The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

มิลินทปัญหาปกรณ์แปล เล่ม ๒ ถาม-ตอบปัญหาในพระไตรปิฎก

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ืทีมงานกรุธรรม, 2022-03-09 22:17:47

มิลินทปัญหาปกรณ์แปล เล่ม ๒ ถาม-ตอบปัญหาในพระไตรปิฎก

มิลินทปัญหาปกรณ์แปล เล่ม ๒ ถาม-ตอบปัญหาในพระไตรปิฎก

Keywords: มิลินทปัญหาปกรณ์แปล เล่ม ๒ ถาม-ตอบปัญหาในพระไตรปิฎก

384 มิลนิ ทปญั หาปกรณ์แปล [๖.โอปมั มกถาปัญห

‘‘ปนุ จปรํ มหาราช มหาสมทุ ฺโท นวสลลิ สมฺปณุ ฺณาห ิ คงคฺ ายมนุ าอจริ วตสี รภมู หี-
อาทหี ิ นทสี ตสหสเฺ สห ิ อนฺตลกิ ฺเข สลลิ ธาราห ิ จ ปูรโิ ตปิ สกํ เวลํ นาติวตตฺ ติ ฯ เอวเมว
โข มหาราช โยคินา โยคาวจเรน ลาภสกฺการสิโลกวนทฺ นมานนปชู นการณา ชวี ิตเหตปุ ิ
ส ฺจจิ ฺจ สกิ ฺขาปทวีตกิ กฺ โม น กรณโี ย ฯ อทิ ํ มหาราช มหาสมทุ ฺทสสฺ จตุตฺถํ องฺคํ
คเหตพฺพํ ฯ
ขอถวายพระพร ยงั มีอีกองค์หน่งึ มหาสมุทร แมว้ ่าเต็มเปย่ี มด้วยน�ำ้ จากแมน่ ำ�้ สกั แสน
สาย มีแมน่ ้ำ� อจิรวดี สรภู มหี เปน็ ตน้ ซึง่ เต็มดว้ ยน�้ำใหม่ ๆ และดว้ ยธารนำ้� จากอากาศ กไ็ ม่
เอ่อจนลน้ ฝงั่ ของตน ฉนั ใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผบู้ �ำเพ็ญเพยี ร กไ็ ม่พงึ จงใจกระท�ำ
การก้าวล่วงสกิ ขาบท เพราะเหตุคือลาภ สกั การะ ชือ่ เสียง การกราบไหว้ การนบั ถือ การบูชา
แมเ้ พราะเหตุแหง่ ชีวติ ฉนั น้ันเหมอื นกัน นีค้ ือองคท์ ่ี ๔ แห่งมหาสมุทร ท่ีพึงถือเอา
ภาสติ มเฺ ปตํ มหาราช ภควตา เทวาติเทเวน –
‘เสยฺยถาป ิ มหาราช มหาสมุทโฺ ท ติ ธมฺโม เวลํ นาติกฺกมติ, เอวเมว โข มหาราช
ยํ มยา สาวกาน ํ สิกขฺ าปทํ ป ฺ ตฺต,ํ ต ํ มม สาวกา ชีวติ เหตปุ ิ นาตกิ กฺ มนตฺ ’ี ติ ฯ
ขอถวายพระพร พระผู้มีพระภาคเจา้ ผ้ทู รงเปน็ เทพยงิ่ กว่าเหล่าเทพ ทรงภาษติ ความ
ข้อน้ีไว้ว่า “มหาบพติ ร สาวกทงั้ หลายของเรา ย่อมไมล่ ะเมดิ สกิ ขาบททเี่ ราบญั ญตั ไิ ว้ แม้เพราะ
เหตแุ หง่ ชีวิต เหมือนมหาสมทุ รทม่ี ปี กติคงท่ี ไม่ลน้ ฝ่งั ”
‘‘ปุน จปรํ มหาราช มหาสมทุ โฺ ท สพฺพสวนฺตีห ิ คงฺคายมนุ าอจิรวตีสรภมู หหี ิ
อนตฺ ลิกเฺ ข อทุ กธาราหปิ ิ น ปริปรู ติ ฯ เอวเมว โข มหาราช โยคินา โยคาวจเรน อุทเฺ ทส-
ปริปุจฺฉาสวนธารณวินิจฺฉยอภิธมฺมวินยคาฬฺหสุตฺตนฺตวิคฺคหปทนิกฺเขปปทสนฺธิปทวิภตฺติ-
นวงคฺ ชินสาสนวร ํ สุณนเฺ ตนาปิ น ตปฺปิตพพฺ ํ ฯ อทิ ํ มหาราช มหาสมทุ ทฺ สสฺ ป จฺ มํ องคฺ ํ
คเหตพพฺ ํ ฯ
ขอถวายพระพร ยังมอี กี องค์หนงึ่ มหาสมุทร ไม่ร้จู ักเตม็ เปี่ยมด้วยน�ำ้ จากแม่น้ำ� คงคา
ยมนุ า อจริ วดี สรภู มหี เป็นต้น ทไ่ี หลมาบรรจบกนั ท้งั สิน้ แม้จากธารนำ้� ในอากาศ ฉันใด ขอ
ถวายพระพร พระโยคาวจรผ้บู �ำเพ็ญเพียร แมส้ ดับตรับฟงั พระนวงั คศาสน์อนั ประเสริฐของ
พระชินวรพุทธเจ้า อันมีอเุ ทส (พระบาล)ี ปริปุจฉา (ค�ำอธบิ ายพระบาล)ี สวนะ (การฟงั )
ธารณะ (การทรงจ�ำ) วนิ จิ ฉยั อนั มีวิคคหบท นิกเขปบท สนธิบท และวภิ ตั ติ ท่ีพึงถือเอาในพระ
อภธิ รรม พระวินยั และพระสูตร ก็ไม่รูจ้ ักอ่มิ หน�ำ ฉันนัน้ เหมอื นกนั น้คี อื องค์ที่ ๕ แห่ง

กัณฑ์] ๖.๒ สมุททวรรค 385

มหาสมทุ ร ท่พี ึงถอื เอา

ภาสิตมเฺ ปต ํ มหาราช ภควตา เทวาติเทเวน สตุ โสมชาตเก –
‘‘อคคฺ ิ ยถา ตณิ กฏ ฺ ํ ทหนโฺ ต
น ตปปฺ ติ สาคโร วา นทีหิ
เอวมฺป ิ เจ ปณฑฺ ติ า ราชเสฏ ฺ
สตุ วฺ า น ตปฺปนฺติ สภุ าสิเตนา’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร พระผู้มพี ระภาคเจา้ ผทู้ รงเปน็ เทพยง่ิ กวา่ เหล่าเทพ ทรงภาษติ ความ
ขอ้ นีไ้ วว้ า่
“ขา้ แต่พระราชาผปู้ ระเสริฐ ไฟไหมห้ ญา้ และไม้ ย่อมไมอ่ ่ิม
สาคร ก็ไมอ่ ม่ิ ด้วยแม่น้ำ� ท้งั หลาย ฉนั ใด แม้บณั ฑิตเหลา่ น้ัน
ฟงั แล้ว กไ็ มอ่ มิ่ ด้วยสุภาษิต ฉนั นน้ั เหมือนกนั ”

สมุทฺทงคฺ ปญโฺ ห ทสโม ฯ
จบสมุททงั คปญั หาข้อท่ี ๑๐

สมุทฺทวคโฺ ค ทตุ โิ ย ฯ
จบสมุททวรรคที่ ๒

ตสสฺ ุททฺ าน ํ – พีช ํ สาลกลยฺ าณิกา
ลาพลุ ตา จ ปทมุ ,ํ
นาวา จ นาวาลคคฺ นํ กูโป นยิ ามโก ตถา
กมมฺ กาโร สมทุ โฺ ท จ วคฺโค เตน ปวจุ จฺ ตตี ิ ฯ
รวมสูตรท่มี าในวรรคน้ ี คอื
๑. ลาพุลตาสตู ร ๒. ปทมุ สตู ร
๓. พชี สตู ร ๔. สาลกัลยาณกิ าสูตร
๕. นาวาสูตร ๖. นาวาลคั คนสูตร
๗. กูปสูตร ๘. นิยามกสูตร
๙. กัมมการสูตร ๑๐. สมทุ ทสูตร
________

386 มิลินทปัญหาปกรณแ์ ปล [๖.โอปัมมกถาปญั ห

๖.๓ ปถวีวคฺค
๖.๓ ปถววี รรค หมวดวา่ ดว้ ยดิน

๑. ปถวอี งฺคปญฺห
๑. ปถวีอังคปญั หา
ปัญหาว่าด้วยองค์แหง่ ดนิ
[๑] ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน ‘ปถวยิ า ป ฺจ องฺคานิ คเหตพพฺ านี’ต ิ ย ํ วเทส,ิ กตมานิ
ตาน ิ ป จฺ องฺคานิ คเหตพฺพานี’’ติ ?
[๑] พระเจ้ามิลินท์ตรัสว่า “พระคุณเจา้ นาคเสน ทา่ นกลา่ วว่า ‘พงึ ถอื เอาองค์ ๕ แหง่
ดนิ ’ องค์ ๕ ท่พี ึงถอื เอาน้นั เปน็ ไฉน ?”

‘‘ยถา มหาราช ปถวี อิฏ ฺ านฏิ ฺ านิ กปฺปูราครตุ ครจนทฺ นกงุ ฺกุมาทีนิ อากิรนฺเตป ิ
ปติ ตฺ เสมฺหปพุ พฺ รุหิรเสทเมทเขฬสงิ ฆฺ าณกิ ลสิกมุตตฺ กรีสาทีน ิ อากริ นเฺ ตป ิ ตาทิสาเยว,
เอวเมว โข มหาราช โยคินา โยคาวจเรน อิฏ ฺ านิฏเฺ ลาภาลาเภ ยสายเส นินฺทาปสสํ าย
สขุ ทกุ เฺ ข สพพฺ ตถฺ ตาทนิ าเยว ภวิตพฺพํ ฯ อิท ํ มหาราช ปถวิยา ป มํ องคฺ ํ คเหตพพฺ ํ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร เมื่อบคุ คลแม้เกล่ยี ส่ิงทีน่ า่
ปรารถนา มกี ารบูร กฤษณาสามัญ กฤษณาหอม จันทนห์ อม หญ้าฝรน่ั เปน็ ต้น ลงไป แม้เกล่ยี
สิ่งท่ีไมน่ ่าปรารถนา มี ดี เสมหะ นำ�้ หนอง โลหติ เหง่ือ มันข้น นำ�้ ลาย นำ�้ มูก ไขข้อ น้�ำปสั สาวะ
อุจจาระ เป็นต้น ลงไปดนิ (พนื้ แผ่นดิน) กเ็ ป็นเช่นเดียวกนั นั้นนัน่ แหละ ฉันใด ขอถวายพระพร
พระโยคาวจรผ้บู �ำเพ็ญเพียร กพ็ ึงเปน็ ผู้คงท่นี ั่นแหละ ในสงิ่ ท่ีนา่ ปรารถนาและไม่นา่ ปรารถนา
คอื ในลาภและเสื่อมลาภ ในยศและเสื่อมยศ ในนนิ ทาและสรรเสริญ ในสุขและทุกข์ ทุกอย่าง
ฉนั น้ันเหมอื นกัน นี้คือองคท์ ี่ ๑ แหง่ ดนิ ทพี่ ึงถือเอา

‘‘ปนุ จปร ํ มหาราช ปถวี มณฑฺ นวภิ สู นาปคตา สกคนฺธปริภาวิตา, เอวเมว โข
มหาราช โยคนิ า โยคาวจเรน วภิ ูสนาปคเตน สกสลี คนธฺ ปรภิ าวเิ ตน ภวิตพฺพํ ฯ อิทํ
มหาราช ปถวิยา ทุติยํ องคฺ ํ คเหตพพฺ ํ ฯ
ขอถวายพระพร ยังมีอกี องค์หน่งึ ดิน ปราศจากเคร่อื งประดับ เครื่องตกแตง่ กอ็ บอวล
ด้วยกล่ินของตน ฉันใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผบู้ �ำเพ็ญเพยี ร ผปู้ ราศจากเครือ่ ง
ประดับ ก็พึงเป็นผู้อบอวลด้วยกลน่ิ ศลี ของตน ฉันน้นั เหมือนกัน นค้ี อื องค์ที่ ๒ แห่งดิน ทพี่ ึง

กัณฑ]์ ๖.๓ ปถววี รรค 387

ถือเอา
‘‘ปุน จปร ํ มหาราช ปถวี นริ นฺตรา อขณฑฺ จฉฺ ทิ ทฺ า อสสุ ิรา พหลา ฆนา วติ ฺถิณณฺ า,
เอวเมว โข มหาราช โยคินา โยคาวจเรน นริ นตฺ รมขณฑฺ จฉฺ ิททฺ มสุสิรพหลฆนวติ ฺถิณณฺ -
สีเลน ภวติ พฺพํ ฯ อิทํ มหาราช ปถวยิ า ตตยิ ํ องฺค ํ คเหตพฺพํ ฯ
ขอถวายพระพร ยงั มีอีกองคห์ นง่ึ ดนิ ไมม่ ีระหวา่ ง ไมข่ าดตอน ไมเ่ ป็นโพรง หนาทึบ
แผไ่ ปกว้างขวาง ฉันใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผบู้ �ำเพ็ญเพยี ร ก็พึงเปน็ ผูม้ ีศลี ทไี่ ม่มี
ระหวา่ ง ไมข่ าดตอน ไม่ทะลุ ไม่เป็นโพรง หนาทึบ แผไ่ ปกวา้ งขวาง ฉันนั้นเหมือนกัน น้ีคอื
องค์ท่ี ๓ แหง่ ดิน ท่พี ึงถือเอา
‘‘ปนุ จปรํ มหาราช ปถวี คามนคิ มนครชนปทรกุ ขฺ ปพฺพตนทีตฬากโปกฺขรณีมคิ -
ปกฺขิมนชุ นรนารคิ ณํ ธาเรนตฺ ปี ิ อกลิ าสุ โหต,ิ เอวเมว โข มหาราช โยคนิ า โยคาวจเรน
โอวทนฺเตนป ิ อนุสาสนเฺ ตนป ิ ว ิ ฺ าเปนฺเตนปิ สนทฺ สเฺ สนฺเตนปิ สมาทเปนเฺ ตนป ิ
สมตุ ฺเตเชนเฺ ตนป ิ สมปฺ หเํ สนฺเตนปิ ธมมฺ เทสนาส ุ อกิลาสุนา ภวติ พพฺ ํ ฯ อิทํ มหาราช
ปถวิยา จตตุ ฺถ ํ องฺคํ คเหตพพฺ ํ ฯ
ขอถวายพระพร ยังมีอีกองค์หน่ึง ดิน แมร้ องรับหมบู่ ้าน นคิ ม เมือง ชนบท ตน้ ไม้
ภเู ขา แม่น�ำ้ ตระพังน�้ำ สระโบกขรณี หม่เู นอ้ื นก มนุษยช์ ายหญิงไว้ ก็หาความเหนือ่ ยล้ามิได้
ฉันใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผบู้ �ำเพญ็ เพยี ร แมโ้ อวาท แมอ้ นุศาสน์ แมบ้ อกใหร้ ู้ แมช้ ้ี
ให้เหน็ แม้ให้สมาทาน แม้ท�ำใหอ้ าจหาญ แม้ท�ำให้บันเทงิ กพ็ งึ เป็นผ้หู าความเหน่ือยลา้ ใน
ธรรมเทศนาทงั้ หลายมิได้ ฉันนน้ั เหมอื นกนั น้ีคอื องค์ท่ี ๔ แห่งดิน ทพ่ี งึ ถอื เอา
‘‘ปนุ จปรํ มหาราช ปถวี อนุนยปฺปฏฆิ วปิ ฺปมุตตฺ า, เอวเมว โข มหาราช โยคินา
โยคาวจเรน อนุนยปฺปฏฆิ วปิ ปฺ มตุ ฺเตน ปถวสิ เมน เจตสา วหิ รติ พฺพํ ฯ อิท ํ มหาราช
ปถวยิ า ป ฺจม ํ องฺคํ คเหตพฺพํ ฯ
ขอถวายพระพร ยังมอี กี องค์หน่ึง ดนิ พ้นแล้วจากความยินดี ยนิ รา้ ย ฉนั ใด ขอถวาย
พระพร พระโยคาวจรผบู้ �ำเพญ็ เพียร ก็พึงเป็นผพู้ น้ แล้วจากความยินดี และความยนิ รา้ ย มีใจ
เสมอด้วยแผน่ ดิน ฉันนั้นเหมอื นกัน นคี้ ือองคท์ ่ี ๕ แห่งดนิ ทพี่ ึงถอื เอา

388 มิลินทปัญหาปกรณแ์ ปล [๖.โอปัมมกถาปัญห

ภาสติ มฺเปตํ มหาราช อุปาสิกาย จฬู สภุ ทฺทาย สกสมเณ ปรกิ ติ ฺตยมานาย –
‘‘เอก เฺ จ พาหํ วาสิยา ตจฺเฉ กปุ ติ มานสา
เอก เฺ จพาหํ คนฺเธน อาลมิ ฺเปยฺย ปโมทิตา ฯ
‘‘อมุสมฺ ึ ปฏิโฆ นตถฺ ิ ราโค อสมฺ ึ น วชิ ชฺ ติ
ปถวสี มจิตฺตา เต ตาทสิ า สมณา มมา’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร นางจูฬสภุ ัททาอุบาสิกา ผู้เม่ือยกย่องสมณะทัง้ หลาย ไดภ้ าษิตความ
ข้อน้ีไวว้ ่า
“ถ้าหากผู้ทม่ี ีจิตโกรธเคือง จะพึงใช้พรา้ ถากแขนข้างหน่ึง ถา้
หากผูท้ ่มี ีจติ บันเทงิ จะพึงใชข้ องหอมลบู ไล้แขนอีกข้างหนึ่ง
ท่านกจ็ ะไม่มคี วามขนุ่ เคอื งในบคุ คลโน้น ไมม่ คี วามยินดีใน
บคุ คลน้ี ท่านเหลา่ นนั้ มจี ติ เสมอด้วยแผน่ ดนิ สมณะท้ังหลาย
ของเรา ท่านเป็นบุคคลเช่นน้นั ”

ปถวอี งฺคปญโฺ ห ป€โม ฯ

จบปถวอี ังคปญั หาขอ้ ท่ี ๑

________

๒. อาปงคฺ ปญหฺ
๒. อาปงั คปัญหา
ปญั หาว่าด้วยองค์แห่งน�้ำ
[๒] ‘‘ภนฺเต นาคเสน ‘อาปสฺส ป ฺจ องฺคานิ คเหตพพฺ าน’ี ติ ยํ วเทสิ, กตมาน ิ
ตาน ิ ป จฺ องคฺ าน ิ คเหตพฺพาน’ี ’ติ ?
[๒] พระเจา้ มิลนิ ท์ตรัสวา่ “พระคณุ เจ้านาคเสน ท่านกลา่ วว่า ‘พงึ ถอื เอาองค์ ๕ แห่ง
น�้ำ’ องค์ ๕ ท่พี ึงถือเอานั้น เปน็ ไฉน ?”
‘‘ยถา มหาราช อาโป สุสณ ฺ ติ มกมฺปติ มลฬุ ิตสภาวปริสุทฺโธ, เอวเมว โข มหาราช
โยคินา โยคาวจเรน กหุ นลปนเนมิตตฺ กนปิ ฺเปสิกตํ อปเนตฺวา สุสณฺ ิตมกมปฺ ติ มลุฬติ สภาว
ปรสิ ทุ ธฺ าจาเรน ภวิตพฺพํ ฯ อิท ํ มหาราช อาปสสฺ ป มํ องฺค ํ คเหตพพฺ ํ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร น้ำ� ใสสะอาด เพราะสภาพทพ่ี อสงบนิ่ง

กณั ฑ์] ๖.๓ ปถวีวรรค 389

ดแี ล้ว ก็ไมก่ ระเพื่อม จึงไม่ข่นุ มวั ฉันใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผบู้ �ำเพ็ญเพียร ก็พึง
ขจดั ความหลอกลวง การพูดเลยี บเคยี ง ความเปน็ ผู้ท�ำนมิ ิต ความเป็นผ้พู ูดบีบบงั คบั แลว้ ก็
เป็นผู้มอี าจาระบริสุทธ์ิ เพราะสภาวะท่มี ีจิตสงบนิ่งดี ไม่หวั่นไหว ไมข่ ุ่นมัว ฉันนนั้ เหมือนกัน
น้คี ือองคท์ ่ี ๑ แหง่ นำ�้ ทีพ่ งึ ถอื เอา
‘‘ปนุ จปรํ มหาราช อาโป สีตลสภาวสณ ฺ โิ ต, เอวเมว โข มหาราช โยคนิ า
โยคาวจเรน สพฺพสตฺเตสุ ขนฺตเิ มตตฺ านทุ ฺทยสมฺปนเฺ นน หเิ ตสนิ า อนุกมปฺ เกน ภวิตพพฺ ํ ฯ
อิท ํ มหาราช อาปสฺส ทุติยํ องคฺ ํ คเหตพพฺ ํ ฯ
ขอถวายพระพร ยังมีอีกองคห์ นึง่ น�้ำ ทรงสภาพทเ่ี ยอื กเยน็ ไว้ ฉนั ใด ขอถวายพระพร
พระโยคาวจรผบู้ �ำเพ็ญเพียร ก็พึงเปน็ ผถู้ ึงพร้อมดว้ ยขันติ เมตตา ความเอือ้ เอน็ ดู เปน็ ผู้
แสวงหาประโยชน์ อนเุ คราะห์ในสรรพสัตว์ ฉันน้ันเหมอื นกนั นีค้ อื องค์ที่ ๒ แห่งน้ำ� ทพ่ี ึงถือ
เอา
‘‘ปนุ จปร ํ มหาราช อาโป อสจุ ึ สุจึ กโรต,ิ เอวเมว โข มหาราช โยคนิ า
โยคาวจเรน คาเม วา อร ฺเ วา อุปชฌฺ าเย อปุ ชฌฺ ายมตฺเตส ุ อาจรเิ ย อาจริยมตเฺ ตสุ
สพฺพตฺถ อนธิกรเณน ภวติ พพฺ ํ อนวเสสการินา ฯ อิท ํ มหาราช อาปสสฺ ตตยิ ํ องฺคํ
คเหตพฺพํ ฯ
ขอถวายพระพร ยังมอี ีกองค์หน่ึง นำ�้ ท�ำสิง่ ท่ีไม่สะอาด ใหส้ ะอาดได้ ฉนั ใด ขอถวาย
พระพร พระโยคาวจรผบู้ �ำเพ็ญเพียร ก็พงึ เปน็ ผมู้ ปี กตทิ �ำมิใหม้ ีเหลอื ด้วยความสงบ ในบคุ คล
ท้งั ปวง คือในพระอปุ ัชฌาย์ ในภกิ ษผุ ู้เทียบกันไดก้ ับพระอปุ ัชฌาย์ ในอาจารย์ ในภกิ ษผุ ้เู ทียบ
กันไดก้ บั อาจารย์ ในหม่บู ้านกด็ ี ในป่ากด็ ี ฉันน้ันเหมอื นกัน นีค้ ือองค์ท่ี ๓ แหง่ น�ำ้ ท่ีพงึ ถอื เอา
‘‘ปนุ จปรํ มหาราช อาโป พหุชนปตฺถิโต, เอวเมว โข มหาราช โยคินา
โยคาวจเรน อปฺปจิ ฉฺ สนฺตฏุ ฺ ปววิ ิตฺตปฏสิ ลลฺ าเนน สตต ํ สพพฺ โลกมภปิ ตถฺ ิเตน ภวิตพฺพํ ฯ
อิท ํ มหาราช อาปสฺส จตุตถฺ ํ องฺคํ คเหตพฺพํ ฯ
ขอถวายพระพร ยังมอี ีกองคห์ นึ่ง นำ�้ เป็นส่งิ ท่ชี นเปน็ อนั มากปรารถนา ฉนั ใด ขอ
ถวายพระพร พระโยคาวจรผู้บ�ำเพ็ญเพยี ร ก็พงึ เปน็ ผ้มู กั นอ้ ย สนั โดษ สงดั หลีกเรน้ ซ่ึงชาว
โลกทั้งปวงปรารถนายิ่งเปน็ ประจ�ำ ฉนั น้นั เหมือนกัน นค้ี ือองคท์ ี่ ๔ แหง่ น�้ำ ที่พึงถือเอา
‘‘ปนุ จปรํ มหาราช อาโป น กสฺสจิ อหติ มปุ ทหต,ิ เอวเมว โข มหาราช โยคนิ า
โยคาวจเรน ปรภณฺฑนกลหวิคฺคหวิวาทรติ ฺตชฌฺ านอรติชนนํ กายวจีจติ ฺเตห ิ ปาปกํ น กรณยี ํ
ฯ อทิ ํ มหาราช อาปสฺส ป ฺจม ํ องฺค ํ คเหตพพฺ ํ ฯ

