The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

มิลินทปัญหาปกรณ์แปล เล่ม ๒ ถาม-ตอบปัญหาในพระไตรปิฎก

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ืทีมงานกรุธรรม, 2022-03-09 22:17:47

มิลินทปัญหาปกรณ์แปล เล่ม ๒ ถาม-ตอบปัญหาในพระไตรปิฎก

มิลินทปัญหาปกรณ์แปล เล่ม ๒ ถาม-ตอบปัญหาในพระไตรปิฎก

Keywords: มิลินทปัญหาปกรณ์แปล เล่ม ๒ ถาม-ตอบปัญหาในพระไตรปิฎก

434 มลิ ินทปัญหาปกรณแ์ ปล [๖.โอปัมมกถาปัญห

พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร คา้ งคาว เขา้ ไปยงั เรือน
เท่ยี วบินไปขา้ งนั้นขา้ งน้ี แลว้ ออกมา ไมพ่ ัวพนั อยู่ในสถานท่ีแหง่ น้ัน ฉันใด ขอถวายพระพร
พระโยคาวจรผูบ้ �ำเพ็ญเพียร เขา้ ไปสูบ่ ้านเพื่อบณิ ฑบาต เทีย่ วไปตามล�ำดับตรอก ได้ลาภแลว้
กพ็ ึงออกมาใหเ้ รว็ น่ันแหละ ไมพ่ ึงเป็นผู้พัวพันอยู่ ณ ทนี่ ้นั ฉนั น้ันเหมือนกนั นี้คือองค์ที่ ๑
แหง่ คา้ งคาว ที่พงึ ถือเอา

‘‘ปนุ จปร ํ มหาราช วคคฺ ลุ ิ ปรเคเห วสมาโน น เตส ํ ปริหานึ กโรติ, เอวเมว โข
มหาราช โยคินา โยคาวจเรน กลุ านิ อุปสงฺกมติ ฺวา อติยาจนาย วา ว ิ ฺ ตตฺ พิ หุลตาย วา
กายโทสพหลุ ตาย วา อติภาณิตาย วา สมานสุขทกุ ขฺ ตาย วา น เตส ํ โกจ ิ วิปปฺ ฏสิ าโร
กรณโี ย, นป ิ เตส ํ มลู กมฺม ํ ปรหิ าเปตพฺพํ, สพพฺ ถา วฑฺฒิ เยว อิจฺฉติ พฺพา ฯ อิทํ มหาราช
วคคฺ ุลสิ ฺส ทุตยิ ํ องฺคํ คเหตพพฺ ํ ฯ
ขอถวายพระพร ยงั มีอีกองคห์ น่งึ ค้างคาว เมือ่ อยใู่ นเรอื นของผอู้ ื่น ก็ไมส่ ร้างความเสีย
หายแก่คนเหลา่ น้นั ฉันใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผู้บ�ำเพ็ญเพียร เขา้ ไปสู่ตระกลู ทง้ั
หลายแลว้ กไ็ ม่พงึ สรา้ งความเดือดร้อนแก่คนเหลา่ นั้น ด้วยการขอมากเกนิ ไป ด้วยความเปน็
ผู้มากดว้ ยวญิ ญตั ิ (บอกให้รู้ถึงส่ิงท่ตี นตอ้ งการ) บ้าง ดว้ ยความเปน็ ผ้มู ากด้วยโทษทางกาย
บา้ ง ดว้ ยความเป็นคนช่างพูดบา้ ง ดว้ ยการร่วมสขุ รว่ มทกุ ข์กับเขาบา้ ง ทัง้ ไมท่ �ำมูลการงาน
ของคนเหลา่ นน้ั ให้เสยี หายไป พึงปรารถนาแต่ความเจรญิ โดยประการท้ังปวงแตอ่ ยา่ งเดียว
ฉนั น้นั เหมอื นกนั นี้คอื องคท์ ่ี ๒ แห่งค้างคาว พึงถือเอา

ภาสิตมฺเปต ํ มหาราช ภควตา เทวาติเทเวน ทฆี นิกายวเร ลกฺขณสตุ ฺตนฺเต –
‘‘สุทธฺ าย สเี ลน สุเตน พทุ ธฺ ยิ า
จาเคน ธมเฺ มน พหหู ิ สาธุหิ
ธเนน ธ ฺเ น จ เขตฺตวตฺถุนา
ปุตเฺ ตหิ ทาเรห ิ จตปุ ปฺ เทห ิ จ ฯ
าตีห ิ มิตฺเตหิ จ พนธฺ เวห ิ
พเลน วณฺเณน สเุ ขน จภู ยํ
กถ ํ น หาเยยฺย ุํ ปเรติ อจิ ฉฺ ติ
อตถฺ สมิทฺธ ิ จฺ ปนาภกิ งขฺ ต’ี ’ติ ฯ
ขอถวายพระพร พระผ้มู ีพระภาคเจ้า ผทู้ รงเป็นเทพยงิ่ กวา่ เหล่าเทพ ทรงภาษิตความ
ขอ้ น้ไี ว้ในลกั ขณสตู ร ทีฆนกิ าย อนั ประเสริฐว่า

กัณฑ์] ๖.๕ สหี วรรค 435

“มหาบุรุษทรงปรารถนา และทรงหวังความส�ำเร็จประโยชน์ว่า
ท�ำไฉน ชนเหล่าอน่ื ไม่พงึ เสื่อมจากศรัทธา จากศีล จากสตุ ะ
จากปัญญา จากจาคะ จากธรรม จากสิ่งทที่ �ำใหส้ �ำเร็จประโยชน์
มากอยา่ ง จากทรพั ยแ์ ละธญั ชาติ จากนาและสวน จากบตุ ร
และภรรยา จากสตั ว์สองเทา้ และสตั ว์สเ่ี ท้า จากญาต ิ จากมติ ร
จากพวกพ้อง จากพละ จากวรรณะ และจากสขุ ทัง้ ๒ ประการ”

วคคฺ ุลิงคฺ ปญฺโห สตฺตโม ฯ
จบวัคคุลกิ งั คปญั หาข้อท่ี ๗

_________

๘. ชลูกงคฺ ปญฺห
๘. ชลกู ังคปัญหา
ปัญหาว่าด้วยองค์แหง่ ปลงิ
[๘] ‘‘ภนฺเต นาคเสน ‘ชลกู าย เอกํ องฺค ํ คเหตพฺพนฺ’ติ ย ํ วเทส,ิ กตมํ ตํ เอกํ
องฺค ํ คเหตพพฺ น”ฺ ติ ?
[๘] พระเจ้ามิลินทต์ รสั วา่ “พระคุณเจา้ นาคเสน ท่านกล่าววา่ ‘พึงถือเอาองค์ ๑ แห่ง
ปลงิ ’ องค์ ๑ ทพ่ี ึงถอื เอานัน้ เปน็ ไฉน ?”
‘‘ยถา มหาราช ชลูกา ยตถฺ อลลฺ ียติ, ตตเฺ ถว ทฬหฺ ํ อลลฺ ยี ิตวฺ า รุหริ ํ ปิวติ,
เอวเมว โข มหาราช โยคนิ า โยคาวจเรน ยสมฺ ึ อารมฺมเณ จิตตฺ ํ อลลฺ ยี ต,ิ ตํ อารมมฺ ณ ํ
วณฺณโต จ สณฺ านโต จ ทิสโต จ โอกาสโต จ ปริจฺเฉทโต จ ลิงคฺ โต จ นิมิตตฺ โต จ
ทฬหฺ ํ ปติฏฺ าเปตวฺ า เตเนวารมฺมเณน วมิ ุตตฺ ิรสมเสจนก ํ ปาตพฺพํ ฯ อทิ ํ มหาราช
ชลกู าย เอก ํ องคฺ ํ คเหตพพฺ ํ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร ปลงิ เกาะตดิ ท่ีสตั ว์ตวั ใด
ยอ่ มเกาะตดิ สตั วต์ วั นนั้ นนั่ แหละ ได้มัน่ คงแลว้ ดูดเลือด ฉนั ใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจร
ผู้บ�ำเพ็ญเพยี ร ท�ำจติ ให้เกาะติดที่อารมณใ์ ด กต็ ัง้ อารมณน์ ้ันใหม้ ั่นคง โดยสี โดยสัณฐาน โดย
ทิศ โดยโอกาส โดยตดั ตอน โดยเพศ โดยนิมิต แลว้ พงึ ดูดด่ืมรสแหง่ วิมตุ ติ อนั ไม่ต้องปรงุ โดย
อารมณน์ ั้นนั่นแหละ ฉันนนั้ เหมือนกนั น้คี อื องค์ ๑ แห่งปลงิ ที่พึงถอื เอา

436 มิลนิ ทปญั หาปกรณ์แปล [๖.โอปัมมกถาปัญห

ภาสติ มเฺ ปต ํ มหาราช เถเรน อนรุ ุทฺเธน –
‘‘ปรสิ ุทฺเธน จิตเฺ ตน อารมมฺ เณ ปติฏฺ าย
เตน จิตฺเตน ปาตพฺพํ วมิ ุตฺติรสมเสจนน”ฺ ติ ฯ
ขอถวายพระพร พระอนุรุทธเถระ ไดภ้ าษติ ความขอ้ นี้ไวว้ า่
“พระโยคาวจรพึงเปน็ ผู้มจี ติ บรสิ ทุ ธ์ิ ตั้งอยใู่ นอารมณ์ แลว้ ดูด
ด่มื รสแห่งวิมตุ ตอิ นั ไม่ต้องปรงุ ด้วยจิตน้นั ”

ชลูกงคฺ ปญโฺ ห อฏฺ€โม ฯ

จบชลกู ังคปญั หาข้อที่ ๘

________

๙. สปปฺ งฺคปญหฺ
๙. สปั ปงั คปญั หา
ปัญหาว่าดว้ ยองคแ์ หง่ งสู ามัญ
[๙] ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน ‘สปปฺ สฺส ตณี ิ องคฺ าน ิ คเหตพฺพาน’ี ต ิ ย ํ วเทสิ, กตมาน ิ
ตานิ ตีณ ิ องฺคานิ คเหตพฺพานี’’ติ ?
[๙] พระเจา้ มลิ ินทต์ รสั วา่ “พระคณุ เจ้านาคเสน ท่านกล่าวว่า ‘พงึ ถอื เอาองค์ ๓ แห่งงู
สามญั ’ องค์ ๓ ที่พงึ ถือเอานนั้ เป็นไฉน ?”

‘‘ยถา มหาราช สปฺโป อุเรน คจฺฉติ, เอวเมว โข มหาราช โยคนิ า โยคาวจเรน
ป ฺ าย จรติ พฺพ,ํ ป ฺ าย จรมานสฺส โข มหาราช โยคโิ น จิตฺตํ าเย จรต,ิ วลิ กฺขณ ํ
วิวชฺเชต,ิ สลกฺขณํ ภาเวติ ฯ อิทํ มหาราช สปฺปสสฺ ป ม ํ องคฺ ํ คเหตพพฺ ํ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร งสู ามญั เลอื้ ยไปด้วยอก
ฉันใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผู้บ�ำเพ็ญเพียร ก็พึงเท่ียวไปดว้ ยปญั ญา ฉนั นนั้ เหมือน
กัน จติ ของพระโยคาวจรผเู้ ท่ยี วไปดว้ ยปัญญา ยอ่ มเทย่ี วไปในญายธรรม ยอ่ มงดเวน้ สิง่ ทีเ่ ปน็
วิลักขณะ (มีลักษณะวปิ ริต) ยอ่ มท�ำสงิ่ ทเ่ี ป็นสลักขณะ (มีลักษณะเป็นสภาวะ และมีลักษณะ
เปน็ สามญั ) ให้เกดิ ฉนั น้นั เหมอื นกัน นี้คอื องคท์ ี่ ๑ แหง่ งูสามัญ ทพี่ งึ ถอื เอา

‘‘ปนุ จปร ํ มหาราช สปฺโป จรมาโน โอสธํ ปริวชฺเชนฺโต จรติ, เอวเมว โข
มหาราช โยคนิ า โยคาวจเรน ทุจฺจรติ ํ ปริวชเฺ ชนฺเตน จรติ พพฺ ํ ฯ อิท ํ มหาราช สปฺปสสฺ

กณั ฑ์] ๖.๕ สหี วรรค 437

ทตุ ิยํ องฺคํ คเหตพพฺ ํ ฯ
ขอถวายพระพร ยังมอี ีกองคห์ น่ึง งสู ามัญ เมื่อจะเทีย่ วไป ย่อมหลีกเลย่ี งส่งิ ที่เป็นยา
ถอนพิษเทีย่ วไป ฉันใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผ้บู �ำเพ็ญเพยี ร กพ็ งึ เปน็ ผหู้ ลีกเลี่ยง
ทุจริต เทีย่ วไป ฉันน้นั เหมอื นกนั นี้คือองค์ที่ ๒ แห่งงูสามัญ ท่พี งึ ถือเอา

‘‘ปุน จปร ํ มหาราช สปโฺ ป มนสุ เฺ ส ทสิ ฺวา ตปปฺ ต ิ โสจติ จนิ ตฺ ยติ, เอวเมว โข
มหาราช โยคินา โยคาวจเรน กวุ ิตกเฺ ก, วิตกฺเกตฺวา อรตึ อุปฺปาทยิตวฺ า ตปฺปิตพพฺ ํ
โสจิตพฺพ ํ จินตฺ ยติ พพฺ ํ ‘ปมาเทน เม ทิวโส วตี ินามิโต, น โส ปุน สกฺกา ลทฺธ’ุ นฺติ ฯ อทิ ํ
มหาราช สปปฺ สสฺ ตติยํ องฺคํ คเหตพฺพํ ฯ
ขอถวายพระพร ยังมอี กี องคห์ นึง่ งสู ามญั พอเหน็ มนุษยท์ ัง้ หลายเข้า กย็ ่อมกลวั ห่อ
เห่ยี วใจ คดิ มาก ฉันใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผู้บ�ำเพญ็ เพียร ตรึกเปน็ วติ กชว่ั แล้ว ท�ำ
อรติ (ความไม่ยนิ ดี) ใหเ้ กิดข้นึ แลว้ กพ็ ึงกลวั ห่อเห่ยี วใจ คิดมากว่า ‘เราไดท้ �ำวนั ให้ล่วงเลยไป
ดว้ ยความประมาท ก็วันทลี่ ่วงไปดว้ ยความประมาทนน้ั เราไม่อาจได้ (กลบั คืน) อกี ’ ดังนี้
ฉันนั้นเหมือนกนั นี้คอื องค์ท่ี ๓ แหง่ งสู ามญั ที่พงึ ถอื เอา

ภาสิตมเฺ ปตํ มหาราช ภควตา ภลฺลาฏยิ ชาตเก ทวฺ ินฺนํ กินฺนรานํ –
‘‘มเยกรตฺตํ วปิ ปฺ วสมิ ฺห ลุทฺท
อกามกา อ ฺ ม ฺ ํ สรนฺตา
ตเมกรตฺตํ อนตุ ปฺปมานา
โสจาม ‘สา รตตฺ ิ ปุน น เหสฺสตี’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร ค�ำพดู ของกินนร ๒ ตวั นี้ พระผูม้ ีพระภาคเจา้ ได้ตรสั ไวใ้ นภลั ลาฏยิ -
ชาดกวา่
“พ่อพราน เราท้ัง ๒ พลดั พรากกันอย่หู นง่ึ ราตรี ไมอ่ ยากจะ
พลัดพรากจากกัน เมื่อระลึกถงึ กนั และกนั จึงพากันเดอื ดรอ้ น
เศร้าโศกอยตู่ ลอดราตรีหน่ึงน้ัน ราตรนี ัน้ จกั ไม่มอี ีก”

สปปฺ งฺคปญฺโห นวโม ฯ

จบสัปปังคปัญหาขอ้ ท่ี ๙

________

438 มลิ ินทปญั หาปกรณ์แปล [๖.โอปัมมกถาปญั ห

๑๐. อชครงคฺ ปญฺห
๑๐. อชครงั คปญั หา
ปัญหาว่าดว้ ยองคแ์ ห่งงเู หลอื ม

[๑๐] ‘‘ภนฺเต นาคเสน ‘อชครสสฺ เอกํ องฺคํ คเหตพฺพนฺ’ติ ย ํ วเทส,ิ กตม ํ ต ํ เอกํ
องฺค ํ คเหตพพฺ ’’นฺติ ?
[๑๐] พระเจ้ามิลนิ ท์ตรัสว่า “พระคณุ เจ้านาคเสน ท่านกลา่ วว่า ‘พึงถอื เอาองค์ ๑ แห่งงู
เหลอื ม’ องค์ ๑ ทีพ่ ึงถอื เอานน้ั เป็นไฉน ?”

