The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

มิลินทปัญหาปกรณ์แปล เล่ม ๒ ถาม-ตอบปัญหาในพระไตรปิฎก

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ืทีมงานกรุธรรม, 2022-03-09 22:17:47

มิลินทปัญหาปกรณ์แปล เล่ม ๒ ถาม-ตอบปัญหาในพระไตรปิฎก

มิลินทปัญหาปกรณ์แปล เล่ม ๒ ถาม-ตอบปัญหาในพระไตรปิฎก

Keywords: มิลินทปัญหาปกรณ์แปล เล่ม ๒ ถาม-ตอบปัญหาในพระไตรปิฎก

284 มิลินทปัญหาปกรณ์แปล [๕.อนมุ านปัญห

“พวกอาตมภาพพงึ ทราบว่า พระผูม้ ีพระภาคเจ้า ผ้ชู ่วยชนท้งั
หลายให้ขา้ มไป ผปู้ รินพิ พานแลว้ เพราะเหตทุ ่ีสิน้ อปุ ธิ ผสู้ งู สดุ
แหง่ บรรดาสัตว์ ๒ เท้า พระองคน์ ั้น มจี รงิ ด้วยขอ้ อนุมาน”
‘‘ภนเฺ ต นาคเสน โอปมฺมํ กโรห’ี ’ติ ฯ
พระเจา้ มิลินทต์ รัสว่า “พระคุณเจ้านาคเสน ขอทา่ นจงชว่ ยท�ำอปุ มาทีเถิด”
‘‘ยถา มหาราช นครวฑฒฺ ก ี นครํ มาเปตกุ าโม ป มํ ตาว สม ํ อนนุ นฺ ตมโนนตํ
อสกขฺ รปาสาณํ นิรุปททฺ วมนวชชฺ ํ รมณีย ํ ภูมิภาคํ อนุวโิ ลเกตฺวา ยํ ตตฺถ วสิ ม,ํ ต ํ สม ํ
การาเปตฺวา ขาณกุ ณฏฺ ก ํ วิโสธาเปตฺวา ตตถฺ นคร ํ มาเปยยฺ โสภน ํ วิภตตฺ ํ ภาคโส มิต ํ
อุกกฺ ณิ ฺณปริขาปาการํ ทฬหฺ โคปรุ ฏฏฺ าลโกฏฏฺ ก ํ ปุถจุ จฺจรจตุกฺกสนฺธิสงิ ฺฆาฏกํ สจุ ิสมตลราช-
มคคฺ ํ สวุ ิภตตฺ อนตฺ ราปณํ อารามุยฺยานตฬากโปกฺขรณอิ ุทปานสมฺปนนฺ ํ พหุวิธเทวฏ ฺ านปฺ-
ปฏิมณฺฑติ ํ สพพฺ โทสวริ หิต,ํ โส ตสฺมึ นคเร สพฺพถา เวปลุ ฺลตฺต ํ ปตเฺ ต อ ฺ ํ เทส ํ
อปุ คจฺเฉยฺย, อถ ตํ นคร ํ อปเรน สมเยน อิทธฺ ํ ภเวยฺย ผตี ํ สุภกิ ขฺ ํ เขมํ สมิทธฺ ํ สวิ ํ
อนตี กิ ํ นิรปุ ททฺ วํ นานาชนสมากุลํ, ปุถ ู ขตฺตยิ า พฺราหฺมณา เวสสฺ า สุทฺทา หตฺถาโรหา
อสฺสาโรหา รถกิ า ปตตฺ ิกา ธนุคคฺ หา ถรุคฺคหา เจลกา จลกา ปิณฺฑทายกา อุคฺคา
ราชปุตฺตา ปกฺขนทฺ โิ น มหานาคา สรู า วมฺมโิ น โยธิโน ทาสิกปตุ ตฺ า ภฏปิ ุตตฺ า มลลฺ กา
คณกา อาฬารกิ า สูทา กปปฺ กา นหาปกา จนุ ทฺ า มาลาการา สวุ ณณฺ การา สชฌฺ กุ ารา
สสี การา ติปุการา โลหการา วฏฺฏการา อโยการา มณิการา เปสการา กมุ ฺภการา
เวณุการา โลณการา จมมฺ การา รถการา ทนตฺ การา รชฺชุการา โกจฉฺ การา สุตตฺ การา
วลิ ีวการา ธนกุ ารา ชยิ การา อสุ กุ ารา จิตตฺ การา รงฺคการา รชกา ตนฺตวายา ตุนนฺ วายา
เหร ฺ ิกา ทุสฺสิกา คนฺธกิ า ตณิ หารกา กฏ ฺ หารกา ภตกา ปณณฺ กิ า ผลกิ า มูลกิ า
โอทนิกา ปวู ิกา มจฺฉิกา มสํ กิ า มชฺชิกา นฏกา นจจฺ กา ลงฺฆกา อินทฺ ชาลกิ า เวตาลิกา
มลฺลา ฉวฑาหกา ปุปผฺ ฉฑฺฑกา เวนา เนสาทา คณกิ า ลาสิกา กมุ ภฺ ทาสโิ ย สกกฺ ยวน-
จนี วิลาตา อุชฺเชนกา ภารกุ จฺฉกา กาสิโกสลา ปรนตฺ กา มาคธกา สาเกตกา โสเรยฺยกา
ปาเวยฺยกา โกฏมุ พฺ รมาถรุ กา อลสนทฺ กสมฺ ีรคนธฺ ารา ต ํ นครํ วาสาย อุปคตา นานา-
วิสยิโน ชนา นวํ สวุ ภิ ตตฺ ํ อโทสมนวชฺช ํ รมณียํ ต ํ นครํ ปสสฺ ติ ฺวา อนุมาเนน ชานนฺต ิ
‘เฉโก วต โภ โส นครวฑฺฒกี, โย อิมสสฺ นครสสฺ มาเปตา’ติ ฯ เอวเมว โข มหาราช โส
ภควา อสโม อสมสโม อปปฺ ฏิสโม อสทโิ ส อตุโล อสงเฺ ขยฺ ยโฺ ย อปปฺ เมยฺโย อปรเิ มยฺโย

กณั ฑ]์ อนุมานปัญหกณั ฑ์ 285

อมติ คุโณ คุณปารมปิ ปฺ ตฺโต อนนฺตธิต ิ อนนตฺ เตโช อนนฺตวีรโิ ย อนนตฺ พโล พุทฺธพลปารม ึ
คโต สเสนมารํ ปราเชตฺวา ทิฏ ฺ ิชาลํ ปทาเลตวฺ า อวิชฺชํ เขเปตวฺ า วชิ ฺช ํ อุปปฺ าเทตฺวา
ธมมฺ ุกกฺ ํ ธารยิตฺวา สพฺพ ฺ ุตํ ปาปณุ ิตวฺ า วิชิตสงคฺ าโม ธมฺมนคร ํ มาเปสิ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร เปรียบเหมอื นว่า ชา่ งสรา้ งเมอื ง ผู้ใคร่
จะสรา้ งเมอื ง ตรวจดภู มู ภิ าคท่นี า่ รื่นรมย์ ที่เรียบ ไมใ่ ช่ทีล่ มุ่ ท่ดี อน ไม่ใช่ท่มี ีแต่กอ้ นกรวดกอ้ น
หิน เปน็ ท่ปี ราศจากอันตราย ไม่มโี ทษ ณ ภมู ภิ าคนนั้ พบบริเวณท่ไี ม่เรียบ ก็ให้เขาปรับเสียให้
เรียบ ให้เขาถางตอหนาม แลว้ จึงสร้างเมอื งขนึ้ ณ ภมู ภิ าคนน้ั เป็นเมืองสวยงาม แบง่ หมายไว้
เปน็ สว่ น ๆ มีเชิงเทนิ คูเมือง ก�ำแพงล้อม มีซ้มุ ประตู ปอ้ มค่าย โรงเรอื นมัน่ คง มที าง ๔ แพรง่
๓ แพรง่ มากมาย มีทางหลวงทีส่ ะอาด ผิวเรยี บ มีตลาดระหวา่ งทางที่จัดแบง่ ไวด้ ี ถงึ พรอ้ ม
ด้วยอาราม อทุ ยาน ตระพงั น�้ำ สระบวั ทา่ นำ้� ดื่ม ประดบั ดว้ ยเทวสถานหลายแบบ ปราศจาก
โทษท้ังปวง เม่อื เมืองน้นั ถงึ ความไพบูลย์โดยประการท้งั ปวง ชา่ งสร้างเมืองผ้นู ้ัน กไ็ ปที่อืน่
เสยี สมยั ตอ่ มา เมืองน้นั กส็ �ำเร็จ แผไ่ พศาล ภิกษาหาไดง้ ่าย เกษม ม่ังคั่ง สงบเยน็ ไมม่ เี วรภัย
ปราศจากอันตราย พลกุ พลา่ นดว้ ยผคู้ นตา่ ง ๆ พวกคนท้ังหลายมากมาย คือ พวกกษัตริย์
พวกพราหมณ์ พวกแพศย์ พวกศทู ร พวกพลช้าง พวกพลม้า พวกพลรถ พวกพลเดนิ เทา้
พวกขมงั ธนู พวกนักดาบ พวกแม่ทัพมากมาย พวกพลเสบยี ง พวกราชบุตรสูงศักดิ์ พวกแนว
หน้า พวกวีรชนคนกลา้ พวกนักรบเสื้อเกราะ พวกบตุ รนางพาลี พวกบตุ รคนรับใช้ พวกนัก
มวย พวกช�ำนาญการนับ พวกพอ่ ครวั พวกคนครวั พวกชา่ งกัลบก พวกชา่ งดาบ พวกชา่ ง
จณุ พวกช่างจดั ดอกไม้ พวกชา่ งทอง พวกช่างเงนิ พวกชา่ งตะก่วั พวกชา่ งดบี กุ พวกชา่ ง
ทองแดง พวกช่างทองเหลอื ง พวกช่างเหลก็ พวกช่างแกว้ มณี พวกชา่ งทอ พวกชา่ งหมอ้
พวกชา่ งสานตอก พวกคนท�ำเกลอื พวกชา่ งหนงั พวกช่างรถ พวกช่างท�ำฟนั พวกชา่ งท�ำ
เชอื ก พวกช่างท�ำหวี พวกช่างท�ำดา้ ย พวกช่างสานตระกรา้ พวกชา่ งท�ำธนู พวกชา่ งท�ำสาย
ธนู พวกช่างศร พวกจิตรกร พวกชา่ งสี พวกช่างยอ้ ม พวกช่างทอผา้ พวกชา่ งชุน พวก
เหรัญญิก พวกพอ่ คา้ ผ้า พวกขายผลไม้ พวกขายรากไม้ พวกขายขา้ วสุก พวกขายขนม พวก
ขายปลา พวกขายเนอื้ พวกขายเหลา้ พวกนักฟ้อน พวกนกั เต้น พวกนกั กายกรรม พวกหมอ
เวทมนต์ พวกคนนงั่ ยาม พวกนกั มวยปล�้ำ พวกสปั เหรอ่ พวกคนทง้ิ ดอกไมเ้ น่า (อุจจาระ)
พวกชา่ งจักสาน พวกนายพราน พวกนางโสเภณี พวกนางระบ�ำ พวกนางกุมภทาสี พวกชาว
เมืองสกั กยวัน พวกชาวจีนวิลาตะ พวกชาวเมืองอุชเชนี พวกชาวเมอื งภารุกัจฉกะ พวกชาว
เมอื งกาสแี ละโกสล พวกชาวชนบทชายแดน พวกชาวเมอื งมคธ พวกชาวเมอื งสาเกต พวก

286 มิลินทปญั หาปกรณ์แปล [๕.อนมุ านปัญห

ชาวเมอื งโสระ พวกชาวเมอื งปาวา พวกชาวเมืองโกฏุมพรและชาวเมืองมถรุ า พวกชาวเมอื ง
อลสนั ทะ พวกชาวเมืองกสั มีระ และพวกชาวเมอื งคนั ธาระ ไดเ้ ขา้ ไปอยู่อาศัยเมืองนนั้ คนทั้ง
หลายจากแดนต่าง ๆ เห็นเมอื งใหมท่ ีจ่ ดั แบ่งไว้ดี ไมม่ ีโทษ ไม่มขี อ้ ทน่ี ่าติเตยี น นา่ ร่ืนรมยน์ ้นั
แล้ว ก็ย่อมทราบโดยอนุมานเอาได้ว่า ทา่ นผูเ้ จรญิ เอย๋ ชา่ งสร้างเมือง ที่สร้างเมอื งน้ีข้ึนมา
เปน็ คนฉลาดเสยี จริงหนอ ดังนี้ ฉันใด ขอถวายพระพร พระผมู้ พี ระภาคเจ้า ผ้หู าใครเสมอมไิ ด้
ผู้หาใครเสมอเหมือนมไิ ด้ ผหู้ าใครเปรียบมิได้ ผหู้ าใครเหมอื นมไิ ด้ ผู้มพี ระคณุ อนั ย่ิงมไิ ด้ ผู้อนั
ใคร ๆ ไมอ่ าจนับได้ ใคร ๆ ไม่อาจประมาณได้ ใคร ๆ ไม่อาจวดั ได้ ผู้อนั ใคร ๆ นับพระคณุ
มไิ ด้ ผูบ้ รรลุบารมีคุณ ผ้มู ีพระธิติหาทีส่ ุดมไิ ด้ ผูม้ ีพระเดชหาที่สดุ มิได้ ผมู้ พี ระวริ ิยะหาท่สี ุด
มไิ ด้ ผูม้ พี ระพละหาทีส่ ดุ มิได้ ผ้ถู ึงพระพทุ ธพลบารมี ทรงท�ำมารพร้อมทั้งเสนามารใหพ้ ่ายแพ้
ท�ำลายขา่ ยคือทฏิ ฐิ ท�ำอวิชชาใหส้ ิน้ ไป ท�ำวชิ ชาใหเ้ กดิ ขึ้น ชูคบเพลิงคอื พระธรรม บรรลพุ ระ
สัพพัญญตุ ญาณ ชนะสงครามแล้ว กท็ รงสรา้ งเมอื งคอื พระธรรมขึน้ ฉันนัน้ เหมอื นกัน
‘‘ภควโต โข มหาราช ธมมฺ นคร ํ สลี ปาการ ํ หริ ิปริขํ าณทวฺ ารโกฏ ฺ ก ํ วรี ยิ อฏฺฏาลกํ
สทธฺ าเอสกิ ํ สติโทวาริก ํ ป ฺ าปาสาท ํ สตุ ฺตนตฺ จจจฺ รํ อภธิ มฺมสงิ ฺฆาฏกํ วินยวินจิ ฉฺ ย ํ
สตปิ ฏ ฺ านวีถิกํ, ตสฺส โข ปน มหาราช, สติปฏ ฺ านวถี ยิ ํ เอวรูปา อาปณา ปสาริตา
โหนตฺ ิ ฯ เสยยฺ ถีท,ํ ปปุ ผฺ าปณํ คนฺธาปณํ ผลาปณํ อคทาปณํ โอสธาปณ ํ อมตาปณํ
รตนาปณํ สพพฺ าปณน”ฺ ติ ฯ
ขอถวายพระพร เมอื งคือพระธรรมของพระผูม้ ีพระภาคเจ้า มศี ีลเปน็ ปราการ (ก�ำแพง)
มีหิรเิ ปน็ คนู ้ำ� รอบ มีญาณเปน็ ซมุ้ ประตู มีวริ ยิ ะเป็นป้อม มีศรทั ธาเป็นเสาระเนยี ด มีสติเป็น
นายประตู มปี ัญญาเป็นปราสาท มพี ระสตู รเปน็ ทางสี่สาย มีพระอภธิ รรมเปน็ ทางสี่แยก มีพระ
วินยั เป็นโรงวินิจฉยั มสี ตปิ ฏั ฐานเป็นทางเดนิ ขอถวายพระพร ที่ทางเดินคอื สตปิ ัฏฐานของ
เมืองนั้น มีตลาดแผย่ าวเหยยี ดไปเห็นปานฉะนี้ เช่นว่า ตลาดดอกไม้ ตลาดของหอม ตลาดผล
ไม้ ตลาดยาแก้พิษ ตลาดยาทั่วไป ตลาดยาอมตะ ตลาดแกว้ ตลาดสิ่งทัง้ ปวง”
‘‘ภนเฺ ต นาคเสน กตม ํ พทุ ฺธสสฺ ภควโต ปปุ ผฺ าปณนฺ”ติ ?
พระเจ้ามลิ นิ ท์ตรสั ว่า “พระคณุ เจา้ นาคเสน ตลาดดอกไม้ของพระผู้มพี ระภาคพุทธเจา้
เปน็ ไฉน ?”
‘‘อตฺถ ิ โข ปน มหาราช เตน ภควตา ชานตา ปสฺสตา อรหตา สมมฺ าสมฺพทุ เฺ ธน
อารมมฺ ณวิภตฺตโิ ย อกฺขาตา ฯ เสยฺยถที ,ํ อนจิ จฺ ส ฺ า ทุกฺขส ฺ า อนตตฺ ส ฺ า อสภุ -

กัณฑ]์ อนุมานปญั หกัณฑ์ 287

ส ฺ า อาทนี วส ฺ า ปหานส ฺ า วริ าคส ฺ า นิโรธส ฺ า สพพฺ โลเก อนภิรติส ฺ า
สพฺพสงฺขาเรส ุ อนิจฺจส ฺ า อานาปานสสฺ ติ อุทธฺ ุมาตกส ฺ า วนิ ีลกส ฺ า วิปุพฺพกส ฺ า
วิจฉฺ ทิ ทฺ กส ฺ า วิกฺขายติ กส ฺ า วกิ ขฺ ิตตฺ กส ฺ า หตวกิ ฺขิตฺตกส ฺ า โลหติ กส ฺ า
ปุฬวกส ฺ า อฏฺ กิ ส ฺ า เมตตฺ าส ฺ า กรุณาส ฺ า มุทิตาส ฺ า อุเปกขฺ าส ฺ า
มรณานสุ ฺสติ กายคตาสต,ิ อิเม โข มหาราช พทุ เฺ ธน ภควตา อารมฺมณวภิ ตฺติโย อกฺขาตา
ฯ ตตฺถ โย โกจิ ชรามรณา มจุ ฺจติ ุกาโม, โส เตสุ อ ฺ ตรํ อารมมฺ ณ ํ คณฺหาติ, เตน
อารมฺมเณน ราคา วมิ จุ จฺ ต,ิ โทสา วมิ ุจฺจติ, โมหา วิมุจจฺ ต,ิ มานโต วมิ ุจฺจต,ิ ทฏิ ฺ ิโต
วมิ จุ จฺ ต,ิ สํสารํ ตรติ, ตณฺหาโสตํ นิวาเรติ, ติวธิ ํ มลํ วิโสเธติ, สพฺพกเิ ลเส อปุ หนตฺ ฺวา อมล ํ
วริ ชํ สุทฺธํ ปณฺฑร ํ อชาต ึ อชร ํ อมร ํ สุขํ สีติภูต ํ อภย ํ นครตุ ฺตมํ นิพพฺ านนคร ํ ปวิสิตวฺ า
อรหตฺเต จติ ฺตํ วโิ มเจติ, อทิ ํ วจุ ฺจติ มหาราช ‘ภควโต ปุปผฺ าปณนฺ”ติ ฯ
‘‘กมฺมมลู ํ คเหตฺวาน อาปณํ อปุ คจฉฺ ถ
อารมมฺ ณํ กิณิตวฺ าน ตโต มุจจฺ ถ มตุ ฺตยิ า’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร พระผู้มีพระภาคเจา้ ผู้รู้ ผเู้ หน็ ผ้เู ปน็
พระอรหนั ต์สัมมาสัมพทุ ธเจ้า ได้ตรัสการจ�ำแนกอารมณ์ไว้ อะไรบ้าง ? ไดแ้ ก่ อนจิ จสัญญา
ทกุ ขสัญญา อนตั ตสญั ญา อสภุ สญั ญา อาทีนวสญั ญา ปหานสญั ญา วริ าคสัญญา นิโรธสัญญา
สัพพโลเก อนภริ ตสัญญา สัพพสงั ขาเรสุ อนิจจสัญญา อานาปานสติ อทุ ธุมาตกสัญญา วินลี ก-
สญั ญา วิปพุ พกสัญญา วจิ ฉทิ ทกสญั ญา วิกขายิตกสญั ญา วกิ ขิตตกสัญญา หตวกิ ขติ ตก-
สญั ญา โลหติ กสญั ญา ปุฬวกสัญญา อัฏฐิกสัญญา เมตตาสญั ญา กรุณาสญั ญา มทุ ติ าสัญญา
อเุ ปกขาสัญญา มรณานสุ ติ กายคตาสติ ขอถวายพระพร พระผู้มพี ระภาคพุทธเจา้ ไดต้ รสั การ
จ�ำแนกอารมณเ์ หล่านีแ้ ล ในบรรดาบคุ คลทัง้ หลายน้ัน บคุ คลใดบุคคลหน่ึง เปน็ ผู้ตอ้ งการจะ
ต้องพ้นจากชาติ ชรา และมรณะ บคุ คลน้นั ยอ่ มถือเอาอารมณอ์ ย่างใดอยา่ งหน่งึ ในบรรดา
อารมณเ์ หล่าน้ันด้วยอารมณ์น้นั เขาย่อมพ้นจากราคะ ย่อมพน้ จากโทสะ ยอ่ มพ้นจากโมหะ
ยอ่ มพน้ จากมานะ ยอ่ มพน้ จากทฏิ ฐิ ยอ่ มพ้นสงั สารวัฏ ยอ่ มกั้นกระแสตณั หา ยอ่ มช�ำระมลทิน
๓ อยา่ งใหห้ มดจด ยอ่ มก�ำจัดกเิ ลสทง้ั ปวงได้ เขา้ ไปสูน่ ครคอื พระนิพพาน อันเป็นนครอดุ ม
ไมม่ ีมลทนิ ปราศจากธุลี บรสิ ทุ ธห์ิ มดจด ไม่เกดิ ไม่แก่ ไม่ตาย เป็นสุข มคี วามเยือกเย็น แลว้
ก็ท�ำจติ ให้หลุดพน้ ได้ ในเพราะความเป็นพระอรหันต์ ขอถวายพระพร น้ีเรียกวา่ ตลาดดอกไม้
ของพระผมู้ ีพระภาคเจา้ ’
“ขอทา่ นทัง้ หลายจงถอื เอาทรพั ย์ ไปสู่ตลาดแลว้ ซอื้ อารมณ์

288 มลิ นิ ทปญั หาปกรณ์แปล [๕.อนมุ านปญั ห

เถิด ทา่ นมีอารมณเ์ คร่อื งหลดุ พน้ แลว้ ก็จะหลดุ พน้ จากทุกข์
นัน้ ได”้

‘‘ภนฺเต นาคเสน กตม ํ พทุ ธฺ สสฺ ภควโต คนธฺ าปณนฺ”ติ ?
พระเจา้ มลิ นิ ท์ตรัสว่า “พระคณุ เจ้านาคเสน ตลาดของหอมของพระผมู้ พี ระภาคพุทธ
เจ้า เปน็ ไฉน ?”

‘‘อตฺถ ิ โข ปน มหาราช เตน ภควตา สลี วิภตฺตโิ ย อกฺขาตา, เยน สลี คนเฺ ธน
อนลุ ติ ตฺ า ภควโต ปตุ ตฺ า สเทวกํ โลกํ สลี คนฺเธน ธูเปนตฺ ิ สมปฺ ธูเปนตฺ ,ิ ทสิ มปฺ ิ อนทุ สิ มฺปิ
อนุวาตมฺป ิ ปฏิวาตมฺปิ วายนตฺ ิ อตวิ ายนฺต,ิ ผรติ ฺวา ตฏิ ฺ นตฺ ิ ฯ กตมา ตา สลี วิภตฺติโย ?
สรณสีลํ ป ฺจงคฺ สลี ํ อฏฺ งคฺ สีล ํ ทสงคฺ สีล ํ ป ฺจุทเฺ ทสปรยิ าปนนฺ ํ ปาติโมกฺขสวํ รสีลํ ฯ อิทํ
วจุ ฺจต ิ มหาราช ‘ภควโต คนธฺ าปณนฺ’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร พระผมู้ ีพระภาคเจา้ น้นั ไดต้ รสั การ
จ�ำแนกศีลไว้ ของหอมคือศีลเปน็ เหตุให้บตุ รทง้ั หลายของพระผมู้ พี ระภาคเจา้ ไดล้ ูบไล้แล้ว ท�ำ
โลกพร้อมทั้งเทวโลกให้หอมฟุง้ อบอวนไปด้วยกลน่ิ ศลี ย่อมหอมฟุ้งตลบไปยงั ทศิ ใหญ่ ๆ บา้ ง
ทศิ ย่อย ๆ บา้ ง ตามลมบ้าง ทวนลมบา้ ง แผไ่ ปทว่ั อยู่ การจ�ำแนกศลี นนั้ เปน็ ไฉน ? ไดแ้ ก ่
สรณศีล ศีลมอี งค์ ๕ ศีลมอี งค์ ๘ ศีลมีองค์ ๑๐ ศลี คอื ปาติโมกขสงั วร ที่นบั เนอื่ งเขา้ ในอเุ ทส ๕
ขอถวายพระพร น้ีเรียกวา่ ตลาดของหอมของพระผู้มพี ระภาคเจา้

ภาสติ มเฺ ปตํ มหาราช ภควตา เทวาติเทเวน –
‘‘น ปปุ ฺผคนฺโธ ปฏิวาตเมต ิ
น จนฺทนํ ตคคฺ รมลฺลิกา วา
สต ฺจ คนฺโธ ปฏิวาตเมติ
สพพฺ า ทสิ า สปปฺ รุ ิโส ปวายติ ฯ
จนทฺ นํ ตครํ วาป ิ อปุ ฺปลํ อถ วสฺสิกี
เอเตส ํ คนธฺ ชาตาน ํ สลี คนโฺ ธ อนตุ ฺตโร ฯ
อปปฺ มตโฺ ต อยํ คนฺโธ ยฺวาย ํ ตครจนทฺ นํ
โย จ สลี วตํ คนโฺ ธ วาติ เทเวส ุ อตุ ตฺ โม’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร พระผ้มู พี ระภาคเจ้า ทรงเป็นเทพยง่ิ กว่าเหลา่ เทพ ทรงภาษิตความ
ขอ้ นไ้ี วว้ า่

กัณฑ]์ อนมุ านปญั หกัณฑ์ 289

“กลิน่ ดอกไมล้ อยไปทวนลมไมไ่ ด้ กล่ินจันทน์ กล่ินกฤษณา
หรอื กลิ่นกะล�ำพัก ลอยไปทวนลมไมไ่ ด้ ส่วนกล่ินของสตั บุรษุ
ลอยไปทวนลมได้ เพราะสัตบรุ ุษขจรไปทว่ั ทกุ ทศิ (ด้วยกลิน่
แห่งคุณมีศีลเปน็ ต้น)
กล่นิ ศีลยอดเย่ียมกว่ากลนิ่ เหลา่ นี้ คือ กล่ินจันทน ์ กลิ่น
กฤษณา กลนิ่ ดอกอุบล และกลิ่นดอกมะลิ กล่ินกฤษณา หรอื
กลนิ่ จนั ทนน์ ้ี หอมเพียงเล็กนอ้ ย แต่กล่นิ ของทา่ นผ้มู ีศีล หอม
มากที่สดุ หอมฟุ้งไปท่วั ทั้งเทวโลกและมนษุ ยโลก”

‘‘ภนฺเต นาคเสน กตม ํ พทุ ฺธสฺส ภควโต ผลาปณนฺ”ติ ?
พระเจ้ามลิ ินทต์ รสั ว่า “พระคณุ เจา้ นาคเสน ตลาดผลไม้ของพระผมู้ ีพระภาคพุทธเจา้
เปน็ ไฉน ?”