390 มิลินทปญั หาปกรณแ์ ปล [๖.โอปัมมกถาปญั ห

ขอถวายพระพร ยงั มีอกี องค์หนง่ึ นำ้� ไมก่ อ่ ความหายนะแกใ่ คร ๆ ฉนั ใด ขอถวาย
พระพร พระโยคาวจรผ้บู �ำเพ็ญเพยี ร ก็ไมพ่ งึ ท�ำการโตต้ อบ การทะเลาะ การจบั ผิด การววิ าท
การเพ่งโทษ การไมช่ อบกนั กบั ผู้อื่นให้เกดิ ข้นึ ไมพ่ งึ กระท�ำบาปดว้ ยกาย วาจา และใจ ฉันน้นั
เหมือนกนั นีค้ อื องค์ที่ ๕ แหง่ น�้ำ ทพ่ี ึงถอื เอา
ภาสติ มฺเปต ํ มหาราช ภควตา เทวาติเทเวน กณฺหชาตเก –
‘‘วร เฺ จ เม อโท สกฺก สพฺพภูตานมสิ ฺสร
น มโน วา สรีร ํ วา มํกเต สกกฺ กสสฺ จิ
กทาจิ อุปห เฺ ถ เอตํ สกกฺ วรํ วเร’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร พระผูม้ พี ระภาคเจ้า ผทู้ รงเปน็ เทพยงิ่ กว่าเหลา่ เทพ ได้ทรงภาษิต
ความข้อน้ไี ว้ในกณั หชาดกวา่
“ขา้ แต่ท่านท้าวสักกะ ผู้เป็นใหญ่กว่าเทวดาทงั้ ปวง หาก
พระองคจ์ ะประทานพรแกอ่ าตมา ใจก็ตาม กายกต็ าม ขออย่า
ไดเ้ ข้าไปกระทบกระท่ังใคร ๆ ในกาลไหน ๆ เพราะการกระท�ำ
ของอาตมาเลย อาตมาปรารถนาพรน่ัน” ดังน้ี

อาปงคฺ ปญโฺ ห ทุตโิ ย ฯ

จบอาปังคปญั หาขอ้ ที่ ๒

________

๓. เตชงฺคปญหฺ
๓. เตชงั คปัญหา
ปัญหาวา่ ดว้ ยองคแ์ ห่งไฟ
[๓] ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน ‘เตชสฺส ป จฺ องคฺ าน ิ คเหตพฺพาน’ี ต ิ ยํ วเทส,ิ กตมาน ิ
ตานิ ป จฺ องคฺ าน ิ คเหตพพฺ าน’ี ’ติ ?
[๓] พระเจ้ามลิ ินท์ตรสั ว่า “พระคุณเจ้านาคเสน ท่านกลา่ วว่า ‘พึงถือเอาองค์ ๕ แห่ง
ไฟ’ องค์ ๕ ทพ่ี งึ ถอื เอานั้น เป็นไฉน ?”

‘‘ยถา มหาราช เตโช ติณกฏ ฺ สาขาปลาสํ ฑหติ, เอวเมว โข มหาราช โยคนิ า
โยคาวจเรน เย เต อพภฺ นฺตรา วา พาหริ า วา กิเลสา อฏิ ฺ านิฏ ฺ ารมฺมณานภุ วนา,

กัณฑ]์ ๖.๓ ปถวีวรรค 391

สพฺเพ เต าณคฺคินา ฑหิตพพฺ า ฯ อทิ ํ มหาราช เตชสฺส ป มํ องฺค ํ คเหตพพฺ ํ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร ไฟเผาไหม้ต้นหญา้ ไมแ้ หง้
ก่ิงไม้ ใบไม้ ฉนั ใด ขอถวายพระพร กิเลสทง้ั หลาย ทั้งภายใน ทั้งภายนอก ซงึ่ มกี ารเสวย
อิฏฐารมณแ์ ละอนฏิ ฐารมณเ์ หลา่ นนั้ ใด พระโยคาวจรผูบ้ �ำเพ็ญเพยี ร กพ็ งึ ใชไ้ ฟคือญาณเผา
กเิ ลสเหล่านนั้ ท้งั หมด ฉันนัน้ เหมอื นกนั นี้คอื องค์ท่ี ๑ แหง่ ไฟ ท่พี ึงถอื เอา
‘‘ปนุ จปร ํ มหาราช เตโช นิททฺ โย อการุณิโก, เอวเมว โข มหาราช โยคนิ า
โยคาวจเรน สพพฺ กเิ ลเสส ุ การุ ฺ านทุ ฺทยา น กาตพฺพา ฯ อทิ ํ มหาราช เตชสฺส ทตุ ยิ ํ
องคฺ ํ คเหตพพฺ ํ ฯ
ขอถวายพระพร ยงั มอี กี องคห์ นง่ึ ไฟ โหดรา้ ย หากรุณามไิ ด้ ฉนั ใด ขอถวายพระพร
พระโยคาวจรผู้บ�ำเพ็ญเพียร ไมค่ วรท�ำความการุณ ความเอื้อเอ็นดูในกิเลสทัง้ ปวง ฉันนั้น
เหมอื นกนั น้ีคือองคท์ ี่ ๒ แห่งไฟ ที่พึงถอื เอา
‘‘ปุน จปรํ มหาราช เตโช สตี ํ ปฏิหนติ, เอวเมว โข มหาราช โยคินา
โยคาวจเรน วีริยสนตฺ าปเตช ํ อภิชเนตวฺ า กิเลสา ปฏหิ นตฺ พพฺ า ฯ อทิ ํ มหาราช เตชสฺส
ตติยํ องฺคํ คเหตพฺพํ ฯ
ขอถวายพร ยงั มีอกี องค์หนึง่ ไฟ ปราบความเย็นได้ ฉนั ใด ขอถวายพระพร พระ
โยคาวจรผบู้ �ำเพญ็ เพียร กพ็ ึงท�ำไฟรอ้ นคอื วิรยิ ะใหเ้ กิดข้ึนมา ปราบกเิ ลสทงั้ หลาย ฉันนัน้
เหมือนกัน น้ีคือองค์ท่ี ๓ แหง่ ไฟ ทพี่ งึ ถือเอา
‘‘ปุน จปร ํ มหาราช เตโช อนุนยปปฺ ฏฆิ วิปฺปมตุ ฺโต อณุ หฺ มภิชเนต,ิ เอวเมว โข
มหาราช โยคนิ า โยคาวจเรน อนุนยปปฺ ฏฆิ วิปปฺ มุตเฺ ตน เตโชสเมน เจตสา วิหริตพพฺ ํ ฯ
อิท ํ มหาราช เตชสสฺ จตตุ ถฺ ํ องฺค ํ คเหตพพฺ ํ ฯ
ขอถวายพระพร ยังมอี กี องค์หนง่ึ ไฟ พน้ แล้วจากความยินดยี นิ ร้าย ท�ำความรอ้ นให้
เกิด ฉันใด พระโยคาวจรผ้บู �ำเพ็ญเพียร ก็พงึ เปน็ ผู้พ้นแล้วจากความยินดียินรา้ ย อยดู่ ว้ ยใจ
เสมอดว้ ยไฟ ฉนั นนั้ เหมือนกัน น้ีคอื องคท์ ่ี ๔ แห่งไฟ ท่พี งึ ถือเอา
‘‘ปนุ จปร ํ มหาราช เตโช อนฺธการ ํ วิธมติ วฺ า อาโลกํ ทสสฺ ยต,ิ เอวเมว โข
มหาราช โยคินา โยคาวจเรน อวชิ ฺชนธฺ การ ํ วิธมติ ฺวา าณาโลกํ ทสฺสยติ พฺพํ ฯ อทิ ํ
มหาราช เตชสฺส ป ฺจม ํ องฺคํ คเหตพพฺ ํ ฯ

392 มิลนิ ทปญั หาปกรณแ์ ปล [๖.โอปัมมกถาปญั ห

ขอถวายพระพร ยงั มีอกี องคห์ นงึ่ ไฟ ก�ำจัดความมืด ท�ำแสงสว่างให้ปรากฏ ฉนั ใด ขอ
ถวายพระพร พระโยคาวจรผู้บ�ำเพญ็ เพียร ก็พงึ ก�ำจัดความมดื ท�ำแสงสวา่ งคอื ญาณให้ปรากฏ
ฉันน้ันเหมือนกัน นค้ี ือองค์ที่ ๕ แห่งไฟ ทพ่ี งึ ถอื เอา

ภาสติ มเฺ ปต ํ มหาราช, ภควตา เทวาตเิ ทเวน สก ํ ปตุ ตฺ ํ ราหลุ ํ โอวทนฺเตน –
‘เตโชสมํ ราหลุ ภาวนํ ภาเวห ิ เตโชสมํ ห ิ เต ราหลุ ภาวน ํ ภาวยโต อุปฺปนนฺ า?
มนาปามนาปา ผสสฺ า จิตตฺ ํ น ปริยาทาย สสฺ นตฺ ี’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร พระผมู้ ีพระภาคเจ้า ผ้ทู รงเป็นเทพยิ่งกว่าเหล่าเทพ ทรงมพี ระโอวาท
รับส่ังความข้อนกี้ ับทา่ นพระราหุลผู้เปน็ พระโอรสของพระองค์ว่า
‘ราหลุ เธอจงเจรญิ ภาวนาใหเ้ สมอดว้ ยไฟ เพราะเม่อื เธอเจรญิ ภาวนาใหเ้ สมอดว้ ยไฟ
อยู่ ผสั สะอนั เป็นทีช่ อบใจและไม่ชอบใจ ที่เกดิ ขน้ึ แลว้ จักครอบง�ำจิตของเธอไม่ได้”

เตชงฺคปญโฺ ห ตตโิ ย ฯ
จบเตชังคปญั หาขอ้ ท่ี ๓

________

๔. วายุงคฺ ปญฺห
๔. วายงุ คปญั หา
ปญั หาวา่ ดว้ ยองคแ์ ห่งลม
[๔] ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน ‘วายสุ สฺ ป จฺ องคฺ านิ คเหตพพฺ าน’ี ติ ยํ วเทสิ,
กตมานิ ตาน ิ ป จฺ องฺคานิ คเหตพฺพานี’’ติ ?
[๔] พระเจ้ามลิ ินทต์ รัสว่า “พระคุณเจ้านาคเสน ทา่ นกลา่ ววา่ ‘พงึ ถอื เอาองค์ ๕ แหง่
ลม’ องค์ ๕ ที่พึงถอื เอานัน้ เปน็ ไฉน ?”

‘‘ยถา มหาราช วาย ุ สุปปุ ผฺ ติ วนสณฑฺ นฺตรํ อภิวายต,ิ เอวเมว โข มหาราช
โยคินา โยคาวจเรน วมิ ุตฺติวรกุสมุ ปุปผฺ ิตารมฺมณวนนฺตเร รมิตพพฺ ํ ฯ อทิ ํ มหาราช วายุสสฺ
ป มํ องฺค ํ คเหตพพฺ ํ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร ลม พดั โชยไปในระหวา่ งปา่
ท่ผี ลิดอกออกชอ่ ดี ฉนั ใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผูบ้ �ำเพ็ญเพียร กพ็ งึ รน่ื รมยใ์ นระหว่าง
ราวป่าท่ีมตี ้นไม้ผลิดอกออกช่อดี คือวิมุตตอิ นั ประเสรฐิ ฉันน้ันเหมือนกัน น้ีคอื องคท์ ี่ ๑ แห่ง

กัณฑ์] ๖.๓ ปถววี รรค 393

ลม ทพ่ี ึงถือเอา
‘‘ปนุ จปรํ มหาราช วายุ ธรณีรหุ ปาทปคเณ มถยติ, เอวเมว โข มหาราช
โยคินา โยคาวจเรน วนนตฺ รคเตน สงขฺ าเร วิจินนเฺ ตน กิเลสา มถยติ พพฺ า ฯ อทิ ํ มหาราช
วายุสฺส ทตุ ิยํ องคฺ ํ คเหตพพฺ ํ ฯ
ขอถวายพระพร ยงั มอี ีกองค์หนง่ึ ลม พดั กระหน�ำ่ ย่ำ� ยีหมู่ไม้ที่งอกขึ้นบนพนื้ ธรณี
ฉนั ใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผู้บ�ำเพ็ญเพยี ร กพ็ ึงเปน็ ผู้อยู่ในราวป่า วจิ ยั สังขาร ย่�ำยี
กเิ ลสทงั้ หลาย ฉันน้ันเหมือนกัน นี้คอื องค์ท่ี ๒ แหง่ ลม ทพ่ี งึ ถือเอา
‘‘ปุน จปร ํ มหาราช วายุ อากาเส จรต,ิ เอวเมว โข มหาราช โยคินา
โยคาวจเรน โลกุตฺตรธมฺเมส ุ มานส ํ ส จฺ ารยติ พพฺ ํ ฯ อทิ ํ มหาราช วายุสฺส ตติยํ องฺค ํ
คเหตพฺพํ ฯ
ขอถวายพระพร ยงั มอี ีกองค์หนงึ่ ลม ย่อมจรไปในอากาศ ฉันใด ขอถวายพระพร พระ
โยคาวจรผบู้ �ำเพญ็ เพยี ร กพ็ ึงท�ำจติ ให้สญั จรไปในโลกตุ ตรธรรมท้งั หลาย ฉนั นน้ั เหมือนกนั น้ี
คือองคท์ ่ี ๓ แห่งลม ทพี่ ึงถือเอา
‘‘ปนุ จปรํ มหาราช วายุ คนฺธํ อนุภวติ, เอวเมว โข มหาราช โยคนิ า
โยคาวจเรน อตฺตโน สลี วรสุรภคิ นโฺ ธ อนุภวิตพโฺ พ ฯ อทิ ํ มหาราช วายุสสฺ จตตุ ฺถํ องฺคํ
คเหตพฺพํ ฯ
ขอถวายพระพร ยังมีอีกองค์หน่งึ ลม ยอ่ มโชยกลน่ิ ฉนั ใด ขอถวายพระพร พระโยคา-
วจรผบู้ �ำเพ็ญเพยี ร กพ็ ึงโชยกล่ินที่หอมยิง่ คอื ศีลทป่ี ระเสริฐของตน ฉนั น้นั เหมือนกนั น้ีคอื องค์
ท่ี ๔ แหง่ ลม ทพ่ี ึงถอื เอา
‘‘ปนุ จปรํ มหาราช วายุ นริ าลโย อนเิ กตวาส,ี เอวเมว โข มหาราช โยคนิ า
โยคาวจเรน นริ าลยมนิเกตมสนถฺ เวน สพพฺ ตฺถ วมิ ตุ เฺ ตน ภวติ พพฺ ํ ฯ อทิ ํ มหาราช
วายุสสฺ ป ฺจมํ องฺค ํ คเหตพพฺ ํ ฯ
ขอถวายพระพร ยังมีอีกองคห์ นงึ่ ลมไม่มที อี่ ยู่ มิได้อาศยั สถานท่อี ยู่ ฉันใด ขอถวาย
พระพร พระโยคาวจรผูบ้ �ำเพ็ญเพยี ร ก็พงึ เปน็ ผ้ไู ม่มอี าลัย ไมม่ บี ้านที่อยอู่ าศัย หาความเสพ
คุ้นมิได้ ปลอดภยั ในท่ีท้ังปวง ฉันน้ันเหมอืนกนั น้คี ือองคท์ ่ี ๕ แห่งลม ท่พี ึงถือเอา

394 มิลนิ ทปัญหาปกรณ์แปล [๖.โอปัมมกถาปญั ห

ภาสิตมเฺ ปต ํ มหาราช ภควตา เทวาติเทเวน สตุ ตฺ นปิ าเต –
‘‘สนถฺ วาโต ภยํ ชาตํ นิเกตา ชายเต รโช
อนเิ กตมสนถฺ ว ํ เอต ํ เว มนุ ิทสสฺ นน’ฺ ’ติ ฯ
ขอถวายพระพร พระผู้มพี ระภาคเจา้ ผู้ทรงเปน็ เทพย่ิงกวา่ เหลา่ เทพ ทรงภาษิตความ
ขอ้ นไี้ ว้ในสุตตนิบาต วา่
“ภัยเกิดจากความเชยชิด ธลุ คี ือราคะ โทสะ และโมหะ เกดิ จาก
อารมณ์เป็นท่ีตง้ั แหง่ กเิ ลส ความไม่มีกิเลส ไม่มีความเชยชิด
นั้นแล เป็นลกั ษณะจอมมนุ ี”

วายุงฺคปญฺโห จตตุ โฺ ถ ฯ

จบวายุงคปญั หาขอ้ ที่ ๔

________

๕. ปพฺพตงคฺ ปญหฺ
๕. ปพั พตังคปญั หา
ปัญหาวา่ ด้วยองคแ์ ห่งภูเขา
[๕] ‘‘ภนฺเต นาคเสน ‘ปพพฺ ตสสฺ ป ฺจ องคฺ าน ิ คเหตพพฺ านี’ติ ย ํ วเทสิ,
กตมานิ ตานิ ป จฺ องคฺ านิ คเหตพฺพาน’ี ’ติ ?
[๕] พระเจ้ามลิ ินท์ตรสั ว่า “พระคณุ เจา้ นาคเสน ทา่ นกลา่ วว่า ‘พงึ ถือเอาองค์ ๕ แห่ง
ภเู ขา’ องค์ ๕ ทพี่ งึ ถือเอานัน้ เปน็ ไฉน ?”

‘‘ยถา มหาราช ปพฺพโต อจโล อกมฺปิโต อสมฺปเวธี, เอวเมว โข มหาราช
โยคนิ า โยคาวจเรน สมมฺ านเน วิมานเน สกกฺ าเร อสกฺกาเร ครุกาเร อครุกาเร ยเส
อยเส นนิ ฺทาย ปสํสาย สเุ ข ทกุ เฺ ข อิฏ ฺ านฏิ ฺเ สุ สพฺพตถฺ รปู สทฺทคนธฺ รสโผฏ ฺ พพฺ ธมเฺ มสุ
รชนีเยส ุ น รชฺชิตพฺพํ, ทสุ ฺสนเี ยส ุ น ทสุ สฺ ิตพพฺ ํ, มุยฺหนีเยสุ น มยุ หฺ ติ พฺพ,ํ น กมฺปิตพพฺ ํ
น จลติ พพฺ ,ํ ปพพฺ เตน วิย อจเลน ภวติ พพฺ ํ ฯ อิทํ มหาราช ปพฺพตสฺส ป ม ํ องฺค ํ
คเหตพฺพํ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร ภูเขา ไมส่ ่ัน ไมไ่ หว ไม่
คลอนแคลน ฉนั ใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผู้บ�ำเพญ็ เพียร ไมพ่ ึงก�ำหนัดในธรรม

กณั ฑ]์ ๖.๓ ปถววี รรค 395

ทัง้ หลายอันนา่ ก�ำหนดั ไม่พึงประทุษรา้ ยในธรรมท้งั หลายอันนา่ ประทษุ ร้าย ไมพ่ ึงลุ่มหลง
ในธรรมท้งั หลายอันน่าลุ่มหลง ไมพ่ งึ หว่นั ไหว ไม่พงึ สน่ั ไหว ในความนับถือ ความดหู ม่ิน ใน
สกั การะ ในอสกั การะ ในการท�ำความเคารพ ในการไม่ท�ำความเคารพ ในยศ ในความเสอื่ มยศ
ในนินทา ในสรรเสริญ ในสุข ในทุกข์ ในรูป เสียง กลน่ิ รส โผฏฐพั พะ และธรรมท้งั หลาย
ทง้ั ปวงทีน่ า่ ปรารถนาและไม่นา่ ปรารถนา พงึ เป็นผู้หาความสัน่ ไหวมิได้ ดจุ ภเู ขา ฉันนั้น
เหมือนกันเถิด น้ีคือองคท์ ่ี ๑ แหง่ ภเู ขา ท่ีพึงถือเอา

ภาสิตมเฺ ปตํ มหาราช ภควตา เทวาตเิ ทเวน –
‘‘เสโล ยถา เอกฆโน วาเตน น สมีรติ
เอว ํ นินทฺ าปสํสาส ุ น สมิ ชฺ นฺติ ปณฑฺ ิตา’ติ ฯ
ขอถวายพระพร พระผู้มพี ระภาคเจ้า ผู้ทรงเปน็ เทพย่ิงกวา่ เหล่าเทพ ทรงภาษติ ความ
ข้อนไี้ ว้วา่
“ภเู ขาศิลาล้วนเปน็ แท่งทบึ ย่อมไมส่ ะเทือนเพราะลม ฉนั ใด
บณั ฑิตท้ังหลาย ย่อมไม่หวั่นไหว เพราะนินทาหรอื สรรเสรญิ
ฉันนน้ั ”
‘‘ปุน จปร ํ มหาราช ปพพฺ โต ถทฺโธ น เกนจ ิ สํสฏโฺ , เอวเมว โข มหาราช
โยคนิ า โยคาวจเรน ถทเฺ ธน อสสํ ฏเฺ น ภวติ พฺพํ, น เกนจิ สสํ คโฺ ค กรณีโย ฯ อทิ ํ
มหาราช ปพฺพตสฺส ทตุ ยิ ํ องคฺ ํ คเหตพพฺ ํ ฯ
ขอถวายพระพร ยงั มอี กี องค์หนง่ึ ภเู ขาแข็งกระดา้ ง ไมป่ ะปนกบั สิง่ ไร ๆ ฉันใด ขอ
ถวายพระพร พระโยคาวจรผูบ้ �ำเพ็ญเพยี ร กพ็ ึงเป็นผ้แู ขง็ กระด้าง ไมค่ ลุกคลี ไมพ่ งึ ท�ำการ
คลุกคลีกบั ใคร ๆ ฉนั นั้นเหมือนกนั นี้คือองค์ที่ ๒ แหง่ ภูเขา ทีพ่ งึ ถือเอา

ภาสติ มเฺ ปต ํ มหาราช ภควตา เทวาติเทเวน –
‘‘อสสํ ฏฺ ํ คหฏเฺ ห ิ อนาคาเรหิ จูภยํ
อโนกสาริมปปฺ จิ ฺฉํ ตมห ํ พฺรมู ิ พรฺ าหฺมณนฺ’ติ ฯ
ขอถวายพระพร พระผมู้ พี ระภาคเจ้า ผ้ทู รงเป็นเทพย่ิงกว่าเหล่าเทพ ทรงภาษิตความ
ขอ้ นีไ้ ว้วา่
“ผู้ไม่คลกุ คลกี ับคน ๒ จ�ำพวก คือคฤหสั ถ์ และบรรพชติ ไม่มี
ความอาลัยเท่ียวไป มีความมักน้อย เราเรียกวา่ พราหมณ”์

396 มลิ ินทปัญหาปกรณ์แปล [๖.โอปัมมกถาปัญห

‘‘ปนุ จปร ํ มหาราช ปพพฺ เต พชี ํ น วริ ูหติ, เอวเมว โข มหาราช โยคนิ า
โยคาวจเรน สกมานเส กเิ ลสา น วิรูหาเปตพฺพา ฯ อิท ํ มหาราช ปพพฺ ตสสฺ ตติย ํ องคฺ ํ
คเหตพฺพํ ฯ
ขอถวายพระพร ยังมีอกี องค์หนึ่ง พชื ยอ่ มไม่งอกงามบนภเู ขา ฉันใด พระโยคาวจร
ผบู้ �ำเพญ็ เพียร ก็ไม่พึงท�ำกเิ ลสท้ังหลายใหง้ อกงามในใจของตน ฉนั นน้ั เหมือนกัน นค้ี ือองค์ท่ี
๓ แห่งภูเขา ท่พี ึงถอื เอา

