The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

มิลินทปัญหาปกรณ์แปล เล่ม ๒ ถาม-ตอบปัญหาในพระไตรปิฎก

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ืทีมงานกรุธรรม, 2022-03-09 22:17:47

มิลินทปัญหาปกรณ์แปล เล่ม ๒ ถาม-ตอบปัญหาในพระไตรปิฎก

มิลินทปัญหาปกรณ์แปล เล่ม ๒ ถาม-ตอบปัญหาในพระไตรปิฎก

Keywords: มิลินทปัญหาปกรณ์แปล เล่ม ๒ ถาม-ตอบปัญหาในพระไตรปิฎก

มิลินทปัญหาปกรณแ์ ปล

เลม่ ๒

ถาม - ตอบปัญหาในพระไตรปิฎก
ระหวา่ งพระเจ้ามิลนิ ท์ กับ พระนาคเสนเถระ



พระมหาธิตพิ งศ์ อุตฺตมปญโฺ 

แปล

ชื่อหนงั สอื : มิลินทปัญหาปกรณ์แปล เล่ม ๒
ISBN : 978-616-577-092-7
แปลและเรียบเรียง :
คอมพิวเตอร/์ จัดรูปเลม่ : พระมหาธติ ิพงศ์ อตุ ตฺ มปญโฺ ญ
ตรวจทาน :
พระมหาธติ พิ งศ์ อตุ ฺตมปญฺโญ
ออกแบบปก :
วัน/เดอื น/ปีพมิ พ์ : พระมหาพิเชษฐ์ เตชธมฺโม พระมหาจรณุ จารุวณฺโณ
พิมพ์ครง้ั ท่ี ๑ : คณุ วไิ ล สีสรรพ์ คุณพรพิมพ์ กจิ สิรพิ นั ธ์
คุณปกรณ์ เจด็ คัมภีร์ คณุ สพุ าณี สพุ งศ์พฒั นกจิ
พิมพ์ท่ี :
คุณชยั โย ทองหม่นื ไวย์

ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๖๓

จาำ�นวน ๒๓,,๐๐๐๐๐๐เลเลม่ ม่
โดย คณุ แมส่ ุวรรณ ตนั ตระเธียร
จัดพมิ พ์เผยแพรเ่ ปน็ ธรรมทาน

หา้ งหุ้นสว่ นจำากดั ประยูรสาส์นไทย การพมิ พ์
๔๔/๑๓๒ หมู่ ๖ ถ.กาำ นันแม้น แขวงบางขุนเทียน
เขตจอมทอง กรุงเทพฯ ๑๐๑๕๐
โทรศพั ท์ 0-2802-0377, 0-2802-0379
โทรสาร 0-2802-0379 มือถอื 08-1566-2540

(ก)

ค�ำนำ�

จากประวัติของคัมภีรม์ ิลินทปัญหาที่กลา่ วไวใ้ นบพุ พโยคกณั ฑ์ ตอนว่าด้วยพาหิรกถา
วา่ “สามเณรก็ร้องไห้ เพราะความกลัว จึงหอบขยะไปท้ิง ได้ตง้ั ความปรารถนาเปน็ ครั้งแรก
ว่า “ด้วยบุญกรรมคือการทง้ิ ขยะน้ี เรายังไม่บรรลพุ ระนิพพานเพียงใด, ในระหว่างกาลน้ี ขอ
เราพึงเปน็ ผมู้ ีศกั ด์ใิ หญ่ มเี ดชมาก เหมือนอย่างดวงอาทิตย์ในเวลาเท่ยี งวนั ในทท่ี ุกสถานท่ี
เราบงั เกดิ ขึ้นเถิด” พอท้งิ ขยะเสรจ็ แล้ว ก็ไปยงั ท่าน้�ำคงคาเพ่อื สรงน้�ำ พอเห็นระลอกคล่นื
ในแมน่ ำ้� คงคาทีห่ มุนเป็นเกลียวมาอยู่ กต็ ัง้ ความปรารถนาแมเ้ ปน็ ครง้ั ท่ี ๒ ว่า “เรายงั ไมบ่ รรลุ
พระนิพพานเพยี งใด, ในระหว่างกาลนี้ ขอเราพึงเปน็ ผมู้ ปี ฏิภาณอุบตั ิขึ้นโดยสมควรแก่เหตุ
มีปฏิภาณไม่รู้จักหมดจักส้นิ ไป เหมอื นระลอกคลน่ื น้ี ในท่ที กุ สถานท่เี ราบงั เกิดขึน้ เถดิ ”
แม้ภกิ ษรุ ูปน้นั พอวางไมก้ วาดไวท้ โี่ รงเก็บไม้กวาด กเ็ ดนิ ไปยังทา่ นำ้� ทีแ่ มน่ ้�ำคงคา
เพือ่ ตอ้ งการจะสรงนำ�้ เชน่ กนั ได้ยินค�ำปรารถนาของสามเณรเข้า จงึ คิดวา่ “สามเณรรูปนี้ แม้
ถูกเราใช้กย็ ังปรารถนาอยา่ งนก้ี ่อน ก็ความปรารถนานนั้ จักไม่ส�ำเร็จแก่เราบ้างหรอื ” ดังนแ้ี ล้ว
ก็ได้ต้งั ความปรารถนาว่า “ในระหว่างกาลทเ่ี รายงั ไมไ่ ดบ้ รรลพุ ระนิพพานนี้ ขอเราพึงเปน็ ผูม้ ี
ปฏิภาณไม่รู้จกั หมดจกั ส้ินไป เหมอื นระลอกคล่ืนในแม่น�ำ้ คงคาน้ี ในท่ที ุกสถานที่เราบงั เกิด
แล้ว และขอเราพงึ เปน็ ผสู้ ามารถที่จะแก้ ท่ีจะเปลอื้ งปญั หาปฏภิ าณทส่ี ามเณรรปู น้ีถามไดท้ กุ
อยา่ งด้วยเถดิ ”
จากขอ้ ความขา้ งต้นดังกลา่ ว จะเหน็ ไดว้ า่ การทำ� บญุ ไม่ว่าจะเป็นพระภิกษสุ ามเณร
หรือฆราวาสญาตโิ ยมท้ังหลาย เม่อื ท�ำบญุ แลว้ สามารถตง้ั ความปรารถนาได้ และส�ำเร็จดัง
ความปรารถนาทกุ ราย ถ้าพิจารณาแลว้ ก็จะได้ขอ้ คิดอกี อย่างทีว่ า่ บุญที่ท�ำ แบบไม่อยากจะ
ท�ำดว้ ยซ้ำ� ไป ยงั สำ� เรจ็ ประโยชน์ตามท่ปี รารถนาไดแ้ ละอ�ำนวยผลให้มากมายถงึ เพียงนี้
น้ีเป็นจุดเร่ิมต้นของปัญหาและค�ำตอบท่ีทั้งละเอียดและลึกซึ้งยิ่งนักในคัมภีร์มิลินท-
ปัญหา ยากทีส่ ามญั ชนคนทว่ั ไป จะเข้าถงึ ได้ เข้าใจได้ ทา่ นกล่าวไวว้ ่า แม้แต่พระอรหนั ต-
ขณี าสพจ�ำนวนมากทถี่ ูกพระเจ้ามิลินท์ตรัสถามแล้ว กไ็ ม่สามารถตอบคำ� ถามของทา้ วเธอได้
จนตอ้ งหลบี หนีออกนอกเมอื งไป
ในชาตสิ ุดท้าย น้องสามเณร มาเกิดเปน็ พระราชาผยู้ ง่ิ ใหญ่เกรียงไกร ปกครองประเทศ
ทีม่ ั่งคง่ั รำ�่ รวย สงบสุข มีเดชมาก มีอานภุ าพมาก มนี ามวา่ “พระเจ้ามลิ นิ ท์” ผู้ฝกั ใฝส่ นใจ

(ข)

ในพระศาสนา ศึกษาหลักธรรม จนแตกฉานในพระไตรปิฎก และอรรถกถา สมดังความ
ปรารถนาท่ไี ดต้ ง้ั ไว้ สว่ นพระภิกษุ กลับมาเกิดเป็นพระภิกษุผแู้ ตกฉานในพระไตรปฎิ ก อรรถ-
กถา และปฏบิ ัตธิ รรมจนบรรลธุ รรมเปน็ พระอรหนั ตขณี าสพ และปฏสิ ัมภิทา ๔ จงึ เป็นทมี่ า
ของปัญหาทท่ี ้ังยากท้งั ลกึ ซ้ึงและค�ำตอบทลี่ กึ ซึง้ ทป่ี ระกอบด้วยอุปมา เพอ่ื ใหผ้ ู้ฟังเกดิ ความ
เขา้ ใจในปญั หานน้ั ๆ ได้แจม่ แจ้งชดั เจน เชน่ เดยี วกนั
ฉะน้ัน จึงขอเชญิ ชวนพทุ ธศาสนิกชนไดศ้ ึกษาท�ำความเข้าใจในคัมภรี ม์ ิลินทปญั หานี้
ของนกั ปราชญ์ท้ัง ๒ ทา่ น คอื พระเจ้ามิลินท์ และพระนาคเสนเถระ เพือ่ เพิม่ พนู สตปิ ญั ญาและ
ความเล่ือมใสในบวรพระพทุ ธศาสนาใหเ้ กิดข้ึนกบั ตน และดำ� รงไว้ซงึ่ คำ� สอนพระพระพุทธเจา้
ที่สุขุมล่มุ ลกึ คัมภีรภาพไว้ตราบนานเทา่ นาน
พระมหาธิติพงศ์ อุตฺตมปญโฺ Ÿ

(ค)

คำ� ปรารภของผู้แปล

เม่ือเวลาประมาณ ๑๐.๐๐ น. เช้าของวันพธุ ท่ี ๑๓ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๖๐ คุณโยม
สุวรรณ ตนั ตระเธียร คุณเนาวรัตน์ รตั นสนุ ทร ซงึ่ เปน็ นอ้ งสาว พรอ้ มกบั คุณพลอยทพิ ย์
ตนั ตระเธียร ซ่งึ เป็นหลานของสามี ไดม้ าเยี่ยมท่ีวดั จากแดง หลังจากถามสารทุกขส์ ขุ ดบิ แล้ว
คณุ โยมได้ปรารภว่า อยากจะทำ� หนังสือ “มลิ นิ ทปัญหา” ไวแ้ จกในงานศพ เป็นการเตรยี ม
ตวั ก่อนตาย โดยไดบ้ อกวตั ถุประสงคว์ ่า เปน็ หนงั สือเกย่ี วกบั “ปญั ญา” อยากใหผ้ ู้รับไดไ้ ป
ศึกษาอา่ นเพ่อื ใหเ้ กดิ ปัญญา โดยคุณโยมเอง ก็บอกวา่ เคยศึกษาคมั ภีรน์ ี้ แล้วเกดิ ความชอบ
ข้าพเจา้ ก็ได้ถามคณุ โยมไปว่า ตอ้ งการแบบไหน หมายความวา่ หนงั สือมลิ ินทปญั หาน้ี แปล
แบบเรยี บเรียงเป็นภาษาไทยใหค้ นทวั่ ไปอา่ นได้ หรือแปลคงรูปบาลีไว้เป็นต้น คณุ โยมบอก
ว่าประสงค์จะให้คนทั่วไปอ่านได้ แลว้ กม็ ีการพดู คยุ กนั วา่ คนมีอายมุ ากกวา่ ใชว่ า่ จะตายก่อน
เสมอไป แตก่ ็เป็นการดีท่คี ุณโยมมีสติ มีการเตรียมความพรอ้ มก่อนจะจากโลกนไ้ี ปจริงๆ เมื่อ
ขา้ พเจ้าไดท้ ราบความประสงคด์ ังนี้ ก็คิดวางแผนว่าจะท�ำหนงั สอื ออกมาในรูปแบบไหน ถงึ
จะตรงตามวตั ถปุ ระสงคข์ องคุณโยมและมีประโยชนก์ บั ผศู้ กึ ษาภาษาบาลีดว้ ย กเ็ ลยคิดจะท�ำ
แนวของหนังสอื “ภกิ ขุปาติโมกข์แปล พรอ้ มมาติกาสำ� หรับวนิ จิ ฉัยสกิ ขาบท” ซ่ึงได้จัดพมิ พ์ไป
แลว้ ก่อนหน้าน้ี
ในเบอื้ งแรก ได้ให้คนไปชว่ ยหาหนงั สือมลิ นิ ทปัญหาฉบับต่างๆ มา เทา่ ท่ีจะหามา
ได้ เพ่ือน�ำมาศกึ ษา ก่อนสรุปว่า จะเอาฉบบั ไหนเป็นต้นฉบับส�ำหรับการนำ� มาแปล รวมท้งั
ส�ำนวนภาษาไทย ว่าฉบบั ไหน อ่านง่าย เปน็ ส�ำนวนแบบพืน้ ๆ ไม่คงภาษาบาลีไว้มากนกั จน
มาสรปุ ได้วา่ จะใช้ฉบบั มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัยทง้ั หมด ทงั้ ภาษาบาลี และ
ไทย เปน็ ตน้ ฉบบั ในการแปล เพราะมคี รบทัง้ ฉบับภาษาบาลี อรรถกถา และฎีกา และแปลเปน็
ไทย จงึ เหมาะอยา่ งยิง่ ที่จะน�ำมาเป็นต้นฉบับ
บัดนี้ การแปลและพิมพต์ ้นฉบับมลิ ินทปญั หา ใช้เวลามามากพอสมควร ก็เสรจ็
เรยี บรอ้ ยแลว้ จึงขออนโุ มทนาตอ่ คุณโยมสุวรรณ ตนั ตระเธียร ผ้เู ป็นตน้ บุญ ทมี่ คี วามประสงค์
จะท�ำบญุ ด้านปญั ญา ด้วยการเปน็ เจ้าภาพพิมพค์ มั ภรี ม์ ิลินทปญั หานี้ แจกเปน็ ธรรมทานให้
กับชาวพทุ ธท่านอืน่ ๆ ไดม้ โี อกาสศกึ ษาคมั ภรี ม์ ิลินทปัญหานเ้ี หมอื นกับทา่ น

พระมหาธิติพงศ์ อุตตฺ มปญโฺ Ÿ

(ฆ)

ค�ำปรารภของเจ้าภาพ

แรกทีเดยี วขา้ พเจ้าได้ปรารภกบั ท่านพระอาจารยม์ หาธติ พิ งศ์ อุตฺตมปญโฺ Ÿ (พระ
อาจารยต์ ว่ น ผู้เปน็ ศษิ ยก์ ้นกุฏิของพระภัททันตธมั มานนั ทมหาเถระ อัครมหาบณั ฑิต อดตี เจา้
อาวาสวดั ทา่ มะโอและเจา้ ส�ำนกั เรยี นบาลใี หญ่ จงั หวดั ล�ำปาง) วา่ อยากพมิ พ์หนังสอื ที่ระลึก
เพอื่ แจกในงานฌาปนกิจของข้าพเจ้า อนั เปน็ การบูชาธรรมครง้ั สุดท้ายท่สี ามารถจะทำ� ได้
ดว้ ยเมตตาของทา่ นพระอาจารย์ ทา่ นก็รับค�ำขอร้องของข้าพเจ้า และช่วยด�ำเนนิ การจน
หนังสอื เลม่ นี้สำ� เรจ็ เรยี บรอ้ ย และเมอ่ื หนงั สอื เสร็จเรียบรอ้ ยกอ่ นเวลามรณกาลของขา้ พเจ้า
เจตนาเดิมของขา้ พเจ้าก็เปลี่ยนไปเพราะคิดว่า หนังสือท่ีมีประโยชนเ์ ชน่ นจี้ ะเก็บไว้ก่อน ก็
อาจท�ำให้ผศู้ กึ ษาและสนใจภาษาบาลีพลาดโอกาสคน้ ควา้ เรยี นรไู้ ป จึงมีความประสงค์จะจัด
สง่ หนังสอื ชุดนีไ้ ปถวายตามส�ำนกั เรยี นบาลีทวั่ ประเทศตามทต่ี งั้ ใจไว้ ท่านพระอาจารยก์ เ็ หน็ ดี
ด้วยวา่ สมควรแจกในกาลนเ้ี ลย
ข้าพเจ้าขอกราบขอบพระคุณท่านพระอาจารย์ต่วนที่เมตตาช่วยด�ำเนินการตามค�ำขอ
รอ้ งไว้ ณ ทน่ี ีด้ ้วย และดว้ ยความรอบรู้เชย่ี วชาญในพระบาลี (ท่านสอบไดอ้ นั ดับท่ี ๑ ของ
สำ� นกั เรยี น)กอรป์ กับความทุ่มเทแรงกายแรงใจของท่านพระอาจารย์ อันเป็นจริยาปกตขิ อง
ท่านพระอาจารย์หนังสือทุกเล่ม(มิใช่เฉพาะเล่มนี้เท่าน้ัน)ท่ีพระอาจารย์จัดท�ำขึ้นจึงนับว่าเป็น
ประโยชน์ต่อการศกึ ษาพระบาลอี ย่างมากมาย

สาธุ สาธุ สาธุ
สวุ รรณ ตนั ตระเธยี ร

(ง)

ค�ำชแี้ จง

คัมภีร์มลิ นิ ทปญั หา เป็นคัมภีรแ์ สดงความลึกซึ้งของปัญหาและคำ� ตอบ ท้งั ผู้ถามเอง
ก็แตกฉานในพระไตรปิฎก ในบุพพโยคกัณฑ์ของคมั ภีรม์ ิลินทปญั หาได้เลา่ ไว้ว่า แมพ้ ระ
อรหันตขณี าสพจ�ำนวนมาก เม่ือถกู พระเจ้ามิลนิ ทถ์ ามปญั หาดงั กลา่ ว กย็ งั ไมส่ ามารถทีจ่ ะ
ตอบปัญหาตา่ งๆ เหลา่ น้ไี ด้เลย ยงั ต้องหลีกหนอี อกเมืองไป เพอื่ ไปหาทพี่ �ำนักใหม่ให้หา่ งไกล
จากพระเจ้ามลิ นิ ท์ และผู้ตอบ นอกจากพระเป็นอรหนั ตขณี าสพแล้ว ยังไดบ้ รรลุปฏิสัมภิทา ๔
อกี ดว้ ย ปฏสิ มั ภิทา ๔ คอื (๑) อัตถปฏสิ มั ภทิ า ปัญญาทีร่ แู้ ตกฉานในอรรถ คอื ในผลท่เี กดิ จาก
เหตุ (๒) ธมั มปฏิสมั ภทิ า ปัญญาทีร่ ้แู ตกฉานในธรรม คือในเหตุท่ีทำ� ใหผ้ ลเกิดขึ้น (๓) นิรุตต-ิ
ปฏิสัมภิทา ปัญญาที่ร้แู ตกฉานในนิรุตติ คอื ในภาษาโดยเฉพาะในภาษามคธอันเป็นมลู ภาษา
และ (๔) ปฏภิ าณปฏสิ มั ภิทา ปัญญาทร่ี แู้ ตกฉานในปฏภิ าณ คือในความแจ่มแจง้ เกย่ี วกบั
อารมณท์ ป่ี ฏิสมั ภิทา ๓ อยา่ งข้างตน้ รู้อยู่ และเกยี่ วกบั กิจแห่งปฏิสมั ภิทา ๓ อยา่ งขา้ งต้นน้ัน
นน่ั แหละ นแี่ หละ เป็นสาเหตุทจ่ี ะกลา่ วไดว้ า่ คมั ภีร์มลิ ินทปัญหาน้ี เป็นคัมภรี ช์ ้นั ยอด เพราะ
ยอดเย่ียมทั้งปญั หาและยอดเยย่ี มทง้ั คำ� ตอบ เหตุท้ังทา่ นผู้ถาม กแ็ ตกฉานในพระไตรปฎิ ก
ทั้งท่านผตู้ อบ กเ็ ป็นทงั้ พระอรหันต์ และบรรลุปฏิสัมทาดังกล่าว
นอกจากน้ัน คมั ภีรน์ ี้ ยังเป็นคัมภรี ์ทม่ี ีตวั ละคร และสถานทต่ี ่างๆ ทรี่ ะบแุ น่ชัดวา่
มอี ยูจ่ ริง ทงั้ ค�ำถามคำ� ตอบ ก็องิ อาศัยหลกั จากพระไตรปฎิ ก อรรถกถา ในพระไตรปฎิ ก ฉบบั
ฉัฏฐสงั คายนา ของเมียนมาร์ ยอมรับนับถอื วา่ เปน็ คัมภรี ท์ สี่ ำ� คัญอกี คัมภรี ห์ น่ึง ถงึ ขนาดจดั
อยใู่ นกล่มุ หนังสอื พระไตรปฎิ กเลย ประเทศทน่ี ับถือพทุ ธ เถรวาททเี่ หลือนอกเมียนมาร์แล้ว
จัดคมั ภรี ์มิลนิ ทปญั หานี้ อยูใ่ นชั้นอรรถกถา
คมั ภรี ม์ ิลินทปัญหาน้ี มแี ปลเป็นภาษาไทยไวแ้ ล้วหลายส�ำนวน ดงั นี้
๑. ฉบับ มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั , พมิ พ์คร้ังแรก, พ.ศ. ๒๕๕๙
๒. ฉบับ มหามกุฏราชวิทยาลัย, พิมพค์ รัง้ ที่ ๕, พ.ศ. ๒๕๕๖
๓. ฉบับ ส ธรรมภักดี แปลโดย ปยุ้ แสงฉาย, ชำ� ระโดย พระธรรมมหาวีรานุวัตร
๔. ฉบับ มลู นธิ ปิ ราณี ส�ำเรงิ ราชย,์ พิมพค์ รง้ั ท่ี ๖, พ.ศ. ๒๕๖๐
ส�ำหรบั การแปลฉบบั นี้ ไดน้ ำ� “มิลนิ ฺทปญฺหปกรณ”ํ ฉบบั มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณ-
ราชวิทยาลยั มาเป็นต้นฉบบั ในการแปล เพราะเหน็ วา่ มฉี บบั ภาษาบาลี ฉบับแปล และฉบบั

(จ)

“มลิ ินฺทปญฺหอฏฺกถา-ฏกี า” ครบถว้ นสมบูรณ์ และยงั สามารถท่จี ะเทียบเคยี งกบั ฉบบั ฉัฏฐ-
สังคายนา ของเมยี นมารไ์ ดอ้ ีกดว้ ย
และการแปลในฉบบั น้ี มีทง้ั บาลี และภาษาไทย วัตถปุ ระสงคก์ เ็ พอื่ วา่ ทา่ นทีต่ ้องการ
จะฝกึ แปลหรือต้องการจะดเู ทยี บเคียงกับภาษาบาลี ก็จะไดด้ ตู ามไปด้วย จะได้รทู้ ัง้ บาลีและ
ไทย ถา้ ตรงไหน อ่านแล้วยังไม่เขา้ ใจ หรอื สงสัยในประเดน็ ใดๆ กส็ ามารถอา่ นจากต้นฉบบั
ภาษาบาลี อาจจะชว่ ยให้เขา้ ใจได้ดียิง่ ขนึ้ และเปน็ การเพ่ิมอรรถรสส�ำหรับการอา่ นทง้ั บาลี
ทงั้ ไทยดว้ ย
โดยการแปลในครัง้ น้ี ยงั ไดแ้ บง่ มลิ นิ ทปัญหาปกรณแ์ ปล ออกเปน็ ๒ เลม่ อกี ดว้ ย คือ
เล่มแรก ตัง้ แต่ปุพพโยคกัณฑ์ ถงึ เมณฑกปัญหกณั ฑ์ วรรคที่ ๔.๓ ปมาณติ วรรค เล่ม ๒ ยัง
เป็นเมณฑกปญั หกณั ฑ์ แตเ่ ป็นวรรคที่ ๔.๔ สัพพัญญตุ ญาณวรรค เปน็ ตน้ ไป จนจบคัมภีร์
เพอ่ื ให้หนังสือเลม่ ไม่ใหญเ่ กนิ ไป สะดวกในการหยบิ น�ำมาอา่ นศกึ ษาของทา่ นผ้สู นใจ
จดุ เด่นของคัมภีรม์ ิลนิ ทปญั หา ก็คือคำ� ตอบ ทนี่ อกจากจะอ้างจากพระพุทธพจน์แล้ว
ยงั มอี ุปมาเปรยี บเทียบ บางคำ� ตอบ มอี ปุ มาตั้ง ๕ ถึง ๖ คร้ัง เพื่อให้ค�ำตอบชดั เจนทสี่ ดุ เท่าท่ี
ผ้ถู าม หรอื ผูต้ อบจะพงึ พอใจ ถอื ได้ว่าเปน็ เอกลกั ษณข์ องคมั ภีรเ์ ลม่ น้เี ลยก็วา่ ได้ ซึ่งตามหลกั
ในคมั ภีร์สุโพธาลงั การกล่าวว่า การใช้อปุ มา ถือว่า เปน็ อลงั การที่ยอดเย่ียมอีกอยา่ ง ทน่ี กั
พดู หรือนักประพันธ์ใช้ประดับค�ำพูดหรอื ข้อเขยี นของตน เพื่อแสดงความสามารถของตนให้
ประจกั ษ์ และทำ� ใหผ้ ู้ฟังหรอื ผ้อู ่านเขา้ ใจในส่งิ ท่ตี นตอ้ งการจะสอ่ื ได้เข้าใจตรงกนั
ฉะนั้น จึงหวังว่า มิลนิ ทปญั หาปกรณแ์ ปล ฉบบั น้ี จะเปน็ ประโยชน์เกอ้ื กูลต่อ
พทุ ธศาสนกิ ชนผ้สู นใจธรรมะทีล่ ึกซงึ้ ที่ยากตอ่ ความเข้าใจ ใหเ้ ข้าใจในหลักธรรมมากยงิ่ ข้นึ
เพ่ือเสรมิ สร้างสตปิ ัญญาความเขา้ ใจในพระพุทธศาสนายงิ่ ๆ ข้ึนไป และน�ำไปเป็นประโยชน์
ตอ่ การประพฤติปฏบิ ัตใิ หเ้ จริญร่งุ เรอื งสูงสุดในชีวติ สมกบั เปน็ พทุ ธศานิกชนที่นับถอื ศาสนา
ด้านปญั ญาสบื ต่อไป

(ฉ)