‘‘ยถา มหาราช อชคโร มหตมิ หากาโย พหูป ิ ทิวเส อนู ูทโร ทนี ตโร กุจฺฉิปูร ํ
อาหาร ํ น ลภติ, อปริปุณฺโณเยว ยาวเทว สรีรยาปนมตฺตเกน ยาเปติ, เอวเมว โข
มหาราช โยคโิ น โยคาวจรสสฺ ภิกขฺ าจรยิ ปฺปสตุ สฺส ปรปิณฑฺ มุปคตสสฺ ปรทินฺนปฺปาฏิกงขฺ ิสสฺ
สยํคาหปฺปฏิวริ ตสสฺ ทลุ ลฺ ภํ อุทรปริปรู ํ อาหารํ, อปิจ อตฺถวสิเกน กุลปตุ เฺ ตน จตฺตาโร
ป จฺ อาโลเป อภ ุ ฺชิตฺวา อวเสสํ อุทเกน ปรปิ เู รตพพฺ ํ ฯ อิท ํ มหาราช อชครสฺส เอก ํ
องฺคํ คเหตพฺพํ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร งเู หลอื ม มีร่างกายใหญโ่ ต มี
ท้องพร่อง ขาดแคลนอาหารยงิ่ ไมไ่ ดอ้ าหารเต็มท้องมาตลอดหลายวัน ก�ำลังขาดแคลนนนั่
แหละ ก็ยังเล้ยี งอัตภาพใหเ้ ป็นไปดว้ ยอาหารสักว่าท�ำสรรี ะให้ด�ำเนินไปได้เทา่ นนั้ ฉนั ใด ขอ
ถวายพระพร พระโยคาวจรผบู้ �ำเพ็ญเพยี ร ผู้ขวนขวายในการเทย่ี วไปเพอ่ื ภกิ ษา ผูอ้ าศัยก้อน
ข้าวของผูอ้ นื่ ผ้หู วังอยูซ่ ่ึงก้อนขา้ วท่ีผอู้ ืน่ ถวาย ผงู้ ดเว้นการถือเอาดว้ ยตนเอง ไม่พึงกลนื กิน
อาหารที่หาได้ยากจนเต็มทอ้ ง แตท่ ว่า พงึ เป็นกลุ บุตรผมู้ ีอ�ำนาจในตน งดบรโิ ภค ๔-๕ ค�ำ แลว้
พึงใชน้ ำ�้ ท�ำ(ท้อง)ให้เต็มส่วนท่ีเหลอื ฉนั นัน้ เหมือนกัน นคี้ อื องค์ ๑ แหง่ งเู หลอื ม ท่ีพงึ ถอื เอา

ภาสิตมเฺ ปตํ มหาราช เถเรน สาริปตุ เฺ ตน ธมฺมเสนาปตินา –
‘‘อลฺลํ สุกฺขํ วา ภ ุ ฺชนโฺ ต น พาฬฺหํ สุหิโต สิยา
อูนูทโร มิตาหาโร สโต ภิกขฺ ุ ปริพฺพเช ฯ
จตตฺ าโร ป จฺ อาโลเป อภตุ วฺ า อุทกํ ปิเว
อลํ ผาสุวหิ าราย ปหิตตตฺ สฺส ภกิ ฺขุโน’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร ทา่ นพระธรรมเสนาบดีสารีบุตรเถระ ได้ภาษิตความข้อนไี้ ว้ว่า

กัณฑ์] ๖.๕ สีหวรรค 439

“ภิกษุ เม่ือฉนั อาหารสดกต็ าม แหง้ ก็ตาม ไม่พึงฉนั ใหอ้ ่มิ เกนิ
ไป ไม่พึงฉนั ให้นอ้ ยเกนิ ไป พงึ ฉนั แตพ่ อประมาณ พงึ มสี ติอยู่
พงึ เลกิ ฉันก่อนอม่ิ ๔-๕ ค�ำ แลว้ ด่ืมน�ำ้ เทา่ นีก้ ็เพยี งพออยูผ่ าสุก
ของภกิ ษผุ ู้มีใจเดด็ เดย่ี วมุ่งนิพพาน”

อชครงฺคปญโฺ ห ทสโม ฯ
จบอชครังคปัญหาขอ้ ที่ ๑๐

ตสฺสุทฺทาน ํ – เปณาห ิ ฆรกโปตโก
เกสร ี จกกฺ วาโก จ วคฺคลุ ิ จ ชลูปกิ า
อุลูโก สตปตฺโต จ วคฺโค เตน ปวุจฺจตีติ ฯ
สปฺโป อชคโร เจว ๒. จักกวากสตู ร
รวมสูตรทม่ี าในวรรคนี้ คือ ๔. ฆรกโปตกสตู ร
๑. เกสรสี ูตร ๖. สตปัตตสูตร
๓. เปณาหิกสตู ร ๘. ชลูปกิ าสตู ร
๕. อุลูกสูตร ๑๐. อชครสตู ร
๗. วคั คลุ ิกสตู ร
๙. สปั ปสตู ร

สหี วคโฺ ค ปญฺจโม ฯ

จบสีหวรรคที่ ๕
_______

440 มิลินทปญั หาปกรณแ์ ปล [๖.โอปัมมกถาปัญห

๖.๖ มกฺกฏกวคฺค
๖.๖ มักกฏกวรรค หมวดว่าดว้ ยแมงมุมเปน็ ตน้

๑. ปนถฺ มกฺกฏกงคฺ ปญฺห
๑. ปันถมกั กฏกงั คปญั หา
ปญั หาวา่ ด้วยองคแ์ ห่งแมงมมุ ตามหนทาง
[๑] ‘‘ภนฺเต นาคเสน ‘ปนฺถมกกฺ ฏกสฺส เอก ํ องฺคํ คเหตพพฺ นฺ’ต ิ ยํ วเทสิ, กตม ํ ต ํ
เอก ํ องคฺ ํ คเหตพฺพน”ฺ ติ ?
[๑] พระเจา้ มลิ นิ ท์ตรสั วา่ “พระคณุ เจ้านาคเสน ทา่ นกลา่ ววา่ ‘พงึ ถอื เอาองค์ ๑ แหง่
แมงมมุ ตามหนทาง’ องค์ ๑ ทพ่ี งึ ถือเอานัน้ เป็นไฉน ?”

‘‘ยถา มหาราช ปนฺถมกกฺ ฏโก ปนเฺ ถ มกกฺ ฏชาลวติ านํ กตฺวา ยทิ ตตฺถ ชาลเก
ลคฺคติ กมิ ิ วา มกขฺ กิ า วา ปฏงโฺ ค วา, ต ํ คเหตวฺ า ภกฺขยต,ิ เอวเมว โข มหาราช
โยคินา โยคาวจเรน ฉส ุ ทฺวาเรส ุ สตปิ ฏ ฺ านชาลวติ านํ กตวฺ า ยทิ ตตฺถ กิเลสมกขฺ ิกา
พชฺฌนฺต,ิ ตตเฺ ถว ฆาเตตพพฺ า ฯ อิท ํ มหาราช ปนถฺ มกกฺ ฏกสสฺ เอก ํ องฺค ํ คเหตพพฺ ํ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร แมงมมุ ตามหนทาง ชักใย
เปน็ เพดานตาข่ายแมงมุมกัน้ ไวต้ ามหนทางแล้ว ถ้าหากวา่ หนอนก็ดี แมลงวนั ก็ดี ตกั๊ แตนกด็ ี
มาติดทีต่ าขา่ ยนั้น ก็จะจบั เอามากินเสีย ฉนั ใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผบู้ �ำเพญ็ เพยี ร
ชักใยคอื สติปฏั ฐานเปน็ เพดานตาข่ายกั้นไว้ที่ทวาร ๖ แลว้ ถา้ หากวา่ มแี มลงวันคือกิเลสมาติด
ที่ตาข่ายคอื สติปัฏฐานนัน้ กพ็ ึงก�ำจดั เสยี ณ ที่ตาข่ายคือสติปฏั ฐานนัน้ นน่ั แหละ ฉนั น้ันเหมือน
กัน นี้คอื องค์ ๑ แหง่ แมงมมุ ตามหนทาง ที่พึงถือเอา

ภาสติ มฺเปต ํ มหาราช เถเรน อนุรทุ เฺ ธน –
‘‘จติ ตฺ ํ นยิ เม ฉส ุ ทฺวาเรส ุ สตปิ ฏ ฺ านวรุตตฺ เม
กิเลสา ตตฺถ ลคฺคา เจ หนตฺ พพฺ า เต วิปสสฺ นิ า’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร ทา่ นพระอนุรทุ ธเถระไดภ้ าษิตความขอ้ นีไ้ วว้ ่า

“พึงควบคมุ จติ ไว้ในสตปิ ัฏฐาน อนั เป็นตาข่าย ประเสริฐยอด
เยยี่ มทางทวาร ๖ ถ้าหากว่ามีกิเลสมาตดิ อยทู่ ่ตี าขา่ ยคอื สติ-
ปัฏฐานนน้ั ภิกษผุ ู้เจริญวปิ สั สนาก็พงึ ก�ำจดั กิเลสเหลา่ นน้ั เสีย”

กัณฑ]์ ๖.๖ มกั กฏวรรค 441

ปนฺถมกกฺ ฏกงฺคปญฺโห ป€โม ฯ
จบปนั ถมกั กฏกังคปัญหาขอ้ ที่ ๑

________

๒. ถนสสฺ ติ ทารกงคฺ ปญฺห
๒. ถนสั สติ ทารกงั คปญั หา
ปัญหาวา่ ดว้ ยองค์แห่งทารกทยี่ ังตดิ นมมารดา
[๒] ‘‘ภนฺเต นาคเสน ‘ถนสฺสติ ทารกสสฺ เอกํ องฺค ํ คเหตพพฺ นฺ’ติ ยํ วเทสิ, กตม ํ ตํ
เอกํ องคฺ ํ คเหตพพฺ นฺ’’ติ ?
[๒] พระเจา้ มิลินท์ตรัสว่า “พระคณุ เจ้านาคเสน ท่านกล่าววา่ ‘พึงถอื เอาองค์ ๑ แหง่
ทารกทยี่ งั ติดนมมารดา’ องค์ ๑ ท่ีพึงถอื เอานนั้ เปน็ ไฉน ?”
‘‘ยถา มหาราช ถนสฺสิตทารโก สทตฺเถ ลคฺคต,ิ ขีรตถฺ ิโก โรทติ, เอวเมว โข
มหาราช โยคนิ า โยคาวจเรน สทตเฺ ถ ลคฺคิตพพฺ ํ, สพฺพตฺถ ธมฺม าเณน ภวิตพฺพํ,
อทุ เฺ ทเส ปรปิ ุจฉฺ าย สมมฺ ปฺปโยเค ปวเิ วเก ครสุ วํ าเส กลยฺ าณมิตฺตเสวเน ฯ อทิ ํ มหาราช
ถนสฺสติ ทารกสฺส เอก ํ องคฺ ํ คเหตพฺพํ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร ทารกทีย่ งั ตดิ นมมารดา
ยอ่ มตดิ ขอ้ งอยใู่ นประโยชนต์ น พอตอ้ งการนมกร็ ้องไห้ ฉันใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจร
ผู้บ�ำเพ็ญเพยี ร ก็พึงติดข้องในประโยชนข์ องตน พงึ เปน็ ผ้มู ีญาณรใู้ นธรรมท้งั ปวง คอื ในอุเทส
(พระบาลี) ในปรปิ ุจฉา (อรรถกถา) ในความพยายามชอบ (การบ�ำเพ็ญสมถวปิ ัสสนา) ใน
ปวเิ วก ในการอยรู่ ว่ มกบั ทา่ นผเู้ ป็นครู ในการคบหากัลยาณมิตร ฉนั น้นั เหมอื นกนั น้คี อื องค์ ๑
แห่งทารกทย่ี ังตดิ นมมารดา ทพ่ี ึงถอื เอา
ภาสติ มฺเปต ํ มหาราช ภควตา เทวาติเทเวน ทีฆนกิ ายวเร ปรินพิ พฺ านสุตฺตนเฺ ต –
‘‘อิงฆฺ ตมุ เฺ ห อานนทฺ สารตเฺ ถ ฆฏถ, สารตเฺ ถ อนุย ุ ฺชถ; สารตเฺ ถ อปปฺ มตฺตา
อาตาปโิ น ปหิตตฺตา วหิ รถา’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร พระผ้มู พี ระภาคเจา้ ผูท้ รงเปน็ เทพย่ิงกว่าเหลา่ เทพ ทรงภาษิตความ
ข้อนไ้ี วใ้ นมหาปรินพิ พานสูตร ในทีฆนกิ ายอันประเสรฐิ ว่า
“เอาเถอะ อานนท์ ขอพวกเธอจงขวนขวายในสาระประโยชน์ จงประกอบเนอื ง ๆ ใน

442 มิลนิ ทปัญหาปกรณแ์ ปล [๖.โอปัมมกถาปัญห

สาระประโยชน์เถิด อย่าประมาทในสาระประโยชน์ มีความเพียร อทุ ศิ กายและใจอยู่เถดิ ”
ถนสฺสิตทารกงฺคปญโฺ ห ทุติโย ฯ

จบถนสั สิตทารกงั คปญั หาข้อท่ี ๒
________

๓. จติ ตฺ กธรกมุ ฺมงคฺ ปญหฺ

๓. จติ ตกธรกมุ มงั คปัญหา

ปญั หาว่าดว้ ยองค์แห่งเตา่ เหลอื ง

[๓] ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน ‘จติ ฺตกธรกมุ ฺมสสฺ เอก ํ องฺค ํ คเหตพพฺ น’ฺ ต ิ ย ํ วเทสิ, กตมํ ต ํ
เอก ํ องคฺ ํ คเหตพพฺ น”ฺ ติ ?
[๓] พระเจา้ มลิ ินทต์ รสั วา่ “พระคณุ เจา้ นาคเสน ทา่ นกล่าววา่ ‘พงึ ถอื เอาองค์ ๑ แห่ง
เต่าเหลอื ง’ องค์ ๑ ทพ่ี ึงถือเอานัน้ เป็นไฉน ?”

‘‘ยถา มหาราช จติ ตฺ กธรกุมฺโม อทุ กภยา อุทกํ ปรวิ ชเฺ ชตวฺ า วจิ รติ, ตาย จ ปน
อุทก ํ ปริวชฺชนาย อายุนา น ปรหิ ายติ, เอวเมว โข มหาราช โยคินา โยคาวจเรน
ปมาเท ภยทสสฺ าวินา ภวิตพฺพํ, อปฺปมาเท คณุ วิเสสทสฺสาวนิ า ฯ ตาย จ ปน ภย-
ทสฺสาวติ าย น ปรหิ ายต ิ สาม ฺ า, นิพพฺ านสฺส สนตฺ ิเก อุเปติ ฯ อิทํ มหาราช จติ ตฺ ก-
ธรกมุ มฺ สฺส เอกํ องฺค ํ คเหตพพฺ ํ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร เต่าเหลอื งยอ่ มหลีกเลยี่ งนำ�้
ไป เพราะกลัวนำ้� และเพราะมกี ารหลกี เลี่ยงนำ้� นน้ั จึงไมเ่ สื่อมจากอายุ ฉันใด ขอถวายพระพร
พระโยคาวจรผบู้ �ำเพญ็ เพียร กพ็ งึ เป็นผูม้ ีปกตเิ ห็นภัยในความประมาท มปี กติเหน็ คณุ วเิ ศษ
ในความไมป่ ระมาท และเพราะมีปกติเหน็ ภยั (ในความประมาท) นนั้ จึงไม่เสือ่ มจากสามัญ-
ผล เข้าใกล้พระนิพพาน ฉันน้นั เหมอื นกนั นี้คือองค์ ๑ แห่งเต่าเหลือง ทีพ่ งึ ถอื เอา
ภาสิตมเฺ ปต ํ มหาราช ภควตา เทวาตเิ ทเวน ธมฺมปเท –
‘‘อปปฺ มาทรโต ภกิ ฺข ุ ปมาเท ภยทสฺส ิ วา
อภพฺโพ ปรหิ านาย นพิ พฺ านสเฺ สว สนฺตเิ ก’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร พระผมู้ พี ระภาคเจา้ ผู้ทรงเปน็ เทพยิง่ กวา่ เหล่าเทพ ไดท้ รงภาษติ
ความขอ้ น้ีไว้ในธรรมบทว่า

กัณฑ์] ๖.๖ มกั กฏวรรค 443

“ภิกษุยนิ ดีในความไม่ประมาท หรอื มีปกติเหน็ ภัยในความ
ประมาท เปน็ ผู้ไม่เสอื่ ม ชอื่ ว่าอย่ใู กลน้ พิ พานแนแ่ ท”้