ภาสิตมฺเปต ํ มหาราช เถเรน สุภตู นิ า –
‘‘ราคูปสหํ ิตํ จติ ตฺ ํ ยทา อปุ ฺปชชฺ เต มม
สยวํ ปจจฺ เวกขฺ ามิ เอกคฺโค ต ํ ทเมมหํ ฯ
รชชฺ เส รชนีเย จ ทสุ สฺ นีเย จ ทุสสฺ เส
มยุ หฺ เส โมหนีเย จ นกิ ฺขมสสฺ ุ วนา ตุวํ ฯ
วสิ ุทฺธานํ อยํ วาโส นิมฺมลานํ ตปสสฺ ินํ
มา โข วิสุทธฺ ํ ทเู สส ิ นิกขฺ มสสฺ ุ วนา ตุวนฺ’ติ ฯ
ขอถวายพระพร ทา่ นพระสุภูติเถระ ไดภ้ าษิตความขอ้ นี้ไวว้ า่
“เมื่อใด จติ ของขา้ พเจา้ เกิดความก�ำหนัด เม่ือนน้ั ข้าพเจา้ ยอ่ ม
พิจารณาดว้ ยตนเอง ข้าพเจา้ มใี จเด็ดเดี่ยว ข่มจติ นั้นเสียวา่
‘เจ้าก�ำหนัดในอารมณ์ท่ีชวนให้ก�ำหนดั ขัดเคอื งในอารมณท์ ่ี
ชวนให้ขัดเคอื ง และหลงในอารมณ์ทีช่ วนให้หลง เพราะฉะน้ัน
เจ้าจงออกจากปา่ ไปเสียเถิด ที่อยแู่ หง่ นี้ เป็นทีอ่ ยู่ของผ้บู ริสุทธ์ิ
ปราศจากมลทิน มีตบะ เจา้ อย่าประทุษร้ายผบู้ รสิ ทุ ธเิ์ ลย จง
ออกจากปา่ ไปเสียเถิด’

‘‘ปนุ จปรํ มหาราช ปพฺพโต อจจฺ ุคฺคโต, เอวเมว โข มหาราช โยคนิ า
โยคาวจเรน าณจฺจุคฺคเตน ภวติ พพฺ ํ ฯ อทิ ํ มหาราช ปพพฺ ตสสฺ จตตุ ถฺ ํ องคฺ ํ คเหตพฺพํ ฯ
ขอถวายพระพร ยังมอี ีกขอ้ หนึ่ง ภเู ขา เป็นส่งิ สงู ยง่ิ ฉันใด ขอถวายพระพร พระโยคา-
วจร ก็พงึ เป็นผู้สงู ส่งย่งิ ด้วยญาณ ฉันนั้นเหมอื นกัน น้ีคือองค์ที่ ๔ แหง่ ภเู ขา ท่พี ึงถือเอา

กณั ฑ]์ ๖.๓ ปถวีวรรค 397

ภาสิตมฺเปต ํ มหาราช ภควตา เทวาตเิ ทเวน –
‘‘ปมาทํ อปปฺ มาเทน ยทา นทุ ต ิ ปณฺฑิโต
ป ฺ าปาสาทมารยุ หฺ อโสโก โสกนิ ึ ปชํ
ปพฺพตฏโฺ ว ภมู ฏเฺ ธโี ร พาเล อเวกฺขต’ี ติ ฯ
“ขอถวายพระพร พระผ้มู พี ระภาคเจ้า ผูท้ รงเป็นเทพย่งิ กว่าเหลา่ เทพ ทรงภาษิตความ
ข้อนีไ้ วว้ ่า
‘เมอื่ ใด บณั ฑติ บรรเทาความประมาท ดว้ ยความไม่ประมาท
ขน้ึ ส่ปู ราสาทคือปัญญา ไมเ่ ศรา้ โศก พิจารณาเหน็ หมสู่ ตั วผ์ ู้มี
ความเศร้าโศก เมื่อนัน้ บณั ฑติ ผู้เปน็ นกั ปราชญ์ ยอ่ มเหน็ คน
พาลได้ เหมอื นคนทยี่ ืนอย่บู นภูเขา เห็นคนท่ภี าคพืน้ ได้
ฉะนน้ั ”

‘‘ปนุ จปรํ มหาราช ปพพฺ โต อนนุ นฺ โต อโนนโต, เอวเมว โข มหาราช โยคนิ า
โยคาวจเรน อุนนฺ ตาวนต ิ น กรณยี า ฯ อิทํ มหาราช ปพพฺ ตสฺส ป จฺ มํ องคฺ ํ คเหตพพฺ ํ ฯ
ขอถวายพระพร ยังมีอกี องคห์ นง่ึ ภูเขา ไม่ฟู ไมฟ่ ุบ ฉันใด ขอถวายพระพร พระโยคา-
วจรผู้บ�ำเพ็ญเพยี ร กไ็ มท่ �ำการฟขู น้ึ ไม่ฟุบลง ฉนั นนั้ เหมือนกัน นค้ี อื องค์ท่ี ๕ แหง่ ภเู ขา ที่พงึ
ถอื เอา

ภาสติ มฺเปต ํ มหาราช อปุ าสกิ าย จูฬสุภทฺทาย สกสมเณ ปรกิ ิตตฺ ยมานาย –
‘‘ลาเภน อนุ ฺนโต โลโก อลาเภน จ โอนโต
ลาภาลาเภน เอกตถฺ า ตาทสิ า สมณา มมา’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร นางจฬู สภุ ทั ทาอบุ าสิกา เมื่อจะยกยอ่ งสมณะของตน ก็ได้ภาษิต
ความขอ้ นีไ้ ว้วา่
“โลกฟขู นึ้ เพราะลาภ และฟบุ ลงเพราะเสอื่ มลาภ สมณะทง้ั
หลาย มีสภาวะเป็นหนงึ่ คงท่ี เพราะลาภ และความเสื่อมลาภ
สมณะท้งั หลายของเรา ทา่ นเปน็ เชน่ นน้ั ”

ปพพฺ ตงคฺ ปญโฺ ห ปญจฺ โม ฯ

จบปัพพตังคปัญหาข้อที่ ๕

________

398 มลิ นิ ทปญั หาปกรณ์แปล [๖.โอปัมมกถาปัญห

๖. อากาสงคฺ ปญหฺ
๖. อากาสงั คปญั หา
ปญั หาว่าดว้ ยองคแ์ ห่งอากาศ
[๖] ‘‘ภนฺเต นาคเสน ‘อากาสสฺส ป ฺจ องคฺ านิ คเหตพฺพานี’ต ิ ยํ วเทสิ, กตมานิ
ตานิ ป จฺ องคฺ านิ คเหตพพฺ าน’ี ’ติ ?
[๖] พระเจ้ามิลนิ ท์ตรัสว่า “พระคณุ เจ้านาคเสน ทา่ นกล่าวว่า ‘พึงถอื เอาองค์ ๕ แหง่
อากาศ’ องค์ ๕ แห่งอากาศทีพ่ ึงถือเอาน้ัน เปน็ ไฉน ?”

‘‘ยถา มหาราช อากาโส สพพฺ โส อคยโฺ ห, เอวเมว โข มหาราช โยคินา
โยคาวจเรน สพฺพโส กิเลเสห ิ อคยเฺ หน ภวิตพพฺ ํ ฯ อทิ ํ มหาราช อากาสสฺส ป ม ํ องคฺ ํ
คเหตพฺพํ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร ใคร ๆ ไมอ่ าจจบั ตอ้ งอากาศ
ได้ โดยประการท้งั ปวง ฉันใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผู้บ�ำเพญ็ เพียร ก็พงึ เป็นผู้ท่กี ิเลส
ทง้ั หลายไมอ่ าจจับตอ้ งได้ ฉนั น้ันเหมอื นกนั น้คี ือองค์ที่ ๑ แห่งอากาศ ที่พึงถอื เอา

‘‘ปนุ จปรํ มหาราช อากาโส อสิ ิตาปสภูตทิชคณานสุ จฺ ริโต, เอวเมว โข มหาราช
โยคินา โยคาวจเรน ‘อนจิ จฺ ํ ทกุ ขฺ ํ อนตฺตา’ต ิ สงขฺ าเรส ุ มานส ํ ส ฺจารยติ พพฺ ํ ฯ อิทํ
มหาราช อากาสสฺส ทตุ ิย ํ องฺคํ คเหตพฺพํ ฯ
ขอถวายพระพร ยังมอี ีกองค์ ๑ อากาศ เป็นทท่ี บ่ี รรดาฤาษี ดาบส พระอรหันต์ หมู่นก
สัญจรไปมา ฉันใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผบู้ �ำเพ็ญเพียร กพ็ งึ ท�ำใจให้สัญจรไปใน
สงั ขารทง้ั หลาย โดยอาการว่าไมเ่ ทยี่ ง เปน็ ทกุ ข์ เปน็ อนตั ตา ดงั น้ี ฉันนัน้ เหมอื นกนั น้คี ือองค์
ที่ ๒ แหง่ อากาศ ที่พึงถอื เอา

‘‘ปุน จปรํ มหาราช อากาโส สนตฺ าสนีโย, เอวเมว โข มหาราช โยคนิ า
โยคาวจเรน สพฺพภวปฏสิ นธฺ ีส ุ มานส ํ อุพฺเพชยติ พพฺ ํ, อสฺสาโท น กาตพฺโพ ฯ อทิ ํ
มหาราช อากาสสฺส ตตยิ ํ องฺค ํ คเหตพพฺ ํ ฯ
ขอถวายพระพร ยังมอี กี องค์หนงึ่ อากาศ เปน็ สง่ิ ทีน่ า่ หวาดสะดุ้ง ฉนั ใด ขอถวาย
พระพร พระโยคาวจรผู้บ�ำเพญ็ เพียร ก็พงึ ท�ำใจให้หวาดหวั่น ไม่พึงท�ำความยนิ ดีในการ
ปฏสิ นธิในภพทั้งปวง ฉนั นัน้ เหมอื นกัน น้ีคือองค์ท่ี ๓ แหง่ อากาศ ทพี่ ึงถอื เอา

กัณฑ]์ ๖.๓ ปถวีวรรค 399

‘‘ปุน จปร ํ มหาราช อากาโส อนนโฺ ต อปปฺ มาโณ อปริเมยโฺ ย, เอวเมว โข
มหาราช โยคินา โยคาวจเรน อนนฺตสเี ลน อปรมิ ิต าเณน ภวิตพพฺ ํ ฯ อิท ํ มหาราช
อากาสสฺส จตุตถฺ ํ องคฺ ํ คเหตพพฺ ํ ฯ
ขอถวายพระพร ยังมีอกี องค์หนึง่ อากาศ หาทีส่ ุดมิได้ หาประมาณมิได้ ใคร ๆ ไมอ่ าจ
วดั ได้ ฉนั ใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผูบ้ �ำเพ็ญเพยี ร ก็พึงเป็นผู้มศี ีลหาท่สี ุดมไิ ด้ มีญาณ
ท่ีวัดมไิ ด้ ฉันนัน้ เหมอื นกนั น้คี อื องคท์ ่ี ๔ แห่งอากาศ ที่พงึ ถือเอา
‘‘ปุน จปรํ มหาราช อากาโส อลคฺโค อสตฺโต อปฺปตฏิ ฺ ิโต อปลิพทุ โฺ ธ, เอวเมว
โข มหาราช โยคินา โยคาวจเรน กเุ ล คเณ ลาเภ อาวาเส ปลโิ พเธ ปจฺจเย
สพฺพกิเลเสส ุ จ สพพฺ ตถฺ อลคฺเคน ภวิตพพฺ ,ํ อนาสตเฺ ตน อปปฺ ติฏฺ ิเตน อปลิพทุ ฺเธน
ภวิตพฺพํ ฯ อิทํ มหาราช อากาสสฺส ป จฺ มํ องคฺ ํ คเหตพพฺ ํ ฯ
ขอถวายพระพร ยังมอี ีกองคห์ นง่ึ อากาศ ไม่ตดิ ไมข่ อ้ ง ไม่หยุด ไมพ่ ัวพนั ฉันใด
ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผูบ้ �ำเพญ็ เพียร กพ็ งึ เป็นผไู้ มต่ ิด ไมข่ อ้ ง ไมห่ ยุดอยู่ ไม่พัวพัน
ในสิง่ ทงั้ ปวง คือในสกุล ในคณะ ในลาภ ในอาวาส ในปจั จัยทเ่ี ปน็ ปลโิ พธ ในกเิ ลสท้งั ปวง
ฉันนั้นเหมือนกัน นีค้ ือองคท์ ี่ ๕ แห่งอากาศ ท่พี ึงถอื เอา
ภาสติ มเฺ ปตํ มหาราช ภควตา เทวาตเิ ทเวน สกํ ปตุ ตฺ ํ ราหุลํ โอวทนเฺ ตน –
‘เสยยฺ ถาป ิ ราหุล อากาโส น กตฺถจิ ปตฏิ ฺ ิโต, เอวเมว โข ตฺวํ ราหุล อากาสสม ํ
ภาวนํ ภาเวหิ อากาสสมํ ห ิ เต ราหลุ ภาวน ํ ภาวยโต อปุ ปฺ นฺนา มนาปามนาปา ผสฺสา
จติ ตฺ ํ น ปรยิ าทาย สฺสนฺต’ี ’ติ ฯ
ขอถวายพระพร พระผมู้ พี ระภาคเจา้ ผทู้ รงเป็นเทพยิ่งกว่าเหล่าเทพ เม่อื จะทรงสอน
พระราหลุ ผ้เู ปน็ พระโอรสของพระองคไ์ ด้ทรงภาษิตความขอ้ นีไ้ ว้วา่
“อากาศไมต่ ้งั อย่ใู นทีไ่ หน ๆ แมฉ้ นั ใด เธอกฉ็ ันนัน้ เหมือนกนั จงเจรญิ ภาวนาใหเ้ สมอ
ด้วยอากาศ เพราะเมือ่ เธอเจรญิ ภาวนาให้เสมอด้วยอากาศอยู่ ผัสสะอนั เป็นท่ีชอบใจและไม่
ชอบใจทเ่ี กดิ ขน้ึ แล้ว จักครอบง�ำจติ ของเธอไม่ได”้

อากาสงคฺ ปญโฺ ห ฉฏฺโ€ ฯ
จบอากาสังคปัญหาข้อท่ี ๖

________

400 มิลินทปัญหาปกรณ์แปล [๖.โอปัมมกถาปัญห

๗. จนฺทงคฺ ปญฺห
๗. จันทงั คปัญหา
ปัญหาว่าดว้ ยองค์ ๕ แห่งดวงจันทร์
[๗] ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน ‘จนทฺ สสฺ ป ฺจ องฺคานิ คเหตพพฺ าน’ี ติ ยํ วเทส,ิ กตมาน ิ
ตาน ิ ป ฺจ องฺคาน ิ คเหตพพฺ าน’ี ’ติ ?
[๗] พระเจา้ มลิ ินทต์ รัสว่า “พระคณุ เจ้านาคเสน ท่านกล่าวว่า ‘พึงถือเอาองค์ ๕ แหง่
ดวงจนั ทร’์ องค์ ๕ ทพ่ี งึ ถอื เอาน้นั เปน็ ไฉน ?”

‘‘ยถา มหาราช จนโฺ ท สุกฺกปกฺเข อทุ ยนโฺ ต อตุ ฺตรุตฺตรึ วฑฒฺ ติ, เอวเมว โข
มหาราช โยคินา โยคาวจเรน อาจารสีลคุณวตฺตปปฺ ฏปิ ตตฺ ยิ า อาคมาธคิ เม ปฏสิ ลลฺ าเน
สตปิ ฏ ฺ าเน อินทฺ รฺ เิ ยสุ คตุ ตฺ ทวฺ ารตาย โภชเน มตตฺ ฺ ุตาย ชาคริยานุโยเค อุตฺตรุตฺตร ึ
วฑฒฺ ติ พพฺ ํ ฯ อิท ํ มหาราช จนฺทสสฺ ป มํ องคฺ ํ คเหตพฺพํ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร ดวงจนั ทร์ คราวขา้ งข้ึน โผล่
ขึ้นมา กเ็ จริญยง่ิ ๆ ข้นึ ไป ฉนั ใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผบู้ �ำเพ็ญเพยี ร กพ็ งึ เจริญย่งิ ๆ
ข้นึ ไปในอาจารคุณ ศลี คุณ ข้อวัตรปฏบิ ัติ ในอาคม อธคิ ม ในการหลีกเรน้ ในสตปิ ฏั ฐาน ใน
ความเป็นผูค้ ุ้มครองทวารในอนิ ทรยี ์ทงั้ หลาย ในความเป็นผูร้ จู้ กั ประมาณในโภชนะ ในความ
ประกอบเนือง ๆ ในชาครยิ ธรรม ฉันนัน้ เหมือนกัน นี้คอื องค์ท่ี ๑ แหง่ ดวงจันทร์ ทพ่ี ึงถอื เอา

‘‘ปุน จปร ํ มหาราช จนฺโท อุฬาราธิปต,ิ เอวเมว โข มหาราช โยคนิ า
โยคาวจเรน อฬุ าเรน ฉนทฺ าธิปตนิ า ภวิตพพฺ ํ ฯ อิท ํ มหาราช จนทฺ สสฺ ทตุ ยิ ํ องฺค ํ
คเหตพพฺ ํ ฯ
ขอถวายพระพร ยงั มีอีกองคห์ นึ่ง ดวงจนั ทร์สูงส่งเปน็ อธบิ ดี ฉนั ใด ขอถวายพระพร
พระโยคาวจรผ้บู �ำเพญ็ เพยี ร ก็พึงเป็นผสู้ งู ส่ง มฉี ันทะเปน็ อธบิ ดี ฉันนนั้ เหมือนกัน น้คี อื องคท์ ี่
๒ แห่งดวงจันทร์ ที่พงึ ถือเอา

‘‘ปุน จปร ํ มหาราช จนโฺ ท นิสาย จรติ, เอวเมว โข มหาราช โยคนิ า
โยคาวจเรน ปวิวติ ฺเตน ภวิตพฺพํ ฯ อิท ํ มหาราช จนฺทสฺส ตตยิ ํ องคฺ ํ คเหตพฺพํ ฯ
ขอถวายพระพร ยังมอี ีกองคห์ นง่ึ ดวงจนั ทร์ ยอ่ มโคจรไปในตอนกลางคนื (ซ่ึงเปน็
เวลาท่เี งียบสงดั ) ฉนั ใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผบู้ �ำเพ็ญเพียร ก็พงึ เปน็ ผ้หู ลีกสงดั

กณั ฑ]์ ๖.๓ ปถววี รรค 401

ฉันนน้ั เหมอื นกัน น้คี อื องคท์ ี่ ๓ แห่งดวงจนั ทร์ ท่ีพงึ ถอื เอา
‘‘ปนุ จปรํ มหาราช จนฺโท วิมานเกตุ, เอวเมว โข มหาราช โยคนิ า โยคาวจเรน
สีลเกตนุ า ภวิตพฺพํ ฯ อทิ ํ มหาราช จนฺทสฺส จตตุ ถฺ ํ องคฺ ํ คเหตพฺพํ ฯ
ขอถวายพระพร ยังมอี ีกองคห์ นง่ึ ดวงจันทร์ มวี ิมานเป็นธงชยั ฉันใด ขอถวายพระพร
พระโยคาวจรผู้บ�ำเพญ็ เพียร ก็พงึ เปน็ ผมู้ ีศลี เปน็ ธงชยั ฉันน้ันเหมือนกัน นี้คอื องค์ท่ี ๔ แห่ง
ดวงจนั ทร์ ทพ่ี ึงถือเอา
‘‘ปนุ จปรํ มหาราช จนโฺ ท อายาจติ ปตถฺ ิโต อุเทต,ิ เอวเมว โข มหาราช โยคนิ า
โยคาวจเรน อายาจติ ปตถฺ ิเตน กุลาน ิ อปุ สงกฺ มิตพฺพานิ ฯ อทิ ํ มหาราช จนฺทสสฺ ป จฺ ม ํ
องฺคํ คเหตพฺพํ ฯ
ขอถวายพระพร ยงั มอี ีกองค์หนง่ึ ดวงจนั ทรโ์ ผล่ข้ึนมาเปน็ สิ่งท่คี นทง้ั หลายเรียกร้อง
ปรารถนา ฉนั ใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผู้บ�ำเพ็ญเพยี ร กพ็ ึงเปน็ ผทู้ เ่ี ขาเรยี กร้อง
ปรารถนาเข้าไปหาสกลุ ทั้งหลาย ฉนั นน้ั เหมือนกัน น้คี ือองคท์ ี่ ๕ แหง่ ดวงจนั ทร์ ทพ่ี ึงถือเอา
ภาสติ มฺเปต ํ มหาราช ภควตา เทวาตเิ ทเวน สยํ ุตตฺ นกิ ายวเร ‘จนทฺ ปู มา ภิกฺขเว
กุลาน ิ อปุ สงกฺ มถ, อปกสฺเสว กายํ อปกสฺส จติ ฺตํ นิจจฺ นวกา กุเลสุ อปฺปคพภฺ า’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร พระผมู้ พี ระภาคเจา้ ผทู้ รงเปน็ เทพยง่ิ กวา่ เหลา่ เทพ ทรงภาษิตความ
ข้อน้ีไว้ในสังยตุ ตนกิ ายอนั ประเสริฐว่า
“ภิกษุทง้ั หลาย เธอท้งั หลายจงเปน็ เหมอื นดวงจันทร์ จงพรากกาย พรากจิตออก เปน็
ผ้ใู หมเ่ ปน็ นจิ ไม่คะนอง เขา้ ไปสู่ตระกูลทงั้ หลายเถดิ ”

จนฺทงคฺ ปญโฺ ห สตฺตโม ฯ
จบจนั ทงั คปัญหาข้อที่ ๗

________

402 มลิ นิ ทปญั หาปกรณแ์ ปล [๖.โอปมั มกถาปญั ห

๘. สรู ิยงคฺ ปญฺห
๘. สรุ ยิ งั คปัญหา
ปญั หาว่าดว้ ยองคแ์ ห่งดวงอาทิตย์
[๘] “ภนฺเต นาคเสน ‘สูริยสสฺ สตตฺ องคฺ าน ิ คเหตพฺพานี’ต ิ ยํ วเทส,ิ กตมานิ
ตานิ สตตฺ องคฺ านิ คเหตพฺพานี’’ติ ?
[๘] พระเจา้ มลิ นิ ท์ตรัสวา่ “พระคณุ เจา้ นาคเสน ท่านกล่าววา่ ‘พงึ ถอื เอาองค์ ๗ แห่ง
ดวงอาทติ ย์’ องค์ ๗ ทพ่ี งึ ถือเอานน้ั เปน็ ไฉน ?”