‘‘ผลาน ิ โข มหาราช ภควตา อกฺขาตานิ ฯ เสยฺยถีทํ, โสตาปตตฺ ผิ ล ํ สกทาคามผิ ล ํ
อนาคามผิ ล ํ อรหตฺตผลํ ส ุ ฺ ตผลสมาปตฺติ อนิมติ ตฺ ผลสมาปตฺติ อปฺปณหิ ิตผลสมาปตตฺ ิ ฯ
ตตถฺ โย โกจิ ยํ ผลํ อจิ ฺฉติ, โส กมฺมมูลํ ทตวฺ า ปตถฺ ติ ํ ผล ํ กิณาติ ฯ ยท ิ โสตาปตตฺ -ิ
ผล,ํ ยท ิ สกทาคามผิ ลํ, ยท ิ อนาคามิผล,ํ ยท ิ อรหตฺตผล,ํ ยท ิ ส ุ ฺ ตผลสมาปตตฺ ึ, ยทิ
อนิมติ ฺตผลสมาปตฺตึ, ยทิ อปฺปณหิ ิตผลสมาปตตฺ ึ ฯ ยถา มหาราช กสสฺ จิ ปุริสสฺส ธุวผโล
อมฺโพ ภเวยยฺ , โส น ตาว ตโต ผลาน ิ ปาเตติ, ยาว กยกิ า น อาคจฺฉนตฺ ,ิ อนุปฺปตฺเต
ปน กยิเก มลู ํ คเหตฺวา เอวํ อาจกิ ขฺ ต ิ ‘อมฺโภ ปุรสิ เอโส โข ธุวผโล อมโฺ พ, ตโต ย ํ
อจิ ฺฉส,ิ เอตตฺ ก ํ ผล ํ คณฺหาห ิ สลาฏุก ํ วา โทวลิ ํ วา เกสิกํ วา อาม ํ วา ปกฺก ํ วา’ต,ิ โส
เตน อตตฺ นา ทนิ ฺนมูเลน ยทิ สลาฏกุ ํ อิจฉฺ ต,ิ สลาฏุก ํ คณฺหาติ, ยทิ โทวลิ ํ อิจฺฉต,ิ
โทวิล ํ คณหฺ าต,ิ ยท ิ เกสกิ ํ อจิ ฺฉต,ิ เกสิกํ คณหฺ าติ, ยทิ อามก ํ อิจฺฉต,ิ อามก ํ คณหฺ าติ,
ยท ิ ปกฺก ํ อจิ ฉฺ ต,ิ ปกฺกํ คณหฺ าติ ฯ เอวเมว โข มหาราช โย ยํ ผล ํ อจิ ฉฺ ติ, โส กมมฺ มลู ํ
ทตวฺ า ปตถฺ ิต ํ ผล ํ คณฺหาติ, ยทิ โสตาปตฺตผิ ลํ…เป.… ยทิ อปปฺ ณิหิตผลสมาปตฺตึ, อทิ ํ
วจุ จฺ ต,ิ มหาราช ‘ภควโต ผลาปณน’ฺ ติ ฯ
‘‘กมมฺ มลู ํ ชนา ทตฺวา คณหฺ นฺติ อมตปผฺ ลํ
เตน เต สุขิตา โหนตฺ ิ เย กตี า อมตปฺผลน”ฺ ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร พระผมู้ พี ระภาคเจ้าไดต้ รัสผลไมไ้ ว้
หลายชนดิ อะไรบ้าง ? ได้แก่ โสดาปตั ติผล สกทาคามผิ ล อนาคามผิ ล อรหตั ตผล สญุ ญตผล-

290 มิลินทปัญหาปกรณแ์ ปล [๕.อนุมานปญั ห

สมาบตั ิ อนมิ ติ ตผลสมาบตั ิ อัปปณิหิตผลสมาบัติ ในบรรดาผลเหลา่ น้ัน บุคคลใดบุคคลหน่ึง
ตอ้ งการผลชนิดใด เขากย็ ่อมใช้ทรพั ย์ซอื้ ผลท่ตี อ้ งการไป ไมว่ า่ จะเปน็ โสดาปัตติผล ไม่วา่ จะ
เปน็ สกทาคามิผล ไม่ว่าจะเปน็ อนาคามิผล ไม่ว่าจะเป็นอรหัตตผล ไมว่ า่ จะเปน็ สุญญตผล-
สมาบตั ิ ไมว่ ่าจะเป็นอนมิ ิตตผลสมาบตั ิ ไม่ว่าจะเปน็ อปั ปณหิ ิตผลสมาบัติ ขอถวายพระพร
เปรยี บเหมือนวา่ บุรุษคนหนง่ึ มีต้นมะมว่ งท่อี อกผลประจ�ำ บรุ ุษผูน้ ัน้ จะไมส่ อยผลจากตน้ นั้น
ตราบเทา่ ที่ผ้ซู อ้ื ยังไม่มา สว่ นเมื่อผู้ซือ้ มาถงึ แล้ว เขารับทรพั ยไ์ ปแลว้ ก็กล่าวอยา่ งนวี้ ่า ‘พอ่
มหาจ�ำเรญิ เอ๋ย มะม่วงต้นน้อี อกผลประจ�ำ ท่านตอ้ งการผลชนิดใดจากต้นมะมว่ งนน้ั กจ็ งถือ
เอาชนิดเทา่ ที่ตอ้ งการเถดิ ไมว่ า่ ยงั อ่อนอยู่ ไม่ว่าเร่ิมออก ไมว่ ่าก�ำลังเข้าไคล ไมว่ ่าดิบ ไมว่ า่
สกุ ’ ดงั นี้ ด้วยทรพั ยท์ ี่ตนใหไ้ ป บุรุษผ้ซู ื้อนน้ั ถ้าต้องการผลทอี่ ่อน กย็ ่อมถือเอาผลออ่ นไป ถ้า
ตอ้ งการผลทเ่ี ริม่ ออก ก็ยอ่ มถือเอาผลทเี่ รมิ่ ออกไป ถ้าตอ้ งการผลทก่ี �ำลังเข้าไคล กย็ ่อมถอื เอา
ผลทเี่ ขา้ ไคลไป ถ้าตอ้ งการผลทด่ี ิบ กย็ อ่ มถอื เอาผลทดี่ บิ ไป ถ้าต้องการผลท่ีสุก กย็ อ่ มถอื เอา
ผลทส่ี กุ ไป ฉันใด ขอถวายพระพร บุคคลใดต้องการผลใด บคุ คลนนั้ ใหท้ รพั ยไ์ ปแล้ว ก็ยอ่ มถือ
เอาผลทตี่ นปรารถนาได้ ไม่วา่ จะเป็นโสดาปัตตผิ ล ฯลฯ ไม่วา่ จะเปน็ อปั ปณหิ ิตผลสมาบตั ิ
ฉนั น้นั เหมอื นกัน ขอถวายพระพร น้ีเรยี กว่าตลาดผลไมข้ องพระผมู้ ีพระภาคเจา้

“ชนท้งั หลายมอบทรัพย์ให้ไปแลว้ ก็ย่อมรับเอาผลอมตะไปได้
ชนเหล่าใดซือ้ ผลอมตะไป ชนเหลา่ น้นั ย่อมเปน็ ผู้ถึงสขุ ได้ด้วย
ผลอมตะน้ัน”
‘‘ภนฺเต นาคเสน กตมํ พทุ ธฺ สสฺ ภควโต อคทาปณนฺ”ติ ?
พระเจ้ามิลินท์ตรสั ว่า “พระคณุ เจา้ นาคเสน ตลาดยาแก้พิษของพระผมู้ ีพระภาคพทุ ธ
เจ้า เป็นไฉน ?”
‘‘อคทาน ิ โข มหาราช ภควตา อกฺขาตาน,ิ เยห ิ อคเทหิ โส ภควา สเทวก ํ โลกํ
กิเลสวสิ โต ปริโมเจติ ฯ กตมาน ิ ปน ตาน ิ อคทานิ ? ยานิมาน ิ มหาราช ภควตา
จตฺตาริ อริยสจฺจาน ิ อกฺขาตานิ ฯ เสยยฺ ถีท,ํ ทุกขฺ ํ อรยิ สจฺจํ ทุกฺขสมุทย ํ อรยิ สจฺจํ ทกุ ขฺ -
นิโรธ ํ อรยิ สจฺจํ ทุกขฺ นิโรธคามินี ปฏิปทา อริยสจจฺ ,ํ ตตฺถ เย เกจ ิ อ ฺ าเปกขฺ า จตุสจฺจ ํ
ธมฺม ํ สุณนฺติ, เต ชาติยา ปรมิ จุ จฺ นตฺ ิ, ชราย ปริมจุ จฺ นฺติ, มรณา ปรมิ ุจฺจนฺต,ิ โสกปรเิ ทว-
ทุกขฺ โทมนสฺสุปายาเสห ิ ปรมิ จุ จฺ นฺติ, อิท ํ วจุ จฺ ต ิ มหาราช ‘ภควโต อคทาปณน’ฺ ติ ฯ
‘‘เย เกจิ อคทา โลเก วสิ าน ํ ปฏพิ าหกา

กัณฑ์] อนมุ านปัญหกัณฑ์ 291

ธมมฺ าคทสมํ นตถฺ ิ เอต ํ ปวิ ถ ภิกขฺ โว’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร พระผมู้ พี ระภาคเจา้ ไดต้ รสั ยาแก้พิษไว้
หลายอยา่ ง เป็นเครือ่ งยาที่พระผมู้ พี ระภาคเจา้ ทรงใช้เปลอ้ื งสัตว์โลกพร้อมทงั้ เทวโลกใหพ้ น้
จากพษิ คือกเิ ลส ก็ยาแกพ้ ษิ เหลา่ น้ัน มอี ะไรบ้าง ? ขอถวายพระพร พระผ้มู ีพระภาคเจ้าได้
ตรสั อริยสัจ ๔ เหล่านี้ไว้ ได้แก่ ทุกขอรยิ สจั ทกุ ขสมุทัยอรยิ สจั ทุกขนิโรธอริยสจั ทุกขนิโรธ-
คามนิ ปี ฏปิ ทาอรยิ สจั ในอรยิ สจั ๔ เหล่านั้น ชนพวกท่มี งุ่ ความรไู้ ด้สดบั ธรรมคือสจั จะ ๔ ย่อม
หลดุ พ้นจากชาติ หลุดพน้ จากชรา หลดุ พน้ จากมรณะ ยอ่ มหลุดพน้ จากโสกะ ปรเิ ทวะ ทกุ ข์
โทมนสั และอปุ ายาส ขอถวายพระพร นเี้ รยี กว่าตลาดยาแก้พิษของพระผ้มู พี ระภาคเจา้
“ยาแกพ้ ิษทห่ี า้ มพษิ ทั้งหลายได้เหล่าใดเหลา่ หนึ่งในโลก ยาแก้
พิษที่เสมอดว้ ยยาแก้พษิ คือ สจั ธรรม หามไี ม่ ขอภกิ ษทุ งั้ หลาย
จงด่มื ยาแก้พิษคอื สจั ธรรมน้ีเถดิ ”

‘‘ภนฺเต นาคเสน กตม ํ พทุ ธฺ สฺส ภควโต โอสธาปณนฺ”ติ ?
พระเจา้ มิลนิ ท์ตรสั วา่ “พระคุณเจ้านาคเสน ตลาดยาทัว่ ไป ของพระผู้มีพระภาคพทุ ธ
เจา้ เปน็ ไฉน ?”

‘‘โอสธาน ิ โข มหาราช ภควตา อกฺขาตาน,ิ เยหิ โอสเธหิ โส ภควา เทวมนสุ ฺเส
ตกิ จิ ฺฉติ ฯ เสยฺยถที ํ, จตฺตาโร สติปฏ ฺ านา จตฺตาโร สมฺมปฺปธานา จตตฺ าโร อิทธฺ ิปาทา
ป ฺจินทฺ ฺรยิ าน ิ ป ฺจ พลานิ สตฺต โพชฺฌงคฺ า อรโิ ย อฏฺ งฺคิโก มคฺโค, เอเตหิ โอสเธหิ
ภควา มิจฉฺ าทฏิ ฺ ึ วิเรเจต,ิ มจิ ฺฉาสงฺกปปฺ ํ วเิ รเจติ, มจิ ฉฺ าวาจํ วเิ รเจต,ิ มจิ ฉฺ ากมมฺ นตฺ ํ
วิเรเจต,ิ มจิ ฉฺ าอาชวี ํ วิเรเจติ, มิจฉฺ าวายามํ วิเรเจต,ิ มิจฉฺ าสต ึ วิเรเจต,ิ มิจฉฺ าสมาธึ
วเิ รเจต,ิ โลภวมน ํ กาเรติ, โทสวมนํ กาเรติ, โมหวมน ํ กาเรต,ิ มานวมนํ กาเรต,ิ
ทฏิ ฺ วิ มน ํ กาเรต,ิ วิจกิ จิ ฺฉาวมนํ กาเรติ, อุทฺธจฺจวมน ํ กาเรติ, ถนิ มิทฺธวมน ํ กาเรต,ิ
อหริ กิ าโนตฺตปปฺ วมนํ กาเรติ, สพฺพกิเลสวมน ํ กาเรติ, อิทํ วจุ ฺจติ มหาราช ‘ภควโต
โอสธาปณน’ฺ ติ ฯ
‘‘เย เกจ ิ โอสธา โลเก วชิ ฺชนตฺ ิ วิวิธา พหู
ธมโฺ มสธสมํ นตถฺ ิ เอต ํ ปวิ ถ ภกิ ขฺ โว ฯ
‘‘ธมโฺ มสธ ํ ปิวิตฺวาน อชรามรณา สิยุํ
ภาวยติ ฺวา จ ปสฺสิตวฺ า นิพพฺ ุตา อุปธกิ ขฺ เย’’ติ ฯ

292 มิลนิ ทปัญหาปกรณแ์ ปล [๕.อนมุ านปญั ห

พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสยาทวั่ ไปไว้
เป็นเครื่องยาทพี่ ระผู้มพี ระภาคเจ้าทรงใช้เยียวยาเทวดาและมนษุ ย์ ยาน้ี ไดแ้ กอ่ ะไรบ้าง ?
ไดแ้ ก่ สตปิ ัฏฐาน ๔ สมั มปั ปธาน ๔ อิทธิพล ๔ อินทรยี ์ ๕ พละ ๕ โพชฌงค์ ๗ อรยิ มรรคมีองค์
๘ พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงใหย้ าเหล่าน้ี ทงั้ เทวดาและมนุษย์ใหส้ �ำรอกมิจฉาทิฏฐิ ให้ส�ำรอก
มจิ ฉาสงั กปั ปะ ให้ส�ำรอกมจิ ฉาวาจา ให้ส�ำรอกมิจฉากมั มนั ตะ ใหส้ �ำรอกมจิ ฉาอาชีวะ ให้
ส�ำรอกมิจฉาวายามะ ให้ส�ำรอกมิจฉาสติ ใหส้ �ำรอกมิจฉาสมาธิ ใหส้ �ำรอกอาเจยี นโลภะ ให้
ส�ำรอกอาเจียนโทสะ ใหส้ �ำรอกอาเจียนโมหะ ให้ท�ำการอาเจียนมานะ ให้ท�ำการอาเจยี นทิฏฐิ
ให้ท�ำการอาเจยี นอหริ ิกะและอโนตตปั ปะ ใหท้ �ำการอาเจยี นกิเลสทงั้ ปวง ขอถวายพระพร นี้
เรียกวา่ ตลาดยาทัว่ ไปของพระผมู้ ีพระภาคเจ้า

“ยาเหล่าใดเหลา่ หนง่ึ มีอยู่มากมายในโลก ยาท่เี สมอเหมอื น
พระธรรม หามไี ม่ ขอภิกษทุ งั้ หลายจงดมื่ ยาคือพระธรรมนเี้ ถดิ
ภิกษุด่ืมยาคอื พระธรรมนแี้ ล้ว กจ็ ะเปน็ ผูไ้ มแ่ ก่ ไม่ตาย และ
เจรญิ แลว้ เห็นแลว้ จะเป็นผนู้ พิ พาน ในธรรมเปน็ ทส่ี ิ้นอปุ ธ”ิ

‘‘ภนเฺ ต นาคเสน กตมํ พุทธฺ สสฺ ภควโต อมตาปณนฺ”ติ ?
พระเจา้ มิลนิ ท์ตรสั วา่ “พระคณุ เจ้านาคเสน ตลาดยาอมตะของพระผู้มีพระภาคพทุ ธ
เจ้า เป็นไฉน ?”

‘‘อมตํ โข มหาราช ภควตา อกขฺ าตํ, เยน อมเตน โส ภควา สเทวก ํ โลกํ
อภสิ ิ จฺ ิ, เยน อมเตน อภสิ ิตตฺ า เทวมนุสฺสา ชาตชิ ราพฺยาธมิ รณโสกปริเทวทกุ ขฺ โทมนสฺส-ุ
ปายาเสห ิ ปริมจุ ฺจสึ ุ ฯ กตม ํ ต ํ อมตํ ? ยททิ ํ กายคตาสติ ฯ ภาสิตมเฺ ปตํ มหาราช
ภควตา เทวาตเิ ทเวน ‘อมตํ เต ภิกฺขเว ปริภ ุ ชฺ นฺต,ิ เย กายคตาสตึ ปรภิ ุ ชฺ นตฺ ’ี ติ ฯ
อทิ ํ วจุ ฺจติ มหาราช ‘ภควโต อมตาปณ’นตฺ ิ ฯ
‘‘พฺยาธิต ํ ชนต ํ ทสิ ฺวา อมตาปณ ํ ปสารยิ
กมฺเมน ต ํ กณิ ิตฺวาน อมตํ อาเทถ ภกิ ขฺ โว’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร พระผมู้ ีพระภาคเจา้ ไดต้ รัสบอกยา
อมตะไว้ เป็นยาอมตะทีพ่ ระผู้มพี ระภาคเจ้านน้ั ทรงใชป้ ระพรมชาวโลกพรอ้ มทั้งเทวโลก เปน็
ยาอมตะทีพ่ วกมนุษยแ์ ละเทวดาท้ังหลายไวป้ ระพรมแลว้ เป็นเหตุใหพ้ น้ จากความเกิด ความ
แก่ ความเจบ็ ไข้ได้ป่วย ความตาย ความเศรา้ โศก ความรำ�่ ไหร้ �ำพัน ความทกุ ขก์ าย ความ
ทุกข์ใจ และความคับแค้นใจได้ ยาอมตะนั้นเปน็ ไฉน ? ไดแ้ ก่ กายคตาสติ ขอถวายพระพร

กัณฑ์] อนุมานปญั หกณั ฑ์ 293

พระผู้มพี ระภาคเจ้า ผ้ทู รงเปน็ เทพย่งิ กวา่ เหลา่ เทพ ทรงภาษิตความข้อน้ไี ว้วา่ ‘ภกิ ษทุ ง้ั หลาย
ชนเหลา่ ใด เจรญิ กายคตาสติ ชนเหล่านัน้ ชือ่ วา่ ไดบ้ รรลอุ มตธรรม’ ดงั น้ี ขอถวายพระพร
นี้เรยี กว่า ‘ตลาดอมตะของพระผูม้ ีพระภาคเจ้า’

“พระผู้มีพระภาคเจา้ ทอดพระเนตรเหน็ หมูช่ นผู้ป่วยไขแ้ ล้ว ก็
ทรงเปิดตลาดยาอมตะให้ ขอภกิ ษทุ ัง้ หลายจงใช้ทรัพย์ซ้อื ยา
อมตะนัน้ มาฉันเถดิ ”

‘‘ภนเฺ ต นาคเสน กตมํ พทุ ฺธสสฺ ภควโต รตนาปณน”ฺ ติ ?
พระเจ้ามลิ นิ ท์ตรัสว่า “พระคุณเจา้ นาคเสน ตลาดแก้วของพระผู้มีพระภาคพุทธเจ้า
เป็นไฉน ?”

‘‘รตนานิ โข มหาราช ภควตา อกขฺ าตาน,ิ เยหิ รตเนห ิ วภิ สู ิตา ภควโต ปตุ ฺตา
สเทวก ํ โลกํ วโิ รจนตฺ ิ โอภาเสนฺต ิ ปภาเสนฺติ ชลนฺติ ปชชฺ ลนตฺ ิ อทุ ธฺ ํ อโธ ตริ ยิ ํ อาโลก ํ
ทสเฺ สนตฺ ิ ฯ กตมานิ ตาน ิ รตนานิ ? สีลรตนํ สมาธริ ตนํ ป ฺ ารตนํ วมิ ุตตฺ ิรตน ํ วิมตุ ฺติ
าณทสสฺ นรตนํ ปฏิสมฺภทิ ารตนํ โพชฺฌงฺครตนํ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร พระผู้มีพระภาคเจา้ ไดต้ รสั บอกแก้ว
หลายอยา่ ง เปน็ แก้วทโี่ อรสของพระผมู้ พี ระภาคเจา้ ใช้ประดบั แล้ว ก็ท�ำโลกพรอ้ มทั้งเทวโลก
ให้รุ่งเรอื ง สอ่ งแสง ท�ำใหส้ วา่ ง โพลง โชตชิ ่วง ท�ำแสงสว่างให้ปรากฏไปตลอดท้ังเบื้องบน
เบือ้ งลา่ ง และเบอื้ งขวาง แก้วทั้งหลายเหล่าน้นั มีอะไรบ้าง ? ไดแ้ ก่ แก้วคือศีล แก้วคือสมาธิ
แกว้ คือปญั ญา แกว้ คือวิมุตติ แกว้ คือวมิ ุตติญาณทัสสนะ แกว้ คือปฏิสมั ภทิ า แก้วคือโพชฌงค์

‘‘กตมํ มหาราช ภควโต สลี รตนํ ? ปาตโิ มกฺขสํวรสีลํ อนิ ทฺ รฺ ิยสํวรสลี ํ อาชวี -
ปาริสุทธฺ ิสลี ํ ปจฺจยสนนฺ สิ สฺ ติ สลี ํ จูฬสลี ํ มชฌฺ ิมสลี ํ มหาสลี ํ มคคฺ สลี ํ ผลสีลํ ฯ สีลรตเนน โข
มหาราช วิภูสิตสฺส ปคุ คฺ ลสฺส สเทวโก โลโก สมารโก สพรฺ หมฺ โก สสสฺ มณพรฺ าหฺมณี
ปชา ปิหยต ิ ปตฺเถต,ิ สีลรตนปิฬนโฺ ธ โข มหาราช ภิกขฺ ุ ทิสมฺป ิ อนุทิสมปฺ ิ อทุ ธฺ มฺปิ อโธป ิ
ติริยมปฺ ิ วิโรจต ิ อตวิ ิโรจต,ิ เหฏฺ โต อวจี ึ อุปริโต ภวคคฺ ํ อปุ าทาย เอตฺถนฺตเร
สพฺพรตนาน ิ อตกิ กฺ มติ วฺ า อภภิ วิตฺวา อชโฺ ฌตถฺ ริตวฺ า ตฏิ ฺ ติ, เอวรปู านิ โข มหาราช
สีลรตนานิ ภควโต รตนาปเณ ปสาริตานิ, อทิ ํ วุจจฺ ติ มหาราช ‘ภควโต สลี รตนนฺ’ติ ฯ
‘‘เอวรปู านิ สีลานิ สนตฺ ิ พุทฺธสสฺ อาปเณ
กมเฺ มน ต ํ กิณิตวฺ าน รตน ํ โว ปิฬนธฺ ถา’ติ ฯ

294 มลิ ินทปัญหาปกรณ์แปล [๕.อนุมานปัญห

ขอถวายพระพร แก้วคอื ศีลของพระผ้มู ีพระภาคเจ้าเป็นไฉน ? ไดแ้ ก่ ปาตโิ มกขสงั วร-
ศลี อนิ ทรยิ สงั วรศีล อาชวี ปาริสทุ ธศิ ลี ปัจจยสันนสิ สิตศีล จูฬศีล มัชฌมิ ศีล มหาศลี มรรคศลี
ผลศีล ขอถวายพระพร หม่ปู ระชาชาวโลกพรอ้ มท้ังเทวโลก พร้อมทัง้ มาร พรอ้ มทัง้ พรหม
พรอ้ มท้งั สมณะและพราหมณ์ ย่อมติดใจ ยอ่ มปรารถนาแต่บคุ คลผู้ประดับแลว้ ด้วยแก้วคือศลี
ขอถวายพระพร ภิกษผุ ู้มแี ก้วคือศลี เป็นเครือ่ งประดับ ย่อมท�ำทิศท้งั ทศิ ใหญ่ทิศนอ้ ย ทงั้ ทศิ
เบื้องบน ท้งั ทิศเบื้องล่าง ท้ังทศิ เบื้องขวางให้ร่งุ เรือง ให้รุง่ โรจน์ แกว้ คือศีล ย่อมต้ังอยู่ กา้ วลว่ ง
ครอบง�ำ ปกคลมุ แกว้ ทงั้ ปวงในบรเิ วณระหวา่ ง จบั ตั้งแตเ่ บ้ืองต�่ำคอื อเวจีมหานรก จนกระท่งั
ถึงเบอื้ งบน คอื ภวคั คพรหม ขอถวายพระพร แกว้ คือศลี เหน็ ปานนี้ แพรห่ ลายอยู่ในตลาดแก้ว
ของพระผมู้ พี ระภาคเจ้า ขอถวายพระพร นเ้ี รียกวา่ แกว้ คือศลี ของพระผมู้ พี ระภาคเจ้า

“แกว้ คอื ศลี ของพระผ้มู พี ระภาคเจา้ เห็นปานฉะน้ี ย่อมมีอยู่ใน
ตลาดของพระพทุ ธเจ้า ขอท่านทั้งหลาย จงใช้ทรพั ย์ซอ้ื แกว้ คอื
ศีลนั้น มาประดับเถิด”

‘‘กตมํ มหาราช ภควโต สมาธริ ตนํ ? สวติ กกฺ สวจิ าโร สมาธ,ิ อวิตกกฺ วิจารมตฺโต
สมาธ,ิ อวิตกกฺ อวิจาโร สมาธ,ิ สุ ฺ โต สมาธิ, อนิมติ ฺโต สมาธ,ิ อปฺปณิหิโต สมาธิ ฯ
สมาธิรตน ํ โข มหาราช ปิฬนฺธสสฺ ภกิ ขฺ ุโน เย เต กามวิตกฺกพฺยาปาทวิตกฺกวหิ สึ าวติ กฺก-
มานุทฺธจฺจทิฏฺ ิวจิ กิ จิ ฉฺ ากเิ ลสวตฺถนู ิ ววิ ธิ าน ิ จ กุวติ กกฺ าน,ิ เต สพฺเพ สมาธิ ํ อาสชฺช
วิกิรนฺติ วิธมนตฺ ิ วิทธฺ สํ นฺติ น สณ ฺ นฺติ น อปุ ลมิ ฺปนฺติ ฯ ยถา มหาราช วาริ โปกฺขร-
ปตฺเต วกิ ริ ต ิ วธิ มติ วทิ ฺธํสต ิ น สณ ฺ าติ น อุปลิมปฺ ติ ฯ ตํ กิสฺส เหตุ ? ปริสุทธฺ ตฺตา
ปทุมสฺส ฯ เอวเมว โข มหาราช สมาธิรตนํ ปฬิ นฺธสสฺ ภิกฺขโุ น เย เต กามวติ กฺก-
พยฺ าปาทวติ กกฺ วิหึสาวติ กฺกมานุทธฺ จจฺ ทิฏ ฺ วิ จิ กิ จิ ฺฉากเิ ลสวตฺถูนิ ววิ ธิ านิ จ กุวติ กกฺ านิ, เต
สพฺเพ สมาธํ ิ อาสชชฺ วกิ ิรนตฺ ิ วิธมนตฺ ิ วิทธฺ สํ นตฺ ิ น สณ ฺ นฺต ิ น อปุ ลมิ ฺปนตฺ ิ ฯ ตํ กสิ ฺส
เหตุ ? ปรสิ ุทธฺ ตฺตา สมาธสิ ฺส ฯ อิทํ วจุ จฺ ติ มหาราช ‘ภควโต สมาธิรตน’นตฺ ,ิ เอวรปู านิ
โข มหาราช สมาธริ ตนานิ ภควโต รตนาปเณ ปสารติ านิ ฯ
‘‘สมาธิรตนมาลสสฺ กุวติ กฺกา น ชายเร
น จ วิกฺขปิ เต จติ ตฺ ํ เอตํ ตมุ ฺเห ปิฬนฺธถา’ติ ฯ
ขอถวายพระพร แก้วคอื สมาธขิ องพระผู้มพี ระภาคเจา้ เป็นไฉน ? ไดแ้ ก่ สมาธิทม่ี วี ติ ก
และวิจาร สมาธิท่ีไม่มวี ติ ก มเี พียงวิจาร สมาธิที่ไม่มีวิตกไมม่ วี ิจาร สุญญตสมาธิ อนิมติ ตสมาธิ
อปั ปณิหิตสมาธิ ขอถวายพระพร กามวิตก พยาบาทวิตก วหิ งิ สาวติ ก มานะ อทุ ธจั จะ ทิฏฐิ

กณั ฑ]์ อนุมานปญั หกัณฑ์ 295

วิจกิ จิ ฉา กเิ ลส วตั ถุทงั้ หลาย และความตรกึ ชว่ั มีอยา่ งต่าง ๆ ท้งั หลายทั้งปวง ของภิกษผุ ู้
ประดบั แกว้ คือสมาธิ มาเผชิญกบั สมาธเิ ข้า กย็ ่อมกระจายแตกซ่านท�ำลาย ตงั้ อย่ไู มไ่ ด้ ติดอยู่
ไมไ่ ด้ ขอถวายพระพร เปรยี บเหมือนว่า น้�ำตกบนใบบัวก็ย่อมกระจายไป แตกซ่านไป ตง้ั อยู่
ไม่ได้ ติดอยไู่ มไ่ ด้ ข้อนน้ั เปน็ เพราะเหตไุ ร ? เพราะบัวเป็นธรรมชาติหมดจด ฉันใด ขอถวาย
พระพร กามวิตก พยาบาทวิตก วิหงิ สาวิตก มานะ อุทธจั จะ ทฏิ ฐิ วจิ กิ จิ ฉา กิเลสวัตถุทงั้ หลาย
และความตรึกชั่วมอี ยา่ งต่าง ๆ ทง้ั หลายทง้ั ปวงของภิกษผุ ูป้ ระดับแกว้ คอื สมาธิ มาเผชญิ กับ
สมาธิเข้า กย็ ่อมกระจาย แตกซา่ นท�ำลาย ตงั้ อยูไ่ มไ่ ด้ ตดิ อยูไ่ ม่ได้ ขอ้ นนั้ เป็นเพราะเหตไุ ร ?
เพราะสมาธิเป็นธรรมชาติหมดจด ฉันนั้นเหมอื นกัน ขอถวายพระพร น้ี่เรยี กวา่ แกว้ คอื สมาธิ
ของพระผ้มู พี ระภาคเจ้า ขอถวายพระพร แกว้ คือสมาธิเหน็ ปานน้ี แพรห่ ลายอยู่ในตลาดแกว้
ของพระผมู้ พี ระภาคเจ้า

“วติ กชั่ว ยอ่ มไม่เกิดแก่ภกิ ษุผมู้ มี าลยั แกว้ คอื สมาธิ ทง้ั จิตกไ็ ม่
ซดั ส่าย ขอทา่ นท้ังหลายจงประดับแก้ว คอื สมาธิน้ีเถิด”

‘‘กตม ํ มหาราช ภควโต ป ฺ ารตนํ ? ยาย มหาราช ป ฺ าย อริยสาวโก ‘อิท ํ
กุสล’นฺต ิ ยถาภตู ํ ปชานาติ, ‘อทิ ํ อกสุ ลน’ฺ ต ิ ยถาภูต ํ ปชานาติ, ‘อทิ ํ สาวชฺชํ, อทิ ํ อนวชชฺ ํ,
อิทํ เสวิตพพฺ ํ, อทิ ํ น เสวติ พฺพ,ํ อิทํ หนี ํ, อทิ ํ ปณตี ,ํ อทิ ํ กณฺหํ, อิทํ สุกฺก,ํ อิท ํ
กณหฺ สกุ ฺกสปปฺ ฏภิ าคนฺ’ติ ยถาภูต ํ ปชานาต,ิ ‘อทิ ํ ทกุ ขฺ นฺ’ติ ยถาภูตํ ปชานาติ, ‘อย ํ
ทุกฺขสมทุ โย’ต ิ ยถาภูต ํ ปชานาต,ิ ‘อยํ ทกุ ขฺ นโิ รโธ’ต ิ ยถาภูตํ ปชานาต,ิ ‘อยํ ทุกฺขนโิ รธ-
คามนิ ี ปฏปิ ทา’ต ิ ยถาภูตํ ปชานาติ ฯ อิทํ วุจจฺ ติ มหาราช ‘ภควโต ป ฺ ารตนนฺ’ติ ฯ
‘‘ป ฺ ารตนมาลสสฺ น จิรํ วตฺตเต ภโว
ขิปปฺ ํ ผสเฺ สต ิ อมต ํ น จ โส โรจเต ภเว’ติ ฯ
ขอถวายพระพร แก้วคอื ปัญญาของพระผมู้ ีพระภาคเจ้าเปน็ ไฉน ? ขอถวายพระพร
พระอริยสาวก ย่อมรู้ชัดตามความเป็นจรงิ วา่ ‘น้กี ุศล’ ย่อมรชู้ ดั ตามความเปน็ จริงว่า ‘นอี้ กศุ ล’
ยอ่ มรูช้ ัดตามความเป็นจรงิ วา่ ‘น้ีมโี ทษ, นไ้ี มม่ ีโทษ นีค้ วรเสพ นไ้ี มค่ วรเสพ นีเ้ ลว นีป้ ระณตี นี้
ด�ำ นขี้ าว นมี้ ีส่วนเปรียบกันได้กบั ด�ำและขาว’ ยอ่ มรู้ชดั ตามความเปน็ จริงว่า ‘นท้ี กุ ข์’ ย่อมรู้ชัด
ตามความเปน็ จรงิ ว่า ‘นที้ ุกขสมุทัย’ ย่อมรู้ชดั ตามความเป็นจริงว่า ‘น้ที ุกขนโิ รธ’ ยอ่ มรตู้ าม
ความเปน็ จรงิ ว่า ‘นที้ กุ ขนโิ รธคามนิ ีปฏปิ ทา’ ขอถวายพระพร น้ีเรียกว่า แกว้ คอื ปัญญาของ
พระผมู้ พี ระภาคเจ้า
“ภพชาติของบคุ คลผู้มมี าลัยแกว้ คือปัญญา ย่อมเป็นไปได้ไม่