คำ� อนโุ มทนา

ผลของบญุ ซึง่ เรยี กวา่ “วบิ าก” สามารถที่จะให้สมบัตอิ นั น่าใคร่ทกุ ประการตามท่ี
ปรารถนาได้ เว้นความปรารถนา หาสำ� เรจ็ ไม่ ขอ้ ความน้ี พระสิรมิ งั คลาจารย์ไดก้ ลา่ วไว้
ในมงั คลตั ถทปี นี ภาค ๑ หน้า ๙๔ วา่ “ปฏฺนาย ตํ ตสสฺ สพพฺ กามททตฺตํ โหต,ิ น วนิ า
ปฏฺ นํ” นเี้ ปน็ การแสดงผลของบุญพเิ ศษ แต่ถา้ เปน็ ผลของบุญตามปกติสามัญนั้น สามารถท่ี
จะให้ผลได้ เชน่ ผลของทาน เป็นเหตุใหม้ โี ภคทรพั ย์ ไปสสู่ ุคตภิ มู ิ แตไ่ มส่ ามารถท�ำใหห้ ลุด
พน้ จากวฏั ฏทุกข์ได้ แตถ่ า้ ท�ำบุญใหท้ านแลว้ ตัง้ ความปรารถนา กส็ ามารถเปน็ เหตุนำ� สัตว์ผู้
ปรารถนานัน้ ๆ ออกจากวัฏฏทุกขไ์ ด้
จากประวัตขิ องพระเจ้ามิลินท์และพระนาคเสนเถระนัน้ ท่านเล่าไวว้ า่ “ในอดีตเป็น
ภกิ ษุหนมุ่ ผู้เครง่ คดั ในข้อวัตรกับสามเณรนอ้ ย เช้าของวันหน่ึง พระหนุ่มลุกขนึ้ แตเ่ ช้า แลว้
ท�ำการปัดกรวดบริเวณเสนาสนะ เสรจ็ แลว้ กบ็ อกใหส้ ามเณรชว่ ยเกบ็ ขยะ แต่สามเณรท�ำเปน็
หูทวนลม เหมือนไมไ่ ด้ยิน พระทา่ นกเ็ ลยเอาด้ามไม้กรวดตสี ามเณร สามเณรรอ้ งไห้พลาง
เก็บขยะไปพลาง เพราะกลัวจะโดนตอี กี เมื่อเกบ็ ขยะเสรจ็ น้องสามเณรกเ็ ตรียมตัวไปสรง
นำ้� ท่แี ม่น�ำ้ คงคา ในขณะนนั้ นอ้ งสามเณรก็เปลง่ วาจาตั้งความปรารถนาขึน้ วา่ “ตราบใดท่ี
ยงั ไม่บรรลพุ ระนพิ พาน กข็ อใหเ้ ป็นผู้มีศกั ดใ์ิ หญ่ มเี ดชมาก ดจุ พระอาทติ ย์เทีย่ งวนั ในทุกที่
ทบ่ี งั เกิด” น้ีเป็นความปรารถนาคร้ังท่ี ๑ หลงั จากนนั้ น้องสามเณรนอ้ งลงไปยังแม่นำ�้ คงคา
เหลือบไปเหน็ ระลอกคล่ืน จึงต้งั ความปรารถนาเปน็ ครง้ั ที่ ๒ วา่ “ขอให้เป็นผมู้ ปี ฏภิ าณไมม่ ีท่ี
สิ้นสดุ ดุจระลอกคล่นื ในทกุ ที่ทบ่ี ังเกิด”
ส่วนพระหนุ่มนัน้ ก็ได้เดินมาท่แี ม่นำ�้ คงคา เพ่อื จะสรงนำ้� เชน่ เดียวกัน ไดย้ ินเสยี งนอ้ ง
สามเณรเปล่งเสยี งตั้งความปรารถนาดังนนั้ กค็ ิดว่า “ความปรารถนาทีน่ อ้ งสามเณรปรารถนา
นั้น จะไม่สำ� เร็จ ไมม่ ี คือตอ้ งส�ำเรจ็ แนน่ อน” จงึ ได้ต้ังความปรารถนาเองบา้ งว่า “ตราบใดท่ียงั
ไมบ่ รรลุพระนพิ พาน ขอใหเ้ ปน็ ผมู้ ปี ฏิภาณไม่มที ีส่ ้นิ สุด สามารถท่จี ะแกป้ ญั หาที่น้องสามเณร
น้ถี ามแลว้ ไดท้ ุกข้อ ในทกุ ที่ท่ีบังเกดิ ”
หลงั จากอัตภาพนั้น ทั้งค่กู ็ท่องเทีย่ วไปในสุคตภิ มู ยิ าวนาน ชาติสุดทา้ ย นอ้ งสามเณร
มาเกดิ เปน็ พระเจา้ มิลนิ ท์ผเู้ กรียงไกร ประเทศม่ันคงมัง่ คัง่ รำ่� รวย มคี วามสนใจในศาสนา ศกึ ษา
หาความรู้ในหลักธรรม แลว้ เที่ยวไปสนทนาธรรมกับพระภกิ ษุมากมาย ถามปญั หาทลี่ กึ ซึ้ง

(ช)
ในศาสนา เปน็ เหตใุ ห้ภิกษทุ ถี่ ูกพระเจา้ มลิ นิ ทต์ รัสถามปญั หา แล้วไมส่ ามารถตอบได้ ก็ได้
หลีกหนไี ปอยูย่ ังสถานทอ่ี นื่
ส่วนพระภิกษุ กก็ ลับมาเกดิ เปน็ พระภกิ ษอุ กี เชน่ เคย โดยมนี ามว่าพระนาคเสนเถระ
เปน็ พระอรหนั ตขีณาสพ ผมู้ ปี ฏิภาณไหวพรบิ มาก สามารถตอบทกุ ปัญหาทีพ่ ระเจ้ามิลินท์
ตรัสถามไดต้ ามพระพทุ ธาธิบาย จนเปน็ ทพี่ อพระทยั ของพระราชา
จะเห็นได้วา่ ความเปน็ พระราชาทเี่ กรยี งไกร ผูม้ ปี ญั ญาแตกฉานในหลกั ธรรม ของ
พระเจ้ามลิ ินท์ และผู้มปี ฏิภาณไม่มที ่ีส้ินสดุ ของพระนาคเสนเถระ ส�ำเร็จด้วยความปรารถนา
สมัยทีเ่ ป็นภกิ ษุกบั สามเณร ท่ที ั้งคทู่ ำ� บุญด้วยการกวาดขยะกบั เกบ็ ขยะ และผเู้ กบ็ ขยะ ก็
ทำ� บญุ ด้วยถูกบังคับใหท้ �ำ ยังสามารถทจ่ี ะใหผ้ ลไดอ้ ยา่ งยิ่งใหญ่ขนาดน้ี ไม่ตอ้ งพูดถึงว่า ถ้า
พวกเราและท่านๆ ทง้ั หลาย พากันทำ� บุญด้วยความต้งั ใจและเต็มใจแล้ว ผลบญุ จะมากมาย
ขนาดไหน
ฉะนัน้ จงึ ขออนุโมทนาบญุ กบั คณุ โยมสุวรรณ ตนั ตระเธยี ร ทตี่ นเองก็ได้สะสมบญุ กศุ ล
ท่ีเปน็ ฝ่ายปริยตั ิ คอื ลงมอื ศึกษาพระอภิธรรม จนจบอภิธรรม และศึกษาพระบาลี จนสำ� เรจ็
บาลศี ึกษา บ.ศ. ๓ เปน็ มหาอุบาสิกา และปรารถนาจะให้ผ้อู ืน่ ได้มโี อกาสได้ศกึ ษาหาความรู้
มคี วามรูใ้ นศาสนาบ้าง จึงปรารภทีจ่ ะเปน็ เจ้าภาพพิมพม์ ิลินทปกรณแ์ ปล เพอื่ แจกเปน็ ธรรม
ทาน ขอใหค้ วามปรารถนาขอคุณโยมจงส�ำเร็จดงั มโนรถทุกประการเทอญ
พระมหาธติ ิพงศ์ อตุ ตฺ มปญฺโŸ
๒๖ พย. ๒๕๖๓

สารบัญ หน้า

คำ� นำ� .......... ......... ......... ......... (ก)
คำ� ปรารภของผูแ้ ปล .......... ......... ......... ......... (ค)
คำ� ปรารภของเจ้าภาพ .......... ......... ......... ......... (ฆ)
คำ� ชแ้ี จง .......... ......... ......... ......... (ง)
อนโุ มทนากถา .......... ......... ......... ......... (ฉ)
๔.๔ สัพพัญญตุ ญาณวรรค .......... ......... ......... ......... ๑
๑. อทิ ธกิ มั มวปิ ากปัญหา .......... ......... ......... ......... ๑
๒. ธมั มวินยปฏิจฉนั นาปฏจิ ฉันนปัญหา .......... ......... ......... ......... ๔
๓. มสุ าวาทครุลหภุ าวปญั หา .......... ......... ......... ......... ๙
๔. โพธสิ ตั ตธมั มตาปญั หา .......... ......... ......... ......... ๑๑
๕. อตั ตนปิ าตนปัญหา .......... ......... ......... ......... ๑๔
๖. เมตตาภาวนานสิ งั สปัญหา .......... ......... ......... ......... ๑๙
๗. กุสลากุสลสมวิสมปญั หา .......... ......... ......... ......... ๒๔
๘. อมราเทวปี ญั หา .......... ......... ......... ......... ๓๔
๙. อรหนั ตอภายนปญั หา .......... ......... ......... ......... ๓๘
๑๐. พุทธสพั พญั ญภุ าวปญั หา .......... ......... ......... ......... ๔๒
๔.๕ สนั ถววรรค .......... ......... ......... ......... ๔๕
๑. สันถวปญั หา .......... ......... ......... ......... ๔๕
๒. อุทรสังยตปัญหา .......... ......... ......... ......... ๔๘
๓. พทุ ธอปั ปาพาธปัญหา .......... ......... ......... ......... ๕๑
๔. มคั คปุ ปาทนปญั หา .......... ......... ......... ......... ๕๕
๕. พุทธอวเิ หฐกปญั หา .......... ......... ......... ......... ๕๙
๖. ฉนั ทันตโชตปิ าลารพั ภปัญหา .......... ......... ......... ......... ๖๓
๗. ฆฏกิ ารปัญหา .......... ......... ......... ......... ๖๖
๘. พราหมณราชวาทปญั หา .......... ......... ......... ......... ๖๙
๙. คาถาภคิ ตี โภชนกถาปญั หา .......... ......... ......... ......... ๗๕

๑๐. ธัมมเทสนายอัปโปสสุกกปญั หา .......... ......... ......... ......... ๘๓
๔.๖ อาจริยานาจรยิ วรรค .......... ......... ......... ......... ๘๘
๑. อาจรยิ านาจรยิ ปัญหา .......... ......... ......... ......... ๘๘
๒. ทวินนงั พทุ ธานังอนุปปชั ชมานปัญหา .......... ......... ......... ๙๑
๓. โคตมิวตั ถทานปัญหา .......... ......... ......... ......... ๙๘
๔. คหิ ิปพั พชิตสมั มาปฏปิ ัตตปิ ญั หา .......... ......... ......... ......... ๑๐๓
๕. ปฏิปทาโทสปญั หา .......... ......... ......... ......... ๑๐๗
๖. หนี ายาวัตตนปัญหา .......... ......... ......... ......... ๑๑๐
๗. อรหนั ตเวทนาเวทิยนปญั หา .......... ......... ......... ......... ๑๒๓
๘. ขณี าสวกายิกเวทนานานากรณปญั หา .......... ......... ......... ๑๒๗
๙. อภิสมยันตรายกรปญั หา .......... ......... ......... ......... ๑๒๘
๑๐. ทสุ สลี ปัญหา .......... ......... ......... ......... ๑๓๔
๑๑. อุทกสตั ตชวี ปญั หา .......... ......... ......... ......... ๑๓๘
๔.๗ นิปปปัญจวรรค .......... ......... ......... ......... ๑๔๖
๑. นิปปปญั จปัญหา .......... ......... ......... ......... ๑๔๖
๒. ขณี าสวภาวปัญหา .......... ......... ......... ......... ๑๕๐
๓. ขีณาสวสตสิ ัมโมสปญั หา .......... ......... ......... ......... ๑๕๓
๔. โลเกนัตถิภาวปญั หา .......... ......... ......... ......... ๑๕๖
๕. นิพพานปญั หา (อกัมมชาทิปญั หา) .......... ......... ......... ......... ๑๕๘
๖. กัมมชาทปิ ัญหา .......... ......... ......... ......... ๑๖๔
๗. ยักขปัญหา .......... ......... ......... ......... ๑๖๖
๘. อนวเสสสิกขาปทปญั หา .......... ......... ......... ......... ๑๖๗
๙. สรู ยิ ตปนปัญหา .......... ......... ......... ......... ๑๖๙
๑๐. กฐินตปนปัญหา .......... ......... ......... ......... ๑๗๑
๔.๘ เวสสนั ตรวรรค .......... ......... ......... ......... ๑๗๒
๑. เวสสันตรปัญหา .......... ......... ......... ......... ๑๗๒
๒. ทกุ กรการิกปญั หา .......... ......... ......... ......... ๑๙๑
๓. กุสลากุสลพลวตรปญั หา .......... ......... ......... ......... ๒๐๒

๔. ปุพพเปตาทิสปญั หา .......... ......... ......... ......... ๒๑๐
๕. สุปนิ ปญั หา .......... ......... ......... ......... ๒๑๘
๖. อกาลมรณปญั หา .......... ......... ......... ......... ๒๒๔
๗. เจติยปาฏหิ ารยิ ปญั หา .......... ......... ......... ......... ๒๔๒
๘. ธมั มาภิสมยปัญหา .......... ......... ......... ......... ๒๔๔
๙. เอกันตสุขนิพพานปัญหา .......... ......... ......... ......... ๒๕๐
๑๐. นพิ พานรูปสัณฐานปญั หา .......... ......... ......... ......... ๒๕๖
๑๑. นิพพานสัจฉกิ รณปัญหา .......... ......... ......... ......... ๒๗๐
๑๒. นพิ พานสนั นิหติ ปญั หา .......... ......... ......... ......... ๒๗๖
๕. อนุมานปัญหกัณฑ ์ .......... ......... ......... ......... ๒๘๑
๕.๑ อนุมานปญั หา .......... ......... ......... ......... ๒๘๑
๕.๒ ธุตงั คปญั หา .......... ......... ......... ......... ๓๑๔
๖. โอปมั มกถาปัญหกัณฑ์ .......... ......... ......... ......... ๓๔๒
ปัญหมาตกิ า .......... ......... ......... ......... ๓๔๒
๖.๑ คทั รภวรรค .......... ......... ......... ......... ๓๕๒
๑. คัทรภงั คปญั หา .......... ......... ......... ......... ๓๕๒
๒. กุกกฏุ ังคปญั หา .......... ......... ......... ......... ๓๕๓
๓. กลันทกงั คปัญหา .......... ......... ......... ......... ๓๕๗
๔. ทปี นิ ยิ งั คปญั หา .......... ......... ......... ......... ๓๕๘
๕. ทีปกิ ังคปญั หา .......... ......... ......... ......... ๓๕๙
๖. กุมมงั คปญั หา .......... ......... ......... ......... ๓๖๑
๗. วงั สังคปัญหา .......... ......... ......... ......... ๓๖๔
๘. จาปังคปัญหา .......... ......... ......... ......... ๓๖๕
๙. วายสงั คปัญหา .......... ......... ......... ......... ๓๖๖
๑๐. มักกฏังคปญั หา .......... ......... ......... ......... ๓๖๗
ตัสสทุ ทานัง .......... ......... ......... ......... ๓๖๙
๖.๒ สมุททวรรค .......... ......... ......... ......... ๓๖๙
๑. ลาพุลตังคปญั หา .......... ......... ......... ......... ๓๖๙

๒. ปทุมงั คปญั หา .......... ......... ......... ......... ๓๗๑
๓. พชี ังคปัญหา .......... ......... ......... ......... ๓๗๒
๔. สาลกัลยาณิกงั คปญั หา .......... ......... ......... ......... ๓๗๔
๕. นาวังคปญั หา .......... ......... ......... ......... ๓๗๕
๖. นาวาลัคคนกังคปญั หา .......... ......... ......... ......... ๓๗๗
๗. กูปงั คปัญหา .......... ......... ......... ......... ๓๗๘
๘. นยิ ามกังคปัญหา .......... ......... ......... ......... ๓๗๙
๙. กัมมการังคปญั หา .......... ......... ......... ......... ๓๘๑
๑๐. สมทุ ทังคปญั หา .......... ......... ......... ......... ๓๘๒
ตัสสทุ ทานัง .......... ......... ......... ......... ๓๘๕
๖.๓ ปถววี รรค .......... ......... ......... ......... ๓๘๖
๑. ปถวีองั คปัญหา .......... ......... ......... ......... ๓๘๖
๒. อาปังคปัญหา .......... ......... ......... ......... ๓๘๘
๓. เตชังคปญั หา .......... ......... ......... ......... ๓๙๐
๔. วายุงคปัญหา .......... ......... ......... ......... ๓๙๒
๕. ปพั พตังคปญั หา .......... ......... ......... ......... ๓๙๔
๖. อากาสังคปัญหา .......... ......... ......... ......... ๓๙๘
๗. จนั ทงั คปัญหา .......... ......... ......... ......... ๔๐๐
๘. สรู ยิ ังคปัญหา .......... ......... ......... ......... ๔๐๒
๙. สักกงั คปญั หา .......... ......... ......... ......... ๔๐๔
๑๐. จักกวตั ตงิ คปญั หา .......... ......... ......... ......... ๔๐๖
ตัสสทุ ทานัง .......... ......... ......... ......... ๔๐๘
๖.๔ อุปจิกาวรรค .......... ......... ......... ......... ๔๐๙
๑. อปุ จิกังคปัญหา .......... ......... ......... ......... ๔๐๙
๒. พฬิ ารังคปญั หา .......... ......... ......... ......... ๔๑๐
๓. อนุ ทูรงั คปญั หา .......... ......... ......... ......... ๔๑๑
๔. วิจฉกิ งั คปัญหา .......... ......... ......... ......... ๔๑๒
๕. นกลุ งั คปัญหา .......... ......... ......... ......... ๔๑๓

๖. ชรสิงคาลังคปัญหา .......... ......... ......... ......... ๔๑๔
๗. มิคงั คปัญหา .......... ......... ......... ......... ๔๑๖
๘. โครูปงั คปัญหา .......... ......... ......... ......... ๔๑๘
๙. วราหังคปัญหา .......... ......... ......... ......... ๔๒๐
๑๐. หตั ถงิ คปญั หา .......... ......... ......... ......... ๔๒๑
ตัสสุททานงั .......... ......... ......... ......... ๔๒๓
๖.๕ สีหวรรค .......... ......... ......... ......... ๔๒๔
๑. สีหงั คปญั หา .......... ......... ......... ......... ๔๒๔
๒. จกั กวากังคปญั หา .......... ......... ......... ......... ๔๒๗
๓. เปณาหิกังคปญั หา .......... ......... ......... ......... ๔๒๘
๔. ฆรกโปตังคปญั หา .......... ......... ......... ......... ๔๓๐
๕. อุลกู ังคปญั หา .......... ......... ......... ......... ๔๓๑
๖. สตปัตตงั คปญั หา .......... ......... ......... ......... ๔๓๒
๗. วคั คลุ ิงคปญั หา .......... ......... ......... ......... ๔๓๓
๘. ชลกู ังคปัญหา .......... ......... ......... ......... ๔๓๕
๙. สัปปงั คปัญหา .......... ......... ......... ......... ๔๓๖
๑๐. อชครงั คปัญหา .......... ......... ......... ......... ๔๓๘
ตัสสุททานงั .......... ......... ......... ......... ๔๓๙
๖.๖ มักกฏกวรรค .......... ......... ......... ......... ๔๔๐
๑. ปนั ถมกั กฏกงั คปัญหา .......... ......... ......... ......... ๔๔๐
๒. ถนสั สิตทารกังคปัญหา .......... ......... ......... ......... ๔๔๑
๓. จติ ตกธรกุมมังคปัญหา .......... ......... ......... ......... ๔๔๒
๔. ปวนงั คปญั หา .......... ......... ......... ......... ๔๔๓
๕. รกุ ขังคปัญหา .......... ......... ......... ......... ๔๔๕
๖. เมฆงั คปัญหา .......... ......... ......... ......... ๔๔๖
๗. มณิรตนงั คปัญหา .......... ......... ......... ......... ๔๔๙
๘. มาควิกงั คปัญหา .......... ......... ......... ......... ๔๕๐
๙. พาฬิสกิ ังคปัญหา .......... ......... ......... ......... ๔๕๒

๑๐. ตจั ฉกังคปญั หา .......... ......... ......... ......... ๔๕๓
ตัสสุททานัง .......... ......... ......... ......... ๔๕๕
๖.๗ กมุ ภวรรค .......... ......... ......... ......... ๔๕๕
๑. กมุ ภังคปัญหา .......... ......... ......... ......... ๔๕๕
๒. กาฬายสงั คปญั หา .......... ......... ......... ......... ๔๕๖
๓. ฉตั ตังคปญั หา .......... ......... ......... ......... ๔๕๘
๔. เขตตงั คปญั หา .......... ......... ......... ......... ๔๕๙
๕. อคทงั คปญั หา .......... ......... ......... ......... ๔๖๑
๖. โภชนังคปญั หา .......... ......... ......... ......... ๔๖๒
๗. อิสสาสงั คปัญหา .......... ......... ......... ......... ๔๖๔
ตสั สุททานงั .......... ......... ......... ......... ๔๖๗
นคิ มน .......... ......... ......... ......... ๔๖๘
---------------------------------------------------

มลิ ินทปัญหาปกรณแ์ ปล

เลม่ ๒

๔.๔ สพพฺ ญญฺ ุตาณวคฺค
๔.๔ สพั พัญญุตญาณวรรค หมวดว่าด้วยสัพพัญญตุ ญาณ

๑. อิทฺธกิ มฺมวปิ ากปญหฺ
๑. อทิ ธกิ ัมมวปิ ากปญั หา
ปัญหาวา่ ดว้ ยฤทธ์ิและการเผลด็ ผลของกรรม
[๑] ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน ภาสติ มเฺ ปตํ ภควตา ‘เอตทคคฺ ํ ภิกฺขเว มม สาวกานํ
ภกิ ขฺ นู ํ อิทฺธิมนตฺ านํ ยททิ ํ มหาโมคคฺ ลฺลาโน’ติ ฯ ปนุ จ กริ โส ลคุเฬหิ ปริโปถิโต
ภินนฺ สีโส ส ฺจุณณฺ ิตฏ ฺ มิ สํ ธมนฉิ ินนฺ ปริคตฺโต ปรินพิ พฺ โุ ต ฯ ยท ิ ภนเฺ ต นาคเสน เถโร
มหาโมคคฺ ลลฺ าโน อิทธฺ ิยา โกฏ ิํ คโต, เตนห ิ ลคเุ ฬหิ โปถิโต ปรนิ ิพพฺ โุ ตติ ยํ วจนํ, ต ํ
มิจฺฉา ฯ ยทิ ลคเุ ฬหิ ปริโปถิโต ปรนิ พิ พฺ ุโต, เตนหิ อิทฺธยิ า โกฏ ึ คโตต ิ ตมปฺ ิ วจนํ
มจิ ฺฉา ฯ กึ น สมตฺโถ อทิ ฺธยิ า อตฺตโน อุปฆาต ํ อปนยติ ุ,ํ สเทวกสสฺ ป ิ โลกสสฺ ปฏสิ รณํ
ภวิตํุ อรโหติ ? อยมปฺ ิ อภุ โต โกฏโิ ก ป โฺ ห ตวานปุ ฺปตฺโต, โส ตยา นพิ ฺพาหติ พฺโพ’’ติ ฯ
[๑] พระเจา้ มลิ นิ ท์ตรสั วา่ “พระคุณเจา้ นาคเสน พระผมู้ พี ระภาคเจา้ ทรงภาษิตความ
ขอ้ น้ีไว้วา่ ‘ภกิ ษทุ ั้งหลาย พระมหาโมคคัลลานะเลศิ กวา่ สาวกท้ังหลายของเราผมู้ ีฤทธิม์ าก’
ดงั นี้ และยังไดย้ ินอีกเร่อื งหน่งึ ว่า พระมหาโมคคลั ลานะนน้ั ถกู พวกโจรใชไ้ ม้ค้อนทบุ ตีเอาจน
ศรี ษะแตก กระดกู เนื้อ เส้นเอน็ แหลกละเอียด รา่ งกายฉกี ขาด จนทา่ นปรินิพพาน พระคุณเจา้
นาคเสน ถ้าหากวา่ พระมหาโมคคัลลานะถงึ ยอดแหง่ ฤทธ์ิ จรงิ ไซร้ ถ้าอยา่ งนน้ั ค�ำทีว่ า่ ท่าน
ถกู พวกโจรใช้ไม้คอ้ นทุบตีเอาจนปรนิ พิ พาน ดังนี้ กย็ ่อมเป็นค�ำที่ผดิ ถ้าหากวา่ ท่านถกู พวก
โจรใช้ไมค้ ้อนทบุ ตเี อาจนปรนิ พิ พาน จริงไซร้ ถา้ อย่างนั้น ค�ำท่วี า่ ท่านเป็นผถู้ งึ ยอดแห่งฤทธ์ิ
ดงั น้ี กย็ อ่ มเปน็ ค�ำทผี่ ิด ท่านไมส่ ามารถใชฤ้ ทธิข์ จัดการท�ำรา้ ยตวั ท่านไดห้ รือไร ทา่ นควรจะ
เปน็ ทีพ่ ึ่งของชาวโลกพร้อมท้งั เทวดาได้ ไม่ใช่หรือ ปัญหาแม้ขอ้ นี้ กม็ ี ๒ เงอ่ื น ตกถึงแก่ทา่ น
แล้ว ขอทา่ นพงึ คลค่ี ลายปัญหานัน้ เถิด”

2 มลิ นิ ทปัญหาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปญั ห

‘‘ภาสิตมเฺ ปต ํ มหาราช ภควตา ‘เอตทคคฺ ํ ภกิ ฺขเว มม สาวกาน ํ ภกิ ฺขนู ํ
อทิ ฺธมิ นตฺ าน ํ ยทิท ํ มหาโมคฺคลฺลาโน’ติ ฯ อายสมฺ า จ มหาโมคฺคลลฺ าโน ลคฬุ หโต
ปรนิ พิ ฺพุโต, ต จฺ ปน กมมฺ าธิคฺคหเิ ตนา’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร พระผมู้ พี ระภาคเจา้ ทรง
ภาษิตความขอ้ น้ีไว้ว่า ภิกษุทงั้ หลาย พระมหาโมคคัลลานะเลิศกว่าภกิ ษสุ าวกของเราผู้มีฤทธิ์
มาก ดงั นี้ จริง และท่านพระมหาโมคคัลลานะก็ถกู พวกโจรใชไ้ ม้คอ้ นทบุ ตีเอาจนปรนิ ิพพาน
จรงิ ก็แต่วา่ ขอ้ น้ัน ย่อมเปน็ ไปเพราะกรรมท่ฉี กฉวยโอกาส”
‘‘นน ุ ภนเฺ ต นาคเสน อิทธฺ ิมโต อิทธฺ วิ สิ โยปิ กมฺมวปิ าโกปิ เทวฺ อจินฺตยิ า,
อจนิ ตฺ เิ ยน อจนิ ตฺ ิยํ อปนยิตพฺพํ ฯ ยถา นาม ภนเฺ ต เกจิ ผลกามา กปติ ฺเถน กปติ ถฺ ํ
โปเถนตฺ ,ิ อมฺเพน อมพฺ ํ โปเถนตฺ ,ิ เอวเมว โข ภนเฺ ต นาคเสน อจินตฺ ิเยน อจนิ ฺติย ํ
โปถยิตฺวา อปเนตพพฺ นฺ”ติ ?
พระเจ้ามิลินทต์ รัสวา่ “พระคณุ เจา้ นาคเสน ธรรม ๒ อย่าง คือ อิทธวิ ิสยั ของทา่ นผมู้ ี
ฤทธิ์ ๑ การเผลด็ ผลของกรรม ๑ เป็นเรอื่ งอจินไตย (ไม่ควรคดิ ) มใิ ชห่ รือ ? สงิ่ ที่เป็นอจินไตย
กต็ ้องใชส้ ิ่งที่เปน็ อจนิ ไตยขจัด พระคุณเจา้ เปรยี บเหมือน บุคคลบางพวก ตอ้ งการผลไม้ ยอ่ ม
ใชก้ ่งิ มะขวิด ตีผลมะขวดิ ยอ่ มใช้กิง่ มะม่วงฟาดผลมะม่วง ฉันใด, พระคุณเจ้านาคเสน พระ
เถระก็ควรใช้ส่งิ ทีเ่ ป็นอจนิ ไตยตีขจัดสงิ่ ท่เี ปน็ อจนิ ไตย ฉนั นน้ั
‘‘อจินตฺ ิยานมปฺ ิ มหาราช เอกํ อธิมตตฺ ํ พลวตรํ, ยถา มหาราช มหิยา ราชาโน
โหนฺติ สมชจจฺ า, สมชจจฺ านมฺปิ เตสํ เอโก สพเฺ พ อภิภวิตฺวา อาณํ ปวตฺเตติ ฯ เอวเมว
โข มหาราช เตส ํ อจินฺตยิ านํ กมฺมวปิ ากเํ ยว อธิมตฺต ํ พลวตร,ํ กมมฺ วปิ ากเํ ยว สพเฺ พ
อภิภวยิ อาณ ํ ปวตเฺ ตต,ิ กมมฺ าธิคคฺ หิตสฺส อวเสสา กิริยา โอกาส ํ น ลภนตฺ ิ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร สง่ิ ๒ อยา่ งแมเ้ ปน็ สงิ่
อจินไตย (ไมค่ วรคดิ ด้วยกัน) แต่อย่างหนึ่ง มปี ระมาณยิง่ มกี �ำลังย่งิ กว่า ขอถวายพระพร
เปรียบเหมือนวา่ บรรดาพระราชา แม้เปน็ ผู้มีชาตเิ สมอกันเหลา่ น้นั พระราชาองคห์ น่งึ ทรงใช้
พระราชอ�ำนาจครอบง�ำพระราชานอกนีท้ ุกพระองค์ได้ ฉันใด, ขอถวายพระพร บรรดาส่งิ ท่ี
เปน็ อจนิ ไตยเหลา่ น้ัน การเผล็ดผลของกรรมนั่นเทียว มีประมาณยิง่ มีก�ำลังยิ่งกว่า การเผล็ด
ผลของกรรมนน่ั เทยี ว ยอ่ มท�ำอ�ำนาจใหเ้ ป็นไปครอบง�ำสง่ิ ท่เี ป็นอจนิ ไตยไดท้ กุ อยา่ ง เมอ่ื
บุคคลถกู กรรมครอบง�ำแลว้ กิจควรท�ำทีเ่ หลอื ย่อมไมไ่ ด้โอกาส ฉันน้นั .

