The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

มิลินทปัญหาปกรณ์แปล เล่ม ๑ ถาม-ตอบปัญหาในพระไตรปิฎก

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ืทีมงานกรุธรรม, 2022-03-09 22:17:09

มิลินทปัญหาปกรณ์แปล เล่ม ๑ ถาม-ตอบปัญหาในพระไตรปิฎก

มิลินทปัญหาปกรณ์แปล เล่ม ๑ ถาม-ตอบปัญหาในพระไตรปิฎก

Keywords: มิลินทปัญหาปกรณ์แปล เล่ม ๑ ถาม-ตอบปัญหาในพระไตรปิฎก

384 มิลินทปญั หาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปัญห

ใส่ใจวา่ สัตวเ์ หลา่ น้ขี องเรา ดงั นไี้ ม่ ฉันใด ขอถวายพระพร พระตถาคตทรงเป็นทีพ่ ึ่งที่พ�ำนัก
ของสตั ว์ท้งั หลาย และสตั วท์ ั้งหลายกพ็ ง่ึ พระตถาคต แต่พระตถาคตหาทรงสนพระทัยวา่ สัตว์
เหลา่ นีข้ องเรา ดงั น้ไี ม่ ฉนั นัน้ ขอถวายพระพร อกี อยา่ งหน่ึง เปรียบเหมอื นว่า เมฆฝนห่าใหญ่
เม่อื ตกลงมา กย็ ่อมมอบความเจรญิ งอกงามให้แกต่ น้ หญา้ ต้นไม้ ปศุสตั ว์ และมนุษยท์ ัง้ หลาย
คอยตามรกั ษาใหเ้ ป็นไปสบื ตอ่ กส็ ตั ว์เหล่านีล้ ว้ นเป็นอยไู่ ดด้ ว้ ยฝน แตว่ ่า เมฆฝนห่าใหญ่ก็หา
ไดส้ นใจว่า ‘สตั ว์เหล่าน้ขี องเรา’ ดังนไี้ ม่ ฉนั ใด ขอถวายพระพร พระตถาคตกท็ รงท�ำกศุ ลธรรม
ให้เกดิ แก่สรรพสตั วท์ ้งั หลาย คอยตามรกั ษา กส็ ัตว์ทั้งหลายล้วนเปน็ อยไู่ ดด้ ้วยพระศาสดา แต่
พระตถาคตหาทรงสนพระทัยว่า ‘สตั วเ์ หลา่ นีข้ องเรา’ ดงั นไ้ี ม่ ฉนั นัน้ เหมือนกนั ข้อนน้ั เปน็
เพราะเหตไุ ร ? เพราะทรงละอัตตานุทิฏฐิได้แลว้ ”

‘‘สาธ ุ ภนฺเต นาคเสน สนุ ิพเฺ พ ิโต ป โฺ ห พหุวเิ ธห ิ การเณหิ คมฺภีโร อตุ ฺตานี-
กโต, คณ ฺ ิ ภนิ ฺโน, คหนํ อคหนํ กต,ํ อนธฺ กาโร อาโลโก กโต, ภคคฺ า ปรวาทา,
ชนิ ปตุ ตฺ าน ํ จกขฺ ุํ อุปปฺ าทติ นฺ’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลนิ ท์ตรัสว่า “ดจี รงิ พระคุณเจ้านาคเสน ทา่ นเปล้ืองปัญหาด้วยดี ด้วยเหตผุ ล
หลายอย่าง ท่านไดท้ �ำปัญหาทล่ี กึ ซึง้ ใหต้ ้ืนได้ ท�ำลายเง่ือนปมได้ ท�ำขอ้ ที่ยุ่งเหยงิ ให้ไม่มีความ
ยุ่งเหยงิ ได้ ท�ำทีม่ ดื ให้สวา่ งได้ ท�ำลายปรปวาทะได้ ดวงตาท่านท�ำใหเ้ กิดแก่ภกิ ษุผู้เป็นบุตร
ของพระชนิ สีห์แลว้ ”

ภกิ ฺขุสงฆฺ ปรหิ รณปญโฺ ห สตฺตโม ฯ
จบภิกขสุ งั ฆปรหิ รณปญั หาขอ้ ท่ี ๗

________

๘. อเภชฺชปรสิ ปญฺห
๘. อเภชชปริสปัญหา
ปัญหาว่าด้วยพระผมู้ พี ระภาคมีบรษิ ทั ไม่แตกแยกกัน
[๘] ‘‘ภนฺเต นาคเสน ตมุ เฺ ห ภณถ ‘ตถาคโต อเภชชฺ ปริโส’ติ, ปุน จ ภณถ
‘เทวทตฺเตน เอกปปฺ หาร ํ ป ฺจ ภิกขฺ ุสตานิ ภินฺนาน’ี ติ ฯ ยทิ ภนเฺ ต นาคเสน ตถาคโต
อเภชชฺ ปริโส, เตนหิ เทวทตฺเตน เอกปฺปหาร ํ ป จฺ ภิกขฺ สุ ตานิ ภินฺนานีต ิ ย ํ วจนํ,
ตํ มิจฺฉา ฯ ยทิ เทวทตเฺ ตน เอกปฺปหาร ํ ป ฺจ ภิกขฺ ุสตานิ ภนิ ฺนานิ, เตนหิ ‘ตถาคโต

กัณฑ์] ๔.๒ อเภชชวรรค 385

อเภชฺชปริโส’ต ิ ตมปฺ ิ วจน ํ มิจฺฉา ฯ อยมฺป ิ อุภโต โกฏิโก ป ฺโห ตวานุปฺปตฺโต, คมภฺ ีโร
ทนุ ฺนเิ ว ิโย, คณฺ โิ ตป ิ คณฺ ติ โร, เอตฺถาย ํ ชโน อาวโฏ นิวโุ ต โอวุโต ปหิ โิ ต ปริโยนทฺโธ,
เอตฺถ ตว าณพล ํ ทสฺเสหิ ปรวาเทส’ู ’ติ ฯ
[๘] พระเจา้ มลิ นิ ทต์ รสั วา่ “พระคณุ เจ้านาคเสน พวกทา่ นกลา่ วกันวา่ ‘พระตถาคตทรง
เป็นผมู้ ีบรษิ ทั ไมแ่ ตกแยกกัน’, แตย่ ังกลา่ วอีกว่า ‘พระเทวทตั ท�ำลายภกิ ษใุ หแ้ ตกกนั ในคราว
เดยี ว ๕๐๐ รปู ’ พระคณุ เจา้ นาคเสน ถา้ หากว่า พระตถาคตทรงเปน็ ผ้มู บี รษิ ัทไม่แตกแยกกนั
จริงไซร้ ถา้ อยา่ งนัน้ ค�ำท่วี ่า พระเทวทตั ท�ำลายภิกษุใหแ้ ตกกนั ในคราวเดียว ๕๐๐ รปู ดงั นี้ ก็
เปน็ ค�ำท่ผี ิด ถา้ หากพระเทวทตั ท�ำลายภิกษใุ หแ้ ตกกนั ในคราวเดยี ว ๕๐๐ รูป จรงิ แลว้ ไซร้ ถ้า
อยา่ งนัน้ ค�ำที่ว่า พระตถาคตเป็นผู้มบี รษิ ัทไม่แตกแยกกัน ดังน้ี ก็ตอ้ งเป็นค�ำทผี่ ดิ ปญั หานี้ มี
๒ เงื่อน ตกถงึ แกท่ า่ นโดยล�ำดับแลว้ เปน็ ปญั หาทล่ี ึกซึ้ง เปลื้องไดย้ าก เปน็ ปมย่งิ กว่าปม ผูค้ น
ยังยุง่ เหยิงสบั สนพัลวันปิดตดิ ขดั ในปัญหาน้ีกนั อยู่ ในปัญหาน้ี ขอท่านพงึ แสดงก�ำลงั ปญั ญา
ของทา่ นในวาทะของฝ่ายอน่ื ท้ังหลายเถดิ ”
‘‘อเภชฺชปริโส มหาราช ตถาคโต เทวทตเฺ ตน จ เอกปฺปหาร ํ ป จฺ ภิกขฺ ุสตานิ
ภินนฺ าน,ิ ต จฺ ปน เภทกสฺส พเลน, เภทเก วชิ ฺชมาเน นตฺถิ มหาราช อเภชฺช ํ นาม ฯ
เภทเก สต ิ มาตาปิ ปุตเฺ ตน ภิชชฺ ต,ิ ปุตโฺ ตป ิ มาตรา ภชิ ฺชติ, ปติ าปิ ปุตเฺ ตน ภชิ ฺชติ,
ปตุ โฺ ตปิ ปิตรา ภิชฺชติ, ภาตาปิ ภคนิ ยิ า ภิชชฺ ต,ิ ภคินปี ิ ภาตรา ภิชฺชต,ิ สหาโยปิ
สหาเยน ภชิ ชฺ ต,ิ นาวาป ิ นานาทารสุ งฺฆฏติ า อูมเิ วคสมฺปหาเรน ภชิ ฺชติ, รุกฺโขป ิ มธุกปฺป-
สมฺปนฺนผโล อนิลพลเวคาภหิ โต ภชิ ฺชต,ิ สวุ ณฺณมปฺ ิ ชาติมนตฺ ํ โลเหน ภชิ ชฺ ติ ฯ อปจิ
มหาราช เนโส อธิปฺปาโย ว ิ ฺ นู ํ, เนสา พุทฺธานํ อธิมุตตฺ ิ, เนโส ปณฺฑติ านํ ฉนโฺ ท
‘ตถาคโต เภชฺชปริโส’ติ ฯ อป ิ เจตถฺ การณํ อตถฺ ิ เยน การเณน ตถาคโต วจุ ฺจติ ‘อเภชฺช-
ปรโิ ส’ติ ฯ กตมํ เอตฺถ การณํ ? ตถาคตสสฺ , มหาราช, กเตน อทาเนน วา อปฺปิยวจเนน
วา อนตถฺ จรยิ าย วา อสมานตตฺ ตาย วา ยโต กุโตจิ จรยิ ํ จรนตฺ สฺสป ิ ปริสา ภนิ ฺนาต ิ น
สตุ ปพุ พฺ ํ, เตน การเณน ตถาคโต วุจฺจต ิ ‘อเภชชฺ ปรโิ ส’ติ ฯ ตยาเปต ํ มหาราช าตพพฺ ํ
‘อตฺถิ กิ ฺจิ นวงฺเค พทุ ธฺ วจเน สุตตฺ าคตํ, อมิ นิ า นาม การเณน โพธสิ ตฺตสฺส กเตน
ตถาคตสสฺ ปรสิ า ภินนฺ า’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร พระตถาคตทรงเปน็ ผู้มี
บรษิ ทั ไมแ่ ตกแยกกนั จริง และพระเทวทตั ก็ท�ำลายภิกษุให้แตกกนั ในคราวเดียว ๕๐๐ รูป จรงิ
แต่ว่า ความแตกแยกกนั นนั้ ยอ่ มมีไดด้ ้วยก�ำลงั ความสามารถของผทู้ �ำลายใหแ้ ตกกนั ขอ

386 มิลนิ ทปัญหาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปัญห

ถวายพระพร คอื ว่า เมอ่ื มีผมู้ าท�ำลายใหแ้ ตกกนั กไ็ มม่ ีความกลมเกลียวกันกไ็ ด้ เมือ่ มีผมู้ า
ท�ำลายให้แตกกัน แมม้ ารดาก็แตกกบั บุตรได้ แม้บตุ รก็แตกกบั มารดาได้ แม้บิดาก็แตกกับ
บุตรได้ แมบ้ ตุ รก็แตกกับบิดาได้ แมพ้ นี่ ้องชายกต็ อ้ งแตกกบั พ่ีนอ้ งหญงิ ได้ แม้พี่นอ้ งหญงิ
ก็ต้องแตกกบั พนี่ ้องชายได้ แม้เพือ่ นก็แตกกบั เพื่อนได้ แมเ้ รอื ทปี่ ระกอบตดิ กนั ดว้ ยชนิ้ ไม้
ตา่ ง ๆ ก็ยงั แตกออกจากกันได้ เพราะถูกคลนื่ ซดั แม้ต้นไมท้ ี่ออกผลสะพร่ังมีรสหวาน พอถกู
สายฟ้าฟาด ก็ฉีกแตกไป แมท้ อง แมเ้ งิน มที องแดงเขา้ แทรกปะปน ก็แตกแยกหา่ งกันไป ขอ
ถวายพระพร อกี อย่างหนึ่ง ขอ้ ทวี่ ่า พระตถาคตทรงเปน็ ผู้มีบริษทั แตกกนั น้ี วิญญูชนทั้งหลาย
หาเห็นชอบด้วยไม่ พระพทุ ธะท้งั หลายหาทรงยอมรับด้วยไม่ บณั ฑิตทงั้ หลายหาพอใจไม่ ก็
ในความข้อนี้ เหตุที่ท�ำให้บัณฑิตทั้งหลายกลา่ วถงึ พระตถาคตวา่ พระตถาคตเปน็ ผมู้ บี ริษทั ไม่
แตกแยกกัน ดังนี้ มีอยู่ เหตุในความขอ้ ทีว่ ่านี้ คอื อะไร ? ขอถวายพระพร ค�ำพดู ที่วา่ บริษทั
ของพระตถาคตแตกแยกกัน เพราะพระตถาคตทรงกระท�ำการล�ำเอยี งก็ดี เพราะทรงมวี าจา
น่าเกลยี ดก็ดี เพราะทรงมีความประพฤตเิ สยี หายก็ดี เพราะทรงเปน็ ผู้มตี นไม่เสมอต้นเสมอ
ปลายก็ดี ทรงประพฤติอย่างใดอยา่ งหนงึ่ ก็ดี ดังนี้ ใคร ๆ ก็ไม่เคยไดย้ ิน เพราะเหตุดังกล่าวนัน้
บัณฑติ จงึ กลา่ วถึงพระตถาคตว่า ทรงเปน็ ผ้มู บี รษิ ทั ไมแ่ ตกแยกกนั ดังน้ี ขอถวายพระพร ขอ
พระองคท์ รงทราบแม้ความข้อน้ี คอื ว่า เรอ่ื งอะไร ๆ ท่ีมาแล้วในพระสตู ร ในพระพุทธพจน์มี
องค์ ๙ ที่เก่ยี วกับวา่ บริษัทของพระตถาคต แม้ยงั เปน็ พระโพธิสตั วอ์ ยู่ ย่อมแตกแยกกัน
เพราะการท่ที รงก่อเหตุการณ์เช่นนีไ้ ว้ ดังนี้ มีอยู่หรอื ?”

‘‘นตฺถ ิ ภนเฺ ต โน เจต ํ โลเก ทสิ ฺสติ โนปิ สุยฺยติ ฯ สาธุ ภนเฺ ต นาคเสน เอวเมต ํ
ตถา สมฺปฏจิ ฉฺ ามี’’ติ ฯ
พระเจา้ มิลนิ ทต์ รสั ว่า “ไม่มหี รอก พระคุณเจา้ เรือ่ งท่ีว่านี้ไม่ปรากฏในโลก แมโ้ ยมเอง
ก็ไมเ่ คยไดย้ ิน ดจี รงิ พระคุณเจ้านาคเสน โยมยอมรบั ค�ำพดู ตามท่ที ่านกลา่ วมานี”้

อเภชฺชปรสิ ปญฺโห อฏ€ฺ โม ฯ
จบอเภชชปริสปญั หาขอ้ ที่ ๘

อเภชชฺ วคฺโค ทุตโิ ย ฯ
จบอเภชชวรรคที่ ๒

อมิ สฺมึ วคฺเค อฏฺ€ ปญฺหา ฯ
ในวรรคนม้ี ีปัญหา ๘ ขอ้

กัณฑ]์ ๔.๓ ปณามติ วรรค 387

๔.๓ ปณามิตวคฺค
๔.๓ ปณามิตวรรค วา่ ดว้ ยการเหตทุ ่ถี ูกขบั ไล่

๑. เสฏฺ ธมมฺ ปญฺห
๑. เสฏฐธัมมปญั หา
ปญั หาว่าดว้ ยธรรมเป็นสงิ่ ประเสรฐิ สุด
[๑] ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน ภาสิตมฺเปตํ ภควตา ‘ธมฺโม หิ วาเสฏฺ เสฏฺโ ชเนตสมฺ ึ
ทิฏเฺ เจว ธมฺเม อภสิ มฺปราเย จา’ติ ฯ ปนุ จ ‘อุปาสโก คิห ี โสตาปนโฺ น ปหิ ติ าปาโย
ทิฏฺ ิปปฺ ตฺโต วิ ฺ าตสาสโน ภิกขฺ ํุ วา สามเณรํ วา ปถุ ุชชฺ นํ อภวิ าเทต ิ ปจจฺ ุฏฺเ ตี’ติ ฯ
ยทิ ภนเฺ ต นาคเสน ภควตา ภณิตํ ‘ธมฺโม ห ิ วาเสฏ ฺ , เสฏโฺ ชเนตสฺม ึ ทิฏเฺ เจว
ธมเฺ ม อภิสมปฺ ราเย จา’ต,ิ เตนห ิ ‘อปุ าสโก คหิ ี โสตาปนฺโน ปิหิตาปาโย ทฏิ ฺ ิปฺปตโฺ ต
วิ ฺ าตสาสโน ภกิ ขฺ ุํ วา สามเณรํ วา ปถุ ชุ ชฺ นํ อภิวาเทต ิ ปจจฺ ุฏฺเ ต’ี ต ิ ยํ วจนํ, ต ํ
มิจฺฉา ฯ ยท ิ ‘อปุ าสโก คหิ ี โสตาปนฺโน ปหิ ิตาปาโย ทิฏ ฺ ปิ ฺปตโฺ ต ว ิ ฺ าตสาสโน ภกิ ฺขุํ
วา สามเณรํ วา ปุถชุ ฺชนํ อภวิ าเทต ิ ปจฺจุฏเฺ ต’ิ , เตนห ิ ‘ธมฺโม ห ิ วาเสฏ ฺ , เสฏฺโ
ชเนตสมฺ ึ ทฏิ เฺ เจว ธมฺเม อภิสมฺปราเย จาต ิ ตมฺปิ วจน ํ มจิ ฺฉา ฯ อยมฺปิ อภุ โต โกฏโิ ก
ป ฺโห ตวานุปฺปตโฺ ต, โส ตยา นิพพฺ าหิตพโฺ พ’’ติ ฯ
[๑] พระเจ้ามิลินทต์ รัสว่า “พระคุณเจ้านาคเสน พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงภาษิตความ
ขอ้ นีไ้ วว้ ่า ‘ท่านวาเสฏฐะ พระธรรมเป็นส่งิ ประเสริฐสดุ ในหมชู่ นน้ี ท้ังในชาติน้ี ทง้ั ในชาตหิ นา้ ’
ดังน้ี และตรัสไว้อีกว่า ‘อบุ าสกคฤหสั ถ์ แมเ้ ป็นพระโสดาบัน ผ้ปู ดิ อบายได้แลว้ ถงึ ซ่ึงทฏิ ฐแิ ลว้
รูแ้ จง้ พระศาสนาแลว้ ก็ยังต้องกราบไหว้ ลกุ รับภกิ ษุหรอื สามเณรผเู้ ป็นปุถชุ น’ ดังนี้ พระคุณ
เจ้านาคเสน ถ้าหากวา่ พระผู้มพี ระภาคเจ้าตรสั ว่า ทา่ นวาเสฏฐะ พระธรรมเป็นสิง่ ประเสริฐสุด
ในหมชู่ นนี้ ทง้ั ในชาตนิ ้ี ท้งั ในชาตหิ นา้ ดังน้ี จริงไซร้ ถ้าอย่างนัน้ ค�ำทีว่ า่ อบุ าสกคฤหสั ถ์ แม้
เป็นพระโสดาบันผปู้ ิดอบายไดแ้ ลว้ ถึงซ่ึงทิฏฐแิ ลว้ รู้แจ้งพระศาสนาแล้ว ก็ยงั ตอ้ งกราบไหว้
ลกุ รบั ภิกษหุ รือสามเณรผู้เปน็ ปุถุชน ดังนี้ กต็ อ้ งผดิ ถา้ หากตรัสว่า อุบาสกคฤหสั ถแ์ ม้เป็นพระ
โสดาบนั ผู้ปดิ อบายได้แล้ว ถงึ ซง่ึ ทฏิ ฐแิ ลว้ รแู้ จง้ พระศาสนาแลว้ กย็ ังตอ้ งกราบไหว้ ลุกรับ
ภกิ ษุหรือสามเณรผเู้ ป็นปุถชุ น ดงั นี้ จรงิ ถ้าอยา่ งน้ัน ค�ำทวี่ ่า ทา่ นวาเสฏฐะ พระธรรมเปน็ ส่งิ
ประเสรฐิ ท่สี ดุ ในหมู่ชนนี้ ทง้ั ในชาตินี้ ท้ังในชาตนิ ้า ดงั นี้ ก็ตอ้ งผิด ปญั หาน้ี มี ๒ เงอื่ น ตก
ถึงแก่ท่านแลว้ ขอท่านพึงคลคี่ ลายปัญหานั้นเถิด”

388 มลิ ินทปัญหาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปญั ห

‘‘ภาสติ มเฺ ปตํ มหาราช ภควตา ‘ธมโฺ ม หิ วาเสฏ ฺ , เสฏฺโ ชเนตสมฺ ึ ทิฏเฺ เจว
ธมฺเม อภิสมปฺ ราเย จา’ต,ิ ‘อุปาสโก จ คหิ ี โสตาปนโฺ น ปหิ ิตาปาโย ทฏิ ฺ ปิ ฺปตโฺ ต
วิ ฺ าตสาสโน ภกิ ขฺ ํุ วา สามเณร ํ วา ปถุ ุชชฺ นํ อภวิ าเทติ ปจจฺ ุฏฺเ ต’ิ ฯ ตตถฺ ปน การณํ
อตถฺ ิ ฯ กตม ํ ตํ การณํ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร พระผมู้ พี ระภาคเจา้ ทรง
ภาษิตความข้อน้วี ่า ทา่ นวาเสฏฐะ พระธรรมเป็นสิ่งประเสริฐสดุ ในหมูช่ นน้ี ทงั้ ในชาตนิ ้ี ทั้งใน
ชาติหนา้ ดงั นี้ จริง ตรัสไว้อกี ว่า อบุ าสกคฤหัสถ์ ผเู้ ป็นพระโสดาบันผู้ปิดอบายไดแ้ ล้ว ถึงซ่งึ
ทิฏฐแิ ลว้ รู้แจ้งพระศาสนาแล้ว ก็ยงั ตอ้ งกราบไหวล้ ุกรบั ภกิ ษุหรอื สามเณรผเู้ ปน็ ปุถชุ น ดังน้ี
จรงิ ก็แต่วา่ ในเร่ืองนั้น มเี หตผุ ลอยู่ เหตุผลนัน้ คอื อะไร ?

‘‘วสี ต ิ โข ปนเิ ม มหาราช สมณสฺส สมณกรณา ธมมฺ า เทฺว จ ลงิ ฺคานิ, เยหิ
สมโณ อภิวาทนปจฺจุฏฺ านสมมฺ านนปชู นารโห โหติ ฯ กตเม วีสต ิ สมณสสฺ สมณกรณา
ธมฺมา เทฺว จ ลิงฺคานิ ? เสฏโฺ ธมมฺ าราโม, อคฺโค นยิ โม, จาโร วิหาโร สํยโม สํวโร
ขนฺติ โสรจฺจํ เอกตฺตจริยา เอกตตฺ าภิรติ ปฏสิ ลลฺ าน ํ หริ ิโอตฺตปฺปํ วรี ิยํ อปฺปมาโท สุกฺกา-
วทาน ํ อุทเฺ ทโส ปรปิ ุจฺฉา สีลาทอิ ภิรติ นริ าลยตา สกิ ฺขาปทปาริปูรติ า, กาสาวธารณํ,
ภณฺฑุภาโว ฯ
ขอถวายพระพรมหาบพติ ร ธรรมอนั เป็นเครอ่ื งสร้างความเปน็ สมณะแห่งผูเ้ ปน็ สมณะ
๒๐ อยา่ งเหล่านี้ และเพศ ๒ อย่าง ย่อมเป็นเหตุใหส้ มณะเป็นผูค้ วรแกก่ ารกราบไหว้ การลกุ
รับ นบั ถือ บูชา ธรรมอนั เป็นเคร่ืองสร้างความเปน็ สมณะแห่งผู้เปน็ สมณะ ๒๐ อย่าง และเพศ
๒ อย่าง มีอะไรบ้าง ? ได้แก่
๑. เสฏโฺ ธมฺมาราโม มีความยนิ ดีในธรรมอันประเสริฐท่ีสดุ
๒. อคฺโค นิยโม มีความนยิ มอนั เลิศ
๓. จาโร มีความประพฤติดี
๔. วิหาโร มีวหิ ารธรรม
๕. สํยโม มีความส�ำรวม
๖. สวํ โร มธี รรมเครื่องปอ้ งกนั
๗. ขนตฺ ิ มคี วามอดกลั้น
๘. โสรจจฺ ํ มีความสงบเสงี่ยม
๙. เอกตตฺ จรยิ า ประพฤติในอารมณ์ท่มี ีความเป็นหนึ่ง

กณั ฑ์] ๔.๓ ปณามติ วรรค 389

๑๐. เอกตตฺ าภิรติ ยินดีในอารมณ์ท่ีมีความเปน็ หน่ึง
๑๑. ปฏสิ ลลฺ าน ํ มีความประพฤตหิ ลกี เร้น
๑๒. หริ โิ อตตฺ ปฺป ํ มีความละอายและเกรงกลัวบาป
๑๓. วิรยิ ํ มีความเพยี ร
๑๔. อปปฺ มาโท มีความไม่ประมาท
๑๕. สุกกฺ าวทาน ํ สมาทานสิกขา
๑๖. อุทเฺ ทโส มกี ารเรียนบาลี
๑๗. ปริปจุ ฺฉา มีการสอบถาม (หรือการเรียนอรรถกถา)
๑๘. สีลาทิอภิรติ มีความยนิ ดีในคณุ มี ศีล เป็นต้น
๑๙. นิราลยตา ไมม่ ีอาลัย
๒๐. สิกฺขาปทปารปิ รู ิตา เปน็ ผู้ท�ำสิกขาบทใหบ้ ริบรู ณ์
เพศ ๒ อยา่ ง ไดแ้ ก่
๑. กาสาวธารณํ ทรงผ้ากาสาวพัสตร์
๒. ภณฺฑภุ าโว มกี ารปลงผม (มศี รี ษะโลน้ )

อิเม โข มหาราช วีสติ สมณสฺส สมณกรณา ธมฺมา เทวฺ จ ลงิ ฺคานิ ฯ เอเต คเุ ณ
ภิกขฺ ุ สมาทาย วตฺตติ, โส เตส ํ ธมฺมานํ อนูนตตฺ า ปรปิ ณุ ฺณตตฺ า สมปฺ นฺนตตฺ า
สมนนฺ าคตตฺตา อเสกฺขภูมึ อรหนตฺ ภูมึ โอกฺกมต,ิ เสฏ ฺ ํ ภูมนฺตร ํ โอกกฺ มต,ิ อรหตตฺ าสนนฺ -
คโตติ อรหติ อปุ าสโก โสตาปนฺโน ภกิ ฺขํุ ปุถุชชฺ นํ อภิวาเทต ุํ ปจจฺ ฏุ ฺ าตุํ ฯ
ขอถวายพระพรมหาบพติ ร ธรรมอนั เปน็ เครอื่ งสรา้ งความเป็นสมณะแห่งผู้เปน็ สมณะ
มี ๒๐ อยา่ งเหล่านี้ และเพศมี ๒ อยา่ ง ภิกษุยอ่ มสมาทานประพฤตคิ ณุ ธรรมเหลา่ น้ี ภกิ ษนุ ้ัน
เพราะความทมี่ ธี รรมเหล่าน้นั ไมบ่ กพรอ่ ง บริบูรณถ์ งึ พร้อม เพยี บพร้อม กย็ ่อมก้าวลงสอู่ เสกข
ภูมิ อรหันตภมู ิ ย่อมก้าวลงสู่ล�ำดบั ภมู ิอันประเสริฐ ช่ือว่าเปน็ ผู้ไปสทู่ ใ่ี กลค้ วามเปน็ พระอรหนั ต์
เพราะเหตนุ นั้ อุบาสกผ้เู ป็นพระโสดาบัน จึงสมควรเพื่อจะกราบไหว้ ลุกรับภิกษุผู้เป็นปุถุชน

‘ขีณาสเวห ิ โส สาม ฺ ํ อปุ คโต, นตถฺ ิ เม โส สมโย’ติ อรหติ อุปาสโก
โสตาปนโฺ น ภิกฺขํ ุ ปุถุชฺชนํ อภิวาเทตํ ุ ปจจฺ ฏุ ฺ าตํุ ฯ
อบุ าสกผ้เู ป็นพระโสดาบนั ควรจะกราบไหว้ ลุกรบั ภิกษุผเู้ ปน็ ปุถชุ น ด้วยคดิ วา่ ‘ทา่ นผู้
นน้ั เข้าถงึ ความเปน็ ผู้เสมอเหมอื นกับพระขณี าสพทงั้ หลาย เราไม่มีสมยั (โอกาส) น้นั ’ ดงั น้ี