296 มลิ นิ ทปญั หาปกรณแ์ ปล [๕.อนมุ านปญั ห

นาน เขายอ่ มสมั ผัสอมตธรรม ได้เร็วพลนั ย่อมไม่โพลงอยใู่ น
ภพ”

‘‘กตมํ มหาราช ภควโต วมิ ุตตฺ ิรตน’ํ ’ ? ‘‘วิมุตตฺ ิรตนํ โข มหาราช อรหตตฺ ํ วุจฺจต,ิ
อรหตตฺ ํ ปตโฺ ต โข มหาราช ภิกฺข ุ ‘วมิ ุตฺติรตน ํ ปิฬนฺโธ’ติ วุจจฺ ติ ฯ ยถา มหาราช ปรุ ิโส
มตุ ตฺ ากลาปมณกิ ลาปปวาฬกลาปาภรณปปฺ ฏมิ ณฺฑโิ ต อคลุตครตาลีสกโลหติ จนฺทนานลุ ิตตฺ -
คตโฺ ต นาคปุนนฺ าคสาลสลฬจมฺปกยูถกิ าตมิ ุตฺตกปาฏลุปปฺ ลวสฺสิกมลลฺ ิกาวิจติ ฺโต เสสชเน
อติกกฺ มิตฺวา วโิ รจต ิ อตวิ ิโรจติ โอภาสต ิ ปภาสต ิ สมปฺ ภาสต ิ ชลต ิ ปชชฺ ลติ อภิภวติ
อชโฺ ฌตฺถรติ มาลาคนธฺ รตนาภรเณหิ เอวเมว โข มหาราช อรหตตฺ ํ ปตโฺ ต ขีณาสโว
วิมุตฺตริ ตนปิฬนโฺ ธ อปุ าทายุปาทาย วิมตุ ตฺ าน ํ ภิกขฺ นู ํ อตกิ กฺ มติ วฺ า สมติกฺกมิตวฺ า วโิ รจต ิ
อตวิ โิ รจติ โอภาสต ิ ปภาสต ิ สมฺปภาสต ิ ชลต ิ ปชชฺ ลต ิ อภิภวติ อชโฺ ฌตถฺ รติ วิมุตฺติยา ฯ
ต ํ กสิ สฺ เหตุ ? อคคฺ ํ มหาราช เอต ํ ปิฬนธฺ น ํ สพพฺ ปิฬนฺธนานํ, ยททิ ํ วิมตุ ตฺ ปิ ฬิ นธฺ นํ ฯ
อิทํ วุจฺจติ มหาราช ‘ภควโต วิมตุ ฺตริ ตนนฺ’ติ ฯ
‘‘มณมิ าลาธรํ เคห ชโน สาม ึ อทุ กิ ฺขติ
วมิ ตุ ตฺ ริ ตนมาลนตฺ ุ อทุ ิกขฺ นตฺ ิ สเทวกา’ติ ฯ
ขอถวายพระพร แก้วคือวิมตุ ติของพระผูม้ พี ระภาคเจา้ เปน็ ไฉน ? ขอถวายพระพร
พระอรหตั ผล เรียกวา่ แก้วคอื วิมตุ ติ ขอถวายพระพร เปรยี บเหมอื นว่า บุรษุ คนหนง่ึ ตกแต่ง
ประดับประดาดว้ ยพวงแก้วมุกดา พวงแกว้ มณี พวงแกว้ ประพาฬ และอาภรณ์ ลบู ไล้กายด้วย
ผลกฤษณาหอม กฤษณาสามญั ผลเฉยี ง ผลจนั ทน์แดง วจิ ิตรด้วยดอกกากระทงิ ดอกบนุ นาค
ดอกสาละ ดอกสฬละ (สน) ดอกจ�ำปา ดอกคัดเคา้ ดอกล�ำดวน ดอกอบุ ลหรอื ดอกมะลิซ้อน ก็
ย่อมรุ่งเรือง ไพโรจน์ บรรเจิด สวา่ งไสว เจิดแจม่ กา้ วล่วงชนทเี่ หลือทัง้ หลาย ด้วยเคร่ืองถนิม
พมิ พาภรณ์ท้ังหลาย ฉันใด ขอถวายพระพร พระขณี าสพผู้บรรลพุ ระอรหตั ตผล ช่ือว่าผู้
ประดับแล้วดว้ ยแก้วคือวมิ ุตตยิ ่อมรุง่ เรือง ไพโรจน์ บรรเจดิ โออ่ ่า สว่างไสว เจดิ แจ่ม กา้ วลว่ ง
แลน่ เลย ภกิ ษุผหู้ ลดุ พ้นแล้วทง้ั หลาย โดยเทยี บ ๆ กันไป ย่อมครอบง�ำ อยเู่ หนอื ภิกษผุ ู้ทีห่ ลดุ
พ้นแล้วทงั้ หลาย จบั ตง้ั แตช่ ้นั ต้น ๆ ด้วยวิมุตติ ฉนั นั้นเหมอื นกัน ขอ้ น้ัน เป็นเพราะเหตไุ ร ?
ขอถวายพระพร เพราะว่า เครอ่ื งประดบั คือวิมตุ นิ ้นั เปน็ เครอื่ งประดบั ชัน้ ยอดแห่งเครือ่ ง
ประดบั ทง้ั ปวง ขอถวายพระพร น้เี รียกวา่ แก้วคอื วมิ ตุ ตขิ องพระผ้มู พี ระภาคเจา้
“ชนในเรอื น เฝ้าชมเจา้ นาย ผู้ทรงมาลัยแก้วมณี ฉนั ใด สัตว์ทงั้
หลายพร้อมท้งั เทวดา กย็ อ่ มเฝ้าชมพระอรหันตผ์ ้มู ีมาลัยแกว้

กณั ฑ]์ อนุมานปญั หกณั ฑ์ 297

คือวิมุตติ ฉันนนั้ เหมือนกัน”

‘‘กตมํ มหาราช ภควโต วมิ ุตตฺ ิ าณทสสฺ นรตนํ ? ปจฺจเวกฺขณ าณํ มหาราช
ภควโต วิมตุ ตฺ ิ าณทสสฺ นรตนนฺต ิ วุจฺจต,ิ เยน าเณน อริยสาวโก มคคฺ ผลนพิ พฺ านานิ
ปหีนกิเลสาวสฏิ ฺ กิเลเส จ ปจจฺ เวกฺขติ ฯ
‘‘เย าเณน พชุ ฌฺ นตฺ ิ อริยา กตกิจฺจตํ
ต ํ าณรตน ํ ลทฺธํุ วายเมถ ชโิ นรสา’ติ ฯ
ขอถวายพระพร แกว้ คอื วิมตุ ตญิ าณทสั สนะของพระผมู้ ีพระภาคเจา้ เป็นไฉน ? ขอ
ถวายพระพร ปัจจเวกขณญาณ เรียกว่าแกว้ คอื วิมุตติญาณทัสสนะของพระผ้มู พี ระภาคเจ้า
เป็นญาณเครื่องพิจารณา มรรค ผล นิพพาน กิเลสท่ีละไดแ้ ล้ว กิเลสท่ยี ังเหลืออยู่แห่งอรยิ
สาวก
“พระอริยบคุ คลทั้งหลาย ยอ่ มรถู้ ึงกิจท่ีตนท�ำแล้ว ด้วยญาณใด
ขอท่านท้งั หลาย จงพยายาม เพ่ืออนั ไดแ้ กว้ คือญาณนัน้ เถิด”

‘‘กตมํ มหาราช ภควโต ปฏสิ มฺภิทารตนํ ? จตสฺโส โข มหาราช ปฏสิ มภฺ ทิ าโย
อตฺถปฏิสมภฺ ิทา ธมฺมปฏสิ มภฺ ทิ า นริ ุตตฺ ปิ ฏสิ มฺภทิ า ปฏภิ านปฏิสมฺภทิ าติ ฯ อิเมห ิ โข
มหาราช จตหู ิ ปฏิสมภฺ ิทารตเนหิ สมลงกฺ โต ภิกฺขุ ยํ ยํ ปริส ํ อุปสงฺกมต,ิ ยท ิ ขตตฺ ยิ -
ปรสิ ํ, ยทิ พรฺ าหมฺ ณปรสิ ํ, ยท ิ คหปติปริสํ, ยทิ สมณปรสิ ํ, วิสารโท อุปสงฺกมติ อมงฺกุ-
ภูโต อภีร ุ อจฺฉมฺภี อนุตรฺ าสี วิคตโลมหํโส ปริสํ อปุ สงกฺ มติ ฯ
ขอถวายพระพร แก้วคือปฏิปทาของพระผ้มู พี ระภาคเจา้ เป็นไฉน ? ได้แก่ ปฏสิ ัมภิทา
๔ คอื อัตถปฏสิ ัมภิทา ธมั มปฏิสมั ภิทา นิรตุ ตปิ ฏสิ ัมภทิ า ปฏภิ าณปฏสิ มั ภิทา ขอถวายพระพร
ภกิ ษุผปู้ ระดบั แลว้ ดว้ ยแกว้ คอื ปฏิสัมภทิ า ๔ เหล่าน้ี เขา้ ไปยังบรษิ ทั ใด ๆ จะเปน็ ขตั ตยิ บริษัท
กต็ าม พราหมณบ์ ริษัทก็ตาม คฤหบดบี ริษทั ก็ตาม สมณบรษิ ัทกต็ าม กย็ ่อมเป็นผูแ้ กล้วกล้า
เข้าไป ย่อมเปน็ ผูไ้ มเ่ กอ้ เขิน ไม่กลวั ไม่หวาดหวั่น ไม่ต่ืนตระหนก โลมชาตไิ ม่ลกุ ชัน เข้าไปยัง
บรษิ ัท

‘‘ยถา มหาราช โยโธ สงคฺ ามสโู ร สนฺนทธฺ ป จฺ าวโุ ธ อจฺฉมภฺ โิ ต สงคฺ าม ํ โอตรติ,
‘สเจ อมิตฺตา ทูเร ภวิสสฺ นตฺ ิ อุสุนา ปาตยสิ สฺ าม,ิ ตโต โอรโต ภวสิ สฺ นฺต ิ สตตฺ ยิ า
ปหรสิ สฺ าม,ิ ตโต โอรโต ภวิสฺสนฺต ิ กณเยน ปหรสิ ฺสาม,ิ อปุ คต ํ สนฺตํ มณฑฺ ลคเฺ คน ทฺวธิ า
ฉนิ ทฺ สิ สฺ ามิ, กายปู คต ํ ฉุรกิ าย วินวิ ชิ ฺฌิสสฺ าม’ี ติ, เอวเมว โข มหาราช จตปุ ฏิสมภฺ ทิ ารตน-

298 มลิ ินทปัญหาปกรณ์แปล [๕.อนุมานปัญห

มณฑฺ โิ ต ภกิ ฺข ุ อจฺฉมฺภโิ ต ปรสิ ํ อปุ สงกฺ มติ ฯ โย โกจิ ม ํ อตฺถปฏสิ มฺภิเท ป ฺห ํ
ปุจฉฺ สิ สฺ ติ, ตสสฺ อตเฺ ถน อตฺถํ กถยิสฺสาม,ิ การเณน การณ ํ กถยิสสฺ ามิ, เหตนุ า เหตํุ
กถยสิ สฺ ามิ, นเยน นยํ กถยิสฺสามิ, นิสสฺ ํสยํ กริสฺสาม,ิ วิมต ึ วิเวเจสฺสามิ, โตสยสิ ฺสาม ิ
ป ฺหเวยฺยากรเณน ฯ
ขอถวายพระพร เปรียบเหมอื นวา่ นกั รบผกู้ ลา้ หาญในสงคราม เหนบ็ อาวุธ ๕ อยา่ ง
แลว้ กไ็ ม่หวาดหวัน่ หย่ังลงสสู่ งคราม คิดวา่ ‘ถา้ ขา้ ศกึ อยใู่ นทไ่ี กล เราจักใช้ศรยงิ ใหล้ ม้ ลงไป
เสยี ถา้ หากว่า มีอยู่ในท่ีใกล้กวา่ นั้นอกี เรากจ็ ักใชห้ อกแทง ถ้าหากวา่ มีอยใู่ นท่ใี กล้กว่านัน้ อกี
เราจักใช้ทวนแทง เราจักใชด้ าบฟันข้าศกึ ผู้อยใู่ กล้ตัวให้ขาดเปน็ ๒ ทอ่ น เราจักใช้กรชิ ท่ิมแทง
ขา้ ศึกผูเ้ ข้ามาประชิดตวั ’ ดังน้ี ฉนั ใด ขอถวายพระพร ภกิ ษผุ ูป้ ระดับด้วยปฏสิ ัมภทิ า ๔ ก็เป็น
ผู้ไม่หวาดหว่ันเขา้ ไปยงั บริษทั คิดวา่ ‘ใครคนใดคนหนง่ึ จกั ถามปญั หาเราในอัตถปฏิสัมภทิ า
เราจกั กลา่ วผลตามสมควรแก่ผล เราจกั กล่าวการณต์ ามสมควรแก่การณ์ จักกลา่ วเหตุตาม
สมควรแก่เหตุ จักกลา่ วนัยตามสมควรแก่นยั จักกระท�ำให้หมดความสงสัย จักท�ำความ
คลางแคลงใจใหว้ า่ งเว้นไป จกั ท�ำให้ยินดีดว้ ยค�ำตอบปัญหา
‘‘โย โกจิ มํ ธมมฺ ปฏิสมภฺ ิเท ป ฺหํ ปุจฺฉสิ ฺสต,ิ ตสฺส ธมฺเมน ธมมฺ ํ กถยิสฺสามิ,
อมเตน อมต ํ กถยสิ สฺ ามิ, อสงขฺ เตน อสงฺขต ํ กถยสิ สฺ าม,ิ นิพพฺ าเนน นิพฺพานํ กถยสิ ฺสาม,ิ
ส ุ ฺ เตน ส ุ ฺ ต ํ กถยสิ ฺสามิ, อนมิ ิตฺเตน อนมิ ติ ตฺ ํ กถยสิ ฺสาม,ิ อปฺปณหิ เิ ตน อปฺปณิหิตํ
กถยสิ สฺ ามิ, อเนเชน อเนช ํ กถยสิ ฺสามิ, นสิ สฺ ํสยํ กริสฺสาม,ิ วิมต ึ วิเวเจสสฺ ามิ, โตสยิสสฺ ามิ
ป หฺ าเวยฺยากรเณน ฯ
ใครคนใดคนหนึง่ จกั ถามปัญหาเราในธัมมปฏิสมั ภทิ า เราจักกลา่ วเหตุตามสมควรแก่
เหตุแกเ่ ขา จกั กล่าวสง่ิ ทเ่ี ป็นอมตะตามสมควรแก่ส่ิงทีเ่ ปน็ อมตะ จกั กลา่ วส่ิงที่เป็นอสงั ขตะ
ตามสมควรแกส่ ่งิ ที่เปน็ อสังขตะ จักกล่าวนิพพานตามสมควรแก่นพิ พาน จักกลา่ วสุญญต
ธรรมตามสมควรแก่สุญญตธรรม จักกล่าวอนิมติ ตธรรมตามสมควรแกอ่ นมิ ติ ตธรรม จักกล่าว
อัปปณิหิตธรรมตามสมควรแก่อัปปณิหติ ธรรม จกั กล่าวอเนชธรรมตามสมควรแกอ่ เนชธรรม
จักกระท�ำให้หมดความสงสัย จกั กระท�ำความคลางแคลงใจให้ว่างเว้นไป จักท�ำใหย้ นิ ดดี ้วยค�ำ
ตอบปญั หา
‘‘โย โกจิ ม ํ นิรุตฺติปฏสิ มภฺ ิเท ป หฺ ํ ปจุ ฺฉสิ ฺสต,ิ ตสสฺ นิรตุ ตฺ ยิ า นริ ุตตฺ ึ กถยสิ สฺ ามิ,
ปเทน ปท ํ กถยิสสฺ ามิ, อนปุ เทน อนปุ ทํ กถยิสสฺ าม,ิ อกขฺ เรน อกขฺ ร ํ กถยสิ สฺ าม,ิ สนธฺ ิยา

กณั ฑ]์ อนุมานปัญหกณั ฑ์ 299

สนฺธ ึ กถยสิ ฺสามิ, พยฺ ฺชเนน พฺย ชฺ น ํ กถยสิ ฺสาม,ิ อนพุ ยฺ ชฺ เนน อนุพฺย ชฺ นํ
กถยิสสฺ าม,ิ วณเฺ ณน วณณฺ ํ กถยิสฺสาม,ิ สเรน สรํ กถยิสฺสามิ, ป ฺ ตฺติยา ป ฺ ตตฺ ึ
กถยสิ ฺสาม,ิ โวหาเรน โวหารํ กถยสิ ฺสามิ, นสิ ฺสํสย ํ กรสิ สฺ ามิ, วมิ ต ึ วิเวเจสฺสามิ,
โตสยสิ สฺ ามิ ป ฺหเวยยฺ ากรเณน ฯ
ใครคนใดคนหน่งึ จกั ถามปญั หาเราในนริ ุตติปฏิสัมภิทา เราจกั กลา่ วนริ ตุ ติ ตามสมควร
แก่นริ ตุ ตแิ ก่เขา จกั กลา่ วบท ตามสมควรแก่บท จกั กลา่ วอนบุ ท ตามสมควรแก่อนบุ ท จกั กลา่ ว
อักขระ ตามสมควรแก่อักขระ จักกลา่ วสนธิ ตามสมควรแกส่ นธิ จกั กลา่ วพยัญชนะ ตาม
สมควรแก่พยญั ชนะ จักกลา่ วอนุพยญั ชนะ ตามสมควรแก่อนุพยญั ชนะ จกั กลา่ ววณั ณะ ตาม
สมควรแก่วณั ณะ จกั กล่าวสระ ตามสมควรแก่สระ จักกล่าวบญั ญัติ ตามสมควรแกบ่ ัญญัติ จกั
กลา่ วโวหาร ตามสมควรแก่โวหาร จกั กระท�ำให้หมดความสงสัย จักกระท�ำความคลางแคลงใจ
ใหว้ า่ งเว้นไป จกั ท�ำให้ยนิ ดดี ว้ ยค�ำตอบปญั หา
‘‘โย โกจิ ม ํ ปฏิภานปฏิสมภฺ ิเท ป หฺ ํ ปจุ ฺฉิสฺสติ, ตสฺส ปฏภิ าเนน ปฏภิ าน ํ
กถยิสฺสามิ, โอปมฺเมน โอปมมฺ ํ กถยิสสฺ ามิ, ลกขฺ เณน ลกขฺ ณ ํ กถยสิ ฺสาม,ิ รเสน รส ํ
กถยิสฺสามิ, นสิ สฺ ํสย ํ กรสิ ฺสามิ, วมิ ตึ วเิ วเจสฺสามิ, โตสยิสสฺ าม ิ ป หฺ เวยยฺ ากรเณนาต,ิ อทิ ํ
วจุ จฺ ต ิ มหาราช ‘ภควโต ปฏสิ มภฺ ทิ ารตนน’ฺ ติ ฯ
‘‘ปฏิสมฺภิทา กณิ ติ ฺวาน าเณน ผสฺสเยยยฺ โย
อจฺฉมภฺ ิโต อนพุ พฺ คิ โฺ ค อติโรจต ิ สเทวเก’ติ ฯ
ใครคนใดคนหนึง่ จกั ถามปญั หาเรา ในปฏิภาณปฏสิ มั ภิทา เราจักกล่าวปฏภิ าณ ตาม
สมควรแก่ปฏภิ าณแกเ่ ขา จักกล่าวอปุ มา ตามสมควรแกอ่ ปุ มา จักกลา่ วลักษณะ ตามสมควร
แกล่ กั ษณะ จักกล่าวรส ตามสมควรแกร่ ส จักกระท�ำใหห้ มดความสงสัย จกั กระท�ำความ
คลางแคลงใจใหว้ า่ งเวน้ ไป จักกระท�ำให้ยินดดี ้วยค�ำตอบปัญหา ขอถวายพระพร นีเ้ รยี กวา่
แกว้ คอื ปฏสิ มั ภทิ าของพระผมู้ พี ระภาคเจา้

“ภิกษุรูปใด ใช้ญาณซอ้ื ปฏิสมั ภทิ ามาจบั ตอ้ งได้ ภกิ ษรุ ปู น้นั
ย่อมเปน็ ผู้ไม่หวาดหวั่น ไม่สะด้งุ กลัว รุ่งเรอื งยง่ิ ในหมู่ชาวโลก
พรอ้ มทั้งเทวโลก”
‘‘กตม ํ มหาราช ภควโต โพชฌฺ งคฺ รตนํ ? สตฺตเิ ม มหาราช โพชฌฺ งฺคา สต-ิ
สมฺโพชฺฌงฺโค ธมมฺ วจิ ยสมโฺ พชฺฌงฺโค วีริยสมโฺ พชฺฌงฺโค ปีติสมฺโพชฺฌงฺโค ปสสฺ ทฺธิ-

300 มลิ นิ ทปัญหาปกรณแ์ ปล [๕.อนุมานปญั ห

สมฺโพชฌฺ งฺโค สมาธิสมโฺ พชฺฌงฺโค อุเปกขฺ าสมโฺ พชฌฺ งโฺ ค ฯ อเิ มห ิ โข มหาราช สตตฺ หิ
โพชฌฺ งคฺ รตเนหิ ปฏิมณฺฑิโต ภกิ ฺขุ สพฺพ ํ ตม ํ อภิภุยฺย สเทวก ํ โลก ํ โอภาเสติ ปภาเสติ
อาโลกํ ชเนติ ฯ อทิ ํ วุจจฺ ต ิ มหาราช ‘ภควโต โพชฌฺ งฺครตนน’ฺ ติ ฯ
‘‘โพชฺฌงฺครตนมาลสฺส อุฏฺ หนฺต ิ สเทวกา
กมฺเมน ตํ กณิ ิตฺวาน รตนํ โว ปิฬนธฺ ถา’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร แก้วคือโพชฌงค์ของพระผู้มพี ระภาคเจา้ เปน็ ไฉน ? ขอถวายพระพร
ไดแ้ ก่ โพชฌงค์ ๗ อยา่ งเหลา่ นี้ คือ สตสิ ัมโพชฌงค์ ธัมมวจิ ยสมั โพชฌงค์ วิรยิ สัมโพชฌงค์
ปีติสัมโพชฌงค์ ปัสสทั ธิสมั โพชฌงค์ สมาธิสมั โพชฌงค์ อเุ บกขาสัมโพชฌงค์ ขอถวายพระพร
ภิกษุผปู้ ระดบั ดว้ ยแกว้ คือโพชฌงค์ ๗ เหลา่ น้ี ท�ำโลกพรอ้ มทงั้ เทวโลกใหส้ วา่ งไสว ย่อมท�ำ
แสงสวา่ งให้เกิด ขอถวายพระพร นี้เรียกวา่ แกว้ คือโพชฌงค์ของพระผู้มีพระภาคเจา้
“ชาวโลกพร้อมท้งั เทวโลก ย่อมบากบ่นั เพอ่ื มาลยั แก้วคือ
โพชฌงค์ ขอทา่ นทง้ั หลาย จงใชท้ รัพยซ์ ้อื แกว้ คอื โพชฌงค์นน้ั
มาประดับเถิด”

‘‘ภนฺเต นาคเสน กตม ํ พุทฺธสสฺ ภควโต สพฺพาปณน”ฺ ติ ?
พระเจ้ามิลินท์ตรสั ว่า “พระคณุ เจ้านาคเสน ตลาดสงิ่ ท้ังปวงของพระผ้มู ีพระภาคเจ้า
เป็นไฉน ?”

‘‘สพพฺ าปณ ํ โข มหาราช ภควโต นวงฺค ํ พุทธฺ วจน ํ สารรี กิ าน ิ ปารโิ ภคิกานิ
เจตยิ านิ สงฆฺ รตน จฺ ฯ สพฺพาปเณ มหาราช ภควตา ชาตสิ มฺปตฺติ ปสาริตา, โภค-
สมปฺ ตฺติ ปสารติ า, อายสุ มฺปตฺต ิ ปสาริตา, อาโรคฺยสมปฺ ตฺติ ปสาริตา, วณฺณสมฺปตฺต ิ
ปสารติ า, ป ฺ าสมปฺ ตฺติ ปสาริตา, มานุสิกสมปฺ ตฺต ิ ปสารติ า, ทพิ ฺพสมปฺ ตฺต ิ ปสาริตา,
นิพฺพานสมปฺ ตฺต ิ ปสาริตา ฯ ตตถฺ เย ต ํ ต ํ สมปฺ ตฺตึ อิจฉฺ นฺติ, เต กมมฺ มูล ํ ทตฺวา
ปตถฺ ติ ปตฺถิตํ สมปฺ ตตฺ ึ กณิ นฺต,ิ เกจิ สลี สมาทาเนน กิณนฺต,ิ เกจิ อโุ ปสถกมเฺ มน กณิ นฺติ,
อปปฺ มตตฺ เกนปิ กมฺมมูเลน อุปาทายปุ าทาย สมฺปตตฺ โิ ย ปฏลิ ภนตฺ ิ ฯ ยถา มหาราช
อาปณิกสสฺ อาปเณ ติลมคุ คฺ มาเส ปรติ ตฺ เกนปิ ตณฑฺ ลุ มุคคฺ มาเสน อปปฺ เกนปิ มเู ลน
อุปาทายปุ าทาย คณหฺ นฺติ, เอวเมว โข มหาราช ภควโต สพฺพาปเณ อปฺปมตตฺ เกนปิ
กมมฺ มเู ลน อปุ าทายุปาทาย สมปฺ ตตฺ โิ ย ปฏลิ ภนตฺ ิ ฯ อิทํ วจุ จฺ ต ิ มหาราช ‘ภควโต
สพฺพาปณนฺ’ติ ฯ

กณั ฑ]์ อนุมานปัญหกัณฑ์ 301

‘‘อาย ุ อโรคตา วณณฺ ํ สคคฺ ํ อจุ ฺจากลุ นี ตา
อสงฺขต จฺ อมตํ อตถฺ ิ สพฺพาปเณ ชเิ น ฯ
อปฺเปน พหเุ กนาป ิ กมฺมมเู ลน คยฺหติ
กณิ ิตวฺ า สทฺธามูเลน สมทิ ธฺ า โหถ ภิกขฺ โว’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร พระพุทธพจนม์ ีองค์ ๙ พระสารีริกเจดยี ์
พระบรโิ ภคเจดีย์ และพระสังฆรตั นะแล ช่อื ว่าตลาดสงิ่ ของท้งั ปวงของพระผู้มพี ระภาคเจา้
ทรงเสนอสินค้าคอื ชาติสมบัติ ทรงเสนอสินคา้ คือโภคสมบตั ิ ทรงเสนอสนิ ค้าคอื อายุสมบตั ิ ทรง
เสนอสินค้าคอื อาโรคยสมบตั ิ ทรงเสนอสนิ คา้ คอื วรรณสมบัติ ทรงเสนอสนิ ค้าคอื ปัญญาสมบตั ิ
ทรงเสนอสินคา้ คือมนษุ ยสมบตั ิ ทรงเสนอสินค้าคือทพิ ยสมบตั ิ ทรงเสนอสินคา้ คอื นิพพาน
สมบตั ิ ในตลาดส่งิ ของทงั้ ปวงนน้ั บคุ คลพวกทีต่ ้องการสนิ คา้ คอื สมบตั นิ ้นั ๆ ย่อมใชท้ รพั ย์ซือ้
เอาสินคา้ คอื สมบตั แิ ต่ละอย่างทปี่ รารถนาไป บางพวกใช้ทรพั ยค์ ือการสมาทานศีลซ้ือ บาง
พวกใชท้ รัพยค์ ืออุโบสถกรรมซื้อ ยอ่ มใช้ทรัพย์โดยเทยี บ ๆ กันไป จบั ตั้งแต่ทรัพยแ์ มเ้ พียง
เลก็ น้อย ก็ย่อมไดส้ มบตั ทิ ้ังหลาย ขอถวายพระพร เปรียบเหมอื นว่า ที่ตลาดของเจ้าของตลาด
บุคคลยอ่ มใช้ทรพั ย์โดยเทยี บ ๆ กนั ไป จับตัง้ แตท่ รัพย์เพยี งเล็กน้อย คอื ขา้ วสาร ถ่วั เขียว ถวั่
ราชมาส ย่อมรบั เอางา ถวั่ เขยี ว ถั่วราชมาส ไปได้ ฉนั ใด ในตลาดของพระผู้มพี ระภาคเจ้า
บุคคลย่อมใช้ทรัพย์โดยเทยี บ ๆ กนั ไป จบั ตัง้ แตท่ รพั ย์เพยี งเลก็ นอ้ ย คอื ข้าวสาร ถั่วเขยี ว ถัว่
ราชมาส ย่อมรบั เอางา ถว่ั เขียว ถั่วราชมาส ไปได้ ฉนั ใด ในตลาดของพระผมู้ ีพระภาคเจ้า
บุคคลย่อมใช้ทรพั ย์โดยเทียบ ๆ กันไป จบั ตง้ั แตท่ รัพยเ์ พียงเลก็ นอ้ ย ย่อมไดส้ มบตั ิทง้ั หลาย
ฉันนัน้ เหมอื นกัน ขอถวายพระพร นี้เรยี กวา่ ตลาดส่ิงทง้ั ปวงของพระผมู้ ีพระภาคเจา้
“อายุ ความไม่มีโรค วรรณะ สวรรค์ ความเป็นผ้เู กิดในตระกลู
สูง สงิ่ ท่ีเปน็ อสังขตะ และอมตะ ย่อมมีอยู่ในตลาดสง่ิ ทง้ั ปวง
ของพระชนิ วรพุทธเจา้ บคุ คลยอ่ มใช้ทรัพย์เล็กน้อยบ้าง
มากมายบา้ ง ถอื เอาไป ขอภกิ ษทุ ง้ั หลาย ผ้มู ัง่ ค่งั ด้วยทรพั ย์
มศี รทั ธาเป็นต้น จงซื้อเอาไปเถดิ ”

