา้ เช่นนนั้ ค�ำแม้นั้นวา่ ‘อิทธิบาท ๔ ตถาคตไดเ้ จริญแล้ว ไดท้ �ำใหม้ ากแล้ว ได้ท�ำให้
เปน็ ดุจยานแลว้ ได้ท�ำใหเ้ ปน็ ที่ตง้ั อาศยั แล้ว ต้ังม่ันแลว้ สั่งสมแลว้ ปรารภดแี ล้ว อานนท์
ตถาคตน้นั เมือ่ หวงั อยู่ ก็จะพงึ ด�ำรงอย่ไู ด้ตลอดกปั หรอื ตลอดส่วนทเ่ี หลือแหง่ กปั ’ ดังน้ี ก็
ตอ้ งเปน็ ค�ำพูดทีผ่ ดิ . พระตถาคตทง้ั หลาย ไม่ทรงมอี ันตรัสไว้ในฐานะท่ีไมเ่ ป็นจริง พระผมู้ พี ระ
ภาคพทุ ธเจา้ ทัง้ หลาย ไมท่ รงมวี าจาเหลวเปลา่ ทรงมีพระวาจาแทจ้ รงิ ไมท่ รงมีพระวาจาเปน็
๒ อยา่ ง ปญั หาแมน้ ้มี ี ๒ เงือ่ น ลกึ ซ้งึ ละเอียดอ่อนนกั เขา้ ใจไดย้ าก ตกถงึ แก่ท่านโดยล�ำดับ
แล้ว ขอท่านจงท�ำลายขา่ ยคอื ทิฏฐิน่ันเสีย จงตัง้ ไวใ้ นสว่ นเดยี ว จงท�ำลายปรวาทะเสยี ”
‘‘ภาสติ มเฺ ปต ํ มหาราช ภควตา ‘ตถาคตสสฺ โข อานนฺท จตฺตาโร อิทฺธิปาทา
ภาวิตา…เป.… กปฺปาวเสสํ วา’ต,ิ เตมาสปริจเฺ ฉโท จ ภณโิ ต, โส จ ปน กปฺโป อาย-ุ
กปโฺ ป วจุ จฺ ติ ฯ น มหาราช ภควา อตตฺ โน พล ํ กติ ตฺ ยมาโน เอวมาห, อทิ ธฺ พิ ล ํ ปน
มหาราช ภควา ปริกติ ฺตยมาโน เอวมาห ‘ตถาคตสฺส โข อานนทฺ จตตฺ าโร อิทธฺ ปิ าทา
ภาวติ า…เป.… กปปฺ าวเสสํ วา’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร พระผูม้ ีพระภาคเจ้าทรงภาษติ ความขอ้
นีไ้ วว้ ่า ‘อานนท์ อทิ ธบิ าท ๔ พระตถาคตได้เจรญิ แลว้ ฯลฯ หรอื ตลอดส่วนที่เหลือแหง่ กัป’
ดงั นจ้ี ริง และตรสั ก�ำหนดกาลไว้ ๓ เดือนจริง กแ็ ต่ว่า กัปทตี่ รัสถงึ นัน้ คอื อายกุ ัป มหาบพติ ร
พระผมู้ พี ระภาคเจา้ ทรงตรสั อย่างน้ี หาใช่วา่ จะทรงยกย่องพระก�ำลงั ของพระองค์เองไม่ แต่
เมอ่ื จะทรงยกยอ่ งก�ำลงั แห่งอทิ ธิบาท จึงไดต้ รัสอย่างน้วี า่ ‘อานนท์ อิทธบิ าท ๔ ตถาคตได้
346 มิลนิ ทปญั หาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปญั ห
เจริญแล้ว ฯลฯ หรือตลอดส่วนทเ่ี หลือแห่งกัป’ ดังน้ี
‘‘ยถา มหาราช ร โฺ อสสฺ าชานีโย ภเวยยฺ สีฆคต ิ อนลิ ชโว, ตสสฺ ราชา
ชวพลํ ปรกิ ิตฺตยนโฺ ต สเนคมชานปทภฏพลพฺราหฺมณคหปติกอมจจฺ ชนมชฺเฌ เอว ํ วเทยฺย
‘อากงฺขมาโน เม โภ อย ํ หยวโร สาครชลปรยิ นฺตํ มหึ อนุวจิ รติ วฺ า ขเณน
อธิ าคจฺเฉยฺยา’ติ, น จ ต ํ ชวคต ึ ตสฺสํ ปริสาย ํ ทสเฺ สยยฺ , วิชชฺ ติ จ โส ชโว ตสฺส,
สมตโฺ ถ จ โส ขเณน สาครชลปรยิ นฺต ํ มห ึ อนวุ จิ ริตํุ ฯ เอวเมว โข มหาราช ภควา
อตฺตโน อทิ ธฺ ิพล ํ ปริกติ ฺตยมาโน เอวมาห, ตมปฺ ิ เตวชิ ฺชานํ ฉฬภ ิ ฺ านํ อรหนฺตาน ํ
วิมลขณี าสวาน ํ เทวมนุสฺสาน ฺจ มชเฺ ฌ นิสีทิตวฺ า ภณิต ํ ‘ตถาคตสสฺ โข อานนฺท จตตฺ าโร
อทิ ธฺ ิปาทา ภาวิตา พหุลกี ตา ยานีกตา วตฺถกุ ตา อนฏุ ฺ ิตา ปรจิ ิตา สสุ มารทฺธา, โส
อากงขฺ มาโน อานนฺท ตถาคโต กปฺปํ วา ติฏเฺ ยยฺ กปปฺ าวเสส ํ วา’ติ ฯ วชิ ชฺ ต ิ จ ต ํ
มหาราช อทิ ฺธพิ ลํ ภควโต, สมตฺโถ จ ภควา อิทธฺ พิ เลน กปฺปํ วา าตุ ํ กปฺปาวเสสํ วา,
น จ ภควา ต ํ อทิ ฺธิพล ํ ตสฺสํ ปริสายํ ทสเฺ สต,ิ อนตถฺ โิ ก มหาราช ภควา สพพฺ ภเวหิ
ครหติ า จ ตถาคตสฺส สพพฺ ภวา ฯ ภาสติ มเฺ ปตํ มหาราช ภควตา ‘เสยฺยถาป ิ ภกิ ฺขเว
อปปฺ มตตฺ โกป ิ คโู ถ ทุคคฺ นโฺ ธ โหติ ฯ เอวเมว โข อห ํ ภิกฺขเว อปฺปมตตฺ กมฺปิ ภว ํ น
วณเฺ ณม ิ อนฺตมโส อจฺฉราสงฺฆาตมตตฺ มฺปี’ติ อป ิ น ุ โข มหาราช ภควา สพฺพภวคติโยนโิ ย
คูถสมํ ทิสฺวา อิทฺธิพล ํ นสิ ฺสาย ภเวสุ ฉนฺทราค ํ กเรยยฺ า’’ติ ?
ขอถวายพระพร เปรียบเหมอื นวา่ พระราชาทรงมมี ้าอาชาไนยท่ีว่ิงเรว็ ฝีเทา้ จัด พระ
ราชา เมื่อจะทรงยกยอ่ งก�ำลังฝีเทา้ ของม้าอาชาไนยนน้ั จงึ รบั สั่งในท่ามกลางชุมชน พวก
ขา้ ราชการ พราหมณ์ คฤหบดี อ�ำมาตย์ พรอ้ มทง้ั พวกชาวนคิ ม ชาวชนบทท้ังหลายอยา่ งน้ีว่า
ทา่ นผเู้ จรญิ มา้ ประเสรฐิ ของเราตัวนี้ ถ้ามนั ตอ้ งการ มันกย็ ่อมทอ่ งเที่ยวไปยงั แผน่ ดินใหญ่
จนถงึ ขอบทะเล แล้วกลับมาถงึ ท่ีนไ้ี ด้โดยฉับพลนั ดงั น้ี พระองค์มไิ ด้ทรงท�ำฝีเท้าเร็วให้ปรากฏ
ในบรษิ ัทน้นั กม็ า้ อาชาไนยนั้นมีฝีเทา้ เรว็ จริง และม้าตัวนั้นก็มีความสามารถที่จะเทยี่ วไปใน
แผ่นดินจนถงึ ขอบทะเล แลว้ กลบั มาได้โดยพลันจรงิ อุปมาฉันใด ขอถวายพระพร อุปมยั กฉ็ ัน
นั้นเหมือนกันแล พระผ้มู พี ระภาคเจ้า เมื่อจะทรงยกย่องก�ำลังแห่งอทิ ธบิ าทของพระองค์ จงึ ได้
ตรสั อย่างน้ี ประทับตรัสค�ำนน้ั ทา่ มกลางพระอรหันต์ขณี าสพผูป้ ราศจากมลทิน ผู้ไดว้ ิชชา ๓
ได้อภญิ ญา ๖ พร้อมทั้งเทวดาและมนษุ ย์ทงั้ หลายว่า อานนท์ อทิ ธบิ าท ๔ ตถาคตได้เจรญิ แล้ว
ไดท้ �ำให้มากแล้ว ได้ท�ำใหเ้ ป็นดจุ ยานแล้ว ไดท้ �ำให้เป็นท่ีต้งั อาศัยแลว้ สัง่ สมดีแล้ว ปรารภ
ดีแล้ว อานนท์ ตถาคตนั้น เม่ือหวงั อยู่ ก็พงึ ด�ำรงอยู่ได้ตลอดกัป หรือตลอดสว่ นเหลือแห่งกปั
กณั ฑ์] ๔.๑ อทิ ธพิ ลวรรค 347
ดังน้ี ขอถวายพระพร ก�ำลังแห่งอิทธบิ าทนน้ั ของพระผ้มู ีพระภาคเจา้ กม็ อี ยู่ และพระผูม้ พี ระ
ภาคเจา้ กท็ รงสามารถทจี่ ะด�ำรงอยู่ตลอดกปั หรือตลอดส่วนท่เี หลือแหง่ กปั ดว้ ยก�ำลังแห่ง
อิทธิบาทได้ แต่วา่ พระผมู้ ีพระภาคเจา้ ก็มไิ ดท้ รงท�ำก�ำลังแห่งอทิ ธิบาทนนั้ ใหป้ รากฏในบรษิ ทั
นัน้ ขอถวายพระพร พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงเป็นผหู้ าความต้องการดว้ ยภพทั้งปวงมไิ ด้ ทัง้
ภพทง้ั ปวงกเ็ ป็นสงิ่ ที่พระตถาคตทรงตเิ ตยี น ขอถวายพระพร พระผ้มู พี ระภาคเจ้าไดต้ รสั
ความข้อนี้ไวว้ ่า “ภิกษทุ ง้ั หลาย คูถแม้เพยี งเลก็ นอ้ ย กเ็ ป็นของทม่ี กี ลิน่ เหมน็ แม้ฉนั ใด ภกิ ษุ
ทงั้ หลาย ภพแม้เพียงนิดหนอ่ ย โดยทีส่ ดุ แม้เพียงชั่วดีดนิว้ มอื ครง้ั เดยี ว เรากไ็ มข่ อสรรเสริญ
ฉันนัน้ ” ดังน้ี ขอถวายพระพร พระผู้มีพระภาคเจา้ ทรงเลง็ เห็นภพ คติ ก�ำเนดิ ทั้งปวง เสมอ
ดว้ ยคูถแลว้ จะอาศยั ก�ำลังแหง่ อทิ ธบิ าท ท�ำฉันทราคะให้เกดิ ในภพท้ังหลายกระนน้ั หรือ ?”
‘‘น ห ิ ภนเฺ ต’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ ินท์ตรัสว่า “หามิได้ พระคณุ เจา้ ”
‘‘เตนห ิ มหาราช ภควา อิทฺธพิ ล ํ ปริกติ ฺตยมาโน เอวรปู ํ พทุ ฺธสหี นาทมภนิ ท’ี ’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร ถา้ อย่างนน้ั พระผมู้ พี ระภาคเจา้ ทรง
ประสงคย์ กยอ่ งก�ำลังแห่งอิทธิบาท จงึ ทรงบรรลอื พุทธสีหนาททเี่ ป็นอยา่ งน”ี้
‘‘สาธุ ภนเฺ ต นาคเสน เอวเมต ํ ตถา สมปฺ ฏิจฉฺ ามี’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ นิ ทต์ รสั วา่ “ดีจริง พระคุณเจา้ นาคเสน โยมขอยอมรับค�ำน่ันอยา่ งนี้ ตามท่ี
ท่านไดก้ ล่าวมาแล้วน”ี้
อทิ ฺธิพลทสสฺ นปญฺโห ทสโม ฯ
จบอทิ ธพิ ลทัสสนปญั หาขอ้ ที่ ๑๐
อทิ ธฺ พิ ลวคโฺ ค ป€โม ฯ
จบอิทธิพลวรรคท่ี ๑
อมิ สฺมึ วคเฺ ค ทส ปญหฺ า ฯ
ในวรรคนม้ี ปี ญั หา ๑๐ ขอ้
________
348 มลิ ินทปญั หาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปัญห
๔.๒ อเภชฺชวคฺค
๔.๒ อเภชชวรรค วา่ ด้วยสิง่ ทไี่ มแ่ ตกแยกกัน
๑. ขุททฺ านขุ ุททฺ กปญฺห
๑. ขุททานขุ ทุ ทกปัญหา
ปญั หาวา่ ดว้ ยสิกขาบทเลก็ ๆ น้อย ๆ
[๑] ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน ภาสติ มฺเปตํ ภควตา ‘อภิ ฺ ายาหํ ภิกฺขเว ธมฺม ํ เทเสม ิ โน
อนภิ ฺ ายา’ติ ฯ ปนุ จ วนิ ยป ฺ ตฺตยิ า เอวํ ภณติ ํ ‘อากงฺขมาโน อานนฺท สํโฆ
มมจฺจเยน ขุทฺทานุขทุ ทฺ กานิ สกิ ฺขาปทานิ สมูหนตู’ติ ฯ กินนฺ ุ โข ภนฺเต นาคเสน
ขุทฺทานขุ ุทฺทกาน ิ สิกขฺ าปทานิ ทุปฺป ฺ ตฺตาน ิ อทุ าหุ อวตถฺ ุสมฺ ึ อชานิตวฺ า ป ฺ ตตฺ านิ,
ยํ ภควา อตตฺ โน อจฺจเยน ขทุ ฺทานขุ ทุ ทฺ กาน ิ สิกฺขาปทาน ิ สมหู นาเปติ ? ยทิ ภนเฺ ต
นาคเสน ภควตา ภณิตํ ‘อภ ิ ฺ ายาหํ ภิกฺขเว ธมฺมํ เทเสม ิ โน อนภ ิ ฺ ายา’ต,ิ เตนหิ
‘อากงฺขมาโน อานนฺท สโํ ฆ มมจจฺ เยน ขุททฺ านุขทุ ทฺ กานิ สกิ ฺขาปทาน ิ สมูหนต’ู ต ิ ยํ วจน,ํ
ต ํ มจิ ฺฉา ฯ ยทิ ตถาคเตน วินยป ฺ ตฺตยิ า เอวํ ภณิต ํ ‘อากงฺขมาโน อานนฺท สํโฆ
มมจฺจเยน ขทุ ฺทานุขุททฺ กาน ิ สิกขฺ าปทานิ สมหู นตู’ติ เตนห ิ ‘อภ ิ ฺ ายาหํ ภกิ ขฺ เว ธมมฺ ํ
เทเสมิ โน อนภิ ฺ ายา’ต ิ ตมฺปิ วจนํ มิจฉฺ า ฯ อยมฺป ิ อุภโต โกฏโิ ก ป ฺโห สุขุโม
นปิ ุโณ คมภฺ ีโร สุคมภฺ ีโร ทุนนฺ ชิ ฌฺ าปโย, โส ตวานุปฺปตฺโต, ตตฺถ เต าณพลวปิ ฺผาร ํ
ทสเฺ สหี’’ติ ฯ
[๑] พระเจา้ มิลนิ ท์ ตรสั ถามว่า “พระคุณเจ้านาคเสน พระผมู้ ีพระภาคเจา้ ทรงภาษติ
ความข้อน้ีไว้วา่ “ภกิ ษุทัง้ หลาย เรารู้แล้วจึงแสดงธรรม ไมใ่ ช่ยังไม่รู้ก็แสดงธรรม” ดังนี้ และยงั
ตรสั ไวใ้ นพระวินัยบญั ญตั ิ อยา่ งนอ้ี ีกว่า “อานนท์ เม่อื เราล่วงลบั ไปแล้ว สงฆ์เมอ่ื ต้องการ ก็จง
เพกิ ถอนสกิ ขาบทเลก็ ๆ น้อยๆ ท้ังหลายเถดิ ” ดงั น้ี พระคุณเจ้านาคเสน ขอ้ ทีร่ ับสัง่ ให้สงฆ์เพิก
ถอนสิกขาบทเล็กๆ นอ้ ยๆ ทง้ั หลายได้ในคราวที่พระองค์ทรงลว่ งลบั ไปแลว้ นัน้ เป็นเพราะ
สิกขาบทเลก็ น้อยท้ังหลายเป็นสกิ ขาบททท่ี รงบัญญตั ิไวไ้ มด่ ีหรอื ไร หรอื ว่า เปน็ เพราะเมื่อยัง
ไม่มเี รอื่ งเกดิ ข้นึ พระองค์ทรงบัญญัติไว้ เพราะไม่ทรงร้เู ลา่ ? พระคณุ เจา้ นาคเสน ถ้าหากว่า
พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไวว้ า่ “ภิกษทุ งั้ หลาย เรารแู้ ล้วจงึ แสดงธรรม ไม่ใช่ยังไมร่ ู้ ก็แสดง
ธรรม” ดังนี้ จรงิ ไซร้ ถา้ อยา่ งนนั้ ค�ำทตี่ รัสไว้ว่า อานนท์ เม่ือเราลว่ งลบั ไปแลว้ สงฆ์เมือ่
ตอ้ งการ กจ็ งเพิกถอนสิกขาบทเลก็ ๆ น้อยๆ ท้ังหลายเถดิ ดังนี้ กต็ อ้ งเป็นค�ำพดู ท่ผี ิด ถ้าหาก
กณั ฑ์] ๔.๒ อเภชชวรรค 349
พระตถาคตตรสั ไว้ในพระวนิ ัยบัญญัตอิ ย่างนีว้ า่ อานนท์ เม่ือเราลว่ งลบั ไปแล้ว สงฆเ์ มื่อ
ตอ้ งการ ก็จงเพิกถอนสิกขาบทเล็กๆ น้อยๆ ท้งั หลายเถดิ ดังนี้ จรงิ ไซร้ ถา้ อยา่ งน้ัน ค�ำที่ตรัส
ไว้วา่ ภิกษทุ ัง้ หลาย เรารู้แลว้ จึงแสดงธรรม ไมใ่ ชไ่ มร่ ู้ กแ็ สดงธรรม ดงั นี้ กต็ อ้ งเป็นค�ำพดู ทผี่ ดิ
ปัญหานีม้ ี ๒ เงื่อน สขุ ุมละเอียดออ่ น ลกึ ซึ้งแสนลึกซงึ้ บุคคลเข้าใจได้ยาก ปญั หานน้ั ตกถงึ แก่
ทา่ นแลว้ ขอท่านจงแสดงก�ำลังญาณทแี่ ผไ่ พศาลของท่านในปัญหานั้นเถดิ ”
‘‘ภาสิตมเฺ ปต ํ มหาราช ภควตา ‘อภ ิ ฺ ายาห ํ ภกิ ฺขเว ธมฺม ํ เทเสมิ โน
อนภ ิ ฺ ายา’ต,ิ วนิ ยป ฺ ตตฺ ิยาป ิ เอว ํ ภณิตํ ‘อากงขฺ มาโน อานนฺท สํโฆ มมจฺจเยน
ขุทฺทานขุ ทุ ทฺ กาน ิ สิกขฺ าปทานิ สมหู นต’ู ติ, ต ํ ปน มหาราช ตถาคโต ภิกขฺ ู วมี สํ มาโน อาห
‘อุกกฺ เลสฺสนตฺ ิ น ุ โข มม สาวกา มยา วสิ ฺสชฺชาปยี มานา มมจฺจเยน ขทุ ฺทานขุ ทุ ทฺ กานิ
สิกฺขาปทาน ิ อุทาห ุ อาทยิ สิ ฺสนฺต’ี ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร พระผ้มู พี ระภาคเจา้ ทรง
ภาษิตความขอ้ นี้ไวว้ ่า ภกิ ษทุ งั้ หลาย เรารู้แล้วจงึ แสดงธรรม ไมใ่ ชย่ ังไม่รู้ ก็แสดงธรรม ดงั นี้
จรงิ ตรัสไวแ้ ม้ในพระวินัยบัญญตั ิอย่างนีว้ ่า อานนท์ เมอื่ เราลว่ งลบั ไปแลว้ สงฆ์เมื่อตอ้ งการ ก็
จงเพิกถอนสกิ ขาบทเลก็ ๆนอ้ ยๆ ทัง้ หลายเถดิ ดงั นี้ จริง ขอถวายพระพร พระตถาคต เมือ่ จะ
ทรงทดสอบภิกษทุ ้ังหลายวา่ สาวกของเราเมื่อเราอนญุ าต พอเราลว่ งลบั ไปแล้ว จักพากนั เลกิ
ลม้ สิกขาบทเล็กๆ น้อยๆ ท้งั หลาย หรือว่าจะยงั คงเออ้ื เฟ้อื กันอย่หู นอ ดงั น้ี จงึ ไดต้ รัสค�ำใน
พระวนิ ัยบญั ญัตนิ ้นั ไว้
‘‘ยถา มหาราช จกฺกวตตฺ ี ราชา ปตุ เฺ ต เอวํ วเทยฺย ‘อยํ โข ตาตา มหาชนปโท
สพพฺ ทิสาสุ สาครปรยิ นฺโต, ทกุ ฺกโร ตาตา ตาวตเกน พเลน ธาเรต,ํุ เอถ ตุมเฺ ห ตาตา
มมจฺจเยน ปจจฺ นเฺ ต ปจจฺ นเฺ ต เทเส ปชหถา’ติ ฯ อป ิ น ุ โข เต มหาราช กมุ ารา ปติ -ุ
อจจฺ เยน หตฺถคเต ชนปเท สพฺเพ เต ปจจฺ นเฺ ต ปจฺจนฺเต เทเส มุ เฺ จยยฺ ุน”ฺ ติ ?