390 มลิ ินทปัญหาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปัญห

‘อคฺคปรสิ ํ โส อปุ คโต, นาห ํ ตํ านํ อุปคโต’ต ิ อรหต ิ อุปาสโก โสตาปนฺโน ภิกขฺ ํุ
ปุถชุ ชฺ น ํ อภวิ าเทต ุํ ปจฺจุฏฺ าตํุ ฯ
อบุ าสกผู้เป็นพระโสดาบันควรจะกราบไหว้ ลกุ รบั ภกิ ษุผเู้ ปน็ ปถุ ชุ น ด้วยคดิ ว่า ‘ท่านผู้
นั้น เขา้ ถงึ ความเป็นยอดบริษทั เราไม่ใช่ผเู้ ข้าถึงฐานะน้ัน’ ดงั นี้
‘ลภติ โส ปาตโิ มกขฺ ุทเฺ ทส ํ โสตุํ, นาห ํ ตํ ลภามิ โสตุน’ฺ ติ อรหติ อปุ าสโก
โสตาปนฺโน ภกิ ขฺ ุํ ปุถุชชฺ นํ อภิวาเทตํุ ปจฺจุฏฺ าตุํ ฯ
อุบาสกผเู้ ป็นพระโสดาบันควรจะกราบไหว้ ลุกรับภกิ ษผุ ู้เป็นปุถุชน ด้วยคิดวา่ ‘ท่านผู้
นน้ั ได้ฟังพระปาตโิ มกขอทุ เทส เราไม่ไดฟ้ ังพระปาตโิ มกขอุทเทสนั้น’ ดงั นี้
‘โส อ เฺ ปพพฺ าเชต ิ อุปสมฺปาเทติ ชนิ สาสนํ วฑเฺ ฒติ, อหเมตํ น ลภาม ิ
กาตุน’ฺ ติ อรหติ อปุ าสโก โสตาปนโฺ น ภิกฺขุํ ปุถชุ ฺชน ํ อภวิ าเทต ํุ ปจจฺ ฏุ ฺ าตํุ ฯ
อบุ าสกผ้เู ป็นพระโสดาบนั ควรจะกราบไหว้ ลุกรบั ภกิ ษุผูเ้ ป็นปถุ ุชนด้วยคดิ ว่า ‘ท่านผู้
นนั้ ใหบ้ คุ คลอ่ืนบรรพชาอุปสมบทกไ็ ด้ ท�ำพระศาสนาของพระชนิ เจ้าให้เจรญิ ก็ได้ เราไมไ่ ด้
เพื่อจะท�ำกจิ นั้น’ ดังนี้
‘อปฺปมาเณส ุ โส สกิ ขฺ าปเทส ุ สมตตฺ การ,ี นาหํ เตส ุ วตฺตาม’ี ต ิ อรหต ิ อุปาสโก
โสตาปนฺโน ภิกขฺ ํุ ปถุ ชุ ฺชนํ อภิวาเทตํ ุ ปจฺจุฏฺ าตุํ ฯ
อบุ าสกผูเ้ ปน็ พระโสดาบันควรจะกราบไหว้ ลกุ รบั ภกิ ษุผู้เปน็ ปุถชุ น ด้วยคิดว่า ‘ทา่ นผู้
นัน้ เป็นผู้มปี กติท�ำให้เพียบพรอ้ มในสิกขาบททงั้ หลาย อันหาประมาณมิได้ เราไมไ่ ดป้ ระพฤติ
ในสิกขาบทเหล่านัน้ ’ ดงั น้ี
‘อุปคโต โส สมณลงิ คฺ ,ํ พุทธฺ าธิปฺปาเย โิ ต, เตนาห ํ ลิงเฺ คน ทูรมปคโต’ติ อรหต ิ
อุปาสโก โสตาปนฺโน ภกิ ฺข ุํ ปถุ ุชชฺ นํ อภวิ าเทต ํุ ปจจฺ ฏุ ฺ าตุํ ฯ
อบุ าสกผเู้ ปน็ พระโสดาบนั ควรจะกราบไหว้ ลุกรับภกิ ษุผเู้ ป็นปุถชุ น ด้วยคดิ วา่ ‘ทา่ นผู้
นั้น เข้าถงึ เพศสมณะ ด�ำรงอย่ใู นฐานะท่พี ระพทุ ธเจา้ ทรงประสงค์ เราห่างไกลจากเพศนน้ั ’
ดังน้ี
‘ปรูฬฺหกจฉฺ โลโม โส อน ชฺ ติ อมณฺฑิโต อนุลติ ตฺ สีลคนโฺ ธ, อหํ ปน มณฺฑน-
วิภูสนาภริ โต’ติ อรหติ อปุ าสโก โสตาปนฺโน ภิกขฺ ํุ ปถุ ชุ ชฺ น ํ อภิวาเทต ํุ ปจฺจุฏฺ าตํุ ฯ
อบุ าสกผเู้ ปน็ พระโสดาบนั ควรจะกราบไหว้ ลกุ รบั ภกิ ษผุ ู้เปน็ ปุถุชนด้วยคดิ วา่ ‘ทา่ นผู้

กณั ฑ]์ ๔.๓ ปณามติ วรรค 391

นั้น ไมป่ ลอ่ ยขนรกั แร้ยาวรงุ รัง ไม่หยอดตา ไม่ประดับประดา เปน็ ผู้ลบู ไลด้ ว้ ยกลิน่ ศีล สว่ นเรา
ยังยนิ ดใี นการประดบั การตกแต่ง’ ดังนี้
อปจิ มหาราช ‘เย เต วีสต ิ สมณกรณา ธมฺมา เทวฺ จ ลิงฺคานิ, สพเฺ พเปเต
ธมมฺ า ภกิ ฺขสุ ฺส สํวิชชฺ นตฺ ,ิ โสเยว เต ธมฺเม ธาเรติ, อ ฺเ ปิ ตตถฺ สกิ ฺขาเปต,ิ โส เม
อาคโม สกิ ขฺ าปน จฺ นตฺถี’ต ิ อรหต ิ อุปาสโก โสตาปนฺโน ภกิ ขฺ ุํ ปุถุชชฺ น ํ อภวิ าเทต ํ ุ
ปจฺจฏุ ฺ าตํุ ฯ
ขอถวายพระพร อกี อยา่ งหนง่ึ อบุ าสกผู้เป็นพระโสดาบนั ควรจะกราบไหว้ ลกุ รับภิกษุ
ผู้เปน็ ปุถชุ น ด้วยคดิ วา่ ‘ธรรมอันเปน็ เครื่องสร้างความเป็นสมณะ ๒๐ อยา่ ง และเพศ ๒ อยา่ ง
เหล่าใด ธรรมเหลา่ น้นั แมท้ ง้ั หมด ย่อมมแี ก่ภิกษุ ก็พระภิกษนุ ้นั นั่นแหละ ทรงธรรมเหล่าน้ันไว้
ได้ ทงั้ ยงั ให้บุคคลเหลา่ อืน่ ไดศ้ ึกษาในธรรมเหล่านนั้ กแ็ ต่วา่ พระปริยตั ิและการให้การศึกษา
ของเรานั้น กไ็ มม่ ี’ ดงั น้ี
ยถา มหาราช ราชกมุ าโร ปโุ รหติ สสฺ สนฺติเก วิชชฺ ํ อธยี ติ, ขตตฺ ิยธมฺม ํ สิกฺขต,ิ โส
อปเรน สมเยน อภสิ ิตโฺ ต อาจรยิ ํ อภิวาเทต ิ ปจฺจุฏเฺ ต ิ ‘สกิ ฺขาปโก เม อยน’ฺ ติ,
เอวเมว โข มหาราช ‘ภิกฺขุ สกิ ขฺ าปโก วสํ ธโร’ต ิ อรหติ อุปาสโก โสตาปนโฺ น ภิกขฺ ุ ํ
ปถุ ุชฺชน ํ อภวิ าเทตุํ ปจฺจุฏ ฺ าตํุ ฯ
ขอถวายพระพร เปรยี บเหมือนวา่ พระราชกมุ ารทรงเรยี นวิชา ทรงศึกษาขตั ตยิ ธรรม
ในส�ำนักของปุโรหติ ในสมยั ตอ่ มา พระราชกุมารน้ันแม้ทรงไดร้ ับการอภเิ ษกแล้ว ก็ยงั ทรง
กราบไหว้ ลุกรับอาจารย์ ดว้ ยคิดว่า ‘ท่านผนู้ เี้ ปน็ ผใู้ ห้การศกึ ษาแกเ่ รา’ ดงั น้ี ฉันใด ขอถวาย
พระพร อบุ าสกผเู้ ปน็ พระโสดาบนั กค็ วรจะกราบไหว้ ลุกรับภกิ ษผุ ้เู ปน็ ปุถชุ น ดว้ ยคิดวา่ ‘พระ
ภิกษุเป็นผู้ให้คนทัง้ หลายได้ศกึ ษา ทรงวงศ์ (ของพระศาสดา) ไว้’ ดงั นี้ ฉันน้นั เหมือนกนั แล
อปิจ มหาราช อิมินาเปตํ ปริยาเยน ชานาห ิ ภิกขฺ ภุ ูมิยา มหนตฺ ตํ อสมวิปุลภาวํ ฯ
ยท ิ มหาราช อุปาสโก โสตาปนโฺ น อรหตตฺ ํ สจฺฉกิ โรต,ิ เทฺวว ตสสฺ คติโย
ภวนฺต ิ อน ฺ า ตสฺมเึ ยว ทวิ เส ปรินิพพฺ าเยยฺย วา, ภกิ ฺขุภาว ํ วา อปุ คจฺเฉยฺย ฯ อจลา
หิ สา มหาราช ปพฺพชฺชา, มหต ี อจจฺ ุคคฺ ตา, ยททิ ํ ภิกขฺ ุภมู ’ี ’ติ ฯ
ขอถวายพระพร อกี อยา่ งหนึง่ ขอพระองค์ทรงทราบเถดิ วา่ ‘ภูมภิ ิกษุมีความยิ่งใหญ่ มี
ความไพบลู ย์ ท่ีหาภูมฆิ ราวาสเสมอเหมอื นมิได้ โดยปรยิ ายนี้ ขอถวายพระพร คือข้อทีว่ ่า ถ้า
หากอุบาสกผู้เปน็ พระโสดาบัน กระท�ำพระอรหตั ผลใหแ้ จ้งได้ อุบาสกผเู้ ป็นพระโสดาบันน้นั

392 มิลินทปัญหาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปัญห

จะมคี ตอิ ยู่ ๒ อย่างเท่านั้น ไม่มีอย่างอน่ื คือ จะพงึ ปรินพิ พานในวนั นั้นนัน่ แหละ หรอื ต้องเข้า
ถงึ ความเปน็ ภกิ ษุ มหาบพติ ร กก็ ารบวชเปน็ ฐานะทไี่ ม่หวน่ั ไหว ภมู ิภกิ ษุนี้ จงึ จัดเปน็ ภมู ิท่ยี ่งิ
ใหญ่ สูงส่งยงิ่ นกั ”

‘‘ าณคโต ภนฺเต นาคเสน ป ฺโห สนุ พิ ฺเพ ิโต พลวตา อตพิ ุทฺธินา ตยา, นยิมํ
ป หฺ ํ สมตฺโถ อ โฺ เอวํ วินิเวเ ตุ ํ อ ฺ ตรฺ ตวาทเิ สน พทุ ธฺ ิมตา’’ติ ฯ
พระเจา้ มิลินท์ตรัสว่า “พระคุณเจ้านาคเสน ปญั หาทีต่ อ้ งใช้ก�ำลังญาณ ตัวทา่ นผู้มี
ก�ำลัง มีความร้ยู ิ่ง ได้คลี่คลายแลว้ เวน้ ผมู้ คี วามรู้เชน่ ทา่ นแล้ว ผู้อ่นื ไมอ่ าจเพอ่ื จะเปลอื้ งปัญหา
อย่างนไี้ ด้”

เสฏ€ฺ ธมมฺ ปญฺโห ป€โม ฯ
จบเสฏฐธรรมปญั หาข้อท่ี ๑

________

๒. สพพฺ สตตฺ หติ ผรณปญฺห
๒. สพั พสัตตหติ ผรณปัญหา
ปัญหาว่าด้วยการที่พระตถาคตทรงแผป่ ระโยชนเ์ กอื้ กลู ไปแก่สรรพสัตว์
[๒] ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน ตมุ ฺเห ภณถ ‘ตถาคโต สพฺพสตตฺ านํ อหิตมปเนตวฺ า หติ -
มปุ ทหตี’ติ ฯ ปนุ จ ภณถ ‘อคคฺ กิ ฺขนฺธูปเม ธมฺมปริยาเย ภ ฺ มาเน สฏ ฺ มิ ตฺตาน ํ ภิกขฺ ูน ํ
อุณหฺ ํ โลหิตํ มุขโต อคุ คฺ ตนฺ’ติ ฯ อคฺคิกขฺ นธฺ ปู มํ ภนฺเต ธมฺมปริยาย ํ เทเสนฺเตน ตถาคเตน
สฏฺ มิ ตฺตานํ ภกิ ฺขูนํ หิตมปเนตฺวา อหติ มปุ ทหิตํ ฯ ยท ิ ภนเฺ ต นาคเสน ตถาคโต สพฺพ-
สตฺตาน ํ อหิตมปเนตวฺ า หิตมปุ ทหต,ิ เตนหิ อคฺคกิ ขฺ นฺธปู เม ธมฺมปริยาเย ภ ฺ มาเน
สฏ ฺ มิ ตฺตาน ํ ภิกขฺ นู ํ อณุ ฺหํ โลหิต ํ มขุ โต อคุ คฺ ตนตฺ ิ ย ํ วจนํ, ต ํ มิจฉฺ า ฯ ยทิ อคคฺ กิ -ฺ
ขนธฺ ูปเม ธมมฺ ปรยิ าเย ภ ฺ มาเน สฏ ฺ มิ ตฺตานํ ภกิ ฺขูน ํ อณุ หฺ ํ โลหติ ํ มุขโต อุคคฺ ตํ, เตนห ิ
ตถาคโต สพฺพสตฺตาน ํ อหติ มปเนตวฺ า หิตมปุ ทหตีต ิ ตมปฺ ิ วจนํ มจิ ฉฺ า ฯ อยมฺป ิ อุภโต
โกฏิโก ป โฺ ห ตวานุปปฺ ตฺโต, โส ตยา นพิ พฺ าหติ พฺโพ’’ติ ฯ
[๒] พระเจา้ มิลินทต์ รสั ว่า “พระคุณเจา้ นาคเสน พวกทา่ นกลา่ วกันวา่ ‘พระตถาคต
ทรงขจัดส่งิ ท่ีไม่เปน็ ประโยชน์เกอ้ื กูล ทรงจดั แจงแตป่ ระโยชนเ์ กอื้ กลู แกส่ รรพสตั ว’์ และ(ทา่ น
พระอานนท์) ยังกลา่ วไวอ้ ีกว่า ‘เมื่อพระผ้มู พี ระภาคเจ้าตรสั ธรรมปรยิ าย อันมีอุปมาดว้ ยกอง

กัณฑ์] ๔.๓ ปณามิตวรรค 393

ไฟอยู่ โลหิตรอ้ น ๆ กพ็ ุ่งออกจากปากของภิกษปุ ระมาณ ๖๐ รปู ’ ดงั นี้ พระคณุ เจา้ พระตถาคต
เม่ือทรงแสดงธรรมปริยายอนั มอี ปุ มาด้วยกองไฟ กเ็ ป็นอนั วา่ ‘พระตถาคตทรงขจดั สิ่งทีเ่ ปน็
ประโยชนเ์ กอ้ื กลู ทรงจัดแจงส่ิงทีไ่ มเ่ ปน็ ประโยชน์เกื้อกลู แก่ภกิ ษปุ ระมาณ ๖๐ รูป พระคณุ เจา้
นาคเสน ถ้าหากวา่ พระตถาคตทรงขจดั สงิ่ ท่ไี มเ่ ปน็ ประโยชน์เก้อื กูล ทรงจัดแจงสง่ิ ท่ีเปน็
ประโยชน์แกส่ รรพสตั วแ์ ล้วไซร้ ถา้ อย่างน้ัน ค�ำทีว่ า่ ‘เมื่อพระผู้มีพระภาคเจา้ ทรงแสดงธรรม
ปรยิ ายมีอุปมาด้วยกองไฟอยู่ โลหติ ร้อน ๆ ก็พ่งุ ออกจากปากของภิกษุประมาณ ๖๐ รูป’ ดังน้ี
กเ็ ปน็ ค�ำท่ผี ดิ ถา้ หากว่า ‘เมือ่ พระผู้มีพระภาคเจา้ ตรัสธรรมปริยายอันมีอุปมาดว้ ยกองไฟอยู่
โลหติ ร้อน ๆ กท็ ะลักออกมาจากปากของภกิ ษปุ ระมาณ ๖๐ รปู ’ จริงไซร้ ถา้ อยา่ งน้นั ค�ำท่ีว่า
‘พระตถาคตทรงขจดั ส่ิงทไ่ี มเ่ ปน็ ประโยชน์เกอื้ กูล ทรงจัดแจงสิ่งท่เี ปน็ ประโยชน์เก้อื กลู แก่
สรรพสัตว์’ ดงั น้ี กเ็ ปน็ ค�ำทีผ่ ดิ ปัญหาน้มี ี ๒ เงือ่ น ตกถงึ แก่ท่านโดยล�ำดับแล้ว ขอท่านพึงชว่ ย
คลค่ี ลายปัญหาน้ันเถดิ ”
‘‘ตถาคโต มหาราช สพพฺ สตฺตาน ํ อหิตมปเนตวฺ า หติ มปุ ทหต,ิ อคคฺ ิกขฺ นธฺ ปู เม
ธมมฺ ปรยิ าเย ภ ฺ มาเน สฏ ฺ ิมตตฺ านํ ภิกฺขูนํ อุณฺหํ โลหิตํ มขุ โต อคุ ฺคต,ํ ต ฺจ ปน น
ตถาคตสฺส กเตน, เตสเํ ยว อตฺตโน กเตนา’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร พระตถาคตทรงขจดั ส่งิ ท่ไี ม่
เปน็ ประโยชน์เก้อื กูล ทรงจดั แจงสง่ิ ทีเ่ ป็นประโยชน์เกอื้ กลู แกส่ รรพสัตวท์ งั้ หลายจรงิ เมอื่ ตรสั
ธรรมปริยายอนั มีอุปมาดว้ ยกองไฟอยู่ โลหิตร้อน ๆ ก็พุ่งออกจากปากของภกิ ษุประมาณ ๖๐
รูป จรงิ กแ็ ตว่ า่ ขอ้ ทโี่ ลหติ รอ้ น ๆ พุ่งออกจากปากของภกิ ษุประมาณ ๖๐ รูปนน้ั มิได้มีเพราะ
การกระท�ำของพระตถาคต แตม่ เี พราะการกระท�ำของภิกษเุ หลา่ น้ันนั่นเอง”
‘‘ยทิ ภนเฺ ต นาคเสน ตถาคโต อคฺคกิ ขฺ นฺธูปม ํ ธมมฺ ปรยิ าย ํ น ภาเสยฺย, อปิ น ุ
เตส ํ อุณฺหํ โลหติ ํ มขุ โต อคุ ฺคจเฺ ฉยฺยาต,ิ
พระเจ้ามลิ นิ ทต์ รัสว่า “พระคุณเจา้ นาคเสน ถ้าหากวา่ พระตถาคตไมต่ รสั ธรรมปรยิ าย
อนั มอี ปุ มาด้วยกองไฟไซร้ ภิกษุเหลา่ นน้ั จะมโี ลหิตร้อน ๆ พงุ่ ออกจากปากหรือหนอ ?”
“น หิ มหาราช มิจฺฉาปฏปิ นนฺ าน ํ เตส ํ ภควโต ธมมฺ ปรยิ ายํ สตุ วฺ า ปรฬิ าโห
กาเย อปุ ปฺ ชชฺ ิ, เตน เตสํ ปรฬิ าเหน อุณหฺ ํ โลหิตํ มขุ โต อคุ ฺคตนฺ’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “หามไิ ด้หรอก มหาบพติ ร ภกิ ษเุ หล่านั้นปฏิบัติมชิ อบ พอ
ฟงั ธรรมปริยายของพระผ้มู พี ระภาคเจ้า จงึ เกิดความรอ้ นรุม่ ข้นึ ในกาย เพราะความรอ้ นรมุ่ น้ัน

394 มิลินทปัญหาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปญั ห

ภิกษุเหลา่ นั้น จึงเกดิ โลหติ รอ้ น ๆ พุง่ ออกจากปาก”
‘‘เตนหิ ภนฺเต นาคเสน ตถาคตสเฺ สว กเตน เตสํ อุณฺห ํ โลหติ ํ มขุ โต อคุ ฺคตํ,
ตถาคโตเยว ตตถฺ อธิกาโร เตส ํ นาสนาย, ยถา นาม ภนฺเต นาคเสน อหิ วมฺมิก ํ
ปวเิ สยยฺ , อถ ฺ ตโร ปํสกุ าโม ปุรโิ ส วมฺมิก ํ ภินทฺ ติ วฺ า ปสํ ุํ หเรยฺย, ตสฺส ปสํ ุหรเณน
วมฺมกิ สฺส สุสริ ํ ปทิ เหยยฺ , อถ ตตเฺ ถว โส อสฺสาส ํ อลภมาโน มเรยฺย, นน ุ โส ภนเฺ ต
อห ิ ตสฺส ปรุ ิสสสฺ กเตน มรณปปฺ ตฺโต’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลนิ ทต์ รัสว่า “ถ้าอย่างนัน้ นะ พระคุณเจ้านาคเสน ภกิ ษเุ หลา่ นัน้ เกิดมโี ลหติ
ร้อน ๆ พงุ่ ออกจากปาก เพราะการกระท�ำของพระตถาคต ในเร่ืองนน้ั พระตถาคตนนั่ แหละที่
เปน็ ผ้ทู รงจัดแจงใหภ้ ิกษเุ หล่านนั้ พินาศ พระคุณเจา้ นาคเสน เปรียบเหมอื นวา่ งูตัวหนึง่ เลอื้ ย
เขา้ ไปในจอมปลวก ต่อมามีบรุ ุษผู้หนึง่ ต้องการผงคลีดิน จึงท�ำลายจอมปลวก แลว้ โกยเอา
ผงคลีดินไป เพราะการท่ีบรุ ษุ ผนู้ นั้ โกยเอาผงคลีดินไป กไ็ ปปดิ โพลงของจอมปลวก เม่ือเป็น
เช่นนั้น งตู ัวนั้น เมื่อหายใจไม่ได้ ก็ตายในทนี่ น้ั น่นั แหละ พระคณุ เจ้า งตู วั นั้นถงึ แก่ความตาย
เพราะการกระท�ำของบุรุษคนนั้น มิใชห่ รอื ?”
‘‘อาม มหาราชา’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ใช่ มหาบพิตร”
‘‘เอวเมว โข ภนเฺ ต นาคเสน ตถาคโตเยว ตตฺถ อธิกาโร เตสํ นาสนายา’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ นิ ท์ตรัสว่า “พระคุณเจา้ นาคเสน กเ็ หมือนกนั อย่างนนั้ น่ันแหละ ในเรอ่ื งน้ัน
พระตถาคตนั่นแหละ ทรงเปน็ ผู้จัดแจงใหภ้ ิกษเุ หล่านั้นพนิ าศ”
‘‘ตถาคโต มหาราช ธมมฺ ํ เทสยมาโน อนนุ ยปปฺ ฏฆิ ํ น กโรต,ิ อนุนยปปฺ ฏิฆ-
วิปปฺ มตุ ฺโต ธมฺมํ เทเสติ, เอวํ ธมฺเม เทสยี มาเน เย ตตฺถ สมฺมาปฏปิ นฺนา, เต พุชฺฌนตฺ ิ
ฯ เย ปน มจิ ฺฉาปฏิปนฺนา, เต ปตนฺติ ฯ ยถา มหาราช ปรุ สิ สฺส อมพฺ ํ วา ชมฺพํุ วา
มธกุ ํ วา จาลยมานสสฺ ยานิ ตตถฺ ผลาน ิ สารานิ ทฬฺหพนฺธนาน,ิ ตาน ิ ตตฺเถว อจฺจุตาน ิ
ตฏิ ฺ นตฺ ,ิ ยานิ ตตถฺ ผลานิ ปูติวณฺฏมูลานิ ทพุ ฺพลพนฺธนานิ, ตาน ิ ปตนฺติ ฯ เอวเมว โข
มหาราช ตถาคโต ธมมฺ ํ เทสยมาโน อนุนยปปฺ ฏิฆํ น กโรติ, อนุนยปปฺ ฏฆิ วิปปฺ มตุ โฺ ต ธมมฺ ํ
เทเสต,ิ เอวํ ธมฺเม เทสยี มาเน เย ตตถฺ สมมฺ าปฏิปนนฺ า, เต พชุ ฺฌนตฺ ิ ฯ เย ปน
มิจฉฺ าปฏปิ นฺนา, เต ปตนฺติ ฯ

กัณฑ]์ ๔.๓ ปณามติ วรรค 395

พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร พระตถาคตเมอื่ ทรงแสดง
ธรรม ยอ่ มไมท่ รงกระท�ำความยนิ ดี ยินรา้ ย ทรงเปน็ ผพู้ ้นจากความยนิ ดยี ินร้ายแสดงธรรม
เม่ือทรงแสดงธรรมไปโดยอาการอยา่ งนี้ ในบรรดาภกิ ษเุ หลา่ น้นั ภิกษุเหล่าใดเป็นผ้ปู ฏิบัติ
ชอบ ภกิ ษเุ หลา่ นั้น ยอ่ มตรัสรู้ สว่ นว่า ภกิ ษเุ หลา่ ใด เป็นผปู้ ฏิบัตมิ ิชอบ ภกิ ษเุ หลา่ น้ันยอ่ ม
พลาดตกไป ขอถวายพระพร เมอื่ บุรุษคนหน่ึง เขย่าตน้ มะม่วงก็ดี ต้นหวา้ กด็ ี ต้นมะซางกด็ ี ใน
บรรดาผลไมเ้ หลา่ นนั้ ผลเหลา่ ใด มนั่ คง มีขั้วแข็งแรง ผลไม้เหลา่ นั้น กย็ ังคงตดิ อยทู่ ่ตี ้นนั้นน่ัน
แหละ ไมต่ กหล่น ในบรรดาผลไมเ้ หล่านั้น ผลเหลา่ ใด มโี คนก้านเน่า มีขั้วออ่ นแอ ผลไมเ้ หล่า
นน้ั ย่อมตกหลน่ ฉนั ใด ขอถวายพระพร พระตถาคตเมื่อทรงแสดงธรรม ย่อมไมท่ รงกระท�ำ
ความยนิ ดียนิ รา้ ย ทรงเปน็ ผพู้ น้ จากความยนิ ดยี นิ รา้ ยแสดงธรรม เมอ่ื ทรงแสดงธรรมอยโู่ ดย
อาการอยา่ งน้ี ในบรรดาภิกษุเหลา่ น้ัน ภกิ ษเุ หล่าใด เป็นผปู้ ฏิบัติชอบ ภิกษุเหล่านน้ั ย่อม
ตรัสรู้ ส่วนภิกษเุ หล่าใด เป็นผู้ปฏิบัติมิชอบ ภกิ ษเุ หลา่ นั้น ย่อมพลาดตกไป ฉันนนั้ เหมือนกัน
‘‘ยถา วา ปน มหาราช กสฺสโก ธ ฺ ํ โรเปตุกาโม เขตฺต ํ กสต,ิ ตสฺส กสนฺตสสฺ
อเนกสตสหสสฺ าน ิ ติณาน ิ มรนตฺ ิ ฯ เอวเมว โข มหาราช ตถาคโต ปริปกกฺ มานเส สตเฺ ต
โพเธนฺโต อนุนยปฺปฏิฆวปิ ปฺ มุตฺโต ธมฺมํ เทเสต,ิ เอวํ ธมฺเม เทสยี มาเน เย ตตฺถ
สมฺมาปฏปิ นฺนา, เต พุชฺฌนฺติ ฯ เย ปน มจิ ฉฺ าปฏิปนฺนา, เต ตณิ าน ิ วิย มรนตฺ ิ ฯ
ขอถวายพระพร อีกอย่างหน่งึ เปรียบเหมอื นว่า ชาวนา ต้องการปลูกข้าว จงึ ไถนา
เมอ่ื ชาวนาผู้นน้ั ก�ำลงั ไถนาอยู่ ตน้ หญ้าหลายแสนตน้ กต็ ายไป ฉันใด ขอถวายพระพร พระ
ตถาคตเม่อื จะทรงโปรดสตั ว์ทงั้ หลาย ผมู้ ใี จสกุ งอม (มอี ินทรยี แ์ กก่ ล้า) ใหไ้ ด้ตรัสรู้ ก็ทรงเปน็ ผู้
พน้ จากความยนิ ดยี ินรา้ ย แสดงธรรม เม่ือทรงแสดงธรรมโดยอาการอย่างนี้ ในบรรดาภิกษุ
เหล่านนั้ ภิกษุเหลา่ ใดเป็นผู้ปฏบิ ัตชิ อบ ภกิ ษเุ หล่าน้ันยอ่ มตรัสรู้ ส่วนวา่ ภิกษเุ หล่าใดเป็นผู้
ปฏิบตั ผิ ิด ภกิ ษเุ หลา่ นน้ั กย็ ่อมตายไปเหมอื นหญา้ ฉนั นัน้ เหมือนกัน
‘‘ยถา วา ปน มหาราช มนสุ ฺสา รสเหตุ ยนฺเตน อุจฺฉุํ ปีฬยนฺต,ิ เตสํ อจุ ฺฉ ุํ
ปฬี ยมานาน ํ เย ตตถฺ ยนตฺ มุขคตา กมิ โย, เต ปีฬิยนตฺ ิ ฯ เอวเมว โข มหาราช ตถาคโต
ปรปิ กฺกมานเส สตฺเต โพเธนฺโต ธมฺมยนตฺ มภิปีฬยต,ิ เย ตตฺถ มจิ ฉฺ าปฏปิ นฺนา, เต กิม ี
วยิ มรนฺตี’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร อกี อย่างหนึง่ เปรยี บเหมือนว่า มนษุ ย์ทั้งหลายย่อมใช้แป้นยนต์ค้นั
อ้อย เพราะเหตแุ หง่ รส เมือ่ มนษุ ยเ์ หล่านั้นก�ำลงั ค้นั อ้อยไป กไ็ ปบีบเอาหมูห่ นอนทีไ่ ต่อยู่บน

