234 มลิ นิ ทปญั หาปกรณ์แปล [๒.มลิ นิ ทปัญห
ถกู ท�ำลาย กจ็ ะพึงโผล่หนา้ ไปทางอากาศท่กี วา้ งใหญ่ ฟังเสยี ง ดมกล่นิ ลม้ิ รส ถูกต้อง
โผฏฐพั พะไดช้ ัดเจนยง่ิ ขนึ้ หรอื ไร ?”
‘‘น ห ิ ภนเฺ ต’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ นิ ท์ตรสั ว่า “หามิได้ พระคณุ เจ้า”
‘‘เตนห ิ มหาราช ภูตสฺมึ ชีโว นปุ ลพภฺ ต’ี ’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร ถา้ อยา่ งนน้ั ชีวะในภตู ย่อมไม่ถกู ได”้
‘‘กลโฺ ลสิ ภนฺเต นาคเสนา’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ ินท์ตรสั ว่า “พระคณุ เจา้ นาคเสน ทา่ นตอบสมควรแลว้ ”
วญิ ฺาณนานตถฺ ปญฺโห ปนฺนรสโม ฯ
จบวญิ ญาณนานัตถปญั หาข้อที่ ๑๕
________
๑๖. อรปู ธมมฺ ววตถฺ านทุกฺกรปญหฺ
๑๖. อรูปธมั มววตั ถานทกุ กรปญั หา
ปญั หาวา่ ดว้ ยการก�ำหนดแยกแยะนามธรรมทั้งหลายเป็นส่ิงกระท�ำไดย้ าก
[๑๖] ราชา อาห ‘‘ภนฺเต นาคเสน ทุกกฺ ร ํ น ุ โข ภควตา กตน’ฺ ’ติ ?
[๑๖] พระราชาตรสั ว่า “พระคณุ เจา้ นาคเสน พระผูม้ ีพระภาคเจ้าทรงกระท�ำส่ิงท่ี
ท�ำได้ยากหรือหนอแล ?”
เถโร อาห ‘‘ทุกกฺ ร ํ มหาราช ภควตา กตนฺ’’ติ ฯ
พระเถระถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบิตร พระผู้มพี ระภาคเจ้าทรงกระท�ำส่งิ
ที่ท�ำได้ยาก”
‘‘กึ ปน ภนฺเต นาคเสน ภควตา ทุกกฺ ร ํ กตน’ฺ ’ติ ฯ
พระเจ้ามิลินท์ตรสั ว่า “พระคุณเจา้ นาคเสน พระผมู้ พี ระภาคเจ้าทรงกระท�ำสิ่งที่ท�ำได้
ยากอะไรหรอื ?”
กณั ฑ์] ๒.๗ อรปู ธมั มววตั ถานวรรค 235
‘‘ทกุ ฺกร ํ มหาราช ภควตา กตํ อิเมสํ อรูปีนํ จิตตฺ เจตสกิ าน ํ ธมฺมาน ํ เอการมมฺ เณ
วตฺตมานาน ํ ววตถฺ าน ํ อกฺขาตํ ‘อยํ ผสฺโส, อยํ เวทนา, อย ํ ส ฺ า, อย ํ เจตนา, อิท ํ
จติ ตฺ นฺ’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร พระผูม้ พี ระภาคเจา้ ทรงกระท�ำสิ่งท่ี
ท�ำไดย้ าก คอื การตรสั แยกแยะนามธรรมทงั้ หลายเหล่านี้ คือ จติ และเจตสิก ทเี่ ปน็ ไปใน
อารมณเ์ ดยี วกนั ได้วา่ ‘น้ี เปน็ ผสั สะ, น้ี เปน็ เวทนา, นี้ เป็นสัญญา, นี้ เปน็ เจตนา, น้ี เปน็ จิต’
ดังน้ีเปน็ ตน้ ”
‘‘โอปมมฺ ํ กโรหี’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลินทต์ รัสว่า “ขอท่านจงช่วยอปุ มาให้หนอ่ ยเถอะ”
‘‘ยถา มหาราช โกจเิ ทว ปุรโิ ส นาวาย มหาสมุทฺท ํ อชโฺ ฌคาเหตฺวา หตถฺ ปุเฏน
อทุ ก ํ คเหตฺวา ชิวฺหาย สายติ ฺวา ชาเนยฺย น ุ โข มหาราช โส ปุริโส ‘‘อทิ ํ คงฺคาย อทุ กํ,
อิทํ ยมนุ าย อุทก,ํ อิทํ อจิรวติยา อุทกํ, อิท ํ สรภุยา อุทกํ, อทิ ํ มหยิ า อทุ กนฺ”ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร เปรียบเหมือนวา่ บุรษุ บางคนใชเ้ รือ
หย่งั ลงสูม่ หาสมทุ ร ใชอ้ ้งุ มอื วักนำ้� ขน้ึ ชมิ ด้วยลิ้น ขอถวายพระพร บรุ ษุ ผ้นู ้ันอาจรไู้ ด้หรือไม่ว่า
นเ้ี ปน็ น้ำ� ในแมน่ ้ำ� คงคา นี้เปน็ น�ำ้ ในแมน่ �้ำยมุนา น้ีเปน็ น�ำ้ ในแม่น�้ำอจิรวด ี น้เี ปน็ น�ำ้ ในแมน่ �้ำ
สรภู นี้เปน็ นำ้� ในแม่น้ำ� มหี ?”
‘‘ทกุ กฺ ร ํ ภนฺเต ชานติ ุน’ฺ ’ติ ฯ
พระเจา้ มิลนิ ท์ตรัสว่า “การท่บี คุ คลจะรไู้ ด้ เป็นส่งิ ท่ที �ำไดย้ าก พระคณุ เจ้า”
‘‘อโิ ต ทกุ ฺกรตร ํ โข มหาราช ภควตา กต ํ อิเมสํ อรูปีน ํ จติ ฺตเจตสิกาน ํ ธมมฺ านํ
เอการมฺมเณ วตฺตมานาน ํ ววตถฺ านํ อกขฺ าตํ ‘อยํ ผสฺโส, อย ํ เวทนา, อยํ ส ฺ า, อยํ
เจตนา, อทิ ํ จติ ฺตน’ฺ ’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร พระผู้มีพระภาคเจา้ ทรงกระท�ำสิง่ ท่ี
ท�ำไดย้ ากกว่าน้นั อีก คอื การตรัสแยกแยะนามธรรมท้งั หลายเหลา่ นี้ คอื จิตและเจตสิก ทเ่ี ปน็
ไปในอารมณ์เดียวกันไดว้ ่า ‘นี้ เป็นผสั สะ, นี้ เป็นเวทนา, น้ี เปน็ สัญญา, นี้ เปน็ เจตนา, น้ี เปน็
จติ ’ ดังน้ีเปน็ ต้น”
236 มิลินทปัญหาปกรณ์แปล [๒.มิลนิ ทปัญห
‘‘สฏุ ฺ ุ ภนฺเต’’ติ ราชา อพภฺ านุโมทีติ ฯ
พระราชาทรงอนโุ มทนายิ่งนักวา่ “เยี่ยมจรงิ ๆ พระคุณเจา้ ”
อรปู ธมมฺ ววตฺถานทกุ ฺกรปญโฺ ห โสฬสโม ฯ
จบอรปู ธัมมววัตถานทกุ กรปญั หาข้อที่ ๑๖
อรปู ธมฺมววตฺถานวคฺโค สตตฺ โม ฯ
จบอรูปธมั มววัตถานวรรคท่ี ๗
อมิ สมฺ ึ วคฺเค โสฬส ปญหฺ า ฯ
ในวรรคน้ี มปี ญั หา ๑๖ ข้อ
________
มิลินฺทปญฺหปจุ ฉฺ าวสิ ชชฺ นา
มลิ นิ ทปญั หปุจฉาวสิ ชั ชนา
ว่าด้วยการถามและตอบปญั หาของพระเจ้ามลิ ินท์
เถโร อาห ‘‘ชานาสิ โข มหาราช สมฺปติ กา เวลา’’ติ ?
พระเถระถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร พระองค์ทรงทราบหรือไมว่ ่า
บดั นี้ เป็นเวลาก่ีโมงแลว้ ?”
‘‘อาม ภนฺเต ชานาม ิ ‘สมฺปต ิ ป โม ยาโม อตกิ ฺกนฺโต, มชฺฌโิ ม ยาโม ปวตตฺ ติ,
อกุ กฺ า ปทปี ียนฺติ, จตตฺ าริ ปฏากานิ อาณตตฺ าน ิ คมิสฺสนฺต ิ ภณฑฺ โต ราชเทยฺยานี’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ นิ ทต์ รสั ว่า “โยมทราบ พระคณุ เจา้ วา่ ‘บัดน้ี ปฐมยามผา่ นพ้นไปแล้ว
มชั ฌมิ ยามก�ำลงั เปน็ ไป คบเพลิงก�ำลังสอ่ งแสงอยู่ พวกพนกั งานจกั ไปน�ำเอาผา้ ๔ ผนื ท่โี ยม
รบั ส่งั ซง่ึ เป็นของพระราชทานมาจากคลัง’
โยนกา เอวมาหํสุ ‘‘กลฺโลส ิ มหาราช ปณฺฑโิ ต เถโร’’ติ ฯ
พวกขา้ หลวงโยนกไดก้ ราบทูลอย่างนวี้ ่า “ขา้ แตพ่ ระมหาราชเจา้ พระเถระเปน็ บณั ฑิต
เป็นผู้สามารถ พระเจา้ ข้า”
‘‘อาม ภเณ ปณฑฺ ิโต เถโร, เอทิโส อาจรโิ ย ภเวยยฺ มาทโิ ส จ อนฺเตวาส,ี
กณั ฑ์] มิลินทปัญหปจุ ฉาวสิ ชั ชนา 237
นจริ สฺเสว ปณฺฑโิ ต ธมฺมํ อาชาเนยฺยา’’ติ ฯ
พระราชาตรสั ว่า “ใช่แล้ว พนาย พระเถระเป็นบัณฑิต บคุ คลผูเ้ ป็นอาจารย์ควรเปน็
อย่างพระเถระน้ี และบุคคลผเู้ ปน็ ศิษยก์ ็ควรจะเป็นอย่างตัวเรา บุคคลผ้เู ป็นบัณฑติ จะพงึ รู้ท่ัว
ถงึ ธรรม โดยกาลไมน่ านเลยเทยี ว”
ตสฺส ป ฺหเวยฺยากรเณน ตฏุ ฺโ ราชา เถรํ นาคเสนํ สตสหสฺสคฺฆนเกน กมพฺ เลน
อจฉฺ าเทตวฺ า ‘‘ภนฺเต นาคเสน อชฺชตคฺเค เต อฏ ฺ สตํ ภตฺต ํ ป ฺ เปมิ, ยํ ก ิ จฺ ิ
อนเฺ ตปุเร กปฺปิย,ํ เตน จ ปวาเรมี’’ติ อาห ฯ
พระราชาทรงเป็นผ้ยู นิ ดดี ว้ ยค�ำเฉลยปญั หาของพระเถระนน้ั ทรงอาราธนาให้ทา่ น
พระนาคเสนเถระนุง่ ห่มผ้ากัมพลที่มคี ่าถงึ ๑ แสน แลว้ ตรสั ว่า “พระคุณเจ้านาคเสน นบั ตั้งแต่
วันนีเ้ ป็นต้นไป โยมจะตระเตรียมภัตตาหาร ๑๐๘ ส�ำรบั ไว้เพื่อทา่ น ภายในเมืองมสี ิ่งหนง่ึ สิ่งใด
ท่ีเปน็ กปั ปิยะอยู่ โยมขอปวารณาดว้ ยสงิ่ น้ัน” ดังน้ี
“อลํ มหาราช ชีวาม’ี ’ติ ฯ
พระเถระถวายพระพรวา่ “อย่าเลย มหาบพติ ร อาตมภาพก็พอเปน็ อยูไ่ ด”้
‘‘ชานาม ิ ภนฺเต นาคเสน ชวี ส,ิ อปิจ อตฺตาน ฺจ รกขฺ , มม จฺ รกฺขาห’ี ’ติ ฯ
พระราชาตรัสว่า “พระคุณเจ้านาคเสน โยมกท็ ราบอยู่หรอกวา่ ทา่ นพอเปน็ อยู่ได้ แต่
วา่ ขอท่านจงรกั ษาตนเองและจงรักษาโยมเถิด”
‘‘กถ ํ อตฺตาน ํ รกฺขสิ, ‘นาคเสโน มิลินทฺ ํ ราชานํ ปสาเทติ, น จ กิ ฺจ ิ อลภี’ติ
ปราปวาโท อาคจเฺ ฉยฺยาต,ิ เอว ํ อตตฺ านํ รกขฺ ฯ
“อย่างไร ชือ่ วา่ รกั ษาตนเอง ? คือ ผูช้ อบกลา่ วติเตียนผอู้ ืน่ อาจจะมากลา่ วอย่างน้วี า่
‘พระนาคเสน ท�ำใหพ้ ระเจ้ามิลินทเ์ ล่อื มใสได้ กไ็ ม่เหน็ ไดอ้ ะไรเลย’ เมอื่ เป็นอยา่ งน้ี ก็ขอทา่ น
จงรักษาตนเองเถดิ
กถํ มมํ รกขฺ ส,ิ ‘มิลินฺโท ราชา ปสนโฺ น ปสนฺนาการํ น กโรต’ี ต ิ ปราปวาโท
อาคจเฺ ฉยยฺ าติ, เอว ํ มม ํ รกขฺ าหี’’ติ ฯ
อย่างไร ชอื่ วา่ รักษาโยม ? คอื ผ้ชู อบกลา่ วตเิ ตยี นผูอ้ ื่น อาจจะมากล่าวอยา่ งน้ีว่า
‘พระเจ้ามลิ นิ ท์ทรงเลอื่ มใสแลว้ กไ็ ม่เหน็ ทรงท�ำอาการเล่อื มใสเลย’ เมอ่ื เปน็ อย่างน้ี กข็ อจง
รักษาโยมเถดิ ”
238 มลิ ินทปัญหาปกรณ์แปล [๒.มลิ นิ ทปัญห
‘‘ตถา โหต ุ มหาราชา’’ติ ฯ
พระเถระถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร ขอจงเป็นอยา่ งท่ที รงประสงคเ์ ถิด”
‘‘เสยยฺ ถาป ิ ภนเฺ ต สโี ห มิคราชา สวุ ณฺณป ชฺ เร ปกฺขิตโฺ ตปิ พหมิ ุโขเยว โหต,ิ
เอวเมว โข อห ํ ภนเฺ ต กิ จฺ าปิ อคาร ํ อชฌฺ าวสาม,ิ พหิมโุ ขเยว ปน อจฺฉามิ ฯ สเจ อหํ
ภนเฺ ต อคารสมฺ า อนาคารยิ ํ ปพพฺ เชยยฺ ํ, น จิรํ ชีเวยฺย,ํ พห ู เม ปจจฺ ตฺถิกา’’ติ ฯ
พระราชาตรัสวา่ “พระคณุ เจา้ เปรียบเหมอื นวา่ ราชสหี ์ เจ้าแหง่ สตั วท์ ัง้ หลาย แมถ้ กู
ขังไวใ้ นกรงทอง ก็ยงั บา่ ยหน้าไปภายนอกกรงท่าเทยี ว ฉนั ใด พระคุณเจา้ โยมผูอ้ ยู่ครองเรอื น
แม้กจ็ ริง แตถ่ ึงอย่างนัน้ กห็ วงั จะบา่ ยหน้าออกไปภายนอกเรอื นทา่ เดยี ว ฉนั นั้นเหมือนกนั ,
พระคุณเจา้ ถา้ หากวา่ โยมพึงออกจากเรือนบวชถงึ ความเป็นผู้ไม่มีเรือนไซร้ โยมก็อาจจะมี
ชีวิตอย่ไู ด้ไมน่ าน โยมมีศัตรมู าก” ดงั น้ี
อถ โข อายสฺมา นาคเสโน มลิ ินฺทสสฺ ร ฺโ ป ฺห ํ วิสชเฺ ชตวฺ า อฏุ ฺ ายาสนา
สงฺฆารามํ อคมาสิ ฯ
ครงั้ นน้ั แล ท่านพระนาคเสน ครนั้ แก้ปัญหาของพระเจ้ามลิ ินทแ์ ลว้ กล็ กุ จากอาสนะ
กลับไปสสู่ งั ฆาราม
อจริ ปกกฺ นฺเต จ อายสมฺ นเฺ ต นาคเสเน มิลินฺทสสฺ ร ฺโ เอตทโหส ิ ‘‘กึ มยา
ปุจฺฉติ ํ, ก ึ ภทนเฺ ตน นาคเสเนน วสิ สฺ ชชฺ ติ น’ฺ ’ติ ?
ฝา่ ยพระเจ้ามลิ ินท์ เม่อื ทา่ นพระนาคเสนหลีกไปไดไ้ มน่ านนกั กท็ รงเกิดความด�ำริขอ้
นี้ขน้ึ มาว่า “เราถามไปวา่ กระไร, พระคุณเจา้ นาคเสน ตอบว่ากระไร” ดังน้ี
อถ โข มลิ ินฺทสฺส ร โฺ เอตทโหส ิ ‘‘สพฺพํ มยา สุปจุ ฉฺ ติ ํ, สพพฺ ํ ภทนเฺ ตน
นาคเสเนน สุวสิ ฺสชฺชิตน’ฺ ’ติ ฯ
ล�ำดบั นนั้ พระเจ้ามลิ ินท์ทรงมีความด�ำริขอ้ นีว้ า่ “เราถามดีทุกข้อ, พระคุณเจา้ นาคเสน
กต็ อบดที กุ ขอ้ ” ดังน ี้
อายสฺมโตป ิ นาคเสนสฺส สงฆฺ ารามคตสสฺ เอตทโหสิ ‘‘ก ึ มลิ ินเฺ ทน ร ฺ า ปจุ ฉฺ ติ ,ํ
กึ มยา วิสฺสชชฺ ติ นฺ’’ติ ฯ
แมฝ้ ่ายทา่ นพระนาคเสน ไปถงึ สังฆารามแล้ว กไ็ ด้มคี วามคิดข้อนวี้ า่ “พระเจา้ มลิ นิ ท์
ตรัสถามว่ากระไร, เราถวายพระพรตอบไปวา่ กระไร” ดงั นี้
กัณฑ]์ มลิ ินทปญั หปจุ ฉาวิสชั ชนา 239
อถ โข อายสมฺ โต นาคเสนสสฺ เอตทโหส ิ ‘‘สพฺพ ํ มิลนิ ฺเทน ร ฺ า สุปจุ ฉฺ ติ ,ํ สพพฺ ํ
มยา สุวิสสฺ ชฺชิตน’ฺ ’ติ ฯ
ล�ำดบั น้นั ท่านพระนาคเสน กไ็ ด้เกดิ ความคดิ เห็นขอ้ นี้วา่ “พระเจา้ มิลนิ ท์ตรสั ถามดี
ทกุ ข้อ, เราก็ถวายพระพรตอบดีทกุ ขอ้ ” ดังน้ี
อถ โข อายสฺมา นาคเสโน ตสฺสา รตฺติยา อจฺจเยน ปพุ ฺพณฺหสมย ํ นวิ าเสตฺวา
ปตฺตจีวรมาทาย เยน มลิ ินฺทสสฺ ร โฺ นเิ วสน ํ เตนปุ สงกฺ ม,ิ อปุ สงฺกมติ ฺวา ป ฺ ตฺเต
อาสเน นิสีทิ ฯ
ล�ำดบั นน้ั เม่ือราตรนี ้นั ลว่ งไปแล้ว ในเวลาเชา้ ทา่ นพระนาคเสนกน็ งุ่ หม่ ถือเอาบาตร
และครองจวี ร เขา้ ไปยงั พระราชนิเวศน์ ทพ่ี ระเจ้ามลิ ินทป์ ระทบั อยแู่ ลว้ กน็ ่งั บนอาสนะท่เี ขา
ปูลาดไว้
อถ โข มิลนิ โฺ ท ราชา อายสฺมนตฺ ํ นาคเสน ํ อภิวาเทตฺวา เอกมนตฺ ํ นิสที ิ, เอกมนฺตํ
นิสนิ โฺ น โข มิลนิ ฺโท ราชา อายสมฺ นตฺ ํ นาคเสนํ เอตทโวจ –
‘‘มา โข ภทนฺตสสฺ เอวํ อโหส ิ ‘นาคเสโน มยา ป ฺห ํ ปจุ ฺฉโิ ต’ติ เตเนว
โสมนสเฺ สน ต ํ รตตฺ าวเสส ํ วตี นิ าเมสตี ิ น เต เอวํ ทฏฺ พพฺ ํ ฯ ตสสฺ มยฺห,ํ ภนเฺ ต ต ํ
รตฺตาวเสสํ เอตทโหส ิ ‘กึ มยา ปจุ ฉฺ ิตํ, ก ึ ภทนเฺ ตน วสิ สฺ ชฺชติ นฺ’ติ, ‘สพพฺ ํ มยา สปุ จุ ฉฺ ติ ํ,
สพฺพ ํ ภทนเฺ ตน สุวิสฺสชชฺ ิตน’ฺ ’ติ ฯ
ล�ำดบั นัน้ พระเจา้ มิลินท์ก็ทรงกราบไหว้ทา่ นพระนาคเสน แล้วประทบั น่ัง ณ ทีส่ มควร
พระเจา้ มิลินท์ ครนั้ ประทบั นง่ั ณ ท่ีสมควรแล้ว กร็ บั สง่ั ความขอ้ นก้ี บั ทา่ นพระนาคเสนว่า
“พระคณุ ทา่ นผูเ้ จรญิ อยา่ ไดม้ คี วามคดิ อยา่ งนเ้ี ลยว่า ‘พระเจา้ มิลินทน์ ัน้ พอทรงคิดว่า
‘เราได้ถามปญั หากับพระนาคเสน’ ดังนี้แล้ว ก็ทรงเอาแต่โสมนสั จนท�ำใหล้ ว่ งเลยราตรสี ว่ นที่
เหลอื นน้ั ท่านไม่ควรเห็นอยา่ งน้เี ลย พระคณุ เจ้า โยมนั้น ตลอดราตรีสว่ นทีเ่ หลือน้ัน ก็ได้มี
ความคิดขอ้ นว้ี า่ ‘เราถามไปวา่ อะไร พระคุณเจา้ ตอบวา่ กระไร’ และว่า ‘เราถามไปดที ุกขอ้
พระคณุ เจ้าก็ตอบดที กุ ข้อ’ ดังน”ี้
240 มิลนิ ทปญั หาปกรณแ์ ปล [๒.มลิ ินทปัญห
เถโรปิ เอวมาห – ‘‘มา โข มหาราชสฺส เอวํ อโหสิ ‘มิลินฺทสสฺ ร โฺ มยา ป ฺโห
วสิ ฺสชฺชิโต’ต ิ เตเนว โสมนสเฺ สน ต ํ รตฺตาวเสสํ วีตนิ าเมสตี ิ น เต เอวํ ทฏฺ พพฺ ํ ฯ ตสสฺ
มยฺห ํ มหาราช ต ํ รตฺตาวเสสํ เอตทโหสิ ‘กึ มลิ นิ ฺเทน ร ฺ า ปุจฉฺ ิต,ํ กึ มยา
วสิ สฺ ชชฺ ิตนฺ’ต,ิ ‘สพพฺ ํ มิลนิ ฺเทน ร ฺ า สปุ จุ ฉฺ ิต,ํ สพฺพํ มยา สวุ สิ สฺ ชฺชติ นฺ’’ต ิ
แม้พระเถระก็ถวายพระพรอยา่ งน้ีว่า “ขอมหาบพติ รกอ็ ย่าทรงเกิดพระด�ำรอิ ยา่ งน้ีเลย
ว่า ‘พระนาคเสนน้ัน พอคิดวา่ ‘เราแก้ปัญหาของพระเจ้ามิลนิ ท์ได้’ ดงั น้ีแล้ว กม็ วั แต่โสมนสั ไป
จนท�ำใหล้ ่วงเลยราตรสี ว่ นท่เี หลอื น้ันไป พระองคก์ ไ็ มค่ วรทรงเหน็ อย่างน้เี ลย มหาบพิตร
อาตมภาพนน้ั ตลอดราตรีสว่ นทเี่ หลอื นั้นไดเ้ กดิ ความคดิ ขอ้ นีว้ า่ ‘พระเจา้ มิลินทต์ รสั ถามมาวา่
กระไร เราถวายพระพรตอบไปว่ากระไร’ และว่า ‘พระเจ้ามลิ ินทต์ รสั ถามดีทกุ ขอ้ เรากถ็ วาย
พระพรตอบดที กุ ขอ้ ’ ดังน้ี”
อติ ิห เต มหานาคา อ ฺ ม ฺ สสฺ สภุ าสิตํ สมนุโมทสึ ูติ ฯ
ทา่ นผู้ประเสริฐย่ิงใหญเ่ หลา่ นน้ั ตา่ งช่นื ชมค�ำพดู ดีของกันและกัน ดว้ ยประการฉะน้ี
อย่างนี้แล
มิลนิ ฺทปญหฺ ปจุ ฉฺ าวิสชชฺ นา นฏิ ฺ€ิตา ฯ
จบมิลนิ ทปญั หปจุ ฉาวสิ ชั นา
เมณฺฑกปญฺหารมภฺ กถา
จบเมณฑกปัญหารมั ภกถา
________
กณั ฑ]์ ลกั ขณปญั หกัณฑ์ 241
๓. ลกขฺ ณปญฺหกณฑฺ กณั ฑล์ กั ขณปญั หา
๑. อฏฺ วตตฺ ปทปญฺห
๑. อฏั ฐวตั ตปทปญั หา
ปญั หาวา่ ดว้ ยวตั รบท ๘ ประการ
ในตอนท่ี ๑ นี้ มี ๒ กัณฑ์ คอื ปุพพโยคกัณฑ์ ที่ช่ือว่าพาหริ กถา และมิลนิ ทปัญหา
กัณฑ์ คอื ตอนทีว่ ่าด้วยปญั หาของพระเจา้ มลิ นิ ทเ์ องโดยเฉพาะนี้ ซง่ึ ประกอบดว้ ย ๗ วรรค
มี มหาวรรค เป็นต้น รวมปญั หาได้ ๘๖ ปญั หา
อฏ ฺ มนตฺ ปรวิ ชฺชนียฏ ฺ านานิ
[๑] ภสสฺ ปปฺ วาโท เวตณฑฺ ี อติพทุ ฺธ ิ วิจกขฺ โณ
มลิ นิ ฺโท าณเภทาย นาคเสนมปุ าคมิ ฯ
วสนโฺ ต ตสฺส ฉายาย ปริปจุ ฺฉ ํ ปุนปฺปุนํ
ปภนิ ฺนพุทธฺ ิ หตุ วฺ าน โสปิ อาส ิ ตเิ ปฏโก ฯ
นวงคฺ ํ อนมุ ชฺชนฺโต รตตฺ ภิ าเค รโหคโต
อทฺทกขฺ ิ เมณฺฑเก ป เฺ ห ทนุ นฺ เิ วเ สนิคคฺ เห ฯ
ปรยิ ายภาสติ ํ อตฺถ ิ อตฺถิ สนฺธายภาสิตํ
สภาวภาสิตํ อตฺถิ ธมมฺ ราชสฺส สาสเน ฯ
เตสมตถฺ ํ อวิ ฺ าย เมณฺฑเก ชินภาสิเต
อนาคตมฺห ิ อทฺธาเน วิคฺคโห ตตถฺ เหสสฺ ติ ฯ
หนทฺ กถ ํ ปสาเทตฺวา เฉชชฺ าเปสฺสาม ิ เมณฺฑเก
ตสสฺ นทิ ทฺ ฏิ ฺ มคเฺ คน นทิ ทฺ ิสสิ สฺ นฺตฺยนาคเต’’ติ ฯ
สถานท่ที ค่ี วรหลีกเลย่ี งจากการปรกึ ษากนั ๘ แห่ง