จติ ฺตกธรกุมฺมงคฺ ปญโฺ ห ตตโิ ย ฯ
จบจติ ตกธรกมุ มงั คปัญหาข้อที่ ๓

_________

๔. ปวนงคฺ ปญฺห
๔. ปวนังคปัญหา
ปัญหาว่าดว้ ยองค์แหง่ ปา่
[๔] ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน ‘ปวนสฺส ป จฺ องฺคาน ิ คเหตพฺพาน’ี ต ิ ย ํ วเทส,ิ กตมานิ
ตานิ ป จฺ องคฺ าน ิ คเหตพพฺ านี’’ติ ?
[๔] พระเจ้ามลิ ินทต์ รสั ว่า “พระคณุ เจา้ นาคเสน ทา่ นกลา่ วว่า ‘พงึ ถือเอาองค์ ๕ แห่ง
ปา่ ’ องค์ ๕ ที่พึงถอื เอาน้ัน เป็นไฉน ?”
‘‘ยถา มหาราช ปวนํ นาม อสุจิชน ํ ปฏจิ ฺฉาเทต,ิ เอวเมว โข มหาราช โยคินา
โยคาวจเรน ปเรสํ อปรทธฺ ํ ขลิต ํ ปฏจิ ฺฉาเทตพพฺ ํ น วิวริตพพฺ ํ ฯ อิทํ มหาราช ปวนสสฺ
ป ม ํ องฺคํ คเหตพฺพํ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร ธรรมดาว่าปา่ ยอ่ มก�ำบงั ชน
ผู้ (มคี วามประพฤต)ิ ไมส่ ะอาดไว้ ฉันใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผ้บู �ำเพญ็ เพียร กพ็ ึง
ปดิ บงั ความผดิ ความพลงั้ พลาดของคนอ่นื ไม่พงึ เปิดเผย ฉันน้ันเหมอื นกนั นี้คือองค์ที่ ๑ แหง่
ปา่ ที่พงึ ถอื เอา
‘‘ปุน จปร ํ มหาราช ปวน ํ ส ุ ฺ ํ ปจุรชเนหิ เอวเมว โข มหาราช โยคนิ า
โยคาวจเรน ราคโทสโมหมานทฏิ ฺ ิชาเลหิ สพฺเพหิ จ กิเลเสห ิ ส ุ เฺ น ภวติ พฺพํ ฯ อทิ ํ
มหาราช ปวนสฺส ทุตยิ ํ องฺค ํ คเหตพฺพํ ฯ
ขอถวายพระพร ยังมีอีกองคห์ น่ึง ปา่ เป็นสถานทีว่ ่างจากชนหมมู่ าก ฉันใด ขอถวาย
พระพร พระโยคาวจรผ้บู �ำเพ็ญเพยี ร กพ็ ึงเปน็ ผวู้ ่างจากขา่ ย คอื ราคะ โทสะ โมหะ ทิฏฐิ และ
จากกิเลสทง้ั หลายท้งั ปวง ฉนั น้ันเหมือนกัน นค้ี ือองคท์ ี่ ๒ แห่งปา่ ทพ่ี งึ ถอื เอา

444 มิลนิ ทปญั หาปกรณแ์ ปล [๖.โอปมั มกถาปัญห

‘‘ปุน จปรํ มหาราช ปวนํ ววิ ติ ฺต ํ ชนสมพฺ าธรหติ ํ, เอวเมว โข มหาราช โยคินา
โยคาวจเรน ปาปเกห ิ อกสุ เลหิ ธมฺเมหิ อนรเิ ยห ิ ปววิ ิตเฺ ตน ภวิตพฺพํ ฯ อทิ ํ มหาราช
ปวนสฺส ตติยํ องฺค ํ คเหตพฺพํ ฯ
ขอถวายพระพร ยงั มอี กี องคห์ นง่ึ ป่า เปน็ สถานท่ีสงัดว่างจากชนหม่มู าก ฉนั ใด ขอ
ถวายพระพร พระโยคาวจรผบู้ �ำเพญ็ เพียร ก็พงึ เปน็ ผสู้ งัดจากบาปท้ังหลาย จากอกศุ ลธรรม
ทง้ั หลาย จากธรรมทั้งหลายทไี่ ม่ใช่ของพระอริยะ ฉันนั้นเหมือนกนั น้ีคอื องค์ที่ ๓ แห่งป่า ทพี่ งึ
ถือเอา

‘‘ปนุ จปร ํ มหาราช ปวนํ สนตฺ ํ ปรสิ ุทธฺ ํ, เอวเมว โข มหาราช โยคนิ า
โยคาวจเรน สนเฺ ตน ปริสทุ ฺเธน ภวติ พฺพํ, นิพพฺ เุ ตน ปหีนมาเนน ปหนี มกฺเขน ภวิตพฺพํ ฯ
อิทํ มหาราช ปวนสสฺ จตตุ ฺถ ํ องฺคํ คเหตพฺพํ ฯ
ขอถวายพระพร ยังมอี ีกองคห์ นึ่ง ป่า เปน็ สถานท่สี งบ บริสุทธ์ิ ฉันใด ขอถวายพระพร
พระโยคาวจรผ้บู �ำเพญ็ เพยี ร กพ็ งึ เป็นผสู้ งบ บริสุทธ์ิ พึงเปน็ ผดู้ บั สนิท ละมานะได้ ละมักขะ
(ความลบหลูค่ ณุ ) ได้ ฉนั นน้ั เหมือนกัน น้คี ือองค์ท่ี ๔ แหง่ ปา่ ทีพ่ ึงถือเอา

‘‘ปนุ จปรํ มหาราช ปวน ํ อริยชนสํเสวิตํ, เอวเมว โข มหาราช โยคนิ า
โยคาวจเรน อรยิ ชนสเํ สวิเตน ภวติ พฺพํ ฯ อทิ ํ มหาราช ปวนสสฺ ป จฺ มํ องคฺ ํ คเหตพฺพํ ฯ
ขอถวายพระพร ยงั มีอีกองคห์ นง่ึ ปา่ เป็นสถานทีท่ ท่ี า่ นผเู้ ปน็ อรยิ ชนสอ้ งเสพ ฉันใด
ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผู้บ�ำเพ็ญเพียร กพ็ งึ เป็นผู้ที่ท่านผูเ้ ป็นอริยชนสอ้ งเสพ ฉันนัน้
เหมอื นกนั น้ีคือองคท์ ี่ ๕ แห่งปา่ ทพ่ี ึงถือเอา

ภาสิตมเฺ ปตํ มหาราช ภควตา เทวาติเทเวน สยํ ตุ ตฺ นกิ ายวเร –
‘‘ปวิวิตเฺ ตห ิ อริเยหิ ปหติ ตฺเตห ิ ฌายภิ ิ
นิจฺจ ํ อารทฺธวรี ิเยห ิ ปณฺฑิเตห ิ สหาวเส’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร พระผูม้ ีพระภาคเจ้า ผทู้ รงเปน็ เทพยิ่งกวา่ เหลา่ เทพ ได้ทรงภาษิต
ความข้อน้ไี วส้ ังยุตตนิกายอนั ประเสรฐิ ว่า
“บุคคลพงึ อยูร่ ว่ มกบั บณั ฑติ ผสู้ งบสงัด เป็นอรยิ ะ มีใจเด็ด
เดย่ี ว เพ่งพนิ จิ ปรารภความเพยี รเปน็ นจิ ”

ปวนงฺคปญโฺ ห จตตุ ฺโถ ฯ

จบปวนังคปัญหาขอ้ ท่ี ๔

กณั ฑ]์ ๖.๖ มักกฏวรรค 445

๕. รุกฺขงฺคปญฺห
๕. รุกขังคปญั หา
ปัญหาวา่ ดว้ ยองคแ์ หง่ ต้นไม้
[๕] ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน ‘รกุ ฺขสสฺ ตณี ิ องคฺ าน ิ คเหตพพฺ านี’ติ ย ํ วเทส,ิ กตมาน ิ
ตาน ิ ตณี ิ องฺคาน ิ คเหตพพฺ านี’’ติ ?
[๕] พระเจา้ มลิ ินท์ตรสั วา่ “พระคุณเจา้ นาคเสน ท่านกลา่ ววา่ ‘พงึ ถอื เอาองค์ ๓ แห่ง
ตน้ ไม้’ องค์ ๓ ทพ่ี ึงถือเอาน้นั เปน็ ไฉน ?”
‘‘ยถา มหาราช รกุ ฺโข นาม ปุปฺผผลธโร, เอวเมว โข มหาราช โยคินา
โยคาวจเรน วมิ ตุ ตฺ ปิ ปุ ฺผสาม ฺ ผลธารนิ า ภวติ พพฺ ํ ฯ อิท ํ มหาราช รุกฺขสสฺ ป มํ องคฺ ํ
คเหตพพฺ ํ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร ธรรมดาวา่ ต้นไม้ ทรงดอก
และผลไว้ ฉนั ใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผบู้ �ำเพญ็ เพยี ร ก็พงึ เปน็ ผทู้ รงดอกคือวิมตุ ติ
และสามัญญผลไว้ ฉนั นัน้ เหมอื นกนั นี้คอื องคท์ ่ี ๑ แหง่ ต้นไม้ ทพี่ งึ ถือเอา
‘‘ปนุ จปร ํ มหาราช รุกฺโข อปุ คตานมนุปฺปวิฏ ฺ าน ํ ชนาน ํ ฉาย ํ เทต,ิ เอวเมว โข
มหาราช โยคินา โยคาวจเรน อุปคตานมนปุ ฺปวิฏฺ าน ํ ปุคฺคลานํ อามิสปฺปฏิสนฺธาเรน วา
ธมฺมปปฺ ฏสิ นถฺ าเรน วา ปฏสิ นฺถรติ พพฺ ํ ฯ อิทํ มหาราช รุกฺขสฺส ทุตยิ ํ องฺคํ คเหตพฺพํ ฯ
ขอถวายพระพร ยังมีอกี องค์หนงึ่ ต้นไม้ ยอ่ มใหร้ ่มเงาแกช่ นท้งั หลายผู้เขา้ ใกล้ ฉันใด
ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผบู้ �ำเพ็ญเพียร ก็พึงปฏิสนั ถารต่อบคุ คลทัง้ หลายผู้เขา้ ไปหา
ดว้ ยอามสิ ปฏสิ นั ถารบ้าง ด้วยธรรมปฏิสนั ถารบา้ ง ฉันนน้ั เหมอื นกัน น้ีคือองคท์ ี่ ๒ แหง่ ต้นไม้
ทพี่ งึ ถือเอา
‘‘ปุน จปรํ มหาราช รกุ ฺโข ฉายาเวมตตฺ ํ น กโรติ, เอวเมว โข มหาราช โยคนิ า
โยคาวจเรน สพพฺ สตเฺ ตส ุ เวมตฺตตา น กาตพฺพา, โจรวธกปจฺจตถฺ เิ กสุปิ อตตฺ นปิ ิ สมสมา
เมตฺตาภาวนา กาตพพฺ า, ‘กินตฺ ิ อิเม สตฺตา อเวรา อพฺยาปชฺชา อนีฆา สขุ ี อตฺตานํ
ปริหเรยฺยุนฺ’ติ ฯ อทิ ํ มหาราช รุกขฺ สสฺ ตติยํ องคฺ ํ คเหตพฺพํ ฯ
ขอถวายพระพร ยงั มอี กี องค์หนงึ่ ต้นไม้ ย่อมไมท่ �ำความแตกต่างกนั แห่งรม่ เงา ฉันใด
ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผบู้ �ำเพ็ญเพียร กไ็ มพ่ งึ ท�ำความแตกตา่ งกันในสัตว์ทัง้ หลาย

446 มิลินทปญั หาปกรณ์แปล [๖.โอปมั มกถาปัญห

ท้ังปวง พงึ ท�ำเมตตาภาวนา ทัง้ ในโจร เพชรฆาต ข้าศึก ทง้ั ในตน เทา่ เทยี มกันว่า ‘ไฉนหนอ
สัตว์เหลา่ น้ี จะพงึ เป็นผไู้ ม่มีเวร ไมเ่ บียดเบียนกัน ไม่มที ุกข์ มแี ตส่ ุข บริหารตนอยู่ได้’ ดงั นี้
ฉันนน้ั เหมอื นกนั นคี้ ือองค์ท่ี ๓ แหง่ ต้นไม้ ทพี่ งึ ถอื เอา

ภาสิตมเฺ ปต ํ มหาราช เถเรน สาริปตุ เฺ ตน ธมฺมเสนาปตนิ า –
‘‘วธเก เทวทตตฺ มฺหิ โจเร องฺคุลมิ าลเก
ธนปาเล ราหุเล จ สพพฺ ตฺถ สมโก มนุ ี’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร ท่านพระธรรมเสนาบดีสารบี ตุ รเถระ ไดภ้ าษติ ความข้อน้ไี ว้ว่า
“พระมหามนุ ี ทรงเปน็ ผูม้ ีพระทยั เสมอกันในบุคคลท้งั ปวง คอื
ในพระเทวทตั ผู้จะปลงพระชนม์ ในโจรองคลุ มิ าล ในชา้ งธน-
บาล (ชา้ งนาฬาครี ี) และในพระราหลุ ”

รุกฺขงคฺ ปญฺโห ปญฺจโม ฯ

จบรกุ ขงั คปญั หาขอ้ ท่ี ๕

________

๖. เมฆงฺคปญฺห
๖. เมฆังคปัญหา
ปัญหาว่าด้วยองคแ์ ห่งเมฆ
[๖] ‘‘ภนฺเต นาคเสน ‘เมฆสสฺ ป ฺจ องคฺ าน ิ คเหตพพฺ าน’ี ต ิ ย ํ วเทส,ิ กตมาน ิ
ตาน ิ ป ฺจ องคฺ าน ิ คเหตพฺพานี’’ติ ?
[๖] พระเจา้ มลิ ินทต์ รสั ว่า “พระคุณเจา้ นาคเสน ท่านกล่าววา่ ‘พึงถือเอาองค์ ๕ แห่ง
เมฆ’ องค์ ๕ ท่พี งึ ถือเอานั้น เป็นไฉน ?”

‘‘ยถา มหาราช เมโฆ อปุ ปฺ นฺนํ รโชชลฺล ํ วปู สเมติ, เอวเมว โข มหาราช โยคนิ า
โยคาวจเรน อุปปฺ นฺน ํ กเิ ลสรโชชลฺลํ วปู สเมตพฺพํ ฯ อทิ ํ มหาราช เมฆสฺส ป มํ องคฺ ํ
คเหตพพฺ ํ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระะพรมหาบพิตร เมฆ ยอ่ มท�ำละอองธุลที ี่
เกดิ ขนึ้ แล้วใหส้ งบไป ฉันใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผบู้ �ำเพญ็ เพยี ร กพ็ งึ ท�ำละอองธุลีท่ี

กณั ฑ์] ๖.๖ มักกฏวรรค 447

เกดิ ข้นึ แลว้ ใหส้ งบไป ฉันน้ันเหมอื นกนั น้คี อื องค์ท่ี ๑ แห่งเมฆ ทีพ่ งึ ถอื เอา
‘‘ปุน จปร ํ มหาราช เมโฆ ปถวิยา อุณหฺ ํ นพิ พฺ าเปต,ิ เอวเมว โข มหาราช
โยคินา โยคาวจเรน เมตตฺ าภาวนาย สเทวโก โลโก นิพฺพาเปตพฺโพ ฯ อิท ํ มหาราช
เมฆสสฺ ทตุ ยิ ํ องฺคํ คเหตพพฺ ํ ฯ
ขอถวายพระพร ยังมีอีกองค์หนึ่ง ธรรมดาวา่ เมฆ ย่อมท�ำความรอ้ นบนพืน้ ดินให้ดับไป
ฉนั ใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผู้บ�ำเพ็ญเพียร ก็พึงท�ำโลกพรอ้ มท้งั เทวโลกให้ดับ(ให้
เยน็ )ด้วยเมตตาภาวนา ฉันนน้ั เหมือนกนั นี้คือองค์ท่ี ๒ แหง่ เมฆ ทีพ่ งึ ถอื เอา
‘‘ปนุ จปรํ มหาราช เมโฆ สพพฺ พชี าน ิ วริ ุหาเปต,ิ เอวเมว โข มหาราช โยคนิ า
โยคาวจเรน สพฺพสตฺตานํ สทฺธํ อุปฺปาเทตฺวา ต ํ สทธฺ าพีช ํ ตีส ุ สมปฺ ตตฺ สี ุ โรเปตพพฺ ํ,
ทิพฺพมานุสิกาสุ สุขสมปฺ ตตฺ สี ุ ยาว ปรมตถฺ นพิ ฺพานสขุ สมปฺ ตตฺ ิ ฯ อทิ ํ มหาราช เมฆสสฺ
ตตยิ ํ องฺคํ คเหตพพฺ ํ ฯ
ขอถวายพระพร ยังมอี ีกองค์ ๑ ธรรมดาวา่ เมฆ ยอ่ มท�ำพชื ทง้ั หลายทั้งปวงให้งอกงาม
ฉนั ใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผ้บู �ำเพ็ญเพียร ก็พงึ ท�ำศรัทธาใหเ้ กดิ ขึ้นแกส่ ตั วท์ ้งั ปวง
แลว้ หว่านพชื คอื ศรัทธานนั้ ลงในสมบตั ิ ๓ ประการ คอื ในสขุ สมบัติที่เปน็ ของเทวดา และท่ีเป็น
ของมนษุ ย์ ตราบถึงสุขสมบัติคือพระนิพพานอันเปน็ ประโยชนอ์ ย่างยงิ่ ฉันนนั้ เหมือนกัน นคี้ ือ
องค์ท่ี ๓ แหง่ เมฆ ท่ีพงึ ถอื เอา
‘‘ปุน จปรํ มหาราช เมโฆ อตุ โุ ต สมุฏ ฺ หติ ฺวา ธรณิตลรเุ ห ตณิ รกุ ฺขลตาคมุ พฺ -
โอสธวิ นปฺปตโย ปรริ กขฺ ต,ิ เอวเมว โข มหาราช โยคนิ า โยคาวจเรน โยนิโสมนสิการํ
นพิ พฺ ตฺเตตวฺ า เตน โยนโิ สมนสิกาเรน สมณธมฺโม ปรริ กขฺ ติ พฺโพ, โยนโิ สมนสิการมลู กา
สพเฺ พ กุสลา ธมฺมา ฯ อิท ํ มหาราช เมฆสฺส จตุตถฺ ํ องฺคํ คเหตพฺพํ ฯ
ขอถวายพระพร ยงั มอี อี กองคห์ น่งึ ธรรมดาวา่ เมฆ ต้งั ขน้ึ ตามฤดู ย่อมแวดลอ้ มรักษา
ส่งิ ท้งั หลายคอื ตน้ หญ้า ต้นไม้ เครือเถา พุ่มไม้ ตน้ ยา ป่าไม้ ทีง่ อกงามอยู่บนพน้ื ดิน ฉนั ใด ขอ
ถวายพระพร พระโยคาวจรผู้บ�ำเพญ็ เพยี ร พงึ ท�ำโยนิโสมนสกิ ารใหบ้ งั เกิด ใชโ้ ยนโิ สมนสิการ
น้นั แวดล้อมรักษาสมณธรรมไว้ ฉนั นนั้ เหมอื นกนั กศุ ลธรรมทัง้ หลายท้งั ปวง มีโยนโิ สมนสิการ
เป็นมูล นี้คอื องค์ที่ ๔ แห่งเมฆ ทีพ่ ึงถือเอา