396 มลิ ินทปญั หาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปัญห

หนา้ แปน้ ยนต์ ฉันใด ขอถวายพระพร พระตถาคตเม่อื จะทรงโปรดสัตว์ทั้งหลายผู้มีใจสกุ งอม
(มีอินทรีย์แก่กล้า) ใหไ้ ด้ตรสั รู้ กท็ รงใช้แปน้ ยนต์ คอื ธรรมเทศนาบบี ค้นั เอา ฉะนน้ั ในบรรดา
ภิกษุเหลา่ น้ัน ภิกษเุ หล่าใด เปน็ ผปู้ ฏิบตั ิผดิ ภกิ ษุเหล่านนั้ กย็ อ่ มตายไปเหมือนหมหู่ นอน ฉนั
นนั้ เหมอื นกันแล”
‘‘นน ุ ภนฺเต นาคเสน เต ภกิ ฺข ู ตาย ธมมฺ เทสนาย ปติตา’’ติ ?
พระเจา้ มลิ ินทต์ รสั วา่ “พระคณุ เจ้านาคเสน ภกิ ษเุ หล่าน้นั พลาดตกไป เพราะธรรม
เทศนาน้นั มิใช่หรือ ?”
‘‘อปิ น ุ โข มหาราช ตจฉฺ โก รุกฺขํ ตจฉฺ นโฺ ต อชุ กุ ํ ปริสทุ ฺธ ํ กโรตี’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร เปรียบเหมอื นว่า ช่างถาก เม่ือจะถาก
ไม้ ย่อมท�ำไมใ้ ห้ตรง ท�ำให้เกลย้ี งเกลาได้ (ท้งั นน้ั ) หรือ ?”
‘‘น หิ ภนเฺ ต วชฺชนยี ํ อปเนตวฺ า ตจฺฉโก รกุ ฺขํ อุชุกํ ปริสทุ ธฺ ํ กโรต’ี ’ติ ฯ
พระเจา้ มิลนิ ท์ตรสั ว่า “หามิได้ พระคณุ เจ้า ช่างถากจะคดั เอาส่วนทีค่ วรเวน้ ออกไป
แล้วจงึ จะท�ำไมใ้ ห้ตรง ท�ำใหเ้ กลย้ี งเกลาได”้
‘‘เอวเมว โข มหาราช ตถาคโต ปริส ํ รกขฺ นโฺ ต น สกโฺ กต ิ อโพธนเี ย สตฺเต
โพเธตุํ, มจิ ฺฉาปฏปิ นเฺ น ปน สตเฺ ต อปเนตวฺ า โพธเนยเฺ ย สตฺเต โพเธต,ิ อตตฺ กเตน ปน
เต มหาราช มิจฉฺ าปฏิปนฺนา ปตนฺติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร กเ็ หมือนกนั อยา่ งนั้นนั่นแหละ พระ
ตถาคตเม่อื จะทรงรักษาบริษทั ไม่ทรงอาจท�ำสัตวผ์ ไู้ ม่สามารถตรัสรู้ใหต้ รัสรไู้ ด้ แตว่ ่าจะทรง
น�ำสตั ว์ผูป้ ฏบิ ัตผิ ดิ ทงั้ หมดออกไป โปรดแตส่ ัตว์ผูส้ ามารถจะตรสั รู้ได้เทา่ นัน้ ให้ได้ตรสั รู้ ขอ
ถวายพระพร ภิกษผุ ปู้ ฏิบัติผดิ เหล่านั้น ย่อมพลาดตกไปเพราะการกระท�ำของตน
‘‘ยถา มหาราช กทลี เวฬ ุ อสฺสตรี อตตฺ เชน ห ฺ ต,ิ เอวเมว โข มหาราช เย
เต มจิ ฺฉาปฏปิ นนฺ า, เต อตตฺ กเตน ห ฺ นตฺ ิ ปตนฺติ ฯ
ขอถวายพระพร ตน้ กล้วย ไมไ้ ผ่ แม่ม้าอัสดร ยอ่ มถกู ฆา่ เพราะลกู ท่เี กดิ ในตนเอง
ฉันใด ขอถวายพระพร ภกิ ษุผูป้ ฏิบัตผิ ิดเหลา่ น้ันเหลา่ ใด ภิกษุเหลา่ น้นั ย่อมถกู ฆ่า คือยอ่ ม
พลาดตกไป เพราะการกระท�ำของตน ฉันนั้นเหมอื นกัน

กัณฑ์] ๔.๓ ปณามติ วรรค 397

‘‘ยถา มหาราช โจรา อตฺตกเตน จกขฺ ปุ ฺปาฏนํ สลู าโรปน ํ สสี จเฺ ฉทน ํ ปาปณุ นตฺ ,ิ
เอวเมว โข มหาราช เย เต มิจฺฉาปฏปิ นนฺ า, เต อตฺตกเตน ห ฺ นตฺ ิ ปตนตฺ ิ ฯ เยส ํ
มหาราช สฏ ฺ มิ ตตฺ านํ ภิกขฺ นู ํ อุณฺหํ โลหิตํ มุขโต อคุ ฺคต,ํ เตส ํ ตํ เนว ภควโต กเตน, น
ปเรสํ กเตน, อถ โข อตตฺ โนเยว กเตน ฯ
ขอถวายพระพร พวกโจรถูกควกั ลกู ตา ถกู เสียบด้วยหลาว ถกู ตัดศีรษะเพราะการกระ
ท�ำของตน ฉนั ใด ขอถวายพระพร ภิกษุเหล่าใดปฏบิ ตั ผิ ดิ ภกิ ษเุ หล่านนั้ กถ็ ูกฆ่าคือพลาด
ตกไป เพราะการกระท�ำของตน ฉนั นนั้ เหมือนกนั ขอถวายพระพร ภกิ ษุประมาณ ๖๐ รปู เหลา่
นน้ั เกดิ มีโลหติ รอ้ น ๆ พงุ่ ออกจากปาก ขอ้ ท่ภี ิกษเุ หลา่ น้ันมีโลหิตร้อนๆ พุ่งออกจากปากน้ัน
หาเปน็ เพราะการกระท�ำของพระผู้มพี ระภาคเจ้าไม่ หาเป็นเพราะการกระท�ำของคนเหล่าอ่ืน
ไม่ ที่แท้ เป็นเพราะการกระท�ำของตนเองนัน่ แหละ
‘‘ยถา มหาราช ปรุ โิ ส สพพฺ ชนสสฺ อมต ํ ทเทยฺย, เต ต ํ อมตํ อสิตฺวา อโรคา
ทีฆายุกา สพพฺ ตี ิโต ปรมิ ุจฺเจยยฺ ,ํุ อถ ฺ ตโร ปรุ โิ ส ทรุ ปุ จาเรน ตํ อสติ วฺ า มรณ ํ
ปาปุเณยยฺ , อปิ นุ โข โส มหาราช อมตทายโก ปุริโส ตโตนิทาน ํ กิ ฺจิ อปุ ฺ ํ
อาปชเฺ ชยยฺ า’’ติ ?
ขอถวายพระพร เปรียบเหมอื นบุรษุ คนหนงึ่ ใหย้ าอมตะแกช่ นทกุ คน คนเหล่านนั้ กนิ
ยาอมตะแล้ว กเ็ ปน็ ผไู้ ม่มีโรค มอี ายุยืน พน้ จากเสนียดจญั ไรทัง้ ปวง ตอ่ มา มีบุรษุ คนใด
คนหนึง่ ด่มื ยาอมตะนนั้ โดยผดิ วธิ ีการ แลว้ ถึงแก่ความตาย ขอถวายพระพร บรุ ุษผ้ใู ห้ยาอมตะ
นัน้ พงึ ได้บาปอะไร ๆ เพราะเหตุทีไ่ ดใ้ ห้ยาอมตะแกค่ นนนั้ บ้างหรือไม่หนอ ?”
‘‘น หิ ภนเฺ ต’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ นิ ทต์ รัสวา่ “หามิได้ พระคุณเจา้ ”
‘‘เอวเมว โข มหาราช ตถาคโต ทสสหสฺสิยา โลกธาตยุ า เทวมนุสสฺ านํ อมตํ
ธมฺมทาน ํ เทติ, เย เต สตฺตา ภพฺพา, เต ธมมฺ ามเตน พุชฌฺ นฺติ ฯ เย ปน เต สตฺตา
อภพพฺ า, เต ธมฺมามเตน ห ฺ นฺต ิ ปตนตฺ ิ ฯ โภชนํ มหาราช สพฺพสตตฺ านํ ชวี ติ ํ รกขฺ ต,ิ
ตเมกจฺเจ ภุ ฺชิตฺวา วสิ ูจกิ าย มรนฺติ, อปิ นุ โข โส มหาราช โภชนทายโก ปรุ ิโส
ตโตนิทาน ํ ก ิ ฺจ ิ อป ุ ฺ ํ อาปชเฺ ชยฺยา’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร ก็เหมอื นกันอยา่ งนนั้ นน่ั แหละ พระ
ตถาคตก็ทรงมอบธรรมทานเป็นยาอมตะแก่พวกเทวดาและมนุษย์ท้ังหลายในหม่ืนโลกธาตุ

398 มลิ นิ ทปัญหาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปัญห

สัตว์ท้งั หลายเหลา่ ใดเปน็ ภัพพสตั ว์ (สตั ว์ผสู้ มควรจะตรสั รู้) สัตวเ์ หล่านัน้ ก็ยอ่ มตรัสรธู้ รรมได้
สว่ นสตั วเ์ หลา่ ใดเปน็ ผู้อาภพั สตั ว์เหลา่ น้ันก็ย่อมถกู ธรรมเทศนาฆา่ ตาย คอื พลาดตกไปจาก
อมตธรรมนั้น ขอถวายพระพร อาหารย่อมรักษาชีวิตของสตั ว์ทง้ั หลายทั้งปวงไว้ สตั ว์บาง
จ�ำพวกบริโภคอาหารน้ัน แล้วกต็ ายเพราะโรคลงท้อง ขอถวายพระพร บรุ ษุ ผใู้ หอ้ าหารนน้ั พงึ
ได้บาปอะไรๆ เพราะเหตทุ ไ่ี ด้ให้อาหารนนั้ บ้างหรอื หนอ ?”

‘‘น ห ิ ภนฺเต’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ ินทต์ รัสว่า “หามไิ ด้ พระคณุ เจ้า”

‘‘เอวเมว โข มหาราช ตถาคโต ทสสหสสฺ ิยา โลกธาตุยา เทวมนุสสฺ าน ํ อมต ํ
ธมฺมทานํ เทติ, เย เต สตตฺ า ภพฺพา, เต ธมฺมามเตน พุชฌฺ นฺติ ฯ เย ปน เต สตตฺ า
อภพฺพา, เต ธมฺมามเตน ห ฺ นตฺ ิ ปตนฺต’ี ’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร ก็เหมอื นกันอยา่ งนน้ั นัน่ แหละ พระ
ตถาคตกท็ รงมอบธรรมทานท่ีเปน็ อมตะแก่เหล่าเทวดาและมนษุ ยใ์ นหมนื่ โลกธาตุ สัตว์เหล่า
ใดเปน็ ภพั พสัตว์ สตั วเ์ หลา่ นัน้ ก็ย่อมตรสั รู้ เพราะอาหารอมตะคอื พระธรรมเทศนา ส่วนสัตว์
เหลา่ ใดเป็นผูอ้ าภพั สัตว์เหล่านนั้ กถ็ ูกอาหารอมตะคือพระธรรมเทศนานนั้ ท�ำให้ตาย คือ
พลาดตกไป (จากอาหารอมตะคอื พระธรรมเทศนาน้นั )”

‘‘สาธ ุ ภนฺเต นาคเสน เอวเมตํ ตถา สมฺปฏิจฺฉามี’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลินท์ตรสั ว่า “ดแี ลว้ พระคุณเจ้านาคเสน โยมขอยอมรับค�ำพดู ตามทที่ ่าน
กลา่ วมาแลว้ อย่างน้ี”

สพฺพสตฺตหติ ผรณปญโฺ ห ทุติโย ฯ
จบสัพพสตั ตหติ ผรณปัญหาขอ้ ที่ ๒

________

กณั ฑ์] ๔.๓ ปณามิตวรรค 399

๓. วตถฺ ุคยุ ฺหนทิ สสฺ นปญหฺ

๓. วตั ถคุ ยุ หนิทัสสนปญั หา

ปญั หาวา่ ด้วยการช้ีแจงถึงวตั ถุของลบั

[๓] ‘‘ภนฺเต นาคเสน ภาสติ มฺเปตํ ตถาคเตน –
‘‘กาเยน สวํ โร สาธ ุ สาธ ุ วาจาย สํวโร
มนสา สวํ โร สาธุ สาธุ สพฺพตฺถ สํวโร’ติ ฯ
[๓] พระเจ้ามลิ นิ ทต์ รสั ว่า “พระคณุ เจ้านาคเสน พระตถาคตทรงภาษิตความขอ้ นีไ้ ว้วา่
“ความส�ำรวมทางกาย เปน็ เหตทุ �ำประโยชน์ใหส้ �ำเรจ็ ความ
ส�ำรวมทางวาจา เป็นเหตุท�ำประโยชน์ใหส้ �ำเรจ็ ความส�ำรวม
ทางใจ เป็นเหตทุ �ำประโยชน์ให้ส�ำเร็จ ความส�ำรวมในทวารทง้ั
ปวง เป็นเหตทุ �ำประโยชนใ์ ห้ส�ำเร็จ”

‘‘ปุน จ ตถาคโต จตนุ ฺน ํ ปริสานํ มชฺเฌ นสิ ีทติ วฺ า ปรุ โต เทวมนุสฺสาน ํ เสลสสฺ
พฺราหฺมณสฺส โกโสหติ ํ วตถฺ คยุ ฺหํ ทสเฺ สสิ ฯ ยท ิ ภนฺเต นาคเสน ภควตา ภณิต ํ ‘กาเยน
สํวโร สาธ’ู ติ, เตนหิ เสลสฺส พฺราหฺมณสสฺ โกโสหติ ํ วตถฺ คุยหฺ ํ ทสเฺ สสีติ ยํ วจน,ํ ต ํ
มจิ ฺฉา ฯ ยท ิ เสลสฺส พฺราหฺมณสสฺ โกโสหติ ํ วตถฺ คยุ หฺ ํ ทสฺเสติ, เตนหิ ‘กาเยน
สํวโร สาธ’ู ต ิ ตมปฺ ิ วจนํ มิจฉฺ า ฯ อยมปฺ ิ อภุ โต โกฏิโก ป โฺ ห ตวานุปปฺ ตโฺ ต, โส ตยา
นพิ พฺ าหติ พโฺ พ’’ติ ฯ
และยงั มคี �ำกลา่ วไว้อกี ว่า ‘พระตถาคตประทับน่ังท่ามกลางบรษิ ทั ๔ ทรงแสดงพระ
วตั ถคุ ุยหะ (องคชาต) อนั ซ่อนอยใู่ นฝักแกเ่ สลพราหมณ์ ในที่เบื้องหนา้ ของเทวดาและมนุษย์
ทั้งหลาย’ ดังนี้ พระคุณเจ้านาคเสน ถา้ วา่ พระผ้มู พี ระภาคเจา้ ตรัสวา่ ‘ความส�ำรวมทางกาย
เปน็ เหตทุ �ำประโยชนใ์ ห้ส�ำเรจ็ ’ ดงั น้ี จริงไซร้ ถ้าอยา่ งนน้ั ค�ำทว่ี ่า ‘ทรงแสดงวตั ถุคุยหะอนั ซ่อน
อยูใ่ นฝักแกเ่ สลพราหมณ’์ ดังน้ี กย็ ่อมเป็นค�ำพูดทผี่ ิด ถา้ หากว่า ทรงแสดงพระวัตถคุ ุยหะอัน
ซอ่ นอยูใ่ นฝกั แก่เสลพราหมณ์ จริงไซร้ ถ้าอยา่ งน้ัน ค�ำทีว่ า่ ‘ความส�ำรวมทางกาย เป็นเหตุท�ำ
ประโยชนใ์ ห้ส�ำเร็จ’ ดงั นี้ ก็ยอ่ มเปน็ ค�ำท่ผี ดิ ปญั หาขอ้ นี้ มี ๒ เง่อื น ตกถึงแก่ทา่ นโดยล�ำดับ
แลว้ ขอทา่ นพงึ คล่ีคลายปญั หานนั้ เถดิ ”

400 มลิ ินทปัญหาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปัญห

‘‘ภาสิตมเฺ ปตํ มหาราช ภควตา ‘กาเยน สวํ โร สาธู’ต,ิ เสลสสฺ จ พรฺ าหฺมณสฺส
โกโสหติ ํ วตถฺ คุยฺห ํ ทสฺสติ ํ ฯ ยสสฺ โข มหาราช ตถาคเต กงขฺ า อุปปฺ นนฺ า, ตสสฺ
โพธนตถฺ าย ภควา อิทฺธยิ า ตปฺปฏภิ าคํ กายํ ทสฺเสต,ิ โสเยว ต ํ ปาฏหิ ารยิ ํ ปสสฺ ต’ี ’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร พระผูม้ พี ระภาคเจา้ ทรง
ภาษิตความขอ้ น้วี า่ ‘ความส�ำรวมทางกาย เปน็ เหตุท�ำประโยชน์ให้ส�ำเร็จ’ ดงั น้ี จรงิ และทรง
แสดงวัตถคุ ุยหะอนั ซ่อนอยู่ในฝกั แก่เสลพราหมณ์ จริง ขอถวายพระพร ผใู้ ดเกดิ ความสงสัยใน
องคพ์ ระตถาคต พระผูม้ พี ระภาคเจ้าก็จะทรงใชพ้ ระฤทธแ์ิ สดงพระกาย (อ่นื ) มีส่วนเหมือนกบั
พระวรกาย (จริง) นนั้ แกผ่ นู้ ัน้ เพ่ือให้เขาไดร้ ู้ (ได้หายสงสยั ) เขาเทา่ นั้น ยอ่ มเหน็ ปาฏหิ ารยิ ์
น้นั ได้”
‘‘โก ปเนตํ ภนเฺ ต นาคเสน สทฺทหิสฺสติ, ย ํ ปริสคโต เอโกเยว ตํ คุยฺหํ ปสสฺ ต,ิ
อวเสสา ตตเฺ ถว วสนตฺ า น ปสสฺ นตฺ ตี ิ ฯ องิ ฆฺ เม ตวฺ ํ ตตฺถ การณ ํ อปุ ทสิ , การเณน ม ํ
ส ฺ าเปห’ี ’ติ ฯ
พระเจ้ามิลนิ ทต์ รัสวา่ “พระคุณเจา้ นาคเสน ขอ้ ทที่ ่านกล่าววา่ ‘เขาผู้อยู่ทา่ มกลาง
บรษิ ัทคนเดยี วเท่าน้ัน ได้เห็นพระคยุ หะนั้น คนทีเ่ หลือซึง่ ก็อยู่ ณ สถานท่ีนัน้ เหมือนกนั กลบั
ไมเ่ หน็ ’ ดงั น้ี ใครเลา่ จกั เช่อื ถอื ได้ ในเร่อื งนัน้ ขอนมิ นตท์ า่ นช่วยช้แี จงถึงเหตผุ ลแก่โยมเถิด
ขอจงท�ำให้โยมเข้าใจด้วยเหตุผลเถดิ ”
‘‘ทฏิ ฺ ปุพฺโพ ปน ตยา มหาราช โกจิ พยฺ าธโิ ต ปุริโส ปรกิ ณิ ฺโณ าตมิ ติ เฺ ตหี’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร พระองค์เองเคยทรงทอดพระเนตรเหน็
คนเจ็บปว่ ยบางคนท่มี ญี าติมติ รทง้ั หลายหอ้ มลอ้ มหรอื ไม่ ?”
‘‘อาม ภนฺเต’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ นิ ทต์ รัสว่า “โยมเคยเหน็ พระคณุ เจ้า”
‘‘อป ิ นุ โข สา มหาราช ปรสิ า ปสฺสเตต ํ เวทน,ํ ยาย โส ปุริโส เวทนาย
เวทยต’ี ’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร บรุ ษุ ผูน้ ัน้ ได้เสวยเวทนาใด บรษิ ัทนั้น
ไดเ้ ห็นเวทนานัน้ ด้วยบา้ งหรือไม่ ?”

กณั ฑ์] ๔.๓ ปณามิตวรรค 401

‘‘น ห ิ ภนเฺ ต, อตฺตนาเยว โส ภนฺเต ปรุ โิ ส เวทยตี’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลินทต์ รัสวา่ “ไม่เหน็ หรอก พระคุณเจ้า บุรุษผูน้ ้ันยอ่ มเสวย (ทกุ ขเวทนา)
เฉพาะตนคนเดยี วเทา่ นั้น”
‘‘เอวเมว โข มหาราช ยสฺเสว ตถาคเต กงขฺ า อุปปฺ นฺนา, ตสฺเสว ตถาคโต
โพธนตถฺ าย อิทธฺ ิยา ตปฺปฏิภาคํ กายํ ทสเฺ สติ, โสเยว ต ํ ปาฏหิ าริย ํ ปสสฺ ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร กเ็ หมือนกันอยา่ งน้ันนน่ั แหละ ผู้ใดเกิด
ความสงสัยในองค์พระตถาคต พระตถาคตก็จะทรงใชพ้ ระฤทธิแ์ สดงพระกาย (อ่นื ) อนั มีส่วน
เหมือนกับพระวรกาย (จรงิ ) น้นั แก่ผู้น้ันเท่านั้น เพอื่ ให้เขาไดร้ ู้ (ได้หายสงสัย) เขาเทา่ น้ัน
ยอ่ มเห็นปาฏหิ ารยิ น์ นั้ ได้ ?”
‘‘ยถา วา ปน มหาราช ก ฺจิเทว ปรุ ิสํ ภูโต อาวิเสยฺย, อปิ น ุ โข สา มหาราช
ปรสิ า ปสสฺ ติ ตํ ภูตาคมนนฺ’’ติ ?
ขอถวายพระพร อกี อยา่ งหนึ่ง เปรียบเหมอื นวา่ ภตู เข้าสิงบรุ ษุ ไรๆ ขอถวายพระพร
บรษิ ัทนั้น ได้เหน็ การมาของภูตตนน้นั ด้วยบา้ งหรือไม่หนอ ?”
‘‘น ห ิ ภนเฺ ต โสเยว อาตโุ ร ตสฺส ภูตสฺส อาคมน ํ ปสฺสตี’’ติ ฯ
พระเจา้ มิลินท์ตรสั ว่า “หามไิ ด้ พระคุณเจ้า บรุ ุษคนนน้ั เท่านน้ั ผกู้ ระสับกระสา่ ย ย่อม
เห็นการมาของภตู ตนน้นั ”
‘‘เอวเมว โข มหาราช ยสฺเสว ตถาคเต กงขฺ า อปุ ฺปนนฺ า, ตสเฺ สว ตถาคโต
โพธนตถฺ าย อิทฺธิยา ตปฺปฏภิ าคํ กาย ํ ทสเฺ สต,ิ โสเยว ตํ ปาฏหิ าริย ํ ปสสฺ ตี’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร ก็เหมอื นกนั อยา่ งน้นั นน่ั แหละ เฉพาะผู้
ใดท่ีเกดิ ความสงสยั ในพระตถาคต พระตถาคตก็จะทรงใชพ้ ระฤทธแ์ิ สดงพระกาย (อนื่ ) อันมี
ส่วนเหมอื นกบั พระวรกาย (จริง) น้ัน แก่ผูน้ นั้ เทา่ นั้น เพ่อื ให้เขาได้รู้ (ไดห้ ายสงสยั ) เขาเทา่ นั้น
ย่อมเหน็ ปาฏหิ ารยิ ์นัน้ ได”้
‘‘ทกุ กฺ ร ํ ภนฺเต นาคเสน ภควตา กตํ, ยํ เอกสสฺ ป ิ อทสฺสนียํ, ต ํ ทสฺเสนเฺ ตนา’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ ินท์ตรัสว่า “พระคุณเจ้านาคเสน ข้อท่ที รงแสดงสิ่งทใ่ี คร ๆ แมส้ กั คนหนงึ่ ไม่
อาจเห็นได้ จัดวา่ เปน็ อนั พระผู้มพี ระภาคเจา้ ไดก้ ระท�ำสงิ่ ทีท่ �ำไดย้ าก”

402 มิลนิ ทปัญหาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปัญห

‘‘น มหาราช ภควา คุยฺห ํ ทสเฺ สสิ, อิทฺธิยา ปน ฉาย ํ ทสเฺ สส’ี ’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร พระผ้มู ีพระภาคเจ้ามิได้ทรงแสดงพระ
คุยหะ (ของจรงิ ) หรอก แตว่ ่า ทรงใช้พระฤทธิแ์ สดงเพยี งพระฉายา”
‘‘ฉายายป ิ ภนฺเต ทฏิ ฺ าย ทฏิ ฺ ํเยว โหต ิ คุยหฺ ,ํ ย ํ ทสิ ฺวา นิฏ ฺ ํ คโต’’ติ ฯ
พระเจา้ มิลินทต์ รสั ว่า “พระคุณเจ้า เม่ือเขาไดเ้ ห็นพระฉายาแล้ว ก็นับวา่ เปน็ อันได้เหน็
พระคุยหะจรงิ นั่นแหละ เพราะพอเหน็ แล้วก็ปลงใจได้ (สนิ้ สงสัย)”
‘‘ทกุ กฺ ร จฺ าป ิ มหาราช ตถาคโต กโรติ โพธเนยเฺ ย สตฺเต โพเธตํุ ฯ ยท ิ มหาราช
ตถาคโต กิรยิ ํ หาเปยฺย, โพธเนยยฺ า สตตฺ า น พชุ ฺเฌยยฺ ุํ ฯ ยสฺมา จ โข มหาราช
โยค ฺ ู ตถาคโต โพธเนยเฺ ย สตเฺ ต โพเธตํ,ุ ตสฺมา ตถาคโต เยน เยน โยเคน
โพธเนยยฺ า พุชฌฺ นฺติ, เตน เตน โยเคน โพธเนยเฺ ย โพเธติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร พระตถาคตทรงกระท�ำสงิ่ ทที่ �ำไดย้ าก
อยา่ งหนง่ึ คือ การทที่ รงโปรดสัตว์ผู้อาจโปรดให้รู้ได้ ให้ได้รู้ ขอถวายพระพร ถ้าหากว่าพระ
ตถาคตทรงเลกิ ละการกระท�ำ (การโปรดสตั วใ์ ห้รู้) สัตวท์ ั้งหลายผู้อาจโปรดใหร้ ้ไู ด้ กไ็ ม่อาจจะ
รู้ได้ ขอถวายพระพร ก็เพราะเหตทุ ี่พระตถาคตทรงเป็นผู้ร้จู ักวธิ กี าร ทีจ่ ะโปรดสตั วผ์ ู้อาจโปรด
ใหร้ ไู้ ด้ ใหไ้ ดร้ ู้ สตั วท์ ้งั หลายผ้อู าจโปรดให้ร้ไู ด้ ยอ่ มรไู้ ด้ด้วยวธิ กี ารใด ๆ ก็ทรงใชว้ ธิ ีการนน้ั ๆ
โปรดสตั ว์ผู้อาจโปรดใหร้ ู้ได้ ใหไ้ ดร้ ู้
‘‘ยถา มหาราช ภสิ กโฺ ก สลฺลกตฺโต เยน เยน เภสชฺเชน อาตโุ ร อโรโค โหต,ิ เตน
เตน เภสชเฺ ชน อาตรุ ํ อุปสงฺกมติ, วมนยี ํ วเมติ, วเิ รจนียํ วิเรเจต,ิ อนเุ ลปนียํ อนลุ มิ ฺเปต,ิ
อนุวาสนียํ อนุวาเสติ ฯ เอวเมว โข มหาราช ตถาคโต เยน เยน โยเคน โพธเนยฺยา
สตตฺ า พชุ ฌฺ นตฺ ิ, เตน เตน โยเคน โพเธติ ฯ
ขอถวายพระพร เปรียบเหมอื นวา่ คนเจ็บปว่ ยจะเป็นผู้ไมม่ โี รคได้ดว้ ยยาขนานใด ๆ
ศลั ยแพทย์กใ็ ช้ยาขนานนั้น ๆ รกั ษาคนเจ็บป่วย ท�ำใหอ้ าเจยี นออกมา ท�ำใหถ้ า่ ยออกมา ใช้
ทาสว่ นทต่ี ้องทา ใช้อบสว่ นที่ต้องอบ ฉันใด ขอถวายพระพร สตั วท์ ง้ั หลายผู้อาจโปรดให้รไู้ ด้
ย่อมรไู้ ดด้ ้วยวธิ ีการใด ๆ พระตถาคตกท็ รงใชว้ ธิ ีการนั้นโปรดให้รู้ ฉันนัน้ เหมอื นกัน
‘‘ยถา วา ปน มหาราช อิตฺถี มฬู หฺ คพฺภา ภิสกฺกสฺส อทสสฺ นียํ คยุ ฺหํ ทสฺเสต,ิ
เอวเมว โข มหาราช ตถาคโต โพธเนยฺเย สตฺเต โพเธตุ ํ อทสสฺ นยี ํ คุยหฺ ํ อิทฺธิยา ฉาย ํ
ทสเฺ สสิ ฯ นตฺถ ิ มหาราช อทสสฺ นโี ย นาม โอกาโส ปคุ คฺ ล ํ อุปาทาย ฯ ยท ิ มหาราช