[๑] พระเจา้ มลิ ินทผ์ ูม้ วี าทะข่มค�ำพดู ของผอู้ น่ื มีพระวาจาท�ำใหใ้ จ
ของบัณฑิตทง้ั หลายหวาดหวน่ั มพี ระปัญญาย่ิง มพี ระปญั ญา
เหน็ ประจกั ษ์แจ้ง ไดเ้ สด็จเขา้ ไปหาพระนาคเสน ด้วยทรง
พระประสงค์ความแตกฉานแห่งความรู้
เมอ่ื ประทบั อยูใ่ ต้เงาไม้ ถามปญั หาตอ่ พระเถระนั้นอยูบ่ อ่ ย ๆ ก็
242 มลิ นิ ทปัญหาปกรณ์แปล [๓.ลกั ขณปัญห
ทรงเป็นผ้มู ีปญั ญาแตกฉาน ทรงพระไตรปฎิ ก
ในช่วงเวลากลางคนื เสด็จหลีกเรน้ อยใู่ นที่สงัด ตรวจสอบค�ำ
สอนของพระศาสดา ซ่งึ มีองค์ ๙ ไป ก็ทรงพบเมณฑกปญั หา
อันเปน็ ปญั หาทใ่ี คร ๆ เปล้อื งไดย้ าก มีอรรถทีจ่ �ำตอ้ งขม่ เสีย
อรรถหน่งึ
พระราชาทรงด�ำรวิ า่ ในพระศาสนาของพระธรรมราชา พระ
ด�ำรสั ทตี่ รสั ไว้โดยปรยิ ายก็มอี ยู่ พระด�ำรสั ท่เี จาะจงตรสั ก็มีอยู่
พระด�ำรสั ทีต่ รสั ไวโ้ ดยสภาวะก็มอี ยู่
กใ็ นอนาคตกาล คนเหล่านนั้ เมือ่ ไม่เขา้ ใจความหมายในพระ
ด�ำรสั ที่พระชนิ เจ้าตรัสไวแ้ ล้ว ก็จกั มีการจับผดิ กัน ในพระด�ำรัส
เหล่านั้น
เอาละ พระเถระ ก็ได้ท�ำใหเ้ ราเลือ่ มใสแลว้ เราจักขอใหท้ า่ น
ช้ีขาดพระด�ำรัสทเ่ี ปน็ เมณฑกะเสยี ในอนาคต จักไดม้ ผี แู้ สดง
ไปตามแนวทางที่พระเถระนั้นไดแ้ สดงไวแ้ ล้ว”
อถ โข มลิ ินฺโท ราชา ปภาตาย รตตฺ ยิ า อุทฺธสเฺ ต อรุเณ สีสํ นฺหาตวฺ า
สิรสิ อ ฺชล ึ ปคฺคเหตวฺ า อตีตานาคตปจจฺ ุปปฺ นฺเน สมฺมาสมพฺ ุทเฺ ธ อนสุ ฺสริตฺวา อฏฺ
วตฺตปทาน ิ สมาทยิ ิ ‘‘อิโต เม อนาคตาน ิ สตตฺ ทิวสาน ิ อฏฺ คเุ ณ สมาทยิ ิตฺวา ตโป
จรติ พโฺ พ ภวสิ สฺ ต,ิ โสหํ จิณณฺ ตโป สมาโน อาจริยํ อาราเธตวฺ า เมณฑฺ เก ป เฺ ห
ปุจฺฉิสสฺ าม’ี ’ติ ฯ
คร้ังน้ันแล พระเจ้ามิลินท์ พอราตรีสวา่ ง อรณุ ข้ึน ก็ทรงสนานพระเศยี ร ทรงประคอง
อญั ชลเี หนือพระเศียร ร�ำลกึ ถงึ พระสมั มาสมั พุทธเจา้ ทงั้ ในอดีต อนาคต และปจั จบุ นั แลว้ ก็
ทรงสมาทานวตั รบท ๘ อยา่ งวา่ “ตลอด ๗ วันขา้ งหน้า นับแต่วนั นีไ้ ป เราจกั สมาทานคุณ ๘
ประการ ประพฤตติ บะ เราเป็นผ้บู �ำเพ็ญตบะอยู่น้ัน จกั อาราธนาพระอาจารยไ์ ตถ่ ามเมณฑก-
ปญั หาท้งั หลาย”
อถ โข มลิ นิ โฺ ท ราชา ปกติทสุ ฺสยคุ ํ อปเนตฺวา อาภรณาน ิ จ โอมุ จฺ ิตฺวา กาสาวํ
นิวาเสตฺวา มณุ ฑฺ กปปฺ ฏสิ สี กํ สีเส ปฏมิ ุ ฺจติ วฺ า มุนภิ าวมุปคนตฺ ฺวา อฏ ฺ คเุ ณ สมาทิยิ
‘‘อมิ ํ สตฺตาห ํ มยา น ราชตโฺ ถ อนสุ าสิตพโฺ พ, น ราคปู ส หฺ ิตํ จติ ตฺ ํ อปุ ปฺ าเทตพฺพํ, น
โทสปู ส หฺ ติ ํ จิตฺตํ อุปปฺ าเทตพฺพํ, น โมหูปส หฺ ติ ํ จิตฺต ํ อุปปฺ าเทตพฺพํ, ทาสกมฺมกรโปรเิ ส
กัณฑ]์ ลักขณปัญหกัณฑ์ 243
ชเนป ิ นิวาตวุตตฺ ินา ภวิตพพฺ ํ, กายิกํ วาจสกิ ํ อนรุ กขฺ ิตพพฺ ํ, ฉป ิ อายตนาน ิ นิรวเสสโต
อนุรกขฺ ิตพฺพาน,ิ เมตฺตาภาวนาย มานส ํ ปกฺขิปิตพพฺ นฺ”ติ ฯ
ในล�ำดับนั้น พระเจา้ มลิ ินท์ทรงเปล้อื งคู่พระภูษาทรงตามปกติเสยี และทรงปลดพระ
อาภรณเ์ ครอ่ื งประดบั ท้งั หลาย ทรงนุง่ ห่มผา้ ยอ้ มนำ้� ฝาด ทรงสวมพระเศียรเหมอื นกบั คนทมี่ ี
ศรี ษะโลน้ เข้าถงึ ความเป็นมนุ ี ทรงสมาทานคุณ ๘ อย่างวา่ “ตลอด ๗ วนั น้ี เราจะไมว่ นิ จิ ฉยั
อรรถคดี เราจะไมท่ �ำจิตที่ประกอบด้วยราคะให้เกดิ ขึน้ จะไม่ท�ำจิตทีป่ ระกอบด้วยโทสะให้เกิด
ขนึ้ เราจะไม่ท�ำจติ ท่ีประกอบด้วยโมหะใหเ้ กดิ ข้นึ เราจะเปน็ ผ้มู คี วามประพฤติถอ่ มตน แมใ้ น
ชนผ้ทู เ่ี ปน็ ทาส กรรมกรและคนรบั ใช้ เราจะคอยตามรกั ษาความประพฤตทิ างกายและวาจา
เราจะคอยตามรกั ษาอายตนะแม้ท้งั ๖ โดยไม่มสี ่วนเหลือ เราจะใสใ่ จไวใ้ นเมตตาภาวนา”
อฏ€ฺ วตตฺ ปทปญฺโห ป€โม ฯ
จบอฏั ฐวตั ตปทปัญหาข้อที่ ๑
________
๒. อฏฺมนตฺ ปริวชฺชนียฏฺ านปญฺห
๒. อัฏฐมนั ตปรวิ ัชชนียฏั ฐานปญั หา
ปัญหาวา่ ดว้ ยสถานที่ทีค่ วรหลกี เล่ยี งจากการปรกึ ษากัน ๘ แหง่
[๒] อเิ ม อฏ ฺ คุเณ สมาทยิ ติ ฺวา เตเสฺวว อฏฺ สุ คุเณส ุ มานส ํ ปติฏ ฺ เปตฺวา
พห ิ อนิกขฺ มติ วฺ า สตฺตาห ํ วตี ินาเมตฺวา อฏฺ เม ทวิ เส ปภาตาย รตตฺ ยิ า ปเคว ปาตราส ํ
กตฺวา โอกฺขติ ฺตจกขฺ ุ มิตภาณี สุสณ ฺ ิเตน อริ ิยาปเถน อวกิ ฺขิตฺเตน จติ ฺเตน หฏเฺ น
อุทคเฺ คน วิปปฺ สนเฺ นน เถรํ นาคเสนํ อปุ สงฺกมิตฺวา เถรสสฺ ปาเท สิรสา วนทฺ ติ วฺ า เอกมนฺต ํ
โิ ต อิทมโวจ –
‘‘อตถฺ ิ เม ภนฺเต นาคเสน โกจิ อตโฺ ถ ตุมเฺ หห ิ สทฺธ ึ มนฺตยิตพฺโพ, น ตตฺถ อ ฺโ
โกจิ ตตโิ ย อิจฺฉิตพฺโพ, ส ุ เฺ โอกาเส ปววิ ติ ฺเต อร ฺเ อฏฺ งคฺ ุปาคเต สมณสารุปฺเป ฯ
ตตฺถ โส ป ฺโห ปุจฺฉติ พโฺ พ ภวสิ สฺ ติ, ตตถฺ เม คุยหฺ ํ น กาตพฺพํ น รหสสฺ ก,ํ อรหามห ํ
รหสสฺ ก ํ สณุ ิตุ ํ สุมนตฺ เน อปุ คเต อปุ มายปิ โส อตฺโถ อปุ ปริกขฺ ิตพโฺ พ, ยถา ก ึ วยิ , ยถา
นาม ภนฺเต นาคเสน มหาปถว ี นกิ ฺเขป ํ อรหต ิ นกิ ฺเขเป อุปคเต ฯ เอวเมว โข ภนเฺ ต
นาคเสน อรหามหํ รหสฺสก ํ สณุ ิต ุํ สุมนตฺ เน อปุ คเต’’ติ ฯ
244 มลิ นิ ทปัญหาปกรณ์แปล [๓.ลักขณปัญห
[๒] พระเจ้ามิลนิ ท์ คร้นั ทรงสมาทานคุณ ๘ ประการเหล่านีแ้ ล้ว กท็ รงต้ังพระทัยไว้
อยา่ งม่ันคงในคณุ ๘ ประการเหลา่ น้นั น่นั แหละ ไมเ่ สด็จออกไปขา้ งนอก ทรงท�ำเวลาใหผ้ ่าน
เลยไปครบ ๗ วนั แลว้ ในวนั ท่ี ๘ เม่อื ราตรีสว่าง ทรงเสวยพระกระยาหารตอนเชา้ ก่อนแล้ว ก็
ทรงมีพระเนตรทอดลง มพี ระด�ำรสั พอประมาณ มพี ระอริ ยิ าบถตัง้ ม่ันดี มีพระทยั ไมว่ นุ่ วาย
ร่ืนเรงิ บนั เทงิ ผอ่ งใส เสด็จเข้าไปหาพระนาคเสนเถระ ทรงกม้ พระเศียรลงกราบแทบเท้าของ
พระเถระ แลว้ ประทบั ยนื อยู่ ณ ที่สมควร ไดต้ รัสขอ้ ความนว้ี า่
“พระคุณเจ้านาคเสน โยมมีเรอ่ื งจะปรึกษากับท่านอยบู่ างเร่ือง ในสถานท่ที ่ีจะปรึกษา
กันนนั้ ไมต่ ้องการใหม้ ใี ครอื่นซึง่ เปน็ บคุ คลท่ี ๓ คอื ในโอกาสท่ีว่างคน ไดแ้ ก่ ในป่าท่สี งัดเงยี บ
ทถ่ี ึงพร้อมดว้ ยองค์ ๘ ซึ่งเหมาะสมแกส่ มณะ ปญั หาที่ต้องถามนั้นจักมใี นปา่ น้ัน. ทีใ่ นปา่ นนั้
ท่านไม่ควรท�ำใหเ้ ปน็ เรอ่ื งซ่อนเร้น ใหเ้ ป็นความลับส�ำหรบั โยม เมอ่ื ถึงคราวมีเร่อื งปรกึ ษากัน
ดว้ ยดี โยมก็ควรเพอื่ จะไดฟ้ งั เรื่องลับ ควรจะตอ้ งตรวจสอบเนือ้ ความแมด้ ว้ ยอุปมา เปรียบ
เหมอื นอย่างอะไร พระคณุ เจา้ นาคเสน เปรียบเหมอื นว่า เมื่อถึงคราวมกี ารวางสง่ิ ของลง แผน่
ดนิ ใหญก่ ส็ มควรแกก่ ารวางสิง่ ของลง ฉันใด พระคุณเจ้านาคเสน เม่อื ถงึ คราวมีเร่อื งปรึกษา
กันด้วยดี โยมกค็ วรที่จะไดฟ้ ังเรอื่ งลบั ฉนั น้ันเหมอื นกัน”
ครุนา สห ปววิ ติ ตฺ ปวนํ ปวสิ ิตฺวา อทิ มโวจ – ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน อิธ ปรุ ิเสน
มนฺตยิตุกาเมน อฏฺ านาน ิ ปรวิ ชชฺ ยิตพฺพานิ ภวนตฺ ,ิ น เตส ุ าเนส ุ ว ิ ฺ ู ปรุ ิโส อตฺถ ํ
มนเฺ ตติ, มนฺตโิ ตป ิ อตโฺ ถ ปรปิ ตติ น สมภฺ วติ ฯ กตมาน ิ อฏ ฺ านานิ ? วิสมฏ ฺ าน ํ
ปรวิ ชฺชนียํ, สภยํ ปรวิ ชชฺ นยี ํ, อตวิ าตฏ ฺ าน ํ ปริวชฺชนยี ํ, ปฏจิ ฉฺ นนฺ ฏ ฺ านํ ปริวชฺชนยี ,ํ
เทวฏ ฺ าน ํ ปรวิ ชชฺ นยี ,ํ ปนฺโถ ปริวชชฺ นีโย, สงคฺ าโม ปริวชฺชนีโย, อุทกตติ ถฺ ํ ปรวิ ชชฺ นียํ ฯ
อมิ าน ิ อฏฺ านานิ ปริวชชฺ นียาน’ี ’ติ ฯ
พระราชา คร้ันได้เสด็จเข้าป่ารกชฏั ทเ่ี งยี บสงดั พรอ้ มกับท่านผเู้ ปน็ ครแู ลว้ กไ็ ดต้ รสั
พระด�ำรสั นวี้ า่ “พระคณุ เจ้านาคเสน ในโลกน้ี มสี ถานท่ี ๘ แห่ง ทีบ่ รุ ษุ ผูต้ ้องการจะปรึกษากนั
ควรหลกี เลยี่ ง บรุ ษุ ผ้เู ป็นวญิ ญูชน จะไมป่ รึกษาเรอ่ื งราวในสถานท่เี หลา่ นนั้ เรอ่ื งราวแมท้ ่ี
ปรึกษากนั แลว้ กย็ อ่ มจะตกหายไป ไมป่ รากฏอยู่, สถานที่ ๘ แห่ง มีอะไรบ้าง ? ได้แก่
๑. วิสมฏ ฺ านํ ปริวชชฺ นียํ. ทีข่ รขุ ระ เปน็ สถานทท่ี ค่ี วรหลีกเล่ียง
๒. สภย ํ ปริวชฺชนียํ. สถานท่มี ภี ัย ก็เปน็ สถานที่ทค่ี วรหลีกเล่ยี ง
๓. อติวาตฏฺ าน ํ ปรวิ ชชฺ นีย.ํ สถานทที่ ีม่ ลี มแรงเกนิ ไป ก็เป็นสถานทที่ ค่ี วรหลกี เลย่ี ง
๔. ปฏิจฺฉนฺนฏฺ าน ํ ปรวิ ชชฺ นยี .ํ สถานทีท่ ี่ปิดบงั ก็เป็นสถานทท่ี ่ีควรหลกี เลย่ี ง
กัณฑ]์ ลกั ขณปัญหกัณฑ์ 245
๕. เทวฏ ฺ าน ํ ปรวิ ชชฺ นียํ. เทวสถาน เปน็ สถานทท่ี ค่ี วรหลีกเล่ยี ง
๖. ปนโฺ ถ ปริวชฺชนโี ย. สถานที่ทเ่ี ปน็ ทางเดนิ กเ็ ป็นสถานทีท่ คี่ วรหลีกเลย่ี ง
๗. สงฺคาโม ปรวิ ชชฺ นีโย. สถานทท่ี ่ีมีสงคราม ก็เปน็ สถานทที่ ค่ี วรหลกี เลีย่ ง
๘. อุทกตติ ถฺ ํ ปริวชฺชนียํ. สถานท่ที ี่ติดทา่ น้�ำ กเ็ ป็นสถานทท่ี ่คี วรหลีกเลยี่ ง
สถานท่ที งั้ ๘ แห่งเหล่านี้ เปน็ สถานที่ที่ควรหลีกเลีย่ ง”
เถโร อาห ‘‘โก โทโส วิสมฏ ฺ าเน สภเย อตวิ าเต ปฏิจฉฺ นเฺ น เทวฏ ฺ าเน ปนฺเถ
สงฺคาเม อทุ กติตฺเถ’’ติ ?
พระเถระถวายพระพรว่า “ในสถานทีข่ รุขระ ในสถานทท่ี ่ีมีภยั ในสถานทีท่ ี่มลี มแรง
เกินไป ในสถานท่ที ี่ปิดบงั ในเทวสถาน ในสถานที่ทเ่ี ป็นทางเดิน ในสถานทท่ี มี่ สี งคราม ใน
สถานทที่ ต่ี ิดท่าน้ำ� มีโทษอะไร ?”
‘‘วิสเม ภนเฺ ต นาคเสน มนฺตโิ ต อตโฺ ถ วิกิรต ิ วธิ มติ ปคฺฆรติ น สมฺภวต,ิ สภเย
มโน สนตฺ สฺสติ, สนตฺ สฺสโิ ต น สมมฺ า อตฺถ ํ สมนุปสฺสต,ิ อตวิ าเต สทโฺ ท อวภิ ูโต โหติ,
ปฏิจฺฉนเฺ น อปุ สฺสุตึ ตฏิ ฺ นตฺ ิ, เทวฏฺ าเน มนฺตโิ ต อตโฺ ถ ครกุ ํ ปรณิ มติ, ปนฺเถ มนตฺ ิโต
อตฺโถ ตจุ โฺ ฉ ภวต,ิ สงฺคาเม จ จฺ โล ภวต,ิ อุทกตติ เฺ ถ ปากโฏ ภวติ ฯ
พระเจ้ามลิ ินท์ตรสั วา่ “พระคณุ เจา้ นาคเสน ในสถานท่ีท่ีขรุขระ เรอื่ งทปี่ รึกษากันจะ
กระจดั กระจายไป ลอ่ งลอยไป ไหลไปหมด ไมป่ รากฏอยู่, ในสถานทที่ ่มี ภี ยั จติ ใจ ก็จักเอาแต่
หวาดหวั่น คนผูม้ ีจิตใจหวาดหว่นั ย่อมไม่พจิ ารณาเห็นอรรถไดโ้ ดยชอบ, ในสถานทีท่ ม่ี ีลม
แรงเกนิ ไป กจ็ ะไมไ่ ด้ยนิ เสยี งชัด, ในสถานทีท่ ปี่ ดิ บงั พวกชนจะเขา้ ไปยืนฟงั , เรื่องทปี่ รึกษา
กนั ในเทวสถาน ยอ่ มนอ้ มกายเปน็ เร่อื งทคี่ วรเคารพ, เร่ืองทีป่ รกึ ษากนั ในสถานที่ทเี่ ปน็ ทาง
เดิน ยอ่ มเปน็ เร่ืองสูญเปล่า, ในสถานที่มสี งคราม กม็ ีแต่ความอลหมา่ น, ทท่ี ่าน้�ำ เรื่องทีป่ รกึ ษา
กนั ย่อมแพร่งพราย
ภวตหี –
‘‘วสิ ม ํ สภยํ อตวิ าโต ปฏจิ ฉฺ นนฺ ํ เทวนิสฺสติ ํ
ปนฺโถ จ สงคฺ าโม ตติ ถฺ ํ อฏฺเ เต ปริวชฺชิยา’’ติ ฯ
ในเร่ืองน้ี มีค�ำกลา่ วโดยสรุปไวว้ า่
“ผทู้ ่จี ะปรึกษากัน ควรหลกี เล่ยี งสถานที่ ๘ แห่งเหล่านี้ คอื
สถานท่ีทีข่ รุขระ สถานที่ทม่ี ภี ยั สถานทท่ี ีม่ ลี มพดั แรงเกินไป
246 มลิ ินทปญั หาปกรณแ์ ปล [๓.ลกั ขณปัญห
สถานทท่ี ป่ี ดิ บงั เทวาลยั สถานที่ท่ีเป็นทางเดนิ สถานทีท่ มี่ ี
สงคราม สถานทีท่ ่ตี ิดท่าน้ำ� ”
อฏฺ€มนตฺ ปรวิ ชชฺ นยี ฏฺ€านปญฺโห ทุตโิ ย ฯ
จบอฏั ฐมันตปริวชั ชนยี ัฏฐานปัญหาข้อที่ ๒
________
๓. อฏฺ มนฺตวนิ าสกปุคฺคลปญหฺ
๓. อัฏฐมนั ตวินาสกปคุ คลปัญหา
ปัญหาว่าด้วยบุคคลผทู้ �ำเรื่องปรึกษากนั ใหเ้ สียหาย ๘ จ�ำพวก
[๓] ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน อฏ ฺ เิ ม ปุคคฺ ลา มนฺติยมานา มนฺติต ํ อตถฺ ํ พฺยาปาเทนตฺ ิ ฯ
กตเม อฏฺ ? ราคจริโต โทสจริโต โมหจรโิ ต มานจรโิ ต ลุทโฺ ธ อลโส เอกจินฺต ี พาโลติ ฯ
อเิ ม อฏฺ ปุคฺคลา มนตฺ ติ ํ อตฺถ ํ พฺยาปาเทนฺตี’’ติ ฯ
[๓] พระเจา้ มลิ นิ ท์ตรัสว่า “พระคณุ เจา้ นาคเสน บคุ คล ๘ จ�ำพวกเหล่าน้ี เม่ือปรกึ ษา
ด้วย ย่อมท�ำเร่ืองที่ปรึกษากันให้ถึงความเสยี หายไป บคุ คล ๘ จ�ำพวกเป็นไฉน ? ไดแ้ ก่ (๑)
คนราคจรติ (๒) คนโทสจรติ (๓) คนโมหจริต (๔) คนมานจรติ (๕) คนทีก่ �ำลงั อยากได้ (๖)
คนเกียจครา้ น (๗) คนชอบคิดคนเดยี ว (๘) คนพาล บคุ คล ๘ จ�ำพวกเหลา่ น้ี ย่อมท�ำเร่อื งที่
ปรกึ ษากนั ให้ถงึ ความเสยี หายไป”
เถโร อาห ‘‘เตสํ โก โทโส’’ติ ?
พระเถระถวายพระพรว่า “บุคคลเหล่านัน้ มีอะไรเป็นโทษ ?”
‘‘ราคจริโต ภนฺเต นาคเสน ราควเสน มนตฺ ิต ํ อตฺถ ํ พยฺ าปาเทติ, โทสจริโต
โทสวเสน มนตฺ ติ ํ อตถฺ ํ พฺยาปาเทติ, โมหจรโิ ต โมหวเสน มนฺติตํ อตฺถ ํ พฺยาปาเทต,ิ
มานจริโต มานวเสน มนฺตติ ํ อตฺถํ พฺยาปาเทติ, ลทุ โฺ ธ โลภวเสน มนตฺ ิต ํ อตถฺ ํ
พฺยาปาเทต,ิ อลโส อลสตาย มนฺตติ ํ อตฺถ ํ พฺยาปาเทต,ิ เอกจินตฺ ี เอกจินฺติตาย มนตฺ ิต ํ
อตถฺ ํ พฺยาปาเทต,ิ พาโล พาลตาย มนฺติต ํ อตฺถ ํ พยฺ าปาเทติ ฯ
พระเจา้ มลิ นิ ทต์ รสั วา่ “พระคณุ เจ้านาคเสน คนราคจรติ ย่อมท�ำเร่ืองทป่ี รกึ ษากนั ให้
ถึงความเสยี หายไป เพราะอ�ำนาจราคะ, คนโทสจริต ย่อมท�ำเรื่องที่ปรกึ ษากันใหถ้ ึงความเสยี
กณั ฑ]์ ลักขณปญั หกณั ฑ์ 247
หายไป เพราะอ�ำนาจแห่งโทสะ คนโมหจริต ย่อมท�ำเรือ่ งที่ปรกึ ษากันใหถ้ ึงความเสียหายไป
เพราะอ�ำนาจแหง่ โมหะ คนมานจรติ ย่อมท�ำเรอื่ งทีป่ รกึ ษากนั ให้ถงึ ความเสียหายไป เพราะ
อ�ำนาจแหง่ มานะ คนที่ก�ำลังอยากได้ ย่อมท�ำเรื่องทป่ี รึกษากนั ใหถ้ งึ ความเสยี หายไป เพราะ
อ�ำนาจแหง่ ความอยาก คนเกียจคร้าน ยอ่ มท�ำเร่ืองที่ปรึกษากนั ให้เสียหายไป เพราะความ
เกียจคร้าน คนชอบคิดคนเดียว ย่อมท�ำเรอ่ื งท่ปี รกึ ษากนั ใหถ้ ึงความเสยี หายไป เพราะความ
คดิ แง่เดยี ว คนพาล ย่อมท�ำเร่อื งท่ปี รึกษากนั ใหถ้ งึ ความเสียหายไป เพราะความเปน็ คนพาล
ภวตหี –
‘‘รตฺโต ทุฏโฺ จ มูฬฺโห จ มาน ี ลุทฺโธ ตถาลโส
เอกจินตฺ ี จ พาโล จ เอเต อตถฺ วินาสกา’’ติ ฯ
ในเรอ่ื งนี้ ค�ำกลา่ วโดยสรปุ ไว้วา่
“บุคคลผทู้ �ำเรอื่ งทีป่ รึกษากนั ใหเ้ สยี หายไป มี ๘ จ�ำพวกเหลา่ น้ี
คือ (๑) คนมักก�ำหนดั (๒) คนมักโกรธ (๓) คนมักหลง (๔) คน
มมี านะ (๕) คนโลภมาก (๖) คนเกยี จคร้าน (๗) คนชอบคดิ
คนเดียว (๘) คนพาล ฉะนแ้ี ล”
อฏฺ€ มนตฺ วินาสกปุคคฺ ลปญโฺ ห ตติโย ฯ
จบอัฏฐมนั ตวนิ าสกปคุ คลปญั หาขอ้ ที่ ๓
________
๔. นวคยุ หฺ มนตฺ วิธสํ กปคุ ฺคลปญฺห
๔. นวคุยหมนั ตวธิ งั สกปคุ คลปัญหา
ปญั หาว่าด้วยบคุ คลผู้เปิดเผยเรอ่ื งทีป่ รกึ ษากันลบั ๆ ๙ จ�ำพวก
[๔] ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน นวเิ ม ปุคฺคลา มนฺติต ํ คยุ หฺ ํ วิวรนฺต ิ น ธาเรนฺติ ฯ กตเม
นว ? ราคจริโต โทสจริโต โมหจรโิ ต ภรี โุ ก อามสิ ครโุ ก อติ ถฺ ี โสณโฺ ฑ ปณฑฺ โก
ทารโก’’ติ ฯ
[๔] พระเจ้ามิลินทต์ รัสวา่ “พระคณุ เจ้านาคเสน บคุ คล ๙ จ�ำพวกเหลา่ น้ี ยอ่ มเปดิ เผย
เรอื่ งทปี่ รกึ ษากนั ลับ ๆ ปดิ ไวไ้ มไ่ ด,้ บคุ คล ๙ จ�ำพวกเป็นไฉน ? ไดแ้ ก่ (๑) คนราคจริต (๒)
คนโทสจริต (๓) คนโมหจริต (๔) คนขีข้ ลาด (๕) คนหนักในอามสิ (๖) หญิง (๗) นักเลงสุรา
248 มิลนิ ทปญั หาปกรณแ์ ปล [๓.ลักขณปญั ห
(๘) กระเทย และ (๙) เด็ก”
เถโร อาห ‘‘เตส ํ โก โทโส’’ติ ?
พระเถระถวายพระพรวา่ “คนเหลา่ นนั้ มีอะไรเปน็ โทษ ?”
