The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

มิลินทปัญหาปกรณ์แปล เล่ม ๑ ถาม-ตอบปัญหาในพระไตรปิฎก

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ืทีมงานกรุธรรม, 2022-03-09 22:17:09

มิลินทปัญหาปกรณ์แปล เล่ม ๑ ถาม-ตอบปัญหาในพระไตรปิฎก

มิลินทปัญหาปกรณ์แปล เล่ม ๑ ถาม-ตอบปัญหาในพระไตรปิฎก

Keywords: มิลินทปัญหาปกรณ์แปล เล่ม ๑ ถาม-ตอบปัญหาในพระไตรปิฎก

134 มิลนิ ทปัญหาปกรณแ์ ปล [๒.มลิ นิ ทปัญห

๖. เวทคูปญฺห
๖. เวทคูปัญหา
ปัญหาวา่ ดว้ ยเวทคู
[๖] ราชา อาห ‘‘ภนฺเต นาคเสน เวทคู อุปลพภฺ ต’ี ’ติ ?
[๖] พระราชาตรัสวา่ “พระคณุ เจา้ นาคเสน เวทคูมอี ย่หู รือ ?”

‘‘โก ปเนส มหาราช เวทค ู นามา’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร กใ็ ครเล่าช่ือว่าเวทคู ?”

‘‘โย ภนฺเต อพฺภนฺตเร ชโี ว จกขฺ นุ า รูป ํ ปสฺสต,ิ โสเตน สททฺ ํ สุณาต,ิ ฆาเนน
คนธฺ ํ ฆายต,ิ ชิวฺหาย รส ํ สายต,ิ กาเยน โผฏ ฺ พฺพ ํ ผสุ ติ, มนสา ธมมฺ ํ วิชานาต,ิ ยถา
มย ํ อิธ ปาสาเท นิสนิ นฺ า เยน เยน วาตปาเนน อจิ เฺ ฉยยฺ าม ปสสฺ ิต,ุํ เตน เตน วาตปาเนน
ปสเฺ สยฺยาม, ปุรตฺถเิ มนป ิ วาตปาเนน ปสเฺ สยฺยาม, ปจฺฉิเมนปิ วาตปาเนน ปสเฺ สยยฺ าม,
อุตตฺ เรนป ิ วาตปาเนน ปสฺเสยยฺ าม, ทกฺขิเณนปิ วาตปาเนน ปสฺเสยยฺ าม ฯ เอวเมว โข
ภนเฺ ต อยํ อพภฺ นตฺ เร ชโี ว เยน เยน ทฺวาเรน อจิ ฉฺ ต ิ ปสฺสติ ํุ, เตน เตน ทวฺ าเรน
ปสสฺ ต’ี ’ติ ฯ
พระเจา้ มิลินท์ตรัสว่า “พระคณุ เจา้ ได้แก่ ตัวอัพภนั ตรชวี ะ (ชวี ะภายใน) ซึง่ มองดรู ูป
ทางตาบ้าง ฟงั เสียงทางหบู ้าง ดมกลิน่ ทางจมูกบ้าง ลิ้มรสทางล้ินบา้ ง ถูกต้องโผฏฐพั พะทาง
กายบ้าง ร้ธู รรมทางใจบา้ ง เปรียบเหมือนวา่ เราน่งั กนั อยู่บนปราสาทน้ี ต้องการจะมองดูไป
ทางหนา้ ตา่ งชอ่ งใด ๆ เรากม็ องดูไปทางหนา้ ต่างชอ่ งน้นั ๆ ได้ คอื วา่ จะมองดไู ปทางหนา้ ต่าง
ด้านทศิ ตะวนั ออกกไ็ ด้ จะมองดูไปทางหนา้ ต่างด้านทศิ ตะวันตกก็ได้ จะมองดูไปทางหนา้ ตา่ ง
ดา้ นทิศเหนือกไ็ ด้ จะมองดไู ปทางหน้าต่างด้านทิศใตก้ ็ได้ ฉันใด พระคุณเจา้ ตัวอพั ภนั ตรชวี ะ
ตอ้ งการจะมองดู(รปู เปน็ ต้น) ทางทวารใด ๆ กย็ ่อมมองด(ู รปู เป็นตน้ ) ทางทวารน้ัน ๆ ได้
ฉนั นัน้ เหมอื นกัน”

เถโร อาห ‘‘ป จฺ ทฺวารํ มหาราช ภณสิ ฺสามิ, ตํ สโุ ณห ิ สาธุก ํ มนสิกโรหิ, ยทิ
อพภฺ นตฺ เร ชโี ว จกขฺ นุ า รูปํ ปสฺสต,ิ ยถา มย ํ อิธ ปาสาเท นิสินฺนา เยน เยน วาตปาเนน
อิจฺเฉยยฺ าม ปสฺสติ ํ,ุ เตน เตน วาตปาเนน รปู เํ ยว ปสเฺ สยฺยาม, ปรุ ตถฺ เิ มนป ิ วาตปาเนน
รูปํเยว ปสเฺ สยฺยาม, ปจฺฉเิ มนป ิ วาตปาเนน รูปเํ ยว ปสฺเสยฺยาม, อุตตฺ เรนป ิ วาตปาเนน

กัณฑ์] ๒.๓ วิจารวรรค 135

รปู ํเยว ปสฺเสยยฺ าม, ทกขฺ ิเณนป ิ วาตปาเนน รูปเํ ยว ปสเฺ สยยฺ าม, เอวเมเตน อพฺภนฺตเร
ชเี วน โสเตนป ิ รปู ํเยว ปสฺสติ พฺพ,ํ ฆาเนนป ิ รปู เํ ยว ปสสฺ ิตพฺพํ, ชวิ หฺ ายปิ รปู เํ ยว
ปสฺสติ พฺพํ, กาเยนปิ รปู ํเยว ปสสฺ ิตพฺพํ, มนสาป ิ รูปเํ ยว ปสสฺ ิตพฺพํ; จกขฺ ุนาปิ สทฺโทเยว
โสตพโฺ พ, ฆาเนนป ิ สทฺโทเยว โสตพโฺ พ, ชิวหฺ ายปิ สทฺโทเยว โสตพฺโพ, กาเยนป ิ
สทโฺ ทเยว โสตพโฺ พ, มนสาปิ สทโฺ ทเยว โสตพฺโพ; จกขฺ ุนาปิ คนโฺ ธเยว ฆายติ พฺโพ,
โสเตนปิ คนโฺ ธเยว ฆายติ พโฺ พ, ชิวฺหายป ิ คนฺโธเยว ฆายิตพฺโพ, กาเยนป ิ คนฺโธเยว
ฆายิตพฺโพ, มนสาป ิ คนโฺ ธเยว ฆายติ พโฺ พ; จกฺขนุ าป ิ รโสเยว สายิตพฺโพ, โสเตนปิ
รโสเยว สายิตพฺโพ, ฆาเนนปิ รโสเยว สายิตพฺโพ, กาเยนป ิ รโสเยว สายิตพฺโพ,
มนสาป ิ รโสเยว สายติ พโฺ พ; จกฺขุนาปิ โผฏฺ พพฺ เํ ยว ผุสิตพฺพํ, โสเตนปิ โผฏ ฺ พพฺ ํเยว
ผสุ ิตพพฺ ํ, ฆาเนนปิ โผฏ ฺ พฺพํเยว ผุสติ พฺพํ, ชวิ หฺ ายป ิ โผฏ ฺ พฺพํเยว ผสุ ิตพพฺ ,ํ มนสาป ิ
โผฏ ฺ พฺพเํ ยว ผสุ ติ พฺพํ; จกขฺ ุนาปิ ธมมฺ เํ ยว วชิ านิตพฺพ,ํ โสเตนปิ ธมฺมํเยว วิชานิตพฺพ,ํ
ฆาเนนป ิ ธมฺมํเยว วิชานิตพฺพ,ํ ชวิ ฺหายป ิ ธมมฺ ํเยว วิชานติ พพฺ ,ํ กาเยนป ิ ธมมฺ ํเยว
วิชานติ พพฺ นฺ”ติ ?
พระเถระถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร อาตมภาพจักขอถวายพระพร
กลา่ วถึงทวาร ๕ ขอพระองคจ์ งทรงสดับเรื่องทวาร ๕ นน้ั ขอจงทรงกระท�ำไวใ้ นพระทยั ให้ดี
เถดิ เปรียบเหมอื นวา่ เราน่ังอยบู่ นปราสาทนตี้ ้องการจะมองดูรูปทางหนา้ ต่างชอ่ งใด ๆ เราก็
มองดเู ฉพาะรปู เท่าน้นั ทางหนา้ ต่างช่องน้นั ๆ คือ เราพงึ มองดรู ปู น่ันแหละ ทางหนา้ ตา่ งด้าน
ทิศตะวนั ออกก็ได้ พงึ มองดรู ปู นน่ั แหละทางหน้าต่างด้านทศิ ตะวนั ตกกไ็ ด้ พงึ มองดรู ปู นน่ั
แหละทางหนา้ ต่างด้านทศิ เหนือกไ็ ด้ พึงมองดูรูปนนั่ แหละทางหนา้ ตา่ งด้านทิศใตก้ ไ็ ด้ ฉันใด
ถา้ หากว่า ตัวอัพภนั ตรชวี ะ พึงมองดรู ูปทางตาไดไ้ ซร้ ตัวอพั ภันตรชีวะนน้ั ก็พงึ มองดรู ูปนั่น
แหละ ทางหูก็ได้ พึงมองดูรปู นั่นแหละ ทางจมูกกไ็ ด้ พึงมองดรู ูปน่ันแหละ ทางล้ินก็ได้ พงึ มอง
ดูรปู นน่ั แหละทางกายก็ได้ พึงมองดูรูปนัน่ แหละทางใจก็ได้ พงึ ฟังเสียงน่นั แหละ ทางตาก็ได้
พึงฟงั เสยี งนั่นแหละ ทางจมูกกไ็ ด้ พงึ ฟังเสียงน่ันแหละ ทางล้ินกไ็ ด้ พึงฟงั เสยี งน่นั แหละทาง
กายกไ็ ด้ พงึ ฟังเสยี งน่ันแหละ ทางใจก็ได้ พึงดมกล่นิ นัน่ แหละ ทางตากไ็ ด้ พึงดมกล่ินนั่น
แหละทางหูก็ได้ พึงดมกลิน่ นน่ั แหละ ทางลิน้ ก็ได้ พึงดมกลิน่ น่ันแหละ ทางกายก็ได้ พึงดม
กลนิ่ น่นั แหละ ทางใจก็ได้ พงึ ล้มิ รสน่นั แหละ ทางตากไ็ ด้ พึงล้ิมรสนั่นแหละ ทางหูก็ได้ พึงล้มิ
รสนน่ั แหละ ทางจมกู ก็ได้ พึงลิ้มรสนัน่ แหละ ทางกายกไ็ ด้ พงึ ลม้ิ รสนั่นแหละ ทางใจกไ็ ด้ พึง
ถกู ตอ้ งโผฏฐัพพะนน่ั แหละ ทางตากไ็ ด้ พงึ ถูกตอ้ งโผฏฐพั พะนนั่ แหละ ทางหกู ไ็ ด้ พงึ ถกู ต้อง

136 มลิ นิ ทปญั หาปกรณแ์ ปล [๒.มิลนิ ทปญั ห

โผฏฐัพพะนั่นแหละ ทางจมกู กไ็ ด้ พงึ ถกู ตอ้ งโผฏฐพั พะนน่ั แหละ ทางล้ินกไ็ ด้ พึงถกู ต้อง
โผฏฐพั พะน่ันแหละ ทางใจกไ็ ด้ พึงรู้ธรรมแมท้ างตากไ็ ด้ พึงรู้ธรรมแม้ทางหกู ไ็ ด้ พงึ รธู้ รรมแม้
ทางจมูกก็ได้ พึงรู้ธรรมแม้ทางลน้ิ กไ็ ด้ พงึ รู้ธรรมแม้ทางกายกไ็ ด้ ฉนั นน้ั เหมอื นกนั หรอื ไร ?”
‘‘น หิ ภนฺเต’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลนิ ท์ตรัสวา่ “หามิได้ พระคณุ เจ้า”
‘‘น โข เต มหาราช ยุชฺชติ ปุรเิ มน วา ปจฺฉมิ ํ, ปจฺฉิเมน วา ปุริมํ, ยถา วา
ปน มหาราช มย ํ อธิ ปาสาเท นสิ ินนฺ า อเิ มสุ ชาลวาตปาเนสุ อุคฆฺ าฏเิ ตส ุ มหนฺเตน
อากาเสน พหิมขุ า สฏุ ฺ ตุ รํ รูป ํ ปสฺสาม, เอวเมเตน อพภฺ นฺตเร ชีเวนาปิ จกฺขุทวฺ าเรสุ
อคุ ฆฺ าฏิเตสุ มหนเฺ ตน อากาเสน สฏุ ฺ ตุ รํ รูปํ ปสสฺ ติ พพฺ ,ํ
โสเตสุ อุคฺฆาฏิเตส…ุ เป.… ฆาเน อุคฆฺ าฏิเต… เป.… ชิวฺหาย อคุ ฆฺ าฏิตาย…
เป.… กาเย อคุ ฆฺ าฏิเต มหนฺเตน อากาเสน สฏุ ฺ ุตรํ สทโฺ ท โสตพฺโพ, คนฺโธ ฆายิตพโฺ พ,
รโส สายติ พฺโพ, โผฏ ฺ พฺโพ ผสุ ิตพฺโพ’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร พระด�ำรัสของพระองค์ข้าง
หลังไมส่ มกบั พระด�ำรสั ทแี รก หรอื พระด�ำรสั ทแี รกไม่สมกับพระด�ำรสั ขา้ งหลงั ขอถวายพระพร
อีกอยา่ งหนึง่ เปรยี บเหมอื นว่า เรานั่งกันอยูบ่ นปราสาทหลังน้ี เปิดหน้าตา่ งเหล่านีอ้ อก หนั
หน้าตรงไปภายนอกทางอากาศที่กวา้ งใหญ่ ก็ยอ่ มมองดูรปู ชดั เจนย่ิง ฉนั ใด ตัวอพั ภนั ตรชีวะ
น้ัน เมอื่ ได้เปดิ จักษุทวารหนั หน้าตรงไปภายนอกทางอากาศท่กี ว้างใหญ่ ก็พงึ มองดรู ปู ได้
ชดั เจนยง่ิ
เมื่อไดเ้ ปิดโสตทวาร หนั หนา้ ตรงไปภายนอกทางอากาศที่กวา้ งใหญ่ ก็พึงฟังเสยี งได้
ชดั เจนยง่ิ , เม่อื ไดเ้ ปิดฆานทวาร หนั หนา้ ตรงไปภายนอกทางอากาศท่ีกว้างใหญ่ กพ็ งึ ดมกล่นิ
ได้ชดั เจนยิ่ง, เมือ่ ได้เปิดชิวหาทวาร หันหน้าตรงไปภายนอกทางอากาศท่กี ว้างใหญ่ กพ็ งึ ลมิ้
รสได้ชัดเจนยิ่ง, เมอ่ื ไดเ้ ปิดกายทวาร หนั หนา้ ตรงไปภายนอกทางอากาศอันกว้างใหญ่ กพ็ งึ
ถูกต้องโผฏฐัพพะไดช้ ดั เจนยิ่ง ฉนั นนั้ เหมอื นกันหรือไร ?”
‘‘น หิ ภนฺเต’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ ินท์ตรสั วา่ “หามิได้ พระคุณเจา้ ”

กัณฑ์] ๒.๓ วจิ ารวรรค 137

‘‘น โข เต มหาราช ยชุ ฺชติ ปรุ ิเมน วา ปจฺฉิมํ, ปจฺฉิเมน วา ปุรมิ ,ํ ยถา วา ปน
มหาราช อยํ ทินฺโน นิกขฺ มติ วฺ า พหทิ ฺวารโกฏฺ เก ตฏิ ฺเ ยยฺ , ชานาสิ ตวฺ ํ มหาราช ‘อยํ
ทินฺโน นิกฺขมติ ฺวา พหิทวฺ ารโกฏ ฺ เก โิ ต’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร พระด�ำรัสของพระองค์ข้าง
หลังไมส่ มกบั พระด�ำรัสทีแรก หรอื พระด�ำรสั ทแี รกไม่สมกับพระด�ำรสั ข้างหลัง ขอถวายพระพร
อกี อยา่ งหนึ่ง เปรียบเหมือนวา่ บรุ ุษผนู้ ี้ไดร้ บั พระราชทานแล้ว ออกไปยนื อยูภ่ ายนอกซมุ้
ประตู ขอถวายพระพร พระองค์จะทรงทราบหรือไมว่ ่า บุรุษนไ้ี ดร้ บั พระราชทานแล้วออกไป
ยนื อยู่ภายนอกซ้มุ ประต”ู
‘‘อาม ภนเฺ ต ชานาม’ี ’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ ินทต์ รสั ว่า “ใช่ โยมทราบ พระคุณเจา้ ”
‘‘ยถา วา ปน มหาราช อยํ ทนิ ฺโน อนฺโต ปวสิ ติ วฺ า ตว ปุรโต ติฏเฺ ยยฺ , ชานาส ิ
ตฺวํ มหาราช ‘อยํ ทนิ โฺ น อนโฺ ต ปวิสติ วฺ า มม ปรุ โต ิโต’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร สว่ นวา่ อีกอยา่ งหน่ึง เปรยี บ
เหมือนวา่ บุรษุ ผู้นไี้ ด้รับพระราชทานแล้ว เข้าไปข้างในแล้วพึงยืนอยเู่ บอ้ื งพระพักตร์ของ
พระองค์ ขอถวายพระพร พระองคจ์ ะทรงทราบหรอื ไมว่ ่า ‘บุรุษผูน้ ้ีได้รับพระราชทานแล้ว
เขา้ ไปขา้ งในแลว้ ยืนอยู่ทเี่ บ้ืองหน้าเรา”
‘‘อาม ภนเฺ ต ชานามี’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ ินท์ตรัสวา่ “ใช่ โยมทราบ พระคณุ เจา้ ”
‘‘เอวเมว โข มหาราช อพฺภนตฺ เร โส ชโี ว ชิวฺหาย รเส นกิ ขฺ ิตเฺ ต ชาเนยยฺ
อมพฺ ิลตตฺ ํ วา ลวณตฺต ํ วา ตติ ฺตกตตฺ ํ วา กฏกุ ตฺต ํ วา กสายตฺตํ วา มธุรตฺต ํ วา’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร กเ็ หมือนกนั อยา่ งนัน้ น่นั
แหละ ตัวอพั ภนั ตรชวี ะนั้น เมอ่ื ไดว้ างรสไว้ท่ลี ้นิ พงึ รไู้ ดห้ รอื ไม่ว่าเป็นรสเปร้ยี ว รสเค็ม รสขม
รสเผ็ด รสฝาด หรือว่าเป็นรสหวาน ?”
‘‘อาม ภนเฺ ต ชาเนยฺยา’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ ินทต์ รสั ว่า “ใช่ พงึ รไู้ ด้ พระคณุ เจา้ ”

138 มลิ ินทปัญหาปกรณ์แปล [๒.มิลนิ ทปญั ห

‘‘เต รเส อนฺโต ปวฏิ ฺเ ชาเนยยฺ อมฺพลิ ตฺตํ วา ลวณตตฺ ํ วา ตติ ตฺ กตฺต ํ วา
กฏกุ ตตฺ ํ วา กสายตตฺ ํ วา มธุรตตฺ ํ วา’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร ตวั อพั ภันตรชวี ะพงึ รรู้ ส
เหล่าน้ันท่ีเขา้ ไปในภายในได้วา่ เป็นรสเปรย้ี ว รสเคม็ รสขม รสเผด็ รสฝาด หรือวา่ เป็นรส
หวาน”
‘‘น ห ิ ภนฺเต’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ ินทต์ รสั วา่ “รู้ไม่ได้หรอก พระคุณเจา้ ”
‘‘น โข เต มหาราช ยชุ ชฺ ติ ปรุ เิ มน วา ปจฺฉิม,ํ ปจฉฺ เิ มน วา ปรุ ิม,ํ ยถา มหาราช
โกจิเทว ปรุ โิ ส มธุฆฏสตํ อาหราเปตวฺ า มธโุ ทณึ ปูราเปตวฺ า ปุรสิ สฺส มขุ ํ ปิทหิตวฺ า
มธุโทณิยา ปกฺขิเปยฺย, ชาเนยฺย มหาราช โส ปุริโส มธ ุํ สมปฺ นนฺ ํ วา น สมฺปนนฺ ํ
วา’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร พระด�ำรัสของพระองค์ข้าง
หลังไมส่ มกับพระด�ำรสั ทีแรก หรือพระด�ำรัสทแี รกไมส่ มกบั พระด�ำรัสขา้ งหลัง ขอถวายพระพร
เปรียบเหมอื นว่า บรุ ุษบางคนให้เขาน�ำน้ำ� ผึ้ง ๑๐๐ หมอ้ มาเทใสร่ างน�้ำผึ้งใหเ้ ต็ม แลว้ ปดิ ปาก
ของบุรุษไว้ จับวางลงไปในรางน้ำ� ผ้ึง ขอถวายพระพร บรุ ุษผนู้ ัน้ จะพงึ รไู้ ด้หรือไม่วา่ เป็นนำ้� ผง้ึ
ดี หรือนำ้� ผึ้งไม่ดี ?”
‘‘น หิ ภนฺเต’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ ินทต์ รสั วา่ “รไู้ มไ่ ด้หรอก พระคุณเจ้า”
‘‘เกน การเณนา’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “เพราะเหตุอะไรหรือ ?”
‘‘น ห ิ ตสฺส ภนฺเต มเุ ข มธุ ปวิฏ ฺ นฺ”ติ ฯ
พระเจา้ มิลินท์ตรัสว่า “พระคุณเจ้า เพราะวา่ น�้ำผึ้งมไิ ดเ้ ขา้ ไปในปากของเขา”
‘‘น โข เต มหาราช ยชุ ชฺ ติ ปรุ เิ มน วา ปจฉฺ มิ ,ํ ปจฺฉเิ มน วา ปุริมน”ฺ ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร พระด�ำรัสของพระองค์ข้าง
หลงั ไม่สมกบั พระด�ำรสั ทีแรก หรอื พระด�ำรัสทีแรกไม่สมกับพระด�ำรสั ขา้ งหลัง”