กัณฑ์] ๔.๓ ปณามิตวรรค 403

โกจ ิ ภควโต หทยํ ทิสวฺ า พุชเฺ ฌยยฺ , ตสฺสป ิ ภควา โยเคน หทย ํ ทสฺเสยฺย, โยค ฺ ู
มหาราช ตถาคโต เทสนากุสโล ฯ
ขอถวายพระพร อกี อยา่ งหนง่ึ เปรียบเหมอื นว่า หญิงมคี รรภ์หลง (ผิดปกติ) ยอ่ มแสดง
ของลบั ทไี่ ม่ควรแสดงแกห่ มอ ฉนั ใด ขอถวายพระพร พระตถาคตก็ทรงใช้ฤทธ์ิใหเ้ ขาเห็นพระ
คุยหะอนั เปน็ ของไมค่ วรแสดง ซง่ึ เป็นเพียงพระฉายา เพื่อท่จี ะโปรดสตั วผ์ อู้ าจโปรดให้รู้ได้ ให้
ได้รู้ ฉนั นนั้ เหมอื นกนั ขอถวายพระพร มงุ่ ถึงบคุ คลแลว้ โอกาสที่ชื่อว่าไมค่ วรแสดง ย่อมไม่มี
ขอถวายพระพร หากว่า บางคนต้องการเห็นพระหทัย (หวั ใจ) ของพระผู้มพี ระภาคเจ้าเสีย
ก่อน จงึ จะรไู้ ด้ พระผูม้ ีพระภาคเจ้าก็จะทรงแสดงพระหทัยดว้ ยวธิ ีการ แม้แกบ่ ุคคลนนั้
มหาบพติ ร พระตถาคตทรงเปน็ ผู้รู้จักวิธีการ ทรงเปน็ ผ้ฉู ลาดในพระเทศนา
‘‘นน ุ มหาราช ตถาคโต เถรสสฺ นนฺทสฺส อธมิ ตุ ตฺ ึ ชานิตฺวา ต ํ เทวภวนํ เนตวฺ า
เทวก ฺ าโย ทสฺเสส ิ ‘อมิ ินาย ํ กลุ ปตุ โฺ ต พชุ ฌฺ ิสฺสตี’ติ, เตน จ โส กลุ ปุตโฺ ต พุชฺฌิ ฯ อติ ิ
โข มหาราช ตถาคโต อเนกปริยาเยน สุภนมิ ิตตฺ ํ หเี ฬนฺโต ครหนฺโต ชคิ ุจฉฺ นโฺ ต ตสฺส
โพธนเหต ุ กกุฏปาทินิโย อจฺฉราโย ทสเฺ สสิ ฯ เอวมฺปิ ตถาคโต โยค ฺ ู เทสนากุสโล ฯ
ขอถวายพระพร พระตถาคตทรงทราบวา่ พระนนั ทเถระจะหลดุ พ้น จงึ ทรงน�ำท่านไป
สู่เทวโลก ใหเ้ หน็ พวกนางเทพกญั ญาทงั้ หลาย ด้วยทรงด�ำรวิ า่ ‘ดว้ ยวิธนี ้ี กลุ บตุ รผ้นู ี้จกั รไู้ ด’้
ดงั น้ี มใิ ช่หรือ ? และกลุ บุตรผ้นู ั้นกไ็ ดร้ แู้ ลว้ ดว้ ยวิธนี ั้น ขอถวายพระพร พระตถาคตผทู้ รง
ต�ำหนติ ิเตยี นของสวยงามโดยปริยายเป็นอนั มาก ทรงรังเกยี จอยอู่ ยา่ งนี้ กย็ ังโปรดให้เห็นพวก
นางฟ้าผู้มีเท้าแดงออ่ นเชน่ กับเท้านกพริ าบ เพราะเหตทุ ่จี ะโปรดให้ทา่ นได้ตรสั รู้ พระตถาคต
ทรงเป็นผ้รู จู้ ักวิธีการ ฉลาดในพระเทศนา แมอ้ ยา่ งนี้
‘‘ปนุ จปรํ มหาราช ตถาคโต เถรสสฺ จฬู ปนถฺ กสฺส ภาตรา นิกฺกฑฒฺ ติ สฺส ทกุ ขฺ ติ สสฺ
ทมุ มฺ นสสฺ อุปคนตฺ วฺ า สุขุม ํ โจฬขณฺฑ ํ อทาสิ ‘อมิ นิ ายํ กุลปุตฺโต พุชฺฌิสฺสต’ี ติ, โส จ
กุลปตุ โฺ ต เตน การเณน ชนิ สาสเน วสีภาว ํ ปาปณุ ิ ฯ เอวมฺปิ มหาราช ตถาคโต
โยค ฺ ู เทสนากสุ โล ฯ
ขอถวายพระพร ยังมีอกี เรอื่ งหนึ่ง เม่ือพระจูฬปนั ถกเถระ ถูกพระพชี่ ายขบั ไล่ ก็เปน็
ทกุ ข์ เสียใจอยู่ พระตถาคตก็เสดจ็ เข้าไปหาแลว้ ทรงมอบผ้าเนอ้ื ละเอียดผืนหน่งึ ให้ไป ด้วย
ทรงด�ำริว่า ‘กลุ บตุ รผ้นู ้ี จกั บรรลุไดด้ ้วยวิธนี ’้ี ดงั น้ี และกลุ บุตรผูน้ ั้น ไดบ้ รรลวุ สภี าวะในศาสนา
ของพระชินสีห์ ด้วยวิธกี ารน้นั ขอถวายพระพรมหาบพติ ร พระตถาคตทรงรู้จกั วธิ กี าร ฉลาด
ในพระเทศนา แมอ้ ยา่ งน้ี

404 มลิ ินทปญั หาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปญั ห

‘‘ปุน จปร ํ มหาราช ตถาคโต พฺราหมฺ ณสสฺ โมฆราชสสฺ ยาว ตติยํ ป หฺ ํ ปฏุ โฺ
น พฺยากาส ิ ‘เอวมมิ สฺส กลุ ปตุ ตฺ สสฺ มาโน อุปสมิสฺสต,ิ มานูปสมา อภิสมโย ภวสิ สฺ ต’ี ต,ิ
เตน จ ตสฺส กุลปุตฺตสฺส มาโน อปุ สมิ, มานปู สมา โส พรฺ าหมฺ โณ ฉส ุ อภิ ฺ าส ุ วสีภาวํ
ปาปุณิ ฯ เอวมปฺ ิ มหาราช ตถาคโต โยค ฺ ู เทสนากสุ โล’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร ยงั มอี กี เรอ่ื งหนงึ่ พระตถาคต เม่อื ทรงถูกพระโมฆราชพราหมณถ์ าม
ปัญหาที่ ๓ ก็ไม่ทรงเฉลย ด้วยทรงด�ำริวา่ ‘มานะของกลุ บตุ รผู้นี้ จกั สงบได้ โดยวิธกี ารอยา่ งน’้ี
พราหมณ์ผสู้ งบมานะไดแ้ ลว้ จักบรรลุได้ ดงั นี้ มานะของกลุ บตุ รนน้ั ก็ไดส้ งบแลว้ ด้วยวธิ กี าร
นน้ั พราหมณผ์ ู้สงบมานะได้แลว้ นนั้ ไดบ้ รรลวุ สภี าวะในอภิญญา ๖ ขอถวายพระพร พระ
ตถาคตทรงเป็นผู้รู้จกั วิธกี าร ฉลาดในพระเทศนา แม้อยา่ งนี้”

‘‘สาธุ ภนเฺ ต นาคเสน สนุ พิ ฺเพ ิโต ป ฺโห พหวุ ิเธหิ การเณหิ คหนํ อคหน ํ กต,ํ
อนฺธกาโร อาโลโก กโต, คณฺ ิ ภินโฺ น, ภคฺคา ปรวาทา, ชนิ ปุตตฺ าน ํ จกขฺ ุํ ตยา อุปฺปาทติ ํ,
นิปปฺ ฏิภานา ตติ ฺถิยา, ตวฺ ํ คณวิ รปวรมาสชฺชา’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลนิ ท์ตรัสวา่ “สาธุ พระคุณเจ้านาคเสน ทา่ นไดค้ ล่ีคลายปญั หาดว้ ยเหตุผล
หลายอยา่ งดีแล้ว ถางรกชัฏแลว้ ท�ำทม่ี ืดใหเ้ ป็นทส่ี ว่างได้แลว้ ท�ำลายเงอ่ื มปมได้แล้ว หักลา้ ง
วาทะของบคุ คลอื่นได้แลว้ ได้มอบดวงตาใหแ้ กพ่ ระชนิ บตุ รทัง้ หลายแลว้ ท�ำพวกเดียรถีย์ทงั้
หลายให้หมดปฏภิ าณแลว้ ท่านเป็นผอู้ งอาจอยา่ งยิง่ ในหมู่คณะผปู้ ระเสริฐ”

วตฺถคุ ยุ ฺหนทิ สสฺ นปญฺโห ตตโิ ย ฯ
จบวัตถคุ ยุ หนทิ ัสสนปัญหาขอ้ ท่ี ๓

________

กัณฑ์] ๔.๓ ปณามิตวรรค 405

๔. ผรสุ วาจาภาวปญฺห
๔. ผรุสวาจาภาวปัญหา
ปัญหาวา่ ดว้ ยความเป็นผ้มู ผี รสุ วาจา
[๔] ‘‘ภนฺเต นาคเสน ภาสิตมฺเปตํ เถเรน สาริปตุ เฺ ตน ธมฺมเสนาปตินา ‘ปรสิ ทุ ฺธ-
วจีสมาจาโร อาวุโส ตถาคโต, นตถฺ ิ ตถาคตสสฺ วจีทุจจฺ ริตํ, ยํ ตถาคโต รกเฺ ขยฺย ‘มา เม
อิท ํ ปโร อ ฺ าส’ี ติ ฯ ปุน จ ตถาคโต เถรสฺส สุทนิ ฺนสฺส กลนทฺ ปตุ ตฺ สสฺ อปราเธ
ปาราชกิ ํ ป ฺ เปนโฺ ต ผรุสาหิ วาจาหิ โมฆปรุ ิสวาเทน สมทุ าจริ, เตน จ โส เถโร
โมฆปุริสวาเทน มงกฺ ุจติ ฺตวเสน รุนฺธิตตฺตา วปิ ฺปฏิสารี นาสกฺข ิ อรยิ มคฺค ํ ปฏวิ ชิ ฺฌติ ํุ ฯ ยท ิ
ภนฺเต นาคเสน ปรสิ ทุ ธฺ วจสี มาจาโร ตถาคโต, นตถฺ ิ ตถาคตสฺส วจที จุ จฺ ริต,ํ เตนห ิ
ตถาคเตน เถรสสฺ สุทนิ นฺ สฺส กลนฺทปตุ ตฺ สสฺ อปราเธ โมฆปุรสิ วาเทน สมุทาจณิ ณฺ นฺติ ย ํ
วจนํ, ตํ มจิ ฉฺ า ฯ ยท ิ ภควตา เถรสฺส สทุ นิ ฺนสฺส กลนฺทปตุ ตฺ สฺส อปราเธ โมฆปรุ ิสวาเทน
สมุทาจณิ ณฺ ํ, เตนห ิ ปรสิ ุทฺธวจสี มาจาโร ตถาคโต, นตถฺ ิ ตถาคตสฺส วจีทจุ ฺจรติ นฺติ ตมฺปิ
วจนํ มิจฉฺ า ฯ อยมปฺ ิ อุภโต โกฏโิ ก ป โฺ ห ตวานปุ ปฺ ตฺโต, โส ตยา นพิ พฺ าหติ พโฺ พ’’ติ ฯ
[๔] พระเจา้ มิลนิ ทต์ รัสว่า “พระคณุ เจา้ นาคเสน พระธรรมเสนาบดสี ารบี ตุ รเถระได้
ภาษติ ความข้อนี้ไวว้ า่ ‘ท่านผมู้ อี ายุทง้ั หลาย พระตถาคตทรงมีวจีสมาจาร (ความประพฤติทาง
วาจา) บริสทุ ธิ์ ไม่ทรงมีวจที จุ รติ ทพ่ี ระองค์ตรสั รักษาไวโ้ ดยตงั้ พระทยั วา่ ‘คนอน่ื ๆ อยา่ ได้รู้วจี
ทจุ ริตของเราน้’ี ยงั มีกล่าวไว้อีกว่า พระตถาคตผจู้ ะทรงบญั ญัติสิกขาบทขอ้ ปาราชิก ในเพราะ
ความผดิ พลาดของพระสุทนิ นกลันทบตุ รเถระ ทรงมผี รุสวาจา เปลง่ ค�ำวา่ โมฆบุรุษ ดว้ ยค�ำว่า
โมฆบรุ ุษน้นั เป็นเหตุใหเ้ ถระน้นั ร้องไห้ เดือดรอ้ น ดว้ ยอ�ำนาจแหง่ ความละอายจติ ไม่อาจแทง
ตลอดพระอริยมรรคได้ พระคุณเจ้านาคเสน ถา้ หากว่า พระตถาคตทรงเป็นผ้มู วี จสี มาจาร
บรสิ ทุ ธิ์ วจที ุจริตไมม่ ีแกพ่ ระตถาคต จริงไซร้ ถา้ อยา่ งน้ัน ค�ำที่ว่า ‘พระตถาคตทรงเปลง่ พระ
วาจาวา่ โมฆบุรุษ ในเพราะความผิดพลาดของพระสทุ ินนกลันทบตุ รเถระ’ ดงั นี้ กเ็ ปน็ ค�ำพูดท่ี
ผิด ถ้าหากว่า พระผู้มพี ระภาคเจา้ ทรงเปลง่ วาจาดว้ ยค�ำวา่ โมฆบุรุษ ในเพราะความผิดพลาด
ของพระสทุ ินนกลันทบตุ รเถระ จริงไซร้ ถา้ อยา่ งนนั้ ค�ำว่า ‘พระตถาคตทรงเปน็ ผู้มีวจสี มาจาร
บรสิ ุทธ์ิ วจีทจุ รติ ย่อมไมม่ ีแก่พระตถาคต’ ดังนี้ ก็ย่อมเปน็ ค�ำพูดทผี่ ดิ แม้ปัญหาขอ้ น้ี ก็มี ๒
เง่ือน ตกถงึ แกท่ า่ นโดยล�ำดับแล้ว ขอทา่ นจงคล่คี ลายปัญหาน้ันเถดิ ”

406 มลิ นิ ทปญั หาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปัญห

‘‘ภาสิตมฺเปต ํ มหาราช เถเรน สาริปุตเฺ ตน ธมมฺ เสนาปตินา ‘ปรสิ ทุ ธฺ วจีสมาจาโร
อาวโุ ส ตถาคโต, นตถฺ ิ ตถาคตสสฺ วจีทจุ จฺ รติ ,ํ ย ํ ตถาคโต รกฺเขยยฺ ‘มา เม อิท ํ ปโร
อ ฺ าส’ี ติ ฯ อายสมฺ โต จ สุทนิ นฺ สฺส กลนทฺ ปุตฺตสสฺ อปราเธ ปาราชกิ ํ ป ฺ เปนเฺ ตน
ภควตา โมฆปุรสิ วาเทน สมทุ าจิณฺณํ, ต จฺ ปน อทฏุ ฺ จติ ฺเตน อสารมเฺ ภน ยาถาวลกขฺ เณน
ฯ ก ิ จฺ ตตฺถ ยาถาวลกขฺ ณ,ํ ยสสฺ มหาราช ปุคคฺ ลสสฺ อมิ สมฺ ึ อตฺตภาเว จตุสจจฺ าภิสมโย
น โหติ, ตสฺส ปรุ ิสตตฺ นํ โมฆํ อ ฺ ํ กยิรมานํ อ ฺเ น สมฺภวติ, เตน วุจจฺ ต ิ ‘โมฆปุรโิ ส’ติ
ฯ อติ ิ มหาราช ภควตา อายสฺมโต สุทินฺนสสฺ กลนทฺ ปตุ ฺตสฺส สภาววจเนน สมุทาจณิ ฺณํ,
โน อภูตวาเทนา’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร ท่านพระธรรมเสนาบดีสารี-
บตุ รเถระไดภ้ าษิตความข้อน้ไี วว้ า่ ‘ทา่ นผมู้ ีอายุทั้งหลาย พระตถาคตมวี จีสมาจารบริสทุ ธ์ิ ไม่
ทรงมวี จีทจุ ริต ทพ่ี ระตถาคตทรงรักษาไว้ โดยตั้งพระทัยวา่ ‘คนอ่นื อย่าไดร้ วู้ จที จุ รติ ของเราน้’ี
ดังน้ี จรงิ และมีค�ำกล่าวว่า ‘พระผมู้ ีพระภาคเจ้าจะทรงบญั ญัติสิกขาบทขอ้ ปาราชิกในเพราะ
ความผิดพลาดของทา่ นพระสุทินนกลันทบตุ ร ไดท้ รงเปล่งดว้ ยวาจาว่า โมฆบุรุษ’ จริง แต่วา่
ข้อนน้ั ทรงเปล่งดว้ ยพระจติ ทไี่ ม่ประทุษรา้ ย ด้วยหาความแข่งดีมิได้ ด้วยลักษณะตามทเี่ ป็น
จรงิ ก็ลักษณะตามท่ีเป็นจริงในเร่ืองน้นั คืออะไรเล่า ? ขอถวายพระพร บุคคลใดหาการตรัสรู้
สัจจะ ๔ ในอัตภาพนี้มิได้ ความเป็นบรุ ษุ ของบคุ คลนั้น ก็เปน็ โมฆะ คอื เกดิ เปน็ อีกอย่างหน่ึง
จากอีกอย่างหนง่ึ เพราะเหตุน้นั จึงเรียกเขาว่า โมฆบุรุษ ขอถวายพระพร ก็เปน็ อนั พระผู้มี
พระภาคเจา้ ทรงเปล่งพระวาจาท่เี ป็นจริง ต่อท่านสุทนิ นกลนั ทบตุ ร ไมใ่ ช่วาจาท่ไี ม่เป็นจริง
ดว้ ยประการฉะน้ี”
‘‘สภาวมฺป ิ ภนฺเต นาคเสน โย อกโฺ กสนโฺ ต ภณติ, ตสสฺ มยํ กหาปณํ ทณฺฑ ํ
ธาเรม, อปราโธเยว โส วตถฺ ุํ นิสฺสาย วิสํุ โวหารํ อาจรนโฺ ต อกฺโกสตี’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลนิ ทต์ รัสวา่ “พระคณุ เจา้ นาคเสน ผใู้ ดกล่าวด่าว่าเขา แมเ้ ป็นเรอ่ื งจรงิ โยมจะ
สั่งให้เขาปรับสนิ ไหม ให้ลงทณั ฑ์ตอ่ ผู้นัน้ ขอ้ ที่ตวั เขานัน้ อาศยั เรื่องจรงิ เปล่งโวหารดา่ แต่ละค�ำ
ก็จดั ว่าเป็นคนผดิ น่นั แหละ”

กัณฑ์] ๔.๓ ปณามิตวรรค 407

‘‘อตถฺ ิ ปน มหาราช, สุตปุพฺพํ ตยา ขลิตสสฺ อภิวาทนํ วา ปจฺจุฏฺ านํ วา สกฺการํ
วา อุปายนานปุ ฺปทานํ วา’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร มีบา้ งไหม เร่อื งทพี่ ระองคเ์ คยสดบั มา
ว่า คนมคี วามพลั้งพลาด กค็ วรได้รับการกราบไหว้ หรอื การลุกรบั หรือการสกั การบูชา หรือ
การมอบรางวัล ?”
‘‘น ห ิ ภนเฺ ต ยโต กุโตจิ ยตฺถ กตถฺ จ ิ ขลโิ ต, โส ปรภิ าสนารโห โหต ิ ตชชฺ นา-
รโห, อตุ ฺตมงฺคมปฺ ิสฺส ฉนิ ฺทนฺต ิ หนนฺติปิ พนฺธนฺตปิ ิ ฆาเตนตฺ ิปิ ฌาเปนตฺ ปิ ี’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ นิ ท์ตรัสว่า “ไม่มี พระคณุ เจ้า คนพล้ังพลาดในเร่ืองใดเรอื่ งหนงึ่ เพราะเหตุ
ใดเหตหุ นงึ่ ย่อมเป็นผ้คู วรจะถูกด่าว่า ควรก�ำหราบ อาจต้องตดั ศรี ษะเขาบา้ ง เบียดเบยี นบา้ ง
จองจ�ำบ้าง ฆ่าบ้าง เผาใหต้ ายบ้าง”
‘‘เตนห ิ มหาราช ภควตา กิริยาเยว กตา, โน อกิริยา’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร ถา้ อย่างนนั้ พระผู้มีพระภาคเจา้ ไดท้ รง
ท�ำกิจท่ีควรท�ำ ไม่ใช่ทรงท�ำกิจท่ีไมค่ วรท�ำ”
‘‘กริ ิยมปฺ ิ ภนเฺ ต นาคเสน กุรุมาเนน ปติรูเปน กาตพฺพํ อนุจฉฺ วเิ กน, สวเนนปิ
ภนเฺ ต นาคเสน ตถาคตสฺส สเทวโก โลโก โอตตฺ ปฺปต ิ หิริยต ิ ภิยโฺ ย ทสฺสเนน ตตตุ ตฺ รึ
อุปสงฺกมเนน ปยิรุปาสเนนา’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลนิ ทต์ รสั ว่า “พระคุณเจ้านาคเสน พระตถาคตทรงท�ำแม้สงิ่ ที่ควรท�ำ กน็ ่าจะ
ทรงท�ำโดยเหมาะ โดยควร, พระคุณเจ้านาคเสน ชาวโลกพรอ้ มทงั้ เทวดา ยอ่ มเกรงกลัว ยอ่ ม
ละอายตอ่ พระตถาคต แม้โดยเพียงแตไ่ ด้ยิน (พระนาม) เทา่ นน้ั พอไดเ้ หน็ ก็ย่งิ กลัว ไดเ้ ข้าเฝ้า
ได้นง่ั ใกล้ กย็ ่ิงกลัวข้ึนไปกวา่ น้นั ”
‘‘อปิ น ุ โข มหาราช ติกิจฉฺ โก อภสิ นฺเน กาเย กปุ เิ ต โทเส สิเนหนยี าน ิ
เภสชฺชานิ เทต’ี ’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร คนเราเม่อื ในรา่ งกายเกิดมีโทษ (โรค)
ก�ำเริบขนึ้ หมอจะให้แต่ยาท่ีน่ากนิ ทงั้ นนั้ หรือ ?”
‘‘น ห ิ ภนเฺ ต ตณิ หฺ านิ เลขนียานิ เภสชชฺ านิ เทต’ี ’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ ินท์ตรสั วา่ “หามิได้ พระคุณเจา้ หมอจะให้ยาลว้ นแตท่ ขี่ มข่นื ”

408 มิลนิ ทปัญหาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปัญห

‘‘เอวเมว โข มหาราช ตถาคโต สพฺพกิเลสพฺยาธวิ ปู สมาย อนสุ ิฏฺ ึ เทต,ิ ผรสุ าปิ
มหาราช ตถาคตสฺส วาจา สตฺเต สิเนหยติ, มทุ เุ ก กโรติ ฯ ยถา มหาราช อุณฺหมฺปิ
อุทก ํ ย ํ กิ จฺ ิ สเิ นหนยี ํ สเิ นหยติ, มทุ ุกํ กโรต,ิ เอวเมว โข มหาราช ผรสุ าป ิ ตถาคตสสฺ
วาจา อตถฺ วตี โหต ิ กรณุ าสหคตา ฯ ยถา มหาราช ปติ วุ จนํ ปุตตฺ านํ อตถฺ วนตฺ ํ โหติ
กรุณาสหคต,ํ เอวเมว โข มหาราช ผรสุ าปิ ตถาคตสสฺ วาจา อตฺถวต ี โหติ กรุณา-
สหคตา ฯ ผรุสาป ิ มหาราช ตถาคตสสฺ วาจา สตฺตาน ํ กเิ ลสปปฺ หานา โหติ ฯ ยถา
มหาราช ทุคคฺ นธฺ มฺป ิ โคมุตฺต ํ ปีตํ วริ สมปฺ ิ อคทํ ขายติ ํ สตตฺ าน ํ พฺยาธิํ หนติ, เอวเมว โข
มหาราช ผรุสาปิ ตถาคตสฺส วาจา อตฺถวตี กรุณาสหคตา ฯ ยถา มหาราช มหนโฺ ตป ิ
ตลู ปุ ฺโช ปรสฺส กาเย นปิ ติตวฺ า รชุ ํ น กโรติ, เอวเมว โข มหาราช ผรสุ าปิ ตถาคตสฺส
วาจา น กสฺสจิ ทกุ ขฺ ํ อปุ ปฺ าเทตี’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร ก็เหมือนกนั อย่างนัน้ นนั่ แหละ พระ
ตถาคตกท็ รงมอบค�ำอนุศาสน์ เพ่ือสงบความเจ็บปว่ ยคือกิเลสทงั้ ปวง ขอถวายพระพร พระ
วาจาของพระตถาคต แม้วา่ หยาบ ก็เปน็ เหตุให้สัตว์ทงั้ หลายรกั ใครไ่ ด้ ท�ำให้เป็นคนอ่อนโยน
ได้ ขอถวายพระพร เปรยี บเหมือนว่า น�้ำร้อน ย่อมอาจท�ำบางส่งิ บางอย่างท่อี าจหลอมเหลวได้
ให้หลอมได้ ท�ำใหอ้ อ่ นตวั ได้ ฉันใด ขอถวายพระพร พระวาจาของพระตถาคตแม้ว่าหยาบ ก็
ยอ่ มเป็นวาจาทีม่ ีประโยชน์ ประกอบด้วยพระมหากรณุ า ฉนั นัน้ เหมอื นกัน ขอถวายพระพร
เปรยี บเหมือนว่า ค�ำพูดของบดิ า ย่อมเป็นค�ำพูดท่ีมปี ระโยชน์ต่อบุตรทงั้ หลาย ประกอบด้วย
ความกรณุ า ฉนั ใด ขอถวายพระพร พระวาจาของพระตถาคต แมว้ า่ หยาบ กย็ ่อมเป็นวาจาท่มี ี
ประโยชน์ ประกอบด้วยพระมหากรุณา ขอถวายพระพร พระวาจาของพระตถาคต แม้วา่
หยาบ ก็ย่อมเป็นพระวาจาที่เปน็ เหตุละกเิ ลสของสตั ว์ทัง้ หลาย ฉันนั้น ขอถวายพระพร เปรียบ
เหมอื นวา่ น้�ำปสั สาวะโค แมม้ ีกลนิ่ เหม็น ทสี่ ตั วไ์ ด้ดื่มแล้ว ยา แม้หารสชาติมไิ ด้ ทีส่ ตั วไ์ ด้กนิ
แล้ว ยอ่ มก�ำจดั ความเจ็บปว่ ยของสตั วท์ ้งั หลายได้ ฉนั ใด ขอถวายพระพร วาจาของพระ
ตถาคต แม้วา่ หยาบ ก็เปน็ พระวาจาท่ีมีประโยชน์ ประกอบดว้ ยพระมหากรณุ า ฉนั นน้ั เหมอื น
กัน ขอถวายพระพร เปรียบเหมอื นวา่ นุ่น แม้ว่าเป็นกองใหญ่ ตกถกู รา่ งกายใคร ก็ไมส่ ร้าง
ความเจบ็ ปวด ฉันใด ขอถวายพระพร พระวาจาของพระตถาคต แมว้ ่าหยาบ ก็ไม่ท�ำความ
ทกุ ขใ์ หเ้ กดิ แกใ่ คร ๆ ฉนั น้นั เหมอื นกนั ”

กณั ฑ]์ ๔.๓ ปณามิตวรรค 409

‘‘สุวินจิ ฺฉโิ ต ภนฺเต นาคเสน ป ฺโห พหหู ิ การเณหิ, สาธ ุ ภนฺเต นาคเสน เอวเมต ํ
ตถา สมฺปฏิจฺฉาม’ี ’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ ินทต์ รสั วา่ “พระคณุ เจ้านาคเสน ท่านได้วนิ ิจฉัยปญั หาดีแลว้ ด้วยเหตุผล
เปน็ อนั มาก ดีละ พระคุณเจ้านาคเสน โยมยอมรบั ค�ำพดู ตามทที่ า่ นกล่าวมานี้อยา่ งนี้”

ผรสุ วาจาภาวปญโฺ ห จตตุ โฺ ถ ฯ

จบผรสุ วาจาภาวปญั หาขอ้ ที่ ๔
________

๕. รกุ ฺขอเจตนาภาวปญหฺ
๕. รกุ ขอเจตนาภาวปญั หา
ปัญหาวา่ ด้วยความไม่มีจติ ใจของตน้ ไม้
[๕] ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน ภาสติ มฺเปตํ ตถาคเตน –
‘อเจตนํ พฺราหมฺ ณ อสสฺ ุณนตฺ ํ
ชาโน อชานนฺตมมิ ํ ปลาสํ
อารทธฺ วีรโิ ย ธวุ ํ อปปฺ มตฺโต
สุขเสยยฺ ํ ปุจฉฺ สิ กสิ ฺส เหตู’ติ ฯ
[๕] พระเจา้ มลิ นิ ท์ตรสั ว่า “พระคุณเจา้ นาคเสน พระตถาคตทรงภาษิตความข้อนี้ไวว้ า่
‘พราหมณ์ ท่านก็รวู้ า่ ใบไม้น้ีไม่มีจิตใจ ไมไ่ ดย้ ินเสียง และไมม่ ี
ความรู้สกึ เพราะเหตไุ ร ท่านจงึ ไม่ลมื เพยี รพยายามถามอยู่
เปน็ นติ ยถ์ ึงการนอนเป็นสขุ เล่า ?’