‘‘ราคจรโิ ต ภนเฺ ต นาคเสน ราควเสน มนตฺ ิต ํ คุยฺหํ วิวรติ น ธาเรติ, โทสจรโิ ต
ภนเฺ ต โทสวเสน มนตฺ ติ ํ คุยหฺ ํ วิวรต ิ น ธาเรต,ิ มูฬโฺ ห โมหวเสน มนตฺ ิต ํ คุยฺหํ ววิ รต ิ น
ธาเรต,ิ ภีรุโก ภยวเสน มนฺติตํ คุยหฺ ํ ววิ รต ิ น ธาเรต,ิ อามสิ ครุโก อามสิ เหต ุ มนตฺ ิตํ
คุยฺห ํ ววิ รต ิ น ธาเรติ, อติ ถฺ ี ป ฺ าย อติ ฺตรตาย มนฺตติ ํ คุยหฺ ํ วิวรติ น ธาเรต,ิ
โสณฑฺ ิโก สุราโลลตาย มนตฺ ติ ํ คุยฺหํ ววิ รติ น ธาเรต,ิ ปณฑฺ โก อเนกสํ กิ ตาย มนฺติต ํ
คยุ หฺ ํ ววิ รต ิ น ธาเรต,ิ ทารโก จปลตาย มนตฺ ติ ํ คุยฺห ํ ววิ รต ิ น ธาเรติ ฯ
พระเจา้ มิลนิ ท์ตรสั ว่า “พระคุณเจ้านาคเสน คนราคจรติ ย่อมเปดิ เผยเร่ืองที่ปรึกษา
กันลบั ๆ ย่อมปกปิดไวไ้ มไ่ ด้ เพราะอ�ำนาจแหง่ ราคะ คนโทสจริต ย่อมเปิดเผยเรือ่ งทป่ี รกึ ษา
กันลบั ๆ ย่อมปกปิดไว้ไมไ่ ด้ เพราะอ�ำนาจแห่งโทสะ คนโมหจรติ ย่อมเปิดเผยเร่ืองท่ปี รกึ ษา
กนั ลบั ๆ ย่อมปกปดิ ไวไ้ มไ่ ด้ เพราะอ�ำนาจแหง่ โมหะ คนขข้ี ลาด ยอ่ มเปดิ เผยเรอื่ งท่ีปรึกษา
กันลับ ๆ ยอ่ มปกปดิ ไวไ้ มไ่ ด้ เพราะอ�ำนาจแห่งความกลวั คนหนกั ในอามิส ยอ่ มเปิดเผยเรอื่ ง
ท่ปี รกึ ษากนั ลับ ๆ ย่อมปกปดิ ไว้ไมไ่ ด้ เพราะเหตแุ หง่ อามิส หญงิ ยอ่ มเปิดเผยเรอื่ งท่ีปรึกษา
กันลบั ๆ ยอ่ มปกปดิ ไว้ไมไ่ ด้ เพราะความทีม่ ีปัญญาเพยี งชั่วแลน่ นกั เลงสุรา ยอ่ มเปิดเผย
เรอื่ งทีป่ รึกษากนั ลับ ๆ ยอ่ มปกปิดไว้ไมไ่ ด้ เพราะความเมาสุรา กระเทย ยอ่ มเปิดเผยเร่ืองท่ี
ปรึกษากันลบั ๆ ย่อมปกปดิ ไว้ไม่ได้ เพราะหาความคดิ ทแ่ี นน่ อนมิได้ เด็ก ยอ่ มเปิดเผยเรือ่ งที่
ปรึกษากนั ลบั ๆ ยอ่ มปกปิดไว้ไมไ่ ด้ เพราะเปน็ ผู้ช่างเจรจา
ภวตีห –
‘‘รตโฺ ต ทุฏโฺ จ มฬู โฺ ห จ ภรี ุ อามสิ ครโุ ก
อิตฺถ ี โสณฺโฑ ปณฑฺ โก จ นวโม ภวติ ทารโก ฯ
นเวเต ปุคฺคลา โลเก อิตตฺ รา จลิตา จลา
เอเตหิ มนฺตติ ํ คุยฺห ํ ขปิ ฺป ํ ภวต ิ ปากฏน”ฺ ติ ฯ
ในเรื่องน้ี มคี �ำกลา่ วโดยสรปุ ไว้ว่า
“บุคคลผ้ตู ำ่� ตอ้ ยท่หี ว่นั ไหว โลเล ในโลกนี้ มี ๙ จ�ำพวกเหลา่ นี้
คือ คนมกั ก�ำหนัด คนมักโกรธ คนหลง คนขขี้ ลาด คนหนัก
กัณฑ]์ ลกั ขณปัญหกัณฑ์ 249
ในอามสิ หญงิ นกั เลงสรุ า กระเทย และบคุ คลที่ ๙ ไดแ้ ก่ เด็ก
เร่อื งท่ีปรึกษากันลบั ๆ กับบุคคลเหลา่ นี้ จะมอี นั ปรากฏโดยฉบั
พลัน”
นวคุยหฺ มนตฺ วิธํสกปุคฺคลปญฺโห จตตุ ฺโถ ฯ
จบนวคยุ หมนั ตวิธงั สกปุคคลปญั หาขอ้ ที่ ๔
________
๕. อฏฺปญฺ าปฏลิ าภการณปญฺห
๕. อัฏฐปญั ญาปฏลิ าภการณปญั หา
ปัญหาว่าดว้ ยเหตุท่ที �ำให้ได้ความรู้ ๘ ประการ
[๕] ‘‘ภนฺเต นาคเสน อฏ ฺ ห ิ การเณหิ พุทฺธ ิ ปรณิ มติ ปริปากํ คจฉฺ ติ ฯ กตเมหิ
อฏ ฺ หิ ? วยปรณิ าเมน พุทธฺ ิ ปริณมติ ปริปาก ํ คจฉฺ ติ, ยสปริณาเมน พุทฺธิ ปริณมต ิ
ปริปากํ คจฉฺ ต,ิ ปรปิ จุ ฉฺ าย พุทธฺ ิ ปริณมติ ปรปิ าก ํ คจฉฺ ต,ิ ตติ ฺถสํวาเสน พุทฺธ ิ ปรณิ มต ิ
ปรปิ ากํ คจฉฺ ติ, โยนโิ ส มนสกิ าเรน พทุ ธฺ ิ ปริณมต ิ ปริปาก ํ คจฉฺ ติ, สากจฺฉาย พทุ ฺธิ
ปรณิ มต ิ ปริปาก ํ คจฺฉติ, เสนฺ หูปเสวเนน พุทฺธ ิ ปรณิ มติ ปริปากํ คจฺฉติ, ปตริ ปู เทสวาเสน
พุทธฺ ิ ปริณมต ิ ปริปาก ํ คจฺฉติ ฯ
[๕] พระเจ้ามิลนิ ทต์ รัสถามวา่ “พระคุณเจ้านาคเสน ความรยู้ ่อมแน่นหนา ย่อมถงึ
ความแก่กล้า เพราะเหตุ ๘ อย่าง เหตุ ๘ อย่างเปน็ ไฉน ? (๑) ความรูย้ ่อมแน่นหนา ย่อมถงึ
ความแก่กลา้ เพราะความแน่นหนาแหง่ วยั (๒) ความรู้ยอ่ มแนน่ หนา ยอ่ มถึงความแก่กล้า
เพราะความแนน่ หนาแหง่ ยศ (๓) ความรยู้ ่อมแน่นหนา ย่อมถึงความแกก่ ลา้ เพราะการซัก
ถาม (๔) ความรูย้ ่อมแนน่ หนา ย่อมถงึ ความแก่กลา้ เพราะการอย่ใู นส�ำนกั ที่เป็นดุจท่าข้าม
(๕) ความรูย้ อ่ มแนน่ หนา ย่อมถงึ ความแกก่ ลา้ เพราะโยนโิ สมนสกิ าร (๖) ความรยู้ อ่ มแน่น
หนา ย่อมถงึ ความแกก่ ลา้ เพราะการสนทนากนั (๗) ความรูย้ อ่ มแน่นหนา ย่อมถึงความแก่
กล้า เพราะการคบหาบุคคลนา่ รกั ใคร่ (๘) ความรยู้ อ่ มแน่นหนา ย่อมถึงความแกก่ ลา้ เพราะ
การอยใู่ นประเทศที่เหมาะสม
250 มิลนิ ทปญั หาปกรณ์แปล [๓.ลักขณปัญห
ภวตีห – ติตฺถวาเสน โยนิโส
‘‘วเยน ยสปุจฺฉาหิ
สากจฉฺ า สฺเนหสํเสวา ปติรูปวเสน จ ฯ
เอตาน ิ อฏฺ านานิ พทุ ธฺ วิ สิ ทการณา
เยส ํ เอตานิ สมฺโภนตฺ ิ เตส ํ พทุ ธฺ ิ ปภชิ ฺชต’ี ’ติ ฯ
ในเรื่องนี้ มคี �ำกล่าวโดยสรปุ ไว้วา่
“ฐานะ ๘ เหลา่ น้ี เปน็ เหตแุ กลว้ กลา้ แหง่ ความรู้ คอื (๑) เพราะ
วัย (๒) เพราะยศ (๓) เพราะการซกั ถาม (๔) เพราะการอยู่ใน
ส�ำนกั ท่ีเป็นดจุ ท่าข้าม (๕) เพราะโยนิโสมนสกิ าร (๖) เพราะ
การสนทนา (๗) เพราะการคบหาบคุ คลผนู้ ่ารกั ใคร่ (๘) เพราะ
การอยใู่ นประเทศที่สมควร บุคคลเหลา่ ใด มฐี านะ ๘ เหลา่ น้ี
ความรขู้ องบุคคลเหลา่ นั้น ย่อมแตกฉาน”
อฏฺ€ปญฺาปฏลิ าภการณปญโฺ ห ปญฺจโม ฯ
จบอฏั ฐปัญญาปฏิลาภการณปัญหาข้อที่ ๕
________
๖. ปญจฺ วสี ตอิ าจริยคณุ ปญหฺ
๖. ปัญจวสี ติอาจริยคุณปัญหา
ปัญหาวา่ ดว้ ยคุณธรรมของบุคคลผเู้ ปน็ อาจารย์ ๒๕ อย่าง
[๖] ‘‘ภนฺเต นาคเสน อย ํ ภูมิภาโค อฏฺ มนตฺ โทสวิวชฺชิโต, อห จฺ โลเก ปรโม
มนตฺ สิ หาโย, คยุ ฺหมนุรกฺข ี จาห ํ ยาวาหํ ชีวสิ สฺ าม ิ ตาว คุยหฺ มนรุ กขฺ ิสสฺ ามิ, อฏ ฺ ห ิ จ เม
การเณหิ พทุ ธฺ ิ ปรณิ าม ํ คตา, ทุลฺลโภ เอตรห ิ มาทิโส อนเฺ ตวาส,ี สมมฺ า ปฏิปนฺเน
อนเฺ ตวาสเิ ก เย อาจริยานํ ป จฺ วสี ติ อาจริยคณุ า, เตหิ คเุ ณหิ อาจรเิ ยน สมฺมา
ปฏิปชฺชติ พพฺ ํ ฯ กตเม ป ฺจวีสติ คุณา ?
[๖] พระเจ้ามลิ ินท์ตรสั ถามว่า “พระคุณเจ้านาคเสน ภมู ภิ าคน้ี เว้นจากโทษแห่งการ
ปรึกษากันทงั้ ๘ อยา่ ง ทที่ ัง้ โยมก็เปน็ สหายรว่ มปรึกษาทีย่ อดเยย่ี มในโลก อนึ่ง โยมกเ็ ปน็ ผ้ทู ี่
รักษาเรือ่ งทป่ี รึกษากันลับ ๆ ได้ โยมจกั รักษาเรื่องที่ปรกึ ษากันลบั ๆ ไปตราบเท่าทโ่ี ยมยังมี
กัณฑ]์ ลกั ขณปญั หกณั ฑ์ 251
ชีวิตอยูไ่ ด้ ทงั้ ความร้ขู องโยมก็ถึงความแนน่ หนา เพราะเหตุ ๘ ประการแล้ว ในปจั จุบันน้ี ศษิ ย์
ผู้เชน่ กับโยมเป็นผทู้ ี่หาได้ยาก อาจรยิ คุณ ๒๕ ข้อ ของผ้เู ปน็ อาจารยเ์ หล่าใด ผเู้ ปน็ อาจารย์
พงึ ปฏิบตั ชิ อบในศิษยผ์ ู้ปฏิบัติชอบด้วยคุณเหลา่ นัน้ คณุ ๒๕ ข้อ เปน็ ไฉน ?
อธิ ภนฺเต นาคเสน อาจรเิ ยน อนฺเตวาสมิ หฺ ิ สตตํ สมติ ํ อารกฺขา อุปฏฺ เปตพฺพา,
อเสวนเสวนา ชานิตพฺพา,
ปมตฺตาปฺปมตฺตา ชานิตพพฺ า,
เสยฺยาวกาโส ชานิตพโฺ พ,
เคล ฺ ํ ชานติ พฺพํ,
โภชนสฺส ลทฺธาลทธฺ ํ ชานติ พฺพ,ํ
วเิ สโส ชานติ พฺโพ,
ปตฺตคตํ สํวิภชิตพพฺ ํ,
อสสฺ าสติ พฺโพ ‘มา ภายิ, อตโฺ ถ เต อภกิ ฺกมต’ี ติ,
‘อิมนิ า ปคุ คฺ เลน ปฏจิ รตี’ติ ปฏจิ าโร ชานติ พโฺ พ,
คาเม ปฏิจาโร ชานติ พโฺ พ,
วหิ าเร ปฏจิ าโร ชานติ พฺโพ,
น เตน หาโส ทโว กาตพฺโพ,
น เตน สห สลลฺ าโป กาตพฺโพ,
ฉทิ ทฺ ํ ทสิ วฺ า อธิวาเสตพพฺ ํ,
สกฺกจฺจการนิ า ภวิตพฺพ,ํ
อขณฑฺ การินา ภวติ พฺพ,ํ
อรหสฺสการนิ า ภวติ พฺพ,ํ
นริ วเสสการนิ า ภวิตพฺพ,ํ
‘ชเนมมิ ํ สิปฺเปส’ู ติ ชนกจติ ฺตํ อุปฏฺ เปตพพฺ ํ,
‘กถ ํ อยํ น ปรหิ าเยยยฺ า’ต ิ วฑฒฺ จิ ติ ตฺ ํ อุปฏฺ เปตพฺพ,ํ
‘พลวํ อิม ํ กโรม ิ สกิ ฺขาพเลนา’ติ จติ ฺตํ อุปฏฺ เปตพพฺ ํ,
เมตตฺ จิตฺต ํ อปุ ฏ ฺ เปตพพฺ ,ํ อาปทาสุ น วิชหติ พพฺ ,ํ
กรณเี ย นปฺปมชฺชติ พพฺ ,ํ
ขลิเต ธมฺเมน ปคคฺ เหตพโฺ พติ ฯ
252 มิลินทปัญหาปกรณ์แปล [๓.ลักขณปัญห
อิเม โข ภนเฺ ต ป จฺ วีสติ อาจริยสสฺ อาจริยคุณา, เตหิ คุเณห ิ มยิ สมมฺ า
ปฏิปชฺชสสฺ ,ุ สํสโย เม ภนเฺ ต อปุ ฺปนฺโน, อตถฺ ิ เมณฺฑกป ฺหา ชนิ ภาสิตา, อนาคเต
อทธฺ าเน ตตฺถ วคิ ฺคโห อุปปฺ ชฺชสิ ฺสต,ิ อนาคเต จ อทธฺ าเน ทุลลฺ ภา ภวิสฺสนตฺ ิ ตุมฺหาทสิ า
พทุ ฺธิมนฺโต, เตส ุ เม ป เฺ หสุ จกฺข ุํ เทห ิ ปรวาทานํ นิคฺคหายา’’ติ ฯ
พระคุณเจ้านาคเสน
๑. ผเู้ ป็นอาจารยค์ วรเขา้ ไปตงั้ การอารกั ขาศิษย์ไว้เป็นประจ�ำสม�่ำเสมอ
๒. พึงรู้จกั เวลาทไ่ี ม่ควรเสวนาและท่ีควรเสวนาด้วย
๓. พึงรู้วา่ ศษิ ยป์ ระมาทหรือไม่ประมาท
๔. พึงรจู้ ักโอกาสทด่ี ีกวา่
๕. พงึ รูถ้ งึ ความป่วยไข้
๖. พึงรู้ว่าศิษยไ์ ดข้ องกนิ ของใช้แล้วหรือยังไม่ได้
๗. พึงรคู้ วามแตกต่างกันของเหล่าศษิ ย์
๘. พงึ แบ่งปันอาหารท่มี อี ยู่ในบาตร
๙. พงึ ปลอบโยนศษิ ย์ เชน่ วา่ ‘เธออยา่ กลวั ไปเลย ผลท่ตี ้องการจะก้าวเขา้ มาหาเธอ
เอง’ ดังนีเ้ ป็นตน้
๑๐. พงึ รู้จกั บคุ คลผ้ทู ีศ่ ิษย์ตดิ ตอ่ ดว้ ยวา่ ‘ศษิ ย์ติดตอ่ อยกู่ บั บุคคลน้อี ย่’ู
๑๑. พงึ รู้จกั บคุ คลผู้ท่ศี ิษยต์ ดิ ตอ่ ดว้ ยในบ้าน
๑๒. พึงรู้จกั บุคคลผูท้ ี่ศิษยต์ ดิ ต่อดว้ ยในวัด
๑๓. ไมค่ วรหัวเราะคึกคะนองกบั ศษิ ยน์ ้นั
๑๔. ไม่ควรพูดคยุ เหมือนเพ่อื นกับศษิ ย์
๑๕. พบเหน็ ความผิด(ของศษิ ย์)แล้ว กค็ วรอดกลน้ั
๑๖. พงึ เปน็ ผู้มีปกติท�ำอยา่ งเคารพ
๑๗. พงึ เป็นผมู้ ีปกตทิ �ำอย่างไม่ขาดตอน
๑๘. พึงเป็นผมู้ ีปกตทิ �ำอย่างไม่ปิดบงั
๑๙. พงึ เป็นผมู้ ปี กติท�ำอยา่ งไมม่ ีเหลือ
๒๐. พึงเขา้ ไปต้ังจติ ให้เกดิ ข้ึนว่า ‘เราจะใหศ้ ษิ ยผ์ ู้น้ไี ดร้ ู้ในศิลปะทั้งหลาย’
๒๑. พงึ เขา้ ไปต้งั จติ คดิ แตใ่ หศ้ ษิ ยเ์ จรญิ วา่ ‘ศิษยผ์ ู้นจ้ี ะไมพ่ งึ เสื่อมได้อยา่ งไร’
๒๒. พึงเข้าไปตัง้ จติ คิดไวอ้ ย่างน้ีวา่ ‘เราจะท�ำศิษย์ผ้นู ้ใี ห้เปน็ คนมีก�ำลงั ด้วยก�ำลังคือ
กัณฑ]์ ลักขณปัญหกณั ฑ์ 253
การศึกษา’
๒๓. พึงเข้าไปต้ังเมตตาจติ ไว้ ไมล่ ะท้ิงศิษย์ในคราวมีอนั ตราย
๒๔. ไมพ่ ึงประมาทในกิจทคี่ วรท�ำ
๒๕. เม่อื ศิษยพ์ ลง้ั พลาด กพ็ ึงประคบั ประคองไวโ้ ดยธรรม ฉะน้แี ล
พระคณุ เจ้า อาจรยิ คุณของบุคคลผู้เป็นอาจารยม์ ี ๒๕ ข้อเหล่าน้แี ล ขอท่านจงปฏบิ ัติ
ชอบในโยมด้วยคณุ เหลา่ นน้ั เถดิ พระคณุ เจา้ โยมมีความสงสัยเกดิ ขึน้ แล้ว เมณฑกปญั หาท่ี
พระชนิ เจา้ ทรงภาษติ ไว้มีอยู่ ในอนาคตกาลจักเกดิ การจับผดิ กนั ในเมณฑกปัญหาน้ัน ทง้ั ใน
อนาคตกาล ภิกษุผูม้ ีความรูเ้ ช่นอย่างท่าน ก็จกั เป็นบคุ คลทีห่ าได้ยาก ขอท่านจงมอบดวงตา
ให้โยมไดม้ องเห็นในเมณฑกปญั หาเหล่านั้น เพ่ือจะใช้ข่มพวกปรวาทที งั้ หลายเถดิ ”
ปญจฺ วีสตอิ าจรยิ คุณปญโฺ ห ฉฏฺโ€ ฯ
จบปัญจวีสติอาจริยคณุ ปัญหาขอ้ ท่ี ๖
________
๗. ทสอปุ าสกคณุ ปญหฺ
๗. ทสอปุ าสกคณุ ปญั หา
ปญั หาว่าด้วยคุณธรรมของบคุ คลผเู้ ปน็ อบุ าสก ๑๐ ประการ
[๗] เถโร ‘‘สาธ’ู ’ต ิ สมปฺ ฏจิ ฺฉติ วฺ า ทส อุปาสกสฺส อุปาสกคุเณ ปรทิ เี ปสิ ฯ ‘‘ทส
อเิ ม มหาราช อุปาสกสฺส อุปาสกคุณา ฯ กตเม ทส ? อธิ มหาราช อุปาสโก สเํ ฆน
สมานสุขทกุ โฺ ข โหติ, ธมมฺ าธปิ เตยฺโย โหต,ิ ยถาพล ํ สวํ ภิ าครโต โหต,ิ ชนิ สาสนปรหิ านึ
ทิสฺวา อภวิ ฑฒฺ ยิ า วายมติ ฯ สมฺมาทิฏ ฺ ิโก โหติ, อปคตโกตหู ลมงฺคลิโก ชวี ติ เหตปุ ิ น
อ ฺ ํ สตฺถาร ํ อุทฺทสิ ติ, กายิกวาจสิก จฺ สฺส รกขฺ ิต ํ โหติ, สมคคฺ าราโม โหติ สมคฺครโต,
อนสุ ยู โก โหต,ิ น จ กหุ นวเสน สาสเน จรต,ิ พุทฺธ ํ สรณ ํ คโต โหติ, ธมฺม ํ สรณํ คโต
โหต,ิ สฆํ ํ สรณํ คโต โหติ ฯ อเิ ม โข มหาราช ทส อปุ าสกสฺส อปุ าสกคณุ า, เต
สพฺเพ คณุ า ตยิ สวํ ชิ ฺชนฺติ, ต ํ เต ยตุ ตฺ ํ ปตฺตํ อนจุ ฺฉวิกํ ปตริ ปู ํ ย ํ ตฺว ํ ชนิ สาสนปริหาน ึ
ทิสวฺ า อภิวฑฒฺ ึ อจิ ฉฺ ส,ิ กโรมิ เต โอกาส,ํ ปจุ ฺฉ ม ํ ตฺวํ ยถาสุขน”ฺ ติ ฯ
[๗] พระเถระถวายพระพรรบั วา่ “ถูกตอ้ งแลว้ ” ดังนแี้ ล้ว กไ็ ดแ้ สดงอปุ าสกคุณของผู้
เปน็ อุบาสก ๑๐ ประการว่า “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร อุปาสกคุณของผูเ้ ป็นอุบาสก ๑๐
254 มลิ นิ ทปัญหาปกรณแ์ ปล [๓.ลกั ขณปัญห
ประการเหล่าน,้ี ๑๐ ประการเป็นไฉน ? ขอถวายพระพร ผู้เป็นอุบาสกในพระศาสนานี้
๑. ยอ่ มเป็นผู้รว่ มสุขร่วมทกุ ขก์ บั พระสงฆ์
๒. ยอ่ มเปน็ ผู้มีธรรมเป็นใหญ่
๓. ย่อมเปน็ ผู้ยินดีในการแบง่ ปันตามสมควรแกก่ �ำลงั
๔. เห็นความเสือ่ มแห่งพระศาสนาของพระชนิ เจ้าแล้ว กพ็ ยายามเพอื่ จะช่วยใหเ้ จริญ
ยง่ิ ขน้ึ
๕. ย่อมเปน็ บุคคลผู้สมั มาทฏิ ฐิ ปราศจากการถอื มงคลต่นื ข่าว ไม่อ้างผอู้ ื่นวา่ เปน็
ศาสดา แม้เพราะเหตุแหง่ ชวี ิต
๖. มอี ันได้รักษาความประพฤติทางกายและทางวาจา
๗. มีความพรอ้ มเพรยี งเป็นท่ียินดี ยนิ ดใี นความพรอ้ มเพรยี ง
๘. เป็นคนไมม่ กั ริษยา
๙. ไมป่ ระพฤตใิ นพระศาสนาดว้ ยอ�ำนาจความหลอกลวง
๑๐. เป็นผู้ถงึ พระพุทธเจา้ วา่ เป็นสรณะ ถงึ พระธรรมวา่ เปน็ สรณะ ถึงพระสงฆ์ว่าเปน็
สรณะ
ขอถวายพระพรมหาบพติ ร อุปาสกคุณของบคุ คลผเู้ ปน็ อุบาสกมี ๑๐ ประการเหล่านี้
แล คณุ ท้ังหลายทัง้ ปวงเหล่านนั้ ก็มีอยูใ่ นพระองค์ ข้อท่พี ระองคท์ รงพบเห็นความเสื่อมแห่ง
พระศาสนาของพระชินเจา้ แลว้ กท็ รงหวังซ่งึ ความเจริญยง่ิ ขึ้น จดั เป็นข้อทถ่ี กู ตอ้ ง เปน็ ขอ้ ที่
ควรถึง เป็นขอ้ ทีเ่ หมาะ เป็นข้อทีค่ วรของพระองค์ อาตมภาพขอถวายพระพร กระท�ำโอกาส
แกพ่ ระองค์ ขอพระองคจ์ งซักถามอาตมภาพตามสะดวกพระทยั เถิด”
ทสอปุ าสกคณุ ปญฺโห สตฺตโม ฯ
จบทสอปุ าสกคณุ ปญั หาข้อท่ี ๗
ลกฺขณปญฺหกณโฺ ฑ นิฏฺ€โิ ต ฯ
จบลักขณปญั หกณั ฑ์
________
กัณฑ]์ ๔.๑ อิทธิพลวรรค 255
๔. เมณฺฑกปญหฺ กณฑฺ กณั ฑเ์ มณฑกปัญหา
๔.๑ อิทฺธิพลวคคฺ
๔.๑ อิทธพิ ลวรรค หมวดวา่ ด้วยก�ำลังฤทธิ์
๑. กตาธิการสผลปญฺห
๑. กตาธิการสผลปญั หา (วัญฌาวัญฌภาวปญั หา)
ปญั หาว่าด้วยอธิการท่บี ุคคลไดก้ ระท�ำเป็นของมผี ล
[๑] อถ โข มิลนิ ฺโท ราชา กตาวกาโส นปิ จฺจ ครุโน ปาเท สิรส ิ อ ฺชล ึ กตวฺ า
เอตทโวจ ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน อเิ ม ตติ ถฺ ิยา เอวํ ภณนฺติ ‘ยท ิ พุทฺโธ ปชู ํ สาทยิ ต,ิ น
ปรนิ ิพพฺ โุ ต พุทฺโธ สํยุตโฺ ต โลเกน อนฺโตภวิโก โลกสฺม ึ โลกสาธารโณ, ตสมฺ า ตสสฺ กโต
อธิกาโร อว ฺโฌ ภวต ิ สผโล ฯ ยทิ ปรนิ พิ ฺพโุ ต วสิ ยํ ตุ โฺ ต โลเกน นิสสฺ โฏ สพพฺ ภเวหิ ตสสฺ
ปชู า นุปปฺ ชชฺ ต,ิ ปรินิพฺพุโต น กิ จฺ ิ สาทยิ ติ, อสาทยิ นตฺ สสฺ กโต อธิกาโร ว ฺโฌ ภวต ิ
อผโล’ต ิ อุภโต โกฏิโก เอโส ป โฺ ห, เนโส วสิ โย อปปฺ ตฺตมานสานํ, มหนฺตานเํ ยเวโส
วสิ โย, ภนิ ฺเทตํ ทฏิ ฺ ชิ าลํ เอกํเส ปย, ตเวโส ป ฺโห อนุปฺปตโฺ ต, อนาคตานํ ชนิ ปุตฺตาน ํ
จกฺข ํุ เทห ิ ปรวาทนคิ คฺ หายา’’ติ ฯ
[๑] ครั้งน้ันแล พระเจ้ามิลินท์ พอท่านพระนาคเสนเถระถวายพระพรเปดิ โอกาสแล้ว
กท็ รงหมอบลงแทบเทา้ ท่านผู้เป็นครู ทรงกระท�ำพระอญั ชลไี ว้เหนือพระเศียร ไดต้ รสั พระ
ด�ำรัสนว้ี า่ “พระคณุ เจา้ นาคเสน พวกเดียรถยี ์เหลา่ นีพ้ ากันกล่าวอยา่ งน้ีว่า ‘ถา้ พระพทุ ธเจา้
ยงั ทรงยินดีการบชู าไซร้ พระพุทธเจ้าก็ทรงยงั ไมเ่ สด็จดับขนั ธปรินิพพาน ยงั ทรงประกอบอยู่
กับโลก ยังทรงมีอยู่ในโลก ยังทรงสาธารณะอยดู่ ้วยโลก เพราะฉะนั้น อธิการ (การกระท�ำทยี่ ่ิง
มีการให้ การบชู า เปน็ ต้น) ทีบ่ คุ คลกระท�ำต่อพระพุทธเจ้านนั้ ก็ไม่เปน็ หมัน มผี ลได้ ถ้าหากวา่
พระพทุ ธเจา้ เสดจ็ ดบั ขนั ธปรินพิ พานแลว้ ไมท่ รงประกอบกับโลกแล้ว ทรงสลัดออกไปจากภพ
ท้งั ปวงแล้ว การบชู าพระพทุ ธเจา้ นน้ั กไ็ ม่เกิดผล พระพทุ ธเจ้าผเู้ สดจ็ ดบั ขนั ธปรนิ ิพพานแล้ว
จะทรงยินดกี ารกระท�ำอะไร ๆ มิได้ อธิการทีบ่ คุ คลกระท�ำต่อพระพทุ ธเจา้ ผไู้ ม่ทรงยินดอี ยู่
ย่อมเป็นหมนั ไมม่ ีผล’ ดังน้ี ปัญหานมี้ ี ๒ เง่ือน ปัญหานีม้ ใิ ช่วสิ ัยของบุคคลผู้มใี จยังไมบ่ รรลุ
ปญั หาน้ีเป็นวสิ ยั ของทา่ นผปู้ ระเสรฐิ ท้งั หลายเทา่ น้ัน ขอทา่ นจงท�ำลายข่ายคอื ทิฏฐินี้ ขอจง
ด�ำรงไวแ้ ต่ฝา่ ยเดยี วเถิด ปัญหาน้ี ตกถงึ แกท่ า่ นแลว้ ขอทา่ นจงให้ดวงตาแกภ่ กิ ษใุ นอนาคต
256 มิลนิ ทปัญหาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปัญห
ทัง้ หลาย ผเู้ ปน็ ชนิ บุตร เพือ่ ใชข้ ม่ วาทะของฝา่ ยอืน่ เถดิ ”
เถโร อาห ‘‘ปรนิ ิพพฺ โุ ต มหาราช ภควา, น จ ภควา ปชู ํ สาทยิ ติ, โพธมิ เู ลเยว
ตถาคตสฺส สาทยิ นา ปหีนา, กึ ปน อนปุ าทเิ สสาย นิพฺพานธาตยุ า ปรินพิ ฺพุตสสฺ ฯ
พระเถระถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร พระผ้มู ีพระภาคเจ้าเสด็จดบั
ขันธปรินพิ พานแล้ว อน่ึง พระผมู้ ีพระภาคเจ้าไม่ทรงยินดีการบูชา ความยนิ ดี พระตถาคต
กท็ รงละได้แลว้ ทีโ่ คนตน้ โพธิ์นั่นแหละ จะมีประโยชน์อะไรส�ำหรับพระตถาคตผ้เู สด็จดับขนั ธ-
ปรินิพพานไปแลว้ ด้วยอนปุ าทิเสสนิพพานธาตเุ ล่า
ภาสติ มฺเปต ํ มหาราช เถเรน สารปิ ุตฺเตน ธมฺมเสนาปตนิ า –
‘‘ปูชิยนตฺ า อสมสมา สเทวมานุเสหิ เต
น สาทิยนฺต ิ สกฺการํ พุทฺธานํ เอส ธมมฺ ตา’’ติ ฯ
ขอถวายพระพรมหาบพติ ร ท่านพระสารบี ุตรเถระผ้เู ป็นพระธรรมเสนาบดี ไดภ้ าษติ
ความข้อนไ้ี ว้วา่
“พระพทุ ธเจา้ ทัง้ หลายเหล่านน้ั ทรงเป็นผทู้ ่ีไม่มบี ุคคลอน่ื เสมอ
เหมอื น ผ้ทู ี่มนษุ ยพ์ ร้อมทง้ั เทวดาทัง้ หลายพากันบูชา ยอ่ มไม่
ทรงยินดีสกั การะ ขอ้ ทวี่ า่ น้ี จดั เปน็ ธรรมดาส�ำหรับพระพทุ ธเจ้า
ท้งั หลาย”
ราชา อาห ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน ปุตฺโต วา ปิตุโน วณฺณํ ภาสติ, ปิตา วา ปตุ ฺตสสฺ
วณฺณํ ภาสติ, น เจตํ การณํ ปรวาทานํ นคิ ฺคหาย, ปสาทปปฺ กาสนํ นาเมตํ, อิงฺฆ เม ตฺว ํ
ตตฺถ การณํ สมฺมา พรฺ ูห ิ สกวาทสฺส ปติฏฺ าปนาย ทฏิ ฺ ิชาลวนิ เิ ว นายา’’ติ ฯ
พระราชาตรัสวา่ “พระคณุ เจ้านาคเสน ธรรมดาว่า บุตรกย็ อ่ มกล่าวสรรเสริญคณุ ของ
บดิ า หรือว่า บิดากย็ ่อมกลา่ วสรรเสรญิ คณุ ของบุตร ค�ำที่ทา่ นกลา่ วมานีย้ งั ใช้เป็นเหตเุ พอื่ ขม่
วาทะของฝา่ ยอน่ื มไิ ดห้ รอก ค�ำนนั่ ช่ือวา่ เปน็ ค�ำป่าวประกาศด้วยความเลื่อมใส นิมนต์เถดิ ขอ
ท่านจงช่วยบอกเหตใุ นปัญหานนั้ อยา่ งทถ่ี กู ตอ้ งแกโ่ ยมดว้ ยเถดิ เพ่ืออนั ด�ำรงไว้ซงึ่ วาทะฝา่ ย
ตน เพือ่ อนั เปล้อื งข่ายคือความเห็นผิด”
เถโร อาห ‘‘ปรินพิ ฺพโุ ต มหาราช ภควา น จ ภควา ปชู ํ สาทยิ ติ,
อสาทยิ นตฺ สเฺ สว ตถาคตสฺส เทวมนสุ ฺสา ธาตุรตน ํ วตฺถํุ กรติ วฺ า ตถาคตสสฺ าณ-
รตนารมมฺ เณน สมมฺ าปฏิปตตฺ ึ เสวนฺตา ติสโฺ ส สมปฺ ตฺติโย ปฏลิ ภนฺติ ฯ
กัณฑ]์ ๔.๑ อิทธิพลวรรค 257
พระเถระถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร พระผู้มีพระภาคเจา้ เสดจ็ ดบั
ขนั ธปรนิ ิพพานแล้ว และพระผมู้ พี ระภาคเจ้ากไ็ ม่ทรงยนิ ดีการบูชา เทวดาและมนุษยท์ ัง้ หลาย
ได้ท�ำแกว้ คอื พระธาตุของพระตถาคตผูไ้ มท่ รงยินดีในการบชู าให้เป็นทต่ี ง้ั อาศยั สอ้ งเสพขอ้
ปฏบิ ัตชิ อบ โดยมแี กว้ คือพระญาณของพระตถาคตให้เป็นอารมณ์อยู่ ก็ยอ่ มได้สมบตั ิ ๓ อย่าง
‘‘ยถา มหาราช มหติมหาอคฺคิกฺขนโฺ ธ ปชชฺ ลติ ฺวา นิพฺพาเยยฺย, อปิ นุ โข โส
มหาราช มหาอคฺคกิ ฺขนโฺ ธ สาทิยต ิ ติณกฏ ฺ ปุ าทานนฺ’’ติ ?