‘‘ยถา มหาราช สูรโิ ย สพฺพํ อุทก ํ ปรโิ สเสติ, เอวเมว โข มหาราช โยคินา
โยคาวจเรน สพพฺ กเิ ลสา อนวเสสํ ปริโสเสตพฺพา ฯ อทิ ํ มหาราช สูริยสฺส ป ม ํ องคฺ ํ
คเหตพฺพํ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร ดวงอาทติ ย์ ท�ำน้ำ� ให้
เหอื ดแหง้ ไปได้ ฉนั ใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผบู้ �ำเพ็ญเพียร กพ็ ึงท�ำกิเลสทั้งปวงให้
เหอื ดแหง้ ไปไม่มีเหลือ ฉันน้ันเหมอื นกนั นี้คือองคท์ ่ี ๑ แหง่ ดวงอาทติ ย์ ที่พึงถือเอา

‘‘ปุน จปรํ มหาราช สูรโิ ย ตมนธฺ การํ วิธมต,ิ เอวเมว โข มหาราช โยคินา
โยคาวจเรน สพฺพ ํ ราคตมํ โทสตม ํ โมหตมํ มานตม ํ ทฏิ ฺ ิตม ํ กิเลสตมํ สพฺพํ ทจุ จฺ ริตตม ํ
วธิ มยิตพฺพํ ฯ อิท ํ มหาราช สรู ิยสสฺ ทตุ ิยํ องฺคํ คเหตพพฺ ํ ฯ
ขอถวายพระพร ยงั มอี ีกองค์หนง่ึ ดวงอาทติ ย์ ขจดั ความมืดมนได้ ฉนั ใด ขอถวาย
พระพร พระโยคาวจรผู้บ�ำเพ็ญเพยี ร ก็พงึ ขจัดความมดื คอื ราคะ ความมดื คอื โทสะ ความมดื
คอื โมหะ ความมดื คือมานะ ความมดื คอื ทิฏฐิ ความมืดคือกเิ ลสท้ังปวง ความมดื คอื ทจุ ริต
ท้งั ปวง ฉันนั้นเหมอื นกัน นค้ี ือองคท์ ี่ ๒ แห่งดวงอาทติ ย์ ที่พงึ ถอื เอา

‘‘ปนุ จปรํ มหาราช สรู โิ ย อภกิ ฺขณ ํ จรติ, เอวเมว โข มหาราช โยคินา
โยคาวจเรน อภิกขฺ ณํ โยนิโสมนสิกาโร กาตพโฺ พ ฯ อิท ํ มหาราช สูรยิ สฺส ตตยิ ํ องคฺ ํ
คเหตพฺพํ ฯ
ขอถวายพระพร ยงั มอี กี องค์หนึ่ง ดวงอาทิตย์ ย่อมโคจรเปน็ ประจ�ำ ฉันใด ขอถวาย
พระพร พระโยคาวจรผู้บ�ำเพญ็ เพยี ร กพ็ ึงท�ำโยนิโสมนสิการเปน็ ประจ�ำ ฉันนั้นเหมอื นกนั น้ี
คือองคท์ ่ี ๓ แห่งดวงอาทติ ย์ ท่พี งึ ถือเอา

กัณฑ์] ๖.๓ ปถวีวรรค 403

‘‘ปนุ จปร ํ มหาราช สรู โิ ย รสํ มิ าล,ี เอวเมว โข มหาราช โยคินา โยคาวจเรน
อารมมฺ ณมาลินา ภวิตพฺพํ ฯ อทิ ํ มหาราช สูริยสสฺ จตตุ ฺถํ องฺค ํ คเหตพฺพํ ฯ
ขอถวายพระพร ยงั มีอกี องคห์ นง่ึ ดวงอาทิตย์ มรี ัศมเี ป็นมาลัย ฉันใด ขอถวายพระพร
พระโยคาวจรผ้บู �ำเพญ็ เพยี ร ก็พึงมีอารมณ์ (กัมมัฏฐาน) เปน็ มาลยั ฉันน้นั เหมือนกัน น้ีคอื
องคท์ ่ี ๔ แห่งดวงอาทิตย์ ทพ่ี ึงถอื เอา
‘‘ปุน จปรํ มหาราช สรู โิ ย มหาชนกายํ สนตฺ าเปนฺโต จรต,ิ เอวเมว โข มหาราช
โยคินา โยคาวจเรน อาจารสลี คณุ วตตฺ ปฺปฏปิ ตฺตยิ า ฌานวิโมกขฺ สมาธสิ มาปตตฺ อิ นิ ฺทฺรยิ พล-
โพชฌฺ งคฺ สติปฏฺ านสมมฺ ปฺปธานอิทธฺ ปิ าเทหิ สเทวโก โลโก สนตฺ าปยิตพฺโพ ฯ อทิ ํ มหาราช
สรู ิยสฺส ป ฺจมํ องคฺ ํ คเหตพพฺ ํ ฯ
ขอถวายพระพร ยงั มีอีกองคห์ นงึ่ ดวงอาทติ ย์ ยอ่ มโคจรไปท�ำหมู่มหาชนให้อบอ่นุ
ฉนั ใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผู้บ�ำเพญ็ เพียร กพ็ ึงท�ำโลกพร้อมเทวโลกให้อบอนุ่ ด้วย
อาจาระ ศีลคณุ ข้อวตั รปฏิบัติ ฌาน วิโมกข์ สมาธิ สมาบตั ิ อนิ ทรีย์ พละ โพชฌงค์ สติปัฏฐาน
สมั มปั ปธาน อิทธิบาท ฉันนนั้ เหมือนกัน นคี้ ือองคท์ ี่ ๕ แห่งดวงอาทิตย์ ที่พงึ ถอื เอา
‘‘ปุน จปรํ มหาราช สรู โิ ย ราหุภยา ภโี ต จรต,ิ เอวเมว โข มหาราช โยคนิ า
โยคาวจเรน ทุจจฺ รติ ทุคฺคตวิ ิสมกนตฺ ารวิปากวินิปาตกเิ ลสชาลชฏเิ ต ทิฏฺ สิ งฆฺ าฏปฏมิ กุ ฺเก
กปุ ถปกฺขนฺเท กมุ ฺมคฺคปฏปิ นเฺ น สตเฺ ต ทสิ วฺ า มหตา สเํ วคภเยน มานสํ สํเวเชตพฺพํ ฯ อิท ํ
มหาราช สูริยสสฺ ฉฏฺ ํ องคฺ ํ คเหตพพฺ ํ ฯ
ขอถวายพระพร ยังมอี กี องค์หนง่ึ ดวงอาทติ ย์ โคจรไปกลัวแต่ภยั คือราหู ฉนั ใด ขอ
ถวายพระพร พระโยคาวจรผ้บู �ำเพญ็ เพยี ร เห็นสตั ว์ทั้งหลายผมู้ วี บิ ากไปในทคุ ติ ทีข่ รุขระ ที่
กันดาร เพราะทุจรติ ผถู้ กู ข่ายคือกิเลสเกีย่ วพัน ผ้ปู ระกอบดว้ ยกองทิฏฐิ ผแู้ ลน่ ไปสู่ทางชวั่ ผู้
ด�ำเนนิ ไปในทางช่ัวแล้ว ก็พงึ เปน็ ผมู้ ีความกลวั คอื ความสลดใจ ท�ำใจใหส้ ังเวช ฉันน้นั เหมอื น
กนั นี้คือองคท์ ่ี ๖ แหง่ ดวงอาทติ ย์ ที่พงึ ถอื เอา
‘‘ปนุ จปร ํ มหาราช สูรโิ ย กลฺยาณปาปเก ทสฺเสติ, เอวเมว โข มหาราช
โยคินา โยคาวจเรน อินทฺ รฺ ยิ พลโพชฺฌงฺคสตปิ ฏฺ านสมฺมปฺปธานอทิ ฺธปิ าทโลกยิ โลกุตฺตรธมฺมา
ทสฺเสตพฺพา ฯ อิท ํ มหาราช สูรยิ สฺส สตตฺ มํ องฺคํ คเหตพฺพํ ฯ
ขอถวายพระพร ยังมีอีกองค์หน่งึ ดวงอาทิตย์ ยอ่ มส่องส่ิงทด่ี แี ละเลวให้ปรากฏ ฉันใด
ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผู้บ�ำเพญ็ เพยี ร กพ็ ึงแสดงโลกยิ ธรรมและโลกุตตรธรรม คือ

404 มลิ ินทปญั หาปกรณแ์ ปล [๖.โอปัมมกถาปัญห

อนิ ทรีย์ พละ โพชฌงค์ สตปิ ฏั ฐาน สัมมัปปธาน อทิ ธบิ าท ให้ปรากฏ ฉนั นนั้ เหมอื นกนั น้ีคอื
องคท์ ี่ ๗ แห่งดวงอาทติ ย์ ทีพ่ งึ ถอื เอา

ภาสติ มเฺ ปตํ มหาราช เถเรน วงคฺ ีเสน –
‘‘ยถาปิ สูรโิ ย อทุ ยนฺโต รูป ํ ทสฺเสติ ปาณินํ
สจุ ิ ฺจ อสจุ ิ ฺจาป ิ กลยฺ าณ จฺ าปิ ปาปกํ ฯ
ตถา ภกิ ฺข ุ ธมฺมธโร อวชิ ชฺ าปหิ ติ ํ ชนํ
ปถ ํ ทสเฺ สต ิ ววิ ิธ ํ อาทจิ โฺ จวุทยํ ยถา’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร ทา่ นพระวังคสี เถระไดภ้ าษิตความข้อนี้ไวว้ ่า
“เปรียบเหมอื นวา่ ดวงอาทิตย์ พอโผล่ขน้ึ ก็สอ่ งรปู ทงั้ สะอาด
และไมส่ ะอาด ทงั้ ดแี ละเลว ใหป้ รากฏแก่สัตว์ทงั้ หลาย ฉนั ใด
ภิกษผุ ู้ทรงธรรม กย็ อ่ มท�ำชนผถู้ ูกอวชิ ชาปิดบังใหม้ องเหน็
หนทางมีอย่างตา่ ง ๆ กนั ดุจดวงอาทิตย์ท่ีโผลข่ น้ึ ฉันนน้ั
เหมือนกัน”

สรู ิยงฺคปญโฺ ห อฏ€ฺ โม ฯ

จบสูรยิ งั คปัญหาข้อที่ ๘

________

๙. สกฺกงฺคปญฺห
๙. สกั กังคปญั หา
ปัญหาว่าด้วยองค์แห่งทา้ วสกั กะ
[๙] ‘‘ภนฺเต นาคเสน ‘สกกฺ สฺส ตณี ิ องคฺ านิ คเหตพฺพาน’ี ต ิ ย ํ วเทสิ, กตมาน ิ
ตานิ ตีณ ิ องฺคาน ิ คเหตพฺพานี’’ติ ?
[๙] พระเจ้ามลิ นิ ท์ตรสั วา่ “พระคุณเจ้านาคเสน ทา่ นกลา่ วว่า ‘พงึ ถือเอาองค์ ๓ แห่ง
ท้าวสักกะ’ องค์ ๓ ทีพ่ งึ ถอื เอานั้น เปน็ ไฉน ?”

‘‘ยถา มหาราช สกฺโก เอกนฺตสขุ สมปปฺ ิโต, เอวเมว โข มหาราช โยคนิ า
โยคาวจเรน เอกนฺตปวิเวกสขุ าภริ เตน ภวิตพพฺ ํ ฯ อิทํ มหาราช สกกฺ สสฺ ป ม ํ องฺค ํ
คเหตพฺพํ ฯ

กัณฑ์] ๖.๓ ปถววี รรค 405

พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร ท้าวสกั กะเป็นผูเ้ ป่ียมเสมอ
ด้วยสขุ โดยส่วนเดยี ว ฉันใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผบู้ �ำเพ็ญเพียร กพ็ ึงเปน็ ผเู้ ต็ม
เปี่ยมด้วยวิเวกสุขโดยสว่ นเดียว ฉันนน้ั เหมอื นกนั นคี้ ือองคท์ ี่ ๑ แห่งทา้ วสักกะ ท่พี งึ ถือเอา

‘‘ปนุ จปร ํ มหาราช สกฺโก เทเว ทสิ วฺ า ปคคฺ ณหฺ าต,ิ หาสมภชิ เนติ, เอวเมว โข
มหาราช โยคินา โยคาวจเรน กุสเลส ุ ธมฺเมสุ อลนี มตนทฺ ติ ํ สนตฺ ํ มานสํ ปคคฺ เหตพฺพํ,
หาสมภิชเนตพพฺ ํ, อุฏฺ หิตพพฺ ํ ฆฏติ พฺพ ํ วายมิตพฺพํ ฯ อิท ํ มหาราช สกฺกสสฺ ทุติยํ องฺคํ
คเหตพฺพํ ฯ
ขอถวายพระพร ยังมีอกี องค์หน่งึ ท้าวสักกะ ทรงประคับประคองดูแลเทวดาทั้งหลาย
ทรงให้เกดิ ความบันเทงิ ฉันใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผบู้ �ำเพญ็ เพยี ร ก็พึงประคบั
ประคองจิตที่มอี นั ท้อถอย เกียจครา้ น ในกศุ ลธรรมท้งั หลาย พงึ ท�ำให้เกดิ ความบนั เทงิ พงึ
กระตุ้น พึงสบื ตอ่ พึงพยายาม ฉนั น้นั เหมือนกัน น้ีคือองค์ที่ ๒ แหง่ ทา้ วสกั กะ ทพี่ ึงถอื เอา

‘‘ปนุ จปร ํ มหาราช สกฺกสสฺ อนภริ ต ิ นุปปฺ ชฺชต,ิ เอวเมว โข มหาราช โยคินา
โยคาวจเรน ส ุ ฺ าคาเร อนภิรต ิ น อปุ ฺปาเทตพฺพา ฯ อิท ํ มหาราช สกฺกสสฺ ตติย ํ องฺค ํ
คเหตพฺพํ ฯ
ขอถวายพระพร ยังมีอีกองค์หนง่ึ ทา้ วสกั กะไมท่ รงเกิดความเหนอื่ ยหน่าย ฉนั ใด ขอ
ถวายพระพร พระโยคาวจรผบู้ �ำเพญ็ เพยี ร กไ็ มพ่ งึ ท�ำความเหนือ่ ยหนา่ ยในเรอื นวา่ งใหเ้ กดิ ข้ึน
ฉันนนั้ เหมือนกนั นี้คอื องค์ที่ ๓ แห่งท้าวสักกะ ที่พึงถอื เอา

ภาสติ มเฺ ปต ํ มหาราช เถเรน สุภูตินา –
‘‘สาสเน เต มหาวรี ยโต ปพพฺ ชิโต อหํ
นาภชิ านามิ อุปปฺ นนฺ ํ มานส ํ กามสํหติ นฺ”ติ ฯ
ขอถวายพระพร ท่านพระสุภูติเถระได้ภาษิตความขอ้ นีไ้ วว้ ่า
“ขา้ แตท่ ่านมหาวีระ ตงั้ แตข่ า้ พระองค์ได้บวชในศาสนาของ
พระองค์แล้ว ขา้ พระองค์กไ็ ม่รู้จกั จะท�ำจติ ท่ปี ระกอบด้วยความ
ใคร่ ให้มีอนั เกิดขึ้นได้” ดงั นี้

สกกฺ งฺคปญโฺ ห นวโม ฯ

จบสักกังคปญั หาขอ้ ท่ี ๙

________

406 มลิ ินทปญั หาปกรณ์แปล [๖.โอปัมมกถาปัญห

๑๐. จกฺกวตตฺ ิงฺคปญหฺ
๑๐. จกั กวตั ติงคปญั หา

ปญั หาว่าด้วยองค์แห่งพระเจ้าจกั รพรรดิ

[๑๐] ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน ‘จกกฺ วตฺติสสฺ จตตฺ าริ องฺคาน ิ คเหตพฺพาน’ี ติ ย ํ วเทสิ,
กตมาน ิ ตาน ิ จตฺตาริ องคฺ าน ิ คเหตพฺพานี’’ติ ?
[๑๐] พระเจา้ มิลินทต์ รัสว่า “พระคณุ เจ้านาคเสน ทา่ นกลา่ ววา่ ‘พงึ ถือเอาองค์ ๔ แหง่
พระเจา้ จกั รพรรด’ิ องค์ ๔ ทีพ่ ึงถือเอานั้น เปน็ ไฉน ?”

‘‘ยถา มหาราช จกฺกวตฺตี จตหู ิ สงฺคหวตฺถหู ิ ชน ํ สงคฺ ณฺหาติ, เอวเมว โข
มหาราช โยคินา โยคาวจเรน จตสฺสนนฺ ํ ปรสิ านํ มานส ํ สงคฺ เหตพพฺ ํ อนคุ คฺ เหตพพฺ ํ
สมฺปหํเสตพฺพํ ฯ อิท ํ มหาราช จกกฺ วตตฺ ิสฺส ป มํ องคฺ ํ คเหตพฺพํ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร พระเจ้าจักรพรรดิ ทรง
สงเคราะห์ผู้คนด้วยสงั คหวัตถุ ๔ ประการ ฉันใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผูบ้ �ำเพญ็ เพยี ร
ก็พึงสงเคราะหจ์ ิตของบรษิ ัท ๔ คือพึงอนเุ คราะห์ พึงท�ำให้บันเทิง ฉนั น้ันเหมือนกนั นคี้ อื องค์
ท่ี ๑ แห่งพระเจา้ จกั รพรรดิ ท่พี ึงถือเอา

‘‘ปุน จปรํ มหาราช จกกฺ วตฺตสิ ฺส วิชิเต โจรา น อฏุ ฺ หนฺติ, เอวเมว โข มหาราช
โยคินา โยคาวจเรน กามราคพยฺ าปาทวหิ สึ าวติ กกฺ า น อุปฺปาเทตพพฺ า ฯ อทิ ํ มหาราช
จกฺกวตฺตสิ ฺส ทุตยิ ํ องฺค ํ คเหตพฺพํ ฯ
ขอถวายพระพร ยังมีอีกองคห์ น่งึ พวกโจรย่อมไม่ฮึกเหมิ ในแว่นแคว้นของพระเจ้า
จักรพรรดิ ฉนั ใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผูบ้ �ำเพ็ญเพยี ร กไ็ ม่พงึ ท�ำกามวติ ก พยาบาท
วติ ก และวหิ ิงสาวิตก ให้เกิดข้ึน ฉนั นนั้ เหมือนกนั น้คี อื องค์ท่ี ๒ แหง่ พระเจา้ จักรพรรดิ ท่ีพงึ
ถอื เอา

ภาสติ มฺเปต ํ มหาราช ภควตา เทวาติเทเวน –
‘‘วิตกกฺ ปู สเม จ โย รโต
อสภุ ํ ภาวยเต สทา สโต
เอส โข พยฺ นฺตกิ าหติ ิ
เอส เฉจฉฺ ต ิ มารพนธฺ นนฺ’ติ ฯ

กณั ฑ์] ๖.๓ ปถววี รรค 407

ขอถวายพระพร พระผ้มู พี ระภาคเจา้ ผทู้ รงเปน็ เทพยงิ่ กวา่ เหล่าเทพ ทรงภาษิตความ
ขอ้ น้ีไว้ว่า

“ส่วนผใู้ ดยนิ ดีในฌานเปน็ ทร่ี ะงบั วติ ก มสี ติทกุ เมื่อ เจริญอสภุ -
ฌานอยู่ ผนู้ ั้นแลจกั ท�ำตัณหาให้ส้ินสุดไมไ่ ด้ จักตัดเครอื่ งผกู
แห่งมารได”้
‘‘ปุน จปรํ มหาราช จกกฺ วตฺต ี ทวิ เส ทิวเส สมุทฺทปรยิ นฺต ํ มหาปถว ึ อนุยายต ิ
กลฺยาณปาปกาน ิ วิจินมาโน, เอวเมว โข มหาราช โยคนิ า โยคาวจเรน กายกมมฺ ํ วจกี มฺม ํ
มโนกมมฺ ํ ทวิ เส ทวิ เส ปจจฺ เวกฺขิตพฺพ ํ ‘กินนฺ ุ โข เม อเิ มห ิ ตหี ิ าเนห ิ อนปุ วชฺชสฺส
ทวิ โส วตี ิวตตฺ ต’ี ติ ฯ อิท ํ มหาราช จกกฺ วตตฺ สิ ฺส ตตยิ ํ องฺค ํ คเหตพฺพํ ฯ
ขอถวายพระพร ยงั มีอีกองค์หน่ึง ทกุ ๆ วัน พระเจ้าจักรพรรดิ จะเสดจ็ ด�ำเนินไปตาม
แผน่ ดินใหญ่ อนั มมี หาสมทุ รเป็นที่สุด เสาะหาสิ่งท่ีดีและไมด่ ี ฉนั ใด ขอถวายพระพร พระ
โยคาวจรผู้บ�ำเพญ็ เพียร ก็พงึ พจิ ารณากายกรรม วจีกรรม มโนกรรมทุก ๆ วนั โดยนยั ว่า ‘เรา
จะท�ำวนั เวลาให้ล่วงไป ไมถ่ ูกตเิ ตยี นโดยฐานะ ๓ ไดไ้ ฉนหนอ ?’ ดังน้ี ฉนั น้นั เหมือนกนั นี้คอื
องคท์ ่ี ๓ แห่งพระเจ้าจักรพรรดิ ทพี่ ึงถอื เอา
ภาสิตมฺเปต ํ มหาราช ภควตา เทวาติเทเวน องคฺ ุตฺตรนิกายวเร –
‘กถมฺภูตสฺส เม รตตฺ ินทฺ วิ า วตี วิ ตฺตนฺตีติ ปพฺพชิเตน อภิณฺหํ ปจฺจเวกฺขติ พพฺ น’ฺ ติ ฯ
ขอถวายพระพร พระผู้มีพระภาคเจ้า ผูท้ รงเปน็ เทพยิ่งกวา่ เหล่าเทพ ทรงภาษิตความ
ข้อนไี้ ว้ในองั คตุ ตรนกิ ายอนั ประเสริฐวา่
‘บรรพชติ ควรพจิ ารณาเนอื ง ๆ ว่า วันคืนล่วงไป ๆ บัดน้ี เราท�ำอะไรอยู่’
‘‘ปุน จปรํ มหาราช จกฺกวตฺติสสฺ อพภฺ นตฺ รพาหิรารกขฺ า สสุ วํ ิหติ า โหต,ิ เอวเมว
โข มหาราช โยคนิ า โยคาวจเรน อพภฺ นฺตรานํ พาหริ านํ กเิ ลสาน ํ อารกฺขาย สตโิ ทวาริโก
เปตพโฺ พ ฯ อทิ ํ มหาราช จกฺกวตตฺ สิ สฺ จตุตฺถํ องคฺ ํ คเหตพฺพํ ฯ
ขอถวายพระพร ยงั มีอกี องคห์ น่ึง การถวายอารักขาทัง้ ภายในและภายนอก การถวาย
การปอ้ งกนั เป็นอย่างดี ยอ่ มมีแกพ่ ระเจ้าจักรพรรดิ ฉนั ใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจร
ผบู้ �ำเพ็ญเพยี ร กพ็ ึงต้งั นายประตูคือสติ เพ่ือการรกั ษา (ป้องกนั ) กเิ ลสทง้ั หลาย ทง้ั ภายใน
และภายนอก ฉันนัน้ เหมือนกนั นี้คือองค์ท่ี ๔ แหง่ พระเจ้าจักรพรรดิ ท่พี งึ ถือเอา

408 มิลินทปัญหาปกรณแ์ ปล [๖.โอปัมมกถาปญั ห

ภาสิตมฺเปต ํ มหาราชภควตา เทวาตเิ ทเวน –
‘สตโิ ทวารโิ ก ภิกขฺ เว อรยิ สาวโก อกสุ ล ํ ปชหติ กสุ ล ํ ภาเวติ, สาวชฺช ํ ปชหติ,
อนวชฺช ํ ภาเวต,ิ สทุ ธฺ มตตฺ าน ํ ปรหิ รต’ี ’ติ ฯ
ขอถวายพระพร พระผ้มู ีพระภาคเจา้ ผู้ทรงเป็นเทพยิ่งกว่าเหลา่ เทพ ทรงภาษิตความ
ข้อนไ้ี ว้ว่า
‘ภิกษุทง้ั หลาย อรยิ สาวกมีสติเหมือนทหารยาม ยอ่ มละอกศุ ล เจริญกุศล ละธรรมทมี่ ี
โทษ เจริญธรรมทไ่ี ม่มีโทษ บริหารตนใหบ้ ริสทุ ธ์’ิ

จกกฺ วตตฺ งิ ฺคปญฺโห ทสโม ฯ
จบจกั กวัตตงิ คปัญหาขอ้ ที่ ๑๐

ปถววี คโฺ ค ตตโิ ย ฯ
จบปถววี รรคท่ี ๓

ตสสฺ ุทฺทานํ –
ปถวี อาโป จ เตโช จ วาโย จ ปพพฺ เตน จ
อากาโส จนทฺ สรู ิโย จ สกฺโก จ จกฺกวตฺตนิ าติ ฯ
รวมสตู รท่ีมาในวรรคนี้ คอื
๑. ปถวสี ูตร ๒. อาโปสูตร
๓. เตโชสูตร ๔. วาโยสตู ร
๕. ปพั พตสูตร ๖. อากาสสตู ร
๗. จันทสูตร ๘. สรู ิยสตู ร
๙. สักกสตู ร ๑๐. จักกวัตติสตู ร
________

กณั ฑ]์ ๖.๔ อปุ จิกาวรรค 409

๖.๔ อุปจกิ าวคคฺ

๖.๔ อปุ จิกาวรรค หมวดว่าด้วยปลวก

๑. อุปจกิ งคฺ ปญหฺ

๑. อปุ จิกงั คปญั หา

ปญั หาวา่ ดว้ ยองคแ์ หง่ ปลวก

[๑] ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน ‘อปุ จกิ าย เอก ํ องฺค ํ คเหตพพฺ น’ฺ ติ ยํ วเทสิ, กตมํ ตํ เอกํ
องคฺ ํ คเหตพฺพน”ฺ ติ ?
[๑] พระเจา้ มิลินท์ตรัสวา่ “พระคุณเจ้านาคเสน ท่านกลา่ ววา่ ‘พงึ ถือเอาองค์ ๑ แหง่
ปลวก’ องค์ ๑ ทีพ่ งึ ถือเอานน้ั เป็นไฉน ?”