ปุน จ ภณิต ํ – ตาวเท อชฌฺ ภาสถ
‘อิติ ผนทฺ นรกุ โฺ ขปิ
มยฺหมฺปิ วจนํ อตฺถ ิ ภารทวฺ าช สโุ ณหิ เม’ติ ฯ
และยังตรสั ไว้อกี ว่า
‘ในทนั ใดนน้ั รุกขเทวดาผูส้ ิงสถติ อยทู่ ีต่ น้ สะครอ้ ก็ไดก้ ล่าว
อยา่ งนว้ี า่ ‘ถงึ ขา้ พเจ้าก็มีค�ำท่ีจะพดู ภารทวาชะ โปรดฟังค�ำ
ของขา้ พเจา้ ’

410 มลิ นิ ทปัญหาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปญั ห

‘‘ยทิ ภนฺเต นาคเสน รุกโฺ ข อเจตโน, เตนหิ ผนฺทเนน รุกเฺ ขน ภารทวฺ าเชน สห
สลฺลปิตนฺติ ยํ วจนํ, ตํ มิจฉฺ า ฯ ยท ิ ผนทฺ เนน รกุ เฺ ขน ภารทฺวาเชน สทฺธึ สลลฺ ปิตํ,
เตนหิ รกุ โฺ ข อเจตโนต ิ ตมปฺ ิ วจนํ มจิ ฺฉา ฯ อยมปฺ ิ อุภโต โกฏิโก ป โฺ ห ตวานปุ ปฺ ตฺโต,
โส ตยา นพิ พฺ าหติ พฺโพ’’ติ ฯ
พระคุณเจ้านาคเสน ถ้าหากว่าตน้ ไมเ้ ปน็ สิง่ ที่ไมม่ ีจติ ใจ จริงไซร้ ถา้ อย่างนนั้ ค�ำท่วี า่
‘ต้นสะครอ้ ไดพ้ ดู จากบั พราหมณภ์ ารทวาชะ’ ดงั นี้ กย็ อ่ มเป็นค�ำพูดท่ไี มถ่ กู ต้อง ถ้าหากวา่ ตน้
สะคร้อได้พดู จากบั พราหมณ์ภารทวาชะ จริงไซร้ ถ้าอย่างน้นั ค�ำที่วา่ ‘ตน้ ไม้เปน็ ส่ิงทไ่ี ม่มี
จติ ใจ’ ดังนี้ ก็ย่อมเปน็ ค�ำพดู ทผ่ี ิด แมป้ ญั หานี้ก็มี ๒ เงอ่ื น ตกถึงแกท่ ่านโดยล�ำดับแลว้ ขอทา่ น
พึงคลคี่ ลายปัญหานน้ั เถิด”
‘‘ภาสิตมฺเปต ํ มหาราช ภควตา ‘รกุ ฺโข อเจตโน’ต,ิ ผนทฺ เนน จ รุกเฺ ขน ภาร-
ทฺวาเชน สทธฺ ึ สลฺลปติ ,ํ ต ฺจ ปน วจนํ โลกสม ฺ าย ภณติ ํ ฯ นตฺถิ มหาราช อเจตนสสฺ
รกุ ขฺ สสฺ สลลฺ าโป นาม, อปิจ มหาราช ตสฺมึ รุกเฺ ข อธิวตฺถาย เทวตาเยตํ อธวิ จน ํ
รกุ ฺโขติ, รกุ โฺ ข สลฺลปตีต ิ เจสา โลกปณณฺ ตตฺ ,ิ ยถา มหาราช สกฏ ํ ธ ฺ สสฺ ปรปิ ูรติ ํ
ธ ฺ สกฏนตฺ ิ ชโน โวหรติ, น จ ต ํ ธ ฺ มย ํ สกฏํ, รกุ ขฺ มยํ สกฏ,ํ ตสฺมึ สกเฏ ธ ฺ สฺส
ปน อากริ ติ ตฺตา ธ ฺ สกฏนตฺ ิ ชโน โวหรต,ิ เอวเมว โข มหาราช น รุกโฺ ข สลฺลปต,ิ
รกุ โฺ ข อเจตโน, ยา ปน ตสฺม ึ รุกฺเข อธิวตฺถา เทวตา, ตสสฺ าเยว ตํ อธิวจน ํ รุกโฺ ขต,ิ
รุกโฺ ข สลฺลปตตี ิ เจสา โลกปณฺณตตฺ ิ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร พระผูม้ พี ระภาคเจา้ ทรง
ภาษติ ข้อความน้วี า่ ‘ตน้ ไม้เปน็ สิง่ ท่ีไมม่ ีจิตใจ’ ดงั นี้ จรงิ แตท่ ่ีตรัสว่า ตน้ สะคร้อไดพ้ ูดจากับ
พราหมณภ์ ารทวาชะน้นั เป็นอันตรสั ไปตามโวหารโลก ขอถวายพระพร ขึ้นช่ือวา่ ตน้ ไมซ้ ง่ึ หา
จติ ใจมไิ ด้ ย่อมหาการพูดจามไิ ด้ ค�ำว่า ‘ต้นไมน้ เ้ี ปน็ ชื่อเรยี กเทวดาผสู้ ิงสถิตอยูท่ ี่ต้นไมน้ ี้’ กค็ �ำ
วา่ ‘ต้นไมพ้ ูดจา’ น้ี เปน็ บัญญัติทางโลก ขอถวายพระพร เปรียบเหมือนวา่ ชนทงั้ หลาย ย่อม
เรียกเกวยี นทเ่ี ตม็ ดว้ ยขา้ วว่า ‘เกวียนข้าว’ ความจริง เกวียนท่ที �ำดว้ ยขา้ วน้นั หามีไม่ มีแต่
เกวยี นทท่ี �ำด้วยไม้ แตเ่ พราะในเกวียนนนั้ มีข้าวอยเู่ กล่ือนกล่น ชนท้ังหลายจงึ เรียกว่าเกวยี น
ข้าว ฉันใด ขอถวายพระพร ต้นไม้พดู จาไม่ได้หรอก ตน้ ไม้ไม่มจี ติ ใจ แต่วา่ ทต่ี ้นไมน้ น้ั มีเทวดา
ตนใดสงิ สถติ ยอ์ ยู่ ก็ยอ่ มมชี อ่ื เรยี กเทวดาตนน้นั วา่ ‘ต้นไม’้ ฉันนนั้ เหมือนกนั กค็ �ำพูดวา่ ‘ตน้ ไม้
พดู จา’ น้ี เป็นบัญญตั ขิ องชาวโลก

กณั ฑ์] ๔.๓ ปณามติ วรรค 411

‘‘ยถา วา ปน มหาราช ทธึ มนถฺ ยมาโน ตกกฺ ํ มนเฺ ถมีติ โวหรติ, น ต ํ ตกกฺ ํ, ย ํ
โส มนฺเถต,ิ ทธึเยว โส มนฺเถนฺโต ตกกฺ ํ มนเฺ ถมตี ิ โวหรต,ิ เอวเมว โข มหาราช น
รกุ โฺ ข สลลฺ ปติ, รกุ ฺโข อเจตโน ฯ ยา ปน ตสมฺ ึ รุกเฺ ข อธวิ ตถฺ า เทวตา, ตสฺสาเยว ต ํ
อธิวจนํ รกุ โฺ ขต,ิ รกุ ฺโข สลลฺ ปตตี ิ เจสา โลกปณฺณตตฺ ิ ฯ
ขอถวายพระพร เปรยี บเหมอื นว่า คนผกู้ �ำลงั กวนนมสม้ อยู่ ยอ่ มกลา่ วว่า เราก�ำลงั กวน
เปรยี ง ก็สง่ิ ที่เขาก�ำลงั กวนอยูไ่ ม่ใชเ่ ปรยี ง เปน็ นมส้มนัน่ แหละ เขาก�ำลงั กวนอยู่ กก็ ลา่ วว่า เรา
ก�ำลังกวนเปรยี ง ฉันใด ขอถวายพระพร ตน้ ไม้พูดจาไมไ่ ดห้ รอก ต้นไม้ไม่มจี ิตใจ แตว่ า่ ที่
ตน้ ไมน้ ้ัน มีเทวดาตนใดสิงสถติ ย์อยู่ กย็ อ่ มมชี อื่ เรียกเทวดาตนนน้ั ว่า ตน้ ไม้ ฉนั นั้นเหมือนกัน
ก็ค�ำวา่ ต้นไมพ้ ูดจา น้ี เป็นบญั ญัตขิ องชาวโลก
‘‘ยถา วา ปน มหาราช อสนฺตํ สาเธตุกาโม สนฺต ํ สาเธมตี ิ โวหรต,ิ อสิทฺธ ํ
สทิ ธฺ นตฺ ิ โวหรต,ิ เอวเมสา โลกสม ฺ า, เอวเมว โข มหาราช น รกุ โฺ ข สลฺลปต,ิ รกุ โฺ ข
อเจตโน ฯ ยา ปน ตสฺมึ รุกเฺ ข อธิวตฺถา เทวตา, ตสสฺ าเยว ตํ อธิวจน ํ รุกโฺ ขติ, รุกฺโข
สลลฺ ปตตี ิ เจสา โลกปณณฺ ตฺติ, ยาย มหาราช โลกสม ฺ าย ชโน โวหรต,ิ ตถาคโตปิ
ตาเยว โลกสม ฺ าย สตฺตาน ํ ธมมฺ ํ เทเสต’ี ’ติ ฯ
ขอถวายพระพร อกี อยา่ งหน่ึง เปรียบเหมอื นวา่ เวลาทีค่ นผู้ตอ้ งการท�ำส่งิ ทย่ี ังไม่มีให้
ส�ำเร็จ ยอ่ มกลา่ ววา่ เราก�ำลังท�ำสงิ่ ท่ีมอี ยู่ใหส้ �ำเร็จ ยอ่ มกลา่ วถึงสงิ่ ท่ยี ังไมส่ �ำเร็จ ว่าส�ำเรจ็ จัด
ว่าเป็นโวหารของชาวโลก ฉนั ใด ขอถวายพระพร ตน้ ไมพ้ ูดจาไมไ่ ดห้ รอก ตน้ ไมไ้ ม่มจี ิตใจ แต่
ว่าท่ตี น้ ไมน้ ั้น มีเทวดาตนใดสิงสถติ ยอ์ ยู่ กย็ อ่ มมชี ่ือเรยี กวา่ เทวดาตนนั้นวา่ ต้นไมฉ้ ันนน้ั
เหมือนกัน กค็ �ำว่า ‘ตน้ ไม้พูดจา’ นี้ เป็นบญั ญตั ิของชาวโลก ขอถวายพระพร ชนท้ังหลาย
กลา่ วขานกนั ดว้ ยโวหารของชาวโลก ใด พระตถาคตก็ทรงแสดงธรรมแกส่ ัตวท์ งั้ หลาย ด้วย
โวหารของชาวโลกนน้ั นัน่ แหละ
‘‘สาธุ ภนเฺ ต นาคเสน เอวเมตํ ตถา สมปฺ ฏิจฉฺ ามี’’ติ ฯ
พระเจา้ มิลนิ ท์ตรัสวา่ “ดีจรงิ พระคณุ เจา้ นาคเสน โยมขอยอมรับค�ำพดู ตามท่ที า่ น
กลา่ วมาน”ี้

รกุ ฺขอเจตนาภาวปญฺโห ปญฺจโม ฯ
จบรุกขอเจตนาภาวปญั หาข้อที่ ๕

________

412 มลิ นิ ทปญั หาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปัญห

๖. ปิณฑฺ ปาตมหปผฺ ลปญหฺ

๖. ปิณฑปาตมหปั ผลปญั หา

ปัญหาว่าด้วยปณิ ฑบาตท่ีมผี ลมาก

[๖] ‘‘ภนฺเต นาคเสน ภาสิตมเฺ ปตํ ธมมฺ สงฺคตี กิ ารเกห ิ เถเรหิ –
‘‘จนุ ฺทสฺส ภตตฺ ํ ภ ุ ชฺ ิตฺวา กมมฺ ารสสฺ าต ิ เม สุตํ
อาพาธํ สมฺผุสี ธโี ร ปพาฬหฺ ํ มารณนตฺ ิกนฺ’ติ ฯ
[๖] พระเจา้ มลิ นิ ทต์ รสั วา่ “พระคณุ เจ้านาคเสน พระเถระผู้ท�ำสงั คายนาพระธรรม ได้
กลา่ วค�ำนว้ี า่
“โยมไดฟ้ งั มาว่า ‘พระผูม้ ีพระภาคเจา้ ผู้ทรงมพี ระปรีชา เสวย
พระกระยาหารของนายจุนทกัมมารบตุ รแลว้ ทรงพระประชวร
อยา่ งแสนสาหสั จวนเจยี นจะปรนิ พิ พาน’ ดังน้ี

‘‘ปนุ จ ภควตา ภณิต ํ ‘เทวฺ เม อานนทฺ ปณิ ฺฑปาตา สมสมผลา สมวิปากา อตวิ ิย
อ ฺเ หิ ปณิ ฑฺ ปาเตห ิ มหปฺผลตรา จ มหานสิ สํ ตรา จ ฯ กตเม เทฺว ? ย ฺจ ปณิ ฺฑปาต ํ
ปรภิ ุ ฺชติ ฺวา ตถาคโต อนตุ ฺตร ํ สมมฺ าสมโฺ พธ ึ อภิสมฺพชุ ฺฌิ, ย ฺจ ปณิ ฺฑปาตํ ปรภิ ุ ชฺ ติ ฺวา
ตถาคโต อนุปาทิเสสาย นิพฺพานธาตุยา ปรินพิ พฺ ายติ ฯ อิเม เทวฺ ปิณฺฑปาตา สมสมผลา
สมวิปากา, อติวยิ อ เฺ ห ิ ปณิ ฺฑปาเตหิ มหปฺผลตรา จ มหานสิ สํ ตรา จา’ติ ฯ ยท ิ
ภนเฺ ต นาคเสน ภควโต จุนฺทสสฺ ภตฺตํ ภตุ ฺตาวิสสฺ ขโร อาพาโธ อปุ ฺปนฺโน, ปพาฬหฺ า จ
เวทนา ปวตตฺ า มารณนตฺ กิ า, เตนหิ ‘เทวฺ เม อานนฺท ปณิ ฺฑปาตา สมสมผลา สมวิปากา
อตวิ ิย อ ฺเ หิ ปิณฑฺ ปาเตห ิ มหปผฺ ลตรา จ มหานสิ สํ ตรา จา’ติ ยํ วจนํ, ต ํ มจิ ฺฉา ฯ ยท ิ
เทวฺ เม ปิณฺฑปาตา สมสมผลา สมวปิ ากา อตวิ ิย อ เฺ หิ ปิณฺฑปาเตหิ มหปฺผลตรา จ
มหานิสสํ ตรา จ, เตนห ิ ภควโต จนุ ฺทสฺส ภตฺต ํ ภตุ ตฺ าวิสฺส ขโร อาพาโธ อุปปฺ นโฺ น,
ปพาฬหฺ า จ เวทนา ปวตฺตา มารณนฺติกาติ ตมปฺ ิ วจน ํ มจิ ฉฺ า ฯ
และพระผูม้ ีพระภาคเจา้ ตรสั ไว้อีกว่า ‘อานนท์ บิณฑบาต ๒ คราว มผี ลเสมอกัน มี
วิบากเสมอกนั ฯลฯ มผี ลมากกว่า มีอานสิ งส์มากกวา่ ยงิ่ กว่าบิณฑบาตอื่นๆ บณิ ฑบาต ๒
คราว อะไรบ้าง ได้แก่ บณิ ฑบาตทพี่ ระตถาคตบริโภคแลว้ กไ็ ดต้ รัสร้อู นุตตรสัมมาสัมโพธิ
ญาณคราวหน่ึง บิณฑบาตทพี่ ระตถาคตบริโภคแล้ว กไ็ ด้ปรนิ พิ พานด้วยอนปุ าทเิ สสนิพพาน
ธาตุ คราวหนง่ึ บิณฑบาต ๒ คราวน้ี มผี ลเสมอกัน มีวิบากเสมอกนั มีผลมากกวา่ มีอานสิ งส์

กัณฑ์] ๔.๓ ปณามติ วรรค 413

มากกวา่ บณิ ฑบาตอ่นื ๆ นัก’ ดังน้ี พระคุณเจ้านาคเสน ถ้าหากว่า เม่อื พระผู้มีพระภาคเจ้าได้
เสวยพระกระยาหารของนายจนุ ทะแล้ว พระอาการท่ีแรงกล้าก็เกิดขนึ้ และพระเวทนาสาหสั
จวนเจียนจะปรินิพพาน กเ็ ปน็ ไป จริงแลว้ ไซร้ ถ้าอย่างนัน้ ค�ำทต่ี รัสวา่ ‘อานนท์ บณิ ฑบาต ๒
คราวนี้ มีผลเสมอกนั มวี บิ ากเสมอกัน มผี ลมากกว่าและมีอานิสงสม์ ากกว่าบิณฑบาตอน่ื ๆ
นัก’ ดงั น้ี ก็ย่อมเปน็ ค�ำท่ผี ิด ถา้ หากว่า บิณฑบาต ๒ คราวน้ี มีผลเสมอกัน มีวิบากเสมอกัน มี
ผลมากกว่า มีอานิสงสม์ ากกว่าบิณฑบาตอื่น ๆ นกั จรงิ แลว้ ไซร้ ถ้าอย่างนั้น ค�ำทวี่ ่า ‘เม่ือพระ
ผูม้ พี ระภาคเจ้าไดเ้ สวยพระกระยาหารของนายจุนทะแล้ว พระอาพาธท่แี รงกล้ากเ็ กิดข้ึน และ
พระเวทนาสาหัสจวนเจียนจะปรนิ พิ พานกเ็ ปน็ ไป’ ดังนี้ ยอ่ มไม่ถูกตอ้ ง

กินฺน ุ โข ภนเฺ ต นาคเสน โส ปิณฑฺ ปาโต วสิ คตตาย มหปฺผโล, โรคุปปฺ าทกตาย
มหปผฺ โล, อายุวนิ าสกตาย มหปผฺ โล, ภควโต ชวี ติ หรณตาย มหปฺผโล ? ตตถฺ เม การณํ
พฺรหู ิ ปรวาทานํ นคิ คฺ หาย, เอตถฺ าย ํ ชโน สมฺมูฬฺโห โลภวเสน อติพหุ ํ ขายิเตน โลหติ -
ปกฺขนฺทกิ า อปุ ปฺ นนฺ าติ ฯ อยมฺปิ อภุ โต โกฏิโก ป โฺ ห ตวานุปปฺ ตโฺ ต, โส ตยา
นิพฺพาหิตพโฺ พ’’ติ ฯ
พระคุณเจ้านาคเสน บณิ ฑบาตน้นั เม่อื ถึงความเป็นยาพษิ ไป จะมีผลมากไดห้ รือหนอ
เมอ่ื ท�ำให้เกิดโรค จะมผี ลมากไดห้ รือหนอ เมอ่ื ท�ำอายุใหพ้ ินาศ จะมีผลมากได้หรือหนอ เม่อื
คร่าพระชนม์ชีพของพระผู้มีพระภาคเจ้า จะมผี ลมากได้หรือหนอ เพอ่ื เป็นการข่มปรปวาทะ
ขอทา่ นจงกล่าวเหตุผลในความขอ้ น้ัน แก่โยมเถิด ในเรอื่ งนี้ ยงั มีคนหลงเขา้ ใจว่า โรคถา่ ยเป็น
เลอื ดเกิดขนึ้ เพราะพระกระยาหารท่ีเสวยมากเกินไป ดว้ ยอ�ำนาจแหง่ ความอยาก ปัญหาแม้นี้
ก็มี ๒ เงือ่ น ตกถึงแก่ทา่ นแลว้ ขอทา่ นจงคลคี่ ลายปญั หาน้ันเถิด”

‘‘ภาสิตมฺเปต ํ มหาราช ธมฺมสงคฺ ตี กิ ารเกห ิ เถเรหิ –
‘‘จุนทฺ สสฺ ภตฺตํ ภุ ชฺ ติ ฺวา กมฺมารสสฺ าติ เม สุตํ
อาพาธ ํ สมผฺ สุ ี ธีโร ปพาฬหฺ ํ มารณนตฺ กิ น’ฺ ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร พระเถระผู้ท�ำการสงั คายนา
พระธรรม ได้กลา่ วข้อความนไี้ ว้วา่
“โยมไดฟ้ ังมาวา่ ‘พระผ้มู พี ระภาคเจา้ ผูท้ รงมพี ระปรชี า เสวย
ภัตตาหารของนายจนุ ทกัมมารบุตรแล้ว ทรงพระประชวรอย่าง
แสนสาหัสจวนเจียนจะปรินพิ พาน” ดงั น้ี จรงิ

414 มลิ ินทปัญหาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปัญห

‘‘ภควตา จ ภณิตํ ‘เทวฺ เม อานนฺท ปณิ ฺฑปาตา สมสมผลา สมวิปากา อตวิ ิย
อ ฺเ ห ิ ปณิ ฑฺ ปาเตห ิ มหปผฺ ลตรา จ มหานิสํสตรา จ ฯ กตเม เทวฺ ? ย จฺ ปณิ ฑฺ ปาตํ
ปริภุ ฺชติ ฺวา ตถาคโต อนุตตฺ ร ํ สมฺมาสมโฺ พธึ อภสิ มพฺ ชุ ฺฌิ, ย ฺจ ปณิ ฺฑปาต ํ ปรภิ ุ ฺชิตฺวา
ตถาคโต อนปุ าทิเสสาย นิพฺพานธาตุยา ปรนิ ิพฺพายต,ิ อิเม เทวฺ ปณิ ฺฑปาตา สมสมผลา
สมวิปากา, อตวิ ยิ อ เฺ หิ ปณิ ฑฺ ปาเตห ิ มหปฺผลตรา จ มหานิสํสตรา จา’ติ ฯ
และพระผ้มู ีพระภาคเจ้าตรัสไว้วา่ ‘อานนท์ บิณฑบาต ๒ คราวน้ี มผี ลเสมอกัน มวี บิ าก
เสมอกนั มีผลมากกว่า และมอี านสิ งส์มากกวา่ บิณฑบาตอ่นื ๆ ย่งิ นัก บิณฑบาต ๒ คราว
อะไรบ้าง ได้แก่ บณิ ฑบาตท่พี ระตถาคตบริโภคแล้ว ได้ตรัสรูอ้ นตุ ตรสัมมาสัมโพธิญาณคราว
หน่งึ บิณฑบาตทีพ่ ระตถาคตบรโิ ภคแลว้ ก็ได้ปรนิ ิพพาน ด้วยอนุปาทิเสสนิพพานธาตุ
บณิ ฑบาต ๒ คราวน้ี มีผลเสมอกนั มวี ิบากเสมอกนั มผี ลมากกว่า และมอี านิสงสม์ ากกว่า
บณิ ฑบาตอนื่ ๆ ยิ่งนัก’ ดังนี้ จริง
‘‘โส ปน ปณิ ฑฺ ปาโต พหุคุโณ อเนกานิสโํ ส ฯ เทวตา มหาราช หฏ ฺ า ปสนฺน-
มานสา ‘อยํ ภควโต ปจฺฉิโม ปิณฑฺ ปาโต’ติ ทิพฺพ ํ โอช ํ สกู รมททฺ เว อากิรสึ ุ ฯ ต ฺจ ปน
สมมฺ าปาก ํ ลหปุ ากํ มนุ ฺ ํ พหุรส ํ ชฏ ฺ รคฺคิเตชสฺส หิตํ ฯ น มหาราช ตโตนทิ านํ
ภควโต โกจิ อนุปปฺ นฺโน โรโค อปุ ปฺ นโฺ น, อปจิ มหาราช ภควโต ปกตทิ พุ ฺพเล สรเี ร ขีเณ
อายุสงขฺ าเร อปุ ปฺ นฺโน โรโค ภยิ โฺ ย อภวิ ฑฺฒิ ฯ
ก็บิณฑบาตนั้น มคี ุณมาก มอี านิสงส์มากมาย ขอถวายพระพร เทวดาทั้งหลาย
ผบู้ นั เทิง มใี จเล่อื มใสอยู่ คดิ ว่า ‘บิณฑบาตครง้ั น้ี เปน็ ครั้งสดุ ท้ายส�ำหรบั พระผ้มู พี ระภาคเจา้ ’
ดงั นี้ จึงโปรยปรายโอชะอนั เป็นทพิ ยล์ งบนสูกรมัททวะสกุ อย่างดี ย่อยงา่ ย นา่ ชื่นใจ มรี สมาก
เก้อื กูลแก่ไฟธาตุยอ่ ยอาหาร ขอถวายพระพร เพราะเหตนุ ้นั น่ันแหละ โรคอะไร ๆ ทีย่ ังไม่เกดิ
กเ็ ปน็ อันเกดิ แก่พระผู้มพี ระภาคเจา้ มิได้ ขอถวายพระพร เม่อื พระสรีระตามปกติของพระผมู้ ี
พระภาคเจ้า มีอนั ทรามก�ำลงั ไป มอี ันสิ้นอายุสังขารไป โรคทเี่ กิดอยแู่ ลว้ ก็ยิ่งก�ำเรบิ ขน้ึ
‘‘ยถา มหาราช ปกตยิ า ชลมาโน อคคฺ ิ อ ฺ สมฺ ึ อปุ าทาเน ทินฺเน ภยิ โฺ ย
ปชฺชลติ, เอวเมว โข มหาราช ภควโต ปกตทิ ุพฺพเล สรีเร ขเี ณ อายสุ งขฺ าเร อปุ ปฺ นฺโน
โรโค ภยิ โฺ ย อภิวฑฒฺ ิ ฯ
ขอถวายพระพร เปรียบเหมือนวา่ ไฟท่กี �ำลังลุกโพลงอย่ตู ามปกติ เมือ่ ป้อนเชื้ออืน่
เขา้ ไป กย็ ิ่งลกุ โพลงขึน้ ฉันใด ขอถวายพระพร เมื่อพระสรรี ะตามปกตขิ องพระผูม้ พี ระภาคเจ้า