‘‘ภควโต โข มหาราช ธมมฺ นคเร เอวรูปา ชนา ปฏวิ สนฺติ, สุตตฺ นตฺ ิกา เวนยิกา
อาภธิ มฺมกิ า ธมฺมกถิกา ชาตกภาณกา ทีฆภาณกา มชฌฺ ิมภาณกา สํยตุ ตฺ ภาณกา
องคฺ ุตตฺ รภาณกา ขทุ ฺทกภาณกา สลี สมฺปนนฺ า สมาธสิ มฺปนฺนา ป ฺ าสมฺปนฺนา โพชฌฺ งฺค-
ภาวนารตา วปิ สสฺ กา สทตฺถมนยุ ตุ ตฺ า อาร ฺ กิ า รุกฺขมลู กิ า อพโฺ ภกาสกิ า ปลาลปุ ฺชิกา

302 มลิ นิ ทปญั หาปกรณ์แปล [๕.อนุมานปญั ห

โสสานิกา เนสชฺชิกา ปฏปิ นนฺ กา ผลฏ ฺ า เสกขฺ า ผลสมงคฺ โิ น โสตาปนนฺ า สกทาคามิโน
อนาคามโิ น อรหนโฺ ต เตวชิ ฺชา ฉฬภิ ฺ า อิทฺธิมนโฺ ต ป ฺ าย ปารม ึ คตา สตปิ ฏ ฺ าน-
สมฺมปฺปธานอิทฺธิปาทอินฺทฺริยพลโพชฺฌงฺคมคฺควรฌานวิโมกฺขรูปารูปสนฺตสุขสมาปตฺติกุสลา,
เตห ิ อรหนฺเตห ิ อากลุ ํ สมากุลํ อากิณณฺ ํ สมากณิ ฺณํ นฬวนสรวนมวิ ธมฺมนครํ อโหสิ ฯ
ขอถวายพระพร ในนครคอื ธรรมของพระผมู้ พี ระภาคเจ้าแล มชี นทงั้ หลายเห็นปาน
ฉะน้ี อยูอ่ าศยั กัน ได้แก่ ภิกษุพวกทรงพระสูตร ภกิ ษพุ วกทรงพระวนิ ัย ภกิ ษพุ วกทรงพระ
อภิธรรม ภกิ ษุพวกธรรมกถกึ ภิกษุพวกช�ำนาญชาดก ภกิ ษุพวกช�ำนาญทฆี นกิ าย ภิกษพุ วก
ช�ำนาญมัชฌิมนกิ าย ภิกษพุ วกช�ำนาญสังยุตตนิกาย ภิกษุพวกช�ำนาญองั คุตตรนิกาย ภิกษุ
พวกช�ำนาญขุททกนกิ าย พวกถึงพรอ้ มดว้ ยศลี ผถู้ งึ พร้อมด้วยสมาธิ ผถู้ งึ พรอ้ มดว้ ยปัญญา
พวกยินดีในการเจรญิ โพชฌงค์ พวกเจริญวิปสั สนา พวกขวนขวายประโยชน์ตน พวกถือการ
อย่ปู ่าเป็นวตั ร พวกถือการอยู่โคนต้นไม้เปน็ วัตร พวกถอื การอยูใ่ นทโ่ี ลง่ แจง้ เป็นวตั ร พวกถือ
การอยกู่ องฟางเปน็ วตั ร พวกถือการอยปู่ า่ ช้าเป็นวัตร พวกถือการน่ังเปน็ วตั ร พวกที่ยงั ปฏบิ ตั ิ
อยู่ พวกต้งั อยู่ในผล พวกพระเสกขะ พวกพร้อมเพียงด้วยผล พวกพระโสดาบัน พวกพระสก-
ทาคามี พวกพระอนาคามี พวกพระอรหนั ต์ พวกไดว้ ิชชา ๓ พวกได้อภญิ ญา ๖ พวกมีฤทธิ์
พวกถึงยิ่งแห่งปญั ญา พวกผู้ฉลาดในสตปิ ัฏฐาน สัมมัปปธาน อิทธบิ าท อินทรยี ์ พละ โพชฌงค์
มรรค ฌานอันประเสริฐ วโิ มกขใ์ นสุขสมาบตั เิ ปน็ รปู าวจร และทสี่ งบจากอรปู าวจร เปน็ ธรรม
นครทกี่ ลน่ เกลอื่ นกระจายแพร่หลาย ดว้ ยพระอรหนั ตเ์ หลา่ น้นั ดุจป่าออ้ หรอื ปา่ กก ฉะน้ัน

ภวตีห – วตี โมหา อนาสวา
‘‘วตี ราคา วีตโทสา ธมฺมนคเร วสนตฺ ิ เต ฯ
วีตตณหฺ า อนาทานา ฌายิโน ลูขจีวรา
อาร ฺ ิกา ธตุ ธรา ธมมฺ นคเร วสนตฺ ิ เต ฯ
วิเวกาภริ ตา ธีรา อโถป ิ านจงกฺ มา
เนสชฺชิกา สนฺถตกิ า ธมฺมนคเร วสนตฺ ิ เต ฯ
ปสํ กุ ลู ธรา สพฺเพ จมฺมขณฺฑจตตุ ฺถกา
ติจวี รธรา สนฺตา ธมมฺ นคเร วสนตฺ ิ เต ฯ
รตา เอกาสเน วิ ฺ ู อปฺปาหารา อโลลุปา
อปปฺ ิจฉฺ า นิปกา ธีรา ธมฺมนคเร วสนฺติ เต ฯ
ลาภาลาเภน สนฺตุฏฺ า

กัณฑ์] อนุมานปญั หกณั ฑ์ 303

ฌายี ฌานรตา ธรี า สนฺตจติ ตฺ า สมาหิตา
อาก ิ ฺจ ฺ ํ ปตถฺ ยานา ธมมฺ นคเร วสนตฺ ิ เต ฯ
ปฏปิ นฺนา ผลฏ ฺ า จ เสกขฺ า ผลสมงฺคิโน
อาสสี กา อตุ ฺตมตถฺ ํ ธมมฺ นคเร วสนฺต ิ เต ฯ
โสตาปนนฺ า จ วิมลา สกทาคามิโน จ เย
อนาคามี จ อรหนฺโต ธมมฺ นคเร วสนตฺ ิ เต ฯ
สติปฏ ฺ านกสุ ลา โพชฺฌงฺคภาวนารตา
วปิ สสฺ กา ธมฺมธรา ธมมฺ นคเร วสนฺติ เต ฯ
อิทฺธปิ าเทส ุ กสุ ลา สมาธิภาวนารตา
สมมฺ ปฺปธานานุยุตตฺ า ธมมฺ นคเร วสนตฺ ิ เต ฯ
อภ ิ ฺ าปารมปิ ปฺ ตตฺ า เปตฺติเก โคจเร รตา
อนตฺ ลิกขฺ มหฺ ิ จรณา ธมมฺ นคเร วสนตฺ ิ เต ฯ
โอกฺขิตฺตจกขฺ ู มิตภาณ ี คตุ ฺตทฺวารา สสุ ํวตุ า
สทุ นฺตา อุตตฺ เม ทมฺเม ธมฺมนคเร วสนฺต ิ เต ฯ
เตวิชฺชา ฉฬภ ิ ฺ า จ อทิ ฺธยิ า ปารม ึ คตา
ป ฺ าย ปารมปิ ฺปตตฺ า ธมมฺ นคเร วสนฺติ เต’ติ ฯ
ในที่นจ้ี งึ มีอันกล่าวได้วา่
“ในนครคือธรรม มที ่านเหล่าน้นั คอื ท่านผ้ปู ราศจากราคะ
ปราศจากโทสะ ปราศจากโมหะ หาอาสวะมไิ ด้ ปราศจาก
ตณั หา ไมม่ ีความยึดถือ อาศยั อยู่
ในนครคือธรรม มีท่านเหล่าน้นั คือท่านผ้ทู รงธดุ งค์ ถือการอยู่
ป่าเป็นวัตร ทา่ นผไู้ ด้ฌาน ทรงจีวรเศรา้ หมอง ท่านผู้เปน็ นัก
ปราชญ์ ยนิ ดีในวเิ วก อาศัยอยู่
ในนครคอื ธรรม มีทา่ นทั้งหลายทง้ั ปวงน้นั คือทา่ นผู้ถือแตก่ าร
น่ังเปน็ วตั ร ทา่ นผ้ถู อื อาสนะตามท่เี ขาปูลาดไว้ รวมทง้ั ท่านผู้
ถอื แต่การยืนและการจงกรม ทา่ นผู้ทรงผ้าบงั สกลุ อาศยั อยู่
ในนครคือธรรม มีท่านเหลา่ นน้ั คอื ทา่ นสตั บรุ ษุ ผู้ทรงจีวรแต่
เพียง ๓ ผนื มเี พียงแผน่ หนังเปน็ ผนื ท่ี ๔ ทา่ นวิญญชู นผยู้ นิ ดี

304 มลิ ินทปัญหาปกรณ์แปล [๕.อนมุ านปญั ห

ในการนั่ง(ฉนั ) หนเดยี ว อาศัยอยู่
ในนครคือธรรม มีทา่ นเหลา่ นนั้ คือทา่ นผู้เปน็ นักปราชญ์ มกั
นอ้ ย เฉลียวฉลาด มอี าหารนอ้ ย ไม่มคี วามละโมบ สนั โดษอยู่
ดว้ ยลาภนอ้ ยลาภใหญ่ อาศัยอยู่
ในนครคอื ธรรม มีท่านเหล่านัน้ คอื ท่านผู้เป็นนักปราชญ์
มีฌาน ยนิ ดีในฌาน มีจิตสงบ มจี ติ ตงั้ มน่ั โดยชอบ ปรารถนา
ปัจจัยเพียงเล็ก ๆ นอ้ ย ๆ อาศัยอยู่
ในนครคอื ธรรม มีทา่ นเหลา่ น้นั คือทา่ นผปู้ ฏบิ ัติ ท่านผตู้ งั้ อยู่
ในผล ทา่ นผู้เปน็ พระเสกขะ ท่านผูพ้ รอ้ มเพียงดว้ ยผล ท่านผู้
หวังได้ซึ่งผลสูงสุด อาศยั อยู่
ในนครคือธรรม มที ่านเหล่าน้ัน คอื ทา่ นผู้ที่เปน็ พระโสดาบัน
ปราศจากมลทิน ทา่ นผ้เู ปน็ พระสกทาคามี ทา่ นผู้เป็นพระ
อนาคามี และทา่ นผู้เปน็ พระอรหันต์ อาศยั อยู่
ในนครคอื ธรรม มีทา่ นเหลา่ นั้น คอื ท่านผฉู้ ลาดในสตปิ ฏั ฐาน
ทา่ นผยู้ ินดอี ยูด่ ว้ ยการเจรญิ โพชฌงค์ ท่านผ้เู จริญวปิ สั สนา
ทา่ นผ้ทู รงพระธรรม อาศยั อยู่
ในนครคอื ธรรม มที า่ นเหล่านน้ั คือทา่ นผู้ฉลาดในอทิ ธบิ าท
ทา่ นผยู้ นิ ดีอย่ดู ว้ ยการเจรญิ สมาธิ ทา่ นผตู้ ามประกอบใน
สมั มัปปธาน อาศยั อยู่
ในนครคือธรรม มีทา่ นเหล่านน้ั คอื ทา่ นผู้ถงึ ฝ่ังแหง่ อภิญญา
ทา่ นผยู้ นิ ดใี นโคจรของบิดา ท่านผเู้ ที่ยวไปในกลางหาว อาศัย
อยู่
ในนครคอื ธรรม มที ่านเหล่าน้ัน คือท่านผทู้ อดสายตา มองตำ�่
รจู้ กั ประมาณในการพดู จา คุม้ ครองทวารส�ำรวมดี ฝกึ ดแี ล้วใน
ธรรมทีส่ งู สดุ อาศัยอยู่
ในนครคอื ธรรม มที ่านเหลา่ นนั้ คือท่านผ้ไู ดว้ ชิ ชา ๓ ทา่ นผูไ้ ด้
อภญิ ญา ๖ ผ้ถู ึงฝ่ังแห่งฤทธ์ิ และทา่ นผถู้ ึงฝ่งั แห่งปัญญา อาศยั
อยู่”

กณั ฑ์] อนมุ านปญั หกัณฑ์ 305

‘‘เย โข เต มหาราช ภิกขฺ ู อปรมิ ิต าณวรธรา อสงฺคา อตุลคณุ า อตลุ ยสา
อตลุ พลา อตลุ เตชา ธมมฺ จกกฺ านปุ ฺปวตฺตกา ป ฺ าปารม ึ คตา, เอวรปู า โข มหาราช
ภิกขฺ ู ภควโต ธมมฺ นคเร ‘ธมมฺ เสนาปตโิ น’ติ วุจจฺ นตฺ ิ ฯ
ขอถวายพระพร ภิกษผุ ู้ทรงญาณอันประมาณมิได้ ผู้ไมข่ ดั ข้อง ผ้มู คี ณุ อนั ช่งั มิได้ ผู้มี
ยศอันชั่งมิได้ ผมู้ ีก�ำลงั อนั ช่ังมไิ ด้ ผมู้ ีกเิ ลสอันชัง่ มิได้ ผู้หมนุ ลอ้ ธรรม ผ้ถู งึ ปญั ญาบารมี เหลา่
นั้นใด ขอถวายพระพร ภิกษผุ เู้ หน็ ปานนี้ เรียกว่าเป็นธรรมเสนาบดี ในนครคือธรรมของพระผู้
มพี ระภาคเจา้
‘‘เย ปน เต มหาราช ภิกฺขู อทิ ฺธิมนโฺ ต อธิคตปปฺ ฏิสมภฺ ิทาปตฺตเวสารชฺชา คคนจรา
ทรุ าสทา ทปุ ฺปสหา อนาลมฺพจรา สสาครมหธิ รปถวิกมปฺ โก จนฺทสรู ยิ ปริมชฺชกา วกิ ุพฺพนา-
ธิฏฺ านาภนิ หี ารกสุ ลา อิทฺธยิ า ปารมึ คตา, เอวรูปา โข มหาราช ภิกขฺ ู ภควโต ธมฺมนคเร
‘ปุโรหิตา’ต ิ วจุ จฺ นตฺ ิ ฯ
ขอถวายพระพร สว่ นวา่ ภกิ ษุผู้มฤี ทธิ์ ผู้บรรลุปฏิสมั ภิทา ถึงความแกล้วกล้า ผ้เู ทย่ี ว
ไปในท้องฟ้า ผ้อู ันใคร ๆ ใหย้ นิ ดีได้ยาก ผอู้ ันใคร ๆ ข่มได้ยาก ผู้เปน็ อนาลัมพจร (เที่ยวไปใน
ธรรมท่ีหนว่ งเหนี่ยวไม่ได้ คือพระนพิ พาน) ผูส้ ามารถท�ำผืนแผ่นดนิ ใหญพ่ รอ้ มทั้งมหาสมทุ ร
ให้ไหวได้ สามารถลูบคล�ำดวงจนั ทร์ดวงอาทิตยไ์ ด้ ฉลาดในวิกพุ พนาภนิ หิ ารและอธษิ ฐานา-
ภนิ หิ าร เจนจบอิทธิบารมี เหล่านนั้ ใด ขอถวายพระพร ภิกษผุ เู้ ป็นปานฉะนี้ เรียกวา่ เปน็
ปโุ รหติ ในนครคอื ธรรมของพระผมู้ พี ระภาคเจ้า
‘‘เย ปน เต มหาราช ภกิ ขฺ ู ธุตงฺคมนุคตา อปปฺ ิจฺฉา สนตฺ ุฏฺ า ว ิ ฺ ตตฺ มิ เนสน-
ชิคจุ ฺฉกา ปิณฺฑาย สปทานจารโิ น ภมราว คนธฺ มนฆุ ายิตฺวา ปวสิ นตฺ ิ วิวติ ฺตกานนํ, กาเย
จ ชวี ิเต จ นิรเปกฺขา อรหตฺตมนุปฺปตตฺ า ธตุ งฺคคเุ ณ อคคฺ นิกขฺ ิตตฺ า, เอวรูปา โข มหาราช
ภกิ ขฺ ู ภควโต ธมฺมนคเร ‘อกฺขทสสฺ า’ต ิ วุจจฺ นฺติ ฯ
ขอถวายพระพร ส่วนว่า ภกิ ษผุ เู้ หน็ ชอบธดุ งค์ มักน้อย สันโดษ รงั เกยี จการแสวงหา
ด้วยวญิ ญตั ิ เปน็ ผู้เทย่ี วบณิ ฑบาตไปตามล�ำดบั ตรอก ดจุ แมลงภู่ตามสดู ดมดอกไมห้ อม แลว้ ก็
เข้าไปสู่ป่าที่สงัด ฉะนนั้ เปน็ ผ้ไู ม่อาลัยในกายและชีวติ บรรลุความเปน็ พระอรหันต์ ผอู้ ันพระผู้
มีพระภาคเจา้ ทรงตราไวว้ า่ เป็นเลศิ ในธดุ งค์คณุ เหล่านน้ั ใด ขอถวายพระพร ภกิ ษผุ ู้เห็นปานนี้
แล เรียกวา่ เปน็ ผ้พู พิ ากษา ในนครคอื ธรรมของพระผ้มู ีพระภาคเจ้า

306 มลิ ินทปัญหาปกรณ์แปล [๕.อนมุ านปญั ห

‘‘เย ปน เต มหาราช ภิกขฺ ู ปริสทุ ธฺ า วิมลา นกิ กฺ เิ ลสา จุตปู ปาตกุสลา ทพิ ฺพ-
จกขฺ ุมหฺ ิ ปารมึ คตา, เอวรูปา โข มหาราช ภิกขฺ ู ภควโต ธมมฺ นคเร ‘นครโชตกา’ติ
วุจจฺ นตฺ ิ ฯ
ขอถวายพระพร สว่ นว่า ภิกษผุ ู้(มจี กั ษุ)บรสิ ทุ ธ์ิ ปราศจากมลทิน ไมม่ ีกิเลส ฉลาดใน
จุตแิ ละปฏสิ นธิ ลถุ ึงทิพยจักษุบารมี เหล่านน้ั ใด ขอถวายพระพร ภกิ ษเุ ห็นปานนแี้ ล เรียกว่า
เปน็ นครโชติกะ (ผสู้ อ่ งสวา่ งไปทัว่ เมอื ง)ในนครคอื ธรรมของพระผู้มีพระภาคเจา้
‘‘เย ปน เต มหาราช ภกิ ขฺ ู พหสุ ฺสุตา อาคตาคมา ธมฺมธรา วนิ ยธรา มาติกาธรา
สถิ ลิ ธนติ ทฆี รสฺสครุกลหุกกฺขรปริจฺเฉทกสุ ลา นวงฺคสาสนธรา, เอวรูปา โข มหาราช ภกิ ขฺ ู
ภควโต ธมมฺ นคเร ‘ธมฺมรกฺขา’ต ิ วจุ จฺ นฺติ ฯ
ขอถวายพระพร ส่วนว่า ภกิ ษุผเู้ ปน็ พหสู ูต บรรลอุ าคม ทรงธรรม ทรงวินัย ทรงมาติกา
ฉลาดในการก�ำหนดอกั ษรทีเ่ ป็นสถิ ิล (เสียงออ่ น) ทเ่ี ป็นธนิต (เสียงแข็ง) ทีเ่ ปน็ ทีฆะ ทีเ่ ป็น
รสั สะ ทเ่ี ปน็ ครุ ท่เี ปน็ ลหุ เปน็ ผ้ทู รงค�ำสอนมอี งค์ ๙ เหลา่ น้ันใด ขอถวายพระพร ภิกษเุ หน็ ปาน
ฉะน้ี เรยี กว่าเปน็ ธรรมรกั ขะ (ผ้รู กั ษาธรรม) ในนครคือธรรมของพระผูม้ ีพระภาคเจ้า
‘‘เย ปน เต มหาราช, ภิกฺข ู วินย ฺ ู วินยโกวิทา านาฏฺ านกสุ ลา อาปตฺตา-
นาปตฺติครุกลหุกสเตกิจฺฉอเตกิจฺฉวุฏฺ านเทสนานิคฺคหปฏิกมฺมโอสารณนิสฺสารณปฏิสารณ-
กุสลา วินเย ปารม ึ คตา, เอวรปู า โข มหาราช ภกิ ฺขู ภควโต ธมฺมนคเร ‘รปู รกฺขา’ติ
วจุ จฺ นฺติ ฯ
ขอถวายพระพร สว่ นว่า ภิกษผุ ู้รพู้ ระวินัย ฉลาดในพระวนิ ัย ฉลาดในฐานะและอฐานะ
ฉลาดในอาบัติ อนาบัติ ครุกาบตั ิ ลหุกาบัติ อาบตั ทิ ีเ่ ยียวยาได้ อาบตั ิท่เี ยียวยาไม่ได้ การออก
จากอาบตั ิ การแสดงอาบตั ิ การท�ำนิคคหกรรม การปลงอาบัติ การเรยี กเขา้ หมู่ การขบั ให้ออก
ไป การให้ท�ำชดเชย เปน็ ผถู้ งึ ฝ่งั ในพระวนิ ัย เหล่านั้นใด ขอถวายพระพร ภิกษุเห็นปานนี้แล
เรียกว่ารปู รักขะ(ผรู้ กั ษารปู แบบ) ในนครคือธรรมของพระผมู้ พี ระภาคเจา้
‘‘เย ปน เต มหาราช ภิกขฺ ู วมิ ตุ ตฺ ิวรกุสมุ มาลพทฺธา วรปวรมหคฆฺ เสฏ ฺ ภาว-
มนปุ ฺปตตฺ า พหุชนกนตฺ มภิปตถฺ ิตา, เอวรปู า โข มหาราช ภิกขฺ ู ภควโต ธมฺมนคเร
‘ปปุ ฺผาปณิกา’ติ วจุ ฺจนฺติ ฯ
ขอถวายพระพร ส่วนวา่ ภิกษผุ ู้คล้องมาลัยดอกไม้อย่างประเสริฐคือวิมตุ ติ ผูบ้ รรลุ
ความเป็นผ้ปู ระเสริฐยอดเย่ยี ม มีค่ามาก สงู สง่ ตามล�ำดับ เปน็ ผู้ท่ชี นเปน็ อันมากพอใจและ

กัณฑ์] อนมุ านปัญหกัณฑ์ 307

ปรารถนาย่ิง เหลา่ น้ันใด ขอถวายพระพร ภิกษผุ ูเ้ ห็นปานน้ีแล เรียกวา่ ปุปผาปณกิ ะ (เจ้าของ
ร้านดอกไม)้ ในนครคือธรรมของพระผู้มีพระภาคเจ้า
‘‘เย ปน เต มหาราช ภิกขฺ ู จตสุ จฺจาภสิ มยปปฺ ฏวิ ทิ ฺธา ทฏิ ฺ สจจฺ า ว ิ ฺ าตสาสนา
จตสู ุ สาม ฺ ผเลสุ ตณิ ฺณวิจกิ ิจฉฺ า ปฏลิ ทธฺ ผลสุขา อ ฺเ สมฺปิ ปฏปิ นฺนาน ํ เต ผเล
สวํ ภิ ชนตฺ ิ, เอวรูปา โข มหาราช ภิกขฺ ู ภควโต ธมฺมนคเร ‘ผลาปณกิ า’ติ วจุ ฺจนฺติ ฯ
ขอถวายพระพร ส่วนวา่ ภกิ ษุเปน็ ผู้รู้ทะลปุ รุโปร่งดว้ ยการตรสั รู้สัจจะ ๔ เหน็ สัจจะ รู้
แจง้ พระศาสนา ข้ามความสงสัยในสามญั ญผล ๔ ไดร้ บั สขุ ในผลสมาบตั ิ แล้วยงั แบง่ ปันผล
เหลา่ น้นั แก่ภกิ ษุผปู้ ฏบิ ตั แิ ม้เหลา่ อื่น เหล่าน้ันใด ขอถวายพระพร ภิกษผุ เู้ ห็นปานนแ้ี ล เรียก
วา่ ผลาปณกิ ะ (เจ้าของร้านผลไม้) ในนครคอื ธรรมของพระผมู้ พี ระภาคเจ้า
‘‘เย ปน เต มหาราช ภกิ ฺขู สีลสํวรคนธฺ มนุลิตตฺ า อเนกวิธพหุคณุ ธรา กิเลสมล-
ทุคฺคนฺธวธิ มกา, เอวรปู า โข มหาราช ภิกฺข ู ภควโต ธมมฺ นคเร ‘คนฺธาปณกิ า’ต ิ วจุ ฺจนตฺ ิ ฯ
ขอถวายพระพร สว่ นวา่ ภิกษเุ ปน็ ผลู้ ูบไลข้ องหอม คือศีลสังวร ทรงคณุ หลายอยา่ ง
เป็นอเนก ขจัดมลทินของเหม็นคอื กเิ ลส เหลา่ น้ันใด ขอถวายพระพร ภิกษผุ ้เู หน็ ปานนแี้ ล
เรยี กว่าคนั ธาปณกิ ะ (เจ้าของร้านของหอม) ในนครคอื ธรรมของพระผูม้ ีพระภาคเจา้
‘‘เย ปน เต มหาราช ภกิ ฺขู ธมมฺ กามา ปิยสมทุ าหารา อภธิ มเฺ ม อภวิ ินเย อฬุ าร-
ปาโมชฺชา อร ฺ คตาป ิ รกุ ฺขมลู คตาปิ ส ุ ฺ าคารคตาปิ ธมฺมวรรสํ ปวิ นตฺ ิ, กาเยน วาจาย
มนสา ธมมฺ วรรสโมคาฬหฺ า อธมิ ตตฺ ปฏภิ านา ธมเฺ มสุ ธมเฺ มสนปปฺ ฏิปนนฺ า อิโต วา ตโต
วา ยตถฺ ยตฺถ อปปฺ ิจฉฺ กถา สนตฺ ุฏฺ กิ ถา ปวิเวกกถา อสํสคฺคกถา วีรยิ ารมภฺ กถา สีลกถา
สมาธิกถา ป ฺ ากถา วิมตุ ตฺ กิ ถา วิมตุ ตฺ ิ าณทสฺสนกถา, ตตฺถ ตตถฺ คนฺตฺวา ตํ ต ํ กถา-
รสํ ปวิ นฺต,ิ เอวรูปา โข มหาราช ภกิ ฺขู ภควโต ธมมฺ นคเร ‘โสณฺฑา ปิปาสา’ติ วจุ จฺ นตฺ ิ ฯ
ขอถวายพระพร ส่วนวา่ ภิกษผุ ใู้ ครธ่ รรม รักการสนทนาในอภิธรรม ในอภวิ ินยั มีความ
ปราโมทยเ์ ป็นลน้ พ้น ไปสู่ป่าบา้ ง ไปสู่โคนไมบ้ า้ ง ไปส่เู รอื นวา่ งเปล่าบา้ ง ได้ดม่ื กินรสแห่งพระ
ธรรมอนั ประเสรฐิ เปน็ ผู้หย่งั ถึงรสแห่งพระธรรมอนั ประเสรฐิ ด้วยกาย ดว้ ยวาจา ด้วยใจ มี
ปฏภิ าณประมาณย่งิ ในธรรมทงั้ หลาย ปฏิบตั ิแสวงหาธรรมจากทีน่ บี้ ้าง จากทีน่ ้นั บ้าง ในทใ่ี ด
ๆ มีอัปปิจฉกถา สนั ตฏุ ฐิกถา ปวเิ วกกถา อสังสัคคกถา วีริยารมั ภกถา สลี กถา สมาธกิ ถา
ปัญญากถา วมิ ุตติกถา วิมตุ ติญาณทัสสนกถา กจ็ ะไปในทนี่ นั้ ๆ แลว้ ได้ด่มื กนิ รสแห่งกถานน้ั
เหลา่ นัน้ ใด ขอถวายพระพร ภิกษุเห็นปานน้แี ล เรียกว่าโสณฑาปิปาสะ (นักดม่ื ตามโรงเหลา้ )

308 มิลนิ ทปัญหาปกรณ์แปล [๕.อนมุ านปัญห

ในนครคือธรรมของพระผู้มพี ระภาคเจา้
‘‘เย ปน เต มหาราช ภิกฺข ู ปพุ ฺพรตตฺ าปรรตตฺ ํ ชาครยิ านุโยคมนยุ ตุ ฺตา นิสชฺชฏ-ฺ
านจงฺกเมหิ รตฺตนิ ทฺ วิ ํ วตี ินาเมนตฺ ,ิ ภาวนานุโยคมนุยุตฺตา กเิ ลสปฏิพาหนาย สทตฺถปฺ-
ปสตุ า, เอวรปู า โข มหาราช ภิกขฺ ู ภควโต ธมมฺ นคเร ‘นครคตุ ฺตกิ า’ติ วุจฺจนฺติ ฯ
ขอถวายพระพร ส่วนว่า ภิกษผุ ู้ตามประกอบชาครยิ านุโยค ตลอดราตรี สว่ นขา้ งต้น
และราตรีสว่ นขา้ งทา้ ย ยับยั้งอยูต่ ลอดคืนและวนั ด้วยการนัง่ การยืน และการจงกรม ตาม
ประกอบภาวนานโุ ยค ขวนขวายในประโยชนข์ องตน เพือ่ ป้องกนั กิเลส เหล่าน้ันใด ขอถวาย
พระพร ภิกษุผูเ้ หน็ ปานนี้แล เรยี กวา่ นครคุตติกะ (ผคู้ ุ้มครองเมอื ง) ในนครคือธรรมของพระผู้
มีพระภาคเจ้า
‘‘เย ปน เต มหาราช ภกิ ฺข ู นวงฺคํ พทุ ธฺ วจนํ อตถฺ โต จ พยฺ ชฺ นโต จ นยโต จ
การณโต จ เหตโุ ต จ อุทาหรณโต จ วาเจนตฺ ิ อนวุ าเจนตฺ ิ ภาสนฺติ อนุภาสนตฺ ิ, เอวรูปา
โข มหาราช ภิกฺข ู ภควโต ธมฺมนคเร ‘ธมฺมาปาณกิ า’ต ิ วจุ จฺ นตฺ ิ ฯ
ขอถวายพระพร ส่วนวา่ ภกิ ษบุ อกพระพทุ ธพจน์อนั มีองค์ ๙ ทั้งโดยอรรถ ทง้ั โดย
พยัญชนะ ท้ังโดยนัย ทงั้ โดยการณ์ ทั้งโดยเหตุ ท้งั โดยอุทาหรณ์ได้ บอกตามได้ กลา่ วได้
กลา่ วตามได้ เหล่าน้นั ใด ขอถวายพระพร ภกิ ษุผู้เหน็ ปานนีแ้ ล เรยี กวา่ ธมั มาปาณกิ (ตลาด
ธรรม) ในนครคือธรรมของพระผมู้ พี ระภาคเจ้า
‘‘เย ปน เต มหาราช ภกิ ฺขู ธมฺมรตนโภเคน อาคมปรยิ ตตฺ ิสุตโภเคน โภคโิ น
ธนโิ น นิทฺทฏิ ฺ สรพยฺ ฺชนลกฺขณปฺปฏิเวธา ว ิ ฺ ู ผรณา, เอวรูปา โข มหาราช ภิกขฺ ู
ภควโต ธมมฺ นคเร ‘ธมมฺ เสฏฺ ิโน’ต ิ วุจฺจนตฺ ิ ฯ
ขอถวายพระพร สว่ นวา่ ภกิ ษุผู้มโี ภคะ ดว้ ยโภคะคือธรรมรัตนะด้วยโภคะคืออาคม
ปริยัติ และพระสตู ร ร้ทู ะลปุ รุโปรง่ ลกั ษณะของสระและพยัญชนะท่ีแสดงไวแ้ ล้ว เปน็ ผรู้ ้แู จ้ง แผ่
ไป เหลา่ นนั้ ใด ขอถวายพระพร ภกิ ษุผเู้ หน็ ปานฉะน้ี เรียกว่าธมั มเสฏฐี (เศรษฐีธรรม) ในนคร
คือธรรมของพระผู้มพี ระภาคเจ้า
‘‘เย ปน เต มหาราช ภิกฺข ู อฬุ ารเทสนาปฏเิ วธา ปรจิ ณิ ฺณารมฺมณวิภตตฺ ินิทเฺ ทสา
สิกขฺ าคุณปารมิปปฺ ตตฺ า, เอวรปู า โข มหาราช ภิกฺขู ภควโต ธมมฺ นคเร ‘วิสฺสุตธมฺมิกา’ติ
วุจจฺ นฺติ ฯ

