The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

มิลินทปัญหาปกรณ์แปล เล่ม ๒ ถาม-ตอบปัญหาในพระไตรปิฎก

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ืทีมงานกรุธรรม, 2022-03-09 22:17:47

มิลินทปัญหาปกรณ์แปล เล่ม ๒ ถาม-ตอบปัญหาในพระไตรปิฎก

มิลินทปัญหาปกรณ์แปล เล่ม ๒ ถาม-ตอบปัญหาในพระไตรปิฎก

Keywords: มิลินทปัญหาปกรณ์แปล เล่ม ๒ ถาม-ตอบปัญหาในพระไตรปิฎก

84 มลิ นิ ทปญั หาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปญั ห

พระสพั พัญญุตญาณ เพ่ือโปรดชนหมู่ใหญ่ แต่พอพระองค์ทรงบรรลพุ ระสัพพญั ญุตญาณแล้ว
กก็ ลบั ทรงทอ้ แทพ้ ระทัยในอนั จะแสดงธรรมไปเสีย ฉนั นัน้
‘‘กินฺนุ โข ภนเฺ ต นาคเสน ตถาคเตน ภยา โอสกกฺ ติ ํ อทุ าหุ อปากฏตาย โอสกฺกิตํ
อุทาหุ ทพุ พฺ ลตาย โอสกฺกิตํ อทุ าห ุ อสพฺพ ฺ ตุ าย โอสกกฺ ติ ํ, ก ึ ตตฺถ การณ,ํ องิ ฺฆ เม
ตวฺ ํ การณํ พฺรหู ิ กงฺขาวิตรณาย ฯ ยทิ ภนฺเต นาคเสน ตถาคเตน จตหู ิ จ อสงฺขเฺ ยยเฺ ยหิ
กปฺปาน ํ สตสหสเฺ สน จ เอตฺถนฺตเร สพพฺ ฺ ตุ าณํ ปริปาจติ ํ มหโต ชนกายสสฺ
สมทุ ฺธรณาย, เตนหิ ‘สพฺพ ฺ ุตํ ปตตฺ สสฺ อปโฺ ปสฺสกุ กฺ ตาย จิตฺตํ นม,ิ โน ธมมฺ เทสนายา’ติ
ย ํ วจนํ, ตํ มิจฉฺ า ฯ ยท ิ สพฺพ ฺ ุต ํ ปตตฺ สสฺ อปฺโปสสฺ ุกกฺ ตาย จติ ฺตํ นม ิ โน ธมมฺ เทสนาย,
เตนหิ ‘ตถาคเตน จตหู ิ จ อสงฺขเฺ ยยเฺ ยหิ กปปฺ าน ํ สตสหสเฺ สน จ เอตถฺ นตฺ เร
สพฺพ ฺ ุต าณํ ปริปาจิต ํ มหโต ชนกายสฺส สมุทธฺ รณายา’ต ิ ตมฺปิ วจน ํ มจิ ฉฺ า ฯ อยมปฺ ิ
อภุ โต โกฏโิ ก ป โฺ ห คมภฺ โี ร ทุนนฺ ิพฺเพโ ตวานุปฺปตฺโต, โส ตยา นพิ พฺ าหิตพฺโพ’’ติ ฯ
พระคุณเจ้านาคเสน พระตถาคตทรงทอ้ แทพ้ ระทยั เพราะทรงกลวั หรือหนอ หรือว่า
ทรงท้อแทพ้ ระทยั เพราะไม่ทรงประสงค์จะปรากฏตวั หรือว่าทรงทอ้ แท้พระทัย เพราะทรง
อ่อนแอ หรอื วา่ ทรงทอ้ แท้พระทัย เพราะทรงหาความเป็นพระสัพพัญญมู ิไดเ้ ล่า เหตผุ ลใน
เร่ืองนนั้ คืออะไร นมิ นต์ท่านจงชว่ ยบอกเหตุผล เพื่อขา้ มความสงสยั เถดิ พระคณุ เจ้านาคเสน
ถ้าหากว่า พระตถาคตทรงใช้เวลาในระหว่าง ๔ อสงไขยกับอีกแสนกัป บม่ พระสัพพัญญตุ -
ญาณ เพ่อื โปรดชนหมใู่ หญ่ จรงิ ไซร้ ถา้ อย่างนั้น ค�ำที่วา่ เพื่อทรงบรรลุพระสัพพัญญตุ ญาณ
แล้ว กท็ รงน้อมพระทัยไปเพือ่ ความขวนขวายน้อย ไม่ใช่เพอื่ แสดงธรรม ดงั นี้ ก็ย่อมเป็นค�ำท่ี
ผิด ถ้าหากวา่ เม่อื ทรงบรรลพุ ระสัพพญั ญุตญาณแล้ว ก็ทรงนอ้ มพระทยั ไปเพ่ือความ
ขวนขวายนอ้ ย ไมใ่ ชเ่ พื่อการแสดงธรรม จรงิ ไซร้ ถา้ อย่างนั้น ค�ำท่ีวา่ พระตถาคตทรงใช้เวลา
ในระหวา่ ง ๔ อสงไขยกบั อกี แสนกปั บม่ พระสพั พญั ญตุ ญาณ เพ่ือโปรดชนหมใู่ หญ่ ดงั น้ี ก็
ยอ่ มเป็นค�ำท่ผี ดิ ปญั หาแม้ข้อนี้ ก็มี ๒ เงื่อน ลึกซง้ึ คลค่ี ลายได้ยาก ตกถงึ แกท่ ่านแลว้ โดย
ล�ำดับ ขอทา่ นพงึ คลคี่ ลายปัญหาน้นั เถิด”
‘‘ปรปิ าจติ ฺจ มหาราช ตถาคเตน จตูหิ จ อสงฺขเฺ ยยเฺ ยห ิ กปฺปาน ํ สตสหสฺเสน จ
เอตฺถนตฺ เร สพพฺ ฺ ุต าณํ มหโต ชนกายสสฺ สมุทฺธรณาย, ปตฺตสพฺพ ฺ ุตสฺส จ
อปฺโปสฺสกุ กฺ ตาย จติ ตฺ ํ นม,ิ โน ธมมฺ เทสนาย ฯ ต จฺ ปน ธมฺมสสฺ คมภฺ ีรนปิ ณุ ททุ ฺทส-
ทุรนโุ พธสุขุมทุปปฺ ฏเิ วธตํ สตตฺ าน จฺ อาลยารามตํ สกฺกายทิฏฺ ยิ า ทฬฺหสคุ ฺคหิตต ฺจ

กณั ฑ์] ๔.๕ สนั ถววรรค 85

ทิสฺวา ‘กินนฺ ุ โข กถ ํ น ุ โข’ติ อปโฺ ปสฺสุกฺกตาย จติ ฺตํ นม,ิ โน ธมฺมเทสนาย, สตตฺ าน ํ
ปฏิเวธจนิ ตฺ นมานสํ เยเวตํ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร พระตถาคตทรงใช้เวลาใน
ระหว่าง ๔ อสงไขยกับอกี แสนกปั บ่มพระสพั พญั ญตุ ญาณ เพ่อื โปรดชนหม่ใู หญ่ จริง และเมอื่
ทรงบรรลุพระสพั พัญญตุ ญาณแล้ว ก็น้อมพระทัยไปเพื่อความขวนขวายน้อย ไมใ่ ช่เพอื่ แสดง
ธรรม นนั้ เพราะทรงเล็งเหน็ ความท่ีธรรมเป็นของลึกซง้ึ ละเอียดออ่ น เห็นได้ยาก รูต้ ามได้
ยาก สขุ มุ แทงตลอดไดย้ าก เล็งเห็น ความทส่ี ตั ว์ท้ังหลายเป็นผู้ยนิ ดใี นอาลัย และยดึ ถือ
สกั กายทฏิ ฐมิ น่ั คงนัก แล้วกท็ รงเกิดพระปรวิ ิตกวา่ เราจะท�ำอะไรดีหนอ เราจะท�ำอย่างไรดี
หนอ ดังน้ี แล้วก็ทรงนอ้ มพระทัยไปเพือ่ ความขวนขวายน้อย ไม่ใชเ่ พื่อแสดงธรรม ข้อนี้ จดั ว่า
เป็นพระทัยท่ีคิดค�ำนงึ ถงึ การแทงตลอดของสัตว์ทัง้ หลาย
‘‘ยถา มหาราช ภิสกโฺ ก สลฺลกตโฺ ต อเนกพฺยาธิปริปฬี ติ ํ นรํ อปุ สงกฺ มิตวฺ า เอวํ
จนิ ฺตยต ิ ‘เกน น ุ โข อุปกกฺ เมน กตเมน วา เภสชฺเชน อมิ สฺส พยฺ าธิ วปู สเมยฺยา’ต,ิ
เอวเมว โข มหาราช ตถาคตสฺส สพพฺ กเิ ลสพฺยาธิปรปิ ีฬิตํ ชน ํ ธมฺมสสฺ จ คมฺภรี นปิ ณุ -
ทุทฺทสทุรนโุ พธสุขุมทปุ ฺปฏิเวธต ํ ทสิ วฺ า ‘กินฺน ุ โข กถ ํ นุ โข’ต ิ อปฺโปสฺสุกฺกตาย จติ ตฺ ํ นมิ,
โน ธมมฺ เทสนาย, สตตฺ าน ํ ปฏิเวธจินฺตนมานสํ เยเวตํ ฯ
ขอถวายพระพร เปรยี บเหมอื นว่า หมอผา่ ตดั เขา้ ไปหาคนท่ีถูกโรคหลายอย่างบีบคัน้
แล้ว ก็คิดอย่างน้ี จะใช้วิธีรกั ษาอยา่ งไหนไดห้ นอ หรอื ว่า จะใช้ยาอะไรเล่าหนอ คนผู้นี้ จึงจะ
หายเจบ็ ป่วยได้ ดงั นี้ ฉันใด ขอถวายพระพร พระตถาคตทรงเลง็ เหน็ ชนผถู้ ูกโรคคือกเิ ลสทง้ั
ปวงบีบคัน้ และทรงเห็นว่าพระธรรมเปน็ ของลกึ ซง้ึ ละเอียดอ่อน เหน็ ไดย้ าก รู้ตามไดย้ าก
สุขมุ แทงตลอดได้ยาก แลว้ ก็ทรงด�ำรอิ ยา่ งนี้ว่า เราจะท�ำอะไรดหี นอ เราจะท�ำอยา่ งไรดีหนอ
ดงั น้ี แลว้ ทรงนอ้ มพระทยั ไปเพ่อื ความขวนขวายน้อย ไมใ่ ช่เพือ่ แสดงธรรม ฉนั น้ันเหมอื นกัน
ข้อน้จี ัดว่าเปน็ พระทัยทีค่ ดิ ค�ำนงึ ถึงการแทงตลอดของสัตว์ท้งั หลาย
‘‘ยถา มหาราช ร ฺโ ขตตฺ ยิ สสฺ มุทธฺ าวสิตฺตสฺส โทวารกิ อนีกฏ ฺ ปาริสชฺชเนคม-
ภฏพลอมจจฺ ราช ฺ ราชปู ชีวิเน ชเน ทิสวฺ า เอวํ จิตฺตมปุ ปฺ ชเฺ ชยยฺ ‘กินนฺ ุ โข กถํ นุ โข
อิเม สงคฺ ณฺหสิ ฺสามี’ติ, เอวเมว โข มหาราช ตถาคตสสฺ ธมฺมสฺส คมฺภรี นปิ ณุ ทุททฺ ส-
ทุรนุโพธสุขุมทุปฺปฏเิ วธต ํ สตฺตาน ฺจ อาลยารามต ํ สกฺกายทฏิ ฺ ิยา ทฬหฺ สคุ คฺ หติ ต ฺจ
ทสิ ฺวา ‘กินนฺ ุ โข กถ ํ นุ โข’ต ิ อปโฺ ปสฺสกุ กฺ ตาย จิตตฺ ํ นม,ิ โน ธมฺมเทสนาย, สตฺตานํ

86 มิลินทปญั หาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปัญห

ปฏิเวธจนิ ตฺ นมานสํ เยเวตํ ฯ
ขอถวายพระพร เปรยี บเหมือนว่า ขัตติยราชาผูท้ รงได้มูรธาภเิ ษก ทรงเหน็ ชนท้ัง
หลาย คอื คนเฝา้ ประตู ทหารยาม ชาวบรษิ ัท ชาวนคิ ม ลกู จ้าง ไพร่พล อ�ำมาตย์ ขุนนาง
ข้าราชการ แลว้ ก็ทรงเกดิ พระทยั คิดอยา่ งน้ีว่า เราจะท�ำอะไรดหี นอ เราจะชว่ ยเหลอื คนเหลา่ นี้
อยา่ งไรดีหนอ ดงั น้ี ฉนั ใด ขอถวายพระพร พระตถาคตทรงเล็งเหน็ ความทธี่ รรมเป็นของลกึ
ซึ้ง ละเอยี ดอ่อน เห็นไดย้ าก ร้ตู ามไดย้ าก สุขมุ แทงตลอดไดย้ าก เลง็ เหน็ ความทีส่ ัตว์ทั้งหลาย
เป็นผยู้ ินดีในอาลัย และยดึ ถือสกั กายทฏิ ฐมิ ัน่ คงนกั ก็ทรงเกดิ พระปรวิ ิตกวา่ เราจะท�ำอะไรดี
หนอ เราจะท�ำอยา่ งไรหนอ ดงั น้ีแล้ว ก็ทรงนอ้ มพระทยั ไปเพ่ือความขวนขวายน้อย ไมใ่ ช่เพอ่ื
แสดงธรรม ฉันนน้ั เหมอื นกัน ขอ้ นี้จัดวา่ เปน็ พระทัยท่ีคดิ ค�ำนึงถึงการแทงตลอดธรรมของสัตว์
ทง้ั หลาย
‘‘อปจิ มหาราช สพเฺ พส ํ ตถาคตานํ ธมฺมตา เอสา, ย ํ พรฺ หฺมุนา อายาจติ า ธมฺม ํ
เทเสนฺติ ฯ ตตถฺ ปน ก ึ การณํ ? เย เตน สมเยน มนสุ ฺสา ตาปสปรพิ พฺ าชกา สมณ-
พรฺ าหมฺ ณา, สพเฺ พเต พฺรหมฺ เทวตา โหนฺติ พฺรหมฺ ครกุ า พฺรหมฺ ปรายณา, ตสมฺ า ตสฺส
พลวโต ยสวโต าตสสฺ ป ฺ าตสสฺ อุตฺตรสฺส อจฺจคุ ฺคตสสฺ โอนมเนน สเทวโก โลโก
โอนมิสฺสต ิ โอกปเฺ ปสสฺ ติ อธิมจุ ฺจสิ สฺ ตตี ิ อมิ นิ า จ มหาราช การเณน ตถาคตา พฺรหฺมนุ า
อายาจิตา ธมฺมํ เทเสนตฺ ิ ฯ
ขอถวายพระพรมหาบพิตร อีกอยา่ งหนึ่ง ข้อท่ีพระพรหมจะต้องทูลขอรอ้ งใหท้ รง
แสดงธรรม เป็นธรรมดาส�ำหรับพระตถาคตทกุ พระองค์ ก็ในขอ้ ที่ว่านั้น มเี หตผุ ลอะไรอยูเ่ ลา่
ในสมัยน้นั พวกคนทว่ั ไปทั้งหลาย ดาบสปรพิ พาชก พวกสมณะและพราหมณท์ ้ังหลาย ลว้ น
เป็นผ้เู ทิดทนู พระพรหม เคารพพระพรหม นับถือพระพรหมไว้เบ้อื งหนา้ เพราะเหตุทพี่ ระ
พรหมทูลขอร้องให้ทรงแสดงธรรมน้นั ชาวโลกพรอ้ มทั้งเทวดา จกั นอบน้อม ปลงใจเชอื่ น้อม
ใจเชื่อ ด้วยความนอบน้อมต่อพระตถาคต ผ้มู ีพลานุภาพ มพี ระอสิ สริยยศ ผู้มีญาณ มีปญั ญา
ผูย้ อดเยีย่ ม สูงสง่ พระองคน์ นั้ ขอถวายพระพร พระพรหมทลู ขอรอ้ งให้พระตถาคตทรงแสดง
ธรรม ก็ดว้ ยเหตุผลดังกล่าวมากระน้ี
‘‘ยถา มหาราช โกจิ ราชา วา ราชมหามตโฺ ต วา ยสฺส โอนมต ิ อปจติ ึ กโรต,ิ
พลวตรสฺส ตสสฺ โอนมเนน อวเสสา ชนตา โอนมต ิ อปจติ ึ กโรติ, เอวเมว โข มหาราช
พรฺ หเฺ ม โอนมเิ ต ตถาคตาน ํ สเทวโก โลโก โอนมิสฺสติ, ปชู ติ ปชู โก มหาราช โลโก,

กัณฑ์] ๔.๕ สันถววรรค 87

ตสมฺ า โส พรฺ หฺมา สพเฺ พสํ ตถาคตาน ํ อายาจต ิ ธมฺมเทสนาย, เตน จ การเณน
ตถาคตา พฺรหฺมนุ า อายาจติ า ธมฺม ํ เทเสนตฺ ี’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร เปรียบเหมือนว่า พระราชา หรอื ราชมหาอ�ำมาตย์บางคน ย่อม
นอบนอ้ ม กระท�ำความย�ำเกรงตอ่ บคุ คลใด หมชู่ นท่เี หลือกย็ อ่ มนอบน้อม กระท�ำความย�ำเกรง
ดว้ ยความนอบน้อม ต่อบุคคลผู้มีพลานุภาพยงิ่ กวา่ ผ้นู น้ั ฉนั ใด ขอถวายพระพร เม่ือพระ
พรหมนอบนอ้ ม ชาวโลกพร้อมทั้งเทวดา ก็จักนอบน้อม ต่อพระตถาคต ฉนั นนั้ เหมือนกนั ขอ
ถวายพระพร ชาวโลกย่อมบชู าผทู้ ี่พระพรหมบูชา เพราะฉะน้ัน พระพรหมน้นั จงึ ทูลขอร้อง
พระตถาคตทุกพระองค์ เพอ่ื ใหท้ รงแสดงธรรม เพราะเหตุนนั้ นนั่ แหละ พระตถาคตถูกพระ
พรหมทูลขอร้องแล้ว จงึ ทรงแสดงธรรม

‘‘สาธุ ภนฺเต นาคเสน สุนพิ ฺเพ โิ ต ป โฺ ห, อตภิ ทรฺ กํ เวยยฺ ากรณ,ํ เอวเมต ํ ตถา
สมฺปฏิจฺฉาม’ี ’ติ ฯ
พระเจ้ามิลนิ ทต์ รัสวา่ “ดีจรงิ พระคณุ เจา้ นาคเสน ท่านคลค่ี ลายปัญหาไดด้ ีแลว้ เป็นค�ำ
กล่าวเฉลยท่งี ดงามยิง่ โยมขอยอมรบั ค�ำตามท่ีทา่ นกล่าวมาน”้ี

ธมฺมเทสนาย อปฺโปสสฺ ุกกฺ ปญฺโห ทสโม ฯ
จบธมั มเทสนายอปั โปสสุกกปญั หาขอ้ ที่ ๑๐

สนถฺ ววคฺโค ปญจฺ โม ฯ
จบสันถววรรคที่ ๕

อมิ สมฺ ึ วคฺเค ทส ปญหฺ า ฯ
ในวรรคนมี้ ีปญั หา ๑๐ ขอ้
________

88 มิลนิ ทปัญหาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปญั ห

๔.๖ อาจรยิ านาจริยวคฺค
๔.๖ อาจรยิ านาจรยิ วรรค หมวดว่าดว้ ยความเป็นผ้มู อี าจารย์หรอื ไมม่ ีอาจารย์

๑. อาจรยิ านาจริยปญหฺ

๑. อาจริยานาจรยิ ปัญหา

ปญั หาวา่ ด้วยความเป็นผ้มู ีอาจารยห์ รือไมม่ อี าจารย์

[๑] ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน ภาสิตมฺเปต ํ ภควตา –
‘‘น เม อาจรโิ ย อตถฺ ิ สทโิ ส เม น วชิ ฺชติ
สเทวกสมฺ ึ โลกสมฺ ึ นตฺถิ เม ปฏปิ คุ ฺคโล’ติ ฯ
[๑] พระเจา้ มลิ นิ ทต์ รัสว่า “พระคุณเจา้ นาคเสน พระผู้มพี ระภาคเจา้ ทรงภาษติ ความ
ขอ้ นีไ้ ว้ว่า
“เราไม่มอี าจารย์ เราไมม่ ผี เู้ สมอเหมอื นกับเรา ไม่มผี ู้ทดั เทียม
ในโลกกับทัง้ เทวโลก” ดังนี้

‘‘ปุน จ ภณิต ํ ‘อติ ิ โข ภิกฺขเว อาฬาโร กาลาโม อาจริโย เม สมาโน อนฺเตวาสึ
ม ํ สมานํ อตฺตนา สมสม ํ เปส,ิ อุฬาราย จ ม ํ ปูชาย ปูเชส’ี ติ ฯ
และยงั ตรสั ไวอ้ กี ว่า ‘ภกิ ษุทั้งหลาย อาฬารดาบส กาลามโคตร ท้งั ท่ีเปน็ อาจารย์ของ
เรา กย็ กยอ่ งเราผ้เู ปน็ ศษิ ยใ์ ห้เสมอกบั ตน และบูชาเราดว้ ยการบูชาอย่างดี ดว้ ยประการอย่าง
น้’ี ดังนี้

ยท ิ ภนฺเต นาคเสน ตถาคเตน ภณิตํ ‘น เม อาจรโิ ย อตถฺ ิ สทิโส เม น
วิชฺชติ ฯ สเทวกสฺมึ โลกสมฺ ึ นตฺถ ิ เม ปฏิปุคคฺ โล’ต,ิ เตนหิ ‘อติ ิ โข ภิกฺขเว อาฬาโร
กาลาโม อาจริโย เม สมาโน อนฺเตวาส ึ ม ํ สมาน ํ อตฺตนา สมสม ํ เปส’ี ต ิ ยํ วจนํ, ตํ
มจิ ฺฉา ฯ ยทิ ตถาคเตน ภณติ ํ ‘อติ ิ โข ภกิ ขฺ เว อาฬาโร กาลาโม อาจริโย เม สมาโน
อนฺเตวาส ึ ม ํ สมาน ํ อตตฺ นา สมสม ํ เปสี’ติ, เตนห ิ ‘น เม อาจริโย อตถฺ ิ สทิโส เม น
วชิ ชฺ ติ ฯ สเทวกสฺม ึ โลกสมฺ ,ึ นตฺถิ เม ปฏปิ ุคฺคโล’ติ ตมปฺ ิ วจน ํ มจิ ฉฺ า ฯ อยมปฺ ิ อุภโต
โกฏโิ ก ป ฺโห ตวานุปฺปตโฺ ต, โส ตยา นิพฺพาหิตพโฺ พ’’ติ ฯ
พระคุณเจ้านาคเสน ถา้ หากว่า พระตถาคตตรสั ไวว้ า่ เราไม่มีอาจารย์ เราไม่มีผเู้ สมอ
เหมือน เราไม่มผี ทู้ ดั เทียมในโลกกับท้ังเทวโลก ดังน้ี จรงิ ไซร้ ถา้ อย่างนั้น ค�ำท่ีตรสั ไวว้ า่ ภิกษุ

กัณฑ]์ ๔.๖ อาจริยานาจริยวรรค 89

ทัง้ หลาย อาฬารดาบส กาลามโคตรทง้ั ที่เป็นอาจารย์ของเรา กย็ กยอ่ งเราผเู้ ป็นศิษย์ให้เสมอ
กบั ตน ดงั นี้ ก็ยอ่ มเปน็ ค�ำทผ่ี ดิ ถ้าหากวา่ พระตถาคตตรัสไวว้ า่ ภิกษุทงั้ หลาย ท่านอาฬา
รดาบส กาลามโคตร ทัง้ ทีเ่ ป็นอาจารยข์ องเรา ก็ยกยอ่ งเราผเู้ ปน็ ศษิ ย์ใหเ้ สมอกับตน ดังน้ี จริง
ไซร้ ถา้ อย่างนัน้ ค�ำท่ตี รสั ไวว้ า่ เราไมม่ ีอาจารย์ เราไม่มีผู้เสมอเหมือน เราไมม่ ีผู้ทัดเทยี มใน
โลกกับท้งั เทวโลก ดังนี้ กย็ ่อมเปน็ ค�ำทผี่ ดิ ปญั หาแมข้ ้อนี้ ก็มี ๒ เงอื่ น ตกถงึ แก่ท่านแล้วโดย
ล�ำดับ ขอท่านพึงคลี่คลายปญั หานน้ั เถิด”
‘‘ภาสิตมเฺ ปต ํ มหาราช ตถาคเตน ‘น เม อาจริโย อตถฺ ิ สทิโส เม น วิชฺชติ ฯ
สเทวกสมฺ ึ โลกสมฺ ึ, นตฺถิ เม ปฏิปุคคฺ โล’ติ, ภณิต จฺ ‘อติ ิ โข ภิกขฺ เว อาฬาโร กาลาโม
อาจรโิ ย เม สมาโน อนเฺ ตวาสึ ม ํ สมานํ อตฺตนา สมสม ํ เปส,ิ อฬุ าราย จ ม ํ ปชู าย
ปเู ชสี’ติ ฯ ‘‘ต จฺ ปน วจน ํ ปพุ เฺ พว สมฺโพธา อนภสิ มฺพุทฺธสสฺ โพธิสตฺตสเฺ สว สโต
อาจริยภาวํ สนฺธาย ภาสิตํ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร พระตถาคตตรสั ความข้อน้ี
ไว้ว่า เราไม่มีอาจารย์ เราไมม่ ีผูเ้ สมอเหมอื น เราไมม่ ผี ้ทู ดั เทียมในโลกกบั ท้งั เทวโลก และตรัส
ไว้วา่ ภิกษทุ ้ังหลาย อาฬารดาบส กาลามโคตร ทง้ั ท่เี ปน็ อาจารยข์ องเรา ก็ยกย่องเราผูเ้ ป็น
ศษิ ย์ใหเ้ สมอกบั ตน และบชู าเราด้วยการบชู าอย่างดี ดงั น้ี จรงิ กแ็ ต่ว่า ค�ำนน้ั ตรสั หมายเอา
ความท่ีพระองคท์ รงเป็นผ้มู อี าจารย์ กอ่ นการตรัสรู้ ยงั ไมต่ รสั รู้ ยังเปน็ พระโพธิสัตวอ์ ยเู่ ท่าน้นั
‘ป ฺจิเม มหาราช ปพุ ฺเพว สมโฺ พธา อนภิสมฺพทุ ธฺ สฺส โพธสิ ตตฺ สสฺ สโต อาจรยิ า,
เยหิ อนสุ ฏิ โฺ โพธิสตฺโต ตตฺถ ตตฺถ ทิวสํ วตี ินาเมสิ ฯ กตเม ป จฺ ? เย เต มหาราช
อฏฺ พรฺ าหมฺ ณา ชาตมตเฺ ต โพธสิ ตเฺ ต ลกขฺ ณานิ ปรคิ ฺคณฺหึส,ุ เสยยฺ ถทิ ํ, ราโม ธโช
ลกขฺ โณ มนตฺ ี ย โฺ สุยาโม สุโภโช สุทตโฺ ตติ ฯ เต ตสฺส โสตฺถ ึ ปเวทยิตวฺ า รกฺขากมมฺ ํ
อกํสุ, เต จ ป ม ํ อาจรยิ า ฯ
ขอถวายพระพร กอ่ นการตรัสรู้ พระองค์ผยู้ งั ไม่ตรัสรู้ ยงั ทรงเปน็ พระโพธสิ ัตวอ์ ยู่ ทรง
มีอาจารย์ถึง ๕ พวก ซึ่งเป็นบรรดาอาจารย์ที่อนุเคราะหพ์ ระโพธสิ ตั ว์ ให้พระองค์ทรงใชเ้ วลา
ตลอดทั้งวันให้ล่วงไปในศาสตรน์ นั้ ๆ อาจารย์ ๕ พวก มีใครบ้าง ? ขอถวายพระพร พวกแรก
ได้แก่พราหมณ์ ๘ คน ทไ่ี ด้ท�ำนายพระลักษณะ เม่ือคราวพระโพธสิ ัตวป์ ระสูตใิ หม่ ๆ คอื ท่าน
รามะ ท่านธชะ ท่านลกั ขณะ ท่านมันตี ทา่ นยญั ญะ (โกณฑัญญะ) ทา่ นสยุ ามะ ท่านสุโภชะ
ทา่ นสุทัตตะ พวกพราหมณท์ ้ัง ๘ น้นั ได้สวดถวายโสตถมิ งคล ท�ำการรักษาพระโพธิสัตว์น้ัน ก็
พราหมณ์พวกนนั้ จัดเปน็ อาจารย์พวกแรก