‘‘ยถา มหาราช อปุ จิกา อุปริ ฉทนํ กตวฺ า อตฺตานํ ปิทหติ วฺ า โคจราย จรติ,
เอวเมว โข มหาราช โยคินา โยคาวจเรน สีลสวํ รฉทนํ กตวฺ า มานสํ ปทิ หติ วฺ า ปิณฺฑาย
จรติ พฺพ,ํ สลี สวํ รฉทเนน โข มหาราช โยคี โยคาวจโร สพพฺ ภยสมติกฺกนฺโต โหติ ฯ อทิ ํ
มหาราช อุปจิกาย เอกํ องคฺ ํ คเหตพฺพํ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร ปลวกสร้างเครอ่ื งมงุ บังไว้
ข้างบน ปิดบงั ตนเองไว้แลว้ กเ็ ทย่ี วหากินไป ฉันใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผบู้ �ำเพ็ญ
เพยี ร ก็พึงสร้างเครอ่ื งมงุ บงั คือศลี สังวร ปดิ บงั จิตไว้แล้ว เท่ยี วบณิ ฑบาต ฉันน้ันเหมอื นกนั ขอ
ถวายพระพร พระโยคาวจรผบู้ �ำเพญ็ เพียร อาศยั เครอื่ งมงุ บังคอื ศลี สงั วร ยอ่ มกา้ วล่วงภยั ทงั้
ปวงได้ นี้คือองค์ ๑ แห่งปลวก ท่พี ึงถือเอา

ภาสิตมเฺ ปต ํ มหาราช เถเรน อุปเสเนน วงฺคนตฺ ปุตฺเตน –
‘‘สลี สํวรฉทนํ โยค ี กตฺวาน มานสํ
อนปุ ลติ ฺโต โลเกน ภยา จ ปริมุจฺจตี’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร ทา่ นพระอปุ เสนวังคันตบตุ รเถระได้ภาษิตความข้อนไี้ วว้ า่
“พระโยคี กระท�ำจิตให้มีเครื่องมงุ บงั คือศลี สงั วรแล้ว กไ็ ม่ถูก
โลกธรรมฉาบทา ยอ่ มหลุดพน้ จากภยั ทัง้ ปวงได”้

อปุ จิกงคฺ ปญฺโห ป€โม ฯ

จบอปุ จกิ ังคปญั หาขอ้ ท่ี ๑

410 มิลนิ ทปญั หาปกรณ์แปล [๖.โอปัมมกถาปญั ห

๒. พิฬารงคฺ ปญหฺ
๒. พฬิ ารงั คปญั หา
ปัญหาว่าด้วยองค์แหง่ แมว
[๒] ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน ‘พิฬารสฺส เทฺว องคฺ านิ คเหตพพฺ านี’ต ิ ย ํ วเทส,ิ กตมาน ิ
ตานิ เทวฺ องฺคานิ คเหตพฺพานี’’ติ ?
[๒] พระเจา้ มิลนิ ทต์ รสั ว่า “พระคุณเจา้ นาคเสน ท่านกล่าววา่ ‘พึงถอื เอาองค์ ๒ แหง่
แมว’ องค์ ๒ ที่พงึ ถือเอานั้น เป็นไฉน ?”

‘‘ยถา มหาราช พิฬาโร คุหาคโตป ิ สุสริ คโตปิ หมฺมยิ นตฺ รคโตป ิ อนุ ทฺ ูรเํ ยว
ปริเยสต,ิ เอวเมว โข มหาราช โยคินา โยคาวจเรน คามคเตนาป ิ อร ฺ คเตนาปิ
รุกขฺ มูลคเตนาป ิ สุ ฺ าคารคเตนาปิ สตตํ สมติ ํ อปปฺ มตเฺ ตน กายคตาสติโภชนเํ ยว
ปรเิ ยสติ พฺพํ ฯ อทิ ํ มหาราช พิฬารสสฺ ป ม ํ องคฺ ํ คเหตพฺพํ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร แมว ไม่ว่าจะอยู่ในถ้�ำ ไม่วา่
จะอยใู่ นโพรง ไม่ว่าจะอยู่ในเรือนโลน้ ก็เอาแตจ่ ะค้นหาหนทู า่ เดยี ว ฉนั ใด ขอถวายพระพร
พระโยคาวจรผ้บู �ำเพญ็ เพยี ร จะอยใู่ นหมู่บ้านกต็ าม จะอยใู่ นปา่ ก็ตาม จะอยทู่ ่โี คนไมก้ ็ตาม จะ
อยใู่ นเรือนวา่ งก็ตาม ก็พึงเป็นผไู้ มป่ ระมาท เป็นประจ�ำ สม่�ำเสมอ จะค้นหาแต่ของกนิ คอื กาย-
คตาสติ ฉันน้ันเหมอื นกัน นคี้ อื องคท์ ี่ ๑ แหง่ แมว ท่พี งึ ถอื เอา

‘‘ปนุ จปรํ มหาราช พฬิ าโร อาสนฺเนเยว โคจรํ ปรเิ ยสต,ิ เอวเมว โข มหาราช
โยคินา โยคาวจเรน อเิ มสุเยว ป จฺ สุ อปุ าทานกฺขนเฺ ธส ุ อุทยพฺพยานปุ สสฺ ินา วหิ รติ พฺพ ํ
‘อิติ รปู ํ อติ ิ รูปสฺส สมุทโย อิติ รูปสสฺ อตฺถงคฺ โม, อติ ิ เวทนา อติ ิ เวทนาย สมุทโย
อติ ิ เวทนาย อตฺถงฺคโม, อติ ิ ส ฺ า อติ ิ ส ฺ าย สมุทโย อิต ิ ส ฺ าย อตฺถงคฺ โม, อิต ิ
สงขฺ ารา อิติ สงฺขาราน ํ สมุทโย อติ ิ สงขฺ าราน ํ อตฺถงคฺ โม, อิติ ว ิ ฺ าณํ อิต ิ วิ ฺ าณสฺส
สมุทโย อิต ิ ว ิ ฺ าณสสฺ อตถฺ งคฺ โม’ติ ฯ อทิ ํ มหาราช พิฬารสสฺ ทตุ ิย ํ องฺคํ คเหตพพฺ ํ ฯ
ขอถวายพระพร ยงั มีอกี องกห์ นงึ่ แมว เสาะหาท่ีเทยี่ วหากินเฉพาะใกล้ ๆ เท่านนั้
ฉันใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผูบ้ �ำเพญ็ เพยี ร กพ็ งึ เปน็ ผูต้ ามพิจารณาเห็นความเกดิ ขึน้
ความเส่อื มไปในอปุ าทานขันธ์ ๕ เหล่านเ้ี ท่านนั้ อยู่อยา่ งนี้วา่ ‘รปู มอี ย่างน้ี รูปมีความเกิดข้ึน
อย่างน้ี รปู มีความดบั ไปอยา่ งนี้ เวทนามีอยา่ งนี้ เวทนามีความเกดิ ขึน้ อย่างนี้ เวทนามคี วาม

กณั ฑ์] ๖.๔ อุปจิกาวรรค 411

ดับไปอย่างน้ี สญั ญามอี ยา่ งน้ี สัญญามคี วามเกดิ ขึน้ อยา่ งนี้ สัญญามคี วามดับไปอยา่ งนี้ สงั ขาร
มีอย่างนี้ สังขารมีความเกดิ ขนึ้ อยา่ งนี้ สงั ขารมคี วามดบั ไปอย่างนี้ วิญญาณมอี ยา่ งน้ี วิญญาณ
มีความเกดิ ขึ้นอยา่ งนี้ วิญญาณมคี วามดับไปอยา่ งน้’ี ดงั น้ี ฉนั นั้นเหมอื นกัน นี้คือองคท์ ่ี ๒
แหง่ แมว ท่พี งึ ถือเอา
ภาสติ มเฺ ปตํ มหาราช ภควตา เทวาตเิ ทเวน –

‘‘น อิโต ทเู ร ภวิตพพฺ ํ ภวคฺค ํ กึ กริสสฺ ติ
ปจฺจปุ ฺปนนฺ มฺห ิ โวหาเร สเก กายมฺห ิ วินทฺ ถา’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร พระผู้มีพระภาคเจ้า ผ้ทู รงเป็นเทพยง่ิ กว่าเหล่าเทพ ทรงภาษิตความ
ข้อนไ้ี ว้ว่า
“พวกเธอไมพ่ งึ อยใู่ นท่ไี กลไปกว่านี้ ภวัคคพรหม จักกระท�ำ
อะไรให้ไดเ้ ลา่ จงยนิ ดอี ยแู่ ต่ในกายของตนทก่ี ล่าวถงึ กนั ได้ใน
ปจั จุบนั เทา่ นน้ั เถดิ ”

พิฬารงคฺ ปญโฺ ห ทตุ ิโย ฯ
จบพฬิ ารังคปัญหาข้อท่ี ๒

________

๓. อนุ ทฺ ูรงคฺ ปญฺห
๓. อนุ ทูรังคปญั หา
ปญั หาวา่ ด้วยองค์แห่งหนู
[๓] ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน ‘อุนฺทูรสฺส เอกํ องคฺ ํ คเหตพพฺ น’ฺ ต ิ ย ํ วเทสิ, กตม ํ ต ํ เอก ํ
องฺคํ คเหตพพฺ ’’นฺติ ?
[๓] พระเจ้ามลิ ินทต์ รสั วา่ “พระคณุ เจา้ นาคเสน ทา่ นกลา่ ววา่ ‘พงึ ถอื เอาองค์ ๑ แห่ง
หน’ู องค์ ๑ ที่พึงถือเอานั้น เป็นไฉน ?”
‘‘ยถา มหาราช อุนทฺ ูโร อโิ ต จโิ ต จ วจิ รนฺโต อาหารปู าสีสโกเยว จรติ, เอวเมว
โข มหาราช โยคนิ า โยคาวจเรน อิโต จโิ ต จ วิจรนฺเตน โยนิโส มนสิการูปาสีสเกเนว
ภวติ พฺพํ ฯ อทิ ํ มหาราช อุนทฺ ูรสสฺ เอกํ องคฺ ํ คเหตพฺพํ ฯ

412 มลิ ินทปัญหาปกรณ์แปล [๖.โอปมั มกถาปญั ห

พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร หนู ย่อมเทย่ี วไปเพอื่ ตรวจ
สอบไปขา้ งน้นั ขา้ งนี้ หวงั อยู่แต่สิ่งที่เปน็ อาหารเทา่ นัน้ ฉันใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจร
ผูบ้ �ำเพ็ญเพยี ร กพ็ งึ เป็นผู้เท่ยี วสอบสวนไปขา้ งนั้นข้างน้ี หวังอย่แู ตจ่ ะท�ำโยนิโสมนสกิ าร
ฉันนัน้ เหมอื นกนั น้คี ือองค์ ๑ แหง่ หนู ท่พี ึงถือเอา

ภาสติ มฺเปตํ มหาราช เถเรน อุปเสเนน วงฺคนฺตปุตเฺ ตน –
‘‘ธมฺมาสีส ํ กริตวฺ าน วิหรนโฺ ต วปิ สฺสโก
อโนลโี น วิหรต ิ อุปสนฺโต สทา สโต’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร พระอปุ เสนวังคันตบุตรเถระ ไดภ้ าษิตความขอ้ นีไ้ วว้ า่
“ภิกษุผกู้ ระท�ำธรรมใหเ้ ปน็ ศรี ษะ เจริญวปิ สั สนาอยู่ ย่อมเปน็
ผู้ไม่ยึดตดิ มีสติ สงบ ตลอดกาลนาน ทกุ เม่อื อย”ู่

อุนทฺ รู งฺคปญโฺ ห ตติโย ฯ

จบอุนทูรังคปญั หาขอ้ ท่ี ๓

________

๔. วิจฉฺ กิ งฺคปญหฺ
๔. วิจฉกิ ังคปัญหา
ปัญหาว่าด้วยองคแ์ หง่ แมงปอ่ ง
[๔] ‘‘ภนฺเต นาคเสน ‘วจิ ฉฺ ิกสสฺ เอก ํ องฺค ํ คเหตพฺพนฺ’ติ ย ํ วเทสิ, กตมํ ต ํ เอกํ
องคฺ ํ คเหตพฺพนฺ”ติ ?
[๔] พระเจ้ามลิ นิ ท์ตรัสว่า “พระคุณเจา้ นาคเสน ทา่ นกลา่ ววา่ ‘พึงถือเอาองค์ ๑ แหง่
แมงป่อง’ องค์ ๑ ท่ีพงึ ถอื เอานน้ั เป็นไฉน ?”

‘‘ยถา มหาราช วิจฉฺ ิโก นงคฺ ุลาวโุ ธ นงฺคลุ ํ อสุ สฺ าเปตฺวา จรต,ิ เอวเมว โข
มหาราช โยคินา โยคาวจเรน าณาวุเธน ภวิตพพฺ ํ, าณํ อสุ สฺ าเปตฺวา วิหรติ พพฺ ํ ฯ อิท ํ
มหาราช วิจฉฺ กิ สสฺ เอก ํ องฺค ํ คเหตพพฺ ํ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร แมงป่อง มีหางเป็นอาวธุ จึง
เท่ยี วยกหางไป ฉันใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผ้บู �ำเพญ็ เพยี ร ก็พึงเปน็ ผมู้ ีญาณเปน็

กณั ฑ]์ ๖.๔ อปุ จิกาวรรค 413

อาวุธ พึงยกญาณข้ึนอยู่ น้ีคือองคท์ ี่ ๑ แหง่ แมงป่อง ท่พี ึงถอื เอา

ภาสิตมเฺ ปต ํ มหาราช เถเรน อปุ เสเนน วงคฺ นตฺ ปุตฺเตน –
‘‘ าณขคคฺ ํ คเหตวฺ าน วิหรนโฺ ต วิปสสฺ โก
ปรมิ ุจฺจต ิ สพฺพภยา ทปุ ปฺ สโห จ โส ภเว’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร พระอุปเสนวังคันตบุตรเถระ ไดภ้ าษติ ความขอ้ นีไ้ ว้วา่
“ภกิ ษผุ จู้ ับพระขรรค์คอื ญาณ เจริญวิปสั สนาอยู่ ยอ่ มหลุดพ้น
จากภยั ท้ังปวงได้ และเธอจะพงึ เปน็ ผ้ทู ี่ภัยขม่ ขี่ได้ยาก”

วิจฺฉกิ งฺคปญฺโห จตตุ โฺ ถ ฯ

จบวิจฉิกังคปัญหาขอ้ ท่ี ๔

________

๕. นกลุ งคฺ ปญฺห
๕. นกุลังคปัญหา
ปัญหาวา่ ดว้ ยองคแ์ หง่ พังพอน
[๕] ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน ‘นกุลสสฺ เอก ํ องคฺ ํ คเหตพพฺ น’ฺ ติ ยํ วเทสิ, กตมํ ต ํ เอก ํ
องคฺ ํ คเหตพพฺ นฺ”ติ ?
[๕] พระเจ้ามลิ นิ ท์ตรัสว่า “พระคุณเจ้านาคเสน ท่านกล่าวว่า ‘พึงถอื เอาองค์ ๑ แห่ง
พงั พอน’ องค์ ๑ ทพ่ี ึงถือเอาน้นั เป็นไฉน ?”
‘‘ยถา มหาราช นกุโล อุรคมปุ คจฉฺ นโฺ ต เภสชฺเชน กาย ํ ปรภิ าเวตฺวา อรุ ค-
มุปคจฉฺ ต ิ คเหตํุ, เอวเมว โข มหาราช โยคินา โยคาวจเรน โกธาฆาตพหลุ ํ
กลหวคิ คฺ หวิวาทวิโรธาภิภูต ํ โลกมุปคจฺฉนเฺ ตน เมตตฺ าเภสชฺเชน มานสํ อนลุ ิมปฺ ติ พพฺ ํ ฯ
อิท ํ มหาราช นกุลสฺส เอกํ องคฺ ํ คเหตพฺพํ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร พังพอน เมอื่ จะเข้าใกล้งู
ยอ่ มอบกายดว้ ยยาแล้ว จึงเขา้ ไปใกล้งู เพ่อื ทจ่ี ะจบั เอา ฉันใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจร
ผูบ้ �ำเพ็ญเพียร เมอื่ จะเขา้ ไปใกลช้ าวโลกผูม้ ากด้วยความโกรธ ความอาฆาต ผถู้ ูกการทะเลาะ
การจบั ผดิ กนั การววิ าท ความโกรธครอบง�ำ กพ็ งึ ใชย้ าคือเมตตาลูบไลจ้ ิต ฉันนนั้ เหมือนกนั นี้
คือองค์ ๑ แห่งพงั พอน ที่พงึ ถอื เอา

414 มิลนิ ทปญั หาปกรณแ์ ปล [๖.โอปัมมกถาปัญห

ภาสิตมฺเปต ํ มหาราช เถเรน สาริปุตฺเตน ธมฺมเสนาปตินา –
‘‘ตสมฺ า สก ํ ปเรสมฺปิ กาตพฺพา เมตตฺ ภาวนา
เมตตฺ จิตเฺ ตน ผริตพฺพํ เอตํ พทุ ธฺ าน สาสนนฺ”ติ ฯ
ขอถวายพระพร ท่านพระธรรมเสนาบดีสารบี ตุ รเถระ ได้ภาษิตความขอ้ นไ้ี วว้ า่
“เพราะฉะนัน้ กค็ วรท�ำการเจริญเมตตาแกต่ น ทัง้ แกค่ นอ่นื
พึงแผไ่ ปดว้ ยเมตตาจิต น้คี อื ค�ำสอนของพระพุทธเจ้าทง้ั หลาย”

นกลุ งคฺ ปญฺโห ปญจฺ โม ฯ

นกุลงั คปญั หาข้อที่ ๕

________

๖. ชรสงิ คฺ าลงฺคปญฺห
๖. ชรสิงคาลงั คปญั หา
ปญั หาวา่ ด้วยองคแ์ หง่ สุนัขจ้ิงจอก

[๖] ‘‘ภนฺเต นาคเสน ‘ชรสิงคฺ าลสฺส เทวฺ องฺคาน ิ คเหตพพฺ านี’ติ ยํ วเทส,ิ
กตมานิ ตานิ เทวฺ องคฺ านิ คเหตพพฺ าน’ี ’ติ ?
[๖] พระเจา้ มิลนิ ท์ตรสั ว่า “พระคณุ เจ้านาคเสน ทา่ นกล่าวว่า ‘พงึ ถอื เอาองค์ ๒ แห่ง
สุนัขจงิ้ จอก’ องค์ ๒ ท่ีพงึ ถอื เอานัน้ เป็นไฉน ?”

‘‘ยถา มหาราช ชรสิงคฺ าโล โภชนํ ปฏิลภติ วฺ า อชคิ จุ ฉฺ มาโน ยาวทตถฺ ํ อาหรยติ,
เอวเมว โข มหาราช โยคนิ า โยคาวจเรน โภชน ํ ปฏิลภิตวฺ า อชคิ ุจฺฉมาเนน สรรี -
ยาปนมตตฺ เมว ปริภุ ชฺ ติ พฺพํ ฯ อทิ ํ มหาราช ชรสงิ คฺ าลสสฺ ป มํ องคฺ ํ คเหตพฺพํ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร สนุ ขั จง้ิ จอก พอไดข้ องกิน
แล้ว ก็ไม่รังเกยี จ กลนื กินตราบเท่าทต่ี อ้ งการ ฉนั ใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผูบ้ �ำเพญ็
เพยี รไดโ้ ภชนาหารมาแล้ว ก็พึงเปน็ ผไู้ ม่รังเกียจ บริโภคเพยี งเพ่อื เป็นเคร่ืองเยยี วยาสรีระ
ฉนั นัน้ เหมอื นกัน นคี้ อื องคท์ ่ี ๑ แหง่ สุนขั จ้งิ จอก ทพ่ี ึงถือเอา

ภาสติ มฺเปต ํ มหาราช เถเรน มหากสฺสเปน –
‘‘เสนาสนมหฺ า โอรุยฺห คามํ ปณิ ฑฺ าย ปาวสิ ึ
ภุ ฺชนฺต ํ ปุริส ํ กฏุ ฺ ึ สกกฺ จจฺ นํ อปุ ฏฺ หึ ฯ

กัณฑ]์ ๖.๔ อุปจิกาวรรค 415

โส เม ปกฺเกน หตฺเถน อาโลป ํ อุปนามยิ
อาโลป ํ ปกฺขิปนฺตสสฺ องคฺ ลุ ิเปตถฺ ฉชิ ฺชถ ฯ
กุฏฺฏมูล ฺจ นสิ สฺ าย อาโลป ํ ตํ อภ ุ ชฺ ิสํ
ภุ ฺชมาเน วา ภตุ ฺเต วา เชคุจฉฺ ํ เม น วชิ ชฺ ต’ี ติ ฯ
ขอถวายพระพร พระมหากัสสปเถระ ไดภ้ าษติ ความข้อนไ้ี วว้ า่
“เราลงจากเสนาสนะ แลว้ ได้เขา้ ไปบิณฑบาตยงั หมูบ่ า้ น ได้
เข้าไปยืนอยูใ่ กล้ ๆ บุรษุ โรคเรือ้ นซง่ึ ก�ำลงั บรโิ ภคอาหารนนั้
ด้วยความเอือ้ เฟ้อื บุรษุ โรคเรอ้ื นใช้มอื ข้างทีห่ งกิ งอ นอ้ มค�ำ
ขา้ วเข้ามาถวายเรา และเมื่อเขาใสค่ �ำขา้ วลง น้วิ มอื ของเขา
ซึ่งเน่าเฟะ ก็ขาดตกลงในบาตรของเรา เราได้อาศยั ฝาเรือนฉัน
ค�ำขา้ วนั้นอยู่ ขณะฉนั หรือฉันเสรจ็ แล้ว เราไมม่ ีความรังเกยี จ
เลย”

‘‘ปนุ จปร ํ มหาราช ชรสิงฺคาโล โภชนํ ปฏลิ ภิตวฺ า น วจิ นิ าต ิ ลูขํ วา ปณีต ํ
วาติ, เอวเมว โข มหาราช โยคนิ า โยคาวจเรน โภชนํ ปฏลิ ภติ ฺวา น วจิ นิ ิตพพฺ ํ ‘ลขู ํ วา
ปณตี ํ วา สมปฺ นนฺ ํ วา อสมฺปนฺน ํ วา’ต,ิ ยถาลทฺเธน สนตฺ ุสสฺ ติ พฺพํ ฯ อิท ํ มหาราช
ชรสงิ คฺ าลสสฺ ทตุ ิยํ องฺค ํ คเหตพฺพํ ฯ
ขอถวายพระพร ยงั มอี กี องค์หนง่ึ สุนขั จง้ิ จอก ไดข้ องกินมาแลว้ ก็ไม่เลือกว่าเลวหรอื
ประณตี ฉันใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผ้บู �ำเพญ็ เพียร ไดโ้ ภชนาหารมาแลว้ กไ็ มพ่ ึง
เลอื กวา่ เลวหรือประณีต ว่าสมบรู ณห์ รือไม่สมบรู ณ์ พงึ ยินดีอยดู่ ้วยโภชนาหารตามทไ่ี ด้
ฉนั นนั้ เหมือนกัน น้ีคือองค์ท่ี ๒ แหง่ สนุ ัขจิง้ จอก ท่ีพงึ ถือเอา

ภาสิตมฺเปตํ มหาราช เถเรน อปุ เสเนน วงฺคนฺตปตุ เฺ ตน –
‘‘ลเู ขนป ิ จ สนฺตสุ ฺเส นา ฺ ํ ปตฺเถ รส ํ พหํุ
รเสส ุ อนุคิทธฺ สสฺ ฌาเน น รมเต มโน
อิตรีตเรน สนตฺ ฏุ ฺโ สาม ฺ ํ ปรปิ รู ตี’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร ท่านอปุ เสนวงั คนั ตบุตรเถระ ไดภ้ าษติ ความขอ้ นี้ไว้วา่
“พงึ ยนิ ดีดว้ ยของตามที่ได้ ถึงจะเปน็ ของเศรา้ หมอง และไม่
ควรปรารถนารสอยา่ งอน่ื จากรสตามท่ไี ด้มาใหม้ าก ส�ำหรับผ้ทู ี่
ตดิ ใจในรส ใจยอ่ มไม่ยินดใี นฌาน บคุ คลผ้สู นั โดษด้วยปจั จยั

416 มิลนิ ทปัญหาปกรณ์แปล [๖.โอปมั มกถาปญั ห

ตามท่มี ตี ามที่ได้ ยอ่ มท�ำความเปน็ สมณะให้เต็มเปี่ยมได้”
ชรสงิ คฺ าลงคฺ ปญฺโห ฉฏโฺ € ฯ
จบชรสงิ คาลงั คปัญหาขอ้ ที่ ๖
________

๗. มคิ งฺคปญหฺ
๗. มคิ ังคปญั หา
ปัญหาว่าด้วยองคแ์ ห่งเน้ือ
[๗] ‘‘ภนฺเต นาคเสน ‘มิคสฺส ตณี ิ องฺคาน ิ คเหตพพฺ านี’ติ ย ํ วเทสิ, กตมานิ
ตาน ิ ตณี ิ องคฺ านิ คเหตพพฺ าน’ี ’ติ ?
[๗] พระเจา้ มิลินท์ตรสั วา่ “พระคณุ เจ้านาคเสน ทา่ นกล่าวา่ ‘พึงถือเอาองค์ ๓ แหง่
เนอื้ ’ องค์ ๓ ทพี่ งึ ถอื เอานน้ั เปน็ ไฉน ?”