กัณฑ]์ ๒.๓ วิจารวรรค 139

‘‘นาห ํ ปฏิพโล ตยา วาทนิ า สทฺธ ึ สลฺลปิตํุ; สาธ ุ ภนฺเต อตฺถํ ชปฺเปหี’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ นิ ท์ตรัสวา่ “โยมไม่ใชเ่ ปน็ ผทู้ ี่สามารถพอจะโตต้ อบกับทา่ นเจ้าวาทะได้ ขอ
พระคณุ เจ้าไดโ้ ปรดช่วยอธิบายเนอื้ ความด้วยเถิด”

เถโร อภิธมฺมสํยตุ ตฺ าย กถาย ราชานํ มลิ ินทฺ ํ ส ฺ าเปสิ – ‘‘อิธ มหาราช
จกขฺ ุ จฺ ปฏจิ ฺจ รเู ป จ อุปปฺ ชฺชติ จกฺขุวิ ฺ าณํ, ตสํ หชาตา ผสโฺ ส เวทนา ส ฺ า เจตนา
เอกคฺคตา ชวี ิตนิ ฺทรฺ ิย ํ มนสิกาโรติ เอวเมเต ธมฺมา ปจฺจยโต ชายนตฺ ิ, น เหตถฺ เวทค ู
อุปลพภฺ ติ, โสต ฺจ ปฏิจฺจ สทเฺ ท จ… เป.… มน ฺจ ปฏิจฺจ ธมฺเม จ อุปฺปชชฺ ติ มโน-
วิ ฺ าณ,ํ ตสํ หชาตา ผสโฺ ส เวทนา ส ฺ า เจตนา เอกคคฺ ตา ชีวิตินทฺ ฺรยิ ํ มนสิกาโรต ิ
เอวเมเต ธมมฺ า ปจฺจยโต ชายนฺต,ิ น เหตฺถ เวทคู อปุ ลพภฺ ต’ี ’ติ ฯ
พระเถระได้ท�ำให้พระเจ้ามิลินท์ทรงเข้าพระทัยด้วยค�ำพูดประกอบด้วยพระอภิธรรม
วา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร ในความขอ้ น้ี จกั ขุวญิ ญาณอาศยั จกั ขแุ ละรูปเกิดขึน้ ผัสสะ
เวทนา สัญญา เจตนา เอกัคคตา ชวี ิตนิ ทรยี ์ มนสิการเป็นธรรมเกิดร่วมกับจกั ขวุ ญิ ญาณน้นั
ธรรมเหล่านีย้ ่อมเกิดจากปัจจัยตามประการดงั กล่าวมาฉะนี้ นี้กเ็ วทคยู ่อมถกู ได้ในธรรมเหลา่
น้ี กห็ าไม ่ โสตวญิ ญาณ อาศัยโสตะและสัททะเกดิ ข้นึ ฯลฯ มโนวิญญาณ อาศยั มนะและธรรม
ทงั้ หลายเกิดข้นึ ผัสสะ เวทนา สญั ญา เจตนา เอกัคคตา ชวี ิตินทรีย์ มนสกิ าร เป็นธรรมที่เกิด
ร่วมกับมโนวิญญาณน้นั ธรรมเหลา่ นี้ ยอ่ มเกิดจากปัจจัยตามประการดงั กล่าวมาฉะน้ี กเ็ วทคู
ย่อมถูกไดใ้ นธรรมเหล่าน้ี ก็หาไม”่ ดังน ้ี

‘‘กลโฺ ลสิ ภนเฺ ต นาคเสนา’’ติ ฯ
พระเจา้ มิลนิ ทต์ รสั ว่า “พระคุณเจา้ นาคเสน ท่านตอบสมควรแล้ว”

เวทคปู ญฺโห ฉฏฺโ€ ฯ

จบเวทคปู ัญหาข้อท่ี ๖
________

140 มิลนิ ทปัญหาปกรณแ์ ปล [๒.มิลินทปัญห

๗. จกขฺ ุวิญฺ าณาทปิ ญฺห
๗. จักขวุ ิญญาณาทปิ ัญหา
ปญั หาว่าดว้ ยจกั ขวุ ิญญาณเป็นต้น
[๗] ราชา อาห ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน ยตถฺ จกฺขวุ ิ ฺ าณํ อปุ ปฺ ชชฺ ติ, ตตฺถ มโน-
วิ ฺ าณมฺปิ อปุ ปฺ ชชฺ ตี’’ติ ?
[๗] พระราชาตรัสวา่ “พระคุณเจา้ นาคเสน จักขุวิญญาณเกิดข้นึ ท่ีทวารใด แมม้ โน-
วิญญาณกเ็ กดิ ขนึ้ ท่ีทวารนัน้ หรอื ?”
‘‘อาม มหาราช ยตฺถ จกฺขุวิ ฺ าณ ํ อปุ ฺปชชฺ ติ, ตตถฺ มโนว ิ ฺ าณมปฺ ิ
อปุ ฺปชชฺ ตี’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร ถูกตอ้ งแลว้ จักขวุ ิญญาณ
เกิดขนึ้ ท่ีทวารใด แมม้ โนวญิ ญาณก็เกดิ ขึ้นทีท่ วารนัน้ ”
‘‘กินฺน ุ โข ภนเฺ ต นาคเสน ป ม ํ จกขฺ ุวิ ฺ าณํ อุปปฺ ชชฺ ติ, ปจฉฺ า มโนวิ ฺ าณํ,
อุทาห ุ มโนวิ ฺ าณ ํ ป ม ํ อุปฺปชชฺ ติ, ปจฺฉา จกขฺ ุว ิ ฺ าณนฺ”ติ ?
พระเจ้ามิลินท์ตรสั วา่ “พระคุณเจา้ นาคเสน จักขุวญิ ญาณยอ่ มเกดิ ข้ึนกอ่ น มโน-
วิญญาณยอ่ มเกดิ ข้นึ ทหี ลงั หรือวา่ มโนวิญญาณยอ่ มเกิดข้นึ ก่อน จกั ขุวิญญาณย่อมเกิดข้ึน
ทหี ลังเลา่ ?”
‘‘ป มํ มหาราช จกขฺ ุวิ ฺ าณ ํ อุปฺปชฺชต,ิ ปจฉฺ า มโนว ิ ฺ าณนฺ”ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร จักขุวญิ ญาณย่อมเกดิ ขนึ้
ก่อน มโนวญิ ญาณย่อมเกิดขึ้นทีหลัง”
‘‘กินนฺ ุ โข ภนเฺ ต นาคเสน จกขฺ วุ ิ ฺ าณํ มโนวิ ฺ าณ ํ อาณาเปต ิ ‘ยตถฺ าหํ
อปุ ฺปชฺชาม,ิ ตฺวมฺป ิ ตตถฺ อปุ ปฺ ชฺชาหี’ต,ิ อทุ าหุ มโนวิ ฺ าณ ํ จกขฺ ุว ิ ฺ าณํ อาณาเปติ
‘ยตฺถ ตวฺ ํ อปุ ฺปชชฺ ิสสฺ ส,ิ อหมปฺ ิ ตตถฺ อุปฺปชฺชิสฺสามี’’ติ ?
พระเจา้ มลิ ินทต์ รสั วา่ “พระคณุ เจา้ นาคเสน จกั ขวุ ญิ ญาณส่ังมโนวิญญาณไว้วา่ ‘เรา
เกดิ ขน้ึ ท่ีทวารใด แม้ท่านกจ็ งเกิดขึน้ ทที่ วารนน้ั ’ ดงั นห้ี รอื หรือว่า มโนวญิ ญาณสั่งจักขุ
วิญญาณว่า ท่านจักเกดิ ข้นึ ท่ีทวารใด แมเ้ รากจ็ กั เกิดข้ึนท่ีทวารนัน้ ’ ดงั น้ีหรือ ?”

กณั ฑ์] ๒.๓ วิจารวรรค 141

‘‘น หิ มหาราช อนาลาโป เตส ํ อ ฺ ม เฺ หี’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร วิญญาณเหลา่ นน้ั ต่างหา
การพูดจากนั และกนั มิได”้
‘‘กถํ ภนเฺ ต นาคเสน ยตถฺ จกขฺ วุ ิ ฺ าณํ อุปปฺ ชฺชติ, ตตฺถ มโนว ิ ฺ าณมฺป ิ
อปุ ปฺ ชชฺ ต’ี ’ติ ?
พระเจ้ามิลินทต์ รัสวา่ “พระคุณเจา้ นาคเสน จกั ขวุ ิญญาณเกดิ ขึ้นทีท่ วารใด แม้มโน-
วิญญาณ กเ็ กิดขนึ้ ที่ทวารนั้น อยา่ งไรเล่า ?”
‘‘นินฺนตตฺ า จ มหาราช ทวฺ ารตตฺ า จ จิณฺณตตฺ า จ สมุทาจริตตตฺ า จา’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร จกั ขวุ ิญญาณเกดิ ขนึ้ ท่ที วาร
ใด มโนวญิ ญาณกเ็ กดิ ขน้ึ ท่ที วารนั้น กเ็ พราะทวารนัน้ เป็นเหมือนท่ลี ่มุ ต่ำ� เพราะเป็นเหมือน
ประตู เพราะเปน็ เหมอื นเส้นทางทเ่ี คยเทีย่ วไปแล้ว และเพราะความที่ทวารนน้ั เปน็ ที่วิญญาณ
ทง้ั ๒ น้นั เท่ยี วไปอยเู่ สมอ”
‘‘กถ ํ ภนเฺ ต นาคเสน นนิ ฺนตตฺ า ยตถฺ จกขฺ วุ ิ ฺ าณํ อปุ ฺปชชฺ ต,ิ ตตถฺ มโน-
ว ิ ฺ าณมฺปิ อปุ ฺปชฺชติ ? โอปมฺมํ กโรห’ี ’ติ ฯ
พระเจา้ มิลินท์ตรสั ว่า “พระคณุ เจ้านาคเสน จักขุวิญญาณเกิดขน้ึ ทท่ี วารใด แม้มโน-
วญิ ญาณ กเ็ กดิ ขน้ึ ทีท่ วารนัน้ เพราะทวารนนั้ เปน็ เหมอื นท่ลี ุ่มต�่ำอยา่ งไร ขอท่านจงชว่ ยอปุ มา
ดว้ ยเถดิ ”
‘‘ต ํ กึ ม ฺ สิ มหาราช, เทเว วสฺสนฺเต, กตเมน อทุ กํ คจฺเฉยฺยา’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร พระองค์จะทรงส�ำคัญความ
ข้อน้นั ว่าอย่างไร เมอ่ื ฝนตกลงมา นำ�้ จะพงึ ไหลไปทางไหน ?”
‘‘เยน ภนเฺ ต นินนฺ ํ, เตน คจเฺ ฉยยฺ า’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลนิ ท์ตรสั ว่า “จะพงึ ไหลไปทางท่ลี มุ่ ต�่ำ พระคณุ เจ้า”
‘‘อถาปเรน สมเยน เทโว วสฺเสยยฺ , กตเมน ตํ อุทก ํ คจเฺ ฉยฺยา’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ในสมยั อื่นตอ่ มา ฝนพึงตกลงมาอกี นำ้� น้ันจะพึงไหลไป
ทางไหน”

142 มลิ นิ ทปัญหาปกรณ์แปล [๒.มิลนิ ทปญั ห

‘‘เยน ภนฺเต ปุริม ํ อทุ ก ํ คตํ, ตมฺป ิ เตน คจเฺ ฉยยฺ า’’ติ ฯ
พระเจา้ มิลนิ ทต์ รสั วา่ “แม้น�้ำนน้ั ก็จะพึงไหลไปทางทนี่ �้ำครงั้ แรกได้ไหลไปแลว้ พระคุณ
เจ้า”
‘‘กินฺน ุ โข มหาราช ปุริมํ อทุ กํ ปจฉฺ มิ ํ อทุ กํ อาณาเปต ิ ‘เยนาหํ คจฺฉามิ, ตฺวมฺป ิ
เตน คจฉฺ าห’ี ต,ิ ปจฺฉิม ํ วา อุทก ํ ปรุ ิม ํ อุทก ํ อาณาเปติ ‘เยน ตฺว ํ คจฉฺ สิ สฺ สิ, อหมฺปิ เตน
คจฺฉิสฺสามี’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร นำ�้ คร้งั แรกส่ังน�ำ้ ครั้งหลงั ไว้
วา่ ‘เราไหลไปทางใด แม้ทา่ นก็จงไหลไปทางนัน้ ’ ดังน้ีหรือไร หรือว่า นำ�้ ครงั้ หลงั สงั่ นำ้� ครัง้
แรกวา่ ‘ทา่ นจักไหลไปทางใด แม้เรากจ็ ักไหลไปทางนัน้ ’ ดังน้ีหรือ ?”
‘‘น ห ิ ภนฺเต อนาลาโป เตสํ อ ฺ ม เฺ หิ, นนิ ฺนตตฺ า คจฉฺ นฺตี’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลินท์ตรสั ว่า “หามิได้ พระคณุ เจ้า น้ำ� ทง้ั สองคราวน้ันต่างหาพดู จากันและกนั
ไม่ ยอ่ มไหลไป เพราะเปน็ ทางท่ลี ่มุ ต�่ำ”
‘‘เอวเมว โข มหาราช นนิ นฺ ตฺตา ยตฺถ จกฺขุวิ ฺ าณํ อุปปฺ ชฺชติ, ตตถฺ มโน-
ว ิ ฺ าณมปฺ ิ อุปปฺ ชชฺ ต,ิ น จกขฺ วุ ิ ฺ าณํ มโนวิ ฺ าณ ํ อาณาเปติ ‘ยตถฺ าห ํ อุปฺปชฺชาม,ิ
ตวฺ มฺปิ ตตฺถ อุปปฺ ชฺชาห’ี ต,ิ นาปิ มโนวิ ฺ าณ ํ จกขฺ วุ ิ ฺ าณ ํ อาณาเปติ ‘ยตถฺ ตฺว ํ
อปุ ปฺ ชชฺ ิสสฺ สิ, อหมปฺ ิ ตตถฺ อุปปฺ ชฺชิสฺสาม’ี ติ, อนาลาโป เตสํ อ ฺ ม เฺ หิ, นินฺนตฺตา
อปุ ปฺ ชฺชนตฺ ี’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร ก็เหมือนกันอย่างนั้นนัน่
แหละ จักขวุ ญิ ญาณเกดิ ขึน้ ทท่ี วารใด แม้มโนวิญญาณก็เกดิ ข้นึ ทท่ี วารนนั้ เพราะวา่ ทวารนนั้
เป็นเหมอื นทลี่ ุ่มต�ำ่ จกั ขุวญิ ญาณมิได้สั่งมโนวญิ ญาณไว้ว่า ‘เราเกิดขน้ึ ที่ทวารใด แม้ท่านกจ็ ง
เกิดขนึ้ ทท่ี วารนน้ั ’ ดงั นเ้ี ลย แม้มโนวิญญาณกม็ ิได้สงั่ จกั ขุวญิ ญาณไว้ว่า ‘ท่านจกั เกดิ ขึน้ ท่ี
ทวารใด แมเ้ ราก็จกั เกดิ ข้นึ ที่ทวารน้ัน’ ดงั น้ีเลย วญิ ญาณทั้ง ๒ นั้น หาพดู จากันและกนั ไม่
ยอ่ มเกดิ ขน้ึ เพราะทวารนั้นเปน็ เหมือนท่ลี มุ่ ต่ำ� ”
‘‘กถ ํ ภนเฺ ต นาคเสน ทฺวารตตฺ า ยตถฺ จกขฺ วุ ิ ฺ าณํ อุปปฺ ชชฺ ติ, ตตถฺ มโน-
ว ิ ฺ าณมฺปิ อุปปฺ ชฺชติ ? โอปมมฺ ํ กโรหี’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลนิ ท์ตรัสว่า “พระคณุ เจา้ นาคเสน จักขวุ ิญญาณเกิดขนึ้ ทที่ วารใด แมม้ โน-

กัณฑ์] ๒.๓ วิจารวรรค 143

วญิ ญาณก็เกดิ ขึ้นทที่ วารน้นั เพราะว่าทวารนนั้ เป็นเหมอื นประตู อยา่ งไร ? ขอทา่ นจงช่วย
อปุ มาด้วยเถิด”
‘‘ต ํ ก ึ ม ฺ ส ิ มหาราช, ร โฺ ปจจฺ นฺติม ํ นคร ํ อสสฺ ทฬหฺ ปาการโตรณํ
เอกทฺวารํ, ตโต ปุริโส นกิ ฺขมติ กุ าโม ภเวยยฺ , กตเมน นิกขฺ เมยฺยา’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร พระองค์จะทรงส�ำคญั ความ
ขอ้ น้ันว่าอย่างไร หวั เมืองชายแดนของพระราชาซ่งึ มีปอ้ มปราการเสาค่ายแขง็ แรง มปี ระตู
เดียว บรุ ุษผ้ตู ้องการจะออกไปจากเมอื งนัน้ พงึ ออกไปทางไหนเลา่ ?”
‘‘ทวฺ าเรน ภนฺเต นิกขฺ เมยฺยา’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ นิ ท์ตรัสวา่ “พึงออกไปทางประตู พระคณุ เจ้า”
‘‘อถาปโร ปุรโิ ส นกิ ขฺ มิตกุ าโม ภเวยยฺ , กตเมน โส นกิ ฺขเมยยฺ า’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ตอ่ มา มบี รุ ุษอีกคนหน่งึ ต้องการจะออกไป บรุ ุษผ้นู ้ันพงึ
ออกไปทางไหนเลา่ ”
‘‘เยน ภนฺเต ปุริโม ปรุ ิโส นิกฺขนโฺ ต, โสป ิ เตน นกิ ฺขเมยยฺ า’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ ินท์ตรัสวา่ “เขาพงึ ออกไปทางประตทู ีบ่ รุ ุษคนก่อนออกไปแล้ว พระคณุ เจา้ ”
‘‘กินฺนุ โข มหาราช ปรุ ิโม ปรุ ิโส ปจฺฉมิ ํ ปุรสิ ํ อาณาเปต ิ ‘เยนาห ํ คจฺฉามิ, ตวฺ มฺปิ
เตน คจฉฺ าห’ี ต,ิ ปจฺฉิโม วา ปุริโส ปุริม ํ ปุรสิ ํ อาณาเปต ิ ‘เยน ตฺวํ คจฉฺ สิ ฺสส,ิ อหมปฺ ิ เตน
คจฉฺ สิ สฺ าม’ี ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร บรุ ุษคนก่อนส่งั บรุ ษุ คนหลงั
ไวว้ า่ ‘เราไปทางไหน แม้ทา่ นกจ็ งไปทางน้นั ’ ดงั นหี้ รอื ไร หรอื ว่าบุรษุ คนหลังสง่ั บุรุษคนแรกไว้
วา่ ‘ทา่ นไปทางใด แมเ้ ราก็จกั ไปทางนั้น’ ดงั นห้ี รอื ?”
‘‘น ห ิ ภนฺเต, อนาลาโป เตส ํ อ ฺ ม เฺ ห,ิ ทฺวารตฺตา คจฺฉนฺต’ี ’ติ ฯ
พระเจ้ามิลนิ ท์ตรัสว่า “หามิได้ พระคณุ เจา้ บุรษุ ทั้ง ๒ คนนน้ั ตา่ งหาพดู จากันและกนั
ไม่ พวกเขาย่อมไป กเ็ พราะวา่ ทางนน้ั เป็นประต”ู
‘‘เอวเมว โข มหาราช ทฺวารตฺตา ยตฺถ จกขฺ วุ ิ ฺ าณ ํ อุปฺปชฺชต,ิ ตตถฺ มโน-
ว ิ ฺ าณมปฺ ิ อุปฺปชชฺ ติ, น จกฺขวุ ิ ฺ าณ ํ มโนวิ ฺ าณ ํ อาณาเปติ ‘ยตถฺ าห ํ อปุ ปฺ ชชฺ ามิ,

144 มิลนิ ทปญั หาปกรณแ์ ปล [๒.มลิ ินทปญั ห

ตวฺ มปฺ ิ ตตถฺ อุปปฺ ชฺชาห’ี ติ, นาป ิ มโนว ิ ฺ าณํ จกขฺ ุวิ ฺ าณํ อาณาเปต ิ ‘ยตถฺ ตฺว ํ
อุปปฺ ชฺชิสฺสส,ิ อหมปฺ ิ ตตถฺ อุปฺปชชฺ ิสฺสามี’ต,ิ อนาลาโป เตส ํ อ ฺ ม เฺ ห,ิ ทฺวารตฺตา
อปุ ปฺ ชฺชนตฺ ’ี ’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร ก็เหมือนกันอย่างนัน้ นน่ั
แหละ จักขวุ ิญญาณเกิดขน้ึ ทท่ี วารใด แมม้ โนวญิ ญาณก็เกดิ ขึ้นทท่ี วารนั้น เพราะวา่ ทวารนน้ั
เป็นเหมือนประตู จักขุวิญญาณมิได้ส่ังมโนวญิ ญาณไว้วา่ ‘เราเกดิ ขน้ึ ทีท่ วารไหน แม้ท่านกจ็ ง
เกิดข้ึนที่ทวารน้นั นะ’ ดังน้ี ท้งั มโนวญิ ญาณกม็ ิไดส้ ั่งจกั ขุวิญญาณไวว้ า่ ‘ทา่ นเกดิ ขน้ึ ทีท่ วารใด
แม้เราก็จักเกดิ ข้นึ ทท่ี วารน้ัน’ ดงั นี้เลย วญิ ญาณทงั้ ๒ นั้น ต่างหาพดู จากนั และกันไม่ ย่อมเกิด
ขึ้น กเ็ พราะวา่ ทวารนัน้ เป็นเหมือนประต”ู
‘‘กถํ ภนฺเต นาคเสน จิณฺณตฺตา ยตถฺ จกขฺ วุ ิ ฺ าณ ํ อุปปฺ ชชฺ ติ, ตตฺถ มโน-
วิ ฺ าณมฺป ิ อปุ ฺปชฺชติ ? โอปมมฺ ํ กโรห’ี ’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ นิ ท์ตรสั วา่ “พระคณุ เจา้ นาคเสน จกั ขุวิญญาณเกิดขน้ึ ท่ที วารใด แม้มโน-
วิญญาณก็เกิดขึ้นทที่ วารนนั้ เพราะว่าทวารนั้นเป็นเสน้ ทางที่เคยเทยี่ วไปแล้ว อย่างไร? ขอ
ท่านจงช่วยอปุ มาดว้ ยเถิด”
‘‘ตํ กึ ม ฺ สิ มหาราช, ป ม ํ เอก ํ สกฏ ํ คจเฺ ฉยฺย, อถ ทุติยํ สกฏํ กตเมน
คจฺเฉยยฺ า’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร พระองคจ์ ะทรงส�ำคัญความ
ขอ้ น้ันว่าอย่างไร เกวียนเล่มที่ ๑ พึงไปกอ่ น ต่อมา เกวียนเลม่ ท่ี ๒ จะพงึ ไปเสน้ ทางไหน”
‘‘เยน ภนเฺ ต ปรุ ิม ํ สกฏํ คต,ํ ตมปฺ ิ เตน คจเฺ ฉยยฺ า’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ ินท์ตรสั ว่า “จะพงึ ไปตามเส้นทางท่ีเกวยี นเลม่ ที่ ๑ ได้ไปแลว้ พระคณุ เจา้ ”
‘‘กินนฺ ุ โข มหาราช ปุรมิ ํ สกฏํ ปจฺฉิมํ สกฏํ อาณาเปต ิ ‘เยนาห ํ คจฺฉามิ, ตฺวมปฺ ิ
เตน คจฉฺ าหี’ติ, ปจฺฉมิ ํ วา สกฏํ ปรุ ิมํ สกฏ ํ อาณาเปต ิ ‘เยน ตฺว ํ คจฺฉสิ ฺสสิ, อหมฺปิ เตน
คจฺฉิสฺสามี’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร เกวยี นเล่มแรกส่ังเกวยี น
เลม่ หลงั ไว้ว่า ‘เราไปเสน้ ทางใด แมท้ ่านกจ็ งไปตามเส้นทางนน้ั นะ’ ดงั นี้หรอื ไร หรือว่าเกวียน
เลม่ หลังสงั่ เกวียนเล่มแรกไวว้ า่ ‘ทา่ นไปเสน้ ทางใด แมเ้ รากจ็ ักไปตามเส้นทางนัน้ ’ ดงั น้ีเล่า ?”