90 มิลนิ ทปญั หาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปญั ห

‘‘ปนุ จปรํ มหาราช โพธิสตตฺ สสฺ ปิตา สทุ โฺ ธทโน ราชา ยํ เตน สมเยน อภชิ าต ํ
อุทิจฺจชาตมิ นตฺ ํ ปทก ํ เวยฺยากรณ ํ ฉฬงคฺ วนฺตํ สพฺพมิตตฺ ํ นาม พฺราหฺมณ ํ อุปเนตวฺ า
โสวณเฺ ณน ภงิ ฺคาเรน อุทกํ โอโณเชตวฺ า ‘อมิ ํ กุมาร ํ สิกขฺ าเปห’ี ติ อทาส,ิ อย ํ ทุติโย
อาจริโย ฯ
ขอถวายพระพร ยงั มีอีกผหู้ นึ่ง พระเจา้ สทุ โธทนะ พระราชชนกของพระโพธสิ ัตว์ ทรง
น�ำพระโพธสิ ตั ว์เข้าไปหาพราหมณ์ ชอ่ื วา่ สพั พมิตตะ ผู้รับบทมนต์ชัน้ สูง อภชิ าต รู้คัมภีร์
พยากรณอ์ ันมีองค์ ๖ ทรงใช้พระเต้าทองหล่ังน้�ำ (เหนอื มอื พราหมณน์ น้ั ) มอบพระกมุ ารไป
รับสง่ั วา่ ทา่ นจงฝึกสอนเดก็ คนนี้เถิด ดังน้ี สพั พมติ ตพราหมณ์ผูน้ ้ี จัดวา่ เป็นอาจารย์คนที่ ๒
‘‘ปุน จปรํ มหาราช ยา สา เทวตา โพธิสตฺต ํ สเํ วเชส,ี ยสสฺ า วจน ํ สตุ ฺวา
โพธิสตโฺ ต สวํ คิ โฺ ค อุพพฺ ิคฺโค ตสฺมเึ ยว ขเณ เนกขฺ มมฺ ํ นกิ ขฺ มติ ฺวา ปพพฺ ช,ิ อย ํ ตติโย
อาจรโิ ย ฯ
ขอถวายพระพร ยังมีอกี ผู้หนึ่ง เทวดาผู้ท่ีท�ำใหพ้ ระโพธิสตั ว์สลดพระทยั เปน็ ผู้ที่พระ
โพธสิ ัตวท์ รงสดบั ค�ำพดู แล้วกท็ รงสลดหวาดหวนั่ พระทยั เสดจ็ มหาภเิ นษกรมในขณะน้ันนน่ั
แหละ เทวดาตนนี้ จดั วา่ เป็นอาจารยค์ นที่ ๓
‘‘ปุน จปรํ มหาราช อาฬาโร กาลาโม อาก ิ จฺ ฺ ายตนสสฺ ปรกิ มฺมํ อาจกิ ฺขิ, อยํ
จตุตฺโถ อาจรโิ ย ฯ
ขอถวายพระพร ยงั มีอกี ผูห้ นึง่ อาฬารดาบส กาลามโคตร ผู้บอกสอนการบริกรรม
อากญิ จญั ญายตนฌาน ทา่ นผู้น้ี จัดวา่ เป็นอาจารยค์ นท่ี ๔
‘‘ปนุ จปร ํ มหาราช อทุ โก รามปตุ โฺ ต เนวส ฺ านาส ฺ ายตนสสฺ ปริกมฺมํ
อาจกิ ขฺ ,ิ อยํ ป จฺ โม อาจริโย ฯ
ขอถวายพระพร ยงั มอี กี ผหู้ นง่ึ ท่านอทุ กดาบสรามบุตร ผู้บอกสอนการบริกรรมเนว-
สญั ญานาสญั ญายตนฌาน ท่านผู้น้ี จดั วา่ เปน็ อาจารยค์ นที่ ๕
อิเม โข มหาราช ปุพเฺ พว สมโฺ พธา อนภสิ มพฺ ุทฺธสสฺ โพธิสตฺตสฺส สโต ป จฺ
อาจรยิ า ฯ เต จ ปน อาจริยา โลกเิ ย ธมเฺ ม ฯ อิมสมฺ ิ ฺจ ปน มหาราช โลกุตฺตเร ธมเฺ ม
สพฺพ ฺ ตุ าณปปฺ ฏิเวธาย นตถฺ ิ ตถาคตสฺส อนตุ ตฺ โร อนุสาสโก, สยมฺภู มหาราช
ตถาคโต อนาจริยโก, ตสมฺ า การณา ตถาคเตน ภณิต ํ ‘น เม อาจรโิ ย อตถฺ ิ สทิโส เม
น วิชฺชติ ฯ สเทวกสฺม ึ โลกสฺม ึ นตฺถิ เม ปฏิปคุ คฺ โล’ติ ฯ

กัณฑ]์ ๔.๖ อาจรยิ านาจรยิ วรรค 91

ขอถวายพระพร ก่อนการตรสั รู้ พระองคผ์ ยู้ ังไม่ตรสั รู้ ยงั เปน็ พระโพธสิ ัตว์อยู่ ทรงมี
อาจารย์ ๕ พวก เหล่านแ้ี ล ก็แต่ว่า ทา่ นเหลา่ นั้น ล้วนเป็นอาจารย์ผอู้ นุศาสน์ในโลกยิ ธรรม ขอ
ถวายพระพร ก็แต่ว่า อาจารย์ผูย้ อดเยีย่ ม ผูอ้ นศุ าสน์พระตถาคต เพ่ือการแทงตลอดพระ
สัพพัญญุตญาณในโลกุตตรธรรมน้ี หามีไม่ ขอถวายพระพร พระตถาคตทรงเป็นพระสยัมภู
ไมม่ อี าจารย์ เพราะเหตนุ นั้ พระตถาคต จึงตรสั ว่า เราไมม่ อี าจารย์ เราไม่มผี ้เู สมอเหมอื น เรา
ไมม่ ีผ้ทู ัดเทียมในโลกกับทั้งเทวโลก” ดงั น้ี

‘‘สาธุ ภนฺเต นาคเสน เอวเมตํ ตถา สมปฺ ฏจิ ฉฺ าม’ี ’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ ินท์ตรสั ว่า “ดีจรงิ พระคุณเจา้ นาคเสน โยมขอยอมรับค�ำตามท่ที า่ นกล่าวมา
นี”้

อาจริยานาจริยปญฺโห ป€โม ฯ
จบอาจรยิ านาจริยปญั หาข้อที่ ๑

________

๒. ทวฺ ินฺนํพทุ ฺธานํอนุปปฺ ชชฺ มานปญหฺ
๒. ทวินนงั พุทธานังอนปุ ปชั ชมานปัญหา
ปัญหาว่าดว้ ยความไม่เกิดข้นึ พร้อมกนั แห่งพระพุทธเจา้ ๒ พระองค์
[๒] ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน ภาสติ มเฺ ปตํ ภควตา ‘อฏ ฺ านเมต ํ ภิกขฺ เว อนวกาโส, ย ํ
เอกิสฺสา โลกธาตยุ า เทวฺ อรหนฺโต สมฺมาสมพฺ ทุ ฺธา อปุพพฺ ํ อจรมิ ํ อปุ ปฺ ชเฺ ชยฺยํุ, เนตํ าน ํ
วิชฺชตี’ติ ฯ เทเสนฺตา จ ภนฺเต นาคเสน สพเฺ พปิ ตถาคตา สตฺตตึส โพธิปกฺขิยธมเฺ ม
เทเสนฺติ, กถยมานา จ จตฺตาร ิ อรยิ สจจฺ านิ กเถนฺต,ิ สิกขฺ าเปนตฺ า จ ตีส ุ สิกฺขาส ุ
สกิ ขฺ าเปนตฺ ,ิ อนุสาสมานา จ อปปฺ มาทปปฺ ฏิปตฺตยิ ํ อนสุ าสนตฺ ิ ฯ ยท ิ ภนเฺ ต นาคเสน
สพเฺ พสมปฺ ิ ตถาคตานํ เอกา เทสนา เอกา กถา เอกา สิกฺขา เอกา อนสุ ิฏฺ ,ิ เกน
การเณน เทวฺ ตถาคตา เอกกฺขเณ นุปฺปชฺชนตฺ ิ ? เอเกนป ิ ตาว พทุ ฺธปุ ปฺ าเทน อย ํ โลโก
โอภาสชาโต, ยทิ ทุติโย พทุ โฺ ธ ภเวยฺย, ทฺวนิ ฺนํ ปภาย อยํ โลโก ภยิ ฺโยโส มตตฺ าย
โอภาสชาโต ภเวยยฺ , โอวทมานา จ เทฺว ตถาคตา สขุ ํ โอวเทยฺยํุ, อนุสาสมานา จ สขุ ํ
อนสุ าเสยฺยํุ, ตตถฺ เม การณํ พฺรูห ิ ยถาห ํ นสิ สฺ สํ โย ภเวยยฺ นฺ”ติ ฯ

92 มิลนิ ทปญั หาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปญั ห

[๒] พระเจา้ มิลนิ ทต์ รสั ว่า “พระคุณเจ้านาคเสน พระผมู้ พี ระภาคเจ้าทรงภาษติ ความ
ข้อนไ้ี วว้ า่ ‘ภกิ ษทุ ัง้ หลาย ขอ้ ทท่ี า่ นพระอรหันตสัมมาสัมพทุ ธเจา้ ๒ พระองค์ จะเกิดพรอ้ มกัน
ในโลกธาตเุ ดยี วกนั นั้น ไมใ่ ช่ฐานะ ไมใ่ ชโ่ อกาสทจ่ี ะเปน็ ไปได้ พระคุณเจา้ นาคเสน พระตถาคต
แมท้ ุกพระองค์ เมอ่ื จะทรงแสดงธรรม ก็ทรงแสดงโพธปิ ักขิยธรรม ๓๗ ประการ เมือ่ จะตรัส
บอกธรรม กต็ รสั บอกอรยิ สัจ ๔ เม่อื จะทรงใหศ้ กึ ษากท็ รงให้ศกึ ษาในสิกขา ๓ และเม่ือจะทรง
อนศุ าสน์ (พรำ�่ สอน) กท็ รงอนุศาสนใ์ นขอ้ ปฏบิ ตั ิที่เป็นไปเพื่อความไม่ประมาท พระคุณเจ้า
นาคเสน ถา้ หากว่า พระตถาคตแม้ทกุ พระองค์ ทรงมคี �ำเทศนาเป็นอยา่ งเดียวกัน มคี �ำบอก
กลา่ วเป็นอย่างเดียวกนั มขี ้อทีพ่ ึงศึกษาเปน็ อยา่ งเดียวกัน มคี �ำอนศุ าสนเ์ ปน็ อย่างเดียวกนั
ไซร้ เพราะเหตไุ ร พระตถาคต ๒ พระองค์ จะทรงอบุ ัตใิ นขณะเดียวกนั มไิ ดเ้ ลา่ โลกน้ีเกิดความ
สวา่ งไสว แม้เพราะพระพุทธองค์เดยี วทรงอบุ ัติ ถา้ หากว่า พระพทุ ธเจา้ องค์ท่ี ๒ กม็ ไี ดไ้ ซร้
โลกนี้กม็ อี นั แตจ่ ะเกดิ ความสวา่ งไสว มีประมาณยงิ่ ขึ้นไป ด้วยแสงสว่างแหง่ พระพทุ ธเจา้ ๒
พระองค์ อนึ่ง พระตถาคต ๒ พระองค์ เวลาจะทรงตักเตอื นเวไนยสัตว์ ก็จะทรงตักเตอื นได้
ง่าย (ไม่ล�ำบาก) เวลาจะทรงพร�่ำสอนก็จะทรงพร่ำ� สอนได้งา่ ย ขอทา่ นจงบอกเหตุผลในขอ้ ท่ี
วา่ น้นั แกโ่ ยม โดยประการท่โี ยมจะได้หายสงสัยเถิด”
‘‘อย ํ มหาราช ทสสหสสฺ ี โลกธาต ุ เอกพทุ ฺธธารณี, เอกสฺเสว ตถาคตสฺส คณุ ํ
ธาเรต,ิ ยทิ ทุตโิ ย พุทฺโธ อุปปฺ ชเฺ ชยฺย, นายํ ทสสหสสฺ ี โลกธาต ุ ธาเรยฺย, จเลยยฺ กมเฺ ปยฺย
นเมยฺย โอนเมยฺย วนิ เมยฺย วิกเิ รยฺย วิธเมยยฺ วิทธฺ เํ สยฺย, น านมุปคจเฺ ฉยยฺ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร หมนื่ โลกธาตนุ ี้เป็นที่รองรับ
พระพุทธเจ้าไดเ้ พยี งพระองค์เดยี ว ย่อมรองรบั พระคุณของพระตถาคตได้เพียงพระองค์เดยี ว
เท่านนั้ ถ้าหากวา่ พระพุทธเจ้าพระองค์ท่ี ๒ พงึ อุบตั ไิ ซร้หม่นื โลกธาตนุ ้ี จะพึงรองรบั ไม่ไหว
จะพงึ สน่ั ไหว โอนเอน คลอนแคลน แหลกกระจาย ถึงความทรงตวั อยไู่ ม่ได้
‘‘ยถา มหาราช นาวา เอกปรุ สิ สนธฺ ารณ ี ภเวยฺย, เอกสมฺ ึ ปรุ เิ ส อภิรูฬเฺ ห สา นาวา
สมปุ าทิกา ภเวยยฺ ฯ อถ ทุติโย ปรุ โิ ส อาคจเฺ ฉยฺย ตาทโิ ส อายุนา วณฺเณน วเยน
ปมาเณน กสิ ถูเลน สพพฺ งคฺ ปจฺจงฺเคน, โส ตํ นาว ํ อภิรูเหยฺย, อป ิ นุ สา มหาราช นาวา
ทฺวินฺนมฺปิ ธาเรยยฺ า’’ติ ?
ขอถวายพระพร เปรยี บเหมอื นว่า เรือล�ำหนง่ึ อาจรองรบั บุรษุ ได้เพียงคนเดียว เมอ่ื มี
บรุ ษุ เพียงคนเดียวข้ึนเรอื เรอื ล�ำน้ัน จึงจะเป็นเรือที่แลน่ ไปในทะเลได้ ตอ่ มา มีบุรุษคนที่ ๒ มา

กัณฑ]์ ๔.๖ อาจรยิ านาจริยวรรค 93

ถึง เป็นผเู้ สมอเหมือนบรุ ษุ คนแรกน้ัน ด้วยอายุ วรรณะ วยั ขนาด ความผอม ความอว้ น ด้วย
อวัยวะใหญ่นอ้ ยทุกส่วน บรุ ุษคนท่ี ๒ น้ัน ก็ขึน้ เรอื ล�ำนั้น ขอถวายพระพร เรอื ล�ำนนั้ รองรับ
บุรษุ ท้งั ๒ ไดห้ รอื หนอ ?”
‘‘น ห ิ ภนเฺ ต จเลยยฺ กมเฺ ปยฺย นเมยฺย โอนเมยฺย วินเมยยฺ วกิ เิ รยฺย วิธเมยฺย
วิทธฺ ํเสยฺย, น านมปุ คจเฺ ฉยฺย, โอสีเทยฺย อทุ เก’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ ินท์ตรัสวา่ “มิไดห้ รอก พระคณุ เจ้า เรอื ล�ำนนั้ จะพงึ สั่นไหว โอนเอน
คลอนแคลน แหลกกระจาย ถึงความทรงตัวอย่ไู ม่ได้ ยอ่ มจมน�้ำไป”
‘‘เอวเมว โข มหาราช อย ํ ทสสหสสฺ ี โลกธาต ุ เอกพุทธฺ ธารณี, เอกสฺเสว
ตถาคตสฺส คณุ ํ ธาเรติ, ยท ิ ทุติโย พุทฺโธ อปุ ปฺ ชฺเชยยฺ , นายํ ทสสหสสฺ ี โลกธาต ุ ธาเรยยฺ ,
จเลยยฺ กมเฺ ปยฺย นเมยฺย โอนเมยยฺ วินเมยฺย วิกเิ รยยฺ วธิ เมยฺย วิทฺธเํ สยฺย, น าน-
มุปคจฺเฉยยฺ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร ก็เหมือนกันอย่างน้นั น่ันแหละ หม่นื
โลกธาตนุ ้ี เป็นท่รี องรับพระพทุ ธเจา้ ได้เพียงพระองคเ์ ดยี ว ยอ่ มรองรับพระคุณของพระตถาคต
ไดเ้ พียงพระองค์เดียวเท่าน้ัน ถ้าหาก พระพุทธเจา้ องค์ท่ี ๒ พึงอุบตั ิไดไ้ ซร้ หมน่ื โลกธาตนุ ้ี จะ
พึงรองรับไว้ไม่ไหว จะพงึ สน่ั ไหว โอนเอน คลอนแคลน แหลกกระจาย ถึงความทรงตัวอยู่ไม่
ได้
‘‘ยถา วา ปน มหาราช ปุรโิ ส ยาวทตฺถ ํ โภชนํ ภ ุ ฺเชยยฺ ฉาเทนตฺ ํ ยาว กณ ฺ -
มภปิ รู ยติ วฺ า, โส ธาโต ปณี โิ ต ปรปิ ุณฺโณ นิรนฺตโร ตนทฺ กิ โต อโนนมิตทณฺฑชาโต ปนุ เทว
ตตฺตกํ โภชนํ ภุ ฺเชยฺย, อป ิ นุ โข โส มหาราช ปรุ โิ ส สขุ ิโต ภเวยฺยา’’ติ ?
ขอถวายพระพร อีกอย่างหนง่ึ เปรียบเหมอื นวา่ บรุ ุษผู้หนึ่ง บรโิ ภคอาหารตราบเทา่ ที่
ต้องการ ยินดีพอใจเสียจนกระท่งั ลน้ ข้ึนมาถงึ คอ เขาผู้อิม่ หน�ำเต็มท่ี ผู้เอาแต่เซอ่ื งซมึ อยไู่ ม่
ขาดระยะ งอตวั กม็ ไิ ด้ แขง็ เหมอื นท่อนไม้แล้วนั้น ยงั ขืนบริโภคอาหารจ�ำนวนเท่ากันนัน้ น่ัน
แหละอกี ขอถวายพระพร บุรษุ ผูน้ ัน้ จะพงึ เปน็ สขุ อยูห่ รือหนอ ?”
‘‘น ห ิ ภนเฺ ต สก ึ ภุตโฺ ตว มเรยฺยา’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ ินท์ตรัสว่า “หามิได้ พระคุณเจา้ เขาบริโภคอกี คร้งั เดยี วเท่านน้ั ก็จะพงึ ตาย
ได้”

94 มิลินทปัญหาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปญั ห

‘‘เอวเมว โข มหาราช อยํ ทสสหสฺสี โลกธาตุ เอกพทุ ธฺ ธารณ,ี เอกสเฺ สว
ตถาคตสสฺ คุณ ํ ธาเรติ, ยทิ ทุตโิ ย พุทโฺ ธ อุปปฺ ชเฺ ชยยฺ , นาย ํ ทสสหสฺส ี โลกธาตุ ธาเรยยฺ ,
จเลยยฺ กมฺเปยฺย นเมยยฺ โอนเมยฺย วินเมยยฺ วิกเิ รยยฺ วิธเมยยฺ วิทฺธํเสยยฺ , น าน-
มปุ คจเฺ ฉยยฺ า’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร ก็เหมอื นกนั อยา่ งนั้นน่นั แหละ หมืน่
โลกธาตุน้ี เปน็ ทร่ี องรบั พระพุทธเจ้าได้เพยี งพระองค์เดยี ว ยอ่ มรองรับพระคณุ ของพระตถาคต
ได้เพียงพระองคเ์ ดยี วเทา่ นนั้ ถา้ หากวา่ พระพุทธเจา้ องค์ที่ ๒ พงึ อบุ ตั ไิ ซร้ หม่ืนโลกธาตนุ ี้ จะ
พงึ รองรบั ไวไ้ ม่ไหว จะพงึ สนั่ ไหว โอนเอน คลอนแคลน แหลกกระจาย ถงึ ความทรงตวั อย่ไู ม่
ได”้
‘‘กนิ ฺนุ โข ภนเฺ ต นาคเสน อตธิ มฺมภาเรน ปถว ี จลตี’’ติ ?
พระเจา้ มลิ นิ ทต์ รสั ว่า “พระคณุ เจา้ นาคเสน แผ่นดนิ ย่อมไหว เพราะคณุ ธรรมท่ีหนกั
ยิ่งได้เชยี วหรือ ?”
‘‘อธิ มหาราช เทฺว สกฏา รตนปริปูรติ า ภเวยยฺ ุํ ยาว มุขสมา, เอกสฺมา สกฏโต
รตนํ คเหตวฺ า เอกสมฺ ึ สกเฏ อากิเรยฺยุํ, อป ิ น ุ โข ตํ มหาราช สกฏ ํ ทวฺ ินนฺ มปฺ ิ สกฏานํ
รตนํ ธาเรยยฺ า’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร มเี กวียนอยู่ ๒ เลม่ บรรทุกรัตนะเตม็
จนถึงทางดา้ นหน้า บุคคลขนเอารัตนะจากเกวยี นเล่มหนึ่ง ไปเทใสเ่ กวยี นเล่มหนง่ึ ขอถวาย
พระพร เกวียนเลม่ นัน้ จะพึงรับเอารัตนะแหง่ เกวยี นทง้ั ๒ เล่ม ได้หรือหนอ ?”
‘‘น ห ิ ภนฺเต นาภปิ ิ ตสฺส ผเลยฺย, อราปิ ตสสฺ ภิชฺเชยยฺ ,ํุ เนมปิ ิ ตสฺส
โอปเตยยฺ , อกโฺ ขปิ ตสสฺ ภิชเฺ ชยฺยา’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ ินทต์ รัสว่า “ไม่ได้หรอก พระคุณเจ้า ดุมเกวยี นเลม่ นน้ั จะตอ้ งแตก แมซ้ ี่ก�ำ
เกวยี นกจ็ ะตอ้ งหัก แมก้ งล้อเกวียน ก็จะตอ้ งลม้ พับ แมเ้ พลาเกวียนก็จะต้องหกั ”
‘‘กนิ ฺนุ โข มหาราช อตริ ตนภาเรน สกฏํ ภิชชฺ ตี’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร เกวยี น ย่อมพังไป เพราะรัตนะทห่ี นัก
ยิ่งได้เชยี วหรือ ?”

กณั ฑ]์ ๔.๖ อาจรยิ านาจรยิ วรรค 95

‘‘อาม ภนฺเต’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ ินท์ตรัสวา่ “ได้ พระคณุ เจ้า”
‘‘เอวเมว โข มหาราช อตธิ มมฺ ภาเรน ปถวี จลติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร กเ็ หมอื นกันอย่างนน้ั นัน่
แหละ แผน่ ดนิ ย่อมไหว เพราะคุณธรรมทหี่ นกั ยิ่งได้”
‘‘อปจิ มหาราช อมิ ํ การณ ํ พุทธฺ พลปริทปี นาย โอสาริตํ ฯ อ ฺ มปฺ ิ ตตฺถ อภิรูป ํ
การณํ สโุ ณหิ เยน การเณน เทฺว สมมฺ าสมฺพทุ ธฺ า เอกกขฺ เณ นปุ ฺปชฺชนตฺ ิ ฯ ยท ิ มหาราช
เทวฺ สมมฺ าสมพฺ ุทฺธา เอกกฺขเณ อุปปฺ ชเฺ ชยฺย,ํุ เตสํ ปรสิ าย ววิ าโท อุปฺปชเฺ ชยยฺ ‘ตมุ ฺหาก ํ
พุทฺโธ อมฺหาก ํ พุทโฺ ธ’ติ, อุภโต ปกขฺ ชาตา ภเวยฺย,ํุ ยถา มหาราช ทวฺ นิ นฺ ํ พลวามจฺจานํ
ปรสิ าย วิวาโท อุปฺปชฺเชยยฺ ‘ตมุ ฺหากํ อมจโฺ จ อมหฺ าก ํ อมจฺโจ’ต,ิ อุภโต ปกฺขชาตา
โหนฺติ, เอวเมว โข มหาราช ยทิ เทวฺ สมฺมาสมพฺ ุทธฺ า เอกกฺขเณ อุปฺปชฺเชยฺยุํ, เตสํ
ปริสาย วิวาโท อปุ ฺปชฺเชยยฺ ‘ตุมหฺ าก ํ พุทฺโธ อมหฺ าก ํ พทุ โฺ ธ’ต,ิ อุภโต ปกขฺ ชาตา
ภเวยฺยํุ ฯ อทิ ํ ตาว มหาราช เอก ํ การณ,ํ เยน การเณน เทวฺ สมฺมาสมฺพทุ ฺธา เอกกฺขเณ
นปุ ฺปชฺชนฺติ ฯ
ขอถวายพระพร อีกนัยหนึง่ เหตุที่จะว่าตอ่ ไปน้ี เปน็ ขอ้ ทอ่ี าตมภาพรวบรวมมา เพอื่
แสดงพระพลานภุ าพของพระพุทธเจ้า ขอพระองคจ์ งสดบั เหตุผลท่ีงดงามย่ิงแม้อกี ข้อหน่งึ ใน
บรรดาเหตผุ ลทง้ั หลายเหล่าน้นั วา่ เพราะเหตใุ ด พระสัมมาสัมพุทธเจา้ ๒ พระองค์ จึงทรง
อบุ ัติในขณะเดียวกนั มไิ ด้ ขอถวายพระพร ถา้ หากวา่ พระสัมมาสมั พุทธเจ้า ๒ พระองค์ ทรง
อบุ ตั ใิ นขณะเดยี วกันได้แล้วไซร้ บริษัทของพระพทุ ธเจ้าทั้ง ๒ พระองคน์ ้ัน ก็จะพงึ เกิดทะเลาะ
วิวาทกนั ว่า พระพุทธเจา้ ของพวกท่าน พระพุทธเจา้ ของพวกเรา ดงั นี้ได้ กจ็ ะพงึ เกิดแตกเป็น
๒ ฝ่าย ขอถวายพระพร เปรยี บเหมอื นวา่ บริษทั ของอ�ำมาตย์ที่มกี �ำลัง (เทา่ ๆ กัน) ๒ คน พงึ
เกดิ การทะเลาะวิวาทกันว่า อ�ำมาตยข์ องพวกทา่ น อ�ำมาตย์ของพวกเรา ดงั น้ี ก็จะพงึ เกิดแตก
เป็น ๒ ฝา่ ย ฉนั ใด ขอถวายพระพร ถ้าหากว่า พระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ๒ พระองค์ ทรงอบุ ตั ใิ น
ขณะเดียวกันไซร้ บริษทั ของพระพทุ ธเจา้ ท้ัง ๒ พระองคน์ น้ั ก็จะพงึ เกดิ การทะเลาะววิ าทกัน
ว่า พระพุทธเจ้าของพวกท่าน พระพทุ ธเจ้าของพวกเรา ดังน้ี ก็จะพงึ เกิดแตกเปน็ ๒ ฝ่าย ฉนั
นน้ั ขอถวายพระพร น้ีกจ็ ดั วา่ เป็นเหตผุ ล อีกขอ้ หน่ึงว่า เพราะเหตุใด พระสมั มาสัมพทุ ธเจา้
๒ พระองค์ จงึ ทรงอุบัตใิ นขณะเดียวกนั มิได้