‘‘ยถา มหาราช มิโค ทิวา อร เฺ จรต ิ รตตฺ ึ อพฺโภกาเส, เอวเมว โข มหาราช
โยคินา โยคาวจเรน ทิวา อร เฺ วหิ รติ พพฺ ,ํ รตตฺ ึ อพโฺ ภกาเส ฯ อิท ํ มหาราช มคิ สสฺ
ป ม ํ องคฺ ํ คเหตพพฺ ํ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร เนือ้ ตอนกลางวันเท่ยี วไป
ในปา่ ตอนกลางคืนเทยี่ วไปในที่โล่งแจ้ง ฉันใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผ้บู �ำเพ็ญเพยี ร
ตอนกลางวัน พึงอยู่แตใ่ นปา่ ตอนกลางคืน พึงอย่ใู นท่โี ล่งแจ้ง ฉันนั้นเหมือนกัน นคี้ อื องคท์ ี่ ๑
แหง่ เนอ้ื ที่พงึ ถอื เอา

‘‘ภาสิตมเฺ ปตํ มหาราช ภควตา เทวาตเิ ทเวน โลมหํสนปริยาเย –
‘โส โข อหํ สาริปตุ ฺต ยา ตา รตฺตโิ ย สีตา เหมนฺตกิ า อนตฺ รฏ ฺ กา หมิ ปาต-
สมยา, ตถารปู าส ุ รตตฺ ีสุ รตตฺ ึ อพฺโภกาเส วหิ รามิ, ทิวา วนสณฺเฑ ฯ คมิ หฺ านํ ปจฺฉเิ ม
มาเส ทิวา อพฺโภกาเส วหิ รามิ, รตตฺ ึ วนสณเฺ ฑ’ติ ฯ
ขอถวายพระพร พระผู้มีพระภาคเจา้ ผู้ทรงเป็นเทพยิ่งกว่าเหลา่ เทพ ทรงภาษติ ความ
ข้อนี้ไวใ้ นโลมหงั สนปรยิ ายสูตร (มหาสหี นาทสูตร)วา่
‘สารบี ุตร เรานนั้ อยู่ทีก่ ลางแจ้งตลอดทัง้ คืนในราตรีทหี่ นาวเหน็บ ซง่ึ อยรู่ ะหว่าง
เดอื น ๓ ต่อเดอื น ๔ เปน็ ช่วงเวลาทีห่ มิ ะตกเห็นปานน้นั อยูใ่ นแนวป่า ในเวลากลางวัน ใน

กัณฑ์] ๖.๔ อุปจิกาวรรค 417

เดือนทา้ ยแหง่ ฤดรู อ้ น เราอยใู่ นท่แี จง้ ในเวลากลางวนั แต่อยใู่ นแนวป่าในเวลากลางคืน’

‘‘ปุน จปรํ มหาราช มิโค สตตฺ มิ หฺ ิ วา สเร วา โอปตนฺเต ว เฺ จติ ปลายต,ิ น
กายมุปเนติ, เอวเมว โข มหาราช โยคินา โยคาวจเรน กเิ ลเสสุ โอปตนฺเตส ุ ว จฺ ยิตพฺพ ํ
ปลายิตพฺพํ, น จติ ตฺ มุปเนตพพฺ ํ ฯ อทิ ํ มหาราช มิคสสฺ ทตุ ยิ ํ องคฺ ํ คเหตพฺพํ ฯ
ขอถวายพระพร ยังมอี ีกองค์หนึง่ เมือ่ มีหอกหรือธนู พ่งุ ตกลงมา เนอื้ ย่อมมแี ต่จะหลบ
หลกี หนไี ป ไม่นอ้ มกายเข้าไปรบั ฉันใด ขอถวายพระพร เมื่อมกี ิเลสพุ่งตกลงมา พระโยคาวจร
ผบู้ �ำเพญ็ เพยี ร กพ็ งึ หลบหลีกหนไี ป ไม่พงึ นอ้ มจิตเข้าไปรบั ไว้ ฉันนนั้ เหมอื นกัน นีค้ ือองค์ท่ี ๒
แหง่ เนือ้ ท่ีพึงถือเอา

‘‘ปุน จปร ํ มหาราช มโิ ค มนสุ เฺ ส ทสิ ฺวา เยน วา เตน วา ปลายติ ‘มา มํ เต
อททฺ สสํ ู’ต,ิ เอวเมว โข มหาราช โยคินา โยคาวจเรน ภณฑฺ นกลหวคิ ฺคหวิวาทสีเล ทสุ ฺสเี ล
กุสีเต สงฺคณิการาเม ทสิ ฺวา เยน วา เตน วา ปลายติ พพฺ ํ ‘มา มํ เต อทฺทสํสุ, อห จฺ
เต มา อทฺทส’นตฺ ิ ฯ อทิ ํ มหาราช มิคสสฺ ตติย ํ องคฺ ํ คเหตพพฺ ํ ฯ
ขอถวายพระพร ยังมีอกี องคห์ นึง่ เนอ้ื พอเห็นคนเข้า กห็ นไี ปเสียทางใดทางหน่ึง ดว้ ย
ความคดิ ว่า ‘ขอพวกคนเหล่านน้ั จงอยา่ ไดเ้ ห็นเราเลย’ ดงั นี้ ฉนั ใด ขอถวายพระพร พระ
โยคาวจรผบู้ �ำเพญ็ เพียร เหน็ คนทศุ ีลทง้ั หลาย ผมู้ ปี กติโตเ้ ถียงกัน ทะเลาะกนั จบั ผดิ กัน ววิ าท
กัน คนเกยี จครา้ น คนที่ยินดกี ารอยคู่ ลกุ คลีกันแลว้ ก็พงึ หนีไปเสยี ทางใดทางหนึ่ง ด้วยความ
คดิ ว่า ‘ขอคนเหล่านัน้ จงอย่าไดพ้ บเหน็ เราเลย’ ดงั นี้ ฉันนั้นเหมอื นกนั นีค้ อื องคท์ ่ี ๓ แห่งเนอ้ื
ท่พี ึงถือเอา

ภาสิตมฺเปตํ มหาราช เถเรน สาริปตุ เฺ ตน ธมฺมเสนาปตนิ า –
‘‘มา เม กทาจิ ปาปจิ ฺโฉ กุสีโต หนี วีริโย
อปปฺ สสฺ โุ ต อนาจาโร สมมฺ โต อหุ กตถฺ จ’ี ’ติ ฯ
ขอถวายพระพร ทา่ นพระธรรมเสนาบดีสารีบุตรเถระ ไดภ้ าษิตความขอ้ นี้ไวว้ า่
“ภกิ ษผุ ูม้ ีความปรารถนาลามก เกยี จคร้าน มคี วามเพยี ร
ยอ่ หย่อน มีการเลา่ เรียนนอ้ ย ไม่เออื้ เฟื้อ อยา่ ได้มใี นส�ำนักเรา
ในกาลไหน ๆ เลย เป็นคนทเ่ี ราตอ้ งคบหาด้วยเลย”

มคิ งฺคปญฺโห สตตฺ โม ฯ

จบมิคังคปัญหาขอ้ ท่ี ๗

418 มลิ ินทปญั หาปกรณ์แปล [๖.โอปมั มกถาปญั ห

๘. โครปู งคฺ ปญฺห
๘. โครูปังคปญั หา
ปญั หาว่าด้วยองค์แห่งโค
[๘] ‘‘ภนฺเต นาคเสน ‘โครปู สสฺ จตตฺ าร ิ องฺคานิ คเหตพฺพานี’ต ิ ย ํ วเทส,ิ
กตมานิ ตานิ จตตฺ าร ิ องฺคานิ คเหตพพฺ าน’ี ’ติ ?
[๘] พระเจา้ มลิ ินทต์ รัสว่า “พระคณุ เจ้านาคเสน ท่านกล่าววา่ ‘พงึ ถอื เอาองค์ ๔ แหง่
โค’ องค์ ๔ ทีพ่ ึงถอื เอานัน้ เป็นไฉน ?”

‘‘ยถา มหาราช โครโู ป สก ํ เคห ํ น วชิ หต,ิ เอวเมว โข มหาราช โยคินา
โยคาวจเรน สโก กาโย น วิชหติ พโฺ พ ‘อนิจจฺ จุ ฺฉาทนปริมททฺ นเภทนวิกิรณวทิ ธฺ ํสนธมฺโม
อย ํ กาโย’ติ ฯ อิท ํ มหาราช โครปู สสฺ ป มํ องฺค ํ คเหตพพฺ ํ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร โค ยอ่ มไมล่ ะท้ิงคอกของ
ตนไป ฉนั ใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผบู้ �ำเพ็ญเพียร กไ็ มพ่ งึ ละท้งิ กายของตน ด้วยการ
ท�ำไวใ้ นใจว่า กายน้ี มคี วามเปน็ ของไมเ่ ที่ยง ทรุดโทรม ยอ่ ยยับ แตกท�ำลาย กระจดั กระจาย
ป่นปี้ เปน็ ธรรมดา ดังนี้ ฉันนั้นเหมือนกนั นค้ี อื องคท์ ี่ ๑ แหง่ โค ทพ่ี ึงถอื เอา

‘‘ปนุ จปร ํ มหาราช โครูโป อาทินนฺ ธุโร สุขทกุ ฺเขน ธุร ํ วหติ, เอวเมว โข มหาราช
โยคินา โยคาวจเรน อาทินฺนพรฺ หมฺ จรเิ ยน สขุ ทกุ เฺ ขน ยาว ชวี ิตปรยิ าทานา อาปาณโกฏกิ ํ
พรฺ หฺมจริยํ จริตพฺพํ ฯ อทิ ํ มหาราช โครูปสฺส ทตุ ยิ ํ องคฺ ํ คเหตพฺพํ ฯ
ขอถวายพระพร ยังมีอกี องค์หนงึ่ โค ทเี่ ขาเทยี มแอกแล้ว ยอ่ มน�ำแอกไป โดยสะดวก
บ้าง ล�ำบากบา้ ง ฉนั ใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผบู้ �ำเพญ็ เพียร กพ็ ึงเป็นผูเ้ ทียมแอกคอื
พรหมจรรย์ ประพฤติพรหมจรรย์ มีลมหายใจเป็นทส่ี ุด โดยสะดวกบ้าง ล�ำบากบ้าง ตราบเท่า
ชีวิตจะสิ้นสดุ ฉนั นั้นเหมอื นกัน นค้ี อื องคท์ ี่ ๒ แห่งโค ทีพ่ ึงถือเอา

‘‘ปนุ จปรํ มหาราช โครโู ป ฉนเฺ ทน ฆายมาโน ปานยี ํ ปวิ ติ, เอวเมว โข มหาราช
โยคนิ า โยคาวจเรน อาจริยุปชฺฌายาน ํ อนุสิฏ ฺ ิ ฉนเฺ ทน เปเมน ปสาเทน ฆายมาเนน
ปฏิคฺคเหตพพฺ า ฯ อทิ ํ มหาราช โครูปสฺส ตติยํ องฺค ํ คเหตพฺพํ ฯ
ขอถวายพระพร ยังมอี กี องคห์ นง่ึ โค ยอ่ มดม่ื น�้ำสดู ดมดว้ ยความพอใจ ฉันใด ขอถวาย
พระพร พระโยคาวจรผบู้ �ำเพญ็ เพียร กพ็ ึงเปน็ ผูก้ ระหายรบั เอาค�ำอนุศาสนข์ องอาจารย์และ

กัณฑ์] ๖.๔ อุปจิกาวรรค 419

อปุ ชั ฌาย์ สูดดมดว้ ยความพอใจ ดว้ ยความรัก ดว้ ยความเลือ่ มใส ฉนั นน้ั เหมือนกนั น้ีคอื องคท์ ่ี
๓ แหง่ โค ท่พี งึ ถือเอา

‘‘ปนุ จปรํ มหาราช โครูโป เยน เกนจ ิ วาหยิ มาโน วหติ, เอวเมว โข มหาราช
โยคินา โยคาวจเรน เถรนวมชฺฌมิ ภกิ ขฺ นู มฺปิ คหิ ิอปุ าสกสฺสาปิ โอวาทานุสาสนี สริ สา
สมฺปฏจิ ฺฉติ พพฺ า ฯ อทิ ํ มหาราช โครูปสฺส จตตุ ถฺ ํ องฺคํ คเหตพฺพํ ฯ
ขอถวายพระพร ยังมอี ีกหน่งึ โค พอถูกใครคนใดคนหนึ่งตอ้ นไป ก็ยอ่ มไป ฉันใด
พระโยคาวจรผบู้ �ำเพ็ญเพยี ร กพ็ ึงรบั เอาโอวาทและอนุสาสนี ของท้งั พระเถระ พระนวกะและ
พระมชั ฌมิ ะ ท้งั ของอุบาสกฆราวาสด้วยเศยี รเกล้า ฉนั นั้นเหมือนกนั น้ีคอื องค์ที่ ๓ แหง่ โค
ทพี่ งึ ถอื เอา

ภาสติ มเฺ ปตํ มหาราช เถเรน สารปิ ุตเฺ ตน ธมมฺ เสนาปตินา –
‘‘ตทหุ ปพฺพชโิ ต สนโฺ ต ชาตยิ า สตฺตวสฺสโิ ก
โสปิ มํ อนุสาเสยฺย สมฺปฏิจฉฺ ามิ มตถฺ เก ฯ
ตพิ พฺ ํ ฉนฺท จฺ เปม ฺจ ตสฺม ึ ทสิ วฺ า อุปฏฺ เป
เปยยฺ าจริยฏ ฺ าเน สกฺกจจฺ น ํ ปุนปปฺ นุ น”ฺ ติ ฯ
ขอถวายพระพร ท่านพระธรรมเสนาบดสี ารีบตุ รเถระ ได้ภาษิตความขอ้ นี้ไว้ว่า
“สามเณรถงึ จะเปน็ ผบู้ วชในวนั นั้น แม้ผูม้ ีอายุ ๗ ขวบ นับ
ต้ังแต่เกดิ จะพงึ อนศุ าสน์เราก็ตาม เราจะขอรับค�ำสอนของ
ท่านไว้ดว้ ยกระหม่อม เราได้พบท่านแล้ว ก็จะพึงตัง้ ความ
พอใจ และความรักอยา่ งแรงกลา้ ไวใ้ นท่าน จะพงึ เคารพทา่ น
เนอื ง ๆ ต้ังไวใ้ นฐานะแหง่ อาจารย์”

โครูปงคฺ ปญโฺ ห อฏฺ€โม ฯ

จบโครูปังคปัญหาขอ้ ท่ี ๘

_________

420 มิลนิ ทปัญหาปกรณ์แปล [๖.โอปัมมกถาปัญห

๙. วราหงฺคปญฺห

๙. วราหงั คปญั หา

ปญั หาวา่ ด้วยองคแ์ หง่ สุกร

[๙] ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน ‘วราหสฺส เทวฺ องคฺ านิ คเหตพฺพานี’ต ิ ย ํ วเทส,ิ กตมาน ิ
ตานิ เทวฺ องคฺ าน ิ คเหตพฺพานี’’ติ ?
[๙] พระเจ้ามลิ นิ ท์ตรัสว่า “พระคณุ เจา้ นาคเสน ทา่ นกลา่ วว่า ‘พงึ ถอื เอาองค์ ๒ แหง่
สุกร’ องค์ ๒ ทีพ่ งึ ถอื เอานน้ั เปน็ ไฉน ?”

‘‘ยถา มหาราช วราโห สนฺตตฺตก เิ ต คมิ ฺหสมเย สมปฺ ตเฺ ต อทุ ก ํ อุปคจฺฉต,ิ
เอวเมว โข มหาราช โยคินา โยคาวจเรน โทเสน จติ เฺ ต อาลฬุ ติ ขลิตวพิ ภฺ นตฺ สนตฺ ตเฺ ต
สีตลามตปณตี เมตตฺ าภาวนํ อปุ คนฺตพฺพํ ฯ อิทํ มหาราช วราหสฺส ป ม ํ องคฺ ํ คเหตพพฺ ํ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร สุกร เม่ือฤดรู ้อน ซงึ่ มีแดด
ร้อนแรงมาถึง ก็ย่อมเขา้ ไปหาแหล่งน�ำ้ ฉนั ใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผู้บ�ำเพ็ญเพยี ร
เมอื่ จิตวนุ่ วาย พลง้ั พลาดสบั สน เร่าร้อน เพราะโทสะ ก็พึงเขา้ หาเมตตาภาวนาอนั เยอื กเย็น
เป็นอมตะ ประณตี ฉันน้ันเหมือนกนั นี้คือองค์ท่ี ๑ แห่งสกุ ร ที่พงึ ถอื เอา

‘‘ปนุ จปร ํ มหาราช วราโห จิกฺขลฺลมทุ กมปุ คนฺตฺวา นาสกิ าย ปถวึ ขณติ วฺ า
โทณึ กตฺวา โทณิกาย สยติ, เอวเมว โข มหาราช โยคนิ า โยคาวจเรน มานเส กาย ํ
นิกขฺ ิปติ ฺวา อารมฺมณนตฺ รคเตน สยิตพฺพํ ฯ อิทํ มหาราช วราหสฺส ทุติย ํ องคฺ ํ
คเหตพฺพํ ฯ
ขอถวายพระพร ยังมอี ีกองค์หน่งึ สุกร พอพบที่เป็นโคลนตมแล้ว ก็ใช้จมูกขดุ พ้นื ดิน
ท�ำให้เป็นแอ่ง แลว้ นอนอยใู่ นแอง่ ฉันใด พระโยคาวจรผ้บู �ำเพญ็ เพยี ร กพ็ ึงวางกายไวใ้ นจิต
นอนรูอ้ ยูภ่ ายในอารมณ์ ฉันน้นั เหมือนกัน นถ้ี อื องคท์ ี่ ๒ แหง่ สุกร ทพี่ ึงถอื เอา

ภาสิตมฺเปตํ มหาราช เถเรน ปิณโฺ ฑลภารทวฺ าเชน –
‘‘กาเย สภาวํ ทสิ ฺวาน วิจินิตฺวา วปิ สสฺ โก
เอกากโิ ย อทุติโย เสต ิ อารมฺมณนตฺ เร’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร พระปณิ โฑลภารทวาชเถระ ไดภ้ าษิตความข้อนไี้ ว้ว่า
“พระโยคาวจรผู้เจริญวิปสั สนา ตรวจพบเห็น สภาพในกายแล้ว

กัณฑ]์ ๖.๔ อุปจิกาวรรค 421

กเ็ ป็นผโู้ ดดเดีย่ ว ไม่มเี พ่อื น นอนอย่ภู ายในอารมณ์”
วราหงฺคปญฺโห นวโม ฯ
จบวราหังคปัญหาขอ้ ท่ี ๙
________

๑๐. หตถฺ ิงฺคปญฺห
๑๐. หตั ถงิ คปัญหา
ปญั หาวา่ ดว้ ยองค์แหง่ ช้าง
[๑๐] ‘‘ภนฺเต นาคเสน ‘หตฺถิสสฺ ป ฺจ องฺคาน ิ คเหตพพฺ าน’ี ต ิ ยํ วเทสิ, กตมานิ
ตาน ิ ป จฺ องฺคาน ิ คเหตพพฺ าน’ี ’ติ ?
[๑๐] พระเจา้ มลิ นิ ทต์ รสั ว่า “พระคุณเจ้านาคเสน ทา่ นกล่าวว่า ‘พงึ ถอื เอาองค์ ๕ แหง่
ช้าง’ องค์ ๕ ท่ีพงึ ถอื เอานั้น เปน็ ไฉน ?”
‘‘ยถา มหาราช หตฺถี นาม จรนฺโตเยว ปถวึ ทาเลติ, เอวเมว โข มหาราช
โยคนิ า โยคาวจเรน กาย ํ สมฺมสมาเนเนว สพฺเพ กิเลสา ทาเลตพพฺ า ฯ อทิ ํ มหาราช
หตถฺ ิสฺส ป ม ํ องฺค ํ คเหตพพฺ ํ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร ธรรมดาว่าชา้ ง เคยแต่จะ
เดนิ ย�ำ่ ท�ำใหแ้ ผ่นดินแตก ฉนั ใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผบู้ �ำเพ็ญเพยี ร ก็พึงเป็นผู้คอย
แตจ่ ะพจิ ารณากาย ท�ำลายกเิ ลสทั้งปวงให้แตกไป ฉันนนั้ เหมอื นกัน นี้คือองค์ท่ี ๑ แห่งช้าง
ทีพ่ งึ ถือเอา
‘‘ปนุ จปร ํ มหาราช หตถฺ ี สพฺพกาเยเนว อปโลเกติ, อชุ กุ เํ ยว เปกขฺ ต,ิ น
ทสิ าวิทสิ า วิโลเกติ, เอวเมว โข มหาราช โยคนิ า โยคาวจเรน สพฺพกาเยน อปโลกินา
ภวิตพฺพํ, น ทสิ าวทิ ิสา วิโลเกตพพฺ า, น อุทฺธํ อลุ ฺโลเกตพพฺ ,ํ น อโธ โอโลเกตพพฺ ํ,
ยคุ มตตฺ เปกฺขนิ า ภวติ พพฺ ํ ฯ อทิ ํ มหาราช หตฺถิสฺส ทุติยํ องฺคํ คเหตพพฺ ํ ฯ
ขอถวายพระพร ยังมอี กี องคห์ น่งึ ช้าง ตัง้ ล�ำตัวทุกสว่ น มองตรงไปเบอ้ื งหน้าเทา่ น้ัน
เพ่งมองไปตรง ๆ ไม่เหลยี วดไู ปทางทศิ ใหญ่ทศิ ย่อยท้งั หลาย ฉนั ใด ขอถวายพระพร พระ
โยคาวจรผู้บ�ำเพญ็ เพยี ร กพ็ ึงเป็นผคู้ อยแตจ่ ะพิจารณากาย ท�ำลายกิเลสทั้งปวงให้แตกไป
ฉันนนั้ เหมอื นกัน นี้คอื องคท์ ่ี ๒ แห่งชา้ ง ท่ีพงึ ถือเอา