กณั ฑ]์ ๒.๓ วิจารวรรค 145

‘‘น ห ิ ภนเฺ ต, อนาลาโป เตสํ อ ฺ ม ฺเ ห,ิ จณิ ฺณตตฺ า คจฺฉนฺต’ี ’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ นิ ท์ตรัสวา่ “หามิได้ พระคุณเจ้า เกวยี นท้ัง ๒ เล่มน้ัน ต่างหาพดู จากนั และ
กันไม่ ย่อมไป เพราะวา่ เปน็ เสน้ ทางทเ่ี คยเที่ยวไปแล้ว”
‘‘เอวเมว โข มหาราช จณิ ฺณตฺตา ยตถฺ จกฺขุว ิ ฺ าณ ํ อปุ ปฺ ชชฺ ติ, ตตฺถ มโน-
ว ิ ฺ าณมปฺ ิ อปุ ฺปชฺชติ, น จกขฺ ุว ิ ฺ าณ ํ มโนวิ ฺ าณํ อาณาเปต ิ ‘ยตถฺ าหํ อุปปฺ ชชฺ าม,ิ
ตวฺ มฺป ิ ตตถฺ อปุ ปฺ ชฺชาหี’ติ, นาป ิ มโนวิ ฺ าณ ํ จกฺขุวิ ฺ าณํ อาณาเปต ิ ‘ยตถฺ ตฺว ํ
อุปฺปชฺชิสสฺ สิ, อหมปฺ ิ ตตถฺ อุปฺปชฺชิสสฺ ามี’ติ, อนาลาโป เตส ํ อ ฺ ม เฺ ห,ิ จณิ ฺณตตฺ า
อุปฺปชชฺ นตฺ ’ี ’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพระวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร ก็เหมอื นกันอยา่ งน้ันน่นั
แหละ จักขุวิญญาณเกิดขนึ้ ทท่ี วารใด แมม้ โนวิญญาณก็เกิดข้นึ ทีท่ วารนั้น เพราะวา่ ทวารน้นั
เป็นเสน้ ทางทีเ่ คยเท่ียวไปแลว้ จกั ขุวิญญาณมไิ ด้ส่งั มโนวิญญาณไว้ว่า ‘เราเกิดข้นึ ที่ทวารใด
แม้ท่านกจ็ งเกดิ ข้ึนท่ีทวารนั้น’ ดงั น้ีเลย ทัง้ มโนวิญญาณกม็ ไิ ดส้ ่งั จกั ขุวญิ ญาณไวว้ า่ ‘ทา่ นจกั
เกดิ ขึ้นทีท่ วารใด แมเ้ รากจ็ กั เกิดขนึ้ ทท่ี วารนน้ั ’ ดังนี้เลย วญิ ญาณทง้ั ๒ น้นั ต่างกห็ าพดู จา
กนั และกันไม่ ยอ่ มเกดิ ขึ้น เพราะวา่ ทวารนนั้ เปน็ เสน้ ทางท่ีเคยเท่ียวไปแล้ว”
‘‘กถ ํ ภนฺเต นาคเสน สมุทาจรติ ตตฺ า ยตฺถ จกฺขวุ ิ ฺ าณํ อุปฺปชฺชติ, ตตฺถ มโน-
วิ ฺ าณมฺป ิ อปุ ปฺ ชฺชติ ? โอปมฺม ํ กโรหี’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ ินท์ตรัสว่า “พระคณุ เจ้านาคเสน จักขุวิญญาณเกิดขึ้นทท่ี วารใด แม้มโน-
วิญญาณกเ็ กิดข้นึ ทที่ วารนน้ั เพราะว่าทวารนน้ั เปน็ ทางท่วี ญิ ญาณทงั้ ๒ น้ันเท่ียวไปอยู่เสมอ
อย่างไร ? ขอท่านจงช่วยอุปมาดว้ ยเถิด”
‘‘ยถา มหาราช มุททฺ าคณนาสงขฺ ยฺ าเลขาสปิ ปฺ ฏฺ าเนส ุ อาทิกมฺมกิ สฺส ทนธฺ ายนา
ภวต,ิ อถาปเรน สมเยน นิสมมฺ กริ ยิ าย สมุทาจริตตฺตา อทนธฺ ายนา ภวติ ฯ เอวเมว โข
มหาราช สมุทาจริตตฺตา ยตถฺ จกฺขุวิ ฺ าณํ อุปปฺ ชฺชต,ิ ตตถฺ มโนวิ ฺ าณมฺป ิ อปุ ฺปชฺชติ,
น จกขฺ ุว ิ ฺ าณ ํ มโนวิ ฺ าณ ํ อาณาเปติ ‘ยตถฺ าห ํ อปุ ปฺ ชฺชามิ, ตฺวมฺป ิ ตตฺถ
อปุ ปฺ ชชฺ าหี’ต,ิ นาป ิ มโนว ิ ฺ าณ ํ จกขฺ ุว ิ ฺ าณํ อาณาเปติ ‘ยตฺถ ตวฺ ํ อปุ ฺปชฺชิสสฺ สิ, อหมปฺ ิ
ตตถฺ อุปปฺ ชฺชิสฺสามี’ต,ิ อนาลาโป เตสํ อ ฺ ม เฺ หิ, สมทุ าจริตตตฺ า อุปฺปชฺชนตฺ ี’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร เปรียบเหมอื นว่า คนผู้เรมิ่
ท�ำงานครั้งแรกในงานศิลปะทั้งหลาย มกี ารนับจ�ำนวนดว้ ยนวิ้ มอื และการขดี เขยี น แรกๆ ก็มี

146 มิลนิ ทปญั หาปกรณ์แปล [๒.มิลินทปัญห

ความงมุ่ ง่ามชักชา้ อยู่ สมัยตอ่ มา กห็ าความงุ่มง่ามชกั ช้ามิได้ เพราะไดเ้ ปน็ ไปอยู่เสมอ ในการ
งานทีต่ ้องใคร่ครวญแล้วท�ำ ฉันใด ขอถวายพระพร จกั ขวุ ญิ ญาณเกดิ ข้นึ ทีท่ วารใด แมม้ โน
วิญญาณก็เกิดขนึ้ ทท่ี วารนั้น เพราะว่าทวารนัน้ เปน็ ทางท่ีวิญญาณท้ัง ๒ นัน้ เทย่ี วไปอยูเ่ สมอ
ฉนั นั้นเหมือนกัน, จกั ขวุ ญิ ญาณมไิ ดส้ ง่ั มโนวิญญาณไวว้ ่า ‘เราเกิดขนึ้ ทท่ี วารใด แม้ทา่ นก็จง
เกดิ ขึ้นทีท่ วารนน้ั ’ ดงั นเ้ี ลย ทั้งมโนวญิ ญาณก็มไิ ด้สัง่ จักขุวิญญาณไว้ว่า ‘ท่านเกดิ ขนึ้ ทาง
ทวารใด แมเ้ ราก็จักเกดิ ขนึ้ ทีท่ วารนน้ั ดว้ ย’ ดงั นเ้ี ลย วิญญาณท้งั ๒ น้ัน ตา่ งหาพดู จากันและ
กนั ไม่ ยอ่ มเกดิ ขน้ึ เพราะว่าทวารนน้ั เป็นทางทีว่ ญิ ญาณท้งั ๒ นัน้ เท่ียวไปอยู่เสมอ”
‘‘ภนฺเต นาคเสน ยตถฺ โสตวิ ฺ าณํ อุปปฺ ชชฺ ต,ิ ตตถฺ มโนว ิ ฺ าณมฺป ิ
อุปฺปชชฺ ตตี …ิ เป… ยตฺถ ฆานว ิ ฺ าณ ํ อุปปฺ ชชฺ ต…ิ เป… ยตฺถ ชวิ หฺ าว ิ ฺ าณํ
อปุ ฺปชฺชต ิ … เป.… ยตถฺ กายว ิ ฺ าณํ อปุ ฺปชฺชต,ิ ตตฺถ มโนวิ ฺ าณมฺปิ อุปปฺ ชฺชต’ี ’ติ ?
พระเจา้ มลิ ินทต์ รัสวา่ “พระคุณเจ้านาคเสน โสตวญิ ญาณเกดิ ขึน้ ที่ทวารใด แมม้ โน-
วิญญาณก็เกดิ ขนึ้ ท่ที วารน้ันหรือ ? ฆานวญิ ญาณเกดิ ขนึ้ ท่ีทวารใด ฯลฯ ชวิ หาวิญญาณเกิดขน้ึ
ทท่ี วารใด ฯลฯ กายวญิ ญาณเกิดขน้ึ ทีท่ วารใด แมม้ โนวิญญาณ ก็เกิดขนึ้ ทที่ วารนัน้ หรือ ?”
‘‘อาม มหาราช ยตถฺ กายว ิ ฺ าณ ํ อุปฺปชฺชต,ิ ตตฺถ มโนว ิ ฺ าณมปฺ ิ
อปุ ฺปชชฺ ต’ี ’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ถูกต้องแลว้ มหาบพติ ร กายวิญญาณเกิดข้นึ ท่ีทวารใด
แม้มโนวิญญาณกเ็ กิดขน้ึ ทท่ี วารน้นั ”
‘‘กินฺน ุ โข ภนฺเต นาคเสน ป มํ กายว ิ ฺ าณ ํ อุปปฺ ชชฺ ต,ิ ปจฉฺ า มโนว ิ ฺ าณํ,
อุทาห ุ มโนวิ ฺ าณ ํ ป มํ อุปปฺ ชชฺ ต,ิ ปจฺฉา กายว ิ ฺ าณน”ฺ ติ ?
พระเจ้ามลิ ินท์ตรัสว่า “พระคณุ เจา้ นาคเสน กายวญิ ญาณย่อมเกดิ ขึ้นกอ่ น มโน-
วิญญาณยอ่ มเกดิ ขึน้ ทีหลงั หรอื หรือวา่ มโนวญิ ญาณยอ่ มเกิดข้ึนกอ่ น กายวิญญาณยอ่ มเกิด
ขึ้นทีหลงั เล่า ?”
‘‘กายว ิ ฺ าณํ มหาราช ป มํ อุปปฺ ชชฺ ต,ิ ปจฉฺ า มโนวิ ฺ าณน”ฺ ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร กายวญิ ญาณยอ่ มเกดิ ขนึ้
กอ่ น มโนวิญญาณย่อมเกดิ ขึน้ ทีหลัง”

กณั ฑ์] ๒.๓ วจิ ารวรรค 147

‘‘กนิ ฺนุ โข ภนเฺ ต นาคเสน… เป...”
พระเจา้ มลิ ินทต์ รสั วา่ “พระคุณเจ้านาคเสน กายวญิ ญาณส่ังมโนวญิ ญาณไว้ว่า ‘ท่าน
เกิดขน้ึ ทที่ วารใด แม้เราก็จักเกิดขน้ึ ท่ที วารนน้ั ’ ดังน้หี รือ หรือวา่ มโนวญิ ญาณสง่ั กายวิญญาณ
ไว้วา่ ‘ทา่ นเกิดข้ึนที่ทวารใด แม้เรากจ็ กั เกดิ ทท่ี วารน้ัน’ ดังนี้หรือไร”
‘‘... เป... อนาลาโป เตส ํ อ ฺ ม ฺเ หิ, สมทุ าจรติ ตฺตา อุปปฺ ชชฺ นตฺ ’ี ’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร วญิ ญาณเหล่านน้ั ต่างหา
พูดจากันและกันไม่ ย่อมเกดิ ขนึ้ เพราะวา่ ทวารนั้นเปน็ ทางท่ีวิญญาณท้ัง ๒ น้ันเทีย่ วไปอยู่
เสมอ”
‘‘กลฺโลส ิ ภนฺเต นาคเสนา’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ ินท์ตรสั ว่า “พระคุณเจ้านาคเสน ทา่ นตอบสมควรแล้ว”

จกฺขุวญิ ฺ าณาทปิ ญฺโห สตฺตโม ฯ
จบจักขุวญิ ญาณาทิปัญหาขอ้ ที่ ๗

________

๘. ผสสฺ ลกฺขณปญฺห
๘. ผัสสลักขณปัญหา
ปญั หาว่าด้วยลักษณะของผสั สะ
[๘] ราชา อาห ‘‘ภนฺเต นาคเสน ยตฺถ มโนว ิ ฺ าณํ อุปฺปชชฺ ติ, ผสโฺ สปิ เวทนาปิ
ตตถฺ อุปฺปชชฺ ตี’’ติ ?
[๘] พระราชาตรสั ว่า “พระคณุ เจา้ นาคเสน มโนวิญญาณเกิดข้ึนในทใี่ ด แมผ้ ัสสะ แม้
เวทนา กเ็ กิดข้นึ ในทน่ี ้นั หรือ ?”
‘‘อาม มหาราช ยตถฺ มโนวิ ฺ าณํ อปุ ปฺ ชฺชติ, ผสโฺ สป ิ ตตฺถ อปุ ปฺ ชฺชต,ิ เวทนาป ิ
ตตฺถ อปุ ปฺ ชชฺ ติ, ส ฺ าป ิ ตตฺถ อุปฺปชฺชติ, เจตนาปิ ตตถฺ อปุ ฺปชฺชต,ิ วติ กฺโกป ิ ตตฺถ
อปุ ฺปชชฺ ติ, วิจาโรป ิ ตตฺถ อุปปฺ ชชฺ ติ, สพเฺ พป ิ ผสฺสปปฺ มุขา ธมฺมา ตตฺถ อปุ ฺปชชฺ นตฺ ี’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร มโนวิญญาณเกดิ ขึ้นในทใี่ ด
แมผ้ ัสสะกเ็ กิดข้ึนในท่นี ้ัน แมเ้ วทนากเ็ กดิ ข้ึนในทน่ี ั้น แม้สญั ญาก็เกดิ ข้นึ ในทนี่ ้นั แม้เจตนา

148 มิลนิ ทปญั หาปกรณ์แปล [๒.มิลินทปญั ห

กเ็ กดิ ขึ้นในท่ีนั้น แม้วิตกก็เกดิ ข้ึนในทน่ี ั้น แม้วิจารกเ็ กดิ ขึ้นในที่นัน้ ธรรมแมท้ ุกอย่างมผี สั สะ
เปน็ ประมุข ยอ่ มเกิดข้ึนในที่น้นั ”
‘‘ภนเฺ ต นาคเสน กลึ กขฺ โณ ผสฺโส’’ติ ?
พระเจา้ มิลินท์ตรสั วา่ “พระคุณเจา้ นาคเสน ผัสสะมอี ะไรเป็นลักษณะเลา่ ?”
‘‘ผสุ นลกขฺ โณ มหาราช ผสฺโส’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร ผสั สะมกี ารกระทบเป็น
ลักษณะ”
‘‘โอปมฺม ํ กโรหี’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ นิ ท์ตรัสวา่ “ขอทา่ นจงช่วยอปุ มาดว้ ยเถิด”
‘‘ยถา มหาราช เทฺว เมณฑฺ า ยชุ ฺเฌยยฺ ํุ, เตส ุ ยถา เอโก เมณโฺ ฑ, เอวํ จกขฺ ุ
ทฏ ฺ พฺพํ ฯ ยถา ทุตโิ ย เมณฺโฑ, เอวํ รปู ํ ทฏ ฺ พพฺ ํ ฯ ยถา เตส ํ สนฺนปิ าโต, เอว ํ ผสฺโส
ทฏ ฺ พฺโพ’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร เหมือนอย่างแพะ ๒ ตัวตอ่ สู้
กัน ในแพะ ๒ ตวั นน้ั พึงเหน็ จกั ขเุ ป็นดุจแพะตัวหนึ่ง พึงเหน็ รปู เปน็ ดจุ แพะตวั ท่ี ๒ พึงเห็น
ผัสสะเป็นดจุ การชนกนั แหง่ แพะท้ัง ๒ ตัวเหล่าน้ันเถิด”
‘‘ภิยโฺ ย โอปมมฺ ํ กโรหี’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ ินทต์ รสั ว่า “ขอทา่ นจงชว่ ยอุปมาให้ย่ิงอกี หนอ่ ยเถิด”
‘‘ยถา มหาราช เทวฺ ปาณ ี วชเฺ ชยฺยุ,ํ เตสุ ยถา เอโก ปาณิ, เอวํ จกขฺ ุ
ทฏฺ พพฺ ํ ฯ ยถา ทุติโย ปาณิ, เอวํ รูปํ ทฏ ฺ พพฺ ํ ฯ ยถา เตส ํ สนนฺ ปิ าโต, เอว ํ ผสโฺ ส
ทฏฺ พโฺ พ’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร เหมอื นอยา่ งคนปรบฝ่ามอื
ทั้ง ๒ ขา้ ง ในฝ่ามอื ๒ ขา้ งนน้ั พึงเห็นจักขุเปน็ ดุจฝ่ามอื ขา้ งหนึง่ พงึ เห็นรูปเป็นดจุ ฝ่ามือขา้ งท่ี
๒ พงึ เห็นผสั สะเปน็ ดจุ การปรบกันแหง่ ฝา่ มือท้งั ๒ ข้างเหลา่ นนั้ ”
‘‘ภยิ โฺ ย โอปมฺมํ กโรห’ี ’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ นิ ท์ตรัสวา่ “ขอทา่ นจงชว่ ยอุปมาให้ยง่ิ ขน้ึ อกี หน่อยเถิด”

กัณฑ์] ๒.๓ วิจารวรรค 149

‘‘ยถา มหาราช เทฺว สมมฺ า วชเฺ ชยยฺ ํ,ุ เตสุ ยถา เอโก สมฺโม, เอวํ จกขฺ ุ
ทฏ ฺ พพฺ ํ ฯ ยถา ทตุ โิ ย สมโฺ ม, เอวํ รูป ํ ทฏฺ พพฺ ํ ฯ ยถา เตส ํ สนฺนิปาโต, เอว ํ ผสโฺ ส
ทฏ ฺ พฺโพ’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร เหมือนอยา่ งคนตฉี ิ่ง ๒ ขา้ ง
ในฉงิ่ ๒ ขา้ งน้ัน พึงเห็นจักขเุ ป็นดุจฉง่ิ ข้างหนึง่ พึงเห็นรูปเปน็ ดจุ ฉ่ิงข้างท่ี ๒ พงึ เหน็ ผัสสะเป็น
ดจุ การตีถกู กนั แห่งฉ่ิงท้งั ๒ ข้างเหลา่ นน้ั เถดิ ”
‘‘กลฺโลส ิ ภนเฺ ต นาคเสนา’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ ินท์ตรัสวา่ “พระคณุ เจา้ นาคเสน ท่านตอบสมควรแลว้ ”