96 มิลินทปัญหาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปญั ห

‘‘อปรมฺป ิ มหาราช อตุ ฺตรึ การณํ สโุ ณหิ เยน การเณน เทฺว สมมฺ าสมพฺ ทุ ธฺ า
เอกกขฺ เณ นุปปฺ ชชฺ นฺติ ฯ ยท ิ มหาราช เทฺว สมฺมาสมพฺ ุทฺธา เอกกขฺ เณ อุปปฺ ชฺเชยฺยุํ,
‘อคฺโค พทุ โฺ ธ’ติ ยํ วจน,ํ ต ํ มจิ ฺฉา ภเวยฺย, ‘เชฏฺโ พทุ ฺโธ’ต ิ ย ํ วจน,ํ ตํ มจิ ฉฺ า ภเวยยฺ ,
‘เสฏฺโ พทุ ฺโธ’ต,ิ ‘วิสิฏฺโ พทุ ฺโธ’ติ, ‘อตุ ฺตโม พทุ โฺ ธ’ติ, ‘ปวโร พุทฺโธ’ติ, ‘อสโม พทุ ฺโธ’ต,ิ
‘อสมสโม พทุ โฺ ธ’ต,ิ ‘อปปฺ ฏโิ ม พทุ ฺโธ’ต,ิ ‘อปฺปฏภิ าโค พทุ โฺ ธ’ติ, ‘อปปฺ ฏปิ คุ ฺคโล พุทฺโธ’ติ
ย ํ วจนํ, ต ํ มิจฺฉา ภเวยยฺ ฯ อทิ มฺปิ โข ตวฺ ํ มหาราช การณ ํ อตถฺ โต สมฺปฏจิ ฺฉ, เยน
การเณน เทวฺ สมมฺ าสมฺพทุ ธฺ า เอกกขฺ เณ นุปปฺ ชชฺ นตฺ ิ ฯ
ขอถวายพระพร ขอพระองค์จงสดับเหตผุ ลท่ีย่ิงขน้ึ ไปแม้อีกข้อหนึ่ง ทวี่ า่ เพราะเหตใุ ด
พระสัมมาสัมพุทธเจา้ ๒ พระองค์ จงึ ทรงอุบตั ใิ นขณะเดียวกันมิได้ ขอถวายพระพร ถา้ หาก
พระพทุ ธเจา้ ๒ พระองค์ ทรงอบุ ตั ิในขณะเดียวกนั ไดไ้ ซร้ ค�ำทว่ี ่า ‘พระพทุ ธเจา้ ทรงเปน็ ยอด
บคุ คล’ ดงั น้ี ก็ย่อมเป็นค�ำที่ผดิ ค�ำทวี่ า่ ‘พระพทุ ธเจ้าทรงเปน็ ผู้ยง่ิ ใหญ่ท่ีสดุ ’ ดังน้ี กย็ อ่ มเปน็
ค�ำที่ผิด ค�ำท่วี ่า ‘พระพทุ ธเจา้ ทรงเป็นผู้ประเสริฐสดุ ’ ดังนี้ ก็ย่อมเปน็ ค�ำท่ีผิด ค�ำท่ีวา่
‘พระพทุ ธเจา้ ทรงเป็นผวู้ เิ ศษสุด’ ดังน้ี กย็ อ่ มเป็นค�ำท่ผี ดิ ค�ำทว่ี ่า ‘พระพุทธเจา้ ทรงเป็นผู้ยอด
เยีย่ ม’ ดงั นี้ กย็ อ่ มเปน็ ค�ำท่ผี ิด ค�ำท่ีวา่ ‘พระพทุ ธเจ้าทรงเป็นผลู้ �ำเลศิ ’ ดงั นี้ กย็ อ่ มเป็นค�ำที่ผิด
ค�ำท่วี ่า ‘พระพุทธเจ้าทรงเปน็ ผู้ทห่ี าผู้เสมอเหมือนมไิ ด’้ ดงั นี้ กย็ อ่ มเป็นค�ำท่ผี ดิ ค�ำท่วี ่า
‘พระพุทธเจ้าทรงเปน็ ผู้ทีเ่ สมอดว้ ยบรุ ษุ ท่หี าผ้เู สมอเหมือนมไิ ด้’ ดงั น้ี กย็ อ่ มเป็นค�ำที่ผดิ ค�ำที่
วา่ ‘พระพุทธเจา้ ทรงเปน็ ผู้ท่ีใคร ๆ หาส่วนเปรยี บมิได้’ ดงั น้ี ก็ยอ่ มเป็นค�ำท่ีผิด ค�ำทีว่ า่
‘พระพุทธเจ้าทรงเปน็ บคุ คลหาผู้อน่ื เปรียบเทยี บกันมิได’้ ดงั นี้ ก็ยอ่ มเป็นค�ำทผ่ี ิด ค�ำทว่ี ่า
‘พระพทุ ธเจา้ ทรงเป็นผหู้ าผู้เปรยี บปานมิได้’ ดังน้ี ก็ย่อมเป็นค�ำทผ่ี ิด ขอถวายพระพร เหตุผล
ทวี่ า่ เพราะเหตุใด พระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ๒ พระองค์ จึงทรงอบุ ัตใิ นขณะเดยี วกนั มิได้ แม้ขอ้ นี้
กข็ อพระองคจ์ งทรงยอมรบั ตามความเป็นจริงเถดิ
‘‘อปจิ โข มหาราช พุทฺธานํ ภควนฺตาน ํ สภาวปกต ิ เอสายํ, เอโก เยว พทุ โฺ ธ
โลเก อปุ ฺปชชฺ ติ ฯ กสมฺ า การณา ? มหนตฺ ตาย สพฺพ ฺ พุ ทุ ฺธคณุ านํ ฯ อ ฺ มปฺ ิ มหาราช
ย ํ โลเก มหนตฺ ํ, ตํ เอกเํ ยว โหติ ฯ ปถว ี มหาราช มหนฺตี, สา เอกาเยว ฯ สาคโร
มหนฺโต, โส เอโกเยว ฯ สิเนรุ คิรริ าชา มหนโฺ ต, โส เอโกเยว ฯ อากาโส มหนโฺ ต, โส
เอโกเยว ฯ สกโฺ ก มหนโฺ ต, โส เอโกเยว ฯ มาโร มหนฺโต, โส เอโกเยว ฯ มหาพรฺ หมฺ า
มหนโฺ ต, โส เอโกเยว ฯ ตถาคโต อรหํ สมมฺ าสมพฺ ทุ โฺ ธ มหนฺโต, โส เอโกเยว โลกสมฺ ึ ฯ
ยตฺถ เต อุปฺปชชฺ นตฺ ิ, ตตถฺ อ ฺ สสฺ โอกาโส น โหติ, ตสฺมา มหาราช ตถาคโต อรห ํ

กัณฑ]์ ๔.๖ อาจริยานาจรยิ วรรค 97

สมมฺ าสมพฺ ทุ ฺโธ เอโกเยว โลกสมฺ ึ อปุ ปฺ ชฺชต’ี ’ติ ฯ
ขอถวายพระพร กแ็ ล ข้อท่ีว่า พระพทุ ธเจ้าทรงอบุ ัตไิ ดเ้ พยี งพระองค์เดยี วเทา่ น้ัน นี้
เป็นสภาวะปกติ แหง่ พระผูม้ ีพระภาคพทุ ธเจ้าทง้ั หลาย เพราะเหตุไรหรอื ตอบว่า เพราะ
พระคุณทง้ั หลายของพระสัพพญั ญพู ุทธเจ้าเปน็ ของย่ิงใหญ่ ขอถวายพระพร ของทยี่ งิ่ ใหญ่แม้
อย่างอ่นื ในทางโลก ก็ยงั มไี ด้เพยี งอยา่ งเดียวเท่านน้ั ขอถวายพระพร แผน่ ดนิ เป็นของย่งิ ใหญ่
แผ่นดินนั้น ก็มีเพียงหน่ึงเท่านัน้ ทะเลกเ็ ป็นของยง่ิ ใหญ่ ทะเลนัน้ กม็ เี พยี งหน่งึ เทา่ นัน้ ขนุ เขา
สเิ นรุก็เปน็ ของยิ่งใหญ่ ขุนเขาสเิ นรุนั้น ก็มีเพยี งหนง่ึ เท่าน้นั อากาศกเ็ ปน็ ของยง่ิ ใหญ่ อากาศ
นนั้ กม็ เี พียงหนงึ่ เทา่ นั้น ท้าวสกั กะกท็ รงเปน็ ผยู้ ิ่งใหญ่ ท้าวสักกะน้นั กม็ เี พยี งหนงึ่ เทา่ น้นั
พญามารกเ็ ปน็ ผ้ยู งิ่ ใหญ่ พญามารน้นั ก็มีเพยี งหนงึ่ เท่านัน้ ทา้ วมหาพรหมกท็ รงเปน็ ผยู้ ่ิงใหญ่
ท้าวมหาพรหมนัน้ ก็มีเพียงหนง่ึ เทา่ นนั้ พระตถาคตอรหันตสัมมาสมั พุทธเจ้ากท็ รงเปน็ ผยู้ ิ่ง
ใหญ่ พระตถาคตอรหนั ตสัมมาสัมพทุ ธเจ้านนั้ ก็มเี พยี งหนึ่งเท่าน้นั ในโลก พระตถาคตทั้ง
หลายเหลา่ น้นั ทรงอบุ ตั ิในสถานท่ใี ดได้กต็ าม ณ สถานทน่ี ัน้ ยอ่ มหาโอกาสส�ำหรับพระ
ตถาคตองค์อ่นื มิได้ ขอถวายพระพร เพราะฉะน้นั พระตถาคตอรหนั ตสมั มาสมั พทุ ธเจ้า จึง
ทรงอบุ ตั ิในโลกไดเ้ พียงพระองคเ์ ดียวเทา่ นั้น”

‘‘สุกถิโต ภนฺเต นาคเสน ป โฺ ห โอปมฺเมหิ การเณหิ ฯ อนิปโุ ณเปตํ สตุ วฺ า
อตตฺ มโน ภเวยยฺ , ก ึ ปน มาทโิ ส มหาป โฺ ฯ
พระเจ้ามลิ นิ ท์ตรสั ว่า “พระคุณเจ้านาคเสน ทา่ นตอบปญั หามอี ปุ มา มีเหตุผลดีแล้ว
คนทห่ี าปญั ญาละเอียดอ่อนมไิ ด้ ฟงั ค�ำตอบน้แี ลว้ กย็ ังเกดิ ความพอใจได้ จะกลา่ วไปใยถึงคน
ทีม่ ีปัญญามากเชน่ โยมเลา่

สาธ ุ ภนฺเต นาคเสน เอวเมต ํ ตถา สมฺปฏจิ ฺฉามี’’ติ ฯ
ดจี ริง พระคุณเจา้ นาคเสน โยมขอยอมรับค�ำตามทที่ ่านกล่าวมาน”ี้

ทฺวินฺนพํ ทุ ธฺ านํอนุปฺปชฺชมานปญโฺ ห ทตุ โิ ย ฯ
จบทวินนงั พุทธานังอนปุ ปัชชนปญั หาข้อที่ ๒

________

98 มิลินทปญั หาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปัญห

๓. โคตมิวตฺถทานปญหฺ
๓. โคตมวิ ตั ถทานปัญหา
ปัญหาวา่ ด้วยการทพ่ี ระนางปชาบดโี คตมีถวายผา้
[๓] ‘‘ภนฺเต นาคเสน ภาสติ มเฺ ปต ํ ภควตา มาตุจฉฺ าย มหาปชาปตยิ า โคตมิยา
วสฺสกิ สาฏกิ าย ทียมานาย ‘สํเฆ โคตมิ เทห ิ สํเฆ เต ทนิ ฺเน อห ฺเจว ปูชิโต ภวิสฺสามิ
สโํ ฆ จา’ติ ฯ กินนฺ ุ โข ภนเฺ ต นาคเสน ตถาคโต สํฆรตนโต น ภาริโก น ครุโก น
ทกขฺ ิเณยฺโย, ยํ ตถาคโต สกาย มาตุจฉฺ าย สยํ ป ิ ฺชติ ํ สยํ ลุ จฺ ติ ํ สย ํ โปถิตํ สย ํ
กนตฺ ติ ํ สย ํ วายติ ํ วสฺสิกสาฏกิ ํ อตฺตโน ทียมาน ํ สฆํ สสฺ ทาเปสิ ฯ ยท ิ ภนฺเต นาคเสน
ตถาคโต สฆํ รตนโต อตุ ตฺ โร ภเวยฺย อธิโก วา วิสิฏโฺ วา, ‘มย ิ ทินฺเน มหปผฺ ลํ
ภวิสสฺ ตี’ติ น ตถาคโต มาตุจฉฺ าย สย ํ ป ิ ชฺ ติ ํ สยํ ลุ จฺ ิต ํ สย ํ โปถติ ํ วสสฺ กิ สาฏิกํ สํเฆ
ทาเปยฺย, ยสมฺ า จ โข ภนฺเต นาคเสน ตถาคโต อตฺตาน ํ น ปตฺถยติ น อุปนิสฺสยต,ิ
ตสมฺ า ตถาคโต มาตุจฺฉาย ต ํ วสฺสกิ สาฏิก ํ สฆํ สสฺ ทาเปสี’’ติ ฯ
[๓] พระเจา้ มลิ นิ ท์ตรสั ว่า “พระคุณเจา้ นาคเสน พระผมู้ ีพระภาคเจา้ ทรงภาษิตความ
ขอ้ นี้ แกพ่ ระมาตุจฉา (พระน้านาง) มหาปชาบดโี คตมี ผู้ก�ำลังถวายผ้าอาบน้�ำฝนวา่ ‘โคตมี ขอ
พระนางจงถวายแกส่ งฆเ์ ถดิ เมอ่ื พระนางถวายสงฆแ์ ล้ว จกั เป็นอันบูชาอาตมภาพและสงฆ์
พระคณุ เจ้านาคเสน พระตถาคตทรงเป็นบคุ คลที่ไมค่ วรตระหนกั ไมค่ วรเคารพ ไมท่ รงเป็น
ทกั ขไิ ณยบุคคลย่ิงกว่าพระสงั ฆรตั นะหรอื ไร ? พระตถาคตจงึ รับสงั่ พระมาตจุ ฉาของพระองค์
ถวายผา้ อาบน�้ำฝนที่พระนางทรงย้อมสเี อง ปอก (ฝ้าย) เอง ระบมเอง ปัน่ เอง ทอเอง ทก่ี �ำลัง
ถวายพระองค์อยู่ แกพ่ ระสงฆ์ พระคณุ เจ้านาคเสน ถา้ หากวา่ พระตถาคตทรงเป็นผ้สู งู ส่งกว่า
ยง่ิ กวา่ หรือวิเศษกวา่ พระสังฆรัตนะ พระตถาคตก็จะตรสั ว่า เม่ือไดถ้ วายในอาตมภาพ กจ็ กั มี
ผลมาก ดังน้ี จะไมร่ ับสั่งให้พระมาตจุ ฉาถวายผา้ อาบน�้ำฝนทท่ี รงย้อมสีเอง ปอก (ฝา้ ย) เอง
ระบมเองแกพ่ ระสงฆ์ เพราะเหตุทีพ่ ระตถาคตไม่โปรดให้ปรารถนาพระองค์ ไม่โปรดให้องิ
อาศัยพระองค์ พระตถาคตจงึ ทรงรับส่ังให้พระมาตจุ ฉาถวายผ้าอาบนำ�้ ฝนนั้นแก่พระสงฆ์เสีย”

‘‘ภาสติ มฺเปต ํ มหาราช ภควตา มาตจุ ฉฺ าย มหาปชาปติยา โคตมยิ า วสฺสิก-
สาฏกิ าย ทยี มานาย ‘สํเฆ โคตมิ เทหิ สํเฆ เต ทนิ เฺ น อห เฺ จว ปูชิโต ภวิสฺสามิ สํโฆ
จา’ติ ฯ ตํ ปน น อตตฺ โน ปติมานนสสฺ อวิปากตาย น อทกฺขิเณยฺยตาย, อปจิ โข
มหาราช หิตตฺถาย อนกุ มปฺ าย อนาคตมทฺธานํ สํโฆ มมจฺจเยน จิตฺตีกโต ภวสิ สฺ ตีต ิ

กณั ฑ]์ ๔.๖ อาจรยิ านาจรยิ วรรค 99

วิชชฺ มาเนเยว คุเณ ปริกติ ตฺ ยนฺโต เอวมาห ‘สเํ ฆ โคตมิ เทหิ สเํ ฆ เต ทินเฺ น อห เฺ จว
ปูชโิ ต ภวสิ ฺสามิ สโํ ฆ จา’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร พระผู้มพี ระภาคเจ้าทรง
ภาษติ ความขอ้ น้ี แก่พระมาตุจฉามหาปชาบดโี คตมี ผูก้ �ำลังถวายผ้าอาบนำ้� ฝนว่า โคตมี ขอ
พระองค์จงทรงถวายแกพ่ ระสงฆเ์ ถิด เม่ือพระองค์ถวายแก่พระสงฆ์แลว้ ก็จักเป็นอนั ไดบ้ ูชา
อาตมภาพและสงฆ์ ดงั นก้ี ็จรงิ กค็ �ำน้ันตรัสไว้ เพราะความท่ีทาน ของผู้นอ้ มถวายเฉพาะ
พระองค์เป็นของมีวิบาก (ผลตอบแทน อานสิ งส)์ น้อย ก็หาไม่ เพราะความทพี่ ระองคม์ ใิ ช่
ทักขไิ ณยบคุ คล ก็หาไม่ ขอถวายพระพร พระตถาคตทรงด�ำริว่า ในอนาคตกาล เมื่อเราลว่ ง
ลับไปแลว้ พระสงฆ์จักเป็นผ้ทู ่ชี าวบรษิ ทั กระท�ำความย�ำเกรง ดังน้ี แล้วประสงคจ์ ะยกยอ่ งคุณ
(ของพระสงฆ์) ทม่ี อี ย่จู ริงน่นั แหละ เพ่อื ประโยชนเ์ กอ้ื กลู เพอื่ อนุเคราะห์ (พระสงฆเ์ หลา่ น้ัน)
จึงตรัสอย่างนี้วา่ พระนางโคตมี ขอพระองค์ถวายแกพ่ ระสงฆ์เถดิ เม่อื พระองค์ได้ถวายแก่
พระสงฆแ์ ล้ว ก็จกั เป็นอันได้บูชาอาตมภาพดว้ ย ได้บูชาพระสงฆด์ ้วย’
‘‘ยถา มหาราช ปิตา ธรมาโน เยว อมจฺจภฏพลโทวารกิ อนกี ฏ ฺ ปารสิ ชฺชชนมชเฺ ฌ
ร โฺ สนตฺ เิ ก ปตุ ฺตสสฺ วิชชฺ มานเํ ยว คุณํ ปกติ เฺ ตต ิ ‘อธิ ปิโต อนาคตมทฺธานํ ชนมชฺเฌ
ปชู โิ ต ภวิสสฺ ต’ี ติ ฯ เอวเมว โข มหาราช ตถาคโต หติ ตถฺ าย อนุกมปฺ าย อนาคตมทธฺ านํ
สํโฆ มมจจฺ เยน จิตฺตกี โต ภวสิ ฺสตีต ิ วิชฺชมาเนเยว คเุ ณ ปกติ ฺตยนฺโต เอวมาห ‘สเํ ฆ
โคตมิ เทห ิ สเํ ฆ เต ทินเฺ น อห เฺ จว ปุชิโต ภวสิ สฺ าม ิ สํโฆ จา’ติ ฯ
ขอถวายพระพร เปรยี บเหมอื นวา่ ผู้เป็นบดิ า ขณะท่ยี งั ทรงชีพอยู่ ก็กล่าวยกยอ่ งคณุ
ของบตุ รซึ่งก็มอี ยจู่ รงิ นัน่ แหละ ในพระราชส�ำนักของพระราชา ทา่ มกลางพวกอ�ำมาตย์
ข้าราชการ ก�ำลังพล นายประตูเมือง นายทหารรกั ษาพระองค์ และชาวบริษทั ท้ังหลาย ด้วย
คิดว่า บุตรของเรา ไดร้ ับการแต่งตั้งในท่นี ้ีแลว้ ต่อไปในอนาคตกาล จักเป็นผ้ทู ี่คนทง้ั หลาย
บชู า’ ดงั นี้ ฉนั ใด ตถาคตทรงด�ำรวิ ่า ในอนาคตกาล เมอ่ื เราลว่ งลับไปแล้ว สงฆ์จกั เปน็ ผู้ท่ีชาว
บริษทั กระท�ำความย�ำเกรง ดังนี้แลว้ ทรงประสงคจ์ ะยกย่องคณุ (ของพระสงฆ)์ ทีม่ อี ยจู่ รงิ นัน่
แหละ เพื่อเกอ้ื กลู เพือ่ อนเุ คราะห์ (พระสงฆเ์ หลา่ นัน้ ) จงึ ตรสั อยา่ งน้ีวา่ พระนางโคตมี ขอ
พระองคจ์ งทรงถวายแก่พระสงฆ์เถิด เม่ือพระองคไ์ ด้ถวายแก่พระสงฆ์แล้ว กจ็ ักเป็นอนั ได้
บชู าอาตมภาพดว้ ย ไดบ้ ูชาพระสงฆ์ดว้ ย ดงั น้ี ฉันนั้นเหมือนกัน

100 มลิ ินทปัญหาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปัญห

‘‘น โข มหาราช ตาวตเกน วสสฺ กิ สาฏกิ านุปปฺ ทานมตตฺ เกน สํโฆ ตถาคตโต อธโิ ก
นาม โหต ิ วสิ ฏิ โฺ วา ฯ ยถา มหาราช มาตาปิตโร ปุตตฺ าน ํ อจุ ฺฉาเทนฺติ ปรมิ ททฺ นตฺ ิ
นหาเปนฺติ สมพฺ าเหนฺติ, อปิ น ุ โข มหาราช ตาวตเกน อจุ ฉฺ าทนปริมทฺทนนหาปน-
สมฺพาหนมตตฺ เกน ‘ปตุ โฺ ต มาตาปติ ูห ิ อธโิ ก นาม โหต ิ วิสิฏฺโ วา’ติ ?
ขอถวายพระพร พระสงฆ์หาช่อื วา่ เป็นผยู้ งิ่ กว่า หรอื วิเศษกวา่ พระตถาคต เพราะเหตุ
สักวา่ รับสง่ั ให้ถวายผา้ อาบนำ�้ ฝนเทา่ นัน้ ไม่ ขอถวายพระพร เปรียบเหมือนว่า ผู้เปน็ มารดา
หรอื บิดา ยอ่ มแตง่ ตัวใหบ้ ุตร ถตู ัวให้ อาบนำ้� ให้ สระผมให้ ขอถวายพระพร ก็แตว่ ่า ผู้เป็นบตุ ร
ชือ่ วา่ เปน็ ผูย้ ิง่ กวา่ หรอื วเิ ศษกวา่ ผูเ้ ปน็ มารดาและบดิ า เพราะเหตุสกั ว่า เขาแตง่ ตัวให้ ถูตัวให้
อาบนำ�้ ให้ สระผมให้ เทา่ นั้นเองหรอื ?
‘‘น ห ิ ภนเฺ ต อกามกรณยี า ภนเฺ ต ปตุ ฺตา มาตาปิตนู ํ, ตสมฺ า มาตาปิตโร ปุตฺตาน ํ
อุจฉฺ าทนปริมทฺทนนหาปนสมพฺ าหน ํ กโรนตฺ ’ี ’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ นิ ทต์ รัสว่า “หามิได้ พระคณุ เจ้า พระคุณเจา้ ส�ำหรับมารดาและบิดา บตุ ร
เปน็ ผ้ไู ม่อาจท�ำกจิ (มกี ารแตง่ ตวั เปน็ ต้น) ตามที่ตนต้องการได้ เพราะฉะนั้น มารดาและบดิ า
(พอเหน็ ว่าเปน็ กาลทส่ี มควรท�ำกิจนัน้ ๆ ให)้ จึงตอ้ งท�ำกจิ ท้งั หลายให้ คอื การแตง่ ตวั ให้ ถตู ัว
ให้ อาบน�ำ้ ให้ สระผมให”้
เอวเมว โข มหาราช น ตาวตเกน วสฺสิกสาฏกิ านุปปฺ ทานมตตฺ เกน สโํ ฆ
ตถาคตโต อธิโก นาม โหต ิ วิสิฏฺโ วาติ ฯ อปจิ ตถาคโต อกามกรณยี ํ กโรนโฺ ต
มาตจุ ฺฉาย ตํ วสสฺ ิกสาฏกิ ํ สํฆสฺส ทาเปสิ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร ก็เหมอื นกนั อย่างน้นั น่นั แหละ พระ
สงฆ์ หาชือ่ ว่าเป็นผ้ยู ่งิ กว่า หรือวิเศษกวา่ พระตถาคต เพราะเหตสุ ักว่ารบั สั่งให้ถวายผา้ อาบ
น้�ำฝนใหเ้ ท่าน้ันไม่ ก็แตว่ า่ พระตถาคต เมอื่ จะทรงท�ำกจิ ที่พระสงฆ์ไมอ่ าจท�ำตามทีต่ น
ตอ้ งการได้ จงึ โปรดให้พระมาตุจฉาถวายผา้ อาบนำ้� ฝนน้ันแก่พระสงฆ์
‘‘ยถา วา ปน มหาราช โกจเิ ทว ปรุ โิ ส ร ฺโ อุปายนํ อาหเรยยฺ , ต ํ ราชา
อุปายนํ อ ฺ ตรสสฺ ภฏสสฺ วา พลสสฺ วา เสนาปติสสฺ วา ปุโรหิตสสฺ วา ทเทยยฺ ฯ
อปิ น ุ โข โส มหาราช ปรุ โิ ส ตาวตเกน อุปายนปฏลิ าภมตตฺ เกน ร ฺ า อธิโก นาม
โหติ วสิ ฏิ โฺ วา’’ติ ?
ขอถวายพระพร อีกอย่างหน่ึง เปรยี บเหมอื นวา่ บรุ ษุ บางคน พงึ นอ้ มเกล้า ถวายเครื่อง

กณั ฑ]์ ๔.๖ อาจริยานาจรยิ วรรค 101

บรรณาการแกพ่ ระราชา พระราชาพระราชทานเครื่องบรรณาการน้ันแก่คนอนื่ ซง่ึ เป็น
ข้าราชการบา้ ง ก�ำลงั พลบา้ ง เสนาบดบี ้าง ปุโรหติ บา้ ง ขอถวายพระพร บุรุษผู้น้ัน ชือ่ วา่ เป็นผู้
ยง่ิ กว่า หรอื วิเศษกว่าพระราชา เพราะเหตสุ ักวา่ ได้รบั เครอ่ื งบรรณาการเทา่ น้ันหรอื หนอ ?”
‘‘น ห ิ ภนฺเต ราชภตฺติโก, ภนฺเต โส ปุริโส ราชูปชีวี, ตฏฺ าเน เปนโฺ ต ราชา
อปุ ายนํ เทต’ี ’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ นิ ทต์ รัสว่า “หามไิ ด้ พระคุณเจา้ , พระคณุ เจา้ บรุ ุษผู้นน้ั เป็นผ้ทู ่ีพระราชา
ทรงชบุ เลย้ี ง เปน็ ผูท้ ่ีอาศยั พระราชาเลี้ยงชพี พระราชา เม่อื ทรงด�ำรงอยใู่ นอิสริยฐานะนน้ั ก็
ย่อมมีอ�ำนาจพระราชทานเครอ่ื งบรรณาการ (แกค่ นอน่ื ) ได”้
‘‘เอวเมว โข มหาราช น ตาวตเกน วสสฺ กิ สาฏิกานปุ ปฺ ทานมตตฺ เกน สโํ ฆ
ตถาคตโต อธโิ ก นาม โหต ิ วสิ ิฏฺโ วา, อถ โข ตถาคตภตฺตโิ ก ตถาคตปู ชวี ี ฯ ตฏฺ าเน
เปนฺโต ตถาคโต สฆํ สฺส วสฺสกิ สาฏิกํ ทาเปสิ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร ก็เหมอื นกันอยา่ งนนั้ น่นั แหละ พระ
สงฆ์ หาชื่อว่าเปน็ ผยู้ ง่ิ กว่า หรอื วเิ ศษกว่าพระตถาคต เพราะเหตุสกั ว่า รบั สั่งให้ถวายผา้ อาบ
นำ้� ฝนให้เทา่ นนั้ ไม่ ทว่า พระสงฆ์เปน็ ผทู้ พี่ ระตถาคตทรงชบุ เล้ียง เป็นผ้ทู ่อี าศยั พระตถาคต
เลย้ี งชพี พระตถาคตด�ำรงอยู่ในฐานะทวี่ ่านั้น กย็ ่อม (มอี �ำนาจ) รบั สัง่ ให้ถวายผา้ อาบน�้ำฝนแก่
พระสงฆไ์ ด ้
‘‘อปิจ มหาราช ตถาคตสฺส เอว ํ อโหสิ ‘สภาวปฏิปชู นีโย สโํ ฆ, มม สนตฺ เกน สํฆ ํ
ปฏปิ เู ชสฺสามี’ติ สฆํ สฺส วสฺสิกสาฏกิ ํ ทาเปสิ, น มหาราช ตถาคโต อตตฺ โนเยว ปฏิปชู น ํ
วณฺเณติ, อถ โข เย โลเก ปฏิปูชนารหา, เตสมฺปิ ตถาคโต ปฏปิ ชู นํ วณเฺ ณติ ฯ
ขอถวายพระพร อกี อยา่ งหน่งึ พระตถาคตทรงมีพระด�ำรอิ ยา่ งนี้ว่า พระสงฆเ์ ป็นผูท้ ่ี
ชาวโลกควรบชู าโดยสภาวะ เราจกั ใหช้ าวโลกบูชาพระสงฆใ์ นส�ำนักของเรา ดงั น้แี ล้ว กร็ บั ส่ัง
ให้ถวายผ้าอาบน�้ำฝนแกพ่ ระสงฆ์ ขอถวายพระพร หาตรสั สรรเสรญิ การบชู าเฉพาะพระองค์
เท่านนั้ ไม่ ทวา่ บุคคลเหล่าใด เปน็ ผู้ควรบูชาเฉพาะในโลก พระตถาคตจะตรสั สรรเสริญการ
บชู าแมต้ ่อบุคคลเหล่านัน้
‘‘ภาสิตมเฺ ปตํ มหาราช ภควตา เทวาตเิ ทเวน มชฺฌมิ นิกายวรล ฉฺ เก ธมฺมทายาท-
ธมมฺ ปรยิ าเย อปฺปิจฺฉปปฺ ฏปิ ตตฺ ึ ปกติ ตฺ ยมาเนน ‘อสุ เยว เม ปุรโิ ม ภกิ ขฺ ุ ปชุ ฺชตโร จ
ปาสสํ ตโร จา’ติ ฯ ‘‘นตถฺ ิ มหาราช ภเวสุ โกจิ สตโฺ ต ตถาคตโต ทกฺขเิ ณยโฺ ย วา อุตฺตโร

102 มิลนิ ทปัญหาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปัญห

วา อธิโก วา วิสิฏฺโ วา, ตถาคโตว อตุ ตฺ โร อธโิ ก วสิ ิฏฺโ ฯ
ขอถวายพระพร พระผู้มพี ระภาคเจา้ ผู้ทรงเปน็ เทพยงิ่ กว่าเหล่าเทพ เม่อื จะทรง
ยกยอ่ งขอ้ ปฏิบตั มิ กั น้อย ไดภ้ าษิตความข้อนนั่ ไวใ้ นธรรมปริยายเรอ่ื งธรรมทายาท (ธรรมทาย
สูตร) ในมัชฌิมนกิ าย ซงึ่ เป็นแนวทางประเสริฐวา่ ‘ภิกษุรปู แรกนน่ั แหละ กย็ ังเปน็ ผูท้ ่นี ่าบูชา
และน่าสรรเสรญิ กว่า ส�ำหรับเรา’ ดงั น้ี ขอถวายพระพร ในภพทัง้ หลาย สัตว์ผเู้ ปน็
ทักขไิ ณยบุคคลไหน ๆ ทีส่ งู กว่าหรอื ย่ิงกวา่ หรอื วเิ ศษกวา่ พระตถาคต หามีไม่ พระตถาคตนน่ั
แหละ ทรงเป็นผ้สู ูงสง่ กวา่ ยง่ิ กว่า วิเศษกวา่