กัณฑ์] อนมุ านปญั หกณั ฑ์ 309

ขอถวายพระพร สว่ นวา่ ภกิ ษุผ้รู ้ทู ะลปุ รโุ ปรง่ พระธรรมเทศนาอนั ยง่ิ ใหญ่ ผู้มีการ
จ�ำแนกแสดงอารมณ์ท่ชี �ำ่ ชอง ผ้ถู ึงสิกขาคณุ บารมี เหลา่ น้นั ใด ขอถวายพระพร ภิกษุผู้เหน็
ปานน้ีแล เรยี กว่าวสิ สุตธมั มิกะ (ผูม้ ธี รรมปรากฏ) ในนครคือธรรมของพระผมู้ ีพระภาคเจา้

‘‘เอว ํ สุวิภตตฺ ํ โข มหาราช ภควโต ธมฺมนคร ํ เอวํ สุมาปิต ํ เอวํ สุวหิ ติ ํ เอวํ
สุปริปรู ิต ํ เอว ํ สวุ วตถฺ าปิต ํ เอวํ สรุ กฺขติ ํ เอวํ สุโคปิตํ เอว ํ ทปุ ฺปสยฺห ํ ปจจฺ ตถฺ เิ กหิ
ปจจฺ ามิตฺเตหิ, อิมินา มหาราช การเณน อิมนิ า เหตุนา อิมนิ า นเยน อิมินา อนมุ าเนน
าตพฺพํ อตถฺ ิ โส ภควาติ ฯ
‘‘ยถาปิ นครํ ทสิ ฺวา สวุ ภิ ตตฺ ํ มโนรมํ
อนมุ าเนน ชานนตฺ ิ วฑฒฺ กิสสฺ มหตตฺ นํ ฯ
ตเถว โลกนาถสฺส ทิสฺวา ธมมฺ ปุรํ วรํ
อนุมาเนน ชานนตฺ ิ อตถฺ ิ โส ภควา อติ ิ ฯ
อนมุ าเนน ชานนฺต ิ อูมึ ทสิ ฺวาน สาคเร
ยถายํ ทิสฺสเต อูมิ มหนฺโต โส ภวสิ สฺ ติ ฯ
ตถา พุทธฺ ํ โสกนทุ ํ สพพฺ ตฺถมปราชิตํ
ตณฺหกฺขยมนุปปฺ ตตฺ ํ ภวสสํ ารโมจนํ ฯ
อนมุ าเนน าตพพฺ ํ อูม ึ ทิสฺวา สเทวเก
ยถา ธมฺมมู วิ ิปผฺ าโร อคฺโค พทุ ฺโธ ภวสิ สฺ ติ ฯ
อนุมาเนน ชานนฺต ิ ทสิ วฺ า อจจฺ ุคคฺ ตํ คิรึ
ยถา อจจฺ คุ ฺคโต เอโส หิมวา โส ภวสิ สฺ ติ ฯ
ตถา ทสิ วฺ า ธมฺมคิร ึ สีตภี ูต ํ นิรปู ธึ
อจจฺ ุคคฺ ต ํ ภควโต อจลํ สปุ ปฺ ติฏฺ ติ ํ ฯ
อนุมาเนน าตพพฺ ํ ทสิ ฺวาน ธมฺมปพพฺ ตํ
ตถา ห ิ โส มหาวโี ร อคโฺ ค พุทโฺ ธ ภวิสฺสติ ฯ
ยถาป ิ คชราชสสฺ ปท ํ ทิสฺวาน มานสุ า
อนุมาเนน ชานนตฺ ิ มหา เอโส คโช อิติ ฯ
ตเถว พุทฺธนาคสฺส ปทํ ทสิ ฺวา วภิ าวโิ น
อนุมาเนน ชานนตฺ ิ อฬุ าโร โส ภวิสฺสติ ฯ
อนมุ าเนน ชานนฺติ ภเี ต ทิสวฺ าน กมุ ฺมิเค

310 มลิ นิ ทปัญหาปกรณ์แปล [๕.อนมุ านปัญห

มคิ ราชสสฺ สทฺเทน ภตี าเม กมุ ฺมคิ า อติ ิ ฯ
ตเถว ติตฺถิเย ทสิ ฺวา วิตถฺ เต ภีตมานเส
อนุมาเนน าตพพฺ ํ ธมมฺ ราเชน คชชฺ ติ ํ ฯ
นิพฺพุต ํ ปถว ึ ทิสฺวา หรติ ปตตฺ ํ มโหทกิ ํ
อนมุ าเนน ชานนตฺ ิ มหาเมเฆน นพิ ฺพตุ ํ ฯ
ตเถวมิ ํ ชน ํ ทิสฺวา อาโมทติ ปโมทิตํ
อนุมาเนน าตพฺพํ ธมมฺ เมเฆน ตปปฺ ิตํ ฯ
ลคคฺ ํ ทสิ ฺวา ภุส ํ ปงฺก ํ กลลททฺ คต ํ มหึ
อนมุ าเนน ชานนฺต ิ วารกิ ขฺ นฺโธ มหา คโต ฯ
ตเถวิมํ ชน ํ ทิสฺวา รชปงกฺ สโมหิตํ
วหติ ํ ธมมฺ นทิยา วสิ ฏ ฺ ํ ธมมฺ สาคเร ฯ
ธมฺมามตคตํ ทิสวฺ า สเทวกมิม ํ มหึ
อนมุ าเนน าตพพฺ ํ ธมฺมกฺขนโฺ ธ มหา คโต ฯ
อนมุ าเนน ชานนฺติ ฆายิตวฺ า คนฺธมุตฺตมํ
ยถายํ วายเต คนฺโธ เหสสฺ นฺติ ปปุ ฺผติ า ทมุ า ฯ
ตเถวาย ํ สีลคนโฺ ธ ปวายต ิ สเทวเก
อนมุ าเนน าตพฺพํ อตฺถ ิ พทุ โฺ ธ อนุตฺตโร’ติ ฯ
ขอถวายพระพร นครคือธรรมของพระผ้มู ีพระภาคเจ้า เป็นนครท่ีจ�ำแนกดอี ย่างนี้
สร้างไว้ดอี ยา่ งดี จัดแจงไวด้ ีอยา่ งน้ี บริบูรณ์อยา่ งนี้ ก�ำหนดไวด้ ีอย่างน้ี รกั ษาไว้ดอี ย่างน้ี
คมุ้ ครองไวด้ อี ยา่ งน้ี อนั ขา้ ศกึ ปัจจามติ รท้งั หลายรุกรานได้ยาก อย่างน้ี ขอถวายพระพร
บณั ฑติ พึงรู้ไดว้ ่า พระผมู้ พี ระภาคเจ้านนั้ มีอยู่ เพราะการณ์นี้ เพราะเหตนุ ้ี เพราะนัยน้ี เพราะ
อนมุ านนี้
“เปรยี บเหมอื นว่า พอเห็นเมอื งท่จี �ำแนกไวด้ ี น่ารนื่ รมย์
แล้ว ก็ย่อมรู้ถึงความส�ำคัญ ยิง่ ใหญ่ ของช่างสร้างเมอื ง ดว้ ย
การอนมุ าน แม้ฉนั ใด
บณั ฑติ ท้ังหลาย พอเหน็ นครคอื ธรรม ของพระโลกนาถ
เจา้ แลว้ กย็ อ่ มรู้โดยอนุมานว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองคน์ ้นั
ทรงมอี ยจู่ ริง ฉันนนั้ เหมอื นกนั

กณั ฑ]์ อนมุ านปญั หกณั ฑ์ 311

บณั ฑิตท้งั หลาย พอเหน็ นครคอื ธรรม ของพระโลกนาถ
เจา้ แลว้ กย็ ่อมรู้โดยอนมุ านว่า พระผู้มพี ระภาคเจา้ พระองคน์ น้ั
ทรงมีอยู่จรงิ ฉนั นน้ั เหมือนกัน
บณั ฑติ ทั้งหลาย พอเหน็ ว่าพระพุทธเจา้ ทรงเปน็ ผู้บรรเทา
ความโศกของสตั วท์ งั้ หลายได้ ผไู้ ม่ทรงพา่ ยแพใ้ นท่ที ้ังปวง
ทรงเปน็ ผบู้ รรลพุ ระนพิ พาน อนั เปน็ ท่สี ิน้ ตณั หา ทรงเป็นผใู้ ห้
สัตวพ์ ้นจากภพสงสารได้ ดังน้แี ลว้ ก็ยอ่ มทราบโดยการอนุมาน
วา่ พระผ้มู ีพระภาคเจา้ พระองค์น้นั ทรงเป็นผู้มีพระคณุ อันยิ่ง
ใหญเ่ หมอื นอยา่ งทีช่ นทั้งหลายเห็นคลื่นในทะเล ก็ยอ่ มทราบ
ว่า คล่นื ทปี่ รากฏอยู่ เปน็ คลนื่ ลูกใหญ่ ฉะนน้ั
ย่อมทราบว่า พระพทุ ธเจา้ เปน็ ดจุ ผูแ้ ผ่ไปซ่งึ ลกู คลื่นคือ
พระธรรม ทรงเปน็ ผ้เู ลศิ ในโลกพรอ้ มทัง้ เทวโลก เหมือนอยา่ ง
ทเ่ี ห็นลูกคล่ืน อนั จะพงึ ทราบไดโ้ ดยการอนมุ าน ฉะนน้ั
เหมอื นอย่างว่า ชนทั้งหลาย พอเหน็ ภเู ขาทสี่ งู ยิง่ กย็ ่อม
ทราบโดยการอนุมานวา่ ภเู ขาสูงยง่ิ เชน่ นีน้ นั้ จักเปน็ ภูเขาท่มี ี
หมิ ะ ฉันใด บัณฑติ ทัง้ หลาย พอได้เห็นภูเขาคอื พระธรรม ซึง่ มี
ความเยือกเย็น ปราศจากอุปธิ เปน็ ภเู ขาที่สงู ยิ่ง ไม่ไหว ต้งั ม่ัน
ดี ของพระผู้มพี ระภาคเจา้ แล้ว ครน้ั เหน็ ภเู ขาคือพระธรรมแลว้
กจ็ ะพึงทราบโดยการอนมุ านวา่ พระมหาวีระเจา้ ทรงเปน็
พระพุทธเจ้าผยู้ อดเยย่ี ม ฉันน้นั แล
เปรยี บเหมือนวา่ คนทั้งหลาย พอได้เหน็ รอยเทา้ ของพญา
ช้าง กย็ ่อมทราบโดยการอนุมานว่า น้เี ป็นชา้ งตวั ใหญ่ ฉันใด
บัณฑติ ผมู้ ีปัญญาทงั้ หลาย พอเหน็ รอยพระบาทของพญาช้าง
คือพระพทุ ธเจ้าแล้ว ก็ยอ่ มทราบโดยการอนมุ านว่า พระผู้มี
พระภาคเจา้ นั้น ทรงเป็นผู้ยง่ิ ใหญ่ ฉันน้ันเหมอื นกัน
เปรียบเหมือนวา่ คนทั้งหลาย พอเหน็ สตั วเ์ ล็กสัตว์น้อย
ท้ังหลายทห่ี ว่นั กลัว ก็ยอ่ มทราบโดยการอนมุ านไดว้ ่า พวก
สัตว์เลก็ สัตว์นอ้ ยเหล่านี้ หวั่นกลวั ต่อเสยี งราชสีห์ ฉนั ใด

312 มลิ ินทปัญหาปกรณแ์ ปล [๕.อนมุ านปญั ห

บัณฑติ ทัง้ หลาย พอเหน็ พวกเดียรถีย์ ผมู้ ีใจหว่นั กลวั พลา่ นกัน
อยู่ ก็พึงทราบวา่ พระผู้เป็นเจา้ แห่งธรรมทรงบนั ลือสหี นาทแล้ว
ฉันน้ันเหมอื นกนั
เปรียบเหมือนวา่ ชนทง้ั หลาย พอเห็นแผน่ ดนิ ทช่ี ุ่มเยน็
เขยี วชะอุม่ มีแอง่ น้�ำใหญ่ กย็ อ่ มทราบโดยการอนมุ านได้ว่า
แผน่ ดินช่มุ เยน็ ไป เพราะฝนห่าใหญ่ ฉันใด บณั ฑิตทั้งหลาย
พอเหน็ ฝูงชนรา่ เรงิ บันเทิงใจแลว้ ก็พงึ ทราบโดยการอนมุ านได้
ว่า ผ้นู ีอ้ มิ่ เอิบใจ เพราะฝนคือพระธรรม ฉันนัน้ เหมือนกนั
เปรยี บเหมอื นว่า ชนทัง้ หลาย พอเห็นพ้นื ดนิ มเี ปอื กตม
ตดิ อยหู่ นา ๆ เปน็ บอ่ น�ำ้ โคลน กย็ อ่ มทราบโดยการอนมุ านว่า
มธี ารน�้ำใหญ่ ไหลทว่ มไป ฉันใด บัณฑิตท้ังหลาย พอได้เห็น
ชนผู้อันเปือกตมคือกิเลสหอ่ หุม้ อยนู่ ้ี ถูกแม่น้�ำคอื พระธรรม
พัดพาไปปลอ่ ยในทะเลคือพระธรรม เห็นแผน่ ดนิ คอื โลกน้ี
พรอ้ มทัง้ เทวโลก ถงึ ธรรมอันเป็นอมตะแล้ว ก็พงึ ทราบโดยการ
อนุมานไดว้ า่ มธี ารนำ�้ ใหญค่ อื พระธรรม ไหลทว่ มไป ฉันนั้น
เหมอื นกนั
เปรียบเหมือนว่า พอกล่นิ น้ีหอมฟ้งุ ไป ชนทั้งหลายสูดดม
กลิ่นหอมท่ยี อดเยย่ี มแลว้ กย็ อ่ มรโู้ ดยการอนมุ านได้วา่ มดี อก
ไมบ้ าน ฉันใด พอกลิน่ ศลี นี้ฟุ้งไปในโลกพร้อมทง้ั เทวโลก
บัณฑติ ทง้ั หลายกพ็ งึ ทราบโดยการอนุมานได้วา่ พระพุทธเจา้
ผู้ทรงเปน็ บุคคลยอดเย่ียมมอี ยู่จริง ฉนั น้นั เหมอื นกนั ”
‘‘เอวรเู ปน โข มหาราช การณสเตน การณสหสเฺ สน เหตสุ เตน เหตุสหสเฺ สน
นยสเตน นยสหสฺเสน โอปมฺมสเตน โอปมฺมสหสฺเสน สกฺกา พุทธฺ พล ํ อุปทสสฺ ยิตํุ ฯ
ยถา มหาราช ทกโฺ ข มาลากาโร นานาปุปผฺ ราสิมฺหา อาจริยานสุ ิฏ ฺ ยิ า ปจฺจตฺตปรุ สิ กาเรน
วิจติ ฺตํ มาลาคณุ ราส ึ กเรยยฺ , เอวเมว โข มหาราช โส ภควา วจิ ิตฺตปุปผฺ ราส ิ วยิ อนนตฺ -
คโุ ณ อปปฺ เมยยฺ คโุ ณ, อหเมตรห ิ ชินสาสเน มาลากาโร วิย ปปุ ผฺ คนฺถโก ปุพฺพกาน ํ
อาจริยาน ํ มคเฺ คนปิ มยหฺ ํ พุทฺธิพเลนป ิ อสงฺขเฺ ยยฺเยนปิ การเณน อนมุ าเนน พุทฺธพลํ
ทีปยสิ ฺสามิ, ตฺว ํ ปเนตถฺ ฉนทฺ ํ ชเนห ิ สวนายา’’ติ ฯ

กัณฑ์] อนมุ านปัญหกัณฑ์ 313

ขอถวายพระพร บุคคลอาจจะระบุพลานุภาพของพระพทุ ธเจ้าได้ โดยร้อยการณพ์ ัน
การณ์ โดยร้อยเหตพุ ันเหตุ โดยรอ้ ยนัยพันนัย โดยรอ้ ยอุปมาพนั อปุ มา เหน็ ปานฉะนี้ได้ ขอ
ถวายพระพร เปรียบเหมือนวา่ ช่างจดั ดอกไมผ้ ชู้ �ำนาญ คดั เลือกดอกไม้จากกองดอกไมช้ นิด
ต่าง ๆ มาท�ำเปน็ ช่อมาลัยที่วจิ ติ รงดงาม โดยวธิ กี ารของบุรษุ เฉพาะตน ตามแบบแผนท่ี
อาจารย์อนศุ าสนไ์ ว้ ฉันใด ขอถวายพระพร พระผ้มู พี ระภาคเจ้าพระองค์นัน้ ทรงเป็นบุคคลผู้มี
พระคุณหาท่สี ุดมิได้ มีพระคุณอนั ใคร ๆ ไม่อาจประมาณได้ ดจุ กองดอกไม้ที่วจิ ิตร งดงาม ฉัน
นน้ั ในบดั นี้ อาตมภาพผ้เู ปน็ ดจุ ช่างจัดดอกไม้ รอ้ ยดอกไม้ จักขอแสดงพระพลานภุ าพของ
พระพุทธเจา้ โดยการอนมุ านไปตามเหตุผล แมไ้ มอ่ าจนบั ได้ ตามแนวทางของบูรพาจารย์ท้งั
หลายบา้ ง ตามก�ำลังความรูข้ องอาตมภาพเองบา้ ง กแ็ ต่วา่ ขอพระองคจ์ งทรงท�ำฉันทะให้เกิด
เพอ่ื ทรงสดับในเรื่องนี้เถดิ ”
‘‘ทุกกฺ ร ํ ภนฺเต นาคเสน อ ฺเ สํ เอวรูเปน การเณน อนุมาเนน พุทธฺ พลํ
อุปทสสฺ ยติ ุํ, นพิ พฺ ุโตสฺมิ ภนเฺ ต นาคเสน ตมุ หฺ าก ํ ปรมวิจิตเฺ ตน ป หฺ เวยฺยากรเณนา’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลนิ ท์ตรสั ว่า “พระคุณเจา้ นาคเสน การท่ีจะบ่งช้ถี งึ พระพลานุภาพของ
พระพทุ ธเจา้ โดยการอนมุ านตามเหตุผลเห็นปานน้ี แกค่ นเหลา่ อ่นื เปน็ สง่ิ กระท�ำได้ยาก
พระคุณเจ้านาคเสน โยมกเ็ ย็นใจแลว้ เพราะปญั หาพยากรณ์ที่วจิ ติ รย่งิ ของท่าน”

อนมุ านปญฺโห ป€โม ฯ
จบอนมุ านปญั หาขอ้ ที่ ๑

________

314 มิลินทปญั หาปกรณ์แปล [๕.อนุมานปัญห

๒. ธุตงฺคปญหฺ

๒. ธุตังคปัญหา

ปัญหาว่าดว้ ยธดุ งค์

[๒] ปสฺสตาร ฺ เก ภกิ ฺขู อชฺโฌคาฬฺเห ธเุ ต คเุ ณ
ปนุ ปสสฺ ติ คหิ ี ราชา อนาคามิผเล เิ ต ฯ
อโุ ภปิ เต วโิ ลเกตฺวา อปุ ฺปชฺช ิ สํสโย มหา
พชุ ฺเฌยยฺ เจ คหิ ี ธมเฺ ม ธตุ งคฺ ํ นปิ ฺผลํ สิยา ฯ
ปรวาทวิ าทมถน ํ นิปุณํ ปิฏกตฺตเย
หนฺท ปุจฺเฉ กถึ เสฏ ฺ ํ โส เม กงฺข ํ วิเนสฺสตี’’ติ ฯ
[๒] พระราชาทอดพระเนตรเหน็ ภกิ ษุทัง้ หลายผ้อู ยูป่ า่ หยง่ั ลงใน
ธุตคุณ ทอดพระเนตรเห็นคนครองเรือน ผดู้ �ำรงอยู่ในอนาคามิ-
ผลอีกด้วย
ครน้ั ทอดพระเนตรเหน็ คนท้ัง ๒ ฝา่ ยแล้ว พระราชา กเ็ กดิ
ความสงสยั ใหญข่ นึ้ ว่า ถา้ หากวา่ คนครองเรอื นพึงบรรลธุ รรม
ไดไ้ ซร้ ธุดงค์กน็ า่ จะเป็นของไร้ผล
เอาเถอะ เราจะถามพระนาคเสนเถระ ผมู้ วี าทะยำ�่ ยวี าทะของ
ปรวาที ผมู้ คี วามรูล้ ะเอยี ดอ่อนในพระไตรปฎิ ก ผู้มคี �ำพดู
ประเสรฐิ พระเถระน้ัน ยอ่ มท�ำความสงสยั ของเราให้พินาศได้”

อถ โข มลิ นิ ฺโท ราชา, เยนายสมฺ า นาคเสโน, เตนปุ สงกฺ ม;ิ อุปสงกฺ มิตวฺ า
อายสฺมนตฺ ํ นาคเสนํ อภวิ าเทตวฺ า เอกมนฺต ํ นิสที ิ, เอกมนฺตํ นสิ ินโฺ น โข มิลินโฺ ท ราชา
อายสมฺ นตฺ ํ นาคเสนํ เอตทโวจ ‘‘ภนฺเต นาคเสน อตฺถ ิ โกจ ิ คิหี อคารโิ ก กามโภคี
ปุตตฺ ทารสมฺพาธสยน ํ อชฺฌาวสนฺโต กาสกิ จนทฺ นํ ปจจฺ นุโภนโฺ ต มาลาคนธฺ วิเลปน ํ
ธารยนโฺ ต ชาตรปู รชต ํ สาทยิ นโฺ ต มณมิ ตุ ตฺ าก ฺจนวิจติ ตฺ โมฬพิ ทโฺ ธ เยน สนตฺ ํ ปรมตฺถํ
นพิ พฺ าน ํ สจฺฉกิ ตนฺ’’ติ ?
ครัน้ นนั้ แล พระเจา้ มลิ นิ ทไ์ ด้เสด็จเขา้ ไปหาท่านพระนาคเสน ณ ท่พี �ำนกั อยู่ แล้วทรง
กราบไหว้ทา่ นพระนาคเสน ได้ประทับนัง่ ณ ท่ีอนั สมควร, พระเจา้ มลิ ินท์คร้นั ประทบั นง่ั ณ ที่
สมควรแลว้ ก็ไดร้ บั ส่งั ความขอ้ น้ันกบั ท่านพระนาคเสนว่า “พระคณุ เจ้านาคเสน ผเู้ ปน็ คฤหัสถ์

กัณฑ์] อนมุ านปญั หกณั ฑ์ 315

ครองเรอื น บรโิ ภคกาม ครอบครองทีน่ อนอนั เบียดเสยี ดดว้ ยบุตรและภรรยา เสวยเครอ่ื ง
จันทนจ์ ากแควน้ กาสี ทัดทรงชอ่ ดอกไมข้ องหอม เครื่องลบู ไล้ ช่นื ชมเงินและทอง มุ่นมวยผม
อันวจิ ิตรดว้ ยแกว้ มณี แก้วมกุ ดาและทองค�ำ เป็นผู้ท�ำพระนพิ พาน ทส่ี งบ อันเปน็ ประโยชน์
อย่างยิ่ง ให้แจ้ง มอี ยู่บา้ งหรอื ไม่ ?”
‘‘น มหาราช เอก เฺ ว สต ํ น เทวฺ สตาน ิ น ตณี ิ จตตฺ าร ิ ป จฺ สตานิ น สหสสฺ ํ
น สตสหสสฺ ํ น โกฏสิ ตํ น โกฏสิ หสฺส ํ น โกฏิสตสหสฺส,ํ ตฏิ ฺ ตุ มหาราช ทสนนฺ ํ วีสติยา
สตสฺส สหสฺสสสฺ อภสิ มโย, กตเมน เต ปริยาเยน อนโุ ยค ํ ทมฺม’ี ’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร คฤหัสถ์ผู้ได้ท�ำพระนพิ พาน
ให้แจง้ จะมจี �ำนวนเพยี งรอ้ ยเดียวเท่านน้ั หามิได้ จะมจี �ำนวนสองรอ้ ยก็หามไิ ด้ จะมจี �ำนวน
สามรอ้ ย สร่ี อ้ ย ห้าร้อย ก็หามิได้ จะมจี �ำนวนพนั ก็หามิได้ จะมจี �ำนวนแสนก็หามิได้ จะมี
จ�ำนวนรอ้ ยโกฏิก็หามิได้ จะมีจ�ำนวนพนั โกฏิก็หามไิ ด้ จะมจี �ำนวนแสนโกฏิกห็ ามิได้ ขอถวาย
พระพร การบรรลธุ รรมของคฤหัสถ์ ๑๐ คน ๒๐ คน ๑๐๐ คน ๑,๐๐ คน จงยกไวก้ อ่ นเถิด ควร
ทราบว่า เหตทุ ีท่ �ำคฤหสั ถเ์ หล่านั้นเป็นคนฝึกอบรมได้ คอื อะไร ?”
‘‘ตวฺ เมเวตํ พฺรูห’ี ’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ นิ ท์ตรัสว่า “ขอพระคณุ เจ้านน่ั แหละ จงบอกเหตทุ ่วี ่าน”้ี
‘‘เตนหิ เต มหาราช กถยิสฺสามิ สเตน วา สหสฺเสน วา สตสหสเฺ สน วา โกฏิยา
วา โกฏสิ เตน วา โกฏสิ หสฺเสน วา โกฏิสตสหสฺเสน วา, ยา กาจ ิ นวงฺเค พุทธฺ วจเน
สลฺเลขิตาจารปฺปฏิปตตฺ ธิ ตุ วรงคฺ คณุ นิสฺสติ า กถา, ตา สพฺพา อิธ สโมสรสิ สฺ นตฺ ิ ฯ ยถา
มหาราช นนิ นฺ ุนฺนตสมวสิ มถลาถลเทสภาเค อภวิ ฏุ ฺ ํ อทุ กํ, สพฺพ ํ ต ํ ตโต วนิ คิ ฬิตฺวา
มโหทธึ สาครํ สโมสรต,ิ เอวเมว โข มหาราช สมฺปาทเก สต ิ ยา กาจิ นวงเฺ ค พทุ ฺธวจเน
สลฺเลขติ าจารปปฺ ฏปิ ตฺติธุตงฺคคณุ ธรนิสฺสติ า กถา, ตา สพพฺ า อธิ สโมสรสิ สฺ นตฺ ิ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร ถ้าอยา่ งน้ัน อาตมภาพจะไดถ้ วาย
พระพรแก่พระองค์ ค�ำพดู ในพระพุทธพจน์อนั มีองค์ ๙ จะมรี อ้ ยค�ำกต็ าม พนั ค�ำกต็ าม แสนค�ำ
ก็ตาม โกฏิค�ำกต็ าม ร้อยโกฏคิ �ำกต็ าม พันโกฏคิ �ำกต็ าม แสนโกฏิค�ำกต็ าม ค�ำใดค�ำหนงึ่ ซง่ึ องิ
อาศยั ขอ้ ปฏิบตั ิอนั เปน็ ความประพฤติขูดเกลากิเลส หรอื ธดุ งค์คณุ อันประเสรฐิ ค�ำพูดท้งั หมด
เหลา่ นนั้ ล้วนรวมเข้าในเหตุที่ท�ำให้เปน็ คนฝกึ ไดน้ ี้ ขอถวายพระพร เปรียบเหมอื นวา่ นำ�้ ฝนที่
ตกหนกั บนภมู ภิ าคท่ีเป็นทล่ี ุม่ ท่ดี อน ที่เรียบ ที่ขรุขระ ทีเ่ ป็นเนิน ทไี่ ม่ใชเ่ นนิ น้�ำท้งั หมดนั้น