ผสสฺ ลกฺขณปญโฺ ห อฏ€ฺ โม ฯ
จบผัสสลักขณปญั หาข้อที่ ๘

________

๙. เวทนาลกฺขณปญฺห
๙. เวทนาลักขณปญั หา
ปญั หาวา่ ดว้ ยลกั ษณะของเวทนา
[๙] ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน กึลกฺขณา เวทนา’’ติ ?
[๙] พระเจา้ มิลินท์ตรัสวา่ “พระคณุ เจา้ นาคเสน เวทนามอี ะไรเป็นลักษณะ ?”
‘‘เวทยิตลกฺขณา มหาราช เวทนา อนุภวนลกฺขณา จา’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร เวทนามกี ารได้รบั รเู้ ป็น
ลักษณะ และมกี ารเสวยเปน็ ลักษณะ”
‘‘โอปมฺมํ กโรหี’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ นิ ทต์ รัสวา่ “ขอท่านจงชว่ ยอปุ มาใหห้ นอ่ ยเถอะ”
‘‘ยถา มหาราช โกจเิ ทว ปรุ ิโส ร โฺ อธกิ ารํ กเรยยฺ , ตสฺส ราชา ตุฏฺโ อธิการ ํ
ทเทยยฺ , โส เตน อธกิ าเรน ป จฺ หิ กามคเุ ณห ิ สมปฺปิโต สมงคฺ ภิ โู ต ปรจิ เรยฺย, ตสฺส
เอวมสสฺ ‘มยา โข ปพุ เฺ พ ร ฺโ อธกิ าโร กโต, ตสสฺ เม ราชา ตุฏโฺ อธิการ ํ อทาส,ิ
สฺวาหํ ตโตนิทานํ อมิ ํ เอวรปู ํ เวทนํ เวทยามี’ติ ฯ

150 มิลินทปัญหาปกรณแ์ ปล [๒.มิลนิ ทปญั ห

พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร เหมอื นอย่างบุรษุ บางคนได้
ท�ำความดีความชอบตอ่ พระราชา พระราชาทรงยินดีแล้ว ก็ทรงปูนบ�ำเหนจ็ ความดคี วามชอบ
ตอ่ เขา เขาจึงเป็นผอู้ ม่ิ เอิบเพยี บพร้อมบ�ำรงุ บ�ำเรออยู่ดว้ ยกามคณุ ๕ เพราะการปูนบ�ำเหนจ็
ความดคี วามชอบนน้ั เขาน้นั ไดเ้ กดิ ความคดิ อย่างนวี้ ่า ‘เราไดท้ �ำความดีความชอบตอ่ พระ
ราชาไว้กอ่ น พระราชาทรงยินดแี ล้ว จึงทรงปูนบ�ำเหนจ็ ความดีความชอบตอ่ เรา เราไดร้ บั
เวทนาเห็นปานนนั้ ได้ เพราะความดีความชอบทีพ่ ระราชาทรงปนู บ�ำเหน็จตอ่ เรานนั้ เปน็ เหตุ’
ดงั นี้

ยถา วา ปน มหาราช โกจิเทว ปรุ ิโส กุสล ํ กมมฺ ํ กตฺวา กายสฺส เภทา
ปร ํ มรณา สคุ ต ึ สคคฺ ํ โลก ํ อุปปชเฺ ชยยฺ , โส จ ตตฺถ ทพิ เฺ พห ิ ป ฺจห ิ กามคเุ ณหิ
สมปปฺ ิโต สมงคฺ ิภโู ต ปริจเรยฺย, ตสฺส เอวมสสฺ ‘สวฺ าหํ โข ปพุ ฺเพ กสุ ล ํ กมฺม ํ อกาส,ึ โสหํ
ตโตนิทานํ อิม ํ เอวรูป ํ เวทน ํ เวทยามี’ติ, เอวํ โข มหาราช เวทยิตลกขฺ ณา เวทนา
อนภุ วนลกขฺ ณา จา’’ติ ฯ
ขอถวายพระพรมหาบพติ ร “อีกอยา่ งหนง่ึ เปรยี บเหมือนบรุ ุษบางคนได้ท�ำกศุ ลกรรม
ไว้ หลงั จากตายไป กพ็ งึ เข้าถึงสุคติโลกสวรรค์ และเขากเ็ ป็นผอู้ มิ่ เอิบเพยี บพรอ้ ม บ�ำรงุ บ�ำเรอ
อย่ดู ว้ ยกามคณุ ๕ อันเป็นทพิ ย์ ในช้นั สวรรค์น้ัน เขาน้นั ได้เกิดความคดิ อย่างนีว้ ่า ‘เรานนั้ ได้
ท�ำกศุ ลกรรมเอาไวก้ อ่ น เพราะเหตทุ ี่เราได้ท�ำกุศลกรรมเอาไวน้ น้ั เราน้นั จึงไดเ้ สวยเวทนา
เหน็ ปานน้’ี ดงั น้ ี ขอถวายพระพร เวทนามกี ารไดร้ ับรเู้ ป็นลกั ษณะ และมกี ารเสวยเปน็ ลักษณะ
ตามประการดงั กล่าวมานแี้ ล”

‘‘กลโฺ ลสิ ภนเฺ ต นาคเสนา’’ติ ฯ
พระเจา้ มิลินท์ตรัสว่า “พระคุณเจ้านาคเสน ทา่ นตอบสมควรแลว้ ”

เวทนาลกขฺ ณปญฺโห นวโม ฯ
จบเวทนาลกั ขณปัญหาขอ้ ท่ี ๙

________

กัณฑ์] ๒.๓ วิจารวรรค 151

๑๐. สญฺ าลกฺขณปญหฺ
๑๐. สญั ญาลักขณปญั หา
ปัญหาวา่ ด้วยลกั ษณะของสัญญา
[๑๐] ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน กึลกขฺ ณา ส ฺ า’’ติ ?
[๑๐] พระราชาตรัสวา่ “พระคณุ เจา้ นาคเสน สัญญามีอะไรเป็นลักษณะ ?”
‘‘ส ฺชานนลกฺขณา มหาราช ส ฺ า ฯ กึ ส ชฺ านาติ ? นลี มปฺ ิ ส ชฺ านาติ, ปีตมปฺ ิ
ส ชฺ านาติ, โลหติ มฺป ิ ส ฺชานาติ, โอทาตมฺป ิ ส ชฺ านาต,ิ ม ชฺ ิฏ ฺ มปฺ ิ ส ชฺ านาติ ฯ เอว ํ
โข มหาราช ส ชฺ านนลกขฺ ณา ส ฺ า’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร สัญญามีความจ�ำเปน็
ลกั ษณะ จ�ำอะไรหรือ จ�ำสเี ขียวบ้าง จ�ำสีเหลืองบ้าง จ�ำสีแดงบ้าง จ�ำสขี าวบ้าง จ�ำสเี ล่อื มพราย
บ้าง ขอถวายพระพร สัญญามีความจ�ำได้เป็นลักษณะ ตามประการดังกลา่ วมานแ้ี ล”
‘‘โอปมฺม ํ กโรหี’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ นิ ทต์ รัสวา่ “ขอทา่ นจงชว่ ยอปุ มาให้หน่อยเถอะ”
‘‘ยถา มหาราช ร โฺ ภณฺฑาคารโิ ก ภณฑฺ าคารํ ปวสิ ิตวฺ า นลี ปตี โลหโิ ตทาต-
ม ชฺ ฏิ ฺ าน ิ ราชโภคาน ิ รปู านิ ปสฺสิตวฺ า ส ชฺ านาติ ฯ เอว ํ โข มหาราช ส ฺชานนลกขฺ ณา
ส ฺ า’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร เปรียบเหมือนว่า ขนุ คลัง
ของพระราชา เขา้ ไปสเู่ รอื นคลังแล้ว เหน็ รูปทงั้ หลายซงึ่ เป็นเคร่ืองใช้ของพระราชาทม่ี สี เี ขยี ว
สีเหลือง สแี ดง สีขาว สีเลือ่ มพราย ก็ยอ่ มจ�ำได้ ฉันใด ขอถวายพระพร สัญญามคี วามจ�ำได้
เป็นลักษณะ ก็ฉนั น้ันเหมือนกันแล”
‘‘กลฺโลส ิ ภนเฺ ต นาคเสนา’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ ินทต์ รัสวา่ “พระคุณเจ้านาคเสน ท่านตอบสมควรแลว้ ”
สญฺาลกขฺ ณปญโฺ ห ทสโม ฯ
จบสัญญาลกั ขณปญั หาข้อที่ ๑๐

________

152 มิลินทปัญหาปกรณ์แปล [๒.มลิ ินทปัญห

๑๑. เจตนาลกฺขณปญฺห
๑๑. เจตนาลักขณปัญหา
ปญั หาว่าดว้ ยลกั ษณะของเจตนา
[๑๑] ‘‘ภนฺเต นาคเสน กึลกขฺ ณา เจตนา’’ติ ?
[๑๑] พระเจ้ามิลินทต์ รสั ว่า “พระคุณเจา้ นาคเสน เจตนามอี ะไรเปน็ ลกั ษณะ ?”
‘‘เจตยติ ลกฺขณา มหาราช เจตนา อภสิ งขฺ รณลกฺขณา จา’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร เจตนามคี วามจงใจเป็น
ลักษณะ และมีการปรงุ แตง่ เป็นลักษณะ”
‘‘โอปมมฺ ํ กโรหี’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลินทต์ รสั วา่ “ขอทา่ นจงช่วยอปุ มาให้หนอ่ ยเถอะ”
‘‘ยถา มหาราช โกจเิ ทว ปรุ ิโส วสิ ํ อภิสงฺขรติ ฺวา อตฺตนา จ ปิเวยฺย, ปเร จ
ปาเยยยฺ , โส อตตฺ นาปิ ทกุ ฺขโิ ต ภเวยยฺ , ปเรป ิ ทุกฺขิตา ภเวยฺยุํ ฯ เอวเมว โข มหาราช
อิเธกจฺโจ ปคุ คฺ โล อกุสล ํ กมมฺ ํ เจตนาย เจตยติ ฺวา กายสฺส เภทา ปรํ มรณา อปายํ
ทุคคฺ ตึ วินิปาตํ นริ ย ํ อุปปชเฺ ชยยฺ ฯ เยป ิ ตสฺส อนุสิกขฺ นตฺ ิ, เตปิ กายสสฺ เภทา ปร ํ
มรณา อปายํ ทุคฺคต ึ วินปิ าต ํ นริ ย ํ อปุ ปชชฺ นตฺ ิ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร เปรยี บเหมือนวา่ บรุ ุษบาง
คน ปรุงยาพิษแลว้ กด็ ืม่ เองดว้ ย ให้คนเหล่าอน่ื ดืม่ ด้วย แม้ตัวเขาเองนัน้ ก็เป็นทุกข์ แมค้ นเหลา่
อื่นกเ็ ปน็ ทุกข์ ฉนั ใด ขอถวายพระพร บุคคลบางคนในโลกนี้ มีเจตนาจงใจกระท�ำอกุศลกรรม
หลังจากตายไป ก็พึงเขา้ ถึงอบาย ทคุ ติ วนิ บิ าต นรก บคุ คลแมเ้ หลา่ ใดเอาเยีย่ งอย่างเขา
บุคคลแม้เหล่านน้ั หลังจากตายไป ก็ย่อมเขา้ ถึงอบาย ทุคติ วนิ บิ าต นรก ฉนั นน้ั เหมือนกัน
‘‘ยถา วา ปน มหาราช โกจิเทว ปุรโิ ส สปฺปินวนตี เตลมธุผาณติ ํ เอกชฌฺ ํ
อภิสงฺขริตวฺ า อตตฺ นา จ ปิเวยฺย, ปเร จ ปาเยยยฺ , โส อตฺตนา สุขิโต ภเวยฺย, ปเรป ิ
สขุ ติ า ภเวยฺยุํ ฯ เอวเมว โข มหาราช อิเธกจโฺ จ ปคุ ฺคโล กสุ ลํ กมฺม ํ เจตนาย เจตยติ วฺ า
กายสสฺ เภทา ปรํ มรณา สคุ ต ึ สคฺคํ โลกํ อปุ ปชฺชติ ฯ เยป ิ ตสสฺ อนสุ กิ ฺขนฺต,ิ เตปิ
กายสสฺ เภทา ปรํ มรณา สุคต ึ สคคฺ ํ โลก ํ อุปปชชฺ นฺติ ฯ เอวํ โข มหาราช เจตยติ -
ลกขฺ ณา เจตนา อภสิ งฺขรณลกฺขณา จา’’ติ ฯ

กัณฑ์] ๒.๓ วจิ ารวรรค 153

ขอถวายพระพรมหาบพติ ร กห็ รอื ว่า เปรยี บเหมอื นว่า บรุ ุษบางคน ปรุงเนยใส เนยข้น
น�้ำมัน นำ้� ผงึ้ และน้�ำออ้ ยให้มีรสเป็นอันเดียวกนั แลว้ กด็ ่ืมเองดว้ ย ใหค้ นเหลา่ อ่ืนดืม่ ดว้ ย ตวั
เขาเองน้นั กเ็ ปน็ สุข แม้คนเหล่าอ่ืนก็เปน็ สขุ ฉันใด ขอถวายพระพร บคุ คลบางคนในโลกนี้มี
เจตนาจงใจกระท�ำกศุ ลกรรม หลงั จากตายไป กย็ ่อมเขา้ ถึงสุคติโลกสวรรค์ บคุ คลแมเ้ หล่าใด
เอาเย่ยี งอย่างเขา บุคคลแม้เหลา่ น้ัน หลังจากตายไป กย็ อ่ มเขา้ ถงึ สุคตโิ ลกสวรรค์ ฉนั นัน้
เหมอื นกัน ขอถวายพระพร เจตนามีความจงใจเป็นลกั ษณะ และมกี ารปรงุ แต่งเป็นลกั ษณะ
ตามประการดังกลา่ วมานีแ้ ล”
‘‘กลโฺ ลส ิ ภนฺเต นาคเสนา’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ ินทต์ รสั ว่า “พระคุณเจ้านาคเสน ทา่ นตอบสมควรแล้ว”

เจตนาลกขฺ ณปญโฺ ห เอกาทสโม ฯ
จบเจตนาลักขณปญั หาข้อท่ี ๑๑
________

๑๒. วญิ ฺ าณลกฺขณปญฺห
๑๒. วญิ ญาณลกั ขณปญั หา
ปญั หาว่าด้วยลักษณะของวิญญาณ
[๑๒] ‘‘ภนฺเต นาคเสน กึลกฺขณํ ว ิ ฺ าณนฺ”ติ ?
[๑๒] พระเจา้ มลิ นิ ทต์ รสั วา่ “พระคณุ เจ้านาคเสน วญิ ญาณมีอะไรเปน็ ลกั ษณะ ?”
‘‘วิชานนลกฺขณํ มหาราช วิ ฺ าณน”ฺ ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร วิญญาณมีความรู้ต่างๆ เปน็
ลกั ษณะ”
‘‘โอปมฺม ํ กโรหี’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลนิ ทต์ รสั วา่ “ขอท่านจงชว่ ยอุปมาใหห้ นอ่ ยเถอะ”
‘‘ยถา มหาราช นครคุตฺติโก มชฺเฌ นครสงิ ฺฆาฏเก นิสินโฺ น ปสฺเสยยฺ ปุรตถฺ มิ ทสิ โต
ปุรสิ ํ อาคจฺฉนฺต,ํ ปสเฺ สยฺย ทกฺขิณทสิ โต ปุริส ํ อาคจฺฉนฺต,ํ ปสเฺ สยฺย ปจฉฺ ิมทิสโต ปรุ สิ ํ
อาคจฉฺ นฺตํ, ปสเฺ สยยฺ อุตตฺ รทสิ โต ปุรสิ ํ อาคจฺฉนฺตํ ฯ เอวเมว โข มหาราช ย ฺจ ปุรโิ ส

154 มลิ ินทปญั หาปกรณ์แปล [๒.มิลนิ ทปญั ห

จกฺขนุ า รปู ํ ปสสฺ ต,ิ ต ํ ว ิ ฺ าเณน วิชานาติ ฯ ย ฺจ โสเตน สทฺท ํ สณุ าต,ิ ต ํ วิ ฺ าเณน
วชิ านาติ ฯ ย ฺจ ฆาเนน คนธฺ ํ ฆายติ, ตํ วิ ฺ าเณน วชิ านาติ ฯ ย จฺ ชิวฺหาย รสํ
สายติ, ต ํ ว ิ ฺ าเณน วิชานาติ ฯ ย ฺจ กาเยน โผฏฺ พพฺ ํ ผสุ ต,ิ ต ํ วิ ฺ าเณน
วชิ านาต,ิ ย ฺจ มนสา ธมฺมํ วิชานาติ, ต ํ ว ิ ฺ าเณน วชิ านาติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร เปรยี บเหมือนว่า บรุ ษุ ผู้
รกั ษาเมือง นั่งอยทู่ สี่ แ่ี ยกกลางเมืองแล้ว ก็พึงเหน็ ผู้คนผมู้ าจากทางทศิ ตะวันออก พงึ เห็นผคู้ น
ผ้มู าจากทางทิศใต้ พงึ เหน็ ผู้คนผู้มาจากทางทิศตะวนั ตก พึงเห็นคนผมู้ าจากทางทิศเหนอื
ฉันใด ขอถวายพระพร บรุ ุษเห็นรูปใดทางตา กช็ อื่ ว่ารรู้ ปู นน้ั ได้ดว้ ยวญิ ญาณ ไดย้ นิ เสียงใด
ทางหู กช็ ื่อวา่ ร้เู สียงนน้ั ได้ดว้ ยวิญญาณ ดมกลน่ิ ใดทางจมูก ก็ชอื่ วา่ รกู้ ล่นิ น้นั ได้ด้วยวิญญาณ
ลิ้มรสใดทางลิน้ ก็ชอ่ื วา่ รรู้ สนั้นไดด้ ้วยวิญญาณ กระทบโผฏฐพั พะใดทางกาย กช็ ่อื วา่ รู้
โผฏฐพั พะน้ันได้ดว้ ยวญิ ญาณ รู้ธรรมใดทางใจ ก็ชอื่ วา่ ร้ธู รรมนัน้ ได้ด้วยวญิ ญาณ ฉนั นั้น
เหมือนกนั

เอว ํ โข มหาราช วิชานนลกขฺ ณ ํ ว ิ ฺ าณน”ฺ ติ ฯ
ขอถวายพระพร วญิ ญาณมคี วามร้ตู ่าง ๆ เปน็ ลักษณะตามประการดังกล่าวมานแี้ ล”

‘‘กลโฺ ลส ิ ภนฺเต นาคเสนา’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลินท์ตรัสว่า “พระคณุ เจ้านาคเสน ทา่ นตอบสมควรแลว้ ”

วญิ ฺ าณลกขฺ ณปญโฺ ห ทวฺ าทสโม ฯ
จบวิญญาณลกั ขณปญั หาข้อท่ี ๑๒

________

๑๓. วิตกกฺ ลกฺขณปญฺห
๑๓. วิตักกลักขณปัญหา
ปัญหาว่าด้วยลกั ษณะของวติ ก
[๑๓] ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน กลึ กขฺ โณ วติ กฺโก’’ติ ?
[๑๓] พระเจา้ มิลนิ ท์ตรัสถามวา่ “พระคณุ เจา้ นาคเสน วิตกมีอะไรเป็นลักษณะ ?”