422 มลิ ินทปัญหาปกรณ์แปล [๖.โอปัมมกถาปญั ห

‘‘ปุน จปร ํ มหาราช หตถฺ ี อนพิ ทฺธสยโน โคจรายมนุคนตฺ วฺ า น ตเมว เทส ํ
วาสตฺถมุปคจฺฉต,ิ น ธุวปปฺ ติฏฺ าลโย, เอวเมว โข มหาราช โยคนิ า โยคาวจเรน
อนิพทฺธสยเนน ภวติ พพฺ ,ํ นริ าลเยน ปณิ ฺฑาย คนตฺ พฺพํ, ยทิ ปสสฺ ต ิ วปิ สสฺ โก มน ุ ฺ ํ
ปติรูปํ รุจิรเทเส ภวํ มณฺฑปํ วา รกุ ขฺ มูลํ วา คุห ํ วา ปพฺภาร ํ วา, ตตเฺ ถว วาสมุป-
คนฺตพฺพํ, ธุวปปฺ ติฏ ฺ าลโย น กาตพฺโพ ฯ อิทํ มหาราช หตฺถสิ ฺส ตตยิ ํ องฺคํ คเหตพฺพํ ฯ
ขอถวายพระพร ยงั มอี กี องค์หนงึ่ ช้าง ไม่มีทีน่ อนประจ�ำ ไปยงั ถิ่นทห่ี ากินแลว้ ก็ไมย่ ึด
เอาสถานที่นนั้ นน่ั แหละเปน็ ทอ่ี าศยั ไมม่ ที ีอ่ ย่ถู าวร ฉนั ใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจร
ผู้บ�ำเพญ็ เพียร ก็พงึ เปน็ ผู้ไม่มีทีน่ อนประจ�ำ พึงเป็นผไู้ ม่มอี าลัย ไปเพ่ือบณิ ฑบาต ถา้ หากเธอ
ผูเ้ จริญวิปสั สนา ไดพ้ บเหน็ ซมุ้ ไมก้ ็ดี โคนไมก้ ็ดี ถ้�ำก็ดี ซอกเขาก็ดี ท่ีเหมาะสม น่าพอใจ อันมี
อยใู่ นสถานท่นี ่ารืน่ รมย์ ก็พึงเขา้ ไปอาศัยอยู่ ณ ทีน่ ้นั นน่ั แหละ แตไ่ มพ่ ึงท�ำให้เปน็ ที่อยู่
อนั ถาวร ฉนั นัน้ เหมือนกัน นีค้ อื องค์ที่ ๓ แหง่ ชา้ ง ท่ีพงึ ถอื เอา
‘‘ปนุ จปรํ มหาราช หตถฺ ี อทุ กํ โอคาหติ วฺ า สจุ วิ มิ ลสตี ลสลลิ ปรปิ ณุ ฺณ ํ กุมุทุปฺปล-
ปทุมปุณฑฺ รีกส ฺฉนฺนํ มหติมหนฺต ํ ปทุมสรํ โอคาหติ วฺ า กฬี ต ิ คชวรกฬี ,ํ เอวเมว โข
มหาราช โยคินา โยคาวจเรน สุจวิ ิมลวิปปฺ สนนฺ มนาวลิ ธมฺมวรวาริปุณณฺ ํ วมิ ตุ ตฺ กิ ุสมุ ส ฺฉนนฺ ํ
มหาสตปิ ฏฺ านโปกฺขรณ ึ โอคาหิตฺวา าเณน สงขฺ ารา โอธนุ ติ พพฺ า วิธุนิตพฺพา,
โยคาวจรกีฬา กีฬิตพฺพา ฯ อิท ํ มหาราช หตถฺ ิสสฺ จตุตฺถ ํ องคฺ ํ คเหตพฺพํ ฯ
ขอถวายพระพร ยังมอี ีกองค์หนึ่ง ชา้ ง หยงั่ ลงสแู่ อง่ นำ้� หยงั่ ลงสสู่ ระบัวใหญ่ ๆ ทเี่ ตม็
เปย่ี มด้วยน้�ำเยน็ สะอาดปราศจากมลทนิ ปกคลมุ ด้วยบวั ขาว บัวเขียวและบวั หลวงแล้ว เลน่
นำ�้ เพลนิ อย่างทีเ่ ปน็ การเล่นของชา้ ง ฉนั ใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผบู้ �ำเพ็ญเพยี ร
หยั่งลงสู่สระโบกขรณคี ือมหาสตปิ ัฏฐาน ท่เี ต็มเป่ียมดว้ ยน�ำ้ คอื ธรรมอนั ประเสรฐิ ซึ่งสะอาด
ปราศจากมลทิน ใส ไมข่ ุ่นมวั ทป่ี กคลมุ ด้วยดอกไมค้ ือวิมุตติ แล้วก็พึงใช้ญาณช�ำแหละสงั ขาร
สลดั ท้งิ ไป พงึ เล่นเพลิดเพลิน อยา่ งทเี่ ป็นการเล่นของพระโยคาวจร ฉนั นนั้ เหมือนกัน นีค้ ือ
องค์ที่ ๔ แหง่ ช้าง ท่พี งึ ถอื เอา
‘‘ปนุ จปรํ มหาราช หตฺถ ี สโต ปาทํ อทุ ธฺ รต,ิ สโต ปาทํ นกิ ขฺ ิปติ, เอวเมว โข
มหาราช โยคินา โยคาวจเรน สเตน สมปฺ ชาเนน ปาท ํ อทุ ธฺ รติ พพฺ ,ํ สเตน สมปฺ ชาเนน
ปาทํ นกิ ขฺ ปิ ติ พฺพ,ํ อภิกฺกมปฏิกฺกเม สมิ ฺชนปสารเณ สพฺพตฺถ สเตน สมปฺ ชาเนน
ภวติ พฺพํ ฯ อิท ํ มหาราช หตฺถสิ ฺส ป จฺ มํ องฺคํ คเหตพพฺ ํ ฯ
ขอถวายพระพร ยงั มอี ีกองคห์ นึ่ง ช้าง มีสตยิ กเทา้ ข้นึ มสี ติวางเท้าลง ฉนั ใด ขอถวาย

กณั ฑ์] ๖.๔ อปุ จิกาวรรค 423

พระพร พระโยคาวจรผู้บ�ำเพ็ญเพียร กพ็ ึงเป็นผู้มีสติ มีสมั ปชัญญะ ยกเทา้ ข้นึ เปน็ ผมู้ สี ติ มี
สัมปชญั ญะวางเท้าลง พึงเป็นผ้มู สี ติ มสี มั ปชญั ญะ ในเวลาก้าวไป ในเวลากา้ วกลบั ในเวลาคู้
ในเวลาเหยียด ในกิรยิ าทง้ั ปวง ฉันนนั้ เหมือนกนั นี้คือองค์ท่ี ๕ แห่งช้าง ที่พงึ ถือเอา

ภาสิตมฺเปตํ มหาราช ภควตา เทวาตเิ ทเวน สํยุตฺตนกิ ายวเร –
‘‘กาเยน สวํ โร สาธุ สาธุ วาจาย สํวโร
มนสา สวํ โร สาธุ สาธุ สพพฺ ตฺถ สวํ โร
สพพฺ ตถฺ สวํ ุโต ลชฺช ี รกฺขโิ ตต ิ ปวจุ ฺจต’ี ’ติ ฯ
ขอถวายพระพร พระผูม้ พี ระภาคเจา้ ผู้ทรงเป็นเทพย่งิ กวา่ เหลา่ เทพ ทรงภาษิตความ
ขอ้ นี้ไวใ้ นสังยตุ ตนกิ ายอนั ประเสริฐว่า
“การส�ำรวมกายเป็นการดี การส�ำรวมวาจาเปน็ การดี การ
ส�ำรวมใจเป็นการดี การส�ำรวมในทวารท้งั ปวงเปน็ การดี บคุ คล
ส�ำรวมในทวารทั้งปวงแลว้ มคี วามละอายต่อบาป เรากล่าววา่
รักษาตน”

หตฺถิงคฺ ปญโฺ ห ทสโม ฯ
จบหตั ถงิ คปญั หาข้อท่ี ๑๐

อปุ จิกาวคโฺ ค จตุตฺโถ ฯ

จบอปุ จกิ าวรรคท่ี ๔

ตสฺสุททฺ าน ํ –
อุปจิกา พิฬาโร จ อุนทฺ โู ร วิจฉฺ เิ กน จ
นกุโล สงิ ฺคาโล มโิ ค โครูโป วราโห หตฺถินา ทสาติ ฯ
รวมสูตรทม่ี าในวรรคนค้ี อื
๑. อุปจกิ าสตู ร ๒. พฬิ ารสูตร
๓. อุนทูรสูตร ๔. วิจฉกิ สูตร
๕. นกุลสูตร ๖. สงิ คาลสูตร
๗. มิคสูตร ๘. โครูปสตู ร
๙. วราหสตู ร ๑๐. หตั ถสิ ูตร
________

424 มลิ ินทปัญหาปกรณแ์ ปล [๖.โอปัมมกถาปัญห

๖.๕ สีหวคคฺ
๖.๕ สหี วรรค หมวดว่าดว้ ยราชสหี ์ เป็นต้น

๑. สหี งคฺ ปญฺห
๑. สีหังคปัญหา
ปญั หาว่าด้วยองค์แหง่ ราชสหี ์
[๑] ‘‘ภนฺเต นาคเสน ‘สีหสฺส สตฺต องคฺ าน ิ คเหตพฺพาน’ี ต ิ ย ํ วเทส,ิ กตมานิ
ตานิ สตตฺ องฺคานิ คเหตพพฺ านี’’ติ ?
[๑] พระเจ้ามิลนิ ท์ตรัสว่า “พระคุณเจ้านาคเสน ทา่ นกลา่ วว่า ‘พงึ ถือเอาองค์ ๗ แห่ง
ราชสหี ’์ องค์ ๗ ท่พี ึงถอื เอานน้ั เป็นไฉน ?”

‘‘ยถา มหาราช สโี ห นาม เสตวิมลปรสิ ุทธฺ ปณฑฺ โร, เอวเมว โข มหาราช โยคินา
โยคาวจเรน เสตวิมลปรสิ ทุ ฺธปณฺฑรจิตเฺ ตน พยฺ ปคตกกุ ฺกจุ ฺเจน ภวติ พพฺ ํ ฯ อทิ ํ มหาราช
สีหสสฺ ป ม ํ องฺค ํ คเหตพฺพํ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร ธรรมดาว่าราชสหี ์ เป็นสตั ว์
ผมู้ กี ายขาวสะอาด ปราศจากมลทนิ บริสทุ ธิ์ ผอ่ งใส ฉนั ใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจร
ผู้บ�ำเพ็ญเพียร ก็พึงเปน็ ผมู้ ีจติ ขาวสะอาด ปราศจากมลทนิ บริสุทธ์ิ ผ่องใส ปราศจากความ
กงั วล ฉันน้ันเหมือนกัน นค้ี อื องคท์ ่ี ๑ แห่งราชสหี ์ ท่พี ึงถือเอา

‘‘ปุน จปร ํ มหาราช สีโห จตุจรโณ วกิ กฺ นตฺ จารี, เอวเมว โข มหาราช โยคนิ า
โยคาวจเรน จตุริทฺธิปาทจรเณน ภวิตพพฺ ํ ฯ อิทํ มหาราช สีหสฺส ทุตยิ ํ องคฺ ํ คเหตพฺพํ ฯ
ขอถวายพระพร ยงั มีอกี องคห์ น่งึ ราชสหี ์ เป็นสัตวม์ ี ๔ เทา้ มีปกตเิ ย้ืองกายไปด้วย
ทา่ ทีองอาจ ฉนั ใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผู้บ�ำเพ็ญเพียร ก็พึงเป็นผมู้ ีเทา้ คอื อิทธิบาท
๔ ฉันนนั้ เหมอื นกนั นคี้ ือองคท์ ี่ ๒ แห่งราชสหี ์ ที่พงึ ถอื เอา

‘‘ปุน จปร ํ มหาราช สีโห อภริ ูปรจุ ริ เกสร,ี เอวเมว โข มหาราช โยคินา
โยคาวจเรน อภิรปู รุจิรสหี เกสรินา ภวติ พฺพํ ฯ อทิ ํ มหาราช สหี สฺส ตตยิ ํ องฺค ํ
คเหตพพฺ ํ ฯ
ขอถวายพระพร ยงั มีอกี หนงึ่ ราชสีห์ เปน็ สัตวม์ ขี นสร้อยคอสวยงาม น่าชอบใจ ฉนั ใด

กัณฑ์] ๖.๕ สหี วรรค 425

ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผบู้ �ำเพ็ญเพียร ก็พงึ เปน็ ผู้มขี นสรอ้ ยคอคอื ศลี ทีส่ วยงาม น่า
ชอบใจ ฉันน้ันเหมือนกนั นคี่ ือองค์ที่ ๓ แห่งราชสหี ์ ที่พงึ ถอื เอา
‘‘ปนุ จปรํ มหาราช สีโห ชีวิตปริยาทาเนป ิ น กสฺสจิ โอนมติ, เอวเมว โข
มหาราช โยคนิ า โยคาวจเรน จวี รปิณฑฺ ปาตเสนาสนคลิ านปจจฺ ยเภสชฺชปรกิ ฺขารปรยิ าทาเนป ิ
น กสสฺ จ ิ โอนมติ พพฺ ํ ฯ อิทํ มหาราช สีหสฺส จตตุ ฺถ ํ องคฺ ํ คเหตพฺพํ ฯ
ขอถวายพระพร ยงั มอี กี องค์หน่ึง ราชสีห์ แม้ในคราวทจี่ ะสิ้นชวี ิต กไ็ ม่ยอมนอบน้อม
ต่อใคร ๆ ฉันใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผบู้ �ำเพญ็ เพียร แม้ในคราวท่จี ะตอ้ งสิ้นจวี ร
บิณฑบาต เสนาสนะ และบรขิ ารคอื ยาอนั เปน็ ปัจจยั ส�ำหรบั แก้ไข้ ก็ไม่ยอมนอบน้อมตอ่ ใคร ๆ
ฉันน้นั เหมอื นกัน นค้ี อื องคท์ ี่ ๔ แหง่ ราชสหี ์ ทพี่ งึ ถือเอา
‘‘ปุน จปรํ มหาราช สีโห สปทานภกฺโข ยสมฺ ึ โอกาเส นิปตติ, ตตเฺ ถว ยาวทตฺถํ
ภกฺขยต,ิ น วรมสํ ํ วจิ นิ าติ, เอวเมว โข มหาราช โยคินา โยคาวจเรน สปทานภกฺเขน
ภวติ พฺพํ, น กุลานิ วิจนิ ติ พฺพาน,ิ น ปพุ ฺพเคหํ หิตวฺ า กลุ าน ิ อปุ สงฺกมติ พฺพาน,ิ น โภชน ํ
วจิ นิ ติ พฺพ,ํ ยสมฺ ึ โอกาเส กพฬ ํ อาทียติ, ตสฺมเึ ยว โอกาเส ภ ุ ฺชิตพพฺ ํ สรรี ยาปนตฺถํ, น
วรโภชนํ วิจนิ ติ พฺพํ ฯ อิทํ มหาราช สหี สสฺ ป จฺ ม ํ องฺค ํ คเหตพพฺ ํ ฯ
ขอถวายพระพร ยังมีอีกองคห์ นึง่ ราชสหี ์ เป็นสตั วท์ ่เี ทีย่ วหาอาหารไปตามล�ำดบั ล้ม
สัตว์ไดใ้ นโอกาสใด กจ็ ะกดั กนิ ตราบเทา่ ที่ต้องการในโอกาสนัน้ นน่ั แหละ ไมเ่ ลอื กกินแตเ่ น้อื ดี
ๆ ฉันใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผบู้ �ำเพญ็ เพยี ร ก็พึงเป็นผแู้ สวงหาอาหารไปตามล�ำดบั
เรอื น ไม่พงึ เลอื กสกลุ ไมพ่ งึ ละเรอื นหลังแรก เขา้ ไปหาสกลุ ทัง้ หลาย ไมพ่ ึงเลือกโภชนะถอื เอา
ค�ำข้าวได้ในโอกาสใด ก็พึงบริโภคเพียงเพือ่ เยยี วยาสรีระในโอกาสนน้ั น่นั แหละ ไมพ่ ึงเลือกฉนั
แต่โภชนะดี ๆ ฉนั นน้ั เหมอื นกนั น้คี อื องคท์ ่ี ๕ แหง่ ราชสีห์ ท่ีพงึ ถอื เอา
‘‘ปุน จปรํ มหาราช สีโห อสนฺนธิ ภิ กฺโข สกึ โคจรํ ภกขฺ ยิตวฺ า น ปุน ต ํ
อุปคจฉฺ ติ, เอวเมว โข มหาราช โยคินา โยคาวจเรน อสนฺนิธิการปริโภคินา ภวิตพพฺ ํ ฯ
อิท ํ มหาราช สหี สสฺ ฉฏ ฺ ํ องคฺ ํ คเหตพฺพํ ฯ
ขอถวายพระพร ยงั มีอีกองค์หนึง่ ราชสีห์ เป็นสตั ว์ทไี่ มเ่ กบ็ ของกนิ ไว้ ได้กนิ หนหนง่ึ ก็
ไม่เข้าไปยังที่อาหารทีก่ ินแล้วนั้นอีก ฉนั ใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผู้บ�ำเพ็ญเพียร ก็พึง
เปน็ ผไู้ ม่ท�ำการเก็บของกิน ฉนั นน้ั เหมือนกัน นคี้ อื องคท์ ี่ ๖ แห่งราชสีห์ ท่ีพึงถอื เอา

426 มิลนิ ทปญั หาปกรณ์แปล [๖.โอปมั มกถาปญั ห

‘‘ปุน จปร ํ มหาราช สโี ห โภชนํ อลทฺธา น ปรติ สฺสติ, ลทฺธาปิ โภชน ํ อคธิโต
อมจุ ฉฺ โิ ต อนชฺโฌสนฺโน ปรภิ ุ ฺชต,ิ เอวเมว โข มหาราช โยคินา โยคาวจเรน โภชนํ
อลทฺธา น ปรติ สสฺ ติ พพฺ ,ํ ลทธฺ าปิ โภชนํ อคธิเตน อมุจฉฺ เิ ตน อนชฺโฌสนฺเนน อาทนี ว-
ทสฺสาวนิ า นิสฺสรณป เฺ น ปรภิ ุ ฺชติ พพฺ ํ ฯ อทิ ํ มหาราช สหี สสฺ สตตฺ มํ องคฺ ํ คเหตพฺพฯํ
ขอถวายพระพร ยังมอี ีกองค์หนึ่ง ราชสหี ์ ไม่ได้ของกิน กไ็ มส่ ะด้งุ ตกใจ แม้วา่ ได้
กบ็ ริโภคกนิ ไปอยา่ งไมต่ ิดใจ ไมส่ ยบ ไม่ซบ ฉนั ใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจร ผบู้ �ำเพญ็
เพยี ร ไมไ่ ด้โภชนะ ก็ไมพ่ งึ สะดงุ้ ตกใจ แม้ว่าได้ ก็พงึ เปน็ ผไู้ ม่ตดิ ใจ ไม่สยบ ไม่ซบ มีปกติเล็ง
เหน็ โทษ ปญั ญาเปน็ เครือ่ งสลัดออกจากทุกข์ บริโภคโภชนะ ฉนั นนั้ เหมอื นกัน น้คี อื องคท์ ี่ ๗
แหง่ ราชสีห์ ท่ีพงึ ถือเอา

ภาสติ มเฺ ปตํ มหาราช ภควตา เทวาติเทเวน สํยุตตฺ นกิ ายวเร เถร ํ มหากสสฺ ป ํ
ปริกิตตฺ ยมาเนน –
‘สนฺตฏุ โฺ ยํ ภกิ ขฺ เว กสฺสโป อิตรตี เรน ปิณฑฺ ปาเตน, อิตรตี รปณิ ฺฑปาตสนฺตุฏฺ ิยา
จ วณฺณวาที, น จ ปิณฺฑปาตเหต ุ อเนสนํ อปฺปติรปู ํ อาปชชฺ ติ, อลทธฺ า จ ปิณฑฺ ปาต ํ น
ปรติ สฺสติ, ลทฺธา จ ปิณฑฺ ปาต ํ อคธโิ ต อมจุ ฺฉโิ ต อนชโฺ ฌสนโฺ น อาทนี วทสสฺ าว ี นสิ สฺ รณ-
ป ฺโ ปริภุ ชฺ ตี’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร พระผมู้ พี ระภาคเจ้า ผทู้ รงเป็นเทพยิง่ กว่าเหลา่ เทพ เมอ่ื จะทรง
ยกย่องพระมหากัสสปเถระ ได้ทรงภาษิตความข้อนี้ไวใ้ นสงั ยตุ ตนกิ ายอนั ประเสริฐว่า
‘ภิกษทุ ัง้ หลาย กัสสปะนี้ เป็นผสู้ ันโดษด้วยบณิ ฑบาตตามมีตามได้ และกลา่ วสรรเสรญิ
ความสนั โดษดว้ ยบิณฑบาตตามมีตามได้ ทง้ั ไม่ประกอบการแสวงหาผดิ ทไี่ มส่ มควร เพราะ
เหตุแหง่ บณิ ฑบาต ไมไ่ ดบ้ ณิ ฑบาต ก็ไม่กระวนกระวาย และได้บิณฑบาตแลว้ ก็ไมต่ ดิ ใจ ไม่
หลง ไม่พัวพัน มองเหน็ โทษ มีปัญญาเครื่องสลัดออก บริโภคอย’ู่