316 มิลินทปญั หาปกรณ์แปล [๕.อนมุ านปัญห

ย่อมเออ่ ล้นจากสถานทน่ี ั้นไปรวมยังหว้ งนำ้� ใหญ่คือทะเล ฉนั ใด ขอถวายพระพร เมื่อมผี ทู้ �ำให้
ถงึ พร้อม ค�ำพูดในพระพุทธพจนอ์ ันมีองค์ ๙ ค�ำใดค�ำหน่งึ ซงึ่ อิงอาศัยข้อปฏบิ ัตอิ นั เป็นความ
ประพฤติขดู เกลากเิ ลสหรอื ธดุ งคค์ ณุ อันประเสริฐ ค�ำพูดทง้ั หมดเหล่าน้ันลว้ นรวมเขา้ ในเหตทุ ่ี
ท�ำให้เปน็ คนฝึกได้นี้ ฉันน้ันเหมือนกนั
‘‘มยหฺ มเฺ ปตฺถ มหาราช ปรพิ ยฺ ตฺตตาย พุทฺธยิ า การณปริทปี น ํ สโมสรสิ สฺ ต,ิ เตเนโส
อตโฺ ถ สวุ ภิ ตโฺ ต วจิ ติ ฺโต ปริปณุ ฺโณ ปริสทุ ฺโธ สมานโี ต ภวสิ สฺ ติ ฯ ยถา มหาราช กุสโล
เลขาจริโย อนุสฏิ ฺโ เลขํ โอสาเรนฺโต อตตฺ โน พฺยตฺตตาย พทุ ฺธยิ า การณปรทิ ปี เนน เลข ํ
ปริปูเรติ, เอวํ สา เลขา สมตฺตา ปริปุณณฺ า อนนู ิกา ภวิสสฺ ติ ฯ เอวเมว มยฺหมเฺ ปตฺถ
ปริพยฺ ตตฺ ตาย พทุ ธฺ ิยา การณปริทปี นํ สโมสรสิ ฺสติ, เตเนโส อตโฺ ถ สุวภิ ตโฺ ต วิจิตฺโต
ปรปิ ุณฺโณ ปริสุทโฺ ธ สมานีโต ภวสิ ฺสติ ฯ
ขอถวายพระพร ในความขอ้ นี้ อาตมภาพจะขอใชค้ วามชำ�่ ชอง ใช้ความรู้ของ
อาตมภาพ รวบรวมค�ำแสดงถึงเหตุ ค�ำอรรถาธบิ ายนน้ั จกั เปน็ อันจ�ำแนกดี วจิ ิตร บริบรู ณ์
บรสิ ทุ ธ์ิ แนะน�ำไว้ชอบ ก็เพราะการไดร้ วบรวมค�ำแสดงเหตนุ ั้น ขอถวายพระพร เปรียบเหมอื น
วา่ อาจารย์สอนเลขผู้ฉลาด จบการศึกษาแลว้ เพอื่ จะสอนเลข ก็ใชค้ วามช่�ำชอง ใช้ความรูข้ อง
ตนสอนเลขให้จบบริบรู ณ์ไดโ้ ดยการแสดงเหตุ โดยประการอยา่ งนี้ เลขนั้นก็จกั เปน็ อันใชไ้ ด้
บรบิ ูรณ์ ไม่บกพร่อง ฉันใด ในความขอ้ นี้ อาตมภาพก็จักขอใชค้ วามช่ำ� ชอง ใชค้ วามรขู้ อง
อาตมภาพรวบรวมค�ำแสดงเหตุ อรรถาธบิ ายนนั้ จักเป็นอันจ�ำแนกดี วจิ ติ ร บริบูรณ์ บริสุทธ์ิ
แนะน�ำไวช้ อบ กเ็ พราะการไดร้ วบรวมค�ำแสดงเหตุน้นั ฉนั นนั้ เหมือนกนั
‘‘นคเร มหาราช สาวตถฺ ยิ า ป จฺ โกฏมิ ตฺตา อริยสาวกา ภควโต อุปาสก-
อุปาสิกาโย สตฺตปณณฺ าสสหสสฺ านิ ตีณ ิ จ สตสหสสฺ าน ิ อนาคามผิ เล ปตฏิ ฺ ิตา, เต
สพฺเพป ิ คหิ เี ยว, น ปพพฺ ชติ า ฯ ปุน ตตเฺ ถว กณฺฑมพฺ มเู ล ยมกปาฏหิ าริเย วีสต ิ
ปาณโกฏิโย อภิสมสึ ุ, ปนุ จูฬราหุโลวาเท, มหามงฺคลสตุ ฺตนฺเต สมจิตฺตปรยิ าเย, ปราภว-
สุตตฺ นเฺ ต ปรุ าเภทสุตฺตนฺเต กลหวิวาทสตุ ตฺ นฺเต จูฬพฺยหู สุตฺตนเฺ ต มหาพฺยหู สตุ ตฺ นฺเต
ตวุ ฏกสุตตฺ นฺเต สาริปุตฺตสตุ ฺตนเฺ ต คณนปถมตีตานํ เทวตานํ ธมมฺ าภสิ มโย อโหสิ ฯ
ขอถวายพระพร ทเี่ มืองสาวัตถี มพี ระอริยสาวกอยปู่ ระมาณ ๕ โกฏิ ท่านผเู้ ป็นอบุ าสก
อุบาสกิ าของพระผมู้ ีพระภาคเจา้ จ�ำนวน ๓๕๗,๐๐๐ เปน็ ผู้ด�ำรงอยใู่ นอนาคามิผล บคุ คลเหลา่
นน้ั แม้ทกุ คนล้วนเป็นคฤหสั ถ์ หาเปน็ บรรพชติ ไม่ ยังมีอีก ในคราวท่ีทรงแสดงยมกปาฏิหาริย์

กัณฑ์] อนมุ านปัญหกณั ฑ์ 317

ใกล้โคนตน้ กัณฑามพฤกษ์น่ันแหละ สตั วจ์ �ำนวน ๒๐ โกฏิ ได้บรรลธุ รรม ยังมอี กี เมอื่ คราวท่ี
ทรงแสดงจฬู ราหโุ ลวาทสตู ร เมื่อคราวทีท่ รงแสดงมหามงั คลสตู ร เม่อื คราวทีท่ รงแสดงสม-
จติ ตปรยิ ายสตู ร เมอื่ คราวทที่ รงแสดงปราภวสูตร เมื่อคราวทท่ี รงแสดงกลหวิวาทสตู ร เมือ่
คราวทีท่ รงแสดงจูฬพยูหสตู ร เม่อื คราวทีท่ รงแสดงมหาพยหู สตู ร เมอื่ คราวทท่ี รงแสดงตุวฏก-
สูตร เมื่อคราวทท่ี รงแสดงสารปิ ตุ ตสตู ร เทวดาพ้นจ�ำนวนทจ่ี ะนบั ได้ ได้มีการบรรลุธรรม
‘‘นคเร ราชคเห ป ฺ าสสหสฺสานิ ตณี ิ จ สตสหสฺสานิ อรยิ สาวกา ภควโต
อปุ าสกอุปาสกิ าโย, ปุน ตตฺเถว ธนปาลหตถฺ นิ าคทมเน นวตุ ิ ปาณโกฏโิ ย, ปารายน-
สมาคเม ปาสาณกเจติเย จุททฺ ส ปาณโกฏิโย, ปุน อนิ ทฺ สาลคหุ าย ํ อสีต ิ เทวตาโกฏโิ ย,
ปนุ พาราณสยิ ํ อสิ ิปตเน มิคทาเย ป เม ธมมฺ เทสเน อฏฺ ารส พรฺ หมฺ โกฏิโย อปรมิ าณา
จ เทวตาโย, ปุน ตาวตึสภวเน ปณฑฺ กุ มพฺ ลสลิ าย ํ อภิธมมฺ เทสนาย อสีติ เทวตาโกฏโิ ย,
เทโวโรหเณ สงฺกสสฺ นครทฺวาเร โลกวิวรณปาฏิหารเิ ย ปสนนฺ านํ นรมรนู ํ ตสึ โกฏโิ ย
อภสิ มสึ ุ ฯ
ทก่ี รุงราชคฤห์ มีอบุ าสกอุบาสิกาได้บรรลุธรรมเปน็ อรยิ สาวกของพระผมู้ ีพระภาคเจา้
๓๕๐,๐๐๐ คน อีกครงั้ หน่ึง ทีก่ รงุ ราชคฤห์นน้ั น่ันแหละ ในคราวทที่ รงทรมานช้างธนบาล สตั ว์
๙๐ โกฏิ ได้บรรลธุ รรม ทปี่ าสาณกเจดยี ์ ปารายนสมาคม สัตว์ ๑๔ โกฏิได้บรรลุธรรม อีกครัง้
หนง่ึ ในคราวที่ทรงแสดงธรรมเปน็ ครงั้ แรกท่ปี า่ อิสิปตนมฤคทายวนั พรหม ๑๘ โกฏิ และ
เทวดาประมาณมไิ ดบ้ รรลุธรรม อกี ครง้ั หนงึ่ ในคราวทที่ รงแสดงพระอภิธรรม บนพระแท่น
บัณฑุกัมพลสลิ าอาสน์ ณ ภพดาวดึงส์ เทวดา ๘๐ โกฏิ ไดบ้ รรลุธรรม ในคราวท่เี สดจ็ ลงมา
จากเทวโลก มนุษย์ และเทวดาผูเ้ ล่อื มใสในพระปาฏหิ ารยิ ์เปิดโลก ๓๐ โกฏิ ได้บรรลธุ รรม
ปนุ สกฺเกสุ กปลิ วตถฺ สุ ฺม ึ นคิ โฺ รธาราเม พทุ ธฺ วํสเทสนาย มหาสมยสตุ ฺตนฺตเทสนาย
จ คณนปถมตีตานํ เทวตาน ํ ธมมฺ าภิสมโย อโหสิ ฯ ปนุ สมุ นมาลาการสมาคเม,
ครหทนิ นฺ สมาคเม, อานนฺทเสฏ ฺ สิ มาคเม, ชมฺพกุ าชีวกสมาคเม, มณฑฺ ุกเทวปุตตฺ สมาคเม,
มฏฺ กุณฑฺ ลิเทวปุตฺตสมาคเม, สลุ สานครโสภินสิ มาคเม, สริ มิ านครโสภนิ สิ มาคเม, เปสการ-
ธีตุสมาคเม, จูฬสภุ ททฺ าสมาคเม, สาเกตพรฺ าหมฺ ณสสฺ อาฬาหนทสฺสนสมาคเม,
สนู าปรนตฺ กสมาคเม, สกกฺ ป ฺหสมาคเม, ตโิ รกุฏฏฺ สมาคเม, รตนสตุ ฺตสมาคเม ปจเฺ จก ํ
จตรุ าสีตยิ า ปาณสหสสฺ าน ํ ธมมฺ าภิสมโย อโหส,ิ ยาวตา มหาราช ภควา โลเก อฏฺ าสิ,
ตาว ตีส ุ มณฑฺ เลสุ โสฬสสุ มหาชนปเทสุ ยตฺถ ยตฺถ ภควา วิหาสิ, ตตถฺ ตตฺถ

318 มลิ ินทปัญหาปกรณ์แปล [๕.อนุมานปญั ห

เยภุยฺเยน เทฺว ตโย จตฺตาโร ป ฺจ สต ํ สหสฺส ํ สตสหสสฺ ํ เทวา จ มนุสฺสา จ สนตฺ ํ
ปรมตฺถํ นพิ ฺพาน ํ สจฺฉิกรสึ ุ ฯ เย เต มหาราช เทวา คหิ เี ยว, น เต ปพพฺ ชติ า,
เอตานิเจว มหาราช อ ฺ าน ิ จ อเนกานิ เทวตาโกฏิสตสหสสฺ าน ิ คิห ี อคารกิ า
กามโภคิโน สนตฺ ํ ปรมตถฺ ํ นิพพฺ าน ํ สจฉฺ กิ รสึ ’ู ’ติ ฯ
ยงั มอี กี ในคราวทท่ี รงแสดงพทุ ธวงศ์ ทน่ี โิ ครธารามใกล้กรุงกบลิ พสั ดุ์ ณ แควน้ ศากยะ
และในคราวท่ที รงแสดงมหาสมัยสตู ร เทวดาพน้ จ�ำนวนท่ีจะนบั ได้ ได้บรรลธุ รรม อกี ครัง้ หนึง่
ในคราวที่นายสมุ นมาลาการมาเฝา้ ในคราวท่นี ายครหทินนม์ าเฝา้ ในคราวที่อานนั ทเศรษฐีมา
เฝา้ ในคราวที่ชัมพุกาชีวกมาเฝา้ ในคราวทม่ี ณั ฑุกเทพบุตรมาเฝ้า ในคราวทมี่ ฏั ฐกณุ ฑลีเทพ
บุตรมาเฝ้า ในคราวท่ีนางสลุ สาหญิงนครโสเภณีมาเฝ้า ในคราวท่ีนางสิริมาหญงิ นครโสเภณี
มาเฝา้ ในคราวท่ธี ิดาชา่ งหูกมาเฝา้ ในคราวทนี่ างจฬู สภุ ทั ทามาเฝา้ ในคราวทพ่ี ราหมณช์ าว
เมอื งสาเกตุมาเฝา้ ณ อาฬาหนทสั สนะ ในคราวท่ชี าวเมืองสูนาปรนั ตะมาเฝา้ ในสมาคมท่ที รง
แสดงสกั กปญั หสตู ร ในสมาคมทที่ รงแสดงตโิ รกฑุ ฑสูตร ในสมาคมทท่ี รงแสดงรัตนสตู ร แตล่ ะ
คร้ัง สัตว์ ๘๔,๐๐๐ ไดม้ ีการบรรลุธรรม พระผ้มู พี ระภาคเจา้ ประทบั อยู่ ณ สถานท่ใี ด ๆ ใน
บรรดาชนบทใหญ่ ๑๖ แหง่ ใน ๓ มณฑล ณ สถานทน่ี ้นั ๆ โดยมากจะมเี ทวดาและมนุษย์
จ�ำนวน สอง สาม ส่ี ห้า ร้อย พนั แสน ไดก้ ระท�ำพระนิพพานอนั เป็นบททส่ี งบ เปน็ ประโยชน์
อย่างย่ิงให้แจ้ง ขอถวายพระพร พวกเทวดาเหลา่ นน้ั ล้วนเปน็ คฤหัสถ์ หาเปน็ บรรพชติ ไม่ ขอ
ถวายพระพร พวกเทวดาหลายแสนโกฏเิ หล่านแี้ ละเหล่าอ่นื เป็นคฤหัสถ์กค็ รองเรอื น บริโภค
กาม ได้ท�ำพระนพิ พานอันเปน็ บทที่สงบเป็นประโยชนอ์ ย่างย่งิ ให้แจง้ แลว้
‘‘ยท ิ ภนฺเต นาคเสน คิหี อคารกิ า กามโภคโิ น สนตฺ ํ ปรมตฺถ ํ นิพพฺ าน ํ สจฉฺ ิ-
กโรนตฺ ิ, อถ อมิ าน ิ ธุตงฺคานิ กิมตฺถํ สาเธนฺต,ิ เตน การเณน ธุตงฺคานิ อกจิ ฺจกราน ิ
โหนฺติ ฯ ยทิ ภนเฺ ต นาคเสน วินา มนฺโตสเธหิ พยฺ าธโย วปู สมนตฺ ิ, กึ วมนวเิ รจนาทินา
สรีรทพุ พฺ ลกรเณน ? ยทิ มุฏฺ หี ิ ปฏิสตฺตุนคิ คฺ โห ภวต,ิ กึ อสิสตตฺ ิสรธนุโกทณฺฑลคุฬ-
มุคคฺ เรหิ ? ยท ิ คณฺ ิกฏุ ลิ สุสิรกณฏฺ ลตาสาขา อาลมพฺ ิตฺวา รกุ ขฺ มภริ ูหนํ ภวต,ิ กึ ทฆี -
ทฬหฺ นิสเฺ สณิปริเยสเนน ? ยทิ ถณฺฑิลเสยยฺ าย ธาตุสมตา ภวติ, ก ึ สขุ สมผฺ สฺสมหต-ิ
มหาสิริสยนปรเิ ยสเนน ? ยทิ เอกโก สาสงฺกสปปฺ ฏภิ ยวสิ มกนตฺ ารตรณสมตโฺ ถ ภวต,ิ กึ
สนฺนทธฺ สชฺชมหติมหาสตฺถปรเิ ยสเนน ? ยท ิ นทสิ ร ํ พาหนุ า ตรติ ํุ สมตฺโถ ภวติ, ก ึ
ธุวเสตุนาวาปรเิ ยสเนน ? ยท ิ สกสนตฺ เกน ฆาสจฉฺ าทนํ กาตุ ํ ปโหติ, ก ึ ปรูปเสวนปิย-
สมุลลฺ าปปจฉฺ าปุเรธาวเนน ? ยท ิ อขาตตฬาเก อุทก ํ ลภต,ิ ก ึ อุทปานตฬากโปกขฺ รณิ-

กัณฑ]์ อนุมานปัญหกัณฑ์ 319

ขณเนน ? เอวเมว โข ภนฺเต นาคเสน ยท ิ คหิ ี อคารกิ า กามโภคิโน สนฺตํ ปรมตถฺ ํ
นพิ ฺพานํ สจฺฉกิ โรนตฺ ิ, ก ึ ธตุ คุณวรสมาทยิ เนนา’’ติ ?
พระเจา้ มิลินท์ตรัสวา่ “พระคุณเจา้ นาคเสน ถา้ หากว่า ผู้เป็นคฤหัสถ์ครองเรือนบรโิ ภค
กาม ก็ท�ำพระนิพพานอันเป็นบทสงบ เป็นประโยชน์อยา่ งยิง่ ใหแ้ จง้ ไดเ้ หมือนกนั ไซร้ เม่ือเป็น
เช่นน้ี ภิกษุทง้ั หลายจะท�ำธดุ งคเ์ หล่านใ้ี หส้ �ำเร็จ เพื่อประโยชน์อะไร ? เพราะเหตนุ น้ั ธุดงค์ทง้ั
หลาย ชอ่ื วา่ เปน็ กจิ ท่ไี มค่ วรท�ำ พระคณุ เจ้านาคเสน ถ้าหากวา่ ความเจบ็ ไขไ้ ด้ปว่ ย ยอ่ มระงับ
ไปได้ โดยเว้น(การใช้)มนต์และยาทั้งหลายไซร้ ประโยชนอ์ ะไรด้วยการต้องท�ำร่างกายให้
ออ่ นเพลียดว้ ยการอาเจียน การขบั ถา่ ยเป็นต้นเล่า ถ้าหากเพียงแต่ใช้ก�ำป้ันก็ปราบศัตรูฝ่าย
ตรงข้ามไดแ้ ลว้ ไซร้ ประโยชน์อะไรดว้ ยดาบ หอก ธนู ลูกศร เกาทัณฑ์ ไมก้ ระบอง ไม้คอ้ นอกี
เลา่ ถา้ หากว่า ผู้คนเหนยี่ วตน้ ไมส้ ่วนทเ่ี ป็นปม สว่ นที่คดงอ ส่วนที่เปน็ โพรง ทเ่ี ป็นหนาม ที่
เปน็ เครอื เถาว์ ทเี่ ปน็ กง่ิ กา้ นกป็ นี ขน้ึ ตน้ ไมไ้ ด้อยู่ ประโยชนอ์ ะไรด้วยการแสวงหาพะองทยี่ าว
ๆ แขง็ แรงอกี เล่า ถา้ หากว่า ดว้ ยการนอนบนพื้นดนิ แข็ง ๆ ก็มคี วามเสมอกนั แห่งธาตไุ ด้ไซร้
ประโยชนอ์ ะไรด้วยการแสวงหาท่ีนอนใหญ่ ๆ สวยงาม มีสัมผสั เปน็ สุขอีกเลา่ ถา้ หากว่า ล�ำพงั
คนเดียวก็สามารถขา้ มท่กี ันดารขรุขระนา่ ระแวงภัย มภี ัยเฉพาะหน้าได้ไซร้ ประโยชน์อะไร
ดว้ ยการแสวงหาการจัดแจงผกู เกวียนกองใหญ่ ๆ อีกเลา่ ถ้าหากวา่ เพยี งใช้แขน วา่ ยไป ๆ ก็
สามารถข้ามแม่น�้ำ สระนำ้� ได้ไซร้ ประโยชน์อะไรด้วยการเท่ยี วแสวงหาสะพานแข็งแรง หรอื
เรือแพอีกเล่า ถ้าหากวา่ ด้วยขา้ วของท่ีมีอยขู่ องตน ก็เพียงพอทีจ่ ะท�ำเปน็ ของกิน ผ้าน่งุ ผา้ ห่ม
ได้ไซร้ ประโยชนอ์ ะไรด้วยวธิ ีเลย้ี งชพี ทีต่ ้องเขา้ ไปคบหาผูอ้ ่นื ตอ้ งพูดค�ำอ่อนหวาน ตอ้ งคอย
เทีย่ วดกั หน้าดกั หลังเขา ถา้ หากว่า ได้น้ำ� ในสระท่ไี มต่ ้องขดุ แลว้ ประโยชน์อะไรด้วยการขดุ
สระน้�ำดม่ื สระโบกขรณี อกี เลา่ พระคุณเจา้ นาคเสน ก็เหมือนกนั อย่างน้นั นั่นแหละ ถา้ หากวา่
พวกคฤหสั ถผ์ ูค้ รองเรอื น บรโิ ภคกาม ท�ำพระนพิ พานอนั เปน็ บทสงบ เป็นประโยชนอ์ ยา่ งย่ิง
ให้แจ้งไดไ้ ซร้ ประโยชน์อะไรด้วยการสนทนาธุดงค์คุณอนั ประเสริฐเล่า ?
‘‘อฏฺ วสี ต ิ โข ปนเิ ม มหาราช ธุตงคฺ คุณา ยถาภจุ จฺ คณุ า, เยห ิ คุเณห ิ ธตุ งคฺ าน ิ
สพพฺ พุทธฺ าน ํ ปิหยติ านิ ปตถฺ ิตานิ ฯ กตเม อฏฺ วสี ติ ? อธิ มหาราช ธตุ งคฺ ํ สุทธฺ าชีว ํ
สุขผล ํ อนวชชฺ ํ น ปรทกุ ฺขาปนํ อภยํ อสมฺปฬี น ํ เอกนฺตวฑฒฺ กิ ํ อปริหานิยํ อมาย ํ
อารกขฺ า ปตฺถติ ทท ํ สพพฺ สตฺตทมนํ สวํ รหิตํ ปตริ ูปํ อนสิ สฺ ติ ํ วปิ ฺปมตุ ฺตํ ราคกขฺ ยํ โทสกขฺ ย ํ
โมหกฺขย ํ มานปฺปหาน ํ กุวติ กฺกจเฺ ฉทน ํ กงฺขาวิตรณํ โกสชชฺ วิทฺธํสนํ อรติปฺปหานํ ขมนํ
อตลุ ํ อปฺปมาณํ สพพฺ ทุกขฺ กฺขยคมนํ, อเิ ม โข มหาราช อฏฺ วีสติ ธตุ งคฺ คณุ า ยถาภุจจฺ คุณา

320 มลิ นิ ทปญั หาปกรณ์แปล [๕.อนมุ านปัญห

เยหิ คเุ ณห ิ ธุตงคฺ านิ สพพฺ พทุ ฺธาน ํ ปหิ ยิตาน ิ ปตถฺ ิตานิ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร คณุ แห่งธดุ งค์อนั เป็นคุณทมี่ ตี ามความ
เป็นจรงิ เป็นคุณทีเ่ ปน็ เหตุ พระพทุ ธเจา้ ทุกพระองคท์ รงใฝพ่ ระทัยปรารถนาธดุ งค์ มี ๒๘
ประการ คณุ ๒๘ ประการ อะไรบา้ ง ? ขอถวายพระพร ธุดงคใ์ นธรรมวินยั น้ี มีคุณอยา่ งน้ี คอื
๑. สุทฺธาชีว ํ - ใหเ้ ลี้ยงชีพบริสุทธ์ิ
๒. สุขผล ํ - มีผลเปน็ สุข
๓. อนชฺชวํ - หาโทษมไิ ด้
๔. น ปรทกุ ฺขาปน ํ - ไม่ท�ำใหผ้ อู้ ่ืนล�ำบาก
๕. อภย ํ - หาภัยมิได้
๖. อสมฺปฬี น ํ - หาความเบยี ดเบยี นมิได้
๗. เอกนตฺ วฑฺฒิกํ - ท�ำให้เจรญิ สว่ นเดียว
๘. อปริหานิย ํ - หาความเสอ่ื มมิได้
๙. อมายํ - ไมม่ ีมายา (ความประพฤตหิ ลอกลวง)
๑๐. อารกฺขา - เป็นเครอ่ื งรักษา
๑๑. ปตฺถติ ททํ - มอบให้แตส่ ่งิ ที่ปรารถนา
๑๒. สพฺพสตตฺ ทมน ํ - เปน็ เคร่ืองฝกึ สัตวท์ ้งั ปวง
๑๓. สวํ รหิตํ - เกื้อกลู แกค่ วามส�ำรวม
๑๔. ปตริ ปู ํ - เป็นของเหมาะสม
๑๕. อนสิ ฺสิต ํ - เปน็ กิจท่ไี มอ่ าศยั ตณั หาและทฏิ ฐิ
๑๖. วิปปฺ มตุ ฺต ํ - เป็นเหตหุ ลุดพ้น
๑๗. ราคกขฺ ยํ - เป็นเหตุสน้ิ ราคะ
๑๘. โทสกฺขย ํ - เปน็ เหตสุ นิ้ โทสะ
๑๙. โมหกฺขยํ - เปน็ เหตุสิ้นโมหะ
๒๐. มานปฺปหาน ํ - เปน็ เครื่องละมานะ
๒๑. กุวติ กฺกเฉทนํ - เปน็ เครอื่ งตัดความคดิ ชั่ว
๒๒. กงฺขาวิตรณํ - เป็นเครื่องข้ามความสงสัย
๒๓. โกสชฺชวิทฺธํสน ํ - เป็นเคร่อื งก�ำจดั ความเกยี จครา้ น
๒๔. อรติปฺปหานํ - เป็นเคร่ืองละความไม่ยนิ ดี (ในอธิกุศล)

กัณฑ]์ อนมุ านปัญหกัณฑ์ 321

๒๕. ขมนํ - เป็นเคร่ืองอดทน
๒๖. อตลุ ํ - เป็นคณุ ทีไ่ มอ่ าจชงั่ ได้
๒๗. อปปฺ มาณํ - เป็นคุณทีไ่ ม่อาจประมาณได้
๒๘. สพฺพทกุ ขฺ กฺขยคมน ํ - เป็นเหตุถงึ ธรรมที่สิน้ ทุกขท์ ้ังปวง
ขอถวายพระพร คุณแห่งธุดงคอ์ ันเป็นคุณทม่ี ีความเปน็ จรงิ เป็นคณุ ท่เี ป็นเหตใุ ห้
พระพุทธเจ้าทุกพระองค์ทรงใฝพ่ ระทยั ปรารถนาธดุ งค์ มี ๒๘ ประการเหล่านีแ้ ล

‘‘เย โข เต มหาราช ธุตคเุ ณ สมมฺ า อุปเสวนฺต,ิ เต อฏ ฺ ารสห ิ คเุ ณหิ สมุเปตา
ภวนฺติ ฯ กตเมหิ อฏ ฺ ารสหิ ? อาจาโร เตสํ สุวสิ ทุ ฺโธ โหต,ิ ปฏปิ ทา สปุ รู ิตา โหติ,
กายิกํ วาจสกิ ํ สรุ กฺขิตํ โหติ, มโนสมาจาโร สุวิสุทฺโธ โหติ, วีริย ํ สุปคคฺ หติ ํ โหต,ิ ภยํ
วูปสมฺมติ, อตฺตานทุ ิฏฺ ิพฺยปคตา โหต,ิ อาฆาโต อปุ รโต โหต,ิ เมตฺตา อปุ ฏ ฺ ิตา โหติ,
อาหาโร ปร ิ ฺ าโต โหติ, สพฺพสตฺตาน ํ ครกุ โต โหติ, โภชเน มตฺต ฺ ู โหต,ิ ชาคริย-
มนุยุตฺโต โหต,ิ อนเิ กโต โหต,ิ ยตถฺ ผาสุ ตตฺถ วหิ าร ี โหต,ิ ปาปเชคจุ ฺฉ ี โหต,ิ
วเิ วการาโม โหติ, สตตํ อปปฺ มตฺโต โหต,ิ เย เต มหาราช ธุตคุเณ สมมฺ า อุปเสวนตฺ ,ิ
เต อเิ มหิ อฏฺ ารสหิ คุเณห ิ สมเุ ปตา ภวนตฺ ิ ฯ
ขอถวายพระพร ภกิ ษุเหล่าใดส้องเสพธตุ คุณโดยชอบ พวกภกิ ษเุ หลา่ นัน้ ยอ่ มเปน็ ผู้
ประกอบดว้ ยคณุ ๑๘ ประการเหล่านี้ ด้วยคณุ ๑๘ ประการอะไรบ้าง ? ไดแ้ ก่
๑. อาจาโร เตลํ สวุ สิ ุทโฺ ธ โหติ - ภิกษเุ หลา่ นน้ั มอี าจาระหมดจดดี
๒. ปฏปิ ทา สุปูริตา โหติ - มปี ฏิปทา บริบรู ณ์ดี
๓. กายิกํ วาจสกิ ํ สุรกขฺ ิตํ โหติ - มอี นั รกั ษาการกระท�ำทางกาย ทางวาจาได้ดว้ ยดี
๔. มโน สมาจาโร สุวสิ ุทฺโธ โหต ิ - มีความประพฤตชิ อบทางใจหมดจดดี
๕. วีรยิ ํ สปุ ปฺ คคฺ หิตํ โหติ - มีอันประคองวริ ยิ ะไวด้ ว้ ยดี
๖. ภยํ วูปสมฺมต ิ - สงบความกลวั ได้
๗. อตฺตานุทฏิ ฺพิ ฺยปคตา - ขจดั อัตตานุทฏิ ฐิได้
๘. อาฆาโต อุปรโต โหต ิ - ระงับความอาฆาตได้
๙. เมตฺตา อปุ ฏฺติ า โหติ - มเี มตตาปรากฏ
๑๐. อาหาโร ปริญฺ าโต โหติ - มีอนั ก�ำหนดรู้อาหาร (คอื พิจารณา
เห็นประโยชนข์ องอาหารตามความ
เป็นจรงิ ทุกครงั้ ท่บี รโิ ภค)

322 มิลนิ ทปัญหาปกรณแ์ ปล [๕.อนมุ านปญั ห

๑๑. สพพฺ สตตฺ านํ ครกุ โต โหติ - เปน็ ผู้ท่ีสัตว์ทั้งปวงท�ำความเคารพ
๑๒. โภชเน มตตฺ ญญฺ ู โหติ - เปน็ ผรู้ ู้ประมาณในโภชนะ
๑๓. ชาครยิ มนุยตุ ฺโต โหติ - เป็นผตู้ ามประกอบชาครยิ ธรรม
(คือต่นื อยู่เสมอ ไมม่ กั มากในการหลับ)
๑๔. อนเิ กโต โหติ - เป็นผู้ไม่มที ี่อยปู่ ระจ�ำ
๑๕. ยตฺถ ผาสุ ตตฺถ วิหารี โหติ - ย่อมเป็นผอู้ ย่แู ตใ่ นทผี่ าสุก
๑๖. ปาปเชคุจฉี โหติ - เปน็ ผ้เู กลียดบาป
๑๗. วเิ วการาโม โหต ิ - เป็นผู้มคี วามยินดใี นวิเวก
๑๘. สตตํ อปปฺ มตฺโต โหต ิ - เป็นผู้ไม่ประมาทเนอื งนิตย์
ขอถวายพระพร ภิกษเุ หลา่ ใดส้องเสพธุตคณุ ภิกษเุ หลา่ นน้ั เปน็ ผ้ปู ระกอบดว้ ยคณุ
๑๘ ประการเหล่าน้แี ล