กัณฑ์] ๔.๔ สพั พญั ญตุ ญาณวรรค 3

‘‘อิธ ปน มหาราช โกจิ ปุริโส กิสมฺ ิ ฺจิเทว ปกรเณ อปรชฌฺ ต,ิ น ตสสฺ มาตา วา
ปิตา วา ภคนิ ี วา ภาตโร วา สข ี วา สหายกา วา ตายนตฺ ิ, อถ โข ราชาเยว ตตฺถ
อภภิ วิย อาณํ ปวตเฺ ตติ ฯ กึ ตตฺถ การณํ ? อปราธกิ ตา ฯ เอวเมว โข มหาราช เตสํ
อจนิ ตฺ ิยานํ กมมฺ วิปากํเยว อธิมตฺต ํ พลวตร,ํ กมฺมวิปากเํ ยว สพเฺ พ อภภิ วยิ อาณ ํ
ปวตฺเตต,ิ กมมฺ าธคิ ฺคหิตสฺส อวเสสา กริ ยิ า โอกาส ํ น ลภนฺติ ฯ
ขอถวายพระพร เปรียบเหมอื นวา่ บรุ ษุ บางคนในโลกน้ี ท�ำความผิดกฎหมายบาง
อย่างเท่านนั้ มารดาของเขาก็ดี บดิ าของเขากด็ ี พน่ี ้องหญงิ กด็ ี พน่ี อ้ งชายกด็ ี มิตรกด็ ี สหาย
กด็ ี กช็ ่วยป้องกนั ไม่ได้ แต่ทว่า ในบรรดาบุคคลเหลา่ นน้ั พระราชานนั่ เทียว จะทรงใชอ้ �ำนาจ
ครอบง�ำเขาได้ ถามวา่ อะไรเปน็ เหตุในเรอ่ื งนั้นเล่า ตอบวา่ คือความเป็นคนท�ำผดิ ของเขา
ฉันใด ขอถวายพระพร บรรดาสิ่งท่เี ปน็ อจนิ ไตยเหล่าน้ัน การเผล็ดผลของกรรมนั่นเทยี ว มี
ประมาณยิง่ มีก�ำลงั ย่งิ กวา่ การเผล็ดผลของกรรมน่นั เทยี ว ย่อมท�ำอ�ำนาจใหเ้ ปน็ ไปครอบง�ำ
สิง่ ที่เป็นอจินไตยไดท้ กุ อยา่ ง เมอื่ บุคคลถูกกรรมครอบง�ำแล้ว กจิ ควรท�ำท่ีเหลอื ย่อมไม่ได้
โอกาส ฉันนนั้ เหมอื นกัน
‘‘ยถา วา ปน มหาราช มหยิ า ทวฑาเห สมฏุ ฺ เิ ต ฆฏสหสสฺ มปฺ ิ อทุ ก ํ น สกโฺ กต ิ
นิพพฺ าเปตํ,ุ อถ โข อคฺคเิ ยว ตตฺถ อภภิ วยิ อาณ ํ ปวตเฺ ตติ ฯ กึ ตตฺถ การณํ ? พลวตา
เตชสสฺ ฯ เอวเมว โข มหาราช เตสํ อจินฺตยิ านํ กมฺมวปิ ากเํ ยว อธิมตตฺ ํ พลวตรํ,
กมฺมวปิ ากเํ ยว สพฺเพ อภิภวยิ อาณ ํ ปวตฺเตต,ิ กมฺมาธิคคฺ หติ สฺส อวเสสา กิริยา โอกาสํ
น ลภนฺต,ิ ตสมฺ า มหาราช อายสฺมโต มหาโมคฺคลฺลานสสฺ กมฺมาธคิ คฺ หิตสสฺ ลคเุ ฬห ิ
โปถิยมานสฺส อทิ ฺธยิ า สมนนฺ าหาโร นาโหสี’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร อกี อยา่ งหน่งึ เปรียบเหมือนว่า เมอื่ ไฟปา่ ลุกฮือข้นึ มาเหนอื แผ่นดิน
น�้ำสักพันหม้อกไ็ ม่อาจจะใชด้ บั ไฟได้ เมอื่ เปน็ เชน่ น้นั ไฟนั่นแหละย่อมท�ำอ�ำนาจให้เปน็ ไป
ครอบง�ำสถานท่ีนั้น อะไรเป็นเหตุในขอ้ นนั้ เลา่ ? ตอบวา่ คอื ความทไ่ี ฟมกี �ำลงั (ย่ิงกวา่ ) น่ันเอง
ฉันใด ขอถวายพระพร บรรดาสิง่ ท่เี ป็นอจนิ ไตยเหล่านั้น การเผลด็ ผลของกรรมนน่ั เทยี ว มี
ประมาณยงิ่ มีก�ำลังย่งิ กวา่ การเผลด็ ผลของกรรมนนั่ เทียว ย่อมท�ำอ�ำนาจใหเ้ ป็นไปครอบง�ำ
สงิ่ ที่เป็นอจนิ ไตยทุกอยา่ ง เมื่อบคุ คคลถูกกรรมครอบง�ำแลว้ กิจควรท�ำที่เหลอื ย่อมไม่ได้
โอกาส ฉนั น้นั เหมือนกัน ขอถวายพระพร เพราะฉะนนั้ เมือ่ ทา่ นพระโมคคลั ลานะเถระผ้ถู ูก
กรรมครอบง�ำ พอถกู พวกโจรใช้ไมค้ อ้ นทุบตีเอา จึงมิได้มกี ารแผลงฤทธิ์”

4 มิลินทปัญหาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปัญห

‘‘สาธุ ภนเฺ ต นาคเสน เอวเมต ํ ตถา สมปฺ ฏิจฺฉาม’ี ’ติ ฯ
พระเจ้ามิลินทต์ รสั วา่ “ดีจริง พระคณุ เจ้านาคเสน โยมขอยอมรับค�ำตามท่ีทา่ นกลา่ วมา
ฉะน”้ี

อิทธฺ กิ มฺมวปิ ากปญโฺ ห ป€โม ฯ
จบอทิ ธิกมั มวปิ ากปญั หาขอ้ ที่ ๑

________

๒. ธมฺมวนิ ยปฏจิ ฉฺ นฺนาปฏิจฉฺ นนฺ ปญหฺ
๒. ธมั มวนิ ยปฏจิ ฉันนาปฏจิ ฉันนปัญหา
ปญั หาว่าดว้ ยธรรมวินัยท่ีทรงปิดบังและไม่ทรงปิดบงั
[๒] ‘‘ภนฺเต นาคเสน ภาสิตมเฺ ปตํ ภควตา ‘ตถาคตปปฺ เวทโิ ต ภิกขฺ เว ธมฺมวินโย
ววิ โฏ วโิ รจติ โน ปฏิจฺฉนโฺ น’ติ ฯ ปุน จ ปาติโมกฺขทุ เฺ ทโส เกวล จฺ วนิ ยปฏิ กํ ปิหิต ํ
ปฏจิ ฺฉนนฺ ํ ฯ ยทิ ภนฺเต นาคเสน ชินสาสเน ยุตตฺ ํ วา ปตฺตํ วา สมย ํ ลเภถ, วนิ ย-
ปณฺณตตฺ ิ ววิ ฏา โสเภยฺย ฯ เกน การเณน ? เกวลํ ตตถฺ สิกขฺ า สํยโม นิยโม สลี คุณ-
อาจารปณฺณตตฺ ิ อตฺถรโส ธมฺมรโส วิมุตฺตริ โส ฯ ยท ิ ภนฺเต นาคเสน ภควตา ภณติ ํ
‘ตถาคตปปฺ เวทิโต ภิกฺขเว ธมมฺ วินโย วิวโฏ วโิ รจติ โน ปฏิจฺฉนฺโน’ติ, เตนห ิ
‘ปาติโมกขฺ ทุ ฺเทโส เกวล ฺจ วนิ ยปฏิ ก ํ ปหิ ิตํ ปฏิจฉฺ นฺน’นฺติ ย ํ วจน,ํ ต ํ มจิ ฺฉา ฯ ยท ิ
ปาตโิ มกฺขุทเฺ ทโส เกวล จฺ วินยปิฏกํ ปหิ ิต ํ ปฏจิ ฉฺ นฺนํ, เตนห ิ ‘ตถาคตปฺปเวทิโต ภิกขฺ เว
ธมมฺ วนิ โย วิวโฏ วิโรจติ โน ปฏจิ ฺฉนฺโน’ติ ตมฺปิ วจน ํ มิจฉฺ า ฯ อยมปฺ ิ อุภโต โกฏโิ ก
ป โฺ ห ตวานุปปฺ ตโฺ ต, โส ตยา นพิ ฺพาหิตพฺโพ’’ติ ฯ
[๒] พระเจา้ มลิ ินทต์ รัสวา่ “พระคุณเจ้านาคเสน พระผูม้ ีพระภาคเจา้ ทรงภาษติ ความ
ข้อนไ้ี วว้ า่ ‘ภกิ ษทุ ้ังหลาย ธรรมวินัยทีพ่ ระตถาคตทรงประกาศแลว้ เปิดเผย ไมป่ ิดบัง จงึ
รงุ่ เรือง’ และยงั มคี �ำกล่าวไว้อีกแห่งหนง่ึ วา่ ‘ปาติโมกขทุ เทสและพระวนิ ัยปฎิ กทง้ั ส้นิ เป็นของ
ที่พระผู้มีพระภาคเจา้ ทรงปิดแลว้ บงั แลว้ ’ ดงั นี้ พระคุณเจา้ นาคเสน ถา้ หากว่า ภิกษทุ ้ังหลาย
พึงไดค้ วามรู้ทถ่ี ูกต้อง หรือความรู้ท่ีตนบรรลใุ นพระศาสนาของพระชนิ เจ้าไซร้ พระวินัย
บัญญัติทีภ่ กิ ษุเหล่าน้นั เปดิ เผย จะพึงงดงาม เพราะเหตไุ ร ? เพราะเหตวุ า่ สกิ ขา ความส�ำรวม
ความควบคมุ ตนเอง สลี คณุ อาจาระบัญญัติ อรรถรส ธรรมรส วิมตุ ติรส ย่อมมอี ยู่ในพระวนิ ัย

กัณฑ์] ๔.๔ สัพพัญญุตญาณวรรค 5

บัญญตั นิ ั้นทงั้ สิ้น พระคุณเจ้านาคเสน ถ้าหากพระผู้มพี ระภาคเจ้าตรสั ไวว้ า่ ‘ภกิ ษุทั้งหลาย
ธรรมวนิ ยั ท่พี ระตถาคตประกาศแล้ว เปดิ เผย ไม่ปิดบัง จงึ รงุ่ เรอื ง’ ดงั นี้ จริงไซร้, ถา้ อยา่ งนั้น
ค�ำทีว่ ่า ปาตโิ มกขุทเทสและพระวนิ ยั ปฎิ กทง้ั สิน้ เปน็ ของท่ีพระผู้มพี ระภาคเจ้าทรงปิดแลว้ บัง
แลว้ ดงั น้ี ก็เปน็ ค�ำท่ีผดิ ถ้าหากว่า ปาติโมกขทุ เทสและพระวนิ ัยปฎิ กทั้งส้นิ เป็นของท่พี ระผูม้ ี
พระภาคเจา้ ทรงปิดแล้ว บงั แลว้ จริงไซร้ ถ้าอยา่ งนั้น แม้ค�ำทีว่ า่ ภิกษุท้ังหลาย ธรรมวินัยที่
พระตถาคตประกาศแลว้ เปดิ เผย จึงรุง่ เรอื ง ปิดไว้ ไมร่ ่งุ เรือง ดังนี้ กเ็ ปน็ ค�ำท่ไี ม่ถูกต้อง ปัญหา
แมข้ ้อนี้ ก็มี ๒ เงอ่ื น ตกถึงแกท่ า่ นแล้วโดยล�ำดับ ขอท่านพงึ คลคี่ ลายปญั หานั้นเถิด”
‘‘ภาสติ มฺเปตํ มหาราช ภควตา ‘ตถาคตปฺปเวทโิ ต ภิกขฺ เว ธมมฺ วินโย ววิ โฏ
วิโรจติ โน ปฏิจฉฺ นโฺ น’ติ ฯ ปนุ จ ปาตโิ มกฺขทุ เฺ ทโส เกวล ฺจ วนิ ยปฏิ ก ํ ปิหิตํ ปฏจิ ฉฺ นนฺ ํ,
ต จฺ ปน น สพฺเพส ํ สีมํ กตฺวา ปิหิตํ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร พระผู้มพี ระภาคเจา้ ทรง
ภาษิตความขอ้ น้ไี วว้ า่ ภกิ ษุทงั้ หลาย ธรรมวนิ ยั ทพี่ ระตถาคตทรงประกาศแล้ว เปิดเผย จึง
รุง่ เรือง ปิดบงั ไว้ ไม่รงุ่ เรอื ง ดงั นี้ จรงิ และยังมคี �ำกล่าวไว้อกี ว่า ปาตโิ มกขทุ เทส และพระวินยั
ปิฎกทง้ั สิ้น เปน็ ของท่พี ระผมู้ พี ระภาคเจา้ ทรงปดิ แลว้ บังแลว้ ดงั นี้ จรงิ ก็แต่ว่า ปาติโมกขทุ เท
สและพระวนิ ัยปฎิ กทั้งสิ้นนั้น พระผมู้ พี ระภาคเจา้ มิได้ทรงปิดไว้ ตลอดที่ทุกแหง่ แตป่ ดิ โดย
ทรงกระท�ำใหเ้ ปน็ สีมา (เขตแดน)
‘‘ตวิ ิเธน มหาราช ภควตา ปาติโมกฺขทุ ฺเทโส สีม ํ กตวฺ า ปิหโิ ต, ปพุ ฺพกาน ํ
ตถาคตานํ วํสวเสน ปาติโมกขฺ ุทฺเทโส สมี ํ กตฺวา ปหิ โิ ต, ธมฺมสฺส ครกุ ตฺตา ปหิ ิโต,
ภิกขฺ ุภูมิยา ครุกตตฺ า ปหิ ิโต ฯ
ขอถวายพระพร พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงปิดพระปาติโมกขุทเทส โดยทรงกระท�ำให้
เปน็ สมี า เพราะเหตุ ๓ ประการ คอื
๑. ทรงปดิ พระปาติโมกขทุ เทส โดยทรงกระท�ำให้เป็นสมี า เพราะเกีย่ วกับเป็น (การ
รกั ษา) วงศข์ องพระตถาคตเจา้ ทั้งหลาย แต่กาลก่อน
๒. ทรงปิดพระปาตโิ มกขุทเทส โดยทรงกระท�ำให้เป็นสีมา เพราะความท่พี ระธรรม
เปน็ ของควรเคารพ
๓. ทรงปิดพระปาตโิ มกขุทเทส โดยทรงกระท�ำให้เป็นสมี า เพราะภูมิแห่งภิกษเุ ปน็
ภูมิท่ีควรเคารพ

6 มิลนิ ทปัญหาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปัญห

‘‘กถ ํ ปุพฺพกานํ ตถาคตาน ํ วสํ วเสน ปาตโิ มกฺขุทเฺ ทโส สีม ํ กตฺวา ปหิ ิโต, เอโส
วโํ ส มหาราช สพเฺ พสํ ปพุ พฺ กานํ ตถาคตาน ํ ยทิท ํ ภกิ ฺขุมชฺเฌ ปาตโิ มกฺขุทเฺ ทโส อวเสสาน ํ
ปหิ ิโต ฯ ยถา มหาราช ขตฺตยิ าน ํ ขตตฺ ยิ มายา ขตตฺ เิ ยสเุ ยว จรติ, เอวเมตํ ขตตฺ ยิ าน ํ
โลกสฺส ปเวณี อวเสสาน ํ ปิหิตา ฯ เอวเมว โข มหาราช เอโส วํโส สพเฺ พสํ ปพุ ฺพกาน ํ
ตถาคตานํ ยทิทํ ภกิ ฺขุมชเฺ ฌ ปาติโมกขฺ ทุ ฺเทโส อวเสสาน ํ ปหิ ิโต ฯ
พระผูม้ พี ระภาคเจา้ ทรงปิดพระปาติโมกขุทเทส โดยทรงกระท�ำใหเ้ ปน็ สีมา เพราะ
เก่ยี วกับเป็น (การรักษา) วงศ์ของพระตถาคตเจา้ ท้ังหลายแตก่ าลก่อน อย่างไร ? ขอถวาย
พระพร ขอ้ ท่ีพระผ้มู ีพระภาคเจา้ ทรงแสดงปาติโมกขุทเทสในทา่ มกลางภกิ ษทุ ้งั หลาย ปิดไว้
ส�ำหรับคนที่เหลอื น้ี จัดวา่ เปน็ วงศ์ของพระตถาคตเจ้าท้ังหลาย แตก่ าลก่อนทุกพระองค์ ขอ
ถวายพระพร เปรยี บเหมอื นว่า ขตั ตยิ มายา (เร่อื งท่ีร้กู ันเฉพาะในหมพู่ วกกษตั ริย)์ แห่งพวก
กษัตรยิ ท์ ั้งหลาย ยอ่ มเป็นไป ก็เฉพาะในหมู่กษัตริยท์ ้งั หลายเท่านั้น เรอื่ งน้ีเปน็ ประเพณขี อง
ชาวโลกกษัตรยิ ์ ทีป่ ิดไวส้ �ำหรบั คนที่เหลือ ฉนั ใด ขอถวายพระพร ข้อทีพ่ ระผมู้ ีพระภาคเจา้
ทรงแสดงปาตโิ มกขทุ เทส ในทา่ มกลางภกิ ษทุ งั้ หลาย ปิดไว้ส�ำหรบั บคุ คลท่เี หลอื น้ี ก็เป็นวงศ์
ของพระตถาคตเจา้ ทั้งหลาย แตก่ าลก่อนทกุ พระองค์ ฉันนั้นเหมอื นกัน
‘‘ยถา วา ปน มหาราช มหยิ า คณา วตตฺ นตฺ ,ิ เสยยฺ ถทิ ํ, มลลฺ า อโตณา ปพฺพตา
ธมฺมกริ ยิ า พฺรหฺมคิรยิ า นฏกา นจฺจกา ลงฆฺ กา ปสิ าจา มณภิ ททฺ า ปณุ ฺณพทธฺ า จนทฺ มิ -
สรู ิยา สิรเิ ทวตา กาลิเทวตา, สวิ า วสเุ ทวา ฆนิกา อสิปาสา ภทฺทปิ ุตฺตาต,ิ เตส ํ เตสํ
รหสสฺ ํ เตสุ เตสุ คเณสุเยว จรต,ิ อวเสสานํ ปิหติ ํ ฯ เอวเมว โข มหาราช เอโส วโํ ส
สพเฺ พส ํ ปุพฺพกาน ํ ตถาคตานํ ยทิท ํ ภิกฺขมุ ชฺเฌ ปาตโิ มกฺขทุ ฺเทโส อวเสสานํ ปิหิโต ฯ
เอวํ ปุพพฺ กานํ ตถาคตาน ํ วํสวเสน ปาตโิ มกฺขทุ เฺ ทโส สมี ํ กตวฺ า ปิหโิ ต ฯ
ขอถวายพระพร อกี อยา่ งหนึง่ เปรียบเหมือนวา่ บนแผ่นดนิ มคี นเปน็ ไปอยหู่ ลายพวก
คือ พวกมลั ละ พวกอโตณะ พวกปัพพตะ พวกธรรมกิรยิ ะ พวกพรหมคิรยิ ะ พวกนฏกะ พวก
นัจจกะ พวกลังฆกะ พวกปสิ าจะ พวกมณิภทั ทะ พวกปณุ ณพทั ธะ พวกจนั ทมิ สูรยิ ะ พวกสริ ิ
เทวดา พวกกาลิเทวดา พวกสิวะ พวกวสุเทวะ พวกฆนิกะ พวกอสปิ าสะ พวกภัททิปุตตะ ค�ำ
ลบั เฉพาะประจ�ำพวกน้นั ๆ กย็ ่อมใชก้ นั ในคนพวกน้ัน ๆ เท่าน้ัน ปดิ ไว้ส�ำหรับพวกทเี่ หลือ
ฉนั ใด ขอถวายพระพร ข้อท่พี ระผู้มีพระภาคเจา้ ทรงแสดงปาตโิ มกขทุ เทส ในท่ามกลางภิกษุ
ทั้งหลาย ปิดไวส้ �ำหรับบุคคลท่เี หลอื นอกน้ี กเ็ ปน็ วงศข์ องพระตถาคตทัง้ หลาย แต่กาลก่อน
ทกุ พระองค์ ฉนั นั้นเหมือนกัน ทรงปิดพระปาตโิ มกขทุ เทส โดยกระท�ำใหเ้ ปน็ สีมา เพราะเกีย่ ว