ขอถวายพระพร เปรยี บเหมือนวา่ พระเจ้าจักรพรรดิ ทรงรบั สั่งกับพระโอรสท้งั หลาย
อย่างนว้ี ่า พอ่ คณุ ท้ังหลาย แวน่ แคว้นใหญ่หลวงนี้ไปสิ้นสุดท่มี หาสมุทรตลอดทศิ ทัง้ หลายทง้ั
ปวง การทพี่ วกเจา้ อาศัยก�ำลังเพียงเท่าน้ัน รักษาแวน่ แคว้นใหญ่นเี้ อาไว้ เปน็ ข้อที่ท�ำได้ยาก
เมอ่ื พ่อลว่ งลับไปแล้ว พวกเจา้ จงสละหวั เมอื งชายแดนเสียบา้ งเถดิ ดงั น้ี มหาบพติ ร เมื่อพระ
ราชชนกสวรรคตแล้ว พวกราชกุมารเหลา่ น้นั ก็ยอมสละหวั เมอื งชายแดนทง้ั ปวงท่อี ยใู่ นเงอื้ ม
มือตน (การปกครองของตน) ตามพระด�ำรสั ของพระราชชนกหรือไร”
350 มลิ นิ ทปญั หาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปญั ห
‘‘น หิ ภนเฺ ต ราชาโน, ภนฺเต ลทุ ฺธตรา กมุ ารา รชชฺ โลเภน ตทตุ ฺตร ึ ทคิ ุณติคุณ ํ
ชนปท ํ ปรคิ คฺ ณฺเหยฺยํ,ุ กึ ปน เต หตถฺ คตํ ชนปทํ ม ุ เฺ จยฺยนุ ฺ”ติ ?
พระเจ้ามลิ นิ ท์ตรัสว่า “หามิได้ พระคณุ เจ้า พวกพระราชกุมารทั้งหลาย มีแตจ่ ะยดึ เอา
หัวเมอื งชนบทใหม้ ากยงิ่ ข้นึ ไปกวา่ นน้ั เปน็ ทวคี ูณ เพราะความโลภตอ่ ราชสมบตั ิ ไฉนจะยอม
สละหวั เมอื งชนบทท่อี ยู่ในเงอื้ มมือได้เลา่ ”
‘‘เอวเมว โข มหาราช ตถาคโต ภกิ ขฺ ู วีมสํ มาโน เอวมาห ‘อากงฺขมาโน อานนทฺ
สํโฆ มมจฺจเยน ขทุ ฺทานขุ ทุ ทฺ กาน ิ สิกขฺ าปทานิ สมหู นตู’ติ ฯ ทกุ ฺขปริมุตฺตยิ า มหาราช
พทุ ฺธปตุ ตฺ า ธมมฺ โลเภน อ ฺ มปฺ ิ อุตตฺ ร ึ ทยิ ฑฒฺ สิกฺขาปทสต ํ โคเปยฺยํุ, กึ ปน ปกติ-
ป ฺ ตฺต ํ สิกฺขาปท ํ มุ ฺเจยฺยุน”ฺ ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร กเ็ หมือนกนั อยา่ งนน้ั นน่ั แหละ พระ
ตถาคตทรงประสงคจ์ ะทดสอบภิกษทุ ้ังหลาย จึงรับสงั่ อย่างนว้ี า่ อานนท์ เม่ือเราล่วงลบั ไปแล้ว
สงฆ์เมือ่ ต้องการ กจ็ งเพิกถอนสิกขาบทเล็กๆ น้อยๆ ทงั้ หลายเถิด ดงั นี้ ขอถวายพระพร
พระพทุ ธบุตรทัง้ หลายมีแต่จะอบรมสกิ ขาบทอน่ื ๆ ยิ่งขนึ้ ไปอีกเป็นทวคี ณู เพราะมีความ
ตอ้ งการดว้ ยธรรมเพื่อความพ้นจากทกุ ข์ จะสละทิ้งสกิ ขาบททีท่ รงบญั ญตั ิไวแ้ ล้ว ตามปกตไิ ด้
อยา่ งไร”
‘‘ภนฺเต นาคเสน ย ํ ภควา อาห ‘ขทุ ทฺ านุขทุ ฺทกานิ สิกขฺ าปทานี’ติ, เอตฺถายํ ชโน
สมมฺ ูฬฺโห วิมติชาโต อธิกโต สสํ ยปกขฺ นฺโท ฯ กตมานิ ตานิ ขทุ ทฺ กานิ สกิ ฺขาปทาน,ิ
กตมานิ อนุขุทฺทกาน ิ สิกขฺ าปทานีติ ?
พระเจ้ามลิ ินท์ตรสั ว่า “พระคณุ เจ้านาคเสน พระผมู้ พี ระภาคเจา้ ตรสั ไวว้ า่ สิกขาบท
เล็กๆ นอ้ ยๆ ใด ในค�ำน้ี คนเขายังสับสน เกดิ ความขอ้ งใจ สงสยั กนั อยวู่ ่า สิกขาบทเลก็ ๆ
น้อยๆ เปน็ ไฉน ?”
“ทกุ กฺ ฏํ มหาราช ขทุ ทฺ กํ สกิ ฺขาปท,ํ ทุพภฺ าสติ ํ อนขุ ุททฺ ก ํ สกิ ฺขาปท,ํ อิมานิ เทวฺ
ขุททฺ านุขุทฺทกาน ิ สกิ ขฺ าปทาน,ิ ปุพฺพเกหิปิ มหาราช มหาเถเรห ิ เอตฺถ วิมติ อปุ ปฺ าทิตา,
เตหปิ ิ เอกชฺฌ ํ น กโต ธมฺมสณฺ ิตปิ ริยาเย ภควตา เอโส ป โฺ ห อุปทฏิ โฺ ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร สกิ ขาบททเ่ี ป็นทุกกฏ ชอื่ ว่า
เปน็ สิกขาบทเลก็ สิกขาบททีเ่ ปน็ ทพุ ภาษิต ช่ือวา่ สิกขาบทน้อย, เหลา่ น้ี ช่ือวา่ สกิ ขาบทเล็กๆ
น้อยๆ ๒, มหาบพติ ร พระเถระแตค่ รงั้ กอ่ นกเ็ กดิ ความสงสยั ในสกิ ขาบทเลก็ ๆ นอ้ ยๆ ๒ อย่าง
กัณฑ์] ๔.๒ อเภชชวรรค 351
เหลา่ น้ี นีเ้ ป็นปญั หาทพี่ ระผู้มีพระภาคเจา้ ทรงเลง็ เห็นแลว้ แต่พระเถระเหล่าน้ันกไ็ มไ่ ด้
รวบรวมไว้ในคราวท�ำสังคายนา”
“จิรนกิ ขฺ ติ ตฺ ํ ภนเฺ ต นาคเสน ชนิ รหสสฺ ํ อชฺเชตรหิ โลเก วิวฏ ํ ปากฏ ํ กตนฺ’’ติ ฯ
พระเจา้ มิลนิ ทต์ รัสวา่ “พระคุณเจา้ นาคเสน ข้อลลี้ บั ของพระชินสหี ์ทีเ่ กบ็ ง�ำไว้นาน ได้
ถูกท่านท�ำให้เปิดเผย ให้ปรากฏแล้วในโลก เด๋ยี วน้ี ในวนั นี้”
ขุทฺทานุขุทฺทกปญฺโห ป€โม ฯ
จบขุททานขุ ทุ ทกปญั หาข้อที่ ๑
________
๒. อพยฺ ากรณียปญหฺ
๒. อพั ยากรณยี ปญั หา
ปัญหาวา่ ดว้ ยสงิ่ ทีไ่ ม่ควรพยากรณ์
[๒] ‘‘ภนฺเต นาคเสน ภาสิตมเฺ ปตํ ภควตา ‘นตฺถานนทฺ ตถาคตสสฺ ธมฺเมส ุ อาจรยิ -
มุฏ ฺ ี’ต,ิ ปนุ จ เถเรน มาลกุ ฺยปุตฺเตน ป หฺ ํ ปุฏฺโ น พยฺ ากาสิ ฯ เอโส โข ภนเฺ ต
นาคเสน ป ฺโห ทวฺ ยนโฺ ต เอกนฺตนสิ ฺสโิ ต ภวสิ สฺ ติ อชานเนน วา คุยหฺ กรเณน วา ฯ ยทิ
ภนฺเต นาคเสน ภควตา ภณิต ํ ‘นตฺถานนทฺ ตถาคตสฺส ธมเฺ มส ุ อาจริยมุฏ ฺ ’ี ติ, เตนหิ
เถรสฺส มาลกุ ฺยปุตตฺ สสฺ อชานนฺเตน น พฺยากตํ ฯ ยท ิ ชานนเฺ ตน น พฺยากตํ, เตนหิ อตถฺ ิ
ตถาคตสฺส ธมฺเมส ุ อาจริยมุฏฺ ิ ฯ อยมฺป ิ อุภโต โกฏิโก ป โฺ ห ตวานุปปฺ ตฺโต, โส ตยา
นพิ ฺพาหติ พฺโพ’’ติ ฯ
[๒] พระเจา้ มลิ ินท์ ตรัสถามวา่ “พระคณุ เจ้านาคเสน พระผ้มู ีพระภาคเจา้ ทรงภาษติ
ความขอ้ น้ไี ว้วา่ ‘อานนท์ ก�ำมือแห่งอาจารย์ในธรรมทั้งหลาย ย่อมไม่มีแก่ตถาคต’ ดงั นี้ และ
อกี ครั้งหนึ่ง พระองคพ์ อพระมาลงุ กยบุตรเถระทลู ถามปัญหา กไ็ มต่ รสั พยากรณ์ พระคุณเจา้
นาคเสน ปัญหานี้ จะต้องเปน็ ปัญหาท่อี าศัยเหตอุ ย่างหนง่ึ ในเหตุ ๒ อย่าง คือไม่ตรัสพยากรณ์
เพราะไมท่ รงรู้ หรอื ไม่กเ็ พราะจะทรงท�ำให้เป็นความลบั พระคณุ เจา้ นาคเสน ถ้าหากพระผู้มี
พระภาคเจา้ ตรสั ไว้วา่ อานนท์ ก�ำมอื แหง่ อาจารย์ในธรรมท้งั หลาย ยอ่ มไม่มแี ก่ตถาคต ดังน้ี
จรงิ ไซร้ ถา้ อย่างน้นั กเ็ ปน็ อนั วา่ เพราะไม่ทรงรู้ จึงไมต่ รสั พยากรณแ์ ก่ทา่ นมาลุงกยบตุ รเถระ
ถา้ หากว่าทรงรู้ ก็ยังไมต่ รัสพยากรณ์แก่ทา่ นพระมาลงุ กยบุตรเถระ จริงไซร้ ถา้ อยา่ งน้ัน ก็
352 มิลนิ ทปัญหาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปญั ห
เป็นอันว่า พระตถาคตยังทรงมีก�ำมือแหง่ อาจารย์ในธรรมท้งั หลายอยู่ ปญั หาน้ี มี ๒ เงื่อน
ตกถงึ แก่ท่านตามล�ำดบั แลว้ ทา่ นพงึ คลีค่ ลายปัญหานั้นเถิด”
‘‘ภาสติ มเฺ ปตํ มหาราช ภควตา ‘นตฺถานนฺท ตถาคตสฺส ธมเฺ มส ุ อาจรยิ มฏุ ฺ ี’ติ,
อพฺยากโต จ เถเรน มาลกุ ยฺ ปตุ เฺ ตน ปุจฺฉิโต ป โฺ ห, ต จฺ ปน น อชานนเฺ ตน น
คุยหฺ กรเณน ฯ จตฺตาริมานิ มหาราช ป หฺ พยฺ ากรณานิ ฯ กตมาน ิ จตตฺ าริ ? เอกํส-
พฺยากรณีโย ป โฺ ห วภิ ชชฺ พยฺ ากรณโี ย ป โฺ ห ปฏิปุจฺฉาพฺยากรณีโย ป โฺ ห ปนีโย
ป ฺโหติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร พระผมู้ ีพระภาคเจา้ ทรง
ภาษิตความข้อนีไ้ ว้ว่า อานนท์ ก�ำมือแห่งอาจารย์ในธรรมทง้ั หลาย ย่อมไมม่ แี กต่ ถาคต ดงั น้ี
จรงิ แตว่ า่ ข้อที่ไม่ตรสั พยากรณป์ ญั หาท่ีมาลุงกยบุตรเถระทลู ถามน้ัน ไมใ่ ชเ่ พราะไมร่ ู้ ไม่ใช่
เพราะจะทรงท�ำให้เป็นความลับ ขอถวายพระพร ปญั หาพยากรณม์ ี ๔ อยา่ งเหล่านี้ ปญั หา
พยากรณ์ ๔ อยา่ ง มอี ะไรบา้ ง ?
๑. ปญั หาบางอยา่ ง เป็นเอกังสพยากรณียปัญหา (ปัญหาทพี่ งึ พยากรณ์โดยสว่ น
เดียว)
๒. ปญั หาบางอยา่ ง เปน็ วิภัชชพยากรณยี ปัญหา (ปญั หาทพ่ี งึ แยกแยะพยากรณ์)
๓. ปญั หาบางอย่าง เปน็ ปฏิปจุ ฉาพยากรณียปัญหา (ปัญหาทีพ่ งึ ย้อนถามเสยี กอ่ น
แลว้ จึงพยากรณ์)
๔. ปญั หาบางอย่าง เป็นฐปนยี ปัญหา (ปัญหาทีพ่ ึงพักไว้ คือพงึ นงิ่ เฉยเสยี ) ดังนี้
‘‘กตโม จ มหาราช เอกํสพยฺ ากรณีโย ป ฺโห ?
‘รปู ํ อนจิ จฺ น’ฺ ติ เอกํสพฺยากรณีโย ป ฺโห, ‘เวทนา อนจิ จฺ า’ต…ิ เป.… ‘ส ฺ า
อนิจฺจา’ติ…เป.… ‘สงขฺ ารา อนิจฺจา’ติ…เป.… ‘ว ิ ฺ าณ ํ อนจิ จฺ น”ฺ ต ิ เอกํสพยฺ ากรณีโย
ป ฺโห, อยํ เอกสํ พฺยากรณโี ย ป โฺ ห ฯ
ขอถวายพระพร กเ็ อกงั สพยากรณียปญั หา เป็นไฉน ?
ปัญหาวา่ รูปไมเ่ ที่ยงหรอื เป็นปญั หาที่พงึ พยากรณ์โดยส่วนเดยี ว ปญั หาวา่ เวทนาไม่
เทีย่ งหรือ ฯลฯ ปญั หาว่า สัญญาไม่เท่ยี งหรอื ฯลฯ ปัญหาวา่ สงั ขารไม่เที่ยงหรือ ฯลฯ ปัญหา
ว่า วญิ ญาณไมเ่ ท่ียงหรอื เป็นปัญหาท่พี ึงพยากรณโ์ ดยสว่ นเดียว นี้ชอ่ื วา่ เอกังสพยากรณีย-
ปัญหา
กัณฑ]์ ๔.๒ อเภชชวรรค 353
‘‘กตโม วภิ ชชฺ พยฺ ากรณีโย ป ฺโห ?
‘อนจิ จฺ ํ ปน รูปนฺ’ต ิ วภิ ชฺชพฺยากรณโี ย ป ฺโห, ‘อนิจฺจา ปน เวทนา’ติ…เป.…
‘อนจิ ฺจา ปน ส ฺ า’ต…ิ เป.… ‘อนิจจฺ า ปน สงฺขารา’ติ…เป.… ‘อนจิ ฺจํ ปน วิ ฺ าณน’ฺ ติ
วิภชชฺ พยฺ ากรณโี ย ป โฺ ห, อย ํ วิภชฺชพยฺ ากรณีโย ป โฺ ห ฯ
วิภัชชพยากรณียปัญหาเป็นไฉน ?
ปญั หาวา่ สงิ่ ท่ีไมเ่ ทีย่ งคอื รูปหรือ เป็นปัญหาทพ่ี ึงแยกแยะพยากรณ์ ปัญหาวา่ ส่ิงท่ไี ม่
เท่ียงคอื เวทนาหรอื ฯลฯ ปญั หาวา่ สิ่งทไ่ี ม่เทย่ี งคอื สัญญาหรอื ฯลฯ ปัญหาว่า สงิ่ ทไี่ มเ่ ทย่ี งคอื
สังขารหรือ ฯลฯ ปญั หาว่า สง่ิ ทไี่ ม่เทย่ี งคือวญิ ญาณหรอื ? เป็นตน้ (เป็นปัญหาทีพ่ งึ แยกแยะ
พยากรณ)์ นชี้ ่ือว่าวภิ ชั ชพยากรณยี ปัญหา
‘‘กตโม ปฏิปุจฺฉาพยฺ ากรณโี ย ป ฺโห ?
‘กนิ ฺนุ โข จกฺขนุ า สพพฺ ํ วิชานาตี’ต ิ อย ํ ปฏิปุจฺฉาพยฺ ากรณโี ย ป โฺ ห ฯ
ปฏิปจุ ฉาพยากรณยี ปัญหาเป็นไฉน ?
ปัญหาวา่ บคุ คลร้สู ง่ิ ทง้ั ปวงด้วยจกั ษหุ รอื เป็นตน้ เปน็ ปัญหาท่ีพงึ ย้อนถามเสียก่อน
แล้วจึงพยากรณ์ น้ชี อ่ื วา่ ปฏิปุจฉาพยากรณียปัญหา
‘‘กตโม ปนีโย ป ฺโห ?
‘สสสฺ โต โลโก’ต ิ ปนโี ย ป ฺโห, ‘อสสสฺ โต โลโก’ติ ฯ ‘อนตฺ วา โลโก’ติ ฯ
‘อนนตฺ วา โลโก’ติ ฯ ‘อนฺตวา จ อนนตฺ วา จ โลโก’ติ ฯ ‘เนวนฺตวา นานนตฺ วา โลโก’ติ ฯ
‘ต ํ ชีวํ ต ํ สรีรนฺ’ติ ฯ ‘อ ฺ ํ ชวี ํ อ ฺ ํ สรรี นฺ’ติ ฯ ‘โหติ ตถาคโต ปร ํ มรณา’ติ ฯ ‘น
โหติ ตถาคโต ปร ํ มรณา’ติ ฯ ‘โหต ิ จ น จ โหติ ตถาคโต ปรํ มรณา’ติ ฯ ‘เนว โหติ
น น โหติ ตถาคโต ปรํ มรณา’ติ ปนีโย ป ฺโห, อย ํ ปนโี ย ป โฺ ห ฯ
ฐปนียปัญหาเป็นไฉน ?