‘‘ทส อเิ ม มหาราช ปคุ ฺคลา ธตุ คณุ ารหา ฯ กตเม ทส ? สทฺโธ โหต ิ หริ มิ า
ธติ ิมา อกุโห อตฺถวสี อโลโล สกิ ขฺ ากาโม ทฬฺหสมาทาโน อนุชฺฌานพหุโล เมตฺตาวิหาร,ี
อเิ ม โข มหาราช ทส ปุคฺคลา ธตุ คุณารหา ฯ
ขอถวายพระพร บุคคลผู้ควรแก่ธตุ คุณ มี ๑๐ จ�ำพวกเหล่านี้ มี ๑๐ จ�ำพวก อะไรบา้ ง
? คือ
๑. สทฺโธ โหต ิ - เปน็ คนมีศรัทธา
๒. หิริมา - มคี วามละอาย
๓. ธติ ิมา - มคี วามเพียร
๔. อกโุ ห - ไมห่ ลอกลวง
๕. อตถฺ วส ี - ช�ำนาญในประโยชน์
๖. อโลโล - ไม่โลเล
๗. สกิ ฺขากาโม - ใครต่ ่อสกิ ขา
๘. ทฬฺหสมาทาโน - สมาทานม่ันคง
๙. อนุชฌฺ านพหุโล - มากไปดว้ ยความไม่เพ่งเล็ง
๑๐. เมตตฺ าวิหารี - อยูด่ ้วยเมตตา
ขอถวายพระพร บุคคลผ้คู วรแกธ่ ุตคณุ มี ๑๐ จ�ำพวกเหล่านแี้ ล

กัณฑ์] อนมุ านปญั หกณั ฑ์ 323

‘‘เย เต มหาราช คหิ ี อคาริกา กามโภคโิ น สนตฺ ํ ปรมตถฺ ํ นิพพฺ าน ํ สจฉฺ ิกโรนฺติ,
สพเฺ พ เต ปุรมิ าส ุ ชาตีส ุ เตรสสุ ธตุ คุเณส ุ กตปู าสนา กตภมู กิ มมฺ า, เต ตตฺถ จาร ฺจ
ปฏปิ ตฺต ิ จฺ โสธยิตฺวา อชเฺ ชตรหิ คิหีเยว สนฺตา สนฺตํ ปรมตตฺ ํ นิพพฺ าน ํ สจฺฉิกโรนตฺ ิ ฯ
ขอถวายพระพร พวกคฤหสั ถ์ครองเรอื น บรโิ ภคกามเหล่าใด ท�ำพระนิพพานอนั เป็น
บททส่ี งบ อนั เปน็ ประโยชน์อย่างยิง่ ใหแ้ จง้ ได้ พวกคฤหัสถเ์ หลา่ นนั้ ลว้ นแตเ่ คยท�ำการฝึกฝน
เคยท�ำการสรา้ งภูมใิ นธดุ งค์คณุ ๑๓ ไว้หลายชาตกิ อ่ นหน้านี้ บคุ คลเหลา่ นนั้ เพราะไดช้ �ำระ
ความประพฤตแิ ละขอ้ ปฏิบัตใิ ห้บริสุทธิไ์ วใ้ นชาติก่อนนน้ั แล้ว มาในชาตปิ จั จบุ นั น้ี เปน็ คฤหัสถ์
อยนู่ ั่นแหละ ก็ท�ำพระนิพพานอันเป็นบทท่ีสงบ อันเปน็ ประโยชนอ์ ยา่ งยง่ิ ใหแ้ จง้ ได้
‘‘ยถา มหาราช กสุ โล อสิ สฺ าโส อนเฺ ตวาสเิ ก ป มํ ตาว อุปาสนสาลาย ํ จาปเภท-
จาปาโรปนคฺคหณมุฏฺ ิปฺปฏิปีฬนองฺคุลิวินามนปาท ปนสรคฺคหณสนฺนหนอากฑฺฒนสนฺธารณ-
ลกขฺ นยิ มนขปิ เน ตณิ ปรุ สิ กฉกณตณิ ปลาลมตฺตกิ าปุ ชฺ ผลกลกขฺ เวเธ อนุสิกฺขาเปตวฺ า ร โฺ
สนตฺ ิเก อุปาสน ํ อาราธยติ ฺวา อาช ฺ รถคชตรุ งคฺ ธนธ ฺ หริ ฺ สุวณฺณทาสทิ าสภริยคาม-
วร ํ ลภต,ิ เอวเมว โข มหาราช เย เต คหิ ี อคารกิ า กามโภคิโน สนฺต ํ ปรมตฺถ ํ นิพฺพานํ
สจฉฺ กิ โรนตฺ ,ิ เต สพเฺ พ ปุริมาสุ ชาตสี ุ เตรสส ุ ธุตคุเณสุ กตูปาสนา กตภูมิกมฺมา, เต
ตตเฺ ถว จาร จฺ ปฏปิ ตตฺ ิ จฺ โสธยติ วฺ า อชฺเชตรหิ คหิ ีเยว สนตฺ า สนฺต ํ ปรมตถฺ ํ นพิ ฺพานํ
สจฺฉกิ โรนตฺ ิ ฯ น มหาราช ธุตคเุ ณสุ ปุพพฺ าเสวนํ วนิ า เอกสิ สฺ าเยว ชาตยิ า อรหตตฺ ํ
สจฺฉิกิริยา โหต,ิ อตุ ตฺ เมน ปน วรี ิเยน อุตฺตมาย ปฏปิ ตฺตยิ า ตถารูเปน อาจริเยน
กลยฺ าณมติ ฺเตน อรหตตฺ ํ สจฺฉกิ ริ ยิ า โหติ ฯ
ขอถวายพระพร เปรียบเหมือนว่า นายขมังธนผู ู้ฉลาด กไ็ ด้ใหล้ ูกศิษย์ได้ศึกษาใน
ประเทศแห่งคันธนู วิธียกคนั ธนู วธิ จี ับสายธนู วิธใี ช้ก�ำมือจับคันธนู วธิ ีเลื่อนนิ้วมอื วธิ ีวางเท้า
วธิ ีจบั ลกู ศร วิธีเหนบ็ ลกู ศร วิธดี ึงลูกศรออกจากซอง วิธีต้งั ลกู ศร วิธีเล็งเปา้ วิธียงิ ในการฝกึ ยงิ
เปา้ หุ่นหญ้ารูปคน ในการยิงเป้าหนุ่ ฟาง มูลสัตว์ ลอมฟาง กองดนิ แผ่นกระดานไวก้ อ่ นแล้ว
นน่ั แหละ ท่ีโรงฝึกยงิ ธนู พอไดไ้ ปทพ่ี ระราชนิเวศน์ ยงิ ถวายใหพ้ ระราชาทรงชื่นชมการยิงที่
แมน่ ย�ำแลว้ ย่อมได้รบั พระราชทานรางวลั อนั ประเสรฐิ คือ ม้า รถ ช้าง ทรพั ย์ เงนิ ทอง ทาส
หญิง ทาสชาย ภรรยา และบา้ นส่วย อันเปน็ ของควรแกพ่ ระราชา ฉนั ใด ขอถวายพระพร พวก
คฤหสั ถ์ครองเรือน บรโิ ภคกามเหล่าใด ท�ำพระนพิ พาน อันเป็นบททสี่ งบ อันเปน็ ประโยชน์
อย่างย่งิ ใหแ้ จง้ ได้ พวกคฤหสั ถ์เหลา่ น้นั ลว้ นแตว่ ่าเคยท�ำการฝกึ ฝน เคยท�ำการสรา้ งภูมใิ น
ธดุ งคค์ ุณ ๑๓ ไวห้ ลายชาติก่อนหนา้ นี้ บคุ คลเหลา่ น้นั เพราะได้ช�ำระความประพฤตแิ ละข้อ

324 มลิ ินทปญั หาปกรณแ์ ปล [๕.อนุมานปัญห

ปฏิบัตใิ หบ้ ริสทุ ธิ์ไว้ในชาตกิ ่อนน้นั แลว้ มาในชาติปัจจบุ ันนี้ เปน็ คฤหัสถอ์ ยู่น่ันแหละ กท็ �ำพระ
นิพพานอันเป็นบทท่ีสงบ อนั เปน็ ประโยชนอ์ ย่างยิ่งให้แจง้ ได้ ฉนั นั้นเหมือนกัน ขอถวาย
พระพร เว้นการสอ้ งเสพในธุตคณุ ทง้ั หลายกอ่ นแลว้ กห็ ามีการกระท�ำพระอรหตั ตผลใหแ้ จง้ ได้
ในชาติเดียวเทา่ น้นั ไม่ สว่ นผใู้ ชค้ วามเพียรอย่างสูงสดุ ใช้ขอ้ ปฏบิ ตั ิอย่างสูงสุด ใชอ้ าจารย์ ใช้
กลั ยาณมิตรเหน็ ปานนน้ั จึงจะมกี ารท�ำพระอรหตั ตผลใหแ้ จง้ ได้
‘‘ยถา วา ปน มหาราช ภสิ กโฺ ก สลฺลกตโฺ ต อาจรยิ ํ ธเนน วา วตฺตปปฺ ฏิปตตฺ ยิ า
วา อาราเธตฺวา สตตฺ คคฺ หณเฉทนเลขนเวธนสลลฺ ุทธฺ รณวณโธวนโสสนเภสชชฺ านุลมิ ฺปนวมน-
วเิ รจนานุวาสนกริ ยิ มนุสิกขฺ ติ ฺวา วิชชฺ าสุ กตสกิ ฺโข กตปู าสโน กตหตโฺ ถ อาตเุ ร อปุ สงฺกมต ิ
ติกิจฉฺ าย, เอวเมว โข มหาราช เย เต คหิ ี อคารกิ า กามโภคิโน สนฺตํ ปรมตถฺ ํ นิพฺพาน ํ
สจฉฺ กิ โรนฺต,ิ เต สพเฺ พ ปุริมาส ุ ชาตสี ุ เตรสสุ ธุตคุเณส ุ กตปู าสนา กตภมู ิกมฺมา, เต
ตตฺเถว จาร ฺจ ปฏิปตตฺ ิ ฺจ โสธยติ ฺวา อชฺเชตรหิ คหิ เี ยว สนตฺ า สนตฺ ํ ปรมตถฺ ํ นิพพฺ านํ
สจฉฺ กิ โรนตฺ ิ, น มหาราช ธตุ คุเณห ิ อวิสุทฺธาน ํ ธมฺมาภิสมโย โหติ ฯ
ขอถวายพระพร อีกอย่างหนง่ึ เปรียบเหมือนวา่ หมอผา่ ตัด ไดใ้ ช้ทรพั ยจ์ า้ ง
อาจารย์ หรอื อาศยั ขอ้ วตั รปฏบิ ัติ ท�ำอาจารยใ์ ห้ยนิ ดี ศกึ ษาวธิ จี ับมีดผา่ ตดั วิธีผ่าตัด วธิ ีกรดี
วธิ เี ซาะ วิธีคดั เอาสง่ิ ทท่ี ิม่ แทงอย่อู อกมา วธิ ีลา้ งแผล วธิ ที ายา วธิ ีท�ำใหอ้ าเจียน วธิ ที �ำใหข้ ับ
ถ่าย วิธีท�ำการพักฟ้นื ท�ำการศกึ ษาไวใ้ นวิชาทั้งหลาย สรา้ งความช�ำนาญไว้ ฝกึ หดั มอื ไวแ้ ลว้
ก็ย่อมเขา้ ไปบ�ำบดั คนไขใ้ หห้ ายปว่ ยได้ ฉันใด ขอถวายพระพร พวกคฤหสั ถค์ รองเรือน บริโภค
กามเหลา่ ใด ท�ำพระนพิ พานอนั เป็นบทที่สงบ เป็นประโยชน์อย่างย่งิ ให้แจ้งได้ พวกคฤหัสถ์
เหลา่ นนั้ ลว้ นแต่วา่ เคยท�ำการฝกึ ฝน เคยท�ำการสรา้ งภมู ใิ นธดุ งคค์ ณุ ๑๓ ไว้ในหลายชาติ
กอ่ นหน้านี้ บุคคลเหลา่ นน้ั เพราะได้ช�ำระความประพฤติและขอ้ ปฏิบตั ิใหบ้ รสิ ทุ ธไิ์ ว้ในชาติ
ก่อนนัน้ แล้ว มาในชาติปจั จุบันนี้ เปน็ คฤหสั ถอ์ ยนู่ ัน่ แหละ ก็ท�ำพระนพิ พานอนั เปน็ บทท่สี งบ
อนั เปน็ ประโยชนอ์ ย่างย่ิงใหแ้ จง้ ได้ ฉันน้นั เหมือนกนั ขอถวายพระพร บุคคลผู้ไม่หมดจดดว้ ย
ธุตคุณท้ังหลาย ก็หาการบรรลุธรรมมไิ ด้
‘‘ยถา มหาราช อทุ กสสฺ อเสจเนน พีชาน ํ อวริ หู น ํ โหต,ิ เอวเมว โข มหาราช
ธุตคุเณหิ อวิสุทฺธานํ ธมฺมาภสิ มโย น โหติ ฯ
ขอถวายพระพร เปรยี บเหมือนว่า เพราะไม่รดน้ำ� พืชทัง้ หลายก็หาความงอกงามมไิ ด้
ฉนั ใด บุคคลผไู้ ม่หมดจดด้วยธตุ คณุ ทั้งหลาย กห็ าการบรรลธุ รรมมไิ ด้ ฉันน้นั

กณั ฑ]์ อนมุ านปัญหกณั ฑ์ 325

‘‘ยถา วา ปน มหาราช อกตกสุ ลานํ อกตกลฺยาณาน ํ สุคตคิ มน ํ น โหต,ิ เอวเมว
โข มหาราช ธุตคุเณหิ อวสิ ทุ ฺธาน ํ ธมฺมาภสิ มโย น โหติ ฯ
ขอถวายพระพร อีกอย่างหน่ึง เปรียบเหมือนวา่ สัตว์ทงั้ หลาย ผูม้ ไิ ดท้ �ำกุศลไว้ มิได้ท�ำ
กลั ยาณมติ รไว้ ยอ่ มหาการไปสู่สุคติมิได้ ฉันใด ขอถวายพระพร บุคคลผไู้ มห่ มดจดดว้ ยธุต-
คุณทั้งหลาย ก็ย่อมหาการบรรลธุ รรมมิได้ ฉันน้ัน
‘‘ปถวสิ มํ มหาราช ธตุ คุณ ํ วิสุทฺธกิ ามานํ ปติฏฺ านฏเฺ น ฯ
ขอถวายพระพร ธตุ คณุ เปน็ คุณท่เี ทยี บเสมอกบั แผ่นดิน ด้วยสภาวะเปน็ ท่ีตง้ั แห่ง
บคุ คลท้งั หลายผู้ตอ้ งการวสิ ุทธิ
อาโปสมํ มหาราช ธุตคุณ ํ วิสุทฺธกิ ามาน ํ สพพฺ กิเลสมลโธวนฏฺเ น ฯ
ขอถวายพระพร ธุตคณุ เป็นคณุ ทเี่ ทียบเสมอกบั น�้ำ ดว้ ยสภาวะท่เี ปน็ เครือ่ งช�ำระลา้ ง
มลทินคือกเิ ลสทง้ั ปวง แหง่ บคุ คลท้งั หลายผู้ต้องการวิสุทธิ
เตโชสมํ มหาราช ธตุ คุณ ํ วสิ ุทธฺ กิ ามานํ สพฺพกิเลสวนชฌฺ าปนฏเฺ น ฯ
ขอถวายพระพร ธุตคุณเปน็ คุณทเ่ี ทยี บเสมอกับไฟ ดว้ ยสภาวะทเ่ี ผาผลาญป่ารกคือ
กิเลสท้ังปวง แห่งบุคคลท้งั หลายผตู้ อ้ งการวสิ ุทธิ
วาโยสมํ มหาราช ธตุ คณุ ํ วิสุทธฺ ิกามาน ํ สพพฺ กเิ ลสมลรโชปวาหนฏฺเ น ฯ
ขอถวายพระพร ธุตคณุ เปน็ คุณทเ่ี ทยี บเสมอกบั ลม ด้วยสภาวะทพ่ี ดั เอาขฝ้ี ุ่นอันเป็น
มลทินคอื กเิ ลสทงั้ ปวงแหง่ บคุ คลทัง้ หลายผู้ต้องการวสิ ุทธิ
อคทสมํ มหาราช ธุตคณุ ํ วิสุทธฺ กิ ามานํ สพพฺ กิเลสพฺยาธิวปู สมนฏฺเ น ฯ
ขอถวายพระพร ธตุ คณุ เปน็ คุณท่ีเทียบเสมอกับยาแก้พษิ ด้วยสภาวะที่สงบความ
ปว่ ยไข้ คอื กเิ ลสทง้ั ปวง แห่งบุคคลทงั้ หลายผูต้ อ้ งการวสิ ุทธิ
อมตสม ํ มหาราช ธตุ คุณํ วิสทุ ธฺ กิ ามาน ํ สพฺพกเิ ลสวิสนาสนฏเฺ น ฯ
ขอถวายพระพร ธตุ คณุ เปน็ คณุ ท่เี ทยี บเสมอกับยาอมตะ ด้วยสภาวะท่ีท�ำกเิ ลสทั้ง
ปวงให้พนิ าศไป แห่งบุคคลท้ังหลายผตู้ อ้ งการวสิ ทุ ธิ
เขตฺตสมํ มหาราช ธตุ คณุ ํ วสิ ุทธฺ ิกามานํ สพพฺ สาม ฺ คณุ สสสฺ วิรหู นฏเฺ น ฯ
ขอถวายพระพร ธุตคุณ เป็นคณุ ท่ีเทยี บเสมอกับไรน่ า ดว้ ยสภาวะทเี่ ป็นสถานที่เพาะ

326 มลิ นิ ทปญั หาปกรณแ์ ปล [๕.อนมุ านปัญห

ปลูกคณุ แห่งความเปน็ สมณะท้ังปวง แหง่ บคุ คลทง้ั หลายผูต้ อ้ งการวสิ ุทธิ
มโนหรสม ํ มหาราช ธตุ คณุ ํ วิสทุ ฺธิกามานํ ปตฺถิตจิ ฉฺ ติ สพพฺ สมปฺ ตฺติวรททฏเฺ น ฯ
ขอถวายพระพร ธตุ คุณ เป็นคุณท่เี ทยี บเสมอกับแกว้ สารพัดนึก ด้วยสภาวะทม่ี อบแต่
สมบตั ปิ ระเสรฐิ ท่ีน่าปรารถนาที่นา่ ต้องการ แห่งบคุ คลท้ังหลายผูต้ อ้ งการวสิ ุทธิ
นาวาสม ํ มหาราช ธุตคณุ ํ วิสุทธฺ ิกามาน ํ สสํ ารมหณณฺ วปารคมนฏเฺ น ฯ
ขอถวายพระพร ธุตคุณ เป็นคุณท่เี ทยี บเสมอกับเรือ ด้วยสภาวะที่แลน่ ไปสฝู่ ั่งแหง่
ทะเล คือ สังสารวฏั แห่งบุคคลทง้ั หลายผตู้ ้องการวิสุทธิ
ภีรุตตฺ าณสมํ มหาราช ธุตคุณํ วิสทุ ธฺ ิกามานํ ชรามรณภตี านํ อสสฺ าสกรณฏเฺ น ฯ
ขอถวายพระพร ธุตคณุ เป็นคณุ ทีเ่ ทยี บเสมอกบั ทีพ่ ่ึงส�ำหรบั คนทีข่ ลาดกลัว ด้วย
สภาวะท่สี รา้ งความสบายใจแกบ่ ุคคลทั้งหลายผตู้ ้องการวสิ ทุ ธิ ซง่ึ เปน็ ผกู้ ลวั แตช่ ราและมรณะ
มาตุสมํ มหาราช ธุตคุณ ํ วสิ ทุ ฺธกิ ามานํ กเิ ลสทุกขฺ ปฺปฏปิ ีฬติ าน ํ อนุคคฺ าหกฏฺเ น ฯ
ขอถวายพระพร ธุตคณุ เป็นคณุ ท่ีเทียบเสมอกบั มารดา ดว้ ยสภาวะท่ีอนุเคราะห์บคุ คล
ผ้ตู อ้ งการวิสุทธิ ซ่ึงเปน็ ผถู้ ูกกิเลสและทกุ ข์บบี คน้ั
ปติ ุสม ํ มหาราช ธุตคณุ ํ วิสุทฺธิกามาน ํ กุสลวฑฺฒกิ ามาน ํ สพพฺ สาม ฺ คุณ-
ชนกฏฺเ น ฯ
ขอถวายพระพร ธตุ คุณ เป็นคุณที่เทยี บเสมอกบั บดิ า ดว้ ยสภาวะท่กี อ่ ใหเ้ กดิ คุณแหง่
ความเปน็ สมณะท้ังปวงแห่งบุคคลผูต้ อ้ งการวิสุทธิ ซง่ึ เป็นผใู้ คร่ความเจรญิ แห่งกุศล
มิตตฺ สม ํ มหาราช ธุตคุณ ํ วสิ ทุ ฺธิกามาน ํ สพฺพสาม ฺ คุณปรเิ ยสนอวิสวํ าทกฏเฺ น ฯ
ขอถวายพระพร ธุตคณุ เป็นคุณทเี่ ทียบเสมอกบั มิตร ด้วยสภาวะที่ไม่ท�ำให้คลาด
เคลอ่ื น ในการแสวงหาคณุ แหง่ ความเปน็ สมณะทัง้ ปวง แหง่ บุคคลผูต้ ้องการวิสุทธิ
ปทมุ สม ํ มหาราช ธุตคุณํ วสิ ุทฺธิกามาน ํ สพฺพกิเลสมเลห ิ อนปุ ลติ ตฺ ฏเฺ น ฯ
ขอถวายพระพร ธตุ คณุ เปน็ คุณทีเ่ ทยี บเสมอกบั ดอกปทุม ด้วยสภาวะที่มลทนิ คือ
กเิ ลสทัง้ ปวงฉาบไว้ตดิ แห่งบุคคลทง้ั หลายผูต้ อ้ งการวิสทุ ธิ
จตุชชฺ าตยิ วรคนธฺ สมํ มหาราช ธุตคณุ ํ วิสทุ ธฺ ิกามานํ กิเลสทุคคฺ นธฺ ปฏวิ โิ นทนฏเฺ นฯ
ขอถวายพระพร ธตุ คณุ เป็นคุณท่เี ทยี บเสมอกบั คนั ธชาติประเสริฐ ๔ ชนดิ ด้วยสภาวะ

กณั ฑ์] อนุมานปัญหกณั ฑ์ 327

ทีบ่ รรเทากลนิ่ เหมน็ คือกเิ ลส แหง่ บคุ คลทง้ั หลายผูต้ อ้ งการวิสุทธิ
คริ ิราชวรสม ํ มหาราช ธุตคณุ ํ วิสุทฺธกิ ามาน ํ อฏฺ โลกธมฺมวาเตหิ อกมปฺ ิยฏฺเ น ฯ
ขอถวายพระพร ธตุ คุณ เป็นคณุ ที่เทียบเสมอกบั ขุนเขาประเสริฐ ด้วยสภาวะท่ลี มคอื
โลกธรรม ๘ อย่าง ไม่อาจท�ำใหไ้ หวได้ แหง่ บคุ คลท้งั หลายผูต้ ้องการวสิ ุทธิ
อากาสสม ํ มหาราช ธุตคณุ ํ วสิ ทุ ธฺ กิ ามานํ สพพฺ ตถฺ คหณาปคตอุรุวสิ ฏวติ ถฺ ต-
มหนตฺ ฏฺเ น ฯ
ขอถวายพระพร ธตุ คณุ เป็นคุณทีเ่ ทยี บเสมอกบั อากาศ ดว้ ยสภาวะที่ปราศจากการ
ยดึ ตดิ ในทที่ ง้ั ปวง เว้ิงว้าง กวา้ งขวาง ใหญโ่ ต แห่งบุคคลทั้งหลายผ้ตู อ้ งการวิสทุ ธิ
นทสี มํ มหาราช ธุตคณุ ํ วิสทุ ธฺ ิกามาน ํ กิเลสมลปวาหนฏฺเ น ฯ
ขอถวายพระพร ธุตคณุ เป็นคณุ ทีเ่ ทียบเสมอกบั แมน่ ้�ำ ด้วยสภาวะท่ีลอยมลทินคือ
กิเลส แหง่ บุคคลทง้ั หลายผตู้ อ้ งการวสิ ุทธิ
สุเทสกสม ํ มหาราช ธตุ คณุ ํ วสิ ุทธฺ ิกามานํ ชาตกิ นฺตารกเิ ลสวนคหนนติ ถฺ รณฏเฺ น ฯ
ขอถวายพระพร ธตุ คณุ เป็นคณุ ทเ่ี ทียบเสมอกบั ผู้บอกทางได้แมน่ ย�ำ ด้วยสภาวะที่
ถอนออกไปจากท่กี นั ดารคือชาติ จากปา่ ทึบคือกิเลส แห่งบุคคลท้งั หลายผู้ต้องการวิสุทธิ
มหาสตถฺ วาหสม ํ มหาราช ธุตคณุ ํ วิสทุ ธฺ กิ ามานํ สพฺพภยสุ ฺ เขมอภยวรปวร-
นิพพฺ านนครสมปฺ าปนฏเฺ น ฯ
ขอถวายพระพร ธตุ คณุ เปน็ คุณท่เี ทยี บเสมอกบั หม่เู กวียนหม่ใู หญ่ ด้วยสภาวะที่ใหถ้ งึ
นครคอื พระนิพพานอันประเสรฐิ วา่ งจากภัย เกษม ไม่มภี ัยท้ังปวง แห่งบุคคลทงั้ หลาย
ผตู้ อ้ งการวสิ ทุ ธิ
สุมชฺชิตวมิ ลาทาสสม ํ มหาราช ธุตคุณ ํ วิสทุ ฺธิกามานํ สงฺขาราน ํ สภาวทสฺสนฏฺเ นฯ
ขอถวายพระพร ธตุ คณุ เปน็ คณุ ทเี่ ทียบเสมอกับแว่นที่เช็ดสะอาด ปราศจากมลทนิ
ดว้ ยสภาวะท่สี ่องให้เหน็ สภาวะของสงั ขารทั้งหลาย แหง่ บุคคลทงั้ หลายผู้ตอ้ งการวสิ ทุ ธิ
ผลกสมํ มหาราช ธตุ คุณ ํ วิสุทฺธิกามาน ํ กิเลสลคฬุ สรสตตฺ ปิ ฏพิ าหนฏเฺ น ฯ
ขอถวายพระพร ธตุ คุณ เปน็ คณุ ทเ่ี ทียบเสมอกบั โลห่ ์ ด้วยสภาวะทีเ่ ป็นเคร่ืองป้องกนั
ไมค้ อ้ น ลกู ศร หอกหลาวคอื กเิ ลส แห่งบคุ คลทั้งหลายผตู้ ้องการวิสุทธิ

328 มิลนิ ทปัญหาปกรณแ์ ปล [๕.อนมุ านปัญห

ฉตฺตสมํ มหาราช ธตุ คุณ ํ วิสุทฺธกิ ามานํ กเิ ลสวสสฺ ติวธิ คคฺ สิ นฺตาปาตป-
ปฏพิ าหนฏเฺ นฯ
ขอถวายพระพร ธุตคุณ เป็นคณุ ท่เี ทยี บเสมอกับรม่ ด้วยสภาวะที่เปน็ เครือ่ งป้องกนั
ฝน คือ กิเลส แดดรอ้ น คอื ไฟ ๓ อยา่ ง แหง่ บคุ คลทง้ั หลายผตู้ ้องการวิสทุ ธิ
จนฺทสม ํ มหาราช ธตุ คุณํ วิสทุ ฺธิกามานํ ปิหยติ ปตถฺ ิตฏฺเ น ฯ
ขอถวายพระพร ธตุ คณุ เป็นคุณทีเ่ ทียบเสมอกับดวงจันทร์ ด้วยสภาวะที่ผู้ต้องการ
วสิ ุทธิ ช่นื ใจ และปรารถนา
สรู ยิ สม ํ มหาราช ธตุ คณุ ํ วสิ ทุ ธฺ ิกามานํ โมหตมติมริ นาสนฏฺเ น ฯ
ขอถวายพระพร ธุตคุณ เป็นคณุ ท่เี ทียบเสมอกบั ดวงอาทิตย์ ด้วยสภาวะทีท่ �ำความมดื
คอื โมหะให้พินาศไป แหง่ บุคคลทง้ั หลายผู้ต้องการวสิ ทุ ธิ
สาครสม ํ มหาราช ธุตคุณํ วิสุทธฺ กิ ามานํ อเนกวิธสาม ฺ คุณวรรตนฏุ ฺ านฏฺเ น
อปรมิ ติ อสงขฺ ฺเยยฺยอปฺปเมยยฺ ฏเฺ น จ ฯ
ขอถวายพระพร ธตุ คณุ เป็นคุณทเ่ี ทียบเสมอกับทะเล ด้วยสภาวะเปน็ ท่ีตั้งแห่งแกว้
ประเสรฐิ คือคุณแห่งความเป็นสมณะอเนกประการ และด้วยสภาวะท่เี ปน็ คุณอันวัดไม่ได้ ใคร
ๆ ไมอ่ าจนับได้ ไม่อาจประมาณได้ แหง่ บคุ คลทง้ั หลายผู้ต้องการวสิ ุทธิ
เอว ํ โข มหาราช ธตุ คณุ ํ วิสทุ ฺธิกามาน ํ พหูปการํ สพฺพทรถปรฬิ าหนุท ํ อรตนิ ทุ ํ
ภยนุท ํ ภวนทุ ํ ขลี นทุ ํ มลนทุ ํ โสกนุทํ ทกุ ฺขนทุ ํ ราคนทุ ํ โทสนทุ ํ โมหนทุ ํ มานนทุ ํ
ทิฏฺ ินทุ ํ สพฺพากุสลธมมฺ นทุ ํ ยสาวหํ หิตาวห ํ สุขาวห ํ ผาสกุ ร ํ ปตี กิ รํ โยคกฺเขมกรํ อนวชฺช ํ
อฏิ ฺ สุขวิปากํ คณุ ราสิคุณป ุ ชฺ อปริมติ อสงขฺ ฺเยยยฺ อปฺปเมยยฺ คณุ ํ วร ํ ปวร ํ อคคฺ ํ ฯ
ขอถวายพระพร ธตุ คณุ ท่มี อี ุปการะมากมาย แห่งบุคคลท้ังหลายผ้ตู ้องการวิสทุ ธิ ตาม
ประการดงั กล่าวมาน้ี เป็นเหตุบรรเทาความทรุ นทรุ ายเร่ารอ้ นทง้ั ปวง เปน็ เหตุบรรเทาอรติ
เปน็ เหตุบรรเทาภัย เปน็ เหตุบรรเทาภพ เป็นเหตบุ รรเทากเิ ลสเป็นดจุ เสา เปน็ เหตบุ รรเทา
มลพษิ เป็นเหตบุ รรเทาความโศก เปน็ เหตบุ รรเทาทุกข์ เป็นเหตุบรรเทาราคะ เปน็ เหตุบรรเทา
โทสะ เปน็ เหตุบรรเทาโมหะ เป็นเหตุบรรเทามานะ เปน็ เหตุบรรเทาทิฏฐิ เปน็ เหตุบรรเทา
อกุศลธรรมทัง้ ปวง เห็นเหตนุ �ำมาซึง่ ยศ เป็นเหตุน�ำมาซง่ึ ประโยชน์ เป็นเหตนุ �ำมาซง่ึ สขุ เปน็
เหตนุ �ำมาซึง่ ความผาสกุ เป็นเหตนุ �ำมาซง่ึ ปีติ เป็นเหตุสรา้ งความเกษมจากโยคะ ไมม่ ีโทษ มี
วิบากเป็นสขุ นา่ ปรารถนา เปน็ ท่รี วมแห่งคณุ เป็นกองแห่งคณุ มคี ุณอันใคร ๆ ไมอ่ าจวัดได้