ขอถวายพระพร เปรยี บเหมือนวา่ กองไฟใหญล่ ุกโพลงแลว้ กด็ ับไป ขอถวายพระพร
กองไฟใหญ่น้นั ย่อมยนิ ดีเช้ือคือหญ้าและไมห้ รือไร ?”
‘‘ชลมาโนปิ โส ภนเฺ ต มหาอคคฺ กิ ขฺ นโฺ ธ ติณกฏ ฺ ุปาทาน ํ น สาทยิ ติ, ก ึ ปน
นิพพฺ โุ ต อุปสนโฺ ต อเจตโน สาทิยติ ?
พระเจ้ามลิ นิ ทต์ รสั ว่า “พระคุณเจ้า กองไฟใหญน่ ัน้ แม้ยังลกุ โพลงอยู่ ก็หายินดเี ชือ้ คือ
หญา้ และไม้ไม่ จะกล่าวไปไยถงึ กองไฟทดี่ บั แล้ว สงบแลว้ หาเจตนามไิ ดเ้ ลา่ ท่จี ะยนิ ดหี รอื ”
‘‘ตสฺม ึ ปน มหาราช อคฺคกิ ฺขนฺเธ อุปรเต อปุ สนเฺ ต โลเก อคฺคิ ส ุ โฺ โหตี’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร เมอ่ื กองไฟน้นั ดบั แล้ว สงบแลว้ ไฟก็
เป็นอันสญู หายไปในโลกหรือ ?”
‘‘น หิ ภนฺเต กฏ ฺ ํ อคคฺ ิสสฺ วตถฺ ุ โหติ อปุ าทาน,ํ เย เกจิ มนสุ สฺ า อคฺคกิ ามา, เต
อตตฺ โน ถามพลวรี ิเยน ปจฺจตฺตปุรสิ กาเรน กฏฺ ํ มนถฺ ยติ ฺวา อคฺคึ นพิ ฺพตเฺ ตตวฺ า เตน
อคคฺ นิ า อคคฺ ิกรณยี านิ กมฺมานิ กโรนฺต’ี ’ติ ฯ
พระเจา้ มิลนิ ท์ตรัสวา่ “หามไิ ด้พระคุณเจ้า ไม้แหง้ อนั เปน็ ที่ตั้งอาศัยแห่งไฟ เปน็ เชอ้ื ไฟ
ก็มอี ย ู่ พวกมนุษย์เหลา่ ใดเหล่าหนึ่ง เป็นผูม้ ีความตอ้ งการไฟ พวกมนุษยเ์ หลา่ นน้ั ยอ่ มใช้
เร่ยี วแรงก�ำลังและความพยายามของตน สีไม้แห้ง โดยวิธกี ารเฉพาะของแต่ละคน ท�ำไฟให้
บังเกดิ ไดแ้ ล้ว กใ็ ชไ้ ฟนนั้ ท�ำการงานท่ีต้องท�ำด้วยไฟได้
‘‘เตนห ิ มหาราช ตติ ฺถยิ าน ํ วจน ํ มิจฉฺ า ภวติ ‘อสาทยิ นฺตสฺส กโต อธกิ าโร ว โฺ ฌ
ภวต ิ อผโล’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร ถา้ อย่างนน้ั ค�ำพดู ของเดยี รถียท์ วี่ ่า
‘อธิการทบ่ี ุคคลท�ำต่อพระพุทธเจ้า ผู้ไม่ทรงยนิ ดอี ยู่ ยอ่ มเป็นหมัน ไม่มีผล’ ดงั น้ี ก็ยอ่ มเปน็ ค�ำ
258 มลิ นิ ทปญั หาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปญั ห
พูดทีผ่ ิด
ยถา มหาราช มหตมิ หาอคคฺ ิกขฺ นฺโธ ปชฺชล,ิ เอวเมว ภควา ทสสหสสฺ ยิ า
โลกธาตยุ า พุทธฺ สิรยิ า ปชชฺ ลิ ฯ
ขอถวายพระพร กองไฟใหญย่ ิง่ ยอ่ มลุกโพลง ฉนั ใด แม้พระผูม้ ีพระภาคเจา้ ก็ทรงลกุ
โพลงดว้ ยพระพทุ ธสริ ใิ นหม่ืนโลกธาตุ ฉันนน้ั เหมอื นกนั
ยถา มหาราช มหตมิ หาอคฺคกิ ฺขนฺโธ ปชฺชลิตวฺ า นพิ พฺ โุ ต, เอวเมว ภควา
ทสสหสฺสิยา โลกธาตุยา พุทฺธสิรยิ า ปชฺชลติ วฺ า อนปุ าทิเสสาย นพิ พฺ านธาตุยา
ปรนิ ิพพฺ โุ ต ฯ ยถา มหาราช นิพพฺ โุ ต อคคฺ กิ ขฺ นโฺ ธ ตณิ กฏ ฺ ปุ าทาน ํ น สาทยิ ติ, เอวเมว
โข โลกหิตสฺส สาทยิ นา ปหนี า อปุ สนฺตา ฯ ยถา มหาราช มนสุ ฺสา นิพฺพเุ ต อคคฺ ิกฺขนฺเธ
อนปุ าทาเน อตฺตโน ถามพลวรี เิ ยน ปจฺจตตฺ ปรุ ิสกาเรน กฏฺ ํ มนฺถยติ วฺ า อคคฺ ึ
นพิ พฺ ตฺเตตวฺ า เตน อคคฺ นิ า อคฺคกิ รณียาน ิ กมฺมาน ิ กโรนตฺ ,ิ เอวเมว โข เทวมนุสฺสา
ตถาคตสสฺ ปรินพิ พฺ ตุ สฺส อสาทยิ นฺตสเฺ สว ธาตรุ ตนํ วตถฺ ุํ กริตวฺ า ตถาคตสฺส าณ-
รตนารมฺมเณน สมฺมาปฏิปตฺตึ เสวนตฺ า ตสิ โฺ ส สมปฺ ตฺติโย ปฏิลภนฺต,ิ อิมินาปิ มหาราช
การเณน ตถาคตสสฺ ปรนิ พิ ฺพุตสฺส อสาทิยนตฺ สเฺ สว กโต อธิกาโร อว โฺ ฌ ภวติ สผโล ฯ
ขอถวายพระพร กองไฟใหญย่ ิ่งยอ่ มลุกโพลงแลว้ กด็ บั ไป ฉันใด พระผมู้ พี ระภาคเจ้า
ก็ทรงลกุ โพลงด้วยพระพุทธสริ ทิ สี่ อ่ งไปได้ตลอดหมนื่ โลกธาตุ แลว้ ก็เสด็จดบั ขันธปรินิพพาน
ดว้ ยอนปุ าทิเสสนิพพานธาตุ ฉนั นั้นเหมอื นกนั , ขอถวายพระพร กองไฟที่ดบั แล้วยอ่ มไมย่ นิ ดี
เชือ้ คือหญา้ และไม้ ฉนั ใด พระผมู้ ีพระภาคเจา้ ทรงมนี �ำ้ พระทัยเกอ้ื กูลแก่ชาวโลก กท็ รงละ
ความยนิ ดี ทรงสงบความยินดไี ด้ดว้ ยแล้ว ฉนั นั้นเหมือนกนั , ขอถวายพระพร เปรยี บเหมือน
ว่า เม่อื กองไฟไมม่ ีเช้ือ ดับไปแล้ว คนท้งั หลายก็ใชเ้ ร่ียวแรงก�ำลังและความพยายามของตนสี
ไม้ โดยวธิ ีการเฉพาะของแตล่ ะคน ท�ำไฟใหบ้ งั เกดิ ได้ แล้วกใ็ ช้ไฟนั้นท�ำการงานทง้ั หลาย
ทตี่ อ้ งท�ำด้วยไฟได้ ฉันใด เทวดาและมนษุ ย์ท้งั หลาย ได้กระท�ำพระธาตรุ ัตนะของพระตถาคต
ผ้เู สด็จดับขันธปรนิ พิ พานแล้ว ไมท่ รงยนิ ดอี ยเู่ ทียว ให้เป็นท่ตี ง้ั อาศยั สอ้ งเสพขอ้ ปฏบิ ัติชอบ
กย็ ่อมไดร้ บั สมบตั ิ ๓ อยา่ ง เพราะพระญาณรตั นะของพระตถาคตเป็นอารมณ์ ฉนั นั้นเหมอื น
กัน, ขอถวายพระพร แมเ้ พราะเหตนุ ี้ อธกิ ารที่บคุ คลท�ำตอ่ พระผมู้ พี ระตถาคต ผู้เสด็จดับขนั ธ-
ปรนิ พิ พานแลว้ ผูไ้ มท่ รงยนิ ดีอยู่น่ันแหละ เปน็ ของไมเ่ ป็นหมัน เปน็ ของมีผล
กัณฑ์] ๔.๑ อทิ ธพิ ลวรรค 259
‘‘อปรมปฺ ิ มหาราช อตุ ตฺ ร ึ การณํ สโุ ณห ิ เยน การเณน ตถาคตสฺส ปรินิพฺพตุ สสฺ
อสาทิยนตฺ สฺเสว กโต อธกิ าโร อว ฺโฌ ภวต ิ สผโล ฯ ยถา มหาราช มหตมิ หาวาโต
วายติ ฺวา อปุ รเมยฺย, อป ิ น ุ โข โส มหาราช อุปรโต วาโต สาทยิ ต ิ ปนุ
นิพฺพตฺตาปนน’ฺ ’ติ ?
ขอถวายพระพร ขอพระองคจ์ งทรงสดับเหตแุ ม้อย่างอนื่ ทยี่ ง่ิ อกี หน่อยเถิด ซง่ึ เปน็ เหตุ
แหง่ อธกิ ารที่บุคคลท�ำแลว้ ตอ่ พระตถาคตผ้เู สด็จดบั ขันธปรนิ ิพพานไปแลว้ ผู้ไม่ทรงยินดอี ยู่
เลย ยอ่ มไมเ่ ป็นหมนั เป็นของมผี ล ขอถวายพระพร เปรียบเหมือนว่า ลมใหญ่ ๆ พดั ไปแลว้ ก็
ขาดหายไป ขอถวายพระพร ลมทีข่ าดหายไปแล้วนนั้ ย่อมยนิ ดกี ารท�ำให้บังเกดิ อีกหรอื หนอ
แล”
‘‘น หิ ภนฺเต อปุ รตสสฺ วาตสสฺ อาโภโค วา มนสิกาโร วา ปนุ นิพพฺ ตตฺ าปนาย’’
ฯ ‘‘ก ึ การณํ’’ ? ‘‘อเจตนา สา วาโยธาตู’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ นิ ท์ตรัสวา่ “พระคณุ เจ้า ลมที่ขาดหายไปแล้วนั้น ไม่มีการค�ำนงึ ถงึ หรอื ไมม่ ี
การใสใ่ จ เพอ่ื จะท�ำให้บังเกิดอีก, ถามวา่ “เพราะเหตไุ ร ?” ตอบว่า “เพราะเหตุวา่ ธาตุลมนั้น
เป็นส่ิงที่หาเจตนามิได”้
‘‘อป ิ นุ ตสฺส มหาราช อุปรตสฺส วาตสสฺ ‘วาโตติ สม ฺ า อปคจฺฉต’ี ’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร ชอ่ื ว่าลม แห่งลมทข่ี าดหายไปแล้วนั้น
พลอยขาดหายไปดว้ ยหรือไม่หนอ ?”
‘‘น หิ ภนเฺ ต ตาลวณฺฏวธิ ูปนาน ิ วาตสสฺ อุปปฺ ตฺติยา ปจฺจยา, เย เกจ ิ มนุสฺสา
อณุ ฺหาภิตตตฺ า ปรฬิ าหปรปิ ีฬิตา, เต ตาลวณฺเฏน วา วธิ ูปเนน วา อตฺตโน ถามพลวรี ิเยน
ปจจฺ ตฺตปุริสกาเรน ตํ นิพฺพตเฺ ตตวฺ า เตน วาเตน อุณหฺ ํ นพิ ฺพาเปนตฺ ิ ปริฬาห ํ
วูปสเมนตฺ ’ี ’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ นิ ท์ตรัสวา่ “หามไิ ด้ พระคณุ เจ้า พดั ใบตาลและเครอ่ื งเป่าลมซ่ึงเปน็ ปจั จยั
แก่ความเกดิ ขนึ้ แหง่ ลม มีอยู่ พวกมนษุ ยท์ ถ่ี ูกความรอ้ นบบี คัน้ เพราะอากาศร้อนอบอ้าว พวก
มนษุ ย์เหลา่ นั้นย่อมใชพ้ ัดใบตาลบ้าง เคร่ืองเป่าลมบา้ ง ท�ำลมนน้ั ให้บังเกดิ โดยวิธีการเฉพาะ
ของแตล่ ะคน โดยเรีย่ วแรงก�ำลังและความพยายามของตนได้แลว้ ก็ยอ่ มดบั อากาศรอ้ น ย่อม
สงบความร้อนด้วยลมน้ันได”้
260 มลิ ินทปญั หาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปญั ห
‘‘เตนหิ มหาราช ติตถฺ ยิ านํ วจน ํ มิจฺฉา ภวติ ‘อสาทยิ นฺตสฺส กโต อธิกาโร
ว โฺ ฌ ภวติ อผโล’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร ถ้าอย่างนั้น ค�ำพูดของเดยี รถยี ์ท่วี ่า
‘อธกิ ารท่บี ุคคลกระท�ำต่อพระพทุ ธเจ้าผไู้ มท่ รงยนิ ดอี ยู่ ย่อมเปน็ หมัน ไม่มผี ล’ ดงั น้ี กย็ ่อมจะ
เป็นค�ำพดู ทีผ่ ดิ ”
‘‘ยถา มหาราช มหติมหาวาโต วายิ, เอวเมว ภควา ทสสหสฺสยิ า โลกธาตยุ า
สตี ลมธรุ สนตฺ สขุ มุ เมตฺตาวาเตน อุปวายิ ฯ
ขอถวายพระพร ลมใหญ่ ๆ ได้พัดไปแล้ว ฉนั ใด พระผ้มู ีพระภาคเจา้ กท็ รงมลี มคอื พระ
เมตตาท่ีเยอื กเยน็ นุ่มนวล แผว่ เบา และละเอยี ด พดั ไปในหมนื่ โลกธาตุ กฉ็ นั นน้ั เหมอื นกัน
ยถา มหาราช มหตมิ หาวาโต วายติ วฺ า อปุ รโต, เอวเมว ภควา สีตลมธุรสนฺต-
สุขุมเมตตฺ าวาเตน อุปวายิตวฺ า อนปุ าทิเสสาย นิพฺพานธาตยุ า ปรนิ ิพฺพโุ ต ฯ ยถา มหาราช
อุปรโต วาโต ปนุ นิพฺพตตฺ าปนํ น สาทิยต,ิ เอวเมว โลกหิตสฺส สาทิยนา ปหนี า
อุปสนฺตา ฯ ยถา มหาราช เต มนสุ ฺสา อณุ หฺ าภิตตฺตา ปรฬิ าหปรปิ ฬี ิตา, เอวเมว
เทวมนสุ สฺ า ติวธิ คฺคิสนฺตาปปรฬิ าหปรปิ ีฬติ า ฯ ยถา ตาลวณฺฏวธิ ูปนานิ วาตสฺส
นพิ ฺพตฺตยิ า ปจฺจยา โหนตฺ ,ิ เอวเมว ตถาคตสสฺ ธาต ุ จ าณรตน จฺ ปจฺจโย โหต ิ
ตสิ สฺ นฺนํ สมฺปตตฺ นี ํ ปฏลิ าภาย ฯ ยถา มนุสฺสา อุณฺหาภิตตตฺ า ปรฬิ าหปริปฬี ิตา
ตาลวณเฺ ฏน วา วิธูปเนน วา วาต ํ นิพพฺ ตฺเตตวฺ า อณุ หฺ ํ นิพฺพาเปนตฺ ิ ปริฬาหํ วปู สเมนฺติ,
เอวเมว เทวมนุสฺสา ตถาคตสสฺ ปรินพิ ฺพุตสสฺ อสาทิยนตฺ สฺเสว ธาตุ จฺ าณรตน ฺจ
ปูเชตวฺ า กสุ ล ํ นพิ พฺ ตเฺ ตตวฺ า เตน กุสเลน ตวิ ิธคคฺ สิ นฺตาปปริฬาหํ นิพฺพาเปนตฺ ิ
วปู สเมนตฺ ิ ฯ อิมนิ าปิ มหาราช การเณน ตถาคตสฺส ปรินิพพฺ ุตสสฺ อสาทิยนฺตสเฺ สว กโต
อธกิ าโร อว โฺ ฌ ภวติ สผโลติ ฯ
ขอถวายพระพรมหาบพิตร ลมใหญ่ ๆ พัดไปแลว้ ก็ขาดหายไป ฉนั ใด พระผ้มู พี ระ
ภาคเจ้าทรงมีลมคอื พระเมตตาทเ่ี ยือกเย็น นุ่มนวล แผ่วเบา และละเอยี ด พัดไปแล้ว กเ็ สด็จ
ดบั ขนั ธปรินิพพาน ด้วยอนุปาทเิ สสนิพพานธาตุ ฉันน้นั เหมือนกัน ขอถวายพระพร ลมท่ขี าด
หายไปแล้ว ยอ่ มไมย่ นิ ดกี ารท�ำให้บังเกดิ อกี ฉนั ใด พระผมู้ ีพระภาคเจ้าผูท้ รงมนี �ำ้ พระทยั
เก้ือกลู แกช่ าวโลก ก็ทรงละ ทรงสงบความยนิ ดไี ด้แล้ว ฉนั นน้ั เหมือนกนั ขอถวายพระพร
มนษุ ย์ทั้งหลายเปน็ ผถู้ กู ความรอ้ นบีบคน้ั เพราะอากาศร้อนอบอ้าว ฉันใด เทวดาและมนุษย์
กัณฑ์] ๔.๑ อิทธพิ ลวรรค 261
ทั้งหลาย เปน็ ผู้ถูกความรอ้ นจากความเผาไหมแ้ หง่ ไฟ ๓ กองบบี ค้นั ฉนั นัน้ เหมือนกัน พัด
ใบตาลและเคร่ืองเปา่ ลม ยอ่ มเป็นปจั จัยแกค่ วามเกดิ ขน้ึ แหง่ ลม ฉนั ใด พระธาตแุ ละพระญาณ
รตั นะของพระตถาคต ย่อมเป็นปัจจัยเพือ่ การได้มาซ่งึ สมบตั ิ ๓ อย่าง ฉันน้นั เหมือนกนั มนษุ ย์
ทัง้ หลายผถู้ กู ความรอ้ นบบี คัน้ เพราะอากาศรอ้ นอบอา้ ว ย่อมใชพ้ ดั ใบตาลบ้าง เคร่อื งเปา่ ลม
บ้าง ท�ำใหล้ มบงั เกดิ ได้แล้ว ก็ย่อมดับอากาศร้อน ยอ่ มท�ำความรอ้ นให้สงบได้ ฉนั ใด เทวดา
และมนษุ ยท์ ้งั หลาย บชู าพระธาตุ และพระญาณรตั นะของพระตถาคต ผ้เู สดจ็ ดับขนั ธ-
ปรินิพพานแลว้ ผูไ้ ม่ทรงยินดอี ยเู่ ลย ท�ำกุศลให้บงั เกิด ก็ย่อมดบั ย่อมท�ำความรอ้ นจากความ
เผาไหมแ้ หง่ ไฟ ๓ กองให้สงบ ดว้ ยกศุ ลนัน้ ได้ ฉนั นน้ั เหมอื นกัน ขอถวายพระพร เพราะเหตุ
แม้น้ี อธิการท่บี คุ คลกระท�ำตอ่ พระตถาคตผเู้ สด็จดบั ขันธปรินพิ พานแล้ว ผูไ้ ม่ทรงยนิ ดีอย่นู ั่น
แหละ กย็ อ่ มไม่เป็นหมนั เปน็ ของมผี ล
‘‘อปรมปฺ ิ มหาราช อุตตฺ ร ึ การณ ํ สโุ ณห ิ ปรวาทานํ นิคคฺ หาย ฯ ยถา มหาราช
ปรุ โิ ส เภร ึ อาโกเฏตวฺ า สททฺ ํ นิพฺพตเฺ ตยฺย, โย โส เภรสิ ทฺโท ปรุ เิ สน นพิ ฺพตตฺ ิโต, โส
สทโฺ ท อนฺตรธาเยยยฺ , อป ิ นุ โข โส มหาราช สทโฺ ท สาทิยต ิ ปนุ นพิ พฺ ตฺตาปนนฺ’’ติ ?