ปัญหาวา่ โลกยง่ั ยนื หรอื เป็นปัญหาที่พงึ พกั ไว ้ ปัญหาว่า โลกไม่ย่ังยนื หรือ หรอื วา่
วา่ โลกมีท่สี ดุ หรอื หรอื ว่า โลกไมม่ ีที่สดุ หรือ วา่ โลกมีท่สี ุดก็มี ไม่มีท่สี ุดก็มหี รือ วา่ โลกมี
ทีส่ ดุ ก็ไม่ใช่ ไม่มีทส่ี ดุ ก็ไม่ใช่หรือ วา่ ชีวะก็อันนัน้ สรีระกอ็ นั นัน้ หรือ วา่ ชวี ะกอ็ ยา่ งหนงึ่ สรรี ะ
ก็อยา่ งหนง่ึ หรือ วา่ หลังจากตาย สัตวจ์ ะมอี กี หรอื ว่า หลังจากตายสตั ว์จะไม่มอี ีกหรือ วา่
หลังจากตายสตั ว์จะมอี กี ก็ใช่ ไม่มีอีกก็ใช่หรือ ว่า หลังจากตาย สตั วจ์ ะมอี กี กไ็ ม่ใช่ ไมม่ อี ีก
กไ็ ม่ใชห่ รอื ดังนีเ้ ป็นตน้ เปน็ ปญั หาทีพ่ ึงพกั ไว้ นชี้ อ่ื ว่าฐปนยี ปัญหา
354 มิลินทปญั หาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปญั ห
‘‘ภควา มหาราช เถรสสฺ มาลกุ ฺยปตุ ตฺ สสฺ ตํ ปนียํ ป หฺ ํ น พยฺ ากาสิ ฯ โส ปน
ป ฺโห กึการณา ปนโี ย ? น ตสฺส ทีปนาย เหตุ วา การณํ วา อตฺถ,ิ ตสมฺ า โส ป โฺ ห
ปนโี ย ฯ นตฺถ ิ พุทธฺ านํ ภควนตฺ านํ อการณมเหตกุ ํ คริ มุทีรณน”ฺ ติ ฯ
ขอถวายพระพร ปญั หาของท่านมาลงุ กยบุตรเถระน้ันเปน็ ฐปนียปญั หา พระผมู้ พี ระ
ภาคเจ้าจึงไม่ตรัสพยากรณ,์ กเ็ พราะเหตไุ รเลา่ ปัญหาน้นั เปน็ ปญั หาท่ีพึงพกั ไว้ ตอบวา่ ก็
เพราะเหตุหรอื การณท์ จ่ี ะตรัสเฉลยปญั หาน้นั ไมม่ ี เพราะฉะน้ัน ปญั หานั้นจึงเปน็ ปัญหาท่ีพึง
พักไว้ พระผู้มพี ระภาคพุทธเจ้าท้ังหลาย ไม่ทรงมกี ารเปล่งพระวาจาอย่างปราศจากเหตุ
ปราศจากการณ์แล”
‘‘สาธ ุ ภนฺเต นาคเสน เอวเมต ํ ตถา สมฺปฏจิ ฺฉาม’ี ’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ นิ ทต์ รสั ว่า “ดจี ริง พระคณุ เจา้ นาคเสน โยมขอยอมรับค�ำนัน่ อย่างน้ี ตามท่ี
ท่านกล่าวมานี”้
อพยฺ ากรณียปญฺโห ทุตโิ ย ฯ
จบอัพยากรณยี ปญั หาขอ้ ท่ี ๒
________
๓. มจฺจุภายนาภายนปญหฺ
๓. มจั จุภายนาภายนปัญหา
ปญั หาว่าดว้ ยความกลัวและไม่กลัวตอ่ ความตาย
[๓] ‘‘ภนฺเต นาคเสน ภาสติ มฺเปต ํ ภควตา ‘สพเฺ พ ตสนตฺ ิ ทณฺฑสสฺ , สพเฺ พ
ภายนตฺ ิ มจฺจุโน’ติ, ปุน ภณิตํ ‘อรหา สพพฺ ภยมติกฺกนฺโต’ติ ฯ กนิ ฺน ุ โข ภนเฺ ต นาคเสน
อรหา ทณฺฑภยา ตสติ, นิรเย วา เนรยกิ า สตฺตา ชลติ า กถุ ิตา ตตฺตา สนฺตตตฺ า ตมฺหา
ชลิตคฺคิชาลกา มหานิรยา จวมานา มจจฺ โุ น ภายนตฺ ิ ฯ ยทิ ภนเฺ ต นาคเสน ภควตา ภณิต ํ
‘สพเฺ พ ตสนตฺ ิ ทณฺฑสฺส, สพฺเพ ภายนฺติ มจจฺ ุโน’ต,ิ เตนห ิ ‘อรหา สพพฺ ภยมตกิ ฺกนโฺ ต’ต ิ
ยํ วจน,ํ ตํ มจิ ฉฺ า ฯ ยทิ ภควตา ภณิตํ ‘อรหา สพพฺ ภยมตกิ กฺ นโฺ ต’ติ, เตนห ิ ‘สพฺเพ
ตสนตฺ ิ ทณฺฑสสฺ , สพฺเพ ภายนฺต ิ มจจฺ ุโน’ติ ตมปฺ ิ วจน ํ มิจฺฉา ฯ อยํ อภุ โต โกฏิโก ป โฺ ห
ตวานปุ ฺปตฺโต, โส ตยา นพิ ฺพาหิตพโฺ พ’’ติ ฯ
[๓] พระเจา้ มิลินท์ตรสั ถามวา่ “พระคุณเจา้ นาคเสน พระผูม้ ีพระภาคเจ้าทรงภาษิต
กณั ฑ์] ๔.๒ อเภชชวรรค 355
ความขอ้ นี้ไว้ว่า ‘สัตวท์ ง้ั ปวงย่อมหวาดหวั่นแตอ่ าชญา สตั ว์ทง้ั ปวงยอ่ มกลัวแตค่ วามตาย’
ดงั น้ี ยงั ตรัสตอ่ ไปอีกว่า ‘พระอรหันต์เปน็ ผ้ลู ่วงความกลัวต่อทุกสงิ่ ทุกอยา่ งไดแ้ ล้ว’ ดงั นี้
พระคณุ เจา้ นาคเสน ผ้เู ป็นพระอรหันตย์ งั คงหวาดหวั่นทณั ฑภัยหรือหนอ อีกอย่างหน่ึง สตั ว์
นรกในนรกผ้ถู ูกไฟนรกแผดเผาลุกโพลง หมกไหม้อยู่ ก�ำลงั เคลือ่ นจากมหานรกที่เปลวไฟลุก
โพลงอยนู่ น้ั ยังกลัวต่อความตายอยอู่ ีกหรอื หนอ พระคุณเจ้านาคเสน ถา้ หากพระผมู้ ีพระภาค
เจา้ ตรสั ว่า ‘สตั ว์ทง้ั ปวงยอ่ มหวาดหวน่ั แตอ่ าชญา สัตว์ทง้ั ปวงย่อมกลวั แต่ความตาย’ ดังน้ี จริง
ไซร้ ถ้าอยา่ งนัน้ ค�ำวา่ ‘พระอรหนั ตเ์ ป็นผลู้ ว่ งความกลวั ต่อทุกสิง่ ทุกอย่างได้แลว้ ’ ดงั น้ี กต็ ้อง
เปน็ ค�ำพดู ท่ผี ดิ ถ้าหากวา่ พระผู้มพี ระภาคเจา้ ตรัสวา่ ‘พระอรหนั ต์เปน็ ผูล้ ่วงความกลวั ตอ่ ทกุ
สง่ิ ทุกอยา่ งไดแ้ ล้ว’ ดงั น้ี จริงไซร้ ถ้าอย่างน้นั ค�ำวา่ ‘สัตว์ทัง้ ปวงยอ่ มหวาดหวน่ั แตอ่ าชญา
สตั วท์ ้ังปวงยอ่ มกลัวแต่ความตาย’ ดงั น้ี ก็ต้องเปน็ ค�ำพูดท่ีผดิ ปัญหานี้ มี ๒ เงอ่ื น ตกถึงแก่
ท่านตามล�ำดับแล้ว ขอท่านพงึ คลคี่ ลายปัญหานนั้ เถดิ ”
‘‘เนต ํ มหาราช วจนํ ภควตา อรหนฺเต อุปาทาย ภณติ ํ ‘สพฺเพ ตสนฺติ ทณฺฑสสฺ ,
สพฺเพ ภายนตฺ ิ มจจฺ ุโน’ติ ฯ ปิโต อรหา ตสฺม ึ วตถฺ สุ ฺมึ, สมหู โต ภยเหต ุ อรหโต ฯ เย
เต มหาราช สตตฺ า สกิเลสา, เยส จฺ อธิมตฺตา อตตฺ านุทฏิ ฺ ,ิ เย จ สขุ ทกุ ฺเขสุ อนุ ฺนตา-
วนตา, เต อปุ าทาย ภควตา ภณติ ํ ‘สพเฺ พ ตสนตฺ ิ ทณฺฑสฺส, สพฺเพ ภายนฺติ มจฺจุโน’ติ
ฯ อรหโต มหาราช สพพฺ คติ อุปจฺฉินนฺ า, โยนิ วทิ ธฺ สํ ิตา, ปฏิสนธฺ ิ อุปหตา, ภคฺคา
ผาสุกา, สมูหตา สพพฺ ภวาลยา, สมุจฺฉนิ นฺ า สพพฺ สงขฺ ารา, หต ํ กุสลากุสลํ, วิหตา อวิชชฺ า,
อพีชํ วิ ฺ าณ ํ กต,ํ ทฑฒฺ า สพพฺ กิเลสา, อตวิ ตฺตา โลกธมมฺ า, ตสฺมา อรหา น ตสต ิ
สพพฺ ภเยหิ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร ค�ำว่า ‘สตั ว์ทงั้ ปวงยอ่ ม
หวาดหวน่ั แต่อาชญา สัตว์ทงั้ ปวงยอ่ มกลวั แตค่ วามตาย’ ดังนี้ นี้ พระผมู้ ีพระภาคเจ้ามไิ ดต้ รสั
หมายเอาพระอรหนั ต์ดว้ ย ในเรอื่ งน้นั ต้องยกเวน้ พระอรหนั ต์ เพราะพระอรหนั ต์ถอนเหตุแหง่
ความกลวั ได้แล้ว ขอถวายพระพร บรรดาสัตวผ์ ู้มีกิเลสทง้ั หลาย สตั วเ์ หลา่ ใด มอี ัตตานทุ ฏิ ฐิ
ประมาณยง่ิ และสัตว์เหลา่ ใดเปน็ ผูฟ้ ูขึ้นและแฟบลงในสขุ และทกุ ข์ พระผู้มีพระภาคเจา้ ทรง
หมายเอาสัตว์เหลา่ นั้น ตรัสวา่ ‘สตั ว์ทงั้ ปวงยอ่ มหวาดหวน่ั แตอ่ าชญา สัตว์ท้ังปวงย่อมกลวั แต่
ความตาย’ ดงั น้ี ขอถวายพระพร พระอรหนั ต์ตดั คติทัง้ ปวงได้แล้ว ก�ำจัดก�ำเนิดได้แล้ว เพิก
ปฏสิ นธิได้แล้ว หักซี่โครงเรือนไดแ้ ล้ว ถอนอาลัยในภพทั้งปวงไดแ้ ล้ว ท�ำลายสงั ขารทงั้ ปวงได้
แล้ว ละกศุ ลและอกศุ ลได้แลว้ พรากอวชิ ชาไดแ้ ล้ว ท�ำวญิ ญาณให้ไม่มีพืชได้แลว้ เผากิเลสทง้ั
356 มลิ นิ ทปญั หาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปัญห
ปวงได้แลว้ ก้าวลว่ งโลกธรรมท้งั หลายได้แล้ว เพราะฉะน้นั พระอรหันต์ จึงไมห่ วาดหวัน่ ภัย
ทั้งปวง
‘‘อธิ มหาราช ร โฺ จตตฺ าโร มหามตตฺ า ภเวยฺยุํ อนรุ กฺขา ลทธฺ ยสา วสิ ฺสาสิกา
ปิตา มหติ อิสสฺ รเิ ย าเน ฯ อถ ราชา กสิ ฺม ิ ฺจเิ ทว กรณเี ย สมุปฺปนเฺ น ยาวตา
สกวิชิเต สพฺพชนสสฺ อาณาเปยฺย ‘สพฺเพว เม พลึ กโรนตฺ ,ุ สาเธถ ตมุ เฺ ห จตตฺ าโร
มหามตตฺ า ต ํ กรณยี น’ฺ ติ ฯ อปิ นุ โข มหาราช เตสํ จตุนฺน ํ มหามตตฺ าน ํ พลิภยา
สนตฺ าโส อุปฺปชเฺ ชยยฺ า’’ติ ?
ขอถวายพระพร เปรียบเหมอื นวา่ พระราชาในโลกน้ี ทรงมมี หาอ�ำมาตย์อยู่ ๔ คน ซ่ึง
เปน็ องค์รักษ์ ได้รบั พระราชทานยศ เปน็ ผ้สู นทิ สนมกับพระราชา พระราชาทรงตั้งไว้ใน
ต�ำแหน่งทีย่ ่งิ ใหญ่ ต่อมา เมอ่ื มกี รณียกิจบางอย่างเกดิ ขนึ้ พระราชากท็ รงออกพระราชโองการ
ตรัสสั่งทุกคนเทา่ ทีม่ ีในแวน่ แควน้ ของพระองค์วา่ ทกุ คนนั่นแหละจงท�ำพลีกรรมแกเ่ รา ทา่ น
มหาอ�ำมาตยท์ ัง้ ๔ ขอทา่ นจงจดั การท�ำกรณยี กิจนนั้ ใหส้ �ำเร็จเถดิ ดงั นี้ ขอถวายพระพร
มหาอ�ำมาตย์ทั้ง ๔ ท่านเหลา่ นั้น พงึ เกิดความหวาดหวัน่ ภัยคือพลกี รรมนัน้ หรือไม่ ?”
‘‘น ห ิ ภนเฺ ต’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ นิ ท์ตรัสวา่ “ไมเ่ กดิ หรอก พระคณุ เจ้า”
‘‘เกน การเณน มหาราชา’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรถามวา่ “เพราะเหตุไรหรือ มหาบพติ ร ?”
‘‘ ปิตา เต ภนเฺ ต ร ฺ า อตุ ฺตมฏ ฺ าเน, นตฺถิ เตส ํ พล,ิ สมตกิ กฺ นฺตพลิโน เต
อวเสเส อปุ าทาย ร ฺ า อาณาปิตํ ‘สพเฺ พว เม พล ึ กโรนตฺ ’ู ติ ฯ
พระเจ้ามลิ ินทต์ รสั ว่า “พระคณุ เจา้ พวกอ�ำมาตยเ์ หลา่ น้ัน พระราชาทรงแต่งต้งั ไว้ใน
ต�ำแหนง่ ท่ีสูงสง่ พลีกรรมย่อมไมม่ แี กพ่ วกอ�ำมาตย์เหลา่ นน้ั พวกเขาเป็นผลู้ ่วงพน้ การท�ำพลี
กรรม พระราชด�ำรัสรับสั่งหมายเอาพวกชนทีเ่ หลอื เหล่าน้ันว่า ทกุ คนทเี ดียว จงท�ำพลกี รรม
แกเ่ รา”
‘‘เอวเมว โข มหาราช เนต ํ วจน ํ ภควตา อรหนฺเต อปุ าทาย ภณิตํ, ปิโต อรหา
ตสมฺ ึ วตถฺ ุสมฺ ,ึ สมหู โต ภยเหต ุ อรหโต, เย เต มหาราช สตฺตา สกิเลสา, เยส ฺจ
อธิมตฺตา อตฺตานทุ ิฏ ฺ ,ิ เย จ สุขทกุ ฺเขส ุ อนุ ฺนตาวนตา, เต อุปาทาย ภควตา ภณติ ํ
กัณฑ์] ๔.๒ อเภชชวรรค 357
‘สพฺเพ ตสนตฺ ิ ทณฑฺ สสฺ , สพฺเพ ภายนฺต ิ มจจฺ ุโน’ติ ฯ ตสมฺ า อรหา น ตสติ
สพพฺ ภเยห’ี ’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร ก็เหมือนกนั อยา่ งนัน้ นั่นแหละ พระ
ด�ำรสั น้ี พระผูม้ พี ระภาคเจ้ามไิ ดต้ รัสหมายเอาพระอรหันตด์ ว้ ย ในเร่อื งนน้ั ต้องยกเว้นพระ
อรหันต์ เพราะพระอรหันต์ถอนเหตุแห่งความกลัวไดแ้ ล้ว ขอถวายพระพร บรรดาสตั วผ์ มู้ ี
กเิ ลสทง้ั หลาย สตั วเ์ หล่าใดมอี ตั ตานุทฏิ ฐปิ ระมาณย่งิ และสัตว์เหลา่ ใดเปน็ ผฟู้ ขู ึ้นและแฟบลง
ในสขุ และทกุ ข์ พระผ้มู พี ระภาคเจา้ ทรงหมายเอาสตั วเ์ หล่านั้น ตรัสว่า ‘สัตวท์ งั้ ปวงยอ่ ม
หวาดหวั่นแต่อาชญา สตั ว์ทง้ั ปวง ยอ่ มกลวั แตค่ วามตาย’ ดงั น้ี เพราะฉะนนั้ พระอรหนั ตจ์ ึงไม่
หวาดหวน่ั ภยั ท้งั ปวง”
‘‘เนตํ ภนเฺ ต นาคเสน วจนํ สาวเสสํ, นริ วเสสวจนเมต ํ ‘สพฺเพ’ติ ฯ ตตถฺ เม อตุ ตฺ ร ึ
การณํ พรฺ ูห ิ ตํ วจนํ ปติฏ ฺ าเปตนุ ฺ’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลินทต์ รสั ว่า “พระคุณเจา้ นาคเสน พระด�ำรัสทีต่ รสั ไว้นี้ ไมใ่ ชพ่ ระด�ำรัสทยี่ งั
ไมม่ ีสว่ นเหลอื พระด�ำรสั วา่ สตั วท์ ้ังปวงน้ี เป็นพระด�ำรสั ทห่ี าสว่ นเหลอื มิได้ ขอทา่ นจงบอก
เหตใุ นพระด�ำรัสทีต่ รสั ไวน้ ัน้ แกโ่ ยมใหย้ ิ่งอกี หน่อยเถดิ ขอจงอธิบายพระด�ำรสั ทีต่ รัสไว้นั้น ให้
หนักแนน่ เถดิ
‘‘อิธ มหาราช คาเม คามสสฺ ามิโก อาณาปกํ อาณาเปยฺย ‘เอหิ โภ อาณาปก,
ยาวตา คาเม คามกิ า, เต สพเฺ พ สีฆํ มม สนฺติเก สนนฺ ิปาเตหี’ติ ฯ โส ‘สาธ ุ สามี’ติ
สมฺปฏจิ ฉฺ ติ วฺ า คามมชฺเฌ ตฺวา ติกขฺ ตฺต ุํ สททฺ มนุสฺสาเวยยฺ ‘ยาวตา คาเม คามิกา, เต
สพฺเพ สฆี สฆี ํ สามโิ น สนตฺ เิ ก สนฺนปิ ตนตฺ ู’ติ ฯ ตโต เต คามกิ า อาณาปกสฺส วจเนน
ตรุ ิตตุรติ า สนนฺ ปิ ตติ วฺ า คามสสฺ ามิกสฺส อาโรเจนตฺ ิ ‘สนฺนปิ ติตา สาม ิ สพเฺ พ คามิกา, ยํ
เต กรณีย,ํ ต ํ กโรหี’ติ ฯ อิต ิ โส มหาราช คามสฺสามิโก กุฏิปุริเส สนนฺ ปิ าเตนโฺ ต สพเฺ พ
คามเิ ก อาณาเปติ, เต จ อาณตฺตา น สพฺเพ สนฺนปิ ตนตฺ ิ, กุฏปิ รุ สิ าเยว สนนฺ ิปตนตฺ ,ิ
‘เอตฺตกาเยว เม คามกิ า’ต ิ คามสสฺ ามิโก จ ตถา สมฺปฏิจฉฺ ติ, อ เฺ พหตุ รา อนาคตา
อิตฺถิปรุ สิ า ทาสทิ าสา ภตกา กมมฺ กรา คามกิ า คลิ านา โคมหึสา อเชฬกา สุวานา, เย
อนาคตา, สพเฺ พ เต อคณิตา, กฏุ ปิ ุริเสเยว อุปาทาย อาณาปติ ตตฺ า ‘สพฺเพ สนนฺ ปิ ตนฺตู’ติ
ฯ เอวเมว โข มหาราช เนตํ วจนํ ภควตา อรหนฺเต อุปาทาย ภณิตํ, ปิโต อรหา ตสมฺ ึ
วตฺถุสมฺ ึ, สมูหโต ภยเหต ุ อรหโต, เย เต มหาราช สตตฺ า สกเิ ลสา, เยส จฺ อธมิ ตฺตา
อตฺตานทุ ิฏฺ ิ, เย จ สขุ ทกุ เฺ ขส ุ อุนฺนตาวนตา, เต อุปาทาย ภควตา ภณติ ํ ‘สพฺเพ
358 มลิ นิ ทปญั หาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปญั ห
ตสนตฺ ิ ทณฺฑสฺส, สพฺเพ ภายนตฺ ิ มจฺจุโน’ติ ฯ ตสฺมา อรหา น ตสต ิ สพพฺ ภเยหิ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร นายบ้านเป็นใหญใ่ นหมบู่ ้าน พงึ ส่ังบา่ ว
ผ้ปู ระกาศค�ำสง่ั วา่ นายผปู้ ระกาศค�ำส่ัง เธอจงไปบอกลูกบ้านทุกคนเท่าทม่ี ีอยใู่ นหมบู่ ้าน ให้
รีบไปประชุมกันทีส่ �ำนกั งานของฉนั โดยเรว็ เถิด บ่าวผ้ปู ระกาศค�ำสงั่ รบั ค�ำสง่ั วา่ ครบั นายท่าน
ดงั นี้แลว้ กไ็ ปยนื อยกู่ ลางหมบู่ ้าน เปล่งเสยี งใหไ้ ดย้ ินถึง ๓ ครัง้ ว่า ลูกบา้ นทุกคนเท่าทมี่ อี ย่ใู น
หมบู่ า้ น ขอจงไปประชมุ กนั ทสี่ �ำนกั งานของนายทา่ นโดยเรว็ เถิด ต่อจากน้ันไป พอพวกลกู
บ้านเหล่าน้ันรีบไปประชุมกันที่ส�ำนักงานของนายบ้านตามค�ำของบ่าวผู้ประกาศค�ำส่ังแล้วก็
แจง้ แก่นายบ้านวา่ นายท่าน ลกู บ้านทกุ คนประชุมกนั แลว้ ขอท่านจงท�ำกจิ ท่ีควรท�ำเถดิ ดังน้ี
ขอถวายพระพร ก็เป็นอนั ว่า นายบา้ นผนู้ น้ั ไดส้ ง่ั ลูกบา้ นทเ่ี ปน็ ชายในเรอื นทุกคนให้มาประชมุ
กล็ กู บ้านท้งั หลายเหลา่ นัน้ พอถูกสง่ั แลว้ กห็ ามาประชมุ ทกุ คนไม่ เฉพาะพวกผชู้ ายในเรือน
เทา่ นัน้ ทมี่ าประชุม และนายบ้าน กย็ อมรบั ตามนัน้ วา่ ลูกบา้ นของเรา ก็มีเพยี งเท่านน้ั หญงิ
ชาย ทาสหญิง ทาสชาย ลูกจ้าง กรรมกร คนเจ็บซง่ึ เปน็ ลกู บา้ นคนอืน่ ๆ ตลอดจนโค กระบอื
แพะ สุนัข ท่ีมิได้มาประชุมนนั้ มีจ�ำนวนมากกว่า นายบ้านมไิ ดน้ ับเอา คนที่ไมไ่ ด้มาทุกคน
เหล่านน้ั ดว้ ย เพราะเหตทุ ีส่ งั่ วา่ ทกุ คนจงมาประชมุ นนั้ หมายเอาเฉพาะพวกผู้ชายในเรือน
เท่านน้ั ขอถวายพระพร ก็เหมอื นกนั อยา่ งน้ันนั่นแหละ พระด�ำรสั น้ี พระผูม้ ีพระภาคเจา้ มไิ ด้
ทรงหมายเอาพระอรหันต์ด้วย ในเรอ่ื งนน้ั ต้องยกเว้นพระอรหนั ต์ เพราะพระอรหนั ตถ์ อนเหตุ
แห่งความกลวั ได้แล้ว ขอถวายพระพร บรรดาสัตวผ์ ้มู ีกิเลสทั้งหลาย สัตว์เหล่าใดมอี ัตตานุ
ทฏิ ฐปิ ระมาณย่งิ และสตั วเ์ หลา่ ใดเปน็ ผ้ฟู ขู ้ึนและแฟบลงในสขุ และทกุ ข์ พระผู้มพี ระภาคเจ้า
ทรงหมายเอาสตั ว์เหลา่ นั้น ตรัสวา่ ‘สัตวท์ ั้งหลายทัง้ ปวง ย่อมหวาดหวน่ั แตอ่ าชญา สตั ว์ท้งั
ปวงย่อมกลัวแตค่ วามตาย’ ดงั น้ี เพราะฉะนนั้ พระอรหันต์จงึ ไม่หวาดหวนั่ ตอ่ ภยั ทัง้ ปวง
‘‘อตถฺ ิ มหาราช สาวเสส ํ วจนํ สาวเสโส อตฺโถ, อตฺถิ สาวเสสํ วจนํ นิรวเสโส
อตฺโถ, อตฺถ ิ นิรวเสส ํ วจน ํ สาวเสโส อตฺโถ, อตฺถิ นริ วเสส ํ วจนํ นริ วเสโส อตโฺ ถ ฯ
เตน เตน อตฺโถ สมฺปฏจิ ฺฉติ พฺโพ ฯ
ขอถวายพระพร ค�ำพูดสว่ นเหลอื อรรถมสี ว่ นเหลือกม็ ีอยู่ ค�ำพดู มีส่วนเหลอื แตอ่ รรถ
หาส่วนเหลอื มไิ ด้ ก็มีอยู่ ค�ำพูดหาส่วนเหลือมไิ ด้ แต่อรรถมีสว่ นเหลอื กม็ ีอยู่ ค�ำพูดหาสว่ น
เหลอื มไิ ด้ อรรถก็หาสว่ นเหลอื มไิ ด้ ก็มีอยู่ บัณฑิตพงึ รบั รองอรรถไดเ้ พราะเหตนุ ัน้ ๆ
‘‘ป จฺ วเิ ธหิ มหาราช การเณหิ อตโฺ ถ สมฺปฏจิ ฺฉติ พโฺ พ อาหจจฺ ปเทน รเสน อาจรยิ -
วเํ สน อธิปฺปายา การณุตตฺ ริยตาย ฯ เอตฺถ หิ อาหจฺจปทนฺต ิ สุตตฺ ํ อธิปเฺ ปตํ ฯ รโสติ
กัณฑ]์ ๔.๒ อเภชชวรรค 359
สุตตฺ านุโลมํ ฯ อาจรยิ วํโสต ิ อาจรยิ วาโท ฯ อธปิ ฺปาโยต ิ อตตฺ โน มติ ฯ การณตุ ตฺ ริยตาติ
อเิ มห ิ จตหู ิ สเมนฺต ํ การณํ ฯ อเิ มหิ โข มหาราช ป จฺ ห ิ การเณห ิ อตโฺ ถ
สมปฺ ฏจิ ฺฉติ พโฺ พ ฯ เอวเมโส ป โฺ ห สุวนิ ิจฉฺ ิโต โหต’ี ’ติ ฯ
ขอถวายพระพร บณั ฑิตพึงรับรองอรรถไดโ้ ดยเหตุ ๕ อย่าง คือ
๑. โดยอาหัจจบท
๒. โดยรส
๓. โดยอาจริยวังสะ
๔. โดยอธิบาย
๕. โดยการณตุ ตริยตา
ในบรรดาเหตุ ๕ อยา่ งนน้ั พระสตู รทา่ นประสงค์ว่าเปน็ อาหัจจบท
ค�ำพดู อนโุ ลมตามพระสูตร ชอ่ื ว่ารส
วาทะของอาจารย์ ชอ่ื ว่าอาจรยิ วงั สะ
มติของตน ชอ่ื ว่าอธิบาย
เหตุท่ใี ชอ้ ้างเหมาะสมดว้ ยเหตุ ๔ อย่างเหลา่ นี้ ชอื่ วา่ การณตุ ตรยิ ตา
ขอถวายพระพรมหาบพิตร บัณฑิตพึงรับรองอรรถได้ดว้ ยเหตุ ๕ อย่างเหล่านแ้ี ล
ปญั หานั้น ช่อื ว่าเป็นอันได้รบั การวินจิ ฉยั ดแี ล้ว ด้วยประการฉะน้”ี
‘‘โหตุ ภนฺเต นาคเสน ตถา ตํ สมฺปฏจิ ฉฺ ามิ ฯ ปโิ ต โหต ุ อรหา ตสฺม ึ วตถฺ สุ ฺมึ,
ตสนฺต ุ อวเสสา สตฺตา, นิรเย ปน เนรยกิ า สตตฺ า ทกุ ขฺ า ตพิ ฺพา กฏกุ า เวทนา
เวทยมานา ชลติ ปชชฺ ลติ สพพฺ งฺคปจฺจงคฺ า รณุ ฺณการ ุ ฺ กนทฺ ติ ปรเิ ทวิตลาลปปฺ ติ มขุ า อสยหฺ -
ตพิ พฺ ทุกขฺ าภิภตู า อตาณา อสรณา อสรณีภตู า อนปปฺ โสกาตุรา อนฺติมปจฺฉมิ คติกา
เอกนตฺ โสกปรายณา อุณหฺ ติขณิ จณฑฺ ขรตปนเตชวนโฺ ต ภมี ภยชนกนนิ าทมหาสททฺ า
สํสิพฺพิตฉพพฺ ธิ ชาลามาลากุลา สมนตฺ า สตโยชนานผุ รณจฺจิเวคา กทรยิ า ตปนา มหานริ ยา
จวมานา มจฺจุโน ภายนตฺ ี’’ติ ?