‘‘ภาสิตมฺเปตํ มหาราช สยํ ตุ ฺตนกิ ายวเร มาณวคามเิ กน เทวปตุ ฺเตน ภควโต ปุรโต
ตฺวา เทวมนสุ ฺสมชฺเฌ –
‘‘วปิ โุ ล ราชคหียานํ คิริ เสฏโฺ ปวุจจฺ ต ิ
เสโต หิมวตํ เสฏฺโ อาทิจฺโจ อฆคามินํ ฯ
สมทุ โฺ ท อุทธินํ เสฏโฺ นกฺขตฺตาน ฺจ จนฺทมิ า
สเทวกสฺส โลกสสฺ พทุ ฺโธ อคโฺ ค ปวจุ ฺจตี’ติ ฯ
ขอถวายพระพร มาณวคามกิ เทพบตุ ร ยืนอยู่เบือ้ งพระพกั ตร์พระผมู้ ีพระภาคเจา้
ทา่ มกลางเทวดาและมนษุ ย์ทงั้ หลาย ได้ภาษติ ข้อความนี้ไวใ้ นสังยตุ ตนิกายอนั ประเสริฐว่า
“ภเู ขาวิปุละเยี่ยมทส่ี ดุ บรรดาภเู ขาที่ตง้ั อยูใ่ นปา่ หมิ พานต์
ภูเขาเสตบรรพตเย่ยี มทสี่ ุด บรรดาส่ิงทลี่ อยอยู่ในอากาศ ดวง
อาทติ ยเ์ ยี่ยมท่ีสุด บรรดาห้วงน�ำ้ ท้งั หลาย สมทุ รเยย่ี มทสี่ ดุ
บรรดาดวงดาวท้ังหลาย ดวงจันทร์เย่ียมทสี่ ุด บณั ฑติ กล่าวว่า
พระพทุ ธเจ้าเลิศกว่าชาวโลกพร้อมทัง้ เทวดา”

‘‘ตา โข ปเนตา มหาราช มาณวคามเิ กน เทวปตุ ฺเตน คาถา สุคีตา น ทคุ คฺ ีตา,
สุภาสติ า น ทุพภฺ าสติ า, อนมุ ตา จ ภควตา, นนุ มหาราช เถเรนปิ สารปิ ตุ ฺเตน
ธมฺมเสนาปตินา ภณติ ํ –
‘‘เอโก มโนปสาโท สรณคมนม ฺชลิปณาโม วา
อสุ สฺ หเต ตารยิตํุ มารพลนิสูทเน พทุ ฺเธ’ติ ฯ
ขอถวายพระพร ก็คาถานน้ี ้ัน เป็นคาถาท่มี าณวคามกิ เทพบตุ รขบั ไว้ดี ไมใ่ ช่ขบั ไวไ้ มด่ ี
กล่าวไวด้ ี ไมใ่ ช่กล่าวไว้ไม่ดี และพระผมู้ พี ระภาคเจ้าก็ทรงเหน็ ชอบ ขอถวายพระพร แมท้ า่ น
พระธรรมเสนาบดีสารบี ตุ รเถระ กไ็ ด้กลา่ วไวเ้ หมอื นกนั มใิ ชห่ รือว่า

กัณฑ์] ๔.๖ อาจรยิ านาจริยวรรค 103

“ความเลอ่ื มใสแห่งใจ ก็ดี การถงึ วา่ เปน็ สรณะ กด็ ี การน้อม
อญั ชลีไป ก็ดี เพยี งอยา่ งเดยี ว ในพระพทุ ธเจ้า ผู้ทรงท�ำลาย
ก�ำลังมารได้ ยอ่ มสามารถชว่ ยสตั ว์ให้ขา้ มภพกนั ดารได้” ดังน้ี
‘‘ภควตา จ ภณติ ํ เทวาตเิ ทเวน ‘เอกปคุ คฺ โล ภิกขฺ เว โลเก อปุ ฺปชชฺ มาโน
อุปฺปชฺชติ พหุชนหิตาย พหชุ นสขุ าย โลกานุกมฺปาย อตถฺ าย หติ าย สขุ าย เทวมนสุ ฺสานํ
ฯ กตโม เอกปุคฺคโล ? ตถาคโต อรห ํ สมฺมาสมพฺ ุทโฺ ธ…เป.… เทวมนุสสฺ านนฺ’’ติ ฯ
อน่งึ พระผมู้ ีพระภาคเจา้ ผู้ทรงเป็นเทพยง่ิ กว่าเหลา่ เทพได้ตรัสไว้วา่ ‘ภิกษุทัง้ หลาย
บุคคลผู้เป็นเอก เมือ่ เกิดขึน้ ในโลก ยอ่ มเกิดขน้ึ เพอ่ื เกือ้ กลู แก่คนหมมู่ าก เพ่อื สขุ แก่คนหมู่
มาก เพอื่ อนเุ คราะหช์ าวโลก เพ่อื ประโยชน์ เพ่ือเกือ้ กลู เพือ่ สขุ แกเ่ ทวดาและมนษุ ย์ทั้งหลาย
บุคคลผู้เปน็ เอกคือใคร คือ พระตถาคตอรหนั ตสัมมาสมั พุทธเจา้ ฯลฯ แหง่ เทวดาและมนุษย์
ทั้งหลาย’ ดงั นี้
‘‘สาธุ ภนฺเต นาคเสน เอวเมตํ ตถา สมปฺ ฏิจฉฺ าม’ี ’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ ินท์ตรสั วา่ “ดจี รงิ พระคุณเจา้ นาคเสน โยมขอยอมรบั ค�ำตามท่ีท่านกล่าวมา
อยา่ งนี้”

โคตมิวตถฺ ทานปญโฺ ห ตติโย ฯ
จบโคตมิวตั ถทานปญั หาข้อที่ ๓

________

๔. คิหิปพพฺ ชติ สมฺมาปฏิปตฺติปญหฺ
๔. คิหิปพั พชติ สัมมาปฏิปัตตปิ ัญหา
ปัญหาวา่ ดว้ ยการปฏิบัตชิ อบแห่งผู้เป็นคฤหสั ถแ์ ละผ้เู ป็นบรรพชติ
[๔] ‘‘ภนฺเต นาคเสน ภาสิตมฺเปตํ ภควตา ‘คิหิโน วาห ํ ภิกฺขเว ปพพฺ ชิตสสฺ วา
สมมฺ าปฏปิ ตตฺ ึ วณเฺ ณม,ิ คหิ ี วา ภิกฺขเว ปพฺพชิโต วา สมมฺ าปฏปิ นโฺ น สมฺมาปฏิปตตฺ า-
ธกิ รณเหต ุ อาราธโก โหติ าย ํ ธมมฺ ํ กสุ ลนฺ”ติ ฯ ยทิ ภนเฺ ต นาคเสน คหิ ี โอทาตวสโน
กามโภค ี ปุตตฺ ทารสมฺพาธสยน ํ อชฌฺ าวสนโฺ ต กาสิกจนทฺ น ํ ปจฺจนโุ ภนโฺ ต มาลาคนฺธวเิ ลปน ํ
ธาเรนโฺ ต ชาตรปู รชตํ สาทิยนฺโต มณิกณุ ฺฑล วจิ ติ ตฺ โมฬิพทโฺ ธ สมฺมาปฏปิ นฺโน อาราธโก
โหติ ายํ ธมฺม ํ กสุ ลํ, ปพพฺ ชโิ ตปิ ภณฺฑุกาสาววตถฺ วสโน ปรปณิ ฺฑมชฌฺ ุปคโต จตูส ุ

104 มลิ ินทปญั หาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปัญห

สลี กฺขนฺเธสุ สมมฺ าปรปิ ูรการ ี ทยิ ฑฺเฒสุ สิกฺขาปทสเตสุ สมาทาย วตฺตนโฺ ต เตรสส ุ
ธุตคุเณสุ อนวเสสํ วตตฺ นโฺ ต สมฺมาปฏิปนโฺ น อาราธโก โหต ิ ายํ ธมฺม ํ กสุ ลํ ฯ ตตฺถ
ภนฺเต โก วเิ สโส คิหโิ น วา ปพพฺ ชิตสฺส วา ? อผล ํ โหติ ตโปกมมฺ ํ, นิรตฺถกา
ปพฺพชชฺ า ฯ ว ฌฺ า สิกฺขาปทโคปนา, โมฆํ ธตุ คณุ สมาทานํ, ก ึ ตตฺถ ทุกฺขมนจุ ิณเฺ ณน,
นนุ นาม สุเขเนว สุขํ อธคิ นตฺ พพฺ น”ฺ ติ ฯ
[๔] พระเจ้ามิลนิ ท์ตรัสวา่ “พระคุณเจา้ นาคเสน พระผมู้ ีพระภาคเจ้าทรงภาษิตความ
ขอ้ นีไ้ ว้วา่ ‘ภกิ ษทุ ้งั หลาย เราสรรเสริญการปฏบิ ัตชิ อบของคฤหสั ถ์ หรอื ของบรรพชติ ภกิ ษทุ ้งั
หลาย คฤหัสถ์หรอื บรรพชิต ปฏิบัตชิ อบ เพราะการปฏิบตั ชิ อบเปน็ เหตุ ยอ่ มท�ำญายกศุ ลธรรม
ส�ำเรจ็ บรบิ ูรณ’์ พระคุณเจ้านาคเสน ถ้าหากว่า พวกคฤหสั ถค์ รองผ้าขาว บริโภคกาม ครองที่
อยู่ท่ีแออดั ดว้ ยบุตรและภรรยา เสวยจนั ทนห์ อมจากแควน้ กาสี ทดั ทรงพวงดอกไม้ของหอม
เคร่ืองลูบไล้ ยนิ ดที องและเงิน ประดบั ต่างหแู ละมนุ่ มวยผมแปลก ๆ กนั กเ็ ปน็ ผู้ปฏิบัตชิ อบท�ำ
ญายธรรมท่เี ปน็ กศุ ลใหส้ �ำเร็จได้ แมผ้ เู้ ป็นบรรพชิตครองผา้ กาสาวะ อาศยั กอ้ นข้าวของผ้อู นื่ ผู้
ท�ำให้บรบิ ูรณ์โดยชอบในกองศลี ๔ ประพฤติสมาทานสิกขาบท ๑๕๐ ประพฤติในธุดงค์คณุ
๑๓ ไมม่ ีเหลอื ก็ช่ือว่า เป็นผปู้ ฏบิ ตั ิชอบท�ำญายธรรมทีเ่ ปน็ กศุ ลให้ส�ำเรจ็ ไดไ้ ซร้ พระคณุ เจ้า
(เม่ือเปน็ เชน่ นัน้ ) ในบคุ คล ๒ จ�ำพวกนนั้ ผู้เป็นคฤหัสถก์ ด็ ี ผู้เปน็ บรรพชติ ก็ดี จะมีอะไรเป็น
ขอ้ ทแี่ ตกตา่ งกันเล่า การบ�ำเพญ็ ตบะกเ็ ปน็ อันวา่ ไรผ้ ล การบวชกเ็ ปน็ อันวา่ หาประโยชน์มไิ ด้
การรักษาสิกขาบทกเ็ ป็นอนั ว่าเปน็ หมัน การสมาทานธดุ งค์ก็เปน็ อันวา่ เหลวเปล่า ประโยชน์
อะไรดว้ ยการสั่งสมแตค่ วามทกุ ขย์ ากในความเปน็ บรรพชิตนัน้ เลา่ เพราะว่ามคี วามสขุ สบาย
นน่ั แหละ กอ็ าจบรรลสุ ุขไดม้ ใิ ช่หรือ ?”
‘‘ภาสติ มเฺ ปตํ มหาราช ภควตา ‘คหิ โิ น วาห ํ ภกิ ฺขเว ปพพฺ ชิตสฺส วา สมมฺ า-
ปฏิปตฺตึ วณฺเณมิ, คหิ ี วา ภกิ ฺขเว ปพฺพชโิ ต วา สมฺมาปฏปิ นฺโน สมฺมาปฏิปตตฺ าธกิ รณ-
เหตุ อาราธโก โหต ิ าย ํ ธมมฺ ํ กุสลน”ฺ ติ ฯ เอวเมต ํ มหาราช สมมฺ าปฏิปนโฺ นว, เสฏโฺ
ปพพฺ ชิโตปิ มหาราช ‘ปพฺพชิโตมฺหี’ต ิ น สมมฺ า ปฏปิ ชเฺ ชยฺย, อถ โข โส อารกาว
สาม ฺ า, อารกาว พรฺ หมฺ ฺ า, ปเคว คิห ี โอทาตวสโน ฯ คหิ ีป ิ มหาราช สมมฺ า-
ปฏิปนฺโน อาราธโก โหติ าย ํ ธมมฺ ํ กสุ ล,ํ ปพฺพชิโตป ิ มหาราช สมฺมาปฏปิ นฺโน
อาราธโก โหติ าย ํ ธมมฺ ํ กสุ ลํ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร พระผู้มีพระภาคเจ้าทรง
ภาษิตความขอ้ น้ีไวว้ า่ ‘ภิกษุท้งั หลาย เราสรรเสรญิ การปฏบิ ัติชอบของผเู้ ปน็ คฤหัสถ์และของผู้

กัณฑ]์ ๔.๖ อาจรยิ านาจริยวรรค 105

เปน็ บรรพชติ ภิกษุท้ังหลาย ผู้เป็นคฤหัสถก์ ็ดี ผู้เป็นบรรพชติ ก็ดี ซง่ึ เป็นผปู้ ฏบิ ัติชอบ ย่อม
เป็นผูท้ �ำญายธรรม ที่เปน็ กุศลใหส้ �ำเร็จได้ เพราะการปฏิบตั ชิ อบเป็นเหตุ’ ดังนี้ จริง ขอถวาย
พระพร ขอ้ ท่ีว่านี้เป็นอย่างทต่ี รัสมาอยา่ งนี้ บคุ คลผูป้ ฏิบตั ชิ อบนน่ั เทยี ว ช่ือว่าเปน็ ผปู้ ระเสริฐ
สดุ ขอถวายพระพร แม้ว่าเป็นบรรพชิต แตถ่ า้ คิดว่า เราบวชแลว้ แลว้ ไมป่ ฏบิ ัตชิ อบ เมื่อเป็น
เชน่ น้ัน เขานั้นก็จดั วา่ อย่หู า่ งไกลจากความเปน็ สมณะ อยู่ห่างไกลจากความเปน็ ผปู้ ระเสริฐ
จะปว่ ยกลา่ วไปใยถึงผูเ้ ป็นคฤหสั ถค์ รองผ้าขาวเลา่ ขอถวายพระพร ทั้งคฤหัสถ์ผปู้ ฏิบัตชิ อบ
ก็เป็นผทู้ �ำญายธรรมทเี่ ป็นกุศลให้ส�ำเรจ็ ได้ ท้ังบรรพชิตผู้ปฏิบัตชิ อบ ก็เป็นผู้ท�ำญายธรรมท่ี
เป็นกศุ ลใหส้ �ำเร็จได้
‘‘อปิจ โข มหาราช ปพพฺ ชโิ ตว สาม ฺ สฺส อิสฺสโร อธิปต;ิ ปพฺพชฺชา มหาราช
พหคุ ุณา อเนกคณุ า อปปฺ มาณคณุ า, น สกฺกา ปพพฺ ชฺชาย คณุ ํ ปริมาณํ กาตํุ ฯ
ขอถวายพระพร กแ็ ต่วา่ ผูเ้ ปน็ บรรพชติ เทา่ นนั้ ย่อมเปน็ อิสระเปน็ ใหญแ่ ห่งสามัญญ-
ผล ขอถวายพระพร การบวชมคี ุณมากมาย มคี ุณหลายอยา่ ง มคี ณุ หาประมาณมิได้ บุคคลไม่
อาจท�ำการนบั คุณของการบวชได้
‘‘ยถา มหาราช กามททสฺส มณิรตนสฺส น สกกฺ า ธเนน อคฺโฆ ปริมาณ ํ กาตุํ
‘เอตฺตกํ มณิรตนสฺส มลู นฺ’ติ, เอวเมว โข มหาราช ปพพฺ ชฺชา พหคุ ุณา อเนกคณุ า
อปฺปมาณคณุ า, น สกกฺ า ปพฺพชชฺ าย คุณํ ปรมิ าณํ กาตํุ ฯ
ขอถวายพระพร เปรียบเหมือนวา่ บคุ คลไม่อาจใช้ทรพั ย์ ท�ำการนบั คา่ ของแกว้ มณี
(ของพระเจ้าจักรพรรดิ) ที่บนั ดาลแตส่ ิ่งท่ีต้องการว่า แก้วมณีมีค่าเท่านน้ั เทา่ นี้ได้ ฉันใด ขอ
ถวายพระพร การบวชมคี ณุ มากมาย มีคุณหลายอยา่ ง มีคณุ หาประมาณมไิ ด้ บคุ คลไมอ่ าจ
ท�ำการนับคณุ ของการบวชได้ ฉันนน้ั เหมือนกนั
‘‘ยถา วา ปน มหาราช มหาสมทุ เฺ ท อมู ิโย น สกฺกา ปรมิ าณ ํ กาตุ ํ ‘เอตตฺ กา
มหาสมทุ เฺ ท อมู โิ ย’ต,ิ เอวเมว โข มหาราช ปพพฺ ชชฺ า พหุคุณา อเนกคุณา อปปฺ มาณ-
คุณา, น สกฺกา ปพพฺ ชฺชาย คณุ ํ ปริมาณ ํ กาตุํ ฯ
ขอถวายพระพร เหมือนอย่างวา่ บุคคลไมอ่ าจท�ำการนับลกู คลื่นในมหาสมทุ รไดว้ ่า ใน
มหาสมทุ รมีลกู คล่ืนอยู่เท่านั้นเท่านีไ้ ด้ ฉันใด ขอถวายพระพร การบวชมคี ุณมากมาย มคี ณุ
หลายอยา่ ง มีคณุ หาประมาณมไิ ด้ บุคคลไม่อาจท�ำการนับคุณของการบวชได้ ฉนั น้ันเหมอื น
กัน

106 มลิ นิ ทปัญหาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปญั ห

‘‘ปพฺพชติ สสฺ มหาราช ยํ ก ิ จฺ ิ กรณียํ, สพพฺ ํ ต ํ ขิปฺปเมว สมิชฺฌต ิ โน จิรรตฺตาย
ฯ กกึ ารณา ? ปพพฺ ชิโต มหาราช อปฺปจิ โฺ ฉ โหติ สนฺตุฏโฺ ปวิวิตฺโต อสํสฏโฺ อารทฺธ-
วรี ิโย นริ าลโย อนิเกโต ปริปุณณฺ สีโล สลเฺ ลขติ าจาโร ธุตปฺปฏปิ ตฺติกสุ โล โหต,ิ ต ํ การณา
ปพพฺ ชิตสฺส ยํ กิ จฺ ิ กรณีย,ํ สพพฺ ํ ตํ ขิปปฺ เมว สมชิ ฌฺ ต ิ โน จิรรตฺตาย ฯ ยถา มหาราช
นิคคฺ ณฺ ิสมสุโธตอชุ วุ มิ ลนาราโจ สุสชฺชิโต สมฺมา วหต,ิ เอวเมว โข มหาราช ปพฺพชิตสสฺ
ย ํ กิ ฺจิ กรณีย,ํ สพพฺ ํ ตํ ขิปฺปเมว สมิชฌฺ ต ิ โน จริ รตฺตายา’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร กจิ ทคี่ วรท�ำอย่างใดอย่างหน่ึง กิจทัง้ หมดน้ัน ยอ่ มส�ำเร็จได้โดยพลัน
ทเี ดยี ว แกผ่ เู้ ป็นบรรพชติ หาส�ำเร็จไดโ้ ดยพลนั แก่ผู้เปน็ คฤหัสถ์ไม่ เพราะเหตไุ รหรอื ? ขอ
ถวายพระพร ผูเ้ ป็นบรรพชิตเปน็ ผ้มู กั นอ้ ย สนั โดษ สงดั วเิ วก ไมค่ ลกุ คลีดว้ ยหมู่ ปรารภความ
เพียร ไม่มีทอ่ี ยู่ ไม่มบี า้ น มศี ลี บรบิ ูรณ์ มคี วามประพฤตขิ ดู เกลากิเลส ฉลาดในข้อปฏบิ ตั ทิ เี่ ป็น
องค์คุณก�ำจดั กิเลส เพราะเหตุนัน้ กิจทคี่ วรท�ำอยา่ งใดอยา่ งหนง่ึ มอี ยู่ กจิ ทงั้ หมดน้ัน ยอ่ ม
ส�ำเรจ็ ได้โดยพลนั ทเี ดียว แกผ่ เู้ ป็นบรรพชิต หาส�ำเรจ็ โดยพลนั แก่ผเู้ ป็นคฤหัสถไ์ ม่ ขอถวาย
พระพร เปรียบเหมอื นว่า ลูกศรทปี่ ราศจากปม ขดั เรยี บดี ตรงดี ไมม่ สี นมิ เวลานายขมงั ธนูยิง
ไป กย็ ่อมไปได้ดว้ ยดี ฉนั ใด ขอถวายพระพร กจิ ท่คี วรท�ำอยา่ งใดอยา่ งหน่ึง มอี ยู่ กิจทงั้ หมด
นน้ั ย่อมส�ำเรจ็ ได้โดยพลันทเี ดยี วแกผ่ ู้เป็นบรรพชิต หาส�ำเรจ็ ได้โดยพลันแก่ผูเ้ ปน็ คฤหัสถไ์ ม่
ฉนั นน้ั เหมือนกันแล

‘‘สาธุ ภนฺเต นาคเสน เอวเมตํ ตถา สมฺปฏจิ ฉฺ าม’ี ’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ ินทต์ รัสวา่ “ดจี รงิ พระคณุ เจ้านาคเสน โยมขอยอมรบั ค�ำตามท่ที ่านกลา่ วมา
น้ี”

คหิ ิปพฺพชติ สมฺมาปฏิปตฺติปญฺโห จตตุ ฺโถ ฯ
จบคหิ ิปัพพชติ สัมมาปฏปิ ตั ตปิ ัญหาข้อท่ี ๔

________

กณั ฑ์] ๔.๖ อาจรยิ านาจริยวรรค 107

๕. ปฏิปทาโทสปญหฺ
๕. ปฏิปทาโทสปัญหา
ปัญหาว่าด้วยโทษแห่งปฏิปทา

[๕] ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน ยทา โพธสิ ตโฺ ต ทุกฺกรการกิ ํ อกาส,ิ เนตาทิโส อ ฺ ตรฺ
อารมโฺ ภ อโหส ิ นิกกฺ โม กเิ ลสยทุ ฺธํ มจฺจเุ สนํ วิธมนํ อาหารปริคคฺ โห ทกุ กฺ รการกิ า, เอวรเู ป
ปรกกฺ เม กิ จฺ ิ อสสฺ าท ํ อลภิตวฺ า ตเมว จติ ฺต ํ ปรหิ าเปตฺวา เอวมโวจ ‘น โข ปนาห ํ
อิมาย กฏุกาย ทกุ กฺ รการกิ าย อธิคจฺฉามิ อตุ ตฺ รมิ นสุ ฺสธมมฺ ํ อลมริย าณทสฺสนวิเสส,ํ สยิ า
น ุ โข อ ฺโ มคโฺ ค โพธายา’ติ, ตโต นิพฺพินฺทติ ฺวา อ ฺเ น มคเฺ คน สพพฺ ฺ ตุ ํ ปตฺโต,
ปุน ตาย ปฏปิ ทาย สาวเก อนุสาสติ สมาทเปติ ฯ
‘‘อารมฺภถ นกิ ขฺ มถ ยุ ชฺ ถ พทุ ฺธสาสเน
ธุนาถ มจฺจโุ น เสนํ นฬาคารํว กุ ชฺ โร’ติ ฯ
[๕] พระเจา้ มิลินทต์ รสั ว่า “พระคณุ เจ้านาคเสน ในคราวทพ่ี ระโพธสิ ัตว์ไดบ้ �ำเพญ็
ทุกกรกิริยาแลว้ การประกอบความเพียร การท�ำความเพยี ร อย่าหยดุ ยงั้ การรบกับกิเลส การ
ก�ำจดั มารและเสนามาร การก�ำหนดอาหาร การบ�ำเพ็ญทกุ กรกิรยิ าทเี่ ป็นเชน่ นี้ กม็ ิได้มใี น
คราวอ่ืนอกี เมอ่ื ทรงมีความบากบั่นเห็นปานฉะนี้ กม็ ิทรงได้รบั คุณวเิ ศษอะไร ๆ จึงทรงเลิกลม้
พระทัย ตรสั อย่างนี้ว่า ‘เราไม่บรรลอุ ุตตริมนสุ สธรรม ซง่ึ เป็นความรคู้ วามเหน็ พิเศษของพระ
อริยเจา้ ดว้ ยการบ�ำเพ็ญทกุ กรกริ ิยาท่ีเผ็ดร้อนนไ้ี ด้ ทางไปสกู่ ารตรสั รทู้ างอืน่ พงึ มหี รือหนอ’
ดงั น้ี ทรงเบ่อื หน่ายคลายจากทางน้นั แล้ว กท็ รงบรรลุพระสพั พญั ญตุ ญาณโดยทางอื่น แตก่ ลบั
ทรงอนุศาสน์ชกั ชวนสาวกทั้งหลายด้วยปฏปิ ทานั้นอีกว่า
“ท่านท้ังหลายจงปรารภความเพียร จงท�ำความเพยี รอย่าหยุด
ย้งั จงประกอบความเพียรในพระพทุ ธศาสนา จงก�ำจดั กองทพั
แหง่ มัจจุ เหมือนช้างก�ำจัดเรอื นตน้ ออ้ ฉะนัน้ ” ดังน้ี

‘‘เกน น โข ภนฺเต นาคเสน การเณน ตถาคโต ยาย ปฏิปทาย อตตฺ นา
นิพพฺ นิ ฺโน วริ ตฺตรโู ป, ตตถฺ สาวเก อนุสาสติ สมาทเปตี’’ติ ?
พระคุณเจา้ นาคเสน เพราะเหตุไร พระตถาคตพระองค์เอง ทรงเบอื่ หนา่ ย ไมท่ รงยนิ ดี
ปฏิปทาใด แต่กลับทรงอนศุ าสน์ ชักชวนสาวกทั้งหลายด้วยปฏปิ ทานั้นเลา่ ?”