กณั ฑ์] ๔.๔ สพั พญั ญุตญาณวรรค 7

กบั เป็นวงศข์ องพระตถาคตท้ังหลายแต่กาลก่อน ตามประการดงั กลา่ วนี้
‘‘กถ ํ ธมฺมสฺส ครุกตฺตา ปาตโิ มกฺขุทฺเทโส สีมํ กตฺวา ปิหิโต ? ธมฺโม มหาราช
ครโุ ก ภารโิ ย, ตตถฺ สมมฺ ตตฺ การี อ ฺ ํ อาราเธต,ิ ตํ ตตฺถ ปรมปฺ ราสมฺมตตฺ การิตาย
ปาปณุ าต,ิ น ตํ ตตฺถ ปรมฺปราสมมฺ ตฺตการติ าย ปาปณุ าติ, มา จายํ สารธมฺโม วรธมโฺ ม
อสมฺมตฺตการีนํ หตฺถคโต โอ ฺ าโต อว ฺ าโต หีฬิโต ขีฬโิ ต ครหโิ ต ภวตุ, มา จาย ํ
สารธมฺโม วรธมฺโม ทชุ ชฺ นคโต โอ ฺ าโต อว ฺ าโต หฬี โิ ต ขีฬิโต ครหโิ ต ภวตตู ิ ฯ
เอวํ ธมมฺ สฺส ครกุ ตฺตา ปาติโมกฺขทุ เฺ ทโส สมี ํ กตวฺ า ปหิ โิ ต ฯ
พระผู้มีพระภาคเจา้ ทรงปดิ พระปาติโมกขุทเทส โดยทรงกระท�ำให้เป็นสีมา เพราะ
ความทพี่ ระธรรมเป็นของควรเคารพอยา่ งไร ? ขอถวายพระพร พระผูม้ ีพระภาคเจา้ ทรงด�ำริ
วา่ พระธรรมเปน็ ของควรเคารพ เป็นของควรตระหนกั ผคู้ อยท�ำตามโดยชอบในพระธรรมนัน้
ย่อมท�ำผู้อน่ื ให้โปรดปรานได้ บุคคลยอ่ มบรรลุพระธรรมนัน้ เพราะความเป็นผูค้ อยท�ำตาม
โดยชอบติดต่อกันในพระธรรมนัน้ หามไิ ด้ พระธรรมท่ีเป็นสาระ พระธรรมท่ปี ระเสริฐนี้ ขอจง
อยา่ ไดอ้ ยู่ในเงื้อมมอื ของผู้ที่ไมค่ อยท�ำตามโดยชอบ ใหค้ นทั้งหลายดูถกู ดหู มน่ิ ติเตียน
เหยยี ดหยาม ต�ำหนิเอาไดเ้ ลย พระธรรมทเ่ี ปน็ สาระ พระธรรมท่ปี ระเสรฐิ นี้ ขออยา่ ตกถงึ แก่
คนชั่ว ให้คนทั้งหลายดูถูก ดหู มิน่ ตเิ ตยี น เหยียดหยาม ต�ำหนิเอาได้เลย ดงั น้ี เพราะเหตุนนั้
พระผมู้ พี ระภาคเจา้ จงึ ทรงปิดพระปาตโิ มกขุทเทส โดยทรงกระท�ำใหเ้ ปน็ สมี า เพราะความท่ี
พระธรรมเป็นของควรเคารพ ตามประการดงั กล่าวมานี้
‘‘ยถา มหาราช สารวรปวรอภิชาตชาตมิ นตฺ รตฺตโลหิตจนทฺ นํ นาม สวรปุรมนุคตํ
โอ ฺ าตํ อว ฺ าตํ หฬี ิต ํ ขีฬิตํ ครหติ ํ ภวต,ิ เอวเมว โข มหาราช มา จายํ สารธมโฺ ม
วรธมโฺ ม ปรมปฺ ราอสมมฺ ตฺตการีน ํ หตฺถคโต โอ ฺ าโต อว ฺ าโต หฬี โิ ต ขีฬโิ ต ครหโิ ต
ภวตุ, มา จาย ํ สารธมฺโม วรธมโฺ ม ทชุ ฺชนคโต โอ ฺ าโต อว ฺ าโต หฬี ิโต ขฬี โิ ต
ครหิโต ภวตตู ิ ฯ เอว ํ ธมมฺ สฺส ครกุ ตฺตา ปาตโิ มกขฺ ทุ ฺเทโส สีม ํ กตวฺ า ปหิ ิโต ฯ
ขอถวายพระพร เปรยี บเหมอื นวา่ ธรรมดาจนั ทร์แดงท่ีมีแก่นประเสรฐิ ยอดเยีย่ ม ควร
แก่ผูม้ ชี าตเิ ป็นอภชิ าติ พอแพรไ่ ปยงั เมอื งคนปา่ เถื่อนแลว้ ก็ยอ่ มเป็นของที่คนทั้งหลายดูถูก ดู
หมนิ่ ตเิ ตียน เหยียดหยาม ต�ำหนเิ อาได้ ฉันใด ขอถวายพระพร พระผมู้ ีพระภาคเจา้ ก็ทรง
ด�ำริวา่ พระธรรมที่เป็นสาระ พระธรรมที่ประเสรฐิ นี้ ขอจงอย่าไดอ้ ยูใ่ นเง้ือมมือของผทู้ ่ไี มค่ อ่ ย
ท�ำตามโดยชอบ ให้คนทัง้ หลายดถู กู ดหู มน่ิ ตเิ ตียน เหยยี ดหยาม ต�ำหนิเอาไดเ้ ลย พระธรรม

8 มลิ ินทปญั หาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปญั ห

ท่เี ปน็ สาระ พระธรรมที่ประเสริฐนี้ ขอจงอย่าถึงแกค่ นชวั่ ให้คนทงั้ หลายดถู ูก ดูหม่นิ ตเิ ตียน
เหยียดหยาม ต�ำหนเิ อาไดเ้ ลย ดังนี้ ฉนั นน้ั เหมือนกนั เพราะเหตนุ น้ั พระผู้มีพระภาคเจา้ จงึ
ทรงปดิ พระปาติโมกขุทเทส โดยทรงกระท�ำให้เป็นสมี า เพราะความทีพ่ ระธรรมเปน็ ของควร
เคารพ ตามประการดังกล่าวมาน้ี
‘‘กถ ํ ภกิ ฺขภุ ูมิยา ครุกตฺตา ปาติโมกฺขทุ ฺเทโส สมี ํ กตวฺ า ปหิ โิ ต, ภิกฺขุภาโว โข
มหาราช โลเก อตุลิโย อปปฺ มาโณ อนคฺฆิโย, น สกกฺ า เกนจิ อคฺฆาเปตุํ ตุเลตุ ํ ปริเมต,ุํ
มายํ เอวรูเป ภกิ ขฺ ภุ าเว ิโต โลเกน สมสโม ภวตูต ิ ภิกขฺ ูนํเยว อนตฺ เร ปาตโิ มกฺขุทฺเทโส
จรติ ฯ
พระผู้มีพระภาคเจา้ ทรงปดิ พระปาติโมกขทุ เทส โดยทรงท�ำใหเ้ ป็นสีมา เพราะภูมแิ หง่
ภกิ ษุเปน็ ภูมิทีค่ วรเคารพอย่างไร ? ขอถวายพระพร ความเป็นภิกขเุ ป็นภาวะทไ่ี มอ่ าจชง่ั ได้
ไมอ่ าจประมาณได้ ไม่อาจนบั ค่าได้ในโลก ใคร ๆ ไมอ่ าจนบั คา่ ได้ ไมอ่ าจชั่งได้ ไมอ่ าจ
ประมาณได้ บคุ คลทด่ี �ำรงอยู่ในความเปน็ ภิกขุเห็นปานนี้ ย่อมเปน็ ผทู้ ่หี าชาวโลกเสมอเหมอื น
มิได้ เพราะเหตุนัน้ พระปาตโิ มกขทุ เทส ย่อมเป็นไปในระหวา่ งภกิ ษทุ ้งั หลายเท่านนั้
ยถา มหาราช โลเก วรปวรภณฑฺ ํ วตฺถ ํ วา อตฺถรณ ํ วา คชตุรงคฺ รถสุวณฺณรชต-
มณมิ ุตตฺ าอิตฺถริ ตนาทนี ิ วา วิชติ กมมฺ สูรา วา สพเฺ พ เต ราชานมุปคจฺฉนฺติ, เอวเมว โข
มหาราช ยาวตา โลเก สุคตาคมปริยตตฺ อิ าจารสยํ มสีลสํวรคุณา, สพเฺ พ เต ภกิ ฺขสุ งฺฆ-
มปุ คตา ภวนตฺ ิ ฯ เอวํ ภิกขฺ ภุ มู ิยา ครกุ ตตฺ า ปาตโิ มกขฺ ทุ ฺเทโส สีม ํ กตฺวา ปหิ โิ ต’’ติ ฯ
ขอถวายพระพรมหาบพติ ร เปรียบเหมอื นว่า ทรพั ย์สินอันประเสรฐิ ยอดเยย่ี มในโลก
คอื ผา้ ก็ดี เครื่องปูลาดกด็ ี ชา้ ง ม้า รถ ทองเงนิ แก้วมณี แกว้ มกุ ดา นางแกว้ เปน็ ต้นก็ดี กัมม
สูระทท่ี รงพิชติ ได้ก็ดี ทรพั ย์สินทั้งหมดเหลา่ นน้ั ย่อมควรแกพ่ ระราชา ฉนั ใด ขอถวายพระพร
คุณทงั้ หลาย คือ อาคม ปรยิ ตั ิ อาจาระ ความส�ำรวม ศีลสังวร ของพระสคุ ตเจ้า ในโลก คณุ
ทัง้ หมดเหล่านัน้ ยอ่ มเปน็ ของควรแกภ่ กิ ษุสงฆ์ ฉันนน้ั เหมือนกัน พระผมู้ ีพระภาคเจา้ ทรงปิด
พระปาตโิ มกขทุ เทส โดยทรงท�ำให้เป็นสมี า เพราะภมู แิ หง่ ภิกษเุ ป็นภูมิท่ีควรเคารพ ตาม
ประการดังกลา่ วมาน”้ี
‘‘สาธุ ภนฺเต นาคเสน เอวเมตํ ตถา สมฺปฏิ จิ ฺฉาม’ี ’ติ ฯ
พระเจ้ามิลินทต์ รสั วา่ “ดจี ริง พระคณุ เจ้า นาคเสน โยมขอยอมรบั ค�ำตามทที่ า่ นกลา่ ว
มาแลว้ ฉะนี”้

กัณฑ์] ๔.๔ สัพพญั ญตุ ญาณวรรค 9

ธมมฺ วนิ ยปฏิจฉฺ นฺนาปฏจิ ฺฉนฺนปญฺโห ทุติโย ฯ
จบธมั มวนิ ยปฏิจฉันนาปฏจิ ฉนั นปญั หาขอ้ ท่ี ๒

________

๓. มุสาวาทครุลหุภาวปญฺห
๓. มุสาวาทครุลหุภาวปญั หา
ปญั หาวา่ ดว้ ยการกล่าวเท็จเปน็ อาบัตหิ นกั หรืออาบตั ิเบา
[๓] ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน ภาสิตมฺเปต ํ ภควตา ‘สมปฺ ชานมุสาวาเท ปาราชโิ ก โหต’ี ติ ฯ
ปุน จ ภณติ ํ ‘สมฺปชานมสุ าวาเท ลหกุ ํ อาปตตฺ ึ อาปชชฺ ต ิ เอกสฺส สนตฺ ิเก เทสนา-
วตฺถุกนฺ’ติ ฯ ภนฺเต นาคเสน โก ปเนตถฺ วิเสโส, กึ การณํ ย ฺเจเกน มสุ าวาเทน
อจุ ฺฉชิ ชฺ ต,ิ ย เฺ จเกน มุสาวาเทน สเตกิจโฺ ฉ โหติ ? ยท ิ ภนฺเต นาคเสน ภควตา ภณติ ํ
‘สมปฺ ชานมสุ าวาเท ปาราชิโก โหตี’ต,ิ เตนหิ ‘สมฺปชานมสุ าวาเท ลหกุ ํ อาปตฺต ึ อาปชฺชติ
เอกสสฺ สนตฺ เิ ก เทสนาวตถฺ ุกน’ฺ ติ ยํ วจน,ํ ต ํ มิจฺฉา ฯ ยทิ ตถาคเตน ภณติ ํ ‘สมฺปชาน-
มุสาวาเท ลหกุ ํ อาปตตฺ ึ อาปชฺชติ เอกสฺส สนฺติเก เทสนาวตฺถกุ นฺ’ติ, เตนห ิ ‘สมปฺ ชาน-
มุสาวาเท ปาราชิโก โหต’ี ต ิ ตมฺป ิ วจน ํ มิจฺฉา ฯ อยมปฺ ิ อุภโต โกฏิโก ป ฺโห
ตวานปุ ฺปตฺโต, โส ตยา นพิ ฺพาหติ พโฺ พ’’ติ ฯ
[๓] พระเจา้ มิลนิ ทต์ รัสว่า “พระคุณเจ้านาคเสน พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงภาษิตความ
ข้อน้ไี ว้วา่ ‘ย่อมเป็นปาราชิกในเพราะการกลา่ วเท็จทั้งทีร่ ้’ู ดังนี้ แตย่ งั ตรสั ไวอ้ กี วา่ ‘เมอ่ื มกี าร
กล่าวเท็จท้ัง ๆ ทร่ี ู้ ก็ยอ่ มตอ้ งอาบตั เิ บา อันเป็นอาบัติเป็นทต่ี ้ังแหง่ การเแสดงในส�ำนักของ
ภกิ ษรุ ูปใดรปู หนึง่ ก็ได้’ ดังนี้ พระคณุ เจา้ นาคเสน ในค�ำทงั้ ๒ นี้ มีอะไรเปน็ ขอ้ แตกตา่ งกนั เล่า
มอี ะไรเปน็ เหตุเล่า ความเป็นภกิ ษุ ย่อมขาดไป เพราะการกลา่ วเทจ็ อย่างหน่งึ ? ยังมอี ัน
เยยี วยากันได้ เพราะการกลา่ วเทจ็ อยา่ งหนึง่ พระคุณเจ้านาคเสน ถา้ หาก พระผ้มู พี ระภาคเจา้
ตรัสวา่ ยอ่ มเป็นปาราชิกในเพราะการกลา่ วเท็จ ทงั้ ๆ ทรี่ ้อู ยู่ ดังนี้ จริงไซร้ ถ้าอย่างนั้น ค�ำท่ี
ตรัสไวว้ ่า เมอื่ มกี ารกล่าวเท็จ ๆ ทง้ั ทีร่ ู้ ก็ย่อมต้องอาบตั ิเบา อันเปน็ อาบัติเป็นทีต่ งั้ แหง่ การ
แสดงในส�ำนกั ของภกิ ษรุ ูปใดรูปหน่ึง ดังน้ี ก็ยอ่ มเปน็ ค�ำท่ีผดิ ถ้าหากพระตถาคตตรสั ว่า เม่ือมี
การกล่าวเท็จทงั้ ๆ ทีร่ ้อู ยู่ ก็ยอ่ มต้องอาบัตเิ บา อนั เปน็ อาบตั เิ ปน็ ท่ีตัง้ แห่งการแสดงในส�ำนกั
ของภกิ ษุรูปใดรูปหน่งึ กไ็ ด้ ดังน้ี จรงิ ไซร้ ถ้าอย่างน้นั ค�ำทตี่ รสั ไวว้ ่า ยอ่ มเปน็ ปาราชกิ
ในเพราะการกล่าวเท็จท้ัง ๆ ท่ีรอู้ ยู่ ดงั นี้ ก็ย่อมเป็นค�ำทไ่ี ม่ถกู ตอ้ ง ปญั หาแมข้ อ้ นี้ กม็ ี ๒ เงอ่ื น

10 มิลนิ ทปัญหาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปัญห

ตกถึงแกท่ ่านแลว้ โดยล�ำดับ ขอท่านพึงคล่ีคลายปัญหาน้นั เถิด”
‘‘ภาสติ มฺเปต ํ มหาราช ภควตา ‘สมปฺ ชานมุสาวาเท ปาราชิโก โหตี’ติ ฯ ภณิต จฺ
‘สมฺปชานมุสาวาเท ลหุกํ อาปตฺต ึ อาปชฺชต ิ เอกสสฺ สนฺตเิ ก เทสนาวตฺถุก’นฺต,ิ ต จฺ ปน
วตถฺ วุ เสน ครุกลหกุ ํ โหติ ฯ ตํ กึ ม ฺ ส ิ มหาราช อธิ โกจ ิ ปุริโส ปรสฺส ปาณินา ปหาร ํ
ทเทยฺย, ตสฺส ตมุ ฺเห กึ ทณฺฑํ ธาเรถา’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร พระผ้มู ีพระภาคเจา้ ทรง
ภาษิตความขอ้ น้ีไวว้ า่ ยอ่ มเป็นปาราชิกในเพราะการกล่าวเท็จทงั้ ๆ ท่รี ู้ ดังน้ี จริง และตรัสไว้
อีกวา่ เม่อื มกี ารกล่าวเทจ็ ทง้ั ๆ ที่รู้ ก็ย่อมตอ้ งอาบัตเิ บาซ่ึงเปน็ อาบตั ทิ ี่ตอ้ งแสดงเร่อื งในส�ำนกั
ของภิกษรุ ูปใดรูปหน่งึ ก็ได้ ดงั น้ี จรงิ กแ็ ต่การกลา่ วเท็จทั้ง ๆ ที่ร้นู ้ัน จะเปน็ อาบตั หิ นกั หรือ
เบา ก็ดว้ ยอ�ำนาจวัตถุ ขอถวายพระพร พระองคจ์ ะทรงส�ำคญั ความข้อนน้ั อยา่ งไร ? บรุ ุษบาง
คนในโลกนี้ ใช้ฝา่ มอื ทุบตีบุรษุ อีกคนหนึง่ พระองค์จะรับส่งั ใหล้ งโทษบรุ ษุ ทที่ ุบตเี ขานัน้
อยา่ งไร ?”
‘‘ยท ิ โส ภนฺเต อาห ‘นกขฺ มามี’ต,ิ ตสฺส มย ํ อกขฺ มมาเน กหาปณ ํ หราเปมา’’ต ิ
พระเจ้ามลิ ินท์ตรสั ว่า “พระคุณเจ้า ถ้าหากวา่ บรุ ษุ นัน้ ไมก่ ลา่ วขอโทษ โยมกจ็ ะสง่ั เจ้า
พนักงานปรับเขา ๑ กหาปณะ”
‘‘อธิ ปน มหาราช โสเยว ปุรโิ ส ตว ปาณินา ปหาร ํ ทเทยฺย, ตสฺส ปน โก
ทณโฺ ฑ’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร ถ้าบุรษุ คนเดยี วกนั นัน้ นนั่ แหละ ใช้
ฝา่ มือทุบตพี ระองคเ์ ลา่ เขาจะไดร้ บั การลงโทษอยา่ งไร ?”
‘‘หตฺถมปฺ สิ ฺส ภนฺเต เฉทาเปยยฺ าม, ปาทมฺปิ เฉทาเปยยฺ าม, ยาว สีสํ กฬีรจเฺ ฉชฺช ํ
เฉทาเปยยฺ าม, สพพฺ มฺป ิ ต ํ เคหํ วลิ มุ ปฺ าเปยยฺ าม, อุภโตปกเฺ ข ยาว สตฺตม ํ กุล ํ
สมคุ ฆฺ าตาเปยฺยามา’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ ินท์ตรสั วา่ “พระคุณเจา้ โยมจะสงั่ ใหต้ ดั มอื เขาบา้ ง จะสง่ั ใหต้ ัดเทา้ เขาเสีย
บ้าง จะสง่ั ให้ตดั ขาดเป็นทอ่ น ๆ กระทั่งถงึ ศีรษะ จะสงั่ ให้ริบบ้านเรอื นแม้ทกุ หลัง จะสงั่ ให้ฆา่
ญาตทิ ้งั ๒ ฝา่ ย ๗ ชัว่ ตระกลู ”
‘‘โก ปเนตฺถ มหาราช วิเสโส, กึการณํ, ย ํ เอกสฺส ปาณปิ ฺปหาเร สุขุโม กหาปโณ

กัณฑ]์ ๔.๔ สพั พัญญุตญาณวรรค 11

ทณโฺ ฑ, ย ํ ตว ปาณปิ ฺปหาเร หตถฺ จเฺ ฉชฺช ํ ปาทจเฺ ฉชฺชํ ยาว กฬีรจเฺ ฉชฺชํ สพฺพเคหาทานํ
อุภโตปกเฺ ข ยาว สตฺตมกลุ า สมุคฺฆาโต’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร ในการท�ำทง้ั ๒ คราวน้ี มอี ะไรเปน็ ข้อท่ี
แตกตา่ งกันเลา่ มีอะไรเป็นเหตเุ ล่า เพราะเหตใุ ด เม่ือใช้ฝ่ามือทบุ ตคี นหนงึ่ จงึ ไดร้ ับโทษ
เบาบาง เพียงถูกปรับกหาปณะเดียว เพราะเหตุใด เม่ือใช้ฝ่ามอื ทุบตพี ระองค์ จึงถูกตัดมือ ถูก
ตัดเทา้ ถกู ตัดขาดเป็นท่อน ๆ กระทง่ั ถงึ ศีรษะ ถูกรบิ บ้านเรอื นทกุ หลัง ญาติทงั้ ๒ ฝา่ ย ก็ถกู
ฆ่าตลอด ๗ ชว่ั ตระกลู ”

‘‘มนสุ ฺสนตฺ เรน ภนฺเต’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ ินทต์ รสั ว่า “เพราะคน (ท่ถี ูกทบุ ตี) ตา่ งกัน พระคุณเจ้า”

“เอวเมว โข มหาราช สมปฺ ชานมุสาวาโท วตถฺ วุ เสน ครกุ ลหโุ ก โหตี’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร กเ็ หมอื นอยา่ งนนั้ นน่ั แหละ การกลา่ ว
เท็จทง้ั ๆ ที่รนู้ น้ั จะเปน็ อาบัตหิ นกั อาบตั เิ บา ก็ด้วยอ�ำนาจวัตถ”ุ

‘‘สาธุ ภนเฺ ต นาคเสน เอวเมตํ ตถา สมฺปฏจิ ฉฺ าม’ี ’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ ินทต์ รัสว่า “ดีจริง พระคุณเจา้ นาคเสน โยมขอยอมรบั ค�ำตามท่ที ่านกล่าวมา
แล้วฉะน้”ี

มุสาวาทครลุ หุภาวปญฺโห ตตโิ ย ฯ
จบมสุ าวาทครลุ หภุ าวปญั หาขอ้ ที่ ๓

________

๔. โพธสิ ตตฺ ธมฺมตาปญฺห
๔. โพธิสตั ตธัมมตาปญั หา
ปัญหาว่าดว้ ยความเป็นธรรมดาแหง่ พระโพธิสตั ว์
[๔] ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน ภาสิตมฺเปตํ ภควตา ธมฺมตาธมมฺ ปรยิ าเย ‘ปพุ ฺเพว
โพธิสตตฺ านํ มาตาปติ โร นยิ ตา โหนตฺ ิ, โพธ ิ นิยตา โหติ, อคคฺ สาวกา นยิ ตา โหนตฺ ,ิ
ปตุ โฺ ต นยิ โต โหติ, อปุ ฏ ฺ าโก นยิ โต โหต’ี ติ ฯ ปนุ จ ตุมเฺ ห ภณถ ‘ตสุ ิเต กาเย ิโต
โพธิสตฺโต อฏ ฺ มหาวโิ ลกนานิ วิโลเกต,ิ กาล ํ วิโลเกต,ิ ทปี ํ วโิ ลเกติ, เทสํ วโิ ลเกต,ิ กุลํ

12 มิลนิ ทปัญหาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปญั ห

วโิ ลเกต,ิ ชเนตฺต ึ วิโลเกติ, อาย ํุ วิโลเกติ, มาส ํ วิโลเกติ, เนกฺขมมฺ ํ วิโลเกต’ี ติ ฯ
[๔] พระเจา้ มิลนิ ท์ตรสั ว่า “พระคณุ เจา้ นาคเสน พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงภาษติ ความ
ข้อน้ไี วว้ า่ ธมั มตาธมั มปรยิ ายสตู รว่า ‘พระโพธิสัตวท์ ัง้ หลายในกาลกอ่ น ได้ก�ำหนดผเู้ ปน็
มารดาและบิดาไว้แนน่ อนแลว้ ได้ก�ำหนดการตรสั ร้ไู วแ้ นน่ อนแล้ว ได้ก�ำหนดผู้เป็นอัครสาวก
ไว้แนน่ อนแลว้ ได้ก�ำหนดผู้เปน็ บตุ รไว้แน่นอนแลว้ ไดก้ �ำหนดผเู้ ปน็ อปุ ฏั ฐากไว้แน่นอนแลว้ ’
ดังน้ี และพวกท่านกล่าวกนั อีกวา่ พระโพธิสตั วผ์ ู้ด�ำรงอยูใ่ นช้นั ดุสิต ยอ่ มตรวจดมู หาวโิ ลกนะ
(การตรวจดใู หญ)่ ๘ อย่าง คือ
๑. กาล ํ วโิ ลเกต,ิ ตรวจดูกาลเวลาทจ่ี ะประสูติ
๒. ทปี ํ วิโลเกต,ิ ตรวจดูทวปี ที่จะประสูติ
๓. เทสํ วโิ ลเกต,ิ ตรวจดูประเทศที่จะประสูติ
๔. กุล ํ วิโลเกติ, ตรวจดตู ระกูลทีจ่ ะประสตู ิ
๕. ชเนตฺตึ วิโลเกติ, ตรวจดผู ใู้ ห้ก�ำเนดิ
๖. อาย ํุ วิโลเกติ, ตรวจดูอายุ
๗. มาส ํ วิโลเกต,ิ ตรวจดเู ดอื น
๘. เนกขฺ มมฺ ํ วโิ ลเกติ, ตรวจดูการเสดจ็ ออกบวช
ภนฺเต นาคเสน อปริปกเฺ ก าเณ พชุ ฺฌน ํ นตฺถิ, ปริปกเฺ ก าเณ น สกกฺ า
นิเมสนตฺ รมปฺ ิ อาคเมต,ํุ อนติกกฺ มนีย ํ ปรปิ กฺกมานสํ ฯ กสฺมา โพธสิ ตโฺ ต กาลํ วโิ ลเกห ิ
‘กมหฺ ิ กาเล อปุ ปฺ ชชฺ ามี’ติ ฯ อปริปกฺเก าเณ พุชฌฺ นํ นตถฺ ,ิ ปริปกเฺ ก าเณ น สกกฺ า
นเิ มสนฺตรมฺปิ อาคเมตุํ, กสฺมา โพธิสตฺโต กุลํ วโิ ลเกต ิ ‘กมหฺ ิ กเุ ล อุปปฺ ชชฺ ามี’ติ ฯ ยทิ
ภนเฺ ต นาคเสน ปุพเฺ พว โพธสิ ตฺตสฺส มาตาปิตโร นยิ ตา, เตนหิ ‘กลุ ํ วโิ ลเกต’ี ต ิ ย ํ วจนํ,
ต ํ มิจฉฺ า ฯ ยทิ กุลํ วโิ ลเกต,ิ เตนห ิ ‘ปพุ ฺเพว โพธิสตฺตสสฺ มาตาปติ โร นยิ ตา’ต ิ ตมปฺ ิ
วจน ํ มจิ ฉฺ า ฯ อยมฺป ิ อุภโต โกฏโิ ก ป โฺ ห ตวานุปปฺ ตฺโต, โส ตยา นิพฺพาหิตพฺโพ’’ติ ฯ
พระคณุ เจ้านาคเสน เมือ่ ฌานยังไม่แกก่ ลา้ กห็ าความรมู้ ิได้ เมอ่ื ฌานแก่กล้าแล้ว กไ็ ม่
อาจใหส้ ิ่งเหลา่ น้ี ซ่งึ แตล่ ะอย่างไมใ่ ชฐ่ านะไดห้ วนกลบั คนื มา ใจทแี่ กก่ ลา้ แล้ว ใคร ๆ ไมอ่ าจ
ก้าวลว่ งได้ เพราะเหตุไร พระโพธสิ ัตวจ์ ึงตรวจดูกาลว่า ‘เราจะอุบตั ิในกาลไหน’ ดงั นี้อีกเลา่
เมื่อญาณยงั ไม่แก่กลา้ ก็หาความรมู้ ไิ ด้ เมือ่ ญาณแกก่ ลา้ แลว้ ก็ไมอ่ าจให้สง่ิ เหลา่ นี้ซ่งึ แต่ละ
อย่างไมใ่ ชฐ่ านะ ได้หวนกลบั คนื มา เพราะเหตไุ ร พระโพธสิ ัตว์ จึงตรวจดูตระกลู วา่ ‘เราจะ
อบุ ัติในตระกูลไหน’ ดังนี้อกี เลา่ พระคุณเจา้ นาคเสน ถ้าหากว่า พระโพธสิ ตั ว์ในปางกอ่ น ได้