พระเจา้ มิลนิ ทต์ รัสว่า “พระคณุ เจา้ นาคเสน โยมก็ยอมรับค�ำนั้นตามท่ที ่านกล่าวมานั้น
ขอ้ ที่สัตวท์ ัง้ หลายทเ่ี หลือ จงสะด้งุ กลัวในเรอ่ื งนัน้ ตอ้ งยกเว้นพระอรหันต์ ก็แต่ว่า พวกสตั ว์
นรกทงั้ หลายผู้เสวยทุกขเวทนากล้าแขง็ เผ็ดร้อนอยู่ในนรก มอี วัยวะใหญน่ ้อยทงั้ ปวงถูกไฟ
เผาลุกโพลง มีหน้าชมุ่ ดว้ ยน�ำ้ ตา รอ้ งไห้ คร่ำ� ครวญ บน่ เพ้ออยู่อยา่ งนา่ สงสาร มีทกุ ข์แรงกล้า
เหมือนทนถกู ครอบง�ำ ไม่มีท่ีตา้ นทาน ไมม่ ที ี่พ่งึ เป็นผทู้ สี่ ิ่งอืน่ ไมอ่ าจเปน็ ท่พี ่งึ ใหไ้ ด้ มีความ
360 มิลินทปัญหาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปัญห
เศร้าโศกอาดูรมิใช่น้อย มคี ตติ ่ำ� ทรามเป็นท่ีสดุ บ่ายหนา้ ไปหาความเศรโ้ ศกโดยส่วนเดียว ถูก
ไฟแผดเผารอ้ นกล้าโหดรา้ ย เปล่งเสยี งดงั ฟงั แลว้ ท�ำใหเ้ กิดความสยดสยองน่ากลวั มีเปลวไฟ
๖ อย่างตดิ ประสานเป็นพวงอยู่ เปลง่ เปลวไฟร้อนกลา้ แผ่ไปตลอดท่ี ๑๐๐ โยชนโ์ ดยรอบ เม่ือ
เคลอื่ นจากมหานรกรอ้ นทารณุ ก็ยังกลวั ความตายอีกหรอื ?”
‘‘อาม มหาราชา’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ใช่ มหาบพติ ร”
‘‘นนุ ภนฺเต นาคเสน นิรโย เอกนฺตทกุ ขฺ เวทนีโย, กิสฺส ปน เต เนรยกิ า สตฺตา
เอกนตฺ ทุกฺขเวทนียา นริ ยา จวมานา มจฺจุโน ภายนตฺ ิ, กิสฺส นิรเย รมนตฺ ี’’ติ ?
พระเจ้ามิลนิ ทต์ รัสว่า “พระคณุ เจ้านาคเสน นรกเป็นคตทิ ี่ตอ้ งเสวยแต่ทุกข์โดยส่วน
เดยี วเท่าน้นั มิใช่หรือ เพราะเหตุอะไร พวกสตั วน์ รกเหล่าน้ัน เมื่อจะเคลอ่ื นจากนรก ซึ่งเปน็
คตทิ ่ตี ้องเสวยแต่ทุกข์โดยสว่ นเดียว จงึ ยังกลัวตายเล่า ยังร่นื รมยใ์ นนรกอยูเ่ พราะเหตอุ ะไร ?”
‘‘น เต มหาราช เนรยกิ า สตตฺ า นิรเย รมนฺต,ิ มุ จฺ ิตกุ ามาว เต นิรยา ฯ
มรณสฺเสว โส มหาราช อานุภาโว, เยน เตสํ สนตฺ าโส อปุ ฺปชชฺ ต’ี ’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร พวกสัตวน์ รกเหลา่ นนั้ หารื่นรมย์ใน
นรกไม่ พวกสตั วน์ รกเหล่านน้ั มแี ตค่ วามตอ้ งการจะพ้นจากนรก ขอถวายพระพร ความตายมี
อานภุ าพ เปน็ เหตใุ ห้สตั ว์นรกเหลา่ น้ันเกิดความสะดงุ้ กลัว”
‘‘เอต ํ โข ภนเฺ ต นาคเสน น สททฺ หาม,ิ ย ํ มุจฺจติ ุกามานํ จุติยา สนตฺ าโส
อุปฺปชชฺ ตตี ,ิ หาสนีย ํ ภนเฺ ต นาคเสน ตํ าน,ํ ย ํ เต ปตถฺ ิต ํ ลภนฺติ, การเณน ม ํ
ส ฺ าเปหี’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ นิ ท์ตรัสวา่ “พระคณุ เจา้ นาคเสน ข้อทีว่ ่าสัตวน์ รกผตู้ ้องการจะพน้ จากนรก
ยงั เกดิ ความสะดงุ้ กลัวต่อการเคลื่อนนี้ โยมไม่เชื่อหรอก พระคุณเจา้ นาคเสน ขอ้ ทส่ี ตั วน์ รกได้
ตามความปรารถนานน้ั เปน็ ฐานะทนี่ า่ ขัน ขอท่านจงชว่ ยท�ำใหโ้ ยมเขา้ ใจดว้ ยเหตผุ ลเถิด”
‘‘มรณนฺต ิ โข มหาราช เอตํ อทฏิ ฺ สจฺจาน ํ ตาสนยี ฏฺ านํ, เอตฺถาย ํ ชโน ตสติ จ
อุพพฺ ิชฺชต ิ จ ฯ โย จ มหาราช กณฺหสปปฺ สสฺ ภายติ, โส มรณสฺส ภายนโฺ ต กณหฺ สปฺปสสฺ
ภายติ ฯ โย จ หตถฺ สิ สฺ ภายต…ิ เป.… สีหสฺส…เป.… พฺยคฆฺ สฺส…เป.… ทปี ิสฺส…เป.…
อจฉฺ สฺส…เป.… ตรจฉฺ สฺส…เป.… มหสึ สฺส…เป.… ควยสสฺ …เป.… อคคฺ สิ ฺส…เป.…
กณั ฑ์] ๔.๒ อเภชชวรรค 361
อุทกสฺส…เป.… ขาณกุ สฺส…เป.… กณฏฺ กสสฺ ภายติ ฯ โย จ สตตฺ ยิ า ภายต,ิ โส มรณสฺส
ภายนฺโต สตตฺ ยิ า ภายติ ฯ มรณสฺเสว โส มหาราช สรสสภาวเตโช, ตสสฺ สรสสภาวเตเชน
สกิเลสา สตตฺ า มรณสฺส ตสนฺติ ภายนตฺ ,ิ มจุ จฺ ติ กุ ามาป ิ มหาราช เนรยิกา สตฺตา
มรณสฺส ตสนฺต ิ ภายนตฺ ิ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร ขึน้ ชือ่ ว่าความตายนั่น เป็นฐานะท่นี า่
สะดุ้งกลวั ส�ำหรับสัตวท์ ้งั หลายผยู้ ังไมเ่ ห็นสัจจะ คนเรานี้ ย่อมหวาดหวน่ั พร่นั พรึงในความตาย
น้ี ขอถวายพระพร ก็ผู้ใดกลัวงเู หา่ ผนู้ น้ั กลัวตาย จงึ กลวั งูเห่า ผู้ใดกลัวชา้ ง … กลัวราชสหี ์ …
กลัวเสือโครง่ … กลัวเสอื เหลือง … กลัวหมี … กลวั หมาป่า …กลัวกระบอื … กลัวโคลาน …
กลัวไฟ … กลวั น้�ำ … กลัวตอ … กลวั หนาม … และผู้ใดกลัวหอกหลาว ผู้นั้นกลัวตาย จึงกลวั
หอกหลาว ขอถวายพระพร ข้อนัน้ เป็นเดชานุภาพอนั เปน็ สภาวะพร้อมท้ังรสของความตาย
นน่ั แหละ เพราะเดชานุภาพอันเป็นสภาวะพรอ้ มทัง้ รสของความตายนนั้ สัตว์ผู้มกี ิเลสทัง้
หลายจงึ สะดุ้งกลัวแต่ความตาย ขอถวายพระพร สตั ว์นรกท้งั หลาย แมป้ ระสงคจ์ ะพ้น (จาก
ทกุ ข์) ยอ่ มสะดงุ้ กลวั แตค่ วามตาย
‘‘อธิ มหาราช ปุริสสฺส กาเย เมโท คณ ฺ ิ อุปฺปชฺเชยยฺ ฯ โส เตน โรเคน ทุกฺขโิ ต
อปุ ทฺทวา ปริมจุ ฺจติ ุกาโม ภสิ กฺกํ สลฺลกตตฺ ํ อามนตฺ าเปยฺย ฯ ตสฺส วจน ํ โส ภิสกโฺ ก
สลลฺ กตโฺ ต สมปฺ ฏจิ ฉฺ ิตฺวา ตสฺส โรคสสฺ อุทธฺ รณาย อปุ กรณ ํ อุปฏ ฺ าเปยยฺ , สตฺถกํ ติขณิ ํ
กเรยยฺ , ยมกสลากา อคฺคมิ หฺ ิ ปกฺขเิ ปยฺย, ขารลวณ ํ นสิ ทาย ปิสาเปยฺย, อป ิ นุ โข
มหาราช ตสสฺ อาตุรสสฺ ติขณิ สตฺถกจเฺ ฉทเนน ยมกสลากาทหเนน ขารโลณปฺปเวสเนน
ตาโส อปุ ปฺ ชฺเชยยฺ า’’ติ ?
ขอถวายพระพร เปรียบเหมอื นว่า บรุ ษุ บางคนในโลกนมี้ ีต่อมไขมันในรา่ งกายบวม
เป็นต่อมฝขี ึน้ เขาเปน็ ทุกข์เพราะโรคนนั้ มคี วามประสงค์จะพน้ จากอนั ตราย จงึ ไปเชญิ หมอ
ผ่าตดั มา หมอผา่ ตัดรบั ค�ำเชญิ ของเขาแล้ว กจ็ ัดเตรียมอปุ กรณ์ส�ำหรบั การถอนโรคน้นั ลับมดี
ผ่าตดั ให้คม เอาคีมลนไฟไว้ บดยาชะล้างแผลไว้ ขอถวายพระพร คนไข้ผกู้ �ำลงั ย่ำ� แยอ่ ยนู่ น้ั
พงึ เกิดความสะดุ้งกลัว (ต่อทุกขเวทนา) เพราะการผ่าตัดด้วยมดี คม เพราะการท�ำแผลใหไ้ หม้
ด้วยคมี เพราะการใส่ยาชะล้างแผลขนึ้ บ้างหรอื ไม่หนอ ?”
‘‘อาม ภนฺเต’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ ินท์ตรัสว่า “ใช่ พระคณุ เจ้า”
362 มลิ นิ ทปญั หาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปัญห
‘‘อติ ิ มหาราช ตสฺส อาตรุ สสฺ โรคา มุจจฺ ิตกุ ามสฺสาป ิ เวทนาภยา สนฺตาโส
อปุ ปฺ ชฺชติ ฯ เอวเมว โข มหาราช นริ ยา มุจจฺ ติ ุกามานมปฺ ิ เนรยิกานํ สตฺตานํ มรณภยา
สนตฺ าโส อปุ ฺปชชฺ ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร ก็เปน็ อันวา่ คนไข้ผกู้ �ำลังย่ำ� แยอ่ ยนู่ น้ั
แม้ว่าตอ้ งการจะพ้นไปจากโรค กย็ งั เกดิ ความสะดุ้งกลัวภยั จากเวทนา ขอถวายพระพร ข้อนี้มี
อุปมาฉนั ใด พวกสตั ว์นรกทง้ั หลาย แมว้ ่าต้องการจะพ้นไปจากนรก ก็ยังเกิดความสะดุ้งกลวั
มรณภยั ฉนั นน้ั เหมอื นกัน”
‘‘อธิ มหาราช ปรุ โิ ส อสิ ฺสราปราธโิ ก พทฺโธ สงขฺ ลกิ พนฺธเนน คพฺเภ ปกฺขติ โฺ ต
ปริมุจฺจิตุกาโม อสสฺ , ตเมน ํ โส อิสสฺ โร โมเจตุกาโม ปกฺโกสาเปยยฺ ฯ อป ิ นุ โข มหาราช
ตสสฺ อิสสฺ ราปราธิกสฺส ปุรสิ สสฺ ‘กตโทโส อหน’ฺ ต ิ ชานนฺตสฺส อสิ ฺสรทสสฺ เนน สนฺตาโส
อุปฺปชเฺ ชยยฺ า’’ติ ?
ขอถวายพระพร อกี อย่างหนงึ่ เปรยี บเหมือนวา่ บรุ ษุ บางคนในโลกนี้ เปน็ ผ้มู คี วามผิด
ในทา่ นผ้เู ปน็ ใหญ่ พอถูกล่ามดว้ ยโซต่ รวน ถกู ขังไวใ้ นห้องขังแลว้ ก็พงึ เปน็ ผูต้ อ้ งการจะพน้ ไป
ทา่ นผู้เป็นใหญ่นั้น ก็ต้องการจะปล่อย จงึ ให้เรยี กเขามา ขอถวายพระพร บรุ ุษผ้มู คี วามผดิ ใน
ทา่ นผเู้ ปน็ ใหญ่ ผรู้ อู้ ยู่วา่ เราได้ท�ำความผดิ ไว้ ดังน้ี นน้ั ก็จะเกิดความสะดุ้งกลัวต่อภยั คอื ทา่ นผู้
เป็นใหญ่หรือไม่ ?”
‘‘อาม ภนฺเต’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลนิ ทต์ รัสวา่ “ใช่ พระคุณเจา้ ”
‘‘อติ ิ มหาราช ตสสฺ อิสสฺ ราปราธกิ สสฺ ปุรสิ สฺส ปริมจุ ฺจติ ุกามสฺสาป ิ อิสสฺ รภยา
สนฺตาโส อปุ ฺปชฺชติ ฯ เอวเมว โข มหาราช นริ ยา มุจฺจิตกุ ามานมปฺ ิ เนรยกิ านํ สตฺตานํ
มรณภยา สนฺตาโส อปุ ฺปชชฺ ต’ี ’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร กเ็ ป็นอันวา่ บุรุษผู้มีความผดิ ในทา่ นผู้
เป็นใหญน่ ัน้ แมว้ ่าต้องการจะพน้ ไป กย็ งั เกดิ ความสะด้งุ กลัวภัยจากทา่ นผู้เป็นใหญ่ ขอถวาย
พระพร ข้อนม้ี อี ุปมาฉันใด พวกสัตว์นรกท้งั หลาย แม้วา่ ตอ้ งการจะพน้ ไปจากนรก ก็ยังเกดิ
ความสะดงุ้ กลวั มรณภยั ฉนั นนั้ เหมือนกนั ”
‘‘อปรมปฺ ิ ภนเฺ ต อตุ ฺตรึ การณ ํ พรฺ ูห,ิ เยนาหํ การเณน โอกปฺเปยฺยนฺ”ติ ฯ
พระเจา้ มิลินท์ตรัสวา่ “พระคณุ เจ้า ขอท่านจงช่วยบอกเหตผุ ลทย่ี ่งิ ขนึ้ ไปแม้อย่างอืน่
กณั ฑ์] ๔.๒ อเภชชวรรค 363
ซ่งึ เป็นเหตผุ ลทท่ี �ำให้โยมปลงใจเชื่อได้เถดิ ”
‘‘อธิ มหาราช ปรุ ิโส ทฏ ฺ วิเสน อาสวี เิ สน ทฏฺโ ภเวยฺย, โส เตน วิสวกิ าเรน
ปเตยฺย อุปปฺ เตยยฺ วฏฺเฏยยฺ ปวฏฺเฏยฺย, อถ ฺ ตโร ปรุ โิ ส พลวนเฺ ตน มนตฺ ปเทน ต ํ
ทฏ ฺ วิส ํ อาสีวสิ ํ อาเนตฺวา ต ํ ทฏฺ วสิ ํ ปจจฺ าจมาเปยยฺ , อปิ น ุ โข มหาราช ตสสฺ วสิ คตสสฺ
ปรุ ิสสสฺ ตสฺม ึ ทฏ ฺ วิเส สปเฺ ป โสตฺถิเหตุ อปุ คจฉฺ นฺเต สนตฺ าโส อปุ ฺปชฺเชยฺยา’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร บรุ ุษบางคนในโลกน้ถี ูกงพู ิษกดั เอา
เพราะพิษท่แี พรก่ ระจายไปน้ัน เขาจึงล้มกลิง้ เกลือกอยู่ไปมา ล�ำดบั นน้ั บุรษุ อกี คนหนง่ึ ดว้ ย
บทมนต์ทมี่ ีพลัง ชกั น�ำงูพิษตวั น้ันมา บังคบั ให้ดูดพษิ ทรี่ อยกดั น้นั กลบั คนื ไป ขอถวายพระพร
บุรุษผมู้ พี ษิ งูซมึ ซาบอยูน่ ้นั เม่อื งูพิษทีก่ ดั นั้นเลอ้ื ยเขา้ มาใกล้ เพราะเหตจุ ะสร้างความสวสั ดใี ห้
จะพึงเกิดความสะดุ้งกลวั ขนึ้ มาบ้างหรือไม่หนอ ?”