ขอถวายพระพร ขอพระองค์จงทรงสดับเหตุแมอ้ ย่างอ่ืนยง่ิ อีกหน่อยเถดิ เพอ่ื อันข่ม
เสียซึ่งวาทะฝา่ ยอน่ื ทง้ั หลาย, ขอถวายพระพร เปรยี บเหมือนว่า บุรษุ คนหน่ึงตกี ลองให้บงั เกิด
เสียงดงั เสียงกลองที่บุรษุ ท�ำใหบ้ งั เกิดแล้วนั้น จะพงึ เงียบหายไป, ขอถวายพระพร เสียงท่ี
เงียบหายไปแลว้ นัน้ ย่อมยนิ ดีการท�ำใหบ้ ังเกิดอีกหรือหนอ ?”
‘‘น หิ ภนฺเต อนฺตรหโิ ต โส สทฺโท, นตฺถ ิ ตสสฺ ปนุ อุปฺปาทาย อาโภโค วา
มนสิกาโร วา, สก ึ นพิ พฺ ตฺเต เภรสิ ทฺเท อนตฺ รหเิ ต โส เภริสทฺโท สมุจฺฉนิ โฺ น โหติ ฯ
เภรี ปน ภนเฺ ต ปจฺจโย โหต ิ สทฺทสฺส นิพฺพตตฺ ยิ า, อถ ปรุ โิ ส ปจจฺ เย สต ิ อตฺตเชน
วายาเมน เภร ึ อาโกเฏตฺวา สททฺ ํ นิพฺพตฺเตตี’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ นิ ทต์ รัสว่า “หามิได้ พระคณุ เจา้ เสยี งน้นั เงยี บหายไปแลว้ เสยี งทีเ่ งยี บหาย
ไปแลว้ นัน้ ย่อมไมม่ กี ารค�ำนงึ ถงึ หรือการใส่ใจ เพอ่ื จะท�ำใหเ้ กดิ ขึ้นอีก เมอ่ื เสยี งกลองเกดิ ดัง
ขึน้ มาครัง้ หน่ึง แล้วเงยี บหายไป เสยี งกลองนั้นกเ็ ปน็ อันขาดสายไปแล้ว พระคณุ เจา้ ก็แตว่ า่
กลองซงึ่ เป็นปจั จัยแก่ความบงั เกิดแหง่ เสยี ง ก็ยงั มีอยู่ ล�ำดบั นั้น เม่อื ปัจจยั มีอยู่ บรุ ุษก็ใช้ความ
พยายามที่เกิดในตนเอง ตีกลองให้เกดิ เสียงไดอ้ กี ”
262 มลิ นิ ทปัญหาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปัญห
‘‘เอวเมว โข มหาราช ภควา สลี สมาธปิ ฺ าวมิ ุตตฺ วิ ิมุตฺต ิ าณทสฺสนปริภาวติ ํ
ธาตรุ ตน ฺจ ธมฺม จฺ วินย จฺ อนสุ ิฏ ฺ จฺ สตฺถาร ํ ปยิตวฺ า สย ํ อนุปาทเิ สสาย
นิพฺพานธาตุยา ปรินิพฺพโุ ต, น จ ปรินพิ พฺ ุเต ภควต ิ สมปฺ ตฺตลิ าโภ อปุ จฉฺ ินโฺ น โหต,ิ
ภวทุกขฺ ปฏปิ ฬี ติ า สตฺตา ธาตรุ ตน จฺ ธมฺม จฺ วนิ ย จฺ อนสุ ิฏ ฺ จฺ ปจฺจย ํ กริตวฺ า
สมฺปตตฺ กิ ามา สมปฺ ตฺติโย ปฏิลภนตฺ ิ, อิมนิ าปิ มหาราช การเณน ตถาคตสฺส ปรนิ ิพพฺ ตุ สสฺ
อสาทิยนตฺ สเฺ สว กโต อธกิ าโร อว โฺ ฌ ภวติ สผโลติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร ก็เหมอื นกันอยา่ งนน้ั น่นั แหละ พระผมู้ ี
พระภาคเจ้าก็ทรงตั้งพระธาตรุ ัตนะ คอื พระธรรมและพระวนิ ัยทีท่ รงอนศุ าสนไ์ ว้ ทพี่ ระองคท์ รง
ใชศ้ ลี สมาธิ ปัญญา วิมุตติ และวิมตุ ติญาณทสั สนะท�ำใหเ้ กดิ ใหเ้ ป็นพระศาสดา แลว้ พระองค์
เองก็เสด็จดับขนั ธปรนิ ิพพานไปดว้ ยอนปุ าทเิ สสนพิ านธาตุ กแ็ ต่วา่ เมอื่ พระผู้มพี ระภาคเจ้า
เสด็จดับขันธปรนิ พิ พานแล้ว การได้สมบตั ิ จะเปน็ อันขาดหายไป หามไิ ด้ สตั ว์ท้งั หลาย ผถู้ กู
ทุกข์ในภพบีบค้ัน ครนั้ ได้ท�ำพระธาตรุ ตั นะ คอื พระธรรมและพระวนิ ัยที่ทรงอนุศาสน์ไว้ใหเ้ ปน็
ปจั จยั แล้ว เป็นผู้ต้องการสมบัติ ก็ยอ่ มไดร้ ับสมบัติทั้งหลาย ขอถวายพระพร แม้เพราะเหตนุ ี้
อธกิ ารทบี่ คุ คลกระท�ำตอ่ พระตถาคต ผู้เสดจ็ ดบั ขันธปรนิ ิพพานไปแล้ว ผ้ไู มท่ รงยินดอี ยนู่ ่ัน
แหละ ย่อมไม่เปน็ หมัน เป็นของมผี ล
‘‘ทิฏฺ เฺ จตํ มหาราช ภควตา อนาคตมทฺธานํ ฯ กถติ ฺจ ภณติ ฺจ อาจิกฺขติ จฺ
‘สยิ า โข ปนานนทฺ ตุมฺหากํ เอวมสฺส อตีตสตฺถุก ํ ปาวจนํ นตถฺ ิ โน สตถฺ าต,ิ น โข
ปเนตํ อานนทฺ เอวํ ทฏ ฺ พฺพ,ํ โย โว อานนทฺ มยา ธมโฺ ม จ วนิ โย จ เทสิโต
ป ฺ ตโฺ ต, โส โว มมจจฺ เยน สตถฺ า’ติ ฯ ปรนิ ิพฺพุตสสฺ ตถาคตสฺส อสาทยิ นฺตสสฺ กโต
อธิกาโร ว โฺ ฌ ภวต ิ อผโลติ, ต ํ เตสํ ตติ ถฺ ิยาน ํ วจนํ มจิ ฉฺ า อภตู ํ วิตถ ํ อลิก ํ วริ ทุ ธฺ ํ
วปิ รตี ํ ทุกขฺ ทายกํ ทุกฺขวิปากํ อปายคมนียน’ฺ ติ ฯ
ขอถวายพระพร เหตกุ ารณ์ในอนาคตขอ้ นี้ พระผูม้ พี ระภาคเจ้าทรงเหน็ แลว้ พระผ้มู ี
พระภาคเจ้าได้รับส่งั ไดต้ รัส ได้ทรงบอกอยา่ งนีว้ า่ “ดกู อ่ นอานนท์ พวกเธออาจจะมีความคิด
อย่างน้ีวา่ ‘ปาพจน์ (พระพุทธพจน)์ ทเ่ี ปน็ สมบตั ิของพระศาสดาผู้เสด็จล่วงลบั ไปแลว้ มีอยู่
พระศาสดาของพวกเรา ยอ่ มไม่มี’ ดังนี้ ดกู ่อนอานนท์ ข้อนี้ เธอไมพ่ ึงเหน็ อยา่ งน้ี ดูกอ่ น
อานนท์ ธรรมและวินัยทเี่ ราได้แสดงไวแ้ ลว้ ไดบ้ ัญญตั ไิ ว้แลว้ ใด ธรรมและวินยั นน้ั จกั เป็น
ศาสดาของพวกเธอท้ังหลาย ในกาลล่วงลับไปแหง่ เรา’ ดงั นี้ อธกิ ารทบ่ี คุ คลกระท�ำตอ่ พระ
ตถาคต ผเู้ สด็จดบั ขันธปรนิ ิพพานแล้ว ผไู้ ม่ทรงยินดอี ยู่ เปน็ หมนั ยอ่ มเปน็ ของไมม่ ผี ล ค�ำพดู
กณั ฑ์] ๔.๑ อทิ ธพิ ลวรรค 263
นั้น ของพวกเดยี รถีย์เหลา่ นั้น เปน็ ค�ำพดู ทผี่ ดิ ไมจ่ รงิ ไม่แท้ เปน็ ค�ำพดู เหลวไหล เปน็ ค�ำพดู
ตรงกันข้าม เป็นค�ำพดู วปิ รติ เป็นค�ำพูดทใี่ ห้ทุกข์ มีวบิ ากเปน็ ทุกข์ เป็นเหตไุ ปสอู่ บายภูมแิ ล
‘‘อปรมปฺ ิ มหาราช อตุ ฺตร ึ การณํ สโุ ณห ิ เยน การเณน ตถาคตสฺส ปรินพิ พฺ ตุ สฺส
อสาทิยนตฺ สฺเสว กโต อธกิ าโร อว โฺ ฌ ภวติ สผโล ฯ สาทยิ ต ิ น ุ โข มหาราช อย ํ
มหาปถวี ‘สพพฺ พชี านิ มย ิ สวํ ิรุหนฺตู’’ติ ?
ขอถวายพระพร ขอพระองคจ์ งทรงสดบั เหตุแม้อย่างอ่ืนยิง่ อกี หนอ่ ยเถดิ ซ่ึงเปน็ เหตุ
แหง่ อธกิ ารทบ่ี คุ คลกระท�ำแลว้ ต่อพระตถาคต ผู้เสดจ็ ดับขนั ธปรินิพพานแลว้ ผไู้ ม่ทรงยนิ ดีอยู่
เลย เป็นของไมเ่ ป็นหมัน เป็นของมีผล, ขอถวายพระพร แผน่ ดินใหญน่ ี้ ย่อมยนิ ดอี ยูอ่ ย่างน้วี า่
‘ขอพชื ทงั้ หลายทั้งปวงจงงอกขึ้นบนเรา’ ดังน้ี หรอื หนอ ?”
‘‘น หิ ภนฺเต’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ ินทต์ รสั ว่า “หามิไดห้ รอก พระคุณเจา้ ”
‘‘กิสสฺ ปน ตาน ิ มหาราช พีชานิ อสาทิยนฺตยิ า มหาปถวยิ า สํวริ หุ ิตวฺ า ทฬฺห-
มูลชฏาปตฏิ ฺ ิตา ขนธฺ สารสาขาปรวิ ติ ถฺ ณิ ณฺ า ปปุ ฺผผลธรา โหนฺต’ี ’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร เมื่อแผ่นดินใหญ่ไม่ยนิ ดีอยู่ เพราะเหตุ
อะไร พชื ทั้งหลายเหล่านัน้ จงึ ยังคงงอกข้ึน มีรากมน่ั คง มีล�ำต้น มแี ก่นตง้ั มั่น มีกิ่งก้านแผ่ไป
โดยรอบ ยอ่ มผลดิ อกและออกผลได้เล่า ?”
‘‘อสาทยิ นตฺ ีปิ ภนเฺ ต มหาปถวี เตส ํ พีชานํ วตถฺ ุ โหติ ปจจฺ ยํ เทต ิ วริ ุหนาย,
ตาน ิ พีชานิ ต ํ วตฺถุํ นสิ ฺสาย เตน ปจจฺ เยน สํวริ หุ ิตวฺ า ทฬหฺ มลู ชฏาปตฏิ ฺ ิตา ขนธฺ สาร-
สาขาปรวิ ติ ถฺ ณิ ฺณา ปปุ ผฺ ผลธรา โหนตฺ ี’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลินท์ตรัสวา่ “พระคณุ เจ้า แผ่นดินใหญ่ แม้วา่ ไมย่ ินดอี ยู่ แตก่ ็เป็นทตี่ ้งั อาศัย
แห่งพชื ทงั้ หลายเหลา่ นัน้ ยอ่ มมอบปัจจัยเพอ่ื ใหง้ อกขนึ้ มาได้ พชื ทงั้ หลายเหล่านัน้ ได้อาศัย
แผ่นดนิ ใหญ่นน้ั เปน็ ทตี่ ัง้ อาศัยแลว้ กง็ อกงามขน้ึ มา มรี ากมัน่ คง มลี �ำต้น มีแก่นต้ังมัน่ มกี ิ่ง
กา้ นแผ่ไปโดยรอบ ย่อมผลิดอกและออกผลได้ เพราะปัจจยั นั้น”
264 มลิ นิ ทปัญหาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปัญห
‘‘เตนห ิ มหาราช ติตถฺ ยิ า สเก วาเท นฏฺ า โหนฺต ิ หตา วิรทุ ฺธา, สเจ เต
ภณนตฺ ิ ‘อสาทิยนตฺ สฺส กโต อธกิ าโร ว ฺโฌ ภวติ อผโล’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร ถา้ อย่างนน้ั พวกเดียรถีย์
ก็ยอ่ มเปน็ คนฉิบหาย เป็นคนถูกก�ำจัดแลว้ เป็นคนบกพรอ่ งในเพราะค�ำกล่าวของตนเอง ถ้า
หากวา่ พวกเขาเหล่านน้ั จักกลา่ ววา่ ‘อธิการท่บี คุ คลกระท�ำตอ่ พระพทุ ธเจา้ ผไู้ ม่ทรงยินดีอยู่
ยอ่ มเป็นหมัน เป็นของไม่มีผล’ ดังนีไ้ ซร้
‘‘ยถา มหาราช มหาปถวี, เอวํ ตถาคโต อรหํ สมมฺ าสมพฺ ุทโฺ ธ ฯ ยถา มหาราช
มหาปถวี น กิ จฺ ิ สาทิยติ, เอว ํ ตถาคโต น ก ิ จฺ ิ สาทิยติ ฯ ยถา มหาราช ตานิ
พชี านิ ปถว ึ นสิ สฺ าย สวํ ิรหุ ิตวฺ า ทฬฺหมูลชฏาปตฏิ ฺ ติ า ขนฺธสารสาขาปรวิ ิตฺถิณฺณา ปุปฺผ-
ผลธรา โหนตฺ ,ิ เอวํ เทวมนสุ ฺสา ตถาคตสสฺ ปรินิพฺพุตสฺส อสาทิยนฺตสเฺ สว ธาตุ จฺ
าณรตน จฺ นสิ ฺสาย ทฬฺหกุสลมูลปติฏฺ ิตา สมาธกิ ขฺ นธฺ ธมมฺ สารสลี สาขาปรวิ ิตถฺ ณิ ณฺ า
วมิ ุตฺติปปุ ฺผสาม ฺ ผลธรา โหนฺต,ิ อมิ ินาป ิ มหาราช การเณน ตถาคตสฺส ปรนิ ิพฺพุตสฺส
อสาทิยนตฺ สเฺ สว กโต อธกิ าโร อว โฺ ฌ ภวติ สผโลติ ฯ
ขอถวายพระพร พระตถาคตอรหนั ตสัมมาสมั พุทธเจา้ เปรยี บเหมือนแผ่นดินใหญ่ ขอ
ถวายพระพร แผ่นดินใหญ่ ย่อมจะไม่ยินดีพชื อะไร ๆ ฉนั ใด พระตถาคตกไ็ มท่ รงยินดีอธกิ าร
อะไร ๆ ฉันนั้น ขอถวายพระพร พชื ทงั้ หลายเหลา่ นน้ั อาศัยแผน่ ดิน แล้วก็งอกขนึ้ มา มีราก
แกว้ และรากฝอยอันตัง้ ม่นั คง มีล�ำต้น มีแก่น และมกี ิ่งกา้ นแผไ่ ปโดยรอบ ผลดิ อกและออกผล
ได้ ฉันใด เทวดาและมนษุ ยท์ ั้งหลาย ได้อาศัยพระธาตุและพระญาณรัตนะของพระตถาคต
ผเู้ สดจ็ ดับขนั ธปรนิ ิพพานแล้ว ผูไ้ ม่ทรงยินดเี ลย ก็ยอ่ มเปน็ ผู้มีรากเหงา้ คอื กศุ ลมัน่ คง มีล�ำตน้
คือสมาธิ และแกน่ คือธรรมต้งั มนั่ มกี ิ่งกา้ นแผค่ ือศีลไปโดยรอบ ผลิดอกคือวิมุตติ และผลคอื
สามัญญผลได้ ฉันนนั้ เหมือนกนั ขอถวายพระพร แม้เพราะเหตนุ ้ี อธกิ ารท่ีบคุ คลท�ำต่อพระ
ตถาคต ผูเ้ สดจ็ ดบั ขันธปรนิ ิพพานแลว้ ไม่ทรงยินดีอยู่เลย ย่อมไม่เป็นหมนั เปน็ ของมผี ล
‘‘อปรมฺป ิ มหาราช อตุ ตฺ ร ึ การณํ สโุ ณหิ เยน การเณน ตถาคตสฺส ปรนิ พิ พฺ ตุ สสฺ
อสาทยิ นตฺ สฺเสว กโต อธกิ าโร อว ฺโฌ ภวต ิ สผโล ฯ สาทิยนฺติ น ุ โข มหาราช อิเม
โอฏ ฺ า โคณา คทฺรภา อชา ปสู มนุสฺสา อนโฺ ตกุจฺฉสิ ฺมึ กิมิกลุ านํ สมฺภวนฺ”ติ ?
ขอถวายพระพร ขอพระองคจ์ งทรงสดับเหตุแม้อยา่ งอื่นย่ิงอีกหน่อยเถิด ซ่ึงเปน็ เหตุ
แหง่ อธกิ ารที่บุคคลกระท�ำแลว้ ต่อพระตถาคต ผเู้ สด็จดบั ขันธปรินพิ พานแล้ว ไมท่ รงยินดีอยู่
กณั ฑ์] ๔.๑ อิทธิพลวรรค 265
เลย ย่อมไมเ่ ป็นหมัน เปน็ ของมผี ล ขอถวายพระพร พวกสัตวท์ ้ังหลายเหล่าน้ี คือ อูฐ โค ลา
แพะ ปศสุ ัตว์ และมนุษย์ทั้งหลาย ย่อมยนิ ดีการท่ีหมหู่ นอนเกิดมีขา้ งในท้องหรอื หนอ ?”
‘‘น หิ ภนเฺ ต’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลินท์ตรสั ว่า “หามิได้ พระคณุ เจ้า”
‘‘กิสสฺ ปน เต มหาราช กิมโย เตสํ อสาทยิ นฺตานํ อนโฺ ตกจุ ฉฺ สิ ฺม ึ สมภฺ วติ วฺ า
พหปุ ตุ ตฺ นตตฺ า เวปลุ ลฺ ตํ ปาปณุ นฺตี’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “เม่อื สตั ว์เหล่าน้นั ไมย่ นิ ดอี ยู่ เพราะเหตอุ ะไร พวกหนอน
เหลา่ นน้ั ก็ยงั คงเกดิ ภายในทอ้ ง แลว้ มลี ูกหลานมากมาย ถึงความไพบูลย์ (แพรพ่ ันธ)ุ์ อยู่ได้
เลา่ ?”
‘‘ปาปสฺส ภนฺเต กมฺมสฺส พลวตาย อสาทิยนตฺ านเํ ยว เตสํ สตตฺ าน ํ อนฺโตกจุ ฺฉสิ มฺ ึ
กิมโย สมฺภวิตฺวา พหปุ ุตตฺ นตตฺ า เวปลุ ฺลตํ ปาปุณนฺต’ี ’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ นิ ทต์ รสั วา่ “พระคุณเจ้า เพราะบาปกรรมมีก�ำลัง เมื่อสตั วเ์ หลา่ นน้ั ไมย่ นิ ดี
อยู่ พวกหนอน ก็ยังเกิดภายในท้องแลว้ มลี ูกหลานมากมาย ถงึ ความไพบูลยอ์ ยูไ่ ด้”
‘‘เอวเมว โข มหาราช ตถาคตสสฺ ปรนิ ิพฺพตุ สฺส อสาทยิ นฺตสฺเสว ธาตุสสฺ จ
าณารมฺมณสสฺ จ พลวตาย ตถาคเต กโต อธิกาโร อว โฺ ฌ ภวต ิ สผโลติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร ก็เหมอื นกนั อย่างน้ันนั่นแหละ อธกิ ารท่ี
บุคคลท�ำต่อพระตถาคตผูเ้ สด็จดับขนั ธปรนิ พิ พานแลว้ ไม่ทรงยินดอี ยู่เลย ยอ่ มไม่เปน็ หมัน
เปน็ ของมผี ล เพราะว่าธาตแุ ละญาณอารมณ์เปน็ สภาพมกี �ำลัง
‘‘อปรมปฺ ิ มหาราช อตุ ตฺ รึ การณ ํ สโุ ณหิ เยน การเณน ตถาคตสฺส ปรนิ ิพพฺ ุตสฺส
อสาทยิ นตฺ สฺเสว กโต อธิกาโร อว ฺโฌ ภวต ิ สผโล ฯ สาทิยนตฺ ิ น ุ โข มหาราช อเิ ม
มนุสฺสา อิเม อฏ ฺ นวตุ ิ โรคา กาเย นพิ ฺพตตฺ นตฺ ’ู ’ติ ?
ขอถวายพระพร ขอพระองคจ์ งทรงสดับเหตแุ ม้อยา่ งอ่นื ยิ่งอกี หนอ่ ยเถิด ซงึ่ เปน็ เหตุ
แหง่ อธิการทบี่ คุ คลกระท�ำแล้วตอ่ พระตถาคต ผูเ้ สด็จดับขนั ธปรนิ พิ พานแลว้ ผ้ไู ม่ทรงยนิ ดอี ยู่
เลย ย่อมไมเ่ ป็นหมนั เปน็ ของมีผล, ขอถวายพระพร มนษุ ยท์ ัง้ หลายเหล่านี้ ย่อมยินดีวา่ ‘โรค
๙๘ อย่างเหล่านี้ จงบงั เกดิ ขึน้ ในรา่ งกายเถิด’ ดงั นี้ หรอื หนอ ?”
266 มลิ ินทปัญหาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปัญห
‘‘น ห ิ ภนเฺ ต’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ นิ ท์ตรัสว่า “หามไิ ด้ พระคณุ เจา้ ”
‘‘กสิ สฺ ปน เต มหาราช โรคา อสาทยิ นตฺ านํ กาเย นิปตนฺต’ี ’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร เมื่อมนษุ ยเ์ หลา่ นั้นไม่ยินดอี ยู่ เพราะ
เหตุอะไร โรคทั้งหลายเหล่าน้ัน กย็ ังคงตกไปในร่างกายได้เล่า ?”
‘‘ปุพเฺ พ กเตน ภนฺเต ทจุ ฺจริเตนา’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลินท์ตรสั ว่า “พระคณุ เจา้ โรคทั้งหลายเหลา่ นนั้ ยังคงตกไปในร่างกายของ
คนผู้ไมย่ ินดีอยู่เหลา่ นั้นได้ ก็เพราะทุจริตทเ่ี ขาไดท้ �ำไว้ในกาลกอ่ น”
‘‘ยท ิ มหาราช ปพุ ฺเพ กตํ อกสุ ล ํ อธิ เวทนยี ํ โหต,ิ เตนหิ มหาราช ปพุ เฺ พ
กตมฺปิ อธิ กตมฺปิ กุสลากสุ ลํ กมมฺ ํ อว ฺฌํ ภวติ สผลนฺติ ฯ อมิ นิ าปิ มหาราช การเณน
ตถาคตสฺส ปรินิพพฺ ตุ สฺส อสาทิยนตฺ สฺเสว กโต อธิกาโร อว ฺโฌ ภวติ สผโลติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร ถ้าหากอกศุ ลกรรมทเี่ ขาท�ำไวใ้ นภพ
กอ่ น ยอ่ มมผี ลที่พึงเสวยได้ในภพนีไ้ ซร้ ขอถวายพระพร ถ้าอย่างนนั้ กศุ ลกรรมและอกศุ ล
กรรมท้งั ทไี่ ดท้ �ำไว้ในภพก่อน ทัง้ ท่ีไดท้ �ำไวใ้ นภพนี้ กย็ อ่ มไม่เปน็ หมัน ย่อมเปน็ ของมผี ล
ขอถวายพระพร แมเ้ พราะเหตุนี้ อธิการท่ีบคุ คลกระท�ำต่อพระตถาคต ผู้เสด็จดบั ขนั ธ-
ปรนิ ิพพานแล้ว ผไู้ ม่ทรงยินดอี ยเู่ ลย ย่อมไม่เป็นหมนั เป็นของมีผล
‘‘สตุ ปุพฺพ ํ ปน ตยา มหาราช นนฺทโก นาม ยกฺโข เถร ํ สารปิ ตุ ฺต ํ อาสาทยติ ฺวา
ปถวึ ปวฏิ ฺโ ’’ติ ?
ขอถวายพระพรมหาบพิตร กพ็ ระองค์ทรงเคยสดบั เรื่องยกั ษช์ ่อื นนั ทกะที่ท�ำร้ายทา่ น
พระสารบี ุตรเถระ แล้วเข้าไปสู่แผน่ ดินใหญ่ (ถูกธรณสี บู ) หรือไม่ ?”
‘‘อาม ภนเฺ ต สยุ ยฺ ติ, โลเก ปากโฏ เอโส’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ ินทต์ รัสวา่ “ใช่ เคยฟัง พระคุณเจ้า เรือ่ งนมี้ ปี รากฏอย่ใู นโลก”
‘‘อป ิ น ุ โข มหาราช เถโร สารปิ ุตฺโต สาทิยิ นนทฺ กสฺส ยกขฺ สฺส มหาปถวิ-
คลิ นนฺ’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร พระสารีบุตรเถระย่อมยินดี
การทน่ี นั ทกยกั ษถ์ กู แผน่ ดนิ ใหญ่กลนื กนิ บ้างหรอื หนอ ?”
กัณฑ]์ ๔.๑ อทิ ธิพลวรรค 267
‘‘อุพฺพตตฺ ิยนฺเตปิ ภนฺเต สเทวเก โลเก ปตมาเนป ิ ฉมายํ จนทฺ มิ สรู ิเย วกิ ิรนฺเตปิ
สิเนรปุ พพฺ ตราเช เถโร สาริปตุ โฺ ต น ปรสฺส ทุกฺขํ สาทิเยยยฺ ฯ ตํ กสิ สฺ เหตุ ? เยน
เหตุนา เถโร สารปิ ุตโฺ ต กุชฺเฌยฺย วา ทุสเฺ สยยฺ วา, โส เหตุ เถรสฺส สาริปตุ ฺตสฺส
สมหู โต สมุจฺฉินโฺ น, เหตโุ น สมุคฆฺ าตติ ตตฺ า ภนฺเต เถโร สาริปตุ โฺ ต ชวี ติ หารเกป ิ โกปํ
น กเรยฺยา’’ติ ฯ
พระเจา้ มิลินท์ตรัสว่า “พระคุณเจ้า แมเ้ ม่ือโลกพรอ้ มทง้ั เทวโลกจะฉีกขาดตกไปอยู่
แม้เมอ่ื ดวงจันทร์และดวงอาทิตยจ์ ะตกพ้นื ดนิ หายไป แม้เมือ่ ขนุ เขาสเิ นรุจะแหลกกระจายไป
พระสารบี ุตรเถระ ก็ไมพ่ งึ ยนิ ดีทกุ ข์ของสัตวอ์ น่ื ถามว่า ‘ขอ้ น้นั เป็นเพราะเหตอุ ะไร ?’ ตอบว่า
‘พระสารบี ุตรเถระพงึ โกรธ หรือคิดรา้ ย เพราะเหตใุ ด, เหตุนน้ั พระสารีบุตรเถระถอนขึน้ ได้
แล้ว ตดั ขาดแล้ว พระคุณเจา้ พระสารบี ตุ รเถระไมท่ �ำความขุน่ เคืองในบุคคลแม้จะเปน็ ผพู้ ราก
ชีวติ ก็เพราะว่าทา่ นถอนเหตุได้แล้ว”
‘‘ยท ิ มหาราช เถโร สารปิ ุตฺโต นนทฺ กสสฺ ยกขฺ สสฺ ปถวิคลิ น ํ น สาทิย,ิ กิสสฺ ปน
นนฺทโก ยกฺโข ปถว ึ ปวฏิ ฺโ ’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร ถา้ หากวา่ พระสารีบตุ รเถระไม่ยินดี
การท่นี นั ทกยักษ์ถูกแผ่นดนิ กลืนกินแล้ว ก็เพราะเหตุอะไร นนั ทกยกั ษ์จึงยงั เข้าไปสแู่ ผน่ ดิน
อีกเล่า ?”