กณั ฑ]์ ๔.๓ ปณามิตวรรค 415

มีอันทรามก�ำลังไป มอี นั สิน้ อายุสงั ขารไป โรคที่เกดิ อยู่แลว้ ก็ย่ิงก�ำเรบิ ขึน้ ฉนั นั้นเหมอื นกนั
‘‘ยถา วา ปน มหาราช โสโต ปกติยา สนฺทมาโน อภิวฏุ ฺเ มหาเมเฆ ภิยฺโย
มโหโฆ อทุ กวาหโก โหต,ิ เอวเมว โข มหาราช ภควโต ปกติทพุ พฺ เล สรเี ร ขีเณ
อายุสงฺขาเร อุปปฺ นฺโน โรโค ภยิ ฺโย อภวิ ฑฒฺ ิ ฯ
ขอถวายพระพร อกี อย่างหนึง่ เปรยี บเหมือนวา่ กระแสน�ำ้ ทีไ่ หลไปตามปกติ เม่อื มีฝน
ห่าใหญ่ตกลงมา ก็กลายเปน็ ห้วงน้ำ� ใหญ่ ไหลเช่ยี วกรากไป ฉนั ใด ขอถวายพระพร เมือ่ พระ
สรรี ะตามปกตขิ องพระผมู้ ีพระภาคเจา้ มีอันทรามก�ำลังไป มอี นั สิ้นอายุสงั ขารไป โรคทเ่ี กดิ อยู่
แล้ว ก็ยง่ิ ก�ำเริบข้ึน ฉันน้นั เหมือนกนั
‘‘ยถา วา ปน มหาราช ปกติยา อภิสนนฺ ธาตุ กุจฉฺ ิ อ ฺ สมฺ ึ อชฺโฌหริเต ภิยฺโย
อายเมยยฺ , เอวเมว โข มหาราช ภควโต ปกติทพุ ฺพเล สรีเร ขเี ณ อายุสงขฺ าเร อปุ ปฺ นฺโน
โรโค ภยิ ฺโย อภิวฑฒฺ ิ, นตฺถ ิ มหาราช ตสฺม ึ ปิณฑฺ ปาเต โทโส, น จ ตสฺส สกกฺ า โทส ํ
อาโรเปตนุ ฺ’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร กอ็ ีกอย่างหน่ึง เปรยี บเหมือนวา่ ท้องมวี าโยธาตกุ �ำเริบอยู่ตามปกติ
เม่อื บรโิ ภคอาหารอ่นื ท่ดี ิบซ้ำ� เข้าไป ยงิ่ อดื หนกั ข้นึ ฉันใด ขอถวายพระพร เม่อื พระสรรี ะตาม
ปกติของพระผูม้ พี ระภาคเจ้า มีอนั ทรามก�ำลังไป มีอนั สิน้ อายุสังขารไป โรคที่เกดิ อยู่แลว้ กย็ งิ่
ก�ำเรบิ ขนึ้ ฉนั นน้ั เหมือนกัน ขอถวายพระพร หามคี วามผิดอะไร ๆ ในบิณฑบาตนัน้ ไม่ และ
ใคร ๆ ก็ไมอ่ าจจะยกความผดิ ให้แกบ่ ิณฑบาตนน้ั ได้”
‘‘ภนฺเต นาคเสน เกน การเณน เต เทวฺ ปิณฺฑปาตา สมสมผลา สมวปิ ากา
อติวิย อ เฺ ห ิ ปิณฺฑปาเตห ิ มหปผฺ ลตรา จ มหานิสสํ ตรา จา’’ติ ?
พระเจ้ามลิ นิ ท์ตรัสว่า “พระคุณเจา้ นาคเสน เพราะเหตุไร ? บณิ ฑบาต ๒ คราวนัน้ จึง
มผี ลเสมอกัน มีวบิ ากเสมอกัน มผี ลมากกว่าและมอี านิสงสม์ ากกว่าบณิ ฑบาตอย่างอนื่ ยงิ่ นกั ”
‘‘ธมฺมานุมชชฺ นสมาปตฺตวิ เสน มหาราช เต เทฺว ปิณฺฑปาตา สมสมผลา สมวิปากา
อตวิ ยิ อ เฺ หิ ปณิ ฺฑปาเตห ิ มหปผฺ ลตรา จ มหานสิ สํ ตรา จา’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร บณิ ฑบาต ๒ คราวน้ัน มผี ล
เสมอกนั มีวิบากเสมอกัน มผี ลมากกวา่ และมีอานสิ งส์มากกวา่ บณิ ฑบาตอย่างอนื่ ย่งิ นัก ก็
ด้วยอ�ำนาจแห่งการเขา้ สมาบตั ิทีม่ ีการตามพจิ ารณาธรรม”

416 มิลินทปญั หาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปญั ห

‘‘ภนเฺ ต นาคเสน กตเมส ํ ธมฺมาน ํ อนุมชฺชนสมาปตตฺ วิ เสน เต เทฺว ปณิ ฑฺ ปาตา
สมสมผลา สมวปิ ากา อติวยิ อ ฺเ หิ ปิณฺฑปาเตหิ มหปผฺ ลตรา จ มหานิสํสตรา จา’’ต?ิ
พระเจา้ มิลนิ ท์ตรสั วา่ “พระคณุ เจา้ นาคเสน บิณฑบาต ๒ คราวนัน้ มีผลเสมอกัน มี
วบิ ากเสมอกัน มีผลมากกว่า และมีอานิสงส์มากกว่าบณิ ฑบาตอย่างอน่ื ยิง่ นัก ดว้ ยอ�ำนาจแหง่
การเขา้ สมาบัตทิ ีม่ ีการตามพิจารณาธรรมเหลา่ ไหนบา้ ง”
‘‘นวนนฺ ํ มหาราช อนปุ ุพพฺ วิหารสมาปตตฺ ีนํ อนโุ ลมปฺปฏิโลมสมาปชชฺ นวเสน เต
เทวฺ ปณิ ฺฑปาตา สมสมผลา สมวิปากา อติวยิ อ เฺ หิ ปณิ ฑฺ ปาเตหิ มหปผฺ ลตรา จ
มหานสิ สํ ตรา จา’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร บิณฑบาต ๒ คราวนน้ั มผี ลเสมอกัน
มวี ิบากเสมอกนั มผี ลมากกว่า และมีอานสิ งส์มากกวา่ บณิ ฑบาตอย่างอน่ื ยง่ิ นกั ดว้ ยอ�ำนาจ
แหง่ การเข้าอนุปพุ พวิหารสมาบตั ิ ๙ อย่าง ทง้ั โดยอนุโลมและโดยปฏโิ ลม”
‘‘ภนเฺ ต นาคเสน ทวฺ ีสเุ ยว ทวิ เสสุ อธิมตตฺ ํ ตถาคโต นวานุปพุ พฺ วิหารสมาปตฺตโิ ย
อนุโลมปปฺ ฏโิ ลมํ สมาปชฺชี’’ติ ?
พระเจา้ มลิ นิ ท์ตรัสวา่ “พระคุณเจ้านาคเสน พระตถาคตทรงเขา้ อนปุ ุพพวิหารสมาบัติ
๙ อยา่ ง เป็นอนุโลม และปฏโิ ลมในเวลาเพียง ๒ วนั เตม็ เทา่ น้ันหรอื ?”
‘‘อาม มหาราชา’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ใช่ มหาบพติ ร”
‘‘อจฉฺ รยิ ํ ภนฺเต นาคเสน อพภฺ ตุ ํ ภนเฺ ต นาคเสน ฯ ยํ อมิ สฺม ึ พทุ ฺธกเฺ ขตฺเต อสทิส ํ
ปรมทานํ, ตมปฺ ิ อเิ มห ิ ทวฺ หี ิ ปณิ ฑฺ ปาเตห ิ อคณิตํ ฯ อจฉฺ รยิ ํ ภนฺเต นาคเสน, อพฺภุตํ
ภนฺเต นาคเสน ฯ ยาว มหนฺตา นวานปุ ุพพฺ วิหารสมาปตฺตโิ ย, ยตฺร หิ นาม นวานุปุพฺพ-
วิหารสมาปตฺตวิ เสน ทานํ มหปผฺ ลตร ํ โหต ิ มหานสิ ํสตร ฺจ ฯ
พระเจา้ มลิ ินทต์ รสั ว่า “พระคณุ เจ้านาคเสน น่าอัศจรรย์เสียจรงิ นา่ แปลกใจเสียจริงที่
อสทิสทาน ท่ยี อดเยย่ี มในพทุ ธเขตน้ี ก็ยงั นบั เทียบกบั บณิ ฑบาต ๒ คราวน้ไี ม่ได้ นา่ อัศจรรย์
เสียจริง นา่ แปลกใจเสียจรงิ นะ พระคุณเจ้านาคเสน ตราบเทา่ ท่อี นปุ พุ พวิหารสมาบัติ ๙ อย่าง
เป็นของย่งิ ใหญ่ ทานยอ่ มเป็นของมผี ลมากกว่า และมอี านสิ งสม์ ากกว่า ก็ดว้ ยอ�ำนาจแห่งอนุ
ปพุ พวหิ ารสมาบตั ิ ๙ อย่างนนั้

กณั ฑ]์ ๔.๓ ปณามติ วรรค 417

สาธุ ภนฺเต นาคเสน เอวเมตํ ตถา สมปฺ ฏิจฺฉาม’ี ’ติ ฯ
ดจี รงิ พระคุณเจ้านาคเสน โยมขอยอมรบั ค�ำตามที่ทา่ นกลา่ วมาฉะน”้ี

ปิณฺฑปาตมหปผฺ ลปญฺโห ฉฏฺโ€ ฯ

จบปิณฑปาตมหปั ผลปญั หาขอ้ ที่ ๖
________

๗. พุทธฺ ปูชนปญหฺ

๗. พทุ ธปชู นปัญหา

ปญั หาวา่ ด้วยการบชู าพระพทุ ธเจา้

[๗] ‘‘ภนฺเต นาคเสน ภาสติ มฺเปต ํ ตถาคเตน ‘อพฺยาวฏา ตุมฺเห อานนทฺ โหถ
ตถาคตสสฺ สรรี ปูชายา’ติ ฯ ปนุ จ ภณิตํ –
‘‘ปูเชถ นํ ปชู นิยสสฺ ธาตุ;ํ
เอว ํ กรา สคฺคมโิ ต คมสิ สฺ ถา’ติ ฯ
[๗] พระเจา้ มิลนิ ทต์ รัสว่า “พระคณุ เจ้านาคเสน พระตถาคตทรงภาษติ ความขอ้ น้ีไวว้ า่
‘อานนท์ ขอพวกเธออยา่ กังวลเพื่อบชู าสรรี ะของตถาคตเลย’ ดังน้ี แตต่ รัสไว้อีกแห่งหนึ่งว่า
“ขอเชิญท่านทั้งหลายบูชาพระบรมสารีริกธาตุของพระพุทธ-
เจ้าผู้ควรบชู าน้ัน ว่ากันวา่ ด้วยการบชู าพระบรมสารีริกธาตุ
อยา่ งน้ี ท่านทง้ั หลายละจากอตั ภาพนี้แลว้ จกั ไปสสู่ รวงสวรรค์”
ดังน้ี

‘‘ยทิ ภนเฺ ต นาคเสน ตถาคเตน ภณิต ํ ‘อพยฺ าวฏา ตมุ ฺเห อานนทฺ โหถ
ตถาคตสสฺ สรรี ปูชายา’ติ, เตนห ิ ‘ปูเชถ นํ ปชู นยิ สฺส ธาต,ุํ เอว ํ กรา สคคฺ มิโต
คมิสสฺ ถา’ต ิ ยํ วจน,ํ ตํ มิจฺฉา ฯ ยทิ ตถาคเตน ภณิตํ ‘ปูเชถ น ํ ปชู นิยสฺส ธาตํุ,
เอวํ กรา สคคฺ มโิ ต คมสิ สฺ ถา’ติ, เตนหิ ‘อพฺยาวฏา ตมุ ฺเห อานนฺท โหถ ตถาคตสฺส
สรรี ปชู ายา’ต ิ ตมปฺ ิ วจนํ มจิ ฺฉา ฯ อยมฺป ิ อภุ โต โกฏโิ ก ป โฺ ห ตวานปุ ปฺ ตฺโต, โส ตยา
นพิ ฺพาหติ พโฺ พ’’ติ ฯ
พระคุณเจ้านาคเสน ถา้ หากวา่ พระผู้มีพระภาคตรสั ว่า อานนท์ พวกเธออยา่ กังวล
เพื่อบชู าสรีระของพระตถาคตเลย ดังนี้ จริงไซร้ ถา้ อย่างนัน้ ค�ำทวี่ ่า ขอเชญิ ทา่ นทง้ั หลายบูชา

418 มลิ นิ ทปญั หาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปญั ห

พระบรมสารีรกิ ธาตขุ องพระพทุ ธเจา้ ผู้ควรบูชานัน้ เถิด เพราะพวกท่านท�ำอย่างนี้ ละจาก
อัตภาพนีแ้ ลว้ จกั ไปสู่สวรรค์ ดังนี้ กไ็ มถ่ กู ต้อง ถ้าหาก พระตถาคตตรสั ว่า ขอท่านทั้งหลาย จง
บชู าพระบรมสารีรกิ ธาตุของพระพทุ ธเจา้ ผู้ควรบชู านั้นเถดิ เพราะว่าพวกท่านท�ำอยา่ งน้ี ละ
จากอัตภาพนีแ้ ล้ว จักไปสสู่ วรรค์ ดงั น้ี จรงิ ถ้าอยา่ งนนั้ ค�ำว่า อานนท์ ขอพวกเธออย่ากังวล
เพือ่ บชู าสรรี ะของตถาคตเลย ดังนี้ ก็ไมถ่ ูกต้อง ปัญหาแม้ขอ้ น้ี ก็มี ๒ เงอื่ น ตกถงึ แก่ท่านแลว้
ขอทา่ นจงคลคี่ ลายปัญหาน้นั เถิด”
‘‘ภาสิตมเฺ ปต ํ มหาราช ภควตา ‘อพยฺ าวฏา ตมุ เฺ ห อานนทฺ โหถ ตถาคตสฺส
สรรี ปูชายา’ติ, ปนุ จ ภณิต ํ ‘ปูเชถ น ํ ปชู นิยสฺส ธาต,ํุ เอวํ กรา สคคฺ มโิ ต คมสิ สฺ ถา’ต,ิ
ต ฺจ ปน น สพฺเพส ํ ชนิ ปตุ ตฺ าน ํ เยว อารพภฺ ภณิต ํ ‘อพยฺ าวฏา ตมุ ฺเห อานนทฺ โหถ
ตถาคตสสฺ สรีรปูชายา’ติ ฯ อกมมฺ ํ เหต ํ มหาราช ชนิ ปุตตฺ านํ ยททิ ํ ปูชา, สมมฺ สน ํ
สงฺขารานํ, โยนโิ ส มนสกิ าโร, สตปิ ฏ ฺ านานปุ สฺสนา, อารมฺมณสารคคฺ าโห, กิเลสยทุ ฺธ,ํ
สทตฺถมนุยุ ฺชนา, เอต ํ ชนิ ปตุ ฺตาน ํ กรณียํ, อวเสสาน ํ เทวมนสุ สฺ านํ ปชู า กรณยี า ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร พระผมู้ ีพระภาคเจา้ ทรง
ภาษติ ความขอ้ นีว้ ่า อานนท์ พวกเธอย่ากงั วลเพือ่ บูชาพระบรมสารีรกิ ธาตขุ องตถาคตเลย
ดังนี้ จริง และตรสั ไว้อกี แหง่ หนึง่ วา่ ขอเชิญทา่ นทั้งหลายจงบชู าพระบรมสารีรกิ ธาตุของ
พระพทุ ธเจา้ ผ้คู วรบูชาน้นั เถิด เพราะว่า พวกทา่ นทง้ั หลายผกู้ ระท�ำอยอู่ ย่างนี้ ละจากอัตภาพ
นี้แลว้ จักไปสู่สวรรค์ ดังนี้ จรงิ ค�ำวา่ อานนท์ พวกเธออย่ากงั วลเพื่อบูชาสรรี ะของตถาคตเลย
ดังน้ี นัน้ ตรสั ปรารภพระภิกษทุ ่เี ป็นบตุ รเทา่ นัน้ ไมใ่ ชค่ นทุกจ�ำพวก ขอถวายพระพร การบูชา
อยา่ งนน้ี ้ัน ไม่ใช่การงานของพระภกิ ษุผเู้ ป็นชนิ บตุ ร การพจิ ารณาสงั ขาร โยนิโสมนสกิ าร การ
ตามพิจารณาในสติปัฏฐาน การถอื เอาแตแ่ กน่ อารมณ์ การรบกบั กิเลส การบ�ำเพ็ญประโยชน์
ของตน ข้อน้ีตา่ งหากเปน็ กิจทภี่ กิ ษผุ เู้ ป็นชินบตุ รทงั้ หลายพงึ ท�ำ การบชู าเป็นกิจทีพ่ วกมนุษย์
และเทวดาทีเ่ หลอื พึงท�ำ
‘‘ยถา มหาราช มหยิ า ราชปุตตฺ านํ หตฺถิอสสฺ รถธนถุ รเุ ลขมทุ ทฺ าสกิ ฺขาขคคฺ มนฺตสุต-ิ
สมมฺ ตุ ิยุทธฺ ยุชฌฺ าปนกิริยา กรณยี า, อวเสสานํ ปถุ ุเวสสฺ สทุ ทฺ านํ กส ิ วณชิ ฺชา โครกขฺ า
กรณยี า, เอวเมว โข มหาราช อกมฺมํ เหตํ ชนิ ปุตฺตาน ํ ยททิ ํ ปชู า, สมมฺ สนํ สงขฺ าราน,ํ
โยนโิ ส มนสิกาโร, สติปฏฺ านานปุ สฺสนา, อารมฺมณสารคคฺ าโห, กิเลสยทุ ธฺ ,ํ สทตฺถ-
มนยุ ุ ฺชนา, เอตํ ชนิ ปุตตฺ านํ กรณยี ,ํ อวเสสานํ เทวมนุสสฺ านํ ปชู า กรณียา ฯ

กณั ฑ์] ๔.๓ ปณามติ วรรค 419

ขอถวายพระพร เปรยี บเหมอื นว่า การศึกษาเรอื่ งชา้ ง มา้ รถ ธนู ดาบ เลข การ
ค�ำณวน และพระขรรค์ เวทมนต์ กฎหมาย การรบ การจัดแจงทัพ เป็นกจิ ทีพ่ ระโอรสของ
พระราชาพงึ กระท�ำ การไถนา การคา้ ขาย การเลี้ยงโค เป็นกจิ ทพ่ี วกแพศยแ์ ละศูทรมากมายที่
เหลอื ท้งั หลายพงึ กระท�ำ ฉนั ใด ขอถวายพระพร การบชู านี้ ไม่ใชก่ ารงานของภิกษุผเู้ ปน็ ชิน-
บตุ รทงั้ หลาย การพจิ ารณาสงั ขาร โยนโิ สมนสกิ าร การตามพจิ ารณาในสติปฏั ฐาน การถอื
เอาแตแ่ ก่นอารมณ์ การรบกบั กเิ ลส การบ�ำเพญ็ ประโยชนข์ องตน ข้อนีต้ า่ งหาก เปน็ กจิ ท่ภี กิ ษุ
ผ้เู ปน็ ชินบตุ รทั้งหลายพึงท�ำ ส่วนการบูชาเป็นกจิ ทเ่ี ทวดาและมนุษยท์ ั้งหลายท่เี หลอื พึงท�ำ
ฉนั นัน้ เหมือนกนั
‘‘ยถา วา ปน มหาราช พฺราหมฺ ณมาณวกานํ อิรุเวทํ ยชเุ วทํ สามเวท ํ อถพพฺ ณ-
เวท ํ ลกขฺ ณํ อิติหาส ํ ปุราณ ํ นิฆณฑฺ ุ เกฏภุ ํ อกฺขรปฺปเภทํ ปทํ เวยฺยากรณํ ภาสมคฺค ํ
อปุ ฺปาตํ สปุ ิน ํ นมิ ติ ตฺ ํ ฉฬงฺค ํ จนทฺ คคฺ าหํ สูริยคคฺ าห ํ สกุ ฺกราหุจรติ ํ อฬุ คุ คฺ หยุทธฺ ํ
เทวทนุ ฺทภุ ิสฺสร ํ โอกกฺ นฺติ อุกฺกาปาต ํ ภมู ิกมมฺ ํ ทิสาทาหํ ภุมมฺ นตฺ ลิกขฺ ํ โชตสิ ํ โลกายตกิ ํ
สาจกฺกํ มิคจกฺกํ อนตฺ รจกฺกํ มสิ สฺ กุปฺปาทํ สกุณรตุ รวิตํ สกิ ฺขา กรณยี า, อวเสสานํ ปุถุเวสสฺ
สุทฺทานํ กสิ วณชิ ฺชา โครกฺขา กรณยี า, เอวเมว โข มหาราช อกมมฺ ํ เหต ํ ชนิ ปุตตฺ านํ
ยทิท ํ ปชู า, สมฺมสนํ สงขฺ าราน,ํ โยนิโส มนสกิ าโร, สตปิ ฏ ฺ านานุปสสฺ นา, อารมฺมณ-
สารคฺคาโห, กิเลสยุทฺธํ, สทตถฺ มนุยุ ชฺ นา, เอต ํ ชินปตุ ฺตาน ํ กรณยี ,ํ อวเสสาน ํ
เทวมนุสฺสานํ ปูชา กรณียา, ตสฺมา มหาราช ตถาคโต ‘มา อิเม อกมฺเม ยุ ชฺ นตฺ ,ุ กมเฺ ม
อิเม ย ุ ชฺ นตฺ ู’ต ิ อาห ‘อพฺยาวฏา ตมุ ฺเห อานนฺท โหถ ตถาคตสฺส สรรี ปูชายา’ติ ฯ ยเทตํ
มหาราช ตถาคโต น ภเณยยฺ , ปตตฺ จีวรมปฺ ิ อตตฺ โน ปริยาทาเปตฺวา ภิกขฺ ู พทุ ธฺ ปูชเํ ยว
กเรยฺยุน”ฺ ติ ฯ
ขอถวายพระพร อีกอย่างหน่ึง เปรียบเหมอื นวา่ พวกคมั ภีรพ์ ระเวทท้ังหลาย คอื
อรี ุเวท ยชเุ วท สามเวท อถัพพณเวท คมั ภีรล์ กั ขณะ คมั ภีร์อติ หิ าสะ คัมภรี ป์ ุราณะ คมั ภีร์
นิฆณั ฑุ คัมภรี ์เกฏุภะ คัมภีร์อกั ขรัปปเภทะ คมั ภรี ป์ ทะ คมั ภรี ์พยากรณ์ คมั ภีรภ์ าสมัคคะ
คมั ภีรอ์ ุบาทว์ คมั ภีร์สุปนิ ะ คัมภีร์นมิ ติ คัมภรี ฉ์ ฬงั คะ คัมภรี จ์ ันทคาหะ คมั ภีรส์ รุ ิยคาหะ คัมภีร์
สกุ กราหุจรติ ะ คมั ภีรอ์ ฬุ ุคคหยุทธะ คมั ภีรเ์ ทวทุนทภุ สิ สระ คัมภีรโ์ อกกันติ คัมภีรอ์ กุ กาบาต
คัมภีร์ภมู กิ ัมมะ คมั ภีรท์ สิ าทาหะ คัมภีรภมุ มันตลกิ ขะ คัมภีร์โชติสะ คมั ภรี โ์ ลกายตกิ ะ คัมภีร์
สาจกั กะ คัมภรี ์มิคจักกะ คัมภรี อ์ ันตรจกั กะ คมั ภีร์มิสสกุปปาทะ คมั ภรี ์สกุณรตุ รวติ ะ เป็นของ
พวกพราหมณ์มาณพทั้งหลายพึงท�ำการศึกษา การไถนา การคา้ ขาย การเลยี้ งโค เปน็ กจิ ที่

420 มลิ นิ ทปัญหาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปัญห

พวกแพศย์และศูทรมากมายที่เหลือพึงท�ำฉนั ใด ขอถวายพระพร การบูชาน้ี ไมใชก่ ารงานของ
ภกิ ษทุ ้งั หลายผู้เป็นชินบตุ ร การพิจารณาสังขาร โยนิโสมนสิการ การตามพิจารณาในสต-ิ
ปฏั ฐาน การถอื เอาแตแ่ ก่นอารมณ์ การรบกบั กเิ ลส การบ�ำเพ็ญประโยชน์ของตน ข้อนต้ี ่าง
หาก เป็นกิจท่ภี ิกษผุ เู้ ปน็ ชนิ บตุ รทั้งหลายพึงท�ำ สว่ นการบูชาเปน็ กิจที่เทวดาและมนุษยท์ ั้ง
หลายท่เี หลอื พงึ ท�ำ ฉนั น้นั เหมือนกนั ขอถวายพระพร เพราะฉะนน้ั พระตถาคตจึงตรัสวา่
พวกเธอจงอยา่ ประกอบในการงานทีไ่ ม่สมควรเหล่าน้ี จงประกอบแตใ่ นการงานทีส่ มควรเหล่า
นเี้ ท่านั้นเถิด และวา่ อานนท์ ขอพวกเธออย่ากังวลเพอ่ื บชู าสรีระของตถาคตเลย ดงั นี้ ขอ
ถวายพระพร พระตถาคตจะไมต่ รสั วา่ แมบ้ าตรและจีวรของตน ภกิ ษทุ ัง้ หลาย กพ็ ึงสละ
กระท�ำการบูชาพระพุทธเจา้ เถิด ดังน้ี เลยเทยี ว

‘‘สาธ ุ ภนฺเต นาคเสน เอวเมตํ ตถา สมฺปฏจิ ฉฺ ามี’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลินท์ตรัสว่า “ดีจรงิ พระคุณเจ้านาคเสน โยมขอยอมรบั ค�ำพูดตามทท่ี า่ น
กล่าวมาน้ี”

พุทธฺ ปชู นปญฺโห สตฺตโม ฯ
จบพุทธปชู นปญั หาขอ้ ที่ ๗

________

๘. ปาทกลกิ าหตปญหฺ
๘. ปาทกลิกาหตปัญหา
ปัญหาวา่ ด้วยสะเกด็ หินทกี่ ระเด็นไปกระทบพระบาท
[๘] ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน ตมุ เฺ ห ภณถ ‘ภควโต คจฺฉนฺตสฺส อย ํ อเจตนา มหาปถวี
นนิ ฺนํ อนุ ฺนมติ, อนุ นฺ ต ํ โอนมต’ี ติ, ปนุ จ ภณถ ‘ภควโต ปาโท สกลิกาย ขโต’ติ ฯ
ยา สา สกลกิ า ภควโต ปาเท ปติตา, กสิ สฺ ปน สา สกลกิ า ภควโต ปาทา น
นิวตฺตา ฯ ยท ิ ภนเฺ ต นาคเสน ภควโต คจฺฉนฺตสสฺ อยํ อเจตนา มหาปถวี นินนฺ ํ
อุนนฺ มต,ิ อุนนฺ ต ํ โอนมต,ิ เตนหิ ‘ภควโต ปาโท สกลกิ าย ขโต’ต ิ ยํ วจน,ํ ตํ มจิ ฺฉา ฯ
ยทิ ภควโต ปาโท สกลิกาย ขโต, เตนหิ ‘ภควโต คจฺฉนฺตสฺส อยํ อเจตนา มหาปถว ี
นินนฺ ํ อุนฺนมติ อุนนฺ ต ํ โอนมต’ี ต ิ ตมฺปิ วจน ํ มิจฺฉา ฯ อยมปฺ ิ อภุ โต โกฏิโก ป ฺโห
ตวานุปฺปตโฺ ต, โส ตยา นิพพฺ าหติ พฺโพ’’ติ ฯ