108 มลิ นิ ทปัญหาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปญั ห

‘‘ตทาป ิ มหาราช เอตรหิปิ สาเยว ปฏิปทา, ตํเยว ปฏปิ ทํ ปฏปิ ชฺชติ วฺ า โพธิสตโฺ ต
สพพฺ ฺ ตุ ํ ปตโฺ ต ฯ อปจิ มหาราช โพธิสตโฺ ต อตวิ ีริย ํ กโรนโฺ ต นิรวเสสโต อาหาร ํ
อุปรุนธฺ ิ ฯ ตสสฺ อาหารปู โรเธน จิตตฺ ทพุ พฺ ลฺย ํ อุปปฺ ชฺชิ ฯ โส เตน ทุพฺพลฺเยน นาสกขฺ ิ
สพพฺ ฺ ุตํ ปาปณุ ิตุํ, โส มตฺตมตตฺ ํ กพฬีการาหารํ เสวนโฺ ต ตาเยว ปฏปิ ทาย นจิรสเฺ สว
สพฺพ ฺ ุต ํ ปาปณุ ิ ฯ สาเยว มหาราช ปฏปิ ทา สพฺเพส ํ ตถาคตาน ํ สพพฺ ฺ ุต าณป-ฺ
ปฏลิ าภาย ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร ปฏปิ ทา ทัง้ ในคราวน้นั ทั้ง
ในคราวน้ีนนั้ ก็เป็นอนั เดยี วกนั นน่ั แหละ พระโพธิสตั วท์ รงไดบ้ รรลพุ ระสพั พัญญุตญาณ เพราะ
ไดป้ ฏิบัติปฏปิ ทาน้นั นน่ั แหละ ขอถวายพระพร ก็แต่ว่า พระโพธิสัตว์ทรงกระท�ำความเพียร
เกินไป ทรงห้ามขาดอาหารโดยสน้ิ เชิง จงึ เกิดพระทัยออ่ นก�ำลังไป เพราะมพี ระทัยอ่อนก�ำลงั
ไป จึงไมท่ รงสามารถบรรลุพระสัพพัญญตุ ญาณได้ พระโพธิสัตว์นั้น เม่อื (ทรงหวนกลับมา)
เสวยพระกพฬิงการาหารอยา่ งเพียงพอ ก็ไดท้ รงบรรลพุ ระสัพพัญญุตญาณตอ่ กาลไม่นานเลย
ดว้ ยปฏิปทานน้ั น่ันแหละ ขอถวายพระพร พระตถาคตทุกพระองค์ ลว้ นทรงมีปฏิปทาเพ่อื
บรรลุพระสพั พัญญุตญาณ เป็นอยา่ งเดียวกนั นน้ั น่นั แหละ
‘‘ยถา มหาราช สพฺเพสํ สตตฺ าน ํ อาหาโร อุปตฺถมฺโภ, อาหารปู นิสฺสติ า สพเฺ พ
สตตฺ า สุข ํ อนุภวนฺติ, เอวเมว โข มหาราช สาเยว ปฏปิ ทา สพฺเพสํ ตถาคตานํ
สพฺพ ฺ ตุ าณปฺปฏลิ าภาย, เนโส มหาราช โทโส อารมฺภสฺส, น นกิ กฺ มสฺส, น
กิเลสยุทธฺ สสฺ , เยน ตถาคโต ตสมฺ ึ สมเย น ปาปุณิ สพฺพ ฺ ุต าณ,ํ อถ โข
อาหารูปโรธสเฺ สเวโส โทโส, สทา ปฏยิ ตตฺ าเยเวสา ปฏิปทา ฯ
ขอถวายพระพร เปรียบเหมือนวา่ สัตวท์ ง้ั หลายทงั้ ปวง ล้วนมีอาหารเปน็ สง่ิ อุปถมั ภ์
ค้�ำจนุ สตั วท์ ง้ั หลายทง้ั ปวงผู้องิ อาศยั อาหาร ยอ่ มเสวยสุข ฉันใด ขอถวายพระพร พระตถาคต
ทุกพระองค์ ลว้ นทรงมีปฏิปทาเพ่อื การบรรลุพระสพั พัญญตุ ญาณ เป็นอยา่ งเดียวกนั นน้ั นั่น
แหละ ฉนั น้นั เหมือนกัน ขอถวายพระพร เหตทุ ่ที �ำให้พระตถาคตไมท่ รงบรรลพุ ระสัพพญั ญตุ -
ญาณในสมยั น้นั ได้นี้ ไมใ่ ช่โทษของการปรารภความเพียร ไมใ่ ชโ่ ทษของการท�ำความเพยี ร
อย่างไมห่ ยุดยง้ั ไม่ใช่โทษของการรบกบั กิเลส ทว่า นีเ้ ป็นโทษของการห้ามขาดอาหาร
ปฏิปทานเี้ ป็นอันตอ้ งมีประจ�ำตลอดกาลทกุ เมอ่ื เทยี ว
‘‘ยถา มหาราช ปรุ ิโส อทธฺ าน ํ อติเวเคน คจฺเฉยฺย, เตน โส ปกขฺ หโต วา ภเวยฺย

กณั ฑ]์ ๔.๖ อาจริยานาจรยิ วรรค 109

ปี สปปฺ ี วา อส ฺจโร ปถวติ เล ฯ อปิ นุ โข มหาราช มหาปถวิยา โทโส อตฺถ ิ เยน โส
ปรุ โิ ส ปกฺขหโต อโหสี’’ติ ?
ขอถวายพระพร เปรยี บเหมอื นว่า บุรษุ คนหน่งึ เดินทางไกล ว่งิ ไปดว้ ยความเรว็ ยงิ่
เพราะเหตุนนั้ เขาจึงบาดเจ็บบ้าง ง่อยเปลีย้ เพลยี ไปบา้ ง สัญจรไปบนพน้ื แผ่นดินมไิ ด้อกี ขอ
ถวายพระพร โทษของแผน่ ดนิ ใหญท่ ี่เป็นเหตใุ ห้บรุ ษุ ผ้นู ้ันเป็นคนบาดเจ็บมีอย่หู รือ ?”
‘‘น ห ิ ภนเฺ ต; สทา ปฏยิ ตฺตา, ภนเฺ ต มหาปถว,ี กุโต ตสสฺ า โทโส ?
วายามสเฺ สเวโส โทโส, เยน โส ปรุ ิโส ปกฺขหโต อโหสี’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ ินทต์ รัสว่า “ไม่มีหรอก พระคุณเจ้า แผ่นดินใหญ่มีเป็นประจ�ำตลอดกาลทกุ
เมื่อ พระคุณเจ้า แผ่นดินใหญน่ ั้นจะมีโทษได้แต่ไหนเล่า เหตทุ ท่ี �ำใหบ้ รุ ษุ ผู้น้ันเป็นคนบาดเจบ็
ไปนี้ คอื โทษของความพยายามน่นั เอง”
‘‘เอวเมว โข มหาราช เนโส โทโส อารมฺภสสฺ , น นกิ ฺกมสสฺ , น กิเลสยุทฺธสสฺ , เยน
ตถาคโต ตสฺมึ สมเย น ปาปุณิ สพพฺ ฺ ุต าณํ, อถ โข อาหารปู โรธสฺเสเวโส โทโส สทา
ปฏิยตฺตาเยเวสา ปฏปิ ทา ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร ก็เหมือนกนั อยา่ งน้ันน่ันแหละ เหตทุ ่ี
ท�ำให้พระตถาคตไม่ทรงบรรลุพระสัพพญั ญตุ ญาณในสมยั นัน้ ได้นี้ ไมใ่ ช่โทษของการปรารภ
ความเพียร ไมใ่ ชโ่ ทษของการท�ำความเพียรอย่างไม่หยุดยั้ง ไมใ่ ชโ่ ทษของการรบกับกเิ ลส
ทว่า นีเ้ ปน็ โทษของการหา้ มขาดอาหารแล ปฏิปทาน้ี เปน็ อันต้องมปี ระจ�ำตลอดกาลทุกเมอ่ื ที
เดยี ว
‘‘ยถา วา ปน มหาราช ปรุ โิ ส กิลิฏฺ ํ สาฏก ํ นวิ าเสยยฺ , น โส ต ํ โธวาเปยยฺ ,
เนโส โทโส อทุ กสสฺ , สทา ปฏยิ ตฺตํ อุทกํ ฯ ปรุ สิ สฺเสเวโส โทโส ฯ เอวเมว โข มหาราช
เนโส โทโส อารมภฺ สสฺ , น นิกกฺ มสสฺ , น กิเลสยทุ ธฺ สฺส, เยน ตถาคโต ตสฺมึ สมเย น
ปาปุณิ สพฺพ ฺ ตุ าณํ, อถ โข อาหารูปโรธสฺเสเวโส โทโส, สทา ปฏิยตตฺ าเยเวสา
ปฏปิ ทา, ตสมฺ า ตถาคโต ตาเยว ปฏิปทาย สาวเก อนุสาสติ สมาทเปต,ิ เอว ํ โข มหาราช
สทา ปฏิยตฺตา อนวชฺชา สา ปฏปิ ทา’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร อีกอย่างหน่งึ เปรยี บเหมอื นว่า บุรุษคนหน่งึ น่งุ ผ้าสาฎกเศร้าหมอง
เขาไมใ่ ชน้ ้�ำซกั ผ้าผืนนัน้ ให้สะอาด ขอ้ ท่ีเขาไมไ่ ด้ใช้นำ้� ซกั ผ้าผืนนัน้ ให้สะอาดน้ี ไม่ใชโ่ ทษของ
น�ำ้ นำ้� มีประจ�ำอยูต่ ลอดกาลทกุ เม่ือ ขอ้ นีเ้ ป็นโทษของบุรุษผนู้ ั้นเองเชียว ฉันใด ขอถวาย

110 มิลินทปญั หาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปัญห

พระพร เหตทุ ี่ท�ำใหพ้ ระตถาคตไมท่ รงบรรลพุ ระสัพพัญญุตญาณในสมัยนั้นไดน้ ้ี ไม่ใชโ่ ทษ
ของการปรารภความเพียร ไม่ใชโ่ ทษของการท�ำความเพียรอย่างไมห่ ยุดยง้ั ไมใ่ ช่โทษของ
การรบกับกเิ ลส ทว่า นเ้ี ป็นโทษของการห้ามขาดอาหารแล ปฏปิ ทาน้ี เปน็ อนั ต้องมีประจ�ำ
ตลอดกาลทุกเมื่อ ฉันนน้ั เหมือนกนั เพราะฉะนน้ั พระตถาคตจึงทรงอนศุ าสน์ ชักชวน สาวก
ทง้ั หลายดว้ ยปฏิปทานน้ั เหมือนกนั ขอถวายพระพร ปฏปิ ทาน้นั หาโทษมิได้ เปน็ อันต้องมี
ประจ�ำตลอดกาลทกุ เม่อื อย่างนีแ้ ล”

‘‘สาธ ุ ภนเฺ ต นาคเสน เอวเมต ํ ตถา สมปฺ ฏิจฺฉาม’ี ’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ นิ ท์ตรสั ว่า “ดีจรงิ พระคุณเจา้ นาคเสน โยมขอยอมรับค�ำตามท่ีทา่ นกล่าวมา
น้ี”

ปฏปิ ทาโทสปญฺโห ปญจฺ โม ฯ
จบปฏปิ ทาโทสปัญหาข้อที่ ๕

________

๖. หนี ายาวตตฺ นปญฺห
๖. หีนายาวัตตนปัญหา
ปัญหาว่าดว้ ยการเวียนมาส่เู พศท่เี ลว
[๖] ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน มหนฺต ํ อิท ํ ตถาคตสาสนํ สาร ํ วรํ เสฏ ฺ ํ ปวร ํ อนุปม ํ
ปรสิ ทุ ธฺ ํ วิมลํ ปณฺฑร ํ อนวชฺช,ํ น ยุตตฺ ํ คิห ึ ตาวตก ํ ปพฺพเชตุํ, คิหเี ยว เอกสมฺ ึ ผเล
วเิ นตฺวา ยทา อปุนราวตฺตี โหติ ตทา โส ปพฺพาเชตพฺโพ ฯ กกึ ารณา ? อเิ ม ทชุ ฺชนา
ตาว ตตถฺ สาสเน วิสุทฺเธ ปพฺพชิตฺวา ปฏินิวตฺตติ ฺวา หีนายาวตตฺ นตฺ ิ, เตสํ ปจจฺ าคมเนน
อย ํ มหาชโน เอวํ วจิ นิ ฺเตติ ‘ตจุ ฉฺ กํ วต โภ เอตํ สมณสฺส โคตมสสฺ สาสนํ ภวสิ ฺสติ, ย ํ
อิเม ปฏนิ วิ ตตฺ นฺตี’ต,ิ อทิ เมตถฺ การณนฺ”ติ ฯ
[๖] พระเจา้ มลิ ินทต์ รัสว่า “พระคุณเจา้ นาคเสน พระศาสนาของพระตถาคตนี้ ย่งิ ใหญ่
มีสาระ ดงี าม ประเสรฐิ ยอดเย่ียม หาส่ิงเปรยี บมิได้ บริสทุ ธ์ิ ปราศจากมลทนิ ผ่องแผ้ว หาขอ้
ตเิ ตยี นมไิ ด้ จงึ ไมค่ วรให้ผเู้ ปน็ คฤหัสถ์บวชก่อน ตอ่ ในเวลาใด ผเู้ ป็นคฤหัสถก์ ็ส�ำเร็จในผลสกั
อย่างหนึ่งแล้ว เป็นผู้ไม่กลบั มาสู่เพศที่เลวอีก ในเวลานั้น จึงค่อยใหเ้ ขาบวช เพราะเหตไุ ร หรอื
พวกคนไม่ดีเหล่าน้ี พอไดบ้ วชในพระศาสนาทีบ่ ริสุทธิ์นีแ้ ล้ว กย็ ังถอยกลบั (ลาสิกขา, สกึ )

กัณฑ]์ ๔.๖ อาจริยานาจริยวรรค 111

เวยี นกลบั มาสู่เพศทเ่ี ลวได้อกี เพราะการถอยกลับมาแห่งพวกเขา มหาชนนี้ ก็ยอ่ มคดิ อยา่ งน้ี
วา่ “(เห็นทวี า่ ) ศาสนาของพระสมณโคดม จกั เป็นของเหลวเปล่าหนอ พวกคนเหล่านี้จึงได้
ถอยกลบั มา” ดงั นี้ได้ ข้อที่วา่ จัดเปน็ เหตุผลในการท่ีไมค่ วรให้พวกคฤหสั ถไ์ ด้บวชกอ่ นน”้ี
‘‘ยถา มหาราช ตฬาโก ภเวยยฺ สมปฺ ณุ ณฺ สจุ วิ มิ ลสตี ลสลโิ ล, อถ โย โกจ ิ กลิ ิฏฺโ
มลกทฺทมคโต ต ํ ตฬากํ คนฺตวฺ า อนหายิตฺวา กลิ ิฏฺโ ว ปฏินิวตเฺ ตยยฺ , ตตฺถ มหาราช
กตม ํ ชโน ครเหยยฺ กิลิฏฺ ํ วา ตฬากํ วา’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร เปรียบเหมือนวา่ มีสระน้�ำ
อยู่แห่งหนึง่ ซึ่งมีน�ำ้ อยู่เต็มเปย่ี ม ใสสะอาด ปราศจากมลทิน เยน็ ดี ตอ่ มา มบี รุ ษุ คนใดคนหนึง่
ผเู้ ปรอะเปื้อนเหง่ือ เปือ้ นสง่ิ สกปรกเปอื กตม ไปถึงสระน�ำ้ น้นั แลว้ กไ็ มย่ อมอาบนำ้� เน้ือตัวยงั
เปรอะเปอื้ นอยเู่ ทยี ว ก็ถอยกลบั มาเสียก่อน ขอถวายพระพร ในบรุ ุษและสระน�้ำนนั้ ผคู้ นพึง
ติเตียนอะไร บุรษุ ผู้เปรอะเป้ือนเหงือ่ ไคล หรือวา่ สระน�ำ้ เล่า ?”
‘‘กิลิฏฺ ํ ภนฺเต ชโน ครเหยฺย ‘อย ํ ตฬาก ํ คนตฺ วฺ า อนหายิตวฺ า กิลิฏโฺ ว
ปฏนิ ิวตโฺ ต, ก ึ อิม ํ อนหายติ ุกาม ํ ตฬาโก สย ํ นหาเปสสฺ ต,ิ โก โทโส ตฬากสสฺ า’ติ ฯ
พระเจา้ มิลินท์ตรสั ว่า “พระคุณเจา้ ผ้คู นพึงตเิ ตยี น บุรุษผ้เู ปรอะเปื้อนเหง่อื ไคลว่า ผู้นี้
ไปถงึ สระน้�ำแล้ว ก็ไม่ยอมอาบน�ำ้ เนอ้ื ตัวยังเปรอะเป้ือนอยู่น่ันแหละ ก็ถอยกลับมาเสยี กอ่ น
สระนำ้� นี้ จกั อาบน�้ำให้บุรุษผูไ้ มต่ ้องการอาบน้ไี ด้เองกระไรเลา่ ความผดิ อะไรของสระน�้ำเล่า ?”
เอวเมว โข มหาราช ตถาคโต วมิ ตุ ฺติวรสลลิ สมปฺ ณุ ณฺ ํ สทธฺ มมฺ วรตฬาก ํ มาเปสิ ‘เย
เกจิ กิเลสมลกิลิฏ ฺ า สเจตนา พุธา, เต อธิ นหายิตวฺ า สพฺพกิเลเส ปวาหยสิ ฺสนฺต’ี ติ ฯ ยท ิ
โกจ ิ ตํ สทธฺ มฺมวรตฬากํ คนตฺ วฺ า อนหายติ ฺวา สกเิ ลโสว ปฏนิ วิ ตฺตติ ฺวา หีนายาวตตฺ ติ
ตเํ ยว ชโน ครหิสฺสติ ‘อยํ ชินสาสเน ปพฺพชิตฺวา ตตถฺ ปตฏิ ฺ ํ อลภติ วฺ า หีนายาวตโฺ ต,
ก ึ อมิ ํ อปปฺ ฏปิ ชฺชนตฺ ํ ชนิ สาสน ํ สย ํ โพเธสฺสต,ิ โก โทโส ชินสาสนสสฺ า’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร กเ็ หมอื นกนั อย่างน้นั น่ันแหละ พระ
ตถาคต สรา้ งสระนำ�้ คอื พระสัทธรรมอันประเสรฐิ ขนึ้ ซง่ึ เตม็ เปยี่ มดว้ ยน�้ำคือวิมตุ ติอัน
ประเสรฐิ ดว้ ยทรงด�ำริว่า บคุ คลเหล่าใดเหล่าหนง่ึ ผู้เปรอะเปอื้ นด้วยมลทนิ คือกิเลส แต่รู้
ส�ำเหนยี ก มีความต้ังใจ บคุ คลเหลา่ นนั้ ได้อาบน้ำ� ในสระคือพระสัทธรรมอันประเสริฐนี้แลว้ ก็
จะลอยกเิ ลสทง้ั ปวงไปเสียได้ ดงั นี้ ถา้ หากว่า จะมบี างคนไปถงึ สระน้�ำคอื พระสัทธรรมอัน
ประเสริฐนนั้ แล้ว กก็ ลับไม่ยอมอาบ ยงั เป็นผู้มีกเิ ลสอยู่นัน่ แหละ ก็ถอยกลับมาเสยี เวยี นมาสู่

112 มลิ นิ ทปญั หาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปัญห

เพศท่ีเลวอกี ผคู้ นก็จกั ตเิ ตียนผนู้ ้นั นัน่ แหละวา่ คนผนู้ ี้บวชในพระศาสนาของพระชินวรพทุ ธ
เจา้ แลว้ ยงั ไม่ได้ทพ่ี ่ึงในพระศาสนาน้นั เลย ก็เวียนกลับมาสเู่ พศท่เี ลว พระศาสนานี้ จกั ท�ำคน
ผ้ไู ม่ปฏบิ ตั ผิ นู้ ใี้ หต้ รัสร้เู สียเองได้กระไรเล่า ความผิดอะไรของพระศาสนาของพระชนิ วรพุทธ
เจ้าเล่า ?
‘‘ยถา วา ปน มหาราช, ปรุ โิ ส ปรมพฺยาธโิ ต โรคุปฺปตตฺ กิ ุสล ํ อโมฆธวุ สิทธฺ กมฺม ํ
ภสิ กฺกํ สลลฺ กตตฺ ํ ทิสวฺ า อตกิ ิจฺฉาเปตฺวา สพฺยาธิโกว ปฏนิ วิ ตฺเตยฺย, ตตถฺ กตม ํ ชโน
ครเหยยฺ อาตุร ํ วา ภสิ กกฺ ํ วา’’ติ ?
ขอถวายพระพร อกี อยา่ งหนึง่ เปรยี บเหมือนวา่ บรุ ษุ คนหน่ึงป่วยหนกั อยู่ ไดพ้ บหมอ
ผ่าตดั ผู้ฉลาดในเหตทุ ่เี กดิ ขึ้นแหง่ โรค ผู้ส�ำเรจ็ การงานมน่ั คง ไม่ใช่คนโลเลแล้ว กไ็ ม่ยอมให้
หมอรกั ษา ยงั ปว่ ยอยู่น่ันเอง กถ็ อยกลับไปเสีย ในบคุ คล ๒ คนนั้น ผคู้ นพงึ ติเตียนคนไหน
คนไข้หรอื ว่าหมอเล่า ?’ ดังนไ้ี ด้
‘‘อาตรุ ํ ภนเฺ ต ชโน ครเหยยฺ ‘อย ํ โรคปุ ปฺ ตตฺ กิ สุ ล ํ อโมฆธวุ สิทฺธกมฺมํ ภสิ กกฺ ํ
สลลฺ กตฺต ํ ทิสฺวา อตกิ จิ ฺฉาเปตวฺ า สพฺยาธโิ กว ปฏนิ ิวตโฺ ต, ก ึ อมิ ํ อตกิ ิจฉฺ าเปนตฺ ํ ภสิ กโฺ ก
สย ํ ตกิ ิจฺฉิสฺสต,ิ โก โทโส ภิสกฺกสฺสา’’ติ ?
พระเจ้ามิลินทต์ รสั ว่า “พระคณุ เจา้ ผูค้ นพึงติเตยี นคนไข้ว่า ผนู้ ี้ได้หมอผา่ ตดั ผูฉ้ ลาดใน
เหตเุ กิดแหง่ โรค ผ้สู �ำเรจ็ การงานมัน่ คง ไม่ใชค่ นเหลวไหลแลว้ ก็ไมย่ อมให้หมอรักษา ยังป่วย
อยนู่ ั่นแหละ ก็ถอยกลับไปเสียได้ หมอเองจะรักษาคนผไู้ ม่ยอมให้รักษาน้ไี ดก้ ระไรเล่า ความ
ผิดอะไรของหมอเล่า’ ดังน้ีได้
‘‘เอวเมว โข มหาราช ตถาคโต อนฺโตสาสนสมุคเฺ ค เกวล ํ สกลกเิ ลสพฺยาธิวปู สมน-
สมตถฺ ํ อมโตสธํ ปกขฺ ิปิ, ‘เย เกจ ิ กเิ ลสพฺยาธปิ ีฬิตา สเจตนา พุธา, เต อิมํ อมโตสธํ
ปวิ ติ วฺ า สพฺพกิเลสพยฺ าธ ิํ วูปสเมสสฺ นตฺ ี’ติ ฯ ยท ิ โกจ ิ ต ํ อมโตสธํ อปวิ ิตฺวา สกเิ ลโสว
ปฏนิ วิ ตฺติตฺวา หีนายาวตฺตต,ิ ต ํ เยว ชโน ครหิสสฺ ติ ‘อยํ ชินสาสเน ปพพฺ ชิตฺวา ตตถฺ
ปติฏ ฺ ํ อลภติ ฺวา หนี ายาวตฺโต, ก ึ อมิ ํ อปฺปฏิปชชฺ นฺต ํ ชินสาสน ํ สย ํ โพเธสสฺ ต,ิ โก โทโส
ชนิ สาสนสฺสา’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร กเ็ หมอื นกนั อย่างน้ันนน่ั แหละ พระ
ตถาคตทรงบรรจโุ อสถอมตะทสี่ ามารถสงบความปว่ ยไข้ คอื กิเลสทั้งสน้ิ ไว้ในตลับยาคือพระ
ศาสนาด้วยทรงด�ำริว่า บุคคลเหลา่ ใดเหลา่ หน่งึ ผ้ถู ูกความป่วยไข้คอื กิเลส บบี คัน้ แต่ว่า รู้

กัณฑ]์ ๔.๖ อาจริยานาจรยิ วรรค 113

ส�ำเหนียก มคี วามตง้ั ใจ บุคคลเหล่านัน้ ดื่มโอสถอมตะนี้แล้ว ก็จักสงบความปว่ ยไข้ คอื กิเลส
ทงั้ ปวงได้’ ดงั นี้ ถา้ หากว่า มบี างคน ไม่ยอมดืม่ โอสถอมตะนน้ั แลว้ ทัง้ ๆ ท่ยี งั เปน็ ผมู้ กี เิ ลสอยู่
นนั่ แหละ กถ็ อยกลบั ไป เวียนกลบั มาสู่เพศทีเ่ ลวไซร้ ผู้คนจักติเตียนเขานั่นแหละว่า คนผนู้ ้ี
บวชในพระศาสนาของพระชินวรพทุ ธเจ้าแลว้ ยังไม่ทนั ได้ท่ีพึ่งในพระศาสนานัน้ เลย กเ็ วยี น
กลับมาสเู่ พศทเ่ี ลว พระศาสนาของพระชนิ วรพุทธเจ้า จกั ท�ำให้เขาผไู้ มย่ อมปฏบิ ตั ินไ้ี ด้ตรสั รู้
เสยี เองได้กระไรเลา่ ความผดิ อะไรของพระศาสนาของพระชนิ วรพุทธเจ้าเลา่ ’ ดงั นี้ได้
‘‘ยถา วา ปน มหาราช ฉาโต ปรุ โิ ส มหติมหาปุ ฺ ภตตฺ ปริเวสน ํ คนตฺ ฺวา ต ํ ภตตฺ ํ
อภุ ชฺ ิตวฺ า ฉาโตว ปฏนิ วิ ตเฺ ตยฺย, ตตถฺ กตม ํ ชโน ครเหยฺย ฉาต ํ วา ป ุ ฺ ภตฺตํ
วา’’ติ ?
ขอถวายพระพร อีกอยา่ งหนง่ึ เปรยี บเหมอื นวา่ บุรุษผหู้ วิ ข้าวคนหน่ึง ไปถึงสถานท่ี
เลยี้ งอาหารบุญคร้งั ย่ิงใหญส่ �ำคญั แล้ว กไ็ ม่ยอมบริโภคอาหารนั้น ยังหิวอยูน่ ่ันเอง ก็ถอยกลับ
ไปเสยี ในบุรุษคนผหู้ ิวขา้ วและอาหารบุญนนั้ ผคู้ นพึงติเตียนอะไรเล่า บรุ ุษผหู้ ิวอยู่หรืออาหาร
บญุ ?”
‘‘ฉาต ํ ภนเฺ ต ชโน ครเหยยฺ ‘อยํ ขุทาปฬี ิโต ป ุ ฺ ภตตฺ ํ ปฏิลภติ วฺ า อภ ุ ฺชติ ฺวา
ฉาโตว ปฏินิวตโฺ ต, ก ึ อมิ สฺส อภ ุ ฺชนตฺ สฺส โภชนํ สย ํ มขุ ํ ปวิสสิ สฺ ติ, โก โทโส
โภชนสฺสา’’ติ ?
พระเจา้ มลิ ินทต์ รสั ว่า “พระคุณเจา้ ผู้คนพงึ ติเตียนบรุ ุษผู้หิวอยู่ว่า ผู้นีถ้ ูกความหวิ บีบ
คน้ั อยู่ ได้อาหารบุญแล้ว ก็ยังไม่ยอมบริโภค ยงั หิวอยูน่ ั่นแหละ ก็ถอยกลับมาเสีย ของกนิ จกั
เข้าปากบุรษุ ผไู้ มย่ อมบริโภคคนน้ีได้เองกระไรเล่า ความผดิ อะไรของของกินเลา่ ’ ดังนไี้ ด้
‘‘เอวเมว โข มหาราช ตถาคโต อนโฺ ตสาสนสมุคเฺ ค ปรมปวร ํ สนฺตํ สิว ํ ปณีตํ อมตํ
ปรมมธุรํ กายคตาสตโิ ภชน ํ เปสิ ‘เย เกจ ิ กเิ ลสฉาตชฌฺ ตฺตา ตณฺหาปเรตมานสา สเจตนา
พธุ า, เต อิม ํ โภชนํ ภ ุ ฺชิตวฺ า กามรปู ารปู ภเวสุ สพฺพํ ตณฺหมปเนสสฺ นฺตี’ติ ฯ ยทิ โกจิ
ตํ โภชนํ อภ ุ ชฺ ิตฺวา ตณฺหาสโิ ตว ปฏนิ วิ ตฺตติ วฺ า หีนายาวตฺตติ, ต เฺ ว ชโน ครหสิ สฺ ต ิ
‘อยํ ชินสาสเน ปพฺพชิตวฺ า ตตฺถ ปตฏิ ฺ ํ อลภติ ฺวา หนี ายาวตโฺ ต, กึ อิมํ อปปฺ ฏิปชชฺ นตฺ ํ
ชนิ สาสนํ สย ํ โพเธสฺสส,ิ โก โทโส ชนิ สาสนสฺสา’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร ก็เหมือนกนั อยา่ งน้ันนั่นแหละ พระ
ตถาคตทรงวางของกินคือกายคตาสติ อนั ประเสริฐ ยอดเย่ยี ม สงบ เกษม ประณตี เปน็ อมตะ