‘‘อกุสลสฺส ภนฺเต กมฺมสสฺ พลวตายา’’ติ ฯ
พระเจา้ มิลนิ ทต์ รสั ว่า “พระคณุ เจ้า เพราะว่าอกศุ ลกรรมเป็นสภาพมกี �ำลัง”
‘‘ยท ิ มหาราช อกุสลสฺส กมฺมสฺส พลวตาย นนฺทโก ยกฺโข ปถว ึ ปวฏิ ฺโ ,
อสาทิยนตฺ สสฺ าปิ กโต อปราโธ อว โฺ ฌ ภวต ิ สผโล ฯ เตนห ิ มหาราช อกสุ ลสฺสปิ กมมฺ สสฺ
พลวตาย อสาทิยนฺตสสฺ กโต อธิกาโร อว โฺ ฌ ภวต ิ สผโลติ ฯ อิมินาปิ มหาราช
การเณน ตถาคตสสฺ ปรินพิ พฺ ตุ สฺส อสาทิยนตฺ สฺเสว กโต อธกิ าโร อว ฺโฌ ภวต ิ
สผโลติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร ถา้ หากวา่ นันทกยกั ษเ์ ข้าไปสูแ่ ผน่ ดิน
เพราะว่ากรรมน้ันเปน็ อกศุ ลกรรมมกี �ำลงั ไซร้ ก็เปน็ ความผดิ ที่นันทกยกั ษก์ ระท�ำต่อพระสารี-
บุตรเถระ ผูแ้ ม้ไม่ยินดอี ยู่ ย่อมไมเ่ ป็นหมัน เปน็ ของมีผล ขอถวายพระพร ถ้าอย่างนั้น อธกิ าร
ทบ่ี ุคคลกระท�ำตอ่ พระสารีบตุ รเถระผูไ้ ม่ยินดอี ยู่ ก็ยอ่ มไมเ่ ปน็ หมนั เป็นของมผี ล เพราะวา่
268 มิลนิ ทปญั หาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปญั ห
อกศุ ลกรรมเป็นสภาพมกี �ำลัง ขอถวายพระพร แมเ้ พราะเหตนุ ี้ อธิการที่บุคคลท�ำตอ่ พระ
ตถาคต ผ้เู สดจ็ ดับขนั ธปรินพิ พานแลว้ ผแู้ ม้ไม่ทรงยินดอี ยู่ ย่อมไม่เป็นหมนั เปน็ ของมีผล
‘‘กติ นุ โข เต มหาราช มนสุ สฺ า, เย เอตรห ิ มหาปถวึ ปวิฏ ฺ า, อตถฺ ิ เต ตตฺถ
สวณน”ฺ ติ ?
ขอถวายพระพร พวกมนษุ ย์ที่เข้าไปสูแ่ ผน่ ดินใหญ่ไปในพุทธกาลนี้ มีจ�ำนวนก่คี น
พระองคท์ รงมอี นั ไดส้ ดับในเรือ่ งนั้นบ้างหรอื ไม่”
‘‘อาม ภนเฺ ต สยุ ยฺ ต’ี ’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ ินทต์ รัสวา่ “ใช่ พระคณุ เจ้า โยมกไ็ ดฟ้ งั มา”
‘‘อิงฺฆ ตวฺ ํ มหาราช สาเวห’ี ’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร เชิญพระองคจ์ งตรัสให้ฟงั เถิด”
‘‘จิ ฺจมาณวกิ า ภนเฺ ต สุปฺปพทุ โฺ ธ จ สกฺโก เทวทตโฺ ต จ เถโร นนฺทโก จ
ยกโฺ ข นนฺโท จ มาณวโกติ ฯ สุตเมต ํ ภนฺเต อิเม ป จฺ ชนา มหาปถว ึ ปวฏิ ฺ า’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ ินท์ตรสั วา่ “พระคณุ เจ้า ไดฟ้ ังเรือ่ งนี้ว่า มีชน ๕ คนได้เขา้ ไปสแู่ ผน่ ดนิ ใหญ่
คือ (๑) นางจิญจมาณวิกา (๒) สุปปพทุ ธศากยะ (๓) พระเทวทตั ตเถระ (๔) นันทกยักษ ์
และ(๕) นันทมาณพ”
‘‘กสิ มฺ ึ เต มหาราช อปรทธฺ า’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร คนเหลา่ นนั้ ประพฤตผิ ดิ ในใคร ?”
‘‘ภควติ จ ภนฺเต สาวเกสุ จา’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ ินทต์ รสั ว่า “ประพฤติผิดในพระผู้มีพระภาคเจา้ และในเหล่าพระสาวกท้ัง
หลาย พระคุณเจ้า”
‘‘อปิ นุ โข มหาราช ภควา วา สาวกา วา สาทิยึสุ อิเมส ํ มหาปถวิปวสิ นน’ฺ ’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร พระผมู้ พี ระภาคเจา้ กด็ ี เหล่าพระสาวก
ทง้ั หลายก็ดี ทรงยินดกี ารท่ีคนเหล่าน้เี ขา้ ไปส่แู ผ่นดนิ ใหญ่ หรอื ไร ?”
‘‘น หิ ภนเฺ ต’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ นิ ทต์ รสั ว่า “หามไิ ด้ พระคุณเจ้า”
กณั ฑ์] ๔.๑ อทิ ธิพลวรรค 269
‘‘เตนห ิ มหาราช ตถาคตสฺส ปรนิ พิ พฺ ุตสสฺ อสาทิยนตฺ สฺเสว กโต อธกิ าโร อว ฺโฌ
ภวต ิ สผโล’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร ถ้าอย่างนั้น อธกิ ารทบี่ คุ คลกระท�ำต่อ
พระตถาคต ผู้เสดจ็ ดบั ขนั ธปรินพิ พานแลว้ ผไู้ มท่ รงยนิ ดีอยู่เลย ก็ย่อมไม่เปน็ หมนั เป็นของ
มผี ล”
‘‘สุวิ ฺ าปิโต ภนเฺ ต นาคเสน ป โฺ ห คมฺภโี ร อตุ ฺตานกี โต, คยุ ฺห ํ วิทสํ ิตํ, คณฺ ิ
ภินฺโน, คหน ํ อคหน ํ กตํ, นฏ ฺ า ปรวาทา, ภคฺคา กทุ ิฏฺ ี, นิปปฺ ภา ชาตา กุตติ ฺถยิ า,
ตวฺ ํ คณวี รปวรมาสชชฺ า’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลินทต์ รสั ว่า “พระคุณเจ้านาคเสน ปญั หาทีล่ กึ ซงึ้ ทา่ นกท็ �ำใหโ้ ยมเข้าใจดีแล้ว
ท�ำใหต้ น้ื แลว้ ท่านไดเ้ ปดิ เผยสิ่งทถ่ี กู ปกปิด ได้ท�ำลายเงอื่ นปมแล้ว ไดท้ �ำขอ้ ทีร่ กรุงรังให้หมด
ความรกรงุ รังแล้ว วาทะโต้แย้งของฝ่ายอื่น ท่านกไ็ ด้ท�ำให้พนิ าศแลว้ ทฏิ ฐทิ ช่ี ัว่ ชา้ ทงั้ หลายท่ี
เกิดแกพ่ วกเดยี รถยี ์ ท่านกไ็ ดห้ กั ท�ำลายแล้ว พวกเดียรถียผ์ ชู้ ว่ั ท่านก็ท�ำใหห้ มดรศั มแี ล้ว ท่าน
ได้ชอ่ื วา่ เป็นผู้องอาจอยูใ่ นบรรดาเจา้ คณะผปู้ ระเสริฐยอดเย่ยี ม”
กตาธิการสผลปญโฺ ห ป€โม ฯ
จบกตาธกิ ารสผลปัญหาข้อที่ ๑
________
๒. พุทธฺ สพพฺ ญญฺ ุภาวปญหฺ
๒. พทุ ธสพั พญั ญภุ าวปัญหา
ปญั หาวา่ ด้วยความเปน็ สพั พัญญูของพระพุทธเจ้า
[๒] ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน พุทโฺ ธ สพฺพ ฺ ู’’ติ ?
[๒] พระเจา้ มิลินท์ตรัสถามวา่ “พระคุณเจา้ นาคเสน พระพุทธเจ้าทรงเปน็ สพั พญั ญู (ผู้
รทู้ กุ สิ่ง) จริงหรือ ?”
‘‘อาม มหาราช ภควา สพฺพ ฺ ,ู น จ ภควโต สตตํ สมิตํ าณทสสฺ นํ
ปจฺจุปฏฺ ิตํ, อาวชชฺ นปฏพิ ทฺธํ ภควโต สพฺพ ฺ ตุ าณ,ํ อาวชฺชิตฺวา ยทิจฉฺ กํ ชานาตี’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร ใช่ พระผมู้ ีพระภาคเจา้ ทรง
เปน็ พระสัพพญั ญจู ริง แต่ว่าพระญาณทัสสนะของพระผู้มีพระภาคเจ้า จะเป็นอนั ปรากฏอยู่
270 มิลนิ ทปญั หาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปัญห
แลว้ เปน็ ประจ�ำสม�่ำเสมอก็หาไม่ พระญาณทสั สนะของพระผมู้ พี ระภาคเจ้าเปน็ ของเน่อื งกบั
การใคร่ครวญ คือทรงใคร่ครวญ(ถงึ สิ่งที่ทรงต้องการร้)ู ก่อนแลว้ จงึ ทรงรู้ไดต้ ามทท่ี รงต้องการ”
‘‘เตนห ิ ภนฺเต นาคเสน พุทฺโธ อสพพฺ ฺ ูติ ฯ ยท ิ ตสสฺ ปรเิ ยสนาย
สพพฺ ฺ ตุ ญ ฺ าณํ โหตี’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ ินทต์ รสั วา่ “ถ้าอยา่ งนั้น พระคณุ เจ้านาคเสน พระพุทธเจา้ ไมท่ รงพระ
สัพพญั ญูจรงิ หรอก ถา้ หากว่า พระองคจ์ ะทรงมพี ระสัพพัญญตุ ญาณร้ทู ุกส่ิงได้ กต็ ่อเมอ่ื มกี าร
แสวงหาไซร”้
‘‘วาหสต ํ โข มหาราช วหี ีนํ อฑฺฒจูฬ จฺ วาหา วีหสิ ตฺตมฺพณานิ เทวฺ จ ตมุ พฺ า
เอกจฺฉรากฺขเณ ปวตตฺ จติ ตฺ สฺส เอตฺตกา วหี ี ลกฺข ํ ปียมานา ปริกฺขยํ ปริยาทานํ
คจเฺ ฉยฺยํุ ?
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร ข้าวเปลือกเมื่อบุคคลนบั (ทลี ะเมด็ ) มี
ประมาณเทา่ น้ีวางไว้ ไดแ้ สนโกฏเิ มลด็ แลว้ กพ็ งึ ถึงการส้นิ สุดลง ถือเอาโดยรอบ ย่อมเป็น
จ�ำนวนเทียบไดก้ บั จติ ท่เี ป็นไปชว่ั ขณะดีดน้ิวมือเพยี งครง้ั เดยี ว
‘‘ตตฺริเม สตตฺ วธิ า จติ ฺตา ปวตฺตนตฺ ,ิ เย เต มหาราช สราคา สโทสา สโมหา
สกเิ ลสา อภาวิตกายา อภาวติ สลี า อภาวติ จติ ฺตา อภาวติ ป ฺ า, เตส ํ ต ํ จิตฺตํ ครุก ํ
อปุ ฺปชชฺ ต ิ ทนธฺ ํ ปวตตฺ ติ ฯ กึการณา ? อภาวติ ตตฺ า จติ ฺตสสฺ ฯ ยถา มหาราช วสํ นาฬสสฺ
วิตตสฺส วิสาลสฺส วติ ฺถิณฺณสสฺ สํสิพพฺ ิตวสิ ิพฺพติ สฺส สาขาชฏาชฏติ สฺส อากฑฺฒยิ นตฺ สฺส
ครกุ ํ โหติ อาคมน ํ ทนฺธํ ฯ กึการณา ? สสํ พิ พฺ ติ วิสพิ พฺ ติ ตตฺ า สาขานํ ฯ เอวเมว โข
มหาราช เย เต สราคา สโทสา สโมหา สกเิ ลสา อภาวิตกายา อภาวติ สลี า อภาวติ จิตฺตา
อภาวติ ป ฺ า, เตสํ ตํ จติ ตฺ ํ ครุก ํ อุปปฺ ชฺชต ิ ทนธฺ ํ ปวตฺตติ ฯ กึการณา ? สํสพิ พฺ ติ -
วสิ ิพฺพิตตฺตา กเิ ลเสห,ิ อิทํ ป ม ํ จติ ตฺ ํ ฯ
ในบรรดาจิตท่ีเปน็ ไปนนั้ จิต ๗ อยา่ งเหลา่ นี้ย่อมเป็นไป ขอถวายพระพรมหาบพิตร
จิตของบุคคลผมู้ ีราคะ มีโทสะ มีโมหะ มกี ิเลส ยังมิไดอ้ บรมกาย ยงั มิไดอ้ บรมศีล ยงั มไิ ดอ้ บรม
จิต ยงั มิได้อบรมปัญญา จิตนน้ั ของบุคคลเหลา่ น้นั เป็นของหนกั ย่อมเกิดข้นึ ยอ่ มเป็นไปได้
ชา้ ถามวา่ ‘เพราะเหตุไร ?’ ตอบว่า ‘เพราะวา่ ยงั มิไดอ้ บรมจติ ’ ขอถวายพระพร เปรียบเหมอื น
วา่ เม่อื บคุ คลดงึ ล�ำไม้ไผท่ แ่ี ผข่ ยายออกไปกว้างขวาง มรี กชฏั แห่งกง่ิ ก้านเกีย่ วพันกนั อยู่ ย่อม
มอี ันดงึ มาไดช้ ้า ถามวา่ ‘เพราะเหตุไร ?’ ตอบวา่ ‘เพราะมีกิ่งก้านท้งั หลายประสานเกีย่ วพัน
กณั ฑ์] ๔.๑ อทิ ธพิ ลวรรค 271
กันอยู่ ฉันใด ขอถวายพระพร จติ ของบคุ คลผู้มรี าคะ มโี ทสะ มโี มหะ มกี ิเลส ยังมไิ ดอ้ บรมกาย
ยงั มไิ ด้อบรมศีล ยงั มิได้อบรมจิต ยังมไิ ดอ้ บรมปญั ญา จติ นนั้ ของบุคคลเหลา่ นนั้ เป็นของหนกั
ยอ่ มเกดิ ข้นึ ยอ่ มเป็นไปได้ช้า ถามวา่ ‘เพราะเหตุอะไร ?’ ตอบวา่ ‘เพราะถูกกเิ ลสทงั้ หลาย
ประสานเกีย่ วพนั ไว้ ฉนั นนั้ เหมอื นกันแล นี้เปน็ จิตอยา่ งท่ี ๑
‘‘ตตฺรทิ ํ ทุตยิ ํ จติ ตฺ ํ วภิ ตฺตมาปชฺชต ิ – เย เต มหาราช โสตาปนฺนา ปหิ ติ าปายา
ทฏิ ฺ ิปปฺ ตฺตา ว ิ ฺ าตสตฺถุสาสนา, เตสํ ตํ จิตฺต ํ ตสี ุ าเนสุ ลหกุ ํ อุปปฺ ชฺชต ิ ลหกุ ํ
ปวตตฺ ติ ฯ อุปริภูมสี ุ ครุก ํ อุปปฺ ชชฺ ต ิ ทนฺธํ ปวตตฺ ติ ฯ กกึ ารณา ? ตีสุ าเนส ุ จิตฺตสสฺ
ปริสุทธฺ ตฺตา อปุ ริ กเิ ลสานํ อปปฺ หนี ตตฺ า ฯ ยถา มหาราช วํสนาฬสฺส ติปพพฺ คณ ฺ ิ-
ปรสิ ทุ ธฺ สฺส อุปร ิ สาขาชฏาชฏิตสฺส อากฑฺฒยิ นตฺ สสฺ ยาว ตปิ พฺพ ํ ตาว ลหุก ํ เอต,ิ ตโต
อุปริ ถทธฺ ํ ฯ กึการณา ? เหฏ ฺ า ปริสุทธฺ ตตฺ า อปุ ริ สาขาชฏาชฏติ ตตฺ า ฯ เอวเมว โข
มหาราช เย เต โสตาปนฺนา ปหิ ติ าปายา ทิฏฺ ิปฺปตตฺ า ว ิ ฺ าตสตถฺ สุ าสนา, เตส ํ ตํ
จติ ฺต ํ ตีสุ าเนส ุ ลหุก ํ อปุ ปฺ ชชฺ ติ ลหุก ํ ปวตตฺ ติ, อปุ รภิ ูมีส ุ ครกุ ํ อปุ ปฺ ชชฺ ต ิ ทนธฺ ํ
ปวตตฺ ติ ฯ กกึ ารณา ? ตีส ุ าเนสุ จิตตฺ สฺส ปรสิ ทุ ฺธตตฺ า อุปริ กิเลสานํ อปฺปหีนตฺตา, อิท ํ
ทตุ ยิ ํ จิตฺตํ ฯ
ในบรรดาจติ ๗ อย่างเหลา่ น้ัน จิตอย่างท่ี ๒ นี้ ย่อมถงึ การจ�ำแนก
ขอถวายพระพรมหาบพติ ร จิตของบุคคลผูเ้ ปน็ พระโสดาบัน ผูป้ ิดอบายได้แลว้ ผูบ้ รรลุ
ด้วยทิฏฐิแล้ว ผู้รแู้ จง้ ค�ำสอนของพระศาสดาแล้ว นัน้ ย่อมเกิดขนึ้ รวดเรว็ ย่อมเป็นไปรวดเรว็
ในฐานะ ๓, ยอ่ มเกิดข้นึ ได้ชา้ เปน็ ไปได้ชา้ ในภมู ทิ เ่ี หนือขน้ึ ไป ถามว่า ‘เพราะเหตุไร ?’ แกว้ า่
‘เพราะจติ เป็นธรรมชาตบิ ริสุทธิ์ในฐานะ ๓ (และ) เพราะยงั ละกิเลสทเี่ หนือขึ้นไปมิได้’ ขอถวาย
พระพร เปรยี บเหมือนว่า เมื่อเขาดงึ ล�ำไม้ไผท่ ไ่ี ดล้ ิดข้อปม ๓ ปลอ้ งออกไปแลว้ ยงั มรี กชัฏแห่ง
ก่งิ กา้ นตอนเหนือขนึ้ ไปเกย่ี วพันกนั อยู่เทยี ว ล�ำไมไ้ ผ่ ๓ ปล้อง (ที่ไดล้ ดิ ขอ้ ปมออกไปแล้ว)
เทา่ นน้ั เคลอื่ นมาได้เรว็ เหนือขนึ้ ไปกว่านนั้ เคลอื่ นมาได้ล�ำบาก ถามว่า ‘เพราะเหตุไร ?’ แก้
ว่า ‘เพราะไดล้ ดิ ข้อปมตอนลา่ งออกไปแลว้ เหนือขน้ึ ไปยงั มรี กชฏั แห่งกิง่ ก้านเกย่ี วพนั กนั อย่’ู
ฉนั ใด ขอถวายพระพร จติ ของบุคคลผู้เปน็ พระโสดาบัน ผ้ปู ิดอบายได้แล้ว ผู้บรรลดุ ว้ ยทิฏฐิ
แลว้ ผู้รู้แจง้ ค�ำสอนของพระศาสดาแล้วน้ัน ย่อมเกดิ ข้ึนรวดเร็ว ยอ่ มเป็นไปรวดเร็ว ในฐานะ
๓, ยอ่ มเกิดขน้ึ ไดช้ า้ เป็นไปชกั ช้า ในภมู ิท้ังหลายท่ีเหนือขนึ้ ไป ถามว่า ‘เพราะเหตไุ ร ?’ แกว้ า่
‘เพราะจติ เป็นธรรมชาติบรสิ ทุ ธใิ์ นฐานะ ๓ (และ) เพราะยังละกเิ ลสทเ่ี หนอื ข้ึนไปมิได’้ ฉนั น้นั
เหมอื นกนั น้เี ป็นจติ อย่างที่ ๒
272 มิลนิ ทปญั หาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปญั ห
‘‘ตตรฺ ทิ ํ ตติย ํ จิตตฺ ํ วภิ ตฺตมาปชฺชติ – เย เต มหาราช, สกทาคามิโน, เยส ํ
ราคโทสโมหา ตนุภูตา, เตสํ ตํ จิตฺตํ ป จฺ สุ าเนสุ ลหุก ํ อุปปฺ ชฺชติ ลหกุ ํ ปวตฺตต,ิ อปุ ริ
ภูมีสุ ครุก ํ อุปฺปชชฺ ต ิ ทนฺธํ ปวตฺตติ ฯ กึการณา ? ป ฺจส ุ าเนสุ จติ ตฺ สสฺ ปริสทุ ฺธตฺตา
อปุ ร ิ กิเลสาน ํ อปฺปหีนตตฺ า ฯ ยถา มหาราช วํสนาฬสฺส ป ฺจปพฺพคณฺ ิปริสทุ ธฺ สฺส อปุ ริ
สาขาชฏาชฏติ สสฺ อากฑฒฺ ิยนตฺ สฺส ยาว ป ฺจปพพฺ ํ ตาว ลหุกํ เอติ, ตโต อปุ ริ ถทธฺ ํ ฯ
กกึ ารณา ? เหฏ ฺ า ปรสิ ุทฺธตฺตา อุปริ สาขาชฏาชฏิตตตฺ า ฯ เอวเมว โข มหาราช เย เต
สกทาคามโิ น, เยสํ ราคโทสโมหา ตนภุ ูตา, เตส ํ ตํ จิตฺต ํ ป ฺจสุ าเนสุ ลหุก ํ อปุ ปฺ ชฺชติ
ลหกุ ํ ปวตตฺ ต,ิ อปุ ริภูมสี ุ ครุกํ อปุ ปฺ ชฺชต ิ ทนฺธ ํ ปวตตฺ ติ ฯ กกึ ารณา ? ป ฺจส ุ าเนส ุ
จติ ฺตสสฺ ปรสิ ุทฺธตฺตา อุปร ิ กเิ ลสานํ อปฺปหนี ตฺตา, อิท ํ ตตยิ ํ จติ ฺตํ ฯ
ในบรรดาจติ ๗ ดวงเหล่าน้นั จิตอยา่ งท่ี ๓ นี้ ย่อมถึงการจ�ำแนก
ขอถวายพระพร จติ ของบคุ คลผเู้ ปน็ พระสกทาคามี ผมู้ รี าคะ โทสะ และโมหะเป็น
ธรรมชาติที่เบาบางแลว้ นั้น ยอ่ มเกดิ ขน้ึ รวดเรว็ เปน็ ไปรวดเรว็ ในฐานะ ๕, ย่อมเกดิ ขึ้นได้
ชักช้า เปน็ ไปชักช้า ในภมู ิท้งั หลายทเี่ หนือข้นึ ไป ถามว่า ‘เพราะเหตุไร ?’ แก้วา่ ‘เพราะจติ เปน็
ธรรมชาตทิ ่ีบริสทุ ธ์ใิ นฐานะ ๕ เพราะยังละกิเลสท้งั หลายทเี่ หนือขึน้ ไปมไิ ด’้ ขอถวายพระพร
เปรยี บเหมือนวา่ เมือ่ เขาดงึ ล�ำไมไ้ ผ่ทีล่ ิดขอ้ ปม ๕ ปล้องออกไปแล้ว ยังมรี กชัฏแห่งก่ิงก้าน
ตอนเหนือขึน้ ไปเกี่ยวพนั กันอยูเ่ ทียว ล�ำไม้ไผ่ ๕ ปลอ้ ง (ทไ่ี ด้ลดิ ข้อปมออกไปแล้ว) เทา่ นั้น
เคลื่อนมาได้เรว็ เหนือข้ึนไปกวา่ นัน้ เคล่อื นมาไดล้ �ำบาก ถามวา่ ‘เพราะเหตุไร ?’ แก้วา่ ‘เพราะ
ได้ลดิ ข้อปมตอนลา่ งออกไปแลว้ เหนือขึ้นไปยังมรี กชฏั แหง่ ก่ิงกา้ นเก่ยี วพนั กันอย’ู่ ฉนั ใด ขอ
ถวายพระพร จิตของบคุ คลผู้เปน็ สกทาคามี ผมู้ รี าคะ โทสะ และโมหะ เป็นธรรมชาตทิ ่เี บาบาง
แล้ว จิตนนั้ ของบุคคลผ้เู ป็นพระสกทาคามีเหลา่ นัน้ ยอ่ มเกิดขึน้ รวดเรว็ เปน็ ไปรวดเรว็ ใน
ฐานะ ๕, ย่อมเกิดข้ึนไดช้ กั ช้า เป็นไปชกั ช้า ในภมู ทิ ง้ั หลายที่เหนือขึ้นไป ถามว่า ‘เพราะเหตุไร
?’ แก้ว่า ‘เพราะจติ เปน็ ธรรมชาตบิ รสิ ุทธใิ์ นฐานะ ๕ (และ) เพราะยังละกิเลสทง้ั หลายท่เี หนือ
ขึ้นไปไมไ่ ด’้ ฉันน้นั เหมือนกัน น้ีเปน็ จิตอย่างท่ี ๓
‘‘ตตรฺ ิทํ จตตุ ฺถ ํ จิตฺตํ วิภตฺตมาปชฺชติ – เย เต มหาราช อนาคามโิ น, เยส ํ
ป โฺ จรมฺภาคยิ าน ิ ส ฺโ ชนานิ ปหนี าน,ิ เตสํ ตํ จติ ฺตํ ทสส ุ าเนสุ ลหกุ ํ อปุ ปฺ ชชฺ ติ ลหุกํ
ปวตฺตต,ิ อุปริภมู สี ุ ครกุ ํ อุปฺปชชฺ ต ิ ทนธฺ ํ ปวตฺตติ ฯ กกึ ารณา ? ทสสุ าเนสุ จิตฺตสสฺ
ปรสิ ทุ ธฺ ตฺตา อปุ ริ กิเลสานํ อปปฺ หนี ตฺตา ฯ ยถา มหาราช วสํ นาฬสฺส ทสปพพฺ คณฺ ิ-
ปรสิ ทุ ธฺ สสฺ อปุ ร ิ สาขาชฏาชฏิตสสฺ อากฑฒฺ ิยนตฺ สฺส ยาว ทสปพพฺ ํ ตาว ลหกุ ํ เอติ, ตโต
กณั ฑ์] ๔.๑ อิทธพิ ลวรรค 273
อุปร ิ ถทธฺ ํ ฯ กึการณา ? เหฏ ฺ า ปริสุทฺธตฺตา อุปร ิ สาขาชฏาชฏิตตตฺ า ฯ เอวเมว โข
มหาราช เย เต อนาคามิโน, เยสํ ป โฺ จรมฺภาคิยาน ิ ส ฺโ ชนาน ิ ปหีนาน,ิ เตส ํ ตํ
จติ ตฺ ํ ทสสุ าเนสุ ลหุก ํ อปุ ปฺ ชชฺ ต ิ ลหกุ ํ ปวตตฺ ติ, อปุ รภิ มู ีสุ ครุกํ อปุ ฺปชฺชต ิ ทนธฺ ํ
ปวตตฺ ติ ฯ กึการณา ? ทสส ุ าเนสุ จิตตฺ สฺส ปริสทุ ฺธตตฺ า อุปร ิ กเิ ลสาน ํ อปฺปหีนตฺตา, อทิ ํ
จตุตฺถํ จติ ตฺ ํ ฯ
ในบรรดาจิต ๗ อย่างเหลา่ นน้ั จติ อยา่ งท่ี ๔ น้ี ยอ่ มถึงการจ�ำแนก
ขอถวายพระพร จติ ของบคุ คลผู้เปน็ อนาคามี ผมู้ ีโอรัมภาคยิ สงั โยชน์ (สังโยชนอ์ นั ไป
ในส่วนเบอื้ งต่ำ� ) ๕ อย่าง อนั ละไดแ้ ล้วน้นั ยอ่ มเกิดขึน้ รวดเรว็ เป็นไปรวดเร็ว ในฐานะ ๑๐
ย่อมเกดิ ข้ึนชกั ช้า เป็นไปชักชา้ ในภูมิท้งั หลายที่เหนือขน้ึ ไป ถามว่า ‘เพราะเหตไุ ร’ แก้ว่า
‘เพราะจิตเป็นธรรมชาตทิ ่ีบรสิ ุทธใ์ิ นฐานะ ๑๐ (และ) เพราะยงั ละกิเลสทัง้ หลายท่เี หนือขน้ึ ไป
มไิ ด’้ ขอถวายพระพร เปรียบเหมือนวา่ เมอื่ เขาดงึ ล�ำไมไ้ ผท่ ีไ่ ด้ลิดข้อปม ๑๐ ปล้องออกไป
แล้ว ยงั มรี กชฏั แหง่ ก่ิงก้านตอนเหนอื ขน้ึ ไปเกยี่ วพันกันอยเู่ ทยี ว ล�ำไมไ้ ผ่ ๑๐ ปล้อง (ทไี่ ด้ลิด
ข้อปมออกไปแลว้ ) เท่านั้น เคลื่อนมาได้เร็ว เหนือขน้ึ ไปกว่านน้ั เคลื่อนมาไดล้ �ำบาก ถามว่า
‘เพราะเหตไุ ร’ แก้วา่ ‘เพราะได้ลิดขอ้ ปมตอนลา่ งออกไปแลว้ เหนือข้นึ ไปยังมรี กชฏั แห่งกิง่
กา้ นเกี่ยวพนั กนั อยู่’ ฉนั ใด ขอถวายพระพร จิตของบุคคลผู้เป็นอนาคามี ผูม้ ีโอรัมภาคยิ
สงั โยชน์ ๕ อย่าง อนั ละได้แลว้ นนั้ ย่อมเกิดขึน้ รวดเร็ว เป็นไปรวดเรว็ ในฐานะ ๑๐ อยา่ ง ยอ่ ม
เกดิ ขึน้ ได้ชกั ชา้ เปน็ ไปชักชา้ ในภมู ทิ ัง้ หลายทีเ่ หนือขน้ึ ไป ถามวา่ ‘เพราะเหตุไร’ แก้ว่า ‘เพราะ
จิตเป็นธรรมชาตบิ ริสุทธ์ิ ในฐานะ ๑๐ (และ) เพราะยังละกิเลสทง้ั หลายท่ีเหนือขนึ้ ไปมิได้’ ฉัน
นัน้ เหมอื นกนั นเี้ ปน็ จติ อย่างที่ ๔
‘‘ตตรฺ ทิ ํ ป ฺจม ํ จิตตฺ ํ วิภตตฺ มาปชฺชต ิ – เย เต มหาราช อรหนฺโต ขีณาสวา
โธตมลา วนตฺ กิเลสา วสุ ติ วนโฺ ต กตกรณยี า โอหติ ภารา อนุปฺปตฺตสทตฺถา ปรกิ ฺขณี -
ภวส โฺ ชนา ปตฺตปฏิสมภฺ ทิ า สาวกภมู สี ุ ปริสทุ ฺธา, เตสํ ตํ จิตตฺ ํ สาวกวสิ เย ลหกุ ํ
อปุ ฺปชชฺ ต ิ ลหุก ํ ปวตฺตติ, ปจเฺ จกพทุ ฺธภูมีส ุ ครกุ ํ อุปฺปชฺชต ิ ทนฺธ ํ ปวตฺตติ ฯ กกึ ารณา ?