กณั ฑ์] ๔.๔ สพั พญั ญตุ ญาณวรรค 13

ก�ำหนดผเู้ ป็นมารดาและบิดาไวแ้ น่นอนแลว้ จรงิ แลว้ ไซร้ ถ้าอยา่ งน้นั ค�ำท่ีวา่ ‘พระโพธิสัตว์
ตรวจดูตระกูล’ ดังนี้ ก็เป็นค�ำทผี่ ดิ ถ้าหากพระโพธิสัตว์ตรวจดูตระกูล จริงไซร้ ถา้ อยา่ งนั้น ค�ำ
ท่ีตรสั ไวว้ า่ ‘พระโพธิสตั วไ์ ดก้ �ำหนดผูเ้ ปน็ มารดาและบดิ าไวแ้ นน่ อนแลว้ ’ ดงั น้ี ก็ย่อมเปน็ ค�ำท่ี
ไม่ถกู ตอ้ ง ปญั หาแมข้ ้อนี้ กม็ ี ๒ เงื่อน ตกถึงแกท่ ่านแลว้ โดยล�ำดับ ขอทา่ นพึงคลีค่ ลายปัญหา
นั้นเถิด”
‘‘นิยตา มหาราช ปพุ เฺ พว โพธิสตฺตสสฺ มาตาปติ โร, กลุ จฺ โพธสิ ตโฺ ต วิโลเกติ ฯ
กนิ ฺต ิ ปน กุลํ วิโลเกต ิ ‘เย เม มาตาปติ โร, เต ขตฺตยิ า อทุ าห ุ พฺราหฺมณา’ติ ฯ เอว ํ กุลํ
วิโลเกติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร โพธสิ ตั วใ์ นปางก่อน ได้
ก�ำหนดผู้เป็นมารดาและบดิ าไว้แน่นอนแล้ว จรงิ และตรวจดตู ระกูล จริง กแ็ ต่วา่ ตรวจดูตระกูล
อย่างไรเล่า ? ตรวจดูตระกลู อย่างนี้วา่ ‘ผูท้ ่ีจะเป็นมารดาและบดิ าของเราเปน็ กษตั ริยห์ รือวา่
เปน็ พราหมณเ์ ลา่ ’ ดังน้ี
‘‘อฏ ฺ นนฺ ํ มหาราช ปพุ เฺ พว อนาคตํ โอโลเกตพพฺ ํ โหติ ฯ กตเมสํ อฏ ฺ นฺนํ ?
วาณชิ สฺส มหาราช ปพุ เฺ พว วกิ กฺ ยภณฑฺ ํ โอโลเกตพฺพ ํ โหติ, หตถฺ นิ าคสฺส ปพุ เฺ พว
โสณฑฺ าย อนาคโต มคโฺ ค โอโลเกตพโฺ พ โหต,ิ สากฏกิ สสฺ ปุพฺเพว อนาคตํ ติตฺถ ํ
โอโลเกตพพฺ ํ โหต,ิ นิยามกสสฺ ปพุ ฺเพว อนาคตํ ตรี ํ โอโลเกตฺวา นาวา เปเสตพพฺ า โหติ,
ภิสกฺกสฺส ปพุ ฺเพว อายํุ โอโลเกตฺวา อาตุโร อปุ สงฺกมติ พโฺ พ โหต,ิ อุตตฺ รเสตุสฺส ปุพฺเพว
ถริ าถริ ภาว ํ ชานิตฺวา อภริ ุหติ พพฺ ํ โหติ, ภิกขฺ สุ สฺ ปพุ ฺเพว อนาคต ํ กาล ํ ปจจฺ เวกขฺ ิตวฺ า
โภชนํ ภุ ชฺ ติ พฺพํ โหติ, โพธิสตตฺ านํ ปพุ ฺเพว กุลํ โอโลเกตพพฺ ํ โหติ ‘ขตฺติยกลุ ํ วา
พฺราหฺมณกลุ ํ วา’ติ ฯ
ขอถวายพระพรมหาบพิตร บุคคล ๘ จ�ำพวก มีอนั ตอ้ งตรวจดอู นาคตก่อนท้งั น้ัน
บคุ คล ๘ จ�ำพวก เป็นไฉน ? คอื
๑. มหาบพิตร พอ่ คา้ ต้องตรวจดูสินคา้ ที่จะขายกอ่ น
๒. ชา้ ง ต้องใชง้ วงตรวจดูหนทางทยี่ งั ไม่เคยไปมาก่อน
๓. คนขบั เกวียน ต้องตรวจดทู า่ ข้ามที่ยงั ไมเ่ คยไปก่อน
๔. ต้นหนเรอื ต้องตรวจดฝู ่ังท่ยี งั ไมเ่ คยไปก่อน แลว้ จงึ ค่อยให้สง่ เรือไป
๕. แพทย์ ตอ้ งตรวจดูอายุ (คนไข้) ก่อน แล้วจึงค่อยเข้าไปหา (ลงมือรักษา) คนไข้

14 มิลนิ ทปัญหาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปญั ห

๖. ผจู้ ะขา้ มสะพาน ต้องรู้เสียกอ่ นว่าม่ันคงหรอื ไม่ม่ันคง แล้วจงึ ค่อยย่างขน้ึ
๗. ภกิ ษุ ตอ้ งพิจารณาเวลาทีย่ ังไม่ถึงเสียก่อน แล้วจึงฉนั อาหาร
๘. พระโพธสิ ตั วท์ ั้งหลาย มอี นั ต้องพจิ ารณาตระกลู ก่อนว่า เปน็ ตระกลู กษัตริย์หรือ
ตระกูลพราหมณ’์ ดงั นี้

อเิ มสํ โข มหาราช อฏฺ นฺนํ ปพุ ฺเพว อนาคตํ โอโลเกตพพฺ ํ โหตี’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร บคุ คล ๘ จ�ำพวกเหล่านี้แล มอี ันต้องตรวจดูอนาคตก่อนท้งั นน้ั ”

‘‘สาธ ุ ภนฺเต นาคเสน เอวเมต ํ ตถา สมฺปฏจิ ฺฉามี’’ติ ฯ
พระเจา้ มิลนิ ทต์ รสั วา่ “ดจี ริง พระคุณเจ้านาคเสน โยมขอยอมรบั ค�ำตามที่ท่านกล่าวมา
แล้วฉะน”้ี

โพธิสตตฺ ธมมฺ ตาปญโฺ ห จตตุ โฺ ถ ฯ
จบโพธสิ ัตตธัมมตาปญั หาขอ้ ท่ี ๔

________

๕. อตตฺ นิปาตนปญหฺ
๕. อัตตนิปาตนปญั หา
ปญั หาวา่ ดว้ ยการทำ� ตนให้ตกไป (ฆา่ ตัวตาย)
[๕] ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน ภาสติ มเฺ ปตํ ภควตา ‘น ภิกขฺ เว อตฺตานํ ปาเตตพพฺ ํ, โย
ปาเตยยฺ , ยถาธมฺโม กาเรตพโฺ พ’ติ ฯ ปนุ จ ตมุ เฺ ห ภณถ ‘ยตฺถ กตฺถจ ิ ภควา สาวกาน ํ
ธมมฺ ํ เทสยมาโน อเนกปรยิ าเยน ชาตยิ า ชราย พยฺ าธโิ น มรณสสฺ สมุจฺเฉทาย ธมมฺ ํ
เทเสต,ิ โย หิ โกจ ิ ชาตชิ ราพยฺ าธิมรณํ สมตกิ กฺ มติ, ต ํ ปรมาย ปสํสาย ปสํสตี’ติ ฯ
ยทิ ภนเฺ ต นาคเสน ภควตา ภณติ ํ ‘น ภิกฺขเว อตฺตาน ํ ปาเตตพพฺ ,ํ โย ปาเตยยฺ ,
ยถาธมฺโม กาเรตพโฺ พ’ต,ิ เตนหิ ‘ชาตยิ า ชราย พฺยาธิโน มรณสฺส สมุจฺเฉทาย ธมฺม ํ
เทเสตี’ติ ยํ วจน,ํ ตํ มิจฺฉา ฯ ยท ิ ชาตยิ า ชราย พยฺ าธิโน มรณสสฺ สมจุ ฺเฉทาย ธมมฺ ํ
เทเสต,ิ เตนหิ ‘น ภกิ ฺขเว อตฺตาน ํ ปาเตตพฺพํ, โย ปาเตยฺย, ยถาธมโฺ ม กาเรตพฺโพ’’ติ
ตมฺปิ วจนํ มิจฉฺ า ฯ อยมฺปิ อุภโต โกฏิโก ป ฺโห ตวานปุ ปฺ ตฺโต, โส ตยา
นพิ พฺ าหติ พโฺ พ’’ติ ฯ

กัณฑ์] ๔.๔ สพั พัญญตุ ญาณวรรค 15

[๕] พระเจา้ มิลินทต์ รสั ว่า “พระคุณเจา้ นาคเสน พระผมู้ ีพระภาคเจ้าทรงภาษติ ความ
ข้อน้ีไว้ว่า ‘ภกิ ษุทง้ั หลาย ภิกษไุ ม่พึงท�ำใหต้ นเองตก ภกิ ษใุ ดท�ำใหต้ ก ก็ต้องปรับอาบตั ิภกิ ษุ
นน้ั ตามสมควรแก่เหตุ’ ดงั น้ี แต่ พวกทา่ นกล่าวไว้ว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าเมอื่ ทรงแสดงธรรม
แกส่ าวกทั้งหลาย ในทใี่ ดทห่ี น่ึงกต็ าม ย่อมทรงแสดงธรรมเพือ่ ตดั ขาดชาติ ชรา พยาธิ มรณะ
โดยปรยิ ายเป็นอนั มาก สาวกผใู้ ดผหู้ นง่ึ ก้าวลว่ งชาติ ชรา พยาธิ มรณะได้ พระผ้มู พี ระภาค
เจ้าตรสั สรรเสรญิ สาวกผ้นู นั้ ดว้ ยพระวาจาตรัสสรรเสรญิ อย่างยอดเย่ียม ดังน้ี พระคุณเจ้านาค
เสน ถ้าหากว่า พระผ้มู พี ระภาคเจา้ ตรัสไว้ว่า ภกิ ษทุ งั้ หลาย ภิกษุไมพ่ ึงท�ำใหต้ นเองตก ภิกษุ
ใดท�ำใหต้ ก ก็ต้องปรับอาบัติภิกษนุ ้นั ตามสมควรแกเ่ หตุ ดงั น้ี จริงไซร้ ถ้าอยา่ งน้นั ค�ำที่ว่า
พระผู้มีพระภาคเจา้ ทรงแสดงธรรม เพอ่ื การตัดชาติ ชรา พยาธิ มรณะ ดงั นี้ กย็ อ่ มเป็นค�ำท่ีผดิ
ถา้ หากวา่ พระผมู้ พี ระภาคเจา้ แสดงธรรมเพื่อการตัดชาติ ชรา พยาธิ มรณะ จริงไซร้ ถา้ อย่าง
นน้ั ค�ำทต่ี รสั วา่ ไวว้ ่า ภกิ ษุทั้งหลาย ภิกษไุ ม่พงึ ท�ำใหต้ นเองตก ภกิ ษใุ ดท�ำใหต้ ก กต็ อ้ งปรับ
อาบัติภกิ ษนุ ้ัน ตามสมควรแก่เหตุ ดังนี้ กย็ ่อมเปน็ ค�ำท่ีผิด ปญั หาแม้น้ี ก็มี ๒ เงอื่ น ตกถงึ แก่
ท่านแลว้ โดยล�ำดับ ขอท่านพึงคลคี่ ลายปญั หาน้นั เถดิ ”
‘‘ภาสติ มฺเปตํ มหาราช ภควตา ‘น ภิกขฺ เว อตฺตานํ ปาเตตพพฺ ,ํ โย ปาเตยฺย,
ยถาธมโฺ ม กาเรตพโฺ พ’ติ ฯ ยตฺถ กตฺถจิ ภควตา สาวกาน ํ ธมมฺ ํ เทสยามาเนน จ
อเนกปริยาเยน ชาตยิ า ชราย พยฺ าธโิ น มรณสสฺ สมุจฺเฉทาย ธมโฺ ม เทสโิ ต, ตตถฺ ปน
การณํ อตถฺ ิ เยน ภควา การเณน ปฏิกขฺ ปิ ิ สมาทเปส ิ จา’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร พระผมู้ พี ระภาคเจ้าทรง
ภาษิตความข้อน้ีไวว้ า่ ภิกษุไม่พงึ ท�ำใหต้ นเองตก ภกิ ษุใดท�ำใหต้ ก กต็ ้องปรับอาบตั ิแกภ่ ิกษุ
น้นั ตามสมควรแกเ่ หตุ ดังน้ี จรงิ และพระผมู้ ีพระภาคเจ้าเมอ่ื จะทรงแสดงธรรมแก่สาวกทง้ั
หลายในทใี่ ดที่หน่ึงกต็ าม ย่อมทรงแสดง เพ่อื การตดั ขาดชาติ ชรา พยาธิ มรณะ โดยปริยาย
เป็นอนั มาก จริง แต่ในค�ำทีว่ า่ น้นั มเี หตุผล ท่ีท�ำใหพ้ ระผมู้ พี ระภาคเจา้ ตรสั หา้ ม และตรสั ชี้
ชวนอย”ู่
‘‘ก ึ ปเนตถฺ ภนฺเต นาคเสน การณํ, เยน ภควา การเณน ปฏิกฺขิปิ สมาทเปส ิ
จา’’ติ ?
พระเจ้ามิลนิ ท์ตรสั วา่ “เหตผุ ลทีท่ �ำให้พระผู้มีพระภาคเจ้าตรสั หา้ ม และเหตผุ ลทที่ �ำให้
ตรสั ชี้ชวน คอื อะไรหรือ พระคณุ เจ้านาคเสน ?”

16 มิลินทปัญหาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปญั ห

‘‘สลี วา มหาราช สลี สมฺปนโฺ น อคทสโม สตฺตานํ กเิ ลสวสิ วินาสเน, โอสธสโม
สตฺตานํ กเิ ลสพฺยาธิวูปสเม, อุทกสโม สตฺตาน ํ กเิ ลสรโชชลลฺ าปหรเณ, มณิรตนสโม
สตฺตาน ํ สพพฺ สมปฺ ตฺตทิ าเน, นาวาสโม สตตฺ าน ํ จตโุ รฆปารคมเน, สตฺถวาหสโม สตฺตานํ
ชาติกนตฺ ารตารเณ, วาตสโม สตฺตาน ํ ติวธิ คคฺ สิ นตฺ าปนพิ ฺพาปเน, มหาเมฆสโม สตตฺ านํ
มานสปริปูรเณ, อาจริยสโม สตตฺ านํ กสุ ลสกิ ฺขาปเน, สุเทสกสโม สตฺตานํ เขมปถมาจิกฺขเณ
ฯ เอวรูโป มหาราช พหคุ ุโณ อเนกคุโณ อปฺปมาณคโุ ณ คุณราส ิ คณุ ปุ โฺ ช สตฺตาน ํ
วฑฒฺ ิกโร สีลวา ‘มา วนิ สสฺ ’ี ต ิ สตฺตาน ํ อนกุ มฺปาย ภควา สิกฺขาปท ํ ป ฺ เปสิ ‘น ภิกฺขเว
อตฺตานํ ปาเตตพพฺ ,ํ โย ปาเตยยฺ , ยถาธมฺโม กาเรตพฺโพ’ติ ฯ อทิ เมตฺถ มหาราช การณํ,
เยน การเณน ภควา ปฏกิ ฺขิปิ ฯ ภาสิตมฺเปต ํ มหาราช เถเรน กุมารกสสฺ เปน วิจติ ฺร-
กถิเกน ปายาสริ าช ฺ สฺส ปรโลกํ ทปี ยมาเนน ‘ยถา ยถา โข ราช ฺ สมณพรฺ าหมฺ ณา
สลี วนฺโต กลยฺ าณธมฺมา จิรํ ทฆี มทฺธาน ํ ติฏฺ นฺติ, ตถา ตถา พหุ ํ ปุ ฺ ํ ปสวนตฺ ิ,
พหุชนหติ าย จ ปฏปิ ชชฺ นฺติ พหชุ นสขุ าย โลกานุกมฺปาย อตฺถาย หิตาย สขุ าย
เทวมนสุ สฺ าน’นตฺ ิ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร ภิกษผุ ้มู ีศีล สมบูรณ์ด้วยศลี
ยอ่ มเป็นเหมอื นยาแก้พษิ ในการใช้สลายพษิ คือ กิเลสของสตั วท์ ัง้ หลาย, ย่อมเปน็ เหมอื นยา
ในการใช้สงบความปว่ ยไขค้ ือกิเลส ของสัตวท์ ง้ั หลาย ยอ่ มเป็นเหมอื นน้�ำ ในการช�ำระลา้ ง
เหงอ่ื ไคล คอื กิเลสของสตั วท์ ง้ั หลาย ยอ่ มเปน็ เหมือนแกว้ มณี ในการมอบสมบตั ทิ ง้ั ปวงแก่
สตั วท์ ง้ั หลาย ย่อมเปน็ เหมอื นเรือ ในการท�ำสตั วใ์ หไ้ ดไ้ ปถงึ ฝง่ั ทะเลทง้ั ๔, ยอ่ มเปน็ เหมอื น
นายกองเกวียนในการทีน่ �ำสตั วท์ ั้งหลายให้ขา้ มทกี่ ันดาร คอื ชาติ ย่อมเป็นเหมอื นลม ในการ
ใช้ดบั ความร้อนแหง่ ไฟ ๓ กอง ของสัตว์ทงั้ หลาย, ยอ่ มเปน็ เหมอื นเมฆใหญ่ในอันท�ำความ
หวังของสตั วท์ งั้ หลายใหเ้ ตม็ , ย่อมเป็นเหมอื นอาจารย์ ในการยงั สตั วท์ ้งั หลายให้ศึกษาใน
กุศล, ยอ่ มเปน็ เหมือนคนชี้ทางไดแ้ มน่ ย�ำ ในการบอกเส้นทางที่ปลอดภยั แก่สตั วท์ ง้ั หลาย พระ
ผมู้ พี ระภาคเจา้ ทรงด�ำรวิ า่ ผูม้ ีศลี มคี ณุ มาก มีคณุ เป็นเอนก มคี ณุ หาประมาณมิได้ เปน็ ทีร่ วม
แหง่ คณุ เป็นกองคุณ เปน็ ผู้สรา้ งความเจรญิ แกส่ ัตวท์ ัง้ หลาย เหน็ ปานนี้ ขอจงอยา่ พินาศไป
เลย ดังน้ี จงึ ทรงอาศัยความกรุณาแก่สตั วท์ ้ังหลาย จึงทรงบญั ญัตสิ ิกขาบทว่า ภิกษทุ งั้ หลาย
ภิกษไุ ม่พึงท�ำใหต้ นเองตก ภกิ ษใุ ดท�ำใหต้ กไป ปรบั อาบตั ภิ กิ ษุนั้น ตามสมควรแกเ่ หตุ ดงั นี้
ขอถวายพระพร ข้อทีว่ ่าน้ี เปน็ เหตุผลในค�ำทตี่ รสั ไว้น้ี ซง่ึ เปน็ เหตุผลท่ที �ำใหพ้ ระผ้มู ีพระภาค
เจา้ ตรสั ห้าม ขอถวายพระพร พระกมุ ารกัสสปเถระ ผกู้ ลา่ วธรรมไดว้ จิ ิตร เมอื่ จะแสดงโลกหน้า

กัณฑ]์ ๔.๔ สัพพญั ญตุ ญาณวรรค 17

แก่พระเจา้ ปายาสิ กไ็ ดก้ ลา่ วแลว้ วา่ ‘ทา่ นพระยา สมณพราหมณผ์ ู้มีศลี มีกัลยาณธรรม ด�ำรง
ชวี ติ อยู่ ได้นานเพียงใด กย็ ่อมประสบบญุ มาก และปฏบิ ัติเพื่อเกื้อกลู แก่คนหมมู่ าก เพื่อสุขแก่
คนหมู่มาก เพอ่ื อนุเคราะหช์ าวโลก เพื่อประโยชนเ์ ก้อื กูล เพอ่ื สุขแกเ่ ทวดาและมนุษย์ทัง้ หลาย
เพียงนนั้ ’
‘‘เกน ปน การเณน ภควา สมาทเปสิ ? ชาตปิ ิ มหาราช ทุกฺขา, ชราปิ ทกุ ฺขา,
พฺยาธปิ ิ ทุกโฺ ข มรณมปฺ ิ ทุกฺขํ, โสโกป ิ ทุกโฺ ข, ปรเิ ทโวปิ ทกุ ฺโข, ทุกฺขมปฺ ิ ทุกขฺ ,ํ
โทมนสฺสมฺปิ ทกุ ฺข,ํ อปุ ายาโสป ิ ทุกฺโข, อปฺปเิ ยหิ สมปฺ โยโคป ิ ทุกโฺ ข, ปิเยหิ วปิ ปฺ โยโคปิ
ทกุ ฺโข, มาตุมรณมปฺ ิ ทกุ ฺขํ, ปิตมุ รณมปฺ ิ ทกุ ขฺ ํ, ภาตุมรณมปฺ ิ ทุกฺข,ํ ภคินิมรณมฺปิ ทุกฺข,ํ
ปตุ ตฺ มรณมฺปิ ทุกขฺ ํ, ทารมรณมปฺ ิ ทุกขฺ ํ, ทาสมรณมปฺ ิ ทุกขฺ ํ, าตมิ รณมฺปิ ทุกฺข,ํ
าติพฺยสนมฺป ิ ทุกขฺ ํ, โรคพฺยสนมปฺ ิ ทุกฺขํ, โภคพยฺ สนมฺปิ ทกุ ฺขํ, สีลพฺยสนมฺป ิ ทุกขฺ ,ํ
ทฏิ ฺ พิ ยฺ สนมปฺ ิ ทุกขฺ ํ, ราชภยมปฺ ิ ทุกขฺ ํ, โจรภยมฺปิ ทุกขฺ ,ํ เวรภิ ยมฺป ิ ทกุ ฺขํ, ทพุ ภฺ ิกฺขภยมปฺ ิ
ทกุ ฺขํ, อคคฺ ิภยมปฺ ิ ทุกฺข,ํ อุทกภยมปฺ ิ ทกุ ฺขํ, อูมภิ ยมฺปิ ทุกขฺ ,ํ อาวฏฏฺ ภยมปฺ ิ ทกุ ขฺ ํ,
กมุ ฺภลี ภยมปฺ ิ ทุกขฺ ํ, สสุ ุกาภยมฺปิ ทุกขฺ ํ, อตตฺ านุวาทภยมปฺ ิ ทุกขฺ ,ํ ปรานุวาทภยมฺป ิ ทุกฺข,ํ
ทณฺฑภยมปฺ ิ ทุกขฺ ,ํ ทคุ คฺ ติภยมปฺ ิ ทุกขฺ ํ, ปรสิ าสารชชฺ ภยมฺป ิ ทกุ ขฺ ํ, อาชีวกภยมฺป ิ ทุกฺข,ํ
มรณภยมฺป ิ ทกุ ขฺ ํ, เวตฺเตหิ ตาฬนมปฺ ิ ทุกฺข,ํ กสาห ิ ตาฬนมปฺ ิ ทกุ ขฺ ํ, อทฺธทณฑฺ เกห ิ
ตาฬนมปฺ ิ ทุกฺข,ํ หตฺถจเฺ ฉทนมปฺ ิ ทกุ ฺข,ํ ปาทจเฺ ฉทนมปฺ ิ ทกุ ฺขํ, หตถฺ ปาทจเฺ ฉทนมปฺ ิ ทุกขฺ ํ,
กณฺณจฺเฉทนมปฺ ิ ทกุ ฺข,ํ นาสจเฺ ฉทนมปฺ ิ ทุกฺขํ, กณฺณนาสจเฺ ฉทนมปฺ ิ ทุกฺข,ํ พิลงฺคถาลกิ มฺป ิ
ทกุ ฺขํ, สงฺขมุณฑฺ กิ มฺปิ ทกุ ฺข,ํ ราหมุ ขุ มปฺ ิ ทุกขฺ ,ํ โชตมิ าลิกมปฺ ิ ทกุ ขฺ ํ, หตฺถปชโฺ ชติกมฺป ิ
ทกุ ขฺ ํ, เอรกวตฺตกิ มฺป ิ ทกุ ขฺ ,ํ จีรกวาสกิ มปฺ ิ ทุกขฺ ํ, เอเณยยฺ กมฺป ิ ทุกขฺ ํ, พฬสิ มสํ ิกมฺป ิ ทุกฺขํ,
กหาปณิกมปฺ ิ ทุกฺขํ, ขาราปตจฺฉกิ มปฺ ิ ทกุ ฺข,ํ ปลฆิ ปรวิ ตตฺ กิ มฺป ิ ทุกฺขํ, ปลาลปี กมปฺ ิ ทุกฺข,ํ
ตตฺเตน เตเลน โอสิ ฺจนมฺปิ ทุกฺขํ, สนุ เขหิ ขาทาปนมปฺ ิ ทกุ ขฺ ,ํ ชวี สูลาโรปนมฺป ิ ทุกฺขํ,
อสนิ า สสี จฺเฉทนมปฺ ิ ทุกขฺ ,ํ เอวรปู านิ มหาราช พหุวธิ าน ิ อเนกวธิ านิ ทุกฺขาน ิ สํสารคโต
อนุภวติ ฯ
ส่วนวา่ เหตผุ ลอะไรเลา่ ท�ำให้พระผ้มู พี ระภาคเจา้ ทรงช้ชี วน ขอถวายพระพร แมค้ วาม
เกดิ กเ็ ป็นทกุ ข์ แมค้ วามแกก่ เ็ ปน็ ทกุ ข์ แมค้ วามเจ็บไข้ไดป้ ่วยก็เปน็ ทุกข์ แม้ความตายกเ็ ป็น
ทุกข์ แม้ความโศกกเ็ ปน็ ทกุ ข์ แม้ความร่�ำไรร�ำพันก็เปน็ ทกุ ข์ แมค้ วามทกุ ข์กายก็เปน็ ทุกข์ แม้
ความทุกขใ์ จกเ็ ปน็ ทุกข์ แม้ความคับแคน้ ใจกเ็ ปน็ ทกุ ข์ แมค้ วามประจวบกบั สิ่งที่ไม่เป็นทรี่ ัก
ก็เป็นทุกข์ แม้ความพลดั พรากจากส่งิ ทเ่ี ป็นทีร่ กั กเ็ ปน็ ทุกข์ แมม้ ารดาตายก็เป็นทกุ ข์ แม้บิดา