448 มิลนิ ทปญั หาปกรณ์แปล [๖.โอปมั มกถาปัญห

‘‘ปุน จปรํ มหาราช เมโฆ วสสฺ มาโน นทติ ฬากโปกฺขรณโิ ย กนฺทรปทรสรโสพฺภ-
อทุ ปานานิ จ ปรปิ ูเรต ิ อทุ กธาราหิ เอวเมว โข มหาราช โยคินา โยคาวจเรน อาคม-
ปริยตฺติยา ธมมฺ เมฆมภวิ สฺสยิตวฺ า อธิคมกามาน ํ มานส ํ ปริปูรยติ พฺพํ ฯ อทิ ํ มหาราช
เมฆสสฺ ป ฺจม ํ องฺคํ คเหตพพฺ ํ ฯ
ขอถวายพระพร ยังมอี ีกองค์หน่งึ ธรรมดาวา่ เมฆ เม่อื ตกลงมา กย็ อ่ มท�ำแมน่ �้ำ บงึ สระ
บัวทงั้ หลาย และซอกเขา ล�ำธาร สระนำ�้ แอ่งน�ำ้ สถานที่ขงั นำ้� ดมื่ ท้ังหลายให้เตม็ ด้วยสายน้�ำ
ฉนั ใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผบู้ �ำเพ็ญเพยี ร กพ็ งึ ท�ำเมฆคือพระธรรมใหต้ กลงมา น�ำ
จติ ของบุคคลผู้ต้องการอธิคมให้เตม็ ด้วยอาคมปริยตั ิ ฉนั นน้ั เหมอื นกนั นี้คอื องค์ท่ี ๕ แหง่ เมฆ
ทพี่ งึ ถอื เอา

ภาสิตมเฺ ปตํ มหาราช เถเรน สาริปตุ ฺเตน ธมมฺ เสนาปตนิ า –
‘‘โพธเนยฺย ํ ชน ํ ทิสฺวา สตสหสเฺ สปิ โยชเน
ขเณน อุปคนตฺ วฺ าน โพเธต ิ ตํ มหามุนี’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร พระธรรมเสนาบดสี ารีบตุ รเถระ ไดภ้ าษติ ความขอ้ น้ไี ว้วา่
“พระมหามุนีทรงเห็นชนที่ควรแนะน�ำใหต้ รัสรไู้ ด้ แม้ในทีไ่ กล
ถงึ ๑๐๐,๐๐๐ โยชน์ กเ็ สดจ็ ไป เพยี งชัว่ ขณะเดยี ว ทรงชว่ ยผู้
นนั้ ให้ตรสั รู”้

เมฆงคฺ ปญฺโห ฉฏฺโ€ ฯ

จบเมฆังคปญั หาขอ้ ท่ี ๖

_______

กัณฑ์] ๖.๖ มักกฏวรรค 449

๗. มณิรตนงคฺ ปญหฺ
๗. มณริ ตนังคปัญหา
ปญั หาว่าดว้ ยองคแ์ ห่งแก้วมณี
[๗] ‘‘ภนฺเต นาคเสน ‘มณิรตนสสฺ ตณี ิ องคฺ านิ คเหตพฺพาน’ี ติ ยํ วเทส,ิ กตมาน ิ
ตานิ ตีณ ิ องฺคานิ คเหตพพฺ าน’ี ’ติ ?
[๗] พระเจา้ มลิ ินท์ตรัสวา่ “พระคุณเจ้านาคเสน ทา่ นกล่าวว่า ‘พึงถือเอาองค์ ๓ แหง่
แกว้ มณ’ี องค์ ๓ ท่ีพึงถือเอานั้นเปน็ ไฉน ?”
‘‘ยถา มหาราช มณริ ตนํ เอกนตฺ ปริสุทธฺ ,ํ เอวเมว โข มหาราช โยคนิ า
โยคาวจเรน เอกนตฺ ปริสุทฺธาชีเวน ภวติ พฺพํ ฯ อิทํ มหาราช มณริ ตนสสฺ ป ม ํ องฺคํ
คเหตพฺพํ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร แก้วมณี เป็นธรรมชาติท่ี
บรสิ ทุ ธโิ์ ดยสว่ นเดียว ฉันใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผู้บ�ำเพ็ญเพยี ร กพ็ งึ เปน็ ผู้มอี าชวี ะ
บริสทุ ธ์ิโดยสว่ นเดยี ว ฉนั น้นั เหมือนกนั น้คี ือองคท์ ี่ ๑ แห่งแก้วมณี ทพี่ ึงถือเอา
‘‘ปนุ จปรํ มหาราช มณริ ตนํ น เกนจ ิ สทธฺ ึ มิสสฺ ียติ, เอวเมว โข มหาราช
โยคินา โยคาวจเรน ปาเปหิ ปาปสหาเยห ิ สทธฺ ึ น มสิ สฺ ิตพฺพํ ฯ อทิ ํ มหาราช
มณิรตนสสฺ ทุตยิ ํ องฺคํ คเหตพฺพํ ฯ
ขอถวายพระพร ยังมอี ีกองคห์ นง่ึ ธรรมดาวา่ แก้วมณี ไมเ่ จือปนกับสงิ่ อะไร ๆ ฉนั ใด
ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผบู้ �ำเพญ็ เพยี ร กไ็ มพ่ ึงเจือปนกับบาปท้งั หลาย ไม่พงึ คลกุ คลี
กบั สหายชั่วทั้งหลาย ฉนั นนั้ เหมอื นกัน นี้คอื องคท์ ่ี ๒ แหง่ แกว้ มณี ทพี่ ึงถอื เอา
‘‘ปุน จปรํ มหาราช มณริ ตนํ ชาติรตเนห ิ โยชยี ต,ิ เอวเมว โข มหาราช โยคนิ า
โยคาวจเรน อตุ ฺตมวรชาติมนเฺ ตหิ สทฺธึ สํวสติ พพฺ ,ํ ปฏปิ นนฺ กผลฏฺ เสกฺขผลสมงฺคีห ิ
โสตาปนฺนสกทาคามิอนาคามิอรหนฺตเตวิชฺชฉฬภ ิ ฺ สมณมณริ ตเนหิ สทฺธึ สํวสติ พพฺ ํ ฯ อทิ ํ
มหาราช มณิรตนสฺส ตติยํ องฺค ํ คเหตพฺพํ ฯ
ขอถวายพระพร ยังมีอกี องคห์ นง่ึ ธรรมดาว่าแกว้ มณี เขาย่อมประกอบไว้ กบั รัตนะที่
เกิดเองทั้งหลาย ฉนั ใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผูบ้ �ำเพญ็ เพยี ร กพ็ งึ อยรู่ ่วมกับบทมนต์
ที่มีชาติสงู สง่ ประเสริฐ พึงอยู่รว่ มกบั ท่านผ้ยู ังปฏิบัตอิ ยู่ ท่านผู้ตั้งอยู่ในผล ท่านผพู้ ร้อมเพยี ง

450 มลิ ินทปญั หาปกรณ์แปล [๖.โอปัมมกถาปญั ห

ด้วยอเสกขผลทง้ั หลาย กบั สมณะผเู้ ปน็ พระโสดาบนั พระสกทาคามี พระอนาคามี พระอรหันต์
ผู้ได้วชิ ชา ๓ ผู้ไดอ้ ภิญญา ๖ ฉันนน้ั เหมือนกัน นค้ี อื องคท์ ่ี ๓ แห่งแก้วมณี ทพี่ งึ ถือเอา

ภาสติ มฺเปตํ มหาราช ภควตา เทวาตเิ ทเวน สุตฺตนปิ าเต –
‘‘สทุ ฺธา สทุ ฺเธหิ สํวาสํ กปปฺ ยวโฺ ห ปตสิ สฺ ตา
ตโต สมคคฺ า นปิ กา ทกุ ขฺ สฺสนฺต ํ กรสิ สฺ ถา’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร พระผูม้ ีพระภาคเจ้า ผู้ทรงเปน็ เทพยงิ่ กว่าเหล่าเทพ ทรงภาษิตความ
ขอ้ นีไ้ วใ้ นสุตตนิบาตว่า
“เธอทง้ั หลาย ผมู้ ศี ีลบรสิ ทุ ธิ์ จงเคารพย�ำเกรงกนั อยรู่ ว่ มกบั
ทา่ นผ้บู ริสุทธิ์ หลังจากน้ัน เธอทง้ั หลาย จงเป็นผ้สู ามัคคีกนั
มีปัญญา รกั ษาตน จกั ท�ำทส่ี ุดแหง่ ทุกข์ได”้

มณริ ตนงคฺ ปญโฺ ห สตตฺ โม ฯ

จบมณิรตนังคปญั หาข้อท่ี ๗

________

๘. มาควกิ งคฺ ปญหฺ
๘. มาควกิ งั คปัญหา
ปญั หาว่าด้วยองค์แห่งพรานเน้อื
[๘] ‘‘ภนฺเต นาคเสน ‘มาควิกสฺส จตตฺ าริ องคฺ าน ิ คเหตพพฺ าน’ี ต ิ ยํ วเทสิ,
กตมานิ ตานิ จตตฺ าริ องฺคาน ิ คเหตพพฺ านี’’ติ ?
[๘] พระเจา้ มิลินทต์ รสั ว่า “พระคุณเจา้ นาคเสน ทา่ นกล่าวว่า ‘พงึ ถือเอาองค์ ๔ แห่ง
พรานเน้อื องค์ ๔ แหง่ พรานเน้ือ’ องค์ ๔ ท่ีพงึ ถือเอาน้ัน เป็นไฉน ?”

‘‘ยถา มหาราช มาควิโก อปฺปมิทโฺ ธ โหติ, เอวเมว โข มหาราช โยคินา
โยคาวจเรน อปฺปมิทฺเธน ภวติ พพฺ ํ ฯ อทิ ํ มหาราช มาควกิ สสฺ ป ม ํ องฺคํ คเหตพฺพํ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร พรานเนอ้ื ย่อมเป็นผ้ไู มค่ ่อย
จะง่วง ซึม ฉันใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผู้บ�ำเพ็ญเพยี ร กพ็ ึงเปน็ ผไู้ ม่ค่อยจะง่วง ซมึ
ฉนั น้ันเหมือนกัน นค้ี ือองค์ที่ ๑ แห่งพรานเนอ้ื ทีพ่ ึงถือเอา

กัณฑ์] ๖.๖ มกั กฏวรรค 451

‘‘ปนุ จปร ํ มหาราช มาควโิ ก มิเคสุเยว จติ ตฺ ํ อปุ นพิ นธฺ ต,ิ เอวเมว โข มหาราช
โยคินา โยคาวจเรน อารมมฺ เณสเุ ยว จติ ตฺ ํ อุปนพิ นฺธิตพพฺ ํ ฯ อทิ ํ มหาราช มาควิกสสฺ
ทุตยิ ํ องคฺ ํ คเหตพพฺ ํ ฯ
ขอถวายพระพร ยังมอี กี องคห์ นึง่ ธรรมดาว่าพรานเน้อื ยอ่ มผูกจติ ไว้ม่ันแต่ในเนอ้ื
ทง้ั หลายเท่านัน้ ฉนั ใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผ้บู �ำเพญ็ เพยี ร กพ็ งึ ผกู จิตไวม้ ่ัน
ในอารมณ์(กัมมัฏฐาน)ทัง้ หลาย ฉันน้ันเหมือนกัน นคี้ ือองค์ท่ี ๒ แห่งพรานเนื้อ ที่พึงถือเอา

‘‘ปนุ จปร ํ มหาราช มาควิโก กาล ํ กมฺมสสฺ ชานาต,ิ เอวเมว โข มหาราช
โยคนิ า โยคาวจเรน ปฏิสลฺลานสฺส กาโล ชานติ พโฺ พ ‘อย ํ กาโล ปฏิสลลฺ านสสฺ , อยํ กาโล
นิกขฺ มนายา’ติ ฯ อทิ ํ มหาราช มาควิกสฺส ตติยํ องคฺ ํ คเหตพพฺ ํ ฯ
ขอถวายพระพร ยงั มีอีกองคห์ น่ึง ธรรมดาวา่ พรานเนอื้ ยอ่ มรู้จักกาลท่ีควรแก่การงาน
ฉนั ใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผู้บ�ำเพ็ญเพยี ร ก็พึงรูจ้ ักกาลทีค่ วรแก่การหลีกเรน้ วา่
เวลานี้ เปน็ กาลท่สี มควรแกก่ ารหลีกเร้น เวลาน้ีเปน็ กาลทส่ี มควรแก่การปลีกตวั ออกไป นี้คอื
องคท์ ่ี ๓ แห่งพรานเนอื้ ทพ่ี ึงถอื เอา

‘‘ปุน จปรํ มหาราช มาควโิ ก มิคํ ทสิ วฺ า หาสมภชิ เนติ ‘อิม ํ ลจฉฺ าม’ี ต,ิ เอวเมว
โข มหาราช โยคินา โยคาวจเรน อารมฺมเณ อภิรมติ พพฺ ,ํ หาสมภชิ เนตพฺพํ ‘อตุ ตฺ รึ
วเิ สสมธคิ จฉฺ ิสสฺ ามี’ติ ฯ อทิ ํ มหาราช มาควกิ สฺส จตุตฺถํ องคฺ ํ คเหตพพฺ ํ ฯ
ขอถวายพระพร ยังมอี กี องค์หนงึ่ ธรรมดาว่าพรานเนือ้ พบเนื้อแล้ว พงึ เกดิ ความ
บันเทงิ ใจวา่ ‘เราจักได้เนอื้ นี้’ ดงั นี้ พระโยคาวจรผบู้ �ำเพญ็ เพยี ร กพ็ ึงยินดี พึงเกดิ ความบนั เทงิ
ใจในอารมณว์ า่ ‘เราจะได้บรรลคุ ุณวิเศษท่ียงิ่ ๆ ข้ึนไป’ ฉันนัน้ เหมอื นกัน น้ีคอื องค์ท่ี ๔ แห่ง
พรานเน้ือ ทพี่ ึงถือเอา

ภาสิตมฺเปตํ มหาราช เถเรน โมฆราเชน –
‘‘อารมมฺ เณ ลภติ ฺวาน ปหิตตฺเตน ภกิ ฺขุนา
ภยิ โฺ ย หาโส ชเนตพโฺ พ อธคิ จฺฉสิ ฺสาม ิ อุตฺตรนิ ฺ”ติ ฯ
ขอถวายพระพร ท่านพระโมฆราชเถระ ได้ภาษติ ความข้อนีไ้ ว้ว่า
“ภกิ ษุ ผมู้ จี ิตแน่วแน่ ได้อารมณท์ ้ังหลายแล้ว ก็พึงท�ำความ
บันเทงิ ใจใหเ้ กดิ ย่ิงอย่างน้วี า่ ‘เราจักบรรลุคุณวิเศษทีย่ ง่ิ ๆ ข้นึ
ไปได้’ ดังนี้เถิด”

452 มลิ นิ ทปญั หาปกรณ์แปล [๖.โอปมั มกถาปัญห

มาควกิ งคฺ ปญโฺ ห อฏฺ€โม ฯ
จบมาควิกังคปัญหาข้อท่ี ๘

_________

๙. พาฬิสกิ งฺคปญหฺ
๙. พาฬสิ กิ ังคปญั หา
ปัญหาว่าดว้ ยองคแ์ ห่งพรานเบด็
[๙] ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน ‘พาฬสิ กิ สสฺ เทวฺ องฺคานิ คเหตพพฺ านี’ต ิ ย ํ วเทส,ิ กตมาน ิ
ตาน ิ เทวฺ องคฺ าน ิ คเหตพพฺ าน’ี ’ติ ?
[๙] พระเจา้ มลิ ินท์ตรสั ว่า “พระคุณเจ้านาคเสน ทานกล่าววา่ ‘พงึ ถอื เอาองค์ ๒ แหง่
พรานเบด็ ’ องค์ ๒ ทพ่ี งึ ถอื เอานั้น เป็นไฉน ?”