ปริสทุ ธฺ ตตฺ า สาวกวสิ เย, อปรสิ ุทฺธตตฺ า ปจฺเจกพทุ ฺธวิสเย ฯ ยถา มหาราช วสํ นาฬสฺส
สพพฺ ปพพฺ คณฺ ิปริสทุ ฺธสสฺ อากฑฒฺ ยิ นฺตสฺส ลหุกํ โหต ิ อาคมน ํ อทนธฺ ํ ฯ กึการณา ?
สพฺพปพพฺ คณฺ ิปริสุทธฺ ตตฺ า อคหนตตฺ า วสํ สฺส ฯ เอวเมว โข มหาราช เย เต อรหนฺโต
ขีณาสวา โธตมลา วนฺตกิเลสา วุสติ วนฺโต กตกรณียา โอหิตภารา อนปุ ฺปตตฺ สทตฺถา
ปรกิ ฺขณี ภวส โฺ ชนา ปตฺตปฏสิ มภฺ ทิ า สาวกภูมีส ุ ปริสทุ ฺธา, เตสํ ตํ จิตตฺ ํ สาวกวสิ เย
274 มิลนิ ทปญั หาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปญั ห
ลหกุ ํ อุปปฺ ชฺชต ิ ลหกุ ํ ปวตตฺ ติ, ปจฺเจกพุทธฺ ภมู สี ุ ครกุ ํ อุปฺปชชฺ ติ ทนธฺ ํ ปวตฺตติ ฯ
กึการณา ? ปริสทุ ธฺ ตฺตา สาวกวิสเย, อปรสิ ทุ ฺธตตฺ า ปจเฺ จกพทุ ฺธวสิ เย, อทิ ํ ป ฺจมํ จิตตฺ ํ ฯ
ในบรรดาจติ ๗ อย่างเหลา่ นั้น จติ อยา่ งท่ี ๕ น้ี ย่อมถงึ การจ�ำแนก
ขอถวายพระพร จิตของบุคคลผเู้ ป็นอรหันตขีณาสพ ผู้ลา้ งมลทินไดแ้ ล้ว ส�ำรอกกเิ ลส
ไดแ้ ล้ว อย่จู บพรหมจรรย์แล้ว ไดท้ �ำกิจที่ควรท�ำแลว้ ปลงภาระลงไดแ้ ลว้ บรรลปุ ระโยชน์ตน
ไดต้ ามล�ำดับแลว้ มีสงั โยชน์ในภพอนั ส้นิ แล้ว บรรลปุ ฏสิ ัมภทิ าได้แลว้ บริสทุ ธอิ์ ยูใ่ นภูมขิ อง
สาวกน้ัน ยอ่ มเกดิ ข้ึนรวดเรว็ เป็นไปรวดเรว็ ในวิสยั ของสาวก ยอ่ มเกดิ ขน้ึ ไดช้ ักช้า เปน็ ไป
ชักชา้ ในภูมขิ องพระปจั เจกพทุ ธเจ้า ถามว่า ‘เพราะเหตไุ ร ?’ แก้วา่ ‘เพราะจิตบริสุทธิ์ในวิสยั
ของสาวก (และ) เพราะจิตไม่บริสทุ ธิ์ในวิสัยของพระปัจเจกพทุ ธเจา้ ’ ขอถวายพระพร เปรียบ
เหมือนว่า เมอ่ื เขาดงึ ล�ำไมไ้ ผ่ทไ่ี ดล้ ิดข้อปมหมดทกุ ปล้องแลว้ มา ก็จะมอี ันดงึ มาได้รวดเร็ว ไม่
ชกั ช้า ถามวา่ ‘เพราะเหตุไร ?’ แก้วา่ ‘เพราะได้ลดิ ข้อปมหมดทุกปลอ้ งแล้ว เพราะล�ำไม้ไผห่ า
กอรกไมไ่ ดแ้ ลว้ ’ ฉันใด ขอถวายพระพร จิตของบุคคลผู้เป็นพระอรหนั ตขีณาสพ ผูล้ า้ งมลทนิ
ได้แลว้ ส�ำรอกกเิ ลสไดแ้ ล้ว อยู่จบพรหมจรรยแ์ ลว้ ไดท้ �ำกจิ ท่คี วรท�ำแลว้ ปลงภาระลงไดแ้ ลว้
บรรลุประโยชนต์ นได้ตามล�ำดบั แลว้ มสี ังโยชน์ในภพอนั สิน้ แล้ว บรรลปุ ฏสิ ัมภิทาได้แล้ว
บริสทุ ธิ์อยู่ในภมู ิของสาวกเหลา่ นนั้ ย่อมเกิดขน้ึ รวดเร็ว เป็นไปรวดเรว็ ในวสิ ยั ของสาวก ยอ่ ม
เกิดขน้ึ ไดช้ ักช้า เปน็ ไปชักชา้ ในภมู ิของพระปจั เจกพทุ ธเจา้ ถามวา่ ‘เพราะเหตไุ ร ?’ แกว้ ่า
‘เพราะจิตบริสทุ ธิ์ในวสิ ัยของสาวก (และ) เพราะจติ ไม่บริสุทธ์ิในวสิ ัยของพระปจั เจกพทุ ธเจา้ ’
ฉนั นั้นเหมอื นกนั นี้เปน็ จติ อย่างที ่ ๕
‘‘ตตฺรทิ ํ ฉฏฺ ํ จิตตฺ ํ วภิ ตตฺ มาปชชฺ ติ – เย เต มหาราช ปจฺเจกพทุ ธฺ า สยมภฺ ุโน
อนาจริยกา เอกจาริโน ขคคฺ วสิ าณกปปฺ า สกวิสเย ปริสุทฺธวมิ ลจติ ตฺ า, เตส ํ ต ํ จิตฺตํ
สกวิสเย ลหกุ ํ อุปปฺ ชชฺ ต ิ ลหุกํ ปวตฺตติ, สพฺพ ฺ ุพุทธฺ ภมู ีสุ ครุกํ อปุ ฺปชชฺ ต ิ ทนฺธ ํ
ปวตตฺ ติ ฯ กึการณา ? ปริสทุ ฺธตตฺ า สกวสิ เย มหนฺตตฺตา สพฺพ ฺ พุ ุทธฺ วิสยสสฺ ฯ ยถา
มหาราช ปุรโิ ส สกวิสย ํ ปรติ ฺตํ นท ึ รตตฺ ิมปฺ ิ ทวิ าป ิ ยทจิ ฉฺ ก ํ อจฺฉมฺภิโต โอตเรยยฺ , อถ
ปรโต มหาสมุททฺ ํ คมภฺ ีร ํ วติ ฺถต ํ อคาธมปาร ํ ทิสวฺ า ภาเยยฺย, ทนธฺ าเยยยฺ น วสิ เหยยฺ
โอตริตุํ ฯ กึการณา ? ตณิ ฺณตตฺ า สกวสิ ยสฺส, มหนฺตตฺตา จ มหาสมทุ ทฺ สสฺ ฯ เอวเมว โข
มหาราช เย เต ปจฺเจกพทุ ฺธา สยมฺภุโน อนาจรยิ กา เอกจารโิ น ขคคฺ วสิ าณกปฺปา สกวสิ เย
ปริสุทธฺ วมิ ลจิตตฺ า, เตสํ ต ํ จิตตฺ ํ สกวสิ เย ลหกุ ํ อุปปฺ ชชฺ ต ิ ลหกุ ํ ปวตตฺ ติ, สพพฺ ฺ พุ ทุ ฺธ-
ภมู สี ุ ครุก ํ อปุ ฺปชชฺ ติ ทนฺธํ ปวตตฺ ติ ฯ กกึ ารณา ? ปริสทุ ฺธตตฺ า สกวิสเย มหนฺตตฺตา
กัณฑ์] ๔.๑ อทิ ธิพลวรรค 275
สพฺพ ฺ ุพุทฺธวิสยสฺส, อิท ํ ฉฏ ฺ ํ จติ ตฺ ํ ฯ
ในบรรดาจิต ๗ อยา่ งเหล่านั้น จิตอยา่ งท่ี ๖ นี้ ยอ่ มถงึ การจ�ำแนก
ขอถวายพระพร จิตของพระปัจเจกพุทธเจา้ ผเู้ ป็นเอง ไมม่ ีอาจารย์ เทีย่ วไปผูเ้ ดียว
เหมือนนอแรด ผมู้ จี ติ บรสิ ทุ ธ์ิปราศจากมลทนิ ในวิสยั ของตนเหลา่ นน้ั ย่อมเกดิ ขึ้นรวดเรว็ เป็น
ไปรวดเรว็ ในวสิ ัยของตน ย่อมเกิดข้ึนชักชา้ เป็นไปชกั ช้า ในภูมขิ องพระสพั พัญญพู ุทธเจ้าทั้ง
หลาย ถามว่า ‘เพราะเหตุไร’ แก้วา่ ‘เพราะจิตบริสทุ ธ์ใิ นวสิ ยั ของตน (และ) เพราะวิสยั ของพระ
สัพพญั ญูพทุ ธเจ้าเปน็ สภาพกว้างใหญ่ ขอถวายพระพร เปรียบเหมือนวา่ บรุ ษุ ผู้ไมข่ ลาดกลัว
แมน่ �ำ้ น้อยอันเปน็ วิสัยของตน พึงหยั่งลงในตอนกลางคืนกไ็ ด้ ในตอนกลางวนั กไ็ ด้ ตามท่ี
ปรารถนา ตอ่ มาเขาพอเห็นมหาสมุทรทท่ี ง้ั ลกึ ทงั้ กว้าง หย่ังไมไ่ ด้ มองไม่เหน็ ฝงั่ กพ็ ึงกลวั จึง
ประพฤตชิ กั ชา้ ไม่กล้าจะหย่งั ลง ถามว่า ‘เพราะเหตุไร’ แกว้ า่ ‘เพราะพ้นวสิ ยั ของตนท่จี ะขา้ ม
ได้ และเพราะมหาสมุทรกว้างใหญ่ ฉนั ใด ขอถวายพระพร จิตของพระปจั เจกพทุ ธเจา้ ผู้เปน็
เอง ไม่มีอาจารย์ เท่ยี วไปผู้เดยี วเหมอื นนอแรด ผ้มู ีจิตบรสิ ุทธป์ิ ราศจากมลทิน ในวสิ ยั ของตน
เหล่านั้น ย่อมเกิดขน้ึ ได้รวดเร็ว เปน็ ไปรวดเร็วในวสิ ยั ของตน ยอ่ มเกดิ ขนึ้ ชกั ช้า เปน็ ไปชักช้า
ในภูมิของพระสัพพัญญูพุทธเจา้ ทงั้ หลาย ถามวา่ ‘เพราะเหตุไร’ แกว้ ่า ‘เพราะจิตบรสิ ทุ ธ์ใิ น
วิสัยของตน (และ) เพราะวิสยั ของพระสพั พัญญพู ุทธเจ้าเปน็ สภาพกว้างใหญ่ ฉันนัน้ เหมือน
กัน น้ีเปน็ จิตอยา่ งท ี่ ๖
‘‘ตตฺรทิ ํ สตฺตม ํ จิตตฺ ํ วิภตตฺ มาปชฺชติ – เย เต มหาราช สมฺมาสมพฺ ทุ ธฺ า
สพฺพ ฺ ุโน ทสพลธรา จตเุ วสารชชฺ วสิ ารทา อฏฺ ารสห ิ พทุ ธฺ ธมฺเมห ิ สมนฺนาคตา
อนนตฺ ชนิ า อนาวรณ าณา, เตส ํ ตํ จติ ตฺ ํ สพพฺ ตถฺ ลหุก ํ อปุ ปฺ ชฺชต ิ ลหกุ ํ ปวตตฺ ติ ฯ
กึการณา ? สพพฺ ตฺถ ปรสิ ุทฺธตฺตา ฯ อป ิ น ุ โข มหาราช นาราจสฺส สุโธตสฺส วมิ ลสสฺ
นิคคฺ ณฺ สิ ฺส สขุ มุ ธารสสฺ อชิมฺหสฺส อวงฺกสฺส อกุฏลิ สสฺ ทฬหฺ จาปสมารฬู ฺหสสฺ โขมสุขเุ ม วา
กปฺปาสสขุ เุ ม วา กมฺพลสขุ เุ ม วา พลวนปิ าตติ สฺส ทนธฺ ายิตตฺต ํ วา ลคคฺ น ํ วา โหต’ี ’ติ ?
ในบรรดาจติ ๗ อย่างเหล่านั้น จิตอยา่ งที่ ๗ นี้ ย่อมถึงการจ�ำแนก
“ขอถวายพระพร พระจติ ของพระสมั มาสัมพทุ ธเจา้ ผู้ทรงเป็นพระสพั พญั ญู ผทู้ รงพล
ญาณ ๑๐ ประการ แกลว้ กลา้ ดว้ ยพระเวสารชั ชญาณ ๔ อย่าง ประกอบดว้ ยพระพทุ ธธรรม ๑๘
อย่าง ชนะมารหาท่สี ุดมไิ ด้ มีพระญาณหาเครอื่ งขวางก้นั มิไดน้ ้นั ยอ่ มเกิดขน้ึ ได้รวดเร็ว เป็น
ไปรวดเรว็ ในฐานะทั้งปวง ถามวา่ ‘เพราะเหตไุ ร’ แก้ว่า ‘เพราะทรงมีพระจติ บริสทุ ธิ์
ในฐานะท้งั ปวง ขอถวายพระพร ก็ลกู ธนูทเ่ี ขาขดั ดแี ล้ว ปราศจากสนมิ ไมม่ ีปุ่มปม เฉยี บคม
276 มิลินทปัญหาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปญั ห
ไมค่ ด ไมง่ อ ไม่โกง่ ที่นายขมังธนยู กข้ึนสู่แลง่ แขง็ แรง แลว้ ยิงเต็มก�ำลังไปทผี่ ้าเปลือกไมเ้ นือ้
ละเอยี ดบา้ ง ทผ่ี า้ ฝา้ ยเน้อื ละเอยี ดบา้ ง ท่ีผา้ กัมพลเนอื้ ละเอยี ดบา้ ง ยอ่ มมอี ันแล่นทะลุไปได้ชา้
หรอื ว่า มอี ันติดขดั หรอื ไร ?”
‘‘น ห ิ ภนเฺ ต ‘กึการณา?’ ‘สขุ มุ ตฺตา วตถฺ าน ํ สโุ ธตตตฺ า นาราจสฺส นปิ าตสฺส จ
พลวตตฺ า’’ต,ิ
พระเจา้ มลิ นิ ท์ตรสั วา่ “หามไิ ด้ พระคณุ เจา้ ถามว่า ‘เพราะเหตไุ ร ?’ แก้วา่ ‘เพราะผา้
เปน็ ผา้ เนอ้ื ละเอยี ด เพราะลกู ธนูก็ถกู ขัดเกลาไว้ดี และเพราะการยิงไปกม็ ีก�ำลงั แรง”
เอวเมว โข มหาราช เย เต สมมฺ าสมพฺ ทุ ฺธา สพพฺ ฺ โุ น ทสพลธรา
จตุเวสารชชฺ วสิ ารทา อฏฺ ารสหิ พทุ ธฺ ธมเฺ มห ิ สมนฺนาคตา อนนตฺ ชนิ า อนาวรณ าณา,
เตสํ ต ํ จิตฺต ํ สพฺพตฺถ ลหุก ํ อุปปฺ ชชฺ ต ิ ลหุกํ ปวตตฺ ติ ฯ ‘กกึ ารณา ?’ สพพฺ ตถฺ
ปรสิ ทุ ธฺ ตฺตา, อิทํ สตฺตม ํ จิตตฺ ํ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร กเ็ หมอื นกนั อย่างนั้นน่ันแหละ พระจิต
ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ผทู้ รงเป็นพระสัพพญั ญู ผทู้ รงพลญาณ ๑๐ ประการ ผแู้ กลว้ กลา้
ด้วยพระเวสารัชชญาณ ๔ อย่าง ผปู้ ระกอบด้วยพระพทุ ธธรรม ๑๘ อย่าง ผชู้ นะมารหาท่ีสดุ
มิได้ ผมู้ ีพระญาณหาเครื่องขวางก้ันมิได้ พระจิตน้ันของพระสมั าสัมพุทธเจา้ เหล่าน้ัน ย่อมเกดิ
ขน้ึ รวดเรว็ เป็นไปรวดเรว็ ในฐานะท้ังปวง ถามว่า ‘เพราะเหตไุ ร ?’ แก้ว่า ‘เพราะทรงมพี ระจติ
บริสุทธิ์ในฐานะทงั้ ปวง’ นเ้ี ปน็ จติ อยา่ งท่ี ๗
‘‘ตตรฺ มหาราช ยททิ ํ สพพฺ ฺ พุ ทุ ฺธาน ํ จิตตฺ ,ํ ต ํ ฉนนฺ มฺป ิ จิตฺตาน ํ คณนํ
อตกิ กฺ มิตวฺ า อสงเฺ ขฺยยเฺ ยน คุเณน ปรสิ ุทฺธ จฺ ลหกุ จฺ ฯ ยสฺมา จ ภควโต จติ ฺตํ
ปริสุทธฺ จฺ ลหุก ฺจ, ตสฺมา มหาราช ภควา ยมกปาฏิหีร ํ ทสเฺ สติ ฯ ยมกปาฏิหีเร มหาราช
าตพพฺ ํ พทุ ธฺ านํ ภควนฺตานํ จิตฺตํ เอว ํ ลหุปริวตตฺ นตฺ ,ิ น ตตถฺ สกฺกา อุตตฺ ร ึ การณํ
วตตฺ ุ,ํ เตป ิ มหาราช ปาฏหิ ีรา สพพฺ ฺ พุ ุทฺธานํ จติ ฺต ํ อุปาทาย คณนมฺปิ สงขฺ มฺปิ
กลมฺป ิ กลภาคมปฺ ิ น อเุ ปนฺต,ิ อาวชฺชนปฏิพทฺธ ํ มหาราช ภควโต สพฺพ ฺ ุตญ ฺ าณ ํ
อาวชเฺ ชตฺวา ยทจิ ฉฺ กํ ชานาติ ฯ
ขอถวายพระพร ในบรรดาจติ เหลา่ นั้น จติ ของพระสพั พัญญพู ุทธเจ้าท้งั หลาย เปน็
ธรรมชาตทิ ีบ่ ริสทุ ธ์ิและรวดเร็ว ล่วงพน้ จ�ำนวนนับแห่งจติ ทง้ั ๖ อยา่ ง ดว้ ยพระคุณทใี่ ครๆ กไ็ ม่
อาจจะนับได้ ขอถวายพระพร เพราะเหตุท่ีพระผมู้ พี ระภาคเจ้ามพี ระจติ เป็นธรรมชาตบิ รสิ ุทธ์ิ
กัณฑ์] ๔.๑ อทิ ธิพลวรรค 277
และรวดเร็ว ฉะน้ัน พระผูม้ พี ระภาคเจ้าจงึ ทรงแสดงพระยมกปาฏิหารยิ ์ได้ ขอถวายพระพร ผู้
อ่ืนพึงทราบไดว้ ่า พระจติ ของพระผู้มีพระภาคพุทธเจา้ ทงั้ หลาย เปน็ ไปรวดเร็วได้อย่างนี้ กใ็ น
คราวท่ีทรงแสดงพระยมกปาฏหิ ารยิ ์ ในการท่ที รงแสดงพระยมกปาฏิหาริย์ไดน้ ัน้ ใคร ๆ ไม่
อาจกลา่ วเหตุอ่ืนที่ย่งิ กวา่ (เหตุทท่ี รงมีพระจิตบริสทุ ธิ์ เปน็ ไปรวดเรว็ ยง่ิ นี)้ ได ้ ขอถวาย
พระพร พระปาฏิหาริยแ์ มเ้ หลา่ นน้ั เทยี บจ�ำนวนนบั พระจิตของพระสัพพัญญูพทุ ธเจ้าแลว้ ก็
ไมถ่ ึงแมจ้ �ำนวน แม้การนับ แมส้ กั เสีย้ วหน่งึ แม้สักสว่ นแหง่ เสย้ี วหนึ่ง ขอถวายพระพร พระ
สัพพัญญตุ ญาณของพระผู้มีพระภาคเจา้ เนอ่ื งด้วยการใครค่ รวญ คือทรงใครค่ รวญกอ่ นแล้ว
จึงทรงรู้ไดต้ ามทต่ี ้องการ
‘‘ยถา มหาราช ปุรโิ ส หตฺเถ ปิต ํ ย ํ กิ ฺจิ ทุติเย หตเฺ ถ เปยฺย ววิ เฏน มเุ ขน
วาจํ นิจฺฉาเรยยฺ , มุขคต ํ โภชน ํ คเิ ลยยฺ , อมุ มฺ เี ลตฺวา วา นมิ เี ลยฺย, นิมีเลตวฺ า วา
อุมมฺ เี ลยยฺ , สมิ ชฺ ิต ํ วา พาหํ ปสาเรยฺย, ปสารติ ํ วา พาหํ สมิ ฺเชยยฺ , จิรตร ํ เอตํ
มหาราช ลหุตรํ ภควโต สพฺพ ฺ ตุ ญ ฺ าณ,ํ ลหตุ รํ อาวชชฺ น,ํ อาวชเฺ ชตวฺ า ยทิจฺฉก ํ
ชานาติ, อาวชชฺ นวิกลมตตฺ เกน น ตาวตา พทุ ฺธา ภควนโฺ ต อสพฺพ ฺ โุ น นาม
โหนฺต’ี ’ติ ฯ
ขอถวายพระพร เปรียบเหมอื นวา่ บรุ ุษคนหนง่ึ พึงวางของอย่างใดอย่างหนงึ่ ท่ีวางอยู่
บนมือข้างหน่งึ ไวบ้ นมือข้างที่ ๒ อ้าปากเปล่งวาจา กลืนของกนิ ทอี่ ยู่ในปาก ลืมตาแลว้ หลับตา
บ้าง หลบั ตาแลว้ ลืมตาบา้ ง เหยยี ดแขนท่ีค้อู ยูอ่ อกไปบา้ ง คู้แขนทเี่ หยียดอยเู่ ข้ามาบา้ ง ขอ
ถวายพระพร การกระท�ำดังกล่าวมานี้ ยังนับวา่ ช้ากวา่ พระสัพพัญญุตญาณของพระผูม้ พี ระ
ภาคเจา้ เรว็ กว่า คือทรงใครค่ รวญไดร้ วดเรว็ อยา่ งย่งิ ทรงใคร่ครวญแล้ว กท็ รงรไู้ ดต้ ามที่ทรง
ตอ้ งการ พระผู้มีพระภาคพทุ ธเจ้าทั้งหลายจะชื่อวา่ ไมใ่ ชพ่ ระสัพพญั ญู เพราะเหตสุ ักว่ายังมี
การต้องใครค่ รวญ (ถึงอารมณท์ ที่ รงประสงคจ์ ะร)ู้ เป็นข้อบกพร่องอยู่ กห็ าไม”่
‘‘อาวชฺชนมปฺ ิ ภนเฺ ต นาคเสน ปริเยสนาย กาตพฺพํ, อิงฺฆ มํ ตตถฺ การเณน
ส ฺ าเปหี’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ นิ ทต์ รัสวา่ “พระคณุ เจ้านาคเสน พระพุทธเจ้าก็ยังทรงท�ำแม้การใครค่ รวญ
ด้วยการแสวงหา เอาเถอะ ในขอ้ ทีว่ า่ น้ัน ขอทา่ นจงช่วยท�ำใหโ้ ยมเขา้ ใจ ด้วยเหตผุ ลเถิด”
278 มิลินทปัญหาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปัญห
‘‘ยถา มหาราช ปุรสิ สสฺ อฑฒฺ สสฺ มหทฺธนสฺส มหาโภคสฺส ปหตู ชาตรปู รชตสฺส
ปหตู วิตฺตูปกรณสสฺ ปหูตธนธ ฺ สฺส สาลวิ ีหิยวตณฑฺ ุลติลมุคฺคมาสปพุ ฺพณณฺ าปรณฺณสปฺป-ิ
เตลนวนตี ขรี ทธิมธุคฬุ ผาณิตา จ ขโฬปิกมุ ฺภปิ ี รโกฏฺ ภาชนคตา ภเวยฺยํ,ุ ตสสฺ จ ปรุ ิสสฺส
ปาหุนโก อาคจเฺ ฉยยฺ ภตฺตารโห ภตตฺ าภกิ งขฺ ,ี ตสฺส จ เคเห ยํ รนธฺ ํ โภชน,ํ ตํ
ปรินิฏ ฺ ติ ํ ภเวยฺย, กมุ ฺภิโต ตณฑฺ ุเล นหี ริตฺวา โภชน ํ รนฺเธยยฺ , อปจิ โข โส มหาราช
ตาวตเกน โภชนเวกลฺลมตตฺ เกน อธโน นาม กปโณ นาม ภเวยฺยา’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร เปรยี บเสมอื นว่า บรุ ุษผมู้ ่งั ค่งั มีทรพั ย์
มาก มีเคร่ืองใช้สอยมาก มเี งนิ และทองมากพอ มอี ุปกรณเ์ คร่อื งปล้ืมใจมากพอ มที รัพย์สิน
และธัญญาหารมากเพียงพอ จะพึงมขี ้าวสาลี ขา้ วเปลอื ก ขา้ วเหนียว ขา้ วสาร งา ถั่วราชมาส
ปพุ พณั ณชาติ อปรัณณชาติ เนยใส น�ำ้ มัน เนยขน้ นมสด นมส้ม น้ำ� ผ้งึ น�ำ้ ตาลงบ และน้ำ� อ้อย
อยใู่ นหม้อ ตะกรา้ ย้งุ ฉาง หรือภาชนะทสี่ ะอาด และบรุ ษุ นั้นมแี ขกมาหา ซ่งึ เปน็ ผ้คู วรตอ้ นรบั
ดว้ ยอาหาร เป็นผูห้ วังจะได้อาหาร แต่วา่ อาหารทหี่ ุงตม้ ไว้แลว้ ในเรอื นของบุรุษผู้นนั้ หมดไป
แล้ว เขาจึงเอาข้าวสารจากหมอ้ ทีเ่ กบ็ ไว้มาหุงเป็นอาหาร ขอถวายพระพร บรุ ษุ ผมู้ ีทรพั ย์
มากมายผูน้ ั้น พงึ กลายเป็นคนผู้ชื่อวา่ มีทรัพย์น้อย ยากจน เพราะเหตุสกั ว่าของกินบกพร่อง
ไปเทา่ นั้นหรือ ?”