‘‘อปฺปนาลกฺขโณ มหาราช วติ กโฺ ก’’ติ ฯ

กัณฑ]์ ๒.๓ วจิ ารวรรค 155

พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร วิตกมคี วามแนบชิด
(อารมณ์)เปน็ ลกั ษณะ”
‘‘โอปมฺมํ กโรห’ี ’ติ ฯ
พระเจ้ามิลินทต์ รสั ว่า “ขอทา่ นจงชว่ ยอุปมาให้หน่อย”
‘‘ยถา มหาราช วฑฒฺ ก ี สุปริกมมฺ กต ํ ทารํ ุ สนธฺ สิ มฺ ึ อปเฺ ปต,ิ เอวเมว โข มหาราช
อปฺปนาลกขฺ โณ วิตกโฺ ก’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร เปรียบเหมือนวา่ ชา่ งไม้
ย่อมวางทอ่ นไม้ท่ีท�ำบรกิ รรมดแี ล้วใหแ้ นบชิดถงึ กันในสว่ นท่ีจะตอ่ เช่ือมกนั ฉันใด ขอถวาย
พระพร วิตกกม็ ีความแนบชดิ อารมณ์เป็นลกั ษณะ กฉ็ ันนนั้ เหมอื นกันแล”
‘‘กลฺโลส ิ ภนเฺ ต นาคเสนา’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ ินท์ตรสั ว่า “พระคณุ เจ้านาคเสน ท่านตอบสมควรแลว้ ”

วิตกกฺ ลกฺขณปญฺโห เตรสโม ฯ
จบวิตกั กลักขณปญั หาขอ้ ท่ี ๑๓

________

๑๔. วจิ ารลกขฺ ณปญหฺ
๑๔. วิจารลกั ขณปัญหา
ปัญหาว่าดว้ ยลักษณะของวิจาร
[๑๔] ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน กลึ กฺขโณ วจิ าโร’’ติ ?
[๑๔] พระเจา้ มิลินท์ตรสั ถามว่า “พระคณุ เจ้านาคเสน วิจารมอี ะไรเป็นลกั ษณะ ?”
‘‘อนมุ ชฺชนลกขฺ โณ มหาราช วิจาโร’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร วจิ ารมกี ารตามเคล้าคลึง
(อารมณ)์ เปน็ ลักษณะ”
‘‘โอปมมฺ ํ กโรห’ี ’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ ินทต์ รสั วา่ “ขอท่านจงช่วยอุปมาใหห้ น่อยเถอะ”

156 มลิ นิ ทปัญหาปกรณ์แปล [๒.มิลินทปัญห

‘‘ยถา มหาราช กํสตาล ํ อาโกฏติ ํ ปจฉฺ า อนุรวติ อนุสนฺทหต,ิ ยถา มหาราช
อาโกฏนา, เอว ํ วิตกฺโก ทฏฺ พโฺ พ ฯ ยถา อนุรวนา, เอวํ วจิ าโร ทฏ ฺ พโฺ พ’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร เปรียบเหมือนวา่ กังสดาล
พอเร่มิ ตแี ล้ว ภายหลังก็สง่ เสียงครวญตอ่ เนือ่ งกนั ไป ส่งเสียงกงั วาลต่อเนือ่ งกนั ไป ฉันใด ขอ
ถวายพระพร พึงเห็นวติ กวา่ เป็นดุจการตีครั้งแรก พงึ เหน็ วจิ ารวา่ เปน็ ดุจเสียงครวญ ฉันนน้ั
เถิด”

‘‘กลฺโลส ิ ภนเฺ ต นาคเสนา’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ ินทต์ รสั ว่า “พระคุณเจา้ นาคเสน ท่านตอบสมควรแลว้ ”

วิจารลกขฺ ณปญโฺ ห จุททฺ สโม ฯ
จบวิจารลักขณปญั หาขอ้ ที่ ๑๔

วิจารวคโฺ ค ตติโย ฯ
จบวิจารวรรคท่ี ๓

อมิ สฺมึ วคเฺ ค จทุ ฺทส ปญฺหา ฯ
ในวรรคน้ี มีปัญหา ๑๔ ข้อ
________

๒.๔ นพิ ฺพานวคคฺ
๒.๔ นพิ พานวรรค วรรคว่าดว้ ยนิพพาน

๑. ผสสฺ าทิวินพิ ฺภชุ นปญหฺ
๑. ผสั สาทิวนิ ิพภุชนปญั หา
ปัญหาว่าด้วยการแยกแยะธรรมมผี สั สะเป็นตน้
[๑] ราชา อาห ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน สกฺกา อิเมสํ ธมมฺ านํ เอกโตภาวคตาน ํ
วินพิ ภฺ ชุ ติ ฺวา วนิ ิพฺภุชติ ฺวา นานากรณํ ป ฺ าเปตุ ํ ‘อยํ ผสฺโส, อยํ เวทนา, อยํ ส ฺ า,
อย ํ เจตนา, อทิ ํ วิ ฺ าณ,ํ อยํ วติ กโฺ ก, อย ํ วจิ าโร’ต’ิ ’?
[๑] พระราชาตรสั วา่ “พระคณุ เจา้ นาคเสน ใคร ๆ สามารถท่ีจะแยกแยะธรรมท้งั หลาย

กัณฑ]์ ๒.๔ นพิ พานวรรค 157

ทีถ่ ึงความรวมอยู่ในจติ ดวงเดียวกันเหลา่ น้ี เพ่ือใหร้ ู้ถึงความตา่ งกันวา่ ‘น้ผี สั สะ นเ้ี วทนา
น้สี ญั ญา นเี้ จตนา นีว้ ิญญาณ นีว้ ิตก นวี้ จิ าร’ ดังน้ไี ด้หรือไม่ ?”
‘‘น สกกฺ า มหาราช อเิ มสํ ธมมฺ าน ํ เอกโตภาวคตาน ํ วนิ ิพฺภุชิตฺวา วนิ ิพฺภุชิตวฺ า
นานากรณ ํ ป ฺ าเปต ุํ ‘อยํ ผสฺโส, อยํ เวทนา, อย ํ ส ฺ า, อยํ เจตนา, อิท ํ ว ิ ฺ าณํ,
อยํ วิตกโฺ ก, อยํ วจิ าโร’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร ใคร ๆ ไมอ่ าจท่จี ะแยกแยะ
ธรรมทั้งหลายท่ีถงึ ความรวมอยู่ในจติ ดวงเดยี วกนั เหลา่ น้ี เพือ่ ให้รถู้ งึ ความตา่ งกนั วา่ ‘นผี้ ัสสะ
น้เี วทนา น้สี ัญญา นเ้ี จตนา นี้วิญญาณ นว้ี ิตก น้วี ิจาร’ ดงั นไ้ี ด้เลย”
‘‘โอปมมฺ ํ กโรห’ี ’ติ ฯ
พระเจ้ามิลินทต์ รัสวา่ “ขอท่านจงช่วยอปุ มาใหห้ น่อยเถอะ”
‘‘ยถา มหาราช ร โฺ สโู ท อรสํ วา รส ํ วา กเรยยฺ , โส ตตฺถ ทธิมฺป ิ ปกฺขเิ ปยฺย,
โลณมปฺ ิ ปกฺขิเปยยฺ , สิงคฺ ิเวรมฺป ิ ปกขฺ ิเปยยฺ , ชีรกมปฺ ิ ปกขฺ เิ ปยยฺ , มริจมฺป ิ ปกฺขิเปยยฺ ,
อ ฺ านิปิ ปการานิ ปกขฺ เิ ปยยฺ , ตเมนํ ราชา เอวํ วเทยยฺ , ‘ทธิสฺส เม รส ํ อาหร, โลณสฺส
เม รส ํ อาหร, สิงฺคเิ วรสสฺ เม รสํ อาหร, ชีรกสสฺ เม รส ํ อาหร, มริจสสฺ เม รส ํ อาหร,
สพเฺ พส ํ เม ปกขฺ ติ ตฺ าน ํ รส ํ อาหรา’ติ ฯ สกฺกา นุ โข มหาราช เตสํ รสาน ํ เอกโตภาว-
คตานํ วนิ พิ ภฺ ุชติ ฺวา วินิพฺภุชติ วฺ า รสํ อาหริตํุ อมพฺ ิลตฺตํ วา ลวณตฺต ํ วา ตติ ตฺ กตตฺ ํ วา
กฏุกตตฺ ํ วา กสายตตฺ ํ วา มธุรตตฺ ํ วา’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร เปรียบเหมอื นวา่ นายวเิ สท
(พอ่ ครวั ของหลวง) พงึ ท�ำเคร่ืองเสวยท่มี รี สไมด่ บี า้ ง มีรสดีบ้าง ถวายแก่พระราชา นายวเิ สทผู้
นัน้ พึงใส่นมส้มในเครื่องเสวยนั้นบา้ ง พึงใส่เกลอื บ้าง พงึ ใสข่ ิงสดบา้ ง พึงใส่เมด็ ยี่หร่าบ้าง พึง
ใสพ่ รกิ บ้าง พงึ ใสเ่ ครื่องปรงุ แม้อย่างอื่น ๆ บา้ ง, พระราชารับสง่ั กบั นายวเิ สทนั้นอยา่ งนี้วา่
‘เจา้ จงแยกรสนมสม้ มาให้เรา จงแยกเอารสของเกลือมาใหเ้ รา จงแยกเอารสของขงิ สดมาให้
เรา จงแยกเอารสของยี่หรา่ มาให้เรา จงแยกเอารสของพริกมาใหเ้ รา จงแยกเอารสของเคร่อื ง
ปรุงทกุ อยา่ งที่ใสล่ งไปมาให้เรา’ ดงั นี้, ขอถวายพระพร บรรดารสทัง้ หลายทถ่ี ึงความรวมอย่ใู น
เครื่องเสวยอันเดียวกนั เหล่านั้น นายวเิ สทสามารถท่ีจะคดั แยกน�ำมาเฉพาะรสเปรี้ยว เคม็ ขม
เผ็ด ฝาด หรือหวาน ได้หรอื ไม่หนอ ?”

158 มลิ นิ ทปญั หาปกรณแ์ ปล [๒.มิลินทปัญห

‘‘น ห ิ ภนเฺ ต สกกฺ า เตสํ รสานํ เอกโตภาวคตานํ วินพิ ภฺ ุชติ ฺวา วินพิ ฺภุชติ วฺ า รส ํ
อาหริตํุ อมฺพิลตฺต ํ วา ลวณตฺตํ วา ตติ ตฺ กตฺตํ วา กฏกุ ตตฺ ํ วา กสายตฺตํ วา มธรุ ตตฺ ํ วา,
อปิจ โข ปน สเกน สเกน ลกขฺ เณน อุปฏฺ หนฺตี’’ติ ฯ
พระเจา้ มิลินท์ตรสั ว่า “พระคณุ เจา้ บรรดารสทัง้ หลายทถี่ ึงความรวมอยใู่ นเครอ่ื งเสวย
อนั เดยี วกนั เหลา่ นั้น นายวเิ สทไมอ่ าจทจี่ ะคัดแยกน�ำมาเฉพาะรสเปรีย้ ว เค็ม ขม เผด็ ฝาด
หรือหวานได้ แตท่ ว่า รสทั้งหลายก็ปรากฏ(ใหร้ ูไ้ ด)้ โดยลกั ษณะเฉพาะท่เี ปน็ ของตนๆ”

‘‘เอวเมว โข มหาราช น สกฺกา อเิ มสํ ธมฺมานํ เอกโตภาวคตาน ํ วินิพฺภชุ ติ ฺวา
วนิ พิ ฺภชุ ิตวฺ า นานากรณํ ป ฺ าเปต ุํ ‘อยํ ผสฺโส, อย ํ เวทนา, อยํ ส ฺ า, อยํ เจตนา,
อิทํ วิ ฺ าณ,ํ อยํ วิตกโฺ ก, อย ํ วจิ าโร’ต,ิ อปจิ โข ปน สเกน สเกน ลกขฺ เณน
อปุ ฏฺ หนฺตี’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร ก็เหมือนกันอย่างนน้ั น่นั
แหละ ใคร ๆ ไม่อาจท่จี ะแยกแยะธรรมทั้งหลายทีถ่ งึ ความรวมอยูใ่ นจติ ดวงเดียวกนั เหล่านี้
เพ่ือให้รู้ถงึ ความตา่ งกันว่า ‘นี้ผัสสะ น้เี วทนา น้ีสัญญา นี้เจตนา น้ีวิญญาณ น้วี ิตก นว้ี จิ าร’
ดงั นีไ้ ด้เลย ก็อีกอย่างหนง่ึ แล ธรรมเหลา่ นั้นย่อมปรากฏ (ใหร้ ู้ได)้ โดยลักษณะทเ่ี ป็นของ
ตนๆ”

‘‘กลฺโลสิ ภนฺเต นาคเสนา’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ ินท์ตรสั วา่ “พระคณุ เจา้ นาคเสน ทา่ นตอบสมควรแลว้ ”

ผสฺสาทิวินิพภฺ ชุ นปญฺโห ป€โม ฯ
จบผัสสาทิวนิ พิ ภุชนปญั หาขอ้ ท่ี ๑

________

๒. นาคเสนปญฺห
๒. นาคเสนปัญหา
ปัญหาวา่ ด้วยปญั หาของพระนาคเสน
[๒] เถโร อาห ‘‘โลณ ํ มหาราช จกขฺ วุ ิ เฺ ยยฺ น”ฺ ติ ฯ
[๒] พระเถระถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร ความเค็มเปน็ สงิ่ ทพี่ งึ รู้ได้
ดว้ ยตาหรอื ?”

กัณฑ]์ ๒.๔ นิพพานวรรค 159

‘‘อาม ภนฺเต จกฺขวุ ิ ฺเ ยฺยนฺ”ติ ฯ
พระเจา้ มลิ ินทต์ รสั ว่า “ใช่ พระคุณเจา้ เปน็ ส่ิงท่ีพึงรู้ไดด้ ว้ ยตา”
‘‘สุฏฺ ุ โข มหาราช ชานาห’ี ’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร พระองคท์ รงรูถ้ กู ตอ้ งดแี ล้วหรือ ?”
‘‘กึ ปน ภนเฺ ต ชิวฺหาว ิ เฺ ยยฺ นฺ”ติ ?
พระเจ้ามิลินท์ตรัสว่า “พระคุณเจ้า ความเค็มเปน็ ส่ิงท่ีพงึ รไู้ ด้ด้วยลนิ้ หรอื ?”
‘‘อาม มหาราช ชวิ หฺ าวิ เฺ ยฺยน”ฺ ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ใช่แลว้ มหาบพติ ร รสเค็มเป็นสงิ่ ท่ีพงึ ร้ไู ด้ด้วยลิ้น”
‘‘ก ึ ปน ภนฺเต สพฺพํ โลณ ํ ชวิ หฺ าย วชิ านาต’ี ’ติ ?
พระเจ้ามลิ ินทต์ รสั วา่ “พระคุณเจา้ คนเรารู้รสเคม็ ท้ังปวงได้ด้วยลน้ิ หรอื ?”
‘‘อาม มหาราช สพฺพ ํ โลณ ํ ชิวหฺ าย วิชานาติ’’ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ถูกต้อง มหาบพิตร คนเรารรู้ สเค็มทั้งปวงไดด้ ้วยลน้ิ ”
‘‘ยท ิ ภนฺเต สพพฺ ํ โลณ ํ ชิวหฺ าย วิชานาติ, กิสสฺ ปน ตํ สกเฏหิ พลพี ททฺ า
อาหรนฺติ, นนุ โลณเมว อาหรติ พพฺ นฺ”ติ ?
พระเจา้ มิลินทต์ รัสว่า “พระคณุ เจา้ ถา้ หากคนเราร้รู สเค็มทัง้ ปวงได้ดว้ ยลิน้ ไซร้ ก็
เพราะเหตุไร จงึ ต้องใชโ้ คถึกลากเอาเกลือน้ันมาต้งั หลายเลม่ เกวียนเลา่ นา่ จะเอามาเฉพาะ
ความเค็มเทา่ น้ัน มิใชห่ รือ ?”
‘‘น สกกฺ า มหาราช โลณเมว อาหริต ํุ เอกโตภาวคตา เอเต ธมมฺ า โคจรนานตฺต-
คตา โลณํ ครภุ าโว จาติ ฯ สกฺกา ปน มหาราช, โลณํ ตลุ าย ตลุ ยติ ุน”ฺ ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร ใคร ๆ ไม่สามารถที่จะคดั เอามาเฉพาะ
ความเคม็ เทา่ นนั้ ได้ ธรรมเหล่านร้ี วมอยูใ่ นกลมุ่ ก้อนเดียวกัน ถึงความเป็นอารมณ์ที่แตกต่าง
กัน ขอถวายพระพร ความเคม็ มีนำ�้ หนกั ด้วยหรือ ใคร ๆ สามารถที่จะใชต้ าช่ังช่ังความเคม็ ได้
หรือ ?”
‘‘อาม ภนเฺ ต สกฺกา’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ ินท์ตรสั ว่า “ใช่ พระคณุ เจา้ ใคร ๆ กส็ ามารถทีจ่ ะชง่ั ความเคม็ ได้”

160 มิลินทปญั หาปกรณแ์ ปล [๒.มลิ ินทปญั ห

‘‘น สกฺกา มหาราช โลณ ํ ตุลาย ตุลยติ ุ,ํ ครภุ าโว ตุลาย ตลุ ยิ ต’ี ’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร ใคร ๆ ไม่สามารถท่จี ะใชต้ าช่งั ช่งั ความ
เค็มไดห้ รอก น้�ำหนักของเกลือเท่าน้นั ทใ่ี คร ๆ สามารถทจ่ี ะใชต้ าชงั่ ท�ำการช่ังเอาได้”

‘‘กลฺโลสิ ภนเฺ ต นาคเสนา’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ ินท์ตรสั วา่ “พระคณุ เจ้านาคเสน ท่านตอบสมควรแลว้ ”

นาคเสนปญฺโห ทตุ ิโย ฯ
จบนาคเสนปญั หาข้อท่ี ๒

________

๓. ปญจฺ ายตนกมมฺ นิพพฺ ตตฺ ปญฺห
๓. ปญั จายตนกมั มนพิ พัตตปัญหา
ปญั หาวา่ ดว้ ยอายตนะ ๕ เป็นส่ิงทบ่ี งั เกดิ แตก่ รรม
[๓] ราชา อาห ‘‘ภนฺเต นาคเสน ยานิมานิ ป จฺ ายตนาน,ิ กนิ ฺน ุ ตานิ นานา-
กมฺเมห ิ นิพพฺ ตตฺ าน,ิ อุทาหุ เอเกน กมเฺ มนา’’ติ ?
[๓] พระราชาตรัสว่า “พระคุณเจา้ นาคเสน อายตนะ ๕ อย่างเหลา่ น้ี บงั เกิดจากกรรม
ตา่ ง ๆ กนั หรือวา่ บังเกดิ จากกรรมอันเดยี วกนั เลา่ ?”

‘‘นานากมฺเมหิ มหาราช นพิ พฺ ตฺตานิ, น เอเกน กมฺเมนา’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร อายตนะ ๕ อย่าง บงั เกดิ
จากกรรมต่าง ๆ กนั หาบังเกดิ จากกรรมอนั เดยี วกันไม่”

‘‘โอปมฺม ํ กโรหี’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลนิ ท์ตรสั วา่ “ขอทา่ นจงช่วยอุปมาให้หน่อยเถอะ”

‘‘ต ํ ก ึ ม ฺ สิ มหาราช, เอกสมฺ ึ เขตฺเต นานาพีชาน ิ วปฺเปยฺยุํ, เตสํ นานาพชี าน ํ
นานาผลานิ นพิ ฺพตฺเตยฺยุน”ฺ ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร พระองค์จะทรงส�ำคญั ความ
ข้อนั้นว่าอยา่ งไร ชาวนาพงึ หวา่ นเมลด็ พืชชนดิ ต่าง ๆ กนั ในนาแหง่ หนึง่ เมลด็ พชื ชนิดตา่ ง ๆ
กันเหล่านั้น พงึ บังเกิดผลชนดิ ตา่ ง ๆ กัน ใชห่ รอื ไม่ ?”

กณั ฑ์] ๒.๔ นิพพานวรรค 161

‘‘อาม ภนฺเต นิพพฺ ตเฺ ตยฺยุนฺ”ติ ฯ
พระเจา้ มลิ นิ ท์ตรัสวา่ “ใช่ พระคุณเจา้ พึงบงั เกิดผลชนดิ ตา่ ง ๆ กนั ”

‘‘เอวเมว โข มหาราช ยาน ิ ยาน ิ ป ฺจายตนานิ, ตานิ ตานิ นานากมฺเมห ิ
นพิ พฺ ตฺตานิ, น เอเกน กมฺเมนา’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร กเ็ หมอื นกนั อย่างนั้นนน่ั
แหละ อายตนะ ๕ อย่างเหลา่ ใดๆ อายตนะ ๕ อยา่ งเหล่านัน้ ๆ ล้วนบังเกดิ จากกรรมตา่ ง ๆ
กนั หาเกิดจากกรรมอันเดยี วกนั ไม”่

‘‘กลโฺ ลสิ ภนเฺ ต นาคเสนา’’ติ ฯ
พระเจา้ มิลินทต์ รสั วา่ “พระคณุ เจ้านาคเสน ท่านตอบสมควรแล้ว”

ปญฺจายตนกมมฺ นิพฺพตฺตปญฺโห ตติโย ฯ
จบปัญจายตนกมั มนพิ พัตตปญั หาข้อท่ี ๓

________

๔. กมมฺ นานากรณปญหฺ
๔. กัมมนานากรณปัญหา
ปัญหาวา่ ดว้ ยการท�ำกรรมท่ตี า่ งกัน
[๔] ราชา อาห ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน เกน การเณน มนสุ ฺสา น สพเฺ พ สมกา, อ เฺ
อปฺปายกุ า, อ ฺเ ทฆี ายุกา, อ ฺเ พหวฺ าพาธา อ เฺ อปฺปาพาธา, อ ฺเ ทพุ ฺพณณฺ า,
อ ฺเ วณณฺ วนโฺ ต, อ ฺเ อปเฺ ปสกขฺ า, อ ฺเ มเหสกขฺ า, อ เฺ อปฺปโภคา, อ ฺเ
มหาโภคา, อ เฺ นจี กุลีนา, อ เฺ มหากุลีนา, อ เฺ ทุปปฺ ฺ า, อ ฺเ
ป ฺ วนโฺ ต’’ติ ?
[๔] พระราชาตรสั วา่ “พระคณุ เจ้านาคเสน เพราะเหตุอะไร มนุษยท์ กุ คนจงึ ไมเ่ สมอ
เหมือนกัน คอื พวกหน่ึงมีอายสุ ้นั พวกหน่ึงมอี ายยุ นื ยาว พวกหนึง่ มคี วามเจบ็ ไข้ได้ปว่ ยมาก
พวกหน่ึงมีความเจ็บไข้ได้ป่วยน้อย พวกหน่ึงมีผิวพรรณทราม พวกหนงึ่ มีผิวพรรณงดงาม
พวกหนึ่งมยี ศศกั ด์ินอ้ ย พวกหน่ึงมยี ศศกั ดม์ิ าก พวกหน่ึงมโี ภคะนอ้ ย พวกหน่ึงมโี ภคะมาก
พวกหนงึ่ มีสกุลต่�ำ พวกหน่ึงมีสกลุ สูง พวกหนึ่งมีปญั ญาทราม พวกหน่ึงมปี ญั ญามากเลา่ ?”

162 มลิ นิ ทปญั หาปกรณ์แปล [๒.มิลนิ ทปญั ห

เถโร อาห ‘‘กสิ สฺ ปน มหาราช รุกฺขา น สพฺเพ สมกา, อ เฺ อมพฺ ลิ า, อ เฺ
ลวณา, อ ฺเ ติตฺตกา, อ ฺเ กฏุกา, อ เฺ กสาวา, อ ฺเ มธรุ า’’ติ ?
พระเถระถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร เพราะเหตุอะไร ต้นไมท้ กุ
จ�ำพวกจงึ ไม่เสมอเหมอื นกนั คอื จ�ำพวกหนง่ึ เปร้ียว จ�ำพวกหนึ่งเคม็ จ�ำพวกหนึ่งขม จ�ำพวก
หน่ึงเผ็ด จ�ำพวกหนงึ่ ฝาด จ�ำพวกหนึ่งหวานเล่า ?”