‘‘ยถา มหาราช พาฬสิ โิ ก พฬิเสน มจฺเฉ อุทฺธรติ, เอวเมว โข มหาราช โยคนิ า
โยคาวจเรน าเณน อตุ ฺตรึ สาม ฺ ผลานิ อุทธฺ รติ พฺพานิ ฯ อทิ ํ มหาราช พาฬสิ กิ สฺส
ป มํ องฺคํ คเหตพพฺ ํ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร พรานเบด็ ย่อมใช้เบ็ดตก
ปลาข้นึ มาได้ ฉันใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผบู้ �ำเพ็ญเพียร ก็พึงใช้เบด็ คือญาณตกเอา
ปลาคอื สามญั ญผลท้ังหลายข้ึนมาได้ ฉนั น้ันเหมอื นกนั นคี้ ือองค์ที่ ๑ แหง่ พรานเบ็ด ที่พงึ ถอื
เอา

‘‘ปนุ จปรํ มหาราช พาฬสิ ิโก ปริตตฺ ก ํ วธติ วฺ า วิปลุ ํ ลาภมธิคจฺฉติ, เอวเมว โข
มหาราช โยคนิ า โยคาวจเรน ปรติ ตฺ โลกามิสมตฺตํ ปริจจฺ ชติ พพฺ ํ ฯ โลกามิสมตตฺ ํ มหาราช
ปริจฺจชติ ฺวา โยค ี โยคาวจโร วิปุลํ สาม ฺ ผล ํ อธิคจฉฺ ติ ฯ อทิ ํ มหาราช พาฬสิ กิ สสฺ
ทุติย ํ องฺคํ คเหตพฺพํ ฯ
ขอถวายพระพร ยงั มีอกี องคห์ น่ึง ธรรมดาว่าพรานเบ็ด ฆ่า (สัตวท์ ใี่ ช้เปน็ เหยื่อ) เพียง
นดิ หนอ่ ย ก็ยอ่ มได้รบั ลาภ (คอื ปลา) เสียมากมาย ฉนั ใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจร
ผู้บ�ำเพญ็ เพียร กพ็ ึงสละโลกามสิ เพียงเลก็ นอ้ ยน้นั แหละ แลว้ ย่อมไดร้ ับสามัญญผลท่ไี พบลู ย์
ฉันนนั้ เหมือนกนั น้คี อื องคท์ ่ี ๒ แหง่ พรานเบ็ด ที่พึงถือเอา

กณั ฑ]์ ๖.๖ มกั กฏวรรค 453

ภาสิตมฺเปต ํ มหาราช เถเรน ราหุเลน –
‘‘สุ ฺ ต จฺ านิมิตฺต จฺ วโิ มกฺข จฺ าปปฺ ณหิ ิตํ
จตโุ ร ผเล ฉฬภ ิ ฺ า จชติ ฺวา โลกามิสํ ลเภ’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร ทา่ นพระราหุลเถระ ไดภ้ าษิตความขอ้ นี้ไวว้ า่

“ภิกษุละโลกามิสเสยี ไดแ้ ลว้ กจ็ ะพงึ ได้สุญญตวโิ มกข์ อนิมติ ต-
วโิ มกข์ อปั ปณหิ ิตวิโมกข์ สามัญญผล ๔ อภิญญา ๖”

พาฬิสิกงฺคปญฺโห นวโม ฯ
จบพาฬิสิกงั คปญั หาข้อที่ ๙

_________

๑๐. ตจฉฺ กงคฺ ปญฺห
๑๐. ตจั ฉกงั คปัญหา
ปญั หาวา่ ด้วยองคแ์ หง่ ช่างถาก
[๑๐] ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน ‘ตจฉฺ กสฺส เทวฺ องฺคานิ คเหตพฺพาน’ี ต ิ ย ํ วเทส,ิ กตมาน ิ
ตาน ิ เทวฺ องฺคาน ิ คเหตพฺพาน’ี ’ติ ?
[๑๐] พระเจา้ มิลนิ ท์ตรัสวา่ “พระคณุ เจา้ นาคเสน ทา่ นกลา่ วว่า ‘พงึ ถือเอาองค์ ๒ แหง่
ชา่ งถาก’ องค์ ๒ ท่ีพงึ ถือเอานน้ั เป็นไฉน ?”
‘‘ยถา มหาราช ตจฉฺ โก กาฬสุตตฺ ํ อนุโลเมตวฺ า รกุ ฺข ํ ตจฺฉติ, เอวเมว โข มหาราช
โยคินา โยคาวจเรน ชินสาสนมนุโลมยิตฺวา สลี ปถวิย ํ ปตฏิ ฺ หิตวฺ า สทธฺ าหตเฺ ถน ป ฺ า-
วาสึ คเหตวฺ า กเิ ลสา ตจฺเฉตพพฺ า ฯ อิทํ มหาราช ตจฉฺ กสสฺ ป ม ํ องคฺ ํ คเหตพพฺ ํ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร ชา่ งถาก ยอ่ มถากไม้ อนุโลม
ตามเสน้ ด้ายด�ำ ฉันใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผบู้ �ำเพญ็ เพียร พงึ ด�ำรงอยู่บนพน้ื แผ่น
ดินคอื ศลี ใชม้ อื คอื ศรัทธาจับขวานคือปญั ญาถากกิเลสทั้งหลาย อนโุ ลมตามพระศาสนาของ
พระชินวรพทุ ธเจ้า ฉนั น้นั เหมอื นกนั นค้ี ือองคท์ ่ี ๑ แหง่ ช่างถาก ท่พี งึ ถือเอา
‘‘ปนุ จปร ํ มหาราช ตจฉฺ โก เผคคฺ ํ ุ อปหรติ ฺวา สารมาทิยติ, เอวเมว โข มหาราช
โยคินา โยคาวจเรน สสสฺ ต ํ อจุ ฺเฉทํ ตํ ชีว ํ ตํ สรีร ํ อ ฺ ํ ชวี ํ อ ฺ ํ สรรี ํ ตทุตฺตมํ
อ ฺ ทุตตฺ ม ํ อกตมภพพฺ ํ อปุรสิ การ ํ อพฺรหฺมจรยิ วาสํ สตฺตวินาส ํ นวสตฺตปาตุภาวํ สงฺขาร-

454 มลิ ินทปญั หาปกรณแ์ ปล [๖.โอปมั มกถาปญั ห

สสสฺ ตภาวํ โย กโรติ, โส ปฏิสํเวเทต,ิ อ ฺโ กโรต,ิ อ ฺโ ปฏสิ เํ วเทติ, กมฺมผลทสสฺ นา
จ กริ ยิ ผลทิฏ ฺ ิ จ อติ ิ เอวรูปานิ เจว อ ฺ านิ จ ววิ าทปถาน ิ อปเนตวฺ า สงฺขารานํ สภาวํ
ปรมส ุ ฺ ต ํ นิรหี นิชชฺ วี ต ํ อจฺจนฺตํ ส ุ ฺ ตํ อาทยิ ิตพพฺ ํ ฯ อทิ ํ มหาราช ตจฉฺ กสฺส ทุติย ํ องคฺ ํ
คเหตพฺพํ ฯ
ขอถวายพระพร ยังมอี กี องค์หน่ึง ธรรมดาวา่ ช่างถาก ย่อมขจดั กระพอ้ี อกไป ถอื เอาแต่
แกน่ ไม้ ฉนั ใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผู้บ�ำเพญ็ เพยี ร ก็พงึ ขจัดความเห็นผิดเกี่ยวกบั
กรรมและผลของกรรม ความเห็นผิดในผลแห่งกรรมทท่ี �ำ และหนทางแห่งการทะเลาะววิ าท
อยา่ งอืน่ ๆ เห็นปานฉะนว้ี ่า ‘ยั่งยืน ขาดสูญ ชวี ะกอ็ ันนั้น สรีระกอ็ ันน้ัน ชวี ะกอ็ ยา่ งหน่ึง สรรี ะ
ก็อยา่ งหนงึ่ สงิ่ สูงสดุ กอ็ นั น้ัน สิ่งสูงสดุ เป็นอย่างหนึง่ ส่ิงทีค่ วรท�ำไมม่ ีผล การกระท�ำของบรุ ุษ
ไม่มผี ล การอยอู่ บรมพรหมจรรย์ไม่มผี ล ความพนิ าศแห่งสตั ว์มีอยู่ ความปรากฏแห่งสตั วใ์ หม่
มอี ยู่ ความยั่งยืนแหง่ สงั ขารมอี ยู่ ผู้ใดท�ำ(กรรม) ผ้นู ั้นย่อมเสวย(ผล) คนหน่ึงท�ำ(กรรม) คน
หน่งึ เสวย(ผล)’ ดังนีเ้ ปน็ ต้น แลว้ พงึ ถือเอาแต่สภาวะแห่งสังขารท้ังหลาย อันเป็นบรมสญุ ญตะ
ปราศจากความเปน็ สัตวแ์ ละชีวะวา่ งเปลา่ สนิ้ เชิง นคี้ อื องค์ที่ ๒ แหง่ ช่างถาก ทพี่ งึ ถือเอา

ภาสติ มฺเปตํ มหาราช ภควตา เทวาตเิ ทเวน สตุ ฺตนปิ าเต –
‘‘การณฑฺ ว ํ นิทฺธมถ กสมพฺ ุ ํ อปกสฺสถ
ตโต ปลาเป วาเหถ อสฺสมเณ สมณมานเิ น ฯ
นิทธฺ มติ ฺวาน ปาปิจฺเฉ ปาปอาจารโคจเร
สุทธฺ า สุทเฺ ธห ิ สํวาสํ กปฺปยวฺโห ปตสิ สฺ ตา
ตโต สมคคฺ า นปิ กา ทุกฺขสสฺ นตฺ ํ กริสสฺ ถา’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร พระผ้มู ีพระภาคเจ้า ผูท้ รงเป็นเทพยง่ิ กวา่ เหลา่ เทพ ทรงภาษติ ความ
ขอ้ นไ้ี วใ้ นสุตตนิบาตวา่
“เธอทั้งหลายจงก�ำจัดผู้ท่ีไม่มีคุณธรรมในใจเหมือนแกลบออก
ไปเสีย จงครา่ ผทู้ ศุ ลี ออกจากหมู่ เหมอื นคนก�ำจัดหยากเยอื่
ออกจากบา้ น ฉะนนั้ ตอ่ จากน้ัน เธอทง้ั หลายจงขบั ไล่ผูท้ ่ีมิใช่
สมณะ แต่แต่งกายเลียนแบบสมณะออกไปจากสงฆ์ เหมือน
คนคัดขา้ วลบี ทงิ้ ฉะนน้ั ครนั้ ก�ำจัดพวกปรารถนาช่ัว มีอาจาระ
และโคจรช่วั ออกไดแ้ ล้ว เธอท้งั หลายผูม้ ศี ีลบริสทุ ธ์ิ จงเคารพ
ย�ำเกรงกัน อย่รู ่วมกบั ท่านผบู้ รสิ ุทธิ์ หลงั จากนั้น เธอท้ังหลาย

กัณฑ์] ๖.๗ กมุ ภวรรค 455

จงเปน็ ผู้สามคั คีกนั มปี ญั ญารักษาตน จักท�ำทีส่ ุดแหง่ ทกุ ขไ์ ด้”
ตจฺฉกงฺคปญโฺ ห ทสโม ฯ

จบตจั ฉกังคปญั หาข้อท่ี ๑๐

ตสฺสทุ ฺทานํ –
มกกฺ โฏ ทารโก กุมฺโม วนํ รกุ โฺ ข จ ป จฺ โม
เมโฆ มณิ มาควิโก พาฬิส ี ตจฉฺ เกน จาติ ฯ
รวมสตู รทมี่ าในวรรคน้ี คอื
๑. มกั กฏสตู ร ๒. ทารกสตู ร
๓. กมุ มสูตร ๔. วนสูตร
๕. รุกขสตู ร ๖. เมฆสตู ร
๗. มณสิ ตู ร ๘. มาควิกสตู ร
๙. พาฬสิ สี ตู ร ๑๐. ตัจฉกสตู ร

มกกฺ ฏกวคโฺ ค ฉฏฺโ€ ฯ

จบมักกฏกวรรคท่ี ๖

________

๖.๗ กุมภฺ วคฺค
๖.๗ กุมภวรรค หมวดว่าด้วยหม้อเป็นต้น

๑. กมุ ภฺ งคฺ ปญฺห
๑. กมุ ภงั คปญั หา
ปัญหาว่าด้วยองค์แห่งหม้อ
[๑] ‘‘ภนฺเต นาคเสน ‘กุมฺภสสฺ เอก ํ องฺค ํ คเหตพพฺ น’ฺ ติ ย ํ วเทส,ิ กตมํ ตํ เอกํ
องฺค ํ คเหตพพฺ ’’นฺติ ?
[๑] พระมลิ ินท์ตรสั วา่ “พระคุณเจา้ นาคเสน ท่านกลา่ วว่า ‘พึงถือเอาองค์ ๑ แหง่ หมอ้ ’
องค์ ๑ ที่พงึ ถือเอา เปน็ ไฉน ?”

456 มลิ นิ ทปญั หาปกรณแ์ ปล [๖.โอปมั มกถาปัญห

‘‘ยถา มหาราช กมุ โฺ ภ สมปฺ ุณโฺ ณ น สณต,ิ เอวเมว โข มหาราช โยคนิ า
โยคาวจเรน อาคเม อธิคเม ปริยตฺติยํ สาม เฺ ปารม ึ ปตวฺ า น สณิตพฺพํ, น เตน
มาโน กรณีโย, น ทพฺโพ ทสเฺ สตพโฺ พ, นิหตมาเนน นหิ ตทพเฺ พน ภวิตพพฺ ํ, อชุ ุเกน
อมุขเรน อวิกตฺถนิ า ฯ อทิ ํ มหาราช กมุ ภฺ สฺส เอก ํ องฺค ํ คเหตพพฺ ํ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร หมอ้ ทเี่ ต็มเปีย่ มแล้วย่อมไม่
ส่งเสยี งดัง ฉนั ใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผ้บู �ำเพ็ญเพียร ถงึ ความเตม็ เป่ียมในอาคม ใน
อธิคม ในปรยิ ตั ิ ในสามัญญผลแล้ว ก็ไม่พึงส่งเสยี งดัง ฉันน้ันเหมือนกนั เธอไมพ่ ึงท�ำความ
ถอื ตัวเพราะความเตม็ เปยี่ มนัน้ ไม่พงึ แสดงความเป็นคนด้อื พงึ เป็นผ้กู �ำจดั ความถือตวั พึง
ก�ำจดั ความเปน็ คนด้ือ เป็นผซู้ ่อื ตรง ไม่ปากกลา้ ไม่โอ้อวด นค้ี ือองค์ ๑ แหง่ หม้อ ท่ีพงึ ถอื เอา

ภาสติ มฺเปต ํ มหาราช ภควตา เทวาตเิ ทเวน สตุ ตฺ นิปาเต –
‘‘ยทนู กํ ตํ สณติ ย ํ ปูร ํ สนฺตเมว ตํ
อฑฒฺ กุมภฺ ูปโม พาโล รหโท ปูโรว ปณฑฺ ิโต’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร พระผมู้ พี ระภาคเจ้า ผู้ทรงเปน็ เทพย่งิ กว่าเหลา่ เทพ ทรงภาษิต
ขอ้ ความนไ้ี วใ้ นสุตตนบิ าตว่า
“สง่ิ ใดพร่อง สง่ิ นน้ั ดัง สง่ิ ใดเต็ม สิง่ นั้นเงยี บ คนพาลเปรียบได้
กับหม้อน้�ำทมี่ ีน้ำ� เพียงคร่ึงเดยี ว บณั ฑติ เปรยี บไดก้ บั ห้วงน้�ำท่ี
เตม็ เปยี่ ม”

กมุ ฺภงคฺ ปญโฺ ห ป€โม ฯ

จบกมุ ภงั คปญั หาข้อท่ี ๑

________

๒. กาฬายสงคฺ ปญฺห
๒. กาฬายสงั คปญั หา
ปญั หาว่าดว้ ยองค์แหง่ กาลักน้�ำ
[๒] ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน ‘กาฬายสสสฺ เทฺว องคฺ าน ิ คเหตพพฺ าน’ี ต ิ ย ํ วเทส,ิ กตมาน ิ
ตานิ เทวฺ องคฺ าน ิ คเหตพพฺ านี’’ติ ?
[๒] พระมิลนิ ทต์ รสั ว่า “พระคณุ เจ้านาคเสน ท่านกลา่ วว่า ‘พึงถอื เอาองค์ ๒ แห่ง

กัณฑ์] ๖.๗ กุมภวรรค 457

กาลักน�้ำ’ องค์ ๒ ท่พี ึงถอื เอานัน้ เป็นไฉน ?”