‘‘อาม ภนเฺ ต’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลนิ ทต์ รัสว่า “ใช่ พระคุณเจ้า”
อิติ มหาราช ตถารเู ป อหิมฺห ิ โสตถฺ เิ หตปุ ิ อุปคจฉฺ นฺเต ตสสฺ สนฺตาโส อุปฺปชฺชติ
ฯ เอวเมว โข มหาราช นริ ยา มุจจฺ ติ ุกามานมฺปิ เนรยกิ าน ํ สตตฺ าน ํ มรณภยา สนฺตาโส
อปุ ปฺ ชชฺ ติ ฯ อนฏิ ฺ ํ มหาราช สพฺพสตตฺ านํ มรณํ, ตสฺมา เนรยกิ า สตตฺ า นิรยา
ปรมิ ุจฺจติ กุ ามาปิ มจฺจโุ น ภายนตฺ ี’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร กเ็ ปน็ อนั วา่ เมือ่ งูเหน็ ปานนนั้ เลอื้ ยเข้า
มาใกล้ เพราะเหตจุ ะสรา้ งความสวัสดใี ห้ บุรุษผนู้ ัน้ ยังเกดิ ความสะดุ้งกลวั ได้ ขอ้ น้อี ุปมาฉนั ใด
พวกสัตวน์ รกท้งั หลาย แมว้ า่ ต้องการจะพน้ ไปจากนรก ก็ยังเกดิ ความสะดงุ้ กลัวต่อมรณภยั
ฉนั นน้ั เหมือนกัน ขอถวายพระพร ความตายไมเ่ ปน็ ท่นี ่าปรารถนาส�ำหรบั สตั ว์ทงั้ หลายท้งั ปวง
เพราะฉะนนั้ พวกสัตวน์ รก แมว้ า่ ต้องการจะพน้ ไปจากนรก กย็ งั กลัวตาย”
‘‘สาธุ ภนฺเต นาคเสน เอวเมต ํ ตถา สมฺปฏจิ ฉฺ าม’ี ’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ นิ ทต์ รัสว่า “ดจี รงิ พระคณุ เจ้านาคเสน โยมขอยอมรบั ค�ำพดู นัน้ อย่างน้ี ตาม
ท่ที า่ นกล่าวมาแล้วฉะน”้ี
มจจฺ ภุ ายนาภายนปญโฺ ห ตติโย ฯ
จบมจั จุภายนาภายนปญั หาขอ้ ที่ ๓
________
364 มิลนิ ทปัญหาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปัญห
๔. มจจฺ ปุ าสมตุ ตฺ ปิ ญฺห
๔. มัจจุปาสมุตตปิ ญั หา
ปัญหาว่าด้วยความหลดุ พน้ จากบ่วงแหง่ ความตาย
[๔] ‘‘ภนฺเต นาคเสน ภาสิตมเฺ ปตํ ภควตา –
“น อนฺตลิกเฺ ข น สมุทฺทมชฺเฌ
น ปพฺพตานํ ววิ ร ํ ปวสิ สฺ
น วชิ ชฺ ตี โส ชคตปิ ปฺ เทโส
ยตถฺ ฏฺ โิ ต มุจฺเจยยฺ มจจฺ ุปาสา”ติ ฯ
[๔] พระเจ้ามลิ นิ ท์ตรสั วา่ “พระคณุ เจา้ นาคเสน พระผมู้ พี ระภาคเจา้ ทรงภาษติ ความ
ขอ้ น้ีไว้วา่
“บคุ คลหนีเข้าไปในอากาศ ก็ไม่พ้นจากบว่ งแหง่ ความตาย หนี
เขา้ ไปยังกลางมหาสมุทร ก็ไม่พ้นจากบว่ งแห่งความตาย หนี
เขา้ ไปยงั ซอกเขา ก็ไม่พ้นจากบว่ งแหง่ ความตาย เขาด�ำรงอยู่
ในภมู ิประเทศใดแล้ว จะพึงพน้ จากบว่ งแหง่ ความตายได้ ภูมิ-
ประเทศนั้น หามไี ม่” ดังนแี้ ลว้
‘‘ปุน ภควตา ปริตตฺ า จ อทุ ฺทฏิ ฺ า ฯ เสยยฺ ถทิ ,ํ รตนสุตฺต ํ เมตฺตสุตฺต ํ ขนธฺ ปริตฺต ํ
โมรปรติ ตฺ ํ ธชคฺคปริตตฺ ํ อาฏานาฏิยปริตตฺ ํ องคฺ ุลิมาลปริตตฺ ํ ฯ ยท ิ ภนเฺ ต นาคเสน
อากาสคโตป ิ สมุททฺ มชฌฺ คโตป ิ ปาสาทกฏุ เิ ลณคุหาปพภฺ ารทริพิลคิรวิ ิวรปพพฺ ตนตฺ รคโตป ิ
น มุจจฺ ติ มจจฺ ุปาสา, เตนหิ ปรติ ตฺ กมมฺ ํ มจิ ฺฉา ฯ ยทิ ปริตตฺ กรเณน มจฺจุปาสา ปรมิ ตุ ฺติ
ภวต,ิ เตนหิ ‘น อนตฺ ลกิ ฺเข…เป.… มจฺจุปาสา’ติ ตมปฺ ิ วจน ํ มจิ ฉฺ า ฯ อยมปฺ ิ อภุ โต
โกฏิโก ป ฺโห คณฺ ิโตปิ คณ ฺ ติ โร ตวานุปฺปตโฺ ต, โส ตยา นิพฺพาหติ พโฺ พ’’ติ ฯ
กย็ ังทรงแสดงพระปรติ รทงั้ หลายไว้อีก คือ รตั นสตู ร เมตตาสูตร ขันธปรติ ร โมรปริตร
ธชคั คปริตร อาฏานาฏิยปรติ ร องั คลุ มิ าลปรติ ร พระคณุ เจ้านาคเสน ถ้าหากว่า บคุ คลแมไ้ ปใน
อากาศแล้ว แม้ไปกลางมหาสมทุ รแลว้ แม้ไปในปราสาท กุฏิทเ่ี ร้นลบั ถำ้� เง้อื มเขา โพรง ซอก
เขา ทร่ี ะหวา่ งภูเขาแล้ว กย็ งั พ้นจากบว่ งแหง่ ความตายมิได้ไซร้ ถา้ อยา่ งนน้ั การเจริญพระ
ปรติ ร กเ็ ปน็ ทางท�ำที่ไม่ถูกต้อง ถา้ หากวา่ จะมีอนั พน้ จากบ่วงแห่งความตาย ด้วยการเจริญ
พระปรติ รได้จรงิ ถ้าอย่างนั้น พระด�ำรัสทตี่ รัสไวว้ า่ บุคคลหนีเข้าไปในอากาศ ก็ไม่พ้นจากบว่ ง
กณั ฑ]์ ๔.๒ อเภชชวรรค 365
แห่งความตาย ฯลฯ เขาด�ำรงอยู่ในภมู ปิ ระเทศใดแลว้ จะพึงพน้ จากบว่ งแหง่ ความตายได้
ภูมิประเทศนน้ั หามไี ม่ ดังนี้ กเ็ ปน็ ค�ำพูดที่ผิด ปญั หานมี้ ี ๒ เงอื่ น เป็นปมเสียยิง่ กวา่ ปม ตก
ถึงแกท่ า่ นโดยล�ำดับแลว้ ขอท่านพงึ คลีค่ ลายปญั หานัน้ เถดิ ”
‘‘ภาสติ มฺเปต ํ มหาราช ภควตา ‘น อนฺตลกิ ฺเข…เป.… มจฺจปุ าสา’ติ, ปริตตฺ า จ
ภควตา อุทฺทฏิ ฺ า, ต จฺ ปน สาวเสสายุกสฺส วยสมปฺ นฺนสฺส อเปตกมมฺ าวรณสฺส, นตถฺ ิ
มหาราช, ขณี ายกุ สฺส ติ ิยา กริ ิยา วา อุปกฺกโม วา ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร พระผู้มพี ระภาคเจา้ ทรงภาษติ ความขอ้
น้ีว่า บคุ คลหนเี ขา้ ไปในอากาศ ฯลฯ พ้นจากบว่ งแหง่ ความตายได้ ภมู ปิ ระเทศนัน้ หามไี ม่
ดังนไี้ วจ้ ริง และพระผมู้ ีพระภาคเจา้ กต็ รัสพระปรติ ทงั้ หลายไวจ้ ริง แต่วา่ ข้อนั้นตรสั ไว้ส�ำหรับ
บุคคลผ้ยู ังมอี ายเุ หลืออยู่ ยงั มวี ยั สมบูรณ์ ปราศจากกมั มาวรณเ์ ทา่ นนั้ ส�ำหรับคนส้นิ อายแุ ล้ว
กิจทต่ี ้องท�ำ หรือความพยายามเพ่อื ความด�ำรงอยู่ (แหง่ ชีวิต) หามไี ม่
‘‘ยถา มหาราช มตสสฺ รุกฺขสฺส สกุ ฺขสฺส โกฬาปสสฺ นิสเฺ นหสสฺ อปุ รทุ ธฺ ชวี ติ สสฺ
คตายสุ งฺขารสฺส กมุ ภฺ สหสเฺ สนป ิ อทุ เก อากริ นฺเต อลฺลตตฺ ํ วา ปลลฺ วิตหรติ ภาโว วา น
ภเวยยฺ ฯ เอวเมว โข มหาราช เภสชฺชปริตตฺ กมฺเมน นตถฺ ิ ขณี ายกุ สฺส ิติยา กริ ิยา วา
อุปกฺกโม วา, ยานิ ตาน ิ มหาราช มหยิ า โอสธาน ิ เภสชชฺ านิ, ตานปิ ิ ขณี ายกุ สฺส
อกจิ ฺจกราน ิ ภวนตฺ ิ ฯ สาวเสสายกุ ํ มหาราช วยสมฺปนนฺ ํ อเปตกมมฺ าวรณํ ปรติ ฺต ํ รกฺขต ิ
โคเปต,ิ ตสสฺ ตฺถาย ภควตา ปรติ ฺตา อทุ ทฺ ฏิ ฺ า ฯ
ขอถวายพระพร เปรยี บเหมือนว่า ต้นไมท้ ต่ี ายแลว้ แหง้ ผแุ ลว้ ไมม่ ยี างแลว้ ชวี ติ ดับ
แล้ว ปราศจากอายุสังขารแล้ว เมื่อบุคคลเอาน�ำ้ มารดถึงพันหมอ้ ก็หากลบั สดเขียวหรือผลิใบ
แตกหน่อขึน้ มาไดอ้ ีกไม่ ฉันใด ขอถวายพระพร ส�ำหรับคนทีส่ ้นิ อายแุ ล้ว กิจท่คี วรท�ำ หรือ
ความพยายามเพ่ือด�ำรง (ชวี ติ ) ด้วยยา หรือพระปริตร หามีไม่ ฉนั นั้น ขอถวายพระพร โอสถ
ทีเ่ ปน็ ยาบนแผ่นดนิ เหลา่ น้นั เหลา่ ใดมีอยู่ ส�ำหรับคนทีส่ ิ้นอายแุ ลว้ กจิ ทีค่ วรท�ำดว้ ยโอสถทเ่ี ป็น
ยาแมเ้ หล่านน้ั ยอ่ มไม่มี ขอถวายพระพร พระปรติ รจะรกั ษาคุ้มครองกเ็ ฉพาะผู้ทย่ี ังมอี ายุ
เหลอื อยู่ ยังมวี ยั สมบรู ณ์ ปราศจากกมั มาวรณ์ พระผู้มีพระภาคเจา้ ทรงแสดงพระปริตรไว้ ก็
เพือ่ ประโยชน์แก่คนพวกนนั้
366 มิลินทปญั หาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปญั ห
‘‘ยถา มหาราช กสฺสโก ปรปิ กเฺ ก ธ เฺ มเต สสฺสนาเฬ อทุ กปฺปเวสนํ วาเรยยฺ ,
ยํ ปน สสสฺ ํ ตรุณํ เมฆสนฺนิภํ วยสมปฺ นฺน,ํ ตํ อุทกวฑฺฒยิ า วฑฺฒติ ฯ เอวเมว โข มหาราช
ขีณายุกสสฺ เภสชฺชปรติ ฺตกริ ิยา ปิตา ปฏกิ ฺขิตตฺ า, เย ปน เต มนสุ ฺสา สาวเสสายุกา
วยสมฺปนนฺ า, เตส ํ อตฺถาย ปรติ ฺตเภสชฺชาน ิ ภณติ าน,ิ เต ปรติ ฺตเภสชเฺ ชห ิ วฑฺฒนฺต’ี ’ติ ฯ
ขอถวายพระพร เปรียบเหมือนวา่ เม่อื ข้าวแกห่ ง่อมแลว้ ต้นขา้ วกต็ ายไป ชาวนาพึง
กน้ั นำ้� ไม่ให้ไหลเขา้ ไป ส่วนขา้ วกล้าทยี่ งั ออ่ นอยู่ อาศัยเมฆฝน มวี ยั สมบูรณ์ ยอ่ มงอกงาม
เตบิ โตไดด้ ว้ ยการเพิม่ นำ้� ให้ ฉนั ใด ส�ำหรับผู้ทส่ี ้ินอายุแล้ว กเ็ ป็นอนั ตอ้ งยกเวน้ ตอ้ งบอกปดั
การใช้ยา หรือการเจริญพระปรติ ร ส่วนว่า คนเหล่าใดทีย่ ังมีอายเุ หลืออยู่ ยังมีวยั สมบูรณ์อยู่
เพราะพระผู้มีพระภาคเจ้าตรสั พระปริตรและยาไว้ ก็เพ่ือประโยชนแ์ กค่ นเหลา่ นนั้ คนเหล่านน้ั
ยอ่ มเจรญิ (ชีวิต) ไดด้ ้วยการเจรญิ พระปรติ รและการใชย้ า ฉันนนั้ เหมือนกนั ”
‘‘ยท ิ ภนเฺ ต นาคเสน ขณี ายุโก มรติ, สาวเสสายโุ ก ชวี ต,ิ เตนหิ ปริตฺต-
เภสชฺชานิ นิรตฺถกานิ โหนฺต’ี ’ติ ?
พระเจ้ามิลินท์ตรสั ว่า “พระคุณเจ้านาคเสน ถ้าหากวา่ ผมู้ อี ายุส้ินแลว้ จะต้องตาย ผู้
มอี ายุเหลืออยู่ จงึ จะเปน็ อยไู่ ด้ไซร้ ถ้าอย่างนัน้ พระปริตรและยา กเ็ ป็นของไร้ประโยชน์”
‘‘ทฏิ ฺ ปพุ ฺโพ ปน ตยา มหาราช โกจิ โรโค เภสชเฺ ชหิ ปฏินิวตฺตโิ ต’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร พระองค์เคยทรงทอด
พระเนตรเห็นคนทีม่ โี รคบางโรค พอใชย้ า กห็ ายจากโรคได้บา้ งหรอื ไม่”
‘‘อาม ภนเฺ ต อเนกสตานิ ทิฏฺ าน’ี ’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ ินทต์ รสั ว่า “ใช่ พระคณุ เจา้ โยมเคยเหน็ มาแล้วหลายรอ้ ยคน”
‘‘เตนห ิ มหาราช ‘ปรติ ตฺ เภสชฺชกิรยิ า นิรตฺถกา’ติ ยํ วจนํ, ต ํ มจิ ฉฺ า ภวต’ี ’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ถา้ อยา่ งน้ัน ขอ้ ท่พี ระองคต์ รัสวา่ การท�ำพระปริตรและ
ยาเป็นของไรป้ ระโยชน์ ดังนี้ กย็ อ่ มเป็นค�ำตรสั ที่ผิดนะซิ”
‘‘ทสิ สฺ นฺติ ภนเฺ ต นาคเสน เวชชฺ าน ํ อปุ กกฺ มา เภสชฺชปานานเุ ลปา, เตน เตสํ
อปุ กกฺ เมน โรโค ปฏนิ วิ ตฺตต’ี ’ติ ฯ
พระเจา้ มิลินท์ตรัสว่า “พระเจ้านาคเสน การการดมื่ และการชะโลมยา กป็ รากฏว่าเป็น
ความพยายามของหมอทั้งหลาย เพราะความพยายามน้นั ของหมอเหลา่ นัน้ โรคจึงหายได”้
กณั ฑ์] ๔.๒ อเภชชวรรค 367
‘‘ปรติ ตฺ านมปฺ ิ มหาราช ปวตตฺ ียมานาน ํ สทฺโท สุยฺยต,ิ ชวิ ฺหา สุกขฺ ติ, หทยํ
พฺยาวฏฺฏต,ิ กณโฺ อาตุรติ ฯ เตน เตสํ ปวตเฺ ตน สพเฺ พ พฺยาธโย วูปสมนฺต,ิ สพฺพา
อตี โิ ย อปคจฺฉนฺตตี ิ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร บุคคลท้ังหลายเมือ่ ก�ำลงั สวดพระปริตร
ได้ยนิ เสียงอยู่ ลนิ้ ก็แหง้ ไป หวั ใจเพลยี คอระบม ความเจบ็ ไขไ้ ดป้ ่วยทัง้ ปวงของบุคคลเหล่า
นั้นก็สงบไป เพราะการสวดพระปริตรนนั้ เสนยี ดจญั ไรทง้ั ปวง ก็ปราศจากไปสิ้น”
‘‘ทิฏ ฺ ปพุ โฺ พ ปน ตยา มหาราช โกจิ อหนิ า ทฏฺโ มนฺตปเทน วิสํ ปาตยี มาโน
วิสํ จกิ ฺขสสฺ นโฺ ต อทุ ฺธมโธ อาจมยมาโน’’ติ ?
ขอถวายพระพร ก็พระองคเ์ คยทรงทอดพระเนตรเหน็ บ้างหรอื ไมว่ ่า บางคนทถ่ี กู งูกดั
พอใชบ้ ทมนต์ ก็สามารถท�ำพิษให้ตกไป ท�ำพษิ ใหซ้ มึ ออกมาได้ ส�ำรอกพษิ ออกมาได้ ทงั้ ทาง
เบื้องบนและทางเบอื้ งลา่ ง
‘‘อาม ภนเฺ ต อชเฺ ชตรหิป ิ ตํ โลเก วตฺตตี’’ติ ฯ
พระเจา้ มิลินทต์ รสั วา่ “โยมเคยเหน็ พระคณุ เจ้า ทุกวันนใี้ นโลก กย็ งั ใชว้ ธิ นี นั้ รกั ษาแม้
ในบัดน้ี”
‘‘เตนห ิ มหาราช ‘ปรติ ตฺ เภสชฺชกิริยา นิรตฺถกา’ติ ย ํ วจนํ, ต ํ มจิ ฺฉา ภวติ ฯ
กตปรติ ฺต หฺ ิ มหาราช ปุริสํ ฑสํ ติ ุกาโม อหิ น ฑสํ ติ, วิวฏํ มขุ ํ ปิทหต,ิ โจราน ํ
อกุ ขฺ ติ ฺตลคฬุ มฺป ิ น สมฺภวติ, เต ลคฬุ ํ มุ ฺจิตวฺ า เปม ํ กโรนฺต,ิ กุปโิ ตป ิ หตฺถินาโค
สมาคนตฺ วฺ า อปุ รมต,ิ ปชชฺ ลติ มหาอคฺคิกขฺ นโฺ ธป ิ อุปคนตฺ วฺ า นพิ พฺ ายติ, วสิ ํ หลาหลมปฺ ิ
ขายิต ํ อคทํ สมปฺ ชฺชติ, อาหารตฺถํ วา ผรต,ิ วธกา หนฺตุกามา อปุ คนฺตฺวา ทาสภูตา
สมปฺ ชชฺ นฺต,ิ อกกฺ นฺโตปิ ปาโส น สวํ รติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร ถา้ อยา่ งน้นั ท่ีพระองคต์ รสั ว่า การท�ำ
พระปรติ รและยาเป็นของไรป้ ระโยชน์ ดังน้ี ก็เปน็ ค�ำตรสั ที่ผดิ ขอถวายพระพร งตู อ้ งการจะกดั
กไ็ ม่อาจจะกัดบุรุษผ้เู จรญิ พระปรติ รได้ ย่อมอ้าปากไมข่ ึน้ พวกโจรกไ็ มอ่ าจเง้อื มไม้ค้อนขน้ึ
(ท�ำร้าย) ได้ พวกโจรเหล่านั้นจะพากันทง้ิ ไม้ค้อนเสีย แลว้ ท�ำความรกั ให้เกดิ ข้นึ แทน แม้ช้าง
ตวั ประเสริฐท่ดี ุรา้ ย พอมาถงึ ตัวเขา้ เทา่ นนั้ ก็เช่อื งไป แมก้ องไฟใหญก่ �ำลังลกุ โพลงอยู่ ลามมา
ถึงตัวเทา่ นน้ั กพ็ ลันดับไป แมย้ าพษิ แรงกล้าทก่ี ลนื กนิ เข้าไป กห็ ายไปเหมอื นเจอยาแก้พิษ
หรือกลบั เปน็ อาหารแผซ่ า่ นไป นายขมงั ธนูผปู้ ระสงค์จะฆา่ พอถึงตวั เขา้ เทา่ นัน้ กย็ อมตนเป็น
368 มิลินทปัญหาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปัญห
ทาสไป แม้เดนิ เหยียบบว่ ง มันกห็ าคล้องตวั เอาไม่
‘‘สุตปพุ ฺพ ํ ปน ตยา มหาราช ‘โมรสสฺ กตปรติ ตฺ สฺส สตตฺ วสสฺ สตานิ ลทุ ทฺ โก
นาสกฺข ิ ปาส ํ อุปเนตุ,ํ อกตปริตตฺ สฺส ตํ เยว ทิวสํ ปาสํ อุปเนส’ี ’ติ ?
ขอถวายพระพร พระองคเ์ คยสดับมาบา้ งหรือไมว่ า่ นกยูงเจรญิ พระปรติ ร นายพราน
ไม่อาจใช้บว่ งดกั ไดต้ ลอด ๗๐๐ ปี ในวันทีไ่ มไ่ ด้เจรญิ พระปรติ รวันเดยี วเทา่ น้นั นายพรานจึง
ใช้บว่ งดกั เอาได้”
‘‘อาม ภนฺเต สุยฺยติ, อพภฺ ุคฺคโต โส สทฺโท สเทวเก โลเก’’ติ ฯ
พระเจา้ มิลินทต์ รสั วา่ “โยมเคยไดฟ้ ัง พระคุณเจ้า กติ ติศพั ทเ์ ร่ืองนัน้ แพรข่ จรขจายไป
ในโลก พร้อมท้ังเทวโลก”
‘‘เตนหิ มหาราช ‘ปริตตฺ เภสชฺชกิรยิ า นิรตถฺ กา’ต ิ ยํ วจนํ, ตํ มิจฺฉา ภวติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร ถ้าเช่นนน้ั ค�ำทพี่ ระองคต์ รัส
วา่ การท�ำพระปรติ รและยา เป็นของไรป้ ระโยชน์ กเ็ ป็นค�ำท่ผี ิดนะซิ
‘‘สตุ ปุพฺพ ํ ปน ตยา มหาราช ‘ทานโว ภรยิ ํ ปรริ กฺขนฺโต สมคุ ฺเค ปกฺขปิ ติ ฺวา
คลิ ติ วฺ า กุจฺฉินา ปริหรต,ิ อเถโก วิชชฺ าธโร ตสสฺ ทานวสฺส มเุ ขน ปวสิ ิตฺวา ตาย สทฺธ ึ
อภริ มติ, ยทา โส ทานโว อ ฺ าส,ิ อถ สมุคคฺ ํ วมิตวฺ า ววิ ริ, สห สมคุ ฺเค วิวเฏ
วชิ ฺชาธโร ยถากาม ํ ปกฺกาม’ี ’ติ ?
ขอถวายพระพร พระองคท์ รงสดับมาบา้ งหรือไมว่ ่า มที านพคนหนึ่ง ซึง่ เม่ือจะรกั ษา
ภรยิ าไว้ใหด้ ี กใ็ สล่ งไปในหบี แล้วกลืนกินเสีย ใช้ทอ้ งป้องกนั ไว้ ตอ่ มา มวี ทิ ยาธรตนหนง่ึ เข้าไป
หาทางปากของทานพนั้น แล้วไดอ้ ภิรมย์สมสูก่ บั ภรยิ าของทานพนั้น เวลาทีท่ านพนัน้ รแู้ ลว้
กส็ �ำรอกหีบออกมาเปิดดู ทนั ทีท่ีหีบถูกเปิดออก วิทยาธรกห็ ลบหนไี ปไดต้ ามต้องการ”
‘‘อาม ภนฺเต สยุ ยฺ ติ, อพฺภุคคฺ โต โสป ิ สทฺโท สเทวเก โลเก’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ ินท์ตรัสว่า “ใช่ โยมเคยฟงั พระคุณเจ้า แม้กิตติศัพท์เรอ่ื งนั้นฟงุ้ ไปในโลก
พร้อมทัง้ เทวโลก
‘‘นน ุ โส มหาราช วชิ ชฺ าธโร ปริตฺตพเลน คหณา มุตโฺ ต’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร วิทยาธรนน้ั ใช้ก�ำลังของพระปรติ รมิใช่
หรือ จงึ พ้นจากการจบั ตวั ได้ ?”