‘‘ม ฺ าม ิ ภนเฺ ต พีชาน ํ นานากรเณนา’’ติ ฯ
พระเจา้ มิลนิ ทต์ รัสวา่ “พระคณุ เจ้า โยมเขา้ ใจวา่ ต้นไม้ทกุ จ�ำพวกไมเ่ สมอเหมอื นกนั
เพราะเหตคุ อื มคี วามตา่ งกนั แหง่ ชนดิ ของพชื ทง้ั หลาย”

‘‘เอวเมว โข มหาราช กมฺมานํ นานากรเณน มนุสสฺ า น สพเฺ พ สมกา, อ ฺเ
อปฺปายกุ า, อ ฺเ ทีฆายกุ า, อ ฺเ พหวฺ าพาธา, อ ฺเ อปฺปาพาธา, อ ฺเ ทพุ พฺ ณณฺ า,
อ เฺ วณณฺ วนฺโต, อ เฺ อปเฺ ปสกฺขา, อ ฺเ มเหสกขฺ า, อ เฺ อปปฺ โภคา, อ ฺเ
มหาโภคา, อ เฺ นจี กลุ นี า, อ ฺเ มหากลุ ีนา, อ ฺเ ทุปฺป ฺ า, อ เฺ ป ฺ วนโฺ ตฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร ก็เหมือนกนั อย่างน้ันนนั่
แหละ มนษุ ยท์ กุ คนไม่เสมอเหมอื นกัน คือ พวกหนง่ึ อายสุ ้นั พวกหนง่ึ อายุยืนยาว พวกหนง่ึ มี
ความเจ็บไขไ้ ด้ป่วยมาก พวกหนึง่ มีความเจบ็ ไข้ได้ป่วยนอ้ ย พวกหนง่ึ มีผิวพรรณทราม พวก
หนึ่งมีผวิ พรรณงดงาม พวกหน่งึ มยี ศศักดิ์น้อย พวกหนง่ึ มยี ศศักดิม์ าก พวกหน่ึงมีโภคะนอ้ ย
พวกหนึง่ มโี ภคะมาก พวกหนึง่ มีสกลุ ต่�ำ พวกหน่ึงมีสกลุ สูง พวกหนง่ึ มปี ัญญาทราม พวกหน่งึ
มีปัญญามาก กเ็ พราะเหตคุ ือความแตกตา่ งกันแหง่ กรรมท้งั หลาย

ภาสิตมฺเปต ํ มหาราช ภควตา – ‘กมมฺ สสฺ กา มาณว สตฺตา กมมฺ ทายาทา กมฺม-
โยน ี กมมฺ พนฺธู กมฺมปปฺ ฏสิ รณา, กมมฺ ํ สตเฺ ต วภิ ชต ิ ยททิ ํ หนี ปปฺ ณีตตายา’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร พระผมู้ ีพระภาคเจ้าทรงภาษิตความข้อนไี้ วว้ า่ ‘ดูก่อนมาณพ สัตว์ท้ัง
หลายมีกรรมเปน็ ของตน เปน็ ทายาทแหง่ กรรม มีกรรมเป็นก�ำเนดิ มีกรรมเปน็ เผา่ พนั ธุ์ มี
กรรมเป็นที่พ่ึงพิงอาศัย กรรมย่อมจ�ำแนกสัตวเ์ พ่อื ใหเ้ ป็นผู้ตำ่� ทราม หรือประณตี ’ ดังนี”้

‘‘กลโฺ ลสิ ภนฺเต นาคเสนา’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลินทต์ รัสวา่ “พระคณุ เจ้านาคเสน ทา่ นตอบสมควรแล้ว”

กมมฺ นานากรณปญฺโห จตุตฺโถ ฯ
จบกัมมนานากรณปัญหาข้อท่ี ๔

กณั ฑ์] ๒.๔ นิพพานวรรค 163

๕. วายามกรณปญหฺ
๕. วายามกรณปัญหา
ปญั หาวา่ ดว้ ยการท�ำความเพยี ร
[๕] ราชา อาห ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน ตุมเฺ ห ภณถ ‘กินฺติ อมิ ํ ทุกขฺ ํ นิรชุ ฺเฌยฺย,
อ ฺ จฺ ทกุ ขฺ ํ นุปปฺ ชฺเชยยฺ า’ติ ฯ
[๕] พระราชาตรสั วา่ “พระคุณเจา้ นาคเสน พวกทา่ นพากันกล่าววา่ ‘ถา้ กระไรทกุ ขน์ ้ี
พึงดบั ไปเสยี อน่ึง ทกุ ขอ์ นื่ กไ็ มพ่ ึงเกดิ ขนึ้ ’ ดังนี้ มิใชห่ รอื ?”
“เอตทตถฺ า มหาราช อมฺหากํ ปพพฺ ชฺชา’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร การบวชของพวกอาตมภาพ
กม็ ขี อ้ ท่ีวา่ มานีเ้ ป็นประโยชน”์
‘‘ก ึ ปฏกิ จเฺ จว วายมิเตน, นนุ สมฺปตเฺ ต กาเล วายมติ พพฺ น”ฺ ติ ?
พระเจา้ มิลินทต์ รสั ว่า “ประโยชนอ์ ะไรด้วยความเพียรแตเ่ นิ่น ๆ เลา่ เมือ่ ถึงเวลาแลว้
จงึ ค่อยเพียรพยายาม มิใช่หรอื ?”
เถโร อาห ‘‘สมฺปตฺเต กาเล มหาราช, วายาโม อกจิ จฺ กโร ภวต,ิ ปฏิกจเฺ จว
วายาโม กิจจฺ กโร ภวตี’’ติ ฯ
พระเถระถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร ความเพียรต่อเมื่อเวลามาถงึ
แล้ว เป็นความเพยี รทีใ่ ช้ท�ำกจิ ไม่ได้ ความเพยี รแตเ่ นน่ิ ๆ เท่าน้นั เป็นความเพียรที่ใชท้ �ำกจิ
ได้”
‘‘โอปมฺมํ กโรหี’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ ินท์ตรัสวา่ “ขอท่านจงชว่ ยอปุ มาให้หน่อยเถอะ”
‘‘ต ํ กึ ม ฺ ส ิ มหาราช, ยทา ตฺว ํ ปิปาสโิ ต ภเวยฺยาส,ิ ตทา ตวฺ ํ อทุ ปาน ํ
ขณาเปยยฺ าสิ, ตฬากํ ขณาเปยฺยาสิ ‘ปานียํ ปิวิสฺสาม’ี ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร พระองคจ์ ะทรงส�ำคญั ความ
ขอ้ น้นั ว่าอย่างไร พระองค์ทรงรบั สั่งให้เขาขดุ บ่อเกบ็ นำ้� รับส่ังให้เขาขุดสระน�้ำ ในคราวท่ี
พระองค์ทรงกระหายนำ้� แลว้ ทรงมพี ระด�ำริว่า ‘เราจกั ดมื่ น�้ำ’ ดงั นี้ หรือไร ?”

164 มิลินทปัญหาปกรณแ์ ปล [๒.มิลนิ ทปัญห

‘‘น หิ ภนฺเต’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลินทต์ รัสว่า “หามิได้ พระคุณเจ้า”
‘‘เอวเมว โข มหาราช สมฺปตเฺ ต กาเล, วายาโม อกจิ จฺ กโร ภวติ, ปฏกิ จเฺ จว
วายาโม กิจฺจกโร ภวต’ี ’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร กเ็ หมอื นกนั อย่างนน้ั นั่น
แหละ ความเพียรต่อเมื่อเวลามาถงึ แลว้ เป็นความเพยี รทใ่ี ช้ท�ำกิจไมไ่ ด้ ความเพยี รแตเ่ นน่ิ ๆ
เทา่ นั้น เปน็ ความเพียรท่ใี ชท้ �ำกจิ ได้”
‘‘ภยิ ฺโย โอปมฺม ํ กโรหี’’ติ ฯ
พระเจา้ มิลนิ ท์ตรัสว่า “ขอท่านจงช่วยอุปมาใหย้ ง่ิ ขนึ้ อีกหน่อยเถิด”
‘‘ตํ ก ึ ม ฺ สิ มหาราช, ยทา ตวฺ ํ พภุ ุกฺขโิ ต ภเวยฺยาส,ิ ตทา ตฺว ํ เขตตฺ ํ
กสาเปยยฺ าสิ, สาลึ โรปาเปยฺยาสิ, ธ ฺ ํ อติหราเปยฺยาส ิ ‘ภตตฺ ํ ภุ ชฺ ิสสฺ ามี’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร พระองคจ์ ะทรงส�ำคัญความ
ข้อน้ันวา่ อยา่ งไร พระองค์ทรงรับสงั่ ให้เขาไถนา รับสัง่ ใหเ้ ขาหวา่ นข้าวสาลี รบั สงั่ ใหเ้ ขาเก็บ
ขา้ วเปลอื ก ในคราวทพี่ ระองค์ทรงหวิ แล้วทรงมีพระด�ำริวา่ ‘เราจกั กินขา้ ว’ ดงั น้ี หรือไร ?”
‘‘น หิ ภนเฺ ต’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลินท์ตรัสวา่ “หามไิ ด้ พระคณุ เจา้ ”
‘‘เอวเมว โข มหาราช สมฺปตฺเต กาเล, วายาโม อกจิ ฺจกโร ภวติ, ปฏกิ จเฺ จว
วายาโม กจิ จฺ กโร ภวตีติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร ก็เหมอื นกนั อย่างนนั้ นั่น
แหละ ความเพยี รต่อเมือ่ เวลามาถงึ แลว้ เป็นความเพยี รท่ีใช้ท�ำกจิ ไม่ได้ ความเพยี รแตเ่ น่นิ ๆ
เท่าน้นั เป็นความเพยี รทีใ่ ชท้ �ำกิจได”้
‘‘ภิยโฺ ย โอปมฺมํ กโรหี’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ นิ ทต์ รสั ว่า “ขอท่านจงชว่ ยอุปมาใหย้ ิง่ ขึน้ อีกหนอ่ ยเถิด”
‘‘ตํ กึ ม ฺ ส ิ มหาราช, ยทา เต สงฺคาโม ปจฺจุปฏ ฺ ิโต ภเวยยฺ , ตทา ตวฺ ํ ปรขิ ํ
ขณาเปยฺยาส,ิ ปาการ ํ การาเปยยฺ าสิ, โคปุร ํ การาเปยยฺ าส,ิ อฏฺฏาลกํ การาเปยยฺ าส,ิ

กณั ฑ]์ ๒.๔ นิพพานวรรค 165

ธ ฺ ํ อติหราเปยยฺ าสิ, ตทา ตวฺ ํ หตฺถสิ ฺมึ สกิ ฺเขยฺยาสิ, อสฺสสฺม ึ สกิ ฺเขยฺยาสิ, รถสมฺ ึ
สกิ เฺ ขยฺยาส,ิ ธนุสฺม ึ สิกฺเขยฺยาสิ, ถรุสมฺ ึ สกิ ฺเขยฺยาสี’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร พระองคท์ รงส�ำคญั ความขอ้
นน้ั ว่าอย่างไร พระองค์ทรงรับส่งั ใหเ้ ขาขุดคเู มือง รับสง่ั ใหเ้ ขาสร้างก�ำแพง รบั ส่ังใหเ้ ขาท�ำซุ้ม
ประตู รับส่ังให้เขาสรา้ งป้อม รับส่ังให้เขารวบรวมธัญญาหารไว้ ตวั พระองค์เองกจ็ ะทรงศกึ ษา
ในเร่อื งช้าง จะทรงศึกษาในเรื่องม้า จะทรงศึกษาในเร่อื งรถ จะทรงศึกษาในเร่อื งธนู จะทรง
ศึกษาในเรือ่ งดาบ กใ็ นคราวทสี่ งครามปรากฏข้นึ แลว้ แกพ่ ระองค์ อย่างนัน้ หรอื ?”

‘‘น หิ ภนฺเต’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลนิ ท์ตรสั วา่ “หามิได้ พระคุณเจ้า”

‘‘เอวเมว โข มหาราช สมปฺ ตฺเต กาเล, วายาโม อกิจฺจกโร ภวต,ิ ปฏิกจเฺ จว
วายาโม กจิ ฺจกโร ภวติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร ก็เหมือนกนั อย่างน้ันนน่ั
แหละ ความเพยี รตอ่ เมอ่ื เวลามาถงึ แล้ว เป็นความเพยี รท่ีใช้ท�ำกจิ ไม่ได้ ความเพยี รแตเ่ นนิ่ ๆ
เท่านั้น เป็นความเพียรทใ่ี ช้ท�ำกจิ ได้

ภาสติ มเฺ ปต ํ มหาราช ภควตา – ย ํ ช ฺ า หิตมตฺตโน
‘‘ปฏกิ จฺเจว ตํ กยริ า
น สากฏิกจนิ ฺตาย มนฺตา ธโี ร ปรกกฺ เม ฯ
‘‘ยถา สากฏโิ ก มฏฺ ํ สม ํ หติ วฺ า มหาปถํ
วิสม ํ มคคฺ มารยุ ฺห อกฺขจฺฉินฺโนว ฌายติ ฯ
‘‘เอว ํ ธมมฺ า อปกกฺ มมฺ อธมมฺ มนวุ ตตฺ ิย
มนฺโท มจฺจ ุ มุข ํ ปตโฺ ต อกขฺ จฉฺ นิ ฺโนว ฌายตี’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร ขอ้ น้สี มจรงิ ดงั พระด�ำรัสที่พระผู้มพี ระภาคเจ้าตรัสไว้ว่า
“บุคคลรูว้ ่าส่ิงใดเป็นประโยชนแ์ ก่ตนเอง กพ็ ึงท�ำส่งิ นัน้ เสีย แต่
เนน่ิ ๆ เถดิ บุคคลผู้เปน็ นกั ปราชญ์ ไม่ควรคลอ้ ยตามความคิด
ของพ่อค้าเกวียน ร้แู ล้ว ก็ควรบากบ่นั เสียแตเ่ นน่ิ ๆ
เปรยี บเหมอื นวา่ พอ่ ค้าเกวยี นละทงิ้ ทางใหญท่ เี่ รยี บดีเสยี ยา่ ง
ข้ึนทางขรุขระ เพลาเกวยี นหกั ไป กย็ ่อมซบเซา ฉันใด

166 มิลนิ ทปัญหาปกรณ์แปล [๒.มิลินทปญั ห

บคุ คลผู้มปี ญั ญาทึบ หลกี ออกจากธรรม แลว้ คล้อยตามซ่งึ
อธรรม พอถงึ ปากแหง่ ความตาย อนิ ทรยี แ์ ตกท�ำลายแล้ว ก็
ยอ่ มซบเซา ฉนั นนั้ เหมอื นกนั ” ดงั น้ี

‘‘กลโฺ ลสิ ภนฺเต นาคเสนา’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ ินท์ตรัสวา่ “พระคุณเจา้ นาคเสน ท่านตอบสมควรแล้ว”

วายามกรณปญฺโห ปญจฺ โม ฯ
จบวายามกรณปญั หาข้อที่ ๕

________

๖. เนรยกิ คฺคิอุณหฺ ภาวปญฺห
๖. เนรยกิ ัคคอิ ณุ หภาวปัญหา
ปัญหาวา่ ดว้ ยความรอ้ นแหง่ ไฟนรก
[๖] ราชา อาห ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน ตุมฺเห ภณถ ‘ปากตกิ อคคฺ ิโต เนรยโิ ก อคฺค ิ
มหาภิตาปตโร โหติ, ขุทฺทโกปิ ปาสาโณ ปากตเิ ก อคคฺ มิ ฺหิ ปกขฺ ติ ฺโต ทวิ สมฺปิ ปจจฺ มาโน
น วลิ ยํ คจฉฺ ติ, กฏู าคารมตโฺ ตปิ ปาสาโณ เนรยิกคคฺ ิมฺหิ ปกขฺ ิตโฺ ต ขเณน วิลยํ คจฺฉต’ี ต,ิ
เอต ํ วจน ํ น สททฺ หามิ, เอว จฺ ปน วเทถ ‘เย จ ตตฺถ อปุ ปฺ นฺนา สตฺตา, เต อเนกานิป ิ
วสฺสสหสสฺ านิ นริ เย ปจจฺ มานา น วิลยํ คจฺฉนฺต’ี ต,ิ ตมปฺ ิ วจนํ น สททฺ หามี’’ติ ฯ
[๖] พระราชาตรสั วา่ “พระคณุ เจา้ นาคเสน พวกท่านกลา่ วกนั วา่ ‘ไฟนรกรอ้ น ร้อนแรง
มากกวา่ ไฟตามปกติ ก้อนหินแมเ้ ล็ก ๆ ใสเ่ ข้าไปในไฟตามปกติ ถกู เผาตลอดทั้งวัน ก็หาถงึ
ความย่อยยบั ไปไม่ กอ้ นหนิ แม้โตขนาดเทา่ เรอื นยอดใส่เขา้ ไปในไฟนรก เพยี งขณะเดยี ว กถ็ ึง
ความยอ่ ยยับไป’ ดังนี้ โยมไม่เช่ือค�ำท่ีวา่ น้ีหรอก และกแ็ ม้ค�ำที่พวกท่านกลา่ วอยา่ งนีว้ ่า ‘พวก
สัตว์นรกทเ่ี กดิ อยใู่ นนรกนน้ั หมกไหมอ้ ย่ใู นนรก แมต้ ลอดหลายพันปี ก็ไม่ถึงความยอ่ ยยับไป’
ดังนี้ โยมกไ็ ม่เชอ่ื ค�ำนน้ั หรอก”

เถโร อาห ‘‘ตํ กึ ม ฺ ส ิ มหาราช, ยา ตา สนตฺ ิ มกรินิโยปิ สสุ มุ ารินิโยปิ
กจฉฺ ปนิ โิ ยป ิ โมรนิ ิโยปิ กโปตนิ ิโยปิ, กนิ ฺนุ ตา กกฺขฬานิ ปาสาณานิ สกขฺ ราโย จ
ขาทนตฺ ี’’ติ ?
พระเถระถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร พระองค์จะทรงส�ำคญั ความข้อ

กัณฑ์] ๒.๔ นิพพานวรรค 167

นนั้ วา่ อยา่ งไร สตั วจ์ �ำพวกแมม่ ังกรกด็ ี จ�ำพวกแมจ่ ระเข้ก็ดี จ�ำพวกแมเ่ ต่าก็ดี จ�ำพวกแมน่ กยงู
ก็ดี จ�ำพวกแม่นกเขาก็ดี ยอ่ มกนิ ก้อนหินและก้อนกรวดท่ีแข็ง ๆ ได้มิใช่หรือ ?”
‘‘อาม ภนฺเต ขาทนฺตี’’ติ ฯ
พระเจา้ มิลนิ ท์ตรัสว่า “ใช่ ยอ่ มกนิ ได้ พระคณุ เจ้า”
‘‘ก ึ ปน ตานิ ตาสํ กจุ ฺฉยิ ํ โกฏฺ พฺภนตฺ รคตานิ วลิ ย ํ คจฺฉนตฺ ี’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “กก็ ้อนหินก้อนกรวดเหล่านนั้ ท่อี ยภู่ ายในกระเพาะใน
ท้องของสัตว์เหลา่ นนั้ ยอ่ มถึงความย่อยยับไป ใชห่ รอื ไม”่
‘‘อาม ภนเฺ ต วลิ ย ํ คจฉฺ นตฺ ’ี ’ติ ฯ
พระเจา้ มิลินทต์ รสั ว่า “ใช่ ยอ่ มถึงความยอ่ ยยบั ไป พระคุณเจา้ ”
‘‘โย ปน ตาสํ กจุ ฉฺ ยิ ํ คพโฺ ภ, โสปิ วลิ ย ํ คจฉฺ ตี’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “กแ็ ตว่ ่า แม้ลกู น้อยในท้องของสัตว์เหล่าน้นั ยอ่ มถงึ
ความยอ่ ยยับไปดว้ ยหรือไม”่
‘‘น ห ิ ภนฺเต’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลนิ ท์ตรสั ว่า “ไม่หรอก พระคุณเจ้า”
‘‘เกน การเณนา’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรถามว่า “เพราะเหตอุ ะไรหรือ ?”
‘‘ม ฺ าม ิ ภนฺเต กมฺมาธกิ เตน น วิลยํ คจฺฉตี’’ติ ฯ
พระเจา้ มิลินทต์ รสั ว่า “พระคณุ เจ้า โยมเข้าใจวา่ ย่อมไม่ถงึ ความย่อยยับไป ก็เพราะ
เปน็ สิ่งทกี่ รรมจดั แจง”
‘‘เอวเมว โข มหาราช กมมฺ าธกิ เตน เนรยกิ า สตตฺ า อเนกานปิ ิ วสสฺ สหสฺสาน ิ
นริ เย ปจฺจมานา น วิลยํ คจฉฺ นตฺ ิ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร ก็เหมือนกนั อย่างนนั้ น่นั
แหละ พวกสตั วน์ รกทงั้ หลายทีห่ มกไหม้อย่ใู นนรก แมต้ ลอดหลายพันปี ไมถ่ งึ ความยอ่ ยยบั ไป
กเ็ พราะเป็นส่งิ ทก่ี รรมจัดแจง

168 มิลนิ ทปัญหาปกรณ์แปล [๒.มิลินทปัญห

ภาสิตมฺเปต ํ มหาราช ภควตา – ‘โส น ตาว กาลํ กโรติ, ยาว น ตํ ปาปกมฺมํ
พฺยนฺตโี หต’ี ’ติ ฯ
ขอถวายพระพร พระผูม้ ีพระภาคเจา้ ทรงภาษติ ความข้อนไ้ี วว้ ่า ‘สัตว์นรกนัน้ ตราบใด
ท่กี รรมชัว่ น้ันยงั ไมส่ ้นิ สดุ ตราบนน้ั จะยงั ไมต่ าย’ ดงั นี”้
‘‘ภยิ โฺ ย โอปมฺมํ กโรห’ี ’ติ ฯ
พระเจา้ มิลินท์ตรสั วา่ “ขอท่านจงช่วยอุปมาใหย้ ่ิงข้นึ อีกหนอ่ ยเถิด”
‘‘ตํ กึ ม ฺ ส ิ มหาราช, ยา ตา สนตฺ ิ สหี ินิโยป ิ พยฺ คฆฺ นิ ิโยป ิ ทีปนิ โิ ยป ิ
กุกฺกรุ ินโิ ยป,ิ กินนฺ ุ ตา กกขฺ ฬาน ิ อฏฺ ิกานิ มํสานิ ขาทนตฺ ตี ิ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร พระองคจ์ ะทรงส�ำคญั ความ
ข้อนนั้ วา่ อยา่ งไร สัตวจ์ �ำพวกแมร่ าชสหี ก์ ็ดี จ�ำพวกแม่เสือโคร่งกด็ ี จ�ำพวกแมเ่ สือเหลอื งกด็ ี
จ�ำพวกแม่สุนขั กด็ ี ย่อมกนิ เน้ือกระดูกทีแ่ ข็ง ๆ เหลา่ นน้ั ได้มใิ ชห่ รอื ?”
‘‘อาม ภนฺเต ขาทนฺต’ี ’ติ ฯ
พระเจ้ามิลินทต์ รัสวา่ “ใช่ ยอ่ มกินได้ พระคุณเจา้ ”
‘‘ก ึ ปน ตานิ ตาส ํ กจุ ฉฺ ิย ํ โกฏ ฺ พภฺ นตฺ รคตาน ิ วิลย ํ คจฺฉนฺตี’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ก็เน้อื กระดูกทีแ่ ขง็ ๆ เหลา่ น้ัน ทีอ่ ยภู่ ายในกระเพาะใน
ทอ้ งของสตั วเ์ หลา่ นั้น ย่อมถึงความย่อยยบั ไป หรือไม่ ?”
‘‘อาม ภนฺเต วิลยํ คจฺฉนฺต’ี ’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ ินทต์ รัสว่า “ใช่ ยอ่ มถงึ ความยอ่ ยยับไป พระคุณเจ้า”
‘‘โย ปน ตาสํ กุจฉฺ ยิ ํ คพโฺ ภ, โสปิ วลิ ยํ คจฉฺ ตี’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “กแ็ ต่วา่ แม้ลูกนอ้ ยในทอ้ งของพวกสตั ว์เหล่าน้นั ย่อม
ถงึ ความย่อยยบั ไปดว้ ยหรือไม่ ?”
‘‘น ห ิ ภนฺเต’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลินท์ตรัสวา่ “ไม่หรอก พระคุณเจ้า”
‘‘เกน การเณนา’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรถามวา่ “เพราะเหตุอะไรหรอื ?”