‘‘ยถา มหาราช กาฬายโส สปุ โี ต วมติ, เอวเมว โข มหาราช โยคโิ น
โยคาวจรสสฺ มานส ํ โยนโิ สมนสกิ าเรน อปีต ํ วมติ ฯ อทิ ํ มหาราช กาฬายสสสฺ ป มํ องฺคํ
คเหตพพฺ ํ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร กาลักน้�ำ ดูดน้�ำไว้ดแี ลว้
ก็คายออกไป ฉันใด ขอถวายพระพร จติ ของพระโยคาวจรผ้บู �ำเพ็ญเพียร ยอ่ มคายสิ่งท่ีไมค่ วร
ดูดด่มื ออกไปดว้ ยโยนโิ สมนสิการ ฉนั น้ัน นีค้ อื องค์ท่ี ๑ แห่งกาลักน�ำ้ ทีพ่ ึงถอื เอา

‘‘ปุน จปร ํ มหาราช กาฬายโส สก ึ ปีต ํ อุทก ํ น วมติ, เอวเมว โข มหาราช
โยคนิ า โยคาวจเรน โย สกึ อปุ ฺปนโฺ น ปสาโท, น ปุน โส วมิตพฺโพ ‘อุฬาโร โส ภควา
สมฺมาสมพฺ ทุ ฺโธ, สวฺ ากฺขาโต ธมฺโม, สุปปฺ ฏิปนโฺ น สโํ ฆ’ติ ฯ ‘รปู ํ อนิจจฺ ,ํ เวทนา อนจิ จฺ า,
ส ฺ า อนจิ จฺ า, สงขฺ ารา อนจิ จฺ า, ว ิ ฺ าณํ อนจิ จฺ นฺติ ยํ สกึ อุปปฺ นนฺ ํ าณ,ํ น ปนุ ตํ
วมติ พพฺ ํ ฯ อิท ํ มหาราช กาฬายสสฺส ทตุ ยิ ํ องคฺ ํ คเหตพพฺ ํ ฯ
ขอถวายพระพร ยงั มีอกี องค์หนึง่ ธรรมดาวา่ กาลักน�ำ้ ยอ่ มไม่คายน้�ำที่ดดู ครง้ั เดียว
ฉนั ใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผูบ้ �ำเพ็ญเพียร กไ็ ม่พงึ คายความเล่ือมใสที่เกดิ ขน้ึ คร้ัง
เดียวว่า ‘พระผู้มพี ระภาคสมั มาสัมพุทธเจา้ พระองค์นน้ั ทรงเปน็ ผู้ยิง่ ใหญ่ พระธรรมเปน็ ธรรม
ท่พี ระผูม้ พี ระภาคเจา้ ตรสั ไว้ดแี ลว้ พระสงฆ์เป็นผูป้ ฏบิ ัติดี’ ดงั น้ีอกี ไมพ่ ึงคายญาณทีเ่ กดิ ข้ึน
วา่ ‘รปู ไม่เท่ยี ง เวทนาไมเ่ ทีย่ ง สญั ญาไม่เทีย่ ง สงั ขารไม่เท่ียง วิญญาณไมเ่ ท่ียง’ ดังนี้อีก ฉนั
นั้นเหมือนกัน นีค้ ือองคท์ ี่ ๒ แห่งกาลกั น้ำ� ที่พงึ ถือเอา

ภาสิตมฺเปตํ มหาราช ภควตา เทวาตเิ ทเวน –
‘‘ทสฺสนมหฺ ิ ปรโิ สธิโต นโร
อรยิ ธมฺเม นยิ โต วเิ สสคู
นปฺปเวธติ อเนกภาคโส
สพฺพโส จ มุขภาวเมว โส’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร พระผูม้ พี ระภาคเจ้า ผทู้ รงเปน็ เทพย่งิ กวา่ เหล่าเทพ ทรงภาษติ ความ
ข้อนไ้ี ว้วา่
“ก็นรชนผชู้ �ำระทสั สนะให้บริสุทธ์ิ ผถู้ งึ คณุ วิเศษ เที่ยงตรงใน
อรยิ ธรรมน้นั ยอ่ มไม่ท�ำความเลอื่ มใส อันเปน็ ประธานใหส้ ่ัน

458 มลิ นิ ทปญั หาปกรณแ์ ปล [๖.โอปมั มกถาปัญห

คลอน โดยส่วนเปน็ อเนก และโดยประการทงั้ ปวง”
กาฬายสงคฺ ปญฺโห ทุตโิ ย ฯ
จบกาฬายสังคหปญั หาขอ้ ที่ ๒
________

๓. ฉตตฺ งฺคปญหฺ
๓. ฉัตตงั คปญั หา
ปัญหาวา่ ดว้ ยองคแ์ ห่งร่ม
[๓] ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน ‘ฉตตฺ สฺส ตีณิ องฺคาน ิ คเหตพฺพาน’ี ต ิ ย ํ วเทส,ิ กตมานิ
ตานิ ตีณ ิ องฺคาน ิ คเหตพฺพานี’’ติ ?
[๓] พระเจา้ มลิ นิ ทต์ รัสว่า “พระคณุ เจ้านาคเสน ทา่ นกลา่ ววา่ ‘พงึ ถือเอาองค์ ๓ แหง่
รม่ ’ องค์ ๓ ทพ่ี ึงถอื เอานนั้ เป็นไฉน ?”

‘‘ยถา มหาราช ฉตตฺ ํ อุปร ิ มทุ ธฺ นิ จรต,ิ เอวเมว โข มหาราช โยคนิ า
โยคาวจเรน กิเลสานํ อุปริ มุทธฺ น ิ จเรน ภวติ พพฺ ํ ฯ อทิ ํ มหาราช ฉตตฺ สฺส ป ม ํ องคฺ ํ
คเหตพฺพํ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร ร่ม ยอ่ มเทีย่ วไปบนศีรษะ
ฉนั ใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผ้บู �ำเพ็ญเพยี ร ก็พงึ เปน็ ผเู้ ทย่ี วไปเบอื้ งบนเหนือศรี ษะ
กิเลสท้งั หลาย ฉนั น้นั เหมอื นกัน น้คี อื องค์ที่ ๑ แหง่ ร่ม ทพ่ี งึ ถือเอา

‘‘ปนุ จปร ํ มหาราช ฉตตฺ ํ มทุ ฺธนุปตถฺ มฺภ ํ โหติ, เอวเมว โข มหาราช โยคินา
โยคาวจเรน โยนิโสมนสกิ ารปุ ตฺถมเฺ ภน ภวิตพพฺ ํ ฯ อทิ ํ มหาราช ฉตตฺ สสฺ ทตุ ยิ ํ องคฺ ํ
คเหตพพฺ ํ ฯ
ขอถวายพระพร ยงั มีอีกองคห์ น่งึ ธรรมดาว่ารม่ ย่อมเปน็ เคร่อื งคุ้มกนั ศีรษะ ฉันใด ขอ
ถวายพระพร พระโยคาวจรผูบ้ �ำเพ็ญเพยี ร กพ็ ึงเปน็ ผู้ค�ำ้ จนุ โยนโิ สมนสิการไว้ ฉนั น้ันเหมือน
กัน น้ีคอื องคท์ ่ี ๒ แหง่ รม่ ท่ีพึงถอื เอา

‘‘ปนุ จปร ํ มหาราช ฉตฺตํ วาตาตปเมฆวุฏ ฺ โิ ย ปฏิหนติ, เอวเมว โข มหาราช
โยคนิ า โยคาวจเรน นานาวธิ ทิฏ ฺ ิปถุ สุ มณพฺราหฺมณาน ํ มตวาตติวิธคฺคสิ นตฺ าปกเิ ลสวุฏฺ โิ ย

กัณฑ]์ ๖.๗ กุมภวรรค 459

ปฏหิ นฺตพพฺ า ฯ อิท ํ มหาราช ฉตฺตสฺส ตติยํ องคฺ ํ คเหตพพฺ ํ ฯ
ขอถวายพระพร ยงั มีอกี องคห์ นง่ึ ธรรมดาวา่ ร่ม ยอ่ มปอ้ งกันลม แดดร้อน เมฆฝน
ฉันใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผู้บ�ำเพ็ญเพียร ก็พงึ ปอ้ งกันความรอ้ นคือมติ ความรอ้ น
คอื วาตะ ของพวกสมณและพราหมณ์ท้งั หลายมากมายผู้มที ิฏฐิหลายอย่างแตกตา่ งกัน ความ
ร้อนคอื ไฟ ๓ กอง และฝนคือกเิ ลส ฉนั นนั้ เหมอื นกนั นี้คอื องค์ท่ี ๓ แห่งร่ม ท่ีพึงถอื เอา

ภาสติ มเฺ ปต ํ มหาราช เถเรน สาริปตุ เฺ ตน ธมฺมเสนาปตินา –
‘‘ยถาปิ ฉตฺตํ วปิ ุล ํ อจฉฺ ิทฺท ํ ถิรสํหติ ํ
วาตาตปํ นวิ าเรติ มหตี เมฆวุฏฺ โิ ย ฯ
‘‘ตเถว พทุ ธฺ ปุตฺโตป ิ สลี ฉตตฺ ธโร สจุ ิ
กิเลสวุฏฺ ึ วาเรติ สนฺตาปตวิ ิธคฺคโย’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร พระธรรมเสนาบดีสารีบตุ ร ได้ภาษิตความขอ้ น้ไี ว้วา่
“รม่ ใหญ่ ไม่ทะลุ มอี ปุ กรณป์ ระกอบแข็งแรง ยอ่ มป้องกันลม
แดด เมฆ ฝนห่าใหญ่ได้ ฉนั ใด แม้ภกิ ษุผู้เปน็ พุทธบุตร ผู้
สะอาด ทรงร่มคือศลี ยอ่ มปอ้ งกันฝนคอื กิเลส แดดรอ้ นคอื ไฟ
๓ กองได้ ฉันน้ันเหมอื นกนั

ฉตฺตงคฺ ปญฺโห ตตโิ ย ฯ

จบฉตั ตังคปัญหาข้อที่ ๓

________

๔. เขตตฺ งฺคปญหฺ
๔. เขตตงั คปัญหา
ปัญหาวา่ ด้วยองค์แห่งนา
[๔] ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน ‘เขตตฺ สสฺ ตณี ิ องคฺ าน ิ คเหตพพฺ าน’ี ติ ย ํ วเทสิ, กตมานิ
ตานิ ตณี ิ องฺคานิ คเหตพฺพานี’’ติ ?
[๔] พระเจา้ มลิ นิ ท์ตรัสวา่ “พระคณุ เจา้ นาคเสน ท่านกลา่ ววา่ ‘พึงถอื เอาองค์ ๓ แห่ง
นา’ องค์ ๓ ทีพ่ ึงถอื เอานน้ั เป็นไฉน ?”

460 มิลนิ ทปัญหาปกรณแ์ ปล [๖.โอปมั มกถาปัญห

‘‘ยถา มหาราช เขตฺต ํ มาตกิ าสมฺปนฺนํ โหต,ิ เอวเมว โข มหาราช โยคนิ า
โยคาวจเรน สจุ ริตวตฺตปฺปฏวิ ตฺตมาติกาสมปฺ นเฺ นน ภวิตพพฺ ํ ฯ อิท ํ มหาราช เขตตฺ สฺส ป ม ํ
องฺค ํ คเหตพฺพํ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร นา ยอ่ มเป็นสถานทถี่ งึ
พรอ้ มดว้ ยเหมือง (รอ่ งนำ�้ , ล�ำรางสง่ นำ้� ) ฉันใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผู้บ�ำเพ็ญเพยี ร
ก็พงึ เปน็ ผูถ้ งึ พรอ้ มด้วยมาติกาคอื สจุ รติ ข้อวตั รปฏิบตั ิทงั้ หลาย ฉันน้นั เหมอื นกนั นคี้ ือองคท์ ่ี
๑ แหง่ นา ทพี่ ึงถอื เอา
‘‘ปนุ จปรํ มหาราช เขตตฺ ํ มริยาทาสมฺปนนฺ ํ โหต,ิ ตาย จ มริยาทาย อุทก ํ
รกขฺ ิตวฺ า ธ ฺ ํ ปริปาเจติ, เอวเมว โข มหาราช โยคนิ า โยคาวจเรน สลี หริ มิ รยิ าทา-
สมฺปนฺเนน ภวติ พพฺ ,ํ ตาย จ สีลหริ มิ รยิ าทาย สาม ฺ ํ รกฺขติ วฺ า จตฺตาริ สาม ฺ ผลานิ
คเหตพพฺ านิ ฯ อทิ ํ มหาราช เขตฺตสสฺ ทุติย ํ องคฺ ํ คเหตพพฺ ํ ฯ
ขอถวายพระพร ยงั มอี ีกองค์หนง่ึ ธรรมดาวา่ นา ยอ่ มเปน็ สถานท่ถี งึ พร้อมดว้ ย
มรยิ าทะ(คันนา) ชาวนายอ่ มใช้คันนาน้นั กักเก็บนำ�้ ทะนบุ �ำรงุ ขา้ วกลา้ ฉันใด ขอถวายพระพร
พระโยคาวจรผู้บ�ำเพญ็ เพียร กพ็ งึ เป็นผูถ้ ึงพรอ้ มด้วยมริยาทะคือศลี และหริ ิ และพงึ ใช้มรยิ าทะ
คือศลี และหริ นิ ้นั รกั ษาความเป็นสมณะไว้ แล้วถือเอาสามัญญผล ๔ นี้คอื องคท์ ่ี ๒ แหง่ นา
ทพ่ี งึ ถอื เอา
‘‘ปุน จปร ํ มหาราช เขตฺต ํ อฏุ ฺ านสมฺปนนฺ ํ โหติ, กสฺสกสสฺ หาสชนก ํ อปฺปมฺปิ พีช ํ
วตุ ตฺ ํ พหุ โหติ, พห ุ วตุ ฺตํ พหุตร ํ โหติ, เอวเมว โข มหาราช โยคนิ า โยคาวจเรน
อุฏ ฺ านสมปฺ นฺเนน วิปลุ ผลทายินา ภวิตพฺพํ, ทายกานํ หาสชนเกน ภวติ พฺพํ, ยถา อปฺปํ
ทินนฺ ํ พหุ โหติ, พห ุ ทนิ ฺนํ พหตุ ร ํ โหติ ฯ อทิ ํ มหาราช เขตฺตสฺส ตติยํ องคฺ ํ คเหตพพฺ ํฯ
ขอถวายพระพร ยงั มีอีกองคห์ นงึ่ ธรรมดาว่านา เปน็ สถานทีท่ ถี่ งึ พรอ้ มดว้ ยการเผลด็
ผล เมล็ดข้าวที่หว่านไวแ้ ม้เพยี งเลก็ นอ้ ย ก็ย่อมท�ำความบนั เทิงใจให้เกดิ แกช่ าวนามากมาย
เมล็ดขา้ วทหี่ วา่ นไวม้ ากมาย ก็ย่อมท�ำความบนั เทิงใจใหเ้ กดิ มากย่งิ ขน้ึ ไป ฉนั ใด ขอถวาย
พระพร พระโยคาวจรผูบ้ �ำเพ็ญเพยี ร ก็พึงเป็นผู้ถึงพรอ้ มด้วยการเผล็ดผล ใหผ้ ลไพบลู ย์ พึง
เปน็ ผู้ท�ำความบนั เทิงใจใหเ้ กดิ แกท่ ายกทงั้ หลาย โดยปราการทไี่ ทยธรรมที่ทายกถวายให้แม้
เพียงเลก็ น้อยก็เปน็ ของมีผลมาก ท่ีถวายใหม้ าก ก็มีผลมากย่ิงข้ึนไป ฉันนั้นเหมือนกัน นี้คอื
องค์ท่ี ๓ แหง่ นา ที่พึงถือเอา

กัณฑ์] ๖.๗ กมุ ภวรรค 461

ภาสิตมฺเปต ํ มหาราช เถเรน อปุ าลนิ า วนิ ยธเรน –
‘‘เขตตฺ ูปเมน ภวติ พฺพ ํ อฏุ ฺ านวิปุลทายินา
เอส เขตตฺ วโร นาม โย ททาต ิ วปิ ุล ํ ผลน”ฺ ติ ฯ
ขอถวายพระพร ทา่ นพระอบุ าลีเถระผ้เู ป็นวนิ ยั ธร ได้ภาษิตความขอ้ นีไ้ วว้ ่า
“ภกิ ษพุ ึงเปน็ ผ้เู ปรียบดว้ ยท่ีนา เปน็ ทเี่ ผล็ดผลให้ผลไพบลู ย์ ผู้
ใดมอบผลอนั ไพบูลย์ ผู้น้ันชอื่ ว่าเป็นนาทีป่ ระเสริฐ”

เขตตฺ งฺคปญฺโห จตุตฺโถ ฯ

จบเขตตังคปัญหาข้อที่ ๔
________

๕. อคทงคฺ ปญฺห
๕. อคทังคปัญหา
ปญั หาวา่ ด้วยองคแ์ หง่ ยา
[๕] ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน ‘อคทสฺส เทวฺ องคฺ านิ คเหตพพฺ านี’ติ ย ํ วเทสิ, กตมานิ
ตานิ เทวฺ องคฺ าน ิ คเหตพฺพาน’ี ’ติ ฯ
[๕] พระเจา้ มลิ ินทต์ รสั ว่า “พระคุณเจา้ นาคเสน ท่านกล่าววา่ ‘พงึ ถือเอาองค์ ๒ แหง่
ยา’ องค์ ๒ ท่ีพงึ ถอื เอานนั้ เป็นไฉน ?”