18 มลิ ินทปัญหาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปัญห

ตายกเ็ ป็นทกุ ข์ แม้พน่ี อ้ งชายตายกเ็ ป็นทุกข์ แม้พนี่ ้องหญิงตายก็เปน็ ทุกข์ แมบ้ ตุ รตายกเ็ ปน็
ทุกข์ แม้ภรรยาตายก็เป็นทกุ ข์ แม้ทาสตายกเ็ ปน็ ทุกข์ แม้ญาตติ ายกเ็ ปน็ ทุกข์ แม้ญาติพนิ าศ
กเ็ ป็นทุกข์ แม้ภยั ที่เกิดจากโรคกเ็ ปน็ ทกุ ข์ แม้โภคะพนิ าศก็เปน็ ทุกข์ แมศ้ ลี พินาศกเ็ ปน็ ทุกข์
แมท้ ิฏฐพิ นิ าศกเ็ ป็นทุกข์ แม้ราชภยั กเ็ ป็นทกุ ข์ แม้โจรภัยกเ็ ป็นทุกข์ แม้ภัยจากบุคคลผู้มเี วร
ก็เปน็ ทุกข์ แมท้ ุพภิกขภยั กเ็ ปน็ ทกุ ข์ แมอ้ คั คภี ัยก็เป็นทุกข์ แมอ้ ทุ กภัยกเ็ ปน็ ทกุ ข์ แมอ้ ูมภิ ยั
(ภัยทีเ่ กิดจากเกลยี วคลน่ื ) กเ็ ป็นทุกข์ แมอ้ าวัฏฏภัยก็เป็นทุกข์ (ภยั ท่เี กิดจากวังวน) แม้กุมภลิ
ภัย (ภยั ทเ่ี กดิ จากจระเข้) ก็เปน็ ทกุ ข์ แม้สสุ กุ าภัย (ภยั ท่เี กิดจากปลาร้าย) ก็เป็นทกุ ข์ แมภ้ ยั ท่ี
เกิดจากการติเตยี นตนเองก็เป็นทกุ ข์ แม้ภัยทีเ่ กิดจากบคุ คลอ่ืนเขาติเตียนกเ็ ป็นทุกข์ แม้ภยั ที่
เกิดจากอาชญาก็เปน็ ทกุ ข์ แมท้ ุคตภิ ัยก็เป็นทกุ ข์ แมภ้ ยั ที่เกิดจากความครัน่ ครา้ มในทา่ มกลาง
บรษิ ัทก็เปน็ ทุกข์ แม้อาชีวกภัย (ภยั ทีเ่ กิดจากหาเล้ยี งชพี ) ก็เปน็ ทกุ ข์ แม้มรณะภยั ก็เปน็ ทุกข์
แม้การถูกตีดว้ ยหวายก็เปน็ ทุกข์ แม้การถูกตีด้วยแสก้ ็เป็นทุกข์ แมก้ ารถูกตีดว้ ยทอ่ นไมแ้ ละ
กิ่งไม้ก็เป็นทุกข์ แมก้ ารถกู ตัดมอื กเ็ ป็นทกุ ข์ แมก้ ารถกู ตัดเทา้ ก็เป็นทุกข์ แมก้ ารถูกตดั ทงั้ มือ
ทงั้ เท้ากเ็ ป็นทกุ ข์ แมก้ ารถูกตัดหูก็เป็นทุกข์ แมก้ ารถกู ตัดจมูกก็เป็นทกุ ข์ แมก้ ารถูกตัดท้งั หู
ทัง้ จมูกกเ็ ปน็ ทุกข์ แม้การถกู ถลกหนังศีรษะก็เปน็ ทกุ ข์ แมก้ ารถกู ถลกหนงั ทั้งตวั กเ็ ปน็ ทุกข์
แมก้ ารถกู ท�ำปากราหู (งัดปากใหอ้ า้ เอาผ้าชุบน้�ำมันใสป่ าก แลว้ จดุ ไฟ) กเ็ ป็นทกุ ข์ แม้การถูก
ท�ำโชติมาลกิ ะ (มาลัยเปลวไฟสอ่ งสว่าง คอื การเอาผ้าชบุ นำ้� มนั พนั รอบ ๆ ตลอดทัง้ ตวั แล้ว
จดุ ไฟ) กเ็ ปน็ ทุกข์ แม้การถกู ท�ำหัตถปัชโชติกะ (มือสอ่ งแสง คอื เอาผา้ ชบุ น้�ำมันพนั นิว้ มอื
แล้วจุดไฟ) กเ็ ป็นทกุ ข์ แม้การถูกท�ำเอรกวัตติกะ (นุ่งผ้าแกะคือถลกหนงั ตัง้ แต่คอลงมาถึงเท้า
แลว้ ตีใหว้ งิ่ เหยยี บหนงั ตนเอง) ก็เปน็ ทุกข์ แม้การถกู ท�ำจีรกวาสิก (นงุ่ ผ้าเปลอื กปอ คอื ถลก
หนงั เป็นริว้ ๆ ตง้ั แตค่ อลงมาถึงเอว ต้ังแตเ่ อวลงมาถึงขอ้ เท้า) กเ็ ปน็ ทุกข์ แมก้ ารถกู ท�ำ
เอเณยยกะ (ท�ำใหเ้ ป็นเนือ้ ทราย คือ ให้คุกเขา่ เทา้ ศอก ลงบนหลาวเหลก็ ) กเ็ ป็นทุกข์แม้การ
ถูกท�ำพฬิมังสิกะ (ตกเบ็ด คือ เอาเบด็ เก่ียวตามเน้ือตัว แล้วดึงใหห้ นัง เน้อื เอน็ หลดุ ขาดเปน็
ช้นิ ๆ) กเ็ ปน็ ทกุ ข์ แมก้ ารท�ำกหาปณกะ (ท�ำเหรยี ญ คือ เอามดี เฉอื นเนื้อออกทลี ะก้อน เปน็
กอ้ นกลม ๆ ขนาดเท่าเหรยี ญ) กเ็ ปน็ ทกุ ข์ แมก้ ารท�ำขารปตัจฉิกะ (ราดน�้ำแสบ คือ สับฟันเน้ือ
ตัวตลอดทงั้ ตวั แลว้ ใชน้ �้ำแสบราดรด) กเ็ ป็นทกุ ข์ แม้การท�ำปลฆิ ปรวิ ัตติกะ (ตอกลิม่ คอื ให้
นอนตะแคง แล้วใชห้ ลาวเหล็กตอกเขา้ ไปทางช่องหู ให้ทะลุปักตดิ กบั พืน้ ดนิ ข้างล่าง) กเ็ ป็น
ทกุ ข์ แมก้ ารท�ำปลาลปิฐกะ (ท�ำต่ังฟาง คอื ใช้กระบองทุบตีจนกระดกู แหลกปน่ ป้ี ท้ิงรา่ งกาย
อยู่เหนือตง่ั ฟาง) ก็เป็นทกุ ข์ แมก้ ารถกู รดราดดว้ ยนำ้� มันเดอื ด ๆ กเ็ ป็นทุกข์ แม้การถูกให้สนุ ัข

กณั ฑ]์ ๔.๔ สพั พญั ญุตญาณวรรค 19

กดั กเ็ ป็นทกุ ข์ แม้การถูกเสยี บอยู่บนปลายหลาวกเ็ ปน็ ทกุ ข์ แมก้ ารถกู ตัดศรี ษะด้วยดาบกเ็ ป็น
ทุกข์ ขอถวายพระพร สตั วผ์ ูท้ ่องเทยี่ วไปในสังสารวฏั ย่อมเสวยทกุ ข์มากมายหลายประการ
เหน็ ปานฉะนี้

‘‘ยถา มหาราช หิมวนฺตปพพฺ เต อภวิ ฏุ ฺ ํ อุทกํ คงฺคาย นทยิ า ปาสาณสกฺขร-
ขรมรุมฺพอาวฏฺฏคคฺคลกอมู ิกวงฺกจทิกอาวรณนีวรณมูลกสาขาส ุ ปรโิ ยตฺถรติ, เอวเมว โข
มหาราช เอวรูปาน ิ พหวุ ิธานิ อเนกวิธาน ิ ทกุ ฺขาน ิ สํสารคโต อนุภวติ ฯ ปวตตฺ ํ
มหาราช ทกุ ฺข,ํ อปปฺ วตตฺ ํ สขุ ํ ฯ อปปฺ วตตฺ สฺส คณุ ํ ปวตตฺ สฺส จ ภยํ ทปี ยมาโน มหาราช
ภควา อปฺปวตฺตสฺส สจฺฉกิ ิริยาย ชาติชราพฺยาธิมรณสฺส สมตกิ กฺ มาย สมาทเปส,ิ
ขอถวายพระพร เปรยี บเหมือนว่า น�้ำฝนทต่ี กเหนอื ภเู ขาหิมพานต์ยอ่ มไหลท่วมทบั
ชะเอาก้อนหนิ ก้อนกรวด ไม้แหง้ ดินแข็ง บอ่ น�ำ้ วน เกลยี วคล่ืน เข่ือนดนิ รากไม้ และกงิ่ ไม้ท่ี
ขวางทางอยู่ ไปสแู่ มน่ ำ�้ คงคาฉนั ใด ขอถวายพระพร สัตว์ผู้ทอ่ งเทีย่ วไปในสงั สารวฏั ย่อมเสวย
ทุกข์มากมายหลายประการ เห็นปานฉะนี้ ฉันน้นั เหมือนกัน ขอถวายพระพร ความเป็นไปเป็น
ทุกข์ ความหยดุ ไปเป็นสุข ขอถวายพระพร พระผู้มพี ระภาคเจ้า เม่อื จะทรงแสดงคุณของความ
หยดุ เป็นไป และภยั ในความเปน็ ไป จงึ ตรสั ช้ชี วน เพือ่ ใหก้ ระท�ำความหยุดเปน็ ไปให้แจง้ เพ่ือ
การก้าวล่วงชาติ ชรา พยาธิ มรณะ”

อทิ เมตฺถ มหาราช การณ,ํ เยน การเณน ภควา สมาทเปสี’’ติ ฯ
มหาบพติ ร น้เี ปน็ เหตุทพี่ ระผ้มู ีพระภาคเจ้าตรสั ช้ีชวนในเร่อื งน้”ี

‘‘สาธ ุ ภนเฺ ต นาคเสน สนุ ิพฺเพ โิ ต ป โฺ ห, สกุ ถิต ํ การณ,ํ เอวเมตํ ตถา
สมฺปฏจิ ฺฉามี’’ติ ฯ
พระเจา้ มิลินทต์ รสั วา่ “ดีจริง พระคุณเจ้านาคเสน ทา่ นคลคี่ ลายปญั หาได้ดแี ลว้ ท่าน
กลา่ วเหตผุ ลได้ดแี ลว้ โยมยอมรับค�ำตามท่ีท่านกล่าวมาแล้วฉะน”้ี

อตฺตนิปาตนปญโฺ ห ปญจฺ โม ฯ
จบอัตตนปิ าตนปญั หาข้อท่ี ๕

________

20 มลิ นิ ทปัญหาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปัญห

๖. เมตฺตาภาวนานสิ ํสปญหฺ
๖. เมตตาภาวนานสิ ังสปัญหา
ปญั หาว่าด้วยอานิสงสข์ องการเจริญเมตตา
[๖] ‘‘ภนฺเต นาคเสน ภาสติ มฺเปตํ ภควตา ‘เมตฺตาย ภิกขฺ เว เจโตวิมุตตฺ ิยา
อาเสวิตาย ภาวติ าย พหุลกี ตาย ยานกี ตาย วตฺถกุ ตาย อนฏุ ฺ ิตาย ปรจิ ติ าย สุสมารทธฺ าย
เอกาทสานิสํสา ปาฏิกงฺขา ฯ กตเม เอกาทส ? สุข ํ สุปติ, สุข ํ ปฏิพชุ ฌฺ ต,ิ น ปาปก ํ
สปุ ิน ํ ปสฺสติ, มนสุ สฺ านํ ปิโย โหติ, อมนสุ ฺสาน ํ ปโิ ย โหต,ิ เทวตา รกขฺ นตฺ ,ิ นาสสฺ อคคฺ ิ
วา วิส ํ วา สตถฺ ํ วา กมติ, ตุวฏํ จติ ฺต ํ สมาธยิ ต,ิ มุขวณโฺ ณ วปิ ฺปสีทต,ิ อสมมฺ ฬู ฺโห กาล ํ
กโรต,ิ อุตฺตร ึ อปปฺ ฏวิ ชิ ฌฺ นฺโต พรฺ หมฺ โลกปู โค โหตี’ติ ฯ
[๖] พระเจา้ มลิ ินท์ตรัสว่า “พระคณุ เจา้ นาคเสน พระผู้มพี ระภาคเจ้าทรงภาษิตความ
ข้อนีไ้ ว้วา่ ‘ภกิ ษทุ ้ังหลาย เม่อื เมตตาเจโตวมิ ุตตทิ ี่บุคคลเสพแลว้ เจรญิ แล้ว ท�ำให้มากแลว้
ท�ำใหเ้ ป็นดุจยานพาหนะแลว้ ท�ำใหเ้ ป็นทตี่ งั้ แล้ว ให้ต้ังม่ันแลว้ สง่ั สมแลว้ ปรารภดแี ลว้ พงึ
หวงั อานิสงส์ ๑๑ ประการ, อานิสงส์ ๑๑ ประการ เป็นไฉน ? อานสิ งส์ ๑๑ ประการ คือ
๑. สขุ ํ สุปต,ิ หลับเปน็ สขุ
๒. สุข ํ ปฏิพุชฺฌติ, ต่นื เปน็ สุข
๓. น ปาปกํ สปุ นิ ํ ปสสฺ ต,ิ ไมฝ่ ันรา้ ย (ไมฝ่ ันเหน็ สิ่งชว่ั รา้ ย)
๔. มนสุ ฺสานํ ปิโย โหติ, เป็นท่ีรักของมนษุ ย์ท้งั หลาย
๕. อมนุสสฺ านํ ปโิ ย โหติ, เป็นทร่ี กั ของอมนุษยท์ ง้ั หลาย
๖ เทวตา รกขฺ นฺต,ิ เทวดาทัง้ หลายรกั ษา
๗. นาสสฺ อคคฺ ิ วา วสิ ํ วา สตฺถ ํ วา กมต,ิ ไฟ ยาพิษ หรือศสั ตรา กล�ำ้ กรายบคุ คล
นน้ั ไมไ่ ด้
๘. ตวุ ฏํ จิตตฺ ํ สมาธิยต,ิ จติ ตงั้ มัน่ ไดเ้ ร็ว
๙. มุขวณฺโณ วปิ ฺปสที ติ, สหี นา้ สดใส (สีหนา้ ผอ่ งใส)
๑๐. อสมฺมฬู โฺ ห กาลํ กโรต,ิ ไมห่ ลงลมื สติตาย
๑๑. อตุ ฺตรึ อปฺปฏวิ ชิ ฺฌนโฺ ต พฺรหฺมโลกปู โค โหต’ี ต,ิ เมอ่ื ยังไมบ่ รรลุคุณวเิ ศษอันยิง่
ขึ้นไป ยอ่ มเขา้ ถึงพรหมโลก

กัณฑ]์ ๔.๔ สพั พญั ญตุ ญาณวรรค 21

ปุน จ ตมุ ฺเห ภณถ ‘สาโม กมุ าโร เมตตฺ าวิหารี มิคสเํ ฆน ปริวโุ ต ปวเน
วจิ รนโฺ ต ปีฬิยกฺเขน ร ฺ า วทิ โฺ ธ วสิ ปเี ตน สลเฺ ลน ตตเฺ ถว มุจฺฉโิ ต ปติโต’ติ ฯ
และพวกทา่ นยังกล่าวไว้อกี วา่ ‘สามกุมาร (สุวรรณสามกมุ าร) ผู้อยูด่ ว้ ยเมตตาธรรม มี
หมเู่ นื้อแวดลอ้ ม เที่ยวไปในปา่ ถูกพระเจ้าปฬี ยิ กั ษใ์ ช้ศรอาบยาพิษยิง ก็ล้มสลบอยู่ ณ ที่นัน้
น่ันแหละ’ ดังนี้
‘‘ยทิ ภนเฺ ต นาคเสน ภควตา ภณิตํ ‘เมตตฺ าย ภิกขฺ เว…เป.… พรฺ หมฺ โลกปู โค
โหต’ี ติ, เตนห ิ ‘‘สาโม กมุ าโร เมตตฺ าวิหารี มคิ สํเฆน ปริวโุ ต ปวเน วจิ รนโฺ ต ปีฬยิ กเฺ ขน
ร ฺ า วทิ ฺโธ วสิ ปเี ตน สลฺเลน ตตเฺ ถว มุจฉฺ โิ ต ปติโต’ต ิ ย ํ วจน,ํ ต ํ มิจฺฉา ฯ ยท ิ สาโม
กมุ าโร เมตตฺ าวหิ ารี มคิ สํเฆน ปริวโุ ต ปวเน วิจรนโฺ ต ปีฬยิ กฺเขน ร ฺ า วทิ โฺ ธ
วิสปเี ตน สลฺเลน ตตฺเถว มจุ ฉฺ ิโต ปติโต, เตนห ิ ‘เมตฺตาย ภกิ ขฺ เว…เป.… สตถฺ ํ วา
กมต’ี ต ิ ตมฺปิ วจน ํ มจิ ฉฺ า ฯ อยมปฺ ิ อุภโต โกฏโิ ก ป โฺ ห สนุ ิปโุ ณ ปริสณโฺ ห สุขุโม
คมฺภโี ร, อปิ สุนิปุณานํ มนชุ าน ํ คตเฺ ต เสท ํ โมเจยยฺ , โส ตวานปุ ฺปตโฺ ต, วชิ เฏหิ ต ํ
มหาชฏาชฏติ ํ, อนาคตานํ ชนิ ปุตตฺ านํ จกขฺ ุํ เทห ิ นพิ ฺพาหนายา’’ติ ฯ
พระคณุ เจา้ นาคเสน ถ้าหากวา่ พระผ้มู พี ระภาคเจ้าตรสั วา่ ‘ภกิ ษุท้ังหลาย เมอื่ เมตตา
เจโตวิมตุ ติบคุ คลเสพแล้ว ฯลฯ ย่อมเข้าถึงพรหมโลก’ ดังนี้ จริงไซร้ ถา้ อยา่ งนัน้ ค�ำท่วี ่า ‘สาม
กมุ ารผู้อยู่ด้วยเมตตาธรรม มหี มูเ่ น้อื แวดล้อม เทีย่ วไปในป่า ถูกพระเจ้าปฬี ิยกั ษ์ใชศ้ รอาบยา
พษิ ยงิ เอา กล็ ้มสลบอยู่ ณ ทน่ี ้ันนั่นแหละ’ ดงั น้ี กย็ อ่ มเปน็ ค�ำทผี่ ิด ถ้าหากวา่ สามกมุ ารผ้อู ยู่
ด้วยเมตตาธรรม มหี มเู่ นอ้ื แวดลอ้ มเท่ยี วไปในป่า ถูกพระเจา้ ปฬี ิยกั ษใ์ ชล้ ูกศรอาบยาพิษยงิ
เอา กล็ ม้ สลบอยู่ ณ ท่ีนั้นนั่นแหละ จรงิ ไซร้ ถ้าอยา่ งนั้น ค�ำท่ตี รัสไวว้ า่ ภกิ ษุท้งั หลาย เม่ือ
เมตตาเจโตวมิ ุตติ ภิกษเุ สพแล้ว ฯลฯ ก็ยอ่ มเป็นผู้เข้าถึงพรหมโลก ดงั นี้ กย็ ่อมเปน็ ค�ำท่ีผิด
ปญั หาแม้น้ี กม็ ี ๒ เง่อื น เปน็ ปญั หาท่ลี ะเอียดอ่อนนัก สุขมุ ลกึ ซ้ึง ทั้งอาจท�ำเหง่ือในกายของผู้
ละเอียดอ่อนใหห้ ลงั่ ออกมาได้ ปัญหานั้น ตกถึงแกท่ า่ นแล้วโดยล�ำดบั ขอท่านจงสางปัญหาที่
รกยงุ่ ดุจรกชฏั ใหญน่ ้นั เถดิ ขอจงมอบดวงตาเพ่อื ใชข้ จัดปัญหาอันเปน็ ดจุ รกชฏั แก่ภิกษุผ้เู ป็น
ชนิ บุตรในอนาคตกาลเถดิ ”
‘‘ภาสติ มฺเปตํ มหาราช ภควตา ‘เมตฺตาย ภกิ ขฺ เว…เป... สตฺถ ํ วา กมตี’ติ ฯ สาโม
จ กุมาโร เมตฺตาวิหาร ี มิคสํเฆน ปรวิ โุ ต ปวเน วจิ รนฺโต ปฬี ยิ กฺเขน ร ฺ า วทิ ฺโธ
วสิ ปีเตน สลเฺ ลน ตตเฺ ถว มจุ ฺฉโิ ต ปตโิ ต, ตตฺถ ปน มหาราช การณ ํ อตฺถิ ฯ กตม ํ ตตฺถ
การณํ ? เนเต มหาราช คุณา ปุคคฺ ลสฺส, เมตฺตาภาวนาเยเต คุณา, สาโม มหาราช

22 มลิ ินทปัญหาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปญั ห

กมุ าโร ฆฏํ อกุ ฺขิปนโฺ ต ตสฺมึ ขเณ เมตฺตาภาวนาย ปมตฺโต อโหสิ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร พระผู้มีพระภาคเจ้าทรง
ภาษติ ความขอ้ นี้ว่า ‘เม่ือเมตตาเจโตวมิ ุตติ ทีบ่ ุคคลเสพแลว้ ฯลฯ ก็จะเปน็ ผ้เู ข้าถงึ พรหมโลก’
ดงั น้ี จรงิ และเรอ่ื งสามกมุ ารผ้อู ยูด่ ้วยเมตตาธรรม มีหมเู่ น้ือแวดลอ้ ม เทีย่ วไปในปา่ ถกู พระ
เจ้าปฬี ยิ ักษ์ใช้ลกู ศรอาบยาพิษยิงเอาจนล้มสลบ ณ ทนี่ นั้ น่นั แหละ ก็เปน็ ความจริง ขอถวาย
พระพร กแ็ ตว่ ่า ในค�ำทีว่ า่ นนั้ มีเหตผุ ลอยู่ เหตุผลอะไรในค�ำทวี่ ่านน้ั ขอถวายพระพร คุณ (๑๑
ประการ) เหลา่ นี้ ไมใ่ ชค่ ุณของบคุ คล คุณเหลา่ นี้ เปน็ คุณของเมตตาภานา ขอถวายพระพร
สามกมุ ารพอยกหม้อนำ้� ข้นึ บ่า ในขณะนัน้ ก็เปน็ ผหู้ ลงลืมในการเจรญิ เมตตา
‘‘ยสฺม ึ มหาราช ขเณ ปคุ คฺ โล เมตฺต ํ สมาปนฺโน โหติ, น ตสฺส ปุคฺคลสฺส ตสฺมึ
ขเณ อคฺคิ วา วสิ ํ วา สตถฺ ํ วา กมติ ฯ ตสฺส เย เกจ ิ อหติ กามา อุปคนฺตวฺ า ตํ น
ปสฺสนฺต,ิ น ตสฺม ึ โอกาสํ ลภนฺติ ฯ เนเต มหาราช, คณุ า ปคุ คฺ ลสสฺ , เมตตฺ าภาวนาเยเต
คุณา ฯ อธิ มหาราช ปุรโิ ส สงฺคามสูโร อเภชชฺ กวจชาลิก ํ สนนฺ ยหฺ ิตวฺ า สงคฺ ามํ โอตเรยฺย,
ตสฺส สรา ขติ ฺตา อุปคนตฺ ฺวา ปตนตฺ ิ วิกริ นฺติ, น ตสฺมึ โอกาส ํ ลภนตฺ ิ, เนโส มหาราช
คโุ ณ สงคฺ ามสูรสสฺ , อเภชฺชกวจชาลิกาเยโส คุโณ, ยสฺส สรา ขติ ตฺ า อุปคนฺตวฺ า ปตนตฺ ิ
วกิ ริ นตฺ ิ ฯ เอวเมว โข มหาราช เนเต คุณา ปุคคฺ ลสสฺ , เมตตฺ าภาวนาเยเต คุณา ฯ
ขอถวายพระพร ในขณะใด บคุ คลมีจิตจรดถึงเมตตา, ในขณะนน้ั ไฟก็ดี ยาพิษก็ดี
ศัสตราก็ดี ยอ่ มกล�้ำกรายเขาไมไ่ ด้ ใครบางคนใครค่ วามฉบิ หายแกเ่ ขา พอเข้ามาใกลแ้ ลว้ ก็
มองไม่เห็นเขา จึงไม่ได้โอกาสในตัวเขานน้ั ขอถวายพระพร คุณดังกล่าวเหลา่ น้ี หาใชค่ ณุ ของ
บคุ คลไม่ คุณเหล่าน้ีเปน็ คณุ ของเมตตาภาวนาต่างหาก ขอถวายพระพร เปรียบเหมือนว่า
บรุ ษุ ผู้กล้าหาญในการสงครามในโลกนี้ สวมเส้อื เกราะเหนยี วแลว้ ก็หยงั่ ลงสสู่ งคราม ลูกศรท่ี
ขา้ ศึกยงิ มาถงึ ตัวเขาแลว้ กย็ อ่ มตกหลน่ กระจัดกระจายไป ยอ่ มไมไ่ ดโ้ อกาสในตัวเขานน้ั ขอ
ถวายพระพร ข้อที่ลกู ศรทีข่ า้ ศึกยงิ มาถงึ ตวั เขาแลว้ ตกหล่นกระจดั กระจายไปนี้ หาใชค่ ุณของ
บุรษุ ผู้กลา้ หาญในการสงครามไม่ ข้อนี้ เป็นคณุ ของเส้อื เกราะเหนยี วต่างหาก ฉันใด ขอถวาย
พระพร คณุ ดังกลา่ วเหล่านี้ หาใชค่ ุณของบคุ คลไม่ คณุ เหลา่ นี้ เปน็ คณุ ของเมตตาภาวนาตา่ ง
หาก ฉนั น้นั เหมอื นกนั แล
‘‘ยสฺมึ มหาราช ขเณ ปุคฺคโล เมตตฺ ํ สมาปนฺโน โหต,ิ น ตสสฺ ปุคคฺ ลสฺส ตสฺม ึ
ขเณ อคฺคิ วา วิสํ วา สตฺถ ํ วา กมติ ฯ ตสสฺ เย เกจ ิ อหิตกามา อปุ คนตฺ วฺ า ต ํ น
ปสสฺ นตฺ ,ิ ตสฺม ึ โอกาส ํ น ลภนฺติ, เนเต มหาราช คณุ า ปุคคฺ ลสฺส, เมตฺตาภาวนาเยเต