กัณฑ]์ อนมุ านปญั หกัณฑ์ 329

ไมอ่ าจนบั ได้ ไม่อาจประมาณได้ ประเสริฐ ยอดเยี่ยม เปน็ เลิศ
‘‘ยถา มหาราช มนุสสฺ า อุปตถฺ มฺภวเสน โภชนํ อปุ เสวนฺต,ิ หติ วเสน เภสชชฺ ํ
อปุ เสวนตฺ ิ, อปุ การวเสน มิตฺตํ อปุ เสวนฺต,ิ ตารณวเสน นาวํ อปุ เสวนฺต,ิ สคุ นธฺ วเสน
มาลาคนธฺ ํ อปุ เสวนตฺ ,ิ อภยวเสน ภรี ตุ ตฺ าณํ อปุ เสวนตฺ ,ิ ปตฏิ ฺ าวเสน ปถวึ อปุ เสวนฺต,ิ
สปิ ฺปวเสน อาจรยิ ํ อุปเสวนฺติ, ยสวเสน ราชาน ํ อุปเสวนฺต,ิ กามททวเสน มณริ ตนํ
อุปเสวนตฺ ,ิ เอวเมว โข มหาราช สพพฺ สาม ฺ คณุ ททวเสน อริยา ธุตคณุ ํ อปุ เสวนตฺ ิ ฯ
ขอถวายพระพร เปรยี บเหมอื นว่า คนทงั้ หลายเสพโภชนะ ด้วยอ�ำนาจเป็นเหตอุ ปุ ถมั ภ์
กาย เสพยา ดว้ ยอ�ำนาจเปน็ เหตชุ ่วยบ�ำบัด เสพมติ ร ดว้ ยอ�ำนาจเป็นผมู้ ีอปุ การะ เสพ(ใช้สอย)
เรือ ดว้ ยอ�ำนาจเปน็ เครอื่ งขา้ ม เสพพวงดอกไมข้ องหอม ด้วยอ�ำนาจเป็นส่งิ ทม่ี ีกลน่ิ หอม
เสพ(อาศยั )สถานทป่ี อ้ งกนั ส่งิ น่ากลวั ด้วยอ�ำนาจเปน็ สงิ่ ที่ปลอดภัย เสพ(ใช้สอย)แผน่ ดิน ดว้ ย
อ�ำนาจว่าเป็นทีต่ ้งั อยู่ เสพ(คบหา)อาจารย์ ดว้ ยอ�ำนาจจะไดร้ ้วู ิชาศลิ ปะ เสพ(คบหา)พระราชา
ดว้ ยอ�ำนาจหวังจะได้ยศ เสพ(ใช้สอย)แกว้ มณี ด้วยอ�ำนาจเปน็ สง่ิ มอบใหแ้ ตข่ องท่ีต้องการ
ฉนั ใด ขอถวายพระพร พระอรยิ ะทงั้ หลาย เสพธตุ คุณ ด้วยอ�ำนาจมอบให้คุณแห่งความเปน็
สมณะท้ังปวง ฉนั นั้นเหมือนกัน
‘‘ยถา วา ปน มหาราช อุทกํ พีชวริ หู นาย, อคฺคิ ฌาปนาย, อาหาโร
พลาหรณาย, ลตา พนฺธนาย, สตฺถ ํ เฉทนาย, ปานยี ํ ปิปาสวินยนาย, นธิ ิ อสสฺ าสกรณาย,
นาวา ตรี สมปฺ าปนาย, เภสชชฺ ํ พยฺ าธิวปู สมนาย, ยาน ํ สขุ คมนาย, ภีรตุ ฺตาณํ ภย-
วิโนทนาย, ราชา อารกฺขตฺถาย, ผลกํ ทณฑฺ เลฑฑฺ ลุ คุฬสรสตตฺ ิปฏิพาหนาย, อาจรโิ ย
อนสุ าสนาย, มาตา โปสนาย, อาทาโส โอโลกนาย, อลงฺกาโร โสภนาย, วตฺถํ
ปฏิจฉฺ าทนาย, นสิ เฺ สณ ี อาโรหนาย, ตุลา วิสมวกิ เฺ ขปนาย, มนตฺ ํ ปรชิ ปปฺ นาย, อาวุธ ํ
ตชชฺ นยี ปฏิพาหนาย, ปทโี ป อนธฺ การวธิ มนาย, วาโต ปริฬาหนิพฺพาปนาย, สิปฺป ํ
วุตฺตินปิ ฺผาทนาย, อคทํ ชวี ิตรกขฺ ณาย, อากโร รตนปุ ปฺ าทนาย, รตน ํ อลงฺกราย,
อาณา อนตกิ ฺกมนาย, อิสฺสริย ํ วสวตตฺ นาย, เอวเมว โข มหาราช ธุตคุณํ สาม ฺ พีช-
วิรหู นาย, กเิ ลสมลฌาปนาย, อิทฺธพิ ลาหรณาย, สติสวํ รนิพนธฺ นาย, วมิ ติวิจกิ ิจฺฉา-
สมุจเฺ ฉทนาย, ตณหฺ าปปิ าสาวนิ ยนาย, อภสิ มยอสสฺ าสกรณาย, จตุโรฆนิตถฺ รณาย,
กเิ ลสพยฺ าธิวปู สมาย, นิพพฺ านสขุ ปฺปฏิลาภาย, ชาตชิ ราพฺยาธิมรณโสกปรเิ ทวทกุ ขฺ -
โทมนสสฺ ปุ ายาสภยวิโนทนาย, สาม ฺ คุณปรริ กฺขณาย, อรตกิ วุ ติ กฺกปฏพิ าหนาย, สกล-
สาม ฺ ตฺถานสุ าสนาย, สพฺพสาม ฺ คุณโปสนาย, สมถวปิ สฺสนามคคฺ ผลนพิ ฺพานทสสฺ นาย,

330 มลิ ินทปัญหาปกรณแ์ ปล [๕.อนุมานปัญห

สกลโลกถุตโถมิตมหตมิ หาโสภนกรณาย, สพฺพาปายปิทหนาย, สาม ฺ ตฺถเสลสขิ รมุทธฺ นิ
อภิรหู นาย, วงกฺ กุฏิลวิสมจิตฺตวกิ เฺ ขปนาย, เสวิตพฺพาเสวิตพฺพธมเฺ ม สาธสุ ชฌฺ ายกรณาย,
สพฺพกเิ ลสปฏสิ ตฺตตุ ชฺชนาย, อวชิ ชฺ นธฺ การวิธมนาย, ตวิ ธิ คฺคสิ นฺตาปปริฬาหนพิ พฺ าปนาย,
สณหฺ สขุ มุ สนฺตสมาปตฺตินิปฺผาทนาย, สกลสาม ฺ คณุ ปรริ กขฺ ณาย, โพชฌฺ งคฺ วรรตนปุ -ฺ
ปาทนาย, โยคิชนาลงกฺ รณาย, อนวชชฺ นิปุณสขุ ุมสนตฺ สิ ขุ มนตกิ กฺ มนาย, สกลสาม ฺ อรยิ -
ธมมฺ วสวตตฺ นาย ฯ อติ ิ มหาราช อิเมส ํ คณุ าน ํ อธคิ มาย ยททิ ํ เอกเมก ํ ธุตคุณ,ํ เอวํ
มหาราช อตุลิยํ ธุตคุณ ํ อปปฺ เมยยฺ ํ อสม ํ อปปฺ ฏสิ ม ํ อปฺปฏภิ าค ํ อปฺปฏเิ สฏฺ ํ อตุ ฺตร ํ
เสฏฺ ํ วสิ ิฏ ฺ ํ อธิก ํ อายต ํ ปุถลุ ํ วิสฏ ํ วติ ถฺ ต ํ ครกุ ํ ภารยิ ํ มหนตฺ ํ ฯ
ขอถวายพระพร เปรียบเหมือนวา่ นำ้� มีไว้เพอ่ื ปลูกพืช ไฟมไี วเ้ พอื่ ใชเ้ ผาไหม้ อาหารมี
ไว้เพื่อใชเ้ ป็นเหตนุ �ำมาซง่ึ ก�ำลงั เถาวัลยม์ ีไวเ้ พ่ือใชเ้ ป็นเครื่องผูกมดั มีดมีไว้เพอ่ื ใชเ้ ปน็ เครื่อง
ตัด นำ้� ดื่มมไี ว้เพอ่ื ใช้เปน็ เครื่องก�ำจัดความกระหาย กองทุนมไี ว้เพ่อื สรา้ งความโล่งใจ เรือมไี ว้
เพอ่ื ใช้เป็นเครื่องไปถงึ ฝง่ั ยามีไวเ้ พอ่ื ใชส้ งบความป่วยไข้ ยานพาหนะมีไว้เพือ่ การไปสะดวก
ท่ีปอ้ งกนั มไี ว้เพ่ือใช้บรรเทาภยั พระราชามไี วเ้ พอื่ ประโยชนแ์ ก่การอารกั ขา โล่ห์มไี วเ้ พือ่
ปอ้ งกันไม้เทา้ กอ้ นดิน กอ้ นเหลก็ ลกู ศร หอกหลาว อาจารยม์ ไี วเ้ พ่ือการอนุศาสน์ มารดามีไว้
เพ่ือการเล้ยี งดู กระจกเงามีไวเ้ พ่ือใช้ส่องดู เคร่อื งประดับมไี ว้เพอ่ื ความงาม ผ้ามไี ว้เพือ่ ใช้
ปดิ บงั กาย พะองมีไว้เพือ่ ใช้ปนี ป่าย เครื่องชงั่ มีไวเ้ พื่อหลีกเลยี่ งความไมส่ มยอมกัน มนตม์ ไี ว้
เพอ่ื ใช้เสกเปา่ อาวุธมีไว้เพือ่ ใชป้ ้องกันการคกุ คาม ประทปี มไี วเ้ พ่ือใช้ก�ำจัดความมืด ลมมไี ว้
เพอ่ื ใชด้ บั ความรอ้ น ศิลปะมไี วเ้ พื่อใช้เล้ียงชีวิต ยาแกพ้ ษิ มไี ว้เพื่อใช้รกั ษาชวี ิต บ่อมไี ว้เพอ่ื ท�ำ
รตั นะให้บงั เกดิ รตั นะมไี ว้เพอื่ ใช้เป็นเคร่ืองประดบั ค�ำสั่งมไี ว้เพ่อื ไมใ่ หล้ ่วงละเมดิ อสิ รยิ ยศ
มไี ว้เพอื่ ใชอ้ �ำนาจ ฉันใด ขอถวายพระพร ธุตคณุ มีไวเ้ พือ่ ใช้ปลูกพืชคอื ความเปน็ สมณะ เพื่อ
ใช้เผาไหม้มลทินคือกเิ ลส เพือ่ ใช้เปน็ เหตนุ �ำมาซึ่งก�ำลงั คืออทิ ธิ เพ่ือใชเ้ ป็นเคร่อื งผกู มัดคอื สติ
สังวร เพื่อใช้เปน็ เครอื่ งตัดความเคลอื บแคลงสงสัย เพอ่ื ใชเ้ ปน็ เครือ่ งก�ำจดั ความกระหายคอื
ตณั หา เพอ่ื สรา้ งความโลง่ ใจคือการบรรลุ เพ่ือใชเ้ ปน็ เครอ่ื งขา้ มโอฆะ ๔ เพือ่ ใชส้ งบความ
ความป่วยไขค้ ือกเิ ลส เพื่อการไดม้ าซง่ึ สุข คอื พระนพิ พาน เพอื่ ใชบ้ รรเทาภัย คอื ชาติ ชรา
พยาธิ มรณะ โสกะ ปรเิ ทวะ ทกุ ขะ โทมนสั สะ อปุ ายาสะ เพอื่ ใช้แวดลอ้ มรกั ษาคณุ แห่งความ
เปน็ สมณะ เพ่อื ใชข้ ดั ขวางอรตแิ ละความตรึก เพอ่ื การอนศุ าสนป์ ระโยชน์แหง่ ความเป็นสมณะ
ทั้งสน้ิ เพ่ือการหล่อเลี้ยงคณุ แหง่ ความเปน็ สมณะทงั้ ปวง เพ่อื การได้พบเห็นสมถะ วิปสั สนา
มรรค ผล นิพพาน เพื่อสร้างความงดงามมากมายใหญห่ ลวงทีช่ าวโลกทั้งส้ินชมเชยสรรเสรญิ

กณั ฑ์] อนุมานปญั หกณั ฑ์ 331

เพอ่ื ใช้ปิดกน้ั อบายทงั้ ปวง เพ่อื ใชป้ ีนข้ึนไปสู่ยอดภเู ขาหินคอื สามญั ญผล เพือ่ ใชห้ ลกี เล่ยี งจติ
ท่ีไม่สมยอม เพราะคดโกง เพอื่ ท�ำการสาธยายให้ส�ำเร็จประโยชนใ์ นธรรมทค่ี วรเสพและไม่
ควรเสพ เพือ่ คุกคามศตั รฝู ่ายตรงข้ามคอื กเิ ลสทั้งปวง เพอ่ื ใช้ก�ำจดั ความมืดคอื อวชิ ชา เพ่ือใช้
ดับความรอ้ นคือไฟ ๓ กอง เพือ่ ให้ส�ำเรจ็ สมาบตั ทิ ล่ี ะเอยี ดอ่อน เป็นสขุ มุ และสงบ เพื่อใช้รกั ษา
คณุ แหง่ ความเป็นสมณะทัง้ สิน้ เพอ่ื ท�ำรตั นะอนั ประเสรฐิ คอื โพชฌงคใ์ หบ้ งั เกิด เพื่อใชเ้ ปน็
เคร่อื งประดับแห่งชนคือพระโยคี เพือ่ ความไมก่ า้ วลว่ งความสขุ อนั ไม่มโี ทษละเอยี ด สุขุม สงบ
เพอ่ื การท�ำอ�ำนาจ คอื อริยธรรมแหง่ ความเปน็ สมณะใหเ้ ปน็ ไปฉนั นน้ั เหมอื นกนั ขอถวาย
พระพร ธุตคุณย่อมมีเพือ่ บรรลุคุณทัง้ หลายแต่ละอยา่ งดังกลา่ วมาน้ี ขอถวายพระพร ธุตคณุ
เป็นคณุ ที่ไม่อาจช่ังได้ ไม่อาจประมาณได้ หาคุณที่เสมอมิได้ หาคณุ อย่างอืน่ เทยี บเสมอกัน
มไิ ด้ หาสว่ นเปรยี บมิได้ หาคุณอย่างอน่ื ดีกวา่ มไิ ด้ ยอดเยี่ยม ประเสรฐิ วิเศษ ย่ิงยวด แผข่ ยาย
กวา้ งไปไกล นา่ เคารพ น่าตระหนักเปน็ ของย่งิ ใหญ่
‘‘โย โข มหาราช ปคุ คฺ โล ปาปจิ ฺโฉ อจิ ฺฉาปกโต กหุ โก ลทุ โฺ ธ โอทรโิ ก ลาภกาโม
ยสกาโม กติ ฺตกิ าโม อยุตฺโต อปฺปตโฺ ต อนนุจฺฉวิโก อนรโห อปปฺ ตริ โู ป ธุตงคฺ ํ สมาทยิ ต,ิ
โส ทิคณุ ํ ทณฺฑมาปชชฺ ติ, สพฺพคุณฆาตมาปชชฺ ต,ิ ทฏิ ฺ ธมมฺ ิก ํ หีฬนํ ขีฬน ํ ครหน ํ
อุปฺปณฑฺ น ํ ขิปนํ อสมฺโภคํ นสิ สฺ ารณ ํ นิจฉฺ ภุ นํ ปวาหน ํ ปพพฺ าชน ํ ปฏิลภต,ิ สมฺปราเยป ิ
สตโยชนิเก อวีจิมหานริ เย อณุ หฺ ก ติ ตตฺตสนฺตตฺตอจฺจชิ าลามาลเก อเนกวสฺสโกฏิสต-
สหสสฺ านิ อทุ ธฺ มโธ ตริ ิย ํ เผณุทฺเทหกํ สมฺปรวิ ตตฺ ก ํ ปจฺจติ, ตโต มจุ ฺจติ วฺ า กสิ ผรสุ -
กาฬงฺคปจจฺ งโฺ ค สนู ุทธฺ ุมาตสสุ ิรตุ ฺตมงโฺ ค ฉาโต ปปิ าสิโต วสิ มภมี รูปวณฺโณ ภคฺคกณณฺ -
โสโต อุมมฺ ลี ิตนิมีลติ เนตฺตนยโน อรคุ ตฺตปกกฺ คตฺโต ปฬุ วากณิ ฺณสพพฺ กาโย วาตมเุ ข
ชลมาโน วยิ อคคฺ ิกขฺ นโฺ ธ อนโฺ ต ชลมาโน ปชชฺ ลมาโน อตาโณ อสรโณ อารณุ ณฺ รุณฺณ-
การุ ฺ รว ํ ปริเทวมาโน นชิ ฺฌามตณหฺ โิ ก สมณมหาเปโต หตุ วฺ า อาหณิ ฺฑมาโน มหิยา
อฏฺฏสสฺ ร ํ กโรติ ฯ
ขอถวายพระพร บุคคลใดเป็นคนปรารถนาลามก มกั อยาก หลอกลวง ขี้โลภ เหน็ แก่
ปากท้อง หวงั ลาภ หวงั ยศ หวงั ชือ่ เสยี ง เปน็ คนใช้ไม่ได้ เป็นคนท่ีใคร ๆ ไม่ควรข้องแวะ เปน็
คนไม่เหมาะ ไมส่ มควร ไมเ่ หมาะสม สมาทานธดุ งค์ บคุ คลน้ัน จะได้รบั โทษทัณฑ์ถงึ ๒ เทา่
จะถงึ ความหายนะแหง่ คุณท้งั ปวง คือจะได้รบั การดูหมน่ิ การรังเกียจ การติเตียน การเยาะ
เย้ย การขวา้ งปา การทีใ่ คร ๆ ไมค่ บหา การเสอื กไส การทอดทิง้ การขบั ไล่ อนั มไี ด้ในอตั ภาพ
นี้ แม้ในภพตอ่ ไป กจ็ ะหมกไหมอ้ ยู่ในอเวจีมหานรกหมุนควา้ งไปในเบือ้ งบนเบอ้ื งขวาง เดือด

332 มลิ นิ ทปัญหาปกรณแ์ ปล [๕.อนุมานปัญห

เปน็ ฟองอยูเ่ บือ้ งบนในกลมุ่ เปลวไฟทรี่ อ้ นที่แผดเผารุนแรง ซง่ึ สูงถงึ ๑๐๐ โยชน์ ตลอดเวลา
หลายแสนโกฏิปี พ้นจากอเวจมี หานรกนน้ั แล้ว ก็มาเกิดเป็นสมณมหาเปรต เป็นประเภท
นชิ ฌามตัณหิกเปรต ผูม้ ีอวยั วะนอ้ ยใหญผ่ า่ ยผอม กรา้ นด�ำ มีศรีษะเบ่งบวมโหว่กลวง เอาแต่
หวิ เอาแตก่ ระหาย มีผิวพรรณแหง่ รูปกายตะปมุ่ ตะป่ำ� น่ากลัว หูขาด จมูกแหว่ง มีนัยนต์ าเบกิ
โพลง มแี ผลท้งั ตัว ทรดุ โทรมไปทว่ั ทัง้ ร่างกาย รา่ งกายทุกส่วนอาเกยี รณด์ ้วยหนอน ภายใน
กายมไี ฟลุกโพลง เหมือนกองไฟทีอ่ ยู่หน้าลม ไม่มที เ่ี ร้น ไม่มที ี่พ่ึง ส่งเสยี งคร่�ำครวญน่ากรณุ า
สงสาร เท่ียวสง่ เสียงโอดโอยไปบนแผน่ ดิน
‘‘ยถา มหาราช โกจิ อยุตโฺ ต อปปฺ ตฺโต อนนจุ ฺฉวโิ ก อนรโห อปปฺ ตริ ูโป หีโน
กชุ าตโิ ก ขตฺตยิ าภิเสเกน อภสิ ิ จฺ ติ, โส ลภติ หตถฺ จเฺ ฉทํ ปาทจเฺ ฉท ํ หตถฺ ปาทจเฺ ฉท ํ
กณณฺ จฺเฉท ํ นาสจฺเฉทํ กณฺณนาสจเฺ ฉท ํ พลิ งคฺ ถาลิกํ สงขฺ มณุ ฺฑกิ ํ ราหุมุขํ โชตมิ าลกิ ํ
หตถฺ ปชโฺ ชตกิ ํ เอรกวตตฺ กิ ํ จรี กวาสกิ ํ เอเณยฺยกํ พฬิสมสํ ิก ํ กหาปณกํ ขาราปตจฺฉิกํ
ปลิฆปริวตฺติกํ ปลาลปี ก ํ ตตฺเตน เตเลน โอส ิ จฺ นํ สุนเขหิ ขาทาปนํ ชวี สลู าโรปน ํ อสนิ า
สีสจฺเฉท ํ อเนกวหิ ติ มฺปิ กมมฺ การณํ อนภุ วติ ฯ กึการณา ? อยุตฺโต อปฺปตฺโต อนนจุ ฉฺ วโิ ก
อนรโห อปฺปติรโู ป หีโน กุชาติโก มหนฺเต อิสสฺ รเิ ย าเน อตตฺ านํ เปส,ิ เวล ํ ฆาเตส,ิ
เอวเมว โข มหาราช โย โกจิ ปุคฺคโล ปาปจิ ฺโฉ…เป.… มหยิ า อฏฺฏสฺสร ํ กโรติ ฯ
ขอถวายพระพร เปรยี บเหมือนว่า บุคคลบางคน ซ่งึ เป็นคนท่ใี ชไ้ ม่ได้ เป็นคนท่ใี คร ๆ
ไม่ควรข้องแวะ เปน็ คนไมเ่ หมาะ ไม่ควร ไม่สมควร เป็นคนเลว มชี าตติ ระกลู ตำ�่ ทราม ได้
อภเิ ษกโดยขัตตยิ าภิเษก บคุ คลนัน้ ยอ่ มได้รับการตดั มือ การตดั เทา้ การตัดทงั้ มอื ทง้ั เทา้ การ
ตัดหู การตัดจมกู การตัดท้งั หทู ้งั จมกู การท�ำพลิ ังคถาลกิ (ท�ำให้เป็นภาชนะใสน่ ำ้� สม้ ) การ
ถลกหนงั หวั แล้วขดั ใหข้ าวเหมือนสงั ข์ การท�ำปากราหู การท�ำมาลัยเปลวไฟสอ่ งสว่าง การท�ำ
มือส่องแสง การนุง่ ผา้ แกะ การนุ่งผา้ เปลือกปอ การท�ำใหเ้ ปน็ เน้ือทราย การตกเบด็ การตดั
เนอ้ื เป็นชิ้น ๆ ขนาดเท่าเหรียญ การรดน�ำ้ แสบ การตอกลิ่ม การท�ำตั่งฟาง การใชน้ ้�ำมนั เดอื ด
ๆ ราดรด การใชส้ นุ ขั ให้ขบกดั การเสียบอยบู่ นปลายหลาวท้ังเปน็ การใช้ดาบตัดศรี ษะ ย่อม
ไดร้ ับการลงทณั ฑม์ ากมายหลายประการ ถามวา่ เพราะเหตไุ ร ? ตอบว่า เพราะเปน็ คนทใี่ ช้ไม่
ได้ เปน็ คนที่ใคร ๆ ไมค่ วรขอ้ งแวะ เป็นคนไมเ่ หมาะ ไม่ควร ไม่สมควร เปน็ คนเลว มีชาติ
ตระกูลต�ำ่ ทราม ต้งั ตนไวใ้ นต�ำแหน่งท่ยี ิ่งใหญ่ หวังได้วา่ จะถูกก�ำจัดตลอดเวลา ฉนั ใด ขอ
ถวายพระพร บคุ คลใดบคุ คลหนึ่งเปน็ คนปรารถนาลามก ฯลฯ เท่ยี วสง่ เสียงรอ้ งโอดโอยไปบน
แผน่ ดนิ ฉันนั้นเหมอื นกนั

กณั ฑ์] อนมุ านปัญหกัณฑ์ 333

‘‘โย ปน มหาราช ปุคฺคโล ยุตฺโต ปตฺโต อนุจฺฉวิโก อรโห ปติรโู ป อปฺปจิ โฺ ฉ
สนตฺ ุฏโฺ ปวิวิตโฺ ต อสํสฏโฺ อารทธฺ วรี โิ ย ปหิตตโฺ ต อสโ อมาโย อโนทริโก อลาภกาโม
อยสกาโม อกติ ฺติกาโม สทโฺ ธ สทธฺ าปพพฺ ชิโต ชรามรณา มุจฺจติ ุกาโม ‘สาสน ํ
ปคคฺ ณหฺ ิสสฺ าม’ี ติ ธุตงคฺ ํ สมาทยิ ติ, โส ทิคุณํ ปชู ํ อรหต ิ เทวาน ฺจ ปโิ ย โหต ิ มนาโป
ปหิ ยโิ ต ปตฺถโิ ต, ชาตสิ ุมนมลลฺ กิ าทีน ํ วิย ปุปผฺ ํ นหาตานลุ ิตตฺ สฺส, ชฆิ จฉฺ ติ สฺส วิย ปณีต-
โภชนํ, ปิปาสิตสสฺ วยิ สตี ลวมิ ลสุรภิปานีย,ํ วสิ คตสฺส วิย โอสธวรํ, สฆี คมนกามสฺส วยิ
อาช ฺ รถวรุตตฺ ม,ํ อตถฺ กามสสฺ วิย มโนหรมณิรตน,ํ อภสิ ิ ฺจิตุกามสฺส วยิ ปณฑฺ รวิมล-
เสตจฺฉตฺตํ, ธมมฺ กามสฺส วยิ อรหตฺตผลาธิคมมนตุ ฺตรํ ฯ ตสสฺ จตตฺ าโร สติปฏฺ านา
ภาวนาปารปิ ูรึ คจฉฺ นตฺ ิ, จตตฺ าโร สมฺมปปฺ ธานา จตฺตาโร อทิ ธฺ ปิ าทา ป จฺ นิ ทฺ รฺ ยิ าน ิ ป จฺ
พลาน ิ สตตฺ โพชฺฌงคฺ า อริโย อฏ ฺ งฺคิโก มคโฺ ค ภาวนาปาริปรู ึ คจฉฺ ต,ิ สมถวปิ สฺสนา
อธคิ จฉฺ ต,ิ อธิคมปฺปฏปิ ตตฺ ิ ปรณิ มต,ิ จตฺตาร ิ สาม ฺ ผลานิ จตสโฺ ส ปฏสิ มภฺ ทิ า ตสิ โฺ ส
วิชชฺ า ฉฬภิ ฺ า เกวโล จ สมณธมโฺ ม สพฺเพ ตสสฺ าเธยฺยา โหนฺติ, วมิ ตุ ฺติปณฺฑรวิมล-
เสตจฺฉตเฺ ตน อภิส ิ จฺ ติ ฯ
ขอถวายพระพร สว่ นว่า บุคคลใด เป็นคนใชไ้ ด้ เป็นคนทีใ่ คร ๆ ควรขอ้ งแวะ เปน็ คน
เหมาะควร สมควร มักน้อย สันโดษ สงดั ไมค่ ลกุ คลี ปรารภความเพียร มีใจเด็ดเดย่ี ว ไม่
เสแสรง้ ไม่หลอกลวง ไมเ่ หน็ แกป่ ากทอ้ ง ไม่หวงั ลาภ ไม่หวังยศ ไมห่ วงั ชื่อเสียง มศี รทั ธา
บวชดว้ ยศรทั ธา เป็นผู้ใครจ่ ะพ้นจากชราและมรณะ คดิ วา่ ‘เราจกั ประคบั ประคองพระศาสนา
แล้วสมาทานธดุ งค์ บคุ คลผนู้ ัน้ ย่อมควรซงึ่ การบชู าเป็น ๒ เทา่ และยอ่ มเปน็ ทรี่ ัก ทน่ี ่าชอบใจ
นา่ ประทับใจ นา่ ปรารถนาของเทวดาท้ังหลาย ดจุ ดอกมะลิและดอกมลั ลิกาเป็นต้น เปน็ ทน่ี ่า
ปรารถนาแห่งคนทีอ่ าบน้ำ� ลบู ไลก้ ายแล้ว ดุจโภชนะประณีต เป็นทนี่ า่ ปรารถนาแหง่ คนท่กี �ำลัง
หิว ดุจน�ำ้ ดืม่ ทเ่ี ยน็ สะอาดมีรสดี เปน็ ท่นี า่ ปรารถนาแหง่ คนผกู้ �ำลงั กระหาย ดจุ โอสถประเสรฐิ
เปน็ ที่น่าปรารถนาแหง่ คนผู้ตอ้ งยาพิษ ดจุ รถเทียมม้าอาชาไนยทีป่ ระเสริฐ ยอดเย่ยี ม เป็นที่
น่าปรารถนาแหง่ บคุ คลผตู้ ้องการจะไปโดยเร็ว ดุจแกว้ มณที น่ี า่ จับใจ เปน็ ทน่ี ่าปรารถนาแห่ง
บุคคลผหู้ วังจะได้ประโยชน์ ดุจเศวตฉัตรขาวสะอาดปราศจากมลทนิ เปน็ ที่นา่ ปรารถนาแห่ง
บุคคลผหู้ วังจะได้การอภเิ ษก ดุจการบรรลพุ ระอรหัตตผลอันยอดเยยี่ ม เปน็ ทีน่ า่ ปรารถนา
แห่งคนผ้ใู ครธ่ รรม ส�ำหรับคนผู้นั้น สติปฏั ฐาน ๔ ย่อมถึงความเจรญิ เต็มท่ี สัมมัปปธาน ๔
อทิ ธิบาท ๔ อินทรยี ์ ๕ พละ ๕ โพชฌงค์ ๗ อรยิ มรรคมอี งค์ ๘ ยอ่ มถงึ ความเจรญิ เต็มที่ สมถะ
และวิปสั สนา ก็ย่อมจะบรรลุได้ การปฏิบตั ิเพือ่ บรรลุ กย็ ่อมแก่กล้า สามัญญผล ๔ ปฏิสัมภิทา


Click to View FlipBook Version