114 มลิ ินทปัญหาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปญั ห

มรี สอรอ่ ยอย่างยิ่งไว้ในส�ำรบั คือพระศาสนา ด้วยทรงด�ำรวิ า่ บุคคลเหลา่ ใดเหล่าหนึ่ง ผู้ถกู
ความหิวคอื กิเลสแผดเผา ผถู้ กู ตัณหาครอบง�ำจิต แต่เปน็ ผ้รู สู้ �ำเหนยี ก มีความตัง้ ใจ บคุ คล
เหลา่ นน้ั บริโภคของกินนแ้ี ล้ว ก็จักขจดั ตัณหาท้ังปวงในกามภพ รปู ภพ และอรปู ภพได้ ดงั น้ี
ถ้าหากจะมบี างคนไม่ยอมบรโิ ภคของกนิ นน้ั เป็นผ้อู าศยั ตัณหาเทียว กลบั เวยี นมาสเู่ พศที่เลว
ไซร้ ผู้คนจักติเตยี นคนผู้นน้ั น่นั แหละว่า คนผนู้ ้ี บวชในพระศาสนาของพระชนิ วรพทุ ธเจา้ แลว้
ยงั ไมท่ ันได้ทพ่ี ง่ึ ในพระศาสนาน้นั เลย ก็เวียนกลับมาสู่เพศที่เลว พระศาสนาของพระชนิ วร-
พุทธเจา้ กจ็ ักชว่ ยบุรษุ ผู้ไม่ยอมปฏิบัติผนู้ ี้ใหต้ รัสรเู้ สียเองไดก้ ระไรเลา่ ความผดิ อะไรของพระ
ศาสนาของพระชนิ วรพทุ ธเจ้าเลา่ ’ ดังนไี้ ด้
‘‘ยทิ มหาราช ตถาคโต คิหเึ ยว เอกสฺมึ ผเล วินตี ํ ปพพฺ าเชยยฺ , น นามายํ
ปพฺพชฺชา กเิ ลสปปฺ หานาย วสิ ทุ ฺธิยา วา, นตฺถ ิ ปพฺพชชฺ าย กรณียํ ฯ ยถา มหาราช
ปรุ โิ ส อเนกสเตน กมเฺ มน ตฬากํ ขณาเปตวฺ า ปริสาย เอวมนสุ สฺ าเวยฺย ‘มา เม โภนโฺ ต
เกจ ิ สํกลิ ฏิ ฺ า อิม ํ ตฬากํ โอตรถ, ปวาหิตรโชชลฺลา ปริสุทธฺ า วมิ ลมฏ ฺ า อมิ ํ ตฬากํ
โอตรถา’ติ ฯ อป ิ นุ โข มหาราช เตสํ ปวาหิตรโชชลลฺ าน ํ ปริสทุ ฺธาน ํ วิมลมฏฺ าน ํ เตน
ตฬาเกน กรณียํ ภเวยฺยา’’ติ ?
ขอถวายพระพร ถา้ หากว่า พระตถาคตทรงอนญุ าตใหค้ ฤหสั ถ์ผู้ส�ำเรจ็ ในผลสักอยา่ ง
หนง่ึ เสียกอ่ นเท่านนั้ ได้บวชไซร้ ชอื่ วา่ การบวชน้ี กจ็ ะไม่พงึ เป็นไปเพื่อการละกเิ ลส หรอื เพื่อ
วสิ ุทธิ กิจที่จะพึงท�ำด้วยการบวชก็ไมม่ ี ขอถวายพระพร เปรียบเหมอื นวา่ บรุ ษุ คนหนง่ึ ให้เขา
ขดุ สระน�ำ้ ไว้ด้วยการกระท�ำ (การขดุ ) หลายรอ้ ยครง้ั แลว้ บอกให้ได้ยนิ ต่อ ๆ กนั ไป ในบรษิ ทั
อย่างนวี้ ่า ทา่ นผู้เจริญทั้งหลายเอ๋ย ใคร ๆ ผู้เปรอะเปื้อนเหง่ือไคลขออยา่ ลงสสู่ ระน้ีเลย ผูท้ ่ี
ลา้ งขี้ฝนุ่ เหงอื่ ไคลเน้ือตวั สะอาด ขัดสมี ลทินออกแล้ว ขอจงก้าวย่างลงสู่สระน�ำ้ เถิด ดงั น้ี ขอ
ถวายพระพร ส�ำหรบั คนที่ล้างขฝี้ ุ่นเหงอ่ื ไคล เนือ้ ตวั สะอาด ขดั สีมลทินออกแลว้ เหล่านนั้ พงึ มี
กิจทีพ่ ึงท�ำด้วยสระน�ำ้ น้นั อยู่อกี หรือ ?”
‘‘น ห ิ ภนเฺ ต ยสฺสตฺถาย เต ตํ ตฬากํ อปุ คจเฺ ฉยยฺ ุ,ํ ตํ อ ฺ ตฺเรว เตส ํ กต ํ กรณยี ํ,
ก ึ เตสํ เตน ตฬาเกนา’’ติ ?
พระเจ้ามลิ นิ ทต์ รสั วา่ “ไมม่ ีหรอก พระคุณเจ้า บุคคลเหลา่ น้ัน เข้าไปส่สู ระนำ�้ นั้นเพ่ือ
ประโยชนแ์ ก่กิจใด พอเวน้ กิจทพ่ี งึ ท�ำนน้ั ซ่ึงคนเหลา่ นนั้ ได้ท�ำเสียกอ่ นแล้วเทา่ นั้น ประโยชน์
อะไรด้วยสระนำ�้ นั้นส�ำหรับคนเหล่าน้นั อกี เล่า”

กณั ฑ์] ๔.๖ อาจรยิ านาจริยวรรค 115

‘‘เอวเมว โข มหาราช ยท ิ ตถาคโต คิหึเยว เอกสมฺ ึ ผเล วินีต ํ ปพพฺ าเชยฺย,
ตตฺเถว เตส ํ กตํ กรณียํ, ก ึ เตส ํ ปพพฺ ชชฺ าย ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร กเ็ หมือนกนั อย่างน้นั นนั่ แหละแล ถ้า
หากวา่ พระตถาคตทรงอนญุ าตเฉพาะคฤหัสถผ์ สู้ �ำเร็จในผลสักอย่างหนง่ึ เสียก่อนเท่านัน้ ให้
บวชไดไ้ ซร้ กจิ ท่พี งึ ท�ำในการบวชนัน้ น่ันแหละ คนเหลา่ น้ันกไ็ ด้ท�ำแล้ว ประโยชน์อะไรดว้ ย
การบวชส�ำหรับคนเหล่านน้ั อีกเล่า
‘‘ยถา วา ปน มหาราช สภาวอสิ ิภตฺตโิ ก สุตมนฺตปทธโร อตกฺกิโก โรคุปปฺ ตฺติกสุ โล
อโมฆธุวสทิ ธฺ กมฺโม ภสิ กฺโก สลฺลกตโฺ ต สพฺพโรคปู สมเภสชชฺ ํ สนนฺ ิปาเตตฺวา ปรสิ าย
เอวมนสุ สฺ าเวยฺย ‘มา โข โภนฺโต เกจิ สพฺยาธกิ า มม สนฺตเิ ก อุปคจฺฉถ, อพฺยาธิกา
อโรคา มม สนฺตเิ ก อุปคจฉฺ ถา’ติ ฯ อปิ น ุ โข มหาราช เตส ํ อพฺยาธกิ านํ อโรคาน ํ
ปริปณุ ฺณาน ํ อทุ คฺคาน ํ เตน ภสิ กฺเกน กรณียํ ภเวยยฺ า’’ติ ?
ขอถวายพระพร อีกอย่างหนง่ึ เปรียบเหมือนวา่ หมอรักษาโรคผู้อันฤาษชี บุ เล้ียงมา
ผู้ทรงจ�ำบทมนตท์ ่สี ดบั มาได้ คงแก่เรยี น ฉลาดในเหตเุ กิดข้ึนแหง่ โรค ส�ำเรจ็ การงานมั่นคง
ปรงุ ยาท่ีใช้รกั ษาโรคทงั้ ปวงไดแ้ ล้ว กบ็ อกให้ได้ยนิ ตอ่ ๆ กันไปในบริษัทว่า ทา่ นผู้เจริญทง้ั
หลาย ใคร ๆ ที่มีความเจ็บป่วย ขอจงอยา่ ไดเ้ ขา้ ไปในส�ำนักของเราเลย ผู้ทีไ่ ม่มีความเจบ็ ปว่ ย
ไมม่ ีโรค ขอจงเขา้ ไปในส�ำนักของเราเถิด ดงั นี้ ขอถวายพระพร ส�ำหรบั คนผูไ้ ม่เจบ็ ป่วย ไม่มี
โรค บรบิ รู ณ์อยู่ สบายใจอยู่เหลา่ น้นั พงึ มกี ิจทีต่ อ้ งใหห้ มอท�ำหรอื หนอ ?”
‘‘น หิ ภนเฺ ต ยสสฺ ตถฺ าย เต ต ํ ภสิ กกฺ ํ สลลฺ กตฺต ํ อุปคจฺเฉยฺย,ํุ ต ํ อ ฺ ตฺเรว เตส ํ
กตํ กรณยี ,ํ ก ึ เตสํ เตน ภสิ กเฺ กนา’’ติ ?
พระเจ้ามิลินทต์ รสั ว่า “ไม่มหี รอก พระคุณเจา้ คนเหลา่ น้นั พึงเข้าไปหาหมอรกั ษาโรค
เพ่ือประโยชน์แกก่ ิจใด เวน้ กิจที่พึงท�ำ ซึง่ คนเหล่าน้ันไดท้ �ำแลว้ นัน้ เสยี เทา่ นั้น (เมื่อเปน็ เช่นน้)ี
ประโยชนอ์ ะไรดว้ ยหมอส�ำหรับคนเหล่านั้นเล่า”
‘‘เอวเมว โข มหาราช ยท ิ ตถาคโต คหิ เึ ยว เอกสมฺ ึ ผเล วินีตํ ปพพฺ าเชยยฺ ,
ตตฺเถว เตส ํ กต ํ กรณยี ,ํ กึ เตสํ ปพพฺ ชฺชาย?
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร ก็เหมือนกนั อย่างนน้ั นนั่ แหละ ถ้า
หากว่า พระตถาคตทรงอนญุ าตคฤหัสถ์ ผ้สู �ำเรจ็ ในผลสกั อยา่ งหนง่ึ เสยี กอ่ นเทา่ นัน้ ใหบ้ วชได้
ไซร้ กจิ ทีพ่ ึงท�ำในการบวชน้นั นนั่ แหละ คนเหลา่ น้ันก็ได้ท�ำแล้ว ประโยชนอ์ ะไรด้วยการบวช

116 มลิ นิ ทปัญหาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปัญห

ส�ำหรบั คนเหลา่ นน้ั อีกเลา่ ”
‘‘ยถา วา ปน มหาราช โกจิ ปุรโิ ส อเนกถาลิปากสต ํ โภชนํ ปฏิยาทาเปตวฺ า
ปริสาย เอวมนสุ สฺ าเวยยฺ ‘มา เม โภนฺโต เกจิ ฉาตา อิม ํ ปริเวสนํ อปุ คจฺฉถ, สุภตุ ฺตา
ตติ ฺตา สหุ ิตา ธาตา ปีณติ า ปรปิ ุณฺณา อิม ํ ปรเิ วสนํ อปุ คจฉฺ ถา’’ติ ฯ อปิ นุ โข มหาราช
เตส ํ ภตุ ฺตาวีน ํ ตติ ตฺ านํ สุหติ าน ํ ธาตานํ ปณี ติ าน ํ ปริปุณฺณาน ํ เตน โภชเนน กรณีย ํ
ภเวยยฺ า’’ติ ?
ขอถวายพระพร อกี อยา่ งหนึง่ เปรยี บเหมือนวา่ บุรษุ คนหนึง่ จดั เตรียมโภชนาหาร มี
ของสกุ หลายร้อยถาด แลว้ กบ็ อกกลา่ วให้ไดย้ ินตอ่ ๆ กนั ไปในบรษิ ทั วา่ ท่านผูเ้ จริญทั้งหลาย
ใคร ๆ ท่ีหวิ ขอจงอยา่ เขา้ ไปสสู่ ถานท่เี ล้ียงอาหารน้ขี องโยมเลย ผ้ทู ี่บรโิ ภคดแี ลว้ อม่ิ หน�ำแล้ว
เพียงพอแลว้ เอิบอมิ่ เตม็ ท่ีแลว้ จงเข้าไปสู่สถานท่เี ลี้ยงอาหารนเี้ ถดิ ขอถวายพระพร ส�ำหรับ
คนท่บี ริโภคดีแล้ว อมิ่ หน�ำแล้ว เพยี งพอแล้ว เอบิ อ่ิมเตม็ ท่ีแลว้ เหลา่ นัน้ พึงมกี ิจทต่ี ้องท�ำด้วย
โภชนาหารนน้ั อกี หรอื ?”
‘‘น ห ิ ภนฺเต ยสสฺ ตฺถาย เต ต ํ ปริเวสนํ อุปคจฺเฉยฺยุ,ํ ตํ อ ฺ ตฺเรว เตส ํ กต ํ
กรณียํ, ก ึ เตสํ ตาย ปริเวสนายา’’ติ ?
พระเจ้ามิลินท์ตรัสวา่ “ไมม่ ีหรอก พระคณุ เจ้า คนเหลา่ นนั้ พงึ เขา้ ไปส่สู ถานท่เี ลีย้ ง
อาหาร เพ่อื ประโยชน์แก่กจิ ใด เว้นกิจทพ่ี งึ ท�ำนัน้ ซง่ึ คนเหลา่ นน้ั ไดท้ �ำแลว้ เทา่ นัน้ (เมื่อเป็น
เช่นนี้) ประโยชน์อะไรดว้ ยสถานทเ่ี ลีย้ งอาหารส�ำหรับคนเหล่าน้ันอกี เล่า”
‘‘เอวเมว โข มหาราช ยทิ ตถาคโต คหิ ึเยว เอกสฺม ึ ผเล วนิ ตี ํ ปพพฺ าเชยยฺ ,
ตตฺเถว เตส ํ กต ํ กรณียํ, ก ึ เตส ํ ปพพฺ ชฺชาย ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร ก็เหมอื นกนั อย่างนั้นนน่ั แหละ ถา้
หากวา่ พระตถาคตทรงอนุญาตคฤหัสถ์ผู้ส�ำเร็จในผลสักอย่างหนง่ึ เสยี กอ่ นเทา่ นัน้ ใหบ้ วชได้
ไซร้ กจิ ท่พี ึงท�ำในการบวชน้นั นนั่ แหละ คนเหล่านนั้ ก็ได้ท�ำแล้ว (เมือ่ เป็นเช่นนี้) ประโยชน์
อะไรดว้ ยการบวชส�ำหรับคนเหลา่ นัน้ อีกเลา่
‘‘อปิจ มหาราช เย หนี ายาวตตฺ นตฺ ิ, เต ชนิ สาสนสสฺ ป ฺจ อตุลเิ ย คุเณ
ทสฺเสนฺติ ฯ กตเม ป จฺ ? ภมู ิมหนตฺ ภาวํ ทสฺเสนฺต,ิ ปรสิ ทุ ฺธวมิ ลภาวํ ทสฺเสนฺติ, ปาเปห ิ
อสวํ าสยิ ภาวํ ทสฺเสนตฺ ,ิ ทปุ ปฺ ฏเิ วธภาวํ ทสเฺ สนฺต,ิ พหสุ ํวรรกขฺ ิยภาว ํ ทสฺเสนตฺ ิ ฯ

กัณฑ]์ ๔.๖ อาจริยานาจริยวรรค 117

ขอถวายพระพร อกี อย่างหนึง่ บคุ คลเหลา่ ใด เวยี นกลับมาสเู่ พศทเี่ ลว บคุ คลเหลา่ นัน้
ยงั ท�ำคุณทไ่ี มอ่ าจชงั่ ได้ ๕ อย่าง แหง่ พระศาสนาของพระชินวรพุทธเจ้าใหป้ รากฏได้ ท�ำคุณ ๕
อย่างอะไรบา้ งใหป้ รากฏได้ ได้แก่
๑. ท�ำความท่ีพระศาสนาเปน็ ภมู อิ นั ยง่ิ ใหญ่ให้ปรากฏ
๒. ท�ำความที่พระศาสนาเป็นของบรสิ ุทธ์ิ ปราศจากมลทนิ ให้ปรากฏ
๓. ท�ำความทพี่ ระศาสนาอันพวกคนช่ัวไม่อาจอยู่รว่ มได้ใหป้ รากฏ
๔. ท�ำความที่พระศาสนาเปน็ ของแทงตลอดได้ยากให้ปรากฏ
๕. ท�ำความทพี่ ระศาสนาอนั บคุ คลรกั ษาไดด้ ้วยสงั วรเป็นอนั มากใหป้ รากฏ
‘‘กถ ํ ภูมิมหนตฺ ภาวํ ทสฺเสนฺติ ? ยถา มหาราช ปรุ โิ ส อธโน หนี ชจโฺ จ นิพพฺ ิเสโส
พุทธฺ ิปรหิ ีโน มหารชชฺ ํ ปฏลิ ภิตฺวา น จิรสเฺ สว ปรปิ ตต ิ ปริธํสติ ปริหายต ิ ยสโต, น
สกฺโกติ อิสฺสริย ํ สนฺธาเรตํุ ฯ ก ึ การณํ ? มหนฺตตฺตา อิสสฺ รยิ สสฺ ฯ เอวเมว โข มหาราช
เย เกจ ิ นพิ ฺพิเสสา อกตปุ ฺ า พุทธฺ ิปรหิ ีนา ชินสาสเน ปพพฺ ชนตฺ ิ, เต ตํ ปพฺพชชฺ ํ
ปวรุตฺตม ํ สนฺธาเรตํุ อวสิ หนฺตา น จริ สเฺ สว ชินสาสนา ปรปิ ติตฺวา ปริธํสิตวฺ า ปรหิ ายิตฺวา
หนี ายาวตตฺ นตฺ ,ิ น สกโฺ กนฺติ ชนิ สาสน ํ สนธฺ าเรตํุ ฯ กึ การณํ ? มหนตฺ ตฺตา ชนิ สาสน-
ภูมิยา ฯ เอว ํ ภมู มิ หนตฺ ภาวํ ทสฺเสนตฺ ิ ฯ
ชอื่ ว่าย่อมท�ำความท่พี ระศาสนาเปน็ ภมู อิ นั ย่งิ ใหญใ่ ห้ปรากฏ เป็นอยา่ งไร ? ขอถวาย
พระพร เปรยี บเหมือนว่า บุรุษผูไ้ ร้ทรพั ย์ มชี าตติ ำ�่ ทราม หาขอ้ ดพี ิเศษมไิ ด้ ความรกู้ เ็ สอ่ื ม ได้
รบั ราชสมบัติทีย่ ง่ิ ใหญแ่ ล้ว ก็ยอ่ มตกไป เลกิ รา้ งไป เส่อื มไปจากอิสรยิ ยศต่อกาลไมน่ านเลย
เทียว ย่อมไมอ่ าจจะทรงอสิ ริยยศเอาไว้ได้ เพราะอะไร เพราะอิสริยยศเป็นภมู ิที่ยง่ิ ใหญ่ ฉันใด
ขอถวายพระพร บคุ คลเหลา่ ใดเหลา่ หนงึ่ ผูห้ าขอ้ ดีพิเศษมิได้ ไม่ได้ท�ำบุญไว้ ความรกู้ ็เส่ือม
บวชในศาสนาของพระชินวรพุทธเจ้า บคุ คลเหลา่ นนั้ เมอื่ ไม่สามารถจะทรงการบวชที่
ประเสรฐิ สุดเอาไวไ้ ด้ กย็ ่อมตกไป เลิกร้างไป เสือ่ มไปจากพระศาสนาของพระชนิ วรพทุ ธเจ้า
เวียนกลับมาสูเ่ พศทเ่ี ลว ต่อกาลไมน่ านเลยทีเดียว ยอ่ มไมอ่ าจทจี่ ะทรงพระศาสนาของพระชนิ
วรพุทธเจ้าเอาไวไ้ ด้ เพราะเหตุไร เพราะภูมิคอื พระศาสนาของพระชินวรพทุ ธเจ้าเป็นของย่งิ
ใหญ่ ฉนั นนั้ เหมอื นกัน ชอื่ วา่ ยอ่ มท�ำความทพี่ ระศาสนาเป็นภูมอิ ันย่งิ ใหญใ่ หป้ รากฏ ตาม
ประการดังกล่าวมานี้

118 มลิ นิ ทปญั หาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปัญห

‘‘กถ ํ ปริสทุ ฺธวมิ ลภาวํ ทสเฺ สนตฺ ิ ? ยถา มหาราช วาร ิ โปกขฺ รปตฺเต วกิ ริ ติ วธิ มต ิ
วธิ ํเสติ, น านมปุ คจฺฉติ นูปลมิ ฺปติ ฯ กึ การณํ ? ปรสิ ทุ ธฺ วิมลตฺตา ปทมุ สฺส ฯ เอวเมว
โข มหาราช เย เกจ ิ ส า กูฏา วงกฺ า กุฏลิ า วสิ มทิฏ ฺ ิโน ชินสาสเน ปพพฺ ชนตฺ ,ิ เต
ปรสิ ุทฺธวมิ ลนกิ ฺกณฺฏกปณฺฑรวรปฺปวรสาสนโต น จิรสเฺ สว วกิ ิริตวฺ า วธิ มิตฺวา วธิ ํเสตฺวา
อสณฺ หติ ฺวา อนุปลมิ ปฺ ติ วฺ า หีนายาวตตฺ นฺติ ฯ ก ึ การณํ ? ปริสทุ ฺธวมิ ลตฺตา ชนิ สาสนสสฺ ฯ
เอวํ ปริสุทฺธวมิ ลภาวํ ทสฺเสนตฺ ิ ฯ
ช่ือวา่ ยอ่ มท�ำความทพี่ ระศาสนาเปน็ ของบรสิ ุทธิป์ ราศจากมลทินใหป้ รากฏ อย่างไร ?
ขอถวายพระพร น้�ำตกลงไปบนใบบัวแล้ว กย็ อ่ มกระเซ็นไหลกล้ิงไป ไม่ถงึ ความต้ังอยูไ่ ด้ ไม่
ติดอยู่ เพราะเหตไุ ร ? เพราะใบบัวเป็นของเกลี้ยงเกลา ปราศจากมลทิน ฉันใด ขอถวาย
พระพร บุคคลเหล่าใดเหล่าหนึ่ง ซ่ึงเป็นคนเจ้าเลห่ ์ คดโกง มีความเหน็ ไม่สมควร บวชในพระ
ศาสนาของพระชินวรพุทธเจา้ บคุ คลเหลา่ น้ัน กระเซ็นไหลกลิ้งไปจากพระศาสนาทีบ่ ริสทุ ธิ์
ปราศจากมลทนิ ไม่มีเส้ยี นหนาม ผอ่ งแผ้ว ประเสริฐยอดเยยี่ ม ตงั้ อย่ไู มไ่ ด้ ตดิ อยู่ไม่ได้ แล้วก็
ยอ่ มเวยี นกลบั มาสู่เพศทีเ่ ลว ตอ่ กาลไมน่ านเลยเทยี ว เพราะเหตไุ ร ? เพราะพระศาสนาของ
พระชินวรพุทธเจา้ เปน็ ของบรสิ ุทธิ์ ปราศจากมลทิน ฉนั นัน้ เหมอื นกนั ชอ่ื วา่ ย่อมท�ำความที่
พระศาสนาเป็นของบริสุทธปิ์ ราศจากมลทินใหป้ รากฏ ตามประการดงั กล่าวมาน้ี
‘‘กถ ํ ปาเปห ิ อสวํ าสยิ ภาว ํ ทสฺเสนตฺ ิ ? ยถา มหาราช มหาสมุทฺโท น มเตน
กณุ เปน สํวสติ, ยํ โหติ มหาสมุทเฺ ท มตํ กณุ ป,ํ ตํ ขปิ ปฺ เมว ตรี ํ อุปเนต ิ ถล ํ วา
อสุ ฺสาเรติ ฯ ก ึ การณํ ? มหาภูตาน ํ ภวนตตฺ า มหาสมทุ ทฺ สสฺ ฯ เอวเมว โข มหาราช
เย เกจ ิ ปาปกา อสวํ ตุ า อหริ กิ า อกิรยิ า โอสนฺนวรี ยิ า กุสีตา กลิ ิฏ ฺ า ทุชชฺ นา มนุสสฺ า
ชินสาสเน ปพฺพชนตฺ ิ, เต น จิรสฺเสว ชินสาสนโต อรหนฺตวิมลขณี าสวมหาภตู ภวนโต
นิกขฺ มติ วฺ า อสํวสติ วฺ า หนี ายาวตตฺ นฺติ ฯ ก ึ การณํ ? ปาเปห ิ อสวํ าสยิ ตฺตา ชินสาสนสสฺ ฯ
เอวํ ปาเปหิ อสวํ าสยิ ภาวํ ทสฺเสนตฺ ิ ฯ
ช่ือว่ายอ่ มแสดงความที่พระศาสนาอนั พวกคนชั่วไมอ่ าจอย่รู ่วมดว้ ยได้ ให้ปรากฏ
อย่างไร ? ขอถวายพระพร เปรยี บเหมอื นว่า มหาสมุทร ยอ่ มไมอ่ ย่รู ่วมกบั ซากสัตวต์ าย ซาก
สัตว์ตายใดมีอยู่ในมหาสมทุ ร มหาสมุทรยอ่ มซัดซากสัตวต์ ายนัน้ ไปสู่ฝงั่ หรอื ซดั ขึน้ ไปบนบก
โดยเร็วทเี ดียว เพราะเหตไุ ร ? เพราะมหาสมุทรเปน็ ทีอ่ ยู่ของสัตวเ์ ป็นใหญท่ งั้ หลาย ฉนั ใด ขอ
ถวายพระพร บคุ คลเหล่าใดเหลา่ หนึง่ ซง่ึ เป็นคนชว่ั ช้า ไม่ส�ำรวม ไมล่ ะอาย หากริ ยิ าไม่ได้
ยอ่ หยอ่ นความเพยี ร เกียจคร้าน มัวหมอง เปน็ คนทรชน บวชในพระศาสนาของพระชนิ วร

กัณฑ์] ๔.๖ อาจริยานาจริยวรรค 119

พุทธเจา้ บคุ คลเหล่าน้นั ยอ่ มต้องออกไปจากพระศาสนาของพระชินวรพุทธเจา้ อันเปน็ ทอี่ ยู่
ของสัตว์ใหญค่ ือพระอรหันตขณี าสพผู้ปราศจากมลทนิ อยู่ร่วมกนั มไิ ด้ ต้องเวยี นกลับมาสู่เพศ
ท่ีเลว เพราะเหตไุ ร ? เพราะพระศาสนาของพระชินวรพทุ ธเจ้าอนั คนช่วั ไมอ่ าจอยรู่ ว่ มด้วยได้
ฉนั น้นั เหมอื นกัน ชอ่ื วา่ ยอ่ มท�ำความท่พี ระพทุ ธศาสนาอันพวกคนชว่ั ไม่อาจอยรู่ ่วมด้วยได้ให้
ปรากฏ ตามประการดังกล่าวมาน้ี
‘‘กถ ํ ทปุ ฺปฏิเวธภาวํ ทสเฺ สนฺติ ? ยถา มหาราช เย เกจ ิ อเฉกา อสกิ ขฺ ติ า
อสปิ ปฺ ิโน มตวิ ิปปฺ หีนา อิสฺสาสา วาลคฺคเวธํ อวสิ หนฺตา วิคฬนฺต ิ ปกฺกมนฺติ ฯ กึ การณํ ?
สณหฺ สุขมุ ทุปปฺ ฏเิ วธตฺตา วาลคคฺ สสฺ ฯ เอวเมว โข มหาราช เย เกจ ิ ทปุ ฺป ฺ า
ชฬา เอฬมคู า มูฬฺหา ทนฺธคติกา ชนา ชินสาสเน ปพพฺ ชนตฺ ,ิ เต ตํ ปรมสณหฺ สขุ ุม-
จตุสจฺจปปฺ ฏิเวธํ ปฏวิ ชิ ฌฺ ิตุ ํ อวิสหนฺตา ชินสาสนา วคิ ฬติ ฺวา ปกกฺ มติ วฺ า น จริ สเฺ สว
หีนายาวตฺตนฺติ ฯ กึ การณํ ? ปรมสณฺหสุขมุ ทปุ ปฺ ฏิเวธตาย สจฺจานํ ฯ เอว ํ ทปุ ฺปฏิเวธภาวํ
ทสฺเสนตฺ ิ ฯ
ช่อื ว่าย่อมท�ำความทพ่ี ระศาสนาเป็นของแทงตลอดไดย้ ากให้ปรากฏ อยา่ งไร ? ขอ
ถวายพระพร เปรียบเหมือนวา่ พวกนายขมงั ธนพู วกใดพวกหน่งึ ซ่ึงเปน็ คนไมฉ่ ลาด ไมไ่ ด้
ศกึ ษา (ในการยงิ ธน)ู ไม่ได้เรียนศลิ ปะ (การยิงธนู) มคี วามรู้เสือ่ มทราม เม่ือไม่สามารถจะยงิ
ถกู ขนทราย (ซ่งึ ปักไวท้ เี่ ป้า) ได้ ก็ยอ่ มล้มเหลวหลกี ไป เพราะเหตไุ ร ? เพราะขนทรายเป็น
ของละเอียดอ่อน ยงิ ไปใหถ้ ูกได้ยาก ฉันใด ขอถวายพระพร บคุ คลเหลา่ ใดเหล่าหน่ึง ซึง่ เป็น
คนทรามปญั ญา บา้ เซ่อ หลงเลอะ เปน็ คนมีคตมิ ืดบอด ย่อมบวชในพระศาสนาของพระชินวร
พุทธเจ้า บคุ คลเหล่าน้นั เมื่อไม่สามารถจะแทงตลอดธรรมที่ควรแทงตลอดคืออริยสจั ๔ อนั
ละเอยี ดสขุ มุ อยา่ งยงิ่ ได้ ก็ตอ้ งลม้ เหลวหลกี ไปจากพระศาสนาของพระชนิ วรพุทธเจา้ ยอ่ ม
เวยี นกบั มาสู่เพศที่เลว ตอ่ กาลไมน่ านเลย เพราะเหตุไร ? เพราะอรยิ สัจทัง้ หลายเปน็ ของ
ละเอียด สขุ มุ แทงตลอดได้ยากยงิ่ ฉนั นัน้ เหมือนกนั ช่อื ว่ายอ่ มท�ำความท่ีพระศาสนาเปน็ ของ
แทงตลอดได้ยากให้ปรากฏตามประการดงั กลา่ วมาน้ี
‘‘กถ ํ พหสุ วํ รรกขฺ ยิ ภาวํ ทสเฺ สนฺติ ? ยถา มหาราช โกจิเทว ปุริโส มหติมหายทุ ฺธ-
ภูมิมปุ คโต ปรเสนาย ทสิ าวิทิสาหิ สมนตฺ า ปริวาริโต สตตฺ หิ ตฺถ ํ ชนมเุ ปนตฺ ํ ทิสฺวา ภโี ต
โอสกฺกต ิ ปฏนิ วิ ตฺตติ ปลายติ ฯ กึ การณํ ? พหวุ ธิ ยทุ ฺธมุขรกฺขณภยา ฯ เอวเมว โข
มหาราช เย เกจิ ปาปกา อสํวุตา อหริ ิกา อกริ ิยา อกฺขนฺต ี จปลา จลติ า อติ ตฺ รา