‘‘ยถา มหาราช อคเท กมิ ี น สณ ฺ หนฺต,ิ เอวเมว โข มหาราช โยคินา
โยคาวจเรน มานเส กเิ ลสา น สณ ฺ เปตพฺพา ฯ อทิ ํ มหาราช อคทสฺส ป ม ํ องคฺ ํ
คเหตพพฺ ํ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร ในยา ย่อมหาหนอนข้ึนมไิ ด้
ฉันใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผบู้ �ำเพญ็ เพยี ร กไ็ ม่พึงท�ำกิเลสใหต้ ้งั ข้นึ ในใจ ฉนั นนั้
เหมือนกนั นค้ี ือองค์ที่ ๑ แหง่ ยา ทพี่ งึ ถือเอา

‘‘ปนุ จปร ํ มหาราช อคโท ทฏ ฺ ผฏุ ฺ ทิฏฺ อสติ ปตี ขายิตสายิต ํ สพพฺ ํ วสิ ํ ปฏิหนติ,
เอวเมว โข มหาราช โยคนิ า โยคาวจเรน ราคโทสโมหมานทิฏฺ ิวสิ ํ สพพฺ ํ ปฏหิ นติ พฺพํ ฯ
อิทํ มหาราช อคทสสฺ ทุติยํ องฺค ํ คเหตพพฺ ํ ฯ

462 มิลินทปัญหาปกรณ์แปล [๖.โอปัมมกถาปญั ห

ขอถวายพระพร ยงั มอี ีกองค์หน่ึง ธรรมดาวา่ ยา ยอ่ มก�ำจดั พษิ ท่สี ัตวก์ ัด พษิ ทีส่ มั ผสั
พิษท่สี ัตว์ลมื ตาดูโลก พษิ ทกี่ ิน ท่ดี ม่ื ทีล่ ิ้ม ท่ีเลีย เปน็ ตน้ ทั้งปวง ฉันใด ขอถวายพระพร พระ
โยคาวจรผบู้ �ำเพญ็ เพยี ร ก็พึงก�ำจัดพิษคอื ราคะ พษิ คอื โทสะ พิษคอื โมหะ พษิ คอื มานะ พษิ คือ
ทิฏฐทิ ง้ั ปวง ฉนั นน้ั เหมอื นกัน น้ีคือองคท์ ี่ ๒ แห่งยา ท่ีพึงถอื เอา

ภาสติ มเฺ ปตํ มหาราช ภควตา เทวาตเิ ทเวน –
‘‘สงขฺ าราน ํ สภาวตถฺ ํ ทฏฺ ุกาเมน โยคนิ า
อคเทเนว โหตพพฺ ํ กิเลสวสิ นาสเน’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร พระผู้มพี ระภาคเจา้ ผู้ทรงเป็นเทพยิ่งกวา่ เหล่าเทพ ทรงภาษิตความ
ขอ้ นี้ไวว้ ่า
“โยคีบุคคลผู้ต้องการเห็นสภาวะความเป็นจริงแห่งสังขารท้ัง
หลาย พงึ เปน็ ดจุ ยา(ถอนพษิ ) ในอนั ทจ่ี ะท�ำพษิ คอื กเิ ลสให้
พนิ าศเถิด”

อคทงฺคปญฺโห ปญจฺ โม ฯ

จบอคทังคปญั หาขอ้ ท่ี ๕

________

๖. โภชนงฺคปญหฺ
๖. โภชนงั คปญั หา
ปัญหาวา่ ด้วยองค์แหง่ โภชนะ
[๖] ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน ‘โภชนสสฺ ตีณิ องฺคาน ิ คเหตพพฺ านี’ต ิ ยํ วเทสิ, กตมาน ิ
ตาน ิ ตีณิ องคฺ าน ิ คเหตพพฺ านี’’ติ ?
[๖] พระเจา้ มลิ นิ ทต์ รสั ว่า “พระคุณเจ้านาคเสน ท่านกลา่ ววา่ ‘พงึ ถือเอาองค์ ๓ แห่ง
โภชนะ (ของกนิ )’ องค์ ๓ ทพ่ี งึ ถือเอานน้ั เปน็ ไฉน ?”

‘‘ยถา มหาราช โภชน ํ สพฺพสตฺตาน ํ อุปตฺถมโฺ ภ, เอวเมว โข มหาราช โยคินา
โยคาวจเรน สพพฺ สตตฺ านํ มคฺคุปตฺถมฺเภน ภวติ พพฺ ํ ฯ อทิ ํ มหาราช โภชนสสฺ ป มํ องฺคํ
คเหตพฺพํ ฯ

กัณฑ]์ ๖.๗ กมุ ภวรรค 463

พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร โภชนะ ยอ่ มเป็นสงิ่ อปุ ถมั ภ์
สตั ว์ทัง้ ปวง ฉันใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผูบ้ �ำเพ็ญเพียร กพ็ งึ เป็นผู้อปุ ถัมภ์สัตว์
ทัง้ ปวงด้วยมรรค ฉันน้นั เหมือนกนั น้ีคอื องคท์ ่ี ๑ แหง่ โภชนะ ท่พี งึ ถอื เอา

‘‘ปุน จปร ํ มหาราช โภชน ํ สพพฺ สตฺตาน ํ พล ํ วฑฺเฒติ, เอวเมว โข มหาราช
โยคินา โยคาวจเรน ปุ ฺ วฑฒฺ ิยา วฑฒฺ ติ พพฺ ํ ฯ อิท ํ มหาราช โภชนสสฺ ทตุ ิย ํ องคฺ ํ
คเหตพพฺ ํ ฯ
ขอถวายพระพร ยงั มอี ีกองค์หนึ่ง ธรรมดาวา่ โภชนะ ย่อมช่วยเพ่ิมก�ำลังของสัตว์
ทง้ั ปวง ฉันใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผบู้ �ำเพญ็ เพยี ร ก็ควรชว่ ยเพ่ิมพูนความเจริญแห่ง
บญุ (ของสตั วท์ งั้ ปวง) นค้ี ือองค์ท่ี ๒ แหง่ โภชนะ ทพ่ี งึ ถือเอา

‘‘ปนุ จปร ํ มหาราช โภชน ํ สพฺพสตตฺ าน ํ อภิปตถฺ ติ ,ํ เอวเมว โข มหาราช
โยคนิ า โยคาวจเรน สพพฺ โลกาภปิ ตถฺ ิเตน ภวิตพพฺ ํ ฯ อทิ ํ มหาราช โภชนสสฺ ตติยํ องคฺ ํ
คเหตพฺพํ ฯ
ขอถวายพระพร ยังมีอกี องคห์ น่ึง ธรรมดาวา่ โภชนะ เปน็ ของท่สี ัตวท์ ้งั ปวงปรารถนา
ย่ิง ฉันใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผ้บู �ำเพญ็ เพียร กพ็ ึงเป็นผทู้ ชี่ าวโลกทงั้ ปวงปรารถนา
ย่งิ ฉนั นน้ั เหมือนกนั นีค้ ือองคท์ ่ี ๓ แหง่ โภชนะ ท่พี งึ ถอื เอา

ภาสติ มเฺ ปตํ มหาราช เถเรน มหาโมคคฺ ลฺลาเนน –
‘‘สํยเมน นยิ เมน สเี ลน ปฏปิ ตตฺ ยิ า
ปตถฺ เิ ตน ภวติ พพฺ ํ สพฺพโลกสสฺ โยคนิ า’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร ทา่ นพระมหาโมคคลั ลานเถระ ได้ภาษติ ความข้อนไี้ ว้ว่า
“โยคบี ุคคล ควรเปน็ ผู้ท่ีชาวโลกทั้งปวงปรารถนา ด้วยความ
ส�ำรวม ด้วยวตั ร ดว้ ยศลี และดว้ ยข้อปฏิบตั ิ”

โภชนงคฺ ปญฺโห ฉฏโฺ € ฯ

จบโภชนังคปญั หาขอ้ ท่ี ๖

________

464 มิลินทปญั หาปกรณแ์ ปล [๖.โอปัมมกถาปญั ห

๗. อสิ ฺสาสงฺคปญฺห
๗. อสิ สาสงั คปัญหา
ปัญหาวา่ ด้วยองค์แหง่ นายขมังธนู
[๗] ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน ‘อสิ สฺ าสสฺส จตฺตาริ องฺคานิ คเหตพฺพานี’ติ ยํ วเทส,ิ
กตมานิ ตาน ิ จตตฺ าร ิ องฺคานิ คเหตพฺพาน’ี ’ติ ?
[๗] พระเจ้ามลิ ินทต์ รสั วา่ “พระคณุ เจา้ นาคเสน ทา่ นกลา่ ววา่ ‘พงึ ถอื เอาองค์ ๔ แหง่
นายขมงั ธนู’ องค์ ๔ ทพี่ ึงถอื เอานนั้ เป็นไฉน ?”

‘‘ยถา มหาราช อสิ ฺสาโส สเร ปาตยนฺโต อุโภ ปาเท ปถวยิ ํ ทฬฺหํ ปตฏิ ฺ าเปต,ิ
ชณณฺ ุอเวกลฺล ํ กโรต,ิ สรกลาป ํ กฏิสนธฺ มิ ฺหิ เปติ, กาย ํ อุปตฺถทธฺ ํ กโรต,ิ เทวฺ หตฺเถ
สนธฺ ิฏ ฺ านํ อาโรเปต,ิ มุฏฺ ึ ปีฬยติ, องฺคลุ ิโย นริ นตฺ ร ํ กโรต,ิ คีวํ ปคฺคณหฺ าต,ิ จกฺขูน ิ
มขุ จฺ ปทิ หติ, นมิ ติ ฺต ํ อุชํุ กโรต,ิ หาสมุปปฺ าเทติ ‘วิชฌฺ ิสฺสาม’ี ติ, เอวเมว โข มหาราช
โยคนิ า โยคาวจเรน สีลปถวยิ ํ วรี ิยปาเท ปตฏิ ฺ าเปตพพฺ ํ, ขนฺติโสรจจฺ ํ อเวกลฺลํ กาตพฺพํ,
สํวเร จิตตฺ ํ เปตพฺพ,ํ สยํ มนยิ เม อตตฺ า อุปเนตพโฺ พ, อจิ ฺฉา มุจฺฉา ปฬี ยติ พพฺ า, โยนิโส-
มนสิกาเร จติ ตฺ ํ นริ นฺตร ํ กาตพพฺ ,ํ วรี ยิ ํ ปคฺคเหตพพฺ ํ, ฉ ทวฺ ารา ปทิ หิตพพฺ า, สต ิ
อปุ ฏฺ เปตพพฺ า, หาสมปุ ฺปาเทตพฺพ ํ ‘สพพฺ กิเลเส าณนาราเจน วิชฌฺ ิสฺสามี’ติ ฯ อิท ํ
มหาราช อิสฺสาสสสฺ ป มํ องฺคํ คเหตพฺพํ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร นายขมังธนู เมอื่ จะยิงลกู
ศรไป กย็ ่อมเหยียบยนั เทา้ ท้ัง ๒ บนพนื้ ดนิ ให้มัน่ คง ผกู แล่งธนไู ว้ทขี่ ้อต่อสะเอว ท�ำกายให้
แข็งตรง ยกมือทง้ั ๒ ขา้ งจับคันธนู ก�ำมือใหแ้ นน่ ท�ำนวิ้ ให้ชดิ กัน ประคองคอไว้ หรต่ี า เมม้
ปาก ท�ำทหี่ มายให้อยตู่ รงหน้า สร้างความบันเทิงใจให้เกดิ ขนึ้ วา่ ‘เราจกั ยิงถกู ’ ดังนี้ ฉนั ใด ขอ
ถวายพระพร พระโยคาวจรผบู้ �ำเพญ็ เพียร ก็พงึ เหยยี บยันเท้าทั้ง ๒ คอื วิริยะบนพืน้ ดินคอื ศีล
ท�ำขันตแิ ละโสรจั จะไมใ่ หบ้ กพร่อง ตั้งจิตไวใ้ นสังวร น้อมตนเขา้ ไปในความส�ำรวมระวงั ก�ำ
ความปรารถนา ความสยบ(ตัณหา)ใหแ้ น่น พึงท�ำจิตให้ชดิ กันในเพราะโยนโิ สนมสิการ
ประคองความเพียรไว้ หร่(ี ปดิ )ทวาร ๖ ท�ำสติใหเ้ ข้าไปต้ังไว้ สรา้ งความบันเทงิ ใจใหเ้ กดิ ขน้ึ วา่
‘เราจักใชธ้ นคู ือญาณ ยิงถกู กิเลสทั้งปวง’ ดงั น้ี ฉันน้นั เหมอื นกัน นค้ี ือองค์ท่ี ๑ แหง่ นายขมงั -
ธนู ที่พึงถือเอา

กณั ฑ์] ๖.๗ กมุ ภวรรค 465

‘‘ปนุ จปร ํ มหาราช อสิ ฺสาโส อาฬกํ ปริหรติ วงฺกชมิ ฺหกุฏลิ นาราจสฺส อุชุกรณาย
ฯ เอวเมว โข มหาราช โยคินา โยคาวจเรน อิมสมฺ ึ กาเย สตปิ ฏ ฺ านอาฬกํ ปริหริตพพฺ ํ
วงฺกชมิ หฺ กฏุ ลิ จติ ตฺ สสฺ อุชกุ รณาย ฯ อิท ํ มหาราช อิสฺสาสสสฺ ทุติย ํ องคฺ ํ คเหตพฺพํ ฯ
ขอถวายพระพร ยังมีอีกองคห์ น่งึ ธรรมดาวา่ นายขมงั ธนู ย่อมเตรยี มง่ามเหล็กไว้เพ่ือ
ใชด้ ดั ลกู ศรทค่ี ดให้ตรง ฉนั ใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผ้บู �ำเพญ็ เพยี ร ก็พึงเตรยี มงา่ ม
เหลก็ คอื สติปัฏฐานไว้ในกายน้ี เพอ่ื ใชด้ ัดจิตที่คดงอใหต้ รง ฉนั นั้นเหมือนกัน น้ีคือองคท์ ี่ ๒
แห่งนายขมังธนู ที่พึงถอื เอา
‘‘ปุน จปรํ มหาราช อิสฺสาโส ลกเฺ ข อปุ าเสติ, เอวเมว โข มหาราช โยคนิ า
โยคาวจเรน อมิ สมฺ ึ กาเย อปุ าสิตพฺพํ ฯ กถ ํ มหาราช โยคินา โยคาวจเรน อมิ สมฺ ึ กาเย
อปุ าสิตพพฺ ํ ? อนจิ จฺ โต อปุ าสติ พพฺ ,ํ ทุกขฺ โต อปุ าสิตพฺพํ, อนตตฺ โต อุปาสติ พฺพ,ํ โรคโต…
เป.… คณฑฺ โต…เป.… สลฺลโต…เป.… อฆโต…เป.… อาพาธโต…เป.… ปรโต…เป.…
ปโลกโต…เป.… อีติโต…เป.… อปุ ทฺทวโต…เป.… ภยโต…เป.… อุปสคคฺ โต…เป.…
จลโต…เป.… ปภงคฺ ุโต…เป.… อทฺธวุ โต…เป.… อตาณโต…เป.… อเลณโต…เป.…
อสรณโต…เป.… ริตฺตโต…เป.… ตุจฺฉโต…เป.… สุ ฺ โต…เป.… อาทีนวโต…เป.…
วิปริณามธมมฺ โต…เป.… อสารโต …เป.… อฆมลู โต…เป.… วธกโต…เป.… วิภวโต…เป.
… สาสวโต…เป.… สงขฺ ตโต…เป.… มารามิสโต…เป.… ชาตธิ มมฺ โต…เป.… ชราธมมฺ โต
…เป.… พยฺ าธธิ มมฺ โต…เป.… มรณธมฺมโต…เป.… โสกธมมฺ โต…เป.… ปรเิ ทวธมมฺ โต…
เป.… อุปายาสธมฺมโต…เป.… สํกิเลสธมฺมโต…เป.… เอว ํ โข มหาราช โยคนิ า
โยคาวจเรน อิมสมฺ ึ กาเย อุปาสิตพฺพํ ฯ อทิ ํ มหาราช อสิ ฺสาสสสฺ ตติยํ องฺคํ คเหตพฺพํ ฯ
ขอถวายพระพร ยงั มอี กี องค์หน่ึง ธรรมดาวา่ นายขมงั ธนู ยอ่ มเลง็ ธนไู ปท่ีเป้า ฉนั ใด
ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผบู้ �ำเพญ็ เพยี ร กพ็ งึ เล็งทก่ี ายนี้ ฉันนน้ั เหมือนกัน ขอถวาย
พระพร ถามว่า พึงเลง็ จติ ไปที่กายน้อี ย่างไร ? ตอบว่า พงึ เลง็ ไปว่า ไม่เท่ียง พึงเล็งไปว่าเป็น
ทกุ ข์ พึงเล็งไปว่าเปน็ อนตั ตา พงึ เล็งไปว่าเปน็ ดุจโรค ฯลฯ วา่ เปน็ ดจุ ฝี ... ว่าเป็นดุจลกู ศร ...
ว่าเป็นของเจ็บปวด ... ว่ามแี ต่อาพาธ ... ว่าเปน็ ฝา่ ยอนื่ ... วา่ เป็นของย่อยยับ ... ว่าเป็นเสนยี ด
จัญไร ... วา่ มีอันตราย ... ว่ามีแต่ภัย ... ว่ามแี ต่อปุ สรรค ... วา่ หว่ันไหว ... วา่ แตกหัก ... ว่าไม่
ม่ันคง ... ว่าหาทีต่ ้านทานมิได้ ...ว่าหาสรณะมไิ ด้ ... ว่าเปน็ ของรา้ ง ... ว่าเปน็ ของเปล่า ... ว่า
เปน็ ของว่าง ... ว่ามีแต่โทษ... วา่ มคี วามแปรปรวนไปเป็นธรรมดา ... ว่าหาสาระมไิ ด้ ... วา่
เป็นมูลแห่งความเจบ็ ปวด ... ว่าเปน็ ดุจเพชรฆาต ... ว่ามแี ตค่ วามวบิ ตั ิ ... ว่าเป็นไปกบั อาสวะ