กัณฑ]์ ๔.๒ อเภชชวรรค 369
‘‘อาม ภนฺเต’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ ินท์ตรัสวา่ “ใช่ พระคณุ เจา้ ”
‘‘เตนห ิ มหาราช อตฺถ ิ ปรติ ฺตพลํ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร ถา้ อยา่ งน้ัน ก�ำลังของพระปรติ รกม็ อี ย”ู่
‘‘สุตปพุ ฺพ ํ ปน ตยา มหาราช ‘อปโรป ิ วิชฺชาธโร พาราณสิร ฺโ อนเฺ ตปเุ ร
มเหสยิ า สทธฺ ึ สมฺปทฏุ ฺโ คหณปปฺ ตโฺ ต สมาโน ขเณน อทสสฺ น ํ คโต มนฺตพเลนา’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร พระองค์เคยทรงสดับมาบา้ งหรือไม่ว่า มวี ทิ ยาธรอีกตนหน่งึ ได้สมสู่
กบั พระมเหสีของพระราชาเมืองพาราณสีภายในเมือง พอถูกจับได้ กใ็ ชก้ �ำลงั มนต์หายตัวไป
เสียทนั ท”ี
‘‘อาม ภนเฺ ต สุยยฺ ต’ี ’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ ินทต์ รสั ว่า “ใช่ พระคุณเจ้า โยมเคยไดฟ้ ังมา”
‘‘นนุ โส มหาราช วชิ ฺชาธโร ปริตฺตพเลน คหณา มุตฺโต’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร วิทยาธรตนนัน้ ใชก้ �ำลังพระปริตรมใิ ช่
หรือ จงึ พ้นจากการจบั ตัวได้ ?”
‘‘อาม ภนฺเต’’ติ ฯ
พระเจา้ มิลินท์ตรัสวา่ “ใช่ พระคณุ เจา้ ”
‘‘เตนหิ มหาราช อตถฺ ิ ปริตตฺ พลน”ฺ ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร ถ้าอยา่ งนนั้ ก�ำลงั ของพระปรติ รกม็ ีอย”ู่
‘‘ภนเฺ ต นาคเสน ‘ก ึ สพฺเพเยว ปรติ ตฺ ํ รกฺขต”ี ติ ?
พระเจ้ามิลินท์ตรสั ว่า “พระคุณเจา้ นาคเสน พระปริตรรักษาได้ทกุ คนเลยหรอื ?”
‘‘เอกจฺเจ มหาราช รกขฺ ติ, เอกจเฺ จ น รกฺขตี’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร ยอ่ มรักษาไดเ้ ปน็ บางคน บางคนกไ็ ม่
อาจรักษาได้”
370 มิลนิ ทปัญหาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปญั ห
‘‘เตนหิ ภนเฺ ต นาคเสน ปรติ ตฺ ํ น สพพฺ ตถฺ กิ น”ฺ ติ ?
พระเจา้ มลิ ินท์ตรัสวา่ “พระคณุ เจา้ นาคเสน ถา้ อย่างนน้ั พระปริตรกไ็ มช่ ือ่ วา่ เป็นของ
น่าตอ้ งการส�ำหรบั ทุกคน”
‘‘อปิ นุ โข มหาราช โภชนํ สพเฺ พส ํ ชีวิต ํ รกขฺ ต’ี ’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร อาหารย่อมรักษาชีวติ ของคนไดท้ ุกคน
เลยหรือหนอ ?”
‘‘เอกจฺเจ ภนฺเต รกขฺ ต,ิ เอกจฺเจ น รกขฺ ต’ี ’ติ ฯ
พระเจ้ามิลนิ ท์ตรสั วา่ “พระคณุ เจา้ ย่อมรกั ษาได้เป็นบางคน บางคนก็ไม่อาจรกั ษาได้”
‘‘กึการณา’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “เพราะเหตไุ รหรอื ?”
‘‘ยโต ภนฺเต เอกจฺเจ ตเํ ยว โภชนํ อติภุ ชฺ ิตวฺ า วสิ จู กิ าย มรนฺตี’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ นิ ทต์ รสั ว่า “พระคุณเจ้า เพราะเหตุว่า บางคนพอกินอาหารนนั้ น่ันแหละ
มากเกินไปแล้ว กต็ าย เพราะโรคลงท้อง”
‘‘เตนหิ มหาราช โภชน ํ น สพฺเพสํ ชวี ิต ํ รกฺขต’ี ’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร ถ้าอย่างนั้น อาหารก็ไม่ชือ่
วา่ รกั ษาชีวิตของทุกคน”
‘‘ทวฺ ีห ิ ภนฺเต นาคเสน การเณหิ โภชนํ ชวี ติ ํ หรติ อติภุตเฺ ตน วา อุสฺมา-
ทพุ ฺพลตาย วา, อายทุ ท ํ ภนเฺ ต นาคเสน โภชนํ ทุรปุ จาเรน ชีวิตํ หรตี’’ติ ฯ
พระเจา้ มิลินท์ตรสั ว่า “พระคุณเจ้านาคเสน อาหารย่อมครา่ ชวี ิตได้เพราะเหตุ ๒ อย่าง
คือ (๑) เพราะบริโภคมากเกนิ ไป (๒) เพราะไฟธาตชุ ่วยย่อยอ่อนก�ำลังไป พระคณุ เจ้านาคเสน
อาหารเปน็ ของใหอ้ ายุ แต่เพราะมีวธิ กี ารไม่ดี ก็ยอ่ มคร่าเอาชีวิตได้”
“เอวเมว โข มหาราช ปริตตฺ ํ เอกจฺเจ รกขฺ ติ, เอกจเฺ จ น รกฺขติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร ก็เหมอื นกนั อย่างน้ันน่ันแหละ พระ
ปรติ รคมุ้ ครองรกั ษาได้กแ็ ตบ่ างคน ไมอ่ าจคุ้มครองรักษาบางคนได้
กณั ฑ์] ๔.๒ อเภชชวรรค 371
‘‘ตีหิ มหาราช การเณห ิ ปริตตฺ ํ น รกขฺ ติ กมมฺ าวรเณน กิเลสาวรเณน
อสทฺทหนตาย ฯ สตตฺ านุรกขฺ ณ ํ มหาราช ปริตฺต ํ อตตฺ นา กเตน อารกขฺ ํ ชหติ, ยถา
มหาราช มาตา ปตุ ตฺ ํ กุจฉฺ ิคต ํ โปเสติ, หเิ ตน อปุ จาเรน ชเนติ, ชนยิตฺวา อสจุ มิ ล-
สิงฺฆาณกิ มปเนตฺวา อุตตฺ มวรสุคนฺธํ อปุ ลมิ ปฺ ติ, โส อปเรน สมเยน ปเรสํ ปตุ ฺเต
อกฺโกสนฺเต วา ปหรนเฺ ต วา ปหารํ เทติ ฯ เต ตสสฺ กชุ ฌฺ ิตวฺ า ปริสาย อากฑฺฒติ วฺ า ต ํ
คเหตวฺ า สามโิ น อปุ เนนตฺ ิ, ยทิ ปน ตสฺสา ปตุ โฺ ต อปรทโฺ ธ โหติ เวลาติวตฺโต ฯ อถ น ํ
สามิโน มนุสฺสา อากฑฒฺ ยมานา ทณฺฑมคุ คฺ รชาณมุ ุฏฺ หี ิ ตาเฬนฺต ิ โปเถนฺติ, อปิ นุ โข
มหาราช ตสสฺ มาตา ลภติ อากฑฺฒนปรกิ ฑฒฺ นํ คาหํ สามิโน อปุ นยน ํ กาตนุ ’ฺ ’ติ ?
ขอถวายพระพร พระปริตรไม่อาจคมุ้ ครองรกั ษาไดเ้ พราะเหตุ ๓ ประการ คอื
๑. เพราะกมั มาวรณ์ (คอื มีกรรมเป็นเครือ่ งขวางก้นั )
๒. เพราะกิเลสาวรณ์ (คอื มีกเิ ลสเปน็ เคร่ืองขวางกัน้ )
๓. เพราะความไมเ่ ชือ่ ถือ
ขอถวายพระพร พระปรติ รท่ตี ามรักษาสตั วไ์ ด้ ย่อมเลกิ ละการรกั ษา ก็เพราะเหตุ
(อยา่ งใดอยา่ งหนง่ึ ในเหตุ ๓ อย่าง) ท่ีตนได้ท�ำเอาไว้ ขอถวายพระพร เปรียบเหมือนวา่ มารดา
ย่อมเลี้ยงดูบตุ รต้งั แตย่ งั อยูใ่ นทอ้ ง ให้คลอดออกมาด้วยวิธกี ารท่ีเกื้อกูล ใหค้ ลอดออกมาแล้ว
ก็ช�ำระส่ิงไม่สะอาดแปดเปื้อนและนำ้� มูก แลว้ ลบู ไลข้ องหอมที่ดี ๆ ประเสรฐิ ยอดเยย่ี มให้ ใน
สมยั ต่อมา บตุ รคนนน้ั เมอ่ื ไปด่าว่า หรือท�ำรา้ ย หรือประหารบตุ รของคนอ่ืน คนเหล่าน้นั ก็
โกรธต่อบุตรน้นั ช่วยกนั ฉดุ ไปในบริษทั จับตวั เขาไว้ น�ำเขา้ ไปหาผู้เปน็ นาย กถ็ ้าหากว่าบตุ ร
ของหญงิ คนน้ัน เปน็ ผมู้ คี วามผิดจริง เป็นผูป้ ระพฤตลิ ่วงขอบเขต ทีนนั้ ผคู้ นทง้ั หลาย
ผู้ฉุดคร่าตัวเขามา (แสดง) แก่เจ้านาย กย็ อ่ มใช้ทอ่ นไม้ ไมฆ้ ้อน เขา่ ก�ำปัน้ ท�ำร้ายทุบตี
ขอถวายพระพรมหาบพิตร มารดาของเขาจะตอ้ งไดร้ ับการฉุดคร่า การจบั ตัว การน�ำเข้าไปหา
ผูเ้ ปน็ นายด้วยหรือไม่ ?”
‘‘น ห ิ ภนเฺ ต’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลินทต์ รัสวา่ “ไมห่ รอก พระคุณเจา้ ”
‘‘เกน การเณน มหาราชา’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “เพราะเหตไุ รหรอื ? มหาบพิตร”
372 มิลินทปัญหาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปัญห
‘‘อตตฺ โน ภนฺเต อปราเธนา’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ ินทต์ รสั วา่ “เพราะเป็นความผิดของตน (ไมใ่ ชข่ องมารดา) พระคุณเจา้ ”
‘‘เอวเมว โข มหาราช สตตฺ าน ํ อารกขฺ ํ ปรติ ฺตํ อตฺตโน อปราเธน ว ฺฌ ํ กโรตี’’ตฯิ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร ก็เหมือนกันอย่างนั้นนัน่ แหละ พระ
ปริตรทีป่ กป้องคุ้มครองรกั ษาสัตว์ทง้ั หลาย ย่อมท�ำความเปน็ หมัน (ไมค่ ุ้มครองรักษา) ก็เพราะ
เป็นความผิดของตนเอง”
‘‘สาธุ ภนเฺ ต นาคเสน สวุ ินจิ ฺฉโิ ต ป โฺ ห, คหนํ อคหนํ กต,ํ อนธฺ กาโร อาโลโก
กโต, วนิ ิเว ติ ํ ทิฏฺ ชิ าล,ํ ตฺว ํ คณวิ รปวรมาสชฺชา’’ติ ฯ
พระเจา้ มิลนิ ท์ตรัสว่า “ดีจริง พระคุณเจ้านาคเสน ทา่ นวินจิ ฉัยปญั หาไว้ดแี ลว้ เง่ือนปม
เป็นอนั ท่านท�ำใหค้ ล่คี ลายได้แลว้ ท�ำทีม่ ืดให้สว่างได้แล้ว เปลื้องข่ายคอื ทิฏฐไิ ดแ้ ล้ว ท่านเป็น
ผู้ถงึ ความยอดเยี่ยมในคณะผปู้ ระเสรฐิ ทง้ั หลายแล”
มจจฺ ุปาสมุตฺตปิ ญฺโห จตตุ ฺโถ ฯ
จบมจั จุปาสมตุ ติปัญหาขอ้ ที่ ๔
________
๕. พุทธฺ ลาภนฺตรายปญฺห
๕. พทุ ธลาภนั ตรายปญั หา
ปญั หาว่าดว้ ยอนั ตรายแหง่ ลาภของพระพุทธเจา้
[๕] ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน ตุมเฺ ห ภณถ ‘ลาภี ตถาคโต จีวรปณิ ฑฺ ปาตเสนาสน-
คิลานปปฺ จฺจยเภสชฺชปรกิ ขฺ ารานน’ฺ ติ ฯ ปุน จ ตถาคโต ป จฺ สาลํ พฺราหมฺ ณคามํ ปิณฑฺ าย
ปวสิ ติ ฺวา กิ จฺ เิ ทว อลภติ วฺ า ยถาโธเตน ปตฺเตน นิกฺขนฺโตติ ฯ ยท ิ ภนฺเต นาคเสน
ตถาคโต ลาภี จีวรปิณฑฺ ปาตเสนาสนคิลานปฺปจฺจยเภสชฺชปริกขฺ าราน,ํ เตนห ิ ป จฺ สาล ํ
พรฺ าหมฺ ณคามํ ปิณฺฑาย ปวิสิตวฺ า ก ิ จฺ เิ ทว อลภติ วฺ า ยถาโธเตน ปตฺเตน นกิ ฺขนโฺ ตติ ยํ
วจนํ, ตํ มจิ ฺฉา ฯ ยท ิ ป ฺจสาลํ พรฺ าหมฺ ณคาม ํ ปิณฑฺ าย ปวิสติ วฺ า ก ิ ฺจเิ ทว อลภติ วฺ า
ยถาโธเตน ปตฺเตน นกิ ขฺ นฺโต, เตนหิ ลาภ ี ตถาคโต จีวรปณิ ฑฺ ปาตเสนาสนคิลานปฺ-
ปจฺจยเภสชฺชปริกขฺ ารานนตฺ ิ ตมปฺ ิ วจนํ มิจฺฉา ฯ อยมฺป ิ อภุ โต โกฏิโก ป ฺโห สุมหนฺโต
ทุนฺนิพฺเพโ ตวานุปปฺ ตโฺ ต, โส ตยา นิพฺพาหติ พโฺ พ’’ติ ฯ
กณั ฑ์] ๔.๒ อเภชชวรรค 373
[๕] พระเจา้ มิลนิ ทต์ รัสว่า “พระคุณเจา้ นาคเสน พวกทา่ นกล่าวกนั วา่ ‘พระตถาคต
ทรงเป็นผไู้ ด้จีวร บณิ ฑบาต เสนาสนะ คิลานปจั จยเภสชั บรขิ าร (เครื่องบรขิ ารคือยาอนั เปน็
ปจั จยั ส�ำหรับคนไข)้ ’ ดงั น้ี แตก่ ลา่ วไว้อกี วา่ ‘พระตถาคตเสด็จเขา้ ไปยงั หมบู่ ้านพราหมณ์ชื่อ
ว่า ปญั จสาละ เพ่ือบณิ ฑบาต แลว้ ไม่ทรงได้อะไร ๆ เลย เสด็จออกมาพร้อมกบั บาตรเหมือน
อย่างทลี่ ้างไว’้ พระคุณเจา้ นาคเสน ถ้าหากว่า พระตถาคตทรงเป็นผ้มู ปี กติได้จวี ร บณิ ฑบาต
เสนาสนะ คลิ านปจั จยั เภสัชชบริขารจรงิ แล้วไซร้ ถ้าอยา่ งน้นั ค�ำทีว่ ่า ‘พระตถาคตเสดจ็ เข้าไป
ยังหมู่บา้ นพราหมณ์ชอ่ื วา่ ปัญจสาละเพื่อบิณฑบาต แล้วไม่ทรงไดอ้ ะไร ๆ เลย เสด็จออกมา
พรอ้ มกบั บาตรเหมือนอย่างทีล่ ้างไว้’ ดังน้ี ก็เปน็ ค�ำพูดทผี่ ิด ถา้ หากว่า ตถาคตเสดจ็ เข้าไปยัง
หมบู่ ้านพราหมณ์ช่อื วา่ ปัญจสาละเพื่อบณิ ฑบาต แลว้ ไม่ทรงได้อะไร ๆ เลย เสด็จออกมา
พร้อมกบั บาตรเหมือนอย่างที่ล้างไวจ้ รงิ ถ้าอยา่ งน้นั ค�ำทีว่ า่ ‘พระตถาคตทรงเป็นผ้มู ปี กติได้
จวี ร บิณฑบาต เสนาสนะ คิลานปจั จยั เภสชั ชบรขิ าร’ ดังนี้ กเ็ ปน็ ค�ำพดู ท่ผี ิด ปญั หาแมน้ ี้ กม็ ี ๒
เง่อื น เป็นปัญหาใหญ่นัก เปลื้องได้ยาก ตกถงึ แกท่ า่ นโดยล�ำดับแล้ว ขอทา่ นจงคลค่ี ลายปัญหา
นนั้ เถิด”
‘‘ลาภ ี มหาราช ตถาคโต จีวรปณิ ฑฺ ปาตเสนาสนคลิ านปฺปจจฺ ยเภสชชฺ ปริกขฺ าราน,ํ
ป จฺ สาล จฺ พฺราหมฺ ณคามํ ปิณฑฺ าย ปวสิ ติ วฺ า กิ ฺจเิ ทว อลภิตฺวา ยถาโธเตน ปตเฺ ตน
นิกฺขนฺโต, ต จฺ ปน มารสฺส ปาปิมโต การณา’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร พระตถาคตทรงเปน็ ผ้มู ปี กติ
ไดจ้ วี ร บิณฑบาต เสนาสนะ และคลิ านปจั จยั เภสชั ชบริขารจริง ขอ้ ที่เสดจ็ เขา้ ไปยังหมู่บา้ น
พราหมณ์ช่อื ว่าปัญจสาละ เพื่อบณิ ฑบาต แล้วไม่ทรงไดอ้ ะไร ๆ เลย เสดจ็ ออกมาพรอ้ มกับ
บาตรเปล่าเหมือนอย่างท่ีลา้ งไว้น้นั เพราะเหตุแห่งมารผู้มีบาป”
‘‘เตนห ิ ภนฺเต นาคเสน ภควโต คณนปถ ํ วีตวิ ตตฺ กปเฺ ป อภสิ งขฺ ตํ กสุ ล ํ กนิ ฺต ิ
นฏิ ฺ ิตํ ฯ
พระเจา้ มิลนิ ท์ตรัสวา่ “พระคณุ เจา้ นาคเสน ถา้ อยา่ งนน้ั กุศลท่ีทรงเคยสั่งสมมาตลอด
หลายกัปทีล่ ว่ งพน้ จะนับได้ของพระผมู้ พี ระภาคเจ้า จะชื่อวา่ ส�ำเรจ็ แลว้ ไดอ้ ย่างไร”
“อธนุ ฏุ ฺ เิ ตน มาเรน ปาปิมตา ตสฺส กุสลสสฺ พลเวค ํ กินฺติ ปิหิตํ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “กุศลน้นั ถกู มารผู้มบี าปผเู้ กิดได้ไมน่ าน ปดิ ก้ันเสีย
ซง่ึ แรงแห่งก�ำลัง (ของกศุ ลนั้น) ไปเสยี
374 มลิ นิ ทปัญหาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปัญห
“เตนห ิ ภนเฺ ต นาคเสน ตสฺม ึ วตฺถุสมฺ ึ ทวฺ สี ุ าเนส ุ อปุ วาโท อาคจฺฉติ, กุสลโตปิ
อกุสล ํ พลวตร ํ โหติ, พุทฺธพลโตปิ มารพล ํ พลวตรํ โหตตี ,ิ เตนหิ รกุ ขฺ สสฺ มูลโตปิ อคฺคํ
ภารตร ํ โหติ, คุณสมปฺ รกิ ณิ ณฺ โตป ิ ปาปิย ํ พลวตร ํ โหตี’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลินทต์ รสั วา่ “พระคุณเจา้ นาคเสน ถา้ อย่างน้ัน ในเรือ่ งน้นั ย่อมถึงข้อติเตยี น
ได้ใน ๒ ฐานะ คอื
๑. อกศุ ลมีก�ำลงั ยงิ่ กวา่ กศุ ล
๒. ก�ำลังของมารเปน็ ก�ำลังทย่ี ิง่ กว่าพระก�ำลงั ของพระพทุ ธเจา้
ถา้ อยา่ งน้ัน ปลายต้นไมย้ อ่ มหนักกวา่ โคนต้นไม้ คนช่ัวย่อมมกี �ำลังย่งิ กว่าคนท่เี พยี บ
พรอ้ มด้วยคุณธรรม”
‘‘น มหาราช ตาวตเกน กุสลโตป ิ อกสุ ล ํ พลวตร ํ นาม โหติ, น พุทธฺ พลโตปิ
มารพล ํ พลวตรํ นาม โหติ ฯ อปเิ จตฺถ การณ ํ อจิ ฺฉิตพพฺ ํ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร อกุศลจะไดช้ ื่อว่ามีก�ำลังยง่ิ
กว่ากศุ ล เพราะเหตุเพยี งเทา่ นน้ั หามิได้ ก�ำลังของมารจะชอ่ื วา่ เป็นก�ำลังยงิ่ กวา่ พระก�ำลังของ
พระพุทธเจา้ เพราะเหตุเพียงเทา่ นนั้ กห็ าไม่ ก็แตว่ า่ ในเรอ่ื งน้ี ควรต้องการเหตผุ ล
‘‘ยถา มหาราช ปุริโส ร โฺ จกฺกวตฺติสฺส มธ ํุ วา มธุปิณฺฑกิ ํ วา อ ฺ ํ วา
อปุ ายน ํ อภิหเรยยฺ , ตเมนํ ร โฺ ทวฺ ารปาโล เอวํ วเทยยฺ ‘อกาโล โภ อย ํ ร ฺโ
ทสฺสนาย, เตนห ิ โภ ตว อปุ ายน ํ คเหตวฺ า สีฆสฆี ํ ปฏินวิ ตฺต, ปเุ ร ตว ราชา ทณฑฺ ํ
ธาเรสฺสต’ี ติ ฯ ตโต โส ปุริโส ทณฑฺ ภยา ตสโิ ต อพุ พฺ คิ โฺ ค ตํ อปุ ายน ํ อาทาย สฆี สฆี ํ
ปฏินิวตฺเตยยฺ , อป ิ นุ โข โส มหาราช ราชา จกกฺ วตฺต ี ตาวตเกน อุปายนวกิ ลมตฺตเกน
ทวฺ ารปาลโต ทพุ ฺพลตโร นาม โหติ, อ ฺ ํ วา ปน ก ิ จฺ ิ อุปายน ํ น ลเภยฺยา’’ติ ?