‘‘น ห ิ ภนเฺ ต จกกฺ วตตฺ ริ ฺโ ฆเรป,ิ ภนฺเต อกาเล โภชนเวกลลฺ ํ โหต,ิ กึ ปน
คหปตกิ สฺสา’’ติ ?
พระเจา้ มลิ ินท์ตรัสวา่ “หามิได้ พระคุณเจา้ จะป่วยกล่าวไปใยถงึ ในเรอื นของผ้เู ป็น
คฤหบดีเท่านน้ั เลา่ แม้ในพระราชมณเฑยี รของพระเจ้าจักรพรรดิ ในสมัยมิใชก่ าล ก็ยังมเี รือ่ ง
ใหโ้ ภชนะบกพร่องไปบา้ ง”
‘‘เอวเมว โข มหาราช ตถาคตสฺส อาวชฺชนวกิ ลมตตฺ กํ สพฺพ ฺ ตุ ญฺ าณ ํ
อาวชเฺ ชตวฺ า ยทิจฉฺ ก ํ ชานาติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร ก็เหมอื นกนั อย่างน้ันนั่น
แหละ พระสัพพญั ญุตญาณของพระตถาคต เพยี งมกี ารใครค่ รวญถึง เปน็ ข้อบกพรอ่ ง คือทรง
ใครค่ รวญกอ่ นแลว้ จึงทรงรไู้ ด้ตามทตี่ อ้ งการ
‘‘ยถา วา ปน มหาราช รุกโฺ ข อสฺส ผลโิ ต โอณตวินโต ปิณฺฑภิ ารภรโิ ต, น เต
กิ จฺ ิ ตตถฺ ปติต ํ ผล ํ ภเวยฺย, อปิ น ุ โข โส มหาราช รกุ โฺ ข ตาวตเกน ปตติ ผล-
กณั ฑ]์ ๔.๑ อทิ ธิพลวรรค 279
เวกลฺลมตฺตเกน อผโล นาม ภเวยยฺ า’’ติ ?
ขอถวายพระพร เปรียบเหมอื นว่า ต้นไม้ผลิผลหอ้ ยย้อยเป็นช่อ ๆ ดกเตม็ ตน้ ผลบาง
ผลท่ีตกหลน่ ทีต่ ้นไมน้ น้ั ของทา่ น ไมพ่ งึ มบี ้างหรือ ขอถวายพระพร ต้นไมน้ น้ั พึงชือ่ ว่าเปน็ ต้น
ไม้ทไี่ ม่มีผล เพราะเหตสุ ักว่าบกพร่องไปดว้ ยผลทต่ี กหลน่ ไปมปี ระมาณเท่านนั้ หรือไร ?”
‘‘น หิ ภนฺเต ปตนปฏิพทธฺ านิ ตานิ รกุ ฺขผลานิ, ปตเิ ต ยทิจฺฉกํ ลภตี’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ ินท์ตรสั วา่ “หามไิ ด้ พระคุณเจา้ ผลไม้เหล่านั้นเน่อื งอยู่กับการตกหล่น เมื่อ
ตกหลน่ แล้ว คนก็ยอ่ มไดต้ ามที่ต้องการ”
‘‘เอวเมว โข มหาราช ตถาคตสฺส อาวชฺชนปฏพิ ทธฺ ํ สพพฺ ฺ ตุ ญฺ าณํ
อาวชเฺ ชตวฺ า ยทจิ ฉฺ กํ ชานาตี’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร กเ็ หมอื นกันอย่างน้ันนนั่
แหละ พระสพั พญั ญตุ ญาณของพระตถาคตเน่อื งอยู่กบั การใครค่ รวญ คือทรงใครค่ รวญกอ่ น
แล้วกท็ รงรไู้ ด้ตามทต่ี อ้ งการ”
‘‘ภนเฺ ต นาคเสน อาวชเฺ ชตวฺ า อาวชฺเชตวฺ า พทุ ฺโธ ยทจิ ฉฺ ก ํ ชานาตี’’ติ ?
พระเจา้ มิลนิ ทต์ รัสว่า “พระคุณเจ้านาคเสน พระพุทธเจ้าทรงใคร่ครวญไปเสยี ก่อนแลว้
จงึ ทรงรู้ได้ตามที่ทรงต้องการหรอื ?”
‘‘อาม มหาราช ภควา อาวชเฺ ชตวฺ า อาวชเฺ ชตฺวา ยทิจฺฉกํ ชานาต’ี ’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร ถูกตอ้ งแล้ว พระผ้มู พี ระภาคเจ้าทรง
ใครค่ รวญไปๆ เสียก่อนแลว้ จงึ ทรงรู้ได้ตามที่ทรงตอ้ งการ”
‘‘ยถา มหาราช จกกฺ วตตฺ ี ราชา ยทา จกกฺ รตน ํ สรต ิ ‘อุเปตุ เม จกกฺ รตนนฺ’ติ,
สริเต จกฺกรตนํ อเุ ปติ, เอวเมว โข มหาราช ตถาคโต อาวชเฺ ชตฺวา อาวชฺเชตฺวา ยทจิ ฺฉกํ
ชานาตี’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร เปรยี บเหมือนว่า ในเวลาที่พระเจา้ จักรพรรดทิ รงระลึกถงึ จักรแก้ว
เมอ่ื ทรงระลึกว่า ขอจักรแกว้ จงเข้ามาหาเรา ดงั นี้แลว้ จักรแกว้ กจ็ ะเข้าไปหาพระองค์ ฉันใด
ขอถวายพระพร พระตถาคตกท็ รงใคร่ครวญไปๆ เสียกอ่ นแลว้ กท็ รงรู้ไดต้ ามทที่ รงต้องการ
ฉันน้นั เหมอื นกัน”
280 มิลินทปญั หาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปญั ห
‘‘ทฬฺหํ ภนเฺ ต นาคเสน การณ ํ พุทฺโธ สพพฺ ฺ ู, สมฺปฏจิ ฺฉาม ‘พทุ ฺโธ สพพฺ ฺ ู’’ติฯ
พระเจา้ มลิ นิ ทต์ รัสว่า “เป็นเหตผุ ลที่หนักแนน่ พระคณุ เจา้ นาคเสน พระพุทธเจ้าทรง
เป็นพระสพั พญั ญูจริง โยมขอยอมรับวา่ ‘พระพุทธเจ้าทรงเปน็ พระสพั พญั ญู”
พุทฺธสพพฺ ญฺญุภาวปญฺโห ทุตโิ ย ฯ
จบพทุ ธสพั พญั ญุภาวปัญหาขอ้ ท่ี ๒
________
๓. เทวทตตฺ ปพพฺ ชฺชปญฺห
๓. เทวทตั ตปพั พชั ชปญั หา
ปญั หาวา่ ดว้ ยการท่ีทรงโปรดให้พระเทวทัตไดบ้ วช
[๓] ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน เทวทตฺโต เกน ปพฺพาชิโต’’ติ ?
[๓] พระเจา้ มิลนิ ทร์ บั สง่ั ถามว่า “พระคุณเจา้ นาคเสน ใครบวชใหพ้ ระเทวทตั ?”
‘‘ฉ ยเิ ม มหาราช ขตฺติยกมุ ารา ภททฺ โิ ย จ อนุรุทโฺ ธ จ อานนฺโท จ ภค ุ จ กิมพฺ ิโล
จ เทวทตโฺ ต จ อุปาลกิ ปฺปโก สตตฺ โม อภิสมพฺ ทุ ฺเธ สตถฺ ริ สกยฺ กุลานนทฺ ชนเน ภควนตฺ ํ
อนปุ พฺพชนฺตา นิกขฺ มสึ ,ุ เต ภควา ปพฺพาเชสี’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร ขตั ติยกุมาร ๖ พระองคเ์ หล่า
น้ี คอื (๑) ทา่ นภัททิยะ (๒) ท่านอนรุ ุทธะ (๓) ท่านอานนท ์ (๔) ท่านภค ุ (๕) ท่านกิมพิละ
(๖) ท่านเทวทัต และคนท่ี ๗ คอื ช่างกลั บกชอื่ ว่าอบุ าลี เมือ่ คราวที่พระศาสดาทรงตรัสรู้ใหม่ ๆ
ไดอ้ อกบวชตามพระผมู้ ีพระภาคเจา้ ในคราวทีเ่ สดจ็ ไปโปรดพวกศากยตระกลู ให้เกิดความ
ยินดี พระผู้มพี ระภาคเจ้าทรงโปรดใหท้ า่ นเหล่าน้ันไดบ้ วช”
‘‘นน ุ ภนฺเต เทวทตเฺ ตน ปพฺพชติ วฺ า สโํ ฆ ภนิ โฺ น’’ติ ?
พระเจา้ มลิ ินทต์ รสั ถามว่า “พระคณุ เจา้ พระเทวทัตบวชแลว้ กท็ �ำสงั ฆเภทมิใชห่ รือ ?”
‘‘อาม มหาราช เทวทตเฺ ตน ปพพฺ ชติ ฺวา สโํ ฆ ภินฺโน, น คหิ ี สฆํ ํ ภนิ ฺทต,ิ น
ภิกขฺ นุ ,ี น สิกขฺ มานา, น สามเณโร, น สามเณรี สํฆ ํ ภินฺทติ, ภกิ ขฺ ุ ปกตตโฺ ต สมาน-
สวํ าสโก สมานสมี าย ํ ิโต สํฆํ ภินฺทตีติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร ใช่ พระเทวทตั บวชแล้วกท็ �ำสังฆเภท
กณั ฑ]์ ๔.๑ อิทธิพลวรรค 281
พวกคฤหสั ถก์ ท็ �ำสังฆเภทไมไ่ ด้ พวกนางภิกษุณกี ็ท�ำสงั ฆเภทไม่ได้ พวกนางสกิ ขมานากท็ �ำ
สงั ฆเภทไมไ่ ด้ พวกสามเณรกท็ �ำสงั ฆเภทไมไ่ ด้ สามเณรกี ท็ �ำสังฆเภทไม่ได้ ภิกษผุ ู้ปกตัตตะ
มีสังวาสเสมอกัน ด�ำรงอยใู่ นสมี าเสมอกนั ยอ่ มท�ำสงั ฆเภทได้”
“สํฆเภทโก ภนฺเต ปุคฺคโล กึ กมมฺ ํ ผุสต’ี ’ติ ?
พระเจ้ามิลินท์ตรสั ถามวา่ “พระคุณเจ้า บคุ คลผ้ทู �ำสงั ฆเภท ย่อมถกู ตอ้ งกรรมอะไร ?”
‘‘กปฺปฏฺ ติ ิก ํ มหาราช กมมฺ ํ ผสุ ต’ี ’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร ผูท้ �ำสงั ฆเภทย่อมถูกต้องกปั ปัฏฐิตกิ -
กรรม (กรรมท่ีเป็นเหตุใหต้ งั้ อย่ใู นนรกตลอดกปั )”
‘‘กึ ปน ภนเฺ ต นาคเสน พุทโฺ ธ ชานาต ิ ‘เทวทตโฺ ต ปพพฺ ชติ วฺ า สํฆํ ภนิ ฺทิสฺสต,ิ
สฆํ ํ ภนิ ทฺ ติ ฺวา กปปฺ ํ นิรเย ปจจฺ ิสสฺ ต’ี ’ติ ?
พระเจา้ มิลินทต์ รัสถามว่า “พระคุณเจ้านาคเสน พระพทุ ธเจ้ากท็ รงทราบอยูว่ า่ ‘พระ
เทวทัตบวชแลว้ จักท�ำสังฆเภท ครัน้ ท�ำสังฆเภทแลว้ จกั หมกไหม้อยใู่ นนรกตลอดกปั ’ ดังน้ี
มิใช่หรอื ?”
‘‘อาม มหาราช ตถาคโต ชานาติ ‘เทวทตโฺ ต ปพฺพชิตวฺ า สํฆ ํ ภนิ ฺทิสฺสติ, สฆํ ํ
ภินทฺ ิตวฺ า กปฺปํ นริ เย ปจฺจสิ ฺสตี’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ใช่ มหาบพิตร พระตถาคตทรงทราบว่า ‘พระเทวทตั
บวชแล้ว จักท�ำสังฆเภท ครนั้ ท�ำสังฆเภทแลว้ จกั หมกไหมอ้ ยู่ในนรกตลอดกปั ”
‘‘ยทิ ภนฺเต นาคเสน พทุ ฺโธ ชานาติ ‘เทวทตฺโต ปพฺพชติ ฺวา สฆํ ํ ภนิ ทฺ สิ ฺสติ, สํฆ ํ
ภนิ ทฺ ติ ฺวา กปฺป ํ นิรเย ปจจฺ ิสสฺ ต’ี ต,ิ เตนหิ ภนเฺ ต นาคเสน ‘พทุ ฺโธ การณุ ิโก อนุกมฺปโก
หิเตสี สพฺพสตตฺ านํ อหติ ํ อปเนตวฺ า หติ มุปทหตีต ิ ยํ วจนํ, ต ํ มิจฺฉา ฯ ยทิ ต ํ
อชานิตวฺ า ปพฺพาเชสิ, เตนหิ พุทโฺ ธ อสพฺพ ฺ ตู ิ, อยมฺป ิ อภุ โต โกฏิโก ป ฺโห
ตวานปุ ฺปตโฺ ต, วิชเฏหิ เอต ํ มหาชฏ,ํ ภนิ ทฺ ปราปวาทํ, อนาคเต อทธฺ าเน ตยา สทิสา
พทุ ธฺ ิมนโฺ ต ภิกขฺ ู ทุลลฺ ภา ภวสิ สฺ นฺติ, เอตถฺ ตว พลํ ปกาเสห’ี ’ติ ฯ
พระเจ้ามิลนิ ท์ตรสั วา่ “พระคุณเจา้ นาคเสน ถา้ หากวา่ พระพทุ ธเจา้ ทรงทราบอย่วู า่
‘พระเทวทัตบวชแลว้ จักท�ำสังฆเภท คร้ันท�ำสังฆเภทแล้วจักหมกไหม้อยใู่ นนรกตลอดกปั ’
ดังน้ีไซร้ ถา้ อย่างนั้น พระคุณเจา้ นาคเสน ค�ำท่พี ดู วา่ ‘พระพทุ ธเจ้าทรงเปน็ ผ้มู พี ระกรณุ า ทรง
282 มิลินทปัญหาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปัญห
อนเุ คราะห์ ทรงแสวงหาประโยชน์เก้อื กูล ขจัดสิง่ ที่หาประโยชนเ์ กื้อกลู มิได้ ม่งุ มนั่ แตส่ ่งิ ทีเ่ ป็น
ประโยชนเ์ กื้อกูลแก่สตั ว์ทั้งปวงทั้งหลาย’ ดงั น้ี กย็ ่อมเปน็ ค�ำพดู ท่ผี ดิ ถ้าหากไมท่ รงทราบเร่อื ง
นั้น จงึ ทรงใหบ้ วชไซร้ ถา้ อย่างนั้น พระพทุ ธเจา้ ก็หาทรงเป็นพระสพั พญั ญไู ม่ แมป้ ัญหานี้ กม็ ี
๒ เง่ือน ตกถึงแก่ท่านแล้ว ขอท่านจงถางชัฏใหญ่นี้ ขอจงท�ำลายวาทะโต้แย้งของฝ่ายอน่ื ใน
อนาคตกาลอนั ยาวนาน ภกิ ษุทั้งหลายผูม้ คี วามรู้เช่นกบั ทา่ น จักเปน็ บคุ คลทีห่ าได้ยาก ขอ
ท่านจงประกาศก�ำลังของทา่ น ในปญั หาขอ้ น้ีเถดิ ”
‘‘การณุ ิโก มหาราช ภควา สพพฺ ฺ ู จ, การุ เฺ น มหาราช ภควา สพพฺ ฺ ุตญ-ฺ
าเณน เทวทตตฺ สฺส คตึ โอโลเกนฺโต อทฺทส เทวทตฺต ํ อาปายกิ ํ กมมฺ ํ อายหู ติ ฺวา
อเนกานิ กปปฺ โกฏิสตสหสสฺ านิ นิรเยน นิรย ํ วินปิ าเตน วนิ ปิ าต ํ คจฉฺ นตฺ ํ, ต ํ ภควา
สพพฺ ฺ ตุ ญฺ าเณน ชานติ วฺ า ‘อิมสสฺ อปริยนฺตกตํ กมมฺ ํ มม สาสเน ปพฺพชติ สสฺ
ปริยนฺตกตํ ภวิสฺสติ, ปรุ มิ ํ อุปาทาย ปริยนตฺ กต ํ ทกุ ฺขํ ภวิสฺสต,ิ อปพฺพชโิ ตปิ อย ํ
โมฆปรุ โิ ส กปฺปฏฺ ิยเมว กมฺม ํ อายูหสิ ฺสตีต ิ การุ ฺเ น เทวทตตฺ ํ ปพฺพาเชส’ี ’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร พระผมู้ พี ระภาคเจ้าทรงเปน็
ผ้มู ีความกรณุ า และทรงเปน็ พระสัพพญั ญู ขอถวายพระพร พระผูม้ พี ระภาคเจ้าเมอ่ื ทรงตรวจ
ดูคติของพระเทวทัต ด้วยพระกรณุ า ด้วยพระสพั พัญญตุ ญาณ ไดท้ รงเหน็ แล้ววา่ พระเทวทตั
ขวนขวายท�ำแต่กรรมทเ่ี ปน็ เหตไุ ปอบาย แลว้ กเ็ ปน็ ผู้ละจากนรกไปสู่นรก ละจากวินิบาต ไปสู่
วนิ บิ าต ตลอดหลายแสนโกฏกิ ัป พระผมู้ พี ระภาคเจ้าทรงทราบเรอ่ื งนั้นด้วยพระสพั พัญญตุ -
ญาณแล้ว ก็ทรงด�ำรวิ ่า ‘กรรมที่ผนู้ ีท้ �ำไว้ หาที่สุดมไิ ด้ เม่ือไดบ้ วชในศาสนาของเราแล้ว ก็จักมี
อนั ท�ำให้สนิ้ สุดได้ เพราะไดอ้ าศยั การบวชทีม่ ีมากอ่ น เขาจกั มีอันท�ำทกุ ข์ใหส้ น้ิ สุดไปได้ โมฆ-
บุรษุ ผ้นู ้ี แม้มิไดบ้ วช ก็จักขวนขวายท�ำแตก่ รรมที่มวี ิบากตัง้ อยู่ชั่วกัปเท่าน้ัน’ ดังนแี้ ลว้ ก็ทรง
โปรดใหพ้ ระเทวทตั บวชด้วยพระกรณุ า”
‘‘เตนห ิ ภนฺเต นาคเสน พทุ ฺโธ วธติ ฺวา เตเลน มกเฺ ขต,ิ ปปาเต ปาเตตฺวา หตถฺ ํ
เทติ, มาเรตวฺ า ชีวิต ํ ปริเยสต,ิ ยํ โส ป ม ํ ทกุ ฺข ํ ทตฺวา ปจฺฉา สุขํ อปุ ทหต’ี ’ติ ?
พระเจา้ มิลินทต์ รัสวา่ “พระคณุ เจา้ นาคเสน ถ้าอยา่ งนนั้ ขอ้ ท่ีพระพทุ ธเจ้านนั้ ประทาน
ทุกข์แกเ่ ขาก่อน แล้วจงึ ทรงจดั แจงสขุ ให้ในภายหลัง จดั ว่าพระพทุ ธเจา้ ทรงโบยตีเขาเสยี ก่อน
แลว้ จงึ ทรงใชน้ �ำ้ มันทาให้ ทรงผลักเขาให้ตกเหวเสยี ก่อน แล้วจงึ ทรงเหยยี ดพระหตั ถ์ให้จับ
ทรงท�ำเขาใหต้ ายเสียก่อน แล้วจึงทรงชุบชวี ติ ใหน้ ะสิ”
กณั ฑ์] ๔.๑ อิทธิพลวรรค 283
‘‘วเธติปิ มหาราช ตถาคโต สตฺตาน ํ หิตวเสน, ปาเตติปิ สตฺตานํ หติ วเสน,
มาเรติป ิ สตฺตานํ หิตวเสน, วธติ ฺวาป ิ มหาราช ตถาคโต สตตฺ านํ หิตเมว อปุ ทหต,ิ
ปาเตตวฺ าป ิ สตตฺ านํ หิตเมว อุปทหติ, มาเรตฺวาปิ สตตฺ าน ํ หิตเมว อุปทหติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร พระตถาคตทรงโบยตี ด้วยอ�ำนาจหวงั
จะใหเ้ ปน็ ประโยชน์เกอ้ื กลู แก่สตั ว์ทง้ั หลายก็ดี ทรงผลักใหต้ กไป ดว้ ยอ�ำนาจหวงั จะให้เป็น
ประโยชนเ์ กือ้ กูลแกส่ ตั วท์ ้งั หลายกด็ ี ทรงฆ่า ดว้ ยอ�ำนาจหวังจะใหเ้ ป็นประโยชนเ์ กอ้ื กูลแก่
สัตว์ท้งั หลายกด็ ี ขอถวายพระพร พระตถาคต แม้ทรงโบยตี ก็ชือ่ ว่าทรงจัดแจงแต่งประโยชน์
เกอื้ กลู แก่สตั วท์ ั้งหลายเท่านนั้ แม้ทรงผลักใหต้ กไป กช็ ่อื ว่าทรงจดั แจงแตง่ ประโยชน์เกือ้ กลู
แก่สัตวท์ ง้ั หลาย แม้ทรงฆา่ ก็ชอ่ื ว่าทรงจัดแจงแตง่ ประโยชนเ์ กื้อกลู แก่สัตวท์ ้งั หลาย
ยถา มหาราช มาตาปิตโร นาม วธติ ฺวาป ิ ปาตยติ ฺวาปิ ปตุ ตฺ านํ หติ เมว
อปุ ทหนตฺ ,ิ เอวเมว โข มหาราช ตถาคโต วเธตปิ ิ สตฺตาน ํ หิตวเสน, ปาเตตปิ ิ สตฺตานํ
หิตวเสน, มาเรติป ิ สตตฺ านํ หิตวเสน, วธติ ฺวาป ิ มหาราช ตถาคโต สตตฺ าน ํ หิตเมว
อปุ ทหติ, ปาเตตวฺ าปิ สตฺตานํ หติ เมว อุปทหติ, มาเรตวฺ าปิ สตฺตาน ํ หิตเมว อปุ ทหต,ิ
เยน เยน โยเคน สตตฺ าน ํ คณุ วุฑฺฒ ิ โหต,ิ เตน เตน โยเคน สพฺพสตตฺ านํ หิตเมว
อุปทหติ ฯ สเจ มหาราช เทวทตฺโต น ปพฺพาเชยฺย, คิหิภูโต สมาโน นริ ยสวํ ตตฺ นิกํ พหุํ
ปาปกมมฺ ํ กตวฺ า อเนกาน ิ กปฺปโกฏิสตสหสฺสาน ิ นริ เยน นิรยํ วินปิ าเตน วินิปาตํ
คจฉฺ นโฺ ต พห ํุ ทุกฺขํ เวทยิสสฺ ติ, ตํ ภควา ชานมาโน การุ ฺเ น เทวทตตฺ ํ ปพฺพาเชต,ิ ‘มม
สาสเน ปพฺพชิตสสฺ ทกุ ฺข ํ ปรยิ นฺตกต ํ ภวสิ สฺ ต’ี ติ การ ุ ฺเ น ครกุ ํ ทกุ ฺข ํ ลหกุ ํ อกาสิ ฯ
ขอถวายพระพรมหาบพิตร เปรียบเหมอื นว่า ธรรมดาว่ามารดาบดิ า โบยตกี ด็ ี ผลกั ให้
ตกไปกด็ ี ก็ช่อื ว่าจัดแจงแตง่ ประโยชนเ์ กอื้ กลู แกบ่ ตุ รทั้งหลาย ฉนั ใด ขอถวายพระพร พระ
ตถาคต แม้โบยตี ก็ด้วยอ�ำนาจหวงั ประโยชนเ์ กื้อกลู แก่สตั วท์ ้งั หลาย แม้ผลกั ให้ตกไป กด็ ้วย
อ�ำนาจหวงั ประโยชน์เกือ้ กูลแก่สัตว์ท้งั หลาย แมท้ รงฆา่ ก็ดว้ ยอ�ำนาจหวงั ประโยชน์เกือ้ กลู แก่
สตั วท์ ้งั หลาย ขอถวายพระพร พระตถาคต แมว้ ่าทรงโบยตี ก็ช่ือวา่ ทรงจัดแจงแตง่ ประโยชน์
เก้ือกูลแกส่ ตั วท์ ง้ั หลาย แม้ทรงผลกั ใหต้ กไป ก็ชอ่ื ว่าทรงจดั แจงแต่งประโยชน์เก้อื กลู แก่สัตว์
ท้ังหลาย แม้ทรงฆ่า กช็ ื่อวา่ ทรงจัดแจงแต่งประโยชนเ์ กือ้ กูลแก่สัตวท์ ัง้ หลาย ฉนั น้นั เหมือน
กัน ความเจรญิ แห่งคณุ ธรรม จะมีแกส่ ตั วท์ ง้ั หลายได้ โดยวิธีการใด ๆ พระองคก์ ท็ รงจัดแจง
แตง่ ประโยชนเ์ กอื้ กูลแก่สตั ว์ทง้ั ปวงทัง้ หลาย โดยวิธกี ารน้ัน ๆ นน่ั แหละ ขอถวายพระพร ถา้
หากพระเทวทัตไมไ่ ด้บวช ยังคงเป็นคฤหัสถ์อยู่ ก็จะท�ำแต่กรรมชว่ั มากมาย ทีอ่ �ำนวยผลให้