120 มลิ ินทปัญหาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปัญห

พาลชนา ชินสาสเน ปพฺพชนตฺ ,ิ เต พหุวธิ ํ สกิ ขฺ าปทํ ปรริ กฺขิตํ ุ อวิสหนตฺ า โอสกกฺ ติ ฺวา
ปฏินิวตตฺ ติ วฺ า ปลายิตฺวา น จริ สเฺ สว หนี ายาวตฺตนฺติ ฯ ก ึ การณํ ? พหวุ ิธสวํ รรกฺขิย-
ภาวตฺตา ชนิ สาสนสสฺ ฯ เอว ํ พหุวธิ สํวรรกฺขิยภาว ํ ทสเฺ สนฺติ ฯ
ชื่อว่าย่อมท�ำความท่ีพระศาสนาอันบุคคลรักษาไว้ด้วยสังวรเป็นอันมากให้ปรากฏ
อย่างไร ? ขอถวายพระพร เปรยี บเหมือนวา่ บุรุษบางคนเขา้ ไปสยู่ ทุ ธภมู ิครัง้ ยงิ่ ใหญ่ ถูก
กองทพั ปรปกั ษ์ห้อมล้อมทางทศิ ใหญท่ ศิ นอ้ ย โดยรอบอยู่ เห็นชนผ้มู ีมือถอื หอก ม่งุ เข้ามาก็
กลวั ถอยกลับหนไี ป เพราะเหตุไร เพราะกลัวการรกั ษายุทธวธิ ีอยา่ งตา่ ง ๆ เปน็ อนั มาก ฉนั ใด
ขอถวายพระพร บคุ คลเหลา่ ใดเหลา่ หนึง่ ซงึ่ เปน็ คนช่วั ไมส่ �ำรวม ไม่มคี วามละอาย หากริ ยิ า
มไิ ด้ ไมอ่ ดทน กลอกกล้งิ โลเล สถุล เป็นคนพาล ย่อมบวชในพระศาสนาของพระชนิ วรพทุ ธ
เจ้า บคุ คลเหล่าน้นั เมื่อไม่อาจรักษาสกิ ขาบทตา่ ง ๆ มากมายได้ กท็ ้อถอย หนีกลับไป เวยี น
กลบั มาสเู่ พศท่ีเลว ต่อกาลไมน่ านเลย เพราะเหตไุ ร ? เพราะพระศาสนาของพระชินวรพุทธ
เจ้าเปน็ ของทตี่ ้องรกั ษาไว้ด้วยสังวรมีอยา่ งตา่ ง ๆ เป็นอันมาก ฉันนัน้ เหมอื นกนั ช่อื วา่ ย่อม
ท�ำความท่พี ระศาสนาอันบคุ คลรักษาได้ด้วยสงั วรเป็นอันมากใหป้ รากฏ ตามประการดังกลา่ ว
มาน้ี
‘‘ถลชุตตฺ เมป ิ มหาราช วสฺสกิ าคมุ ฺเพ กมิ วิ ทิ ธฺ าน ิ ปปุ ผฺ าน ิ โหนตฺ ิ, ตาน ิ องกฺ รุ านิ
สงกฺ ุฏิตานิ อนฺตรา เยว ปรปิ ตนฺต,ิ น จ เตสุ ปริปติเตส ุ วสฺสกิ าคมุ โฺ พ หฬี ิโต นาม
โหติ ฯ ยานิ ตตฺถ ติ าน ิ ปุปฺผานิ, ตาน ิ สมฺมา คนเฺ ธน ทสิ าวิทิสํ อภิพยฺ าเปนฺติ ฯ
เอวเมว โข มหาราช เย เต ชนิ สาสเน ปพพฺ ชิตฺวา หนี ายาวตฺตนตฺ ,ิ เต ชนิ สาสเน
กมิ วิ ิทธฺ าน ิ วสฺสิกาปปุ ฺผานิ วิย วณณฺ คนธฺ รหิตา นิพฺพณฺณาการสลี า อภพพฺ า เวปุลฺลาย, น
จ เตสํ หนี ายาวตตฺ เนน ชินสาสนํ หีฬิต ํ นาม โหติ ฯ เย ตตฺถ ติ า ภกิ ฺข,ู เต สเทวก ํ
โลกํ สลี วรคนฺเธน อภพิ ยฺ าเปนฺติ ฯ
ขอถวายพระพร เปรียบเหมอื นว่า ในกอมะลิซ้อน แม้นบั วา่ สงู สดุ แห่งบรรดาดอกไมท้ ี่
เกดิ บนบก ก็ยงั มีบางดอกถูกหนอนเจาะ ดอกทถ่ี กู หนอนเจาะเหล่าน้นั มขี ั้วดอกที่เหยี่ วโรย
แลว้ กย็ อ่ มออ่ นร่วงหลน่ ไปเสยี ในระหว่างทีเดยี ว กแ็ ล กอดอกมะลิจะไดช้ อ่ื ว่าเปน็ กอดอกไม้
ชั้นเลว เพราะมีบางดอกถกู หนอนเจาะร่วงหล่นไป ก็หาไม่ ดอกทย่ี งั ด�ำรงอยไู่ ด้ในกอมะลิซ้อน
น้ัน ยอ่ มมกี ล่ินหอมแพรไ่ ปสูท่ ศิ ใหญ่ทศิ น้อย ฉนั ใด ขอถวายพระพร บคุ คลทีบ่ วชในพระ
ศาสนาของพระชนิ วรพุทธเจ้าแลว้ กย็ งั เวยี นกลับมาสเู่ พศทเี่ ลวไดอ้ กี นนั้ บุคคลเหล่านั้น ชือ่
วา่ เปน็ ผู้ปราศจากสแี ละกลนิ่ มีอาการท่หี าขอ้ สรรเสริญมิได้เป็นปกติ ดุจดอกมะลซิ ้อนที่ถูก

กัณฑ์] ๔.๖ อาจรยิ านาจรยิ วรรค 121

หนอนเจาะ เป็นคนอาภัพตอ่ ความเจรญิ งอกงามในพระศาสนาของพระชนิ วรพทุ ธเจ้า กแ็ ล
พระศาสนาของพระชินวรพทุ ธเจา้ จะช่อื ว่าเป็นของตำ่� ทราม เพราะการท่ีบุคคลเหลา่ น้นั ยงั
เวยี นกลบั มาสู่เพศทีเ่ ลว ก็หาไม่ พวกภกิ ษทุ ย่ี ังด�ำรงอยูไ่ ด้ในพระศาสนาของพระชินวรพทุ ธ
เจา้ นั้น ย่อมเป็นผู้มกี ลนิ่ หอมคือศลี ประเสรฐิ แพร่ไปตลอดโลกพร้อมท้งั เทวดา ฉันนัน้ เหมือน
กัน
‘‘สาลีนมฺป ิ มหาราช นริ าตงกฺ านํ โลหติ กาน ํ อนตฺ เร กรมุ ฺภกํ นาม สาลิชาต ิ
อุปฺปชฺชิตวฺ า อนฺตราเยว วนิ สสฺ ติ, น จ ตสฺสา วินฏฺ ตตฺ า โลหติ กสาล ี หฬี ติ า นาม
โหนตฺ ิ ฯ เย ตตถฺ ิตา สาล,ี เต ราชูปโภคา โหนฺติ ฯ เอวเมว โข มหาราช เย เต
ชนิ สาสเน ปพพฺ ชติ วฺ า หนี ายาวตฺตนตฺ ิ, เต โลหติ กสาลนี มนฺตเร กรุมภฺ กา วิย ชนิ สาสเน
น วฑฺฒิตวฺ า เวปุลฺลตํ น ปาปณุ ติ วฺ า อนฺตรา เยว หีนายาวตฺตนตฺ ิ, น จ เตสํ
หีนายาวตฺตเนน ชินสาสน ํ หฬี ิต ํ นาม โหติ ฯ เย ตตถฺ ติ า ภกิ ฺขู เต อรหตฺตสฺส
อนจุ ฉฺ วิกา โหนฺติ ฯ
ขอถวายพระพร เปรียบเหมือนวา่ บรรดาขา้ วสาลแี ดงท้ังหลายท่ปี ราศจากโรคภยั ขา้ ว
สาลแี ดงชนิดหนง่ึ ช่ือว่ากรมุ ภกะ เกิดข้นึ แลว้ กเ็ สียไปในระหว่างเทยี ว กแ็ ล ข้าวสาลแี ดงทัง้
หลายจะได้ช่ือว่าเป็นข้าวสาลชี น้ั เลว เพราะการท่ขี ้าวสาลชี นิดนั้นเสียไป กห็ าไม่ ในบรรดา
ขา้ วสาลแี ดงเหล่านนั้ ข้าวสาลที ่ีด�ำรงอยู่ได้ กส็ มควรเปน็ เคร่อื งเสวยส�ำหรับพระราชา ฉนั ใด
ขอถวายพระพร บคุ คลพวกท่บี วชในพระศาสนาของพระชินวรพุทธเจ้าแลว้ ก็ยงั เวยี นกลบั มาสู่
เพศทีเ่ ลวได้อกี น้นั บคุ คลเหล่าน้ันไมเ่ จรญิ ไมถ่ ึงความงอกงามในพระศาสนาของพระชนิ วร
พุทธเจา้ ย่อมเวยี นกลบั มาสเู่ พศท่เี ลวในระหว่างน่นั แหละ ดุจในบรรดาขา้ วสาลแี ดงทัง้ หลาย
ขา้ วสาลกี รมุ ภกะไม่เจรญิ ไม่ถึงความงอกงาม ยอ่ มเสยี ไปในระหว่างนน่ั เอง ฉะน้นั ก็แล พระ
ศาสนาของพระชินวรพทุ ธเจ้า จะได้ชื่อว่าเป็นของตำ่� ทราม เพราะการท่ีบุคคลเหลา่ นัน้ เวียน
กลับมาสเู่ พศท่เี ลวก็หาไม่ ภกิ ษทุ ้งั หลายท่ีด�ำรงอยู่ได้ในพระศาสนานน้ั ภิกษุเหล่านนั้ ย่อม
เปน็ ผสู้ มควรตอ่ ความเป็นพระอรหนั ต์ ฉันนั้นเหมือนกัน
‘‘กามททสฺสาปิ มหาราช มณิรตนสสฺ เอกเทสํ กกฺกส ํ อุปปฺ ชฺชต,ิ น จ ตตถฺ
กกฺกสปุ ฺปนนฺ ตฺตา มณิรตนํ หีฬติ ํ นาม โหติ ฯ ย ํ ตตฺถ ปริสทุ ธฺ ํ มณิรตนสสฺ , ตํ ชนสฺส
หาสกร ํ โหติ ฯ เอวเมว โข มหาราช เย เต ชินสาสเน ปพฺพชติ ฺวา หนี ายาวตฺตนตฺ ,ิ
กกฺกสา เต ชนิ สาสเน ปปฏกิ า, น จ เตสํ หนี ายาวตฺตเนน ชนิ สาสนํ หฬี ิตํ นาม โหติ ฯ

122 มลิ ินทปญั หาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปัญห

เย ตตถฺ ิตา ภิกขฺ ,ู เต เทวมนสุ สฺ านํ หาสชนกา โหนตฺ ิ ฯ
ขอถวายพระพร เปรียบเหมือนวา่ แมแ้ ตแ่ กว้ มณที ี่คอยมอบแต่สิ่งทต่ี อ้ งการให้ กย็ ังมี
บางส่วนเกิดเปน็ ปมหยาบกระดา้ งขน้ึ มาได้ ก็แล แกว้ มณจี ะได้ชือ่ ว่าเป็นแกว้ ชัน้ เลว เพราะ
การท่ีตรงสว่ นนนั้ เกิดเปน็ ปมหยาบกระด้างขึน้ มา กห็ าไม่ ในทุกส่วนแห่งแก้วมณนี ้ัน ส่วนใด
บริสุทธ์ิ สว่ นนั้น ยอ่ มบนั ดาลแตค่ วามบันเทงิ แกผ่ คู้ น ฉนั ใด ขอถวายพระพร บุคคลพวกท่บี วช
ในพระศาสนาของพระชินวรพุทธเจา้ แลว้ กย็ ังเวยี นกลับมาสู่เพศทีเ่ ลวไดอ้ ีกนั้น บคุ คลเหล่า
น้ัน จดั วา่ เป็นคนหยาบกระด้าง เปน็ สะเก็ดในพระศาสนาของพระชินวรพุทธเจ้า ก็แล พระ
ศาสนาของพระชนิ วรพทุ ธเจ้า จะได้ชือ่ ว่าเปน็ ศาสนาตำ่� ทราม เพราะการทบ่ี คุ คลเหลา่ นนั้ ยงั
เวียนกลบั มาส่เู พศท่เี ลวไดอ้ กี กห็ าไม่ ภกิ ษุทง้ั หลายด�ำรงอย่ไู ดใ้ นพระศาสนานัน้ ย่อมเปน็ ผู้
ท�ำความบนั เทงิ ใหเ้ กิดแกเ่ ทวดาและมนุษยท์ ้งั หลาย ฉันน้นั เหมอื นกัน
‘‘ชาติสมปฺ นฺนสสฺ ป ิ มหาราช โลหติ จนทฺ นสฺส เอกเทสํ ปตู ิก ํ โหติ อปฺปคนธฺ ํ ฯ น
เตน โลหติ จนฺทนํ หีฬิตํ นาม โหติ ฯ ยํ ตตถฺ อปูติก ํ สุคนธฺ ํ, ต ํ สมนฺตา วิธเู ปติ
อภิพยฺ าเปติ ฯ เอวเมว โข มหาราช เย เต ชนิ สาสเน ปพพฺ ชติ ฺวา หีนายาวตฺตนฺติ, เต
โลหติ จนฺทนสารนฺตเร ปตู กิ เทสมิว ฉฑฑฺ นยี า ชนิ สาสเน, น จ เตสํ หีนายาวตตฺ เนน
ชนิ สาสน ํ หฬี ติ ํ นาม โหติ ฯ เย ตตฺถ ิตา ภกิ ฺขู, เต สเทวก ํ โลก ํ สลี วรจนฺทนคนฺเธน
อนลุ ิมปฺ ยนฺต’ี ’ติ ฯ
ขอถวายพระพร เปรียบเหมอื นว่า แมแ้ ตจ่ นั ทน์แดงทสี่ มบรู ณ์ดว้ ยชาติพันธ์ุ กย็ งั มบี าง
สว่ นเน่าเสยี หมดกลิน่ ไป จนั ทนแ์ ดงจะไดช้ ื่อว่าเปน็ ของเลว เพราะเหตุนนั้ ก็หาไม่ ในบรรดา
ส่วนเหลา่ นัน้ สว่ นท่ีไมเ่ น่าเสยี มีกลน่ิ หอมดี ยอ่ มแพร่ไป ท�ำให้หอมตลบไปโดยรอบ ฉนั ใด ขอ
ถวายพระพร บุคคลพวกท่บี วชในพระศาสนาของพระชนิ วรพทุ ธเจา้ แล้ว กย็ ังเวยี นกลบั มาสู่
เพศทีเ่ ลวไดอ้ กี บคุ คลเหล่านัน้ จดั วา่ เป็นผ้ทู ่คี วรถกู ขจดั ทิง้ ในพระศาสนาของพระชนิ วรพุทธ
เจา้ ดุจสว่ นที่เน่าเสียในแก่นจันทนแ์ ดง ฉนั นัน้ ก็แล พระศาสนาของพระชินวรพทุ ธเจา้ จะได้
ชอื่ ว่าเปน็ ศาสนาต่�ำทราม เพราะการทคี่ นเหลา่ นนั้ ยังเวยี นกลับมาสเู่ พศทีเ่ ลวได้อีก กห็ าไม่
พวกภกิ ษุผดู้ �ำรงอยู่ได้ในพระศาสนาน้ัน ย่อมใช้กลน่ิ จันทน์แดงคอื ศีลอันประเสริฐคอยฉาบทา
โลกพรอ้ มท้งั เทวดาเอาไว้ ฉันนัน้ เหมอื นกนั ”
‘‘สาธุ ภนฺเต นาคเสน เตน เตน อนจุ ฺฉวิเกน เตน เตน สทเิ สน การเณน
นริ วชฺชมนุปาปิต ํ ชินสาสนํ เสฏ ฺ ภาเวน ปรทิ ีปิตํ, หนี ายาวตฺตมานาปิ เต ชินสาสนสฺส

กัณฑ์] ๔.๖ อาจรยิ านาจรยิ วรรค 123

เสฏฺ ภาวเํ ยว ปรทิ ีเปนตฺ ี’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลินทต์ รสั วา่ “ดีจรงิ พระคณุ เจา้ นาคเสน เป็นอนั พระคณุ เจ้าได้แสดงพระ
ศาสนาของพระชนิ วรพทุ ธเจ้า อันถึงความไมม่ ีข้อน่าต�ำหนิ โดยความเปน็ พระศาสนาที่
ประเสรฐิ สุด ดว้ ยเหตผุ ลท่เี หมาะสมนั้น ๆ แล้ว บคุ คลแม้วา่ จะเวยี นกลบั มาสู่เพศทเ่ี ลวได้อีก ก็
ยงั ท�ำความประเสริฐแหง่ พระศาสนาของพระชินวรพทุ ธเจ้าใหป้ รากฏได้แล”

หนี ายาวตฺตนปญฺโห ฉฏฺโ€ ฯ
จบหีนายาวัตตนปัญหาขอ้ ที่ ๖

________

๗. อรหนฺตเวทนาเวทยิ นปญฺห
๗. อรหนั ตเวทนาเวทิยนปัญหา
ปัญหาว่าดว้ ยการเสวยเวทนาแหง่ พระอรหนั ต์
[๗] ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน ตุมเฺ ห ภณถ ‘อรหา เอก ํ เวทนํ เวทยติ กายกิ ํ, น
เจตสกิ นฺ’ติ ฯ กินฺน ุ โข ภนเฺ ต นาคเสน อรหโต จติ ตฺ ํ ยํ กาย ํ นิสสฺ าย ปวตตฺ ติ, ตตถฺ
อรหา อนิสสฺ โร อสสฺ าม ี อวสวตตฺ ’ี ’ติ ?
[๗] พระเจา้ มลิ ินทต์ รสั วา่ “พระคณุ เจ้านาคเสน พวกท่านกล่าวกันวา่ ‘พระอรหันต์
เสวยเวทนาอย่างเดยี ว คือ เวทนาทางกาย มิไดเ้ สวยเวทนาทางใจ’ ดงั น้ี พระคณุ เจา้ นาคเสน
จติ ของพระอรหนั ต์อาศยั กายใดเป็นไป พระอรหนั ตม์ ไิ ด้เปน็ ใหญ่ มิได้เปน็ เจา้ ของ มไิ ด้มี
อ�ำนาจเป็นไปในกายน้ันหรอื อย่างไร ?”
‘‘อาม มหาราชา’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ถูกต้องแลว้ มหาบพิตร”
‘‘น โข ภนเฺ ต นาคเสน ยตุ ตฺ เมต,ํ ย ํ โส สกจิตตฺ สฺส ปวตฺตมาเน กาเย อนิสฺสโร
โหติ อสสฺ ามี อวสวตตฺ ี; สกุโณปิ ตาว ภนฺเต ยสมฺ ึ กลุ าวเก ปฏิวสต,ิ ตตฺถ โส อสิ สฺ โร
โหต ิ สาม ี วสวตฺตี’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ นิ ท์ตรัสว่า “พระคุณเจา้ นาคเสน ขอ้ ทพ่ี ระอรหันต์นั้นมิได้เป็นใหญ่ มไิ ดเ้ ป็น
เจา้ ของ มไิ ดม้ อี �ำนาจเปน็ ไปในกายท่ีเป็นไปส�ำหรับจิตของตนน้ี ไม่สมควรเลย พระคุณเจ้า
แมแ้ ตน่ กอาศยั อยู่ประจ�ำในรังใด กย็ ่อมเป็นใหญ่ เป็นเจ้าของ มอี �ำนาจเป็นไปในรังน้ัน”

124 มลิ นิ ทปัญหาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปัญห

‘‘ทสยิเม มหาราช กายานคุ ตา ธมฺมา ภเว ภเว กาย ํ อนธุ าวนฺต ิ อนุปรวิ ตฺตนฺติ ฯ
กตเม ทส? สตี ํ อุณหฺ ํ ชฆิ จฺฉา ปิปาสา อจุ ฺจาโร ปสสฺ าโว มิทธฺ ํ ชรา พฺยาธิ มรณํ ฯ
อเิ ม โข มหาราช ทส กายานคุ ตา ธมมฺ า ภเว ภเว กายํ อนุธาวนฺต ิ อนุปริวตฺตนตฺ ิ, ตตฺถ
อรหา อนสิ ฺสโร อสสฺ ามี อวสวตฺตี’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร ธรรม ๑๐ อย่างเหล่านี้ คล้อยตามกาย
แลน่ ตามกาย แปรเปลย่ี นไปตามกายทกุ ๆ ภพ ธรรม ๑๐ อยา่ ง อะไรบา้ ง ได้แก่ (๑) ความเย็น
(๒) ความรอ้ น (๓) ความหวิ (๔) ความกระหาย (๕) ปวดอจุ จาระ (๖) ปวดปสั สาวะ (๗) ความ
ง่วง (๘) ความแก่ (๙) ความเจ็บปว่ ย (๑๐) ความตาย ขอถวายพระพร ธรรม ๑๐ อยา่ ง เหล่านี้
แล้ว คล้อยไปตามกาย แลน่ ไปตามกาย แปรเปล่ียนไปตามกายทุก ๆ ภพ พระอรหันตม์ ไิ ด้
เป็นใหญ่ มิได้เป็นเจ้าของ มไิ ดม้ ีอ�ำนาจเปน็ ไปในกายนนั้ ”
‘‘ภนฺเต นาคเสน เกน การเณน อรหโต กาเย อาณา นปฺปวตตฺ ต ิ อสิ สฺ ริยํ วา,
ตตฺถ เม การณํ พฺรูห’ี ’ติ ?
พระเจ้ามิลินท์ตรัสว่า “พระคุณเจา้ นาคเสน เพราะเหตไุ ร พระอรหนั ต์จงึ หาอ�ำนาจหรือ
ความเปน็ ใหญใ่ นกายมไิ ดเ้ ล่า ? ขอทา่ นจงช่วยบอกเหตุผลในข้อทว่ี ่านนั้ แก่โยมเถิด”
‘‘ยถา มหาราช เย เกจ ิ ปถวนิ ิสสฺ ิตา สตตฺ า, สพเฺ พ เต ปถวึ นสิ ฺสาย จรนฺต ิ
วิหรนตฺ ิ วุตตฺ ึ กปเฺ ปนตฺ ,ิ อป ิ นุ โข มหาราช เตสํ ปถวยิ า อาณา ปวตตฺ ต ิ อิสสฺ ริย ํ
วา’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร เปรียบเหมือนว่า สตั ว์ทัง้ หลายทอ่ี าศยั
แผ่นดนิ เหล่าใดเหล่าหนง่ึ สัตวเ์ หลา่ น้นั ทั้งหมด ยอ่ มเท่ยี วไปได้ อยไู่ ด้ ส�ำเร็จความเป็นไปได้
เพราะลว้ นแต่อาศัยแผน่ ดนิ ขอถวายพระพร สัตว์เหลา่ นั้นมีอ�ำนาจ หรือความเปน็ ใหญ่ เป็น
ไปในแผ่นดนิ หรอื ?”
‘‘น หิ ภนฺเต’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ ินทต์ รสั ว่า “หามิได้ พระคุณเจ้า”
‘‘เอวเมว โข มหาราช อรหโต จติ ตฺ ํ กาย ํ นสิ ฺสาย ปวตฺตติ, น จ อรหโต กาเย
อาณา ปวตตฺ ต ิ อสิ ฺสริยํ วา’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร ก็เหมือนกนั อยา่ งนนั้ นนั่ แหละ จติ ของ

กณั ฑ์] ๔.๖ อาจรยิ านาจริยวรรค 125

พระอรหนั ตอ์ าศยั กายเป็นไป แตว่ ่า พระอรหันตห์ ามีอ�ำนาจหรือความเป็นใหญ่เป็นไปในกาย
ไม่”
‘‘ภนเฺ ต นาคเสน เกน การเณน ปุถุชฺชโน กายิกมปฺ ิ เจตสิกมฺป ิ เวทน ํ
เวทยตี’’ติ ?
พระเจา้ มลิ ินทต์ รสั ว่า “พระคุณเจา้ นาคเสน เพราะเหตไุ ร ผู้เปน็ ปุถชุ นจงึ เสวยเวทนา
ทางกายก็ได้ ทางใจก็ไดเ้ ลา่ ?”
‘‘อภาวติ ตฺตา มหาราช จิตตฺ สฺส ปุถุชฺชโน กายิกมปฺ ิ เจตสิกมฺป ิ เวทนํ เวทยติ ฯ
ยถา มหาราช โคโณ ฉาโต ปริตสโิ ต อพลทพุ ฺพลปรติ ฺตกตเิ ณส ุ วา ลตาย วา อุปนิพทฺโธ
อสฺส, ยทา โส โคโณ ปริกปุ ิโต โหต,ิ ตทา สห อุปนพิ นธฺ เนน ปกกฺ มติ ฯ เอวเมว โข
มหาราช อภาวติ จติ ฺตสฺส เวทนา อปุ ปฺ ชชฺ ติ ฺวา จติ ตฺ ํ ปริโกเปต,ิ จติ ฺต ํ ปริกปุ ิต ํ กายํ
อาภุชติ นพิ ฺภุชติ สมปฺ ริวตตฺ ก ํ กโรติ ฯ อถ โข โส อภาวิตจติ ฺโต ตสต ิ รวต ิ เภรวราว-
มภิรวต,ิ อิทเมตถฺ มหาราช การณ,ํ เยน การเณน ปถุ ชุ ชฺ โน กายกิ มฺป ิ เจตสิกมปฺ ิ เวทนํ
เวทยตี’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร ปถุ ชุ นเสวยเวทนาทางกายก็ได้ ทางใจ
กไ็ ด้ เพราะมไิ ดอ้ บรมจิต ขอถวายพระพร เปรียบเหมอื นวา่ โคทีห่ วิ อยู่ ทอ่ี ยากกนิ อยู่ ถูกเขา
ผกู ติดไวท้ ่ีกอหญา้ เล็ก ๆ อันไม่มีก�ำลัง ออ่ นก�ำลัง หรอื ที่เถาวัลย์ เวลาใด โคตวั นัน้ ก�ำเริบ
(หงุดหงิด) ขน้ึ มา เวลานน้ั มันจะหลีกไปเสยี พร้อมกบั สิง่ ท่ีผูกตดิ ฉนั ใด ขอถวายพระพร
เวทนาของปุถชุ นผู้มไิ ดอ้ บรมจิต เกดิ ขน้ึ แลว้ กท็ �ำจติ ให้ก�ำเรบิ จติ ทก่ี �ำเริบ ย่อมดัด ย่อมบดิ ซงึ่
กาย ย่อมท�ำกายให้แปรปรวนไป ฉันนน้ั เม่ือเป็นเช่นน้นั ปถุ ุชนผูม้ จี ติ มิไดอ้ บรมนัน้ จึงสะดุง้
กลัว จึงร้อง จึงส่งเสียงรอ้ งดังนา่ กลัว ขอถวายพระพร นี้คือเหตุในเรื่องนี้ ทเี่ ป็นเหตุท�ำให้
ปถุ ุชนเสวยเวทนาทางกายก็ได้ ทางใจกไ็ ด้”
‘‘ก ึ ปน ตํ การณ,ํ เยน การเณน อรหา เอก ํ เวทน ํ เวทยต ิ กายกิ ํ, น
เจตสิกนฺ”ติ ?
พระเจ้ามิลนิ ท์ตรัสว่า “กเ็ หตุอะไรเล่า ? เป็นเหตทุ ี่ท�ำใหพ้ ระอรหนั ตเ์ สวยเวทนาอยา่ ง
เดยี ว คือ เวทนาทางกาย มไิ ดเ้ สวยเวทนาทางใจ”