กัณฑ]์ ๔.๓ ปณามิตวรรค 421

[๘] พระเจ้ามิลนิ ทต์ รสั ว่า “พระคณุ เจ้านาคเสน พวกทา่ นกล่าวกนั ว่า เม่ือพระผูม้ ีพระ
ภาคเจา้ จะเสด็จด�ำเนนิ ไป แผน่ ดินใหญ่อนั หาจิตใจมไิ ด้น้ี กป็ รบั ทีล่ มุ่ ตำ�่ ใหส้ ูงขน้ึ ปรบั ท่ีโคกสูง
ท�ำให้ต�่ำลง ดังนี้ และยังกล่าวอีกว่า “สะเกด็ หนิ กระเดน็ มากระทบที่พระบาทของพระผมู้ พี ระ
ภาคเจ้า” ดงั น้ี เพราะเหตุไร พอสะเกด็ หนิ กระเดน็ ตกมาทพี่ ระบาทของพระผู้มพี ระภาคแล้ว
สะเกด็ หินนั้นจึงไมห่ นั กลับไป พระคุณเจา้ นาคเสน ถา้ หากว่า เม่อื พระผ้มู พี ระภาคเจ้าจะเสดจ็
ด�ำเนินไป แผน่ ดินใหญ่ ซ่งึ ไม่มจี ติ ใจ กป็ รบั ที่ล่มุ ต�ำ่ ใหส้ งู ข้ึน ปรับท่ีโคกสงู ให้ต�่ำลง จริงไซร,้
ถ้าอย่างนัน้ ค�ำทีว่ า่ สะเกด็ หนิ กระเดน็ มากระทบท่พี ระบาทของพระผมู้ พี ระภาคเจา้ ดงั น้ี กไ็ ม่
ถกู ต้อง ถา้ หากวา่ สะเก็ดหนิ กระเด็นมากระทบท่พี ระบาทของพระผมู้ พี ระภาคเจา้ จริงไซร้
ถ้าอย่างนั้น ค�ำทว่ี า่ เมอ่ื พระผมู้ ีพระภาคเจา้ จะเสดจ็ ด�ำเนินไป แผ่นดนิ ใหญซ่ ง่ึ หาจิตใจมไิ ด้
กป็ รบั ท่ลี ุ่มให้สูงข้ึน ปรับท่ีโคกสูงท�ำใหต้ ำ่� ลง ดังน้ี กไ็ ม่ถกู ตอ้ ง แมป้ ัญหาข้อนี้ ก็มี ๒ เง่อื น
ตกถงึ แก่ท่านแล้ว ขอทา่ นพงึ ชว่ ยคลคี่ ลายปญั หาน้นั เถิด”
‘‘สจฺจ ํ มหาราช อตเฺ ถต ํ ภควโต คจฉฺ นตฺ สฺส อย ํ อเจตนา มหาปถวี นนิ ฺน ํ
อนุ นฺ มติ อุนฺนตํ โอนมติ, ภควโต จ ปาโท สกลกิ าย ขโต, น จ ปน สา สกลิกา
อตฺตโน ธมฺมตาย ปติตา, เทวทตฺตสสฺ อปุ กกฺ เมน ปตติ า ฯ เทวทตฺโต มหาราช พหูนิ
ชาตสิ ตสหสฺสานิ ภควต ิ อาฆาต ํ พนธฺ ิ, โส เตน อาฆาเตน ‘มหนฺต ํ กฏู าคารปปฺ มาณ ํ
ปาสาณํ ภควโต อุปร ิ ปาเตสสฺ าม’ี ต ิ ม ุ จฺ ิ ฯ อถ เทวฺ เสลา ปถวิโต อุฏฺ หิตวฺ า ต ํ
ปาสาณ ํ สมปฺ ฏิจฉฺ ึส,ุ อถ เนส ํ สมปฺ หาเรน ปาสาณโต ปปฏกิ า ภิชชฺ ิตวฺ า เยน วา เตน
วา ปตนฺตี ภควโต ปาเท ปตติ า’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร ข้อท่วี า่ เม่ือพระผู้มีพระภาค
เจ้าจะเสดจ็ ด�ำเนินไป แผ่นดินใหญซ่ ึ่งหาจิตใจมไิ ดน้ ี้ ก็ปรับท่ีล่มุ ตำ่� ท�ำให้สูงข้ึน ปรับที่โคกสูง
ท�ำให้ต่ำ� ลง และทวี่ ่า สะเก็ดหนิ กระเด็นมากระทบท่พี ระบาทของพระผูม้ พี ระภาคเจา้ ดังน้ี น้ี
เปน็ ความจริง มีอยู่ กแ็ ต่ว่า สะเก็ดหินมิได้กระเดน็ ไปตามธรรมดาของตน กระเดน็ ตกไปเพราะ
ความพยายามของพระเทวทัตต่างหาก ขอถวายพระพร พระเทวทตั ผูกอาฆาตในพระผมู้ พี ระ
ภาคเจา้ หลายแสนชาติ ด้วยความอาฆาตนนั้ พระเทวทตั นนั้ คดิ ว่า เราจักงัดกอ้ นหนิ ใหญ่
ขนาดเท่าเรอื นยอด ให้กลง้ิ ไปทับพระผู้มีพระภาคเจา้ ดงั น้ี แล้วกป็ ลอ่ ยกอ้ นหนิ ใหญน่ ้นั ไป
ล�ำดับนนั้ ก็มีหิน ๒ กอ้ น โผลข่ ้ึนมาจากดนิ สะกัดกัน้ ก้อนหนิ ใหญน่ ้ันไว้ เมอ่ื เปน็ เช่นน้ี เพราะ
การกระทบกระแทกกนั แห่งกอ้ นหินเหลา่ น้ัน ก็เกิดสะเก็ดหนิ ปริแตกจากกอ้ นหนิ กระเด็นตก
ไปขา้ งนน้ั ข้างน้ี กระทบท่พี ระบาทของพระผู้มีพระภาคเจา้

422 มิลนิ ทปญั หาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปัญห

‘‘ยถา จ ภนฺเต นาคเสน เทวฺ เสลา ปาสาณํ สมปฺ ฏิจฉฺ สึ ุ, ตเถว ปปฏิกาป ิ
สมฺปฏจิ ฺฉิตพฺพา’’ติ ?
พระเจ้ามิลินทต์ รัสว่า “พระคุณเจา้ นาคเสน ก้อนหนิ เลก็ สองกอ้ น น่าจะสะกัดกั้นสะเก็ด
หนิ เอาไว้ได้ เหมือนอย่างทีส่ ะกดั ก้นั ก้อนหินใหญ่ไวไ้ ด”้
‘‘สมฺปฏิจฉฺ ติ มฺปิ มหาราช อิเธกจจฺ ํ ปคฆฺ รติ ปสวติ น านมปุ คจฉฺ ติ, ยถา มหาราช
อุทกํ ปาณนิ า คหติ ํ องฺคลุ นฺตรกิ าห ิ ปคฺฆรติ ปสวต ิ น านมปุ คจฺฉติ, ขรี ํ ตกฺกํ มธํุ
สปปฺ ิ เตสํ มจฉฺ รส ํ มํสรสํ ปาณินา คหติ ํ องคฺ ลุ นฺตริกาหิ ปคฆฺ รต ิ ปสวต ิ น
านมปุ คจฺฉต,ิ เอวเมว โข มหาราช สมฺปฏจิ ฺฉนตถฺ ํ อปุ คตาน ํ ทวฺ นิ ฺนํ เสลานํ สมฺปหาเรน
ปาสาณโต ปปฏกิ า ภชิ ชฺ ติ วฺ า เยน วา เตน วา ปตนฺต ี ภควโต ปาเท ปติตา ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร สะกดั กัน้ แลว้ ด้วย (แต่)ในบรรดาสะเก็ด
หินเหลา่ นี้ มสี ะเกด็ หินบางช้นิ เล็ดลอดไปได้ ไมห่ ยุดอยกู่ บั ท่ี ขอถวายพระพร เปรียบเหมือน
วา่ น�้ำทเี่ ขาใชฝ้ า่ มอื วักขึน้ มา ยอ่ มร่ัวไหลออกไปทางรอ่ งน้ิวมอื ไมข่ งั อยกู่ บั ท่ี นมสด เปรยี ง
น�ำ้ ผ้ึง เนยใส น้�ำมัน ซุปปลา ซุปเน้อื ท่ีเขาใชฝ้ า่ มือวักข้นึ มา ยอ่ มรัว่ ไหลออกทางร่องน้ิวมือได้
ไม่ขงั อยกู่ บั ทีฉ่ ันใด, ขอถวายพระพร เมอ่ื หนิ ๒ ก้อน โผลข่ ึ้นมาเพ่ือสะกดั กน้ั ก็ยงั มีสะเก็ดหนิ
ปริแตกจากกอ้ นหนิ เพราะการกระแทกกนั กระเดน็ ตกไปรอบด้าน กระทบท่พี ระบาทของพระ
ผมู้ พี ระภาคเจ้า ฉันนน้ั เหมือนกนั
‘‘ยถา วา ปน มหาราช สณฺหสขุ มุ อณุรชสมํ ปุฬิน ํ มฏุ ฺ ินา คหติ ํ องคฺ ลุ นฺตรกิ าหิ
ปคฺฆรติ ปสวติ น านมปุ คจฺฉต,ิ เอวเมว โข มหาราช สมปฺ ฏจิ ฉฺ นตถฺ ํ อุปคตาน ํ
ทวฺ ินฺน ํ เสลาน ํ สมปฺ หาเรน ปาสาณโต ปปฏกิ า ภิชฺชิตฺวา เยน วา เตน วา ปตนฺตี
ภควโต ปาเท ปตติ า ฯ
ขอถวายพระพร อกี อยา่ งหนึ่ง เปรยี บเหมอื นวา่ เม็ดทรายทีเ่ สมอดว้ ยฝ่นุ ละอองท่เี ล็ก
ละเอยี ด ที่เขาถือไว้ดว้ ยก�ำมือ ย่อมรว่ั ไหลออกทางร่องน้วิ มือ ไมข่ ังอยู่กับท่ฉี ันใด, ขอถวาย
พระพร เม่ือหนิ ๒ ก้อนโผล่ขึ้นมาเพอ่ื สะกดั กน้ั กย็ ังมสี ะเก็ดหนิ ปรแิ ตกจากกอ้ นหิน เพราะ
การกระแทกกัน กระเด็นตกไปรอบด้าน กระทบทีพ่ ระบาทของพระผมู้ พี ระภาคเจ้า ฉันนัน้
เหมือนกัน

กณั ฑ์] ๔.๓ ปณามติ วรรค 423

‘‘ยถา วา ปน มหาราช กพโฬ มุเขน คหิโต อเิ ธกจจฺ สสฺ มุขโต มจุ ฺจิตวฺ า
ปคฆฺ รต ิ ปสวต ิ น านมุปคจฺฉติ, เอวเมว โข มหาราช สมปฺ ฏจิ ฺฉนตฺถ ํ อุปคตาน ํ
ทวฺ นิ นฺ ํ เสลานํ สมฺปหาเรน ปาสาณโต ปปฏิกา ภชิ ชฺ ติ วฺ า เยน วา เตน วา ปตนตฺ ี
ภควโต ปาเท ปติตา’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร อกี อยา่ งหนึ่ง เปรียบเหมือนว่า ค�ำข้าวทใ่ี ชป้ ากอมไว้ ย่อมมีบางส่วน
หลดุ ตกออกจากปาก ไมต่ ั้งอยกู่ บั ท่ฉี นั ใด, ขอถวายพระพร เมื่อหนิ ๒ ก้อนโผลข่ ึ้นมาเพือ่
สะกดั ก้ัน ก็ยงั มีสะเก็ดหินปริแตกจากก้อนหิน เพราะการกระแทกกัน กระเดน็ ตกไปรอบด้าน
กระทบท่ีพระบาทของพระผู้มพี ระภาคเจา้ ฉนั น้ันเหมอื นกนั
‘‘โหต,ุ ภนฺเต นาคเสน เสเลห ิ ปาสาโณ สมฺปฏิจฺฉโิ ต, อถ ปปฏกิ ายป ิ อปจติ ิ
กาตพพฺ า ยเถว มหาปถวยิ า’’ติ ?
พระเจ้ามลิ นิ ทต์ รสั ว่า “เอาละ พระคุณเจา้ นาคเสน กเ็ ป็นอนั ว่า หินเล็ก ๒ ก้อน สะกัด
หินใหญไ่ ว้ได้ เมอ่ื เป็นเช่นนน้ั แม้สะเก็ดหนิ ก็น่าจะท�ำความย�ำเกรงพระผูม้ พี ระภาคเจ้า
เหมือนอย่างแผน่ ดินใหญบ่ ้าง”
‘‘ทวฺ าทสเิ ม มหาราช อปจิต ึ น กโรนฺติ ฯ กตเม ทฺวาทส ? รตฺโต ราควเสน
อปจติ ึ น กโรติ, ทฏุ โฺ โทสวเสน, มฬู โฺ ห โมหวเสน, อนุ ฺนโต มานวเสน, นคิ ฺคุโณ
อวเิ สสตาย, อตถิ ทโฺ ธ อนิเสธนตาย, หีโน หีนสภาวตาย, วจนกโร อนสิ สฺ รตาย, ปาโป
กทรยิ ตาย, ทุกฺขาปโิ ต ปฏทิ ุกฺขาปนตาย, ลุทโฺ ธ โลภาภิภูตตาย, อายูหโิ ต อตฺถสาธนตาย
อปจิตึ น กโรติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร คน ๑๒ จ�ำพวกเหล่านี้ ยอ่ มไมร่ ู้จัก
ท�ำความย�ำเกรง ๑๒ จ�ำพวกอะไรบา้ ง ไดแ้ ก่
๑. รตฺโต คนก�ำหนดั ย่อมไม่รจู้ กั ท�ำความย�ำเกรงดว้ ยอ�ำนาจแหง่ ราคะ
๒. ทฏุ ฺโ คนโกรธ ย่อมไมร่ ูจ้ กั ท�ำความย�ำเกรงด้วยอ�ำนาจแหง่ โทสะ
๓. มฬุ ฺโห คนหลง ย่อมไมร่ ู้จักท�ำความย�ำเกรงด้วยอ�ำนาจแหง่ โมหะ
๔. อนุ ฺนโต คนจองหอง ย่อมไมร่ ้จู กั ท�ำความย�ำเกรงด้วยอ�ำนาจแห่งมานะ
๕. นคิ ฺคโุ ณ คนเนรคุณ ย่อมไม่รู้จักท�ำความย�ำเกรงเพราะหาความแตกต่าง
มไิ ด้
๖. อตถิ ทฺโธ คนแข็งกระดา้ ง ย่อมไม่รู้จักท�ำความย�ำเกรงเพราะหาความรู้จักหัก

424 มิลนิ ทปัญหาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปญั ห

หา้ มใจมิได้
๗. หีโน คนเลว ย่อมไม่ร้จู กั ท�ำความย�ำเกรงเพราะมสี ภาวะแหง่ คนเลว
๘. วจนกโร คนคอยท�ำตามค�ำส่งั ย่อมไม่รู้จักท�ำความย�ำเกรงเพราะหาความ
เปน็ อสิ ระมไิ ด้
๙. ปาโป คนชวั่ ช้า ย่อมไม่รจู้ กั ท�ำความย�ำเกรงเพราะมีความตระหน่ี
๑๐. ทกุ ขาปิโต คนเปีย่ มดว้ ยความทุกข์ ยอ่ มไม่รู้จกั ท�ำความย�ำเกรงเพราะมัวแตค่ ิด
บ�ำบดั ทุกข์
๑๑. ลุทฺโธ คนโลภ ย่อมไม่รู้จักท�ำความย�ำเกรงเพราะความท่ีถูกความอยาก
ครอบง�ำ
๑๒. อายหู โิ ต คนงว่ นอยกู่ บั การงาน ย่อมไม่รู้จักท�ำความย�ำเกรงเพราะมุ่งแต่จะให้
ส�ำเรจ็ ส่ิงทีต่ ้องการ
อิเม โข มหาราช ทฺวาทส อปจิต ึ น กโรนฺติ ฯ สา จ ปน ปปฏกิ า ปาสาณ-
สมฺปหาเรน ภิชฺชติ วฺ า อนิมิตฺตกตทสิ า เยน วา เตน วา ปตมานา ภควโต ปาเท
ปตติ า ฯ
ขอถวายพระพร คน ๑๒ จ�ำพวกเหลา่ นี้ ไม่รูจ้ กั ท�ำความย�ำเกรง กแ็ ตว่ ่า สะเก็ดหิน ปริ
แตกเพราะการกระทบกนั แหง่ ก้อนหิน มิได้ท�ำหมายทิศไว้ กระเด็นไปรอบด้าน กระทบท่ี
พระบาทของพระผมู้ ีพระภาคเจ้า
‘‘ยถา วา ปน มหาราช สณหฺ สขุ ุมอณรุ โช อนิลพลสมาหโต อนิมติ ตฺ กตทิโส เยน
วา เตน วา อภกิ ริ ต,ิ เอวเมว โข มหาราช สา ปปฏิกา ปาสาณสมฺปหาเรน ภิชชฺ ติ วฺ า
อนิมติ ฺตกตทสิ า เยน วา เตน วา ปตมานา ภควโต ปาเท ปตติ า ฯ ยท ิ ปน มหาราช
สา ปปฏิกา ปาสาณโต วิสํุ น ภเวยยฺ , ตมปฺ ิ เต เสลา ปาสาณปปฏิก ํ อปุ ปฺ ตติ ฺวา
คณเฺ หยยฺ ํุ ฯ เอสา ปน มหาราช, ปปฏิกา น ภูมฏ ฺ า น อากาสฏฺ า, ปาสาณสมฺปหาร-
เวเคน ภชิ ชฺ ิตวฺ า อนมิ ิตฺตกตทิสา เยน วา เตน วา ปตมานา ภควโต ปาเท ปติตา ฯ
ขอถวายพระพร เปรยี บเหมือนว่า ขีฝ้ นุ่ ละอองอยา่ งละเอียด ถกู ก�ำลังลมพดั มิได้ท�ำ
หมายทศิ ไว้ กระจัดกระจายไปรอบด้าน ฉนั ใด, ขอถวายพระพร สะเกด็ หนิ น้นั ปริแตก เพราะ
แรงกระทบกนั แห่งศิลา มิไดท้ �ำหมายทศิ ไว้ กระเดน็ ไปรอบดา้ น กระทบท่พี ระบาทของพระผู้มี
พระภาคเจ้า ฉันน้นั เหมือนกัน ขอถวายพระพร ก็ถ้า สะเกด็ หินนั้น ไมพ่ งึ ปริแยกจากกอ้ นหิน

กณั ฑ์] ๔.๓ ปณามิตวรรค 425

หนิ ๒ กอ้ นนัน้ ผดุ ขึน้ มารับก้อนหนิ แมน้ ั้น ขอถวายพระพร สะเกด็ หินนัน้ ไม่ติดอยบู่ นพื้นดนิ
ไม่ตดิ อยู่ในอากาศ ปรแิ ตกเพราะแรงกระแทกแห่งกอ้ นหนิ มไิ ด้ท�ำหมายทศิ ไว้ กระเดน็ ตกไป
รอบดา้ น กระทบท่พี ระบาทของพระผู้มพี ระภาคเจา้
‘‘ยถา วา ปน มหาราช วาตมณฑฺ ลกิ าย อกุ ขฺ ติ ฺตํ ปรุ าณปณณฺ ํ อนมิ ติ ฺตกตทิส ํ เยน
วา เตน วา ปตต,ิ เอวเมว โข มหาราช เอสา ปปฏกิ า ปาสาณสมปฺ หารเวเคน
อนมิ ิตตฺ กตทิสา เยน วา เตน วา ปตมานา ภควโต ปาเท ปตติ า ฯ อปิจ มหาราช
อกต ฺ ุสฺส กทริยสฺส เทวทตฺตสสฺ ทุกฺขานุภวนาย ปปฏกิ า ภควโต ปาเท ปติตา’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร เปรียบเหมือนว่า ใบไมเ้ ก่า ๆ ถูกลมหัวด้วนพัดขน้ึ มิได้ท�ำหมายทิศ
ไว้ ตกไปรอบด้าน ฉันใด, ขอถวายพระพร สะเก็ดหนิ นัน้ มไิ ดท้ �ำหมายทศิ ไว้ เพราะแรง
กระแทกแห่งกอ้ นหนิ กระเดน็ ตกไปรอบดา้ น กระทบท่พี ระบาทของพระผมู้ พี ระภาค ฉันนัน้
เหมอื นกนั ขอถวายพระพร อนงึ่ สะเกด็ หนิ กระทบทพ่ี ระบาทของพระผูม้ พี ระภาคเจา้ เพ่ือให้
พระเทวทตั ผชู้ ั่วช้า เปน็ คนอกตัญญู ไดเ้ สวยทกุ ข ์ “
‘‘สาธุ ภนเฺ ต นาคเสน เอวเมต ํ ตถา สมฺปฏจิ ฺฉาม’ี ’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ นิ ท์ตรัสวา่ “ดีจริง พระคุณเจ้านาคเสน โยมขอยอมรบั ค�ำ ตามท่ีท่านกล่าว
มานี้”

ปาทกลกิ าหตปญฺโห อฏ€ฺ โม ฯ
จบปาทกลิกาหตปญั หาข้อที่ ๘

________

๙. อคฺคคคฺ สมณปญหฺ
๙. อัคคคั คสมณปญั หา
ปัญหาวา่ ด้วยสมณะผ้ยู อดเยีย่ ม
[๙] ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน ภาสิตมฺเปตํ ภควตา ‘อาสวาน ํ ขยา สมโณ โหตี’ติ ฯ
[๙] พระเจา้ มลิ ินท์ตรัสว่า “พระคุณเจา้ นาคเสน พระผมู้ ีพระภาคเจา้ ทรงภาษติ ความ
ข้อน้ไี วว้ า่ ‘ชื่อว่าเป็นสมณะ เพราะความสน้ิ อาสวะทง้ั หลาย’ ดงั น้ี

426 มิลินทปัญหาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปัญห

ปุน จ ภณติ ํ – ‘‘จตุพภฺ ิ ธมฺเมห ิ สมงฺคภิ ตู ํ

ต ํ เว นร ํ สมณ ํ อาหุ โลเก’ติ ฯ
และตรสั อกี วา่
“นรชนนั้นแลผู้พรง่ั พร้อมดว้ ยธรรมท้ัง ๔ ประการ บณั ฑิตทงั้
หลายกล่าววา่ เป็นสมณะในโลก” ดงั น้ี
ตตรฺ เิ ม จตฺตาโร ธมฺมา ขนฺติ อปปฺ าหารตา รติวปิ ปฺ หาน ํ อากิ จฺ ฺ ํ ฯ
ในค�ำท่ีตรัสไว้นั้น ธรรม ๔ อยา่ งเหลา่ น้ี ไดแ้ ก่
๑. ขนฺติ. ความอดทน
๒. อปฺปาหารตา. ความเป็นผ้มู ีอาหารน้อย
๓. รติวิปฺปหาน.ํ การละความยินดี
๔. อากิญจฺ ญฺฃ.ํ ความไมม่ ีสิ่งยุง่ เกีย่ ว

สพพฺ าน ิ ปเนตานิ อปรกิ ฺขณี าสวสสฺ สกเิ ลสสเฺ สว โหนฺติ ฯ ยท,ิ ภนเฺ ต นาคเสน
อาสวานํ ขยา สมโณ โหติ, เตนหิ ‘จตพุ ฺภ ิ ธมเฺ มห ิ สมงฺคภิ ตู ,ํ ต ํ เว นรํ สมณ ํ อาห ุ
โลเก’ติ ยํ วจนํ, ต ํ มจิ ฉฺ า ฯ ยท ิ จตพุ ภฺ ิ ธมเฺ มหิ สมงฺคภิ ูโต สมโณ โหต,ิ เตนห ิ
‘อาสวานํ ขยา สมโณ โหต’ี ติ ตมปฺ ิ วจน ํ มจิ ฺฉา, อยมฺปิ อภุ โต โกฏิโก ป ฺโห ตวานุป-ฺ
ปตฺโต, โส ตยา นพิ พฺ าหิตพฺโพ’’ติ ฯ
ก็สิ่งทง้ั หมดนี้ ยอ่ มมีแกผ่ ู้ท่ยี ังไมส่ ้ินอาสวะ ยังมีกเิ ลสอยนู่ ั่นเทยี ว พระคุณเจา้ นาคเสน
ถ้าหากว่า บุคคลเป็นสมณะเพราะสิ้นอาสวะทงั้ หลาย จริงไซร้ ถา้ อยา่ งนัน้ ค�ำทต่ี รสั ไวว้ า่ นระ
นนั้ แลผพู้ รงั่ พร้อมด้วยธรรม ๔ ประการ บณั ฑิตท้งั หลายกล่าวเปน็ สมณะในโลก ดงั น้ี ก็ย่อม
เปน็ ค�ำที่ผิด ถ้าหากเปน็ ผพู้ รงั่ พร้อมด้วยธรรม ๔ ประการ ชอื่ วา่ เปน็ สมณะจรงิ ไซร้ ถ้าอย่าง
นน้ั ค�ำทตี่ รสั ว่า ช่อื ว่าเป็นสมณะ กเ็ พราะส้ินอาสวะท้งั หลาย ดงั นี้ กย็ อ่ มเปน็ ค�ำท่ีผิด ปญั หา
ข้อน้ี ก็มี ๒ เงือ่ น ตกถึงแกท่ ่านแลว้ ขอทา่ นพึงช่วยคลค่ี ลายปัญหาน้นั เถิด”

‘‘ภาสติ มเฺ ปต ํ มหาราช ภควตา ‘อาสวาน ํ ขยา สมโณ โหต’ี ติ ฯ ปนุ จ ภณิตํ
‘จตพุ ฺภิ ธมเฺ มหิ สมงคฺ ภิ ตู ,ํ ตํ เว นรํ สมณํ อาห ุ โลเก’ติ ฯ ตททิ ํ มหาราช วจนํ เตสํ
เตสํ ปุคคฺ ลาน ํ คุณวเสน ภณติ ํ ‘จตพุ ฺภ ิ ธมเฺ มหิ สมงฺคิภูต,ํ ตํ เว นรํ สมณ ํ อาหุ โลเก’ต,ิ
อทิ ํ ปน นิรวเสสวจนํ ‘อาสวาน ํ ขยา สมโณ โหตี’ติ ฯ

กัณฑ]์ ๔.๓ ปณามิตวรรค 427

พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร พระผู้มีพระภาคเจา้ ทรง
ภาษติ ความขอ้ นไ้ี วว้ า่ ช่ือวา่ เปน็ สมณะ ก็เพราะสิ้นอาสวะทงั้ หลายดังนี้ จรงิ และตรสั ไวอ้ ีกว่า
นระนนั้ แลผู้พร่งั พรอ้ มด้วยธรรม ๔ ประการ บณั ฑติ ท้ังหลายกลา่ วว่า เป็นสมณะในโลก ดงั น้ี
จรงิ ขอถวายพระพร ค�ำนท้ี ีว่ า่ นระนนั้ แลผ้พู ร่งั พร้อมดว้ ยธรรม ๔ ประการ บณั ฑิตท้ังหลาย
กล่าววา่ เป็นสมณะในโลก ดงั นี้ นั้น ตรัสไวเ้ กยี่ วกบั เปน็ คุณธรรมส�ำหรับบคุ คลเหล่าน้นั สว่ น
ค�ำว่า ช่ือวา่ เปน็ สมณะ ก็เพราะสิ้นอาสวะท้งั หลาย ดังน้ี นี้ เป็นค�ำพูดทีห่ าสว่ นเหลอื มไิ ด้
‘‘อปิจ, มหาราช, เย เกจ ิ กิเลสปู สมาย ปฏิปนนฺ า, เต สพเฺ พ อุปาทายุปาทาย
สมโณ ขณี าสโว อคฺคมกฺขายติ ฯ ยถา มหาราช ยาน ิ กานิจ ิ ชลชถลชปปุ ผฺ านิ, วสฺสิกํ
เตส ํ อคคฺ มกขฺ ายติ, อวเสสาน ิ ยานิ กานิจิ ววิ ธิ าน ิ ปปุ ผฺ ชาตาน,ิ สพพฺ าน ิ ตาน ิ ปปุ ฺผานิ
เยว, อปุ าทายุปาทาย ปน วสฺสิกเํ ยว ปุปผฺ ํ ชนสฺส ปตถฺ ติ ํ ปหิ ยติ ํ ฯ เอวเมว โข มหาราช
เย เกจิ กิเลสปู สมาย ปฏปิ นฺนา, เต สพเฺ พ อุปาทายปุ าทาย สมโณ ขีณาสโว อคคฺ -
มกขฺ ายติ ฯ
ขอถวายพระพร อกี อยา่ งหนึ่ง บรรดาบุคคลเหล่าใดเหลา่ หนึ่ง ซ่ึงเปน็ ผู้ปฏบิ ัติเพ่อื สงบ
กิเลส (คือเปน็ สมณะ) พระขีณาสพผสู้ งบกเิ ลสได้แลว้ นั่นเทยี ว เทยี บ ๆ กบั บคุ คลเหลา่ นั้น
ท้งั หมดแลว้ กจ็ ัดว่าเปน็ ยอดสมณะ ขอถวายพระพร เปรียบเหมือนวา่ ดอกไม้ทง้ั ทเ่ี กิดในน้�ำ
ท้ังท่ีเกดิ บนบก เหลา่ ใดเหลา่ หนง่ึ บรรดาดอกไม้เหลา่ นั้น ดอกมะลิ กลา่ วได้ว่าเปน็ ยอดดอกไม้
กด็ อกไม้ชนดิ ต่าง ๆ เหล่าใดเหลา่ หน่งึ ทีเ่ หลือ ดอกมะลินั่นเทียว เทยี บ ๆ กบั ดอกไม้ทง้ั หมด
เหลา่ นัน้ แลว้ ก็จัดวา่ เป็นดอกไมท้ ค่ี นปรารถนา ที่คนช่ืนใจ ฉันใด, ขอถวายพระพร บคุ คลผู้
ปฏิบตั ิเพื่อสงบกเิ ลสเหล่าใดเหล่าหน่งึ พระขีณาสพผสู้ งบกเิ ลสได้แล้วนั่นเทยี ว เทียบ ๆ กับ
บคุ คลเหลา่ นนั้ แล้ว กจ็ ัดวา่ เปน็ ยอดสมณะ ฉนั นน้ั เหมือนกัน
‘‘ยถา วา ปน มหาราช สพฺพธ ฺ าน ํ สาล ิ อคคฺ มกฺขายติ, ยา กาจ ิ อวเสสา
วิวธิ า ธ ฺ ชาติโย, ตา สพฺพา อปุ าทายปุ าทาย โภชนานิ สรีรยาปนาย, สาลเิ ยว เตส ํ
อคคฺ มกขฺ ายติ ฯ เอวเมว โข มหาราช เย เกจิ กิเลสูปสมาย ปฏปิ นฺนา, เต สพฺเพ
อปุ าทายุปาทาย สมโณ ขีณาสโว อคคฺ มกฺขายต’ี ’ติ ฯ
ขอถวายพระพร อีกอยา่ งหน่ึง เปรยี บเหมอื นวา่ ขา้ วสาลี กล่าวไดว้ ่า เป็นยอดข้าวแห่ง
ประเภทข้าวทงั้ หลาย ขา้ วชนิดต่าง ๆ เหล่าใดเหลา่ หนง่ึ ท่ีเหลอื ข้าวสาลนี ่ันเทียว เทยี บ
กบั ขา้ วทั้งหมดเหลา่ นน้ั ด้วยความเปน็ โภชนะเยยี วยาสรรี ะแลว้ ก็กล่าวไดว้ า่ เปน็ ยอดโภชนะ