466 มลิ ินทปญั หาปกรณ์แปล [๖.โอปมั มกถาปญั ห

... ว่าเปน็ สังขตะ ... ว่าเปน็ เหย่อื ของมาร ... วา่ มีความเกิดเป็นธรรมดา ... วา่ มีความแกเ่ ป็น
ธรรมดา ... วา่ มคี วามเจบ็ ป่วยเป็นธรรมดา ... วา่ มีความตายเป็นธรรมดา ... ว่ามคี วามโศก
เป็นธรรมดา ... วา่ มคี วามร�่ำไห้เปน็ ธรรมดา ... วา่ มคี วามคับแค้นใจเป็นธรรมดา ... ว่ามคี วาม
มัวหมองเป็นธรรมดา ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผูบ้ �ำเพญ็ เพยี ร พงึ เลง็ จติ ไปท่กี ายนี้ ตาม
ประการดงั กลา่ วมาน้ี นี้คือองค์ที่ ๓ แห่งนายขมังธนู ทพ่ี ึงถือเอา

‘‘ปุน จปรํ มหาราช อสิ สฺ าโส สายํ ปาตํ อปุ าสติ ฯ เอวเมว โข มหาราช
โยคนิ า โยคาวจเรน สาย ํ ปาต ํ อารมฺมเณ อปุ าสติ พพฺ ํ ฯ อิทํ มหาราช อสิ ฺสาสสสฺ
จตตุ ฺถ ํ องคฺ ํ คเหตพฺพํ ฯ
ขอถวายพระพร ยังมอี กี องคห์ นึ่ง ธรรมดาว่านายขมังธนู ยอ่ มเล็งยงิ ไปทีเ่ ป้าตลอด
เวลา ทงั้ เยน็ ท้งั เช้า ฉันใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผู้บ�ำเพญ็ เพยี ร กพ็ งึ เลง็ ยงิ ไปท่ี
อารมณต์ ลอดเวลา ทง้ั เย็นท้งั เชา้ ฉันน้ันเหมือนกนั นค้ี ือองค์ที่ ๔ แหง่ นายขมงั ธนู ทีพ่ งึ ถอื เอา

ภาสติ มฺเปตํ มหาราช เถเรน สาริปุตเฺ ตน ธมมฺ เสนาปตนิ า –
‘‘ยถา อิสฺสาสโก นาม สายํ ปาต ํ อุปาสติ
อปุ าสน ํ อร ิ ฺจนโฺ ต ลภเต ภตตฺ เวตนํ ฯ
ตเถว พทุ ฺธปตุ โฺ ตปิ กโรต ิ กายปุ าสนํ
กายปุ าสนํ อร ิ จฺ นฺโต อรหตตฺ มธคิ จฺฉตี’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร ท่านพระธรรมเสนาบดีสารีบุตรเถระ ได้ภาษติ ความขอ้ นไ้ี ว้ว่า
“ข้นึ ชื่อว่านายขมังธนู ยอ่ มเลง็ เปา้ ตลอดเวลาทัง้ เย็นท้ังเชา้ ไม่
ทอดทง้ิ การเลง็ ยิง ก็ย่อมได้รบั ค่าจ้างรางวลั ฉนั ใด แมภ้ ิกษุผู้
เปน็ พุทธบตุ ร ก็ย่อมท�ำการเลง็ ยงิ กาย ไม่ทอดท้งิ การเลง็ ยิง
กาย ก็ย่อมบรรลพุ ระอรหตั ฉนั น้นั เหมือนกัน”

อิสฺสาสงคฺ ปญฺโห สตตฺ โม ฯ

จบอสิ สาสงั คปญั หาขอ้ ที่ ๗

กมุ ฺภวคโฺ ค สตฺตโม
จบกุมภวรรคที่ ๗

กัณฑ์] ๖.๗ กุมภวรรค 467

[อโิ ต ปร ํ ราชงฺคป หฺ าทิกา อฏฺ ตสึ ป หฺ า วินฏฺ า, เยหิ ตา ทิฏฺ า, เตหิ โน
อาโรเจตพฺพา ปุน มทุ ฺทาปนกาเล ปกฺขิปนตฺถายาต ิ (น, พ,ุ ส)] ฯ
[มีปัญหา ๓๘ ขอ้ มรี าชงั คปัญหาเปน็ ตน้ ท่อี ่ืนจากน้ีท่หี ายไป, ชนเหล่าใดพบเหน็ ปญั หา
เหล่านน้ั ชนเหลา่ นั้นพงึ บอกแก่พวกข้าพเจา้ เพ่ือใสเ่ ขา้ ไปใหมใ่ นกาลพมิ พค์ ร้งั ต่อไป]

ตสฺสทุ ฺทาน ํ –
กมุ ฺโภ จ กาฬายโส จ ฉตตฺ ํ เขตฺต ฺจ อคโท
โภชเนน จ อสิ สฺ าโส วุตฺต ํ ทาน ิ วิทูหตี ิ ฯ
รวมสตู รที่มาในวรรคนี้มี ๗ สตู ร คือ
๑. กมุ ภสตู ร ๒. กาฬายสสตู ร
๓. ฉัตตสูตร ๔. เขตตสตู ร
๕. อคทสูตร ๖. โภชนสตู ร
๗. อสิ สาสสูตร
ทา่ นผรู้ กู้ ล่าวไว้ในบดั น้ี

โอปมมฺ กถาปญหฺ กณฺโฑ นฏิ ฺ€โิ ต ฯ

จบโอปมั มกถาปญั หากณั ฑ์
________

468 มลิ ินทปัญหาปกรณแ์ ปล

นคิ มน
คÓลงท้ายคมั ภรี ม์ ลิ นิ ทปญั หา

อิต ิ ฉสุ กณฺเฑส ุ พาวีสตวิ คคฺ ปตมิ ณฺฑิเตสุ ทวฺ าสฏ ฺ ิอธกิ า เทวฺ สตา อมิ สฺมึ
โปตฺถเก อาคตา มลิ ินฺทป ฺหา สมตฺตา, อนาคตา จ ปน ทวฺ าจตตฺ าลีส โหนตฺ ,ิ อาคตา จ
อนาคตา จ สพพฺ า สโมธาเนตฺวา จตหู ิ อธกิ า ตสิ ตป ฺหา โหนฺติ, สพฺพาว
มลิ ินทฺ ป หฺ าต ิ สงขฺ ํ คจฺฉนฺติ ฯ
ในบรรดา ๖ กณั ฑ์ดงั กลา่ วมานี้ มีมิลนิ ทปัญหามาแล้วในคัมภรี ์น้ี ๒๖๒ ปญั หา แต่ว่า
ส่วนทยี่ งั ไมม่ ามี ๔๒ ปัญหา สว่ นทม่ี าแลว้ และสว่ นที่ยงั ไม่มารวมเขา้ ด้วยกันแลว้ กถ็ งึ ความ
นับไดว้ า่ มลิ นิ ทปญั หาทัง้ หมดมี ๓๐๔ ปญั หา
ร โฺ จ เถรสสฺ จ ปุจฺฉาวสิ ชชฺ นาวสาเน จตรุ าสีติสตสหสฺสโยชนพหลา อุทก-
ปริยนตฺ ํ กตฺวา อยํ มหาปถว ี ฉธา กมปฺ ติ ฺถ, วชิ ฺชลุ ลฺ ตา นจิ ฺฉรสึ ุ, เทวตา ทพิ ฺพปปุ ฺผวสฺส ํ
ปวสฺสสึ ,ุ มหาพฺรหฺมา สาธกุ ารมทาสิ, มหาสมุททฺ กจุ ฺฉยิ ํ เมฆตฺถนติ นคิ โฺ ฆโส วิย มหาโฆโส
อโหส,ิ อิติ โส มลิ นิ ฺโท ราชา จ โอโรธคณา จ สริ สา อ ฺชลึ ปณาเมตฺวา วนทฺ สิึ ุ ฯ
ในทีส่ ดุ แห่งการถามตอบระหวา่ งพระราชากบั พระเถระ แผน่ ดินใหญน่ ีถ้ งึ ทสี่ ดุ น้�ำ หนา
ถงึ ๘๔,๐๐๐ โยชน์ กไ็ ดไ้ หวแล้วถึง ๖ ครั้ง สายฟา้ กแ็ ลบแปลบปลาบ เหล่าเทวดากท็ �ำสายฝน
คือดอกไม้ทีเ่ ปน็ ทิพยใ์ ห้โปรยปรายลงมา ทา่ นท้าวมหาพรหมก็ประทานสาธุการ ในทอ้ ง
มหาสมุทรเกิดเสียงดงั ครนื ๆ เหมอื นอย่างเสียงครืน ๆ ในคราวเมฆฝนร้อง เพราะเหตุดงั
กลา่ วมาน้ี พระเจ้ามิลินทแ์ ละคณะฝ่ายในประคองอญั ชลีกราบไหว้ด้วยเศยี รเกลา้
มลิ ินฺโท ราชา อตวิ ยิ ปมทุ ติ หทโย สุมถติ มานหทโย พุทธฺ สาสเน สารมติโน
รตนตฺตเย สนุ กิ กฺ งฺโข นคิ คฺ ุมฺโพ นติ ถฺ ทโฺ ธ หุตฺวา เถรสสฺ คเุ ณส ุ ปพฺพชฺชาสุ ปฏิปทา-
อริ ยิ าปเถส ุ จ อตวิ ยิ ปสนฺโน วิสสฺ ตฺโถ นิราลโย นิหตมานตถฺ มฺโภ อุทธฺ ฏทาโ วยิ
ภุชคนิ ฺโท เอวมาห ‘‘สาธ ุ ภนฺเต นาคเสน พทุ ฺธวสิ โย ป โฺ ห ตยา วิสชชฺ ิโต, อมิ สมฺ ึ
พทุ ฺธสาสเน เปตฺวา ธมมฺ เสนาปตึ สารปิ ตุ ฺตตฺเถร ํ อ โฺ ตยา สทิโส ป ฺหวสิ สฺ ชชฺ เน
นตฺถ ิ ขมถ ภนเฺ ต นาคเสน มม อจฺจยํ, อปุ าสก ํ ม ํ ภนฺเต นาคเสน ธาเรถ อชฺชตคฺเค
ปาณุเปต ํ สรณํ คตนฺ”ติ ฯ
พระเจ้ามลิ นิ ท์ทรงบันเทิงพระทยั เปน็ อย่างยิ่ง มพี ระทยั ท่ีบดขย้มี านะไดด้ ว้ ยดี เล็งเหน็
สาระในพระพทุ ธศาสนา หมดความสงสยั ดว้ ยดีในพระรตั นตรยั โลง่ พระทยั ไมม่ ีความแขง็

นิคมน 469

กระด้าง ทรงเลือ่ มใสในคุณ ในการบรรพชา ในปฏปิ ทาและอริ ยิ าบถของพระเถระยง่ิ นกั ทรง
เปน็ ผ้คู นุ้ เคยกัน ปราศจากอาลัย ถอนเสาคอื มานะ ดุจพญานาคที่ถูกถอนเขีย้ ว รับสัง่ อย่างน้ี
ว่า ‘พระคุณเจ้านาคเสน ปัญหาทเ่ี ป็นพุทธวสิ ยั ท่านแก้ได้ดเี สียจรงิ ในพระพทุ ธศาสนานี้
ยกเว้นทา่ นพระธรรมเสนาบดีสารีบุตรเถระแลว้ คนอ่ืนที่เสมอเหมือนกับท่านในการแกป้ ญั หา
ไมม่ ี พระคุณเจา้ นาคเสน โปรดยกโทษการล่วงเกินของโยม พระคุณเจ้านาคเสน ขอจงจ�ำโยม
ไวเ้ ถดิ วา่ เป็นอุบาสกผถู้ ึงสรณะแล้ว ต้ังแต่วันนไ้ี ปจนตลอดชวี ติ ’ ดังนี้

ตทา ราชา สห พลกาเยหิ นาคเสนตเฺ ถร ํ ปยริ ุปาสติ ฺวา มลิ นิ ฺท ํ นาม วหิ ารํ
กาเรตวฺ า เถรสสฺ นยิ ยฺ าเตตฺวา จตหู ิ ปจฺจเยหิ นาคเสนํ โกฏิสเตห ิ ภิกขฺ หู ิ สทฺธึ ปรจิ ร,ิ
ปุนปิ เถรสฺส ป ฺ าย ปสีทิตวฺ า ปุตฺตสสฺ รชฺช ํ นิยฺยาเตตฺวา อคารสฺมา อนคาริยํ
ปพพฺ ชติ วฺ า วปิ สสฺ น ํ วฑฺเฒตวฺ า อรหตตฺ ํ ปาปุณ,ิ
ในคราวนั้น พระราชาพร้อมท้ังหมไู่ พร่พล เสด็จเข้าไปใกล้พระเถระรับสั่งใหส้ รา้ งวหิ าร
ช่อื ว่ามลิ นิ ท์ มอบถวายแก่พระเถระ ทรงทะนบุ �ำรงุ พระนาคเสนพร้อมทั้งภกิ ษจุ �ำนวน ๑๐๐
โกฏิดว้ ยปจั จัย ๔ ครน้ั ทรงเลื่อมใสในปญั ญาของพระเถระแม้อกี กท็ รงมอบราชสมบตั แิ ก่พระ
โอรสเสด็จออกจากพระราชนเิ วศน์ ผนวช ไมม่ ีเรือน เจรญิ วิปัสสนา บรรลเุ ปน็ พระอรหนั ต์

เตน วุตฺตํ –
‘‘ป ฺ า ปสตถฺ า โลกสฺม ึ กตา สทฺธมฺมฏฺ ิตยิ า
ป ฺ าย วิมต ึ หนตฺ ฺวา สนฺต ึ ปปโฺ ปนตฺ ิ ปณฺฑติ า ฯ
ยสฺมึ ขนเฺ ธ ิตา ป ฺ า สติ ตตฺถ อนนู กา
ปชู า วเิ สสสฺสาธาโร อคโฺ ค เสฏฺโ อนุตฺตโร
ตสมฺ า ห ิ ปณฺฑิโต โปโส สมฺปสฺส ํ หติ มตตฺ โน
ป ฺ วนตฺ ํภิปูเชยฺย เจตยิ ํ วิย สาทโร’’ติ ฯ
ลงกฺ ายํ โทณนิ คเร วสตา โทณินามนิ า
มหาเถเรน เลขิตฺวา สฏุ ฺ ปิตํ ยถาสตุ ํ
มลิ ินทฺ ราชป ฺโห จ นาคเสนวสิ ชชฺ นํ
มิลินฺโท หิ มหาป ฺโ นาคเสโน สุปณฺฑโิ ต
อมิ นิ า ปุ ฺ กมเฺ มน อโิ ต คจฺฉาม ิ ตสุ สฺ ิตํ
เมตฺเตยฺยํนาคเต ปสฺเส สุเณยยฺ ํ ธมมฺ มตุ ฺตมนตฺ ิ ฯ

470 มิลินทปัญหาปกรณแ์ ปล

เพราะเหตนุ ัน้ พระโบราณาจารย์จงึ กล่าวว่า
“ปญั ญาประเสรฐิ ในโลก ปณั ฑติ ท้ังหลายสรา้ งปญั ญา เพอื่
ความด�ำรงอยู่แห่งพระสัทธรรม บัณฑิตท้ังหลาย ใช้ปัญญา
ก�ำจดั ความเห็นวิปริตไดแ้ ลว้ ก็บรรลสุ ันติบท (พระนพิ พาน)
ปญั ญาด�ำรงอยใู่ นขันธสนั ดานใด สตกิ ็ย่อมเปน็ ธรรมชาตทิ ี่ไม่
บกพรอ่ งในขนั ธสนั ดานนน้ั จดั เป็นขันธสันดานที่รองรบั การ
บูชาพเิ ศษ เปน็ ขนั ธสันดานที่เลิศ ประเสรฐิ ยอดเย่ยี ม เพราะ
ฉะน้นั บรุ ษุ ผเู้ ป็นบัณฑติ เล็งเหน็ ประโยชน์ตน พงึ บชู าท่านผมู้ ี
ปญั ญา ดจุ บคุ คลผ้มู ีใจเอื้อเฟื้อบชู าเจดยี ์ เพราะฉะนนั้ ปญั หา
ของพระเจา้ มิลินท์ และค�ำถวายวสิ ัชชนาของพระนาคเสน โยม
ผูม้ ีช่อื ว่าโทณิผู้อาศยั อยู่ ณ เมอื งโทณิ เกาะลงั กา ไดบ้ นั ทึก
แต่งไวด้ แี ล้ว ตามท่ไี ดส้ ดับมา
กพ็ ระเจ้ามลิ ินทท์ รงเป็นพระราชาผูม้ ปี ัญญามาก ทา่ นพระนาค
เสนกเ็ ปน็ บัณฑิตประเสรฐิ นกั
ดว้ ยบุญกรรมน้ี ขอโยมละจากโลกนีไ้ ปแล้ว ไดไ้ ปสู่ภพดุสติ
ในอนาคต ขอให้ได้เข้าเฝ้าพระเมตไตรยพุทธเจ้า ได้ฟังธรรม
ที่สูงสดุ เถดิ ”
มิลนิ ฺทปญหฺ ปกรณํ นฏิ €ฺ ิตํ ฯ
จบมิลนิ ทปัญหาปกรณ์
________

บนั ทกึ ทา ยเลม

..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................

บนั ทกึ ทา ยเลม

..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................

27 ภาค ๕


Click to View FlipBook Version