กณั ฑ]์ ๒.๔ นพิ พานวรรค 169

‘‘ม ฺ าม ิ ภนฺเต กมฺมาธิกเตน น วิลยํ คจฉฺ ต’ี ’ติ ฯ
พระเจา้ มิลินท์ตรสั วา่ “พระคณุ เจ้า โยมเข้าใจว่า ยอ่ มไมถ่ งึ ความย่อยยับไป ก็เพราะ
เปน็ สง่ิ ทีก่ รรมจดั แจง”
‘‘เอวเมว โข มหาราช กมฺมาธิกเตน เนรยกิ า สตตฺ า อเนกานิป ิ วสฺสสหสฺสาน ิ
นริ เย ปจจฺ มานา น วลิ ย ํ คจฉฺ นตฺ ’ี ’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร กเ็ หมอื นกันอย่างนน้ั นนั่
แหละ พวกสตั ว์นรกทห่ี มกไหม้อยใู่ นนรกแม้ตลอดหลายพันปี ไม่ถึงความยอ่ ยยบั ไป ก็เพราะ
เปน็ ส่ิงที่กรรมจัดแจง”
‘‘ภิยโฺ ย โอปมมฺ ํ กโรห’ี ’ติ ฯ
พระเจ้ามิลนิ ท์ตรสั ว่า “ขอทา่ นจงช่วยอปุ มาให้ย่งิ ขึน้ อกี หน่อยเถิด”
‘‘ต ํ กึ ม ฺ สิ มหาราช, ยา ตา สนฺต ิ โยนกสขุ มุ าลินิโยปิ ขตตฺ ิยสขุ ุมาลินโิ ยปิ
พรฺ าหมฺ ณสุขมุ าลินโิ ยปิ คหปติสุขมุ าลนิ โิ ยปิ, กินนฺ ุ ตา กกฺขฬานิ ขชฺชกานิ มํสานิ
ขาทนตฺ ’ี ’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร พระองคจ์ ะทรงส�ำคัญความ
ขอ้ นั้นว่าอยา่ งไร พวกหญงิ ชาวโยนกผู้สขุ ุมาลชาติกด็ ี พวกหญงิ กษตั รยิ ์ผู้สขุ ุมาลชาตกิ ็ดี พวก
หญงิ พราหมณผ์ ้สู ุขมุ าลชาติกด็ ี พวกหญิงคฤหบดผี ู้สุขุมาลชาตกิ ด็ ี ยอ่ มเคยี้ วกนิ ของขบเค้ยี ว
ท่แี ข็ง ๆ เน้ือท่ีแขง็ ๆ เหล่าน้ันได้ มิใชห่ รอื ?”
‘‘อาม ภนฺเต ขาทนตฺ ’ี ’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ ินท์ตรสั วา่ “ใช่ ยอ่ มเคย้ี วกินได้ พระคณุ เจ้า”
‘‘กึ ปน ตานิ ตาส ํ กุจฺฉิย ํ โกฏ ฺ พฺภนฺตรคตาน ิ วิลย ํ คจฉฺ นฺต’ี ’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ก็ของขบเคยี้ วทแ่ี ข็ง ๆ เนื้อท่แี ข็ง ๆ เหล่านนั้ ท่อี ยู่
ภายในกระเพาะในทอ้ งของหญงิ เหล่าน้นั ยอ่ มถงึ ความย่อยยบั ไป ใช่หรือไม่ ?”
‘‘อาม ภนฺเต วลิ ย ํ คจฺฉนตฺ ี’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ ินทต์ รสั ว่า “ใช่ ย่อมถึงความย่อยยับไป พระคณุ เจ้า”

170 มิลนิ ทปัญหาปกรณ์แปล [๒.มลิ นิ ทปัญห

‘‘โย ปน ตาส ํ กจุ ฺฉยิ ํ คพโฺ ภ, โสปิ วลิ ยํ คจฺฉต’ี ’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ก็แต่ว่า แม้ลกู นอ้ ยในทอ้ งของหญิงเหลา่ นัน้ ย่อมถงึ
ความยอ่ ยยบั ไปดว้ ยหรอื ไม่ ?”

‘‘น หิ ภนฺเต’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ นิ ทต์ รัสวา่ “ไมห่ รอก พระคุณเจ้า”

‘‘เกน การเณนา’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรถามว่า “เพราะเหตอุ ะไรหรอื ?”

‘‘ม ฺ าม ิ ภนฺเต กมมฺ าธกิ เตน น วลิ ย ํ คจฉฺ ตี’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ ินทต์ รสั วา่ “พระคณุ เจ้า โยมเขา้ ใจวา่ ย่อมไมถ่ งึ ความยอ่ ยยับไป ก็เพราะ
เปน็ สิ่งท่ีกรรมจดั แจง”

‘‘เอวเมว โข มหาราช กมฺมาธกิ เตน เนรยิกา สตตฺ า อเนกานิป ิ วสฺสสหสสฺ านิ
นริ เย ปจจฺ มานา น วิลย ํ คจฉฺ นตฺ ิ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร กเ็ หมอื นกันอย่างนัน้ นั่น
แหละ พวกสัตวน์ รกทีห่ มกไหม้อยใู่ นนรกแม้ตลอดหลายพนั ปี ย่อมไม่ถึงความย่อยยับไป ก็
เพราะเป็นสิ่งท่ีกรรมจดั แจง

ภาสติ มเฺ ปต ํ มหาราช ภควตา – ‘‘โส น ตาว กาล ํ กโรติ, ยาว น ตํ ปาปกมฺมํ
พยฺ นฺตโี หตี’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร พระผมู้ ีพระภาคเจ้าทรงภาษติ ความขอ้ นไี้ วว้ า่ ‘สตั วน์ รกนนั้ ตราบใด
ที่กรรมชว่ั น้ันยงั ไมส่ ิน้ สุด ตราบน้ันจะยังไม่ตาย’ ดังน้”ี

‘‘กลโฺ ลสิ ภนฺเต นาคเสนา’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ นิ ท์ตรสั วา่ “พระคณุ เจา้ นาคเสน ทา่ นตอบสมควรแล้ว”

เนรยกิ คฺคอิ ณุ ฺหภาวปญฺโห ฉฏฺโ€ ฯ
จบเนรยกิ คั คอิ ณุ หภาวปญั หาขอ้ ท่ี ๖

________

กัณฑ]์ ๒.๔ นิพพานวรรค 171

๗. ปถวิสนฺธารกปญฺห
๗. ปถวิสันธารกปัญหา
ปัญหาวา่ ดว้ ยน�ำ้ ทร่ี องรบั แผ่นดนิ
[๗] ราชา อาห ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน ตมุ ฺเห ภณถ ‘อยํ มหาปถว ี อทุ เก ปติฏฺ ิตา,
อทุ กํ วาเต ปตฏิ ฺ ิต,ํ วาโต อากาเส ปตฏิ ฺ โิ ต’ต,ิ เอตมฺป ิ วจนํ น สทฺทหาม’ี ’ติ ฯ
[๗] พระราชาตรสั วา่ “พระคุณเจา้ นาคเสน พวกทา่ นกล่าวกันวา่ ‘แผ่นดินใหญ่นี้
ต้ังอยูบ่ นน้�ำ น�ำ้ ตั้งอยู่บนลม ลมตง้ั อยู่บนอากาศ’ ดงั น้ี แม้ค�ำน้ี โยมกไ็ ม่เชือ่ หรอก”
เถโร ธมฺมกรเกน อุทกํ คเหตวฺ า ราชาน ํ มิลนิ ทฺ ํ ส ฺ าเปส ิ ‘‘ยถา มหาราช อิม ํ
อุทกํ วาเตน อาธาริตํ, เอว ํ ตมปฺ ิ อทุ กํ วาเตน อาธารติ นฺ”ติ ฯ
พระเถระใช้เคร่ืองกรองน้�ำตกั น้ำ� ถวายพระพรพระเจา้ มิลินท์ให้ทรงเขา้ พระทัยว่า “ขอ
ถวายพระพรมหาบพติ ร นำ�้ น้ีเป็นน�้ำท่ลี มรองรับไว้ ฉนั ใด แม้น�ำ้ ที่รองรบั แผน่ ดนิ นั้น ก็เป็นน้�ำ
ท่ีลมรองรบั ไว้ ฉันน้ัน”
‘‘กลโฺ ลสิ ภนฺเต นาคเสนา’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ นิ ทต์ รัสว่า “พระคุณเจ้านาคเสน ท่านตอบสมควรแล้ว”
ปถวสิ นฺธารกปญฺโห สตตฺ โม ฯ
จบปถวิสนั ธารกปัญหาข้อที่ ๗

________

๘. นิโรธนิพพฺ านปญหฺ
๘. นิโรธนิพพานปญั หา
ปญั หาวา่ ด้วยนิโรธเป็นนพิ พาน
[๘] ราชา อาห ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน นโิ รโธ นพิ พฺ านนฺ”ติ ?
[๘] พระราชาตรัสว่า “พระคณุ เจา้ นาคเสน นโิ รธ ชอ่ื วา่ นิพพานหรือ ?”
‘‘อาม มหาราช นโิ รโธ นิพฺพานนฺ”ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร ใช่ นิโรธ ช่อื วา่ นิพพาน”

172 มิลินทปญั หาปกรณ์แปล [๒.มิลนิ ทปญั ห

‘‘กถ ํ ภนฺเต นาคเสน นิโรโธ นพิ ฺพานน”ฺ ติ ?
พระเจา้ มลิ ินทต์ รสั ว่า “พระคุณเจา้ นาคเสน นิโรธ ช่อื วา่ นพิ พาน อยา่ งไร ?”

‘‘สพเฺ พ พาลปุถุชฺชนา โข มหาราช อชฌฺ ตฺติกพาหเิ ร อายตเน อภินนทฺ นตฺ ิ
อภิวทนตฺ ิ อชฺโฌสาย ตฏิ ฺ นตฺ ,ิ เต เตน โสเตน วยุ หฺ นตฺ ,ิ น ปริมุจจฺ นตฺ ิ ชาตยิ า ชราย
มรเณน โสเกน ปรเิ ทเวน ทุกฺเขห ิ โทมนสฺเสหิ อปุ ายาเสหิ ‘น ปริมุจฺจนฺติ ทุกฺขสมฺ าต ิ
วทามิ ฯ สตุ วา จ โข มหาราช อรยิ สาวโก อชฺฌตฺตกิ พาหเิ ร อายตเน นาภินนทฺ ติ
นาภวิ ทต ิ นาชฺโฌสาย ติฏฺ ต,ิ ตสสฺ ตํ อนภินนฺทโต อนภิวทโต อนชฺโฌสาย ตฏิ ฺ โต
ตณฺหา นิรุชฺฌต,ิ ตณฺหานิโรธา อปุ าทานนิโรโธ, อุปาทานนโิ รธา ภวนิโรโธ, ภวนโิ รธา
ชาตินโิ รโธ, ชาตินิโรธา ชรามรณํ โสกปรเิ ทวทกุ ขฺ โทมนสสฺ ุปายาสา นริ ุชฌฺ นฺติ, เอวเมตสฺส
เกวลสสฺ ทุกฺขกขฺ นฺธสสฺ นิโรโธ โหติ, เอว ํ โข มหาราช นิโรโธ นพิ ฺพานน”ฺ ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร ปถุ ุชนผู้คนพาลทัง้ หลายท้งั
ปวง ยอ่ มเพลดิ เพลนิ ย่อมชื่นชม ยอ่ มยดึ ตดิ อายตนะภายในและอายตนะภายนอกท้ังหลาย
ปถุ ชุ นคนพาลเหล่าน้นั จงึ ถกู กระแสคอื ตณั หานั้นพัดพาไป จงึ ไมพ่ ้นจากความเกดิ จากความ
แก่ จากความตาย จากความเศรา้ โศก จากความร่ำ� ไห้ร�ำพนั จากความทุกข์กาย จากความ
ทุกขใ์ จ จากความคับแค้นใจ อาตมภาพขอกลา่ ววา่ ‘ย่อมไม่พน้ จากทกุ ข์’ ขอถวายพระพร
พระอรยิ สาวกผูไ้ ด้สดับแล้ว ย่อมไมเ่ พลดิ เพลนิ ไม่ช่นื ชม ยอ่ มไมย่ ดึ ตดิ อายตนะภายในและ
อายตนภายนอกทั้งหลาย ตณั หาของพระอรยิ สาวกนน้ั ผูไ้ ม่เพลดิ เพลิน ไมช่ ื่นชม ไมย่ ึดติด
อายตนะภายในและอายตนะภายนอกนัน้ ย่อมดบั ไป เพราะตณั หาดบั ไป อุปาทานจึงดับไป
เพราะอปุ าทานดบั ไป ภพจึงดบั ไป เพราะภพดบั ไป ความเกิดจงึ ดับไป เพราะความเกิดดับ
ไป ความแก่ ความตาย ความเศรา้ โศก ความร�ำ่ ไหร้ �ำพนั ความทุกข์กาย ความทุกข์ใจ และ
ความคับแคน้ ใจ จงึ ดบั ไป นิโรธ(ความดับ)แห่งกองทกุ ขท์ ั้งส้ินน้ี ย่อมมไี ด้โดยประการดังกล่าว
มาน,้ี ขอถวายพระพรมหาบพติ ร นโิ รธ จงึ ช่อื วา่ นิพพาน อย่างน้แี ล”

‘‘กลฺโลสิ ภนเฺ ต นาคเสนา’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ ินทต์ รัสวา่ “พระคุณเจ้านาคเสน ท่านตอบสมควรแลว้ ”

นิโรธนพิ ฺพานปญฺโห อฏ€ฺ โม ฯ
จบนโิ รธนพิ พานปญั หาขอ้ ท่ี ๘

________

กัณฑ์] ๒.๔ นพิ พานวรรค 173

๙. นพิ ฺพานลภนปญฺห
๙. นิพพานลภนปัญหา
ปัญหาวา่ ด้วยการได้พระนิพพาน
[๙] ราชา อาห ‘‘ภนฺเต นาคเสน สพฺเพว ลภนตฺ ิ นิพพฺ านน”ฺ ติ ?
[๙] พระราชาตรสั ว่า “พระคุณเจา้ นาคเสน บุคคลยอ่ มได้พระนพิ พานกนั ทุกคนเลย
หรือ ?”
‘‘น โข มหาราช สพเฺ พว ลภนตฺ ิ นพิ ฺพาน,ํ อปิจ โข มหาราช โย สมมฺ า
ปฏิปนฺโน อภิ ฺเ ยเฺ ย ธมเฺ ม อภิชานาต,ิ ปริ เฺ ยเฺ ย ธมฺเม ปรชิ านาติ, ปหาตพเฺ พ
ธมฺเม ปชหติ, ภาเวตพเฺ พ ธมเฺ ม ภาเวติ, สจฉฺ กิ าตพฺเพ ธมเฺ ม สจฉฺ ิกโรติ, โส ลภต ิ
นิพฺพานน”ฺ ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร บคุ คลจะได้พระนิพพานกนั
ทุกคนหามไิ ด้ ขอถวายพระพร กแ็ ต่ว่า ผู้ใดแลเปน็ ผู้ปฏบิ ัตชิ อบ ร้ยู ่งิ ซง่ึ อภิญเญยยธรรมท้ัง
หลาย ก�ำหนดรปู้ รญิ เญยยธรมท้งั หลาย ละปหาตพั พธรรมทัง้ หลาย เจรญิ ภาเวตัพพธรรมทง้ั
หลาย กระท�ำให้แจง้ ซง่ึ สจั ฉิกาตพั พธรรมท้งั หลาย ผนู้ ้นั ย่อมได้พระนิพพาน”
‘‘กลฺโลส ิ ภนเฺ ต นาคเสนา’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ นิ ท์ตรัสวา่ “พระคุณเจา้ นาคเสน ทา่ นตอบสมควรแลว้ ”
นพิ พฺ านลภนปญโฺ ห นวโม ฯ
จบนพิ พานลภนปัญหาขอ้ ท่ี ๙

________

174 มิลนิ ทปญั หาปกรณแ์ ปล [๒.มลิ ินทปัญห

๑๐. นิพฺพานสุขชานนปญฺห
๑๐. นิพพานสุขชานนปญั หา
ปญั หาว่าดว้ ยความรพู้ ระนพิ พานวา่ เปน็ สขุ
[๑๐] ราชา อาห ‘‘ภนฺเต นาคเสน โย น ลภต ิ นิพฺพานํ, ชานาต ิ โส ‘สขุ ํ
นพิ ฺพานน”ฺ ติ ?
[๑๐] พระราชาตรัสว่า “พระคณุ เจ้านาคเสน ผทู้ ่ีไมไ่ ด้พระนพิ พานจะรูห้ รือไมว่ ่า พระ
นพิ พานเปน็ สุข ?”
‘‘อาม มหาราช โย น ลภต ิ นพิ ฺพาน,ํ ชานาต ิ โส ‘สขุ ํ นิพฺพานน”ฺ ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร ใช่ ผู้ทไ่ี ม่ได้พระนพิ พาน ก็
ยอ่ มรูไ้ ด้วา่ ‘พระนพิ พานเป็นสุข’
‘‘กถํ ภนฺเต นาคเสน อลภนฺโต ชานาติ ‘สุขํ นิพพฺ านน”ฺ ติ ?
พระเจา้ มลิ ินทต์ รสั ถามวา่ “พระคณุ เจ้านาคเสน เมอื่ ไม่ได้ จะรวู้ า่ ‘พระนิพพานเป็นสุข’
ได้อยา่ งไร ?”
‘‘ต ํ กึ ม ฺ สิ มหาราช, เยสํ นจฉฺ ินฺนา หตฺถปาทา, ชาเนยยฺ ุํ เต มหาราช ‘ทุกขฺ ํ
หตถฺ ปาทจฺเฉทนน”ฺ ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร พระองคจ์ ะทรงส�ำคัญความ
ข้อนัน้ วา่ อย่างไร คนพวกที่ไมเ่ คยถูกตดั มือตัดเทา้ มาก่อน อาจทราบไดห้ รือไม่วา่ ‘การถูกตัด
มอื หรือเท้าเปน็ ทกุ ข์ ?”
‘‘อาม ภนฺเต ชาเนยฺยนุ ”ฺ ติ ฯ
พระเจา้ มิลินทต์ รสั ว่า “ใช่ อาจทราบได้ พระคณุ เจ้า”
‘‘กถ ํ ชาเนยฺยนุ ”ฺ ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรถามว่า “อาจทราบได้อยา่ งไร ?”
‘‘อ ฺเ ส ํ ภนเฺ ต ฉนิ นฺ หตฺถปาทาน ํ ปรเิ ทวติ สทฺท ํ สุตวฺ า ชานนตฺ ิ ‘ทุกฺข ํ หตถฺ -
ปาทจฺเฉทนน”ฺ ติ ฯ
พระเจ้ามิลนิ ท์ตรัสวา่ “พระคณุ เจา้ เขาได้ยินเสยี งร้องคร�ำ่ ครวญของพวกคนเหลา่ อนื่

กัณฑ์] ๒.๔ นพิ พานวรรค 175

ที่ถกู ตดั มือหรอื เท้าแล้ว ก็ย่อมทราบได้ว่า ‘การถูกตัดมอื หรือเทา้ เป็นทกุ ข์’
‘‘เอวเมว โข มหาราช เยส ํ ทฏิ ฺ ํ นิพพฺ านํ, เตส ํ สททฺ ํ สตุ วฺ า ชานาต ิ ‘สุข ํ
นิพพฺ านน”ฺ ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร กเ็ หมอื นกันอย่างนน้ั น่นั
แหละ คนทงั้ หลายได้สดับเสียง (สรรเสริญ) ของบคุ คลทง้ั หลายผู้ทไี่ ด้พบเห็นพระนพิ พานแลว้
ก็ย่อมทราบไดว้ า่ ‘พระนิพพานเป็นสุข’
‘‘กลฺโลสิ ภนเฺ ต นาคเสนา’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ ินท์ตรสั วา่ “พระคุณเจ้านาคเสน ทา่ นตอบสมควรแลว้ ”

นิพฺพานสุขชานนปญโฺ ห ทสโม ฯ
จบนพิ พานสขุ ชานนปัญหาขอ้ ท่ี ๑๐

นพิ ฺพานวคฺโค จตตุ ฺโถ ฯ
จบนิพพานวรรคท่ี ๔

อมิ สฺมึ วคฺเค ทส ปญฺหา ฯ
ในวรรคน้ี มปี ัญหา ๑๐ ขอ้
________

176 มลิ นิ ทปญั หาปกรณแ์ ปล [๒.มิลนิ ทปัญห

๒.๕ พทุ ฺธวคคฺ
๒.๕ พุทธวรรค วรรควา่ ด้วยพระพุทธเจา้

๑. พทุ ธฺ สฺส อตฺถินตถฺ ิภาวปญหฺ
๑. พทุ ธัสสะ อัตถินตั ถภิ าวปัญหา
ปัญหาวา่ ด้วยพระพุทธเจ้ามหี รอื ไมม่ ี
[๑] ราชา อาห ‘‘ภนฺเต นาคเสน พุทฺโธ ตยา ทฏิ โฺ ’’ติ ?
[๑] พระราชาตรัสวา่ “พระคุณเจา้ นาคเสน ทา่ นเคยเห็นพระพทุ ธเจ้าหรอื ?”