428 มลิ นิ ทปญั หาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปัญห

แห่งบรรดาขา้ วเหลา่ น้ัน ฉันใด, ขอถวายพระพร บุคคลผู้ปฏิบัติเพือ่ สงบกเิ ลสเหล่าใดเหล่า
หนง่ึ พระขีณาสพผสู้ งบกิเลสได้แลว้ นัน่ เทยี ว เทยี บ ๆ กบั บคุ คลเหลา่ นั้นทงั้ หมดแลว้ กจ็ ัดว่า
เปน็ ยอดสมณะ ฉนั น้นั เหมอื นกัน”

‘‘สาธ ุ ภนฺเต นาคเสน เอวเมต ํ ตถา สมปฺ ฏิจฉฺ ามี’’ติ ฯ
พระเจา้ มิลนิ ทต์ รสั ว่า “ดีจรงิ พระคณุ เจา้ นาคเสน โยมขอยอมรับค�ำ ตามทที่ ่านกล่าวมา
นี้”

อคคฺ คคฺ สมณปญฺโห นวโม ฯ
จบอคั คคั คสมณปญั หาขอ้ ที่ ๙

________

๑๐. วณณฺ ภณนปญฺห

๑๐. วัณณภณนปัญหา

ปญั าวา่ ดว้ ยการกลา่ วค�ำสรรเสรญิ

[๑๐] ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน ภาสติ มฺเปต ํ ภควตา ‘มมํ วา ภิกฺขเว ปเร วณฺณํ
ภาเสยยฺ ,ุํ ธมฺมสสฺ วา สฆํ สสฺ วา วณฺณํ ภาเสยฺย,ํุ ตตฺร ตมุ ฺเหหิ น อานนฺโท, น
โสมนสสฺ ํ, น เจตโส อปุ ฺปิลาวิตตตฺ ํ กรณียน’ฺ ต ิ ปุน จ ตถาคโต เสลสฺส พรฺ าหฺมณสฺส
ยถาภจุ ฺเจ วณฺเณ ภ ฺ มาเน อานนฺทิโต สุมโน อปุ ฺปลิ าวโิ ต ภิยฺโย อุตตฺ ร ึ สกคณุ ํ
ปกิตฺเตส ิ –
‘‘ราชาหมสฺมิ เสลาต ิ ธมฺมราชา อนุตฺตโร
ธมเฺ มน จกกฺ ํ วตเฺ ตม ิ จกกฺ ํ อปฺปฏิวตฺติยนฺ’ติ ฯ
[๑๐] พระเจา้ มลิ นิ ท์ตรัสวา่ “พระคณุ เจ้านาคเสน พระผู้มีพระภาคเจา้ ทรงภาษติ ความ
ขอ้ น้ไี ว้ว่า ‘ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ถึงคนพวกอื่นจะพึงกล่าวยกย่องเรา กลา่ วยกยอ่ งพระธรรม หรือ
กล่าวยกย่องพระสงฆก์ ็ตาม พวกเธอไมค่ วรท�ำความร่นื เริงดีใจ หรือความปลาบปล้ืมใจในค�ำท่ี
เขากล่าวสรรเสริญนน้ั ’ ดงั นี้ และเมอื่ เสลพราหมณ์กล่าวสรรเสริญธรรมตามความเปน็ จริงอยู่
พระตถาคตกท็ รงเป็นผูเ้ พลิดเพลิน ดีพระทัย ปลาบปล้ืมพระทยั ประกาศคุณของพระองค์เอง
ใหด้ ียง่ิ ข้นึ ไป อกี ว่า
“เสลพราหมณ์ เราเปน็ พระราชาอยู่แล้ว คอื เป็นพระธรรม

กณั ฑ]์ ๔.๓ ปณามิตวรรค 429

ราชาผยู้ อดเยีย่ ม ยังธรรมจักรท่ไี ม่มใี คร ๆ หมนุ ไปได้ ให้หมุน
ไปได”้

‘‘ยท ิ ภนฺเต นาคเสน ภควตา ภณิต ํ ‘มมํ วา ภกิ ฺขเว ปเร วณณฺ ํ ภาเสยฺยุ,ํ
ธมฺมสสฺ วา สฆํ สฺส วา วณณฺ ํ ภาเสยฺยํ,ุ ตตฺร ตมุ เฺ หห ิ น อานนฺโท, น โสมนสฺส,ํ น
เจตโส อปุ ฺปิลาวติ ตฺต ํ กรณียนฺ’ติ, เตนห ิ เสลสฺส พฺราหฺมณสสฺ ยถาภจุ ฺเจ วณฺเณ
ภ ฺ มาเน อานนทฺ โิ ต สุมโน อปุ ฺปลิ าวิโต ภยิ ฺโย อุตตฺ ร ึ สกคุณ ํ ปกติ เฺ ตสตี ิ ยํ วจนํ, ต ํ
มิจฉฺ า ฯ ยท ิ เสลสฺส พฺราหมฺ ณสฺส ยถาภุจเฺ จ วณฺเณ ภ ฺ มาเน อานนทฺ ิโต สมุ โน
อุปปฺ ลิ าวิโต ภิยโฺ ย อุตฺตร ึ สกคณุ ํ ปกิตฺเตส,ิ เตนหิ ‘มม ํ วา ภกิ ฺขเว ปเร วณฺณํ
ภาเสยยฺ ํ,ุ ธมมฺ สฺส วา สฆํ สฺส วา วณฺณํ ภาเสยยฺ ,ํุ ตตฺร ตุมฺเหห ิ น อานนโฺ ท, น
โสมนสฺสํ, น เจตโส อุปปฺ ิลาวิตตฺตํ กรณยี น’ฺ ติ ตมฺป ิ วจน ํ มจิ ฺฉา ฯ อยมปฺ ิ อุภโต โกฏโิ ก
ป โฺ ห ตวานปุ ปฺ ตโฺ ต, โส ตยา นิพพฺ าหิตพฺโพ’’ติ ฯ
พระคณุ เจา้ นาคเสน ถา้ หากพระผ้มู พี ระภาคเจ้าตรสั ไวว้ า่ ภิกษทุ งั้ หลาย คนอน่ื ๆ พงึ
กลา่ วสรรเสริญเราบา้ ง พงึ กลา่ วสรรเสริญพระธรรมบา้ ง พงึ กล่าวสรรเสริญพระสงฆบ์ ้าง พวก
เธอไมค่ วรท�ำความรน่ื เรงิ ดีใจ หรอื ความปลาบปลมื้ ใจ ในค�ำท่ีเขากล่าวสรรเสรญิ นัน้ ดังนี้ จรงิ
ไซร้ ถ้าอย่างนั้น ค�ำทว่ี า่ เมื่อเสลพราหมณก์ ลา่ วสรรเสรญิ ตามความเป็นจรงิ อยู่ พระตถาคตก็
ทรงเป็นผูเ้ พลิดเพลนิ ดีพระทยั ปลาบปลืม้ พระทัย ประกาศคุณของพระองค์เอง ใหย้ ่งิ ขึ้นไป
ดงั น้ี กไ็ ม่ถูกตอ้ ง, ถ้าหากว่า เมือ่ เสลพราหมณก์ ล่าวสรรเสริญตามความเปน็ จรงิ อยู่ พระ
ตถาคตกท็ รงเป็นผู้เพลดิ เพลิน ดพี ระทยั ปลาบปล้ืมพระทัย ประกาศคุณของพระองคเ์ อง ให้
ยิ่งขึน้ ไป จริงไซร,้ ถ้าอยา่ งนนั้ ค�ำทวี่ า่ ภิกษุทัง้ หลาย คนอน่ื ๆ พึงกลา่ วสรรเสรญิ เราบ้าง พงึ
กลา่ วสรรเสรญิ พระธรรมบ้าง พงึ กลา่ วสรรเสริญพระสงฆบ์ า้ ง พวกเธอไมค่ วรท�ำความร่ืนเริง
ดีใจ หรือความปลาบปลื้มใจ ในค�ำกลา่ วสรรเสริญนัน้ ดงั นี้ กย็ ่อมเปน็ ค�ำทผ่ี ิด, ปัญหาแมน้ ี้มี ๒
เงือ่ น ตกถึงแกท่ า่ นแล้ว ขอทา่ นพงึ ช่วยคล่คี ลายปญั หานั้น”

‘‘ภาสติ มเฺ ปตํ มหาราช ภควตา ‘มม ํ วา ภกิ ฺขเว ปเร วณฺณํ ภาเสยฺยํ,ุ ธมฺมสสฺ วา
สํฆสฺส วา วณณฺ ํ ภาเสยฺย,ํุ ตตฺร ตุมเฺ หหิ น อานนฺโท, น โสมนสสฺ ,ํ น เจตโส
อปุ ปฺ ลิ าวติ ตฺตํ กรณียนฺ”ติ ฯ เสลสฺส จ พรฺ าหฺมณสฺส ยถาภจุ เฺ จ วณฺเณ ภ ฺ มาเน ภิยโฺ ย
อตุ ฺตรึ สกคณุ ํ ปกติ ฺตติ ํ –
‘‘ราชาหมสมฺ ิ เสลาติ ธมมฺ ราชา อนุตฺตโร
ธมเฺ มน จกกฺ ํ วตฺเตมิ จกฺก ํ อปปฺ ฏิวตตฺ ยิ นฺ”ติ ฯ

430 มิลินทปญั หาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปัญห

พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร พระผมู้ ีพระภาคเจา้ ทรง
ภาษติ ความขอ้ น้ีไวว้ า่ ภกิ ษทุ ้ังหลาย คนอน่ื ๆ พึงกลา่ วสรรเสรญิ เราบา้ ง ฯลฯ พวกเธอไม่ควร
ท�ำความปลาบปลมื้ ใจ ในค�ำท่ีเขากล่าวสรรเสรญิ น้นั ดังนี้ จริง และเมือ่ เสลพราหมณก์ ล่าว
สรรเสรญิ ตามความเปน็ จริงอยู่ พระตถาคต ทรงเป็นผเู้ พลดิ เพลนิ ฯลฯ ปรารภคณุ ของตนให้
ยิง่ ข้ึนไปว่า

“ทา่ นเสลพราหมณ์ เราเป็นพระราชาอยแู่ ลว้ คือ เป็นพระธรรม
ราชา ผยู้ อดเยีย่ ม ยงั พระธรรมจกั รท่ไี ม่มีใคร ๆ หมุนไปได้
ให้หมุนไปได”้
‘‘ป มํ มหาราช ภควตา ธมฺมสฺส สภาวสรสลกขฺ ณ ํ สภาวํ อวติ ถํ ภูตํ ตจฺฉ ํ ตถตฺถ ํ
ปรทิ ีปยมาเนน ภณิต ํ ‘มมํ วา ภกิ ฺขเว ปเร วณณฺ ํ ภาเสยฺย,ํุ ธมฺมสสฺ วา สฆํ สฺส วา วณณฺ ํ
ภาเสยยฺ ํุ, ตตรฺ ตมุ เฺ หห ิ น อานนโฺ ท, น โสมนสฺสํ, น เจตโส อุปปฺ ลิ าวติ ตฺตํ
กรณยี ’นฺติ ฯ ย ํ ปน ภควตา เสลสสฺ พฺราหฺมณสฺส ยถาภุจเฺ จ วณเฺ ณ ภ ฺ มาเน ภยิ ฺโย
อตุ ฺตร ึ สกคณุ ํ ปกติ ฺตติ ํ ‘ราชาหมสฺมิ เสลาต,ิ ธมมฺ ราชา อนุตตฺ โร’ติ ต ํ น ลาภเหตุ, น
ยสเหต,ุ น อตฺตเหต,ุ น ปกขฺ เหตุ, น อนฺเตวาสกิ มฺยตาย, อถ โข อนกุ มฺปาย การุ เฺ น
หิตวเสน เอว ํ อมิ สสฺ ธมมฺ าภิสมโย ภวสิ ฺสติ ติณฺณ ฺจ มาณวกสตานนฺติ, เอวํ ภิยฺโย
อตุ ตฺ ร ึ สกคณุ ํ ภณติ ํ ‘ราชาหมสฺม ิ เสลาต ิ ธมฺมราชา อนตุ ฺตโร’ติ ฯ
ขอถวายพระพร คร้ังแรก พระผูม้ ีพระภาคเจ้า เม่ือจะทรงแสดงสภาวะทีม่ ีลักษณะ
พร้อมทัง้ รสตามความเป็นจรงิ ท่ไี มค่ ลาดเคล่อื น ทเ่ี ปน็ จรงิ ที่แท้ ท่มี คี วามเปน็ ของแทแ้ ห่งพระ
ธรรม จึงตรัสไว้กอ่ นว่า ภกิ ษทุ ง้ั หลาย พวกคนอื่น ๆ พงึ กลา่ วสรรเสรญิ เราบา้ ง พงึ กล่าว
สรรเสรญิ พระธรรมบ้าง พงึ กลา่ วสรรเสรญิ พระสงฆบ์ า้ ง พวกเธอไม่ควรท�ำความรน่ื เริง ดใี จ
หรือความปลาบปลื้มใจ ในค�ำกลา่ วสรรเสริญนนั้ ดังนี้ สว่ นขอ้ ท่ีว่า เมือ่ เสลพราหมณ์กล่าว
สรรเสริญตามความเป็นจรงิ อยู่ พระผูม้ ีพระภาคเจ้าก็ทรงประกาศพระคุณของพระองค์เองให้
ยิ่งขน้ึ ไปวา่ ทา่ นเสลพราหมณ์ เราเปน็ พระราชาอยู่แล้ว คอื เป็นพระธรรมราชา ผยู้ อดเย่ียม
ดังน้เี ป็นต้น ใด ขอ้ นนั้ ทรงประกาศไว้ หาใช่เพราะเหตุแห่งลาภไม่ หาใชเ่ พราะเหตแุ หง่ ยศไม่
หาใช่เพราะเหตแุ หง่ ตนไม่ หาใช่เหตุแหง่ พวกพอ้ งไม่ หาใชเ่ พราะความอยากได้ศษิ ยไ์ ม่ แต่ว่า
ทรงประกาศเพ่อื จะอนเุ คราะหป์ ระโยชน์เกอ้ื กูล ด้วยพระมหากรณุ า ค�ำว่า พราหมณ์ผูน้ ้แี ละ
มาณพอีก ๓๐๐ คน จักมกี ารบรรลธุ รรมได้ โดยประการอย่างนี้ ดงั น้ี แลว้ จงึ ตรัสถึงพระคุณ
ของพระองค์เอง ใหย้ งิ่ ข้ึนไป อย่างนี้วา่ เสลพราหมณ์ เราเปน็ พระราชาอยู่แล้ว คอื เป็นธรรม

กัณฑ]์ ๔.๓ ปณามิตวรรค 431

ราชาผูย้ อดเยีย่ ม ดังนีเ้ ป็นตน้
‘‘สาธ ุ ภนฺเต นาคเสน เอวเมตํ ตถา สมฺปฏิจฉฺ าม’ี ’ติ ฯ
พระเจ้ามิลนิ ทต์ รัสวา่ “ดีจริง พระคณุ เจา้ นาคเสน โยมขอยอมรับตามค�ำทท่ี ่านกล่าวมา
นี้”

วณณฺ ภณนปญโฺ ห ทสโม ฯ
จบวัณณภณนปญั หาขอ้ ท่ี ๑๐

________

๑๑. อหสึ านิคฺคหปญฺห
๑๑. อหงิ สานคิ คหปญั หา
ปญั หาวา่ ดว้ ยความไมเ่ บียดเบียนและการขม่ ผู้ที่ควรขม่
[๑๑] ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน ภาสิตมฺเปตํ ภควตา ‘อหึสาย จร โลเก, ปิโย โหหสิ ิ
มํมิวา’ติ ฯ ปนุ จ ภณติ ํ ‘นิคฺคณฺเห นิคคฺ หารหํ, ปคคฺ ณเฺ ห ปคฺคหารห’นตฺ ิ ฯ นิคฺคโห
นาม, ภนเฺ ต นาคเสน หตฺถจฺเฉโท ปาทจเฺ ฉโท วโธ พนธฺ นํ การณา มารณํ สนฺตตวิ โิ กปน,ํ
น เอต ํ วจน ํ ภควโต ยตุ ฺต,ํ น จ ภควา อรหต ิ เอตํ วจนํ วตตฺ ํุ ฯ ยทิ, ภนฺเต
นาคเสน ภควตา ภณติ ํ ‘อหสึ ย ํ ปรํ โลเก, ปโิ ย โหหิส ิ มามโก’’ต,ิ เตนห ิ ‘‘นคิ คฺ ณเฺ ห
นคิ ฺคหารหํ, ปคคฺ ณฺเห ปคฺคหารห’’นตฺ ิ ย ํ วจนํ, ตํ มจิ ฉฺ า ฯ ยท ิ ตถาคเตน ภณติ ํ
‘‘นิคฺคณเฺ ห นคิ คฺ หารห,ํ ปคฺคณฺเห ปคฺคหารห’’นตฺ ,ิ เตนห ิ ‘‘อหสึ ยํ ปรํ โลเก, ปโิ ย
โหหิส ิ มามโก’’ต ิ ตมปฺ ิ วจนํ มิจฉฺ า ฯ อยมปฺ ิ อุภโต โกฏิโก ป โฺ ห ตวานุปฺปตโฺ ต,
โส ตยา นพิ ฺพาหติ พฺโพ’’ติ ฯ
[๑๑] พระเจ้ามลิ ินทต์ รสั วา่ “พระคณุ เจา้ นาคเสน พระผมู้ พี ระภาคเจา้ ทรงภาษิตความ
ข้อน้ไี ว้ว่า ‘ท่านจงประพฤติแต่ความไม่เบียดเบยี นในโลก จักเป็นท่ีรักของชาวโลก เหมอื น
อย่างโยม’ และยังตรสั ไว้อีกว่า ‘พงึ ขม่ คนท่ีควรขม่ พึงยกยอ่ งคนทค่ี วรยกยอ่ ง’ พระคณุ เจา้
นาคเสน ขึน้ ชือ่ วา่ การขม่ ไดแ้ ก่ การตัดมอื การตัดเทา้ การฆ่า การจองจ�ำ การใหท้ �ำงานหนัก
การทรมานจนตาย การท�ำลายเครือ่ งสบื ต่อชวี ติ ค�ำวา่ ขม่ น้ี ไม่สมควรแก่พระผู้มีพระภาคเจ้า
และพระผ้มู ีพระภาคเจ้าไมค่ วรจะตรสั ค�ำน้ี พระคณุ เจา้ นาคเสน ถา้ หากว่า พระผูม้ พี ระภาคเจ้า
ตรสั ไว้วา่ จงประพฤติแตค่ วามไมเ่ บียดเบียนผูอ้ ื่นในโลก ทา่ นจกั เปน็ ที่รกั เหมอื นเราเทียว

432 มิลนิ ทปัญหาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปัญห

ดังนี้ จรงิ ไซร้, ถา้ อยา่ งนน้ั ค�ำท่ีว่า พึงข่มคนที่ควรข่ม พงึ ยกยอ่ งคนที่ควรยกยอ่ ง ดังนี้ ก็ย่อม
เปน็ ค�ำท่ีผิด; ถา้ หากว่า พระผมู้ ีพระภาคเจา้ ตรสั ไว้วา่ พึงขม่ คนที่ควรขม่ พึงยกยอ่ งคนทีค่ วร
ยกย่อง ดังนี้ จริงไซร้, ถา้ อยา่ งน้นั ค�ำท่วี ่า จงประพฤติแต่ความไม่เบียดเบยี นในโลก ท่านจง
เปน็ ท่รี กั เหมือนเราเทยี ว ก็ยอ่ มเป็นค�ำทผ่ี ิด, ปญั หาแมข้ อ้ นี้ กม็ ี ๒ เง่ือน ตกถึงแกท่ ่านแล้ว
ขอทา่ นพึงคล่คี ลายปญั หานน้ั เถิด”
‘‘ภาสิตมฺเปต ํ มหาราช ภควตา ‘อหสึ าย จร โลเก, ปโิ ย โหหสิ ิ มมํ ิวา’ติ, ภณิต ฺจ
‘นคิ ฺคณเฺ ห นิคฺคหารหํ, ปคฺคณฺเห ปคฺคหารหน’ฺ ติ ฯ ‘อหึสาย จร โลเก, ปโิ ย
โหหิส ิ มํมวิ า’ต ิ สพเฺ พสํ มหาราช ตถาคตานํ อนมุ ต ํ เอต,ํ เอสา อนสุ ฏิ ฺ ิ, เอสา
ธมฺมเทสนา, ธมโฺ ม หิ มหาราช อหสึ าลกขฺ โณ, สภาววจน ํ เอตํ ฯ ย ํ ปน มหาราช
ตถาคโต อาห ‘นิคคฺ ณเฺ ห นคิ ฺคหารหํ, ปคฺคณเฺ ห ปคฺคหารหน’ฺ ติ, ภาสา เอสา อุทฺธตํ
มหาราช จติ ฺตํ นคิ ฺคเหตพฺพ,ํ ลนี ํ จติ ตฺ ํ ปคฺคเหตพฺพํ ฯ อกสุ ล ํ จิตฺต ํ นิคคฺ เหตพพฺ ํ, กสุ ลํ
จติ ตฺ ํ ปคคฺ เหตพฺพํ ฯ อโยนโิ ส มนสกิ าโร นิคคฺ เหตพฺโพ, โยนโิ ส มนสกิ าโร ปคฺคเหตพโฺ พ
ฯ มจิ ฺฉาปฏิปนโฺ น นิคคฺ เหตพโฺ พ, สมมฺ าปฏปิ นฺโน ปคคฺ เหตพฺโพ ฯ อนรโิ ย นคิ คฺ เหตพฺโพ
อริโย ปคคฺ เหตพฺโพ ฯ โจโร นคิ ฺคเหตพฺโพ, อโจโร ปคฺคเหตพฺโพ’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร พระผมู้ ีพระภาคเจ้าทรง
ภาษติ ความขอ้ นไ้ี ว้ว่า จงประพฤตแิ ตค่ วามไมเ่ บียดเบียนในโลก ท่านจักเปน็ ท่ีรกั เหมอื นเรา
เทยี ว ดังนี้ จรงิ และตรัสไว้วา่ พึงขม่ คนทค่ี วรขม่ พงึ ยกยอ่ งคนท่คี วรยกยอ่ ง ดังน้จี รงิ ขอถวาย
พระพร ค�ำว่า จงประพฤตแิ ต่ความไม่เบยี ดเบียนในโลก ทา่ นจกั เปน็ ท่รี ัก เหมือนเราเทียว
ดงั นี้ น้ี เป็นค�ำทพี่ ระตถาคตทกุ พระองคท์ รงเหน็ ชอบ นเ้ี ป็นค�ำท่ีทรงอนศุ าสน์ นเ้ี ป็นธรรม
เทศนาของพระตถาคตทุกพระองค์ ขอถวายพระพร เป็นความจรงิ วา่ พระธรรมมีความไม่
เบียดเบียนเปน็ ลักษณะ ค�ำนี้ จึงเป็นค�ำท่ตี รสั ไวต้ ามสภาวะ ขอถวายพระพร ส่วนค�ำทพ่ี ระ
ตถาคตตรสั ไวว้ ่า พงึ ขม่ คนท่ีควรข่ม พึงยกย่องคนทคี่ วรยกยอ่ ง ดังนี้ นเี้ ปน็ เพียงภาษา ขอ
ถวายพระพร จติ ทฟ่ี งุ้ พงึ ข่มเสยี จิตทีห่ ดหู่ พึงยกข้นึ อกุศลจติ พึงข่มเสีย กุศลจิตพึงยกข้ึน อ
โยนโิ สมนสกิ าร พงึ ขม่ เสีย โยนโิ สมนสิการ พงึ ยกข้นึ ผปู้ ฏบิ ัติผิด พงึ ขม่ เสีย ผู้ปฏิบัติชอบ พึง
ยกยอ่ ง ผไู้ ม่ใชอ่ รยิ ะพึงข่มเสยี ผเู้ ปน็ อริยะ พึงยกยอ่ ง ผเู้ ป็นโจรพึงข่มเสยี ผไู้ ม่ใช่โจรพึง
ยกย่อง” ดงั น้ี
‘‘โหตุ ภนเฺ ต นาคเสน อิทานิ ตวฺ ํ ปจฺจาคโตส ิ มม วิสย,ํ ยมหํ ปจุ ฉฺ าม,ิ โส เม
อตโฺ ถ อปุ คโต ฯ โจโร ปน ภนเฺ ต นาคเสน นิคฺคณหฺ นฺเตน กถ ํ นคิ ฺคเหตพโฺ พ’’ติ ?

กณั ฑ์] ๔.๓ ปณามิตวรรค 433

พระเจา้ มิลนิ ท์ตรสั วา่ “เอาละ พระคณุ เจ้านาคเสน ตวั ทา่ นได้กลับมายงั วิสยั ของโยม
แลว้ โยมถามเพอื่ ประโยชนใ์ ด โยมกไ็ ดบ้ รรลุถึงประโยชนน์ ั้นแล้ว พระคุณเจา้ นาคเสน ผทู้ จี่ ะ
ขม่ โจร จะพงึ ข่มอย่างไร ?
‘‘โจโร มหาราช นคิ ฺคณฺหนเฺ ตน เอว ํ นคิ คฺ เหตพฺโพ, ปริภาสนโี ย ปรภิ าสิตพโฺ พ,
ทณฑฺ นโี ย ทณเฺ ฑตพโฺ พ, ปพพฺ าชนโี ย ปพพฺ าเชตพฺโพ, พนฺธนโี ย พนฺธิตพโฺ พ, ฆาตนโี ย
ฆาเตตพโฺ พ’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร ผู้ท่จี ะข่มโจร พงึ ข่มอย่างนี้
ถ้าควรด่า กต็ ้องดา่ ถา้ ควรลงทณั ฑ์ กค็ วรลงทัณฑ์ ถ้าควรขับไล่ กต็ อ้ งขบั ไล่ ถา้ ควรจองจ�ำ ก็
ต้องจองจ�ำ ถา้ ควรฆ่า ก็ตอ้ งฆา่ ”
‘‘ย ํ ปน ภนฺเต นาคเสน โจรานํ ฆาตน,ํ ต ํ ตถาคตาน ํ อนุมตนฺ”ติ ?
พระเจา้ มิลนิ ท์ตรัสว่า “พระคุณเจา้ นาคเสน พระตถาคตท้ังหลายทรงเห็นชอบการฆา่
พวกโจรหรอื ”
‘‘น ห ิ มหาราชา’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “หามิได้ มหาบพติ ร”
‘‘กสิ ฺส ปน โจโร อนสุ าสนีโย อนุมโต ตถาคตานนฺ”ติ ?
พระเจ้ามิลินท์ตรัสวา่ “โจร ก็เป็นผ้ทู พี่ ระตถาคตทรงเห็นชอบว่า เป็นผู้ท่ีควรอนศุ าสน์
(พร�่ำสอน) หรือ ?”
‘‘โย โส มหาราช ฆาตยี ติ, น โส ตถาคตาน ํ อนุมติยา ฆาตียต,ิ สยกํ เตน
โส ฆาตยี ต,ิ อปจิ ธมมฺ านสุ ิฏ ฺ ยิ า อนุสาสยี ติ, สกกฺ า ปน มหาราช ตยา ปุริสํ อการกํ
อนปราธ ํ วีถิย ํ จรนฺตํ คเหตฺวา ฆาตยิตนุ ฺ”ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร โจรท่ีถกู ฆา่ หาไดถ้ ูกฆา่ เพราะพระ
ตถาคตทรงเห็นชอบไม่ โจรผนู้ ั้น ถูกฆา่ เพราะกรรมที่ตนเองได้ท�ำไว้ ก็แตว่ ่า พระตถาคตจะ
ทรงอนศุ าสน์ (พวกโจร) ด้วยค�ำอนุศาสน์ คือ ธรรมเทศนา ขอถวายพระพร พระองคท์ รงอาจ
จับเอาบุรุษผู้ไมไ่ ด้ท�ำผดิ ผู้หาโทษมิได้ ซึ่งก�ำลังเดินอยู่ทถี่ นนไปฆ่าไดห้ รือไม่ ?”
‘‘น สกฺกา ภนเฺ ต’’ติ ฯ
พระเจา้ มิลนิ ทต์ รัสวา่ “ไมอ่ าจท�ำไดห้ รอก พระคุณเจ้า”


Click to View FlipBook Version