กัณฑ]์ ๔.๔ สัพพญั ญตุ ญาณวรรค 23

คุณา ฯ อิธ ปน มหาราช ปรุ ิโส ทพิ พฺ ํ อนฺตรธานํ มูล ํ หตเฺ ถ กเรยยฺ , ยาว ต ํ มลู ํ ตสฺส
หตฺถคต ํ โหติ, ตาว น อ โฺ โกจิ ปกติมนสุ ฺโส ตํ ปรุ ิส ํ ปสสฺ ติ ฯ เนโส มหาราช คโุ ณ
ปรุ ิสสฺส, มูลสเฺ สโส คโุ ณ อนตฺ รธานสสฺ , ยํ โส ปกตมิ นสุ ฺสานํ จกฺขุปเถ น ทสิ ฺสติ ฯ
เอวเมว โข มหาราช เนเต คณุ า ปคุ คฺ ลสฺส, เมตฺตาภาวนาเยเต คุณา ฯ
ขอถวายพระพร ในขณะใด บคุ คลเปน็ ผู้มจี ิตจรดถึงเมตตา ในขณะนน้ั ไฟกด็ ี ยาพิษก็
ดี ศสั ตราก็ดี ย่อมกล้ำ� กรายเขาไม่ได้ ใครบางคนใครค่ วามฉบิ หายแกเ่ ขา พอเข้ามาใกลแ้ ล้ว ก็
จะมองไม่เหน็ เขา จงึ ไมไ่ ด้โอกาสในตวั เขาน้นั ขอถวายพระพร คุณดงั กลา่ วเหลา่ น้ี ไมใ่ ช่ของ
บคุ คล คุณเหลา่ นีเ้ ปน็ คณุ ของเมตตาภาวนาต่างหาก ขอถวายพระพร เปรยี บเหมอื นว่า บุรษุ
บางคนในโลกนี้ พงึ ก�ำรากไม้ทพิ ยท์ ใี่ ช้หายตัวได้ไวใ้ นมือ ตราบใดท่ีรากไม้น้นั ยังอยใู่ นมอื ของ
เขา ตราบน้นั ใครคนอ่นื เป็นมนษุ ยป์ กติ ย่อมมองไม่เห็นบุรุษผนู้ ั้น ขอถวายพระพร ข้อทบ่ี ุรษุ
ผนู้ ้ันไมป่ รากฏในสายตาของมนษุ ย์ปกตทิ ้ังหลายนี้ หาใช่คณุ ของบรุ ษุ ไม่ ขอ้ นนั้ เปน็ คณุ ของ
รากไมท้ ิพย์ท่ีใช้หายตัวได้ต่างหาก ฉันใด ขอถวายพระพร คณุ ดังกลา่ วเหลา่ น้ี หาใช่คุณของ
บคุ คลไม่ คุณเหลา่ นี้ เป็นคณุ ของเมตตาภาวนาต่างหาก ฉนั น้ันเหมอื นกนั แล
‘‘ยสฺม ึ มหาราช ขเณ ปคุ คฺ โล เมตฺตํ สมาปนฺโน โหต,ิ น ตสฺส ปคุ คฺ ลสฺส ตสฺม ึ
ขเณ อคฺคิ วา วสิ ํ วา สตฺถ ํ วา กมติ ฯ ตสฺส เย เกจิ อหติ กามา อุปคนตฺ ฺวา ต ํ น
ปสฺสนฺติ, น ตสฺมึ โอกาส ํ ลภนตฺ ิ ฯ เนเต มหาราช คณุ า ปคุ คฺ ลสฺส, เมตตฺ าภาวนาเยเต
คณุ า ฯ ยถา วา ปน มหาราช ปรุ ิสํ สุกตํ มหาเลณมนปุ ปฺ วฏิ ฺ ํ มหติมหาเมโฆ
อภิวสสฺ นโฺ ต น สกโฺ กติ เตมยิต,ุํ เนโส มหาราช คโุ ณ ปุรสิ สฺส, มหาเลณสฺเสโส คุโณ,
ยํ มหาเมโฆ อภวิ สฺสมาโน น ต ํ เตเมติ ฯ เอวเมว โข มหาราช เนเต คณุ า ปุคคฺ ลสสฺ ,
เมตฺตาภาวนาเยเต คณุ า ฯ
ขอถวายพระพร ในขณะใด บุคคลเปน็ ผู้มีจติ จรดถงึ เมตตา ในขณะนน้ั ไฟกด็ ี ยาพษิ ก็
ดี ศัสตรากด็ ี ย่อมกล�้ำกรายเขาไมไ่ ด้ ใครบางคนใครค่ วามฉบิ หายแก่เขา พอเขา้ มาใกล้แล้ว ก็
จะมองไมเ่ หน็ เขา จงึ ไม่ได้โอกาสในเขา ขอถวายพระพร คุณดังกลา่ วเหล่านี้ หาใช่คณุ ของ
บุคคลไม่ คณุ ดังกลา่ วเหลา่ นีเ้ ป็นคณุ ของเมตตาภาวนาต่างหาก ขอถวายพระพร อกี อยา่ ง
หนึ่ง เปรยี บเหมอื นว่า ฝนห่าใหญ่ ตกหนกั อยู่ ก็ไมอ่ าจท�ำบุรุษผเู้ ขา้ ถำ้� ใหญท่ ส่ี รา้ งไวด้ ีให้
เปยี กได้ ขอถวายพระพร ขอ้ ท่ฝี นหา่ ใหญ่ตกหนกั อยู่ กไ็ มอ่ าจท�ำบรุ ษุ ผู้เขา้ ถำ้� ใหญ่ใหเ้ ปียกได้
น้ี หาใชค่ ุณของบรุ ษุ ไม่ ขอ้ นัน้ เปน็ คณุ ของถ้�ำใหญ่ตา่ งหาก ฉนั ใด ขอถวายพระพร คณุ ดัง
กล่าวเหลา่ นี้ หาใช่คุณของบุคคลไม่ คณุ เหลา่ น้ี เปน็ คณุ ของเมตตาภาวนาตา่ งหาก ฉนั นน้ั

24 มลิ ินทปัญหาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปญั ห

เหมอื นกันแล

‘‘ยสมฺ ึ มหาราช ขเณ ปคุ ฺคโล เมตฺต ํ สมาปนโฺ น โหติ, น ตสฺส ปุคคฺ ลสฺส ตสฺมึ
ขเณ อคฺค ิ วา วิส ํ วา สตถฺ ํ วา กมติ ฯ ตสสฺ เย เกจิ อหติ กามา อุปคนตฺ วฺ า ต ํ น
ปสฺสนตฺ ,ิ น ตสสฺ สกฺโกนตฺ ิ อหิต ํ กาตํุ, เนเต มหาราช คุณา ปุคคฺ ลสสฺ , เมตตฺ า-
ภาวนาเยเต คุณา’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร ในขณะใด บคุ คลเป็นผู้มีจติ จรดถงึ เมตตา ในขณะน้ัน ไฟกด็ ี ยาพิษก็
ดี ศสั ตรากด็ ี ย่อมกลำ�้ กรายเขาไมไ่ ด้ ใครบางคนใคร่ความฉบิ หายแก่เขา พอเข้าใกลแ้ ลว้ กจ็ ะ
มองไมเ่ หน็ เขา จงึ ไม่อาจสร้างความฉบิ หายแก่เขาได้ ขอถวายพระพร คุณดังกล่าวเหล่าน้ี หา
ใช่คณุ ของบุคคล คุณดงั กล่าวเหล่าน้เี ปน็ คณุ ของเมตตาภาวนาตา่ งหาก”

‘‘อจฺฉริย ํ ภนฺเต นาคเสน อพภฺ ตุ ํ ภนเฺ ต นาคเสน สพฺพปาปนิวารณา เมตฺตา-
ภาวนา’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ ินทต์ รสั ว่า “นา่ อัศจรรย์จริง พระคณุ เจ้านาคเสน นา่ แปลกใจจรงิ นะ พระคุณ
เจ้านาคเสน ข้อทเี่ มตตาภาวนาเปน็ เคร่ืองป้องกันสิง่ ช่วั รา้ ยไดท้ กุ อยา่ ง”

‘‘สพฺพกสุ ลคณุ าวหา มหาราช เมตฺตาภาวนา หติ านมปฺ ิ อหิตานมฺปิ, เย เต สตฺตา
ว ิ ฺ าณพทธฺ า, สพเฺ พสํ มหานสิ สํ า เมตตฺ าภาวนา สวํ ิภชติ พพฺ า’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร เมตตาภาวนาเป็นเหตุน�ำมาซงึ่ กศุ ล
คุณทุกอย่าง ทั้งผทู้ ่ีมปี ระโยชนเ์ กอื้ กลู ท้งั ผู้ที่ไมม่ ปี ระโยชน์เก้อื กูล พระองคพ์ ึงส้องเสพเมตตา
ภาวนาอนั มอี านสิ งสม์ ากต่อสตั วผ์ ูย้ งั ผูกพันกับวญิ ญาณ (ยังมีชีวิตอย)ู่

เมตตฺ าภาวนานสิ ํสปญโฺ ห ฉฏฺโ€ ฯ
จบเมตตาภาวนานิสังสปัญหาขอ้ ท่ี ๖

________

๗. กุสลากสุ ลสมวิสมปญฺห
๗. กสุ ลากสุ ลสมวสิ มปัญหา
ปญั หาวา่ ดว้ ยความที่กศุ ลและอกศุ ลมีวิบากเสมอหรอื ไม่เสมอกัน
[๗] ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน ‘กุสลการิสฺสปิ อกสุ ลการสิ ฺสป ิ วิปาโก สมสโม อุทาห ุ โกจิ

กัณฑ์] ๔.๔ สพั พญั ญุตญาณวรรค 25

วเิ สโส อตฺถ’ี ติ ?
[๗] พระเจ้ามิลนิ ท์ตรัสวา่ “พระคุณเจ้านาคเสน วบิ ากของผมู้ ีปกตทิ �ำกุศลกต็ าม ของ
ผูม้ ปี กติท�ำอกศุ ลกต็ าม ย่อมเสมอเหมอื นกัน หรอื วา่ มีความแตกต่างกันเป็นบางอยา่ งเลา่ ”
‘‘อตถฺ ิ มหาราช กสุ ลสสฺ จ อกุสลสสฺ จ วิเสโส, กุสลํ มหาราช สขุ วิปากํ สคฺค-
สํวตตฺ นกิ ,ํ อกุสล ํ ทุกขฺ วิปากํ นริ ยสวํ ตตฺ นิกน”ฺ ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร กศุ ลและอกุศลมคี วามแตก
ตา่ งกนั ขอถวายพระพร กศุ ลมวี บิ ากเปน็ สขุ เปน็ ไปพร้อมเพือ่ สวรรค์ อกุศลมวี ิบากเปน็ ทกุ ข์
เปน็ ไปพรอ้ มส�ำหรบั นรก
‘‘ภนเฺ ต นาคเสน ตุมฺเห ภณถ ‘เทวทตฺโต เอกนตฺ กณโฺ ห, เอกนฺตกณฺเหห ิ ธมฺเมห ิ
สมนนฺ าคโต, โพธิสตโฺ ต เอกนฺตสุกโฺ ก, เอกนฺตสกุ เฺ กห ิ ธมเฺ มหิ สมนฺนาคโต’ติ ฯ ปุน จ
เทวทตโฺ ต ภเว ภเว ยเสน จ ปกฺเขน จ โพธสิ ตฺเตน สมสโม โหต,ิ กทาจ ิ อธิกตโร วา
ฯ ยทา เทวทตโฺ ต นคเร พาราณสยิ ํ พรฺ หฺมทตตฺ สสฺ ร ฺโ ปุโรหติ ปตุ โฺ ต อโหสิ, ตทา
โพธสิ ตโฺ ต ฉวกจณฺฑาโล อโหส ิ วิชฺชาธโร, วิชชฺ ํ ปริชปฺปิตวฺ า อกาเล อมพฺ ผลาน ิ
นิพพฺ ตฺเตส,ิ เอตถฺ ตาว โพธิสตฺโต เทวทตฺตโต ชาตยิ า นหิ โี น ยเสน จ นิหีโน ฯ
พระเจ้ามลิ ินท์ตรัสวา่ “พระคุณเจ้านาคเสน พวกท่านกลา่ วกันว่า พระเทวทัตเปน็ ผทู้ ่ี
จะเอาแตด่ �ำด้านเดียว ประกอบดว้ ยธรรมด�ำด้านเดียว ส่วนพระโพธิสัตว์เปน็ ผทู้ ีจ่ ะเอาแต่ขาว
ด้านเดียว ประกอบดว้ ยธรรมขาวด้านเดยี ว แต่ยังกลา่ วไว้อกี ว่า ทุก ๆ ภพชาติ พระเทวทัตจะ
เป็นผ้มู ยี ศ และพวกพ้องเสมอเหมอื นกบั พระโพธสิ ตั ว์ หรือในบางภพชาติ กก็ ลบั ย่งิ เสยี กว่า
เชน่ ในกาลท่พี ระเทวทตั ไดเ้ กดิ เปน็ บุตรของปโุ รหติ ของพระเจ้าพรหมทตั ณ กรุงพาราณสี
สว่ นพระโพธิสตั ว์ ได้เกิดเป็นคนจณั ฑาลช้ันตำ�่ ผทู้ รงวชิ า ร่ายวิชา ท�ำผลมะมว่ งใหบ้ ังเกิดนอก
ฤดกู าลได้ ในชาตนิ ที้ เี ดยี ว พระโพธสิ ตั ว์ เป็นผมู้ ชี าติ ตระกลู และยศ ตำ่� กว่าพระเทวทตั
‘‘ปุน จปรํ ยทา เทวทตฺโต ราชา อโหสิ มหา มหีปติ สพฺพกามสมงฺคี, ตทา
โพธิสตโฺ ต ตสฺสูปโภโค อโหส ิ หตฺถินาโค สพฺพลกฺขณสมปฺ นโฺ น, ตสฺส จารุคติวลิ าส ํ
อสหมาโน ราชา วธมิจฺฉนโฺ ต หตฺถาจรยิ ํ เอวมโวจ ‘อสิกฺขโิ ต เต อาจรยิ , หตฺถินาโค, ตสสฺ
อากาสคมน ํ นาม การณ ํ กโรห’ี ติ, ตตฺถป ิ ตาว โพธสิ ตโฺ ต เทวทตฺตโต ชาตยิ า นหิ ีโน
ลามโก ติรจฺฉานคโต ฯ
ยงั มอี ีกเรื่องหนงึ่ คอื ในกาลทีพ่ ระเทวทตั ไดเ้ กดิ เป็นพระเจา้ มหามหิบดี ผ้พู รั่งพร้อม

26 มลิ ินทปัญหาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปญั ห

ด้วยสง่ิ ที่น่าใคร่ทุกอยา่ ง พระโพธสิ ัตวไ์ ด้เกดิ เป็นช้างทีพ่ ระเทวทตั นั้นมีไวใ้ ชส้ อย ซึ่งเปน็ ชา้ งท่ี
สมบูรณด์ ว้ ยลกั ษณะทกุ อยา่ ง พระราชาเมื่อทรงทนทอดพระเนตรเห็นการเยื้องกรายไป ท่ี
งดงามของช้างนน้ั ไมไ่ ด้ กท็ รงปรารภจะทรงฆา่ เสีย จงึ รับสง่ั กบั นายคราญชา้ งว่า ท่านอาจารย์
ชา้ งทีท่ า่ นไมไ่ ด้ฝึกสอนไว้ จงบอกเราถึงเหตทุ ่ีท�ำใหช้ ้างตวั น้ันไปในอากาศได้เถิด ดังน้ี แม้ใน
ชาติน้ัน พระโพธสิ ัตว์ ผเู้ ปน็ สัตว์เดรัจฉานตำ่� ทราม ก็เป็นผ้ทู ่มี ีชาตติ �่ำกวา่ พระเทวทัต
‘‘ปุน จปรํ ยทา เทวทตฺโต มนุสฺโส อโหสิ ปวเน นฏ ฺ ายิโก, ตทา โพธสิ ตโฺ ต
มหาปถว ี นาม มกฺกโฏ อโหส,ิ เอตฺถปิ ตาว ทสิ ฺสต ิ วิเสโส มนสุ สฺ สสฺ จ ติรจฺฉานคตสสฺ
จ, ตตถฺ ปิ ตาว โพธิสตโฺ ต เทวทตตฺ โต ชาตยิ า นหิ โี น ฯ
ยังมีอีกเรอื่ งหนง่ึ คือ ในกาลท่พี ระเทวทตั ไดเ้ กิดเป็นมนุษย์ ผมู้ งุ่ แต่ความฉบิ หายอยูใ่ น
ปา่ พระโพธิสตั วเ์ กดิ เป็นวานรช่อื วา่ มหาปถวี แมใ้ นชาติน้ี ก็ปรากฏความแตกต่างกนั แหง่ ผู้
เป็นมนษุ ยแ์ ละผเู้ ป็นสตั วเ์ ดรจั ฉาน แม้ในชาตนิ ้ันแหละ พระโพธสิ ตั วเ์ ปน็ ผู้ที่มชี าตติ ่�ำกว่าพระ
เทวทตั
‘‘ปนุ จปร ํ ยทา เทวทตโฺ ต มนุสโฺ ส อโหส ิ โสณุตฺตโร นาม เนสาโท พลวา
พลวตโร นาคพโล, ตทา โพธสิ ตโฺ ต ฉททฺ นฺโต นาม นาคราชา อโหสิ ฯ ตทา โส ลุททฺ โก
ตํ หตถฺ ินาคํ ฆาเตส,ิ ตตถฺ ป ิ ตาว เทวทตโฺ ตว อธิกตโร ฯ
ยงั มอี ีกเรื่องหนง่ึ ในกาลที่พระเทวทัตไดเ้ กิดเป็นมนษุ ย์ ช่อื ว่าโสณุตตระ เป็นนาย
พรานผ้มู ีก�ำลงั มกี �ำลงั มากกว่า มกี �ำลังดุจช้าง พระโพธสิ ัตวไ์ ด้เกดิ เป็นพญาช้าง ช่อื วา่ ฉทั ทนั ต์
ในคราวนน้ั นายพรานได้ฆ่าพญาชา้ งนัน้ แม้ในชาติน้นั พระเทวทัตน่ันแหละ จัดว่าเป็นผู้ทม่ี ี
ชาตยิ ิ่งกวา่
‘‘ปุน จปรํ ยทา เทวทตโฺ ต มนุสฺโส อโหสิ วนจรโก อนเิ กตวาสี, ตทา โพธิสตโฺ ต
สกุโณ อโหส ิ ติตฺติโร มนฺตชฌฺ ายี, ตทาปิ โส วนจรโก ตํ สกณุ ํ ฆาเตสิ, ตตถฺ ป ิ ตาว
เทวทตโฺ ตว ชาติยา อธิกตโร ฯ
ยงั มอี กี เร่ืองหนึ่ง ในกาลท่ีพระเทวทัตได้เกิดเปน็ มนษุ ย์ เปน็ นายพรานปา่ ไมม่ ีบ้านอยู่
อาศยั พระโพธสิ ตั ว์ไดเ้ กดิ มาเป็นนกกระทาผูเ้ ครง่ มนต์ แม้ในคราวนน้ั นายพรานปา่ ผนู้ ้ัน กไ็ ด้
ฆา่ นกตวั น้นั เสยี แม้ในชาติน้ัน พระเทวทตั น่ันแหละ จัดวา่ เปน็ ผูท้ มี่ ชี าตยิ ่ิงกว่า
‘‘ปุน จปร ํ ยทา เทวทตโฺ ต กลาพุ นาม กาสิราชา อโหส,ิ ตทา โพธสิ ตโฺ ต ตาปโส
อโหส ิ ขนตฺ ิวาที ฯ ตทา โส ราชา ตสฺส ตาปสสฺส กุทโฺ ธ หตฺถปาเท วสํ กฬเี ร วยิ

กัณฑ์] ๔.๔ สพั พญั ญตุ ญาณวรรค 27

เฉทาเปสิ, ตตถฺ ป ิ ตาว เทวทตฺโต เยว อธิกตโร ชาตยิ า จ ยเสน จ ฯ
ยังมอี ีกเรือ่ งหน่ึง ในกาลทพี่ ระเทวทตั ไดเ้ กดิ เป็นพระเจ้ากาสี พระนามวา่ กลาพุ พระ
โพธิสัตว์ไดเ้ กดิ เป็นขนั ตวิ าทดี าบส ในกาลน้ัน พระราชาพระองค์นั้น ทรงกร้วิ ดาบสผ้นู นั้ รบั สงั่
ให้พนักงานตดั มอื และเทา้ เสยี เหมือนอย่างกบั ตดั ขอ้ ไม้ไผ่ แมใ้ นชาติน้นั พระเทวทัตนัน่ แหละ
จัดวา่ เปน็ ผู้ที่มชี าตแิ ละยศย่งิ กว่า
‘‘ปุน จปรํ ยทา เทวทตโฺ ต มนุสฺโส อโหสิ วนจโร, ตทา โพธิสตฺโต นนฺทิโย นาม
วานรนิ โฺ ท อโหส,ิ ตทาป ิ โส วนจโร ต ํ วานรินทฺ ํ ฆาเตสิ สทฺธ ึ มาตรา กนิฏ ฺ ภาตเิ กน
จ, ตตถฺ ป ิ ตาว เทวทตโฺ ตเยว อธิกตโร ชาตยิ า ฯ
ยงั มีอีกเรอื่ งหนง่ึ ในกาลทีพ่ ระเทวทตั ไดเ้ กดิ เป็นมนษุ ย์นกั เท่ยี วปา่ พระโพธิสตั ว์ได้
เกดิ เป็นพญาวานร ชื่อว่านนั ทิยะ แม้ในคราวนน้ั นักเท่ียวปา่ ผนู้ ้นั ไดฆ้ า่ พญาวานรนน้ั พร้อม
ทัง้ มารดา นอ้ งชายและพี่ชายเสีย แมใ้ นชาตินน้ั พระเทวทตั นั่นแหละ จดั วา่ เปน็ ผู้ท่ีมชี าติยิ่ง
กว่า
‘‘ปุน จปร ํ ยทา เทวทตฺโต มนสุ โฺ ส อโหส ิ อเจลโก การมฺภโิ ย นาม, ตทา
โพธิสตโฺ ต ปณฺฑรโก นาม นาคราชา อโหสิ, ตตฺถปิ ตาว เทวทตโฺ ตเยว อธิกตโร
ชาติยา ฯ
ยงั มีอีกเรอ่ื งหนึ่ง ในกาลทพี่ ระเทวทตั ได้เกดิ เปน็ มนุษย์ชีเปลือย ชื่อว่าการัมภยิ ะ พระ
โพธิสตั ว์ไดเ้ กิดเปน็ พญานาค ชอ่ื วา่ ปณั ฑรกะ แม้ในชาตินนั้ พระเทวทัตน่นั แหละ จดั วา่ เปน็ ผู้
ที่มชี าตยิ งิ่ กว่า
‘‘ปนุ จปรํ ยทา เทวทตฺโต มนุสฺโส อโหส ิ ปวเน ชฏิลโก, ตทา โพธสิ ตฺโต
ตจฺฉโก นาม มหาสูกโร อโหสิ, ตตถฺ ป ิ ตาว เทวทตโฺ ตเยว ชาตยิ า อธิกตโร ฯ
ยังมีอีกเร่ืองหน่งึ ในกาลทีพ่ ระเทวทัตได้เกดิ เป็นมนุษย์ เป็นชฎิลอยู่ในปา่ พระ
โพธิสตั วไ์ ด้เกดิ เปน็ สุกรใหญ่ ช่ือวา่ ตัจฉกะ แม้ในชาตินนั้ พระเทวทัตน่ันแหละ จดั ว่าเปน็ ผู้ที่มี
ชาตยิ ่ิงกวา่
‘‘ปุน จปรํ ยทา เทวทตโฺ ต เจตสี ุ สรู ปริจโร นาม ราชา อโหสิ อุปริ ปุริสมตฺเต
คคเน เวหาสงฺคโม, ตทา โพธิสตฺโต กปิโล นาม พฺราหมฺ โณ อโหส,ิ ตตถฺ ปิ ตาว
เทวทตโฺ ตเยว อธิกตโร ชาติยา จ ยเสน จ ฯ