ขอถวายพระพร เปรียบเหมือนว่า บุรษุ คนหนึ่ง จะนอ้ มน�ำเอานำ้� ผึง้ บ้าง น�้ำตาลงบบา้ ง
ของก�ำนลั อยา่ งอ่นื บ้าง ทลู เกลา้ ถวายแด่พระเจ้าจักรพรรดิ คนเฝา้ ประตวู งั ของพระราชากลา่ ว
กบั บุรษุ คนน้นั อยา่ งน้ีวา่ ท่านผเู้ จริญ เวลานไ้ี ม่ใชเ่ วลาท่ีจะเข้าเฝา้ พระราชา เพราะฉะนัน้ ทา่ น
กจ็ งถือเอาของก�ำนลั ของคุณกลบั ไปเสียโดยเรว็ เถิด ก่อนท่ีพระราชาจะรับส่งั ให้ลงทณั ฑค์ ุณ
ตอ่ จากนัน้ ไป บรุ ษุ ผนู้ ั้นซ่ึงสะดงุ้ หวาดหวน่ั ทณั ฑภัย กค็ ว้าเอาของก�ำนลั นน้ั กลับไปโดยเร็ว
ขอถวายพระพร พระเจ้าจักรพรรดพิ ระองค์นัน้ ชือ่ วา่ ทรงเปน็ ผูม้ ีพระก�ำลงั ทรามยิง่ กว่าคนเฝา้
ประตู เพราะเหตทุ ีเ่ พยี งแตเ่ ขาท�ำใหท้ รงเสยี ของก�ำนลั ไปเท่านน้ั หรือหนอ หรือเพราะเหตุที่
กณั ฑ]์ ๔.๒ อเภชชวรรค 375
เขาท�ำให้ไมท่ รงได้รบั ของก�ำนัลอะไร ๆ สกั อย่างหน่ึงเทา่ นน้ั หรอื หนอ ?”
‘‘น ห ิ ภนเฺ ต อิสสฺ าปกโต โส, ภนฺเต ทวฺ ารปาโล อปุ ายนํ นวิ าเรส,ิ อ ฺเ น ปน
ทฺวาเรน สตสหสสฺ คณุ มฺปิ ร โฺ อุปายน ํ อเุ ปตี’’ติ ฯ
พระเจา้ มิลินทต์ รัสว่า “หามิได้หรอก พระคณุ เจา้ คนเฝา้ ประตูผู้น้ันเปน็ ผ้มู ปี กตริ ษิ ยา
จึงขดั ขวางของก�ำนัลเสีย ก็บรุ ษุ คนนั้น ยอ่ มเข้าไปทางประตอู ่ืน ทูลเกลา้ ถวายของก�ำนลั แม้
สักแสนเท่าแก่พระราชาได้แล”
‘‘เอวเมว โข มหาราช อสิ ฺสาปกโต มาโร ปาปิมา ป ฺจสาลเก พรฺ าหฺมณคหปตเิ ก
อนฺวาวิสิ, อ ฺ านิ ปน อเนกาน ิ เทวตาสตสหสสฺ านิ อมต ํ ทิพฺพ ํ โอช ํ คเหตฺวา
อปุ คตาน ิ ‘ภควโต กาเย โอชํ โอทหิสฺสามา’ติ ภควนตฺ ํ นมสสฺ มานาน ิ ป ชฺ ลกิ าน ิ
ติ าน’ี ’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร กเ็ หมือนกันอย่างนั้นนัน่ แหละ มารผู้มี
บาปเป็นผู้มปี กตริ ิษยา จึงดลใจพวกพราหมณ์คฤหบดี ชาวบา้ นปญั จสาละเสีย กแ็ ต่วา่ เทวดา
หลายแสนตนเหลา่ อน่ื ยอ่ มถอื เอาทิพย์โอชะอันอมตะเขา้ ไป ดว้ ยคิดวา่ ‘เราจกั โปรยปราย
โอชะไปบนพระวรกายของพระผ้มู พี ระภาคเจ้า’ ดังน้ี จงยืนประนมมอื นมัสการพระผูม้ ีพระ
ภาคเจ้าอย”ู่
‘‘โหต ุ ภนเฺ ต นาคเสน สลุ ภา ภควโต จตตฺ าโร ปจจฺ ยา โลเก อุตฺตมปรุ ิสสฺส,
ยาจิโตว ภควา เทวมนสุ เฺ สหิ จตฺตาโร ปจจฺ เย ปรภิ ุ ชฺ ต,ิ อปจิ โข ปน มารสฺส โย
อธิปปฺ าโย, โส ตาวตเกน สิทฺโธ, ยํ โส ภควโต โภชนสสฺ อนตฺ รายมกาสิ ฯ เอตถฺ เม
ภนเฺ ต กงฺขา น ฉชิ ฺชต,ิ วมิ ติชาโตหํ ตตถฺ สสํ ยปกขฺ นโฺ ท ฯ น เม ตตถฺ มานสํ
ปกฺขนทฺ ต,ิ ย ํ ตถาคตสสฺ อรหโต สมฺมาสมพฺ ุทธฺ สฺส สเทวเก โลเก อคคฺ ปคุ ฺคลวรสสฺ กสุ ล-
วรปุ ฺ สมฺภวสฺส อสมสมสสฺ อนปุ มสสฺ อปฺปฏสิ มสฺส ฉวกํ ลามก ํ ปรติ ฺต ํ ปาป ํ อนรยิ ํ
วปิ นฺน ํ มาโร ลาภนตฺ รายมกาสี’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ ินทต์ รสั วา่ “พระคณุ เจ้านาคเสน ปจั จัย ๔ เปน็ ของหาได้งา่ ยส�ำหรบั พระผ้มู ี
พระภาคเจ้า ซง่ึ ทรงเปน็ บรุ ุษผูส้ งู สดุ ในโลก พระผูม้ ีพระภาคเจา้ ทรงเปน็ ผทู้ ีเ่ ทวดาและมนุษย์
ท้ังหลายทูลออ้ นวอนแลว้ ย่อมเสวยปจั จัย ๔ กแ็ ต่วา่ มารมีความประสงค์อนั ใดอยู่ ความ
ประสงค์นัน้ ก็ส�ำเร็จได้ คือ มารน้นั ไดท้ �ำอนั ตรายแก่โภชนาหารของพระผู้มพี ระภาคเจ้าเพยี ง
เทา่ นั้น พระคุณเจา้ โยมยงั ตัดความสงสยั ในเรื่องนมี้ ิได้ โยมยังเกดิ ความลังเล ยงั คอยแต่จะ
376 มิลินทปัญหาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปญั ห
สงสัยในเรอ่ื งนน้ั อยู่ ใจของโยมไมย่ อมแลน่ ดิ่งลงไปในข้อท่วี า่ พระตถาคตทรงเปน็ พระอรหนั ต
สมั มาสมั พุทธเจา้ ผู้เป็นยอดบุคคลผปู้ ระเสรฐิ ในโลกพร้อมทัง้ เทวดา ผู้เกดิ แต่บญุ กศุ ล
ประเสริฐ ผูเ้ สมอดว้ ยบคุ คลผหู้ าใครเสมอมิได้ ผู้อันใคร ๆ ไม่อาจเปรยี บเทยี บได้ ผูอ้ ันใคร ๆ
ไม่อาจเปรยี บเสมอได้ แลว้ ก็ยงั ถูกมารท�ำเรือ่ งทีน่ า่ เกลียด ลามกต่�ำทราม ชว่ั ชา้ ไมป่ ระเสรฐิ
วบิ ัติ คืออนั ตรายแหง่ ลาภได”้
‘‘จตตฺ าโร โข มหาราช อนฺตรายา อทฏิ ฺ นตฺ ราโย อทุ ฺทิสสฺ กตนตฺ ราโย
อุปกฺขฏนฺตราโย ปรโิ ภคนตฺ ราโยติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร อนั ตรายมี ๔ อยา่ ง คือ
๑. อทิฏฐนั ตราย
๒. อทุ ทสิ สกตนั ตราย
๓. อปุ กั ขฏนั ตราย
๔. ปริโภคันตราย
ตตฺถ กตโม อทฏิ ฺ นตฺ ราโย ? อโนทิสสฺ อทสฺสเนน อนภิสงขฺ ต ํ โกจ ิ อนตฺ รายํ
กโรต ิ ‘กึ ปรสสฺ ทินเฺ นนา’ติ, อย ํ อทิฏ ฺ นตฺ ราโย นาม ฯ
ในบรรดาอนั ตราย ๔ อยา่ งนั้น อทิฏฐนั ตราย เป็นไฉน ? บุคคลบางคนย่อมท�ำอันตราย
โภชนะทีเ่ ขาจัดแจงไว้ โดยไม่เจาะจงบคุ คล ยงั ไม่เหน็ ตวั ผูร้ ับ โดยกล่าวว่า ประโยชน์อะไร
ด้วยการเท่ยี วให้แกค่ นอนื่ ดงั น้เี ป็นต้น นชี้ ื่อวา่ อทฏิ ฐันตราย
‘‘กตโม อุทฺทสิ สฺ กตนฺตราโย ? อเิ ธกจจฺ ํ ปุคฺคลํ อุปทิสิตฺวา อทุ ฺทสิ ฺส โภชน ํ
ปฏิยตตฺ ํ โหติ, ต ํ โกจ ิ อนตฺ ราย ํ กโรต,ิ อยํ อทุ ทฺ สิ ฺส กตนตฺ ราโย นาม ฯ
อุททิสสกตนั ตราย เปน็ ไฉน ? โภชนะท่เี ขาจัดแจง อุทิศเจาะจงบุคคล (ผรู้ ับ) บางคนใน
โลกน้ี มีอยู่ บคุ คลบางคนยอ่ มท�ำอันตรายแก่โภชนะนัน้ นีช้ ่ือว่าอุททสิ สกตันตราย
‘‘กตโม อุปกขฺ ฏนฺตราโย ? อิธ ยํ กิ ฺจิ อุปกขฺ ฏํ โหติ อปฺปฏิคฺคหิต,ํ ตตฺถ โกจิ
อนฺตราย ํ กโรต,ิ อยํ อปุ กฺขฏนฺตราโย นาม ฯ
อปุ ักขฏันตราย เป็นไฉน ? โภชนะทเี่ ขาตระเตรยี มไว้อยา่ งใดอย่างหน่งึ ซ่งึ ผูร้ ับยัง
มิได้รบั มอี ยใู่ นโลกน้ี บุคคลบางคนท�ำอันตรายในโภชนะนน้ั น้ชี ื่อวา่ อปุ กั ขฏนั ตราย
กณั ฑ์] ๔.๒ อเภชชวรรค 377
‘‘กตโม ปรโิ ภคนฺตราโย ? อิธ ย ํ กิ ฺจ ิ ปรโิ ภคํ, ตตถฺ โกจ ิ อนตฺ รายํ กโรติ, อย ํ
ปริโภคนตฺ ราโย นาม ฯ
ปรโิ ภคนั ตราย เป็นไฉน ? การบริโภคอย่างใดอย่างหนง่ึ ในโลกน้ีมีอยู่ บุคคลบางคน
ท�ำอันตรายในการบริโภคนน้ั น้ีช่ือวา่ ปริโภคนั ตราย
อิเม โข มหาราช จตตฺ าโร อนตฺ รายา ฯ
ขอถวายพระพรมหาบพิตร อนั ตรายมี ๔ อยา่ งเหล่านี้แล
‘‘ย ํ ปน มาโร ปาปิมา ป จฺ สาลเก พฺราหฺมณคหปติเก อนฺวาวสิ ,ิ ต ํ เนว ภควโต
ปรโิ ภคํ น อปุ กขฺ ฏ ํ น อทุ ฺทสิ ฺสกตํ, อนาคต ํ อสมปฺ ตตฺ ํ อทสฺสเนน อนฺตรายํ กตํ, ต ํ ปน
เนกสฺส ภควโตเยว, อถ โข เย เต เตน สมเยน นกิ ขฺ นฺตา อพภฺ าคตา, สพเฺ พปิ เต ต ํ
ทิวสํ โภชนํ น ลภสึ ,ุ นาหํ ตํ มหาราช ปสฺสาม ิ สเทวเก โลเก สมารเก สพรฺ หมฺ เก
สสสฺ มณพรฺ าหฺมณยิ า ปชาย สเทวมนุสฺสาย, โย ตสสฺ ภควโต อทุ ทฺ สิ ฺส กตํ อปุ กขฺ ฏ ํ
ปริโภคํ อนตฺ รายํ กเรยยฺ ฯ สเจ โกจ ิ อิสสฺ าย อทุ ฺทสิ สฺ กตํ อปุ กฺขฏ ํ ปริโภคํ อนฺตรายํ
กเรยฺย, ผเลยฺย ตสฺส มุทธฺ า สตธา วา สหสสฺ ธา วา ฯ
ก็ข้อทีม่ ารผมู้ ีบาปดลใจพวกพราหมณ์คฤหบดี ชาวบ้านปัญจสาละใด ข้อนั้นจะเป็นอัน
มารไดท้ �ำอันตรายการบรโิ ภคของพระผู้มีพระภาคเจา้ กห็ าไม่ จะได้เป็นอันท�ำอนั ตรายโภชนะ
ที่เขาตระเตรยี มไวแ้ ลว้ ก็หาไม่ จะไดเ้ ปน็ อนั ท�ำอันตรายโภชนะทเี่ ขาท�ำอุทิศเจาะจง (บคุ คล
ผู้รับ) ก็หาไม่ เพราะยังไมเ่ หน็ พระผู้มพี ระภาคเจ้าผูย้ ังไม่เสด็จมา ผู้เสดจ็ มายงั ไม่ถึง กก็ ารกระ
ท�ำของมารขอ้ นัน้ หาไดม้ แี กพ่ ระผูม้ ีพระภาคเจา้ พระองค์เดยี วเท่านัน้ ไม่ แตว่ า่ ในสมยั นนั้
พวกนคิ รนถ์ทง้ั หลายแม้ท้งั ปวง ผ้มู าถงึ แล้ว ก็ไมไ่ ด้โภชนะในวันนน้ั ทั้งน้ัน ขอถวายพระพร
อาตมภาพมองไม่เห็นใครในโลกพรอ้ มทั้งเทวดา พรอ้ มทัง้ มาร พรอ้ มทั้งพรหม ในหมู่ประชา
พรอ้ มทงั้ สมณะและพราหมณ์ พรอ้ มทัง้ เทวดาและมนุษย์ทงั้ หลาย ท่อี าจท�ำอนั ตรายโภชนะท่ี
เขาท�ำอทุ ิศเจาะจงพระผูม้ ีพระภาคเจ้าพระองค์นน้ั โภชนะท่เี ขาตระเตรยี มไวส้ �ำหรับพระผู้มี
พระภาคเจา้ พระองค์นั้น และการบรโิ ภคของพระผ้มู ีพระภาคเจา้ พระองค์นั้นได้เลย ถ้าหากมี
ใครบางคนจะพงึ ท�ำอนั ตรายโภชนะทเี่ ขาท�ำเจาะจงพระองค์ โภชนะทเี่ ขาตระเตรยี มไว้ส�ำหรับ
พระองค์ การบริโภคของพระองค์ ดว้ ยความรษิ ยาไซร้ ศีรษะของผนู้ นั้ จะพึงแตกออกเป็น ๑๐๐
เสยี่ ง หรือ ๑,๐๐๐ เสย่ี ง
378 มิลนิ ทปัญหาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปญั ห
‘‘จตฺตาโรเม มหาราช ตถาคตสสฺ เกนจ ิ อนาวรณียา คณุ า ฯ กตเม จตฺตาโร ?
ลาโภ มหาราช ภควโต อทุ ฺทสิ สฺ กโต อปุ กขฺ โฏ, น สกฺกา เกนจิ อนฺตรายํ กาตํ;ุ
สรีรานุคตา มหาราช ภควโต พยฺ ามปปฺ ภา, น สกฺกา เกนจ ิ อนฺตราย ํ กาตุํ; สพพฺ ฺ ุตํ
มหาราช ภควโต าณรตนํ, น สกกฺ า เกนจ ิ อนฺตรายํ กาตุ;ํ ชีวติ ํ มหาราช ภควโต, น
สกกฺ า เกนจ ิ อนตฺ ราย ํ กาตุํ ฯ
ขอถวายพระพร คุณ (ฐานะ) ของพระตถาคต ใคร ๆ กไ็ มอ่ าจขวางกัน้ ได้ มี ๔ อยา่ ง
เหล่านี้ คุณ ๔ อยา่ งอะไรบ้าง ? คณุ ๔ อย่าง คอื
๑. มหาบพิตร ลาภ (ปจั จัย ๔) ท่เี ขาจัดไว้ ทเี่ ขาตระเตรียมไว้ เจาะจงถวายพระผมู้ ี
พระภาคเจา้ ใคร ๆ ก็ไมอ่ าจท�ำอันตรายได้
๒. มหาบพติ ร พระรศั มที ี่แผ่ไปประมาณ ๑ วา ทวั่ พระวรกายของพระผู้มีพระภาคเจ้า
ใคร ๆ ก็ไม่อาจท�ำอันตรายได้
๓. มหาบพติ ร พระญาณรัตนะท่รี ู้ทุกสงิ่ ทุกอย่างของพระผมู้ ีพระภาคเจา้ ใคร ๆ ก็ไม่
อาจท�ำอนั ตรายได้
๔. มหาบพิตร พระชนมช์ ีพของพระผู้มพี ระภาคเจา้ ใคร ๆ ก็ไมอ่ าจท�ำอันตรายได้
อเิ ม โข มหาราช จตตฺ าโร ตถาคตสฺส เกนจ ิ อนาวรณยี า คุณา, สพฺเพเปเต
มหาราช คุณา เอกรสา อโรคา อกุปฺปา อปรปู กกฺ มา อผสุ าน ิ กริ ยิ านิ ฯ อทสสฺ เนน
มหาราช มาโร ปาปิมา นิลียิตวฺ า ป ฺจสาลเก พรฺ าหฺมณคหปตเิ ก อนฺวาวสิ ิ ฯ
มหาบพติ ร คณุ ๔ อย่างเหล่านี้แล ของพระตถาคต ใครๆ กไ็ มอ่ าจจะขวางกั้นได้
มหาบพติ ร คณุ ๔ อย่างเหลา่ น่ันแมท้ งั้ หมด มรี สเปน็ อันเดยี วกนั ไม่มีโรค ไม่ก�ำเรบิ ผู้อื่น
โจมตีมิได้ เป็นกริ ยิ าทใ่ี คร ๆ สมั ผัสไม่ได้ ขอถวายพระพร มารผูม้ ีบาปแอบแฝงตัวไมใ่ หใ้ คร
เหน็ จงึ เข้าดลใจพวกพราหมณค์ ฤหบดีชาวบ้านปัญจสาละได้
‘‘ยถา มหาราช ร โฺ ปจฺจนเฺ ต เทเส วสิ เม อทสฺสเนน นิลียิตฺวา โจรา ปนถฺ ํ
ทเู สนตฺ ิ ฯ ยทิ ปน ราชา เต โจเร ปสเฺ สยฺย, อปิ นุ โข เต โจรา โสตฺถ ึ ลเภยยฺ ุน”ฺ ติ ?
ขอถวายพระพร เปรียบเหมือนว่า ท่ีประเทศชายแดนของพระราชา พวกโจรต้อง
แอบแฝงอยตู่ ามทล่ี มุ่ ๆ ดอน ๆ ไม่ใหใ้ ครเหน็ ตวั จงึ ปลน้ คนเดนิ ทางอยไู่ ด้ ถา้ หากพระราชา
ทรงรเู้ หน็ วา่ มีโจรพวกนนั้ อยู่ พวกโจรเหล่าน้ัน จะพึงได้รบั ความสวสั ดอี ย่หู รอื หนอ ?”
กัณฑ์] ๔.๒ อเภชชวรรค 379
‘‘น ห ิ ภนเฺ ต ผรสุนา ผาลาเปยยฺ สตธา วา สหสสฺ ธา วา’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ นิ ทต์ รัสว่า “หามิได้ พระคณุ เจา้ พระองคจ์ ะรบั สงั่ ให้ (จบั ตัวมา) ใชข้ วานตัด
ผ่าเป็น ๑๐๐ เสี่ยง หรอื ๑,๐๐๐ เสี่ยง เสยี เป็นแน่”
‘‘เอวเมว โข มหาราช อทสฺสเนน มาโร ปาปิมา นิลยี ติ วฺ า ป จฺ สาลเก พฺราหมฺ ณ-
คหปตเิ ก อนฺวาวสิ ิ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร กเ็ หมือนกันอยา่ งนน้ั นน่ั แหละ มารผูม้ ี
บาปต้องแอบซ่อนตวั ไม่ใหใ้ ครเหน็ จงึ เขา้ สงิ ใจพวกพราหมณ์คฤหบดีชาวบ้านปญั จสาละได้
‘‘ยถา วา ปน มหาราช อิตถฺ ี สปตกิ า อทสสฺ เนน นิลียติ วฺ า ปรปุริส ํ เสวติ,
เอวเมว โข มหาราช อทสสฺ เนน มาโร ปาปมิ า นลิ ียิตฺวา ป จฺ สาลเก พฺราหฺมณคหปติเก
อนวฺ าวสิ ิ ฯ ยทิ มหาราช อิตฺถี สามกิ สฺส สมมฺ ขุ า ปรปรุ ิส ํ เสวติ, อปิ น ุ โข สา อิตถฺ ี
โสตฺถ ึ ลเภยยฺ า’’ติ ?
ขอถวายพระพร อกี อย่างหนึง่ เปรียบเหมือนวา่ หญงิ มีสามีต้องแอบซอ่ นตวั ไมใ่ ห้ใคร
เห็น จึงคบหาชายอืน่ ได้ ฉันใด ขอถวายพระพร มารผมู้ ีบาปกต็ อ้ งแอบซ่อนตวั ไมใ่ หใ้ ครเหน็
จึงเข้าสงิ ใจพวกพราหมณ์คฤหบดีชาวบ้านปญั จสาละได้ ฉันนน้ั เหมอื นกัน มหาบพติ ร ถ้า
หากวา่ หญิงนน้ั คบหาชายอื่นตอ่ หน้าผเู้ ปน็ สามไี ซร้ หญิงนัน้ จะพึงไดร้ ับความสวัสดอี ยหู่ รือ ?”