‘‘น หิ มหาราชา’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “อาตมภาพไม่เคยเห็นหรอก มหาบพิตร”

‘‘อถ เต อาจริเยหิ พทุ ฺโธ ทฏิ โฺ ’’ติ ?
พระเจ้ามิลินท์ตรัสวา่ “เมอื่ เปน็ เช่นน้ัน อาจารย์ทัง้ หลายของทา่ นเคยเห็นพระพทุ ธเจ้า
หรือไร ?”

‘‘น หิ มหาราชา’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ไมเ่ คยเห็นหรอก มหาบพิตร”

‘‘เตนห ิ ภนเฺ ต นาคเสน นตถฺ ิ พทุ ฺโธ’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลนิ ท์ตรสั วา่ “ถา้ เช่นนน้ั พระคณุ เจ้านาคเสน พระพทุ ธเจ้ากไ็ มม่ จี ริง”

‘‘กึ ปน มหาราช หมิ วต ิ อูหา นท ี ตยา ทฏิ ฺ า’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร พระองคเ์ คยทอดพระเนตร
แม่นำ้� อูหา ทีภ่ เู ขาหมิ พานต์หรือไม่ ?”

‘‘น หิ ภนฺเต’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ ินท์ตรัสวา่ “ไมเ่ คยเหน็ หรอก พระคณุ เจา้ ”

‘‘อถ เต ปติ รา อหู า นที ทฏิ ฺ า’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “เมอื่ เปน็ เชน่ นนั้ พระชนกของพระองค์เคยทอดพระเนตร
แมน่ ้ำ� อูหาหรือไม่ ?”

กณั ฑ]์ ๒.๕ พุทธวรรค 177

‘‘น ห ิ ภนเฺ ต’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ ินท์ตรสั ว่า “ก็ไม่เคยทอดพระเนตรเห็นหรอก พระคณุ เจา้ ”
‘‘เตนห ิ มหาราช นตถฺ ิ อูหา นท’ี ’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร ถ้าเช่นนนั้ แมน่ �ำ้ อูหา ก็ไมม่ ีอย่จู ริง”
‘‘อตถฺ ิ ภนฺเต ก ิ ฺจาปิ มยา อูหา นท ี น ทฏิ ฺ า, ปติ ราปิ เม อหู า นที น ทิฏฺ า,
อปจิ อตฺถิ อหู า นที’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ ินท์ตรัสว่า “มีจรงิ พระคุณเจ้านาคเสน โยมไมเ่ คยเห็นแม่นำ้� อูหา แมบ้ ดิ า
ของโยมกไ็ มเ่ คยเห็นแม่นำ้� อูหา ก็จรงิ อยู่ ถงึ กระน้นั แมน่ �้ำอหู ากม็ ีจรงิ ”
‘‘เอวเมว โข มหาราช ก ิ ฺจาปิ มยา ภควา น ทฏิ โฺ , อาจรเิ ยหปิ ิ เม ภควา น
ทิฏโฺ , อปิจ อตถฺ ิ ภควา’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร กเ็ หมอื นกันอย่างน้นั นน่ั
แหละ อาตมภาพไมเ่ คยเห็นพระผ้มู พี ระภาคเจา้ แมอ้ าจารย์ท้งั หลายของอาตมภาพกไ็ ม่เคย
เห็นพระผมู้ ีพระภาคเจ้า ก็จริงอยู่ ถงึ กระนนั้ พระผู้มพี ระภาคเจา้ ก็มอี ยู่จริง”
‘‘กลฺโลส ิ ภนเฺ ต นาคเสนา’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ นิ ท์ตรสั วา่ “พระคณุ เจ้านาคเสน ท่านตอบสมควรแลว้ ”

พุทฺธสสฺ อตถฺ นิ ตฺถภิ าวปญฺโห ป€โม ฯ
จบพุทธัสสะ อตั ถินตั ถภิ าวปญั หาข้อที่ ๑

________

178 มลิ ินทปัญหาปกรณแ์ ปล [๒.มลิ ินทปญั ห

๒. พทุ ฺธสฺส อนุตฺตรภาวปญหฺ
๒. พทุ ธัสสะ อนุตตรภาวปัญหา
ปญั หาว่าด้วยพระพุทธเจา้ ผ้ทู ่ีหาใครยิ่งกวา่ มไิ ด้
[๒] ราชา อาห ‘‘ภนฺเต นาคเสน พทุ ฺโธ อนตุ ตฺ โร’’ติ ?
[๒] พระราชาตรสั วา่ “พระคุณเจ้านาคเสน พระพทุ ธเจ้า ทรงเป็นบคุ คลผทู้ ่ีหาใครยง่ิ
กว่ามไิ ด้ จริงหรอื ?”
‘‘อาม มหาราช ภควา อนตุ ฺตโร’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ใช่ มหาบพิตร พระผ้มู พี ระภาคเจา้ ทรงเปน็ บุคคลท่ีหา
ใครยิ่งกว่ามไิ ด”้
‘‘กถํ ภนฺเต นาคเสน อทิฏฺ ปพุ ฺพ ํ ชานาส ิ ‘พทุ ฺโธ อนุตฺตโร’’ติ ?
พระเจา้ มลิ ินท์ตรสั ถามวา่ “พระคุณเจ้านาคเสน ท่านก็ไมเ่ คยเหน็ พระพทุ ธเจา้ ทา่ นจะ
ทราบได้อยา่ งไรวา่ ‘พระพุทธเจา้ ทรงเปน็ บุคคลผูท้ ่ีหาใครยง่ิ กวา่ มิได้ ?”
‘‘ตํ กึ ม ฺ สิ มหาราช, เยหิ อทฏิ ฺ ปุพโฺ พ มหาสมุทโฺ ท, ชาเนยฺย ุํ เต มหาราช
มหนฺโต โข มหาสมุทฺโท คมภฺ โี ร อปฺปเมยโฺ ย ทปุ ปฺ รโิ ยคาโห, ยตถฺ มิ า ป ฺจ มหานทิโย
สตต ํ สมติ ํ อปเฺ ปนฺติ, เสยฺยถิท,ํ คงฺคา ยมนุ า อจริ วตี สรภู มหี, เนว ตสสฺ อนู ตตฺ ํ วา
ปรู ตฺตํ วา ป ฺ ายต’ี ’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร พระองคจ์ ะทรงส�ำคญั ความ
ขอ้ น้นั วา่ อย่างไร พวกคนทไ่ี ม่เคยเห็นมหาสมทุ ร จะทราบได้หรอื ไมว่ า่ มหาสมทุ รกวา้ งใหญ่
ลกึ หาประมาณมิได้ หยงั่ ถึงได้ยาก เปน็ ทีแ่ มน่ �ำ้ ใหญ่ ๕ สายเหลา่ นไ้ี หลมาบรรจบเป็นประจ�ำ
สม่ำ� เสมอ คอื แมน่ �้ำคงคา แมน่ �ำ้ ยมุนา แม่นำ�้ อจริวดี แมน่ ้ำ� สรภู และแม่น้�ำมหี มหาสมทุ รนนั้
ไม่ปรากฏวา่ พรอ่ งไป หรือเต็มล้นฝัง่ เลย”
‘‘อาม ภนฺเต ชาเนยฺยุนฺ”ติ ฯ
พระเจ้ามลิ นิ ทต์ รสั ว่า “ใช่ พึงทราบได้ พระคณุ เจา้ ”
‘‘เอวเมว โข มหาราช สาวเก มหนเฺ ต ปรินิพพฺ เุ ต ปสฺสติ วฺ า ชานามิ ‘ภควา
อนตุ ตฺ โร’’ติ ฯ

กณั ฑ์] ๒.๕ พุทธวรรค 179

พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร กเ็ หมือนกนั อยา่ งนั้นนนั่
แหละ อาตมภาพไดพ้ บเหน็ พระอรหนั ตสาวกทงั้ หลายผปู้ ระเสรฐิ ปรินพิ พานแลว้ ก็ทราบไดว้ ่า
‘พระผมู้ พี ระภาคเจา้ ทรงเป็นบุคคลท่หี าใครยง่ิ กว่ามิได้’
‘‘กลโฺ ลสิ ภนเฺ ต นาคเสนา’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ ินท์ตรัสวา่ “พระคณุ เจา้ นาคเสน ทา่ นตอบสมควรแล้ว”

พุทฺธสฺส อนตุ ฺตรภาวปญฺโห ทุตโิ ย ฯ
จบพทุ ธสั สะ อนตุ ตรภาวปญั หาขอ้ ที่ ๒

________

๓. พทุ ธฺ สสฺ อนุตตฺ รภาวชานนปญฺห
๓. พุทธัสสะ อนตุ ตรภาวชานนปัญหา
ปัญหาว่าดว้ ยจะรูไ้ ดว้ า่ พระพทุ ธเจา้ เป็นบุคคลที่หาใครย่ิงกวา่ มิได้
[๓] ราชา อาห ‘‘ภนฺเต นาคเสน สกกฺ า ชานติ ํุ ‘พุทโฺ ธ อนุตฺตโร’’ติ ?
[๓] พระราชาตรสั วา่ “พระคุณเจา้ นาคเสน เราสามารถทีจ่ ะทราบได้หรอื ไม่วา่
‘พระพทุ ธเจ้าทรงเป็นบคุ คลท่หี าใครยิง่ กว่ามิไดห้ รอื ?”
‘‘อาม มหาราช สกฺกา ชานิต ํุ ‘ภควา อนุตฺตโร’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ใช่ ขอถวายพระพรมหาบพิตร เราสามารถท่ีจะทราบได้
ว่า ‘พระผมู้ พี ระภาคทรงเปน็ บคุ คลทห่ี าใครย่งิ กว่ามไิ ด้”
‘‘กถํ ภนฺเต นาคเสน สกฺกา ชานิตํุ ‘พทุ โฺ ธ อนุตฺตโร’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ นิ ทต์ รสั ว่า “พระคุณเจ้านาคเสน เราสามารถที่จะทราบได้อยา่ งไรวา่
‘พระพทุ ธเจ้าเป็นบุคคลที่หาใครยงิ่ กวา่ มิได้ ?’
‘‘ภูตปพุ พฺ ํ มหาราช ตสิ ฺสตฺเถโร นาม เลขาจรโิ ย อโหส,ิ พหนู ิ วสฺสานิ
อพฺภตีตานิ กาลงฺกตสฺส กถํ โส ายตี’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร ในกาลก่อน ก็เคยมีพระ
อาจารย์นักเขยี นช่อื ว่าพระติสสเถระ เมือ่ ทา่ นมรณภาพล่วงไปแล้วหลายปี คนท้งั หลายยงั รู้จัก
ทา่ นได้อยา่ งไร ?”

180 มลิ ินทปัญหาปกรณแ์ ปล [๒.มลิ นิ ทปัญห

‘‘เลเขน ภนฺเต’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ ินท์ตรัสว่า “โดยงานเขียน พระคุณเจา้ ”

‘‘เอวเมว โข มหาราช โย ธมมฺ ํ ปสสฺ ต,ิ โส ภควนตฺ ํ ปสสฺ ต,ิ ธมโฺ ม ห ิ มหาราช
ภควตา เทสิโต’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร ก็เหมือนกันอยา่ งน้ันนนั่
แหละ ผูใ้ ดเหน็ พระธรรม ผนู้ ั้นย่อมเหน็ พระผู้มพี ระภาคเจา้ เพราะวา่ พระธรรม พระผมู้ ีพระ
ภาคเจา้ ทรงแสดงไว้ มหาบพิตร”

‘‘กลโฺ ลสิ ภนเฺ ต นาคเสนา’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลนิ ท์ตรสั วา่ “พระคณุ เจา้ นาคเสน ทา่ นตอบสมควรแล้ว”

พุทธฺ สฺส อนตุ ฺตรภาวชานนปญโฺ ห ตติโย ฯ
จบพทุ ธสั สะ อนตุ ตรภาวชานนปัญหาขอ้ ที่ ๓

________

๔. ธมมฺ ทฏิ ฺปญหฺ
๔. ธัมมทิฏฐปัญหา
ปัญหาว่าด้วยธรรมทเ่ี หน็ แล้ว
[๔] ราชา อาห ‘‘ภนฺเต นาคเสน ธมโฺ ม ตยา ทิฏฺโ ’’ติ ฯ
[๔] พระราชาตรสั วา่ “พระคณุ เจา้ นาคเสน พระธรรม ท่านได้เหน็ แล้วหรือ ?”

‘‘พุทฺธเนตฺติยา โข มหาราช พุทธฺ ป ฺ ตตฺ ยิ า ยาวชีวํ สาวเกห ิ วตตฺ ติ พพฺ นฺ”ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร พระธรรม พวกสาวกควร
ประพฤตติ ลอดชวี ิต เพราะเป็นสง่ิ ที่พระพทุ ธเจ้าทรงแนะน�ำไว้ เพราะเปน็ สิ่งที่พระพุทธเจา้
ทรงบญั ญตั ไิ ว”้

‘‘กลโฺ ลสิ ภนฺเต นาคเสนา’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ ินท์ตรัสวา่ “พระคณุ เจา้ นาคเสน ทา่ นตอบสมควรแล้ว”

ธมฺมทิฏฺ€ปญฺโห จตตุ โฺ ถ ฯ
จบธมั มทิฏฐปัญหาข้อที่ ๔

กณั ฑ]์ ๒.๕ พทุ ธวรรค 181

๕. อสงฺกมนปฏสิ นฺทหนปญฺห
๕. อสงั กมนปฏิสันทหนปญั หา
ปญั หาวา่ ด้วยการไม่เคล่ือนไปกป็ ฏิสนธไิ ด้
[๕] ราชา อาห ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน น จ สงฺกมต ิ ปฏิสนฺทหต ิ จา’’ติ ?
[๕] พระราชาตรัสวา่ “พระคณุ เจา้ นาคเสน จิตไมเ่ คลอ่ื นไปดว้ ย ย่อมปฏิสนธไิ ด้ดว้ ย
หรอื ?”
‘‘อาม มหาราช น จ สงกฺ มติ ปฏิสนทฺ หติ จา’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร ใช่แลว้ จิตไม่เคลือ่ นไปดว้ ย
ย่อมปฏสิ นธไิ ดด้ ว้ ย”
‘‘กถ ํ ภนเฺ ต นาคเสน น จ สงฺกมต ิ ปฏิสนทฺ หติ จ, โอปมมฺ ํ กโรห’ี ’ติ ?
พระเจา้ มลิ ินท์ตรสั ว่า “พระคณุ เจ้านาคเสน จติ ไมเ่ คลอื่ นไปดว้ ย ย่อมปฏสิ นธิได้ดว้ ย
อย่างไร ขอท่านจงชว่ ยอุปมาใหห้ นอ่ ยเถอะ”
‘‘ยถา มหาราช โกจิเทว ปรุ ิโส ปทปี โต ปทปี ํ ปทเี ปยฺย, กินนฺ ุ โข โส มหาราช
ปทโี ป ปทีปมหฺ า สงกฺ นฺโต’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร เปรยี บเหมือนบรุ ษุ บางคน
พงึ จุดไฟตะเกยี ง (ใหม่) ขน้ึ จากไฟตะเกยี ง (เกา่ ) ไฟตะเกยี ง (ใหม)่ เป็นไฟท่ีเคลื่อนจาก
ตะเกยี ง (เกา่ ) ไปหรือ มหาบพติ ร?”
‘‘น ห ิ ภนฺเต’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ ินท์ตรสั ว่า “หามิได้ พระคณุ เจา้ ”
‘‘เอวเมว โข มหาราช น จ สงกฺ มติ ปฏิสนฺทหต ิ จา’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร ก็เหมือนกนั อยา่ งนนั้ นน่ั
แหละ จิตไม่เคลื่อนไปดว้ ย ย่อมปฏสิ นธไิ ดด้ ว้ ย”
‘‘ภยิ โฺ ย โอปมมฺ ํ กโรห’ี ’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ ินท์ตรสั ว่า “ขอท่านจงชว่ ยอุปมาให้ย่ิงข้ึนอกี หน่อยเถดิ ”

182 มลิ นิ ทปญั หาปกรณแ์ ปล [๒.มิลนิ ทปญั ห

‘‘อภชิ านาส ิ นุ ตฺวํ มหาราช ทหรโก สนโฺ ต สิโลกาจริยสฺส สนตฺ ิเก กิ ฺจิ สิโลกํ
คหิตน’ฺ ’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร เมอ่ื ครั้งทพ่ี ระองค์ยังทรง
พระเยาวม์ ีอยู่ พระองค์ยงั คงทรงจ�ำได้หรอื ไม่ว่า ทรงได้รับเกียรติคณุ บางอย่างในส�ำนักของ
อาจารย์ผู้มีเกียรตคิ ณุ ”

‘‘อาม ภนฺเต’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ ินทต์ รัสวา่ “ใช่ พระคณุ เจ้า โยมยงั จ�ำได”้

‘‘กึ น ุ โข มหาราช โส สิโลโก อาจรยิ มฺหา สงฺกนโฺ ต’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร เกยี รติคุณทีพ่ ระองค์ทรงได้
รับนนั้ เคลือ่ นไปจากตัวพระอาจารย์หรอื ?”

‘‘น หิ ภนเฺ ต’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลินทต์ รสั วา่ “หามไิ ด้ พระคุณเจ้า”

‘‘เอวเมว โข มหาราช น จ สงกฺ มติ ปฏสิ นฺทหต ิ จาติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร ก็เหมอื นกนั อย่างนน้ั นัน่
แหละ จติ ไมเ่ คลือ่ นไปดว้ ย ย่อมปฏสิ นธไิ ด้ดว้ ย”

‘‘กลโฺ ลส ิ ภนฺเต นาคเสนา’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ นิ ท์ตรัสว่า “พระคณุ เจา้ นาคเสน ทา่ นตอบสมควรแลว้ ”

อสงกฺ มนปฏสิ นฺทหนปญฺโห ปญฺจโม ฯ
จบอสงั กมนปฏสิ นั ทหนปญั หาข้อที่ ๕

________

กัณฑ์] ๒.๕ พุทธวรรค 183

๖. เวทคปู ญฺห
๖. เวทคูปญั หา
ปัญหาวา่ ดว้ ยเวทคู
[๖] ราชา อาห ‘‘ภนฺเต นาคเสน เวทคู อุปลพภฺ ต’ี ’ติ ?
[๖] พระราชาตรัสวา่ “พระคุณเจา้ นาคเสน เวทคู บคุ คลยอ่ มไดจ้ ริงหรอื ?”
เถโร อาห ‘‘ปรมตฺเถน โข มหาราช เวทคู นุปลพฺภต’ี ’ติ ฯ
พระเถระถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร วา่ โดยปรมัตถ์ เวทคู บุคคล
ยอ่ มไมไ่ ด้”
‘‘กลโฺ ลสิ ภนฺเต นาคเสนา’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ ินทต์ รัสว่า “พระคณุ เจา้ นาคเสน ท่านตอบสมควรแลว้ ”
เวทคปู ญฺโห ฉฏฺโ€ ฯ
จบเวทคปู ัญหาข้อที่ ๖

________

๗. อญฺกายสงกฺ มนปญฺห
๗. อัญญกายสงั กมนปญั หา
ปญั หาว่าดว้ ยการเคลอ่ื นจากกายนี้สูก่ ายอืน่
[๗] ราชา อาห ‘‘ภนฺเต นาคเสน อตฺถ ิ โกจิ สตโฺ ต, โย อมิ มหฺ า กายา อ ฺ ํ กายํ
สงกฺ มต’ี ’ติ ?
[๗] พระราชาตรัสวา่ “พระคณุ เจ้านาคเสน สตั ว์อะไร ๆ ผู้เคลือ่ นจากกายน้ีไปสูก่ าย
อนื่ มอี ย่หู รอื ?”
‘‘น ห ิ มหาราชา’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ไมม่ หี รอก มหาบพิตร”
‘‘ยทิ ภนเฺ ต นาคเสน อิมมหฺ า กายา อ ฺ ํ กายํ สงฺกมนโฺ ต นตถฺ ิ นน ุ มุตฺโต
ภวิสฺสต ิ ปาปเกหิ กมฺเมห’ี ’ติ ?


Click to View FlipBook Version