28 มลิ ินทปญั หาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปัญห

ยงั มอี กี เรือ่ งหนงึ่ ในกาลท่ีพระเทวทตั ได้เกดิ เปน็ พระราชา พระนามวา่ สูรปริจระ ใน
กรงุ เจตี ผูไ้ ปในอากาศกลางหาวไดส้ งู ๑ ช่วั คน พระโพธิสัตวไ์ ด้เกดิ เป็นพราหม์ชอื่ กปลิ ะ แม้
ในชาตนิ น้ั พระเทวทตั นน่ั แหละ จดั วา่ เป็นผ้ทู ่มี ีชาติและยศย่ิงกวา่
‘‘ปุน จปรํ ยทา เทวทตฺโต มนสุ ฺโส อโหส ิ สาโม นาม, ตทา โพธสิ ตฺโต รรุ ุ นาม
มิคราชา อโหส,ิ ตตถฺ ป ิ ตาว เทวทตโฺ ตเยว ชาตยิ า อธกิ ตโร ฯ
ยงั มีอีกเรอ่ื งหน่งึ ในกาลทพ่ี ระเทวทัตไดเ้ กดิ เป็นมนษุ ย์ ชอ่ื ว่าสามะ พระโพธิสตั ว์ได้
เกิดเป็นพญาเน้ือ ชือ่ วา่ รรุ ุ แมใ้ นชาตินั้น พระเทวทัตนัน่ แหละ จัดว่าเปน็ ผู้ท่มี ชี าติย่ิงกวา่
‘‘ปนุ จปรํ ยทา เทวทตฺโต มนุสฺโส อโหสิ ลุททฺ โก ปวนจโร, ตทา โพธิสตฺโต
หตฺถินาโค อโหส,ิ โส ลทุ ทฺ โก ตสฺส หตถฺ ินาคสสฺ สตฺตกขฺ ตตฺ ุํ ทนเฺ ต ฉนิ ทฺ ิตวฺ า หริ,
ตตถฺ ปิ ตาว เทวทตฺโตเยว โยนิยา อธิกตโร ฯ
ยงั มีอกี เร่ืองหน่งึ ในกาลท่ีพระเทวทตั ได้เกิดเปน็ มนษุ ย์ เปน็ พรานปา่ พระโพธสิ ัตวไ์ ด้
เกดิ เป็นพญาชา้ ง นายพรานผนู้ ัน้ ได้ตัดงาของพญาชา้ งนั้นน�ำไปถงึ ๗ ครั้ง แมใ้ นชาตนิ ั้น พระ
เทวทตั นัน่ เทยี ว จัดว่าเปน็ ผู้ทมี่ ีก�ำเนดิ ยิง่ กวา่
‘‘ปุน จปรํ ยทา เทวทตฺโต สงิ ฺคาโล อโหสิ ขตตฺ ยิ ธมโฺ ม, โส ยาวตา ชมฺพทุ เี ป
ปเทสราชาโน เต สพเฺ พ อนยุ ุตฺเต อกาส,ิ ตทา โพธสิ ตฺโต วิธุโร นาม ปณฺฑโิ ต อโหส,ิ
ตตฺถป ิ ตาว เทวทตฺโตเยว ยเสน อธิกตโร ฯ
ยังมอี ีกเร่อื งหนึ่ง ในกาลท่พี ระเทวทัตได้เกดิ เป็นสุนัขจง้ิ จอก ผ้มู ีขตั ตยิ ธรรม พระองค์
ทรงกระท�ำพระราชาประจ�ำประเทศทั้งหลายเท่าทม่ี ใี นชมพูทวีปทกุ พระองค์ ใหต้ กอยใู่ ต้พระ
ราชอ�ำนาจได้ พระโพธิสตั ว์ได้เกิดเปน็ บัณฑติ ชือ่ ว่าวธิ ุระ แม้ในชาตนิ ัน้ พระเทวทตั นน่ั แหละ
จดั ว่าเป็นผูท้ ่มี ียศยง่ิ กวา่
‘‘ปนุ จปร ํ ยทา เทวทตโฺ ต หตถฺ นิ าโค หตุ ฺวา ลฏกุ ิกาย สกณุ ิกาย ปุตตฺ เก
ฆาเตส,ิ ตทา โพธิสตโฺ ตปิ หตฺถนิ าโค อโหส ิ ยูถปติ, ตตถฺ ตาว อุโภป ิ เต สมสมา
อเหสํุ ฯ
ยังมีอีกเรือ่ งหน่งึ ในกาลทพี่ ระเทวทตั ได้เกิดเป็นชา้ งตวั ประเสรฐิ ได้ฆ่าลูกนกมลู ไถ
ตาย แม้พระโพธสิ ตั ว์ได้เกดิ เป็นช้างจ่าฝงู ในชาตนิ น้ั บคุ คลทัง้ ๒ นน้ั ไดเ้ ปน็ ผเู้ สมอเหมอื นกัน

กัณฑ์] ๔.๔ สัพพัญญตุ ญาณวรรค 29

‘‘ปุน จปร ํ ยทา เทวทตฺโต ยกฺโข อโหสิ อธมโฺ ม นาม, ตทา โพธิสตโฺ ตปิ ยกฺโข
อโหส ิ ธมโฺ ม นาม, ตตถฺ ป ิ ตาว อโุ ภปิ สมสมา อเหสํุ ฯ
ยงั มีอีกเรอื่ งหนึ่ง ในกาลท่ีพระเทวทัตได้เกิดเป็นยกั ษ์ ชอื่ วา่ อธรรมะ แม้พระโพธิสัตว์
ได้เกดิ เป็นยกั ษช์ อื่ วา่ ธรรมะ แม้ในชาตนิ นั้ บคุ คลทัง้ ๒ นน้ั ไดเ้ ปน็ ผเู้ สมอเหมอื นกัน
‘‘ปนุ จปร ํ ยทา เทวทตฺโต นาวโิ ก อโหส ิ ป ฺจนฺน ํ กุลสตานํ อสิ สฺ โร, ตทา
โพธสิ ตฺโตป ิ นาวิโก อโหสิ ป จฺ นฺน ํ กุลสตาน ํ อิสสฺ โร, ตตฺถป ิ ตาว อโุ ภปิ สมสมา
อเหสุํ ฯ
ยงั มีอีกเรือ่ งหนึ่ง ในกาลท่ีพระเทวทตั ได้เกดิ เปน็ นายเรือ ผเู้ ปน็ ใหญแ่ ห่งตระกูล ๕๐๐
แม้พระโพธสิ ัตว์ก็ได้เกิดเปน็ นายเรอื ผู้เปน็ ใหญแ่ หง่ ตระกูล ๕๐๐ แม้ในชาตนิ ัน้ บคุ คลทงั้ ๒
ก็ไดเ้ กดิ เปน็ ผเู้ สมอเหมือนกัน
‘‘ปนุ จปรํ ยทา เทวทตฺโต สตฺถวาโห อโหสิ ป จฺ นฺน ํ สกฏสตานํ อสิ ฺสโร, ตทา
โพธสิ ตฺโตปิ สตถฺ วาโห อโหสิ ป จฺ นนฺ ํ สกฏสตาน ํ อสิ สฺ โร, ตตถฺ ปิ ตาว อุโภปิ สมสมา
อเหสํุ ฯ
ยังมอี กี เรื่องหนง่ึ ในกาลท่พี ระเทวทัตไดเ้ กดิ เป็นนายกองเกวียน ผเู้ ป็นใหญแ่ หง่
เกวียน ๕๐๐ เลม่ แมพ้ ระโพธสิ ัตว์กไ็ ด้เกิดเปน็ นายกองเกวยี นผู้เปน็ ใหญแ่ หง่ เกวยี น ๕๐๐ เล่ม
แม้ในชาตนิ ัน้ บคุ คลทั้ง ๒ กไ็ ดเ้ ปน็ ผู้เสมอเหมือนกัน
‘‘ปุน จปรํ ยทา เทวทตฺโต สาโข นาม มิคราชา อโหส,ิ ตทา โพธสิ ตฺโตปิ
นคิ ฺโรโธ นาม มคิ ราชา อโหสิ, ตตฺถปิ ตาว อุโภปิ สมสมา อเหสํุ ฯ
ยงั มอี กี เรื่องหนึ่ง ในกาลท่ีพระเทวทตั ไดเ้ กดิ เปน็ พญาเนือ้ ชื่อวา่ สาขะ แม้พระโพธสิ ัตว์
กไ็ ดเ้ กดิ เป็นพญาเน้อื ชื่อวา่ นโิ ครธะ แมใ้ นชาติน้ัน บคุ คลทง้ั ๒ ก็ไดเ้ ป็นผู้เสมอเหมือนกนั
‘‘ปนุ จปร ํ ยทา เทวทตโฺ ต สาโข นาม เสนาปติ อโหสิ, ตทา โพธิสตฺโตป ิ
นคิ โฺ รโธ นาม ราชา อโหส,ิ ตตฺถป ิ ตาว อุโภป ิ สมสมา อเหสุํ ฯ
ยังมีอกี เรื่องหนงึ่ ในกาลทพ่ี ระเทวทตั ไดเ้ กดิ เปน็ เสนาบดีช่อื วา่ สาขะ แมพ้ ระโพธิสัตว์
ก็ไดเ้ กดิ เป็นพระราชา นามวา่ นโิ ครธะ แมใ้ นชาตนิ ั้น บคุ คลทัง้ ๒ กไ็ ดเ้ ปน็ ผูเ้ สมอเหมอื นกัน

30 มลิ นิ ทปญั หาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปญั ห

‘‘ปนุ จปรํ ยทา เทวทตฺโต ขณฑฺ หาโล นาม พฺราหมฺ โณ อโหส,ิ ตทา โพธิสตโฺ ต
จนโฺ ท นาม ราชกุมาโร อโหส,ิ ตทา โส ขณฑฺ หาโลเยว อธิกตโร ฯ
ยังมอี ีกเรอื่ งหนึง่ ในกาลทพี่ ระเทวทตั เกดิ เป็นพราหมณ์ ชอื่ วา่ ขณั ฑหาละ แม้พระ
โพธสิ ตั วก์ ไ็ ดเ้ กดิ เปน็ พระราชกุมาร พระนามวา่ จันทะ ในกาลนั้น ขัณฑหาลพราหมณน์ ้นั น่นั
แหละ จัดวา่ เปน็ ผูท้ ีย่ ิ่งกว่า
‘‘ปนุ จปร ํ ยทา เทวทตโฺ ต พฺรหมฺ ทตโฺ ต นาม ราชา อโหสิ, ตทา โพธิสตโฺ ต ตสสฺ
ปตุ ฺโต มหาปทโุ ม นาม กุมาโร อโหส,ิ ตทา โส ราชา สกปตุ ตฺ ํ โจรปปาเต ขิปาเปส,ิ ยโต
กโุ ตจ ิ ปิตาว ปตุ ฺตาน ํ อธกิ ตโร โหติ วสิ ฏิ ฺโ ติ, ตตฺถปิ ตาว เทวทตโฺ ตเยว อธกิ ตโร ฯ
ยังมอี ีกเรื่องหน่ึง ในกาลทพ่ี ระเทวทตั ได้เกิดเปน็ พระราชา พระนามวา่ พรหมทตั พระ
โพธสิ ตั ว์ได้เกิดเป็นพระโอรสของพระราชาพระองค์นน้ั ทรงพระนามว่ามหาปทมุ กุมาร ในกาล
นน้ั พระราชาพระองค์น้นั ไดร้ บั สงั่ ใหท้ ้งิ พระโอรสของพระองคเ์ องใหต้ กไปในหุบเหวทงิ้ โจร ผู้
เปน็ บิดาน่นั แหละ จดั วา่ เป็นผทู้ ีย่ ิง่ กวา่ วิเศษกวา่ บุตร โดยฐานะใดฐานะหนงึ่ แมใ้ นชาตนิ น้ั
พระเทวทตั นั่นแหละ จัดวา่ เป็นผ้ทู ี่ยงิ่ กว่า
‘‘ปุน จปรํ ยทา เทวทตโฺ ต มหาปตาโป นาม ราชา อโหส,ิ ตทา โพธิสตโฺ ต ตสฺส
ปตุ โฺ ต ธมฺมปาโล นาม กมุ าโร อโหสิ, ตทา โส ราชา สกปุตตฺ สฺส หตฺถปาเท สีส ฺจ
เฉทาเปส,ิ ตตถฺ ป ิ ตาว เทวทตฺโตเยว อุตตฺ โร อธกิ ตโร ฯ
ยังมอี ีกเรอ่ื งหนงึ่ ในกาลทพ่ี ระเทวทัตเกิดเป็นพระราชา พระนามวา่ มหาปตาปะ พระ
โพธิสตั ว์ไดเ้ กดิ เป็นพระโอรสของพระราชาพระองคน์ ัน้ ทรงพระนามวา่ ธมั มปาลกมุ าร ในกาล
นั้น พระราชาพระองคน์ ้ัน รับส่ังให้ตดั พระหตั ถ์ พระบาท และพระเศียรของพระโอรสของ
พระองค์ แมใ้ นชาตินั้น พระเทวทัตนัน่ แหละ จดั วา่ เปน็ ผทู้ ่สี งู สง่ กว่า ยิง่ กว่า
อชเฺ ชตรห ิ อุโภป ิ สกยฺ กุเล ชายสึ ุ ฯ โพธิสตฺโต พทุ ฺโธ อโหสิ สพฺพ ฺ ู
โลกนายโก, เทวทตฺโต ตสสฺ เทวาติเทวสสฺ สาสเน ปพพฺ ชติ ฺวา อทิ ฺธ ึ นพิ ฺพตฺเตตฺวา
พุทธฺ าลยํ อกาสิ ฯ กินฺนุ โข ภนเฺ ต นาคเสน ย ํ มยา ภณติ ,ํ ตํ สพพฺ ํ ตถ ํ อทุ าห ุ
วติ ถนฺ”ติ ?
มาในชาติปจั จุบันทกุ วันน้ี บคุ คลท้งั ๒ ต่างไดเ้ กิดในศากยตระกูล พระโพธสิ ตั ว์ได้
ส�ำเร็จเปน็ พระสพั พญั ญพู ุทธเจา้ ผู้น�ำสัตวโ์ ลก พระเทวทัตไดบ้ วชในพระศาสนาของ
พระพทุ ธเจา้ ผ้ทู รงเปน็ เทพยงิ่ กวา่ เทพพระองค์น้ัน ท�ำฤทธ์ใิ ห้บงั เกิดแล้ว ได้ท�ำตนดุจเป็น

กัณฑ]์ ๔.๔ สพั พัญญตุ ญาณวรรค 31

พระพทุ ธเจา้ พระคณุ เจ้านาคเสน ค�ำทโี่ ยมกล่าวมาทง้ั หมดนน้ั จริงหรอื ว่าไมจ่ รงิ เล่า”
‘‘ยํ ตฺวํ มหาราช พหุวธิ ํ การณ ํ โอสาเรส,ิ สพฺพํ ต ํ ตเถว, โน อ ฺ ถา’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร เหตุการณ์ทีพ่ ระองคต์ รสั มา
มากมายหลายเรอื่ ง ลว้ นจริงทกุ เร่อื งทั้งน้ัน ไมใ่ ช่ไมจ่ รงิ ”
‘‘ยทิ ภนเฺ ต นาคเสน กณโฺ หป ิ สุกโฺ กป ิ สมสมคตกิ า โหนตฺ ิ, เตนหิ กสุ ลมปฺ ิ
อกุสลมฺป ิ สมสมวปิ ากํ โหต’ี ’ติ ?
พระเจ้ามิลนิ ท์ตรัสว่า “พระคณุ เจา้ นาคเสน ถ้าหากว่า ท้ังคนท่ีเอาแตด่ �ำ ทง้ั คนท่ีเอาแต่
ขาว ล้วนเปน็ ผู้มีคตเิ สมอเหมือนกันไซร้ ถา้ อย่างน้ัน ทั้งกุศลและอกศุ ล ก็ยอ่ มลว้ นเปน็
ธรรมชาตทิ ม่ี วี ิบากเสมอเหมอื นกัน”
‘‘น ห ิ มหาราช กสุ ลมปฺ ิ อกุสลมฺปิ สมสมวปิ าก ํ โหต,ิ น ห ิ มหาราช เทวทตโฺ ต
สพพฺ ชเนหิ ปฏิวริ ทุ โฺ ธ, โพธสิ ตฺเตเนว ปฏิวริ ทุ โฺ ธ ฯ โย ตสสฺ โพธสิ ตเฺ ตน ปฏวิ ิรุทฺโธ, โส
ตสฺมึ ตสมฺ เึ ยว ภเว ปจจฺ ติ ผลํ เทติ ฯ เทวทตฺโตป ิ มหาราช, อิสฺสริเย ิโต ชนปเทส ุ
อารกขฺ ํ เทติ, เสตํุ สตํ ป ุ ฺ สาล ํ กาเรต,ิ สมณพฺราหฺมณานํ กปณทฺธกิ วณพิ ฺพกาน ํ
นาถานาถานํ ยถาปณหิ ติ ํ ทาน ํ เทติ ฯ ตสสฺ โส วิปาเกน ภเว ภเว สมฺปตฺติโย
ปฏลิ ภติ ฯ กสฺเสต ํ มหาราช สกฺกา วตตฺ ุ ํ วนิ า ทาเนน ทเมน สยํ เมน อโุ ปสถกมเฺ มน
สมฺปตฺต ึ อนภุ วสิ ฺสตตี ิ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร ท้งั กศุ ลและอกศุ ล จะเป็น
ธรรมชาตทิ ี่มวี ิบากเสมอเหมือนกนั หามิได้ ขอถวายพระพร พระเทวทตั จะเป็นผูป้ ระพฤติผดิ
ตอ่ ชนทั้งหลายทุกคนไปก็หาไม่ เปน็ ผู้ประพฤติผดิ เฉพาะพระโพธิสตั ว์เทา่ นั้น บุคคลใด เป็นผู้
ประพฤติผดิ ต่อพระโพธสิ ัตว์ ผนู้ ้ันก็จะหมกไหม้อยู่ในภพน้ัน ๆ เทา่ นนั้ บาปยอ่ มใหผ้ ล ขอ
ถวายพระพร แม้พระเทวทัต พอได้ด�ำรงอยใู่ นอสิ สริยยศแล้ว กใ็ ห้การคุ้มครองรกั ษาชนใน
ทอ้ งที่ ใหส้ ร้างสะพาน ศาลาท�ำบญุ ต้งั ๑๐๐ แห่ง ใหท้ านเท่าที่เขาตอ้ งการแกพ่ วกสมณะ และ
พราหมณท์ ง้ั หลาย แกค่ นก�ำพรา้ คนเดินทางไกล วณิพกทัง้ หลาย แกค่ นท่ที ้งั มีทพ่ี ึง่ ทั้งไร้ที่
พึ่งทงั้ หลาย พระเทวทัตน้นั จงึ ได้รบั สมบัตทิ ัง้ หลายในแตล่ ะภพ เพราะวบิ ากของกุศลนน้ั ขอ
ถวายพระพร ใคร ๆ อาจจะกล่าวได้หรอื ว่า บคุ คลแม้เว้นจากทาน จากศีลเครอ่ื งฝกึ ตน จาก
ธรรมเครื่องส�ำรวม จากอุโบสถกรรม ก็จกั เสวยสมบตั ินี้ได้ ?

32 มิลนิ ทปัญหาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปญั ห

‘‘ยํ ปน ตวฺ ํ มหาราช เอวํ วเทสิ ‘เทวทตโฺ ต จ โพธิสตฺโต จ เอกโต
อนปุ รวิ ตตฺ นตฺ ี’ติ, โส น ชาตสิ ตสสฺ อจจฺ เยน สมาคโม อโหส,ิ น ชาตสิ หสสฺ สสฺ อจฺจเยน,
น ชาตสิ ตสหสสฺ สฺส อจฺจเยน, กทาจิ กรหจ ิ พหนู ํ อโหรตฺตานํ อจจฺ เยน สมาคโม
อโหสิ ฯ ย ํ ปเนตํ มหาราช ภควตา กาณกจฺฉโปปมํ อปุ ทสสฺ ิตํ มนสุ สฺ ตตฺ ปฺปฏลิ าภาย,
ตถปู มํ มหาราช อิเมสํ สมาคม ํ ธาเรหิ ฯ
ขอถวายพระพร ขอ้ ที่พระองค์ตรสั อย่างน้วี า่ พระเทวทัตและพระโพธสิ ัตว์ คอยเวยี น
มาพบกนั เปน็ ประจ�ำ ดงั น้ี พระเทวทตั และพระโพธิสตั วน์ ้ัน เวลาลว่ งไปแล้ว ๑๐๐ ชาติ กย็ งั ไม่
ได้พบกัน เวลาล่วงไป ๑,๐๐๐ ชาติ ก็ยังไมไ่ ด้พบกนั ล่วงไปแลว้ แสนชาติ กย็ งั ไมไ่ ดพ้ บกัน
เวลาล่วงไปหลายวันหลายคืนหนักหนา จงึ จะไดพ้ บกันสกั ครัง้ หน่ึง สกั ภพหนงึ่ ขอถวาย
พระพร อปุ มาเรอื่ งเตา่ ตาบอด ท่ีเปรยี บเหมือนการไดค้ วามเป็นมนษุ ย์ ท่ีพระผู้มพี ระภาคเจ้า
อ้างไวน้ ี้ ขอจงใชเ้ ปน็ อุปมา เปรียบเทียบการไดพ้ บเจอกนั แหง่ บคุ คลท้ัง ๒ นเี้ ถดิ
‘‘น มหาราช โพธสิ ตตฺ สสฺ เทวทตฺเตเนว สทฺธึ สมาคโม อโหส,ิ เถโรปิ มหาราช
สาริปุตโฺ ต อเนเกส ุ ชาตสิ ตสหสเฺ สสุ โพธิสตตฺ สสฺ ปติ า อโหสิ, มหาปิตา อโหส,ิ จูฬปติ า
อโหส,ิ ภาตา อโหสิ, ปุตฺโต อโหสิ, ภาคเิ นยโฺ ย อโหส,ิ มิตโฺ ต อโหสิ ฯ
ขอถวายพระพร พระโพธสิ ัตว์หาไดม้ กี ารพบเจอกับพระเทวทัตเท่านัน้ ไม่ ขอถวาย
พระพร แม้พระสารีบุตรเถระ ในเวลาท่ีล่วงไปแล้วหลายแสนชาติ ไดเ้ กิดเปน็ บิดา ไดเ้ กดิ เป็นปู่
ได้เกิดเป็นอา ได้เกิดเปน็ พ่นี ้องชาย ไดเ้ กิดเป็นบุตร ได้เกดิ เปน็ หลาน ได้เกดิ เป็นมิตร ของ
พระโพธิสตั ว์มาแล้ว
‘‘โพธิสตฺโตปิ มหาราช อเนเกสุ ชาติสตสหสฺเสส ุ เถรสฺส สารปิ ุตตฺ สสฺ ปิตา อโหสิ,
มหาปิตา อโหสิ, จูฬปิตา อโหส,ิ ภาตา อโหส,ิ ปตุ โฺ ต อโหสิ, ภาคิเนยโฺ ย อโหส,ิ มติ โฺ ต
อโหสิ, สพฺเพปิ มหาราช สตฺตนกิ ายปรยิ าปนนฺ า สํสารโสตมนุคตา สสํ ารโสเตน วุยฺหนตฺ า
อปฺปิเยหิป ิ ปเิ ยหปิ ิ สมาคจฉฺ นฺติ ฯ ยถา มหาราช อุทก ํ โสเตน วุยหฺ มานํ สจุ ิอสุจกิ ลยฺ าณ-
ปาปเกน สมาคจฺฉต,ิ เอวเมว โข มหาราช สพฺเพปิ สตตฺ นิกายปรยิ าปนนฺ า สสํ ารโสต-
มนุคตา สสํ ารโสเตน วยุ ฺหนตฺ า อปฺปิเยหปิ ิ ปิเยหิปิ สมาคจฉฺ นตฺ ิ ฯ เทวทตโฺ ต มหาราช
ยกฺโข สมาโน อตฺตนา อธมโฺ ม ปเร อธมเฺ ม นโิ ยเชตฺวา สตตฺ ป ฺ าสวสสฺ โกฏโิ ย สฏ ฺ ิ จ
วสสฺ สตสหสสฺ าน ิ มหานริ เย ปจจฺ ิ, โพธิสตฺโตปิ มหาราช ยกฺโข สมาโน อตตฺ นา ธมฺโม
ปเร ธมเฺ ม นิโยเชตวฺ า สตฺตป ฺ าสวสสฺ โกฏิโย สฏฺ ิ จ วสสฺ สตสหสฺสาน ิ สคเฺ ค โมท ิ

กณั ฑ]์ ๔.๔ สัพพัญญตุ ญาณวรรค 33

สพฺพกามสมงฺค,ี
ขอถวายพระพรมหาบพิตร แมพ้ ระโพธสิ ัตว์ ในเวลาทล่ี ่วงไปแลว้ หลายแสนชาติ ได้
เกดิ เปน็ บดิ า ไดเ้ กิดเปน็ ปู่ ไดเ้ กดิ เป็นอา ได้เกดิ เปน็ พี่นอ้ งชาย ได้เกิดเป็นบุตร ไดเ้ กิดเปน็
หลาน ได้เกิดเป็นมติ ร ของพระสารบี ุตรมาแล้ว ขอถวายพระพร ผู้นบั เนอ่ื งในสัตตนิกายแม้ทกุ
ผู้ ไหลไปตามกระแสสังสารวฏั ถกู กระแสสงั สารวฏั พัดพาไปอยู่ ก็ยอ่ มประจวบกับสงิ่ ท่ีเกลยี ด
บ้าง กับสิ่งท่รี ักบ้าง ขอถวายพระพร เปรียบเหมอื นว่า นำ้� ที่กระแสพัดพาบ่าไป ยอ่ มไหลไป
ประจวบกบั ของสะอาดบ้าง สกปรกบา้ ง ดีบ้าง เลวบา้ ง ฉันใด ขอถวายพระพร ผนู้ บั เน่ืองใน
สัตตนกิ ายทุกผู้ ไหลไปตามกระแสสงั สารวฏั ถกู กระแสสังสารวฏั พดั พาไปอยู่ ก็ย่อมประจวบ
กับสงิ่ ท่ีนา่ เกลียดบ้าง สง่ิ ทร่ี ักบา้ ง ฉนั นัน้ เหมอื นกนั ขอถวายพระพร พระเทวทตั คราวเป็น
ยักษ์ ตนเองไมต่ ัง้ อยใู่ นธรรม ชกั ชวนผู้อืน่ ไมใ่ ห้ตั้งอย่ใู นธรรม จงึ หมกไหม้อยู่ในมหานรก
ตลอด ๕๗ โกฏิ ๖ ลา้ นปี ขอถวายพระพร แม้พระโพธสิ ัตวค์ ราวเกิดเปน็ ยักษ์ ตนเองต้ังอยู่ใน
ธรรม แล้วก็ยังชกั ชวนผู้อืน่ ใหต้ ัง้ อย่ใู นธรรมดว้ ย จงึ บันเทงิ อยู่ในสวรรค์ พรง่ั พร้อมด้วยสิง่ ท่ีน่า
ใคร่ทุกอยา่ งตลอด ๕๗ โกฏิ ๖ ลา้ นปี

อปิจ มหาราช เทวทตโฺ ต อิมสฺมึ ภเว พทุ ธฺ ํ อนาสาทนียมาสาทยติ วฺ า สมคฺค จฺ
สฆํ ํ ภินทฺ ิตฺวา ปถวึ ปาวสิ ,ิ ตถาคโต พุชฺฌิตวฺ า สพพฺ ธมฺเม ปรนิ ิพพฺ โุ ต อุปธสิ งฺขเย’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร อีกอย่างหนงึ่ ในภพน้ี พระเทวทัตไม่เล่ือมใสพระพุทธเจ้าผู้นา่ เลือ่ มใส
ท้ังยังได้ยุยงสงฆใ์ ห้แตกความสามคั คี จึงจมลงไปในแผน่ ดนิ (ถกู แผน่ ดนิ สูบ) ส่วนพระตถาคต
ตรสั รธู้ รรมทั้งปวงแลว้ กเ็ ปน็ ผู้ดบั กิเลสท้งั หลายได้ ท�ำอปุ ธิให้สิ้นไปได้”

‘‘สาธ ุ ภนฺเต นาคเสน เอวเมตํ ตถา สมฺปฏจิ ฺฉาม’ี ’ติ ฯ
พระเจ้ามิลนิ ทต์ รัสว่า “ดจี รงิ พระคุณเจ้านาคเสน โยมขอยอมรบั ค�ำตามที่ท่านกล่าวมา
แลว้ ฉะน้”ี

กุสลากุสลสมวิสมปญโฺ ห สตตฺ โม ฯ
จบกสุ ลากุสลสมวสิ มปญั หาข้อท่ี ๗

________


Click to View FlipBook Version