‘‘น หิ ภนเฺ ต หเนยฺยาป ิ ต,ํ ภนเฺ ต สามิโก วเธยฺยาปิ พนฺเธยฺยาปิ ทาสติ ฺตํ วา
อุปเนยฺยา’’ติ ฯ
พระเจา้ มิลินทต์ รัสว่า “หามิได้ พระคุณเจา้ ผูเ้ ป็นสามีจะพงึ เฆ่ียนตหี ญงิ น้ันบา้ ง พงึ ฆ่า
นางเสยี บา้ ง พึงขงั บ้าง หรอื ว่าปลดให้เป็นนางทาสีบา้ ง”
‘‘เอวเมว โข มหาราช อทสฺสเนน มาโร ปาปมิ า นลิ ียติ วฺ า ป ฺจสาลเก พฺราหฺมณ-
คหปติเก อนฺวาวสิ ิ ฯ ยทิ มหาราช มาโร ปาปมิ า ภควโต อทุ ทฺ สิ ฺส กตํ อุปกฺขฏ ํ ปรโิ ภค ํ
อนฺตราย ํ กเรยฺย, ผเลยฺย ตสสฺ มทุ ธฺ า สตธา วา สหสสฺ ธา วา’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร ก็เหมอื นกนั อยา่ งน้ันนัน่ แหละ มารผู้มี
บาปต้องแอบซ่อนตัวไม่ใหใ้ ครเหน็ จึงเข้าสิงใจพวกพราหมณ์คฤหบดชี าวบ้านปญั จสาละได้
ขอถวายพระพร ถา้ หากวา่ มารผมู้ บี าปพงึ ท�ำอันตรายของที่เขาท�ำเจาะจงพระผู้มีพระภาค
เจา้ ของทเ่ี ขาตระเตรยี มไว้ส�ำหรบั พระผมู้ ีพระภาคเจ้า การบรโิ ภคของพระผูม้ พี ระภาคเจ้า
ไซร้ ศีรษะของมารน้ันก็จะแตกออกเป็น ๑๐๐ เสย่ี ง หรือ ๑,๐๐๐ เสีย่ ง เปน็ แน”่
380 มิลินทปญั หาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปัญห
‘‘เอวเมต ํ ภนเฺ ต นาคเสน โจรกิ าย กตํ มาเรน ปาปมิ ตา, นิลยี ิตวฺ า มาโร ปาปิมา
ป ฺจสาลเก พฺราหมฺ ณคหปติเก อนวฺ าวิสิ ฯ สเจ โส ภนฺเต มาโร ปาปมิ า ภควโต อทุ ฺทสิ ฺส
กต ํ อปุ กฺขฏ ํ ปริโภคํ อนตฺ ราย ํ กเรยยฺ , มุทฺธา วาสฺส ผเลยฺย สตธา วา สหสสฺ ธา วา,
กาโย วาสสฺ ภุสมุฏฺ ิ วิย วกิ ิเรยยฺ ,
พระเจ้ามลิ ินทต์ รัสว่า “พระคุณเจา้ นาคเสน มารผมู้ ีบาปได้ท�ำโจรกรรมขอ้ นี้แลว้ อยา่ ง
น้ี คือ มารผู้มบี าปแอบซ่อนตัวเข้าสงิ ใจพราหมณค์ ฤหบดีชาวบ้านปัญจสาละ ถา้ หากวา่ มารผู้
มีบาปนนั้ กระท�ำอันตรายตอ่ ของทเ่ี ขาท�ำอุทศิ เจาะจงพระผู้มพี ระภาคเจ้า ทเ่ี ขาตระเตรยี มไว้
ส�ำหรบั พระผ้มู พี ระภาคเจ้า การบริโภคของพระผมู้ ีพระภาคเจ้าไซร้ ศรี ษะของมารกจ็ ะพงึ แตก
เปน็ ๑๐๐ เสีย่ ง หรอื ๑,๐๐๐ เสย่ี ง หรอื รา่ งกายของมารน้ันพึงกระจดั กระจายไปเหมอื นกอง
แกลบ ฉะน้ัน
“สาธุ ภนฺเต นาคเสน เอวเมตํ ตถา สมฺปฏจิ ฉฺ ามี’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลนิ ทต์ รัสว่า “ดจี รงิ พระคุณเจา้ นาคเสน โยมยอมรบั ค�ำตามทท่ี า่ นกล่าวมา
แล้วน้”ี
พุทธฺ ลาภนตฺ รายปญโฺ ห ปญฺจโม ฯ
จบพุทธลาภันตรายปญั หาข้อท่ี ๕
________
๖. อปญุ ฺ ปญฺห
๖. อปุญญปัญหา
ปัญหาว่าด้วยเร่ืองทไ่ี มใ่ ชบ่ ุญ (บาป)
[๖] ‘‘ภนฺเต นาคเสน ตมุ ฺเห ภณถ ‘โย อชานนฺโต ปาณาตปิ าตํ กโรติ, โส
พลวตรํ อป ุ ฺ ํ ปสวตี’ติ ฯ ปุน จ ภควตา วินยป ฺ ตฺตยิ า ภณิต ํ ‘อนาปตฺต ิ
อชานนตฺ สฺสา’ติ ฯ ยท ิ ภนฺเต นาคเสน อชานติ วฺ า ปาณาติปาตํ กโรนโฺ ต พลวตรํ อปุ ฺ ํ
ปสวติ, เตนห ิ ‘อนาปตฺติ อชานนฺตสสฺ า’ต ิ ย ํ วจนํ, ต ํ มจิ ฉฺ า ฯ ยทิ ‘อนาปตตฺ ิ
อชานนฺตสสฺ , เตนหิ ‘อชานติ วฺ า ปาณาติปาตํ กโรนโฺ ต พลวตร ํ อปุ ฺ ํ ปสวตี’ต ิ ตมฺป ิ
วจนํ มิจฺฉา ฯ อยมปฺ ิ อภุ โต โกฏิโก ป ฺโห ทรุ ตุ ตฺ โร ทรุ ติกกฺ โม ตวานุปปฺ ตโฺ ต, โส ตยา
นิพฺพาหติ พฺโพ’’ติ ฯ
กัณฑ์] ๔.๒ อเภชชวรรค 381
[๖] พระเจา้ มลิ นิ ทต์ รัสว่า “พระคณุ เจ้านาคเสน พวกท่านกล่าวกนั วา่ ผใู้ ดไม่รอู้ ยู่ ท�ำ
ปาณาตบิ าต ผนู้ ้นั ย่อมได้รบั บาปท่มี ีก�ำลังแรงกวา่ ดงั นี้ ส่วนพระผู้มีพระภาคเจา้ กลับตรสั ไว้
ในพระวนิ ยั บัญญตั เิ ป็นอกี อย่างหนง่ึ ว่า เม่อื ภกิ ษไุ ม่รอู้ ยู่ ก็ไมต่ อ้ งอาบตั ิ ดังน้ี พระคุณเจา้ นาค
เสน ถ้าหากว่าค�ำว่า บคุ คลไมร่ แู้ ล้วท�ำปาณาตบิ าต ย่อมได้รับบาปทีม่ กี �ำลังแรงกวา่ ดงั น้ี ถูก
ต้องจรงิ แลว้ ไซร้ ถ้าอย่างนั้น ค�ำทีต่ รสั ไวว้ ่า เม่อื ภิกษไุ ม่รอู้ ยู่ กไ็ มต่ อ้ งอาบัติ ดังน้ี จรงิ แลว้ ไซร้,
ค�ำน้ัน ก็ผิด, ถา้ วา่ ค�ำท่ีตรสั ไวว้ า่ “เม่ือภิกษไุ มร่ อู้ ยู่ กไ็ มต่ อ้ งอาบัติ ดังน้ี จริงแลว้ ไซร,้ ถ้าอยา่ ง
น้ัน ค�ำที่ตรสั ไว้ว่า บคุ คลไม่รู้แล้วท�ำปาณาติบาต ย่อมได้รับบาปทม่ี กี �ำลงั แรงย่ิงกว่า ดังน้ี ก็
เป็นค�ำท่ีผดิ ปัญหานี้ มี ๒ เงอื่ น เปลื้องไดย้ าก ก้าวล่วงได้ยาก ตกถงึ แก่ทา่ นโดยล�ำดบั แล้ว
ขอท่านพึงคลคี่ ลายปญั หาน้ันเถิด”
‘‘ภาสติ มเฺ ปตํ มหาราช ภควตา ‘โย อชานนโฺ ต ปาณาติปาตํ กโรติ, โส พลวตร ํ
อป ุ ฺ ํ ปสวตี’ติ ฯ ปนุ จ วนิ ยป ฺ ตตฺ ิยา ภควตา ภณติ ํ ‘อนาปตฺติ อชานนตฺ สฺสา’ติ ฯ
ตตฺถ อตถฺ นตฺ รํ อตฺถิ ฯ กตม ํ อตถฺ นตฺ รํ ? อตฺถ ิ มหาราช อาปตฺต ิ ส ฺ าวโิ มกขฺ า, อตฺถิ
อาปตตฺ ิ โนส ฺ าวโิ มกฺขา ฯ ยาย ํ มหาราช อาปตตฺ ิ ส ฺ าวโิ มกขฺ า, ต ํ อาปตฺต ึ อารพฺภ
ภควตา ภณิต ํ ‘อนาปตตฺ ิ อชานนตฺ สสฺ า’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร พระผู้มพี ระภาคเจา้ ตรสั ไว้
ว่า ผูใ้ ดไมร่ ูอ้ ยู่ ท�ำปาณาติบาต ผนู้ ัน้ ย่อมไดร้ บั บาปทมี่ กี �ำลงั แรงกวา่ ดังนีจ้ รงิ และพระผู้มพี ระ
ภาคเจ้า ก็ยงั ตรสั ไวอ้ ีกในพระวนิ ยั บัญญตั ิว่า เมือ่ ภกิ ษไุ ม่รูอ้ ยู่ กไ็ มต่ อ้ งอาบตั ิ ดงั นกี้ ็จรงิ ความ
หมายอยา่ งอ่นื ในค�ำท่ตี รสั ไวน้ นั้ ยงั มอี ยู่อกี ความหมายอยา่ งอนื่ อะไร ? ขอถวายพระพร
มหาบพิตร อาบัตปิ ระเภทสญั ญาวโิ มกข์ (พน้ จากอาบัตไิ ด้ ถ้าไมม่ ีสัญญา) ก็มีอยู่ อาบัติ
ประเภทโนสัญญาวิโมกข์ (แมไ้ ม่มสี ญั ญา กไ็ มพ่ น้ จากอาบตั )ิ ก็มอี ยู่ ขอถวายพระพร พระผมู้ ี
พระภาคเจ้าทรงปรารภถงึ อาบัตปิ ระเภทสัญญาวิโมกข์ ตรสั วา่ เมื่อภิกษุไม่รู้อยู่ กไ็ ม่ต้อง
อาบตั ิ”
‘‘สาธ ุ ภนเฺ ต นาคเสน เอวเมต ํ ตถา สมปฺ ฏิจฺฉาม’ี ’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ ินทต์ รสั ว่า “ดจี ริง พระคณุ เจ้านาคเสน โยมยอมรับค�ำพดู ตามทีท่ ่านกล่าว
มาแลว้ น้”ี
อปญุ ฺ ปญโฺ ห ฉฏฺโ€ ฯ
จบอปุญญปัญหาข้อท่ี ๖
________
382 มลิ ินทปญั หาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปัญห
๗. ภกิ ฺขุสฆํ ปริหรณปญฺห
๗. ภิกขสุ ังฆปรหิ รณปญั หา
ปัญหาวา่ ดว้ ยการบริหารภกิ ษสุ งฆ์
[๗] ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน ภาสิตมฺเปต ํ ภควตา ‘ตถาคตสสฺ โข อานนทฺ น เอว ํ โหต ิ
‘‘อห ํ ภกิ ขฺ สุ ํฆํ ปรหิ รสิ ฺสามี’’ต ิ วา ‘‘มมุทเฺ ทสโิ ก ภกิ ขฺ ุสํโฆ’’ติ วา’ติ ฯ ปุน จ
เมตเฺ ตยยฺ สสฺ ภควโต สภาวคณุ ํ ปรทิ ีปยมาเนน ภควตา เอว ํ ภณิต ํ ‘‘โส อเนกสหสสฺ ํ
ภิกขฺ ุสฆํ ํ ปรหิ ริสฺสติ, เสยฺยถาป ิ อหํ เอตรห ิ อเนกสตํ ภิกฺขสุ ฆํ ํ ปริหรามี’’ติ ฯ ยท ิ
ภนเฺ ต นาคเสน ภควตา ภณติ ํ ‘ตถาคตสฺส โข อานนทฺ น เอวํ โหติ ‘‘อหํ ภิกฺขสุ ํฆํ
ปริหริสสฺ าม’ี ’ติ วา, ‘‘มมทุ ฺเทสิโก ภิกขฺ สุ ํโฆ’’ติ วา’ต,ิ เตนหิ อเนกสตํ ภิกขฺ สุ ฆํ ํ
ปรหิ รามตี ิ ย ํ วจนํ, ตํ มิจฺฉา ฯ ยทิ ตถาคเตน ภณติ ํ ‘โส อเนกสหสสฺ ํ ภิกขฺ ุสฆํ ํ
ปรหิ รสิ ฺสติ, เสยฺยถาปิ อหํ เอตรหิ อเนกสตํ ภิกขฺ ุสํฆ ํ ปริหราม’ี ติ, เตนหิ ตถาคตสฺส โข
อานนทฺ น เอวํ โหต ิ ‘อหํ ภกิ ฺขุสํฆํ ปริหรสิ ฺสาม’ี ต ิ วา, ‘มมุทฺเทสิโก ภกิ ขฺ สุ ํโฆ’ติ วาติ
ตมฺปิ วจน ํ มจิ ฉฺ า, อยมฺปิ อภุ โต โกฏิโก ป ฺโห ตวานปุ ปฺ ตฺโต, โส ตยา นิพฺพาหติ พฺโพ’’ติ
ฯ
[๗] พระเจ้ามิลนิ ทต์ รัสวา่ “พระคุณเจา้ นาคเสน พระผู้มีพระภาคเจา้ ตรสั ความข้อนไ้ี ว้
วา่ ‘อานนท์ ตถาคตไม่มีความคิดอย่างน้ีวา่ ‘เราจักบริหารภกิ ษุสงฆ’์ หรืออย่างน้วี ่า ‘ภิกษสุ งฆ์
จกั เปน็ ผ้ทู ่มี เี ราเป็นผชู้ ้ีแนะ’ ดงั น้ี แต่เมอ่ื จะแสดงพระคุณตามสภาวะของพระผมู้ พี ระภาคเจ้า
พระนามวา่ เมตไตรย กลบั ตรัสอยา่ งนว้ี า่ ‘พระผ้มู พี ระภาคเจา้ เมตไตรยนนั้ จกั บรหิ ารภิกษุ
สงฆจ์ �ำนวนหลายพนั รูป เหมือนอย่างกบั เราบรหิ ารภิกษสุ งฆ์จ�ำนวนหลายร้อยรปู อยู่ ใน
ปจั จุบันนี’้ ดงั น้ี พระคณุ เจ้านาคเสน ถา้ หากพระผูม้ พี ระภาคเจา้ ตรสั ไว้วา่ ‘อานนท์ ตถาคต
ไม่มคี วามคิดอย่างน้ีวา่ ‘เราจักบริหารภกิ ษสุ งฆ์ หรอื อย่างนี้ว่า ‘ภิกษุสงฆ์จักมีเราเป็นผู้ชแี้ นะ’
ดังนี้ จรงิ ไซร้ ถ้าอยา่ งนน้ั ค�ำทต่ี รัสวา่ ‘เราจกั บริหารภกิ ษสุ งฆ์จ�ำนวนหลายร้อย’ ดงั นี้ กเ็ ป็นค�ำ
ทผ่ี ิด ถา้ หากพระตถาคตตรัสไว้ว่า ‘พระผมู้ พี ระภาคเจ้าเมตไตรยนัน้ จกั บรหิ ารภิกษุสงฆ์
จ�ำนวนหลายพันรูป เหมือนอย่างกับเราบริหารภกิ ษสุ งฆจ์ �ำนวนหลายรอ้ ยรปู อยูใ่ นปจั จบุ นั นี้’
ดังนี้ จรงิ ไซร้ ถ้าอยา่ งนั้น ค�ำทต่ี รัสไวว้ ่า ‘อานนท์ ตถาคตไม่มคี วามคดิ อย่างน้วี า่ ‘เราจัก
บรหิ ารภิกษสุ งฆ’์ หรอื อย่างนีว้ ่า ‘ภกิ ษุสงฆจ์ กั เปน็ ผู้ที่มเี ราเปน็ ผ้ชู ้ีแนะ’ ดังน้ี ก็เปน็ ค�ำท่ผี ดิ
ปญั หาแมน้ ้ี ก็มี ๒ เง่อื น ตกถึงแก่ท่านโดยล�ำดับแล้ว ขอท่านพึงช่วยคลค่ี ลายปญั หาน้นั เถดิ ”
กัณฑ]์ ๔.๒ อเภชชวรรค 383
‘‘ภาสิตมเฺ ปตํ มหาราช ภควตา ‘ตถาคตสสฺ โข อานนทฺ น เอวํ โหติ ‘‘อห ํ
ภกิ ขฺ ุสฆํ ํ ปริหรสิ สฺ าม’ี ’ต ิ วา ‘‘มมทุ ฺเทสโิ ก ภิกฺขุสโํ ฆ’’ต ิ วา’ติ ฯ ปุน จ เมตเฺ ตยยฺ สสฺ าป ิ
ภควโต สภาวคณุ ํ ปรทิ ปี ยมาเนน ภควตา ภณิต ํ ‘โส อเนกสหสฺส ํ ภิกขฺ สุ ฆํ ํ ปรหิ รสิ สฺ ต,ิ
เสยฺยถาป ิ อห ํ เอตรห ิ อเนกสต ํ ภกิ ขฺ ุสฆํ ํ ปรหิ ราม’ี ติ ฯ เอตสฺม ิ จฺ มหาราช ป เฺ ห
เอโก อตโฺ ถ สาวเสโส, เอโก อตฺโถ นิรวเสโส ฯ น มหาราช ตถาคโต ปริสาย
อนคุ ามโิ ก, ปรสิ า ปน ตถาคตสสฺ อนคุ ามิกา ฯ สมฺมตุ ิ มหาราช เอสา ‘อหนฺ’ต ิ ‘มมา’ติ,
น ปรมตโฺ ถ เอโส, วิคตํ มหาราช ตถาคตสฺส เปมํ, วคิ โต สเิ นโห, ‘มยหฺ น’ฺ ติป ิ ตถาคตสสฺ
คหณํ นตถฺ ิ อปุ าทาย ปน อวสสฺ โย โหติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร พระผมู้ ีพระภาคเจ้าทรง
ภาษิตความขอ้ น้ไี ว้วา่ ‘อานนท์ ตถาคตไมม่ ีความคดิ อยา่ งนี้ว่า ‘เราจักบริหารภิกษสุ งฆ์’ หรือ
อยา่ งนี้วา่ ‘ภกิ ษสุ งฆจ์ กั เป็นผู้ทม่ี ีเราเปน็ ผูช้ ้ีแนะ’ ดงั นี้ จริง และเมื่อจะแสดงพระคุณทีม่ ีอยูข่ อง
พระผ้มู ีพระภาคเจา้ เมตไตรย ก็ตรัสไวอ้ กี วา่ ‘พระผู้มพี ระภาคเจา้ เมตไตรยนน้ั จักบริหารภกิ ษุ
สงฆ์จ�ำนวนหลายพนั รูป เหมือนอย่างท่ีเราบรหิ ารภิกษสุ งฆ์จ�ำนวนหลายร้อยรูปอยู่ในปัจจบุ ัน
น’้ี ดังนี้ จริง ขอถวายพระพร ในปญั หาขอ้ นี้ อรรถหนง่ึ เปน็ อรรถท่มี สี ่วนเหลือ อีกอรรถหนงึ่
ไมม่ ีส่วนเหลอื ขอถวายพระพร พระตถาคต มิได้ทรงเป็นผู้คอยติดตามบริษทั แตว่ ่า บริษทั
คอยตดิ ตามพระตถาคต มหาบพติ ร ที่กล่าววา่ เรา ว่า ของเรา นเี้ ป็นเพยี งสมมติ หาใช่ปรมัตถ์
ไม่ ขอถวายพระพร พระตถาคตทรงปราศจากความรัก ปราศจากความเสนห่ า พระตถาคตไม่
ทรงมกี ารถือเอาวา่ ของเรา แตว่ า่ ทรงเป็นผู้ที่สตั วท์ ้งั หลายไดพ้ ง่ึ พงิ อาศยั
‘‘ยถา มหาราช ปถวี ภูมฏ ฺ าน ํ สตตฺ านํ ปติฏฺ า โหติ อปุ สฺสยํ, ปถวฏิ ฺ า เจเต
สตตฺ า, น จ มหาปถวยิ า ‘มยเฺ หเต’ติ อเปกขฺ า โหต,ิ เอวเมว โข มหาราช ตถาคโต
สพพฺ สตฺตาน ํ ปติฏฺ า โหต ิ อปุ สฺสย,ํ ตถาคตฏ ฺ า เจเต สตตฺ า, น จ ตถาคตสฺส
‘มยเฺ หเต’ติ อเปกขฺ า โหติ ฯ ยถา วา ปน มหาราช, มหตมิ หาเมโฆ อภวิ สฺสนฺโต
ติณรุกฺขปสมุ นุสสฺ าน ํ วฑุ ฺฒึ เทติ สนฺตตึ อนุปาเลติ ฯ วฏุ ฺ ูปชีวิโน เจเต สตตฺ า สพฺเพ,
น จ มหาเมฆสสฺ ‘มยฺเหเต’ติ อเปกฺขา โหติ ฯ เอวเมว โข มหาราช ตถาคโต
สพฺพสตตฺ านํ กสุ ลธมเฺ ม ชเนติ อนุปาเลติ, สตฺถูปชีวิโน เจเต สตตฺ า สพฺเพ, น จ
ตถาคตสสฺ ‘มยฺเหเต’ต ิ อเปกฺขา โหติ ฯ ตํ กิสฺส เหตุ ? อตตฺ านทุ ิฏฺ ยิ า ปหนี ตตฺ า’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร เปรียบเหมือนว่า แผน่ ดนิ เปน็ ที่พง่ึ เปน็ ทพ่ี �ำนกั ของสัตว์ทงั้ หลาย
ผู้ด�ำรงอยบู่ นแผน่ ดิน สตั ว์ทัง้ หลายเหล่านนั้ ล้วนแต่อยู่บนแผ่นดิน แตแ่ ผ่นดินใหญ่ กห็ าได้