126 มลิ ินทปญั หาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปัญห

‘‘อรหโต มหาราช จติ ตฺ ํ ภาวติ ํ โหติ สุภาวิต ํ ทนฺต ํ สุทนฺตํ อสสฺ วํ วจนกร,ํ โส
ทุกฺขาย เวทนาย ผฏุ โฺ สมาโน ‘อนิจจฺ น’ฺ ติ ทฬฺห ํ คณหฺ าติ, สมาธถิ มเฺ ภ จติ ตฺ ํ
อปุ นิพนฺธติ, ตสฺส ต ํ จติ ฺตํ สมาธถิ มเฺ ภ อุปนพิ นฺธน ํ น เวธต ิ น จลติ, ติ ํ โหติ อวกิ ฺขติ ฺตํ,
ตสฺส เวทนาวิการวิปผฺ าเรน กาโย อาภชุ ติ นิพฺภชุ ติ สมปฺ รวิ ตฺตต,ิ อทิ เมตฺถ มหาราช
การณ,ํ เยน การเณน อรหา เอกํ เวทน ํ เวทยต ิ กายกิ ํ, น เจตสิกนฺ”ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร จิตของพระอรหันต์เป็นธรรมชาตทิ ่ีได้
อบรมแล้ว อบรมดแี ลว้ ฝึกแล้ว ฝกึ ดีแล้ว จึงท�ำตามท่พี ูดแนแ่ ท้ พระอรหันต์นน้ั เมอ่ื ถกู
ทกุ ขเวทนากระทบเอา กย็ อ่ มถอื มั่นวา่ ไม่เที่ยงเปน็ ตน้ ยอ่ มผูกจติ ทเ่ี สาคือสมาธิ จติ ของท่าน
ที่ผกู ไวท้ ่เี สาคอื สมาธินน้ั ย่อมไมค่ ลอนแคลน ไมส่ ัน่ ไหว เปน็ ธรรมชาติตง้ั มัน่ อยไู่ ม่ซัดส่าย
เพราะความแผ่ไปแห่งวกิ ารของเวทนานน้ั กายของทา่ นก็ย่อมคดไป บิดไป แปรปรวนไป ขอ
ถวายพระพร นีค้ ือเหตใุ นเร่อื งน้ี จัดเปน็ เหตทุ ่ที �ำให้พระอรหันต์เสวยเวทนาอยา่ งเดียว คอื
ทางกาย มไิ ด้เสวยเวทนาทางใจ”
‘‘ภนเฺ ต นาคเสน ต ํ นาม โลเก อจฺฉริยํ ย ํ กาเย จลมาเน จิตฺต ํ น จลติ, ตตถฺ
เม การณํ พรฺ หู ’ี ’ติ ฯ
พระเจ้ามิลินทต์ รสั ว่า “พระคณุ เจา้ นาคเสน ข้อทวี่ า่ เมือ่ กายหว่นั ไหว แตจ่ ติ กลับไม่
หวน่ั ไหว ช่อื ว่าเปน็ ของนา่ อัศจรรยใ์ นโลก ขอท่านจงบอกเหตผุ ลในเรอ่ื งน้นั แก่โยมเถิด”
‘‘ยถา มหาราช มหติมหารุกฺเข ขนฺธสาขาปลาสสมฺปนเฺ น อนลิ พลสมาหเต สาขา
จลต,ิ อปิ นุ ตสฺส ขนโฺ ธป ิ จลต’ี ’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร เมอื่ ต้นไม้ตน้ ใหญโ่ ตสมบรู ณ์
ด้วยล�ำตน้ ก่งิ และใบ ถูกก�ำลงั ลมกระหนำ�่ กิง่ ไมก้ ็ยอ่ มส่ันไหว ล�ำตน้ แห่งต้นไม้นนั้ ก็ย่อมสั่น
ไหวด้วยหรอื หนอ ?”
‘‘น หิ ภนฺเต’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลนิ ท์ตรัสวา่ “หามไิ ด้ พระคณุ เจ้า”
‘‘เอวเมว โข มหาราช อรหา ทกุ ขฺ าย เวทนาย ผฏุ ฺโ สมาโน ‘อนิจฺจน’ฺ ต ิ ทฬหฺ ํ
คณฺหาต,ิ สมาธถิ มฺเภ จิตฺตํ อปุ นพิ นธฺ ติ, ตสสฺ ต ํ จิตฺตํ สมาธถิ มฺเภ อุปนิพนฺธน ํ น เวธติ
น จลติ, ติ ํ โหต ิ อวิกขฺ ิตตฺ ,ํ ตสฺส เวทนาวกิ ารวิปฺผาเรน กาโย อาภุชติ นิพภฺ ุชต ิ

กณั ฑ]์ ๔.๖ อาจรยิ านาจรยิ วรรค 127

สมปฺ รวิ ตตฺ ต,ิ จติ ตฺ ํ ปน ตสสฺ น เวธต ิ น จลติ ขนฺโธ วิย มหารกุ ขฺ สสฺ า’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร ก็เหมอื นกันอย่างน้ันนน่ั แหละ พระ
อรหันต์พอถกู ทกุ ขเวทนากระทบเอา กย็ อ่ มถือมนั่ ว่า ไมเ่ ที่ยงเป็นตน้ ย่อมผูกจิตไวท้ เี่ สาคอื
สมาธิ จิตของทา่ นทีผ่ ูกไวท้ เ่ี สาคอื สมาธิน้ัน ยอ่ มไมค่ ลอนแคลนไม่ส่ันไหว เปน็ ธรรมชาติตัง้
ม่ันไม่ซดั ส่าย เพราะความแผไ่ ปแหง่ วิการของเวทนา กายของท่าน กย็ ่อมคดไป บดิ ไป
แปรปรวนไป แต่จิตของท่านยอ่ มไม่คลอนแคลน ไมส่ ่ันไหว เหมอื นล�ำตน้ แหง่ ตน้ ไม้ใหญ่
ฉะนัน้
‘‘อจฺฉรยิ ํ ภนฺเต นาคเสน, อพภฺ ุตํ ภนเฺ ต นาคเสน, น เม เอวรูโป สพฺพกาลโิ ก
ธมฺมปทโี ป ทิฏฺ ปุพฺโพ’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ ินท์ตรสั ว่า “นา่ อัศจรรย์จริง พระคุณเจ้านาคเสน นา่ แปลกจรงิ พระคณุ เจ้า
นาคเสน โยมไม่เคยเห็นประทีปสอ่ งธรรมได้ตลอดกาลทัง้ ปวงเช่นนี้มากอ่ นเลย”

อรหนตฺ เวทนาเวทยิ นปญโฺ ห สตตฺ โม ฯ
จบอรหนั ตเวทนาเวทยิ นปัญหาข้อท่ี ๗

________

๘. ขณี าสวกายกิ เวทนานานากรณปญหฺ
๘. ขีณาสวกายกิ เวทนานานากรณปญั หา
ปัญหาว่าด้วยการกระท�ำตา่ ง ๆ กันแห่งการเสวยเวทนาทางกายของพระขณี าสพ
[๘] “ภนเฺ ต นาคเสน ต ํ นาม โลเก อจฺฉริย ํ ย ํ กาเย จลมาเน จติ ฺต ํ น จลติ, ตตฺถ
เม การณํ พรฺ หู ี”ติ ฯ
[๘] พระเจ้ามลิ นิ ทต์ รัสว่า “พระคุณเจ้านาคเสน ขอ้ ทีว่ ่า เมือ่ กายหว่ันไหว แตจ่ ิตกลับ
ไมห่ วนั่ ไหว ชือ่ วา่ เปน็ ของน่าอศั จรรยใ์ นโลก ขอท่านจงบอกเหตผุ ลในเรื่องนัน้ แกโ่ ยมเถดิ ”
“ยถา มหาราช มหตมิ หารุกเฺ ข ขนธฺ สาขาปลาสสมปฺ นฺเน อนลิ พลสมาหเต สาขา
จลติ, อป ิ น ุ ตสสฺ ขนโฺ ธปิ จลตีติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร เม่อื ต้นไมต้ ้นใหญ่โตสมบูรณ์
ด้วยล�ำต้น กงิ่ และใบ ถกู ก�ำลงั ลมกระหน่ำ� กง่ิ ไม้กย็ ่อมสั่นไหว ล�ำต้นแหง่ ตน้ ไม้นั้น กย็ ่อมสั่น
ไหวด้วยหรือหนอ ?”

128 มลิ ินทปญั หาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปัญห

“น ห ิ ภนเฺ ตติ ฯ
พระเจา้ มิลินทต์ รัสวา่ “หามไิ ด้ พระคณุ เจา้ ”

เอวเมว โข มหาราช อรหา ทกุ ฺขาย เวทนาย ผุฏฺโ สมาโน ‘อนจิ จฺ นฺ’ติ ทฬหฺ ํ
คณฺหาต,ิ สมาธถิ มเฺ ภ จติ ฺต ํ อุปนพิ นธฺ ติ, ตสสฺ ตํ จิตฺต ํ สมาธถิ มเฺ ภ อุปนพิ นฺธน ํ น เวธต ิ
น จลต,ิ ติ ํ โหติ อวกิ ขฺ ิตฺตํ, ตสสฺ เวทนาวกิ ารวปิ ผฺ าเรน กาโย อาภชุ ติ นิพฺภชุ ต ิ
สมปฺ รวิ ตฺตต,ิ จิตฺตํ ปน ตสฺส น เวธต ิ น จลต ิ ขนโฺ ธ วยิ มหารุกขฺ สฺสาติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร ก็เหมอื นกนั อยา่ งน้ันน่ันแหละ พระ
อรหันต์พอถูกทุกขเวทนากระทบเอา กย็ ่อมถือมน่ั ว่าไมเ่ ทยี่ งเปน็ ตน้ ย่อมผกู จิตไว้ท่เี สาคอื
สมาธิ จติ ของท่านทผ่ี ูกไว้ทเี่ สาคอื สมาธิน้ัน ยอ่ มไมค่ ลอนแคลนไมส่ ั่นไหว เป็นธรรมชาติต้งั
ม่นั ไมซ่ ัดสา่ ย เพราะความแผไ่ ปแหง่ วิการของเวทนา กายของท่าน ก็ย่อมคดไป บดิ ไป
แปรปรวนไป แตจ่ ติ ของท่านยอ่ มไม่คลอนแคลน ไมส่ ั่นไหว เหมือนล�ำต้นแหง่ ตน้ ไมใ้ หญ่
ฉะน้นั ”

“อจฉฺ ริยํ ภนฺเต นาคเสน, อพฺภุต ํ ภนเฺ ต นาคเสน, น เม เอวรูโป สพฺพกาลิโก
ธมมฺ ปทีโป ทิฏฺปพุ ฺโพติ ฯ
พระเจ้ามิลนิ ท์ตรสั ว่า “นา่ อัศจรรยจ์ รงิ พระคณุ เจา้ นาคเสน นา่ แปลกจริง พระคณุ เจ้า
นาคเสน โยมไมเ่ คยเหน็ ประทีปสอ่ งธรรมได้ตลอดกาลทง้ั ปวงเช่นนีม้ าก่อนเลย”

ขีณาสวกายิกเวทนานานากรณปญโฺ ห อฏ€ฺ โม ฯ
จบขณี าสวกายิกเวทนานานากรณปัญหาขอ้ ท่ี ๘

________

๙. อภสิ มยนตฺ รายกรปญฺห
๙. อภสิ มยันตรายกรปัญหา
ปัญหาวา่ ดว้ ยบุคคลผู้มธี รรมที่ท�ำอนั ตรายตอ่ การบรรลธุ รรม
[๙] ‘‘ภนฺเต นาคเสน อิธ โย โกจ ิ คิหี ปาราชิก ํ อชฌฺ าปนฺโน ภเวยฺย, โส อปเรน
สมเยน ปพฺพาเชยยฺ , อตฺตนาป ิ โส น ชาเนยยฺ ‘คิหิปาราชกิ ํ อชฌฺ าปนฺโนสฺม’ี ติ, นปิ ตสฺส
อ ฺโ โกจ ิ อาจกิ เฺ ขยยฺ ‘คหิ ปิ าราชิกํ อชฌฺ าปนฺโนส’ี ติ ฯ โส จ ตถตตฺ าย ปฏิปชเฺ ชยยฺ ,
อป ิ น ุ ตสฺส ธมมฺ าภสิ มโย ภเวยฺยา’’ติ ?

กณั ฑ]์ ๔.๖ อาจริยานาจริยวรรค 129

[๙] พระเจ้ามิลนิ ท์ตรสั ว่า “พระคณุ เจา้ นาคเสน คฤหัสถค์ นใดคนหน่ึงในโลกนเี้ ป็นผู้
ตอ้ งปาราชิก ในสมยั ต่อมาอกี คฤหัสถผ์ ้นู น้ั ได้บวช ทัง้ ตัวเขาเองก็ไม่รู้วา่ เราเป็นคฤหสั ถ์ผู้
ต้องปาราชกิ ท้งั ใครคนอ่ืนก็มไิ ด้บอกเขาว่า ท่านเปน็ คฤหสั ถผ์ ู้ตอ้ งปาราชกิ ก็คฤหัสถผ์ นู้ ้นั พงึ
ปฏบิ ัติเพอ่ื ความบรรลธุ รรมนัน้ เขาจะพงึ มกี ารบรรลธุ รรมไดห้ รอื ไม่หนอ ?”
‘‘น ห ิ มหาราชา’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร เขาจะมีการบรรลุธรรมมไิ ด้”
‘‘เกน ภนเฺ ต การเณนา’’ติ ?
พระเจา้ มิลนิ ท์ตรสั วา่ “เพราะเหตไุ รหรือ ? พระคุณเจ้า”
‘‘โย ตสสฺ เหตุ ธมฺมาภิสมยาย, โส ตสสฺ สมุจฉฺ นิ โฺ น, ตสฺมา ธมมฺ าภสิ มโย น
ภวตี’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “เหตุเพ่อื การบรรลุธรรมใด เขาขาดเหตนุ นั้ เพราะฉะน้นั
จงึ ไมม่ กี ารบรรลุธรรม”
‘‘ภนฺเต นาคเสน ตุมเฺ ห ภณถ ‘ชานนฺตสสฺ กุกกฺ จุ ฺจ ํ โหต,ิ กุกกฺ ุจฺเจ สต ิ อาวรณํ
โหติ, อาวเฏ จิตเฺ ต ธมฺมาภิสมโย น โหตี’ติ ฯ อมิ สสฺ ปน อชานนตฺ สฺส อกุกฺกจุ จฺ ชาตสสฺ
สนตฺ จิตตฺ สสฺ วิหรโต เกน การเณน ธมมฺ าภสิ มโย น โหต,ิ วิสเมน วสิ เมเนโส ป โฺ ห
คจฺฉติ, จินเฺ ตตวฺ า วสิ ชฺเชถา’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลนิ ทต์ รสั วา่ “พระคุณเจ้านาคเสน พวกทา่ นกลา่ วกนั ว่า ‘เม่อื รู้อยู่ กย็ ่อมมี
กกุ กจุ จะ (ความหงุดหงิดใจ ความกลดั กลมุ้ ใจ) เมอื่ มีกกุ กุจจะกช็ ่ือว่ามีเครอ่ื งขวางก้ัน เมอื่ จิต
ถกู ขวางกน้ั ก็ย่อมไม่มีการบรรลุธรรม’ ดังน้ี กแ็ ต่ว่า ส�ำหรบั บุคคลผูไ้ มร่ ู้อยู่ (วา่ ตอ้ งปาราชิก)
ไม่เกดิ กกุ กุจจะ มีจิตสงบอยูน่ ้ี เพราะเหตไุ ร จึงไมม่ กี ารบรรลุธรรมเล่า” ปญั หานี้ ย่อมตกถึงแก่
ท่าน ผ้หู าใครเสมอเหมือนมิได้ ขอทา่ นจงคิดเฉลยเถิด”
‘‘รุหต ิ มหาราช สุกฏเฺ สุกลเล มณฑฺ เขตฺเต สารท ํ สขุ สยิตํ พชี น”ฺ ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร พชื มีประโยชนท์ ี่เขาฝังไวอ้ ยา่ งดี ใน
ทอ้ งไร่ ท้องนา อันไถพรวนดแี ล้ว อนั ท�ำใหเ้ ป็นดินเปยี กนมุ่ ดแี ลว้ ยอ่ มงอกงามได้มใิ ชห่ รอื ?”
‘‘อาม ภนเฺ ต’’ติ ฯ
พระเจา้ มิลนิ ทต์ รัสว่า “ใช่ ยอ่ มงอกงามได้ พระคณุ เจ้า”

130 มลิ นิ ทปญั หาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปัญห

‘‘อป ิ น ุ มหาราช ต ฺเ ว พีช ํ ฆนเสลสลิ าตเล รเุ หยยฺ า’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร พืชอันเดียวกันน้นั น่นั แหละ พงึ งอกงาม
บนพื้นหนิ แห่งภเู ขาหินทบึ ตนั ได้หรอื ไม่ ?”
‘‘น ห ิ ภนเฺ ต’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ ินทต์ รสั วา่ “มิได้หรอก พระคณุ เจา้ ”
‘‘กสิ ฺส ปน มหาราช, ต ฺเ ว พีช ํ กลเล รหุ ติ, กิสสฺ ฆนเสเล น รหุ ตี’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร เพราะเหตุไร ? บนดนิ เปียกนุ่ม พืชนัน้
นั่นแหละ จึงงอกงามได้ เพราะเหตไุ ร ? บนเขาหนิ ทบึ ตัน จึงงอกงามไมไ่ ด”้
‘‘นตถฺ ิ ภนเฺ ต ตสฺส พชี สฺส รุหนาย ฆนเสเล เหต,ุ อเหตุนา พชี ํ น รุหตี’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ ินท์ตรัสว่า “พระคณุ เจ้า บนภูเขาหนิ ทึบตนั ไม่มเี หตุเพ่ือให้พชื นน้ั งอกงาม
พชื ไม่งอกงาม เพราะไม่มีเหต”ุ
‘‘เอวเมว โข มหาราช เยน เหตนุ า ตสสฺ ธมมฺ าภิสมโย ภเวยยฺ , โส ตสฺส เหต ุ
สมจุ ฺฉนิ โฺ น, อเหตุนา ธมฺมาภสิ มโย น โหติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร ก็เหมือนกันอย่างน้นั นัน่ แหละ บุคคลผู้
นน้ั จะพงึ มีการบรรลธุ รรมได้ เพราะเหตุใด เพราะขาดเหตุน้ันไป เพราะไม่มเี หตุ เขาจงึ ไมม่ ี
การบรรลธุ รรม
‘‘ยถา วา ปน มหาราช ทณฺฑเลฑฑฺ ุลคุฬมคุ ฺครา ปถวิยา านมุปคจฺฉนตฺ ิ, อปิ นุ
มหาราช เตเยว ทณฺฑเลฑฺฑลุ คุฬมุคฺครา คคเน านมุปคจฉฺ นตฺ ’ี ’ติ ?
ขอถวายพระพร อกี อย่างหนึ่ง เปรียบเหมอื นว่า ทอ่ นไม้ ก้อนดนิ ไม้ตะบอง ไม้ค้อน
ย่อมถงึ ความต้ังอย่ไู ด้บนพ้ืนดิน ขอถวายพระพร ทอ่ นไม้ ก้อนดนิ ไมต้ ะบอง ไมค้ ้อนเหล่านนั้
นัน่ แหละ ยอ่ มถงึ ความต้งั อยใู่ นกลางท้องฟ้าได้หรือไม่ ?”
‘‘น ห ิ ภนฺเต’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลินท์ตรสั วา่ “มไิ ด้หรอก พระคณุ เจ้า”
‘‘ก ึ ปเนตถฺ มหาราช การณ,ํ เยน การเณน เตเยว ทณฺฑเลฑฑฺ ลุ คฬุ มุคคฺ รา
ปถวยิ า านมปุ คจฉฺ นตฺ ,ิ เกน การเณน คคเน น ติฏ ฺ นตฺ ี’’ติ ?

กัณฑ์] ๔.๖ อาจรยิ านาจริยวรรค 131

พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร ก็มีเหตุอะไร ? ในเร่อื งน้วี ่า ทเี่ ป็นเหตุ
ท�ำใหท้ อ่ นไม้ ก้อนดนิ ไมต้ ะบอง ไม้ค้อนเหลา่ นั้นนน่ั แหละ ถึงความต้ังอยู่ได้บนพนื้ ดนิ เพราะ
เหตุไร ? ทอ่ นไม้เปน็ ต้นเหลา่ นนั้ นั่นแหละ จงึ ตง้ั อย่ใู นกลางทอ้ งฟ้ามไิ ด”้
‘‘นตถฺ ิ ภนเฺ ต เตสํ ทณฑฺ เลฑฑฺ ลุ คุฬมุคฺคราน ํ ปติฏฺ านาย อากาเส เหต,ุ อเหตนุ า
น ตฏิ ฺ นตฺ ’ี ’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ นิ ท์ตรัสวา่ “ไมม่ ีหรอก พระคุณเจา้ เหตทุ ่ที �ำใหท้ ่อนไม้ ก้อนดิน ไม้ตะบอง
ไม้คอ้ นเหล่านัน้ น่นั แหละ ตง้ั อย่ใู นอากาศได้ หามีไม่ เพราะไม่มีเหตุ จึงต้ังอยูไ่ ม่ได้”
‘‘เอวเมว โข มหาราช ตสสฺ เตน โทเสน อภิสมยเหต ุ สมุจฉฺ ินฺโน, เหตุสมคุ ฺฆาเต
อเหตนุ า อภิสมโย น โหตีติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร กเ็ หมอื นกันอย่างน้นั นั่นแหละ บคุ คลผู้
น้นั ขาดเหตุท่ีจะบรรลธุ รรม เพราะโทษนั้น เม่อื ขาดเหตุเสยี แลว้ เพราะไมม่ เี หตุ เขาจึงไม่มี
การบรรลุธรรม”
‘‘ยถา วา ปน มหาราช ถเล อคคฺ ิ ชลติ, อปิ น ุ โข มหาราช โส เยว อคคฺ ิ
อุทเก ชลตี’’ติ ?
ขอถวายพระพร อีกอยา่ งหนึ่ง เปรียบเหมอื นว่า ไฟย่อมลุกโพลงไดบ้ นบก ขอถวาย
พระพร ไฟนนั้ นัน่ แหละ ย่อมลกุ โพลงในน�ำ้ ไดห้ รอื หนอ”
‘‘น ห ิ ภนฺเต’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลินทต์ รัสวา่ “มิไดห้ รอก พระคณุ เจา้ ”
‘‘กึ ปเนตถฺ มหาราช การณ,ํ เยน การเณน โสเยว อคคฺ ิ ถเล ชลต,ิ เกน
การเณน อทุ เก น ชลตี’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “มีเหตอุ ะไร ? ในเรือ่ งนเ้ี ล่า เปน็ เหตทุ �ำให้ไฟนน้ั ลุกโพลง
บนบกได้ เพราะเหตุไร ? จึงลุกโพลงในน้�ำมไิ ด”้
‘‘นตถฺ ิ ภนเฺ ต อคคฺ สิ ฺส ชลนาย อุทเก เหตุ, อเหตนุ า น ชลตี’’ติ ฯ
พระเจา้ มิลนิ ทต์ รสั วา่ “พระคณุ เจา้ เหตทุ ีท่ �ำให้ไฟนนั้ นั่นแหละ ลกุ โพลงในนำ้� ได้ หามี
ไม่ เพราะไมม่ ีเหตุ จึงลุกโพลงไมไ่ ด้”

132 มลิ ินทปัญหาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปัญห

‘‘เอวเมว โข มหาราช ตสสฺ เตน โทเสน อภิสมยเหตุ สมุจฺฉินโฺ น, เหตสุ มุคฆฺ าเต
อเหตุนา ธมฺมาภสิ มโย น โหตี’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร ก็เหมอื นกันอย่างนัน้ นั่นแหละ บุคคลผู้
นน้ั ขาดเหตทุ ่จี ะบรรลุธรรม เพราะโทษนน้ั เมอ่ื ขาดเหตเุ สียแล้ว เพราะไม่มีเหตุ เขาจงึ ไม่มี
การบรรลธุ รรม”
‘‘ภนเฺ ต นาคเสน ปนุ เปตํ อตฺถํ จนิ เฺ ตหิ, น เม ตตถฺ จติ ตฺ ส ฺ ตตฺ ิ ภวติ,
อชานนตฺ สสฺ อสต ิ กกุ กฺ ุจเฺ จ อาวรณ ํ โหตตี ิ, การเณน ม ํ ส ฺ าเปห’ี ’ติ ฯ
พระเจ้ามิลนิ ทต์ รัสว่า “พระคุณเจา้ นาคเสน ขอท่านจงคดิ อรรถาธิบายข้อนี้อกี คร้งั หนงึ่
เถดิ ในขอ้ ที่วา่ เมอ่ื ไมร่ ู้อยู่ ก็ไมม่ กี กุ กุจจะ เมอ่ื ไม่มกี กุ กจุ จะ ก็ไมม่ สี ่งิ ขวางก้นั ดงั นี้น้นั โยมยงั
ไมม่ คี วามเข้าใจ ขอทา่ นจงช่วยท�ำโยมให้เข้าใจ ด้วยเหตผุ ลเถดิ ”
‘‘อปิ น ุ มหาราช วิสํ หลาหลํ อชานนฺเตน ขายิต ํ ชีวิตํ หรตี’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร ยาพษิ ท่ีแรงกลา้ ทบี่ คุ คลไม่รไู้ ปกนิ เข้า
ยอ่ มคร่าชวี ติ ได้มิใชห่ รือ ?”
‘‘อาม ภนเฺ ต’’ติ ฯ
พระเจา้ มิลนิ ท์ตรัสว่า “ใช่ ยอ่ มครา่ ชวี ิตได้ พระคุณเจา้ ”
‘‘เอวเมว โข มหาราช อชานนฺเตนป ิ กต ํ ปาป ํ อภสิ มยนฺตรายกร ํ โหติ ฯ อป ิ นุ
มหาราช อคฺคิ อชานติ ฺวา อกกฺ มนฺต ํ ฑหต’ี ’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร กเ็ หมือนกันอย่างนั้นน่นั แหละ บาปท่ี
บุคคลผู้แมไ้ มร่ ู้กระท�ำ ยอ่ มเป็นสง่ิ ท่ีท�ำอันตรายตอ่ การบรรลธุ รรม, ขอถวายพระพร อน่งึ ไฟ ท่ี
บุคคลไม่รแู้ ล้วเหยียบเข้า ย่อมไหมม้ ิใชห่ รอื ?”
‘‘อาม ภนเฺ ต’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ ินทต์ รสั วา่ “ใช่ ย่อมไหม้ได้ พระคุณเจ้า”
‘‘เอวเมว โข มหาราช อชานนเฺ ตนปิ กตํ ปาปํ อภิสมยนฺตรายกร ํ โหติ ฯ อป ิ น ุ
มหาราช อชานนตฺ ํ อาสวี โิ ส ฑํสิตฺวา ชวี ติ ํ หรต’ี ’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร กเ็ หมือนกันอย่างนนั้ นน่ั แหละ บาปท่ี
บคุ คลแม้ไมร้ กู้ ระท�ำ ย่อมเปน็ ส่งิ ทที่ �ำอนั ตรายตอ่ การบรรลุธรรมได,้ ขอถวายพระพร อน่งึ

กณั ฑ]์ ๔.๖ อาจรยิ านาจรยิ วรรค 133

อสรพิษกัดผทู้ ีไ่ มร่ ู้ กย็ ่อมครา่ ชีวิตไดม้ ใิ ช่หรอื ?”
‘‘อาม ภนฺเต’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ ินท์ตรัสวา่ “ใช่ ยอ่ มคร่าชวี ิตได้ พระคณุ เจ้า”
‘‘เอวเมว โข มหาราช อชานนเฺ ตนป ิ กตํ ปาป ํ อภิสมยนฺตรายกร ํ โหติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร ก็เหมอื นกนั อยา่ งนน้ั นน่ั แหละ บาปที่
บุคคลผ้แู มไ้ มร่ ูก้ ระท�ำ ย่อมเปน็ สงิ่ ท�ำอนั ตรายต่อการบรรลุธรรมได้
‘‘นน ุ มหาราช กาลงิ ฺคราชา สมณโกล โฺ สตตฺ รตนปริกิณโฺ ณ หตฺถิรตนมภริ ุยฺห
กลุ ทสฺสนาย คจฺฉนฺโต อชานนฺโตปิ นาสกฺขิ โพธิมณฺฑสฺส อุปรโิ ต คนตฺ ,ุํ อทิ เมตฺถ
มหาราช การณ,ํ เยน การเณน อชานนฺเตนป ิ กตํ ปาป ํ อภสิ มยนฺตรายกรํ โหตี’’ติ ?
ขอถวายพระพร พระเจ้ากาลิงคะผูม้ าจากสกุลสมณะ ผู้พรง่ั พรอ้ มด้วยแกว้ ๗ ประการ
เสดจ็ ขน้ึ ชา้ งแก้วไปเยย่ี มสกลุ แม้ว่า พระองคไ์ ม่ทรงรอู้ ยู่ ก็ไม่อาจเสด็จขา้ มไปเหนือแดนตรัสรู้
ได้ เร่ืองพระเจา้ กาลงิ คะนี้ เปน็ เหตุผลในขอ้ ทว่ี ่า บาปทบ่ี ุคคลผแู้ มไ้ มร่ ูก้ ระท�ำเขา้ ก็ย่อมเป็นสง่ิ
ที่ท�ำอนั ตรายตอ่ การบรรลุธรรมได้ น”้ี
‘‘ชินภาสติ ํ ภนเฺ ต นาคเสน การณํ น สกกฺ า ปฏกิ โฺ กสิตุ,ํ เอโสเวตสสฺ อตโฺ ถ ตถา
สมฺปฏิจฺฉามี’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ ินท์ตรัสว่า “พระคณุ เจ้านาคเสน เหตุผลท่ีพระชินวรพทุ ธเจ้าตรัสไว้ ใคร ๆ
ไม่อาจปฏิเสธได้ อรรถาธบิ ายในเร่ืองน้ี โยมขอยอมรับตามประการที่ท่านกล่าวมานน้ั ”

อภิสมยนฺตรายกรปญฺโห นวโม ฯ
จบอภิสมยนั ตรายกรปญั หาข้อท่ี ๙

________


Click to View FlipBook Version