สีหงฺคปญฺโห ป€โม ฯ
สีหังคปัญหาขอ้ ที่ ๑

________

กัณฑ]์ ๖.๕ สหี วรรค 427

๒. จกฺกวากงคฺ ปญหฺ
๒. จักกวากังคปัญหา
ปญั หาว่าด้วยองคแ์ หง่ นกจากพราก
[๒] ‘‘ภนฺเต นาคเสน ‘จกฺกวากสฺส ตีณิ องฺคานิ คเหตพฺพานี’ติ ยํ วเทส,ิ
กตมานิ ตาน ิ ตีณิ องฺคาน ิ คเหตพฺพานตี ิ’’?
[๒] พระเจ้ามลิ ินทต์ รัสว่า “พระคณุ เจา้ นาคเสน ท่านกลา่ ววา่ ‘พงึ ถอื เอาองค์ ๓ แห่ง
นกจากพราก’ องค์ ๓ ทีพ่ งึ ถือเอาน้ัน เปน็ ไฉน ?”
‘‘ยถา มหาราช จกฺกวาโก ยาว ชวี ติ ปรยิ าทานา ทตุ ยิ กิ ํ น วชิ หติ, เอวเมว โข
มหาราช โยคินา โยคาวจเรน ยาว ชีวิตปรยิ าทานา โยนโิ ส มนสกิ าโร น วิชหิตพฺโพ ฯ
อิทํ มหาราช จกกฺ วากสฺส ป ม ํ องคฺ ํ คเหตพฺพํ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร นกจากพราก ยอ่ มไมย่ อม
ละทงิ้ คูข่ องตน จนกวา่ ชีวติ จะสิ้นสดุ ฉนั ใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผบู้ �ำเพญ็ เพียร กไ็ ม่
พึงละทิง้ โยนิโสมนสิการ จนกว่าชวี ิตจะส้ินสดุ ฉนั นน้ั เหมอื นกนั นคี้ อื องคท์ ี่ ๑ แห่งนกจาก
พราก ท่ีพงึ ถอื เอา
‘‘ปนุ จปร ํ มหาราช จกกฺ วาโก เสวาลปณกภกฺโข เตน จ สนตฺ ฏุ ฺ ึ อาปชชฺ ต,ิ
ตาย จ สนฺตฏุ ฺ ยิ า พเลน จ วณเฺ ณน จ น ปรหิ ายติ, เอวเมว โข มหาราช โยคินา
โยคาวจเรน ยถาลาภสนโฺ ตโส กรณโี ย, ยถาลาภสนตฺ ุฏฺโ โข มหาราช โยค ี โยคาวจโร
น ปริหายติ สเี ลน, น ปริหายติ สมาธนิ า, น ปรหิ ายต ิ ป ฺ าย, น ปริหายต ิ วมิ ตุ ฺตยิ า,
น ปรหิ ายต ิ วิมุตตฺ ิ าณทสฺสเนน, น ปรหิ ายติ สพเฺ พหิ กุสเลหิ ธมฺเมหิ ฯ อทิ ํ มหาราช
จกฺกวากสฺส ทุตยิ ํ องฺค ํ คเหตพพฺ ํ ฯ
ขอถวายพระพร ยงั มีอีกองค์หนงึ่ ธรรมดาว่านกจากพราก เป็นสัตว์ผ้มู ีสาหร่ายเปน็
อาหาร และถงึ ความสนั โดษด้วยสาหรา่ ยนนั้ และเพราะความสันโดษน้ัน จึงไม่เสื่อมจากก�ำลัง
และจากวรรณะ ฉนั ใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผู้บ�ำเพ็ญเพียร ก็พงึ ท�ำความสันโดษด้วย
ปจั จยั ตามท่ไี ด้ ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผ้บู �ำเพญ็ เพยี ร ผู้สนั โดษดว้ ยปัจจัยตามทไี่ ด้
ยอ่ มไมเ่ สือ่ มจากศีล ยอ่ มไมเ่ สือ่ มจากสมาธิ ยอ่ มไมเ่ ส่อื มจากปญั ญา ยอ่ มไม่เสอื่ มจากวิมตุ ติ
ย่อมไม่เสอื่ มจากวิมตุ ตญิ าณทสั สนะ ย่อมไมเ่ สอื่ มจากกุศลธรรมทั้งปวง น้คี ือองคท์ ี่ ๒ แหง่
นกจากพราก ทพี่ ึงถอื เอา

428 มลิ นิ ทปัญหาปกรณ์แปล [๖.โอปมั มกถาปญั ห

‘‘ปนุ จปรํ มหาราช จกกฺ วาโก ปาเณ น วิเห ยต,ิ เอวเมว โข มหาราช โยคนิ า
โยคาวจเรน นหิ ิตทณฺเฑน นิหิตสตฺเถน ลชชฺ ินา ทยาปนฺเนน สพฺพปาณภูตหิตานกุ มฺปินา
ภวติ พพฺ ํ ฯ อทิ ํ มหาราช จกกฺ วากสฺส ตตยิ ํ องคฺ ํ คเหตพพฺ ํ ฯ
ขอถวายพระพร ยงั มอี กี องค์หนึง่ ธรรมดาว่านกจากพราก ย่อมไมเ่ บียดเบยี นสตั ว์ทงั้
หลาย ฉันใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผบู้ �ำเพญ็ เพียร กพ็ งึ เปน็ ผ้วู างท่อนไม้ วางศัสตรา
เป็นผู้ละอายบาป มีจิตเออื้ เอน็ ดู อนุเคราะหป์ ระโยชนแ์ ก่สตั วท์ งั้ ปวง ฉนั นน้ั เหมือนกัน นีค้ อื
องค์ที่ ๓ แห่งนกจากพราก ท่ีพงึ ถือเอา

ภาสตมฺเปตํ มหาราช ภควตา เทวาติเทเวน จกฺกวากชาตเก –
‘‘โย น หนฺติ น ฆาเตต ิ น ชินาติ น ชาปเย
เมตฺตํโส สพพฺ ภูเตส ุ เวร ํ ตสฺส น เกนจ’ี ’ติ ฯ
ขอถวายพระพร พระผ้มู ีพระภาคเจา้ ผู้ทรงเป็นเทพย่งิ กว่าเหลา่ เทพ ไดท้ รงภาษิต
ความข้อน้ีไวใ้ นจกั กวากชาดกวา่
“ผ้ใู ดไมฆ่ า่ เอง ไม่ใช้ให้ผู้อ่ืนฆ่า ไมท่ �ำทรัพยใ์ หเ้ สือ่ มไป ไม่ใช ้
ผู้อน่ื ท�ำทรัพย์ให้เสอ่ื มไป มีจติ เมตตาในสัตว์ทกุ จ�ำพวก ผนู้ นั้
ไม่ก่อเวรกบั ใคร ๆ”

จกกฺ วากงฺคปญโฺ ห ทุตโิ ย ฯ

จบจักกวากังคปญั หาขอ้ ท่ี ๒

________

๓. เปณาหกิ งฺคปญฺห
๓. เปณาหกิ งั คปัญหา
ปญั หาว่าด้วยองค์แหง่ นกเงอื ก
[๓] ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน ‘เปณาหกิ าย เทฺว องคฺ านิ คเหตพพฺ าน’ี ติ ยํ วเทสิ,
กตมานิ ตาน ิ เทวฺ องคฺ านิ คเหตพพฺ าน’ี ’ติ ?
[๓] พระเจา้ มลิ นิ ทต์ รัสว่า “พระคณุ เจ้านาคเสน ทา่ นกลา่ วว่า ‘พงึ ถอื เอาองค์ ๒ แห่ง
นางนกเงอื ก’ องค์ ๒ ทพี่ ึงถอื เอานนั้ เป็นไฉน ?”

‘‘ยถา มหาราช เปณาหิกา สกปตมิ หฺ ิ อสุ ยู าย ฉาปเก น โปสยติ, เอวเมว โข

กณั ฑ์] ๖.๕ สหี วรรค 429

มหาราช โยคนิ า โยคาวจเรน สกมเน กเิ ลเส อปุ ฺปนฺเน อสุ ูยายติ พฺพ,ํ สติปฏ ฺ าเนน
สมมฺ าสวํ รสุสเิ ร ปกขฺ ปิ ิตวฺ า มโนทวฺ าเร กายคตาสต ิ ภาเวตพฺพา ฯ อิท ํ มหาราช
เปณาหิกาย ป ม ํ องคฺ ํ คเหตพฺพํ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร นางนกเงอื ก ย่อมไมเ่ ล้ียงลกู
เพราะความหงึ หวงในผวั ของตน ฉันใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผบู้ �ำเพ็ญเพียร เมอื่
กิเลสเกิดข้ึนในจิตของตน กพ็ ึงหึงหวง (จิตของตน) พึงใช้สติปฏั ฐานใส่ไว้ในโพรง คือความ
ส�ำรวมโดยชอบ แลว้ เจรญิ กายคตาสตทิ างมโนทวาร ฉนั น้ันเหมือนกนั นค้ี ือองคท์ ี่ ๑ แห่งนาง
นกเงือก ที่พึงถือเอา

‘‘ปุน จปรํ มหาราช เปณาหิกา ปวเน ทิวสํ โคจรํ จรติ ฺวา สาย ํ ปกขฺ ิคณํ อุเปติ
อตตฺ โน คุตฺติยา, เอวเมว โข มหาราช โยคนิ า โยคาวจเรน เอกเกน ปวเิ วก ํ เสวติ พฺพ ํ
สํโยชนปรมิ ตุ ตฺ ยิ า, ตตรฺ รตึ อลภมาเนน อปุ วาทภยปริรกฺขณาย สฆํ ํ โอสรติ ฺวา
สฆํ รกขฺ เิ ตน วสติ พฺพํ ฯ อทิ ํ มหาราช เปณาหิกาย ทตุ ยิ ํ องคฺ ํ คเหตพฺพํ ฯ
ขอถวายพระพร ยงั มีอกี องค์หนง่ึ ธรรมดาวา่ นางนกเงือก เท่ียวหากินไปในป่าตลอด
ทงั้ วนั ตกเยน็ ก็เขา้ ไปหาฝูงนก เพือ่ ปอ้ งกนั ตนเอง ฉนั ใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจร
ผบู้ �ำเพญ็ เพียร กพ็ งึ ส้องเสพสถานที่วเิ วกแต่ผูเ้ ดยี ว เพอื่ ความหลดุ พน้ จากสงั โยชน์ เมือ่ ไมไ่ ด้
ความยนิ ดใี นทนี่ ้นั กค็ วรไปอย่รู ่วมกับหมู่สงฆ์ เพ่ือป้องกันภยั คือค�ำกล่าวร้าย เปน็ ผู้ท่หี มสู่ งฆ์
รกั ษา ฉนั นั้นเหมือนกัน นี้คอื องคท์ ่ี ๒ แหง่ นางนกเงอื ก ท่พี งึ ถือเอา

ภาสิตมเฺ ปตํ มหาราช พรฺ หมฺ ุนา สหมฺปตินา ภควโต สนฺติเก –
‘‘เสเวถ ปนฺตานิ เสนาสนาน ิ
จเรยฺย สํโยชนวิปปฺ โมกฺขา
สเจ รต ึ นาธิคจเฺ ฉยฺย ตตฺถ
สเํ ฆ วเส รกฺขติ ตฺโต สตีมา’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร ทา่ นทา้ วสหมั บดพี รหม ไดท้ รงภาษติ ความขอ้ นไ้ี ว้ในส�ำนักของพระผู้
มีพระภาคเจ้าว่า
“ภิกษพุ งึ อาศยั ท่ีนอนและที่น่งั อันสงดั พึงประพฤติเพอื่ ความ
หลดุ พ้นจากสังโยชน์ ถา้ ภกิ ษไุ มป่ ระสบความยินดใี นที่น้นั พงึ
มีสติ มปี ัญญาเครอื่ งบริหารอยใู่ นทา่ มกลางสงฆ”์

430 มลิ นิ ทปัญหาปกรณแ์ ปล [๖.โอปัมมกถาปญั ห

เปณาหกิ งคฺ ปญโฺ ห ตติโย ฯ

จบเปณาหกิ งั คปญั หาขอ้ ท่ี ๓
________

๔. ฆรกโปตงฺคปญหฺ

๔. ฆรกโปตังคปัญหา

ปัญหาวา่ ดว้ ยองค์แหง่ นกกระจอก

[๔] ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน ‘ฆรกโปตสสฺ เอกํ องฺค ํ คเหตพฺพน’ฺ ติ ยํ วเทส,ิ กตม ํ ต ํ เอก ํ
องฺค ํ คเหตพฺพ’’นฺติ ?
[๔] พระเจ้ามลิ นิ ทต์ รัสวา่ “พระคณุ เจา้ นาคเสน ท่านกล่าววา่ ‘พงึ ถอื เอาองค์ ๑ แห่ง
นกกระจอก’ องค์ ๑ ท่พี ึงถอื เอานั้น เปน็ ไฉน ?”

‘‘ยถา มหาราช ฆรกโปโต ปรเคเห วสมาโน น เตส ํ กิ จฺ ิ ภณฑฺ สสฺ นิมติ ฺต ํ
คณหฺ าต,ิ มชฌฺ ตฺโต วสติ ส ฺ าพหโุ ล, เอวเมว โข มหาราช โยคนิ า โยคาวจเรน ปรกลุ ํ
อุปคเตน ตสมฺ ึ กุเล อิตฺถนี ํ วา ปรุ ิสาน ํ วา ม เฺ จ วา ปเี วา วตฺเถ วา อลงฺกาเร วา
อุปโภเค วา ปรโิ ภเค วา โภชนวกิ ตีส ุ วา น นมิ ิตตฺ ํ คเหตพฺพํ, มชฺฌตเฺ ตน ภวิตพพฺ ,ํ
สมณส ฺ า ปจฺจุปฏ ฺ เปตพฺพา ฯ อิท ํ มหาราช ฆรกโปตสสฺ เอก ํ องคฺ ํ คเหตพพฺ ํ ฯ

พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร นกกระจอก อาศัยอยู่ใน
เรอื นของผอู้ ืน่ ก็ยอ่ มไม่ถอื เอานิมิต (อาการทง่ี าม ไมง่ าม เปน็ ต้น) แห่งข้าวของไร ๆ ของคน
เหล่านัน้ อาศยั อยูอ่ ย่างวางเฉย มากด้วยสญั ญา ฉันใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจร ผู้
บ�ำเพญ็ เพียร เขา้ ไปยังสกลุ อื่นแล้ว กไ็ มพ่ ึงถอื เอานิมิตแห่งหญงิ หรอื ชาย นิมติ ในเตยี ง หรือใน
ตงั่ ในผ้า หรือในเครื่องประดับ ในเครื่องอุปโภค บรโิ ภค หรือในโภชนะแปลก ๆ ในสกุลนน้ั พงึ
เปน็ ผวู้ างเฉย พงึ ท�ำความส�ำคญั ว่าเป็นสมณะใหป้ รากฏเฉพาะหนา้ ฉนั นน้ั เหมอื นกัน นีค้ อื
องคท์ ่ี ๑ แหง่ นกกระจอก ที่พงึ ถือเอา

ภาสติ มเฺ ปต ํ มหาราช ภควตา เทวาติเทเวน จูฬนารทชาตเก –
‘‘ปวสิ ติ วฺ า ปรกุลํ ปานตถฺ ํ โภชนาย วา
มิต ํ ขาเท มติ ํ ภุ ฺเช น จ รเู ป มน ํ กเร’’ติ ฯ

กัณฑ์] ๖.๕ สหี วรรค 431

ขอถวายพระพร พระผมู้ ีพระภาคเจ้า ผทู้ รงเปน็ เทพยง่ิ กว่าเหล่าเทพ ได้ทรงภาษติ
ความขอ้ นี้ไวใ้ นจฬู นารทชาดกว่า

“ภกิ ษุ คร้นั เขา้ ไปยังสกลุ อืน่ เพือ่ ประโยชน์แกน่ ำ้� หรือ
โภชนาหารแล้ว ควรขบเคย้ี ว บรโิ ภคแต่พอประมาณ ไม่ควร
ใส่ใจในรปู ”

ฆรกโปตงคฺ ปญโฺ ห จตตุ โฺ ถ ฯ
จบฆรกโปตังคปัญหาข้อท่ี ๔

________

๕. อุลกู งฺคปญหฺ
๕. อลุ ูกงั คปญั หา
ปัญหาว่าดว้ ยองค์แห่งนกเค้า
[๕] ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน ‘อุลกู สสฺ เทวฺ องคฺ านิ คเหตพพฺ าน’ี ต ิ ย ํ วเทสิ, กตมานิ
ตานิ เทวฺ องคฺ าน ิ คเหตพพฺ าน’ี ’ติ ?
[๕] พระเจา้ มิลินท์ตรสั วา่ “พระคุณเจ้านาคเสน ทา่ นกลา่ วว่า ‘พงึ ถอื เอาองค์ ๒ แหง่
นกเค้า’ องค์ ๒ ที่พึงถอื เอาน้ัน เปน็ ไฉน ?”
‘‘ยถา มหาราช อุลโู ก กาเกห ิ ปฏิวริ ุทโฺ ธ, รตฺต ึ กากสฆํ ํ คนฺตฺวา พหปู ิ กาเก
หนต,ิ เอวเมว โข มหาราช โยคินา โยคาวจเรน อ ฺ าเณน ปฏิวิรุทฺโธ กาตพฺโพ, เอเกน
รโห นิสีทิตฺวา อ ฺ าณํ สมฺปมททฺ ติ พพฺ ,ํ มูลโต ฉินทฺ ิตพฺพํ ฯ อทิ ํ มหาราช อลุ ูกสฺส ป ม ํ
องฺคํ คเหตพฺพํ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร นกเค้า พอได้ทะเลาะกับฝงู
กาแลว้ ในตอนกลางคืน ไปยงั ฝูงกา ฆ่ากาเสยี ได้แมห้ ลายตัว ฉันใด ขอถวายพระพร พระโย
คาวจรผบู้ �ำเพญ็ เพียร กพ็ งึ ท�ำการทะเลาะกบั ความไม่รู้ นงั่ อย่ใู นที่สงัดคนเดยี ว แลว้ ย�่ำยีความ
ไม่รู้ พึงตดั เสยี ต้งั แต่ราก ฉันนัน้ เหมอื นกัน นคี้ ือองค์ท่ี ๑ แห่งนกเค้า ทพี่ งึ ถอื เอา
‘‘ปุน จปร ํ มหาราช อุลโู ก สุปฺปฏิสลฺลโี น โหติ, เอวเมว โข มหาราช โยคินา
โยคาวจเรน ปฏิสลฺลานาราเมน ภวติ พพฺ ํ ปฏสิ ลลฺ านรเตน ฯ อทิ ํ มหาราช อุลูกสฺส ทตุ ิยํ
องฺคํ คเหตพพฺ ํ ฯ

432 มิลินทปัญหาปกรณ์แปล [๖.โอปัมมกถาปัญห

ขอถวายพระพร ยังมีอกี องคห์ นง่ึ นกเค้า เปน็ สัตวท์ ่ีแอบแฝงตวั ไดด้ ี ฉนั ใด ขอถวาย
พระพร พระโยคาวจรผูบ้ �ำเพ็ญเพยี ร ก็พงึ เปน็ ผู้มคี วามหลกี เร้นเปน็ ท่ียนิ ดี ยนิ ดีอยแู่ ตใ่ นความ
หลกี เรน้ ฉันนนั้ เหมือนกนั นีค้ อื องคท์ ี่ ๒ แห่งนกเคา้ ท่พี ึงถอื เอา

ภาสิตมฺเปตํ มหาราช ภควตา เทวาติเทเวน สํยตุ ตฺ นกิ ายวเร –

‘‘อธิ ภิกฺขเว ภิกฺขุ ปฏิสลฺลานาราโม ปฏสิ ลฺลานรโต ‘อิทํ ทกุ ขฺ นฺ’ต ิ ยถาภตู ํ
ปชานาต,ิ ‘อย ํ ทุกฺขสมทุ โย’ติ ยถาภตู ํ ปชานาต,ิ ‘อยํ ทุกขฺ นโิ รโธ’ต ิ ยถาภตู ํ
ปชานาติ, ‘อยํ ทกุ ฺขนโิ รธคามนิ ี ปฏปิ ทา’ติ ยถาภตู ํ ปชานาตี’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร พระผูม้ พี ระภาคเจา้ ผทู้ รงเป็นเทพยง่ิ กวา่ เหล่าเทพ ทรงภาษิตความ
ขอ้ น้ไี วใ้ นสังยตุ ตนกิ ายอนั ประเสริฐว่า
“ภกิ ษทุ ั้งหลาย ภกิ ษุผูม้ ีความหลกี เร้นเปน็ ที่ยนิ ดี ยินดีอยู่แตใ่ นความหลกี เร้น ในพระ
ศาสนาน้ี ยอ่ มรู้ชัดตามความเปน็ จรงิ ว่า ‘นี้ทุกข์’ ยอ่ มร้ชู ัดตามความเป็นจริงวา่ ‘นีท้ กุ ขสมทุ ยั ’
ย่อมร้ชู ดั ตามความเปน็ จริงวา่ ‘นีท้ กุ ขนิโรธ’ ย่อมรู้ชัดตามความเป็นจรงิ ว่า ‘น้ที กุ ขนโิ รธคามินี
ปฏิปทา’ ดังนี้

อุลกู งคฺ ปญโฺ ห ปญฺจโม ฯ
จบอลุ กู งั คปัญหาข้อท่ี ๕

________

๖. สตปตฺตงคฺ ปญหฺ
๖. สตปัตตงั คปญั หา
ปญั หาว่าดว้ ยองคแ์ ห่งนกตระไน
[๖] ‘‘ภนฺเต นาคเสน ‘สตปตตฺ สสฺ เอก ํ องคฺ ํ คเหตพฺพน’ฺ ต ิ ยํ วเทสิ, กตมํ ตํ เอกํ
องคฺ ํ คเหตพฺพน”ฺ ติ ?
[๖] พระเจ้ามลิ นิ ท์ตรัสว่า “พระคุณเจ้านาคเสน ท่านกลา่ ววา่ ‘พึงถือเอาองค์ ๑ แหง่
นกตระไน’ องค์ ๑ ท่พี งึ ถอื เอานน้ั เปน็ ไฉน ?”

‘‘ยถา มหาราช สตปตฺโต รวิตวฺ า ปเรส ํ เขม ํ วา ภย ํ วา อาจิกฺขต,ิ เอวเมว โข
มหาราช โยคนิ า โยคาวจเรน ปเรสํ ธมมฺ ํ เทสยมาเนน วนิ ปิ าตํ ภยโต ทสฺสยติ พพฺ ํ,

กัณฑ์] ๖.๕ สีหวรรค 433

นพิ พฺ าน ํ เขมโต ทสสฺ ยิตพพฺ ํ ฯ อิทํ มหาราช สตปตฺตสฺส เอกํ องฺคํ คเหตพฺพํ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร นกตระไน เท่ียวบนิ ร้องบอก
ภัยและความปลอดภยั แกส่ ัตว์เหลา่ อืน่ ฉันใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผู้บ�ำเพ็ญเพียร
เม่ือแสดงธรรมแก่คนเหลา่ อน่ื กพ็ ึงแสดงให้เห็นวา่ ความตกไปในสงั สารทกุ ขเ์ ปน็ ภยั พงึ แสดง
ให้เหน็ วา่ พระนพิ พานเป็นธรรมที่เกษม ฉันน้นั เหมือนกนั นคี้ อื องค์ ๑ แห่งนกตระไน ทพี่ งึ ถอื
เอา

ภาสติ มเฺ ปต ํ มหาราช เถเรน ปิณโฺ ฑลภารทวฺ าเชน –
‘‘นิรเย ภยสนฺตาสํ นพิ ฺพาเน วิปลุ ํ สขุ ํ
อภุ ยาเนตานตถฺ านิ ทสฺเสตพพฺ าน ิ โยคินา’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร ท่านพระปณิ โฑลภารทวาชเถระ ไดภ้ าษติ ความข้อนี้ไวว้ า่
“พระโยคี พึงแสดงเนือ้ ความเปน็ ๒ ประการ คอื ความนา่ กลวั
ตอ่ ภัยในนรก (และ) สขุ อนั ไพบูลยใ์ นพระนิพพาน”

สตปตฺตงคฺ ปญฺโห ฉฏฺโ€ ฯ

จบสตปตั ตงั คปัญหาข้อท่ี ๖

________

๗. วคคฺ ุลิงฺคปญหฺ
๗. วคั คุลงิ คปัญหา
ปญั หาวา่ ดว้ ยองคแ์ หง่ คา้ งคาว
[๗] ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน ‘วคคฺ ลุ ิสฺส เทฺว องคฺ าน ิ คเหตพฺพานี’ต ิ ย ํ วเทส,ิ กตมาน ิ
ตานิ เทฺว องฺคานิ คเหตพฺพาน’ี ’ติ ?
[๗] พระเจา้ มิลนิ ทต์ รัสว่า “พระคุณเจ้านาคเสน ท่านกล่าววา่ ‘พงึ ถือเอาองค์ ๒ แหง่
คา้ งคาว’ องค์ ๒ ทพี่ ึงถือเอานนั้ เป็นไฉน ?”

‘‘ยถา มหาราช วคฺคลุ ิ เคห ํ ปวสิ ิตวฺ า วจิ ริตวฺ า นกิ ฺขมติ, น ตตถฺ ปลิพทุ ธฺ ติ,
เอวเมว โข มหาราช โยคินา โยคาวจเรน คาม ํ ปณิ ฺฑาย ปวสิ ติ ฺวา สปทานํ วิจรติ ฺวา
ปฏิลทฺธลาเภน ขปิ ปฺ เมว นิกขฺ มิตพฺพ,ํ น ตตถฺ ปลิพทุ ฺเธน ภวติ พฺพํ ฯ อทิ ํ มหาราช
วคฺคลุ ิสฺส ป ม ํ องฺค ํ คเหตพฺพํ ฯ


Click to View FlipBook Version